เปิดแฟ้มไดโนเสาร์ ไดโนเสาร์กินพืช

Page 1




ISBN : 978-616-527-721-1 ราคา : 65 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไป ลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับ อนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ

ผู้แต่ง Olivia Brookes ภาพประกอบ Julius T. Csotonyi, Steve Kirk, Simon Mendez, Eric Robson, Peter Scott, John Sibbick และ Studio Inklink ลิขสิทธิ์ภาพ © John Sibbick 6BL, 13TL, 21CL and 29TR ผู้แปล อารดา กันทะหงษ์ DINOSAURS ON FILE: PLANT-EATERS Copyright © 2011 Orpheus Books Limited. Thai language translation rights arranged with MIS Publishing Co., Ltd., through Arika Interrights Agency. บรรณาธิการบริหาร ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ | ประสานงานฝ่ายผลิต อิสรีย์ แจ่มข�ำ, ชนาภัทร พรายมี | ศิลปกรรม ภรณีย์ สนองผัน, วณิชยา ตันเจริญลาภ | พิสจู น์อกั ษร บุษกร กูห้ ลี | ประสานงานสือ่ สิง่ พิมพ์ บุษกร กูห้ ลี | ฝ่ายการตลาด วราลี สิทธิจนิ ดาวงศ์ พิมพ์ที่ บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด | ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช จัดพิมพ์โดย : ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com

จัดจ�ำหน่ายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 0-2739-8000 โทรสาร 0-2739-8609 www.se-ed.com

กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�ำ ้ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยน ให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)



สารบัญ บทน�ำ

5

พลาทีโอซอรัส ดิโพลโดคัส สเตโกซอรัส แบรกคิโอซอรัส อิกัวโนดอน ฮิปซิโลโฟดอน ยูโอโพลเซฟาลัส

6 8 10 12 14 16 18

4

สไตราโคซอรัส พาราซอโรโลฟัส แลมบีโอซอรัส ไมอาซอรา

20 22 24 26

พาคีเซฟาโลซอรัส ไทรเซอราทอปส์ ดรรชนี

28 30 32


บทน�ำ ไดโนเสาร์สายพันธุ์แรกของโลกเป็นสัตว์กินเนื้อ

สามารถเดินวิ่งได้ด้วยสองขาหลัง ส่วนขา หน้าใช้ตะปบจับเหยื่อ แต่ต่อมามีวิวัฒนาการของไดโนเสาร์สายพันธุ์ใหม่ๆ ขึ้น เพื่อปรับสมดุล กับพืชพรรณไม้บนโลกที่เพิ่มจ�ำนวนขึ้นเรื่อยๆ ไดโนเสาร์กินพืชชนิดแรกคือโปรซอโรพอด พวก มันเป็นสัตว์ทเี่ ดินด้วยสองขาหลังเช่นกัน แต่เมือ่ เวลาผ่านไปล�ำคอและหางของสัตว์กนิ พืชเริม่ ยาว ขึน้ ร่างกายก็ใหญ่เทอะทะขึน้ ไดโนเสาร์หลายสายพันธุ์จึงต้องลงมาเดินด้วยสี่ขา พวกซอโรพอด ที่มีวิวัฒนาการขึ้นในยุคจูแรสสิก รวมไปถึงไดโนเสาร์ยักษ์บางสายพันธุ์ เช่น ดิโพลโดคัส อะแพโทซอรัส และแบรกคิโอซอรัส ซึ่งถือเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ขณะที่ยุคจูแรสสิกด�ำเนินไปนั้น นอกจากพวกซอโรพอดแล้ว ยังมีสัตว์กินพืชสายพันธุ์อื่นๆ เกิดขึ้นมา รวมถึงพวกสเตโกซอร์และพวกแองคิโลซอร์ ซึ่งเป็นไดโนเสาร์ที่มีทั้งแผงเกราะและ หนามแหลมปกคลุมล�ำตัว พวกซอโรพอดใช้คอยาวๆ ช่วยในการแทะเล็มใบไม้ที่อยู่บนต้นสูง เรี่ยพื้นดิน หรือในน�้ำ พวกมันต้องกินอาหารในปริมาณมหาศาลต่อวัน หากอาศัยเพียงฟันแถวเดียวที่ไม่สามารถเคี้ยว อาหารได้คงเป็นเรื่องล�ำบากมาก พวกมันจึงต้องกลืนก้อนกรวดเล็กๆ ลงไปด้วย เพื่อช่วยบด ย่อยอาหารในท้อง พวกออร์นิโธพอดเป็นไดโนเสาร์กินพืชอีกกลุ่มหนึ่งที่มีวิวัฒนาการความ สามารถในการย่อยอาหารอันน่าทึ่ง เช่น มีกระดูกขากรรไกรที่ช่วยบดเคี้ยวอาหารในปาก แม้ พวกออร์นโิ ธพอดจะตัวเล็กกว่าเมือ่ เทียบกับยักษ์ใหญ่อย่างซอโรพอด ซึง่ ค่อยๆ สูญพันธุล์ งทุกแห่ง ยกเว้นทวีปอเมริกาใต้ แต่พวกมันก็ถอื เป็นไดโนเสาร์กนิ พืชทีโ่ ดดเด่น และเป็นเจ้าครองยุคครีเทเชียส เลยก็ว่าได้

