Vol.13 issue
08 09
aug-sep 2016
tech nc ปรั บ กลยุ ท ธ ยกระดับอุตสาหกรรมไทย
vol.13 • issue 08-09 • august-september 2016
ด วยกระบวนการผลิตอัตโนมัติ
สู อุตสาหกรรม 4.0
Published by
P. 30 ‘Thailand 4.0’ กับความหวังปนคลัสเตอรหุนยนตไทย …ฝนเฟองหรือเรื่องจริง
P. 32 จับประเด็น ‘อนาคตยานยนตไฟฟาไทย’ ความหวัง ความจริง และโอกาส
P. 38 เยี่ยมชมโรงงานผลิตเครื่องจักรกลไตหวัน อุนเครื่องกอนงาน TMTS 2016
www.facebook.com/TungaloyCuttingToolThailand
www.tunggaloy.co.th
ISCAR's ISCAR'sWinning WinningEdge EdgeDrilling DrillingInnovations Innovations
op opPrize Prize Winner Winnerfor forLarge Large Diameter DiameterDrilling! Drilling!
Self Self 3333 mm mm
4040 mm mm
Unique UniqueClamping ClampingDesign Design Provides ProvidesExtended ExtendedTool ToolLife Life and andExcellent ExcellentHole HoleQuality! Quality! THE THE ISCAR ISCAR
BIGGER BIGGER THAN THAN EVER! EVER!
Machining MachiningIntelligently Intelligently
ISCAR ISCAR HIGH HIGH Q LINES Q LINES
www.iscar.com www.iscar.com
editor’s note Worldwide Switzerland
Electric ประสานพลัVehicle งขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย กับโอกาสของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ไทย
กำรขับเคลือ่ นกลยุทธ์ตำ่ งๆ ของหน่วยงำนสนับสนุนอุตสำหกรรมภำครัฐ ยิง่ จะเข้มข้นและออกดอกออกผล นโยบายในการผลั กดันให้มีการใช้ รถยนต์ ขับอเคลื ่อนด้วยพลัำงหมำยสร้ งานไฟฟ้ำางกำรเจริ หรือ (Electric Vehicle: EV) ภายใน ทั้งมำตรกำร แนวทำงและนโยบำยต่ ำงๆ เพื่อให้ ุตสำหกรรมเป้ ญเติบโตทำงเศรษฐกิ จตำม ปีควำมมุ พ.ศ. ง่ 2559 โดยรั ฐ บาลภายใต้ ก ารน� า ของพลเอกประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ประกาศอย่ างเป็นทางการ หวังของรัฐบำล โดยอุตสำหกรรมเป้ำหมำยทัง้ 10 กลุม่ อุตสำหกรรม ประกอบด้วย อุตสำหกรรมยำนยนต์ ก็มีการออกมาตรการสนั บสนุน่อนโยบายดั างคึกกส์คัแกละอุ อีกปทักรณ์ ้งเกิดโการรวมกั นของหลากหลายหน่ วยงาน และชิ ้นส่วน อุตสำหกรรมเครื งใช้ไฟฟ้ำงกล่ อิเาล็วอย่ กทรอนิ ทรคมนำคม อุตสำหกรรมปิโตรเคมี ทีและเคมี ่จะสานต่ อ และเชื อ ่ มโยงแนวทางปฏิ บ ต ั เ ิ พื อ ่ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ป จ ั จุ บ น ั ภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อุตสำหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อุตสำหกรรมอำกำศยำน รถยนต์ขบั เคลื อ่ นด้วยพลังอุงานไฟฟ้ าหรือจทรถยนต์ ไฟฟ้านัน้ เป็นเทรนด์ขปองโลกที เ่ ห็นได้อง่ ทอและเครื ย่างชัดเจนจากสถิ อุตสำหกรรมนวั ตกรรมอำหำร ตสำหกรรมดิ ิ ลั อุตสำหกรรมเกษตรแปรรู อุตสำหกรรมสิ อ่ งนุง่ ห่มติ ยอดขายทั ว ่ โลกในปี ค.ศ. 2015 โดยยอดขายรถยนต์ อ ยู ท ่ ่ ี 72 ล้ า นคั น ในจ� า นวนนี ม ้ ส ี ด ั ส่ ว นของรถยนต์ ประเภท และอุตสำหกรรมกำรแพทย์ครบวงจร Hybrid อยู ท ่ ่ ี 5,000,000 คั น และ EV 540,000 คั น ทั ง ้ ยั ง มี แ นวโน้ ม ที เ ่ พิ ม ่ ขึ น ้ อย่ า งต่ อ เนื อ ่ งส� า หรั บ ความนิ โดยล่ำสุดทำงสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) ได้แต่งตัง้ ให้ทำงสถาบันไทย-เยอรมัน เป็นผูย้ กร่ยำมง ในการใช้ รถยนต์ ไฟฟ้ า ซึ่งโจะมี รับอ่ ผลกระทบในวงกว้ าง จึงเป็นทั้งโอกาสในการสร้ งรายได้ ทางธุรม้กิอีจ ำชี และ มำตรฐำนอำชี พคลั สเตอร์ รโบติผกู้ทส์ี่ได้เพื เป็นแนวทำงในกำรทดสอบและรั บรองคุณวุฒวิ ชิ าำชี พบุคลำกรผู พ ผลกระทบด้ า นการปรั บ ตั ว เพื อ ่ การอยู ร ่ อดและการแข่ ง ขั น ด้ำนคลัสเตอร์โรโบติกส์ในประเทศไทย ให้เป็นมำตรฐำนที่ได้รับกำรยอมรับในภำคอุตสำหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ สาหกรรมชิ น้ ส่วนยานยนต์กส์ในประเทศไทยเป็ นกลุม่ อุตสาหกรรมที ม่ สี ผว่ ลบั นส�งาคัคับญเชิอย่ าหรั ภาคการ ฒนำระบบโรโบติ โดยเมือ่ ผ่ำนกระบวนกำรต่ ำงๆ แล้วจะมี งปฏิางยิ บตั ง่ ใิ ส�นช่ วงบ12 เดือน กำรใช้อุงตำนและพั ผลิ ต เพื อ ่ รองรั บ แนวนโยบายดั ง กล่ า ว โดยโจทย์ ท ส ี ่ า � คั ญ ส� า หรั บ การเปลี ย ่ นแปลงครั ง ้ นี ใ ้ นแง่ ม ม ุ ของโอกาสที ก่ า� ลัง ต่อจำกนีไ้ ป จะเกิทำงด้ ดขึ้นำคืนคณะกรรมการส่ อ การพัฒนา หรืงอเสริ ต่อมยอดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส อดรั บ กั บ เทคโนโลยี ร ถยนต์ ไ ฟฟ้ า ทั ง ้ ด้ า นของเทคโนโลยี การลงทุน หรือ บีโอไอ น�ำโดยคุณหิรญ ั ญา สุจนิ ยั เลขาธิการคณะกรรมการ และการพั ฒในาวั า เป็นต้น อย่ถึงาแนวโน้ งไรก็ตมามกำรลงทุ ผู้ประกอบการยั งคงต้อง ส่การผลิ งเสริมตการลงทุ น ได้ ห้ขอ้ ตมูถุลดกัิบบในการประกอบรถยนต์ MM Machine Tools &ไฟฟ้ Metalworking นของอุตสำหกรรม ติเป้ดำตามความเคลื อ ่ นไหวอย่ า งต่ อ เนื อ ่ งส� า หรั บ แนวทางการสนั บ สนุ น ที ช ่ ด ั เจน รวมถึ ง แผนระยะยาว เพื ่อน�าไป หมำยว่ำ บีโอไอมัน่ ใจว่ำกำรขอรับส่งเสริมกำรลงทุนของ 10 กลุม่ อุตสำหกรรมแห่งอนำคต ซึง่ เป็นอุตสำหกรรม สู่การวิเคราะห์แนวทางการขับเคลื่อน เป้ำหมำยของรัฐบำล จะมีมลู ค่ำเงินลงทุนตำมเป้ำหมำย 1 แสนล้ำนบำทส�ำหรับในช่วงครึง่ ปีแรก 2559 MM Machine Tools & Metalworking ฉบับนี้ มีภาพรวมของรถยนต์ไฟฟ้ามาเล่าสู่กันฟัง ในคอลัมน์ โดยในช่วง 4 เดือนแรกของปีนี้ มูลค่ำเงินลงทุนของโครงกำรที่ยื่นขอรับส่งเสริมกำรลงทุนใน 10 กลุ่ม SEE SAW SEEN หน้า 32-35 เรื่อง จับประเด็น ‘อนาคตยานยนต์ไฟฟ้าไทย’ ความหวัง ความจริง และโอกาส อุตสำหกรรมเป้ำหมำย ก็สงู ถึง 7 หมืน่ ล้ำนบำทแล้ว โดยเป็นมูลค่ำรวมของโครงกำรทีย่ นื่ ขอรับส่งเสริม 211 โครงกำร นะคะ ในคอลัมน์ TALK IN’ TREND มาฟังความคิดเห็นของ ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการ ขอรับส่งเสริมในกลุ่มอุตสำหกรรมเป้ำหมำย กระจำยอยู่ในหลำยกลุ่มอุตสำหกรรม เช่น ส�หุำ่นหรั บโครงกำรที ยนต์ ภาคสนาม่ยื่น(FIBO) และคณะอนุกรรมการเร่งรัดนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษคลัสเตอร์หุ่นยนต์ อุทีต่พสำหกรรมยำนยนต์ ละชิน้อสุ่ตวสาหกรรมกั น จ�ำนวน 12 โครงกำรจไทย เงินลงทุ 14,188 ล้4.0’ ำนบำท กิจกำรผลิ ตชิสน้ เตอร์ ส่วน ูดถึงการพัฒนาหุ่นแยนต์ บเศรษฐกิ เรื่อนงรวม‘Thailand กับอำทิ ความหวั งปั้นคลั ยำนพำหนะ เช่ น ชิ ้ น ส่ ว นระบบส่ ง ก� ำ ลั ง ชิ ้ น ส่ ว นระบบเครื ่ อ งยนต์ กิ จ กำรผลิ ต รถปิ ค อั พ ส� ำ หรั บ กำรลงทุ นใน หุ่นยนต์ไทย… ฝันเฟื่องหรือเรื่องจริง หน้า 30-31 อุตสำหกรรมอำกำศยำน 1 โครงกำร เงิ น ลงทุ น 22 ล้ ำ นบำท โดยเป็ น กิ จ กำรผลิ ต ชิ น ้ ส่ ว นชิ น ้ ส่ ว นอุ ป กรณ์ เ ครื อ ่ ส�าหรับ SPECIAL FEATURE หน้า 46-49 โดย อาจารย์สรุ ยิ นั ต์ เทียมเพ็ชร์ เรือ่ ง ‘ความรูส้ กู่ ารปฏิบตั -ิ เครืงใช้ อ่ ง บนเครื ่องบิาน’ ยัเป็งนคงน� ต้นาเสนอแง่มุมที่ควรรู้เกี่ยวกับงานเชื่อมอย่างต่อเนื่อง โดยฉบับนี้ได้กล่าวถึงเครื่องเชื่อม เชื่อมไฟฟ้ ฐของทั วยงำนเป็ ญญำณที ่ดี ที่ชSTUDY ี้ให้เห็นถึงหน้ กำรประสำนพลั ไฟฟ้โครงกำรของภำครั าค่ะ และอีกหนึ่งคอลั มน์ ้งทีสองหน่ ่ไม่ควรพลาด คือนสัคอลั มน์ CASE า 54-55 เรื่องงและกำรเอำจริ ‘ปัญหา DIE…ง เอำจั ง กั บ กำรสนั บ สนุ น อุ ต สำหกรรมอย่ ำ งเต็ ม ที น ่ ะคะ ยั ง คงมี ส ง ่ ิ ดี ๆ ส� ำ หรั บ ผู ป ้ ระกอบกำรอย่ ำ งต่ แก้ไขได้ง่ายดาย’ ซึ่งเป็นการน�าเสนอปัญหาและแนวทางแก้ไขที่มักพบบ่อยเกี่ยวกับแม่พิมพ์นะคะอเนื่อง MM จะเป็นสื่อในกำรส่งข่ำวสำรถึงคุณผู้อ่ำนอย่ำงแข็งขันค่ะ ติดตามเนื้อหาอื่นๆ ที่น่าสนใจภายในเล่มนะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ ติดตำมเนื้อหำต่ำงๆ ที่น่ำสนใจภำยในเล่มนะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้ำค่ะ จิรภัทร ข�าญาติ จิรEditor ภัทร ข�inาญาติ Chief Editor in Chief jirapat.k@greenworldmedia.co.th jirapat.k@greenworldmedia.co.th
