ระบบร่างกายมนุษย์ Human Body ฉบับปรับปรุง

Page 1

โดย ผศ. ดร.อรกัญญ ภูมิโคกรักษ Ph.D. in Pharmacology

Human Body

ฉบบั

รู จักกลไกธรรมชาติภายในรางกาย ระบบการทำงานและหนาที่ของอวัยวะตางๆ

ปเนอ้ื รหาสบั มปบรู รณแงุ บบ เพอ� การเรียนรเู บือ้ งตน

เซลลและเนื้อเยื�อ

อวัยวะ

รางกาย

Did you know? เรื�องนารูเกี่ยวกับรางกาย คำถามทายบท พรอมเฉลย Glossary รวมคำศัพทที่ควรรูของระบบรางกาย เรียนรูครบทุกระบบในเลมเดียว!

พิมพ4 สี ทั้งเลม

า อ้ื ห น เ รงุ ษ บั ป าพเิ ศ ร บั ป ค ฉบ รา

.9 19



Human Body

โดย ผศ. ดร.อรกัญญ ภูมิโคกรักษ Ph.D. in Pharmacology


ISBN : 978-616-527-336-7 ราคา : 199 บาท สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำ�นักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามนำ�ส่วนหนึง่ ส่วนใด ของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ทำ�สำ�เนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ�ไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต และเครือข่าย ต่างๆ ไม่วา่ จะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากทางสำ�นักพิมพ์เท่านัน้ ชือ่ ผลิตภัณฑ์และเครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีอ่ า้ งถึงเป็นของบริษทั นัน้ ๆ

คณะผูจ้ ดั ท�ำ

ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ รองศาสตราจารย์สนุ ยี ์ สินธุเดชะ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผูเ้ ขียน ผศ. ดร.อรกัญญ์ ภูมโิ คกรักษ์ ออกแบบปก, ออกแบบศิลป์ ภรณีย์ สนองผัน ภาพประกอบ จิราวัฒน์ นพประไพ, ชนิกานต์ กิตติปฏิมาคุณ, พจนา พลบ�ำรุง พิสจู น์อกั ษร ชนาภัทร พรายมี สิรนิ าถ มณีชยั ประสานงานสือ่ สิง่ พิมพ์ บุษกร กูห้ ลี ฝ่ายการตลาด ชลพิชา ครืน้ จิต, มยุรี ศรีมงั คละ พิมพ์ที่ บริษทั พิมพ์ดี จ�ำกัด ผูพ้ มิ พ์/ผูโ้ ฆษณา เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัต)ิ โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชัน้ 19 อาคารเนชัน่ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8222, 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8356-9 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนีผ้ ลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซำ�้ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยนิ ดีรบั ผิดชอบเปลีย่ น ให้ใหม่ โดยส่งมาเปลีย่ นตามทีอ่ ยูด่ า้ นบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัต)ิ


ค�ำน�ำ

มนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ กิดจากกลไกธรรมชาติ ภายใน ร่างกายของเรานัน้ ประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่าง ซึง่ ช่วยกันท�ำหน้าทีใ่ ห้รา่ งกายมีชวี ติ อยูไ่ ด้ หากอวัยวะส่วนใด ส่วนหนึง่ บกพร่องจะท�ำให้รา่ งกายท�ำงานผิดปกติ ดังนัน้ จึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญทีค่ วรรูแ้ ละศึกษาว่า อวัยวะหรือ ส่วนประกอบภายในร่างกายท�ำหน้าทีอ่ ะไร และควร ดูแลรักษาหรือปกป้องอย่างไร หนังสือ “ระบบร่างกายมนุษย์” เล่มนี้ จัดท�ำขึน้ เพือ่ เป็นประโยชน์แก่เด็กและเยาวชนได้เรียนรูส้ ว่ น ต่างๆ ของร่างกาย โดยผ่านเนือ้ หาและภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ภาพประกอบชัดเจนตรงตามหัวข้อ พร้อมเกร็ดความรู้ และค�ำศัพท์ทเี่ กีย่ วกับระบบร่างกายมากมาย ซึง่ จะช่วย ให้เข้าใจเนือ้ หาได้ดยี งิ่ ขึน้ ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส

เซลลและเนื้อเยื1อ

อวัยวะ

รางกาย


สารบัญ 01 02 03 05 06 08

เซลล์และเนือ้ เยือ่ Cells and Tissues . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1 เลือดและภูมคิ มุ้ กัน Blood and Immunity. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 9 พันธุศาสตร์ Genetics . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .19

04

การเติบโตและพัฒนาการ Growth and Development . . . . 25

ระบบประสาท Nervous System. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ..33 การรับรูเ้ ฉพาะ

Organs of Special Senses. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .43

07

ระบบหัวใจและหลอดเลือด Cardiovascular System . . . . . . .65

ระบบทางเดินหายใจ Respiratory System. . . . . . . . .75


Human Body

09 10 11 14 16 17

ระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary System . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 83 ระบบทางเดินอาหาร Digestive System . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 91 ระบบต่อมไร้ทอ่ Endocrine System . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 101

12 13

ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System

15

ระบบกล้ามเนือ้ และโครงกระดูก Musculoskeletal System . . . . . . . . . . 113 จุลนิ ทรียแ์ ละปรสิต

