สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-918-5
9
786165
279185
หมวด : สารานุกรม 125.-
เทคโนโลยี
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
เทคโนโลยี หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 200 คำ
www.MISbook.com
สารานุกรมประกอบภาพ
เทคโนโลยี ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
TECHNOLOGY www.MISbook.com
ISBN : 978-616-527-918-5 ราคา 125 บาท
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของ หนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของ บริษัทนั้นๆ
www.MISbook.com
ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA TECHNOLOGY Copyright © 2012 Orpheus Books Limited Ltd. All rights reserved. No part of this publication may be reproduced, stored in a retrieval system or transmitted, in any form or by any means, electronic, mechanical, photocopying, recording or otherwise, without the prior permission of the copyright holder. ลิขสิทธิ์ภาษาไทย © 2559 ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้แปล กัญจน์ณิชา ค�ำผัน ศิลปกรรม วณิชยา ตันเจริญลาภ, ปรียา แซ่ตั้ง พิสูจน์อักษร ประไพ ภูงามเชิง เสียงบรรยาย Talking Pen นิดาวรรณ อนันต์ไพศาลสิน ฝ่ายเทคนิค นงนุช เรือนมณี, ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานต่างประเทศ บุษกร กู้หลี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช
จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ำกัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ทางส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยน ตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีตอ้ งการสัง่ ซือ้ จ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ
สารานุกรมประกอบภาพ
เทคโนโลยี ILLUSTRATED ENCYCLOPEDIA
TECHNOLOGY www.MISbook.com
สารบัญ สิ่งประดิษฐ์อันยิ่งใหญ่
6
อิเล็กทรอนิกส์
8
คอมพิวเตอร์
10
การสื่อสารโทรคมนาคม 12
กล้องโทรทรรศน์
24
เลเซอร์และการบันทึก 26 สิ่งก่อสร้าง
www.MISbook.com ดัชนี วิทยุและโทรทัศน์
14
พลังงานไฟฟ้า
1 6
กล้องถ่ายรูป
18
ภาพยนตร์
20
กล้องจุลทรรศน์
22
28 30
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้
แ
ต่ละคู่หน้าของหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยบทน�ำเรื่องอย่างย่อ ซึ่งเป็นการอธิบายหัวข้อโดยรวม ตามด้วยค�ำส�ำคัญ พร้อม ค�ำอธิบายสั้นๆ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมของหัวข้อนั้นๆ สามารถดูได้ที่ “ประวัติศาสตร์โดยย่อ”
บทน�ำ
อธิบายหัวข้อโดย รวมและให้ความรู้ พื้นฐานที่จ�ำเป็น
ประวัติศาสตร์โดยย่อ
ค�ำส�ำคัญและค�ำอธิบาย
สรุปเหตุการณ์สำ� คัญแบบสั้นๆ ตามช่วงเวลา
แต่ละค�ำส�ำคัญจะประกอบด้วย ค�ำอธิบายสัน้ ๆ ว่าหมายถึงอะไร
www.MISbook.com
เลขหน้า
เลขหน้าค้นหาได้ง่ายที่ ด้านข้างของหน้าหนังสือ
อักษรตัวหนา
ใช้เน้นค�ำทีม่ คี วามส�ำคัญที่ไม่มแี สดง ในรายการค�ำอธิบายอื่น
เ
สิ่งประดิษฐ์อันยิ่งใหญ่
แท่นพิมพ์ของชาวยุโรปในยุคก่อน
ราอาจไม่คิดว่าสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป เช่น นาฬิกาหรือหลอดไฟเป็น สิ่งประดิษฐ์อันยิ่งใหญ่ แต่ในช่วงที่สิ่งประดิษฐ์เหล่านี้ได้รับการพัฒนา ขึ้นมาเป็นครั้งแรก มันก็ได้เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนไปอย่างสิ้นเชิง แม้ว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่จะก้าวหน้าไปมาก แต่ในปัจจุบันเราก็ยังคงใช้ สิ่งประดิษฐ์หลายอย่างที่มีมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้วอยู่
แท่นพิมพ์ แท่นพิมพ์เป็นเครื่องจักรที่ใช้ในการท�ำส�ำเนาเอกสารหลายๆ แผ่น ข้อความหรือรูปภาพจะเป็นลวดลายต้นแบบบนแม่พิมพ์ แม่พิมพ์จะถูกพิมพ์และกดลงไป แผ่นที่พิมพ์แล้ว สีด�ำ บนกระดาษเพือ่ ท�ำการพิมพ์ สีเหลือง
สีม่วงแดง 6
สีฟ้า
การพิมพ์ด้วยท่อนไม้ปั๊มหมึกได้รับการคิดค้น www.MISbook.com ขึ้นมาครั้งแรกในจีนราวปี ค.ศ. 650 สิ่งประดิษฐ์ 2
1
3
ภาพพิมพ์ เกิดจากการใช้หมึก 4 สีผสมกัน ได้แก่ สีม่วงแดง สีเหลือง สีฟ้า และสี ด�ำ แท่นพิมพ์จะฉีดหมึกแต่ละสีลงไปบน กระดาษ เมื่อลูกดรัม (1) หมุน หมึกก็จะถูกส่ง ต่อไปโดยลูกกลิ้ง (2) จากนั้นลายหมึกก็จะถูกส่งต่อไปที่ ผ้าพิมพ์ (3) และจะถูกพิมพ์ลงบนกระดาษต่อไป (4)
