I N T E R
กรณีต้องการสั่งซื้อจ�านวนมาก
กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�าส่วนหนึ่งส่วนใด ของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�าส�าเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�าไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�านักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ
ISBN 978-616-527-490-6 คณะผู้จัดท�า บรรณาธิการส�านักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน ชนาภัทร พรายมี ออกแบบปก ภรณีย์ สนองผัน ออกแบบรูปเล่ม กัญทิยา มาสาซ้าย ภาพประกอบ ธนารัตน์ ขวัญมิ่ง พิสูจน์อักษร ชนาภัทร พรายมี ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ ชนาภัทร พรายมี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ากัด ผู้พิมพ์/ผู้ โฆษณา เสริม พูนพนิช
จัดพิมพ์โดย ส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส
213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ : 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร : 0-2294-8787 www.MISbook.com
จัดจ�าหน่ายโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน)
1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2739-8000 โทรสาร : 0-2739-8609 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้า หน้าขาดหาย ส�านักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�านักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
ชวนคุณพ่อคุณแม่ เล่านิทานให้ลูกฟัง เด็กๆ ทุกคนชื่นชอบการฟังนิทาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าผู้ที่เล่านิทานให้พวกเขา ฟังคือ พ่อแม่ นิทานจะเป็นดั่งมนตร์สะกดที่ท�าให้เด็กนิ่งและใจจดใจจ่อกับการฟังเรื่องราว อันสนุกสนานและแสนจะตื่นเต้น นิทานถือว่าเป็นสื่อที่ดีที่สุดที่พ่อแม่จะใช้สื่อสารกับลูก ด้วยเนื้่อหาของนิทานสามารถ ตอบสนองความต้องการเรื่องราวต่างๆ ที่พ่อแม่ต้องการบอกหรือสอนลูก รวมถึงสามารถ ใช้เป็นสื่อในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของลูกได้ ดังนั้นนิทานจึงนับเป็น สะพานเชื่อมพ่อแม่ไปสู่ตัวลูก เพื่อเปิดประตูสู่โลกใบใหญ่ให้กับลูกรักได้เป็นอย่างดี
เราลองมาดูเหตุผลดีๆ ของการเล่านิทานให้ลูกฟังกัน 1. นิทานช่วยปลูกฝังให้ลูกเป็นคนช่างคิดและช่างสังเกต
ซึ่ ง เป็ น พื้ น ฐานของการสร้ า งลู ก ให้ มี ค วามมั่ น ใจ กล้ า คิ ด และกล้ า แสดงความคิ ด เห็ น ในสิ่ ง ที่ ถู ก ที่ควร ถูกที่ และถูกเวลา
2. นิทานท�าให้ลูกได้เรียนรู้ด้านภาษา การที่ลูกได้ฟังเสียงที่
