หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง PICKING

Page 1



PICKING หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง


หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง PICKING ISBN 978-616-527-469-2 ราคา 199 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่ บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จากทางส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ชลกฤษ รัตนนิธิพร. หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง PICKING.-- กรุงเทพฯ : เอ็มไอเอส, 2556. 488 หน้า. 1. กีตาร์. I. ชื่อเรื่อง. 787.87 ISBN 978-616-527-469-2

คณะผู้จัดท�า บรรณาธิการส�านักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน ชลกฤษ รัตนนิธิพร ออกแบบรูปเล่ม นันทวรรณ ศักดิราชไพจิตร ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานฝ่ายผลิต ปวีณา ไตรเวทย์ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : บริษัท ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ากัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�าหน่ายโดย : บริษทั ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส จ�ากัด 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) กรณีต้องการสั่งซื้อจ�านวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


ค�าน�า

PREFACE

Picking ส�าหรับกีต้าร์ถ้าแปลตรงตัวก็คือการดีดนั่นเอง แต่เราใช้ค�านี้ในความหมายที่รู้กันว่า เป็นการ “เกา” กีต้าร์ สื่อการสอนชุดนี้จะแนะน�าวิธีการเกากีต้าร์ หรือก็คือการเล่นโน้ตในคอร์ดแบบ แยกโน้ต (ไม่ใช่การดีดไปพร้อมกันหมดเหมือนการตีคอร์ด) โดยจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็น แบบฝึกหัดต่างๆ เช่น เรือ่ งการนับจังหวะ แบบฝึกหัดการเกาแบบง่ายๆ ซึง่ สามารถน�าไปประยุกต์ ใช้เองกับเพลงทีเ่ ราต้องการเล่นได้ และอีกส่วนหนึง่ คือโน้ตและแท็บเพลงจากค่าย GMM เพือ่ ที่ผู้ฝึกจะได้ทดลองเล่นเพลงจริงๆ ที่ส�าคัญมี DVD การสอนที่เห็นการใช้มือทั้ง 2 ข้าง อย่างชัดเจน ทีมงานหวังว่าทุกท่านที่มีสื่อการสอนชุดนี้อยู่ในมือ จะสามารถเล่น กีต้าร์แบบ Picking ได้ไม่มากก็น้อย ถ้ามีสิ่งใดผิดพลาดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้


สารบัญ

PICKING

ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์......................................... 1 ประเภทของกีต้าร์ ......................................................... 4

1. กีต้าร์โปร่ง (Acoustic Guitar).................................................................4 2. Archtop Guitar .....................................................................................5 3. Semi Acoustic Guitar ...........................................................................6 4. Solid Body Electric Guitar ..................................................................6 5. Resonator Guitar หรือ Resophonic Guitar ..........................................7 6. Steel Guitar หรือ Pedal Steel Guitar ...................................................7 7. กีต้าร์แบบอื่นๆ ......................................................................................8

ค�าแนะน�าในการเลือกซื้อกีต้าร์....................................... 9 1. ลูกบิด ...................................................................................................9 2. คอ ........................................................................................................9 3. ล�าตัว ..................................................................................................10 4. บริดจ์ ..................................................................................................11

การดูแลรักษากีต้าร์..................................................... 12 การตั้งสายกีต้าร์ ......................................................... 13 เครื่องตั้งสายอิเลกทรอนิก (Electronic Tuning) .........................................13 หลอดเทียบเสียง (Pitch Pipe) ..................................................................13 ส้อมเสียง (Tuning Fork) ..........................................................................13 การตั้งสาย 5 และ 6 .................................................................................14 การตั้งสาย 4 ............................................................................................14 การตั้งสาย 3 ............................................................................................14 การตั้งสาย 2 ............................................................................................15 การตั้งสาย 1 ............................................................................................15 ใช้การดูเพื่อช่วยการฟัง ............................................................................15 สรุป ........................................................................................................15 การตั้งสายแบบฟังจากเสี​ียงฮาร์โมนิก........................................................16


CONTENTS การเล่นคอร์ดกีต้าร์เบื้องต้น ......................................... 17

การตีคอร์ด (Strumming) .........................................................................19

ระบบ Tablature ......................................................... 24 ระบบ Right Hand Diagram ........................................ 25 การเล่น Picking ......................................................... 27 แบบฝึกหัดที่ 1 .........................................................................................28 แบบฝึกหัดที่ 2 .........................................................................................28 แบบฝึกหัดที่ 3 .........................................................................................28 แบบฝึกหัดที่ 4 .........................................................................................28 แบบฝึกหัดที่ 5 .........................................................................................29 แบบฝึกหัดที่ 6 .........................................................................................29