Microbials and Parasites . . . . . . . . . . 121

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 133 โภชนาการ Nutrition . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .143

ภาวะเสือ่ มและชราภาพ Deterioration . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 149 เนือ้ งอก

Neoplasia . . . . . . . . . . 155

เฉลยค�ำถามท้ายบท Answers . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .163 ค�ำศัพท์ทคี่ วรรู้ Glossary . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 168

Contents



Chapter

01

Human Body

1

Cells and Tissues เพือ่ นๆ ทราบไหมว่า... คนและสัตว์ประกอบขึน้ ด้วยเซลล์ (cell) ทัง้ นัน้ ซึง่ ท�ำหน้าทีแ่ ตกต่างกันไป ถ้าหากเพือ่ นๆ เปรียบเทียบ ร่างกายมนุษย์เป็นเสมือนโรงงานขนาดใหญ่ เซลล์ในร่างกายก็จะเป็น บุคลากรทีท่ ำ� งานในร่างกายนัน่ เอง เซลล์หลายๆ เซลล์รวมกันจะกลายเป็นเนือ้ เยือ่ และเนือ้ เยือ่ หลายๆ เนื้อเยื่อมารวมกันหรือท�ำหน้าที่อย่างเดียวกันเราก็จะ เรียกว่า อวัยวะ เช่น หัวใจ ตับ ไต เมือ่ อวัยวะต่างๆ ท�ำงานหรือปฏิบตั ิ กิจกรรมพิเศษร่วมกันในร่างกายจะเกิดเป็นระบบอวัยวะ เช่น ระบบ ย่อยอาหาร

เซลล์และเนือ้ เยือ่


2

Human Body

เซลล์และเนือ้ เยือ่ Cells and Tissues

สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดในโลกนีป้ ระกอบด้วยโครงสร้างหน่วยย่อยทีเ่ รียกว่า เซลล์ สิง่ มีชวี ติ บางชนิดประกอบด้วยเซลล์จ�ำนวน 1 เซลล์ แต่บางชนิด เช่น มนุษย์ สัตว์ ประกอบด้วย เซลล์จ�ำนวนหลายล้านเซลล์

เซลล์ชนิดเดียวกันอาจมาอยูร่ ว่ มกันโดยมีสาร บางชนิดกัน้ ระหว่างเซลล์ ลักษณะเช่นนีท้ �ำให้เกิดเป็น เนือ้ เยือ่ เนือ้ เยือ่ หลายๆ ชนิดอาจมาอยูด่ ว้ ยกัน ท�ำให้ มีโครงสร้างทีเ่ ป็นระเบียบมากขึน้ โดยมีประสาทและ หลอดเลือดมาเลีย้ งจนเกิดเป็นอวัยวะหลายๆ อวัยวะ ทีท่ �ำงานร่วมกันเรียกว่า ระบบการท�ำงานของร่างกาย ซึง่ มีอยูห่ ลายระบบด้วยกัน ในบทนีจ้ ะอธิบายรายละเอียดเกีย่ วกับเซลล์ เนือ้ เยือ่ อวัยวะ และระบบการท�ำงานของร่างกาย เพือ่ ให้เห็นภาพชัดเจนมากยิง่ ขึน้

เซลล์ (Cell) เซลล์เป็นโครงสร้างหน่วยย่อย ของสิง่ มีชวี ติ ถ้าสิง่ มีชวี ติ เปรียบเสมือน บ้าน เซลล์กเ็ ปรียบเสมือนอิฐแต่ละก้อน แตกต่างกันตรงที่อิฐทุกก้อนในบ้านจะมี ขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบเหมือนกัน ทุกประการ แต่สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์ จ�ำนวนมาก จะมีเซลล์อยูห่ ลายชนิด มีขนาดรูปร่าง ส่วนประกอบภายในเซลล์ และหน้าทีแ่ ตกต่างกัน เพือ่ ให้ ท�ำงานได้อย่างเหมาะสม อาจลองพิจารณาจากตัวอย่างของ สิง่ มีชวี ติ เช่น มนุษย์ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด

Cells and Tissues


Human Body

3

ไม่วา่ จะเป็นเซลล์เม็ดเลือด เซลล์สร้างเส้นใย เซลล์ประสาท เซลล์แต่ละชนิดมีขนาด รูปร่าง ส่วนประกอบภายในและหน้าทีแ่ ตกต่างกัน แต่ไม่วา่ จะเป็นชนิดใดก็ตามส่วนประกอบ พืน้ ฐานของเซลล์มนุษย์ทกุ เซลล์จะมีความคล้ายคลึงกันตรงทีป่ ระกอบด้วยเยือ่ หุม้ เซลล์ นำ�้ ในเซลล์ ออร์แกเนลล์ เยือ่ หุม้ นิวเคลียส และนิวเคลียส

เซลล์ของมนุษย์และสัตว์แตกต่าง จากเซลล์ของพืช และเซลล์ของพืชแตกต่าง จากเซลล์ของจุลนิ ทรียห์ ลายประการ ประการ หนึี่งที่ส�ำคัญก็คือ เซลล์ของมนุษย์และสัตว์ จะไม่มีผนังเซลล์ ในขณะที่เซลล์ของพืชจะมี ผนังเซลล์ เนือ้ หาภายในบทนีจ้ ะกล่าวถึงเซลล์ของ มนุษย์เท่านัน้ เซลล์เปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มี ความซับซ้อน มีส่วนประกอบมากมายที่ท�ำให้สามารถ ติดต่อสือ่ สารกับสิง่ แวดล้อม เปลีย่ นแปลงรูปร่าง รับข้อมูล และสังเคราะห์สารได้เป็นจ�ำนวนมาก