ได้ยิน จะท�าให้รู้จักค�า ความหมายของค�า รู้จักประโยค และความหมายของประโยค เป็ น การปู พื้ น ฐานทั ก ษะ ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนให้กับลูก 3. นิ ท านกระตุ ้ น จิ น ตนาการของลู ก น�้ า เสี ย งที่ พ ่ อ แม่
เล่านิทานให้ลูกฟังจะช่วยเสริมสร้างจินตนาการให้ เกิดเป็นภาพ การเล่านิทานบ่อยๆ จะท�าให้ลูกได้ ฝึกการสร้างสรรค์จินตนาการที่แปลกใหม่ กว้างไกล และไร้ขอบเขต
4. นิ ท านช่ ว ยบ่ ม เพาะคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมให้ กั บ ลู ก
นิ ท านส่ ว นใหญ่ จ ะสอดแทรกคุ ณ ธรรม ทั ก ษะชี วิ ต และข้ อ คิ ด ดี ๆ ไว้ ใ นเนื้ อ เรื่ อ งหรื อ ตอนท้ า ยของเรื่ อ ง ท�าให้ลูกได้ตระหนักถึงคุณงามความดี และสิ่งเหล่านี้ จะติดตัวลูกไปจนกระทั่งเติบโต
5. นิทานเสริมสร้างสมาธิ ช่วงเวลาของการฟังนิทาน
ลูกจะตั้งใจฟังอย่างใจจดใจจ่อ หากพ่อแม่เลือกนิทาน ได้เหมาะสมกับช่วงวัย ก็จะท�าให้ลูกเข้าใจเรื่องราว ของนิทาน และน�าไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
6. นิทานสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ในครอบครัว ช่วงเวลาดีๆ
ที่พ่อแม่เล่านิทานให้ลูกฟัง จะเป็นช่วงเวลาแห่งความรัก และความอบอุ่น เป็นการเสริมสร้างสายใยความผูกพัน อันดีระหว่างพ่อแม่ลูก
หลายคนอาจคิดว่าตัวเองไม่สามารถเล่านิทานได้ แต่เมื่อวันใดที่ได้เป็นคุณพ่อคุณแม่ อย่างเต็มตัว ลองเริม่ ต้นหาหนังสือดีๆ เพือ่ เล่านิทานให้ลกู ฟังสัก 1 เล่ม แล้วคุณจะกลายเป็น นักเล่านิทานคนเก่งของลูกรักได้อย่างน่าอัศจรรย์
แนะวิธีเล่านิทานให้ลูกฟัง
พ่อแม่ควรเล่านิทานให้ลูกเกิดความสนใจและอยากติดตามฟังจนจบ โดยมีวิธีง่ายๆ ดังนี้ 1. ขึ้นต้นเรื่องที่จะเล่าให้ดึงดูดความสนใจของลูก เสียงดัง และชัดเจน 2. ลีลาการเล่าเริ่มด้วยช้าๆ และเร็วขึ้นเพื่อดึงดูดความสนใจ จากนั้นก็ใช้จังหวะการเล่าปกติ 3. ควรด�าเนินการเล่าไปอย่างราบรื่น ไม่ควรเว้นจังหวะจนท�าให้ลูกเบื่อ และยังไม่ควรถามค�าถาม หรือพูดเรื่องอื่นๆ ขัดจังหวะ ท�าให้หมดสนุก 4. ใช้น�้าเสียง สีหน้า ท่าทาง ให้สอดคล้องกับตัวละครในนิทาน อย่าเล่าแบบเนือยๆ จนท�าให้ ไม่ตื่นเต้น 5. ไม่ควรใช้เวลาเล่านานเกินไป เพราะลูกยังมีความสนใจในช่วงเวลาที่สั้นอยู่ จะส่งผลให้ลูกเบื่อ และไม่อยากฟังอีกในครั้งต่อไป 6. เมื่อเล่าจบเรื่องควรเปิดโอกาสให้ลูกได้ซักถาม หรือร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกับลูก ช่วงเวลาที่พ่อแม่เล่านิทานให้ลูกฟังถือเป็นช่วงเวลาที่จะได้ใกล้ชิด และคลุกคลีกับลูก ขณะเล่าอาจอุ้มลูกวางที่ตัก จับมือลูก กอดลูก เพื่อให้ลูก รับรู้และสัมผัสได้ถึงความรักของพ่อแม่
