พัฒนาสมองของลูกรักด้วยกระดาษหรรษาพาสนุก ชุด ตัด-พับ

Page 1

ศักยภาพ สมอง

ผูเ ข�ยน :

โคบายาช� คาสึโอะ

นักว�จยั เร�อ่ งการเร�ยนรู สมองของเด็ก

¡Ô¨¡ÃÃÁã¹àÅ‹Áä´ŒÃºÑ ¡Òà Â×¹Âѹ¨Ò¡¼ÙàŒ ªÕÂè ǪÒÞ´ŒÒ¹ÊÁͧ áÅŒÇÇ‹Òª‹Ç¡ÃеعŒ ¾Ñ²¹Ò¡Òà ·Ò§ÊÁͧãËŒà´ç¡à»š¹Í‹ҧ´Õ 50.-



พัฒนาสมองของลูกรัก ด้วยกระดาษหรรษาพาสนุก : ตัดพับ ISBN : 978-616-527-616-0 ราคา : 50 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ ในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ผู้เขียน : ริวตะ คาวาชิมะ, คาซุโอะ โคบายาชิ วาดภาพปกและตัวเล่ม : ฮิโรมิ โคไดระ ภาพถ่าย : มาซาโตมิ โอโนะ ผู้แปล : เมทินี นากาอิ ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ © 脳元気シリーズ 頭がよくなるきりがみドリル Nou Genki Series Atama ga Yokunaru Kirigami Drill Copyright © 2007 Gakken First published in Japan 2007 by Gakken Co., Ltd., Tokyo Thai translation rights arranged with Gakken Education Publishing Co., Ltd. through Arika Interrights Agency © ลิขสิทธิ์ภาษาไทย 2557 : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการบริหาร ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ บรรณาธิการต้นฉบับ มรกต เอื้อวงศ์ ประสานงานฝ่ายผลิต อิสรีย์ แจ่มข�ำ ศิลปกรรม ภรณีย์ สนองผัน, เพียงพิศ อิ่นแก้ว พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี, ชนาภัทร พรายมี ฝ่ายการตลาด มยุรี ศรีมังคละ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

จัดพิมพ์ โดย : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�ำ้ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยนิ ดีรบั ผิดชอบเปลีย่ นให้ ใหม่ โดย ส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)

กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ


เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง หนังสือเล่มนีเ้ ป็นมากกว่าแค่การทดลองพืน้ ฐาน จากประสาทวิทยาศาสตร์รปู แบบใหม่ ซึง่ ได้รบั การยอมรับแล้วว่าการตัด กระดาษนั้นเป็นการกระตุ้นสมอง ส่วนที่มีความส�ำคัญที่สุดของสมองคือ สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า ซึ่งอยู่ด้านหลังหน้าผาก เป็นส่วนที่มีความสัมพันธ์อย่างมากในการแสดงถึง “ลักษณะของคนหัวดี” โดยจะถูกใช้งานในยามที่คิดแก้ไขปัญหาสิ่งต่างๆ เรือ่ งราวต่างๆ และการจดจ�ำสิง่ ต่างๆ เป็นส่วนทีม่ คี วามส�ำคัญมากๆ ต่อบรรดาเด็กๆ สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้านัน้ สามารถ ฝึกฝนได้เช่นเดียวกับการฝึกฝนร่างกายโดยการเล่นกีฬา ดังนัน้ หนังสือเล่มนีไ้ ม่วา่ จะฝึกฝนกีค่ รัง้ ก็จะกลายเป็นเสมือนส่วนหนึง่ ของแบบฝึกฝนให้กับสมองนั่นเอง ข้อสังเกต ในการประดิษฐ์รอบที่ 2 โปรดท�ำการพลิกแพลงเพิ่มเติม โดยการใช้กระดาษส�ำหรับศิลปะการพับกระดาษมา ลองประดิษฐ์ตามรูปแบบภาพตัวอย่าง ซึ่งศึกษาได้จากหน้าอ้างอิงเรื่องรูปแบบการพับและการตัดชิ้นงาน