เซลล์และเนือ้ เยือ่


4

Human Body

ส่วนประกอบของเซลล์ ส่วนนอกสุดของเซลล์ คือ เยือ่ หุม้ เซลล์ ซึง่ เป็นเยือ่ บางๆ ประกอบด้วยไขมันประมาณครึง่ หนึง่ และโปรตีน อีกประมาณครึง่ หนึง่ โมเลกุลไขมันจะเรียงตัวเป็น 2 ชัน้ ประกบกันโดยมีโมเลกุลโปรตีนฝังอยู่ เยือ่ หุม้ เซลล์จะยอม ให้สารบางชนิดผ่านเข้าออกเซลล์ได้เท่านัน้ สารทีล่ ะลายในไขมันได้มากจะผ่านชัน้ ไขมันของเยือ่ หุม้ เซลล์ได้งา่ ย แต่ สารอืน่ ๆ อาจต้องอาศัยโปรตีนทีฝ่ งั อยูเ่ พือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นช่องทางให้สารผ่านได้ นอกจากนีโ้ ปรตีนบางโมเลกุลในเยือ่ หุม้ เซลล์กท็ �ำหน้าทีเ่ ป็นตัวรับ (receptor) ให้สารหลายชนิด เช่น ฮอร์โมนในร่างกาย ยา สารเคมี มาจับแล้วสือ่ สาร กับเซลล์โดยไม่ตอ้ งผ่านเข้าไปในเซลล์ ใกล้กบั ส่วนฐานของเซลล์จะเป็นโครงสร้างทรงกลมขนาดใหญ่เรียกว่า นิวเคลียส มีเยือ่ หุม้ นิวเคลียสเป็นเยือ่ 2 ชัน้ ล้อมรอบอยู่ ภายในนิวเคลียสจะมีโครโมโซมซึง่ เป็นทีอ่ ยูข่ องจีน (gene) โครโมโซมประกอบขึน้ จากสารบางชนิดรวม กับกรดดีออกซีไรโบนิวคลีอกิ หรือทีเ่ รียกสัน้ ๆ ว่า ดีเอ็นเอ เป็นโมเลกุลสายคูแ่ ละขดเป็นเกลียว ในนิวเคลียสยังมีโครงสร้าง ทรงกลมทีเ่ รียกว่า นิวคลีโอลัส อยูด่ ว้ ย นิวคลีโอลัสนีป้ ระกอบด้วย กรดไรโบนิวคลีอกิ หรือทีเ่ รียกสัน้ ๆ ว่า อาร์เอ็นเอ เป็นหลัก เนื้อที่ระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์กับนิวเคลียสเรียกว่า ไซโทพลาซึม ประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ ทีอ่ ยูก่ นั เป็นสัดส่วน และแบ่งหน้าทีก่ ารท�ำงานไว้เรียกว่า ออร์แกเนลล์ ออร์แกเนลล์ ทีส่ �ำคัญ เช่น ร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum) ไรโบโซม (ribosome) ไมโทคอนเดรีย (mitochondrion) กอลไจแอปพาราตัส (golgi apparatus) และไลโซโซม (lysosome)

◌ ร่างแหเอนโดพลาซึม

ชนิดที่มีไรโบโซม ติดอยูจ่ ะท�ำหน้าทีส่ งั เคราะห์โปรตีน ส่วนชนิดทีไ่ ม่มไี ร โบโซมจะสังเคราะห์ไขมันและสเตียรอยด์

◌ ไรโบโซม เป็นต�ำแหน่งทีม่ กี ารสังเคราะห์โปรตีน ◌ ไมโทคอนเดรีย เป็นแหล่งพลังงานหลักของเซลล์ ◌ กอลไจแอปพาราตัส เกีย่ วข้องกับการล�ำเลียง โปรตีนบางชนิดภายในเซลล์

◌ ไลโซโซม ท�ำหน้าทีย่ อ่ ยวัสดุแปลกปลอม (เช่น แบคทีเรีย) และออร์แกเนลล์ทที่ �ำหน้าทีไ่ ม่ได้แล้ว

Cells and Tissues

ภาพตัวอย่างเซลล์ชนิดต่างๆ เซลล์รปู ทรงกระสวย เซลล์ชนิดนีม้ กั พบใน กล้ามเนือ้ เรียบ

เซลล์ประสาท เซลล์ชนิดนีม้ กั พบในระบบ ประสาท

เซลล์เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์ทไี่ ม่มนี วิ เคลียส

เซลล์กล้ามเนือ้ ลาย เซลล์ชนิดนีพ้ บในกล้ามเนือ้ ลาย จะมีนวิ เคลียสหลายอัน


Human Body

5

ภาพแสดงการเรียงตัวของเซลล์

ส่วนประกอบของเซลล์ นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ร่างแหเอนโดพลาซึม (Endoplasmic reticulum)

นิวเคลียส (Nucleus) ไรโบโซม (Ribosome)

ไมโทคอนเดรีย (Mitochondrion)

กอลไจแอปพาราตัส (Golgi apparatus)