รู้จักนักเล่านิทานนาม "อีสป" อีสปมีชีวิตอยู่ในช่วง 620-560 ปีก่อนคริสต์ศักราช (ราว 2,600 กว่าปีมาแล้ว) เป็นทาสอยู่ที่เมืองซาร์ดิส บนเกาะซามอส ประเทศกรีก อีสปเป็นชายพิการ หน้าตาอัปลักษณ์ แต่มีจิตใจดีงาม ในระหว่างที่เป็นทาส อีสป สามารถสร้างชื่อเสียงให้ตนเองด้วยการเป็นนักเล่านิทาน และความสามารถด้านนี้ท�าให้อีสปได้รับอิสรภาพจาก การเป็นทาส เนื่องจากไหวพริบและสติปัญญาที่เฉียบแหลม หลังจากอีสปได้รับอิสรภาพก็ได้เข้า ท�างานในราชส�านักของกษัตริย์เครซุส ซึ่งเป็น กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรลิเดียของ เอเชียไมเนอร์ อีสปถวายทั้งความสนุกสนาน และแง่คิดต่างๆ ให้แก่กษัตริย์เครซุส ท�าให้ พระองค์ ไ ด้ รู ้ ค วามจริ ง หลายอย่ า งเกี่ ย วกั บ บ้านเมือง และนอกจากนี้ อี ส ปยั ง ได้ รั บ มอบหมายให้ ท� า หน้ า ที่ ร าชทู ต ไปยั ง เมื อ งหลวงของนครรั ฐ ต่ า งๆ ครั้ ง หนึ่ ง อีสปได้เล่านิทานเรื่อง “กบเลือกนาย” ให้ประชาชนชาวเมืองเอเธนส์ฟัง ท�าให้ ชาวเมื อ งหั น กลั บ มาเลื่ อ มใสในการ ปกครองของปิซัสเครตัสได้ส�าเร็จ
ช่วงสุดท้ายของชีวิตอีสปถูกส่งไปเป็นราชทูตที่เมืองเดลฟี อีสปได้ เล่านิทานโดยใช้สัตว์เป็นสัญญาณบอกความจริงเกี่ยวกับความอยุติธรรม ทางการเมือง ท�าให้นักการเมืองไม่พอใจจึงแก้แค้นอีสปโดยการแอบเอา ขันทองศักดิ์สิทธิ์แห่งวิหารเทพอะพอลโลไปใส่ในกระเป๋าสัมภาระของอีสป อีสปจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นขโมย และถูกจับประหารชีวิตด้วยการโยนลงมา จากหน้าผาสูงจนถึงแก่ความตาย นิ ท านที่ อี ส ปเล่ า ได้ รั บ การถ่ า ยทอดเรื่ อ ยมาแบบปากต่ อ ปาก และในภายหลั ง ได้ มี ผู ้ ร วบรวมแล้ ว จดบั น ทึ ก ไว้ เ ป็ น ภาษาลาติ น ค.ศ. 1400 นักบวชนาม แมกซิมุส พลานุเดส ได้แปลเป็นภาษาอังกฤษ นับจากนั้นนิทานอีสปก็ถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ และใน ค.ศ. 1700 ลา ฟองแตน นักเล่านิทานชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้ดัดแปลง นิทานอีสปมาเล่าใหม่จนเป็นที่แพร่หลายไปทั่วโลก ทุกคนที่ได้ฟังนิทานอีสปจะเกิดความรู้ส�านึกที่ดี ได้รับบทเรียน ได้รับรู้สิ่งที่ดีงาม และความชั่วร้ายไปพร้อมๆ กับความสุนกสนาน บทบาทของนิทานอีสปนับตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน จึงเป็นสิ่งที่ชี้ชัดให้เห็นถึงคุณประโยชน์ของ นิทานอีสปที่มีต่อมวลมนุษย์ได้เป็นอย่างดี
ลักษณะเด่นของนิทานอีสป
ตัวละครส่วนใหญ่จะเป็นสัตว์ ซึ่งได้น�ามาเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของมนุษย์อย่างแยบคาย สิงโต เป็นตัวแทนของชนชั้นปกครองหรือผู้มีอ�านาจ มียศศักดิ์ และความทะนงตน สุนัขจิ้งจอก เป็นตัวแทนของคนเจ้าเล่ห์ฉลาดแกมโกง ชอบเอาเปรียบผู้อื่น และฉวยโอกาส ลา เป็นตัวแทนของคนที่ไร้การศึกษา ไร้ปัญญา ไม่ทันคน หนู เป็นตัวแทนของผู้ต�่าต้อยและด้อยโอกาสในสังคม