เครื่องหมายชาร์ปและแฟล็ต (# & b) ........................... 30 เครื่องหมายชาร์ป (Sharp ; #)..................................................................30 เครื่องหมายแฟล็ต (Flat ; b) ...................................................................30

การฝึกนิ้วแบบ Symmetrical ....................................... 31 หลักในการเล่นกีต้าร์ ................................................... 32 1. จังหวะ (การดีดด้วยมือขวา)..................................................................32 2. การจับคอร์ด (มือซ้าย) .........................................................................34

ตารางคอร์ดส�าหรับกีต้าร์ ............................................. 36


NOTE & TAB 100 Note & TAB

45

14 อีกครั้ง คนไม่ส�าคัญ แปดโมงเช้าวันอังคาร ทั้งหมดใจ หนึ่งในไม่กี่คน ลมหนาวและดาวเดือน ไม่เสียใจที่รักเธอ คืนนี้ไม่มีความลับ รักเธอสุดหัวใจ ทางเดินแห่งรัก ใจให้ไป (เก็บใจใส่) กุญแจ เหงา คิดถึง รอ ไว้ใจได้กา พูดไม่ค่อยเก่ง Sunshine Day เอาใจไม่เป็น อย่าไปไหนอีกนะ เสียงของหัวใจ ฤดูอกหัก ดาว ค้นใจ ความรักจากฉัน จ้องตากับความเหงา คนรักกัน ฝันไป...หรือเปล่า เรื่องเล็กของเธอ ผิดไหมที่รักเธอ ท�าไมต้องเธอ ท�านองที่หายไป 100 เหตุผล

47 51 56 61 65 69 73 78 82 89 93 99 105 109 114 117 121 127 131 136 141 146 151 154 159 163 167 172 176 181 185

กลางสายหมอก กุมภาพันธ์ คงเดิม คนเจียมตัว คนมันรัก รักล้นใจ ความในใจ ความลับในใจ คิดถึง คิดถึงฉันไหมเวลาที่เธอ... คือฉันรักเธอ เคยบอกว่ารักกัน แค่มี จดหมายจากพระจันทร์ จนกว่าฟ้าจะมีเวลา จินตนาการ ใจน้อย ซมซาน ตัดไฟต้นลม ถ้าเธอพร้อมฉันก็พร้อม ถ้าเป็นเมื่อก่อน แทบขาดใจ เธอคือนางฟ้าในใจ เธอเป็นแฟนฉันแล้ว นะนะ บอกสักค�า บ้านของเรา เพลงรักพันธุ์เอ็กซ์ เมื่อไหร่ เมื่อนั้น แม่ ไม่เคยโทษใคร

187 192 196 201 205 209 212 215 218 224 230 235 239 245 248 254 259 263 269 272 276 279 282 286 289 292 296 303 309 312 314


SONG LIST

ไม่ต้องเสียใจ ไม่มีทาง ไม่รู้ เย้ เย รออยู่ตรงนี้ รักเธอนิรันดร์ เล่าสู่กันฟัง สิทธิ์ของเธอ เหงา อยากเป็นผู้ชาย อย่าท�าให้ฉันรักเธอ Love ขอบฟ้าไม่มีจริง คืนจันทร์ ใจร้าย ดาวประดับฟ้า ได้ไหม ตัวจริง...ของเธอ ท�าไมเป็นคนแบบนี้

318 322 326 330 335 341 344 348 351 356 360 367 372 376 381 385 388 393 396

ทุกข์เป็นเพื่อนเธอ เธอไม่ต้องรู้ นิยายเมืองหลวง บินเอย ปุยเมฆ เปรี้ยวใจ ฝนตกที่หน้าต่าง พรุ่งนี้ เพลงสุดท้ายหน้าเอ เพิ่งเข้าใจ เพียงแค่คนเดียว เพื่อเธอตลอดไป ไม่กล้าบอกเธอ ไม่ตายหรอกเธอ ไม่อยากนอนคนเดียว วันนี้...ฉันมีเธอ หมาเห่าเครื่องบิน ห่วงใย ให้เธอ