4
การวัดระยะเวลา อุปกรณ์แรกที่ใช้บอกระยะเวลาที่ผ่านไปคือนาฬิกา แดดที่ใช้ครั้งแรกในยุคอียิปต์โบราณ เมื่อโลกหมุน เงาจะทอดผ่านตัวชี้บนหน้าปัดนาฬิกาไปเรื่อยๆ เพื่อบอกเวลา นาฬิกาเชิงกลถูกคิดค้นเป็นครั้งแรกในจีนเมื่อ 1,000 ปีที่แล้ว บนกังหันนํ้าจะมีถ้วยใส่นํ้า เมื่อนํ้า เต็มถ้วย มันก็จะกดคานเพื่อเปิดล็อกตรงด้านบน ของกังหันออก กังหันจะหมุนและนํ้าก็จะถูกเติม ในถ้วยใบใหม่
ตัวควบคุม
ในการพิมพ์ที่ส�ำคัญที่สุดสองสิ่งคือ ตัวพิมพ์โลหะ (ที่ช่วยให้พิมพ์ค�ำและย่อหน้าได้จากตัวพิมพ์ โลหะที่มีอักษรแต่ละตัวอยู่บนนั้น) และแท่นพิมพ์ ทั้งสองสิ่งนี้ถูกคิดค้นขึ้นในยุโรป โดยผู้น�ำวงการ พิมพ์ชาวเยอรมัน โยฮันส์ กูเตนเบิร์ก ในประมาณ ปี ค.ศ. 1440 สิง่ ประดิษฐ์นที้ ำ� ให้สามารถพิมพ์หนังสือ ได้ในปริมาณมาก
ในปี ค.ศ. 1657 คริสเตียน ไฮเกนส์ได้คิดค้นนาฬิกา ลูกตุม้ ซึง่ เป็นนาฬิกาทีม่ คี วาม แม่นย�ำเป็นเรือนแรกขึ้นมา ลูกตุม้ จะเชือ่ มต่อกับนาํ้ หนัก ถ่ ว งบนเชื อ กด้ ว ยเดื อ ย นํ้าหนักจะเป็นตัวขับเคลื่อน เฟืองของนาฬิกา การแกว่ง แต่ละครั้งของลูกตุ้มจะมี ระยะเท่ากัน ซึ่งจะควบคุมความเร็วในการเคลื่อนที่ของเฟือง และเข็มนาฬิกา
คาน
เครื่องจักรไอนํ้า
เครื่องจักรคือเครื่องที่เปลี่ยนพลังงานที่อยู่ใน เชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานในการท�ำงานของ เครื่องจักร ในเครื่องจักรไอนํ้า การเผาไหม้ เชื้อเพลิงจะท�ำให้นํ้าร้อนและเปลี่ยนเป็นไอนํ้า ซึ่งจะ เป็นแรงดันสูงอยู่ภายในหม้อต้ม ไอนํ้าจะเป็นแรงดัน ให้ลูกสูบขึ้นและลง และให้ส่วนต่างๆ ในเครื่องจักร ท�ำงาน ในปี ค.ศ. 1712 วิศวกรชาวอังกฤษ โทมัส นิวโคเมน ได้สร้างเครื่องจักรไอนํ้าที่ใช้งานได้เครื่อง แรกส�ำเร็จ โดยไอนํ้าจะถูกส่งไปยังกระบอกสูบและ เกิดการควบแน่นกลายเป็นแรงดันอากาศตํ่า แรงดัน อากาศที่สูงกว่าด้านนอกกระบอกสูบจะดันลูกสูบลง ซึ่งจะท�ำให้คานกระดกและปั๊มท�ำงาน ในปี ค.ศ. 1776 สก็อตส์แมน เจมส์ วัตต์ ได้ พัฒนาเครื่องจักรไอนํ้าที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยไอนํ้าจะควบแน่นอยู่ด้านนอก กระบอกสูบหลัก ซึ่งจะท�ำให้กระบอกสูบ หลักยังร้อนอยู่ ลูกสูบที่ขยับขึ้นลงจาก แรงของไอนํ้าจะเพิ่มแรงให้เครื่องจักร ล้อและสายพานจะเชื่อมติดอยู่กับ เครื่องเพื่อหมุนและเดินเครื่องจักรใน โรงงาน
หม้อต้ม
เครื่องจักรไอนํ้า ของเจมส์ วัตต์
กระบอกสูบ และลูกสูบ
www.MISbook.com
สายพานเชื่อมต่อเครื่องยนต์ ไว้ กับเครื่องจักรในโรงงาน
หลอดไฟ
โทรเลขไฟฟ้า อุปกรณ์โทรคมนาคมเครื่องแรกๆ คือโทรเลข โดยข้อความจะถูก ส่งในรูปแบบของกระแสไฟฟ้า ในสายไฟ โดยใช้ ร หั ส ที่ ทั้ ง ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจตรงกัน ใน ปี ค.ศ. 1844 นักประดิษฐ์ชาว อเมริกันชื่อ ซามูเอล มอร์ส (ขวา) ได้คิดค้นระบบดอตและแดชเพื่อใช้แทน ตัวเลขและตัวอักษรขึ้น หรือที่เรียกกันว่า รหัสมอร์ส ซึ่งได้ใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ในโทรเลขไฟฟ้า
เครื่องควบแน่น
ในปี ค.ศ. 1879 นักประดิษฐ์ชาว อเมริกันชื่อ โทมัส เอดิสัน ได้พัฒนา หลอดไฟที่ใช้งานได้นาน โดยเส้นใย คาร์บอนตรงกลางจะร้อนมากจนเรือง แสงออกมา เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่าน เส้นใยดังกล่าวจะอยู่ในภาชนะที่ เป็นสูญญากาศเพือ่ ป้องกันไม่ให้กา๊ ซ ออกซิเจนท�ำปฏิกริ ยิ ากับคาร์บอนจน เกิดการเผาไหม้
7
1
อิเล็กทรอนิกส์
1 1
อิ
เล็กทรอนิกส์ คือการศึกษาพฤติกรรม ของอิเล็กตรอนและวิธกี ารน�ำเอามันมา ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ นับจากซ้ายบนวนตามเข็มนาฬิกา ใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ อิเล็กตรอนเป็น ซึ่งได้แก่ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ จอแอลอีดี และ อนุภาคขนาดเล็กมากที่อยู่ภายในอะตอม ทรานซิสเตอร์ ซึง่ เป็นองค์ประกอบของสสารต่างๆ ในวัสดุ บางชนิด เช่น โลหะ อิเล็กตรอนจะเคลือ่ นที่ เลขฐานสอง (Binary) คือระบบตัวเลขที่ใช้เพียงตัวเลข จากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งได้ 0 และ 1 ตัวเลขเหล่านี้จะถูกน�ำมาใช้เป็นตัวแทนในวงจร ดิจิตอลโดยการเปิด (1) หรือปิด (0) สัญญาณ “ค�ำ” ใน อย่างง่ายดาย ถ้ามีการท�ำให้อเิ ล็กตรอนไหล ระบบเลขฐานสองจะใช้ เลขโดดฐานสองหลายตัวเพือ่ แทน ผ่านสื่อกลาง เช่น ลวด กระแสไฟฟ้าก็จะ ตัวเลขฐานสิบ (ดูภาพด้านขวาประกอบ) ข้อมูลเกือบทุก เกิดขึน้ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์สามารถน�ำมา ชนิดสามารถใช้เลขฐานสองมาแทนได้ ใช้งานได้อย่างหลากหลาย บิต (Bit) คือหน่วยพื้นฐานของข้อมูลในระบบดิจิตอล