(ไทยแลนด์)) จ�จ�ำำกักัดด เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ มีเดีย (ไทยแลนด์ ถนนลำดพร้ำำวว แขวงคลองจั แขวงคลองจั่น่น เขตบำงกะปิ เขตบำงกะปิ 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ 0-2731-1191-4 โทรสำร โทรสำร 0-2769-8043 0-2769-8043 กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com www.mmthailand.com เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, คณะทีป่ รึกษาฝ่ายวิชาการ ภำยใต้ควำมร่วมมือจำก Thai-Germany Technology Promotion Club Verein der ehemaligen Thai-Studenten in Deutshland Unter koeniglicher Schirmherrschaft Schirmherrschaft โดย โดย สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) จินดำ ฮั้งตระกูล Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.)Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) ชูพงษ์ วิรุณหะ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) เจษฎำ ตัณฑเศรษฐี Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วีระพันธ์ รังสีวิจิตรประภำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. นำวำอำกำศตรี ดร.พงศ์พันธ์ แก้ววจิจินนดำ ดำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. พลอำกำศตรี ปัญญำ เชียงอำรีย์ Dipl.-Ing.,Dipl.-Ing., Dipl.-IngDipl.-Ing (FH.) (FH.) นำวำอำกำศเอก ขวัญบุญ จุลเปมะ เปมะ Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ Ph.D Ph.D
8
Machine Tools & Metalworking
กรรมการผู้จัดการ : ผู้บริหารฝ่ายขาย : สุเมธ กิตติธีรพรชัย พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ผู้จัดการทั่วไป : ฝ่ายโฆษณา : ธีระ กิตติธีรพรชัย อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์ วรรณิสำ โสภิณ บรรณาธิการบริหาร : พรเลขำ ปั้นนำค จิรภัทร ข�ำญำติ วรรณลักษณ์าโสสนุ ย : ประสานงานฝ่ ยโฆษณา บรรณาธิการ : ประสานงานฝ่ า ยโฆษณา : วิ ไ ลพร รั ช ชปั ญ ญำ ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ วิไญลพร รัชชปัญญำ บั ชี : กองบรรณาธิการ : บัญฎชีฐวี: แดนค�ำสำร ณั สำวิตรี สินปรุ แดนค� ำสำร : เปมิกำ สมพงษ์ ผูณั้จฎัดฐวี การฝ่ ายการตลาด การฝ่ ทศธิป สูนย์สำทร ภัผู้จทัดรำนิ ษฐ์ายการตลาด เจริญผลจั:นทร์ ภัทรำนิษฐ์: เจริญผลจันทร์ บรรณาธิการศิลปกรรม : การตลาด การตลาด ปริญญ ปรังพันธ์ เฟื ่องลดำ: สำมำรถกุล เฟื งลดำ สำมำรถกุ ล ฝ่ายศิลปกรรม : เว็ป่อมาสเตอร์ : มาสเตอร์เพ็:ชร์จันทร์โท ชุธนวั ติกฒ ำญจน์ ำง จิเว็นปดำพร น์ เชียกฤดำแสงสว่ งโญ อำณั ต เพ่คุง้มพิจัน่ ิจ ปิยะพร พิจินมดำพร พ์ : เพ็ชร์จันทร์โท ปิชุตยิกะพร คุ้มจักฤดำแสงสว่ ่น ำญจน์ ำง บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด พิมพ์ : บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�โทรศั ำกัด พท์ (+66) 2731-1155-60 โทรศัพท์ (+66) 2731-1155-60 โทรสำร 2731-0936 โทรสำร(+66) (+66) 2731-0936
SMM Schweizer Mashchinenmarkt www.smm.ch MSM Le Mensuel de I’industrie www.msm.ch
Austria MM das osterreichische Industriemagazin www.maschinenmarkt.at
Poland MM Magazyn Przemyslowy www.magazynprzemyslowy.pl
Czech.Rep. MM Prumyslove spektrum www.mmspektrum.com
Hungary MM Muszaki Magazin www.mm-online.hu
Ukraine MM Money and Technplog www.mmdt.com.ua
Turkey MM Makina Magazin www.dunyagazetesi.com.tr
Thailand MM Machine Tools & Metalworking www.mmthailand.com
China MM Xiandai Zhizao www.vogel.com.cn
Korea MM Korea www.mmkored.kr
India MMI Modern Manufacturing India www.modernmanufacturing.in
Indonesia MM Indonesien www.mm-industri.com
Germany MM MasdinenMarket www.masdinenmarket.de
Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany TheThe ThaiThai editionedition of the MM Maschinemarkt is a publication of the MM Maschinemarkt is a publication of Green (Thailand) Co.,Ltd.byLicensed of Green WorldWorld Media Media (Thailand) Co.,Ltd. Licensed Vogel by Vogel Business & Co. 97082 Wurzburg/Germany. Business MediaMedia GmbHGmbH & Co. KG., 97082KG., Wurzburg/Germany. Copyright the trademark "MM Maschinemarkt" © Copyright theoftrademark Maschinemarkt” Vogel by Vogel BusinessofMedia GmbH“MM & Co. KG., 97082byWurzburg/Germany. Business Media GmbH & Co. KG., 97082 Wurzburg/Germany. ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฎในนิตยสารมีจ�านวนมากและมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้ สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็นทางนิตยสารจะประกาศเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วน ที่มีการกล่าว อ้างถึงในบทความ หากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้โดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้าเพื่อให้การน�าเสนอบทความกระชับและน่าอ่าน
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็น รูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึกเป็น JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300dpi รายละเอียดโปรดสอบถาม กองบรรณาธิการโดยตรง
การสมัครสมาชิก
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกที่ตีพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุดเพื่อเป็นแบบ ฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8043 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามราย ละเอียดได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 หรืออีเมล marketing@ greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบ ของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�า มาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับการติดต่อกลับ โดย กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่งถ้อยค�าตามความเหมาะสม ท่านสามารถ ติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและการ บริหารธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรม แต่ตอ้ งเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ของผู้อื่นไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสาร จะไม่ต้องรับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับ ผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฎในนิตยสารเล่ม นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็น ของทางบริษัทฯ เสมอไป
LATEST MODEL OKUMA V760R VERTICAL CNC LATHE
contents / august-september 2016
18
p.