เพราะโลกนี้มีอีสป ราชสีห์กับหนูจึงเป็นเพื่อนกัน ช่างน่าอัศจรรย์นัก
สารบัญ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
กบกับวัวกระทิง การต่อสู้ของไก่ป่า กิ่งไม้หนึ่งก�ามือ แกะกับสุนัขเลี้ยงแกะ กระต่ายกับเต่า การแบ่งเนื้อของราชสีห์ ไก่กับดวงดาว คนเลี้ยงแกะกับสิงโต กระต่ายกับกบ กาหลอกตัวเอง งานแต่งงานของหมีสาว คนเลี้ยงแกะกับลูกเสือ ไก่ หมาป่า กับสุนัขจิ้งจอก ค้างคาว นก และสัตว์ป่า งู นกอินทรี กับนายพราน คนเลี้ยงแพะกับแพะป่า กบเลือกนาย จระเข้และลูกแกะ ชายกับภรรยา ดอกกุหลาบและดอกบานไม่รู้โรย เด็กชายกับหมาป่า เต่ากับนกอินทรี ชายชนบทกับแม่น�้า กระต่ายกับหนู นกกระจอกกับแมงมุม
13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
ต้นมะกอกและต้นมะเดื่อ กัปตันกับผู้โดยสาร เทพจูปิเตอร์กับลิงหางด้วน นกกระทากับไก่ชน ชายขายถ่านกับหญิงซักผ้า นกนางแอ่นกับกา นกนางแอ่นและนกตัวอื่นๆ เด็กชายกับแมงป่อง กากับนกเขา ต้นวอลนัท งูกับกบ ขุนนางกับช่างฟอกหนัง ชาวไร่กับนกกระสา ชายชรากับพญามัจจุราช ท้องและอวัยวะอื่นๆ ไก่กับแมว กบกับพระอาทิตย์ นกยูงกับนกกระเรียน ชาวไร่และสุนัข กากับเทพเจ้า ต้นสนกับต้นฉ�าฉา นกอินทรี หมู และแมว ชาวนาและนกกระเรียน คนเรือแตกกับกวี นกกระสากับสุนัขจิ้งจอก
38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75
นักเดินทางและฝูงผึ้ง นายพรานและสิงโต นกกระเรียนกับห่าน คนโลภกับคนขี้อิจฉา กากับนกพิราบ ต้นโอ๊กกับฟักทอง นกเขา สุนัขจิ้งจอก กับต้นแพร์ ชายโง่กับผ้านวม นกสองตัว นกอินทรีกับสิงโต ปลากับกระทะ แพะกับคนเลี้ยงแพะ นักเดินทางกับต้นข่อย กบทั้งสองกับบ่อน�้า ชายตัดไม้กับสุนัขจิ้งจอก พรานล่านกกับนกกระทา ต้นโอ๊กกับต้นอ้อ ชายตกปลากับปลาตัวเล็ก นกอินทรีกับสุนัขจิ้งจอก ปูกับงู พ่อกับลูกชาย ปูกับสุนัขจิ้งจอก เทพารักษ์กับคนตัดไม้ นกกระจอกกับกระต่ายป่า ชายทั้งสองผู้เป็นศัตรู
63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100
นักเดินทางกับเรือ แพะกับลา มดกับนกพิราบ พระจันทร์ในบ่อน�้า กากับหอยกาบ ชายสองคนกับขวาน พ่อค้าขายเกลือกับลา นายพรานกับคนตัดไม้ ต้นผักกับวัชพืช ผึ้งกับเทวดา พรายน�้ากับไข่มุก แพะหลงกล ม้า แพะ กับสิงโต ชาวประมงเป่าขลุ่ย เด็กชายกับหวี ผู้ใหญ่ช่างสอน พ่อกวางกับลูกกวาง แม่กบกับวัว แม่กับหมาป่า กากับหงส์ แม่ไก่กับแมว ต้นไม้กับพุ่มหนาม ชาวนากับงู แม่น�้ากับทะเล แม่บ้านกับแมว
88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125