1
1
1 1 1
1 1 1
1 1 1
1 1
0
อิเล็กทรอนิกส์ ค�ำว่า “บิต (bit)” ย่อมาจากค�ำว่า “binary digit (เลขโดดฐานสอง)” ซึ่งจะแทนด้วยตัวเลข 1 หรือ 0 1 1 1 1 ไบต์ (Byte) คือกลุ่มตัวเลขจ�ำนวน 8 บิต ซึ่งเป็นตัวเลข 1 2 ที่ใช้แทนตัวเลขหรือตัวอักษรในคอมพิวเตอร์ ไบต์มักจะ 1 1 3 ใช้ในการวัดหน่วยความจ�ำของคอมพิวเตอร์ ตัวเก็บประจุ (Capacitor) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 1 4 ที่เก็บประจุไฟฟ้าไว้ ซึ่งประกอบด้วยฉนวนที่อยู่ระหว่าง 1 5 แผ่นตัวน�ำสองแผ่น 6 1 แผงวงจร (Circuit board) คือแผ่นฉนวนที่มีชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมติดอยู่ (เชื่อมติดกันโดยโลหะ) ลาย เลขฐานสอง เลขฐานสิบ โลหะจะเชื่อมต่อชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อสร้างวงจรขึ้นมา รูปนี้แสดงถึงการรวมเลขฐานสองคือเลข 0 และ 1 ใน ดิจิตอล (Digital) คือข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในรูปแบบเลข การแทนเลขฐานสิบ ฐานสองเท่านั้น ในวงจรดิจิตอลจะมีก�ำลังไฟฟ้าสองแบบ ภาพดิจติ อล (Digital picture) คือรูปภาพบนคอมพิวเตอร์ เท่านั้นคือ เปิดและปิด ทีป่ ระกอบกันจากพิกเซลในรูปแบบของตาราง แต่ละพิกเซล จะมีตำ� แหน่ง สีสัน และความสว่าง ซึ่งถูกเก็บข้อมูลเป็น ตัวเลขฐานสองไว้ในคอมพิวเตอร์
ตัวขยายสัญญาณ (Amplifier) คือวงจรอิเล็กทรอนิกส์
8
1
ทีเ่ พิม่ ก�ำลังสัญญาณไฟฟ้า เช่น ตัวขยายสัญญาณสามารถ เปลี่ยนสัญญาณอ่อนๆ จากวิทยุให้เป็นสัญญาณที่แรง มากพอที่จะท�ำให้เครื่องขยายเสียงท�ำงานได้ สัญญาณอนาล็อก (Analogue) ในขณะทีร่ ะบบดิจติ อล ใช้เพียงสองค่า คือ 1 หรือ 0 เพื่อเก็บข้อมูล แต่ระบบ อนาล็อกหรือระบบที่ไม่ใช่ดิจิตอลจะใช้ค่าที่ต่อเนื่อง ในวงจรอนาล็อก กระแสไฟจะมีกำ� ลังเท่าไรก็ได้ แต่ใน วงจรดิจติ อล กระแสไฟจะมีเพียงการเปิดหรือปิดเท่านัน้
www.MISbook.com 1
การแปลงข้อมูลให้เป็นรูปแบบดิจิตอล (Digitization)
2 วงจรรวมหรือไมโครชิป ซึ่งประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์และชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์อนื่ ๆ จ�ำนวนหลายพันชิ้น 3 วงจรรวมที่มีความ บอบบางจะถูกบรรจุ อยู่ ในกล่องพลาสติก เพื่อป้องกันไว้อย่างดี
2
1 ทรานซิสเตอร์แต่ละชิ้นในวงจร รวม มันมีขนาดเพียงไม่กรี่ อ้ ยส่วน ของ 1 มิลลิเมตร
3
คือกระบวนการเปลี่ยนข้อมูลอนาล็อกให้อยู่ในรูปแบบ ดิจิตอล ข้อมูลอนาล็อกต้องถูกเปลี่ยนให้เป็นดิจิตอลก่อน ที่จะเข้าสู่วงจรดิจิตอล ไดโอด (Diode) คืออุปกรณ์กงึ่ ตัวน�ำทีย่ อมให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้เพียงทิศทางเดียว ตัวน�ำไฟฟ้า (Electric conductor) คือวัสดุที่ยอมให้ อิเล็กตรอนไหลผ่านได้อย่างอิสระ ฉนวนไฟฟ้า (Electric insulator) คือวัสดุที่ลดหรือ ไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
รูปภาพบนจอประกอบด้วยพิกเซลขนาดเล็ก ในแต่ละจุด จะมีต�ำแหน่ง สีสันและความสว่างที่ถูกเก็บเป็นข้อมูล ไว้ในรูปแบบของ เลขฐานสอง
6
สัญญาณอนาล็อก
5 4 3 2 1 0 0
2
4
6
4
2
3
3
1
4
4
2
0
0
0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 0 0 1 0 0 1 1 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0
บิต
สัญญาณไฟฟ้า
สัญญาณไฟฟ้าอนาล็อกถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล บิตจะกลายมาเป็นการกระตุกของกระแสไฟฟ้า หรือการ เปิด (1) และปิด (0)
ขั้วไฟฟ้า (Electrode) คือตัวน�ำไฟฟ้าที่นำ� กระแสไฟฟ้า
