พัฒนาสมองของลูกรักด้วยกระดาษหรรษาพาสนุก ชุด ตัด-ปะ

Page 1

ศักยภาพ สมอง

ผูเ ข�ยน :

วาดะ โคโตมิ นักว�จยั เร�อ่ ง การเร�ยนรูส มอง ของเด็ก

¡Ô¨¡ÃÃÁã¹àÅ‹Áä´ŒÃºÑ ¡Òà Â×¹Âѹ¨Ò¡¼ÙàŒ ªÕÂè ǪÒÞ´ŒÒ¹ÊÁͧ áÅŒÇÇ‹Òª‹Ç¡ÃеعŒ ¾Ñ²¹Ò¡Òà ·Ò§ÊÁͧãËŒà´ç¡à»š¹Í‹ҧ´Õ 50.-



พัฒนาสมองของลูกรัก ด้วยกระดาษหรรษาพาสนุก : ตัดปะ ISBN : 978-616-527-615-3 ราคา : 50 บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึง่ ส่วนใดของหนังสือเล่มนีไ้ ปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่วา่ ในรูปแบบใดๆ นอกจาก จะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ผู้เขียน : ริวตะ คาวาชิมะ, โคโตมิ วาดะ ผู้แปล : เมทินี นากาอิ ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ © 脳元気シリーズ 頭がよくなるはりえドリル Nou Genki Series Atama ga Yokunaru Harie Drill Copyright © 2008 Gakken First published in Japan 2008 by Gakken Co., Ltd., Tokyo Thai translation rights arranged with Gakken Education Publishing Co., Ltd. through Arika Interrights Agency © ลิขสิทธิ์ภาษาไทย 2557 : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ บรรณาธิการต้นฉบับ มรกต เอื้อวงศ์ ประสานงานฝ่ายผลิต อิสรีย์ แจ่มข�ำ ศิลปกรรม ภรณีย์ สนองผัน, เพียงพิศ อิ่นแก้ว พิสูจน์อักษร วารีรัตน์ แตงภู่ ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ บุษกร กู้หลี, ชนาภัทร พรายมี ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช

กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ

จัดพิมพ์ โดย : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�ำ้ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)


ส�ำหรับผู้ปกครอง หนังสือเล่มนีเ้ กิดจากการค้นคว้าวิทยาศาสตร์แนวใหม่ ทีย่ อมรับว่าการตัดแล้วปะติดกระดาษนัน้ กระตุน้ การท�ำงาน ของสมอง ส่วนทีม่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ ของสมองคือ สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า ซึง่ อยูด่ า้ นหลังหน้าผาก เป็นส่วนทีจ่ ะ ถูกใช้งานในการคิดแก้ไขสิ่งต่างๆ รวมถึงการจดจ�ำด้วย นับว่าเป็นส่วนที่ส�ำคัญมากต่อเด็ก การฝึกฝนร่างกายอาจ ท�ำได้โดยการเล่นกีฬา ส่วนการฝึกฝนสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้านั้นสามารถท�ำได้ด้วยกิจกรรมจากหนังสือเล่มนี้

ลักษณะเฉพาะของหนังสือ

1. มีชิ้นส่วนของภาพแต่ละภาพให้ไว้อย่างครบถ้วน เมื่อตัดออกมาแล้วก็นำ� ไปท�ำภาพปะติดได้ทันที 2. ภาพปะติดในเล่มมีทั้งหมด 36 แบบ โดยจัดเรียงล�ำดับจากความง่ายไปหายาก 3. ภาพทีส่ อื่ ถึงฤดูตา่ งๆ จะท�ำให้เด็กได้เรียนรูบ้ รรยากาศในแต่ละฤดู รวมทัง้ ธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ อีกด้วย 4. หน้าสุดท้ายของหนังสือเป็นใบประกาศนียบัตรแสดงถึงความเพียรพยายามในการท�ำภาพปะติดให้เด็กๆ ได้ภูมิใจกับผลงานของตน

