มัดย้อม

Page 1

สอนทำผ ามัดย อมด วยตัวเอง Step by Step

DVD 2 แผน

สอนทุกขั้นตอนตั้งแต เร�่มต น • วัสดุและอุปกรณ • เทคนิคต างๆ ที่ทำให เกิดลวดลาย • ตัวอย างการย อมผ าชนิดต างๆ

พร อมตัวอย างผลงาน

หนงั ส อื

โดย ศศธร ศร�ทองกุล, สาว�ตร� อัครมาส เจ าของผลงาน “ซ�ลค สกร�น”

เพียง

เิ ศษ

Dร + DV าคาพ

199.-



มัดย้อม


มัดย้อม

สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบัญญัตลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึง่ ส่วนใด ของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ศศธร ศรีทองกุล. มัดย้อม.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2556. 204 หน้า. 1. การมัดย้อม. I. สาวิตรี อัครมาส, ผู้แต่งร่วม. I. ชื่อเรื่อง. 746.664 ISBN 978-616-527-453-1

ISBN: 978-616-527-453-1 ราคา: 199 คณะผู้จัดท�ำ บรรณำธิกำรส�ำนักพิมพ์ | ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน | ศศธร ศรีทองกุล, สาวิตรี อัครมาส พิสูจน์อักษร | วารีรัตน์ แตงภู่ประไพ ภูงามเชิง ออกแบบปก | ภรณีย์ สนองผัน ออกแบบรูปเล่ม | ไพโรจน์ บรรจงใจรักษ์ ประสำนงำนและกำรตลำด| วราลี สิทธิจินดาวงศ์ร�ีา ประสำนงำนสื่อสิ่งพิมพ์ | บุษกร กู้หลี พิมพ์ที่ | บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณำ | เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�ำหน่ำยโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


ค�ำน�ำ สวัสดีค่ะ เราเคยได้พบกันไปแล้วในสื่อการสอนชุด “ซิลค์สกรีน” คราวนีก้ ลับมาพบกันอีกครัง้ กับการท�าผ้ามัดย้อม การท�าผ้ามัดย้อมนั้นมีวิธีการท�าไม่ยากอย่างที่คิด เลยนะคะ ซึ่งสื่อการสอนชุดนี้ได้สอนการย้อมและแนะน�า เทคนิคการมัดผ้าในหลากหลายรูปแบบมาให้ได้สนุกกัน ทั้ง ใช้วิธีการมัด การพับ และการใช้อุปกรณ์ใกล้ตัวมาท�าให้ผ้า เกิดลวดลายต่างๆ กันไป อีกทั้งยังบอกคุณสมบัติของผ้าที่จะ สามารถน�ามามัดย้อมได้อย่างดี เพื่อไม่ให้เลือกผ้าผิดประเภท แล้วคุณเองก็สามารถผสมผสานเทคนิคต่างๆ ที่แนะน�าไป ผลิตผลงานของตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า ของฝาก ของ ช�าร่วย หรือเป็นผลงานศิลปะของตนเอง ขอให้สนุกกับการท�า ผ้ามัดย้อมค่ะ กนิษฐ์และแจง

กรณีต้องการสั่งซื้อจ�านวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


สำรบัญ ประวัติความเป็นมาของผ้ามัดย้อม

2

ชนิดของผ้า

4

วิธีการทดสอบชนิดของเส้นใยผ้าด้วยตนเอง

6

สีย้อม

10

ประวัติความเป็นมาของสีย้อม 1. สีย้อมธรรมชาติ 2. สีย้อมสังเคราะห์ 2.1 การย้อมเย็น 2.2 การย้อมร้อน

10 12 14 14 15


การกัดสี (Discharge)