ไปหรือมาจากส่วนที่ไม่ใช่โลหะในวงจร เช่น พลาสติกใน ตัวเก็บประจุ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic circuit) คือวงจรไฟฟ้า ทีป่ ระกอบด้วยชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เราสามารถน�ำวงจร อิเล็กทรอนิกส์มาใช้งานได้แทบทุกรูปแบบ โดยการประกอบ ชิ้นส่วนต่างๆ ในรูปแบบที่แตกต่างกัน ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic component) คือ ชิน้ ส่วนทัว่ ไปในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวต้านทานหรือ ไดโอด ชิ้นส่วนต่างๆ จะควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า เพื่อให้เครื่องใช้ไฟฟ้าท�ำงานได้
วงจรรวม (Integrated circuit) คือวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทีป่ ระกอบด้วยชิน้ ส่วนขนาดเล็กมาก ซึง่ ท�ำมาจากซิลกิ อน ชิ้นเล็กๆ ชิ้นส่วนต่างๆ สร้างขึ้นมาจากกรรมวิธีทางเคมี และการถ่ายภาพ มักจะมีการเรียกวงจรรวมว่าซิลิกอน ชิปหรือไมโครชิป
ไดโอดเปล่งแสง (แอลอีด)ี (Light emitting diode (LED))
พิ ก เซลนี้ อยู่ตรงแนว นอนในจุ ด ที่ 4 และแนว ตั้งในจุดที่ 6 สี ของมันคือสีเขียว ที่มีรหัสคือเลข 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 และความสว่ า ง อยู่ที่เลข 3 จากเลข 1-10 ดังนั้นรหัสของมันคือ 4653
คือไดโอดทีจ่ ะเกิดแสงสว่างขึน้ เมือ่ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน พิกเซล (Pixel) คือจุดสีขนาดจิว๋ ทีเ่ ป็นส่วนทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของ ภาพดิจิตอล พิกเซลย่อมาจากค�ำว่า “picture element (องค์ประกอบภาพ)” ตัวต้านทาน (Resistor) คือชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ 4 6 5 3 ไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านในวงจร 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 ค่าความละเอียดของภาพ (Resolution) คือความ ละเอียดของพิกเซลในรูปภาพ ภาพที่มีค่าความละเอียด รหัสพิกเซลจะถูกเก็บเป็นข้อมูลในรูปแบบเลขฐานสอง สูงหรือ “hi-res” จะประกอบด้วยพิกเซลเป็นล้านๆ จุด ซึ่งจะถูกแทนด้วยสัญญาณไฟฟ้า เลข 1 หมายถึง มี และสามารถมองเห็นบนจอภาพขนาดใหญ่ได้โดยไม่แยก สัญญาณไฟฟ้า เลข 0 หมายถึง ไม่มีสัญญาณไฟฟ้า เป็นพิกเซลแต่ละจุด สารกึ่งตัวน�ำ (Semiconductor) คือสสารที่เป็นได้ทั้ง ตัวน�ำไฟฟ้าหรือฉนวนไฟฟ้า ประวัติศาสตร์โดยย่อ ซิลิกอน (Silicon) คือธาตุที่ไม่ใช่โลหะและพบได้ในหิน ในปี ค.ศ. 1904 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ จอห์น หลายชนิด ซิลกิ อนสามารถสกัดออกจากก้อนหินได้ ท�ำให้ แอมโบรส เฟลมมิง ได้คิดค้นวาล์วเทอร์มิออนิค บริสุทธิ์และน�ำมาท�ำเป็นสารกึ่งตัวน�ำได้ ซิลิกอนมักจะถูก (thermionic valve) หรือหลอดสูญญากาศขึ้น น�ำมาใช้เป็นสารกึ่งตัวน�ำในวงจรรวม ซึ่งเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในการเปลี่ยนสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์โดยการควบคุม สวิตช์ (Switch) คือชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทสี่ ามารถหยุด การไหลของอิเล็กตรอน การไหลของอิเล็กตรอนรอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ได้ ในช่วงปี ค.ศ. 1950-1959 ทรานซิสเตอร์ (Transistor) คืออุปกรณ์กึ่งตัวน�ำที่ท�ำ อุปกรณ์กงึ่ ตัวน�ำได้เข้ามาแทนที่ หน้าที่เป็นได้ทั้งสวิตช์หรือตัวขยายสัญญาณ กระแสไฟ ที่ หลอดสูญญากาศอย่างรวดเร็ว ไหลผ่านระหว่างขัว้ สองขัว้ ของทรานซิสเตอร์จะถูกควบคุม ในปี ค.ศ. 1959 บริษทั เท็กซัส โดยกระแสไฟที่ไหลเข้าไปในขั้วที่สาม อินสตรูเมนต์สในสหรัฐอเมริกา ได้สร้างวงจรรวมชิ้นแรกขึ้นมา ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชิ้นส่วนที่จะ ประกอบอยูใ่ นชิปก็ได้เพิม่ จ�ำนวน หลอดสูญญากาศ ขึ้นอย่างรวดเร็ว
www.MISbook.com
เครื่องคิดเลข คอมพิวเตอร์ และ เครือ่ งเล่นเพลงแบบพกพาล้วนมีวงจร อิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการท�ำงาน ของเครื่องอยู่
สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic signal) คือสัญญาณ
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงก�ำลังและทิศทางของกระแส ไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง สัญญาณดิจิตอลใช้การกระตุกของ กระแสไฟฟ้าเพื่อแทนตัวเลขฐานสอง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
9
คอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) คือคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ แ ละมี ส มรรถนะสู ง ที่ ป ระกอบด้ ว ยซี พี ยู หลายหน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะมีหน้าที่แตกต่างกันไป เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ใช้ในการเก็บข้อมูลขนาดใหญ่และ ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลนั้นๆ ได้หลายพันคน
ค
อมพิวเตอร์คอื อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ที่ สามารถแปลงข้อมูลให้ใช้ประโยชน์ใน การ์ดหน่วยความจ�ำ (Memory card) คืออุปกรณ์เก็บ ข้อมูลที่ถอดออกได้ และใช้ในการถ่ายโอนข้อมูล เช่น งานด้านต่างๆ ได้อย่างมากมาย คอมพิวเตอร์ การ์ดหน่วยความจ�ำในกล้องถ่ายรูปดิจิตอลสามารถ สามารถท�ำงานได้หลายอย่าง ตั้งแต่งาน ถ่ายโอนรูปภาพไปยังคอมพิวเตอร์ได้ ง่ายๆ เช่น การประมวลผลค�ำ ไปจนถึง อีนิแอก คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรก งานทีม่ คี วามซับซ้อนมาก เช่น การควบคุม ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) คือวงจรรวม การบินของเครื่องบิน เป็นต้น มันท�ำงาน ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือชิน้ ส่วนคอมพิวเตอร์ เช่น วงจร ที่ ป ระกอบด้ ว ยซี พี ยู ข องคอมพิ ว เตอร์ ส ่ ว นบุ ค คล ได้โดยการป้อนชุดข้อมูลค�ำสั่งที่เรียกว่า อิเล็กทรอนิกส์และแผ่นดิสก์ รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ไมโครโพรเซสเซอร์ประเภทต่างๆ จะใช้ในอุปกรณ์ โปรแกรมเข้าไป คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูล เช่น เช่น จอภาพ เครื่องสแกนเนอร์ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือและนาฬิกาดิจิตอล ตัวเลข ค�ำ เสียง และรูปภาพเป็นดิจิตอลใน แป้นพิมพ์ (Keyboard) คือชุดแป้นพิมพ์ที่มีตัวเลขและ เป็นต้น รูปแบบเลขฐานสอง เราจะพบคอมพิวเตอร์ ตัวอักษรอยู่ ใช้ในการป้อนข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลในบ้านและส�ำนักงานแทบทุกแห่ง การกดแป้นพิมพ์จะท�ำให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สมบูรณ์ และ คอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ได้แก่ เมนเฟรม เป็นการป้อนค�ำสั่งไปยังคอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป (Laptop) คือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลประเภท และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หน่วยประมวลผลกลาง (ซีพยี )ู (Central processing
คือส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ที่ ท�ำงานตามค�ำสั่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซีพียูท�ำหน้าที่ เหมือน “สมอง” ของคอมพิวเตอร์ unit (CPU))
10
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
หนึ่งที่ท�ำงานโดยใช้แบตเตอรี่หรือพลังงานไฟฟ้าทั่วไป แท็บเล็ต คืออุปกรณ์ที่มีหน้าจอสัมผัสและท�ำงานหลาย อย่างได้เหมือนแล็ปท็อป
www.MISbook.com
คือ รูปภาพที่ถูกสร้างหรือแสดงผลในคอมพิวเตอร์ ซึ่ง อาจเป็นข้อความหรือรูปภาพสามมิติที่มีความซับซ้อน ภาพที่สร้างขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ (ซีจีไอ) (Computer generated imagery (CGI)) มักถูกน�ำมาใช้เพื่อเพิ่ม เครื่อง เทคนิคพิเศษในภาพยนตร์ สแกนเนอร์ แกนประมวลผล (Core) คือส่วนหนึ่งของไมโคร โพรเซสเซอร์ทที่ �ำหน้าทีข่ องมัน ยิง่ ไมโครโพรเซสเซอร์ มีแกนประมวลผลมากเท่าไร มันก็จะยิง่ สามารถท�ำงาน ได้มากขึ้นในเวลาเดียวกัน (Computer graphics)
จอภาพ
แหล่งจ่ายไฟ
คอมพิวเตอร์เฉพาะงาน (Dedicated computer)
คือคอมพิวเตอร์ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อท�ำหน้าที่เฉพาะ อย่างเท่านั้น คอมพิวเตอร์เฉพาะงานมักจะอยู่ ใน รูปแบบของอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ เช่น เครือ่ งเล่น เพลงส่วนตัว คอมพิวเตอร์ประเภทนีบ้ างครัง้ ถูกเรียกว่า คอมพิวเตอร์แบบฝัง ดาวน์โหลด (Download) คือการถ่ายโอนข้อมูลจาก คอมพิวเตอร์เครือ่ งหนึง่ ไปยังอีกเครือ่ งทีก่ ำ� ลังใช้งานอยู่
ฮาร์ดดิสก์
คือชิ้นส่วนหนึ่งใน คอมพิวเตอร์ที่ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ หรือ ที่เรียกว่าหน่วยความจ�ำ ข้อมูลจะถูกเก็บไว้บนจาน แม่เหล็กจ�ำนวนหนึง่ ในฮาร์ดดิสก์ ซึง่ สามารถอ่านข้อมูล จากดิสก์หรือเขียนข้อมูลลงไปได้ (Hard disc drive)
การ์ดที่มีวงจรแบบ เสียบพิเศษเพื่อเชื่อม ต่อคอมพิวเตอร์กับ อุปกรณ์อื่นๆ