วิธีใช้หนังสือเล่มนี้

1. ใช้กรรไกรตัดชิ้นส่วนต่างๆ ของภาพออกมา แล้วทากาวเพื่อปะติดลงไปให้เป็นภาพที่สมบูรณ์ 2. ใบประกาศนียบัตรที่อยู่ในหน้าสุดท้ายของหนังสือนั้น เมื่อปะติดภาพเสร็จ 1 ภาพ ให้ตัดรูปสามเหลี่ยม เล็กๆ ในหน้า 7 1 รูป แล้วทากาวติดลงไป เมื่อปะติดภาพครบทั้ง 36 ภาพ ใบประกาศนียบัตรนี้ จะแสดงถึงความเพียรพยายามในการท�ำภาพปะติดจนส�ำเร็จ ซึ่งเป็นการเสริมสร้างความมั่นใจให้กับ เด็กๆ ได้เป็นอย่างดี

สารบั ญ ระดับ 1

การกระตุ้นสมองด้วยการ ตัดปะกระดาษ วิธีใช้กรรไกร วิธีใช้กาว

ข้าวปั้น (ข้าวห่อสาหร่าย) 8 กางร่ม 10 12 พระจันทร์ยิ้ม 14 แมวเหมียว ข้าวราดแกง 16 คู่แม่ลูกนกเพนกวิน 18 เจ้าหญิงคางุยะ 20 เจ้าหนูโมโมทาโร่ 22 รถไฟชินคันเซ็น 24 รถดับเพลิง 26 ช้างสีฟ้า 28 ต้นคริสต์มาส 30 ซูชิ (ข้าวหน้าปลาดิบ) 32

ระดับ 2

3 5 7

สัตว์ในทะเล หอยทาก กระต่ายสีชมพู หมีใจดี หมวกสีชมพู แซนด์ วิช พุดดิ้ง ปิ้งขนมโมจิ โทรศัพท์มือถือ ผีเสื้อแสนสวย ดอกดาวกระจาย

34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54

ผึ้งกับดอกทิวลิป ธงปลาคาร์ฟ

56 60

ระดับ 3

ดอกทานตะวันและ 64 ดอกผักบุ้ง ใบขอพรจากดวงดาว (เทศกาล ทานาบาตะของญี่ปุ่น) 68

ระดับ 4

หนอนผีเสื้อกลางคืน เทศกาลฮาโลวีน ตุ๊กตาหิมะ ยักษ์กับเทศกาลเซ็ตสึบุน (เทศกาลปาถั่วของญี่ปุ่น) ตุ๊กตาฮินะ (ตุ๊กตาที่ใช้ใน วันเด็กผู้หญิงของญี่ปุ่น)

ระดับเพลิดเพลิน

72 76 80 84 88

จากไข่กลายเป็นลูกเจี๊ยบ 92 ซินเดอเรลล่า 96 หมีแพนด้า 100 ใบประกาศนียบัตรแสดงถึง ความเพียรพยายามใน การท�ำภาพปะติด 104 จะมีการตัดภาพจากหนังสือ เล่มนี้ ควรใช้อุปกรณ์ ในการ ค�ำเตือน ตัดด้วยความระมัดระวัง


ส�ำหรับผู้ปกครอง

การกระตุ้นสมองด้วยการตัดปะกระดาษ

พ่อแม่ลกู สามารถสนุกสนานเพลิดเพลินกับภาพปะติดไปด้วยกันได้ ด้วยเหตุนที้ ำ� ให้สาขาประสาทวิทยาศาสตร์ สนับสนุนองค์ความรูร้ ปู แบบใหม่ดงั กล่าวนี้ ด้วยเห็นว่าเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาและเจริญเติบโตของสมองของเด็ก