ลักษณะเฉพาะของหนังสือเล่มนี้

1. เมื่อใช้กรรไกรตัดกระดาษแยกออกมา ก็จะได้แผ่นงานแบบฝึกการตัดกระดาษไว้ใช้งาน 2. แบบฝึกการตัดทั้ง 40 แบบ มีแบ่งระดับความยากง่ายให้ 3. ร่วมสนุกเพลิดเพลินไปด้วยกันกับเด็กๆ หรือบุตรหลาน ในหลักสูตรการตัดกระดาษ (ตั้งแต่หน้า 45 เป็นต้นไป) 4. หลักสูตรการตัดกระดาษนั้นมีการสรุปรวบรวมไว้ให้ในหน้า 87 5. มีมงกุฎแห่งความพยายาม (รางวัลแห่งความพยายาม) แนบไว้ให้ในตอนท้ายของหนังสือ

วิธีการใช้หนังสือเล่มนี้

1. ส�ำหรับหลักสูตรการใช้กรรไกร (ตั้งแต่หน้า 7 เป็นต้นไป) ให้ศึกษาดูจากภาพตัวอย่างและวิธีการประดิษฐ์ 2. ส�ำหรับหลักสูตรการตัดกระดาษ ให้ใช้กระดาษส�ำหรับศิลปะการพับกระดาษทีข่ ายตามท้องตลาดทัว่ ไปมาลองประดิษฐ์ตาม โดยศึกษาดูรูปแบบการพับกับรูปแบบการตัดไปพร้อมๆ กับเด็กๆ ด้วย 3. มงกุฎแห่งความพยายามในตอนท้ายของหนังสือนัน้ ให้ตดั แยกแต่ละชิน้ ส่วนออกมาและน�ำมาประกอบกัน แล้วมอบมงกุฎนี้ ให้กับเด็กที่มีความพยายามท�ำแบบฝึกเสร็จสมบูรณ์ทั้งเล่ม

สารบั ญ

ไดโนเสาร์สเตโกซอรัส 27 ลูกเต๋า 29 แกะ 31

การใช้กรรไกรระดับ 4

การกระตุ้นสมองด้วยการ ตัดกระดาษ 3 วิธีใช้กรรไกร 5

มันเทศสีม่วง 33 ช้อน 35 สตรอเบอร์รี่ 37

หนวดแมว 7 ที่นอน 9 หมาน้อย 11 รถไฟ 13 ร้อยห่วง 15

กระรอก 39 ราเมง (บะหมี่ญี่ปุ่น) 41 ขนมปัง 43

การใช้กรรไกรระดับ 1

การใช้กรรไกรระดับ 2

เต่า 17 นกพิราบ 19 ปลาหมึกยักษ์ 21 เส้นผม 23

การใช้กรรไกรระดับ 3

ปู 25

การใช้กรรไกรระดับ 5

การตัดพับกระดาษระดับ 1 กระต่าย 45 แมลงปอ 47 ซากุรัมโบะ (เชอร์รี่ญี่ปุ่น) 49 แมวนํ้า 51

การตัดพับกระดาษระดับ 2

กระเป๋า 53 นกฮูก 55 ยีราฟ 57

ด้วงคีมฟันเลื่อย 59 ช้าง 61 มะเขือม่วง 63 หมู 65

การตัดพับกระดาษระดับ 3

แอปเปิล 67 ลูกเจี๊ยบ 69 ของประดับตกแต่ง 71 ปลาโลมา 73 ดอกไม้ 75 กบ 77 สนิทสนม 79 ดอกทิวลิป 81 อีกา 83 เกล็ดหิมะ 85 รูปแบบการพับและการตัดชิ้นงาน ของแบบฝึกการตัดกระดาษ 87 มงกุฎแห่งความพยายาม 95 จ�ำเป็นต้องมีการตัดกระดาษ ของหนังสือเล่มนี้ โปรดถือและ ค�ำเตือน ตัดออกด้วยความระมัดระวัง


เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

การกระตุ้นสมองด้วยการตัดกระดาษ

เด็กและผู้ปกครองสามารถสนุกสนานเพลิดเพลินกับการตัดกระดาษด้วยกันได้ ด้วยเหตุนี้เองท�ำให้สาขา ประสาทวิทยาศาสตร์สนับสนุนองค์ความรูร้ ปู แบบใหม่นี้ ด้วยเห็นว่าเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาและเจริญเติบโต ของสมองของเด็ก