หน่วยความจ�ำ อ่านได้อย่างเดียว (รอม) หน่วยความจ�ำเข้า ถึงโดยสุ่ม (แรม)
ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมหรือดีวีดีไดรฟ์ หน่วยประมวลผลกลาง (ซีพียู)
แป้นพิมพ์
ซอฟต์แวร์ (Software) คือโปรแกรมหรือชุดโปรแกรม
ที่คอมพิวเตอร์เก็บไว้และน�ำมาใช้ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) จะควบคุมการท�ำงานพืน ้ ฐาน เช่น การพิมพ์ เป็นต้น ส่วนซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) จะสัง่ การให้คอมพิวเตอร์ทำ� งานเฉพาะอย่าง เช่น สร้างฐานข้อมูลหรือเล่นเกม
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) คือคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสูงที่ใช้ในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องสามารถท�ำงานได้เท่ากับพีซี จ�ำนวนหลายพันเครื่อง แต่ต้องใช้พื้นที่กว้างมาก
พอร์ตการเชื่อมต่อแบบอนุกรม (ยูเอสบี) (Universal คื อ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เ ชื่ อ มต่ อ อุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์หรือเมาส์เข้ากับ คอมพิวเตอร์ Serial Bus (USB))
โปรแกรมจ�ำลองการบิน คือรูปแบบหนึ่งของความเป็น จริงเสมือนที่ใช้ในการฝึกนักบินได้อย่างปลอดภัย
จอภาพ
(Monitor)
ข้อความและรูปภาพ
คือหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่จะแสดง
แผงหลัก (Motherboard) คือแผงวงจรหลักในคอมพิวเตอร์ ที่มีชิ้นส่วนต่างๆ เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์เชื่อมติดอยู่ ชิ้นส่วนต่างๆ จะถูกเชื่อมต่อกันด้วยโลหะที่เรียกว่า “บัส (bus)”
อัปโหลด (Upload) คือการโอนถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) (Personal Computer ที่ก�ำลังใช้งานอยู่ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง (PC)) คือคอมพิวเตอร์ที่ประกอบด้วยหน่วยประมวล ผล หน่วยความจ�ำ ดิสก์ ไดรฟ์ แป้นพิมพ์ จอภาพ และ ความเป็นจริงเสมือน (วีอาร์) (Virtual reality (VR))
ซอฟต์แวร์ พีซีสามารถใช้ในการท�ำเอกสาร หาข้อมูลใน อินเตอร์เน็ต เล่นเกม และอื่นๆ อีกมากมาย
โปรแกรม (Program) คือชุดค�ำสั่งที่ควบคุมการท�ำงาน
ของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจ�ำเข้าถึงโดยสุ่ม (แรม) (Random Access
คือสภาวะที่จ�ำลองมาจากคอมพิวเตอร์ โดยการใช้ ภาพกราฟิกส์ เสียง และการเคลื่อนไหว วีอาร์สามารถ ใช้ ใ นการสร้ า งเกมหรื อ ฝึ ก ผู ้ เ ชี่ ย วชาญใน สาขาอาชีพต่างๆ เช่น ศัลยแพทย์ และนักบิน เป็นต้น
www.MISbook.com คือหน่วยความจ�ำของคอมพิวเตอร์ที่ เก็บข้อมูลโปรแกรมและเก็บข้อมูลจากโปรแกรมที่ก�ำลัง ท�ำงานอยู่ ข้อมูลจะหายไปเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง ที่ถูกเรียกว่า “โดยสุ่ม” เนื่องจากผู้ใช้สามารถเข้าถึง ข้อมูลได้อย่างอิสระ
Memory (RAM))
หน่วยความจ�ำแบบอ่านได้อย่างเดียว (รอม) (Read-Only
คือหน่วยเก็บข้อมูลค�ำสั่งถาวรของ คอมพิวเตอร์ที่ท�ำหน้าที่พื้นฐาน เช่น การเปิดเครื่อง ที่ ถูกเรียกว่า “แบบอ่านได้อย่างเดียว” เพราะไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงหรือเขียนข้อมูลใหม่ได้ ข้อมูลจะไม่หายไป เมื่อปิดเครื่อง Memory (ROM))
เครื่องพิมพ์
เมาส์
หุ่นยนต์งานเชื่อมที่ใช้ในอุตสาหกรรมรถยนต์จะถูก ควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์
ตัวการ์ตูน ที่สร้างจาก คอมพิวเตอร์
ประวัติศาตร์โดยย่อ ในปี ค.ศ. 1832 นักประดิษฐ์ชาวอังกฤษชื่อ ชาร์ลส์ แบ็บเบจได้จดสิทธิบตั รคอมพิวเตอร์เครือ่ งกล เครื่องแรก ในช่วงปี ค.ศ. 1940-1949 ได้มีการพัฒนา คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้น ซึ่งเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทใี่ ช้หลอดสูญญากาศหลาย พันหลอด คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกที่ ประสบความส�ำเร็จคืออีนแิ อก ซึง่ เสร็จสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1946 ในช่วงปี ค.ศ 1960-1969 การคิดค้นวงจรรวม ส่งผลให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ทมี่ ขี นาดเล็กลง ได้ ในปี ค.ศ. 1952 เกมโอเอกซ์นบั เป็นเกมคอมพิวเตอร์ เกมแรกทีม่ กี ารแสดงภาพกราฟิกส์ โดยถูกสร้างขึน้ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ในประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1977 มีการวางขายคอมพิวเตอร์ ประจ�ำบ้านในตลาดเป็นครั้งแรก ในช่วงปี ค.ศ. 1980-1989 ได้มีการพัฒนา แล็ปท็อปน�ำ้ หนักเบาขึ้น