19

วัสดุและอุปกรณ์

20

ทฤษฎีสี

25

1. วงจรสี 2. วรรณะของสี 3. สีตรงข้าม 4. สีกลาง

สีร้อน สีเย็น

25 28 29 29

วิธีการย้อมร้อน

30

วิธีการย้อมเย็น

36

วิธีการมัดย้อม

49

1. วิธีกำรมัดเบื้องต้น 1.1 การมัดแบบโปร่ง 1.2 การมัดแบบทึบ

51 52 54


2. เทคนิคกำรพับเพื่อท�ำให้เกิดลวดลำย 2.1 การพับลวดลายเส้นตรง 2.2 การพับลวดลายเส้นซิกแซก 2.3 การพับลวดลายวงกลมจากจุดศูนย์กลาง 2.4 การพับลวดลายวงกลมที่มัดจากรูปสามเหลี่ยม 2.5 การพับลวดลายวงกลมจากแนวทแยง 2.6 การพับแบบใช้ตัวหนีบ 2.7 การพับลวดลายแบบอิสระ (Free Form) 2.8 การใช้กระดุมและก้อนหิน 2.9 การพันท่อ 2.9.1 ศิลปะอาราชิบนผิวผ้าโดยการบิดเกลียว 2.9.2 ศิลปะอาราชิบนผิวผ้าโดยการพับ 2.10 การท�าลวดลายโดยไม่ใช้อุปกรณ์

63 64 68 73 78 81 85 89 92 96 100 106 110

3. เทคนิคกำรเย็บผ้ำแบบต่ำงๆ เพื่อท�ำให้เกิดลวดลำย 3.1 การเย็บแบบเนาเป็นเส้นตรง 3.2 การเย็บแบบเนาเป็นเส้นโค้ง 3.3 การเย็บแบบทแยงมุม 3.4 การเย็บเป็นวงกลม 3.5 การเย็บตามลวดลายที่วาดไว้ 3.6 การใช้เข็มหมุดกลัด

115 116 118 120 123 126 133

4. เทคนิคกำรมัดย้อมเสื้อ 4.1 การมัดลายขวาง 4.2 การมัดลายทางตรง 4.3 เสื้อยืดลายกระดุม

137 138 146 152


4.4 การม้วนเสื้อ 4.5 การมัดและใช้กระดุม 4.6 การย้อมเสื้อผ้าที่เปื้อนคราบต่างๆ

5. ตัวอย่ำงกำรย้อมผ้ำชนิดต่ำงๆ 5.1 ผ้าพอลิเอสเตอร์ 5.2 ผ้าไหม 5.3 ผ้าไหมชีฟอง 5.4 ผ้าไหมออแกนซ่า (ผ้าไหมโปร่ง) 5.5 ผ้าไหมกระดาษ

วิธีการกัดสี

เพิ่มเติม

158 162 166 169 170 173 177 180 183

186

1. แหล่งซื้ออุปกรณ์ 2. ข้อควรระวัง 3. การดูแลรักษาผ้าและอุปกรณ์ 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการย้อมผ้า

ตัวอย่างผลงาน

190

190 191 191 192

193


ประวัติความเป็นมา ของผ้ามัดย้อม ผ้ามัดย้อม หมายถึง การท�าให้ผ้าเกิดรอยด่าง โดยใช้ เทคนิคการท�าลวดลายโดยการมัด การพับ การเย็บ และใช้ อุปกรณ์อื่นๆ ให้เป็นลวดลายตามที่ต้องการ การท�าผ้า มัดย้อมอาจเริ่มเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจของคนในสมัย โบราณ โดยนักมานุษยวิทยาสันนิษฐานว่า อาจมี แนวความคิดมาจากการฟอกสีออกด้วยแสงอาทิตย์ โดยบังเอิญ ซึ่งหลักฐานความรู้ที่พอจะเชื่อถือได้ แสดงให้เห็นว่า ประเทศในยุคแรกๆ ที่มีการ มัดย้อมผ้าคือ อินเดีย จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และ แอฟริกาทีม่ คี วามคุน้ เคยกับเทคนิคการใช้สยี อ้ มทีม่ ี อยูอ่ ย่างอุดมสมบูรณ์ ในประเทศอินเดียผ้ามัดย้อม จะเป็นทีร่ จู้ กั กันในชนบทสมัยก่อน ซึง่ พบหลักฐาน จากเศษผ้าเมื่อประมาณ 5,000 ปีก่อน สะท้อนให้ เห็นถึงความรูแ้ ละประสบการณ์ในการใช้สยี อ้ ม เช่น ส่าหรี (Sari) เป็นต้น หรือชนเผ่ายิปซีที่เคยอาศัย อยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ก็ปรากฏให้เห็นศิลปะ ของการมัดย้อมผ่านเครื่องแต่งกายในปัจจุบัน ส่วน ในบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ก็มีศิลปะของการ มัดย้อมเช่นเดียวกัน โดยจะเรียกการมัดย้อมนีว้ า่ เปลังกิ (Pelangi) เป็นต้น