พ่อกับลูกสาวทั้งสอง ม้าแข่งในโรงสี กากับเหยือกน�้า มดกับตั๊กแตน แมลงวันกับชายหัวล้าน ชายหนุ่มกับต้นไผ่ ม้ากับคนเลี้ยงม้า แมวเจ้าเล่ห์กับไก่ มดงานกับดักแด้ ต้นไม้กับขวาน แพะกับเถาองุ่น รังของนกกระจอก เด็กเลี้ยงแกะ ม้ากับหมูป่า ราชสีห์กับหนู กาเกียจคร้าน แมวเสียงดัง ลากับจักจั่น ม้าศึกกับนักรบ เมฆฝน แมวกับม้าศึก แม่สุนัขกับลูกๆ และคนเลี้ยงแกะ เม่นกับงู ลา ไก่ และสิงโต แม่ปูกับลูกปู
113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150
แม่ม้ากับลูกม้า ลิงกับอูฐ แม่ตุ่นกับลูกตุ่น ราชสีห์กับปลาโลมา ลิงและชายหาปลา ยุงกับค้างคาว แมวกับหนู ลากับชายยากจน ลูกวัวกับวัวหนุ่ม สองพี่น้อง สงครามสัตว์ป่า ลมกับพระอาทิตย์ ล�าธาร ทะเลสาบ และทะเล ราชสีห์กับมด ลากับม้าศึก สุนัขจิ้งจอกกับกา หนอนไหมกับแมงมุม ลิงกับเต่า สิงโตกับเสือโคร่ง ลากับวัว ลูกวัวขี้เกียจ สุนัขจิ้งจอกกับฝูงเหลือบ หนูกับหอยมุก ลิงกับแว่นตา ลาโง่กับหนังสิงโต
138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176
หงส์กับกา อินทผลัมสองต้น ลูกแมวกับสุนัขจิ้งจอก หนูสามตัว สองสหายกับหมี ลาขี้โมโห หมาป่ากับแกะ สาวน้อยแมวเหมียว วัวกับแพะ เสือดาวหลงตัวเอง สิงโตกับกระต่ายป่า สุนัขกับเงา หนูในหีบ วัวกระทิงกับหนู ลาหลายนาย สิงโตกับลา หมาป่ากับคนเลี้ยงแกะ หมาล่าเนื้อกับกระต่าย สุนัขกับขโมย ลาแบกเทวรูป สุนัขจิ้งจอกหางด้วน หมาป่ากับลา สุนัขกับจระเข้ สุนัขจิ้งจอกกับพงหนาม หมาป่าในหนังแกะ สิงโตกับสุนัขจิ้งจอก
163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188
เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่ เรื่องที่
177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202
วัวกับลา สุนัขจรจัดในรางหญ้า หมาป่ากับคันธนู ห่านกับไข่ทองค�า สุนัขจิ้งจอก หมาป่า และสิงโต วัวกับแมลงหวี่ เหยี่ยวกับนกพิราบ สุนัขจิ้งจอกกับลา อูฐกับเทพจูปิเตอร์ ห่านอยากเป็นหงส์ สุนัขจิ้งจอกขายเนื้อ สุนัขสองตัว เหยี่ยวป่วย หมีกับผึ้ง หญิงชรากับหมอรักษาดวงตา หญิงม่ายกับสาวใช้ หมาป่ากับลูกแกะ หมูป่ากับสุนัขจิ้งจอก หญิงสาวกับเทียน หนู กบ และเหยี่ยว หมาล่าเนื้อกับสุนัขจิ้งจอก เหยี่ยวกับชาวนา หนูนากับพังพอน หนูนากับหนูเมือง ค�าตอบของพระจันทร์ หนูในเขาวัว
189 190 191 192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214
เรื่องที่ 1
กบ กับ วัวกระทิง
ในบึงแสนสงบแห่งหนึ่ง มีเหล่ากบจ�านวนมากก�าลังเล่นน�้ากันอย่างมีความสุข แต่แล้วกบตัวหนึ่งก็เหลือบไป
เห็นวัวกระทิงสองตัวที่ก�าลังต่อสู้กันอย่างดุเดือด กบผู้หวาดกลัวจึงตะโกนร้องเสียงดังเตือนเพื่อนๆ ทันทีว่า
“พวกเรารีบออกไปจากที่นี่กันเถอะ”
เมื่อกบตัวอื่นๆ มองไปรอบๆ ก็เห็นวัวกระทิงที่ก�าลังต่อสู้กัน กบอีกตัวจึงพูดขึ้นว่า