5


พลาทีโอซอรัส ลักษณะ :

ล�ำตัวใหญ่และหนา ยืนเดินไปมาด้วยขาคู่หลังเกือบตลอดเวลา ล�ำคอและ หางยาว กะโหลกศีรษะเล็ก กระดูกขากรรไกรทรงพลัง ซีฟ่ นั เล็กคล้ายใบไม้ แต่คมเหมือน ใบเลื่อย กระพุ้งแก้มแคบ แขนสั้นแต่แข็งแรง มีนิ้วมือ 5 นิ้ว นิ้วหัวแม่มือเป็นกรงเล็บ ขนาดใหญ่ ขาหลังทรงพลัง และกระดูกเหนือเท้าเป็นทรงกลมรี

พบที่ไหนและเมื่อไร : พื้นที่กึ่งทะเลทรายในทวีปยุโรป เมื่อ 220-200 ล้านปีที่ แล้ว (ปลายยุคไทรแอสสิก) อาหาร : ใบสนแหลม ใบปรง และต้นเฟิร์น ศัตรูนักล่า : ออร์นิโธซูคัส ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มี

ฟันบนขากรรไกร

เครือญาติ : พวก โปรซอโรพอดอื่นๆ รวม ถึงเซลโลซอรัส (ทวีปยุโรป), แมสโสสปอนดิลสั (ทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนือ) มัสซอรัส ริ โ อยาซอรั ส และยู เ นซอรั ส (ทวีปอเมริกาใต้), ยูนนาโนซอรัส และลูเฟิงโกซอรัส (ประเทศจีน)

ลักษณะเด่น :

หากพลาทีโอซอรัสถูกโจมตี มันจะ ป้องกันตัวเองด้วยกรงเล็บพิฆาตที่ นิ้วหัวแม่มือและนิ้วอื่นๆ รวมถึงที่ นิ้วเท้า และมันยังสามารถยืดตัวยืน ด้วยขาคู่หลัง ก่อนจะฟาดหางยักษ์ ทรงพลังใส่คู่ต่อสู้ด้วย

ต�ำแหน่งดวงตาอยู่ด้านข้าง ช่วยให้มองเห็น ศัตรูนักล่ารอบทิศทาง

กรงเล็บทีน่ วิ้ หัวแม่มอื ส�ำหรับการป้องกันตัว สามารถยืนตรงตั้งฉากกับพื้น จึงเอื้อมกิน ใบไม้ที่อยู่บนกิ่งสูงได้อย่างสบาย

พลาทีโอซอรัสมีขนาดยาว 9 เมตร และสูง 3 เมตร

6


ลึกสุดผืนทะเล...

