¨ §
¡ ¤
เสริมสรางความมั่นใจกอนถึงวันสอบจริง à¾Õ§ÁÕ˹ѧÊ×Í 3 à‹ﰆÁ¹Õé ¡çÊﰇºà¢ŒÒ ». 1
ä´Œ§‹ÒÂæ
ติวภาษาไทยใหลกู สอบเข า ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก
เตรียมลูกรักใหพรอมกอนลงสูสนามสอบจริง ดวยแบบฝกหัดที่หลากหลาย ครอบคลุมทักษะดานตางๆ ที่จำเปนและตองรู สำหรับทบทวนและทำความเขาใจ ใหคลองแคลวและแมนยำ
ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส
213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787
www.MISbook.com
1
2 9 4 8 7 7
7 3 6 4 3 1
ราคา 150 บาท
คูมือเตรียมสอบ
150.-
ท ไ า ย ษ ใ า หล กู ภ ิต ว สอบเข า ป. 1 โรงเรี ย นสาธิ ต และโรงเรียนในเครือคาทอลิก
¢¤
¨
§
เตรียมความพรอมกอนลงสูสนามสอบจริงของนักเรียนระดับอนุบาลที่ตองการ สอบคัดเลือกเขาเรียนตอชั้น ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก
4 ÊÕÊ´ãÊ ¶Ù¡ã¨à´ç¡æ
150 บาท
ราคา
¢
½ƒ¡·ÓÇѹÅÐ˹ŒÒ¡çÊͺࢌÒÊҸԵ䴌
ค�ำน�ำ เด็กในวัยอนุบาลเป็นช่วงวัยแห่งการเริ่มต้นเรียนรู้สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัว เรียกได้ว่าเป็นปฐมบทของ การเข้าสู่กระบวนการศึกษาเล่าเรียนจนถึงระดับสูง อย่างไรก็ตาม เมื่อเด็กในวัยอนุบาลก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ วัยประถมศึกษา นับเป็นเรื่องที่ผู้ปกครองต่างให้ความสนใจและให้ความส�ำคัญมากขึ้นกว่าในอดีต ส�ำหรับ โรงเรียนที่ผู้ปกครองหลายๆ ท่านปรารถนาที่จะให้บุตรหลานของตนได้เข้าไปเรียน และถือเป็นโรงเรียนที่ ได้รับการยอมรับในสังคมถึงมาตรฐานทางด้านวิชาการนั่นคือ โรงเรียนสาธิต โรงเรียนสาธิต คือโรงเรียนที่เป็นตัวอย่างหรือเป็นแปลงทดลองส�ำหรับนิสิตและนักศึกษาที่เรียน วิชาชีพครู โดยมีคณะครุศาสตร์หรือคณะศึกษาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนัน้ ๆ เป็นผูด้ แู ล ด้วยเหตุนจี้ งึ ท�ำให้ ผู้ปกครองให้ความเชื่อถือ และคาดหวังให้บุตรหลานได้เข้าเรียนในโรงเรียนสาธิต ซึ่งในแต่ละปีโรงเรียนใน เครือสาธิตจะมีจ�ำนวนผู้เข้าสอบกว่าพันคน แม้ว่าโรงเรียนจะสามารถรองรับเด็กได้เพียงหลักร้อยเท่านั้น การเตรียมตัวเด็กจึงเป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้ปกครองควรค่อยๆ ปลูกฝัง มิใช่ท�ำอย่างเข้มงวด เพราะ อย่าลืมว่าเด็กยังอยู่ในวัยอนุบาลเท่านั้น แม้ปัจจุบันจะมีหนังสือเตรียมสอบเข้า ป. 1 โรงเรียนในเครือสาธิต ออกวางจ�ำหน่ายจ�ำนวนมากและมีความหลากหลายแตกต่างกันไป แต่สิ่งส�ำคัญคือ ผู้ปกครองควรฝึกฝน ให้เด็กได้ทำ� แบบฝึกหัดอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยไม่ควรเน้นการท�ำทีละมากๆ เพราะเด็กอาจเกิดความเบือ่ หน่ายได้ หนังสือ “ติวภาษาไทยให้ลูก สอบเข้า ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก” เล่มนี้ เหมาะส�ำหรับเป็นคู่มือในการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กก่อนลงสู่สนามสอบ โดยในเล่มประกอบด้วย ค�ำแนะน�ำดีๆ พร้อมแนวข้อสอบที่ใช้ในการสอบเข้าโรงเรียนในเครือสาธิต ทั้งยังมีภาพประกอบสีสันสดใส ดึงดูดความสนใจของเด็กได้เป็นอย่างดี