การค้นคว้าเรื่องการท�ำงานของสมองโดย วิทยาศาสตร์แนวใหม่ การวิจัยของศาสตราจารย์ริวตะ คาวาชิมะ แห่งมหาวิทยาลัย โตโฮกุ พบว่าการท�ำงานของสมองมนุษ ย์นั้นพฤติกรรมและ ความคิดต่างๆ มักจะสอดคล้องกัน โดยส่วนใหญ่จะใช้เทคโนโลยี ลํ้าสมัย 2 ประเภทในการค้นคว้า คือ เครื่องสแกนสมอง (fMRI) และเครื่องแผนที่สมอง (Optical topography) สามารถแสดงผล เป็นแผนภาพการไหลเวียนของเลือดในสมองได้ตามต้องการ ซึง่ ใน ขณะที่ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ก็ตามแต่ หากมีการแสดงผลแผนภาพการ ไหลเวียนของเลือดในสมองแล้วนั้น จะท�ำให้ทราบว่าสมองก�ำลัง ท�ำงานมากน้อยขนาดไหนอยู่ เพราะถ้าสมองก�ำลังท�ำงานอยู่นั้น เลือดจะมีการไหลเวียนที่เร็วขึ้นนั่นเอง การทดลองในภาพซ้ายมือ แสดงให้เห็นถึงพื้นที่การท�ำงาน ในส่วนสมองใหญ่ (สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า) ที่รายงานผลให้ เห็นจากเครื่องแผนที่สมอง (Optical topography) ในขณะเล่น “แบบฝึกการตัดกระดาษ” อยู่นั่นเอง

ศาสตราจารย์ริวตะ คาวาชิมะ แห่งมหาวิทยาลัยโตโฮกุ แพทยศาสตรบัณฑิต : ค้นคว้าทางด้าน การท�ำงานของสมองว่าส่วนไหนท�ำงาน อย่างไร นับเป็นบุคคลอันดับหนึ่งของ ญี่ปุ่นทางด้านการวิจัยเรื่องการแสดง ภาพของสมอง (Brain Imaging) สมองกลีบข้าง (Parietal lobe)

พื้นที่ที่สำ� คัญที่สุดในสมอง สมองกลีบหน้า (Frontal lobe) (Prefrontal area : สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า) สมองของมนุษย์นนั้ ไม่ได้เป็นแค่เพียงก้อนเนือ้ ที่ใช้สงั่ งานเท่านัน้ แต่แบ่งเป็นส่วนๆ คือ สมองกลีบหน้า (Frontal lobe) สมองกลีบข้าง (Parietal lobe) สมองกลีบขมับ (Temporal lobe) สมองกลีบ ท้ายทอย (Occipital lobe) โดยแต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน ออกไป มนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีส่ มองกลีบหน้ามีการพัฒนามากทีส่ ดุ ภายในสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด หน้าทีข่ องสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า คือ 1. สั่งงานให้สมองคิดแก้ไขปัญหาต่างๆ 2. ควบคุมอารมณ์ความ รู้สึก ทั้งยินดี ไม่พอใจ และเสียใจ เป็นต้น 3. ใช้ในการตัดสินใจ 4. ควบคุมสั่งงานพฤติกรรมต่างๆ 5. ควบคุมการสนทนาสื่อสาร 6. สั่งงานด้านความทรงจ�ำ เป็นต้น นับว่ามีความจ�ำเป็นส�ำหรับ มนุษย์และแบกภาระในการท�ำงานที่ส�ำคัญจ�ำนวนมาก

3

สมองกลีบท้ายทอย (Occipital lobe) สมองกลีบขมับ (Temporal lobe)

สมองใหญ่แบ่งออกเป็น 4 ส่วน สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า คือ ต�ำแหน่งด้านหน้า ของสมองกลีบหน้า


สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้าสามารถมีพัฒนาการที่ดี จากการเล่นสนุกสนานเพลิดเพลินด้วยการตัดกระดาษ