“วัวกระทิงสองตัวนี้ก�ำลังต่อสู้เพื่อชิงควำมเป็นใหญ่กัน และมันก็อยู่ห่ำงไกลจำกเรำพอสมควร แล้วเจ้ำจะให้พวกเรำรีบหนีไปท�ำไมกัน”
กบผู้หวาดกลัวจึงตอบกลับไปว่า
“แม้วัวกระทิงสองตัวนั้นจะอยู่ห่ำงไกล แต่เมื่อกำรต่อสู้จบลง วัวที่แพ้ก็จะถูกขับไล่ออกจำกฝูง และมันอำจหนีมำทำงที่พวกเรำอยู่ แล้วพวกเรำจะหลบอุ้งเท้ำของมันได้อย่ำงไรกัน” นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ผู้มองการณ์ไกลสามารถป้องกันภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้
13
เรื่องที่ 2
การต่อสู้ ของ ไก่ป่า
ในป่าเงียบสงบแห่งหนึ่งมีไก่ป่าสองตัวก�าลังจะต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ พวกมันตกลงกันว่า หากใคร
เป็นผู้ชนะจะได้เป็นผู้น�าของฝูง แต่ผู้แพ้ต้องถูกขับไล่ออกไปจากป่า เมื่อวันต่อสู้มาถึงไก่ทั้งสองตัวต่างจิกตีกันอย่างเอาเป็นเอาตาย และผลของการต่อสู้ก็จบลงโดยมีฝ่ายหนึ่งชนะและ อีกฝ่ายหนึ่งแพ้ ไก่ตัวที่ชนะก็ดี ใจและฮึกเหิมเป็นอย่างมากที่ตัวมันแข็งแรงและเก่งกล้าจนสามารถเอาชนะอีกฝ่ายได้ มัน พยายามปีนขึ้นไปบนเนินเขาเล็กๆ และโก่งคอขันเสียงดัง เพื่อประกาศว่าตอนนี้มันได้กลายเป็นผู้น�า ของฝูงไก่ป่าแล้ว ทันใดนั้นเองมีนกอินทรีตัวหนึ่งบินผ่านมาเห็นเข้า มันจึงโฉบลงมาอย่างรวดเร็วและคว้าไก่ป่าผู้ชนะไปกินเป็นอาหารทันที
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ความโอ้อวดจะน�าพาหายนะมาสู่ตนเอง 14
เรื่องที่ 3
กิ่งไม้หนึ่งก�ามือ
ชายชราคนหนึ่งป่วยหนักและก�าลังใกล้ตาย เขาได้เรียกลูกชายทุกคนมาหาโดยพร้อมหน้ากัน แล้วให้คนรับใช้ ไปหากิ่งไม้มาหนึ่งก�ามือ เขายื่นกิ่งไม้ให้ลูกชายคนโตแล้วพูดขึ้นว่า
“ไหนเจ้ำลองหักกิ่งไม้ให้พ่อดูสิ”
ลูกชายพยายามหักกิ่งไม้ด้วยเรี่ยวแรงทั้งหมดที่มี แต่ก็หักไม่ได้ ชายชราก็ให้ลูกๆ ลองหักกิ่งไม้ทีละคน แต่ก็ ไม่มี ใครท�าส�าเร็จ เมื่อเป็นดังนั้นชายชราจึงแยกกิ่งไม้ออกมาแล้วส่งให้ลูกชายคนละกิ่ง แล้วพูดขึ้นว่า
“ทีนี้พวกเจ้ำลองหักกิ่งไม้ดูอีกทีสิ”
ลูกชายทุกคนท�าตามที่พ่อสั่ง คราวนี้ทุกคนสามารถหักกิ่งไม้ได้ ชายชราจึงเอ่ยกับลูกๆ ว่า
“พวกเจ้ำก็เปรียบเสมือนกิ่งไม้มัดนี้ หำกรักใคร่ปรองดองกันก็จะไม่มีใครท�ำอะไรพวกเจ้ำได้ แต่หำกเมื่อใดที่แตกควำมสำมัคคี พวกเจ้ำก็จะถูกท�ำร้ำยได้ง่ำยเหมือนกิ่งไม้เหล่ำนี้”
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ความสามัคคีเป็นพลังอันยิ่งใหญ่
15
แกะ กับ สุนัขเลี้ยงแกะ
เรื่องที่ 4
เช้าตรู่วันหนึ่งขณะที่คนเลี้ยงแกะและสุนัขเลี้ยงแกะต้อนฝูงแกะออกไปกินหญ้าตามปกติ
มีแกะตัวหนึ่งพูดกับคนเลี้ยงแกะว่า
“ท่ำนตัดขนของพวกข้ำไปท�ำเป็นเครื่องนุ่งห่ม น�ำนมของพวกข้ำไปดื่มและท�ำอำหำร แต่สิ่งตอบแทนที่พวกข้ำได้รับเป็นแค่เพียงหญ้ำรสชำติแย่ๆ และน�้ำเท่ำนั้นเอง ช่ำงไม่ยุติธรรมเอำเสียเลย” เมื่อพูดจบแกะก็หันไปมองที่สุนัขเลี้ยงแกะและพูดขึ้นอีกว่า