2


การมัดย้อมนัน้ จะมีรปู แบบและเทคนิคความสวยงามที่ แตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศ ซึง่ อาจขึน้ อยูก่ บั วัฒนธรรม ของแต่ละชนชาติ ช่วงเวลาในการค้นพบ หรือสภาพแวดล้อม ต่างๆ ทีเ่ ป็นวัตถุดบิ ในการท�าผ้ามัดย้อม แต่สงิ่ ทีเ่ หมือนกัน ของผ้ามัดย้อมในทุกชนชาติและทุกๆ วัฒนธรรมนั่นก็ คือ การพยายามพัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ให้ สวยงามและเจริญรุง่ เรืองอยูเ่ สมอ เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมดั้งเดิมให้คงอยู่ต่อไปในอนาคต

มัดย้อม

3


ชนิดของผ้า ก่อนที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการมัดย้อมนั้น สิ่งส�าคัญที่เราควรศึกษาเป็นอันดับแรกก็คือ ชนิดของ เส้นใยผ้า เนื่องจากในขั้นตอนของการย้อมผ้านั้นอาจเกิดปัญหาสีไม่ติดผ้า หรือติดได้ไม่ทั่วถึง ซึ่งอาจ เป็นเพราะเส้นใยผ้าที่ไม่เหมือนกัน จึงท�าให้สีที่ออกมานั้นไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ชนิดของผ้านั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. เส้นใยธรรมชำติ

คือเส้นใยที่ได้จากธรรมชาติ ซึ่งได้จากส่วนต่างๆ ของพืช ได้แก่ เส้นใยจากเมล็ด เช่น ฝ้าย นุ่น เส้นใยที่ได้จากใบ เช่น ใยสับปะรด เส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้ เช่น ลินิน ผ้าปอ ใยกัญชา ใยกัญชง เป็นต้น และที่ได้จากสัตว์ เช่น ผ้าขนสัตว์ (Wool) ผ้าไหม ซึ่งเส้นใยที่ได้จากสัตว์นี้มีคุณสมบัติทั่วไป คล้ายโปรตีน ดังนั้นเมื่อเปียกน�้าความเหนียวและความแข็งแรงจะลดลง ถ้าถูกแสงแดดเป็นเวลานาน จะสลายตัวหรือกรอบ เส้นใยธรรมชาติจะสามารถย้อมสีออกมาได้ดีและตรงเกือบทุกสี

ผ้ำใยธรรมชำติ

4


2. เส้นใยสังเครำะห์

เป็นเส้นใยประดิษฐ์ชนิดหนึ่งที่เป็นพอลิเมอร์ ไม่ใช่เซลลูโลส คือเป็นการผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบ ที่เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ ซึ่งเป็นผลผลิตจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมทั้งหมด มนุษย์ท�าเส้นใยชนิดนี้ ขึ้นเพื่อต้องการทดแทนเส้นใยธรรมชาติ เนื่องจากปัจจุบันเส้นใยธรรมชาติลดน้อยลงเรื่อยๆ โดย พยายามเลียนแบบให้ใกล้เคียงกับเส้นใยธรรมชาติมากทีส่ ดุ และพัฒนาคุณสมบัตเิ ฉพาะด้านให้ดยี งิ่ ขึน้ เช่น อะครีลิก (Acrylic) พอลิเอสเตอร์ (Polyester) ชีฟอง (Chiffon) ที่ไม่ใช่ชีฟองไหม ไนลอน (Nylon) ผ้าตาข่าย (Mesh) ผ้าหนังเทียม (Leather) เป็นต้น ในด้านของการย้อมสีนั้น ถ้าไม่ใช่สี ส�าหรับเส้นใยสังเคราะห์ เช่น สีย้อมชนิดดิสเพิร์ส (Disperse Azo) ก็จะไม่สามารถย้อมผ้าติดได้หรือ ติดได้เพียงส่วนหนึ่ง การย้อมสีเดียวกันแต่ผ้าคนละชนิด สีที่ออกมาอาจไม่เหมือนกัน และผ้าแต่ละ ชนิดจะดูดซึมสีได้ไม่เท่ากันด้วย