การค้นคว้าเรื่องการท�ำงานของสมอง โดยวิทยาศาสตร์แนวใหม่

การวิจัยของศาสตราจารย์ริวตะ คาวาชิมะ แห่งมหาวิทยาลัย โตโฮกุ พบว่าการท�ำงานของสมองมนุษ ย์นั้นพฤติกรรมและ ความคิดต่างๆ มักจะสอดคล้องกัน โดยส่วนใหญ่จะใช้เทคโนโลยี ลาํ้ สมัย 2 ประเภทในการค้นคว้า คือ เครือ่ งสแกนสมอง (fMRI) และ เครื่องแผนที่สมอง (Optical topography) สามารถแสดงผลเป็น แผนภาพการไหลเวียนของเลือดภายในสมองได้ตามต้องการ ซึง่ ใน ขณะที่ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ก็ตามแต่ หากมีการแสดงผลแผนภาพการ ไหลเวียนของเลือดในสมองแล้วนั้น จะท�ำให้ทราบว่าสมองก�ำลัง ท�ำงานมากน้อยเพียงใด เพราะถ้าสมองก�ำลังท�ำงานอยู่นั้นเลือด จะมีการไหลเวียนที่เร็วขึ้นนั่นเอง

พืน้ ทีท่ สี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในสมอง (Prefrontal area : สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า)

สมองของมนุษย์นนั้ ไม่ใช่แค่เพียงก้อนเนือ้ ที่ใช้สงั่ งานเท่านัน้ แต่ แบ่งเป็นส่วนๆ คือ สมองกลีบหน้า (Frontal lobe) สมองกลีบข้าง (Parietal lobe) สมองกลีบขมับ (Temporal lobe) สมองกลีบ ท้ายทอย (Occipital lobe) โดยแต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน ออกไป มนุษย์เป็นสิง่ มีชวี ติ ทีส่ มองกลีบหน้ามีการพัฒนามากทีส่ ดุ ในจ�ำนวนสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด หน้าทีข่ องสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า คือ 1. สั่งงานให้สมองคิดแก้ไขปัญหาต่างๆ 2. ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก ทั้งยินดี ไม่พอใจ เสียใจ เป็นต้น 3. ใช้ในการตัดสินใจ 4. ควบคุมสั่งงานพฤติกรรมต่างๆ 5. ควบคุมการสนทนาสื่อสาร 6. สั่งงานด้านความจ�ำ เป็นต้น สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้านับว่า มีความจ�ำเป็นส�ำหรับมนุษย์และแบกภาระการท�ำงานที่ส�ำคัญเป็น จ�ำนวนมาก “แบบฝึกภาพตัดปะ” สามารถแสดงให้เห็นถึงพืน้ ทีก่ าร ท�ำงานในส่วนสมองใหญ่ (สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า) ที่รายงาน ผลให้เห็นจากเครือ่ งแผนทีส่ มอง (Optical topography) ในขณะ เล่นภาพปะติดอยู่นั่นเอง

3

ศาสตราจารย์ริวตะ คาวาชิมะ แห่งมหาวิทยาลัยโตโฮกุ แพทยศาสตรบัณฑิต : ค้นคว้าทางด้าน การท�ำงานของสมองว่าส่วนไหนท�ำงาน อย่างไร นับเป็นบุคคลอันดับหนึ่งของ ญี่ปุ่นทางด้านการวิจัยเรื่องการแสดง ภาพของสมอง (Brain Imaging)

สมองกลีบข้าง (Parietal lobe) สมองกลีบหน้า (Frontal lobe)

สมองกลีบท้ายทอย (Occipital lobe) สมองกลีบขมับ (Temporal lobe)

สมองใหญ่แบ่งออกเป็น 4 ส่วน สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า คือ ต�ำแหน่งด้านหน้า ของสมองกลีบหน้า