400 403 408 412 417 423 427 430 433 437 444 447 450 455 459 463 467 470 474


PICKING หัดเล่นกีต้าร์โปร่ง


ประวัติความเป็นมาของกีต้าร์ กีตา้ ร์ (Guitar) เป็นเครือ่ งดนตรีชนิดหนึง่ จัดเป็นพวกเครือ่ งสาย มัก จะเล่นด้วยนิว้ มือซ้าย และดีดด้วยนิว้ มือขวาหรือใช้ปก๊ิ ดีดกีตา้ ร์ เสียงของกีตา้ ร์ เกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย กีตา้ ร์นนั้ มีทงั้ แบบอะคูสติกและไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทงั้ 2 อย่าง ส่วน ล�าตัวของกีตา้ ร์จะมีโพรงเสียง ซึง่ ในกีตา้ ร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตา้ ร์ ไฟฟ้ามักจะตันและมีโพรงในส่วนคอกีต้าร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีต้าร์ จะยืดขึ้นไปจากคอเพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายส�าหรับปรับเสียง กีต้าร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมเล่นอย่างแพร่หลาย และใช้กับดนตรี หลากหลายสไตล์ นับเป็นเครือ่ งดนตรีทนี่ ยิ มใช้บรรเลงเดีย่ วอย่างกว้างขวาง ที่พบเห็นมากที่สุดคือกีต้าร์คลาสสิก อีกทั้งยังเป็นเครื่องดนตรีหลัก ในวงดนตรีประเภทบลูส์และร็อกอีกด้วย และกีต้าร์สามารถเล่น ในยามว่างหรือเป็นงานอดิเรกได้ดี ปกติกีต้าร์จะมี 6 สาย แต่มีแบบ 4, 7, 8, 10, 12 สายด้วย เช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีต้าร์จะเรียกว่า Luthier เครือ่ งดนตรีทมี่ ลี กั ษณะคล้ายกีตา้ ร์เป็นทีน่ ยิ มมากว่า 5,000 ปี เป็นอย่างต�า่ โดยเริม่ เป็นทีน่ ยิ มในแถบเอเชียกลาง เรียกว่า ซิตา้ ร์ (Sitar) เครื่องดนตรีที่มีรูปแบบคล้ายคลึงกีต้าร์ที่เก่าแก่ที่สุด ที่ค้นพบ มีอายุ 3,300 ปี เป็นหินสลักของกวีอาณาจักร โบราณฮิตไทต์ ค�าว่า Guitar มาจากค�าว่า Guitarra ในภาษาสเปน ซึง่ มาจากภาษากรีกอีกทีคือค�าว่า Kithara จากหลายแหล่งที่มา ท�าให้ค�านี้น่าจะมีรากศัพท์มาจากภาษาตระกูลอินโดยูโรเปียนคือ Guit- คล้ายกับภาษาสันสกฤตที่แปลว่า ดนตรี และ -Tar หมายถึง คอร์ดหรือสาย ค�าว่า Qitara เป็นภาษาอารบิก ใช้เรียกเครื่องดนตรีชื่อลุต (Lute) ส่วนค�าว่า Guitarra เกิดขึ้นเมื่อเครื่องดนตรี ชนิดนีถ้ กู น�ามาทีค่ าบสมุทรไอบีเรีย (คาบสมุทรทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป) โดยชาวมัวร์ (Moors)

GUITAR PICKING

1


กีต้าร์ในยุคปัจจุบัน มาจากเครื่องดนตรีที่เรียกว่า Cithara ของ ชาวโรมัน ซึ่งน�าไปแพร่หลายในอาณาจักรฮิสปาเนียหรือสเปนโบราณ ประมาณ ค.ศ. 40 จากนั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบจนกลายเป็นเครื่อง ดนตรีที่มี 4 สาย เรียกว่า อู๊ด (Oud) น�าเข้ามาโดยชาวมัวร์ในยุคที่ เข้ามาครอบครองคาบสมุทรไอบีเรีย ในศตวรรษที่ 8 ส่วนในยุโรปมีเครื่องดนตรีที่เรียกว่า ลุต (Lute) ของชาวสแกน ดิเนเวีย มี 6 สาย ในสมัย ค.ศ. 800 เป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความ นิยมในกลุ่มชาวไวกิ้ง Oud