พลาทีโอซอรัสมีความหมายว่า “กิ้งก่าแบน” ตามรูปร่างกระดูกที่ ถูกทับแบน ซึ่งถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1834 บางส่วนของซากฟอสซิล กระดูกเจ้าพลาทีโอซอรัสฝังอยูใ่ นหินทีอ่ ยูล่ กึ ลงไปถึง 2,200 เมตร จากพืน้ ของทะเลเหนือ และถูกขุดขึ้นมาเมื่อปี ค.ศ. 1997 มันจึงเป็นไดโนเสาร์ ที่ถูกฝังอยู่ลึกที่สุดเท่าที่เราเคยพบมา มีการขุดพบซากฟอลซิลของไดโนเสาร์เหล่านีเ้ ป็นจ�ำนวนมาก นักธรณีวทิ ยา จึงได้ขอ้ สรุปว่าในยุคนัน้ มีพลาทีโอซอรัสอาศัยอยูท่ วั่ ไป และอาจอยูร่ วมกัน เป็นฝูงใหญ่ด้วย มัสซอรัสมีความหมายว่า “กิง้ ก่าหนู” เนือ่ งจากซากฟอสซิลแรกทีถ่ กู ค้น พบเป็นของตัวอ่อนที่เพิ่งฟักจากไข่ และมีความยาวเพียง 20 เซนติเมตร ใกล้ๆ กันเป็นซากเปลือกไข่ความยาว 25 มิลลิเมตร ทีย่ งั อยูใ่ นสภาพเกือบ สมบูรณ์ เจ้ามัสซอรัสเป็นญาติกับพลาทีโอซอรัส เมื่อโตเต็มวัยจะมีขนาด ยาวถึง 3 เมตร

ถึงแม้ริโอยาซอรัสจะมีรูปร่างคล้ายพวกซอโรพอด คอยาวในยุคจูแรสสิก แต่สิ่งที่ท�ำให้มันจัดอยู่ใน กลุ่มโปรซอโรพอด เช่นเดียวกับเจ้าพลาทีโอซอรัส ก็คือมือและเท้าที่ยาว รวมทั้งกรงเล็บมือและเท้าที่ แหลมคม ล�ำตัวของมันใหญ่เทอะทะเกินกว่าจะยืน สองขาได้ มันจึงต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่กึ่งทะเลทราย ของทวีปอเมริกาใต้ในยุคไทรแอสสิก และหากิน ใบไม้เป็นอาหาร

ไดโนเสาร์คออ่อน

ถึงแม้แมสโสสปอนดิลสั (ด้านบน) จะมีขนาด เล็กประมาณครึ่งหนึ่งของพลาทีโอซอรัส แต่ ก็มีลักษณะคล้ายกันหลายอย่าง เช่น หัวเล็ก ฟันแหลมเหมือนใบเลือ่ ย อุง้ มือพิฆาตทีม่ ี 5 นิว้ กรงเล็บนิว้ หัวแม่มอื ทีโ่ ค้งงอ สามารถเดินไปมา ด้วยขาคูห่ ลังทีแ่ ข็งแรง รวมทัง้ ล�ำคอทีย่ าวเป็น พิเศษและเคลื่อนไหวยืดหยุ่นได้ดี

ริโอยาซอรัส

มัสซอรัส

7


ดิโพลโดคัส ลักษณะ : เป็นพวกซอโรพอด ล�ำตัวหนาและตัน ขา

กลมเหมือนเสาหิน ขาคูห่ น้าสัน้ กว่าขาคูห่ ลังเล็กน้อย มี กระดูกแหลมสั้นๆ ยื่นออกมาตามแนวสันหลัง คอยาว หัวเล็ก มีหางยาวมาก ลักษณะคล้ายแส้

พบที่ไหนและเมื่อไร :

พื้นที่ป่าและทุ่งหญ้าใน ทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อ 150-147 ล้านปีที่แล้ว (ปลายยุคจูแรสสิก)