เสริมสร้างพัฒนาการที่ดีให้สมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า ด้วยการเล่นแสนสนุกจากภาพปะติด กล้ามเนื้อในร่างกายฝึกฝนได้จากการกระตุ้น ให้เกิดการใช้งาน สมองก็สามารถฝึกฝนได้ด้วยวิธี เดียวกัน เพราะสมองจะมีพัฒนาการที่ดีได้ในยาม ที่ถูกใช้งาน ถ้าต้องการฝึกฝนในแต่ละส่วนของ สมองก็เพียงแค่ใช้งานส่วนนั้นๆ ให้มากขึ้น เท่ากับ สมองจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากการท�ำกิจกรรม ต่างๆ นั่นเอง จากการวิจยั ของศาสตราจารย์คาวาชิมะ พบว่า การจัดกิจกรรมให้กับสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้า เช่น การอ่านออกเสียง การเขียนตามค�ำบอก และ การค�ำนวณแบบง่ายๆ เป็นเรือ่ งทีม่ ปี ระโยชน์อย่างยิง่ นอกจากนี้ยังมีการประดิษฐ์งานถักร้อย การเล่น ดนตรี และการมีปฏิสัมพันธ์ทางการสื่อสารกับผู้อื่น โดยการพูดคุยและการเล่นสนุกร่วมกัน ซึ่งจะท�ำให้ เข้าใจรูปแบบการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กบั สมองกลีบ หน้าผากส่วนหน้า แค่เพียงได้คิดว่า “มาท�ำอะไรกัน สักอย่างเถอะ” การประดิษฐ์งานถักร้อยและการเล่น ดนตรีนั้นนับว่าเป็นการได้ขยับเคลื่อนไหวและได้ใช้ มือแล้ว ศาสตราจารย์คาวาชิมะจึงได้คาดคะเนไว้วา่ บางทีในขณะทีเ่ ล่นสนุกสนานเพลิดเพลินด้วยแบบฝึก ภาพตัดปะเหล่านี้ ก็เป็นการจัดกิจกรรมให้สมองกลีบ หน้าผากส่วนหน้าเช่นเดียวกับกิจกรรมข้างต้นด้วย

สภาพปกติของสมอง แสดงภาพสมองเป็นพื้นที่สีขาว เนื่องจากโดยส่วนมาก ไม่ได้อยู่ในช่วงการใช้งาน

ขณะสร้างงานตามโจทย์ของแบบฝึกภาพปะติด สีของสมองกลีบหน้าผากส่วนหน้าเปลี่ยนเป็นสีแดง ซึ่งสื่อ ถึงการใช้งานอย่างตื่นตัวของสมอง

ภาพด้านบน 2 ภาพ คือ การรายงานผลภาพ 3 มิติจาก ผู้ใหญ่เพศชาย ภาพที่ 1 เป็นภาพก่อนที่จะท�ำโจทย์ และ ภาพที่ 2 เป็นภาพขณะสร้างงานตามโจทย์

ช่วงระยะการเจริญเติบโตของสมอง คือ ช่วงวัยเด็กเล็ก

บ�ำรุงสมองให้มีประสิทธิภาพดีด้วยการติดต่อสื่อสารไปพร้อมๆ กับภาพปะติด สมองของเด็กแรกเกิดมีขนาดเล็กกว่าสมองในวัยผู้ใหญ่ถึง 1 ใน 3 คือ นํ้าหนักประมาณ 400 กรัม เมื่อย่าง เข้าช่วงอายุ 4-5 ขวบ จะมีนํ้าหนักประมาณ 1,200 กรัม ซึ่งมีขนาดที่เจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้นถึง 90% ของขนาด สมองผู้ใหญ่ (สมองผู้ใหญ่มีนำ�้ หนักประมาณ 1,300-1,400 กรัม) จึงกล่าวกันว่าวัยเด็กเป็นช่วงเวลาที่เหมาะกับ การกระตุ้นและสร้างพัฒนาการการเจริญเติบโตของสมองอย่างแท้จริง ดังนั้นหากเด็กได้ลองฝึกท�ำภาพตัดปะชุดนี้ ความสนุกสนานของการติดต่อสื่อสาร ความสุขใจและภูมิใจ ในผลงานการประดิษฐ์ของตนเอง คาดว่าจะส่งผลอย่างมากต่อสมองของเด็ก คือช่วยให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพ

4


ส�ำหรับผู้ปกครอง

วิ ธี ใช้ก ร ร ไ ก ร ก่อนท�ำแบบฝึกภาพตัดปะนั้น ควรเลือกกรรไกรที่ใช้งานง่ายและปลอดภัยให้เด็ก หลังจากนั้นโปรดสอนวิธีการถือกรรไกรและการใช้งานที่ถูกต้องให้กับเด็กด้วย

ข้อส�ำคัญในการเลือกกรรไกร

1. เลือกกรรไกรที่มีใบมีดลักษณะกลมมน

ให้เลือกกรรไกรแบบที่เมื่องับตัดแล้วไม่มี ความคมของใบมีดเผยออกมา หรือใช้กรรไกร พลาสติก เช่น กรรไกรสีนํ้าเงินในภาพตัวอย่าง ด้านซ้าย

2. เลือกกรรไกรที่มีขนาดเหมาะกับมือ ของเด็ก

การเลือกกรรไกรให้เด็กควรเลือกแบบที่ ไม่ต้องใช้แรงมากเวลาที่งับตัดชิ้นงาน

การจับกรรไกร ให้สอดนิ้วโป้งเข้าไปในช่องขนาดเล็กของกรรไกร แล้วสอด นิ้วชี้และนิ้วกลางสอดเข้าไปในช่องขนาดใหญ่กว่า (ดูภาพด้านล่าง ประกอบ) หรือจะสอดนิ้วนางด้วยก็ได้ เมื่อมองกรรไกรด้านข้าง จะเห็นเป็นแนวเส้นตรง (ดูภาพด้านขวาประกอบ) ในขณะที่ตัด ข้อศอกข้างขวาไม่ควรเฉียงออกแต่ควรแนบกับล�ำตัว ส�ำหรับเด็ก ที่ยังไม่คุ้นเคย ผู้ปกครองควรช่วยประคองและช่วยกดข้อศอกจาก ด้านหลังของตัวเด็ก

5


ควรสอนวิธีจับกรรไกรให้เด็ก แล้วหลังจากนั้นจึงสอนวิธีการใช้กรรไกรเพื่อให้ เด็กลงมือปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

ข้อส�ำคัญก่อนใช้กรรไกร

1. อย่าหันคมใบมีดของกรรไกร

เข้าหาคน 2. อย่าสัมผัสใบมีดของกรรไกร

3. ควรนั่งขณะใช้กรรไกรตัด

ขณะจับกรรไกรเพื่อตัดชิ้นงานอยู่นั้น เมื่อกรรไกร งับลง ใบมีดของกรรไกรจะไม่อ้าออก โดยอุ้งมือและนิ้ว จะอยู่ในลักษณะที่กำ� ไว้

วิธีใช้กรรไกร

หากมองจากทางด้านหลังของเด็ก มือของเด็กต้องกุมถือกรรไกรอย่างแนบแน่น ส่วนทางด้านหน้าตัวเด็ก เวลาตัดนัน้ กรรไกรต้องตัง้ ฉากกับแผ่นกระดาษ ช่วงแรกควรช่วยจับกระดาษให้เด็ก แล้วให้เด็กเป็นคนอ้ากรรไกร งับตัดลงบนกระดาษ หลังจากนั้นจึงค่อยๆ สอนให้เด็กจับกรรไกรด้วยตัวเอง

วิธีตัดภาพปะติด

ควรบอกให้เด็กพยายามตัดให้อยู่ในขอบเขตของเส้นแบ่งขอบเขต (เส้นสีเทารอบรูปภาพ) ซึ่งตั้งแต่หน้า 72 เป็นต้นไป จะไม่มีเส้นแบ่งขอบเขตให้