Lute

Cithara

ค.ศ. 1200 กีต้าร์ 4 สาย มี 2 ประเภท คือ Guitarra Morisca หรือ กีตา้ ร์ของชาวมัวร์ มีลกั ษณะกลม ตัวคอกว้าง มีหลายโพรงเสียง กับ Guitarra Latina ซึ่งรูปร่างคล้ายกีต้าร์ในปัจจุบัน คือมีโพรงเสียงเดียวและคอแคบ ใน ศตวรรษที่ 16 เครื่องดนตรีคล้ายกีต้าร์ของชาวสเปน ที่เรียกว่า Vihuela เป็น เครือ่ งดนตรีทมี่ ลี กั ษณะใกล้เคียงกับกีตา้ ร์ในปัจจุบนั มีความผสมผสานระหว่าง เครื่องดนตรีอู๊ด (Oud) ของชาวอาหรับ และลุต (Lute) ของยุโรป แต่ได้รับ ความนิยมในช่วงสั้นๆ พบเห็นจนถึง ค.ศ. 1576

Vihuela

2

Guitarra Latina

BASIC GUITAR TRAINING

Guitarra Morisca


Gaetano Vinaccia

เครือ่ งดนตรีชนิ้ แรกทีม่ รี ปู ลักษณ์เหมือนกีตา้ ร์ในปัจจุบนั เกิดในช่วงยุค ปลายของสมัยกลางหรือยุคต้นสมัยเรอเนสซอง (500 กว่าปีที่แล้ว) เป็นช่วงที่ มีการใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายกันทั่วโลก ในยุคนั้นกีต้าร์มีทั้งแบบ 4 และ 5 สาย ส�าหรับกีต้าร์ที่มี 6 สาย ระบุว่ามีขึ้นใน ค.ศ. 1779 เป็นผลงาน ของนายแกตาโน วินาซเซีย (Gaetano Vinaccia) ในเมืองเนเปิลส์ อิตาลี แต่ ก็ถกเถียงกันว่าอาจเป็นของปลอมส�าหรับตระกูลวินาซเซียซึง่ มีชอื่ เสียงในการ ผลิตแมนโดลินมาก่อน

กีต้าร์ ไฟฟ้าตัวแรกเริ่มผลิตขึ้นในศตวรรษที่ 20 โดย จอร์จ โบแชมป์ (George Beauchamp) ได้รับสิทธิบัตรใน ค.ศ. 1936 และร่วมกับริกเคนแบ็กเกอร์ (Rickenbacker) ตั้งบริษัท Electro String Instrument ผลิตกีตา้ ร์ไฟฟ้าในช่วงปลาย ค.ศ. 1930 ต่อมาในช่วง ค.ศ. 1960 จอห์น เลนนอน สมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์ ใช้กตี า้ ร์ยหี่ อ้ นี้ ส่งผลให้เครือ่ งดนตรียหี่ อ้ นีม้ ชี อื่ เสียงในกลุม่ นักดนตรี ในยุคนัน้ และในปัจจุบนั บริษทั ริกเคนแบ็กเกอร์เป็นบริษทั ผลิตกีตา้ ร์ ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา

John Lennon

Peter Buck

George Beauchamp

Tom Petty

GUITAR PICKING

3


ประเภทของกีต้าร์ ตามที่เรารู้กันอยู่แล้วว่ากีต้าร์นั้นมีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่ กีต้าร์โปร่งและกีต้าร์ไฟฟ้า แต่ว่าเรามาลองรู้จักกีต้าร์ ในแต่ละแบบให้ มากขึ้นกันดีกว่า

1. กีตา้ ร์โปร่ง (Acoustic Guitar) คือกีต้าร์ที่ข้างในล�าตัวกลวง ไม่ต้องใช้ ไฟฟ้าในการเล่น สามารถพกพาไปเล่นได้ใน ทุกสถานที่ ไม่ตอ้ งใช้อปุ กรณ์เพิม่ เติมให้วนุ่ วาย สามารถแบ่งชนิดได้ดังนี้

กีต้าร์คลาสสิก (Classic Guitar)

ถือว่าเป็นต้นแบบของกีต้าร์ ในยุคปัจจุบัน ลักษณะเด่นคือ มีลูกบิดและแกนพันสายเป็น พลาสติก คอหรือฟิงเกอร์บอร์ดมีขนาดใหญ่ ความกว้างประมาณ 2 นิ้ว ลักษณะแบนราบ สายกีต้าร์ 3 สายล่างใช้สายเอ็นหรือไนลอน ส่วน 3 สายบน (สายเบส) ใช้สายไนลอนหรือ ใยไหมแล้วพันด้วยเส้นโลหะ เช่น เส้นทองแดง หรือบรอนซ์ ท�าให้นุ่มมือ เวลาเล่นจะไม่เจ็บ