อาหาร : ใบไม้ เฟิร์น และพืชน�้ำ ศัตรูนักล่า : ลูกของดิโพลโดคัสหรือ

ซี่ฟันด้านหน้าบนขากรรไกร ของเจ้าดิโพลโดคัสมีลักษณะ ยื่นออกแลดูคล้ายหมุดตะปู เหมาะส�ำหรับการลากดึงพืช น�้ำนิ่มๆ หรือรูดดึงใบไม้จาก กิ่งก้าน

ตัวทีอ่ อ่ นแอจะถูกล่าโดยฝูงอัลโลซอรัสหรือ เซอราโทซอรัส แต่ดว้ ยขนาดทีใ่ หญ่มโหฬารนี้ มันจึงไม่ค่อยเป็นฝ่ายถูกล่า

เครือญาติ : บาโรซอรัส อะแพโทซอรัส ซูเปอร์ซอรัส

แอมฟิซเี ลียส (ทวีปอเมริกาเหนือ) และอะมาร์กาซอรัส คูแ่ ม่ลกู ดิโพลโดคัส ซึง่ ลูกดิโพลโดคัส (ทวีปอเมริกาใต้) มักโตเร็วมาก และเข้าสูช่ ว่ งโตเต็มวัย ภายในเวลาประมาณ 10 ปีเท่านั้น

ประโยชน์ 4 อย่างของคอยาวๆ : ดิโพลโดคัสมีขนาดยาว 27 เมตร และสูง 5 เมตร

1. ยืดขึ้นไปหากิ่งไม้สูง 3. ช่วยข่มขวัญศัตรู

8

2. ยื่นลงไปในน�้ำ 4. ดึงดูดเพศเมีย


ตัวเบา ตัวยาว เสียงดัง...

ดิโพลโดคัสมีความหมายว่า “สันคู่” ตามลักษณะของกระดูกกลางหางที่ดู แปลกตา ดิโพลโดคัสเป็นไดโนเสาร์ที่มีขนาดยาวที่สุดเมื่อดูจากโครงกระดูกของมัน แต่กลับมีน�้ำหนักเบามากเมื่อเทียบกับความยาว นั่นคือเบากว่าช้าง 3 เชือก เสียอีก

เจ้าชูโนซอรัสเป็นซอโรพอดจาก ประเทศจีน มีปลายหางเป็น กระดูกคล้ายรูปข้าวหลามตัด

ไดโนเสาร์มีหลายหัวใจ?

ล�ำคอของเจ้าดิโพลโดคัสมีขนาดยาว 6 เมตร ส่วนของเจ้าบาโรซอรัส (ด้านล่าง) ซึ่งเป็นญาติของมัน มี ขนาดยาวถึง 9 เมตร พวกมันจึงต้อง มีหัวใจขนาดใหญ่มากๆ เพื่อช่วยใน การสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงสมอง นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพวกมันอาจ มีหัวใจมากถึง 8 ดวง ทั้งที่อยู่ใน ช่องอกและล�ำคอ แต่ละดวงจะสูบ ฉีดเลือดแล้วส่งต่อกันไปเป็นทอดๆ เหมือนทีมวิ่งผลัด

ดิโพลโดคัสเดินด้วยปลายเท้า อุง้ เท้ามีขนาดกว้าง มีนวิ้ เท้า 5 นิว้ กระดูกส้นเท้า กลมหุ้มด้วยผิวหนังซึ่งมีขนาดใหญ่เท่าลูกบาสเกตบอลเลยทีเดียว มีนิ้วเท้าเพียงนิ้วเดียวที่มีกรงเล็บ และเป็น กรงเล็บทีใ่ หญ่มากด้วย แต่เราไม่แน่ใจว่า มันมีไว้เพื่ออะไร หางยาวๆ ของดิโพลโดคัสมี ประโยชน์หลายอย่าง อาจใช้ หวดฟาดทีห่ น้าของศัตรู หรือ หวดฟาดอากาศให้เกิดเสียงดัง เพือ่ ขับไล่ศตั รู หรืออาจใช้ถว่ ง เจ้าอะมาร์กาซอรัสเป็นหนึง่ ใน ความสมดุลกับคอยาวๆ ของ เครือญาติของเจ้าดิโพลโดคัส มัน มัน และช่วยการทรงตัวเมื่อ มีกระดูกยาวแหลมด้านหลังคอ ต้องยืดตัวยืนด้วยขาคู่หลัง นักวิทยาศาสตร์เคยเชื่อว่าดิโพลโดคัสอาจอาศัยอยู่ในน�ำ ้ และหายใจทางรูจมูกโดย ไม่ต้องโผล่ขึ้นเหนือผิวน�ำ ้ แต่ต่อมาพบว่าวิธีนี้ท�ำให้เกิดแรงดันในช่องอกสูงเกินกว่าจะ หายใจได้