เด็กทีย่ งั ตัดไม่คล่อง เวลาตัดจะเป็นรอยหยักบ้าง หรือจะตัดออกนอกแนวเส้นสีเทาบ้างก็ไม่เป็นไร กรรไกรเป็นอุปกรณ์ทสี่ ะดวกส�ำหรับใช้ตดั แต่หากใช้ผดิ วิธจี ะท�ำให้เกิดอันตรายได้ ดังนัน้ ผู้ปกครองควรระมัดระวังเป็นพิเศษ

หากใช้ส่วนโคนของใบมีดกรรไกรตัดจะท�ำให้ ตัดได้สวยขึ้น

วิธีการพับภาพปะติด

1. มีหมายเลขก�ำกับบอกถึงล�ำดับขั้นตอนการพับ แสดงถึงแนวเส้นพับให้เป็นร่อง (พับซ่อนแนวเส้น) 2.

แสดงถึงแนวเส้นพับให้เป็นเนิน (พับให้เห็นแนวเส้นขึ้นมา)

6


ส�ำหรับผู้ปกครอง

วิ ธีใช้ ก า ว

เวลาจะปะติดบนแผ่นภาพชิ้นงาน ให้ตัดภาพ ชิน้ ส่วนต่างๆ ด้วยกรรไกร แล้วทากาวทีม่ วี างขาย ตามท้องตลาดทั่วไป

ยกตัวอย่างเช่น กาวแท่ง ซึ่งใช้ งานได้ง่าย

การสร้างงานภาพปะติดและการแปะชิ้นงาน

1. ใช้กระดาษเหลือใช้วางรองชิ้นงานที่จะทากาว

อาจทากาวแล้วเลอะออกมาจากชิน้ งานได้ แต่ควรให้อยูภ่ ายใน กระดาษที่รองไว้ด้านล่าง

2. ใช้กาวทาลงไปตรงพื้นที่ส�ำหรับทากาว (พื้นที่สีฟ้าอ่อน) ทากาวลงบนปลายนิ้วกลาง แล้วทาวนไปมาเป็นวงกลมให้ทั่ว

แนะน�ำให้ใช้แผ่นรองท�ำขนมแบบผิวมัน (Cooking sheet) ในการพัก ชิ้นส่วนที่ทากาวแล้วชั่วคราว เพราะจะไม่ติดกาว

3. ด้านทีม่ ภี าพใช้เป็นด้านบน ให้ปะติดภาพตามตัวอย่าง

ใช้มืออีกข้างหนึ่งที่ไม่ได้เลอะกาวจับด้านที่ไม่มีภาพ (ด้านที่ ทากาว) ลงด้านล่าง ค่อยๆ เริ่มติดลงจากขอบภาพก่อนแล้วไล่ กดลงให้ติดกับผิวกระดาษด้านล่างทีละนิด

ผู้ปกครองควรควบคุมดูแลเด็กๆ ในขณะสร้างชิ้นงาน หากประดิษฐ์แบบฝึกภาพปะติดได้ส�ำเร็จทุกๆ 1 แบบ ให้นำ� กระดาษสามเหลี่ยมแปะลงบนใบประกาศนียบัตรหน้าสุดท้ายของหนังสือ

7


1

ข้าวปั้น (ข้าวห่อสาหร่าย)

น�ำสาหร่ายมาแปะลงบนข้าวปั้นกันเถอะ

ส�ำหรับผู้ปกครอง ตัดสาหร่ายทัง้ 2 แผ่นออกมา แล้วติดลงบนข้าวปัน้ ตามภาพตัวอย่าง หากเพิ่งเริ่มต้นท�ำครั้งแรก ให้ผู้ปกครองช่วยติดกาวและแปะให้ได้