ข้อแนะน�ำในการใช้หนังสือ การท�ำแบบฝึกหัดในเล่มนี้ ผู้ปกครองควรอ่านค�ำถามให้เด็กฟังอย่างชัดเจนเพียง 1-2 ครั้งเท่านั้น เพื่อเป็นการฝึกสมาธิแก่เด็ก และควรให้เด็กท�ำเองจนครบทุกข้อ จากนั้นผู้ปกครองจึงอธิบายข้อที่ผิดให้ เข้าใจ แล้วจึงให้เด็กได้ลองท�ำแบบฝึกหัดใหม่อีกครั้ง มิ่งขวัญ ลิรุจประภากร
ค�ำแนะน�ำการเตรียมตัวเด็กก่อนลงสู่สนามสอบ การสอบแข่งขันเข้าเรียนของเด็กในวัยอนุบาลนั้นถือเป็นเรื่องส�ำคัญ เพราะเป็นการแข่งขันครั้งแรก ในสนามใหญ่ทตี่ อ้ งแข่งกับเด็กคนอืน่ ๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก เด็กจึงต้องมีความพร้อมในทุกด้าน ทัง้ ด้านวิชาการ ด้านร่างกาย และด้านจิตใจ ผู้ปกครองจึงมีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เด็กประสบความส�ำเร็จในครั้งนี้ การเตรียมตัวลงสู่สนามสอบ สิ่งส�ำคัญคือ ความพร้อมและต้องพร้อมให้มากที่สุด เพราะความเป็น “เด็ก” ยิ่งอยู่ในวัยอนุบาลซึ่งเป็นช่วงวัยที่มักจะมีอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้ารอบตัวได้อยู่ ตลอดเวลา บางคนอาจเตรียมตัวมาดีแต่เมื่อมาถึงสนามสอบจริงกลับร้องไห้งอแงไม่ยอมเข้าห้องสอบก็มี ให้พบเห็นกันอยู่บ่อยๆ ดังนั้นผู้ปกครองควรเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้
1. การสร้างความคุ้นเคย สถานทีใ่ หม่ๆ เพือ่ นใหม่ๆ แม้จะเป็นเพียงชัว่ ระยะเวลาสัน้ ๆ ก็อาจมีผลต่อเด็กได้ เพราะความไม่คนุ้ ชิน เช่น “นี่ไม่ใช่โรงเรียนของหนู” “นี่ไม่ใช่คุณครูของผม” และอีกร้อยแปดค�ำถามที่อาจเกิดขึ้นได้ ดังนั้น ผู้ปกครองจึงควรสร้างความคุ้นเคยด้วยการพาเด็กไปดูสนามสอบก่อนอย่างน้อยหนึ่งครั้ง เพราะเมื่อถึง วันสอบจริงๆ เด็กจะได้ไม่รู้สึกกลัวสนามสอบ
2. เตรียมตัว เตรียมใจ เมือ่ เวลาใกล้เข้ามาแล้ว โดยเฉพาะก่อนสอบหนึง่ สัปดาห์ ผูป้ กครองควรทบทวนทักษะความรูด้ า้ นต่างๆ ที่ติวกันมาเกือบตลอดทั้งปี แต่ไม่ควรเข้มงวดหรือยัดเยียดจนเด็กเกิดความเครียด เน้นในลักษณะการ อธิบายในส่วนที่เด็กยังไม่เข้าใจหรืออาจหลงลืมไปบ้าง แต่อย่าท�ำในลักษณะของการบังคับ ควรท�ำให้ เด็กรู้สึกมั่นใจและสบายใจมากที่สุด
3. เทคนิคส�ำคัญ ผู้ปกครองควรพูดคุยกับเด็กถึงบรรยากาศในห้องสอบว่า ให้ตั้งใจฟังค�ำสั่งของคุณครู ฟังคุณครูอ่าน ค�ำถามให้จบก่อนแล้วจึงเขียนค�ำตอบลงในกระดาษค�ำตอบทีไ่ ด้รบั ถ้าไม่ได้ยนิ ค�ำถามหรือได้ยนิ ไม่ชดั เจนให้ ยกมือขึน้ ถามคุณครูอกี ครัง้ ถ้าดินสอหัก ปวดปัสสาวะ อยากเข้าห้องน�ำ ้ หรือเกิดปัญหาใดๆ ก็ตาม ให้ยกมือบอก คุณครูทนั ที อย่ารอจนกว่าจะสอบเสร็จ ถ้าเลือกค�ำตอบทีด่ ที สี่ ดุ แล้วให้เขียนค�ำตอบลงในกระดาษค�ำตอบเลย แต่หากเลือกไม่ได้จริงๆ ก็ให้เลือกข้อใดก็ได้ไปเลย อย่าเว้นช่องว่างไว้เด็ดขาด และหากท�ำได้แค่ไหนก็แค่นนั้ ไม่ต้องกังวล เพราะท�ำดีที่สุดแล้ว
การพูดให้เด็กเห็นบรรยากาศหรือพูดให้เด็กรู้จักแก้ปัญหาเฉพาะหน้า จะท�ำให้เด็กเกิดความมั่นใจ มากขึ้นและคลายความกังวลไปได้ โดยเฉพาะการให้ก�ำลังใจเป็นสิ่งส�ำคัญที่เด็กอยากได้ยินจากผู้ปกครอง มากที่สุด