เหมือนสายโลหะ จึงเหมาะกับคนที่อยากฝึก เล่นกีต้าร์แต่กลัวเจ็บนิ้ว กีต้าร์อีกอย่างที่อยากกล่าวถึงในหัวข้อ กีตา้ ร์คลาสสิกคือ กีตา้ ร์ฟลาเมงโก (Flamenco Guitar) ซึง่ มีโครงสร้างแทบจะเหมือนกับกีตา้ ร์ คลาสสิก เพราะมีการพัฒนามาจากกีต้าร์ คลาสสิกนั่นเอง ต่างกันที่ล�าตัวบางกว่า และ มีปก๊ิ การ์ดทัง้ ด้านบนและด้านล่างของโพรงเสียง ส่วนสไตล์การเล่นเป็นแนวสเปนหรือลาติน ซึง่ จะมีจังหวะที่ค่อนข้างกระชับและสนุกสนาน ด้วยเหตุที่ใช้สายไนลอนนั่นเอง ท�าให้ กีตา้ ร์คลาสสิกมีเสียงไพเราะนุม่ นวล และคอที่ กว้างท�าให้ระยะระหว่างสายก็มากขึน้ ไปด้วย จึง ท�าให้การเล่นกีตา้ ร์คลาสสิกนัน้ จะสามารถเล่น ได้ทั้งการโซโล่ (Solo) เล่นคอร์ด (Chord) เล่น เบส (Bass) นอกจากนีย้ งั มีการใช้เทคนิคต่างๆ อีกมากมาย ท�าให้การเล่นกีต้าร์คลาสสิกนั้นมี ความไพเราะมากยิ่งขึ้น แต่ก็ไม่ง่ายนักกว่าจะ เล่นได้อย่างที่ว่า นอกจากจะได้ไปเรียนอย่าง เป็นจริงเป็นจังในโรงเรียนสอนดนตรี

Flamenco

4

BASIC GUITAR TRAINING


กีต้าร์โฟล์ก (Flok Guitar) ถือว่า

เป็นที่นิยมและรู้จักกันมากที่สุด เนื่องจากหา ซือ้ ง่าย ราคาไม่แพงจนเกินไป สามารถฝึกหัด ได้ง่าย ไม่ต้องรู้ทฤษฎีดนตรีมากนัก ใช้เวลา ไม่นานก็สามารถเล่นเพลงง่ายๆ ฟังกันในหมู่ เพือ่ นฝูงได้แล้ว แต่ในความเป็นจริง กีตา้ ร์โฟล์กมี อะไรมากกว่านั้น ลักษณะทั่วๆ ไปคือแกน หมุนและลูกบิดมักเป็นโลหะ คอหรือฟิงเกอร์ บอร์ดเล็กกว่ากีต้าร์คลาสสิก มีลักษณะโค้ง เล็กน้อย รับกับนิ้วมือ แต่มีล�าตัว (Body) ที่ ใหญ่และแข็งแรงกว่ากีต้าร์คลาสสิก ใช้สายที่ ท�าจากโลหะ เนื่องจากคอกีต้าร์เล็กและสาย ที่เป็นโลหะ กีต้าร์ประเภทนี้จึงเหมาะกับการ เล่นด้วยปิ๊ก (Flatpick) หรือการเกา (Finger

Picking) ซึ่งเสียงที่ได้จะดังชัดเจน สดใสกว่า กีต้าร์คลาสสิก จึงเหมาะกับการเล่นกับดนตรี ทั่วๆ ไป อาจเล่นเดี่ยวหรือเล่นเป็นวงก็ได้ กีต้าร์โฟล์กนั้นมีขนาดและรูปร่างต่างๆ กันไป แล้วแต่ความต้องการของการใช้ ประโยชน์ หรือแล้วแต่ผู้ผลิต ส่วนมากจะแบ่ง ได้เป็น Standard Folk, Jumbo Folk, Flat Top Folk นอกจากนี้ยังมีแบบพิเศษอีกประเภทคือ กีต้าร์ 12 สาย มีสายแบ่งเป็น 6 คู่ เวลาเล่นก็ เล่นเหมือนกีต้าร์ทั่วๆ ไป เพียงแต่จะได้เสียง ที่กังวานและแน่นขึ้น และยังมีอีกแบบหนึ่ง รูปร่างคล้ายกีตา้ ร์คลาสสิก แต่ใช้สายโลหะ ซึง่ เป็นกีต้าร์ฝึก ราคาค่อนข้างถูก เหมาะส�าหรับ ผู้ที่อยากเล่นกีต้าร์ แต่ไม่แน่ใจว่าจะเอาจริง หรือไม่ ประมาณว่าซื้อมาลองเล่นดูเท่านั้น Flat Top Folk