ตัดแล้วปะ ระดับ

ตัวอย่าง

8


9

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก

โปรดตัดตามเส้นสีเทา


2

กางร่ม

ตัดแล้วปะ

มากางร่มกันเถอะ

ส�ำหรับผู้ปกครอง การปะติดชิ้นส่วนร่มถ้าเอียงไปบ้างก็ไม่เป็นไร ให้ช่วยกันเล่าถึง ความสนุกของการปะติด และความเพลิดเพลินหลังจากประดิษฐ์ภาพ ได้เสร็จสมบูรณ์แล้วว่าเป็นอย่างไร

ระดับ

ตัวอย่าง

10


11

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก


3

พระจันทร์ยิ้ม

ตัดแล้วปะ

มาส่งดวงจันทร์ขึ้นไปบนท้องฟ้าที่เต็มไปด้วยดวงดาวระยิบระยับกันเถอะ ส�ำหรับผู้ปกครอง เส้นน�ำการตัดเป็นเส้นโค้งซึ่งจะมีความยากขึ้นเล็กน้อย ให้ตัด ออกช้าๆ ด้วยความตั้งใจ และเพิ่มความระวังในการปะติดทิศทาง ของพระจันทร์เสี้ยว ต�ำแหน่งการปะติดท�ำตามภาพตัวอย่าง หรือ จะไม่เหมือนก็ไม่เป็นไร

ระดับ

ตัวอย่าง

12


13

ผู้ปกครองตัดตามแนว เส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก


4

แมวเหมียว

พาเจ้าแมวเหมียวไปนั่งบนโซฟากันเถอะ ส�ำหรับผู้ปกครอง หลังจากที่ติดภาพแมวเสร็จแล้ว ลองตั้งค�ำถามให้เด็กตอบ เช่น “ตอนนี้แมวก�ำลังท�ำอะไรอยู่นะ” หรือค�ำถามอื่นๆ เกี่ยวกับภาพ

ตัดแล้วปะ ระดับ

ตัวอย่าง

14


15

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก


5

ข้าวราดแกง

มาราดแกงลงบนข้าวสวย ร้อนๆ กันเถอะ

ตัดแล้วปะ ส�ำหรับผู้ปกครอง ต�ำแหน่งและทิศทางการปะติดนั้นดูได้จากภาพตัวอย่าง หรือจะ ติดไม่เหมือนตัวอย่างก็ได้ ไม่ว่าจะปะติดแกงตรงไหน ข้าวราดแกง จานนี้ก็ดูน่ารับประทานขึ้นมาทันที

ตัวอย่าง

ระดับ

16


17

ผู้ปกครองตัดตามแนวเส้นนี้แล้วมอบให้เด็ก


ใบประกาศนียบัตรแสดงถึง

¢Íá Ê´§¤ ¤ÇÒÁ ÇÒÁÂ¹Ô ´¡Õ ºÑ ˹ ¹Ù ÍŒ ¼·ÙŒ ÁÕè Õ à¾ÂÕ Ã¾ ÂÒÂÒÁÍ ÂÒ‹ §´àÕ ÂÂÕè Á

ความเพียรพยายามในการท�ำภาพปะติด

ชื่อ ...................................................... นามสกุล .......................................... วันที่ ....... เดือน .................. พ.ศ. ..........



ศักยภาพ สมอง

ผูเ ข�ยน :

วาดะ โคโตมิ นักว�จยั เร�อ่ ง การเร�ยนรูส มอง ของเด็ก

¡Ô¨¡ÃÃÁã¹àÅ‹Áä´ŒÃºÑ ¡Òà Â×¹Âѹ¨Ò¡¼ÙàŒ ªÕÂè ǪÒÞ´ŒÒ¹ÊÁͧ áÅŒÇÇ‹Òª‹Ç¡ÃеعŒ ¾Ñ²¹Ò¡Òà ·Ò§ÊÁͧãËŒà´ç¡à»š¹Í‹ҧ´Õ 50.-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.