สารจากคณบดี รายงานประจําปี 2553 ของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้ แสดงให้เห็นถึงผลการดําเนินงานและความเจริญก้าวหน้าของคณะ ฯ ในรอบปี ที่ ผ่ า นมา โดยได้รวบรวมข้อมูลและกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะ ฯ ซึ่งได้ดําเนิงานตามภารกิจหลักทั้ง 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ด้ า นการบริ ก ารวิ ช าการสู่ สั ง คม ด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและด้านบริหารจัดการ ดังเนือ้ หาต่าง ๆ ในรายงานประจํ า ปี นี้ รายงานนี้สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการของคณะ ฯ ได้มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการเป็น คณะวิชาที่ได้มาตราฐานในระดับชั้น นําและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และยังได้มีการ สนับสนุนและพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรและนิ สิ ต ของคณะ ฯ โดยการ นําเสนอผลงานทางวิชาการและแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิช าการทั้ ง ภายในและภายนอก สถาบันเป็นประจําและอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ มี ส่ วนร่ วมในการ ปรับเปลี่ยนทิศทางของคณะ ฯ ไปสู่การเป็นคณะวิชาในระดับชั้น นํ า และเป็ น ที่ ย อมรั บ ใน ระดับสากลต่อไป คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศาสตร์หวังเป็นอย่า งยิ่ ง ว่ า รายงานผลการ ดําเนินงานปี 2553 นี้ จะเป็นประโยชน์ในการนําไปพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานและเป็ น แนวทางการปฎิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมายของคณะ ฯ ทั้งนีก้ ารดําเนิ น งานได้ สํ า เร็ จ ลุ ลวงด้วยดีต้องขอขอบคุณหน่วยงานต่าง ๆ บุคลากรและนิ สิ ต คณะ ฯ ตลอดจนชุ ม ชน หน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ได้ให้ความร่วมมือ ในการพั ฒ นา คณะ ฯ ให้เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนตลอดไป
(ดร.อนุสรณ์ คุณานุสรณ์) คณบดีคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ 45 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
สารบัญ
ประวัติการก่อตั้งคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย การผลิตบัณฑิต การเรียนการสอน หลักสูตร/สาขาวิชา การประเมินผลการเรียนการสอน โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนการเรียนการสอนและ กิจกรรมเสริมหลักสูตรการพัฒนานิสิต ระบบอาจารย์ทปี่ รึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การเงินและงบประมาณ การบริหารจัดการ การประกันคุณภาพการศึกษาและการจัดการความรู้ ภาพรวมกิจกรรม
44 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
หน้า 1 2 2 6 8 12 13 17 18 20 22 24 26 31 43
ประวัติการก่อตั้งคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ตามที่มหาวิทยาลัยนเรศวรตระหนักถึงความสําคัญของการกระจายโอกาส ทางการศึกษา และความเสมอภาคทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้ กั บ ประชาชน อย่างทั่วถึงและได้เสนอจัดตั้งวิทยาเขตสารสนเทศพะเยาขึ้ น ซึ่ ง คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ พิจารณาเห็นชอบ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2538 ในคราวประชุมวันที่ 8 ตุลาคม 2539 มีมติให้ใช้ชื่อว่า วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา โดยเริ่มแรกได้ขอความร่วมมือกับ โรงเรียน พะเยาพิทยาคมในการใช้ห้องเรียนเป็นการชั่ วคราวและเริ่มจัดการเรียนการเรียนการ สอนในปี 2538 เป็นต้นมา ปีแรกจัดการเรียนการสอนในระบบไตรภาคสาขาวิชาการ จัดการธุรกิจ ปีต่อ ๆ มาเป็นสาขาวิชาการบัญชี เมื่อได้มีการย้ายสถานที่ทําการจาก โรงเรียนพะเยาพิทยาคมมาอยู่ที่ ตําบลแม่กา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ซึ่งห่างจาก จังหวัดพะเยา 17-18 กิโลเมตร ในปี 2542 เริ่มมีการรับนิสิตภาคปกติในสาขาวิชาการ จัดการธุรกิจและสาขาวิชาการบัญชีควบคู่กับระบบไตรภาค โดยเริ่มแรกสั ง กั ด กลุ่ ม ศิลปศาสตร์ ต่อมาในวันที่ 28 มีนาคม 2547 ตามคําสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา ที่ 040/2546 แยกกลุ่มออกมาจากกลุ่มศิลปศาสตร์ใช้ชื่อว่า "กลุ่ ม วิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์" และในวันที่ 1 ตุลาคม 2547 ได้รับการเปลีย่ น ชื่อใหม่เป็น "สํานักวิชาวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ " โดยมีการจัดการเรียน การสอน 4 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการ ประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว ปัจจุบัน "สํานักวิชาวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ " เปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น "คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ " และดําเนินการจัดการเรียนการ สอน 7 สาขาวิชา 1 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
วิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มี อั ก ษรย่ อ คื อ “วจก” และมี ชื่ อ ภาษาอังกฤษว่า “School of Management and Information Sciences” หรือ “MIS” สีของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
สีฟ้า (blue sky) รหัสสี 82CAFF (RGB 153 204 255)
วิสัยทัศน์ (Vision) “ คณะแห่งการเรี ยนรู้เพื่อทรัพยากรมนุ ษย์ ที่มีคุ ณภาพ ” พันธกิจ (Mission) มุ่งพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างบัณฑิตที่มีคุณค่า สร้างเครือข่ายทาง วิชาการ ผลิตงานวิจัยที่ตอบสนองต่อสังคมและศีลธรรม โดยประกอบไปด้วยพันธกิจ ต่าง ๆ ดังนี้
เป้าหมาย (Goal) เป้าหมายที่ 1 เป็นคณะที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและบัณ ฑิ ต ศึ ก ษากลุ่ ม สาขาวิชาสังคมศาสตร์ในหลักสูตรทางด้าน บริหารธุรกิจ บัญชี เศรษฐศาสตร์ นิ เ ทศ ศาสตร์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม และ อุตสาหกรรมบริการ เป้าหมายที่ 2 เป็นคณะที่มีระบบบริหารจัดการที่มีความคล่องตัวและมีประสิทธิ ภ าพตาม แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
2 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
เป้าหมายที่ 3 เป็นคณะที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล มีความ รอบรู้ทางทฤษฎี และมีทักษะการปฏิบัติงานวิชาชีพในสาขาของตนเองได้ตามมาตรฐาน วิชาชีพกําหนด นําไปสู่ความเป็นเลิศทางภาษาต่างประเทศ และความทันสมัยในด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งต้องเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ด้วย มุ่งเน้นการประกันคุณภาพการศึกษา โดยตั้งเป้าหมายบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ ดังนี้ 1. เป็นผู้มีความเพียร ความอดทน มีความซื่อ สั ต ย์ ต่ อ ตนเองและต่ อ สั ง คม มี คุณธรรม จริยธรรม บูรณาการทั้งร่างกาย จิดใจและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ 2. เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวเข้ากับคนและสังคมได้ เป็นอย่างดี มีความเอื้ อ อาทรต่อเพื่อนมนุษย์ มีความเสียสละ ตลอดจนอุดมการณ์ต่อส่วนรวม 3. เป็นผู้รอบรู้วิชาการ เชี่ยวชาญวิชาชีพในสาขาวิชานั้น ๆ ตลอดจนคิดเป็น ทํา เป็น แก้ไขปัญหาเป็นและมีความมุ่งมั่นที่จะแสวงหาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง 4. เป็นผู้มีความรู้และทักษะภาษาต่างประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและด้าน การบริหารจัดการ เป้าหมายที่ 4 เป็นคณะที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ โดยการเชื่อ มโยง องค์ความรู้สู่ชุมชนและท้องถิ่นเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้นําไปสู่การพัฒนาให้ เ กิ ด การแข่งขันที่ยั่งยืนในประชาคมโลก เป้าหมายที่ 5 เป็นคณะที่มุ่งส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาวิจัย มุ่ ง สร้ า งผู้ นํ า ทางการวิ จั ย ภายใต้ความร่วมมือกับสถาบันที่มีชื่อเสี ย งทั้ ง ในและต่ า งประเทศ โดยจั ด สรรทุ น สนับสนุนการวิจัยเพิ่มเติมจากแหล่งทุนอื่น เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ได้ทํางานวิจัยอย่าง ทั่วถึงและให้นําไปสู่การตีพิมพ์ในวารสารระดับประเทศและระดับนานาชาติได้ด้วย 3 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