Jumbo Folk

Standard Folk

2. Archtop Guitar เป็นกีต้าร์อีกประเภทหนึ่ง บ้านเราอาจจะไม่ค่อยเห็นคนเล่นมากนัก ลักษณะทั่วๆ ไปจะคล้ายกับกีต้าร์โฟล์ก แต่ด้านหน้าจะโค้ง (Arch แปลว่า โค้ง) ซึง่ กีตา้ ร์โฟล์กจะแบนราบ และโพรงเสียงจะไม่เป็นแบบช่องกลม แต่จะเป็นรูปตัว F อยู่ 2 ช่อง บนด้านหน้าของล�าตัว สะพานยึดสายด้านล่างมักเป็นแบบหางปลา (Tail Piece) ส่วนมากจะใช้เล่นในดนตรีแจ๊ส

GUITAR PICKING

5


T

T

T

T

T

T T

จากตัวอย่างตามรูป มีวิธีการอ่านและเล่นดังนี้

1. ห้องที่ 1 จังหวะที่ 1

ดูจากคอร์ดจะต้องกดที่ช่อง 3 ของสาย 6 แล้วจึงดูจาก Diagram ใช้นิ้วโป้ง (T) ดีดสาย 6

จังหวะที่ 2

ดูจากคอร์ดไม่ตอ้ งกดทีช่ อ่ งใดแต่เล่นสายเปล่า (O) ของ สาย 5 แล้วจึงดูจาก Diagram ใช้นิ้วโป้ง (T) ดีดสาย 5

จังหวะที่ 3

ดูจากคอร์ดจะต้องกดที่ช่อง 2 ของสาย 5 แล้วจึงดูจาก Diagram ใช้นิ้วโป้ง (T) ดีดสาย 5

2. ห้องที่ 2 ดูจากคอร์ดคือจับคอร์ด C จากนั้นดูที่ Diagram จะดีดเบสสาย 5 ด้วย T จากนั้นดีดสาย 3 ด้วยนิ้วชี้ (1) ดีดสาย 2 ด้วยนิ้วกลาง (2) และดีด สาย 1 ด้วยนิ้วนาง (3)

3. ห้องที่ 3 ดูจากคอร์ดคือจับคอร์ด G7 จากนั้นดูที่ Diagram จะดีดเบสก่อน ที่สาย 6 จากนั้นดีดสาย 1 ด้วยนิ้วนาง (3) ดีดสาย 2 ด้วยนิ้วกลาง (2) และดีดสาย 3 ด้วยนิ้วชี้ (1)

4. ห้องที่ 4 ดูจากคอร์ดคือจับคอร์ด C อีกครั้ง จากนั้นดูที่ Diagram ให้ใช้นิ้วโป้ง (T)

ดีดเบสสาย 5 แล้วจึงดีดสาย 4 ต่อด้วยนิ้วโป้งเหมือนเดิม และจังหวะ สุดท้าย ดีดสาย 3, 2 และ 1 พร้อมกันด้วยนิ้วชี้ (1), นิ้วกลาง (2) และ นิ้วนาง (3)

26

BASIC GUITAR TRAINING


เราจะเห็นได้ว่าระบบ Right Hand Diagram หรือระบบไดอะแกรมมือขวา จะง่ายกว่าระบบ แท็บขึ้นมาอีก เนื่องจากระบบ Right Hand Diagram จะบอกให้เรารู้ทั้งรูปแบบการวางนิ้วของ มือซ้ายหรือการจับคอร์ด และยังบอกถึงการใช้งานมือขวาว่าจะใช้นวิ้ ไหนดีดสายไหนบ้าง ซึง่ ระบบ แท็บจะบอกแค่เพียงว่าคุณต้องเล่นสายนั้นสายนี้ที่เฟร็ตนั้นเฟร็ตนี้ แต่อย่างไรก็ตาม ระบบ Right Hand Diagram ก็ไม่สามารถใช้กบั เพลงทีม่ คี วามซับซ้อนหรือ ต้องมีการเปลีย่ นนิว้ มือซ้ายในการจับคอร์ดตลอดเวลา และการเล่นกีตา้ ร์ทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงบ่อยๆ เช่น การเล่นโซโล่ การเล่นแนวคลาสสิก บลูส์ แจ๊ส เป็นต้น ซึ่งมีความซับซ้อนในการเล่นพอ สมควร แต่ในทางตรงกันข้ามก็เหมาะกับเพลงที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนมากนัก มีระบบการเล่นที่ แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย เช่น เพลงโฟล์ก เพลงป๊อบทั่วไป ซึ่งเหมาะกับผู้ที่เพิ่งจะ เริ่มฝึกกีต้าร์นั่นเอง