ผ้ำใยสังเครำะห์

มัดย้อม

5


วิธีการทดสอบ ชนิดของเส้นใยผ้าด้วยตนเอง วิธกี ารขัน้ พืน้ ฐานคือ การสังเกตเนือ้ ผ้า ถ้าเป็นเส้นใย ธรรมชาติจะค่อนข้างระบายอากาศได้ดี ไม่อมความร้อน ส่วนเส้นใยสังเคราะห์ เนื้อผ้าจะมีลักษณะมัน อยู่ทรง แต่ จะระบายอากาศได้ไม่ดเี หมือนกับเส้นใยธรรมชาติ จึงนิยม ทอให้มีลักษณะเป็นตาข่าย ส่วนวิธีการทดสอบว่าเป็นผ้าชนิดใดนั้น สามารถ ท�าได้โดยการจุดไฟเผาแค่เพียงปลายผ้า ให้สังเกต ลักษณะการไหม้ของเส้นใยผ้า ถ้าเป็นเส้นใยธรรมชาติจะ มีการหดตัวเล็กน้อย แต่ไม่เป็นก้อนเหนียว ควันจะเป็นสี ขาว ขีเ้ ถ้าเป็นผงเล็กๆ เมือ่ จับดูแล้วไม่รสู้ กึ แข็ง และมีกลิน่ คล้ายกับเส้นผมไหม้ แต่ถา้ เป็นใยสังเคราะห์จะมีลกั ษณะ หดตัวจับกันเป็นก้อนเหนียว ลุกไหม้ชา้ ขีเ้ ถ้าแข็งเป็นเม็ด สีด�าบีบไม่แตก และมีกลิ่นคล้ายพลาสติกไหม้ไฟ เมื่อเผาแล้วจะมีการหดตัวเล็กน้อย ไม่เป็นก้อนเหนียว จับแล้วไม่รู้สึกแข็ง ขี้เถ้าเป็นผงเล็กๆ มีกลิ่นคล้ายเส้นผมไหม้

6

กำรเผำผ้ำใยธรรมชำติ


ในขัน้ ตอนของการทอผ้านัน้ สามารถใช้ทงั้ เส้นใย ธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์มาผสมกันได้ ขึน้ อยูก่ บั การทอ ก็จะกลายเป็นเส้นใยผ้าแบบผสม ดังนั้น เวลาย้อมสีก็อาจท�าให้สีไม่เท่ากันหรือเปลี่ยนแปลง ไปบ้างเล็กน้อย เช่น ถ้าเราย้อมสีแดงจัด สีที่ออกมา อาจเป็นสีชมพู

กำรเผำผ้ำใยผสม

กำรเผำผ้ำซำติน

เมื่อเผาแล้วผ้าจะหงิกงอ จับแล้วจะรู้สึกแข็ง เหนียวเหมือนกาว

เนื่องจากเส้นใยธรรมชาติดูดซึมสีได้มากกว่า เส้นใยสังเคราะห์ เมือ่ ทดสอบเส้นใยผสมโดยการเผา แล้วจะพบว่า ผ้าจะมีลักษณะหงิกงอ ถ้าจับจะรู้สึก แข็ง เหนียวเหมือนกาว ยกตัวอย่างเช่น ผ้าซาติน แบ่งประเภทเป็นซาตินไหมและซาตินพอลิเอสเตอร์ ถ้าเผาแล้วผ้าจะหงิก ขี้เถ้าเป็นสีตามเนื้อผ้าหรือสี ขาว จับแล้วรู้สึกแข็ง เมื่อเผาแล้วผ้าจะหงิกงอ ขี้เถ้าเป็นสีตามเนื้อผ้า หรือสีขาว จับแล้วรู้สึกแข็ง