เซนโทรโซม (Centrosome)

เยือ่ หุม้ เซลล์ (Plasma membrane) ไลโซโซม (Lysosome)

เซลล์และเนือ้ เยือ่


6

Human Body

ระบบการท�ำงานของร่างกาย เนือ้ เยือ่ และอวัยวะส�ำคัญทีเ่ กีย่ วข้อง ระบบสร้างเม็ดเลือด

ช่วงเอ็มบริโอ (embryo) : ถุงไข่แดง ตับ ต่อมไทมัส ม้าม ปุ่มน�้ำเหลือง (lymph node) หลังจากเกิด : ไขกระดูก ม้าม ต่อมไทมัส

ระบบน�้ำเหลือง

หลอดน�้ำเหลือง ปุ่มน�้ำเหลือง เนื้อเยื่อน�้ำเหลือง

ระบบภูมิคุ้มกัน

ไขกระดูก ต่อมไทมัส ม้าม

ระบบประสาทกลาง สมอง ไขสันหลัง (central nervous system) ปมประสาทอิสระ (autonomic ganglion) ระบบประสาทนอกส่วนกลาง (peripheral nervous system) ปมประสาทรับความรู้สึก (sensory ganglion) ข่ายประสาท (nerve plexus)

ระบบผิวหนัง

ผิวหนัง ผม ขน เล็บ

ระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก

กล้ามเนื้อ กระดูก กระดูกอ่อน

ระบบหัวใจและหลอดเลือด

หัวใจ หลอดเลือด

ระบบทางเดินหายใจ

ทางเดินอากาศตั้งแต่จมูกจนถึงถุงลมในปอด

ระบบทางเดินปัสสาวะ

ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ

ระบบทางเดินอาหาร

ทางเดินอาหารตั้งแต่ปากจนถึงทวารหนัก ตับ ตับอ่อน ถุงน�้ำดี

ระบบต่อมไร้ท่อ

เนื้อเยื่อต่างๆ ที่สามารถหลั่งฮอร์โมนได้

ระบบสืบพันธุ์

ผู้หญิง : รังไข่ ท่อน�ำไข่ มดลูก อวัยวะเพศหญิง ผู้ชาย : อัณฑะ องคชาต ต่อมลูกหมาก

Cells and Tissues


Human Body

7

เนือ้ เยือ่ เมือ่ เซลล์ชนิดเดียวกันมาอยูร่ วมกัน โดยมีสารระหว่างเซลล์ ล้อมรอบจะเกิดเป็นเนือ้ เยือ่ ขึน้

ในร่างกายมีเนือ้ เยือ่ อยู่ 4 ชนิด ได้แก่

1. เนือ้ เยือ่ บุผวิ 2. เนือ้ เยือ่ เกีย่ วพัน ซึง่ ครอบคลุมถึงเลือด กระดูก และกระดูกอ่อน 3. เนือ้ เยือ่ กล้ามเนือ้ 4. เนือ้ เยือ่ ประสาท

ภาพตัวอย่างการเรียงตัวของเนือ้ เยือ่ กล้ามเนือ้

อวัยวะ อวัยวะ หมายถึง ส่วนต่างๆ ของร่างกายทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีเ่ ฉพาะอย่าง เช่น หายใจ หลัง่ สาร และอวัยวะทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในร่างกายก็คอื ผิวหนัง

ระบบการท�ำงานของร่างกาย ร่างกายแบ่งออกเป็นระบบต่างๆ ตามความสัมพันธ์ทาง โครงสร้าง เช่น ระบบหลอดเลือด ครอบคลุมหลอดเลือด ทัง้ หมดในร่างกาย หรือทางการท�ำงาน เช่น ระบบทาง เดินอาหาร ครอบคลุมอวัยวะทีเ่ กีย่ วข้องกับการย่อย ดูดซึม และขับถ่ายอาหารทัง้ หมด โดยทัว่ ไปจะนิยม แบ่งตามความสัมพันธ์ทางการท�ำงานมากกว่าทาง โครงสร้าง เพราะท�ำให้เกิดเป็นระบบการท�ำงาน ของร่างกายหลายระบบ แต่ละระบบจะมีเนือ้ เยือ่ และอวัยวะทีเ่ กีย่ วข้องท�ำงานร่วมกัน บางเนือ้ เยือ่ หรืออวัยวะอาจอยูไ่ ด้หลายระบบ เนือ่ งจาก ท�ำหลายหน้าที่

เซลล์และเนือ้ เยือ่


8

Human Body

Did you know?

◌ รูไ้ หมว่า ในร่างกายของมนุษย์นั้นประกอบไปด้วยหน่วยของ สิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดคือ เซลล์ (cell) เซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ ตัวอสุจิ (sperm) และใหญ่ที่สุดคือ ไข่ (egg)

◌ รูไ้ หมว่า เซลล์สตั ว์บางประเภททีป่ ระกอบด้วยเซลล์เดียวเรียกว่า โปรโตซัว เช่น อะมีบา สัตว์ชนิดนีจ้ ะท�ำหน้าทีท่ กุ ๆ อย่างด้วยตัวเอง ไม่วา่ จะเป็น เรือ่ งความรูส้ กึ ต่อสิง่ เร้าต่างๆ การกิน การย่อย การเจริญเติบโต และการ แบ่งตัว