9


สเตโกซอรัส ลักษณะ : ล�ำตัวใหญ่เทอะทะ หลังโค้งชัน ขากลมเหมือนเสาหิน ขาคู่หน้าสั้นกว่าขาคู่หลังมาก หัวหลุบต�่ำเรี่ยพื้นดิน หางแข็ง และมีหนามเรียวแหลมชี้ขึ้น ลักษณะโดดเด่นที่สุดคือมีแผ่น กระดูกกว้างสองแถวบนแนวสันหลัง หัวค่อนข้างเล็ก จมูก แคบยาว จะงอยปากแหลม และไม่มีฟัน

พบที่ไหนและเมื่อไร :

ป่าเขตร้อนชื้นหรือกึ่งร้อนชื้น ในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป เมื่อ 155-145 ล้าน ปีที่แล้ว (ปลายยุคจูแรสสิก)

ลักษณะเด่น :

แผ่นกระดูกช่วยปรับ อุณหภูมิในร่างกาย ช่วย ดึงดูดเพศตรงข้าม และ ช่วยข่มขวัญศัตรู ประสาทรับกลิน่ ดี ช่วย ในการหาอาหาร

อาหาร : พืชพุ่มเตี้ยที่ขึ้นตามพื้นดิน เช่น มอส เฟิร์น ต้นสน หรือผลไม้

ศัตรูนกั ล่า : อัลโลซอรัส เซอราโทซอรัส และเทอโรพอด

หนามแหลมทีห่ าง ช่วย ขับไล่ศัตรู ขาคูห่ น้าสัน้ และแข็งแรง ช่วยให้หมุนตัวหลบศัตรูได้ คล่องแคล่ว

ขนาดเล็กอื่นๆ ที่ออกล่าเหยื่อเป็นฝูง

เครือญาติ : พวกสเตโกซอร์ รวมถึง ตัวเจียนโกซอรัส วูเออร์โฮซอรัส ฮัวหยางโกซอรัส (ทวีปเอเชีย ตะวันออก), เคนโทรซอรัส (ทวีปแอฟริกา) และเลโซวีซอรัส (ทวีปยุโรป)

กลยุทธ์ที่ใช้จัดการกับเจ้าอัลโลซอรัส :

1. อย่าพยายามวิ่งหนี 2. หันหลังให้ศัตรูจอมกระหายทันที 3. ถอยหลังแล้วสะบัดหางฟาด 4. แทงหนามแหลมเข้าที่หัว 5. เจ้าอัลโลซอรัสล่าถอยไปด้วยความเจ็บปวด

สเตโกซอรัสมีขนาดยาว 9 เมตรและสูง 4 เมตร

10


ไดโนเสาร์สมองถั่ว...