มัดย้อม

7



ตัวอย่าง การ

ย้อม

ผ้าชนิดต่างๆ


5. ตัวอย่างการย้อมผ้าชนิดต่างๆ 5.1 ผ้ำพอลิเอสเตอร์ จากการทดสอบการย้อมร้อนในตอนแรกจะเห็นได้วา่ สีคอตตอนนัน้ ไม่สามารถย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ ได้ ดังนั้นจึงมีการทดลองน�าสีผ้าไหมมาผสมกับสีคอตตอน เพื่อใช้ในการย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ โดยเฉพาะ ซึ่งผ้าพอลิเอสเตอร์ที่น�ามาทดสอบในครั้งนี้เป็นผ้าที่ผ่านการมัดและน�าไปต้มมาแล้ว โดย ยังไม่ได้ใส่สีลงไปในขณะต้ม จึงท�าให้สีของผ้าผืนนี้ไม่เปลี่ยนแปลง แต่รอยยับและลวดลายต่างๆ ที่ เกิดจากการมัดยังคงติดอยู่บนพื้นผิวผ้าผืนนี้ ซึ่งนี่เป็นอีกวิธีหนึ่งในการสร้างความสวยงามให้เกิดขึ้น บนผืนผ้า ขั้นตอนและวิธีการย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์มีดังนี้

1. ต้มน�้ำจนเดือด แล้วใส่สีคอตตอนกับสีผ้ำไหมลงไปในน�้ำ คนให้สีละลายและไม่จับตัว

เป็นก้อน

ต้มน�้าจนเดือด

170

คนสีให้ละลายไม่จับตัวเป็นก้อน


2. ใส่ผ้ำลงไปในหม้อเพียงครึ่งเดียว เมื่อได้สีที่ต้องการแล้ว น�าผ้าพอลิเอสเตอร์ใส่ลงไปใน

หม้อ ในที่นี้จะใส่ผ้าลงไปเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น เพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างส่วนที่ย้อม และส่วนที่ไม่ได้ย้อม ทิ้งไว้ประมาณ 20 นาที หรือนานเท่าใดก็ได้ตามต้องการ หากยิ่งทิ้งไว้นานสีก็ จะเข้มมากขึ้น

ผ้าพอลิเอสเตอร์ที่ผ่านการมัดและต้มจนเกิดรอยยับและลวดลาย

ใส่ผ้าเพียงครึ่งเดียว

มัดย้อม

171


3. น�ำผ้ำขึ้นมำล้ำงด้วยน�้ำเปล่ำ เมื่อได้สีที่ต้องการแล้วให้น�าผ้าขึ้นมาล้างน�้าเปล่าแล้วลอง

สังเกตดู จะเห็นว่าเมื่อผสมสีผ้าไหมลงไปแล้วท�าให้ผ้าพอลิเอสเตอร์สามารถติดสีได้ แม้เห็นได้ไม่ชัด เท่ากับผ้าชนิดอื่นก็ตาม

ย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ด้วยสีคอตตอนผสมกับสีผ้าไหม จากตัวอย่างข้างต้น เป็นการย้อมโดยผสมสีคอตตอนกับสีผ้าไหมเพื่อย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ แต่ จะเห็นว่าสีที่ออกมานั้นยังไม่ชัดเจนและมีความเข้มน้อย จึงได้ทดลองอีกวิธีการหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่า นอกจากสีส�าหรับผ้าพอลิเอสเตอร์ที่ส่วนใหญ่จะมีใช้กันแค่เพียงในโรงงานอุตสาหกรรม และไม่ค่อยมี แบ่งขายตามท้องตลาดนี้ สีชนิดใดที่สามารถน�ามาใช้ย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ได้ดีที่สุด โดยวิธีการที่ใช้ ทดสอบนี้ จะใช้สีผ้าไหมเพียงชนิดเดียวในการย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ ซึ่งผลที่ออกมาเป็นดังรูป

ย้อมผ้าพอลิเอสเตอร์ด้วยสีผ้าไหมเพียงอย่างเดียว

172


5.2 ผ้ำไหม 1. ม้วนผ้ำแล้วพันด้วยหนังยำงและเอ็น ตัง้ แต่

ส่วนต้นจนถึงส่วนปลาย

2. น�ำผ้ำไปย้อมในถังสีที่เตรียมไว้โดยวิธี กำรย้อมเย็น ทิ้งไว้เพียงครู่เดียว เพราะต้องการท�า เป็นเพียงสีพื้นก่อน