11
ก
โทรศัพท์เคลื่อนที่
คือโทรศัพท์ ไร้สายที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์โดยวิทยุ ในเขต พื้นที่ให้บริการจะแบ่งออกเป็นเซลล์ ในแต่ละเซลล์จะมี เครื่องส่งและรับสัญญาณที่โทรศัพท์เคลื่อนที่เชื่อมต่อได้
การสื่อสารโทรคมนาคม
(Mobile telephone)
ารส่งและรับข้อมูลโดยการใช้ไฟฟ้า อีเมล (Email) คือระบบในการส่งข้อความแบบเกือบจะ โมเด็ม (Modem) คืออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ คลื่ นวิ ท ยุ หรื อ แสงเรี ย กว่ า การ ทันทีระหว่างผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสองฝั่ง อีเมลย่อมาจากค�ำ เข้ากับอินเตอร์เน็ตโดยผ่านสายโทรศัพท์ โมเด็มจะแปลง สัญญาณอนาล็อกจากในสายให้เป็นสัญญาณดิจิตอลและ สื่อสารโทรคมนาคม ข้อมูลเป็นได้ทั้งการ ว่า “electronic mail (จดหมายอิเล็กทรอนิกส์)” โทรศัพท์ รายการวิทยุ ภาพโทรทัศน์ หรือ แฟกซ์ (Fax) คือข้อมูลที่ถูกส่งระหว่างเครื่องสองเครื่อง ส่งกลับไปอีกครั้ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ รูปแบบของการสือ่ สาร ผ่านสายโทรศัพท์ ค�ำว่าแฟกซ์ยอ่ มาจากค�ำว่า “facsimile” การมัลติเพล็กซ์ (Multiplexing) คือเทคนิคในการเพิ่ม โทรคมนาคมส่วนใหญ่ต้องอาศัยเครื่อง เครื่องแฟกซ์จะสแกนเอกสาร และตรวจจับรูปแบบของ จ�ำนวนข้อมูลที่ส่งผ่านในเครือข่าย ซึ่งท�ำได้โดยการรวม กจากนัน้ ข้อมูลจะถูกส่งไปในรูปแบบสัญญาณผ่านสาย กระแสข้อมูลเป็นสัญญาณขนาดใหญ่เพียงสัญญาณเดียว ส่งและเครื่องรับสัญญาณ และเครือข่าย หมึ โทรศัพท์ เครือ่ งรับจะอ่านสัญญาณที่ได้ และสร้างเอกสาร และส่งผ่านสายเคเบิลเส้นเดียว ข้อมูลจะถูกแยกออกเป็น เพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์ดังกล่าวเข้าด้วยกัน ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง กระแสเดี่ยวเมื่อถึงปลายทาง ข้อมูลทั้งหมดจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณที่ อินเตอร์เน็ต (Internet) คือเครือข่ายการสื่อสารที่ เดินทางผ่านเครือข่ายได้ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (ค.ศ. 1847-1922) คื อ นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน-สกอตผู้คิดค้นโทรศัพท์ขึ้นใน ปี ค.ศ. 1876 (Bell, Alexander Graham (1847-1922))
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ด้วยกัน คอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่จะเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตผ่านสาย โทรศัพท์หรือสายเคเบิล การใช้อินเตอร์เน็ตจะอยู่ใน รูปแบบของอีเมลและเวิลด์ ไวด์เว็บ
ชุมสายต่างประเทศ
บรอดแบนด์ (Broadband) คือระบบการสือ่ สารความเร็ว 12
สถานีดาวเทียม
เครื่องโทรสาร
สูงที่กระแสข้อมูลมากมายสามารถส่งผ่านได้พร้อมๆ กันในคราวเดียว อินเตอร์เน็ตบรอดแบนด์จะท�ำให้การ อัปโหลดและดาวน์โหลดรวดเร็ว
www.MISbook.com
สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) คือลวด ทองแดงหุ้มด้วยฉนวนที่สัญญาณจะถูกส่งผ่าน ไปในรูปแบบของกระแสไฟฟ้า สายโคแอกเชียล จะใช้ในโทรทัศน์ โทรศัพท์ และเครือข่าย คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์ ภายในบ้าน
ชุมสาย เฉพาะที่
ระบบสื่อสาร ไมโครเวฟ ชุมสายหลัก
เครื่องส่งสัญญาณ ชุมสายการสื่อสาร เคลื่อนที่
ผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต เครือข่าย โทรศัพท์ เคลื่อนที่
ในเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้น ในแต่ละเซลล์ (ส่วนหนึ่งของพื้นที่ให้บริการ) จะมีเสาวิทยุที่สื่อสาร กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เข้ามาในบริเวณนั้น
โทรศัพท์ เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์
เครื่องโทรสาร
โทรศัพท์ ภายในบ้าน
ชุมสาย ท้องถิ่น
คอมพิวเตอร์
ดาวเทียม โทรศัพท์ เคลื่อนที่
สัญญาณวิทยุถูกส่ง ไปยังดาวเทียม สถานีดาวเทียม
ชุมสายหลัก สายเคเบิล ใต้ทะเล
ชุมสายต่างประเทศ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
www.MISbook.com