กล้ามเนื้อในร่างกายฝึกฝนได้จากการกระตุ้นให้เกิดการใช้งาน สมองก็สามารถฝึกฝนได้ด้วยวิธีเดียวกัน เพราะสมองจะมีพัฒนาการที่ดีได้ในยามที่ถูกใช้งาน ถ้าต้องการฝึกฝนในแต่ละส่วนของสมองนั้นก็เพียงแค่ใช้ งานส่วนนั้นๆ ให้มากขึ้น เท่ากับสมองจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากการท�ำกิจกรรมต่างๆ นั่นเอง จากการวิจัยของศาสตราจารย์คาวาชิมะ พบว่า การจัดกิจกรรมให้กับสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า เช่น การอ่านออกเสียง การเขียนตามค�ำบอก และการค�ำนวณแบบง่ายๆ เป็นเรื่องที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง นอกเหนือจากนี้ยังมีการประดิษฐ์งานถักร้อย การเล่นดนตรี และการมีปฏิสัมพันธ์ทางการสื่อสารกับผู้อื่น โดย การพูดคุยและการเล่นสนุกร่วมกัน ซึ่งจะท�ำให้เข้าใจรูปแบบการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กับสมองกลีบหน้าผาก ส่วนหน้า แค่เพียงได้คิดว่า “มาท�ำอะไรกันสักอย่างเถอะ!” การประดิษฐ์งานถักร้อยและการเล่นดนตรีนั้นนับ ว่าเป็นการได้ขยับเคลื่อนไหวและได้ใช้มือแล้ว ศาสตราจารย์คาวาชิมะจึงได้คาดคะเนไว้ว่า บางทีในขณะที่เล่น สนุกสนานเพลิดเพลินด้วยแบบฝึกการตัดกระดาษเหล่านี้ ก็เป็นการจัดกิจกรรมให้สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า เช่นเดียวกับกิจกรรมข้างต้นด้วย ขณะสร้างงานตามโจทย์ของแบบฝึกการ สภาพปกติของสมอง ตัดกระดาษ มีการแสดงภาพสมองเป็นพืน้ ทีส่ ขี าว เนือ่ งจากโดยส่วนมาก สีของสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้าเปลี่ยนเป็นสีแดง ซึ่งสื่อ ไม่ได้อยู่ในช่วงการใช้งาน ถึงการใช้งานอย่างตื่นตัวของสมอง

ภาพด้านบน 2 ภาพ คือ การรายงานผลภาพ 3 มิติจากผู้ใหญ่เพศชาย ภาพที่ 1 เป็นภาพก่อนที่จะท�ำโจทย์การตัด กระดาษ และภาพที่ 2 เป็นภาพขณะสร้างงานตามโจทย์

ช่วงระยะการเจริญเติบโตของสมองนั้น คือ ช่วงวัยเด็กเล็ก

บ�ำรุงสมองให้มีประสิทธิภาพดีด้วยการสร้างการติดต่อสื่อสารไปพร้อมๆ กับการตัดกระดาษ! สมองของเด็กแรกเกิดมีขนาดเล็กกว่าสมองในวัยผู้ใหญ่ถงึ 1 ใน 3 คือ นาํ้ หนัก ประมาณ 400 กรัม อย่างไรก็ตาม เมื่อย่างเข้าช่วงอายุ 4-5 ขวบ จะมีนํ้าหนัก ประมาณ 1,200 กรัม ซึ่งจะมีขนาดที่เจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้นถึง 90% ของขนาด สมองผู้ใหญ่ (สมองผู้ใหญ่มีน�้ำหนักประมาณ 1,300-1,400 กรัม) จึงกล่าวกันว่า วัยเด็กเป็นช่วงที่เหมาะต่อการกระตุ้นและสร้างพัฒนาการทางสมองอย่างแท้จริง ดังนัน้ หากเด็กได้ลองฝึกตัดกระดาษในแบบฝึกชุดนี้ ความสนุกสนานของการติดต่อสือ่ สาร ความสุขใจและ ภูมิใจไปกับผลงานการประดิษฐ์ของตนเอง คาดว่าจะส่งผลอย่างมากต่อสมองของเด็ก คือช่วยให้มีพัฒนาการ ที่ดีขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

4


เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

วิ ธี ใ ช ้ ก ร ร ไ ก ร ก่อนทีจ่ ะท�ำแบบฝึกการตัดกระดาษนัน้ ควรเลือกกรรไกรที่ใช้งานง่ายและปลอดภัยให้แก่เด็ก หลังจากนั้นโปรดสอนวิธีการถือกรรไกรและการใช้งานที่ถูกต้องให้แก่เด็กด้วย

ข้อส�ำคัญในการเลือกกรรไกร

1. เลือกกรรไกรที่มีใบมีดลักษณะกลมมน

ให้เลือกกรรไกรแบบที่เมื่องับตัดแล้วไม่มี ความคมของใบมีดเผยออกมา หรือใช้กรรไกร พลาสติก เช่น กรรไกรสีนํ้าเงินในภาพตัวอย่าง ด้านซ้าย

2.