COVER STORY TECH NC : Turn Crisis into Chance เสริมศักยภาพการผลิตด้วย Automation
22
p.
p.
MAZAK ชู INTEGREX ตอบโจทย์อุตสาหกรรมการผลิตไทย
12 NEWS & MOVEMENT 28 THE HIGHLIGHT Selected Technology Highlight For New S-Curve In Interplas Thailand 2016
30 TALK IN’ TREND ‘Thailand 4.0’ กับความหวังปั้นคลัสเตอร์หุ่นยนต์ไทย … ฝันเฟื่องหรือเรื่องจริง
36 SPECIAL REPORT ตามติดเทรนด์ ‘โรงงานอุตสาหกรรมยุคใหม่’ ขับเคลื่อนกระบวนการผลิตด้วยหุ่นยนต์
38 PLANT EXPLORE เยี่ยมชมโรงงานผลิตเครื่องจักรกลไต้หวัน อุ่นเครื่องก่อนงาน TMTS 2016 10
32
interview
Machine Tools & Metalworking
SEE SAW SEEN จับประเด็น ‘อนาคตยานยนต์ไฟฟ้าไทย’ ความหวัง ความจริง และโอกาส
54 CASE STUDY
SPECIAL FEATURE
ปัญหา DIE… แก้ไขได้ง่ายดาย
43 MAINTENANCE มิติใหม่ การป้องกันการสึกกร่อน 46 PRODUCTION ความรู้สู่การปฏิบัติ : เครื่องเชื่อมไฟฟ้า 58 PRODUCTION ระบบเครือข่ายอัจฉริยะ เพื่อการจัดการพลังงานจากศูนย์กลาง
56 WHITE PAPER การเลือกใช้ Zinc ส�าหรับการขึ้นรูปโลหะโดยใช้แรงดันสูง
61 S.M.A.R.T. CHOICE
RESEARCH AND DEVELOPMENT 50 การควบคุมกระบวนการเคลือบ ด้วย Hybrid PVD-PECVD ส�าหรับงานอุตสาหกรรม 53 กระบวนการชุบสังกะสีแบบใหม่ ประสิทธิภาพสูง
advertisers index • August - September 2016 •
Company
Page
Tel
E-mail / Website
BOYATECH (THAILAND) CO., LTD.
29
0-2644-2292
www.boyatech-carbide.com
FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD.
13
0-2894-0655
fvamach@hotmail.com
GLOBAL SEAL CO., LTD.
2
0-2591-5256-7
www.globalseal.co.th
GROUP ENGINEERING PRODUCT CO., LTD.
9
0-2960-0136
groupcor@truemail.co.th
ISCAR (THAILAND) CO., LTD.
6-7
0-2713-6633-8
www.iscarthailand.com
JSR GROUP CO., LTD.
4
0-2327-0351-5
www.jsr.co.th
MAZAK (THAILAND) CO., LTD.
22-25, 72
0-2402-0650
www.mazakthai.com
OERLIKON BALZERS COATING (THAILAND) CO., LTD.
26-27
0-3845 4201-4
www.oerlikon.com/balzers/th
OTC DAIHEN ASIA CO., LTD.
15
0-2529-2130
www.otcdaihenasia.com/th
SIAM ELMATECH CO., LTD.
17
0-2159-6391-3
www.siamelmatechgroup.com
TECH NC CO., LTD.
1, 18-21
0-2949-7140-2
www.tech-nc.com
TOOLNET (THAILAND) CO., LTD.
5
0-2736-2381-4
www.toolnet.co.th
TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD.
3
0-2751-5711
www.tungaloy.co.th
august/september 2016 JUNE 2016
P011_Index_MM_aug-sep_Edit.indd 11 P019_Ad Comau.indd 19
11 19
8/26/2016 6/13/2016 9:51:13 6:16:38 AM PM
NEWS and MOVEMENT
ROLLS-ROYCE ผลักดันระบบเรือขนส่งอัตโนมัติ ยักษ์ใหญ่ในวงกำรยนตรกรรมอย่ำง Rolls-Royce ได้ตีพิมพ์เอกสำร White Paper ฉบับใหม่ ซึ่งถือได้ว่ำ ทรงอิทธิพลมำกฉบับหนึ่งออกมำ โดยบริษัทฯ ให้ควำม สนใจในด้ำนของเรือขนส่งอัตโนมัติ ซึ่งผลงำนชิ้นนี้ถูก พัฒนำขึ้นโดย Advance Autonomous Waterborne Applications Initiative (AAWA) โดยเอกสำรชิน้ นีม้ ชี อื่ ว่ำ The Autonomous Ship Technology Symposium 2016 บริษัทฯ ได้ทดสอบเซ็นซอร์แบบใหม่ที่ออกแบบ มำเพื่อกำรควบคุมอัตโนมัติ โดยเทคโนโลยีที่ใช้มีควำม คล้ำยคลึงกันกับเทคโนโลยียำนยนต์อตั โนมัติ เช่น GPS เซ็นเซอร์ กำรแสดงข้อมูลทำงกล้อง และ เรดำร์ระยะใกล้ เพื่อให้มั่นใจว่ำระบบขนส่งทำงเรืออัตโนมัติจะสำมำรถ ใช้งำนได้จริงภำยในปี ค.ศ.2026 Source: http://goo.gl/gTksEJ
ระบบ MODULAR
ส�าหรับงานเชื่อมโดยหุ่นยนต์ ในการผลิตชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่
ยกระดับเลเซอร์
เพื่อการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ บริษัท Photoscribe Technologies ได้ท�ำกำรพัฒนำ LML Laser System รุน่ 193 nm LMS - 650 และ 650XS เพือ่ ยกระดับ ให้สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ผลิตอุปกรณ์ทำงกำร แพทย์ นอกจำกนี้ LMS - 650 ยังสำมำรถก�ำหนดควำมเข้มของ แสงที่ใช้ส�ำหรับกำรตัดวัตถุที่มีควำมหนำได้อย่ำงเหมำะสม แม้ว่ำจะมีขนำดกะทัดรัด แต่มีควำมเร็วในกำรใช้งำนเป็น สองเท่ำเมื่อเทียบกับเลเซอร์อื่นๆ ขณะเดียวกันยังสำมำรถ ท�ำงำนทีม่ คี ณ ุ ภำพสูงได้เช่นเดิม ในกรณีของเครือ่ งมือแพทย์นนั้ กำรใช้เลเซอร์สลักและขึ้นรูปชิ้นงำนจะไม่สร้ำงควำมเสียหำยกับ ชิ้นงำน กำรขึ้นรูปชิ้นงำนไม่ว่ำกำรเจำะหรือกำรขุดท�ำได้อย่ำง หมดจด สำมำรถส่งผ่ำนของเหลวได้อย่ำงต่อเนื่อง จึงสำมำรถ ใช้งำนในระดับไมโครได้อย่ำงดีเยี่ยม เช่น กำรผลิตเครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ผ่ำตัด Source: http://goo.gl/RhFmB6
12
Machine Tools & Metalworking
บริษทั Yaskawa Electric Corporation ได้เปิดตัว Yaskawa Motoman ArcWorld 2000 ทีไ่ ด้รบั กำรออกแบบมำเพือ่ หุน่ ยนต์ อุตสำหกรรมที่ต้องกำรใช้งำนกับชิ้นส่วนที่มีขนำดใหญ่ ทั้งยัง เหมำะกั บ กำรใช้ ง ำนที่ มี ป ริ ม ำณกำรผลิ ต น้ อ ยถึ ง ปำนกลำง สำมำรถรองรับชิ้นงำนที่มีขนำด 16.4 ฟิต และรองรับน�้ำหนัก ได้กว่ำ 7 ตัน มีกำรติดตั้งหุ่นยนต์อุตสำหกรรม 6 แกน ได้สูงสุด ถึงสองตัว ควบคุมโดย DX200 ที่สำมำรถปรับใช้งำนได้อย่ำง หลำกหลำย อีกทัง้ ปรับแต่งได้ตำมควำมต้องกำรใช้งำน ลดพืน้ ที่ กำรท�ำงำนของหุ่นยนต์สองตัวลงและยังสำมำรถเพิ่มอัตรำส่วน ขนำดชิ้นงำนได้เป็นอย่ำงมำก Source: http://goo.gl/xwm451
NEWS and MOVEMENT
GE คว้าอันดับโลกใน GUINNESS BOOK จากกังหันปั่นไฟประสิทธิภาพสูง
General Electric (GE) ท�ำลำยสถิตโิ ลกด้วยศักยภำพโรงไฟฟ้ำ ระบบผสมผสำน Bouchain ในฝรั่งเศสที่มีศักยภำพสูงถึง 62.2% ซึ่งติดตั้งด้วยกังหันแบบ HA ของ GE รุ่น 9HA.01 กังหันลมแบบ แก็สและ D650 กังหันลมไอน�้ำ ถือเป็นกำรเปิดศักรำชใหม่ในด้ำน เทคโนโลยีพลังงำนทีม่ กี ำรน�ำระบบดิจทิ ลั มำร่วมใช้ในโรงงำนไฟฟ้ำ โรงงำนไฟฟ้ำ Bouchain ได้รับกำรยืนยันในเรื่องประสิทธิภำพ กำรท�ำงำนระดับสูง เมื่อวันที่ 28 เมษำยน ที่ผ่ำนมำ โดยประเมิน ผลจำกกำรใช้เชื้อเพลิงในปริมำณที่เท่ำกันและวัดผลที่ปริมำณ พลังงำนที่ผลิตได้ ซึ่งใช้เวลำเพียง 30 นำที ส�ำหรับกำรเดินเครื่อง เต็มประสิทธิภำพ แสดงถึงควำมสำมำรถในกำรตอบสนองทีร่ วดเร็ว สำมำรถผลิตพลังงำนป้อนให้กับบ้ำนพักได้กว่ำ 680,000 ครัวเรือน สร้ำงพลังงำนได้มำกกว่ำ 650 เมกะวัตต์ นอกจำกนี้ ยังเป็นแหล่ง ผลิตพลังงำนสีเขียวที่มีประสิทธิภำพอีกด้วย Source: http://goo.gl/DpCX2G
การขึ้นรูปไทเทเนียมด้วยความร้อน ส�าหรับอุตสาหกรรมอากาศยาน
14
BOEING
พัฒนาเครื่องบินเจ็ทขนาดกลาง