เพือ่ นๆ ทราบไหมว่า

1. เซลล์หลายๆ เซลล์รวมกันกลายเป็นอะไร 2. เนือ้ เยือ่ (tissue) หลายๆ ชนิดมารวมกันกลายเป็นอะไร 3. ระบบหลายๆ ระบบรวมกันกลายเป็นอะไร (เฉลยอยูท่ า้ ยเล่ม)

Cells and Tissues


Chapter

02

Human Body

9

Blood and Immunity เคยนึกสงสัยบ้างไหมว่า เอ... เมือ่ ร่างกายเกิดบาดแผลขึน้ มา เช่น โดนมีดบาดแล้วมีเลือดออกนัน้ ร่างกายของเราจะหยุดเลือดที่ ไหลออกมาได้อย่างไร และเพือ่ นๆ รูไ้ หมว่าเลือดมีความส�ำคัญต่อร่างกายของเรา อย่างไรบ้าง ดังนั้น เราจะมาท�ำความรู้จักกับเลือดว่า... เลือดมี ความส�ำคัญกับเราอย่างไร...

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน


10

Human Body

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน Blood and Immunity ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยน�้ำร้อยละ 60-70 ของน�้ำหนักตัว นำ�้ ในร่างกายส่วนหนึง่ อยูภ่ ายในเซลล์ อีกส่วนหนึง่ อยูร่ ะหว่างเซลล์ และส่วน ทีเ่ หลืออยูใ่ นเลือดท�ำให้เลือดมีปริมาตร 4-6 ลิตร คิดเป็นน�ำ้ หนักร้อยละ 6-8 ของนำ�้ หนักตัว

ส่วนประกอบของเลือด เลือดมีสว่ นประกอบทีส่ �ำคัญคือ เซลล์เม็ดเลือด ได้แก่ เม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ เม็ดเลือดแดงนัน้ มีลกั ษณะเป็นเซลล์รปู ร่างแบน ไม่มนี วิ เคลียส คิดเป็นประมาณร้อยละ 45 ของเลือดทัง้ หมด ภายในเม็ดเลือด แดงมีสารสีแดงเรียกว่า ฮีโมโกลบิน ส่วนเม็ดเลือดขาวจะมีนวิ เคลียส ซึง่ แบ่ง เป็นหลายชนิดตามลักษณะนิวเคลียสและเม็ดเล็กๆ (granule) ภายในเซลล์ เม็ดเลือดขาวสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้คอื เม็ดเลือดขาว ชนิดแกรนูโลไซต์ โมโนไซต์ ลิมโฟไซต์ชนิดบีและที นอกจากเม็ดเลือดแดง และเม็ดเลือดขาวแล้ว ในเลือดยังมีเกล็ดเลือดซึง่ พัฒนามาจากชิน้ ส่วนของ ไซโทพลาซึมของเซลล์ชนิดหนึง่ มีลกั ษณะเป็นแผ่นเล็กๆ ไม่มสี ี ไม่มนี วิ เคลียส เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดรวมกัน คิดเป็นประมาณร้อยละ 1 ของ เลือดทัง้ หมด ส่วนของเลือดทีไ่ ม่ใช่เม็ดเลือดและเกล็ดเลือดนัน้ เป็นของเหลว สีเหลืองอ่อนเรียกว่า พลาสมา หรือนำ�้ เลือด คิดเป็นประมาณร้อยละ 54 ของเลือดทัง้ หมด

Blood and Immunity


Human Body

11

ส่วนประกอบของพลาสมา พลาสมามีสว่ นประกอบทีส่ �ำคัญคือ น�ำ้ โปรตีน (เช่น แอลบูมนิ สารช่วยในการแข็งตัวของเลือด) อิเล็กโทรไลต์ (เช่น โซเดียม คลอไรด์) น�ำ้ ตาล (เช่น กลูโคส) ไขมัน (เช่น คอเลสเตอรอล) ของเสียจากเมแทบอลิซมึ (เช่น ยูเรีย) กรดอะมิโน ฮอร์โมน วิตามิน และบัฟเฟอร์ ถ้าท�ำให้เลือดแข็งตัว แล้วแยกสารช่วยในการแข็ง ตัวของเลือดออกไป จะเหลือของเหลวทีเ่ รียกว่า ซีรมั หรือนำ�้ เหลืองของเลือดซึง่ เป็นส่วนประกอบของเลือดที่ อยูภ่ ายในหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดด�ำ

นิวโทรฟิล (Neutrophil) เม็ดเลือดขาวชนิดที (T-Lymphocyte)

เบโซฟิล (Basophil)

แมโครเฟจ (Macrophage)

เกล็ดเลือด (Platelet)

อีโอซิโนฟิล (Eosinophil) เม็ดเลือดแดง (Red blood cell)

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน


12

Human Body

หลอดเลือดแดง

หมายถึง หลอดเลือดทีน่ �ำเลือดออกจากหัวใจ ส่วนใหญ่เป็นเลือดแดงซึ่งมีออกซิเจนมาก เพราะ ถูก “ฟอก” ทีป่ อดแล้ว นัน่ คือมีการแลกเปลีย่ นน�ำ คาร์บอนไดออกไซด์ออกไปสูถ่ งุ ลมปอด และรับออกซิเจน จากถุงลมปอดเข้ามา เลือดแดงนีจ้ ะถูกสูบฉีดออกจาก หัวใจห้องล่างซ้ายไปเลีย้ งทัว่ ร่างกาย หลอดเลือดแดง ชนิดเดียวทีม่ เี ลือดด�ำหรือเลือดทีม่ คี าร์บอนไดออกไซด์ มาก คือหลอดเลือดแดงทีอ่ อกจากหัวใจห้องล่างขวา เพือ่ น�ำเลือดไปฟอกทีป่ อดต่อไป