เครือข่าย (Network) คือการเชื่อมต่อของคอมพิวเตอร์ ดาวเทียม สองเครือ่ งหรือมากกว่านัน้ เพือ่ แบ่งปันข้อมูลกัน ระบบ เครือข่ายเฉพาะที่จะใช้สายเคเบิลเพื่อเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ส่วนเครือ ข่ายระยะไกลจะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มี ระยะทางไกลกันผ่านโมเด็ม เครือข่าย ไร้สายจะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์โดยใช้ คลื่นวิทยุแทนสายเคเบิล
สายใยแก้วน�ำแสง (Optical-fibre cable) คือสายเคเบิลทีส ่ ง่ สัญญาณ
ในรูปแบบของแสงผ่านเส้นใยแก้ว ขนาดเล็ก ชุมสายท้องถิ่น จะถูกเชือ่ มต่อกับ สถานีการสือ่ สาร ไมโครเวฟ โทรศัพท์ ภายในบ้าน
คืออุปกรณ์ที่ถูกส่งออกไปบน อวกาศและจะโคจรรอบโลก ดาวเทียมสื่อสารจะถ่ายทอด สัญญาณวิทยุไปยังสถานีภาคพื้นดินบนโลก (Satellite)
เว็บไซต์ (Website) คือกลุ่มข้อมูล เช่น ข้อความและ
รูปภาพที่ถูกเก็บไว้บนอินเตอร์เน็ต
เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) คือระบบรวบรวม
เซิร์ฟเวอร์ (Server) คือคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลจ�ำนวน ข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งอนุญาตให้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง มากไว้ และสามารถเข้าถึงข้อมูลนั้นจากคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องในเครือข่ายได้
สมาร์ทโฟน
คือโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ถ่ายรูป และใช้งานในด้าน อื่นๆ ได้
โทรศัพท์
(Smartphone)
คืออุปกรณ์ที่ส่งผ่านค�ำพูดผ่าน ระยะทางไกล การต่อเลขหมายเป็นการเชื่อมต่อระหว่าง โทรศัพท์สองเครื่อง ไมโครโฟนจะเปลี่ยนเสียงพูดให้เป็น สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะถูกส่งผ่านสายไปยังเครื่อง รับอีกเครื่อง และล�ำโพงก็จะเปลี่ยนสัญญาณให้กลับไป เป็นเสียงพูด (Telephone)
ชุมสายโทรศัพท์ (Telephone exchange) คือสถาน
ที่ที่มีสายโทรศัพท์เชื่อมต่อกัน ชุมสายท้องถิ่นทั้งหมด ในพื้นที่หนึ่งๆ จะเชื่อมต่อกับชุมสายหลัก ซึ่งจะเชื่อมต่อ กับชุมสายหลักอื่นๆ อีก เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก็เชื่อมต่อกับชุมสายเช่นกัน
เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตเพื่อขอหรือคัดลอกแฟ้มข้อมูล จากคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง
ประวัติศาตร์โดยย่อ ในปี ค.ศ. 1837 ได้มกี ารคิดค้นโทรเลขไฟฟ้าขึน้ ในปี ค.ศ. 1876 เครื่องรับสัญญาณโทรศัพท์ได้ รับการจดสิทธิบัตร ในปี ค.ศ. 1878 มีการเปิดชุมสายโทรศัพท์ขึ้น เป็นครั้งแรก ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1969 การพัฒนาอินเตอร์เน็ต ได้เริ่มต้นขึ้น ในปี ค.ศ. 1962 ได้มกี ารปล่อยดาวเทียมสือ่ สาร เป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1979 ได้มี เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1988 อินเตอร์เน็ต ได้แพร่หลายสู่สาธารณะ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์
13
สารานุกรมประกอบภาพ
ยิ่งเร�ยนรู ยิ่งพัฒนา ยิ่งค นหา ยิ่งได คำตอบ
เปดโลกการเรียนรู ใหกวางไกลและรูจริงกวาใคร ดวยสารานุกรมประกอบภาพรอบรูเร�องรอบตัว รวมเร�่องราวน ารู รอบตัวตั้งแต ยุคโบราณจนถึงยุคป จจ�บันที่ใช เทคโนโลยี ล�ำสมัย ในแต ละเร�่องจะมีคำศัพท สำคัญและคำอธ�บายที่ทำให เราเข าใจได อย าง ง ายดาย อีกทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ช วยเสร�มสร างจ�นตนาการและ ความเข าใจให มากยิ่งข�้น
16 สุดยอดสารานุกรมประกอบภาพที่เรายอโลกทั้งใบมารวมไว ในสารานุกรมชุดนี้แลว โลกยุคโบราณ
สัตว
ช�วว�ทยา
ไดโนเสาร และสิ่งมีช�ว�ตยุคก อน ประวัติศาสตร
โลก
ร างกายมนุษย
ป ศาจตัวจ�๋ว
มหาสมุทร
ประวัติศาสตร
ประเทศต างๆ ในโลก
ธรรมชาติ
โลกของเรา
ว�ทยาศาสตร
อวกาศ
เทคโนโลยี
การขนส ง ISBN 978-616-527-918-5
9
786165
279185
หมวด : สารานุกรม 125.-
เทคโนโลยี
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข www.MISbook.com อมูลอ างอิงระดับชั้นประถม-มัธยมศึกษา
อธิบายชัดเจน เขาใจงาย
เทคโนโลยี หนังสือ ลิขสิทธ�์จาก ษ ฤ ก ง ั อ ศ ท เ ะ ร ป
เสร�มความรู ในห องเร�ยน นอกห องเร�ยน และใช เป นข อมูลอ างอิงระดับชั้นประถมศึกษา - มัธยมศึกษา
คำศัพท สำคัญที่ควรรู มากกว า 200 คำ