4. การดูแลสุขภาพกายและใจ ช่วงเวลาก่อนสอบควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง อย่าให้เจ็บป่วย อาจมีกจิ กรรมทีท่ ำ� ให้เด็กรูส้ กึ ผ่อนคลาย เช่น การไปเดินเล่นที่สวนสาธารณะใกล้บ้าน แต่ไม่ควรเดินทางไปเที่ยวไกลๆ หรือเดินทางไปต่างจังหวัด เพราะจะท�ำให้เด็กเหนื่อยเกินไปและอาจไม่สบายได้
5. วันส�ำคัญมาถึงแล้ว อาหารเช้าเป็นสิ่งส�ำคัญ เช้าวันสอบควรให้เด็กรับประทานอาหารที่ย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก นม เป็นต้น และก่อนสอบควรเข้าห้องน�้ำให้เรียบร้อย ในช่วงเช้าวันนี้เด็กอาจมีอารมณ์แปรปรวน มีความรู้สึก กังวล ผู้ปกครองต้องใจเย็น ไม่ดุว่าหรือพูดให้เด็กเกิดความเครียด ควรท�ำตัวให้เป็นปกติ มีสีหน้าที่ยิ้มแย้ม เพือ่ ให้เด็กคลายความกังวลและมีความมัน่ ใจในการสอบ โดยไม่ตอ้ งกังวลถึงผลทีจ่ ะออกมา เพียงแค่บอกให้ เด็กท�ำให้ดีที่สุดเท่านั้น หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ “ติวภาษาไทยให้ลูก สอบเข้า ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียน ในเครือคาทอลิก” เล่มนี้ จะเป็นเพื่อนที่ดีที่ช่วยให้เด็กๆ ก้าวไปพร้อมกับความส�ำเร็จตามที่มุ่งหวัง
เรื่องน่ารู้ก่อนลูกเข้าโรงเรียนสาธิต เด็กโรงเรียนสาธิต จากหนังสือ “เข้า ป. 1 เลือกโรงเรียน เลือกอนาคตของลูก” มีค�ำสัมภาษณ์ของ รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ รองคณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม เกี่ยวกับการเรียนการสอนในโรงเรียนสาธิตที่น่าสนใจ จึงน�ำมาฝากผู้ปกครอง ดังนี้ “การเรียนการสอนของโรงเรียนสาธิตทุกแห่ง จัดอยู่บนพื้นฐานของการให้อิสระแก่นักเรียน ไม่ว่า จะเป็นการคิด การสร้างสรรค์ การแสดงออกตามศักยภาพและความสามารถ โดยอยู่ ในดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน ว่าจะให้อสิ ระแก่เด็กมากน้อยแค่ไหน ความเป็นอิสระนีท้ ำ� ให้เด็กกล้าคิด การมีความมัน่ ใจของนักเรียนสาธิต จุฬาฯ นั้นอยู่ที่การรู้จักตนเองว่ามีความชอบ ความถนัด และความสามารถในด้านใด โดยผ่านหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน การได้ค้นพบตนเองท�ำให้เด็กเป็นคนรู้จักคิด รู้จักตัดสินใจ และรู้ว่าตนเองมีข้อดี มีความสามารถ เด็กจะเกิดความภาคภูมิใจในตนเองซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เด็กมี ความมั่นใจในตนเองอีกด้วย” จะเห็นได้วา่ จากรูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าวท�ำให้โรงเรียนสาธิตสามารถตอบโจทย์ผปู้ กครอง หลายๆ ท่านทีม่ คี วามประสงค์อยากให้บตุ รหลานของตนเป็นเช่นทีก่ ล่าวมา การให้เด็กได้เรียนรูใ้ นสิง่ ทีช่ อบ และค้นหาความถนัดของตนเองย่อมสามารถต่อยอดให้แก่เด็กต่อไปในอนาคต หล่อหลอมความคิด ในการด�ำเนินชีวิตที่เหมาะสม มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่น รวมถึงการปรับตัวให้เข้ากับสังคมและมีภาวะ ความเป็นผูน้ ำ � อาจกล่าวได้วา่ โรงเรียนสาธิตสามารถให้โอกาสทีด่ เี หล่านีแ้ ก่บตุ รหลานท่านได้ เพราะโรงเรียน สาธิตมีการจัดการเรียนการสอนตัง้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ไปจนถึงชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึง่ ถือเป็นช่วงเวลา ที่ยาวนานส�ำหรับการวางรากฐานการศึกษาที่ดีให้แก่เด็ก ด้วยเหตุน้ีโรงเรียนสาธิตจึงเป็นที่ไว้วางใจของ ผู้ปกครองที่มุ่งหวังจะส่งบุตรหลานเข้าศึกษาอยู่เสมอมา