หลอดเลือดด�ำ

หมายถึง หลอดเลือดทีน่ �ำเลือดเข้าสูห่ วั ใจ ส่วนใหญ่ เป็นเลือดด�ำ เพราะมาจากเซลล์ทวั่ ร่างกาย หลอดเลือดด�ำ ชนิดเดียวทีม่ เี ลือดแดงก็คอื หลอดเลือดด�ำทีน่ �ำเลือดที่ ฟอกจากปอดแล้วกลับเข้าไปสูห่ วั ใจ หลอดเลือดด�ำจะ อยูต่ นื้ กว่าหลอดเลือดแดง จึงสามารถมองเห็นหลอด เลือดด�ำได้จากด้านนอกผิวหนังของเรา และยังเป็น หลอดเลือดทีน่ ยิ มใช้ฉดี ยาเข้าสูรู่ า่ งกาย

Did you know? ◌ รูไ้ หมว่า

ในทารกหลังคลอดไปจนถึงผูใ้ หญ่นนั้ เม็ดเลือดแดง แกรนูโลไซต์ โมโนไซต์ ลิมโฟไซต์ชนิดบี และ เกล็ดเลือดจะถูกสร้างขึน้ ในไขกระดูกสีแดง (red bone marrow) ซึง่ อยูภ่ ายในกระดูก ส่วนลิมโฟไซต์ชนิดทีจะถูกสร้างขึน้ เมือ่ เป็นทารกในครรภ์มารดาโดยสร้างทีต่ อ่ มไทมัส เม็ดเลือดแดง มีอายุเพียงประมาณ 120 วัน ก็จะถูกท�ำลายไป

Blood and Immunity

red bone marrow


Human Body

13

หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดแดงใหญ่น�ำเลือด ไปเลีย้ งทัว่ ร่างกาย (Aorta) ปอดด้านขวา (Right lung)

หลอดเลือดด�ำทีร่ บั เลือดด�ำจากส่วนล่าง ของร่างกาย (Inferior vena cava)

ปอดด้านซ้าย (Left lung)

หัวใจ (Heart)

ปริมาณเม็ดเลือดและสารบางชนิดในเลือด เม็ดเลือดแดง ฮีโมโกลบิน

4-6 ล้านเซลล์ตอ่ ไมโครลิตร 12-18 กรัมต่อเดซิลติ ร

เม็ดเลือดขาว 5,000-11,000 เซลล์ตอ่ ไมโครลิตร เกล็ดเลือด 150,000-450,000 ต่อไมโครลิตร แอลบูมนิ 3.5-5.0 กรัมต่อเดซิลติ ร กลูโคส ไม่เกิน 110 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร คอเลสเตอรอล ไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลติ ร

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน


14

Human Body

ระบบภูมคิ มุ้ กัน หมายถึง ระบบของร่างกายทีป่ กป้องร่างกายจากสิง่ แปลกปลอม ได้แก่ จุลนิ ทรีย์ ปรสิต และสิง่ แปลกปลอมอืน่ ๆ เช่น ฝุน่ ผงแร่ทเี่ ข้าไปในระบบทางเดินหายใจ

ทอนซิล (Tonsil) ต่อมไทมัส (Thymus gland) ปุม่ น�ำ้ เหลือง (Lymph node) ม้าม (Spleen)

ไขกระดูก (Bone marrow) หลอดน�ำ้ เหลือง (Lymph vessel)

ส่วนประกอบของระบบภูมคิ มุ้ กัน ระบบภูมคิ มุ้ กันมีสว่ นประกอบคือ เม็ดเลือดขาว และอวัยวะทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ ไขกระดูก ตับ (เกีย่ วข้องกับระบบภูมคิ มุ้ กันในขณะทีย่ งั เป็นทารกใน ครรภ์) ต่อมไทมัส ต่อมทอนซิล ม้าม ปุม่ น�ำ้ เหลือง (lymph node) ปุม่ น�ำ้ เหลืองเล็ก (lymph nodule) และหลอดน�ำ้ เหลือง

Blood and Immunity


Human Body

15

เลือดและระบบภูมคิ มุ้ กัน เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน


16

Human Body

เลือดมีหน้าทีห่ ลายประการ ได้แก่

เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดแดงท�ำหน้าทีข่ นส่งออกซิเจนจากถุงลมในปอดไปยังเซลล์ทวั่ ร่างกายเพือ่ ให้เซลล์ใช้ในกระบวนการหายใจ เป็นการสร้างพลังงานอีกต่อหนึง่ ซึง่ ออกซิเจนจะอยูใ่ น เม็ดเลือดแดงได้กโ็ ดยการจับกับฮีโมโกลบิน

เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดขาวทุกชนิดท�ำหน้าทีเ่ ป็นภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย โดยแกรนูโลไซต์และ โมโนไซต์จะตอบสนองต่อสิง่ แปลกปลอมอย่างรวดเร็ว ในขณะทีล่ มิ โฟไซต์จะตอบสนองช้า กว่า แต่ใช้กลไกทีจ่ �ำเพาะเจาะจงต่อสิง่ แปลกปลอม เช่น ลิมโฟไซต์ชนิดบีจะเปลีย่ นเป็น เซลล์พลาสมา (plasma cell) แล้วสร้างแอนติบอดี (antibody หรือ immunoglobulin) จ�ำเพาะ ซึง่ เป็นโปรตีนขึน้ มาต่อต้านแอนติเจน (antigen) ของสิง่ แปลกปลอมแต่ละชนิด โดยแอนติเจนถือว่าเป็นโปรตีนเช่นเดียวกัน

เกล็ดเลือด

เกล็ดเลือด (platelet)

เนือ้ เยือ่ บุโพรง (Endothelium)

เกล็ดเลือดและสารช่วยในการแข็งตัวของเลือด จะท�ำให้เลือดแข็งตัว จึงห้ามเลือดในกรณีทเี่ ลือดออก จากหลอดเลือด เช่น ผิวหนังเป็นแผลมีการฉีกขาด ท�ำลายหลอดเลือด หรือการตกเลือดในอวัยวะภายใน

พลาสมา คอลลาเจน (Collagen)

พลาสมาเป็นทางส�ำหรับล�ำเลียงเม็ดเลือด เกล็ด เลือด สารอาหาร เมแทบอไลต์ และยาต่างๆ นอกจากนีย้ งั ล�ำเลียงของเสียไปยังอวัยวะทีท่ �ำหน้าทีก่ �ำจัดของเสีย เช่น ปอด ตับ ไต และยังช่วยควบคุมอุณหภูมใิ นร่างกายด้วย

บัฟเฟอร์ บัฟเฟอร์จะช่วยในการรักษาค่าพีเอช ของเลือดและของเหลวในร่างกาย

Blood and Immunity


Human Body

17

หมูเ่ ลือด เลือดของมนุษย์แบ่งอย่างหยาบๆ ได้เป็น 4 หมู่ ได้แก่ เอ บี เอบี และโอ ตามชนิดของแอนติเจนทีอ่ ยูบ่ นผิว เม็ดเลือดแดงดังตารางด้านล่าง

หมูเ่ ลือด

แอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดง

แอนติบอดีในพลาสมา

เอ

เอ

ต้านบี

บี

บี

ต้านเอ

เอบี

เอและบี

ไม่มี

โอ

ไม่มี

ต้านเอและต้านบี

การให้เลือดโดยทัว่ ไปเป็นการให้เม็ดเลือดแดง ผูท้ มี่ หี มูเ่ ลือดเอจะมีสารต้านโปรตีนบีอยูใ่ นพลาสมา จึงไม่ สามารถรับเม็ดเลือดแดงจากผูใ้ ห้ทมี่ หี มูเ่ ลือดบีหรือเอบีได้ เพราะสารต้านโปรตีนบีจะเข้าไปจับกับโปรตีนบีบนเม็ด เลือดแดงของผูใ้ ห้ ท�ำให้เม็ดเลือดแดงแตก จึงรับได้เพียงเม็ดเลือดแดงจากผูใ้ ห้ทมี่ หี มูเ่ ลือดเอหรือโอเท่านัน้ ในท�ำนอง เดียวกัน ผูท้ มี่ หี มูเ่ ลือดบีจะรับได้เฉพาะเม็ดเลือดแดงจากหมูบ่ หี รือโอ ผูท้ มี่ หี มูเ่ ลือดเอบีจะรับเม็ดเลือดแดงจากหมู่ ใดก็ได้ เพราะในพลาสมาของหมูเ่ อบีไม่มที งั้ สารต้านเอและสารต้านบี ตรงข้ามกับผูท้ มี่ หี มูเ่ ลือดโอ ซึง่ มีทงั้ สารต้าน เอและสารต้านบี จะรับเม็ดเลือดแดงได้จากหมูโ่ อเท่านัน้

หมูเ่ ลือด

แอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดง

แอนติบอดีในพลาสมา

อาร์เอชบวก

อาร์เอช

ไม่มี

อาร์เอชลบ

ไม่มี

ต้านอาร์เอช

*ประชากรไทยส่วนใหญ่มหี มูเ่ ลือดอาร์เอชบวก ระบบหมูเ่ ลือดหลายระบบสามารถน�ำมาใช้รว่ มกันได้ เช่น ผูท้ มี่ แี อนติเจนเอและอาร์เอชบนผิวเม็ดเลือดแดง จะเรียกว่ามี หมูเ่ ลือดเอบวก

หมูเ่ ลือดหาง่ายและหายาก หมูเ่ ลือดทีห่ าง่ายทีส่ ดุ ของประชากรในโลก คือ หมูเ่ ลือดโอบวก ส่วนหมูเ่ ลือดทีห่ ายากทีส่ ดุ คือ หมูเ่ ลือดเอบีลบ