เป้าหมายที่ 6 เป็นคณะที่มุ่งเน้นการจัดหาและพัฒนาบุคลากรทั้ ง สายวิ ช าการและสาย สนับสนุนตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการอุดมศึกษากําหนดโดยตั้งเป้าหมายด้ า นคุ ณ วุ ฒิ ของอาจารย์ระดับปริญญาโท : ปริญญาเอก = 50 : 50 ภายในปี 2562 เพือ่ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถทางวิชาการของบุคลากรให้นําไปสู่การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เป้าหมายที่ 7 เป็นคณะที่ให้ความสําคัญทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษาโดยจะต้อง ดําเนินการประกันคุณภาพของทุกหน่วยงานอย่างต่อเนื่องและจะต้องกําหนดมาตรการ ในการประกันคุณภาพให้เป็นภารกิจของบุคลากรทุกคนของคณะ เป้าหมายที่ 8 เป็นคณะที่มุ่งเน้นการกระจายโอกาสและการสร้ า งความเสมอภาคทาง การศึกษาโดยจะให้โอกาสนักเรียนในเขตภาคเหนือตอนบนเข้าศึกษาในระดับปริญญา ตรีไม่ต่ํากว่าร้อยละ 70 และจัดสรรเงินทุนการศึกษาให้นิสิตระดับปริญญาตรีไม่ตา่ํ กว่า ร้อยละ 5 ต่อปี เป้าหมายที่ 9 เป็นคณะที่มุ่งส่งเสริมให้เกิดการบริการวิชาการและการทํานุบํารุงศิลปะและ วัฒนธรรมโดยความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานภายนอกที่มี กําลังแรงงานที่อยู่ในและนอกสถานประกอบการโดยการจัดตั้งศูนย์บริหารขึน้ เพื่ อ ให้ สามารถปฏิบัติภารกิจดังกล่าวให้เป็นรูปธรรม เป้าหมายที่ 10 เป็นคณะที่ต้องมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการพั ฒ นาด้ า นกายภาพเพื่ อ รองรับการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพจึง มีเป้าหมายที่จะดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ 4 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
1. ต้องการจัดหาครุภัณฑ์สํานักงาน ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการสาขาต่าง ๆ 2. ต้องการสนับสนุนให้อาจารย์เข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 3. ต้องทําการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรของคณะทั้งสายวิชาการและ สายบริการอย่างเป็นระบบ 4. ต้องมีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีของทุกหน่วยงานในคณะรวมทั้ง ต้อง ติดตามและประเมินผลทุกรอบปีเพื่อทําการตรวจสอบประสิ ท ธิ ภ าพการ ทํางานและการใช้งบประมาณอย่างสมเหตุสมผล 5. ต้องพัฒนาบุคลากรและพัฒนาระบบงบประมาณ พัสดุ การเงิ น และบั ญ ชี กองทุน โดยเกณฑ์พึงรับพึงจ่ายมีลักษณะ 3 มิติที่เป็นระบบ Electronic ให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ต้องจัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายในคณะ
5 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การผลิตบัณฑิต การเรียนการสอน คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้ กํ า หนดกลยุ ท ธ์ ใ นการ พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิ ต ที่ มี ค วา มรู้ ความสามารถ มี คุ ณ ธรรม จริยธรรม ตามความต้องการของสังคมและประเทศ โดยได้กําหนดนโยบายเกี่ยวกับ การเรียนการสอน ดังนี้ กลยุทธ์
มาตรการ
1. ปรับปรุงหลักสู ต ร 1.1 จั ดใ ห้ มี ก าร พั ฒ น าหลั กสู ตรโ ดยเชิ ญ ผู้ ท ร งคุ ณวุ ฒิ จา ก ให้ตอบสนองความ ต้องการของประเทศ แ ล ะ มี ม า ต ร ฐ า น ระดับนานาชาติ
มหาวิทยาลัยทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งจากสถาบันประกอบการมา ให้ความเห็นและข้ อ เสนอแนะ ให้ บั ณ ฑิ ต ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว สามารถออกปฏิบัติงานได้ทันที 1.2 ส่งเสริมให้มกี ารจัดการเรียนการสอนหลั ก สู ต รคู่ ข นาน โดย ผู้เรียนจะได้รับ 2 ปริญ ญา คื อ ปริ ญ ญาตรี ค วบปริ ญ ญาตรี และ ปริญญาตรีควบปริญญาโท โดยใช้เวลาศึก ษารวมประมาณ 5 ปี 1.3 จัดให้มกี ารแลกเปลี่ยนอาจารย์และนิสิตทั้งในและต่างประเทศ 1.4 จัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา มุ่งเน้นการจัดการเรียน การสอน ระดับปริญญาเอกโดยให้ทุก สาขาจัดการเรียนการสอนระดับ ปริญญาเอกอย่างน้อย 1 สาขาวิชาภายในปี 2557 1.5 การจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีได้กําหนดเป้าหมายที่ จะรับนิสิตระดับปริญญาตรีในปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไปไม่ต่ํากว่าปี ละ 600 คน 1.6 จัดให้มกี ิจกรรมสหกิจศึกษาทั้งในและต่างประเทศโดยจะจั ด ให้ นิสิตปี สุ ด ท้ า ยเข้ า ร่ ว มโครงการไม่ ต่ํ า กว่ า ร้ อ ยละ 20ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ 6 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
กลยุทธ์
มาตรการ
2. กา ร ให้ โ อก า ส 2.1 จัดทําโครงการให้โอกาสกับนักเรียนที่เรียนดี ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า 2.2 สนับสนุนให้มกี ารเปิดหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษามากขึ้น ระดับอุดมศึกษา 3 พัฒนาระบบการ เรี ยน ก า ร ส อ น ใ ห้ บั ณ ฑิ ต มี คุ ณ ภาพที่ พึงประสงค์
3.1 จัดให้มกี ารฝึกอบรมและทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษทั้งอาจารย์ นิสิตและบุคลากรของคณะเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3.2 ส่งเสริมให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของคณะเข้ารับการอบรมเพื่ อ การจัดทําสื่อและตําราทางวิชาการ 3.3 พัฒนาให้เกิดห้องสมุดและห้อง Common Room สําหรับนิสิตของ คณะ 3.4 ปรับปรุงห้องปฏิบัติการพืน้ ฐานและปฏิบัติ ก ารวิ ช าชี พ ในสาขา ต่างๆ ให้ทันสมัย 3.5 จัดให้มกี ารดําเนินกิจกรรมของนิสิตที่มเี นือ้ หาสาระ เพื่ อ ให้ เ กิ ด แนวคิดและพฤติกรรมที่สร้างคุณธรรม จริยธรรม และความเป็น ผู้ นํ า รวมทั้งความเป็นผู้รู้ 3.6 ส่งเสริมการสอดแทรกรายวิชาในหลักสูตรต่าง ๆ หรือการดําเนิน กิจกรรมของนิสิตเพื่อให้เกิดแนวคิดในการทํากิจกรรมต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบมีลักษณะเป็นผู้ประกอบการได้ 3.7 ส่งเสริมให้มกี ารเรียนสอน โดยร่วมมือกับภาคเอกชนและชุมชนใน รูปแบบต่าง ๆ เพื่อการนําไปสู่การเป็นผู้ประกอบการในอนาคต
7 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
หลักสูตร / สาขา การพัฒนาหลักสูตรเป็นส่วนที่มีความสําคัญที่จะทําการพัฒนาวทางวิชาการ มีความทันสมัยและมีความหลากหลาย นอกจากนั้นหลักสูตรจะต้องมีความสอดคล้อง กับความต้องการของท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ และมีมาตรฐานระดับสากล โดยเน้ น ผู้เรียนและกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์มี 7 สาขา 10 หลักสูตร ที่เปิด สอน ซึ่งประกอบด้วย ระดับปริญญาเอก 1. หลักสูต รปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) - สาขาวิ ชาการจั ดการการท่องเที่ยว
ระดับปริญญาโท 1. หลักสูต รหลักสู ตรศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต (ศศ.ม.) - สาขาวิ ชาการจั ดการโรงแรมและการท่องเที่ยว 2. หลักสูต รบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) - สาขาวิ ชาการจั ดการธุร กิจ