ติวเข้าโรงเรียนสาธิต จ�ำเป็นหรือไม่ ความนิยมของพ่อแม่ผู้ปกครองที่มีต่อโรงเรียนสาธิต ส่งผลให้มีจ�ำนวนผู้เข้าสอบเพิ่มมากขึ้นทุกปี เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปริมาณนักเรียนที่สมัครสอบกับปริมาณที่โรงเรียนสามารถรองรับได้ ดังนั้นผู้เป็น พ่อเป็นแม่จึงพยายามทุกวิถีทางที่จะให้ลูกของตนเองสอบเข้าให้ได้ เพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว โรงเรียนกวดวิชา ติวเข้ม หนังสือคูม่ อื เตรียมสอบ แบบฝึกหัดของส�ำนักพิมพ์ทงั้ หลายจึงวางจ�ำหน่ายอยูม่ ากมาย ตามร้านหนังสือ จะให้ลกู สอบเข้าสาธิตให้ได้พอ่ แม่คงวางเฉยไม่ได้แน่นอน เพราะเท่ากับก�ำลังเดินถอยหลัง ซึ่งตรงข้ามกับพ่อแม่ของเด็กคนอื่นๆ ที่ต่างพากันทุ่มเทเงินทองให้ลูกไปติวเข้มเพื่อหวังจะสอบเข้าโรงเรียน สาธิตให้ได้
รศ.ลัดดา ภู่เกียรติ ยังได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการติวเด็กอีกว่า
“การส่งลูกไปติวไม่มีความจ�ำเป็นส�ำหรับการสอบเข้าสาธิต เพราะสาธิตส่วนใหญ่ไม่ได้สอบความรู้ อย่างสาธิตจุฬาฯ เราสอบความพร้อม ไม่ได้สอบความรู้ทางวิชาการ เคยมีผู้ปกครองมาถาม เราก็บอกว่า ไม่ตอ้ งติว ให้ซอื้ หนังสือความพร้อมทีว่ างจ�ำหน่ายทัว่ ไปมาให้ลกู ฝึกท�ำก็เพียงพอ ซึง่ ก็คอื ความพร้อมด้านต่างๆ การฝึกกล้ามเนือ้ มือ กล้ามเนือ้ ตา แล้วก็ให้เขามีสมาธิกบั สิง่ ทีอ่ ยูข่ า้ งหน้า การฝึกให้ลกู มีสมาธิและช่างสังเกต ก็เป็นการฝึกความพร้อมอย่างหนึ่ง เพราะการสอบต้องอาศัยความพร้อมและสมาธิของเด็กเป็นส�ำคัญ” อย่างไรก็ตาม โรงเรียนสาธิตแต่ละแห่งก็มคี วามแตกต่างกัน เช่น สาธิตเกษตรฯ ทดสอบเรือ่ งพืน้ ฐาน ความคิดวิเคราะห์หรือความรู้รอบตัว และมีบางส่วนที่เป็นคณิตศาสตร์ หรือสาธิตประสานมิตรฯ รับเด็ก เข้าเรียนในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ก็มักจะให้เด็กทดสอบความพร้อม เช่น ให้เด็กติดกระดุม รูดซิป หรือ ผูกเชือกรองเท้า เป็นต้น ดังนัน้ ผูป้ กครองควรหาแนวทางการสอบของโรงเรียนสาธิตทีห่ มายตาไว้ และเตรียม ความพร้อมของลูกตามแนวทางนั้น
ท�ำไมโรงเรียนสาธิตจึงเข้ายาก เป็นที่ทราบกันดีว่า โรงเรียนสาธิตแทบทุกแห่งขึ้นชื่อว่า “เข้ายาก” จริงๆ สาเหตุอาจเนื่องมาจาก ปริมาณของนักเรียนทีโ่ รงเรียนสาธิตจะรับได้นนั้ มีจำ� นวนน้อยเมือ่ เทียบกับจ�ำนวนของนักเรียนทีม่ าสมัครสอบ ในแต่ละปี โดยอัตราการสอบแข่งขันเข้าโรงเรียนสาธิตชื่อดังจะสูงถึง 1 ต่อ 30 เลยทีเดียว เพราะมีนักเรียน มาสอบจ�ำนวนมาก แต่โรงเรียนสามารถรับได้จำ� นวนน้อย และข้อควรรูอ้ กี อย่างหนึง่ คือ โรงเรียนสาธิตบางแห่ง เช่น สาธิตจุฬาฯ ต้องตัดสินด้วยการจับฉลาก ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงอย่างชัดเจนในการประกาศรับสมัคร