การเล่น Picking การเล่น Picikng (ปิ๊กกิ้ง) หรือการเกากีต้าร์นั้นมีอิทธิพลมาจากการเล่นกีต้าร์แนวคลาสสิก คือใช้นิ้วมือทั้ง 5 เล่นเพลงเป็นแนวประสานพร้อมๆ กัน โดยเริ่มจากการน�าเพลงของเปียโนมาเล่น มีทงั้ การเล่นเป็นคูแ่ ละไล่เรียงท�านองเป็นโน้ต หลากหลายอารมณ์ และภายหลังมีอทิ ธิพลกับการเล่น ในกีตา้ ร์โปร่งหรือเพลงโฟล์กเป็นอย่างมาก โดยเราจะเริม่ ฝึกพืน้ ฐานจากการใช้นวิ้ โป้ง (p) นิว้ ชี้ (i) นิ้วกลาง (m) และนิ้วนาง (a) จากแบบฝึกหัดต่างๆ ดังนี้ ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ แทนนิ้วมือซ้าย ดังนี้

นิ้วก้อยไม่ใช้ในการเล่น Picking นิ้วอื่นไว้เล็บพอประมาณ

สัญลักษณ์ของมือขวา สัญลักษณ์ของมือซ้าย

GUITAR PICKING

27


แบบฝึกหัดที่ 1

  

  

C

A‹7

     

0 1 0

0 1 0

0 1 0

0 1 0

3

  

C

  

  

1

0

0

1

1 0 0

   

1 0 0

G7

 

1 0 0

  

 

1

1

2

0

 

1

0

0

             

A‹7

D‹7

1

0

0

1

0

0

แบบฝึกหัดที่ 4

1 1 2

3

0

3

D‹7

0

  

1 1 2

0

1

0

3

1 1 2

0

  

0

1

0

C

0 1 0

       

G7

3

A‹7

แบบฝึกหัดที่ 3

  

0 1 0

0

แบบฝึกหัดที่ 2

  

      

D‹7

  

G7

1

2

0

1

1

2

0

0

1

0

0

3

 

                                     C

  

28

0 3

1

0 0

0

A‹7

1

0

0

D‹7

1

0 0

0

BASIC GUITAR TRAINING

0

1

0

0

2

G7

1

1 2

2

1

2

0 3

0

1 0

0

0

0

 


แบบฝึกหัดที่ 5

                              C

  

0

1

A‹7

0

0

3

1

0

0

D‹7

1

0

0

0

3

แบบฝึกหัดที่ 6

1

0

0

2

G7

1

1

2

1

1

0

0

0

0

1

0

0

1

2

3

 

                                     C

  

0 3

1

0 0

A‹7

1

0

1

D‹7

0 0

1

0 0

1

0

1 0

G7

2

1

1 2

1

2

1

0

0

1 0

0

3

0

0

 

นอกจากนีเ้ ราควรฝึกบทเพลงคลาสสิกไว้บา้ ง เพราะว่ามีประโยชน์มากในการฝึกความสัมพันธ์ ของนิ้วมือซ้าย นิ้วมือจะได้มีก�าลัง การเล่น Picking นั้น สิ่งที่ส�าคัญคือความสะอาด ความละเมียด ละไมในแต่ละตัวโน้ต ส่วนมากจะอยู่ในเพลงช้าและเร็วปานกลาง จังหวะ (Timing) ต้องคงที่ ฉะนั้น ในการฝึก Picking นัน้ ต้องใช้เครือ่ งก�าหนดจังหวะ (Metronome) จากความเร็ว (Tempo) ประมาณ 60 ก่อน แล้วค่อยๆ เพิ่ม โดยเริ่มจากเพลงคีย์ง่ายๆ ที่เป็นสายเปิด (Open String) ก็จะท�าให้เรา มีก�าลังใจฝึกมากขึ้น

GUITAR PICKING

29



14 อีกครั้ง

เสก โลโซ อัลบั้ม : Black & White

Intro

Dm7 C/E Dm7 C Dm7 C/E Dm7                       C



1

0

1

1

0

1

0

3

0

1

1

0

1

2

1

0

1

0

1

0

1

1

1

0

3

0

1

1

2

0

1

0

Dm7 C/ Dm7 C Dm7 C/ Dm7 5 A1 C         E            E                 1 0 1 1 0 1 0   3 ครั้งแรกที่เราได้เจอะ อารมณ์แบบนี้มันหาย 9 C Dm7        