ระดับปริญญาตรี 1. หลักสูต รนิเทศศาสตรบัณฑิต (นศ.บ.) - สาขาวิ ชาการประชาสั มพั นธ์ - สาขาวิ ชาการสื่อ สารสื่ อใหม่ 2. หลักสูต รบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ - สาขาวิชาการท่องเที่ยว - สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร
3. หลักสูต รบัญ ชีบัณฑิต (บช.บ.) - สาขาวิ ชาการบั ญชี 4. หลักสู ตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) - สาขาวิ ชาเศรษฐศาสตร์
8 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
จากจํานวนหลักสูตรและสาขาวิชาของคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศ ศาสตร์ได้เปิดการเรียนการสามารถรองรับจํา นวนนิสิตได้ตามนโยบายการขยายโอกาส ทางการศึกษาของมหาวิทยาลัย ทําให้ในปีการศึกษา 2553 มีจํานวนนิสิตรวม ทุกระดับชั้นปีทั้งสิน้ ประมาณ 2,480 คน ดังนี้ ตารางแสดงจานวนนิสติ ทุกระดับชันปี ปีการศึกษา 2553 141 84
61 87
107
76
119
131
99
88 70 66 89
52 55 36 53
76 55 95
46 44 39 48
129 47 60 72
8 6
ชั้น ปี 1
ชั้น ปี 2
ชั้น ปี 3
ชั้น ปี 4
แผนภูมิแสดงจานวนบัญฑิตที่จบการศึกษาคณะวิทยาการจัดการและ สารสนเทศศาสตร์ แยกตามสาขาวิชา รุ่นปีการศึกษา 2552 จานวนบัญฑิต 252 คน สาขาการจัดการุรกิจ
10% 30% 18%
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการท่องเที่ยว 22%
20%
สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ สาขาวิชาเศรษศาสตร์
9 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การประเมินผลภาวะการมีง านท าของบัญฑิตกั บเป้ าหมายที่ก าหนด
สาขาวิชา การจัดการุรกิจ การบัญชี การท่องเที่ยว การประชาสัมพันธ์ เศรษศาสตร์ รวม
มีงานทา
เป้าหมาย
ผลประเมิน
จํานวน ร้อยละ 52 75.36 42 89.36 32 59.26 32 78.05 20 80 178 75.42
70 70 70 70 70 70
5.36 19.36 -10.74 8.05 10 7.52
แผนภูมิ ภาวะการมีงานทาของบัณ ฑิตคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ภาวะการมีงานของบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการุรกิจ 29%
20%
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการท่องเที่ยว 17%
8%
สาขาวิชาการประชาสัมพัน ธ์
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 13%
13%
ยังไม่ไ ด้งาน/อื่น ๆ
10 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การประเมินผลความพึงพอใจของนายจ้างเปรียบเทียบกับเป้าหมายทีก่ าหนด ด้าน 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
มีงานทา S.D 4 0.71 3.71 0.93 3.62 0.52
เป้า ผล หมาย ประเมิน 70 9.96 70 4.13 70 2.35
ร้อยละ 79.96 74.13 72.35
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่ า งบุ ค คล และความรับผิดชอบ
3.88
0.78
77.57
70
7.57
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ สื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ รวม
3.75 4.04 3.82
0.79 0.45 0.8
75 80.72 79.1
70 70 70
5 10.72 19.1
สรุปผลทุนการศึกษา เปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2552 กับ 2553 ปี 2552 2553 รวม
งบประมาณภายใน
งบประมาณภายนอก
จานวน
งบประมาณ
จานวน
งบประมาณ
จานวน
งบประมาณ
114 100 -14 -12.28 %
2,043,000 2,413,500 370,500
16 13 -3
286,000 247,000 -39,000
130 113 -17
2,329,000 2,660,500 331,500
18.13%
-18.75%
-13.63%
-13.07%
14.23%
11 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
รวม
ปัจจุบันคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มีอาจารย์ ทั้งหมด 50 คน จานวนอาจารย์คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
2 4
ปริญญาตรี 1 1 10
6
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
3
2
6
7
1
2
2
1
2
แผนภูมิจจานวนอาจารย์ตามระดับการศึกษา ปรัญญาโท, 36
ปรัญญาเอก, 13
ปรัญญาตรี, 1
การประเมินผลการเรียนการสอน คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มีกระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยได้มีการประเมินผลการเรียนการสอนโดยจัดทําประมวลรายวิชา เพื่อประเมินผลการเรียนการสอน รวมถึงประเมินความพึงพอใจของผู้ เ รี ย นในเรื่ อ ง คุณภาพของผู้สอน โดยการประเมินการสอนออนไลน์และการประเมินสิ่งสนับสนุนการ เรียนรู้ ซึ่งเป็นระบบประเมินของมหาวิทยาลัย และการวิพากษ์ผลการเรียน เพื่อนําผล การวิพากษ์ผลการเรียน ไปปรับปรุงการเรียนการสอนในปีต่อไป 12 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตร การพัฒนานิสิต คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ เปิดโอกาสให้นิสิต ได้ ศึ ก ษาดู งานนอกสถานที่ และลงมือปฏิบัติงานจริงพร้อมกับส่งเสริมให้นิสิตเข้าร่ ว มกั บ ชุ ม ชน เพื่อเป็นการพัฒนาและเพิ่มทักษะในด้า นต่าง ๆ ของนิสิต รวมถึงการติดต่อและสร้า ง ความรวมมือกับองค์กรภายในและภายนอก คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้มุ่งเน้นการพัฒนานิสิตอย่าง เป็นระบบ เพื่อให้มีความพร้อมที่จะก้าวไปสู่วิชาชีพและเพิ่มทักษะในด้านวิชาการ และ ทักษะในการดําเนินซีวิตประจําวัน คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้ จั ด ให้ มี กิ จ กรรมเสริ ม หลักสูตรที่ส่งเสริมทักษะทางด้านวิชาการ โดยการดํ า เนิ น การพั ฒ นานิ สิ ต ในการ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านวิชาการที่ได้รับในแต่ละรายวิชามาเป็นแผนงาน และ การปฏิบัติงานในขั้นตอนของการตําเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการตลาดจําลอง (M Fair : Management Fair) ของนิสิตในสาขาวิชาการจัดการธุรกิจ โดยนิสิตต้ อ งนํ า กระบวนความรู้ในรายวิชาต่าง ๆ มาจัดการเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรม ทั้งทางด้ า น ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางการเงิน การจัดการทางด้ า นการตลาด และการ บริการจัดการตนเอง หรือกิจกรรมสหกรณ์เพื่อการพาณิชย์ของสาขาวิชาการบัญชี ซึง่ มีการจัดตั้งร้านกาแฟอะคัพออฟค็อฟฟี่ (A cup of coffee) ณ อาคารเรียนรวมหลังเก่า และนํารายการการค้าที่เกิดขึน้ ในการดําเนินกิจการร้านค้าดังกล่าวมาบันทึกบัญชีเพือ่ ออกงบการเงินวางระบบเอกสารและการจัดการการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพ เป็นต้น ส่วนกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น นั้ น ทางคณะ วิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ได้มุ่ ง เน้ น ให้ นิ สิ ต สามารถดํ า รงตนให้ เ ป็ น ประโยชน์ต่อสังคมทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ 13 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ชุมชนและประชาชนในจังหวัดพะเยา เช่น โครงการพีอาร์ (PR) พาน้ อ งยิ้ ม ชึ่ ง ดํ า เนิ น กิจกรรมโดยนิสิตสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ โครงการบัญชีสู่ชนบทซึ่งดําเนินกิจกรรม โดยนิสิตสาขาวิชาการบัญชี เป็นต้น ยิ่งไปกว่ า นั้ น ทางส่ ว นงานกิ จ การนิ สิ ต คณะวิ ท ยาการจั ด การและ สารสนเทศศาสตร์ได้กําหนดนโยบายให้มีกิจกรรมเสริ ม หลั ก สู ต รตามโครงการใน แผนงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โดยจะต้อง ดําเนินกิจกรรม (เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนงานการปฏิบัติงาน และสรุ ป ผลการ ดําเนินกิจกรรม) โดยนิสิตทั้งหมด และลดบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการลง เหลือเพียงเป็นผู้ให้คําปรึ ก ษาตามที่ ค วร และแก้ ปั ญ หาเฉพาะหน้ า ที่ เ กิ น ความรู้ ความสามารถของนิสิต ส่วนนโยบายเดิมตามแผนยุ ท ธศาสตร์ ข องคณะวิ ท ยาการ จัดการและสารสนเทศศาสตร์นั้นยังคงใช้ควบคู่ไปกับนโยบายตามโครงการในแผนงาน ตามปีงบประมาณดังกล่าว กิจกรรมโครงการที่ได้มีการดํ า เนิ น กิ จ กรรมในปี การศึ ก ษา 2553 แบ่ ง ออกเป็น 2 กองทุนได้แก่ กิจกรรมเพื่อ การศึกษา