Beckwood Press Company ผู้ผลิตระบบไฮดรอลิก แบบพิเศษ ระบบออโตเมชัน และ Triform ของเครือ่ งมือสร้ำง ชีทที่ขึ้นรูปด้วยน�้ำ ได้ร่วมมือกับ Ducommun ผู้น�ำทำงด้ำน วิศวกรรมอำกำศยำน เพื่อท�ำกำรออกแบบและผลิตกำรพับ วัสดุแบบร้อนรูปแบบใหม่ เครื่องมือส�ำหรับขึ้นรูปวัสดุด้วยกำรพับแบบร้อนของ Ducommun เหมำะส�ำหรับกำรผลิตชิน้ ส่วนอำกำศยำนหลำก หลำยรูปแบบ รวมถึงเครื่องรุ่นใหม่อย่ำง Boeing 737 MAX ซึง่ มีจดุ เด่นอยูท่ กี่ ำรพับวัสดุกว่ำ 200 ตัน รวมถึงระบบนูมำติก ที่สำมำรถท�ำให้มอเตอร์ไฟฟ้ำและปั๊มอยู่ในสถำนะ ‘ปิดกำร ใช้งำน’ ได้ ในขณะที่ก�ำลังรอค�ำสั่งถัดไป มีส่วนช่วยในเรื่อง ของกำรประหยัดพลังงำน นอกจำกนี้ ยังมีควำมแม่นย�ำในกำร ด�ำเนินกำร รวมถึงศักยภำพในกำรพับได้ช้ำสูงสุดถึง 1/8 นิ้ว ต่อนำที นอกจำกนี้ ยังสำมำรถใช้ขนึ้ รูป Superplastic Forming (SPF) รองรับกำรผลิตชิ้นส่วนที่ซับซ้อน ส�ำหรับอุตสำหกรรม อำกำศยำนและยำนยนต์ ด้วยกำรพับด้วยแก็สอำร์กอน แรงดันสูงเพื่อขึ้นรูปวัสดุที่มีควำมแข็งแรง
Boeing Co. ให้ข่ำวว่ำศักยภำพส�ำหรับเครื่องบินเจ็ทขนส่ง ผู้โดยสำรของตนเองนั้นมีควำมชัดเจนขึ้นเป็นอย่ำงมำกตั้งแต่ 787 Dreamliner โดยต้องกำรเติมเต็มเครื่องบินที่มีกำรใช้งำนใน ระยะกำรเดินทำงระดับกลำง เช่น จำก New York ไป London หรือ จำก Sydney ไป Shanghai ซึ่งเป็นกลุ่มตลำดที่มีกำร เข้ำถึงได้น้อย และ Airbus Group SE นั้นก�ำลังขยำยตลำด สู่กลุ่มดังกล่ำวอยู่ในขณะนี้ Boeing คำดกำรณ์ว่ำ ยอดขำยอยู่ในช่วงประมำณ 4,000 5,000 ล�ำ ซึง่ อยูใ่ นช่วงทีส่ ำยกำรบินก�ำลังมองหำเส้นทำงกำรบิน ใหม่ๆ โดยบริษัทพยำยำมควบคุมค่ำใช้จ่ำยในกำรผลิตและ รำคำทีด่ สู มเหตุสมผล โดยควำมยำกนัน้ อยูท่ กี่ ำรสร้ำงเครือ่ งบิน ที่มีควำมซับซ้อนที่มีทำงเดินคู่แต่ต้องมีค่ำใช้จ่ำยเทียบเท่ำกับ เครือ่ งบินทีม่ ที ำงเดินเดีย่ ว แม้วำ่ ในตอนนี้ Boeing ยังไม่ได้มกี ำร ตัดสินใจว่ำจะด�ำเนินกำรผลิตโดยใช้วัสดุส�ำหรับเครื่องแบบไหน หรือจะมีทำงเดินในห้องโดยสำรลักษณะอย่ำงไร
Source: http://goo.gl/maaGW2
Source: http://goo.gl/wqRhE9
Machine Tools & Metalworking
welding & Handling Robot Friendly series Gas Metal Arc
Synchro-feed GMA Welding Robot Package
WIRE BUFFER L-11610
PUSH FEEDER AFS-2301
WIRE FEED CONTROLLER AFCA-S1W04
Approaching FD-11 FD-B4
minimum spatter! WB-P500L
www.otcdaihenasia.com
otc daihen asia co., ltd. HEAD OFFICE & FACTORY
BANGKOK SALES OFFICE
RAYONG FA CENTER
60/86 Moo 19, Navanakorn Industrial Estate Phase 3, Tambol Klongnueng, Amphur Klongluang, Pathumthani 12120
23/43, FL. 16th Sorachai Bldg., 23 Soi Sukhumvit 63, Klongtonnua, Wattana, Bangkok 10110
500/141 Hemaraj Eastern Seaboard Industrial Estates, Moo 3, Tambol Tasit, Amphur Pluakdaeng, Rayong 21140
TEL: (+66) 2-529-2130 FAX:(+66) 2-529-2132
TEL: (+66) 2-714-3201-3 FAX:(+66) 2-714-3204
TEL: (+66) 38-964-182 FAX:(+66) 38-964-183
NEWS and MOVEMENT
คาด BREXIT ไม่กระทบตลาดเหล็กไทย สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย คำดอุ ต สำหกรรมเหล็ ก ของไทยน่ ำ จะได้ รั บ ผล กระทบจำก Brexit ในกรอบที่จ�ำกัด ในเรื่องควำม ผันผวนของค่ำเงินในฝั่งเอเชีย เนื่องจำกกำรน�ำเข้ำ ผลิตภัณฑ์เหล็กของไทยส่วนใหญ่มำจำกประเทศใน ภูมิภำคเอเชีย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 70 ของกำรน�ำเข้ำ ผลิตภัณฑ์เหล็กทั้งหมด ส่วนกำรน�ำเข้ำเหล็กจำก ภูมิภำคยุโรปคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 3.8 ของ กำรน�ำเข้ำผลิตภัณฑ์เหล็กทั้งหมด ซึ่งไม่น่ำจะส่ง ผลกระทบต่อกำรน�ำเข้ำผลิตภัณฑ์เหล็กของไทย โดยในปี 2015 ประเทศไทยน�ำเข้ำผลิตภัณฑ์ เหล็กจำกภูมิภำคยุโรป 689,000 ตัน ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นกำรน�ำเข้ำมำจำกประเทศสหรำชอำณำจักร 559,000 ตัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 81 ของกำร น�ำเข้ำจำกภูมิภำคยุโรปทั้งหมด เมื่อพิจำรณำสถิติ กำรน�ำเข้ำ-ส่งออกผลิตภัณฑ์เหล็กของไทยตั้งแต่ ปี 2010 จนถึงปัจจุบัน พบว่ำ ปริมำณกำรน�ำเข้ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล็ ก จำกประเทศสหรำชอำณำจั ก ร มีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2013 ด้ำนกำรส่งออก ผลิตภัณฑ์เหล็กไทยไปยังภูมิภำคยุโรปมีสัดส่วน เพียงร้อยละ 6.5 ของกำรส่งออกทั้งหมด ซึ่งตลำด สหรำชอำณำจักรเป็นตลำดส่งออกอันดับที่ 3 ของ ภูมิภำคยุโรป ส� ำ หรั บ ผลกระทบของ Brexit ต่ อ ควำม เคลือ่ นไหวของรำคำเหล็กทัว่ โลก ในระยะสัน้ คำดว่ำ หำกค่ำเงินดอลลำร์แข็งค่ำขึ้นน่ำจะส่งผลกระทบ ด้ำนลบต่อรำคำเหล็ก แต่ในระยะกลำงและระยะยำว หำกค่ำเงินดอลลำร์อ่อนค่ำลง และมีกำรลดก�ำลัง กำรผลิตเหล็กทั่วโลก น่ำจะส่งผลให้รำคำเหล็กเริ่ม กลับมำฟื้นตัวอีกครั้ง Source: http://www.isit.or.th
16
Machine Tools & Metalworking
PRE-SHOW
PRESS CONFERENCE - TMTS 2016 Taiwan Machine Tool Builders’ Association - TMBA เชิญ สือ่ มวลชนจำกทัว่ โลกร่วมงำนแถลงข่ำวกำรจัดงำน TMTS 2016 - Taiwan International Machine Tool Show ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่ำงวันที่ 23 - 27 พฤศจิกำยน 2559 ณ Greater Taichung International Expo Center โดยในปีนี้จัดแสดงเทคโนโลยีเครื่องจักรภำยใต้แนวคิด ‘Activating Intelligent Manufacturing heading towards Industry 4.0’ นอกจำกนี้ คณะสือ่ มวลชนยังได้รบั โอกำสเยีย่ มชมโรงงำนชัน้ น�ำด้ำน กำรผลิตเครื่องจักรกลและชิ้นส่วน 10 แห่ง ได้แก่ Keyarrow, Hartford Motors, Posa Machinery, Hiwin Technologies, Goodway Machine, GSA Technology, Litz Hitech, Far East Machinery, Tongtai Machine & Tool และ You Ji Machine Industrial
ครบรอบ 20 ปี
ดาคอนมอบกระเช้าขอบคุณกรีนเวิลด์
เนื่องในโอกำสฉลองครบรอบ 20 ปี บริษัท ดำคอน อิน สเป็คชั่น เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด ผูใ้ ห้บริกำรตรวจสอบทำงวิศวกรรม น�ำโดย คุณมัลลิกา แก่กล้า ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำรของดำคอน เข้ำมอบกระเช้ำของขวัญ แก่ คุณจิรภัทร ข�าญาติ บรรณำธิกำรบริหำร บริษัท กรีนเวิลด์ มีเดีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้ผลิตนิตยสำรด้ำนอุตสำหกรรมกำรผลิต Modern Manufacturing และ MM Machine Tools & Metalworking
WE DO SUPPLY MACHINE TOOLS & TECHNOLOGIES
High Performance Horizontal Milling
Double Column Machining Center
High Performance 5 Axis Milling
CNC Machining Center
ZNC EDM
CNC Milling Machine
Wire Cut
CNC EDM
CNC Tapping Center
บรษิทั สยาม เอลมาเทค จำกดั / SIAM ELMATECH CO., LTD.