“ข้ำไม่เข้ำใจเลยว่ำท�ำไมท่ำนจึงเลี้ยงดูเจ้ำสุนัขเป็นอย่ำงดีด้วยอำหำรของท่ำน ในขณะที่มันไม่ได้ท�ำประโยชน์อะไรเลย”
คนเลี้ยงแกะจึงตอบกลับไปว่า
“หำกสุนัขไม่คอยปกป้องพวกเจ้ำจำกหมำป่ำและสุนัขจิ้งจอก พวกเจ้ำก็คงไม่มีโอกำสได้กินหญ้ำอย่ำงอิ่มท้องทุกวันเช่นนี้หรอก” นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ผู้ปกครองแม้จะสุขสบายกว่า แต่ก็ต้องเสี่ยงภัยเพื่อปกป้องคุ้มครองเรา
16
กระต่าย กับ เต่า
เรื่องที่ 5
ณ ป่าใหญ่แห่งหนึ่ง กระต่ายตัวหนึ่งชอบโอ้อวดว่าเป็นผู้ที่วิ่งได้เร็วที่สุด วันหนึ่งมันเห็นเต่าก�าลังคลาน ต้วมเตี้ยมอย่างช้าๆ กระต่ายหัวเราะแล้วพูดกับเต่าว่า
เต่าจึงตอบกลับไปว่า
“นี่เจ้ำเต่ำ ถ้ำเจ้ำเดินช้ำอย่ำงนี้ แล้วเมื่อไรจะกลับถึงบ้ำนล่ะ”
“ถึงข้ำจะเดินช้ำ แต่ข้ำก็กลับถึงบ้ำนทุกวัน เรำมำลองวิ่งแข่งกันไหมล่ะ แล้วข้ำจะเอำชนะเจ้ำให้ดู”
กระต่ายมั่นใจว่าเต่าไม่มีทางเอาชนะตนได้เป็นแน่ จึงรับค�าท้า วันรุ่งขึ้นสัตว์ต่างๆ ก็พร้อมใจกันมาดูการวิ่งแข่ง ระหว่างกระต่ายกับเต่า เมื่อการแข่งขันเริ่มขึ้น กระต่ายวิ่งอย่างสุดฝีเท้าเพื่อไปให้ถึงเส้นชัย ส่วนเต่าก็พยายามคลานไป เรื่อยๆ กระต่ายวิ่งไปจนเกือบถึงเส้นชัย และคิดว่ายังไงต้องเป็นผู้ชนะแน่นอน มันจึงนั่งพักอยู่ใต้ต้นไม้และเผลอหลับไป ส่วนเต่าก็คลานต้วมเตี้ยมจนมาถึงเส้นชัย กระต่ายตื่นขึ้นมองซ้ายมองขวา แล้วรีบออกวิ่งเร็วที่สุด แต่ก็สายไปเสียแล้ว เพราะสัตว์ป่าทั้งหลายก�าลังแสดงความยินดีกับเต่าที่เป็นผู้ชนะ
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ความพยายามอยู่ทไี่ หน ความส�าเร็จอยู่ที่นั่น 17
เรื่องที่ 6
ของ ราชสีห์ การแบ่ ง เนื อ ้ วันหนึ่ง
ราชสีห์ออกไปล่าเหยื่อพร้อมกับสุนัขจิ้งจอก หมาใน และหมาป่า พวกมันช่วยกันมองหาเหยื่อจนพบ กวางตัวหนึ่งจึงรีบวิ่งเข้าไปตะครุบกวางตัวนั้นจนตาย จากนั้นราชสีห์จึงพูดขึ้นว่า “ข้ำจะแบ่งเนื้อกวำงเป็นสี่ส่วน” สุนัขจิ้งจอก หมาใน และหมาป่าจึงช่วยกันถลกหนังและแบ่งเนื้อกวางออกเป็นสี่ส่วน หลังจากนั้นราชสีห์ก็พูดขึ้น อีกว่า
“ในฐำนะที่ข้ำเป็นเจ้ำป่ำ เนื้อส่วนแรกต้องเป็นของข้ำ เนื้อส่วนที่สองก็เป็นของข้ำเพรำะข้ำเป็นผู้ตัดสิน และส่วนที่สำมก็ต้องเป็นของข้ำเพรำะข้ำร่วมล่ำเหยื่อด้วย ส�ำหรับส่วนที่สี่ ข้ำก็อยำกรู้เหมือนกันว่ำใครจะกล้ำเข้ำมำ”
เมื่อได้ฟังเช่นนั้นสุนัขจิ้งจอก หมาใน และหมาป่าต่างก็สลดใจและพากันโอดครวญที่พวกมันไม่ได้รับส่วนแบ่งเลยแม้แต่น้อย
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
จงหลีกหนีจากผู้ปกครองทีไ่ ร้ความยุติธรรม 18
เรื่องที่ 7