จานวน 29 โครงการ
คิดเป็นร้อยละ 74.36
กิจกรรมทานุบารุงศิล ปวัฒนธรรม
จานวน 10 โครงการ
คิดเป็นร้อยละ 25.64
แผนภาพแสดงกิจกรรมแยกตามหมวดหมู่คิดเป็นร้อยละ กิจกรรมเพื่อการศึกษา 26%
ร้อยละ
กิจกรรมทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม
74%
14 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
กิจกรรมตามโครงการที่มี การดาเนิ นกิจกรรมในปีก ารศึก ษา 2553 รายละเอียดดังนี้
1. กิจกรรมเพือ่ การศึกษา กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
1. KM Workshop ให้ความรู้และทั กษะด้า นการประกั นคุณภาพ การศึกษากับ นิสิ ต 2. งาน Goodbye Senior 3. บริษัททัวร์จํ าลอง Smart Travel 4. การวิจัยในชั้ นเรี ยน สาขาวิชาการบัญชี 5. ธุรกิจจํ าลอง (ร้า นกาแฟ ACUP OF COFFEE) 6. สํา รวจความต้ องการใช้บัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ การเมื องและ การคลัง 7. นิ เทศก์นิ สิต ฝึกงาน 8. การศึ กษาดูงานสาขาการเงิ นและการธนาคาร 9. จัดทํา รายงานประจําปี 10. ประชาสัมพั นธ์สํา นั กวิชาวิทยาการจัด การฯ 11. ทัศ นศึกษาในรายวิชาภูมิภาคศึ กษา (210396) สาขาการ ประชาสัมพั นธ์ 12. KM Workshop เพื่อการพั ฒนาความรู้แ ละทั กษะ ด้า นการ ประกั นคุณภาพการศึ กษาของนิสิ ต (ส่ วนติด ตามผล) 13. ศึ กษาระบบจองตั๋วเครื่องบิน Amadeus 14. การศึ กษาดูง านของนิ สิต สาขาวิชาการท่ องเที่ยว ปีการศึกษา 2/2552 15. ทัศ นศึ กษาในรายวิชาภูมิภาคศึกษา (210396) นิ สิต สาขาวิชา การท่ องเที่ยว รหั ส 50 16. ศึ กษาดูงานในรายวิชา ประเด็นปัญหาทางการบัญชี (222434) ของนิสิ ต สาขาวิชาการบัญชี รหัส 50 17. การศึ กษาดูง านนอกสถานที่ของนิสิ ตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 18. ราตรีสํา เภาเทาแสด 19. กี ฬาม้าขาวสัมพั นธ์
น.ส.อั กษราภัค หลักทอง
15 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
นายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ น.ส.นิ รมล พรมนิล นายอัค คพนธ์ ปู่เกตุแก้ ว นายจุมภฎ สนิทธางกูร ดร.สุภา จันทรกูล , น.ส.อั ญชลี ภูอิทธิวงศ์ นายเรืองรอง สุวรรณ์ การ ดร.สิทธิชัย ลีวิ วัฒ น์วงค์ น.ส.ณปภา สุวรรณรงค์ น.ส.ณปภา สุวรรณรงค์ น.ส.นิ ตยา บุญชุ่ม น.ส.อั กษราภัค หลักทอง น.ส.นิ รมล พรมนิล น.ส.นิ รมล พรมนิล น.ส.นิ รมล พรมนิล นายวีระพงษ์ กิ ติวงค์ น.ส.อั ญชลี ภูอิทธิวงศ์ นายอัค คพนธ์ ปู่เกตุแก้ ว นายจุมภฎ สนิทธางกูร
กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
20. ประเมินแผนยุทธศาสตร์และการจั ดทําแผนปฏิบัติก าร ปีงบประมาณ 2554 21. อบรมเพิ่ม ศักยภาพอาจารย์และนั กวิจั ย 22. การตรวจติ ด ตามและการประกั นคุณภาพภายในสํ านั กวิช า 23. อบรมพัฒ นาคุ ณธรรมและจริ ยธรรมสําหรับ นักธุ รกิจ 24. การศึ กษาดูงานของนิ สิ ตสาขาวิชาการท่องเที่ย ว ปีการศึ กษา 1/2553 25. อบรมนิ สิต ด้า นธุร การ และพั สดุ 26. เลือ กตั้งคณะกรรมการสโมสรนิ สิต 27. PR พาน้องยิม้ ตอน "สวัส ดีวั นเด็ก " 28. การจัด อบรมหลั กสู ตรมัคคุเทศก์ทั่ วไป (ต่างประเทศ) รุ่ นที่ 7/2553 29. MIS Science Fair ครั้งที่ 1
ดร.สุภา จันทรกูล ดร.สุภา จันทรกูล ,ดร. ประกอบศิ ริ ภัก ดีพิ นิจ น.ส.อั กษราภัค หลักทอง ดร.สุ นทร คล้ายอ่ํ า น.ส.นิ รมล พรมนิล ดร.สุภา จันทรกูล นายจุมภฎ สนิทธางกูร น.ส.วิ วัน สุขเจริ ญ นางจารุว รรณ โปษยานนท์ รองหัวหน้า สํานั ก วิชาฯ
2. กิจกรรมทานุศลิ ปวัฒนธรรม กิจกรรม
ผู้รับผิดชอบ
1. สืบ สานวัฒ นธรรมล้า นนา เซาะฮีด ตามฮอยเวียงพะเยา 2. แสดงความยิน ดีและต้อ นรับบั ณฑิตใหม่ 3. ทําบุญและเลี้ ยงสัง สรรค์สํา นัก วิชาวิท ยาการจั ดการฯ 4. รณรงค์ก ารแต่งกาย 5. บัญชีสู่ชนบท (ปีที่ 2) 6. ปฐมนิเทศนิสิ ตสํ านั กวิช าวิทยาการจัด การฯ 7. ถวายเทียนพรรษา 8. ไหว้ครูสํ านั กวิชาวิทยาการจัด การฯ 9. ทําบุญสาขาวิช าการบัญชีแ ละร้ านกาแฟ A CUP OF COFFEE 10. ไหว้ครูส าขาวิช าการบัญชี 11. ประชุมเชียร์และต้ อนรับน้ องใหม่ ปี 2553 12. วันมัค คุเทศก์ ปี 2553 16 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
นางจารุว รรณ โปษยานนท์ นายจุมภฎ สนิทธางกูร ดร.สุภา จันทรกูล นายจุมภฎ สนิทธางกูร นายอัค คพนธ์ ปู่เกตุแก้ ว นายจุมภฎ สนิทธางกูร นายจุมภฎ สนิทธางกูร นายจุมภฎ สนิทธางกูร นายดัส สัน เสมอเชื้ อ นายอัค คพนธ์ ปู่เกตุแก้ ว นายจุมภฎ สนิทธางกูร น.ส.นิ รมล พรมนิล
ระบบอาจารย์ทปี่ รึกษา คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ยังคงตระหนักถึงบทบาท และ หน้าที่อันเข้มแข็งของอาจารย์ที่ปรึกษาตามแนวนโยบายการบริหารตามปีที่ผ่าน ๆ มา และเพื่อเป็นการสร้างบทบาทเหล่านั้นให้เข้มแข็งมากขึน้ จึงได้มีการกําหนดให้อาจารย์ ที่ปรึกษาแต่ละท่านจะต้องมีชั่วโมงการทํางาน (Office Hour) เพื่อให้นิสิตในที่ ป รึ ก ษา สามารถเข้าพบและรับคําแนะนําอย่างน้อย 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และชั่วโมงการทํางาน นั้นจะต้องเป็นช่วงเวลาที่นิสิตในที่ปรึกษาว่างจากภาระการเรี ย นตามตารางที่ ง าน ทะเบียนและประมวลผลเป็นผู้กําหนด แต่หากอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษามี ภ าระงาน นิ สิ ต สามารถนัดพบอาจารย์ที่ปรึกษาในช่วงเวลาอื่นเพิ่มเติมได้ ทั้งนีเ้ พื่อ ให้ นิ สิ ต สามารถ พัฒนาเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
17 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การวิจัย คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้กําหนดกลยุทธ์ในการพัฒนา ผลงานและผลิตผลงานวิจยั ในทุกสาขาวิชา เพื่อสามารถนําไปสนับสนุนการเรียนการ สอน และเสริมสร้างความเข้มแข็งความยั่งยืนด้านการวิจยั และได้ดําเนินงานตามพันธ กิจที่ กําหนดไว้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนวิสยั ทัศน์ในการเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่ง เน้น การวิจัยอย่างแท้จริงโคยกําหนดนโยบายเกี่ยวกับด้านการวิจยั ดังนี้ กลยุทธ์
มาตรการ
1. ส่ ง เสริ ม ก ารวิ จั ย และพัฒนาเพื่ อ สร้ า ง พืน้ ฐานทางด้านวิ ท ยา ศาสตร์และเทคโนโลยี
1.1 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนให้ สนับสนุน หรือร่วมทําการวิจัยกับอาจารย์ของคณะ 1.2 สนับสนุนให้บุคลากรของคณะเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาด้านการทํ า R&D กับภาคเอกชน 1.3 สนับสนุนให้มกี ารจัดประชุมทางวิชาการระดับ ชาติ เพื่ อ เสนอ ผลงานวิจัยในประเทศ 1.4 จัดทําแผนพัฒนางานวิจัย โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยที่นํ า ไปสู่ การปฏิบัติได้จริง เป็นการวิจัยที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน หรือชุมชนต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาชุมชนและสิ่งแวดล้อม 1.5 สร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับสถาบันอื่นซึ่งเป็นที่ยอมรับทั้ง ในและต่างประเทศ และจัดให้มโี ครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์เพื่อการ วิจัย
2. สนับสนุนให้นิสิตได้ ทําวิจัย
2.1 กําหนดให้มกี ารเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโท-เอกที่เน้นการ วิจัย 2.2 จัดทํารางวัลเชิดชูเกียรติให้กับผลงานดีเด่นของนิสิต
18 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
สานักวิชาวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มีผลงานการวิจัย ในปีงบประมาณ 2552 ดังนี้ ลาดับ
1 2 3 4
1 2 3
โครงการที่ดาเนินการ
งบประมาณ
ทุนวิจัยภายนอก การศึกษาศักยภาพทางการท่องเที่ยวเพื่อกําหนด แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองภูซางอย่าง ยังยืน การสํารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น การพัฒนาความมั่นคงของกองทุนสวัสดิการ ชุมชนจังหวัดพะเยา การพัฒนาแนวทางการจัดการโรงสีชุมชน ตําบล ทุ่งรวงทองแบบมีส่วนร่วม อําเภอจุน จังหวัด พะเยา รวม เงินรายได้ ความสัมพันธ์ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกที่ มี ผ ล ต่อกลุ่มดัชนีตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย การบริหารอั ต ลั ก ษณ์ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร พะเยา พฤติ ก รรมการอ่ า นของนิ สิ ต ระดั บ ป.ตรี ม. นเรศวร พะเยา รวม รวมทั้งสิ้น
19 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
280,500 538,000 481,800 100,000
หัวหน้า โครงการ
ดร.ประกอบศิริ ภักดีพินิจ ดร.ประกอบศิริ ภักดีพินิจ น.ส.ภัทรา บุรารักษ์ นายสุนทร คล้ายอ่ํา
1,400,300 น.ส.ปาณิสรา โภชนจันทร์ ดร.วารัชต์ 82,500 มัธยมบุรุษ ดร.พรพรรณ 35,000 จันทร์แดง 157,500 1,557,800 40,000
การบริการทางวิชาการ การบริการทางวิชาการสูส่ ังคม คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ต้องการที่จะร่วมพัฒนาชุมชน โดยบูรณาการความรู้ นําทรัพยากรและความเชี่ยวชาญที่มีมาพัฒนาต่อยอดการเรียนรู้ ร่วมกับชุมชน โดยบริการตอบสนองความต้องการของชุมชน โดยมีนโยบายในด้านการ บริการวิชาการสู่สังคม ดังนี้ นโยบาย
มาตรการ
1. สนับสนุ น การให้ บ ริ ก ารวิ ช าการแก่ 1.1 สนับสนุนให้อาจารย์ บุคลากรและนิสิต ได้ ชุ ม ชน ใ นด้ า นวิ ท ยา ก าร จั ดก า รแ ล ะ ปฏิ บั ติ ง า นบริ ก าร วิ ช ากา รแก่ ชุ ม ช นในเข ต สารสนเทศศาสตร์ ภาคเหนือ 1.2 จัดให้มกี ารบริการด้านการฝึก อบรม โดย ร่ ว ม กั บ ห น่ ว ยง า น ภา ยใ น แ ล ะ ภ า ยน อ ก มหาวิทยาลัย 1.3 จัดตั้งศูนย์บริการทางธุรกิจด้านการจัดการ ธุรกิจ บัญชี และนิเทศศาสตร์ ต ลอดทั้ ง สร้ า ง ความร่วมมื อ กั บ หน่ ว ยงานภาคเอกชนและ ภาครัฐ 2. สนับสนุนให้คณะวิทยาการจัดการและ 2.1 จัดให้มกี ารรวบรวมฐานข้ อ มู ล ทางด้ า น สารสนเทศศาสตร์เป็นแหล่งฐานข้อมูลของ เศรษฐกิจและสังคม จังหวัด 2.2 จัดให้มกี ารเผยแพร่ฐานข้อมูลและนํา มาจั ด กิจกรรมให้บริการทางวิชาการ
20 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้จัด ตั้ ง ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและบริการชุมชนขึน้ เพื่อให้งานด้านการบริการวิชาการสู่ สังคมดําเนินงานได้อย่างสม่ําเสมอ ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์หลายรูปแบบ โดยในปี ที่ ผ่ า น มา คณะฯ ได้จัดโครงการบริการวิชาการขึน้ 3 โครงการ ได้แก่ ลาดับ
ชื่อโครงการ
งบประมาณ
1 2
อบรมเพิ่มศักยภาพอาจารย์และนักวิจัย อบรมพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับนักธุรกิจ การจัดอบรมหลัก สู ต รมั ค คุ เ ทศก์ ทั่ ว ไป (ต่ า งประเทศ) รุ่ น ที่ 7/2553 บัญชีสู่ชนบท (ปีที่ 2) รวม
20,000 -
3 4
21 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
10,000 30,000
การทานุบารุงศิลปวั ฒนธรรม คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้ดําเนินงานด้ า นทํ า นุ บํ า รุ ง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นล้านนา และพัฒนาบทบาทการเป็นผูน้ าํ ในด้านการทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีตามหลักวิชาการที่ถูกต้อง โดยมีนโยบายในด้าน การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ดังนี้ นโยบาย
มาตรการ
1. สนับสนุนการดําเนิ น กิ จ กรรมอนุ รั ก ษ์ 1.1 จัดตั้งคณะกรรมการปฏิบัติภารกิจ ด้านการ ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนภู มิ ปั ญ ญาของ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ชาติ 1.2 จัดกิจกรรม MIS Fair 1.3 จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ทางด้านศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของชาติ 1.4 จั ด ให้ ค ณะวิ ท ยาการจั ด การฯ มี ส่ ว น ร่วมกับชุมชนในด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 1.5 จัดให้มกี ารนําผลการวิ จั ย มาพั ฒ นาด้ า น ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น 2. สนับสนุนกิจกรรมเพื่อให้นิสิต อาจารย์ 2.1ส่งเสริมให้มกี ิจกรรมด้านวัฒนธรรมร่ ว มกั น และบุคลากร รักษาดํารงไว้ซึ่งวั ฒ นธรรม ระหว่างนิสิตอาจารย์ และบุคลากรในระดับคณะ และอารยธรรมทางศาสนา ชุมชนและท้องถิ่นคุณธรรมและจริยธรรม 2.2 จั ดให้ มี กิ จ กร รมด้ านจริ ย ธ รรม แล ะ คุณธรรมร่วมกันระหว่ า งนิ สิ ต อาจารย์ และ บุคลากรในระดับคณะ เพื่ อ ดํ า เนิ น กิ จ กรรมที่ ปลูกฝังทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
22 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ จั ด กิจกรรมรองรับด้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง โดยกํา หนดโครงการไว้ ในแผนปฏิบัติการประจําปีของคณะฯ และยังบูรณาการงานด้านนีใ้ ห้เข้ากับงานด้านอืน่ ๆ อีกด้วย โดยได้จัดโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมขึน้ 12 โครงการ ได้แก่ ลาดับ 1 2 3 4 5
ชื่อโครงการ สืบสานวัฒนธรรมล้านนา เซาะฮีตตามฮอยเวียงพะเยา รณรงค์การแต่งกาย ถวายเทียนพรรษา ไหว้ครู คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ไหว้ครู สาขาวิชาการบัญชี
รวม
งบประมาณ 25,000 3,000 3,000 3,000 -
34,000
23 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การเงินและงบประมาณ คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ดําเนินการเบิกจ่ายงบประมาณ ในปีงบประมาณ 2553 (วันที่ 1 ตุลาคม 2552 – วันที่ 30 กันยายน 2553) จํ า นวน 1,564,542 บาท แบ่งเป็น 3 ส่วน ตอนที่ 1 รายจ่ายจริงจาแนกตามแหล่งที่มาของเงิน ส่วนที่ 1 เบิกจ่ายจากส่วนกลาง เป็นค่าจ้างชั่วคราว ค่าอาหารทําการนอก เวลา ค่าตอบแทนการสอนและค่าใช้จ่ายเดินทางของอาจารย์พิเศษ และวิทยากร เป็น เงินทั้งสิน้ 499,292 บาท (ร้อยละ 31.91%) ส่วนที่ 2 เงิน Block grant สําหรับเป็นค่าศึกษาดูงานของบุคลากรของคณะฯ ค่าซ่อมแซมและวัสดุการศึกษา จํานวน 644,350 บาท (ร้อยละ41.18) ส่วนที่ 3 เงินโครงการในแผนปฏิบัติการ จํานวน 420,900 บาท (ร้ อ ยละ 26.90) จําแนกเป็น 1. กองทุนเพื่อการศึกษาและกองทุนบริการวิชาการ 354,100 บาท 2. กองทุนทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 66,800 บาท ตอนที่ 2 รายจ่ายจริงจาแนกตามงบต่าง ๆ 1. งบบุคลากร จํานวน 226,560บาท (ร้ อ ยละ 14.48 ของรายจ่ า ยจริ ง ทั้งหมด) 2. งบดําเนินงาน จํานวน 917,082 บาท (ร้อยละ 58.62) 3. งบเงินอุดหนุน จํานวน 420,900 บาท (ร้อยละ 26.90)
24 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ตารางที่ 1 รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ 2553 รายการ
จานวนเงิน
ร้อยละ
ค่าจ้างชั่วคราว 226,560 14.48 ค่าตอบแทน 135,000 8.63 - อาหารทําการนอกเวลา 11,400 - ค่าตอบแทนการสอน 123,600 ค่าใช้สอย 577,732 36.93 - ค่าศึกษาดูงานของบุคลากร 440,000 - ค่าเดินทางและที่พักของอาจารย์พิเศษและวิทยากร 137,732 ค่าซ่อมแซมและวัสดุการศึกษา 204350 13.06 โครงการแผนปฏิบัติการ 420,900 26.90 - กองทุนเพื่อการศึกษาและกองทุนบริการวิชาการ 354,100 - กองทุนทํา นุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม 66,800 รวมทั้งสิ้น 1,564,542 100 หมายเหตุ ไม่นับเงินจากหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย เช่น โครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก
ตอนที่ 3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวนิสิต ปีงบประมาณ 2553 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ได้รบั งบประมาณจากมหาวิทยาลัยนพะเยาและทําการเบิกจ่ายจริงเมื่อเฉลีย่ ต่อหัวนิสิต เท่ากับ 922.08 บาท ตารางที่ 2 ค่าใช้จ่ายต่อหัวคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ รายจ่ายประจา โครงการแผนปฏิบัติการ 1,099,292 415,000 หมายเหตุ ไม่รวมเงินเดือนของอาจารย์และพนักงาน
รวมทั้งสิ้น 1,514,292
25 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ค่าใช้จ่ายต่ อหัวนิสิต 922.08
การบริหารและจัดการ คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาระบบ บริหารภายในอย่างเป็นระบบ เน้นการมีส่วนร่ว มในการบริ หารจั ด การ ก่ อ ให้ เ กิ ด สัมฤทธิ์ผลด้านต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยมี รายละเอีย ดใน ด้านการบริหารและจัดการดังนี้ โครงสร้างคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
26 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
โครงสร้างบริหารคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ดร.อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ คณบดี
ดร.สุภา จันทรกูล รองคณบดีฝ่า ยบริหาร
ดร.ภัทรา บุรารักษ์ รองคณบดีฝ่า ยวิชาการ
งานธุรการ
งานบริการการศึ กษา
- นางนงคราญ วังมูล - น.ส.เยาวลักษณ์ ศรีพ รหม
- น.ส.ธิภาภรณ์ เงินเย็น - น.ส.วิจติ รา เทพละออ - นายณภัทร รวมสุข - นายอาทิตย์ บุญกว้าง
งานการเงินและพัส ดุ - น.ส.จารุวรรณ เขตขันหล้า - นายวรชาติ หลอเต่ า
งานนโยบายและแผน - นายเชาวรัตน์ ทุนร่องช้าง - น.ส.กรนิภา สุวรรณศักดิ์
27 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ดร.สุนทร คล้ายอ่า รองคณบดีฝ่า ยกิจการ นิสิต งานกิจการนิสิต - นายกฤตธัช อนุสสรราชกิจ
หัวหน้าสาขาวิชา
หัวหน้าสาขาวิชา การจัดการธุรกิจ ดร.สุจ ิตรา วสุวัต
หัวหน้าสาขาวิชา การบัญชี อ.ปัณฑิตา จาดศรี
หัวหน้าสาขาวิชา การประชาสัมพันธ์ อ.ณปภา สุวรรณรงค์
หัวหน้าสาขาวิชา การท่องเที่ยว ดร.วารัชต์ มัธ ยมบุรุษ
หัวหน้าสาขาวิชา เศรษฐศาสตร์
หัวหน้าสาขาวิชา การเงินและการธนาคาร
อ.เรืองรอง สุวรรณ์การ
ดร. สิทธิชัย ลีวิวัฒน์วงศ์
หัวหน้าสาขาวิชา สารสนเทศเพื่อการสื่อสาร อ.ศุภโชค โปษยานนท์
28 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ได้มุ่งดําเนินงานตามนโยบาย พันธกิจและเป้าหมายของมหาวิทยาลัย โดยมีนโยบายเกี่ยวกับการบริหารและจัดการ ดังนี้ กลยุทธ์ มาตรการ 1 . มุ่ ง เ น้ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น อ ย่ า ง มี 1.1 จัดทําโครงสร้างการแบ่ ง ส่ ว นงานภายใน ประสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะให้เหมาะสมกับพันธกิจที่รั บ ผิ ด ชอบโดยมี การจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน 1.2 จั ด ทํ า กรอบการทํ า งานหรื อ คู่ มื อ การ ปฏิบัติงานในคณะให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร และลดขัน้ ตอนการปฏิบัติ ง านได้ แ ก่ คู่ มื อ ของ คณะ คู่มอื งานนโยบายและแผน คู่มอื งานบุคคล คู่มอื งานการเงินและพัสดุ คู่มอื กิจการนิสิต และ คู่มอื บริการการศึกษา 1.3 จัดโครงการฝึกอบรมหรือสั ม มนาเพิ่ ม พู น ความรู้ความเข้าใจโดยการแสวงหาผู้ เ ชี่ ย วชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ ค วามรู้ กั บ คณาจารย์ แ ละ เจ้าหน้าที่ในด้านต่าง ๆ 1.4 สร้างขวัญและกํ า ลั ง ใจให้ เ กิ ด ขึ้ น ในการ ทํางานกับบุคลากรทุกคน 1.5 มีแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายไตรมาส การติดตามประเมินผลการใช้จ่าย รวมทั้งมีก าร กํ า ห นด แน วท าง กา รจั ด สร รง บป ระ มา ณ มาตรการการเบิกจ่ายงบประมาณต่าง ๆ อย่ า ง รัดกุม 1.6 ส่งเสริมให้บุคลากรมีสุขภาพกายที่แข็ ง แรง สุขภาพจิตที่แข็งแกร่ง เช่น การจัดโครงการ
29 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
กลยุทธ์
มาตรการ การตรวจสุขภาพ เป็นต้นโดยความร่ ว มมื อ กั บ มหาวิทยาลัย 1.7 จัดหากองทุนโดยขอรับการสนั บ สนุ น จาก ภาคเอกชน มูลนิธิและองค์กรต่าง ๆ 1.8 มีการติดตามผลการดําเนินงานและมีระบบ การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน
2. มุ่งพัฒนาสถานที่ สภาพแวดล้ อ ม คณะ 2.1 ปรับปรุงป้ายชื่อ ป้ายประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ห้องทํางานให้เหมาะสมสวยงามน่าอยู่ ต่าง ๆ 2.2 จั ดห้ อ งป ฏิ บั ติ ก าร ตาม function ขอ ง สาขาวิชาต่าง ๆ
คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ได้จัดทําแผนบริหารทรัพยากร บุคคลซึ่งระบุไว้ในแผนปฏิบัติการประจําปีของคณะฯ รวมถึงมีระบบและกลไกในการ บริหารทรัพยากรบุคคล ที่เป็นการส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน เช่น การสรรหา การจัดวางคน ลงตําแหน่ง การกําหนดเส้นทางเดินของตําแหน่ง การสนับสนุนเข้าร่วม ประชุม ฝึกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน มาตรการสร้างขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่ มีคุณภาพ
30 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษาและการจัดการความรู้ คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ตระหนักถึงระบบและกลไกใน การประกันคุณภาพเป็นปัจจัยสําคัญที่แสดงถึงศักยภาพในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ สถาบัน ทั้งปัจจัยนําเข้ากระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบที่เกิดขึน้ จึงได้กําหนดนโยบาย ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาและการจัดการความรู้ มหาวิ ท ยาลั ย พะเยาได้ กําหนดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให้ทุกหน่วยงานได้ใช้ร่ว มกั น และทาง คณะฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการงานประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อรองรับการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในคณะฯ และได้มีการดําเนินงานด้านประกันคุณภาพทีค่ รบถ้วน ทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผลคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องเป็นประจํา และนําผลการประเมินคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน ทั้งในส่วนของอาจารย์และนิสิต โดยคณะฯ ได้ส่งคณะกรรมการสโมสรของคณะเข้ า ร่วมโครงการอบรมประกันคุณภาพการศึกษาอีกด้วย การประเมินคุณภาพของคณะวิ ท ยาการจั ด การและสารสนเทศศาสตร์ ตามองค์ประกอบคุณภาพเฉพาะตัวบ่งชีข้ อง สกอ. ดังนี้ ประเภทสถาบัน เน้นวิจัย เน้นพัฒนาสังคม เน้นพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม เน้นเฉพาะผลิตบัณฑิต
31 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
องค์ประกอบคุณ ภาพ
องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วั ตถุประสงค์ และ แผนดําเนิน การ องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒ นานิ สิต นักศึ กษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิ ลปวัฒ นธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 การประกั นคุณ ภาพและการพั ฒนา องค์กร เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ของทุกองค์ป ระกอบ
32 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
คะแนนการ ประเมิน ตนเอง (ตามเกณฑ์ สกอ.)
คะแนนการ ประเมิน ตรวจสอบ (ตามเกณฑ์ สกอ.)