Super Drill
Surface Grinder
12/3 หม1ู 0 ตำบลคลองขอย อำเภอปากเกรด็ จงัหวดันนทบรุี 11120 / 12/3 Moo 10, Klong-Khoi, Pak-kred, Nonthaburi 11120 โทร/Tel: (02) 159 6391-3, (084) 757 6662 / แฟกซ/Fax: (02) 159 6394 / E-mail: ukofset@ksc.th.com / Website: www.siamelmatechgroup.com, www.siamelmatech.co.th
cover story
TECH NC Turn Crisis into Chance
เสริมศักยภาพการผลิตด้วย Automation กระแสเศรษฐกิจไทยรวมถึงเศรษฐกิจโลกที่หลายๆ ฝ่ายคาดการณ์วา่ อาจจะเกิดภาวะวิกฤตในอนาคตอันใกล้นี้ ท�าให้เกิดภาวะชะงักงัน จะเห็นได้วา่ หลายๆ องค์กรเลือกที่ จะอยู่นิ่ง ไม่ลงทุนพัฒนาในเรื่องใดเพิ่มเติม ทั้งนี้ก็เพื่อ ประคองให้ธุรกิจของตนรอดพ้นจากภาวะวิกฤตไปให้ได้ แต่ด้วยมุมมองธุรกิจที่คิดต่าง ท�าให้ บริษัท เทค เอ็นซี จ�ำกัด มองเห็นวิกฤตเป็นโอกาส และตัดสินใจทีจ่ ะรุกตลาด ธุรกิจอุตสาหกรรม ด้วยการน�าเทคโนโลยี Automation หรื อ ระบบอั ต โนมั ติ เข้ า มาเป็ น กลยุ ท ธ์ ส� า คั ญ ในการ ขับเคลื่อนธุรกิจให้ก้าวต่อไปอย่างต่อเนื่อง เป็นฟันเฟือง ส� า คั ญ ที่ จ ะสนั บ สนุ น ให้ ก ารด� า เนิ น ธุ ร กิ จ มี ศั ก ยภาพ ทั้งในด้านประสิทธิภาพการผลิต และความได้เปรียบทาง ต้นทุน โดยเฉพาะต้นทุนด้านแรงงาน ด้วยเพราะเชื่อมั่น ว่า… ‘ควำมส�ำเร็จของลูกค้ำ คือ เป้ำหมำยควำมส�ำเร็จ ขององค์กร’ ด้วยเช่นกัน 18
Machine Tools & Metalworking
ชู Automation รุกตลาดต่อเนื่อง ขยายฐานเสริมทัพ รองรับอุตสาหกรรม 4.0 กว่า 14 ปี ที่ บริษัท เทค เอ็นซี จ�ำกัด ตอบโจทย์ ความต้ อ งการของกลุ ่ ม ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ในฐานะการเป็ น ผู ้ น� า เข้ า เครื่ อ งจั ก รหนั ก หลากหลาย แบรนด์ ดั ง ที่ มุ ่ ง น� า เสนอเทคโนโลยี เ พื่ อ เสริ ม สร้ า ง ศักยภาพการผลิตในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยตระหนักดีว่าความได้เปรียบด้านต้นทุน หรือความ สามารถในการผลิตด้วยต้นทุนทีต่ า�่ กว่า เป็นกลยุทธ์สา� คัญ ที่จะท�าให้ธุรกิจอยู่รอด ดังนั้น ท่ามกลางภาวะกระแส เศรษฐกิจทีไ่ ม่สดู้ นี กั บริษทั เทค เอ็นซี จ�ำกัด จึงได้รกุ ขยาย ตลาดด้วยการน�าเสนอระบบอัตโนมัติ หรือที่หลายๆ คน เรียกว่า ‘Automation’ เป็นโซลูชั่นใหม่ ที่จะติดอาวุธให้ อุตสาหกรรมการผลิตเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ต่อเนือ่ ง รองรับความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบวงจร ผูช้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ยทุ ธนำ หริรกั ษำพิทกั ษ์ Director บริษัท เทค เอ็นซี จ�ำกัด ได้ให้รายละเอียดในประเด็น ดังกล่าวว่า “การขยายธุรกิจในส่วนงาน Automation หรื อ ระบบอั ต โนมั ติ ข อง TECH NC ขณะนี้ ส ่ ว นใหญ่ เป็นการน�าแขนกลเข้ามาบูรณาการกับเครื่อง CNC เพื่อ เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการผลิตให้สงู ขึน้ สามารถผลิต ชิ้ น งานได้ ร วดเร็ ว มากขึ้ น ความถู ก ต้ อ งแม่ น ย� า สู ง ขึ้ น การเกิดอุบัติเหตุจากการท�างานต�่าลง และยังลดการใช้ แรงงานในการผลิตได้อีกด้วย
Automation คือ ระบบอัตโนมัติ ที่มีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ในกระบวนการทำางาน โดยอาจเป็นเพียง ส่วนหนึ่งของขั้นตอนการผลิต หรือเป็นการผลิตแบบอัตโนมัติทั้งระบบก็ได้
ส�าหรับในส่วนของ TECH NC นั้น โซลูชั่นที่เป็นระบบ Automation มุ่งเน้นที่การพัฒนาระบบกระบวนการผลิต อัตโนมัติส�าหรับกระบวนการผลิตที่มีลักษณะเป็น Mass Production กล่าวคือ เป็นกระบวนการผลิตที่ผลิตจ�านวน มากและมีความต่อเนื่อง โดยระบบ Automation จะท�า หน้าที่ทดแทนแรงงานคนในกระบวนการผลิตเช่น แขนกล จับชิ้นงานวางลงในเครื่องจักร จากนั้นเครื่องจักรท�างาน ตามโปรแกรมเพื่อผลิตชิ้นงานโดยแขนกลหยิบชิ้นงาน ออกมา น�าไปวางในกระบวนการตรวจสอบ หากไม่พบ ปัญหาชิ้นงานก็จะถูกส่งไปวางในจุดที่ส�าเร็จส่วนแขนกล จะหยิบชิ้นงานตัวใหม่มาป้อนเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ไปเรื่อยๆ ตามกระบวนการผลิตที่ได้ออกแบบไว้ นอกจากนี้ TECH NC ยังให้บริการในลักษณะของการ เป็ น ที่ ป รึ ก ษา ออกแบบ ติ ด ตั้ ง สายการผลิ ต อั ต โนมั ติ โดยจะมี ที ม งานเข้ า ไปให้ ค� า ปรึ ก ษาในทุก กระบวนการ ตั้งแต่กระบวนการวางแผน ออกแบบกระบวนการผลิต ติดตั้งเครื่องจักร และระบบอัตโนมัติจนกระทั่งกระบวน การผลิตแล้วเสร็จเป็นผลิตภัณฑ์ส�าเร็จออกมา รวมไปถึง การประมวลผลต่างๆ ซึ่งถือเป็นการยกระดับกระบวน การผลิต ให้สอดรับกับยุคอุตสาหกรรม 4.0 หรือการพัฒนา อุตสาหกรรมในอนาคต” ผศ.ยุทธนำ กล่าว
บริการให้ค�าปรึกษา ออกแบบ และติดตั้งระบบ Automation ตลอดกระบวนการผลิต ส�าหรับการติดตั้งระบบ Automation นั้น ผศ.ยุทธนำ ได้กล่าวถึงรายละเอียดในกระบวนการออกแบบและติด ตั้งระบบ Automation ว่า “ทีมงานของ TECH NC จะต้อง ทราบกระบวนการผลิตทัง้ หมดของลูกค้าก่อนทีจ่ ะวางแผน ออกแบบกระบวนการผลิต และติดตั้งระบบ Automation ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า โดยมุ่งเน้นให้ กระบวนการผลิตที่มีการติดตั้งระบบ Automation แล้วมี ประสิทธิภาพในการผลิตสูงขึ้น ใช้ระยะเวลาในการผลิต น้อยลง สามารถผลิตสินค้าได้มากขึน้ ในระยะเวลาทีล่ ดลง อีกทั้งมีความถูกต้องแม่นย�าในการผลิตสูงขึ้น ซึ่งจะส่งผล ให้ของเสียจากกระบวนการผลิตน้อยลง และที่ส�าคัญ คือ การใช้แรงงานคนลดลง ช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลน แรงงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตในปัจจุบัน”
ทั้งนี้ การท�าความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ข้างต้น จะช่วยให้ TECH NC สามารถออกแบบกระบวนการและ ระบบ Automation ที่มีประสิทธิภาพท�างานสูง ช่วยลด ระยะเวลาในการผลิตและต้นทุนค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ได้ ถือเป็น บริการที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี
ปัจจัยส�าคัญที่ต้องพิจารณาในการติดตั้ง กระบวนการผลิตด้วยระบบ Automation
1 2 3
ข้อมูลตัวสินค้า (Product) ลูกค้าผลิตสินค้าประเภทใด เพื่ออะไร ใช้งานในอุตสาหกรรมใด กระบวนการผลิต (Production) พูดคุยเพื่อทำาความเข้าใจกับ กระบวนการผลิตทั้งหมด ว่ามีขั้นตอนและวิธีการอย่างไรบ้าง เวลาในการผลิต (Cycle Time) เมื่อใช้แรงคนในการทำางานแล้ว เวลาที่ใช้ในการผลิตเป็นอย่างไร ใช้เวลาเท่าไรในแต่ละหน่วยการทำางาน
เครื่องจักร Automation ท�างาน 24 x 7 ทดแทนการพึ่งพาแรงงานคน ต้องยอมรับว่า ปัญหาการขาดแคลนแรงงานยังเป็น ปั ญ หาที่ ผู ้ ป ระกอบการยั ง ต้ อ งเผชิ ญ ตลอดระยะเวลา หลายปีทผี่ า่ นมา ทัง้ แรงงานไทยและแรงงานต่างชาติ แม้วา่ แรงงานจะเป็นปัจจัยการผลิตทีม่ บี ทบาทส�าคัญมากต่อการ ขับเคลือ่ นธุรกิจก็ตาม ส่งผลให้กระบวนการผลิตไม่สามารถ แข่งขันได้อย่างมีศักยภาพ ทั้งในด้านความรวดเร็วในการ ผลิตและคุณภาพของสินค้า ดังนัน้ การน�าระบบ Automation เข้ามาทดแทน เพื่อลดการพึ่งพาแรงงานจึงเป็นทางเลือก ที่น่าสนใจและได้รับการตอบรับอย่างรวดเร็วในวงการ อุตสาหกรรมการผลิต ผศ.ยุทธนำ ยังได้กล่าวต่อไปว่า “จุดเริม่ ต้นของการน�า ระบบ Automation เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต ก็เพื่อ จัดการปัญหาด้านแรงงานขาดแคลน ซึ่งท�าให้กระบวน การผลิตหยุดชะงัก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาแรงงานที่เป็นผล มาจากความเหนื่อยล้าในการท�างาน การเจ็บป่วย หรือ กระทัง่ การได้รบั อุบตั เิ หตุจากการท�างาน ดังนัน้ การพัฒนา แขนกล ซึ่งถือเป็นระบบ Automation มาใช้ในกระบวน การผลิตจึงท�าให้ปัญหาต่างๆ ได้รับการแก้ไข August/september 2016
19
หากยกตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่างการท�างานของ แขนกลและแรงงานคนสิ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน ก็ คื อ หลังจากชิ้นส่วนออกจากเครื่อง Die Casting แขนกลจะ หยิบชิน้ งานไปเจียรครีบ ลบครีบได้อย่างแม่นย�า แล้วเข้าสู่ สถานีต่อไปในกระบวนการผลิต แต่หากเป็นแรงงานคน ก็ต้องหยิบชิ้นงานออกจากเครื่อง มาท�าการเจียรด้วยมือ ซึ่งใช้ระยะเวลาต่อชิ้นค่อนข้างมาก และยังเป็นงานที่อาจ เกิดอุบัติเหตุได้ท�าให้กระบวนการผลิตหยุดชะงัก ขณะที่ การใช้ระบบ Automation อย่างแขนกลนัน้ สามารถท�างาน ได้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง 7 วัน ท�าให้กระบวนการผลิต มีความต่อเนื่อง เหมาะส�าหรับการผลิตจ�านวนมาก หรือ การผลิตที่เป็นแบบ Mass Production”
บทบาทระบบ Automation กับอนาคตอุตสาหกรรมการผลิตไทย ผศ.ยุทธนำ ได้กล่าวว่า “Automation หรือระบบ อัตโนมัตไิ ม่ใช่เรือ่ งใหม่สา� หรับผูป้ ระกอบการไทย เนือ่ งจาก ภาคอุ ต สาหกรรมไทยมี ค วามตื่ น ตั ว ต่ อ การน� า ระบบ Automation มาใช้กันก่อนหน้านี้แล้ว ดังจะเห็นว่า โรงงาน อุ ต สาหกรรมหลายๆ แห่ ง นั้ น มี ก ระบวนการผลิ ต เป็ น ระบบ Automation แล้วโดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ แต่สา� หรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดเล็ก หรือ SME นั้นยังมีข้อจ�ากัดด้านเงินทุน ท�าให้ ยังไม่สามารถน�าเครือ่ งจักรระบบ Automation ไปประยุกต์ ใช้ได้ เนื่องจากระบบ Automation นั้นเหมาะส�าหรับ อุตสาหกรรมการผลิตที่เป็นลักษณะ Mass Production มากกว่ า อุ ต สาหกรรมที่ ต ้ อ งผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นจ� า นวนน้ อ ย ซึ่งไม่คุ้มค่ากับการลงทุน” อย่างไรก็ตาม ระบบ Automation ก็ยงั มีบทบาทส�าคัญ ต่ออุตสาหกรรม SME ที่มีกระบวนการผลิตหรือประกอบ ที่ มี อั น ตราย หรื อ มี ค วามเสี่ ย งสู ง มี ป ั ญ หาขาดแคลน แรงงาน การน�าระบบ Automation เข้ามาใช้ แม้จะลงทุนสูง เพราะระบบ Automation มีราคาแพง แต่เชือ่ ว่าในอนาคต อุตสาหกรรมไทยจะมีโอกาสใช้ระบบ Automation ได้ในทุก อุตสาหกรรม เนื่องจากศักยภาพในการพัฒนาประกอบ กับองค์ความรู้เชิงวิศวกรรมในประเทศไทยเท่าทันต่อการ พัฒนาเทคโนโลยีในต่างประเทศ “ด้วยตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาวงการ อุตสาหกรรมการผลิตไทย ปัจจุบนั TECH NC จึงได้รว่ มกับ สถาบั น การศึ ก ษาหลายๆ แห่ ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และร่ ว ม เรียนรู้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องจักร ให้สามารถ ตอบสนองต่อความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมได้ ขณะนี้สถาบันการศึกษาหลายๆ แห่งได้เปิดหลักสูตร สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ดังนั้น เชื่อว่า หากมีการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี ในอนาคต วงการอุตสาหกรรมการผลิตไทย ก็จะมีโอกาสได้ใช้ระบบ Automation สั ญ ชาติ ไ ทย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในราคา ที่จับต้องได้มากขึ้น อีกทั้งการมีหลักสูตรสาขาวิศวกรรม หุ ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ยั ง ท� า ให้ บุ ค ลากรในภาค อุตสาหกรรมการผลิตมีศักยภาพตรงตามความต้องการ ของผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการผลิตมากขึ้น ด้วยเช่นกัน” 20
Machine Tools & Metalworking
คุณสัญชัย นันทกิจโสภณ Managing Director บริษัท เทค เอ็นซี จำากัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา หริรักษาพิทักษ์ Director บริษัท เทค เอ็นซี จำากัด
• ความยาวของแขนที่มีความเหมาะสม และระยะการเคลื่อนไหวของข้อต่อ 6 แกน ทำาให้ทำางานได้กว้างขึ้น รองรับการเคลื่อนไหวในงานประกอบงานแปรรูปที่ซับซ้อนได้ • ขนาดตัวเครื่องเล็ก และแขนที่เรียวเล็ก ทำาให้สามารถปฏิบัติงานที่ทำางานกว้าง และแบกรับนำ้าหนักได้สูง รองรับต่องานหลากหลายได้ตั้งแต่การลำาเลียงชิ้นส่วนเครื่องจักร ไปจนถึงการประกอบชิ้นส่วนไฟฟ้า • ด้วยความทนทานสภาพแวดล้อม สามารถใช้งานได้หลากหลาย โดยไม่ต้องเลือกสภาพแวดล้อมในติดตั้ง