โดยคณบดีคณะครุศาสตร์ของแต่ละปี นอกจากนี้โรงเรียนสาธิตทุกแห่งยังมีความชัดเจนในสัดส่วนของการรับนักเรียน นั่นคือจากข้อมูล ที่ปรากฏในเว็บไซต์การเปิดรับสมัครสอบเข้า ป. 1 ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2548 ระบุชัดเจนถึงจ�ำนวนนักเรียนที่รับเข้าศึกษา 260 คน โดยแบ่งตามสัดส่วนต่อไปนี้ 1. บุคคลทั่วไป (เด็กที่มาสอบเข้า) ประมาณ 2 ใน 5 ของจ�ำนวนที่ประกาศรับทั้งหมด 2. บุตรของทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้แก่ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของ ข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้างประจ�ำ ไม่รวมบุตรบุญธรรม ประมาณ 2 ใน 5 ของจ�ำนวนที่รับได้ทั้งหมด 3. บุตรหลานของทรัพยากรบุคคลทางการศึกษา ได้แก่ บุตรหลานของบุคคลที่มีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมหรือสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียน คณะศึกษาศาสตร์หรือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อย่างต่อเนือ่ ง มีทศั นคติทดี่ ตี อ่ การศึกษาของโรงเรียนตามข้อมูลทีโ่ รงเรียนมีอยู่ ประมาณ 1 ใน 5 ของจ�ำนวน ที่รับได้ทั้งหมด ดังนั้นผู้ปกครองเองอาจจะต้องพิจารณาในส่วนดังกล่าวนี้ประกอบ นอกจากการเตรียมในด้านของ วิชาการและความพร้อมของเด็ก
ข้อแนะน�ำในการใช้หนังสือ หนังสือ “ติวภาษาไทยให้ลูก สอบเข้า ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก” เล่มนี้ จัดท�ำขึน้ เพือ่ ให้ผปู้ กครองและครูใช้เตรียมความพร้อมให้เด็กก่อนสอบเข้าชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 หรือใช้สำ� หรับ เสริมความพร้อมในขณะเรียนอยู่ชั้นอนุบาล เพื่อให้บุตรหลานของท่านมีความพร้อมเมื่อจะสอบเข้า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ท�ำให้เข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้อย่างรวดเร็ว วิชาภาษาไทยถือเป็นรากฐานของคนไทย ปฐมบทของการเรียนรู้ภาษาไทยอยู่ที่วัยอนุบาล การใช้ ภาษาไทยในระดับอนุบาลเป็นการปลูกฝังในระดับพื้นฐาน เริ่มตั้งแต่การหัดอ่าน หัดเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การประสมค�ำ มาตราตัวสะกด เป็นต้น หากเด็กได้รบั การฝึกฝนการอ่าน การเขียนอย่างสม�ำ่ เสมอ ย่อมส่งผลให้เด็กใช้ภาษาไทยได้อย่างคล่องแคล่ว เป็นการเตรียมความพร้อมไปสู่การต่อยอดการเรียน วิชาอื่นๆ ต่อไป การเตรียมความพร้อมด้านวิชาภาษาไทยเพื่อเตรียมตัวสอบเข้าโรงเรียนสาธิตนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญ เด็กจ�ำเป็นต้องอ่านออกเขียนได้ และสามารถสรุปใจความส�ำคัญของเรื่องที่ฟังได้ วิชาภาษาไทยจึงถือเป็น หัวใจส�ำคัญของการสอบเข้าสาธิตอีกวิชาหนึง่ สิง่ ส�ำคัญคือผูป้ กครองควรให้เด็กหมัน่ ฝึกฝนการฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างสม�่ำเสมอ ไม่ควรยัดเยียดการเรียนในช่วงเวลาที่จ�ำกัด เพราะจะไม่เกิดประโยชน์ และท�ำให้ เด็กมีความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ดตี อ่ การเรียนวิชาภาษาไทย อีกทัง้ ยังท�ำให้เด็กเกิดความเบือ่ หน่าย ควรฝึกท�ำแบบฝึกหัด วันละ 1-2 หน้า แบบค่อยเป็นค่อยไป จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด เพราะจะท�ำให้เกิดการจดจ�ำ และเข้าใจได้ เป็นอย่างดี ซึ่งถือเป็นหลักส�ำคัญของการเรียนรู้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นคู่มือและเป็นเพื่อนในการเตรียมความพร้อมของ ผู้ปกครองและครู เพื่อเตรียมความพร้อมบุตรหลานของท่านให้ก้าวไปสู่ความส�ำเร็จในวันข้างหน้าต่อไป
แบบฝึกหัดชุดที่ 1
เรียนรู้พยัญชนะไทย ก-ฮ
ค�ำสั่ง : ให้ฝึกอ่านพยัญชนะทั้ง 44 ตัว
12
ก ไก่
ข ไข่
ฃ ขวด
ค ควาย
ฅ คน
ฆ ระฆัง
ง งู
จ จาน
ฉ ฉิ่ง
ช ช้าง
ซ โซ่
ฌ เฌอ
ญ หญิง
ฎ ชฎา
ฏ ปฏัก
ฐ ฐาน
ฑ มณโฑ
ฒ ผู้เฒ่า
ณ เณร
ด เด็ก
ต เต่า
ถ ถุง
ท ทหาร
ธ ธง
น หนู
บ ใบไม้
ป ปลา
ผ ผึ้ง
ฝ ฝา
พ พาน
ฟ ฟัน
ภ ส�ำเภา
ม ม้า
ย ยักษ์
ร เรือ
ล ลิง
ว แหวน
ศ ศาลา
ษ ฤๅษี
ส เสือ
ห หีบ
ฬ จุฬา
อ อ่าง
ฮ นกฮูก 13
แบบฝึกหัดชุดที่ 2
เรียนรู้พยัญชนะไทย ก-ฮ
ค�ำสั่ง : ให้วงกลมล้อมรอบพยัญชนะที่สัมพันธ์กับภาพที่ก�ำหนดให้
1.
2.
3.
4.
5.
14
6.
7.
8.
9.
10.
15
เฉลยแบบฝึกหัด แบบฝึกหัดชุดที่ 2 1. ค 5. ภ 9. บ
แบบฝึกหัดชุดที่ 8
2. ป 6. ศ 10. น
3. จ 7. ง
4. ฟ 8. ฉ
แบบฝึกหัดชุดที่ 3 1. ค 5. ง 9. ค
2. ข 6. ค 10. ข
ข จ ฎ ด บ ภ ศ ฮ
ฃ ฉ ฏ ต ป ม ษ
3. ง 7. ข
4. ก 8. ก
2. ฐ 6. ท 10. ย
ค ช ฐ ถ ผ ย ส
ฅ ซ ฑ ท ฝ ร ห
ฆ ฌ ฒ ธ พ ล ฬ
3. อ 7. ค
4. ป 8. ศ
3. จ 7. ญ
4. ข 8. ฌ
แบบฝึกหัดชุดที่ 6 1. ค 5. ก 9. ฉ
2. ง 6. ซ 10. ช
3. ษ 7. ฬ
4. ภ 8. ห
1. ข 5. ก 9. ข
2. ก 6. ค 10. ค
3. ค 7. ข
4. ข 8. ข
3. ค 7. ง
4. ข 8. ข
3. จ 7. ฌ
4. ก 8. ฉ
3. ก 7. ฉ
4. ข 8. ฌ
3. ข 7. ญ
4. ค 8. ฉ
แบบฝึกหัดชุดที่ 10
แบบฝึกหัดชุดที่ 5 1. ฌ 5. ภ 9. ก
2. ฉ 6. ญ 10. ฑ
แบบฝึกหัดชุดที่ 9
แบบฝึกหัดชุดที่ 4 ก ง ญ ณ น ฟ ว อ
1. ฆ 5. ฒ 9. ภ
1. ก 5. ค 9. ค
2. ง 6. ก 10. ง
แบบฝึกหัดชุดที่ 11 1. ค 5. ข 9. ญ
2. ง 6. ซ 10. ช
แบบฝึกหัดชุดที่ 12 1. ง 5. ค 9. ญ
2. จ 6. ซ 10. ช
แบบฝึกหัดชุดที่ 14 1. จ 5. ก 9. ซ
2. ง 6. ช 10. ฌ
167
แบบฝึกหัดชุดที่ 15
แบบฝึกหัดชุดที่ 20
1. เอียะ 2. เอาะ 3. แอ 4. โอะ 5. โอ 6. เออ 7. เอีย 8. ออ 9. เออะ 10. เอือะ 11. อัวะ 12. เอือ
ยึด สึก ดึก ตึง
แบบฝึกหัดชุดที่ 16 แบบฝึกหัดชุดที่ 19
สระอะ
ค�ำสั่ง : ให้ขีด X ทับค�ำที่ประสมด้วยสระอะ
จึง บึก ปึก ดึง
นึก ตึก คึก ผึง
แบบฝึกหัดชุดที่ 21 แบบฝึกหัดชุดที่ 24
จะ
กา
ไป
นก
สะ
ปะ
อัว
นี
เลีย
มะระ
ปะทะ
เปีย
ล่ะ
นะ
ให้
ทุ่ง
ของ
เลข
กม ้
ระยะ
ลึก ฝึก ขึง ซึง
สระ อือ
ค�ำสั่ง : ให้ O ล้อมรอบค�ำที่ประสมด้วยสระอือ
หนังสือ
สะดือ
กระปุก
กิ้งกือ
ดินสอ
สิงโต
จ�ำปี
รื้อของ
กระปุก
โต๊ะเรียน
มือถือ
นักเรียน
กระบือ
ก�ำไล
ข่ำวลือ
พำยเรือ
ต�ำลึง
ผักดอง
41
แบบฝึกหัดชุดที่ 17 แบบฝึกหัดชุดที 20
สระ อำ 43
คำสงั : ใหระบายสแีดงในชองของคาทปีระสมดวยสระอา
มะลิ
มาลา
บวั
แกว
กา
ฟา
มะมวง
กบ
ไป
รวม
นา
อาสา
ภาษา
สี
ตม
อบ
ฟรี
ของดี
ปากกา
ละคร
ไวใจ
ทาง
ลำไย
ใบไม
แบบฝึกหัดชุดที่ 22 1. 4. 7. 10. 13. 16.