เลือกกรรไกรที่มีขนาดเหมาะกับมือ ของเด็ก

การเลือกกรรไกรให้เด็กควรเลือกแบบที่ ไม่ต้องใช้แรงมากเวลาที่งับตัดชิ้นงาน

ข้อส�ำคัญในการจับกรรไกร ให้สอดนิว้ โป้งเข้าไปในช่องขนาดเล็กของกรรไกร แล้วสอดนิว้ ชี้ และนิว้ กลางเข้าไปในช่องขนาดใหญ่กว่า (ดูภาพด้านล่างประกอบ) หรือจะสอดนิว้ นางด้วยก็ได้ เมือ่ มองด้านข้างจะเห็นเป็นแนวเส้นตรง (ดูภาพด้านขวาประกอบ) ในขณะทีต่ ดั นัน้ ข้อศอกข้างขวาไม่ควรเฉียง ออกแต่ควรแนบกับล�ำตัว ส�ำหรับเด็กที่ยังไม่คุ้นเคย ผู้ปกครองควร ช่วยประคองและช่วยกดข้อศอกจากด้านหลังของตัวเด็ก

5


ควรสอนวิธีจับกรรไกรให้เด็ก แล้วหลังจากนั้นจึงสอนวิธีการใช้กรรไกรเพื่อให้ เด็กลงมือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

ข้อส�ำคัญก่อนการใช้กรรไกร

1. อย่าหันคมใบมีดของกรรไกรเข้าหาผู้คน 3. ควรนั่งขณะใช้กรรไกรตัด ขณะจับกรรไกรเพื่อตัดชิ้นงานอยู่นั้น เมื่อกรรไกร 2. อย่าสัมผัสใบมีดของกรรไกร งับลง ใบมีดของกรรไกรจะไม่อ้าออก โดยอุ้งมือและนิ้ว จะอยู่ในลักษณะที่กำ� ไว้

วิธีการใช้กรรไกร

หากมองจากทางด้านหลังของเด็ก มือต้องกุมถือกรรไกรอย่างแนบแน่น ส่วนทางด้านหน้าตัวเด็ก เวลาตัด นั้นกรรไกรต้องตั้งฉากกับแผ่นกระดาษ ช่วงแรกควรช่วยจับกระดาษให้เด็ก แล้วให้เด็กเป็นคนอ้ากรรไกรงับตัด ลงบนกระดาษ หลังจากนั้นจึงค่อยๆ สอนให้เด็กจับกรรไกรด้วยตัวเอง ก่อนทีเ่ ด็กจะถือกรรไกรนัน้ โปรดให้เด็กก�ำมือและแบมือ ท�ำทัง้ สองแบบสลับกันไป ในมือเด็กข้างทีจ่ ะใช้ถอื กรรไกร เสมือน เป็นการเตรียมความพร้อม โดยจินตนาการท่าทางในขณะก�ำลังใช้กรรไกรตัดอยูไ่ ปด้วยซึง่ จะช่วยให้ใช้งานในการตัดได้ดขี นึ้

วิธใี ช้ภาพแบบฝึกหัด

ความกว้างของเส้นน�ำตัดจะค่อยๆ ลดแคบลงไปทีละนิด (ขอบเขตของเส้นสีเทา) โปรดลองพยายามตัดใน ขอบเขตของเส้นสีเทาเท่าที่จะสามารถท�ำได้ แบบฝึกหัดที่ 18 และ 19 จะไม่มีเส้นน�ำตัดให้

เด็กที่ยังตัดไม่คล่อง เวลาตัดแล้วอาจจะเป็น รอยหยักบ้าง

หากใช้สว่ นโคนของใบมีดกรรไกรตัดจะท�ำให้ตดั ได้สวยขึน้ กรรไกรเป็นอุปกรณ์ทสี่ ะดวกส�ำหรับใช้ตดั แต่ถา้ หากใช้ผดิ วิธจี ะท�ำให้เกิดอันตรายได้ ดังนัน้ ผู้ปกครองควรระมัดระวังเป็นพิเศษ

หากมีการตัดออกนอกแนวเส้นสีเทาบ้างก็ไม่เป็นไร

6


1 หนวดแมว

การตัดในครั้งเดียว

โปรดตัดตามเส้นสีเทา

เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

การฝึกตัดตามเส้นโดยงับตัดในครั้งเดียว ซึ่งจะ ตัดได้ความยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร การงับตัดใน ครัง้ เดียวนัน้ หากมีการปรับเปลีย่ นต�ำแหน่งการถือกระดาษ จะช่วยให้ตัดง่ายขึ้น