บริการลูกค้าด้วยใจ เพราะเราคือครอบครัวเดียวกัน ด้าน คุณสัญชัย นันทกิจโสภณ Managing Director ได้กล่าวถึงมุมมองเชิงลึกด้านเศรษฐกิจและผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา TECH NC ด�าเนินธุรกิจโดยค�านึงการตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้าเป็นหลัก เพราะเชื่อว่าศักยภาพและขีดความ สามารถในการขับเคลื่อนธุรกิจของลูกค้า คือ เป้าหมาย ส�าคัญการด�าเนินธุรกิจ ดังนั้น TECH NC จึงไม่เพียงแต่ พัฒนาองค์กรของตนเองให้มีขีดความสามารถทางการ แข่งขันที่สูงขึ้น หากยังมุ่งขับเคลื่อนธุรกิจของลูกค้าให้ เติบโตได้อย่างมีศักยภาพและต่อเนื่อง “ผมมองว่าปัญหาเรือ่ งเศรษฐกิจทัง้ ภายในประเทศและ ต่างประเทศเป็นปัจจัยภายนอก ที่ไม่สามารถควบคุมได้ ดั ง นั้ น เราต้ อ งหั น กลั บ มาบริ ห ารจั ด การปั จ จั ย ภายใน ทีส่ ามารถควบคุมได้แทน ไม่ใช่ตระหนกว่าสภาพเศรษฐกิจ ไม่ดี แล้ววางเฉย เพียงประคองให้ธุรกิจผ่านพ้นช่วงเวลา นั้นไปให้ได้โดยไม่ให้องค์กรเกิดผลกระทบใดๆ ส�าหรับ TECH NC ช่ ว งเวลาที่ เ ศรษฐกิ จ ไม่ เ อื้ อ อ� า นวย เป็ น โอกาสให้เราได้ปรับกลยุทธ์ เราต้องใช้วิกฤตสร้างโอกาส ทางธุรกิจให้เกิดขึ้น และนี่เองท�าให้ TECH NC ตัดสินใจ รุกตลาดอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยการขยายธุรกิจในบทบาทของ การเป็นผู้ออกแบบ ติดตั้งเครื่องจักรระบบ Automation ครบวงจร เพราะเชื่ อ มั่ น ในศั ก ยภาพและความพร้ อ ม ซึง่ TECH NC ได้สง่ั สมประสบการณ์มายาวนานบนเส้นทาง สายอุตสาหกรรมการผลิต
ระบบ Automation จะเป็นหนึง่ ในกลยุทธ์หลักทางการ ตลาด ที่ TECH NC จะวางแผนขยายฐานธุรกิจตั้งแต่น้ี เป็นต้นไป กลยุทธ์การด�าเนินธุรกิจช่วงครึ่งหลังปี ’59 จะ มุ่งเน้นการเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งเพื่อพัฒนากระบวนการ ผลิ ต ของลู ก ค้ า ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น ปั จ จุ บั น ลู ก ค้ า ที่ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการด� า เนิ น งานก็ เ ป็ น การท� า งานร่ ว มกั น เสมือนพาร์ทเนอร์ เสมือนทีป่ รึกษาทางธุรกิจ เพือ่ บูรณาการ เครื่องจักรต่างๆ ในกระบวนการผลิตไม่ว่าจะเป็นเครื่อง CNC หรือเครื่องจัก รใดก็ตามให้มีประสิท ธิภ าพสูงขึ้น ทั้งด้านต้นทุน ความรวดเร็วในการผลิต และคุณภาพ” คุณ สัญชัย ยัง ได้ก ล่าวทิ้ง ท้ายว่า นอกจากระบบ Automation ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านการผลิต และ สามารถสร้างความได้เปรียบด้านต้นทุนแล้ว TECH NC ยังมีจุดแข็งด้านบริการหลังขาย มีทีมงาน Call Center คอยดูแลให้บริการลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง ด้วยเพราะเข้าใจ ดีว่ากระบวนการผลิตนั้นจะหยุดชะงักไม่ได้ ดังนั้น การ บริการด้วยหัวใจจึงเป็นสิ่งที่เรายึดมั่นมาตลอด เพราะเรา คิดเสมอว่า… ‘ลูกค้าทุกคนคือครอบครัวเดียวกันกับเรา’ จากแนวคิดและวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร TECH NC ท�าให้เชื่อว่า…แม้ TECH NC จะเพิ่งก้าวสู่ตลาดระบบ Automation แต่ ก็ ไ ม่ ย ากที่ จ ะเติ บ โตเป็ น เจ้ า ตลาดใน อนาคตอันใกล้ ดังเช่นที่ คุณสัญชัย กล่าวทิ้งท้ายไว้ว่า… “เศรษฐกิจไม่ดี ไม่จ�าเป็นต้องอยู่เฉย เพื่อที่จะเดินไป ถึงจุดหมาย ธุรกิจจะต้องพัฒนาตนเองเสมอ จะอยู่ เฉยไม่ได้”
August/september 2016
21
Interview
ชู INTERGREX ตอบโจทย์อตุ สาหกรรม การผลิตไทย MAZAK (THAILAND) CO., LTD. คือ ผู้น�ำด้ำน กำรผลิตเครื่องจักรสัญชำติญี่ปุ่น ที่มีเทคโนโลยีขั้นสูง รวมทั้งเครื่องจักรเอนกประสงค์ Multi - Tasking เครื่อง แมชชีนนิ่งแนวนอน และแนวตั้ง เครื่องกลึง เครื่องตัด แสงเลเซอร์ และระบบ FMS ก่อตั้งขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ. 2462 ปัจจุบันมีโรงงำนผลิตทั้งหมด 10 แห่งกระจำยอยู่ทั่วโลกทั้งประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ จีน สหรัฐอเมริกำ และอังกฤษ ทั้งยังมีทีมงำนสนับสนุน กระจำยอยู่ทั่วโลกมำกถึง 79 ส�ำนักงำน ตลอดระยะเวลำที่ ผ ่ ำ นมำ MAZAK ผลิ ต และ จ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์มำกกว่ำ 300 รำยกำร ไม่ว่ำจะเป็น เครื่องตัดเหล็ก เครื่องตัดด้วยแสงเลเซอร์ ฯลฯ โดย มุง่ น�ำเสนอโซลูชนั่ ทีม่ ปี ระสิทธิภำพสูงสุดให้แก่ลกู ค้ำด้วย ผลิตภัณฑ์ที่มีควำมหลำกหลำย ทั้งยังมีศูนย์เทคโนโลยี แห่งประเทศไทยของ MAZAK ที่จัดแสดงเทคโนโลยี เครื่องจักรล่ำสุด และอุปกรณ์ เพื่อน�ำเสนอเทคโนโลยี ด้ ำ นกำรตั ด ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ ำ ที่ ต ้ อ งกำรข้ อ มู ล ด้ ำ นควำม ละเอียดของชิน้ งำน นอกจำกนี้ ยังสำมำรถให้บริกำรด้ำน วิศวกรรมต่ำงๆ ได้อย่ำงครบวงจรเพื่อสร้ำงควำมมั่นใจ และยกระดับควำมพึงพอใจให้กับลูกค้ำที่ใช้เครื่องจักร MAZAK มำกยิ่งขึ้น
ชู ‘INTERGREX’ เป็นเครื่องจักรไฮไลท์ มุ่งท�ำกำรตลำดในไทยเข้มข้น Mr. Masanori Ido, General Manager, MAZAK (THAILAND) CO., LTD. ได้กล่ำวว่ำ กำรลงทุนในด้ำน อุ ต สำหกรรมยำนยนต์ ยั ง คงประสบกั บ ภำวะซบเซำ ต่อเนือ่ ง อย่ำงไรก็ตำม ควำมต้องกำรเครือ่ งจักรทีส่ ำมำรถ จัดกำรงำนได้หลำยอย่ำง หรือ Multi - Tasking Machine ยั ง คงมี เ สถี ย รภำพที่ ดี ใ นหลำยๆ อุ ต สำหกรรม ทั้ ง นี้ Mazak มีเครื่อง Multi - Tasking หลำกหลำยรุ่น ได้แก่ ‘INTERGREX’ ที่สำมำรถจัดกำรงำนทั้งหมดได้ในเครื่อง เดียว จัดกำรงำนแมชชีนนิ่งได้ทั้งกระบวนกำร เริ่มตั้งแต่ วัตถุดิบ จนไปถึงชิ้นงำนส�ำเร็จ ท�ำให้ INTERGREX เป็น เครื่องจักร และโซลูชั่นที่เหมำะส�ำหรับลูกค้ำที่มีปริมำณ 22
