เก่งสระภาษาไทย

Page 1




สอนลูกรักเกงภาษาไทยกับเอ็มไอเอส ภาษาไทยกับลูกรัก

ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติที่เราคนไทยใชเปนเครื่องมือในการ สื่อสารเพื่อสรางความเขาใจระหวางกัน ทั้งยังเปนพื้นฐานในการแสวงหา ความรูในสาขาวิชาตางๆ จึงนับเปนเรื่องจําเปนอยางยิ่งที่พอแมและ ผูปกครองจะตองใหความสําคัญกับวิชาภาษาไทย หมั่นสอนและฝกฝน ลูกรักตั้งแตในวัยเริ่มตน เพื่อใหเขาใจภาษาไทยอยางถองแท สามารถนํา ไปตอยอดการเรียนรูในระดับชั้นที่สูงขึ้นตอไปในอนาคต

สุขและสนุกกับภาษาไทย

วัยเด็กถือวาเปนวัยทีม่ มี มุ มองทีส่ ดใส ความสุขของเด็กๆ จะเกิดขึน้ ได จากสิ่งแวดลอมรอบตัว พอแมและผูปกครองจึงมีสวนสําคัญในการสราง บรรยากาศการเรียนรูที่มีความสุขและสนุกสนานใหกับเด็กๆ ฉะนั้นในการ เริ่มตนสอนภาษาไทยใหกับลูกนั้นควรทําใหพวกเขารูสึกวาการเรียนรูเปน


เรื่องสนุก ใหลูกมีสวนรวมในการคิดและ แสดงความคิดเห็น ในระหวางที่สอนควร โอบกอดและชมเชยลูกเปนระยะๆ เพื่อให ลูกรูสึกอบอุน มั่นคง และปลอดภัย รวมถึง เปนการสรางลูกใหมที ศั นคติทดี่ แี ละมองโลก ในแงดีอีกดวย

สื่อการสอนสรางลูกรักเกงภาษาไทย

หนังสือ เกงสระภาษาไทย เลมนี้ จะทําใหเด็กๆ ไดรูจักกับสระใน ภาษาไทยทั้ง ๓๒ ตัว ซึ่งเด็กๆ จะไดจดจําลักษณะของสระแตละตัวพรอม ชื่อเรียกสระที่ถูกตอง ทั้งยังไดเรียนรูคําที่ประสมดวยสระแตละตัว พรอม ภาพประกอบที่สื่อความหมายของคํานั้นๆ จากนั้นก็จะไดทําแบบฝกหัดที่ สนุกสนานเพื่อทบทวนสระที่ไดเรียนมา

เคล็ดลับสอนลูก

พอแมและผูปกครองควรสอนลูกอานสะกดคําที่ประสมดวยสระแตละตัว โดยอานใหลูกฟง แลวใหลูกอานตาม จากนั้นจึงใหลูกลองอานสะกดคําดวย ตนเอง ในสวนของแบบฝกหัดพอแมและผูปกครองควรอานโจทยใหฟง แลว รวมชีแ้ นะแนวทางในการทํา หากลูกทําไมถกู ตองหรือไมเขาใจก็อธิบายเพิม่ เติม พรอมกับใหกําลังใจอยางสมํ่าเสมอ

มารวมกันสรางลูกรักใหเกงภาษาไทยซึ่งเปน ภาษาประจําชาติอันเปนพื้นฐานของสาขาวิชาอื่นๆ และภาษาอื่นๆ กับเอ็มไอเอสนะคะ สํานักพิมพเอ็มไอเอส


สระภาษาไทย ๓๒ ตัว -ะ

-า

สระอะ

สระอา

-ึ

-ื

-ิ

-ี

สระอิ

สระอี

-ุ

-ู

สระอึ

สระอือ

สระอุ

สระอู

สระเอะ

สระเอ

สระแอะ

สระแอ

โ-ะ

โ-

เ-ะ

แ-ะ

เ-

เ-าะ

แ-

-อ

สระโอะ

สระโอ

สระเอาะ

สระออ

สระเออะ

สระเออ

สระเอียะ

สระเอีย

-ัวะ

-ัว

เ-อะ เ-อะ ื

ี เ-ยะ

เ-อ เ-อื

เ-ยี

สระเอือะ

สระเอือ

สระอัวะ

สระอัว

รึ

รือ

ลึ

ลือ

-ำ

ใ-

ไ-

เ-า

สระอํา

สระใอ

สระไอ ๖

สระภาษาไทย ๓๒ ตัว

สระเอา


รูจักสระกันดีกวา สระ คือ เครื่องหมายที่ใชแทนเสียงที่เปลงออกมา เราจะนํา สระไปประสมกับพยัญชนะ เพื่อใหเปนคําที่มีความหมายตางๆ สําหรับพูดและสื่อสารกัน ต พยัญชนะ ต