3. น�ำผ้ำขึ้นมำล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน�้ำเปล่ำจนสะอำด

น�าผ้าขึ้น

ล้างด้วยน�้าเปล่าจนสะอาด

มัดย้อม

173


4. น�ำผ้ำมำมัดซ�้ำแล้วน�ำไปย้อมอีกครั้งหนึ่ง จะเป็นการเพิ่มลวดลายต่างๆ บนผ้าให้มาก

ขึ้น โดยทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที หรือจนกว่าจะได้สีที่ต้องการ

น�าผ้ามามัดเพิ่ม

น�าผ้าไปย้อมในหม้อที่ผสมสีย้อมร้อน

5. น�ำผ้ำขึ้นมำล้ำงสีส่วนเกินออกด้วยน�้ำเปล่ำจน สะอำด แล้วตัดหนังยำงที่มัดอยู่ออก น�าผ้าขึ้น

ใช้กรรไกรตัดหนังยางและเอ็นที่ใช้มัดผ้าออก

174

ลวดลายที่ปรากฏบนผ้า


6. น�ำปลำยผ้ำทั้ง 2 ด้ำนไปแช่สีเพิ่ม เพื่อเป็นการเพิ่มลูกเล่นความสวยงาม ให้น�าไปแช่

สีเขียวอ่อนเพียงครู่เดียว แล้วจึงเปลี่ยนไปแช่ในสีที่เข้มกว่า (ในที่นี้ใช้หม้อก๋วยเตี๋ยวส�าหรับการย้อม 2 สี) โดยจุม่ แค่เพียงปลายผ้าคล้ายกับการไล่สี ซึง่ เป็นการเล่นสี ทิง้ ไว้ได้นานจนกว่าจะได้สตี ามต้องการ

แช่สีเขียวอ่อน

แช่สีน�้าเงินอมม่วง

7. น�ำผ้ำขึ้นมำล้ำงด้วยน�้ำเปล่ำจนสะอำด จะได้ลวดลายของผ้าที่มีการไล่สีกันดังรูป

ล้างด้วยน�้าเปล่าจนสะอาด

ลวดลายและการไล่สีของผ้า

มัดย้อม

175


DVD

2 แผน สำนักพิมพ เอ็มไอเอสชวนทุกท านทีม่ ีใจรักงานศิลปหัตถกรรม ฝ กทำผ ามัดย อมด วยตนเองได ง ายๆ จากสื่อการสอนชุดนี้ ว�ธก� ารทำไม ยากอย างทีค่ ดิ สอนตัง้ แต เร�ม่ ต น การย อม แนะนำ เทคนิคการมัดผ าหลากหลายรูปแบบ การพับ และการใช อปุ กรณ ใกล ตัวมาทำให ผ าเกิดลวดลายที่แตกต างกัน พร อมบอกถึง คุณสมบัตขิ องผ าแต ละชนิด ช วยให เลือกใช ผา ทีจ่ ะนำมามัดย อม ได อย างมีคุณภาพ ทั้งนี้งานมัดย อมยังสามารถพลิกแพลงให เกิดเป น Product ต างๆ อาทิ เสื้อผ า ของฝาก ของชำร วย หร�ออาจสร างสรรค เป นผลงานศิลปะของตนเองได อีกด วย

หนังสือ พร อม DVD

▶ หนังสือ 1 เล ม พิมพ 4 สีทั้งเล ม

แนะนำวัสดุอปุ กรณ ขัน้ ตอนการ ทำมัดยอมพรอมภาพประกอบ อยางละเอียด ▶ DVD 2 แผ น ภาพและเสียงคมชัด • อธิบายอยางละเอียด เขาใจงาย • สาธิตการทำทุกขัน้ ตอนตัง้ แต เริม่ ตนจนสำเร็จเปนชิน้ งาน งานอดิเรก-งานฝมอื ISBN 978-616-527-453-1

9

786165 274531

ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส

มัดยอม 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 DVD 2 แผน โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมั ต)ิ โทรสาร 0-2294-8787 ราคา : 199 บาท www.MISbook.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.