2.50
2.00
1.75 1.50 1.20 2.00 3.00 0.89 0.00
1.75 3.00 1.20 2.25 3.00 1.33 3.00
3.00
3.00
1.53
1.87
การประเมินผลการให้บริการหน่วยงานปีงบประมาณ 2553 เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน/ตัวชี้วัด
หน่วย การให้บริการหน่วยงาน หมายเหตุ นับ ค่าเป้าหมาย ผลดาเนินงาน
1. เพื่อผลิตกํา ลังคนที่มีคุณภาพตามความต้องการ 1.1 ตัวชีว้ ัด เชิงปริมาณ : ผู้สํา เร็จการศึก ษาที่ได้งานทํา ตรงสาขา 1.2 ตัวชีว้ ัด คุณภาพ : ความพึงพอใจของนายจ้า งที่มีต่อผู้สํา เร็จการศึก ษา 1.3 ตัวชีว้ ัด เชิงเวลา : ผู้สํา เร็จการศึก ษาที่ได้งานทํา ศึก ษาต่อหรื vประกอบอาชีพอิสระภา ยใน ระยะเวลา 1 ปี 2. เพื่อบริก ารวิชาการแก่หน่วยงาน/ประชาชนในชุมชนและสังคม ให้ความรู้ความสามารถในการ พัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มศัก ยภาพในการแข่งขัน ของประเทศ 2.1 ตัวชีว้ ัด เชิงปริมาณ : ผู้เข้า รับบริก ารนํา ความรู้ไปใช้ 2.2 ตัวชีว้ ัด เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผู้รับบริก าร/หน่วยงาน/องค์ก รที่รับบริก ารวิชาการ และวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริก าร 3. เพื่อวิจัยและพัฒนารวมทั้งถ่า ยทอดความรู้และสร้า งนวัต กรรมที่นํา ไปสู่ก ารพัฒนาเศรษฐกิ จ และสังคมของท้องถิ่นและประเทศ 3.1 ตัวชีว้ ัด เชิงปริมาณ : จํา นวนวิจัยและงานสร้า งสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ระดับชาติ 3.2 ตัวชีว้ ัด คุณภาพ : จํา นวนบทความวิจัยที่ไ ด้ รั บ ก า ร อ้ า งอิ ง ใน วา ร ส า ร วิ ช า ก า ร หรื อ ใน ฐานข้อมูล ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 4. เพื่อปลูก ฝังให้นิสิต นัก ศึก ษา ชุมชน และสังคมอนุรัก ษ์ เผยแพร่และทํา นุบํา รุงศิลปวัฒนธรรม 4.1 ตัวชีว้ ัด เชิงปริมาณ : จํา นวนผลงานที่มีก ารเผยแพร่ด้า นทํา นุบํา รุงศิลปวัฒนธรรม 4.2 ตัวชีว้ ัด เชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของผู้เข้า ร่วมโครงการต่อประโยชน์ของการทํา นุบํา รุ ง
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
70 70 70
75.42 79.1 75.42
เกินเป้า หมาย เกินเป้า หมาย เกินเป้า หมาย
ร้อยละ ร้อยละ
70 70
68.76 78.88
ต่ํา กว่าเป้า หมาย เกินเป้า หมาย
เรื่อง เรื่อง
1 1
1 1
ตามเป้า หมาย ตามเป้า หมาย
โครงการ ร้อยละ
10 70
12 79.66
เกินเป้า หมาย เกินเป้า หมาย
33 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
การติดตามและประเมินผลแผนยุทธศาสตร์และแผนการดาเนินงาน คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ 1. การผลิต บัณฑิต
กลยุทธ์
มาตรการ
KPI
แผนดาเนินงานปี 2553
1.1 พั ฒ นาหลั ก สู ต ร จั ด ใ ห้ มี ก า ร พั ฒ น า 1. ร้อยละของหลักสู ต ร กํ า ห นดห ลั ก สู ตร ที่ แล ะ แ ผ น ก า ร ส ร้ า ง หลักสูตรและแผนการ ทีไ่ ด้รับการพัฒนา ต้องพัฒนาใหม่ หลักสูตรใหม่ สร้างหลักสูตรใหม่ของ สํานักวิชาให้สอดคล้อ ง กั บ ก รอ บมา ตร ฐา น คุ ณ วุ ฒิ ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ าแ ห่ ง ช าติ มุ่ ง สู่ ความเป็นสากล
ผลการดาเนินงาน 1. หลัก สู ต รของพะเยาที่ ส ร้ า งขึ้ น มี 1 หลักสูตรและครบกํ า หนด 5 ปี ซึ่ ง ต้ อ ง เตรียมการปรับปรุงและพั ฒ นาใหม่ คื อ บริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการเงินและ การธนาคารในปี 2554 2. หลั ก สู ต รเก่ า ซึ่ ง เป็ น หลั ก สู ต รของ มหาวิทยาลัยนเรศวรและพะเยานํ า มา จัดการเรียนการสอนจํานวน 6 สาขาวิ ช า คื อ การจั ด การธุ ร กิ จ การบั ญ ชี การ ประชาสัมพั น ธ์ การท่ อ งเที่ ย ว เศรษฐ ศาสตร์และ สารสนเทศเพื่ อ การสื่ อ สาร (การพัฒนาหลักสูตรเก่ า ดํ า เนิ น การโดย มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก) \
2.กระบวนการจั ด ทํ า วิเคราะห์อัต รากํ า ลั ง 1. อัตราตามเป้ารั บ จะต้ อ งเพิ่ ม จํ า นวน แผนหลักสูตรใหม่ แ ละ สายวิชาการตามเป้ า อาจารย์จํานวน 22 อัตรา 34 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
อั ต ร า กํ า ลั ง ส า ย เป้าและอัตรากํ า ลั ง ที่ วิชาการ ปฏิบัติงานจริง
ประเด็น ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
มาตรการ
KPI
แผนดาเนินงานปี 2553
2. จํานวนนิสิต ที่ รั บ จริ ง บางสาขาวิ ช า น้อยกว่าเป้ารับแต่บางสาขาวิชาเกินกว่า
ผลการดาเนินงาน เป้ า รั บ แต่ ใ น ภาพรว มแล้ ว ต้ องเพิ่ ม อาจารย์ประมาณ 16 อัตรา
35 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
1.2 พัฒ นากระบวน จัดให้มีโครงการพัฒนา จํานวนโครงการพัฒนา โครงการพั ฒ นาการ กา รเ รี ย น กา รส อ น การเรียนการสอน ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เรียนการสอน กิ จ กรรม เสริ ม หลั ก อย่างน้อย 1 โครงการ สูตรเพื่อ ให้ บั ณ ฑิ ต มี คุ ณ ภาพต ามมาต ร ฐาน มคอ. จัดให้มีกิจกรรมเสริ ม หลักสูตร
จํานวนกิจกรรม /โครง กา ร เ สริ ม ห ลั ก สู ต ร อย่างน้อย 1 โครงการ 1.3 สนับ สนุ น ปั จ จั ย จัดหาห้อ งปฏิ บั ติ ก าร จํานวนห้องปฏิบัติ ทางโครงสร้างพืน้ ฐาน เฉพาะสาขา การอย่างน้ อ ย 1 ห้ อ ง ทรัพยากรการเรี ย นรู้ ต่อ 1 สาขาวิชา และเทคโนโลยี ส าร สนเทศ
ประเด็น ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
โครงการเสริ ม หลั ก 1. ธุรกิจจําลอง สูตร 2. บริษัททัวร์จําลอง วิเคราะห์ความต้อง การใช้ห้องเรียนเพื่อ จัดหาห้องปฏิบัติการ เฉพาะทางของสาขา วิชา
1. ได้แ ผนความต้ อ งการใช้ ห้ อ งเรี ย น ห้องปฏิบัติการเฉพาะทาง 2. แผนผังห้อง
ได้แผนประมาณการความต้องการที่นั่ง อาจารย์
จัดหาที่นั่งอาจารย์ให้ เพียงพอ
จํานวนที่นั่งอาจารย์
วิเคราะห์ความ ต้องการที่นั่งอาจารย์
มาตรการ
KPI
แผนดาเนินงานปี 2553
จัดหาคอมพิวเตอร์ สําหรับบุคลากร
จํานวนคอมพิวเตอร์ สําหรับบุค ลากรเพิ่ม
1. โครงการศึกษาระบบจองตั๋วเครื่องบิ น Amadeus 2. โครงการศึกษาดูงาน/ ภู มิ ภ าคศึ ก ษา ของสาขาวิชการท่องเที่ยว ประชาสัมพันธ์ เศรษฐศาสตร์ การบัญชี การเงินและการ ธนาคาร
ทําแผนความต้องการ คอมพิวเตอร์ปี 2553-
36 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ผลการดาเนินงาน ได้แผนความต้องการคอมพิวเตอร์
1.4 สร้ า งเครื อ ข่ า ย ความร่วมมือทางการ ศึกษาระหว่ า งสถาน ปร ะ ก อ บก า ร แ ล ะ หน่วยงานภายนอกทั้ง ภาครัฐและภาคเอก ชนในท้ อ งถิ่ น ระดั บ ชาติและระดั บ นานา ชาติ
ขึน้ ตามเกณฑ์ที่กําหนด จั ด ใ ห้ มี เค รื อ ข่ า ย จํานวนความร่ ว มมื อ คว าม ร่ ว มมื อท า ง ทางการศึกษาระหว่ า ง การศึกษา สถานประกอบการและ หน่วยงานภายนอกอื่ น ๆ ทุกระดับ
2559 ความร่วมมือของสถาน ประกอบก าร หน่ ว ย งานภาครัฐและเอกชน ในการส่ ง นิ สิ ต เข้ า รั บ การฝึกงาน
จัดให้มีกิจกรรม/โครง การความร่วมมือกับ สถานประกอบการ หรือองค์การต่าง ประเทศ
กิ จ ก รร ม / โค รง กา ร 1. โครงการ MIS Science Fair ครั้งที่ 1 ความร่วมมือกับสถาน 2. PR พาน้องยิม้ ตอนสวัสดีวันเด็ก ป ร ะ ก อ บ ก า ร ห รื อ องค์การต่าง ๆ
จํานวนกิจกรรม /โครง การความร่ ว มมื อ กั บ สถ าน ปร ะ กอ บก า ร หรื อ อ งค์ ก ารต่ าง ๆ อย่างน้อย 1 กิจ กรรม / โครงการ 2. การวิจัยและ 2.1 พัฒนาความเชี่ย ว จั ด ใ ห้ มี โ ค ร ง ก า ร จํานวนโครงการพัฒนา พัฒนา ชาญของนักวิจัย พัฒนานักวิจัย นั ก วิ จั ย อ ย่ า งน้ อ ย 1 โครงการต่อปี 2.2 การเผยแพร่ ผ ล สนั บ ส นุ นก า ร เ ผ ย จํ า นวนผลงานวิ จั ย ที่ ได้รับการเผยแพร่ ปี ล ะ 1 งานด้านการวิจัย แพร่ผลงานวิจัย