+ ประสมกับ

า สระอา

= ตา จะไดคําวา ตา

ตา หมายถึง อวัยวะของ รางกายที่ใชใน การดูหรือมอง

พอของแม

ตา อานวา ตอ - อา - ตา วิธีการอาน การอานสะกดคํา เริม่ จาก พยัญชนะ สระ ตา อานวา ตอ - อา - ตา - ไมเอก - ตา วิธีการอาน การอานสะกดคํา เริม่ จาก พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตาก อานวา ตอ - อา - กอ - ตาก วิธีการอาน การอานสะกดคํา เริม่ จาก พยัญชนะ สระ ตัวสะกด ตาน อานวา ตอ - อา - นอ - ตาน - ไมโท - ตาน วิธีการอาน การอานสะกดคํา เริม่ จาก พยัญชนะ สระ ตัวสะกด วรรณยุกต ๗

รูจักสระกันดีกวา


สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระเสียงสั้น สระเสียงยาว

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว

อะ อิ อึ อุ

เออะ เอียะ เอือะ อัวะ

อา อี อือ อู

เอะ แอะ โอะ เอาะ

เออ เอีย เอือ อัว

ฤ ฦ

เอ แอ โอ ออ

ฤๅ ฦๅ

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว อํา ใอ ไอ เอา การอานชื่อสระทําไดโดยการนําเสียงพยัญชนะ อ มาประสมกับเสียงสระที่ตองการ เชน อ + -ะ = อะ ยกเวน ฤ (อานวา รึ) ฤๅ (อานวา รือ) อ + เ-ะ = เอะ ฦ (อานวา ลึ) ฦๅ (อานวา ลือ) ๘

สระเสียงสั้น สระเสียงยาว


ตําแหนงของสระ อยูดานหนา พยัญชนะ อยูดานหลัง พยัญชนะ อยูดานบน พยัญชนะ

อยูดานลาง พยัญชนะ

เ-

แ-

โ-

ใ-

-ะ -ิ

-า -ี

-อ -ึ

-ื

-ุ

-ู

ไ-

สระบางตัวเขียนอยูในตําแหนงมากกวา 1 ตําแหนง ไดแก

เ-ะ เ-อ - ัวะ

แ-ะ เ-ยะ ี -ัว

โ-ะ เ-ยี -ำ ๙

ตําแหนงของสระ

เ-าะ เ-อะ ื เ-า

เ-อะ เ-อื


-ะ

สระอะ

มะนาว กระดุม

ตะปู

สะพาน

ทะเล พะยูน ตะกรา

ชะนี ๑๐

สระอะ


เขียนคําลงในชองวางใตภาพใหถูกตอง โดยเลือกเขียน เฉพาะภาพที่มีคําที่ประสมดวยสระอะ

๑๑

สระอะ


เมื่อสระอะประสมกับคําที่มีตัวสะกดจะเปลี่ยน รูปจากสระอะ (-ะ) เปนไมหันอากาศ ( -ั )

ขัน ข + -ะ + น

ตัด ต + -ะ + ด

ลัง ล + -ะ + ง

ซัก ซ + -ะ + ก วัด ว + -ะ + ด นับ น + -ะ + บ ฝน ฝ + -ะ + น ๑๒

สระอะ

ผัก ผ + -ะ + ก


ฝกอานสะกดคํา แลวเขียนคําที่สะกดไดลงในชองวางให ถูกตอง ๑. ม + -ะ + ด = ๒. ส + -ะ + น = ๓. ย + -ะ + บ = ๔. พ + -ะ + ง = ๕. ท + -ะ + ก = ๖. ด + -ะ + ด = ๗. อ + -ะ + น = ๘. ห + -ะ + ก = ๙. ว + -ะ + น = ๑๐. ก + -ะ + ด = ๑๓

สระอะ


-า

สระอา ศาลา ฝาชี

จําปา ขา

ทายา

อีก า ปลา

๑๔

สระอา

หมา


โยงเสนจับคูคําในชองวางที่หายไป ใหเปนคําที่มี ความหมายสอดคลองกับภาพที่กําหนดให คา

ปา

๒.

เม็ด

ยา

๓.

เปา

ษา

๑.

100 บาท

๔.

ภา

รา

๕.

นํ้า

ชา

๖.

ซอน

ทา

๗.

ชาว

นา

๘.

หา

สี ๑๕

สระอา


-ิ

สระอิ

นิทาน

บิดา

มะลิ พริก

กะทิ

นาฬก า ลิง ๑๖

สระอิ


เขียนคําลงในชองวางใหสอดคลองกับภาพที่กําหนดให ๑.

๕.

๒.

๖.

๓.

๗.

๔.

๘.

๑๗

สระอิ


-ี

สระอี สี หวี

กีฬา

ตีกลอง

ยีราฟ

แมชี ๑๘

สระอี

ดีใจ


แตงประโยคจากภาพทีก่ าํ หนดให โดยในประโยคจะตอง มีคําที่ประสมดวยสระอีอยางนอย ๑ คํา

๑๙

สระอี


-ึ

สระอึ

ตึก

อึ ผึ้ง

ขึง

บึง ซึ้ง

หมึก

หนึง่ ๒๐

สระอึ


เติมพยัญชนะที่หายไปลงในชองวางใหสอดคลองกับภาพ ๑.

๔.

ึ งตัง

ึ งเชือก ๒.

๕.

ึ กคัก

ึ กคิด

๓.

๖.

ึ กดื่น

ึ กคัด ๒๑

สระอึ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.