เลือดและภูมคิ มุ้ กัน


18

Human Body

ความผิดปกติทเี่ กีย่ วข้อง กับเลือดและภูมคิ มุ้ กัน ๏ ความผิดปกติทเี่ กีย่ วข้องกับเม็ดเลือดแดง ได้แก่ ภาวะเลือดจาง ซึง่ อาจเกิด จากการสร้างเม็ดเลือดแดงไม่เพียงพอ เสียเลือดมาก หรือมีการสลายของเม็ดเลือด แดงมากแล้วอาจท�ำให้เกิดความผิดปกติอนื่ ๆ ตามมาได้ เช่น ดีซา่ น อวัยวะภายใน บางชนิดโตผิดปกติ ๏ ความผิดปกติทเี่ กีย่ วข้องกับเม็ดเลือดขาวและภูมคิ มุ้ กัน ได้แก่ การอักเสบ ภูมแิ พ้ และสภาพไวเกิน (hypersensitivity เช่น การแพ้ยา) ภาวะเม็ดเลือดขาวมาก หรือน้อยกว่าปกติ มะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคภูมติ า้ นตนเอง (autoimmune disease) การไม่ตอบสนองต่อแอนติเจน และภูมคิ มุ้ กันบกพร่อง ซึง่ ครอบคลุมถึงการติดเชือ้ ไวรัสเอชไอวี/กลุม่ อาการภูมคิ มุ้ กันเสือ่ ม/โรคเอดส์ ท�ำให้จ�ำนวนลิมโฟไซต์ชนิดทีลด ลงมาก จนร่างกายมีภมู คิ มุ้ กันตำ�่ และติดเชือ้ ชนิดอืน่ ๆ ได้งา่ ย ๏ ความผิดปกติทเี่ กีย่ วข้องกับเกล็ดเลือดหรือสารช่วยในการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ

Did you know? ◌ รูไ้ หมว่า

ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคไข้เลือดออก โรคมะเร็ง โรคไตวายเรือ้ รัง โรคเอสแอลอี โรคตับแข็ง หรือ โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัสบางชนิดจะมีภาวะเกล็ดเลือดต�ำ่ ได้ และเมือ่ ใดก็ตามทีเ่ กล็ดเลือดต�ำ่ มากหรือไม่มเี ลย อาจจะ มีภาวะเลือดออกโดยทีไ่ ม่ตอ้ งมีบาดแผลภายนอก จึงจ�ำเป็นต้องรักษาด้วยเกล็ดเลือดจากผูอ้ นื่ เพือ่ ป้องกันไม่ให้เลือด ออกในอวัยวะต่างๆ เมือ่ จ�ำเป็นต้องได้รบั การผ่าตัด เมือ่ มีผมู้ าบริจาคเลือด ทางศูนย์บริการโลหิตจะน�ำไปแยกส่วนทีเ่ ป็นเม็ดเลือดแดง พลาสมา และเกล็ดเลือด ออกจากกันเพือ่ ให้ได้ประโยชน์สงู สุด เกล็ดเลือดจากผูบ้ ริจาคจ�ำนวน 6-8 คนรวมกันจึงจะเพียงพอทีจ่ ะท�ำให้ เลือดหยุดไหลและป้องกันไม่ให้เลือดออกใหม่ได้ เนือ่ งจากเกล็ดเลือดท�ำงานได้เพียง 5-7 วันหลังจากเข้าสูร่ า่ งกาย ดังนัน้ ผูป้ ว่ ยบางรายจึงต้องได้รบั เกล็ดเลือดทุกสัปดาห์

เพือ่ นๆ ทราบไหมว่า

กลุม่ อาการภูมคิ มุ้ กันเสือ่ มเกิดจากอะไร (เฉลยอยูท่ า้ ยเล่ม)

Blood and Immunity



รู จักกลไกธรรมชาติภายในรางกาย ระบบการทำงานและหนาที่ของอวัยวะตางๆ

มนุษยเปนสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากกลไกธรรมชาติ ภายในรางกายของเรานั้นประกอบดวย อวัยวะหลายอยาง ซึ่งชวยกันทำหนาที่อยางเปนระบบเพื�อใหรางกายมีชีวิตอยู ดังนั้น การเรียนรูวาอวัยวะหรือสวนประกอบภายในรางกายทำหนาที่อะไร และควรดูแลรักษา หรือปกปองอยางไรจึงเปนเรื�องสำคัญที่ควรศึกษา

เซลลและเนื้อเยื�อ Cells and Tissues  เลือดและภูมิคุมกัน Blood and Immunity  พันธุศาสตร Genetics  การเติบโตและพัฒนาการ Growth and Development  ระบบประสาท Nervous System  การรับรูเฉพาะ Organs of Special Senses  ระบบหัวใจและหลอดเลือด Cardiovascular System  ระบบทางเดินหายใจ Respiratory System  ระบบทางเดินปสสาวะ Urinary System  ระบบทางเดินอาหาร Digestive System  ระบบตอมไรทอ Endocrine System  ระบบกลามเนื้อและโครงกระดูก Musculoskeletal System  จุลินทรียและปรสิต Microbials and Parasites  ระบบสืบพันธุ Reproductive System  โภชนาการ Nutrition  ภาวะเสื�อมและชราภาพ Deterioration  เนื้องอก Neoplasia 

เสริมความรู

ระบบรางกายมนุษย 199.-

ISBN 978-616-527-336-7

9

786165 273367

พิเศษกับ Did you know? เรือ� งนารูเ กีย่ วกับ รางกาย ทบทวนความรูกับคำถามทายบท พรอมเฉลย Glossary รวมคำศัพททค่ี วรรูข องระบบรางกาย

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส 55, 57 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 53 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.