สเตโกซอรัสมีความหมายว่า “กิ้งก่ามีหลังคา” เนื่องจากนัก วิทยาศาสตร์เคยเชื่อว่าแผ่นกระดูกที่เรียงซ้อนกันบนหลังของมันดู คล้ายกระเบื้องหลังคา สเตโกซอรัสมีฟันซี่เล็กและไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ มันจึงต้องกลืนก้อนกรวดที่เรียก ว่า “หินในกึ๋น” ลงไปช่วยย่อยเส้นใยพืชเหนียวๆ ในท้อง สมองของสเตโกซอรัสมีขนาดเท่าถั่ววอลนัต น�้ำหนักไม่เกิน 80 กรัม ภายในโครงกระดูกใกล้กับช่วงสะโพกของมันมีช่องกลวงขนาดใหญ่ เราเคยเชื่อว่านั่นคือ “สมองทีส่ อง” ทีช่ ว่ ยควบคุมการเคลือ่ นไหวล�ำตัวช่วงล่าง แต่ปจั จุบนั เราเชือ่ ว่าช่องกลวงนัน้ ใช้สำ� หรับเก็บสะสมพลังงานจากอาหาร แผ่นกระดูกของมันไม่ได้ถูกยึดติดกับโครงกระดูก แต่ติดกับผิวหนัง สเตโกซอรัสสามารถวิ่งได้เร็วไม่เกิน 7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

เจ้าสกูเทลโลซอรัส (ด้านบน) เป็น หนึ่งในไดโนเสาร์สายพันธุ์แรกๆ ที่มีเกราะป้องกันตัว และอาจเป็น บรรพบุรษุ ของเจ้าสเตโกซอรัสก็ได้ มันมีเกล็ดแข็งๆ จ�ำนวนหลายร้อย อันปกคลุมทั่วตัว และยังสามารถ วิ่งได้ด้วยขาคู่หลัง

ท�ำไมต้องมีแผ่นกระดูก?

แผ่นกระดูกของเจ้าสเตโกซอรัสอาจช่วยควบคุม อุณหภูมิในร่างกาย แต่ละแผ่นมีหลอดเลือดที่ ช่วยส่งกระจายหรือดูดซับความ ร้อน แล้วแต่ว่าเจ้าไดโนเสาร์ ต้องการความอบอุ่นจาก แสงแดดยามเช้า หรือความ เย็นสบายยามเย็น เจ้าสเตโกซอรัสเพศผู้ อาจใช้แผ่นกระดูกช่วย ดึงดูดความสนใจของเพศ เมียด้วย

11


แบรกคิโอซอรัส ลักษณะ: เป็นซอโรพอดสีข่ าขนาดใหญ่ คอยาวเคลือ่ นไหวได้ดี หางค่อน

ข้างสัน้ เมือ่ เทียบกับซอโรพอดอืน่ ๆ ขาคูห่ น้ายาวกว่าขาคูห่ ลัง ท�ำให้ลำ� ตัว เทลาดลงด้านหลังคล้ายยีราฟ มีกรงเล็บ 1 นิว้ ทีเ่ ท้าหน้าและ 3 นิว้ ทีเ่ ท้าหลัง มีโหนกนูนเด่นบนกะโหลกศีรษะ และช่องขนาดใหญ่สำ� หรับหายใจเหนือ ดวงตา ช่วงจมูกลาดต�่ำ ซี่ฟันคล้ายสิ่ว

พบทีไ่ หนและเมือ่ ไร : ริมฝัง่ น�ำ้ ในป่าและทุง่ หญ้าของทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อ 150-145 ล้านปีที่แล้ว (ปลายยุคจูแรสสิก)

แบรกคิโอซอรัสมี ขนาดยาว 25 เมตร และสูง 13 เมตร

อาหาร : ใบปรง ใบแปะก๊วย และใบสนแหลม ศัตรูนักล่า : แบรกคิโอซอรัสตัวโตเต็มวัยมักมีขนาดใหญ่มหึมา

จึง ไม่ต้องเกรงกลัวใคร แม้แต่ศัตรูนักล่าที่ใหญ่ที่สุด อย่างเจ้าอัลโลซอรัส ทอร์โวซอรัส และอะโครแคนโทซอรัส แต่ลูกของแบรกคิโอซอรัสยังอาจ ถูกล่าเป็นอาหารได้