จํานวนโครงการพัฒนา โครงการเ พิ่ ม ศั ก ยภาพ อาจารย์ แ ล ะ นักวิจัย นักวิจัย ผลงานวิจัยที่ได้รับ การ The Potentiality of Community Tourism Interpretation : RongHai Community, เผยแพร่
เรื่อง
ประเด็น ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
มาตรการ
นิสิตฝึ ก งานสถานราชการและเอกชน จํานวน 145 แห่ง หน่วยงานภาครัฐบาล 64 แห่ง หน่วยงานภาคเอกชน 81 แห่ง
Phayao Province
KPI
แผนดาเนินงานปี 2553
37 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ผลการดาเนินงาน
2.3 จัดให้มีเครือข่าย ความร่วมมือด้านการ วิจัย 2.4 จัดหาแหล่งทุน ทั้งภายในและ ภายนอก 3. ก าร บ ริ ก า ร 3 . 1 มี ร ะ บ บ ส า ร วิชาการ สนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น ง า น ด้ า น บ ริ ก า ร วิชาการและวิจัย 3.2 สร้างเครือข่าย และการรวมกลุ่มเพื่อ การถ่ายทอดความรู้
จํานวนผลงานวิจัยที่ ผลงานวิจัยที่ร่วมมือ ร่วมมือกับภายในและ กับภายในและหรือ หรือภายนอกประเทศ ภายนอกประเทศปีละ 1 เรื่อง จํานวนทุนวิจัยที่ได้รับ จํานวนทุนวิจัยอย่าง น้อย 1 ทุนต่อปี
จั ด ให้ มี ระ บ บส า ร สนเทศเพื่อ สนั บ สนุ น ง า น ด้ า น บ ริ ก า ร วิชาการและวิจัย จัดให้มีการสร้างเครือ ข่ายความร่วมมือทาง วิชการกับชุมชนและ หน่วยงานภายนอก 3.3 จัดตั้งศูนย์บริการ จั ด ให้ มี ศู น ย์ บ ริ ก าร ทาง ธุ ร กิ จ เ พื่ อ เป็ น ทางธุรกิจ หน่วยงานรองรั บ การ บริการวิชาการในเขต
ระบบสารสนเทศเพื่ อ ส นั บ ส นุ น ง า น ด้ า น บ ริ ก า ร แ ล ะ วิ จั ย 1 ระบบ จํานวนเครือข่ายความ ร่วมมือด้านวิชาการ เพื่อการถ่ายทอดอย่าง น้อย 1 เครือข่าย จํานวนศูนย์บริการทาง ธุรกิจ 1 ศูนย์
ผลงานวิจัยที่ร่วมมือ กับภายในหรือ ภายนอกประเทศ
โครงการสํารวจความพึงพอใจของ ผู้รับบริการองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตําบล)
จํานวนทุนวิจัย
ทุนภายในประเทศจํานวน 5 ทุน คือ 1. งบประมาณรายได้ 3 โครงการ 2. สกว. 1 โครงการ 3.อบต. 1 โครงการ
ไม่มีแผนดํ า เนิ น การปี 2553
ไม่มแี ผนดําเนินการปี 2553
ไม่มีแผนดํ า เนิ น การปี 2553
38 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ประเด็น ยุทธศาสตร์
กลยุทธ์
KPI
มาตรการ
แผนดาเนินงานปี 2553
ผลการดาเนินงาน
ลุ่มแม่น้ําโขง 3.4. จั ด บริ ก ารวิ ช า สนั บส นุ น ให้ มี ก า ร จํ า น ว น โ ค ร ง ก า ร โ ค ร ง ก า ร บ ริ ก า ร การแก่ชุมชน บริ ก ารวิ ชาก ารแ ก่ บริ ก า ร วิ ชา ก า ร แ ก่ วิชาการแก่ชุมชน ชุมชน ชุ ม ช น อ ย่ าง น้ อ ย 1 โครงการ
4. การทํานุ บํารุงศิลป วัฒนธรรม
ประเด็น
4.1. ศึ ก ษาวิ จั ย ทาง ด้านศิลปวัฒนธรรม
จัดให้มีโครงการ วิจัย ด้านศิลปวัฒนธรรม
4.2. ส่งเสริ ม การทํ า กิ จ ก ร ร มท า ง ด้ า น ศิลปวัฒนธรรม 4.3. ให้นิสิตและ บุ ค ล า ก ร เ รี ย น รู้ อนุรักษ์แ ละเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม
จัดให้มีกิจกรรมทาง ด้านศิลปวัฒนธรรม
กลยุทธ์
สนับสนุนให้นิสิ ต และ บุ ค ล า ก ร เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ด้ า น ศิลปวัฒนธรรม
มาตรการ
โครงการบริการวิชาการ 2 โครงการ คือ 1. โ คร ง กา ร พั ฒ น าคุ ณ ธร ร มแ ล ะ จริยธรรมสําหรับนักธุรกิจ 2. โคร งการอบ รมมั ค คุ เ ทศก์ ทั่ ว ไ ป (ต่างประเทศ) รุ่นที่ 7/2553 โ ค ร ง ก า ร ด้ า น โ ค ร ง ก า ร ด้ า น โครง การ สื บ ส านวั ฒ นธร รมล้ านน า ศิลปวัฒนธรรม 1 เรื่ อ ง ศิลปวัฒนธรรม เซาะฮีดตามฮอยเวียงพะเยา ต่อปี จํ า น วน กิ จก ร รม ส่ ง โครงการ/กิจกรรมด้า น จํานวน 12.โครงการ/ปี เสริมศิลปวัฒนธรรม / ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมต่อปี จํานวน/กิจกรรม/โครง โครงการของนิสิ ต ร่ ว ม 1.แสดงความยินดีและต้อนรับบัณฑิตใหม่ การของนิ สิ ต ร่ ว มกั บ กับบุค ลากร 2.ถวายเทียนพรรษา บุค ลากร 3.ไหว้ครูสํานักวิชา 4.บําบุญสาขาการบัญชี 5.วันมัค คุเทศก์
KPI
แผนดาเนินงานปี
39 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ผลการดาเนินงาน
ยุทธศาสตร์
2553
5. การบริ ห าร มุ่ ง เ น้ น ก ารบ ริ ห า ร 1. จัดทําโครงสร้ า ง จัดการภายใน งานอย่างมี ป ระสิ ท ธิ กา ร แ บ่ งส่ ว น ง า น ภาพ ภายในสํ า นั ก วิ ช าให้ เหมาะสม 2. จัดทํากรอบภาระ หน้าที่ของรองหัวหน้า สํ า นั ก วิ ช า แ ล ะ คณะกรรมการชุด 3. นํ า ร ะ บ บ ส า ร บรรณอิเล็กทรอนิ ก ส์ มาใช้ 4. ส่งเสริม สนับ สนุ น บุ ค ลา ก รใ ห้ ได้ รั บ ความก้าวหน้าในสาย วิชาชีพ 5 . ส นั บ ส นุ น ใ ห้ อ า จ า ร ย์ ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ระดับสูง
มีโครงสร้ า งการแบ่ ง ส่ ว น ง า น ภ า ย ใ น ใ ห้ สอดคล้องกับพันธกิจ
จัดทํ า โครงสร้ า งการ บริหารงานและการแบ่ง ส่วนงานภายในสํ า นั ก วิชา มีกรอบภาระหน้าที่ของ กํ า หน ดก ร อบ ภา ร ะ รองหัวหน้ า สํ า นั ก วิ ช า หน้าที่ของรองหั ว หน้ า และ คณะกรรมการชุ ด สํ า นั ก วิ ช แ ล ะ ค ณ ะ ต่าง ๆ กรรมการชุดต่าง ๆ มี ร ะ บ บ ส า ร บ ร ร ณ ใช้ ระ บบ ส าร บร ร ณ อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ ใ นการ อิเล็ก ทรอนิ ก ส์ ใ นการ รับรู้ข้อมูลข่าวสาร รับรู้ข้อมูลข่าวสาร จํานวนบุค ลากรได้ รั บ จั ด ส รร งบป ระ มา ณ การอบรมด้ า นวิ ช าชี พ สนับสนุ น ให้ บุ ค ลากร ของตนเอง ได้รับการอบรมในสาย วิชาชีพของตนเอง จํานวนอาจารย์ ไ ด้ รั บ อ า จ า ร ย์ ไ ด้ รั บ ก า ร การศึกษาต่ อ ในระดั บ สนับสนุนในการศึ ก ษา ปริญญาเอกอย่า งน้ อ ย ต่อระดับปริญญาเอก ปีละ 1 คน
40 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
โครงการการบริหารงานและการแบ่งส่ ว น งานของสํานักวิชาวิทยาการจั ด การและ สารสนเทศศาสตร์ หน้ า ที่ ข อ ง รอ ง หั วห น้ าสํ า นั ก แ ล ะ คณะกรรมการชุดต่าง ๆ
ใช้ระบบสารบรรณอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข อง มหาวิทยาลัย ได้จั ด สรรงบประมาณด้ า นการอบรม สําหรั บ อาจารย์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ ร ายละ 11,000 บาท มี อ าจ ารย์ ได้ รั บทุ น ล าศึ ก ษาต่ อจา ก มหาวิทยาลัยในระดับปริญญาเอกจํา นวน 1 ราย (นายศักดิ์ชัย วิชัยศรี)
ภาพรวมกิจกรรม / Activities
41 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
42 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ที่ปรึกษา ดร.อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ คณะบดีคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ดร.สุภา จันทรากูล รองคณบดีฝ่ายบริหารคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ดร.ภัทรา บุรารักษ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ ดร.สุนทร คล้ายอ่า รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิตคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์
ผู้จัดทา นายเชาวรัตน์ ทุนร่องช้าง น.ส.ธิภาภรณ์ เงินเย็น นายกฤตธัช อนุสสรราชกิจ น.ส.กรนิภา สุวรรณศักดิ์ นายณภัทร รวมสุข นางนงคราญ วังมูล น.ส.เยาวลักษณ์ ศรีพรหม น.ส.วิจิตรา เทพละออ น.ส.จารุวรรณ เขตขันหล้า นายวรชาติ หลอเต่า นายอาทิตย์ บุญกว้าง
43 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์