39
แบบฝึกหัดชุดที่ 18 แบบฝึกหัดชุดที่ 21
กุ้ง กระดุม รุ้ง ถุงมือ น�้ำพุ วิทยุ
2. 5. 8. 11. 14. 17.
ถุงเท้า ทุเรียน ผักบุ้ง กระปุก หุ่นยนต์ สมุด
3. 6. 9. 12. 15. 18.
มังคุด ถุง กุญแจ ลุง องุ่น ขลุ่ย
สระ อิ
ค�ำสั่ง : ให้ขีด X ทับค�ำที่ประสมด้วยสระอิ
ซิ
ติ
กิ๊ก ปัง สา
กัน ตัว
ได้ กิจ
บิด
1. ค 5. ก 9. ช
น้อง
นิด
โก๊ะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 23
ดี
ว่า
ฟัน
น้อง
168
4. ข 8. ฉ
3. เปะ 7. เอะ
4. เละ 8. เกะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 24
แบบฝึกหัดชุดที่ 19 2. ดี 6. ทีวี 10. ชี
3. จ 7. ฌ
จิต
40
1. มี 5. สี 9. ที
2. ง 6. ญ 10. ซ
3. ปี 7. ผี
4. ตี 8. อี
1. เตะ 5. เฟะ 9. เถะ
2. เสะ 6. เงะ 10. เขะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 25 1. เก 5. เร 9. เปล
2. เท 6. เซ 10. เจ
แบบฝึกหัดชุดที่ 32 3. เจ 7. เล
4. เว 8. เย
2. แซะ 6. แตะ 10. แยะ
3. แกะ 7. และ
4. แงะ 8. แทะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 27 1. 4. 7. 10.
ตุ๊กแก 2. แตงกวา 5. ลูกแมว 8. ดอกแค 11.
แพ แว่นตา แก้วน�้ำ แยม
3. 6. 9. 12.
แมงมุม แม่น�้ำ แตงโม แปรงฟัน
แบบฝึกหัดชุดที่ 28 1. ง 5. จ 9. ญ
2. ค 6. ช 10. ฌ
3. ข 7. ซ
4. ก 8. ฉ
แบบฝึกหัดชุดที่ 29 1. ข 5. ค 9. ฉ
2. ง 6. ช 10. ฌ
3. จ 7. ซ
4. ก 8. ญ
แบบฝึกหัดชุดที่ 30 1. ค 5. ง 9. ซ
2. จ 6. ฉ 10. ฌ
3. ก 7. ช
4. ข 8. ญ
แบบฝึกหัดชุดที่ 31 ปีจอ สะตอ
สีซอ
2. เงอะงะ 3. เลอะเทอะ 5. เจอะเจอ 6. เยอะแยะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 33
แบบฝึกหัดชุดที่ 26 1. แคะ 5. แพะ 9. แปะ
1. หนาเตอะ 4. เหนอะหนะ
1. เสมอ
2. ระเหย 3. ละเมอ 4. เหม่อ
แบบฝึกหัดชุดที่ 34 1. เกียะ 2. เขียะ 5. เชียะ 6. เซียะ 9. เลียะ 10. เสียะ
3. เคียะ 7. เผียะ
4. เจียะ 8. เมียะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 35 เกีย เวีย
เลีย เจีย
เสีย เปีย
เมีย
เบีย
แบบฝึกหัดชุดที่ 36 1. เฉือะ 2. เปือะ 5. เมือะ 6. เสือะ 9. เฟือะ 10. เขือะ
3. เกือะ 7. เทือะ
4. เลือะ 8. เยือะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 37 1. เขือ 5. เผือ 9. เถือ
2. เจือ 6. เมือ 10. เกือ
3. เทือ 7. เสือ 11. เรือ
4. เบือ 8. เวือ 12. เพือ
3. ปัวะ 7. วัวะ
4. จัวะ 8. บัวะ
3. หัว 7. ทัว
4. จัว 8. งัว
แบบฝึกหัดชุดที่ 38 1. ยัวะ 5. ลัวะ 9. กัวะ
2. ผัวะ 6. สัวะ 10. ฉัวะ
แบบฝึกหัดชุดที่ 39 รีรอ
วอแว
1. ลัว 5. ตัว 9. ขัว
2. บัว 6. มัว 10. กัว
169