ไก่ กับ ดวงดาว
ค�่าคืนอันเงียบสงบในฤดูหนาวคืนหนึ่ง ไก่ชราตัวหนึ่งล้มป่วยและอาการก็ทรุดหนักลงเรื่อยๆ มันรู้ตัวว่าคงไม่
สามารถมีชีวิตรอดท่ามกลางอากาศอันหนาวเหน็บนี้ได้เป็นแน่ มันจึงพูดกับดวงดาวว่า
“ดวงดำวเอ๋ย ข้ำรู้ดีว่ำข้ำคงไม่สำมำรถยื้อชีวิตได้อีกต่อไป เมื่อข้ำจำกไป ใครจะมำส่งเสียงขันเรียกพระอำทิตย์ในทุกๆ เช้ำล่ะ”
เมื่อดวงดาวได้ยินไก่พูดเช่นนั้นจึงตอบกลับไปว่า
“มนุษย์ได้ฆ่ำไก่เป็นอำหำรมำมำกกว่ำจ�ำนวนดวงดำวบนท้องฟ้ำ และดวงอำทิตย์ก็ยังคงส่องสว่ำงได้ในทุกวัน ฉะนั้นกำรตำยของเจ้ำไม่ได้เกี่ยวข้องกับแสงอำทิตย์ที่ให้ควำมอบอุ่นแก่โลกใบนี้เลย” นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
คนเขลามักหลงว่าตนมีความส�าคัญอยู่เสมอ
19
กับ สิงโต คนเลี ย ้ งแกะ ณ ทุ่งหญ้า เรื่องที่ 8
แห่งหนึ่ง ขณะที่คนเลี้ยงแกะพาฝูงแกะไปเลี้ยงที่ทุ่งหญ้า มีสิงโตตัวหนึ่งเดินขาเขยกเข้ามาหา คนเลี้ยงแกะ ขณะที่คนเลี้ยงแกะก�าลังหนี สิงโตก็กล่าวว่า
“อย่ำกลัวข้ำเลย ข้ำเพียงต้องกำรให้ท่ำนช่วยดึงหนำมที่ต�ำอุ้งเท้ำข้ำออก”
คนเลี้ยงแกะได้ยินดังนั้นจึงก้มลงดึงหนามออกจากอุ้งเท้าสิงโต แล้วสิงโตก็กลับเข้าไปในป่า หลายวันต่อมาคนเลี้ยงแกะ ถูกใส่ร้ายและถูกเจ้าเมืองตัดสินให้จับโยนให้สิงโตกินเป็นอาหาร และบังเอิญสิงโตตัวนั้นคือสิงโตที่เขาเคยช่วยเหลือ สิงโต จ�าคนเลี้ยงแกะได้ก็ไม่คิดจับคนเลี้ยงแกะกิน ซ�้ายังเข้ามาคลอเคลียคนเลี้ยงแกะอีกด้วย เจ้าเมืองเห็นจึงเรียกคนเลี้ยงแกะ เข้ามาสอบถาม ความจริงจึงกระจ่างขึ้นว่าคนเลี้ยงแกะถูกใส่ร้าย เจ้าเมืองจึงปล่อยเขาให้เป็นอิสระ
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ผู้ท�าความดีย่อมได้รับผลตอบแทนในวันหนึ่ง
20
เรื่องที่ 9
กระต่าย กับ กบ
กระต่ายตัวหนึ่งเกิดความรู้สึกว่าชีวิตของมันช่างไม่มีความสุขเอาเสียเลย เพราะต้องถูกสัตว์ที่ตัวใหญ่กว่า
รังแกอยู่เสมอ ซ�้ายังต้องคอยหนีเหล่านักล่าที่คอยจ้องจะเอาชีวิต มันจึงไม่อยากมีชีวิตที่หลบๆ ซ่อนๆ อีกต่อไป มันเดิน อย่างหมดอาลัยตายอยากไปจนถึงทะเลสาบแห่งหนึ่งและพลันคิดขึ้นมาได้ว่า ถ้ากระโดดน�้าตายอาจจะทรมานน้อยกว่าถูก สัตว์อื่นล่าไปเป็นอาหาร จากนั้นมันจึงท�าท่าจะกระโดดลงไปยังทะเลสาบ ขณะเดียวกันเมื่อกบที่เล่นน�้าอยู่ใกล้ๆ ฝั่งเห็นเหตุการณ์ก็พากัน ตกใจ และกระโดดหนีลงน�้าเพื่อซ่อนตัวกันอย่างอุตลุด เมื่อกระต่ายเห็นเช่นนั้นจึงเอ่ยขึ้นว่า
“ยังมีผู้ที่อ่อนแอและต้องใช้ชีวิตอย่ำงยำกล�ำบำกกว่ำข้ำอีกตั้งมำกมำย ข้ำไม่น่ำคิดสั้นเช่นนี้เลย”
หลังจากนั้นกระต่ายก็ไม่เคยคิดจะฆ่าตัวตายอีกเลย
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
จงมองผู้ที่อยู่ต�่ากว่าเราเมื่อเกิดความท้อแท้สิ้นหวังในชีวิต 21