1

0

1

1

0

3

1

0

1

2

1

0

1

0

1

1

0

1

0

3

1

0

1

2

1

0

1

0

1

0

1

1

0

0

1

1

0

1

0

ตามหา เขาหัก อก C/E F/G    

1

0

3

1 2

กัน วัน นั้น เธอเป็นเหมือนฝันที่ฉัน ไป สักพัก เคยมีคนรักก็โดน C/E Dm7 C Dm7              

1

0

0

1

1

0

1

2

1

 0

3 3

เมื่อฉันมองเธอ เธอก็ สาดสายตา ต่อ ตา จากรอย ตายจนข้างใน ยัง ช�้าฟก ไม่หาย ฮืม B เจ็บปวดแทบ 13 Am Em Am Em Am Em G                 

2 0

1

2

0 0

0

0

2 0

1

2

0 0

0

0

2 0

1

2

0 0

0

ยิ้มที่เธอส่งมา จาก เว ลา ที่เรา ใกล้กัน จับมือเธอไว้ข้างใจฉัน แค่

0

0

0

0

1

0

0

0

3

นาที

GUITAR PICKING

47


2

C Hook                 17



G

0

0

1

0

3

0

0 1 0

0

0 1

0

G

F/G C G                         0 0 0

0

3

3

Dm7

0

1

0 0

0

0

2

1 2

0 1 0

0

3

3

0 0 0

0

3

3

เธอท�าให้ฉันรู้สึกเหมือน ตอนสิบสี่

0 1

0

0

0 0

0

3

ตอนที่ฉันมีแฟนคน

Dm7 F/G C G Dm7 F/G Am G                                 21

   25



1 2

0

1 2

3

 

3



1 2

1

0 0 0

0

0

1

0 0

0

3

ลึกๆ ข้างในมันหวั่นมัน

0

1 1

1 2

3 3

5 5

8 8

8 8

5 5

3 3

2

1 2

0

1

3

0

3

ไหวแปลกๆ

0

2

2

0

0

3

รู้ไหม ฉันเหมือนสิบสี่อีก Solo 2 C Dm7                

F 1 F               

3 1

0 1

0

3

3

แรก F

0 1 0

0

 

1 1

1

ครั้ง

3

เธอ

1 2

1

1 2

3 1

0 1

0

0

0

3

1

2

1 1 0

Dm7 C Dm7                 30



48

Em

2

Dm7

0

0 0

0

0

2

C

1 1 0

NOTE & TAB

Dm7

0 3

0 1

0

0

2

Em

1 1 0

2

0

0 0

0

0

2

1 1 0

0 3

0 1

0

0

2

1 1 0


3

Em

F F/G  34                       

2

Dm7

0

0 0

0

0

C Hook        38



0 1 0

0

0 1

2

C

1 1

Dm7

0

0

0 1

0

0

3

G

2

Em

1 1 0

0 0

0

2

F/G

1 0

0

3

3 3

1 1 2

1 2

1

1

3 4 5

1

3

F/G C G Dm7 F/G                                   0 0 0

0

3

Dm7

0

0 0

1 0

0

1

2

2

0 1 0

0

3

3

0 0 0

0

3

3

เธอท�ำให้ฉันรู้สึกเหมือน ตอนสิบสี่

0 1

0

1

0 0

0

0

0

3

ตอนที่ฉันมีแฟนคน

1

2

2

0

3 3

แรก

C G Dm7 F/G Am G F                                     42

0 0 0

0

3

0 0

0

1 0

0

Am  

1 2

0

G 

2

1

3

0

3

1 0

2

3

ลึกๆ ข้ำงในมันหวั่นมัน

46



0 1

ไหวแปลกๆ F 

  

0 2

0 3

รู้ไหมฉันเหมือนสิบสี่อีก

0

3 1

ครั้ง

เธอ

 

1 2 1

2

0

0

3

3

1

1 2

3 1

รู้ไหม ฉันเหมือนสิบสี่อีก ครั้ง

   3

1

0

2

Am  

1 2

G 

1 0

2

0 2

0 3

1 2

1

เธอ F      



 

0

1 1 2 3 3 1





0 1 0

เธอ รู้ไหมฉันเหมือนสิบสี่อีก

0

ครั้ง

GUITAR PICKING

49



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.