เครือญาติ : อะไบโดซอรัส อัสโทรดอน ซีดาโรซอรัส ซอโรโพไซดอน

โซโนราซอรั ส (ทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ), ลู โ ซไททั น (ทวี ป ยุ โ รป), จีราฟฟาไททัน (ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา)

ลักษณะเด่น :

คอยาวๆ ช่วยให้เอื้อมกินยอดไม้สูงๆ ได้ ซี่ฟันคล้ายสิ่ว ช่วยในการตัดกิ่งก้านไม้ ร่างมโหฬารของมัน ช่วยข่มขวัญศัตรู กรงเล็บแหลม ใช้เป็นอาวุธป้องกันตัว

เจ้าแบรกคิโอซอรัสอาจมีความ สามารถยืดตัวยืนด้วยสองขาหลัง ได้ ช่วยให้งา่ ยต่อการเอือ้ มถึงยอด ไม้สงู กระดูกคอของมันมีชอ่ งกลวง ท�ำให้น�้ำหนักโดยรวมเบาขึ้น เนือ่ งจากหากหนักเกินไป มันจะไม่สามารถยก คอและหัวได้

12


แขนยาวกว่าขา...

แบรกคิโอซอรัสมีความหมายว่า “กิ้งก่ามีแขน” เนื่องจากแขนหรือขาหน้า ของมันยาวกว่าขาหลัง ซึ่งเป็นเรื่องประหลาดส�ำหรับไดโนเสาร์

คอของมันยาวจนสามารถชะเง้อมองผ่านหน้าต่างของตึกชัน้ สีไ่ ด้ เลยทีเดียว แบรกคิโอซอรัสมีน�้ำหนักประมาณ 30–50 ตัน สมองของมันมีนำ�้ หนักคิดเป็น 0.001 เปอร์เซ็นต์ของน�ำ้ หนักตัว ถึงแม้แบรกคิโอซอรัสจะเป็นสัตว์เลือดเย็นทีป่ รับอุณหภูมริ า่ งกาย ไปตามสภาพแวดล้อม แต่มันก็สามารถควบคุมการดูดซับและ ระบายความร้อนได้อย่างช้าๆ เช่นเดียวกับสัตว์เลือดอุ่นหรือพวก อาร์เจนติโนซอรัส นก ค�ำว่าแบรกคิโอซอรัสถูกใช้ตงั้ เป็นชือ่ ดาวเคราะห์ดวงหนึง่ ด้วย โครงกระดูกของแบรกคิโอซอรัสในพิพิธภัณฑ์ ฮัมโบลด์ทแห่งกรุงเบอร์ลนิ ถือเป็นโครงกระดูก ที่สูงที่สุดในโลก

เจ้าแบรกคิโอซอรัส ก�ำลังเผชิญหน้ากับเจ้า เซอราโทซอรัส

ดิโพลโดคัส ซูเปอร์ซอรัส

ใครใหญ่ที่สุด?

เจ้าแบรกคิโอซอรัสเป็นไดโนเสาร์ที่ สูงและหนักทีส่ ดุ เมือ่ ดูจากโครงกระดูก ทัง้ หมดทีพ่ บ แต่เจ้าดิโพลโดคัสมีขนาด ยาวที่สุด อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษาจาก โครงกระดูกของไดโนเสาร์อื่นๆ แล้ว กลุ่ม นักวิจัยเชื่อว่าเจ้าตัวที่มีน�้ำหนักโดยรวมมากที่สุด อาจเป็นอาร์เจนติโนซอรัส ซึง่ เป็นพวกไททาโนซอร์ จากประเทศอาร์เจนตินาในช่วงกลางของยุคครีเทเชียส มันมีนำ�้ หนักประมาณ 73 ตัน ส่วนไดโนเสาร์ที่ ยาวที่สุดคือเจ้าซูเปอร์ซอรัส ซึ่งเป็นญาติของเจ้า ดิโพลโดคัสจากทวีปอเมริกาเหนือในยุคจูแรสสิก เราเชื่อว่ามันมีขนาดยาวถึง 34 เมตร

แบรกคิโอซอรัส

13



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.