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส ห้ามน�ำส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียนแบบ ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือน�ำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายต่างๆ ไม่ว่าจะในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทางส�ำนักพิมพ์เท่านั้น ชื่อผลิตภัณฑ์และเครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่อ้างถึงเป็นของบริษัทนั้นๆ
คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : ชิดพงษ์ กวีวรวุฒิ ผู้เขียน : มิ่งขวัญ ลิรุจประภากร ออกแบบปก : ชนิกานต์ กิตติปฎิมาคุณ ออกแบบรูปเล่ม : เบญจมาศ จุลวัฒนะ ภาพประกอบ : นิธชิ ญาภาวิ์ ลือสิงหนาท , วณิชยา ตันเจริญลาภ พิสูจน์อักษร : ชนาภัทร พรายมี, ชุตมิ า สาตร์รา้ ย ประสานงานสื่อสิ่งพิมพ์ : ชนาภัทร พรายมี ฝ่ายการตลาด : วราลี สิทธิจินดาวงศ์ พิมพ์ที่ : บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา เสริม พูนพนิช
จัดพิมพ์โดย
จัดจ�ำหน่ายโดย
ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส 213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ์ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787 www.MISbook.com
บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) 1858/87-90 ชั้น 19 อาคารทีซีไอเอฟ ทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ : 0-2739-8000 โทรสาร : 0-2739-8609 www.se-ed.com
หากหนังสือเล่มนี้ผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาทิ หน้ากระดาษสลับกัน หน้าซ�้ำ หน้าขาดหาย ส�ำนักพิมพ์ยินดีรับผิดชอบเปลี่ยนให้ใหม่ โดยส่งมาเปลี่ยนตามที่อยู่ด้านบน หรือติดต่อส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ)
“กรณีต้องการสั่งซื้อจ�ำนวนมาก กรุณาติดต่อฝ่ายการตลาด ส�ำนักพิมพ์เอ็มไอเอส โทรศัพท์ 0-2294-8777 เพื่อรับส่วนลดพิเศษ”
¨ §
¡ ¤
เสริมสรางความมั่นใจกอนถึงวันสอบจริง à¾Õ§ÁÕ˹ѧÊ×Í 3 à‹ﰆÁ¹Õé ¡çÊﰇºà¢ŒÒ ». 1
ä´Œ§‹ÒÂæ
ติวภาษาไทยใหลกู สอบเข า ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก
เตรียมลูกรักใหพรอมกอนลงสูสนามสอบจริง ดวยแบบฝกหัดที่หลากหลาย ครอบคลุมทักษะดานตางๆ ที่จำเปนและตองรู สำหรับทบทวนและทำความเขาใจ ใหคลองแคลวและแมนยำ
ผลิตโดย สำนักพิมพเอ็มไอเอส
213/3 ซอยพัฒนาการ 1 (สาธุประดิษฐ 34 แยก 6) แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-8777 (สายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-2294-8787
www.MISbook.com
1
2 9 4 8 7 7
7 3 6 4 3 1
ราคา 150 บาท
คูมือเตรียมสอบ
150.-
ท ไ า ย ษ ใ า หล กู ภ ิต ว สอบเข า ป. 1 โรงเรี ย นสาธิ ต และโรงเรียนในเครือคาทอลิก
¢¤
¨
§
เตรียมความพรอมกอนลงสูสนามสอบจริงของนักเรียนระดับอนุบาลที่ตองการ สอบคัดเลือกเขาเรียนตอชั้น ป. 1 โรงเรียนสาธิตและโรงเรียนในเครือคาทอลิก
4 ÊÕÊ´ãÊ ¶Ù¡ã¨à´ç¡æ
150 บาท
ราคา
¢
½ƒ¡·ÓÇѹÅÐ˹ŒÒ¡çÊͺࢌÒÊҸԵ䴌