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

ระดับ ตัวอย่าง

7


1 ด้านหลัง

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

8


2 ที่นอน

การตัดแบบต่อเนื่อง

โปรดตัดตามเส้นสีเทา

เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

ระดับ ตัวอย่าง

จากแบบฝึกบทนี้ไป จะเป็นการฝึกฝนใช้กรรไกร (อ้า และงับตัด) ตัดซํ้าๆ ต่อเนื่อง และการตัดแยกออกจากกัน ให้ตดั ตามแนวเส้นสีเทา น�ำชิ้นส่วนที่นอนที่ตัดออกมาแล้ว มาห่มให้กับเด็กที่กำ� ลังนอนอยู่อีกภาพหนึ่ง

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

9


2 ด้านหลัง

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

10


3 หมาน้อย

โปรดตัดตามเส้นสีเทา

วิธีการประดิษฐ์หมาน้อยอยู่ในหน้าต่อไป เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

การตัดแบบต่อเนื่อง ระดับ ตัวอย่าง

การตัดเส้นทแยงมุมนับเป็นแบบฝึกหัดที่ยากนิดหน่อย ให้ตัดแบ่งออก เป็นรูปสามเหลีย่ ม 2 แผ่น ในแต่ละแผ่นนัน้ ให้พบั ตามแนวเส้นประขีดสัน้ และ ยาว สีฟา้ งอขึน้ เป็นเนิน (เห็นเส้นสีฟา้ ) พับแนวเส้นประขีดยาวสีชมพู หักลง เป็นร่อง (ไม่เห็นเส้นประหลังพับ) ประกอบเข้าด้วยกันให้เป็นดังภาพตัวอย่าง

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

11


3 ด้านหลัง

วิธีการประดิษฐ์หมาน้อย

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

12


4 รถไฟ

การตัดแบบต่อเนื่อง

โปรดตัดตามเส้นสีเทา

ระดับ เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

ตัวอย่าง

รถไฟทั้ง 4 ขบวนนี้เมื่อถูกตัดแยกออกมาแล้ว ลองน�ำมาต่อกันโดยใช้ เทปกาวใสแปะเชื่อมกัน

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

13


4 ด้านหลัง

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

14


รูปแบบการพับและการตัดชิ้นงานของแบบฝึกการตัดกระดาษ

โปรดศึกษารูปแบบการพับและการตัดชิ้นงานพร้อมกับ ท�ำการประดิษฐ์ชิ้นงานไปด้วย แต่ก่อนที่จะประดิษฐ์ ชิ้นงานนั้น โปรดจ�ำสัญลักษณ์เครื่องหมายวิธีการพับ และเงื่อนไขที่จ�ำเป็นด้วย

ด้านสีเข้ม คือ ด้านหน้า ด้านสีอ่อน คือ ด้านหลัง

ข้อสังเกตขณะ ศึกษารูปแบบ การพับ

สัญลักษณ์เครื่องหมายวิธีการพับและเงื่อนไขที่จ�ำเป็น การพับงอเข้า

การพับเป็นเนินสัน

เป็นการพับตามทิศทาง ลูกศรแบบในภาพ โดย พับตามเส้นน�ำพับแล้ว เส้นจะถูกซ่อนมองไม่เห็น

เส้นรอยพับ

เป็นการพับตามทิศทาง ลูกศรแบบในภาพ โดย พับตามเส้นน�ำพับแล้ว ยังคงมองเห็นเส้นน�ำพับ

การพลิกกลับด้าน

การหมุนกลับด้าน

การหมุนกระดาษไปตาม ทิศของลูกศร การกลับสลับเป็นอีกด้านของ กระดาษ

การใช้กรรไกรตัด

1

พับ

2

คลี่ออก

เมื่อถูก ตัดแล้ว เป็นการใช้กรรไกรตัดไปตามส่วนที่มี แนวเส้นน�ำตัดสีเทา

พับตามแนวเส้นหนึง่ ครัง้ แล้วคลีอ่ อก จะเกิดเป็นเส้นรอยพับขึ้น

การพับเป็นขั้นบันได

การพับงอเข้า การพับเป็นเนินสัน

การดูภาพขยาย

เมื่อพับแล้ว

การพับงอเข้า การพับ เป็นเนินสัน

การพับงอเข้าและการพับเป็น เนินสันตามล�ำดับ

การแสดงภาพขยาย จากพื้นที่ในเส้นวงกลม

* แบบฝึกหัดบทที่ 1-19 ไม่มีรูปแบบการพับและการตัดชิ้นงาน

87

เมื่อพับแล้ว


ประดิษฐ์ตามล�ำดับหมายเลขดังภาพประกอบ 20 กระต่าย

1

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

21 แมลงปอ

2 ตัด จะตัดได้งา่ ยมากขึน้ หากใช้ลวดเย็บกระดาษ เย็บประกบให้ติดกัน

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

2 ตัด

1

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

3คลี่ออก

เริ่มตัดจากทางไหนก็ได้ ไม่วา่ จะด้านบนหรือด้านล่าง

22 ซากุรัมโบะ (เชอร์รี่ญี่ปุ่น)

3คลี่ออก

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

2 ตัด

1

3คลี่ออก

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

23 แมวนํ้า

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

2 ตัด

1

3คลี่ออก

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

88

เมื่อเสร็จสมบูรณ์


ประดิษฐ์ตามล�ำดับหมายเลขดังภาพประกอบ 24 กระเป๋า

1

2,3 ตัด 4คลี่ออก

เมื่อพลิกกลับ ด้านก็จะเป็น เมื่อเสร็จสมบูรณ์ แก้วกาแฟ

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

25 นกฮูก

1

2,3 ตัด 4คลี่ออก

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

26 ยีราฟ

1 พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง ในแนวทแยง

27 ด้วงคีมฟันเลื่อย

1

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

2-4 ตัด 2-5 ตัด

5แล้วกางออกเล็ กน้อย จับตั้งยืน 7-12 พับแบบขั้นบันได 6คลี่ออก เมื่อเสร็จสมบูรณ์

พับเข้ามาครึ่งหนึ่ง

89

ลองจับวางยืนบนโต๊ะ เป็นต้น


เนื้อหาส�ำหรับผู้ปกครอง

โปรดประดิษฐ์มงกุฎแห่งความส�ำเร็จและมอบให้เป็นตัวแทน รางวัลแห่งความพยายามแก่เด็กที่มีความพยายามมาจนสิ้นสุด “แบบฝึกการตัดกระดาษ”

เมื่อเสร็จสมบูรณ์

ผู้ปกครองโปรดใช้กรรไกรตัดส่วนนี้แยกออกมา 3 ลวดเย็บกระดาษ 2 สอดหนังยาง ไว้ด้านหลัง

วิธีการประดิษฐ์มงกุฎแห่งความพยายาม

วางทาบไว้ ด้านหลังชิ้นส่วน ตัวมงกุฎ แล้วใช้ ที่เย็บกระดาษเย็บ ยึดจากด้านหลัง

ใช้หนังยางรัดของขนาดใหญ่ 2 เส้น และที่เย็บกระดาษในการประดิษฐ์

ตัวมงกุฎ

ขามงกุฎมี 2 เส้น

1

วางทาบไว้ ด้านหลังชิ้นส่วน ตัวมงกุฎ แล้วใช้ ที่เย็บกระดาษเย็บ ยึดจากด้านหลัง

1 2 สอดหนังยาง ไว้ด้านหลัง 3 ลวดเย็บกระดาษ

โปรดประดิษฐ์โดยค�ำนึงให้เด็กไม่ สัมผัสถูกลวดเย็บกระดาษเสมอ ข้อควร หรือจะใช้เทปกาวใสในการยึด ระวัง ติดทดแทนก็ได้เช่นกัน



ศักยภาพ สมอง

ผูเ ข�ยน :

โคบายาช� คาสึโอะ

นักว�จยั เร�อ่ งการเร�ยนรู สมองของเด็ก

¡Ô¨¡ÃÃÁã¹àÅ‹Áä´ŒÃºÑ ¡Òà Â×¹Âѹ¨Ò¡¼ÙàŒ ªÕÂè ǪÒÞ´ŒÒ¹ÊÁͧ áÅŒÇÇ‹Òª‹Ç¡ÃеعŒ ¾Ñ²¹Ò¡Òà ·Ò§ÊÁͧãËŒà´ç¡à»š¹Í‹ҧ´Õ 50.-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.