Machine Tools & Metalworking
การลงทุนในด้านอุตสาหกรรม ยานยนต์ยังคงประสบกับภาวะ ซบเซาต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ควำมต้องกำรเครื่องจักรที่ สำมำรถจัดกำรงำนได้หลำยอย่ำง หรือ Multi-Tasking Machine ยังคงมีเสถียรภำพที่ดีในหลำยๆ อุตสำหกรรม
กำรผลิตจ�ำนวนน้อยในแต่ละครัง้ เช่น ชิน้ ส่วนอำกำศยำน หรือเครื่องมือทำงกำรแพทย์ (Medical Device) เป็นต้น ซึ่ง MAZAK ได้มุ่งเน้นน�ำเครื่องจักรดังกล่ำวเข้ำมำท�ำ กำรตลำดในประเทศไทยเพิ่มมำกขึ้น ทัง้ นี้ MAZAK จะน�ำเสนอโซลูชนั่ ต่ำงๆ ผ่ำนเครือข่ำย ที่กระจำยอยู่ทั่วโลก โดยมีกำรสนับสนุนลูกค้ำทั้งก่อน และหลังกำรขำย ให้ควำมรู้เกี่ยวกับกำรใช้งำนเครื่องจักร และแอปพลิเคชั่นต่ำงๆ เพื่อให้ลูกค้ำได้รับประโยชน์ สูงสุด นอกจำกนี้ MAZAK ยังร่วมออกบูธงำนแสดงสินค้ำ ต่ำงๆ ทั้งงำน INTERMACH และงำน METALEX รวมไป ถึงจัดกิจกรรม OPEN HOUSE เพื่อเชิญซัพพลำยเออร์ ท้องถิ่น เช่น ซัพพลำยเออร์อุปกรณ์ต่อพ่วงเครื่องจักร ผู้ผลิตเครื่อง CNC และซัพพลำยเออร์ด้ำน CAD CAM เข้ำมำเยี่ยมชมที่ศูนย์เทคโนโลยีของ MAZAK (MAZAK Technology Center) เพื่อน�ำเสนอเทคโนโลยีกำรตัดด้วย แสงเลเซอร์ ที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับลูกค้ำ โดยกิจกรรม ดังกล่ำวจะถูกจัดขึ้น 2 ครั้งต่อปี
วำงแผนลงทุนตั้งโชว์รูม และขยำยตลำด รองรับกำรเติบโตอุตสำหกรรมชิ้นส่วนอำกำศยำน และเครื่องมือแพทย์ Mr. Ido ยังได้กล่ำวต่อว่ำ ลูกค้ำส่วนใหญ่ต้องกำร เห็นเครื่องจักรรุ่นใหม่ หรือขอให้แสดงกำรท�ำงำนของ เครื่ อ งจั ก รเพื่ อ มี ค วำมมั่ น ใจในกำรเลื อ กเครื่ อ งจั ก ร มำกขึ้น ดังนั้น MAZAK ประเทศไทยพยำยำมอัพเดทรุ่น ของเครื่องจักรในโชว์รูมเป็นระยะๆ รวมไปถึงอุปกรณ์ ต่ อ พ่ ว งกั บ เครื่ อ งจั ก ร เช่ น Chuck เป็ น ต้ น เพื่ อ ที่
August/september 2016
23
หัวใจส�ำคัญ 7 ประกำร กับกำรพัฒนำเครื่องจักรของ MAZAK
ทันทีที่ลูกค้ำเข้ำมำที่ MAZAK ประเทศไทย พวกเขำจะ ได้รับข้อมูล และควำมรู้ไม่เพียงแค่เครื่องจักรกล แต่ยัง รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่ำงๆ ด้วยเช่นกัน อย่ ำ งไรก็ ต ำม แม้ ว ่ ำ ควำมต้ อ งกำรใช้ เ ครื่ อ งจั ก ร ในอุ ต สำหกรรมกำรผลิ ต จะอยู ่ ใ นภำวะชะลอตั ว แต่ขณะเดียวกันอุตสำหกรรมอำกำศยำนและเครื่องมือ ทำงกำรแพทย์ยังเป็นอุตสำหกรรมที่สำมำรถสร้ำงมูลค่ำ เพิ่มได้ ทั้งยังเป็นอุตสำหกรรมที่มีกำรแข่งขันสูง มีอัตรำ กำรเติบโตที่ดี เนื่องจำกเป็นหนึ่งในกลุ่มอุตสำหกรรม S - Curve ทีภ่ ำครัฐมีนโยบำยให้กำรสนับสนุนให้เกิดเป็น อุตสำหกรรมใหม่ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญในกำรขับเคลือ่ นภำพรวม เศรษฐกิจของประเทศ และด้วยผลิตภัณฑ์ของ MAZAK ที่มีควำมหลำกหลำย อีกทั้งยังมีทีมสนับสนุนทั้งในด้ำน บริกำร และแอปพลิเคชัน่ ของ MAZAK ประเทศไทย ท�ำให้ MAZAK เชือ่ มัน่ ว่ำจะประสบควำมส�ำเร็จได้อย่ำงต่อเนือ่ ง ในตลำดประเทศไทย “MAZAK มีลูกค้ำผู้ประกอบกำรรำยหนึ่ง ซึ่งอยู่ใน อุตสำหกรรมประกอบชิ้นส่วนอำกำศยำน มีกำรใช้งำน เครื่องจักรของ MAZAK เกือบ 40 เครื่อง ประกอบกับ กำรทีร่ ฐั บำลมีควำมต้องกำรทีจ่ ะเพิม่ จ�ำนวนอุตสำหกรรม กำรผลิ ต ด้ ำ นอำกำศยำน จึ ง เป็ น โอกำสที่ เ ครื่ อ งจั ก ร ของ MAZAK จะได้เข้ำไปมีบทบำทในกระบวนกำรผลิต ซึ่ง MAZAK เองต่อจำกนี้จะมุ่งเน้นและให้ควำมส�ำคัญ กับอุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่ำมำกขึ้น เนื่องจำก เล็งเห็นว่ำอุตสำหกรรมดังกล่ำวยังคงมีควำมต้องกำร เครื่องจักรกลอย่ำงมีเสถียรภำพ”
24
Machine Tools & Metalworking
Mr. Ido ยังได้กล่ำวถึงแนวคิดกำรวิจัยและพัฒนำ เครื่องจักรอุตสำหกรรมในประเทศไทยว่ำ แนวคิดกำร วิจยั และพัฒนำเครือ่ งจักรอุตสำหกรรม เพือ่ รองรับควำม ต้องกำรใช้ของธุรกิจอุตสำหกรรมกำรผลิตในประเทศไทย MAZAK มุง่ เน้นแนวทำงทีเ่ ป็นหัวใจส�ำคัญ 7 ประกำร ได้แก่ ประกำรที่ (1) เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวคิดนี้ ถื อ เป็ น แนวคิ ด ในกำรวิ จั ย และพั ฒ นำที่ ทั่ ว โลกให้ ควำมส� ำ คั ญ ไม่ เ ฉพำะเพี ย งแค่ ก ำรวิ จั ย และพั ฒ นำ ในประเทศไทยเท่ ำ นั้ น โดยเครื่ อ งจั ก รของ MAZAK มำพร้อมกับคุณสมบัตกิ ำรประหยัดพลังงำน หรือฟังก์ชนั กำรท�ำงำนทีช่ ว่ ยประหยัดพลังงำนในกำรผลิต นอกจำกนี้ เครื่ อ งจั ก รของ MAZAK มี ร ะบบกำรหล่ อ ลื่ น ที่ มี ประสิทธิภำพสูง ซึ่งลูกค้ำสำมำรถตระหนักได้ถึงกำร ลดลงของกำรใช้สำรหล่อลื่นได้เป็นอย่ำงมำก และยัง ช่วยเพิ่มอำยุกำรใช้งำนของน�้ำมันหล่อลื่นส�ำหรับกำร ตัดอีกด้วย ประกำรที่ (2) เทคโนโลยี อั น ชำญฉลำด ควำม ก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ท�ำให้เครื่องจักร อันชำญฉลำดของ MAZAK ที่รวบรวมควำมเชี่ยวชำญ ในทั ก ษะด้ ำ นวิ ศ วกรรมให้ ก ำรสนั บ สนุ น ผู ้ ค วบคุ ม เครื่ อ งจั ก รได้ เ ป็ น อย่ ำ งดี เครื่ อ งจั ก รสำมำรถชดเชย ค่ ำ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงในสภำพแวดล้ อ มจริ ง โดยอั ต โนมั ติ ยกตัวอย่ำงเช่น ในอดีตผู้ควบคุมเครื่องจักรจ�ำเป็นต้อง ควบคุม และปรับเปลีย่ นค่ำเพือ่ ชดเชยควำมเปลีย่ นแปลง ที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักร ที่มำจำกสภำพแวดล้อม หรือกำร เปลีย่ นแปลงอุณหภูมเิ ครือ่ งจักร แต่ในปัจจุบนั เครือ่ งจักร ของ MAZAK ได้รับกำรออกแบบให้มีระบบจัดกำรชดเชย ค่ำต่ำงๆ โดยอัตโนมัติ สำมำรถจัดกำรแก้ไขข้อผิดพลำด ที่เกิดขึ้นได้ด้วยตัวเอง ช่วยเพิ่มควำมสะดวกควำมสบำย ในกำรควบคุ ม เครื่ อ งจั ก ร และลดกำรพึ่ ง พำแรงงำน ในกำรควบคุม ประกำรที่ (3) กำรออกแบบเครื่องจักรให้มีควำม ปลอดภั ย และมี ค วำมสะดวกสบำยในกำรใช้ ง ำน กำรออกแบบเครื่องจักรกลของ MAZAK ต้องมีควำม ปลอดภัยสูงสุด และสะดวกต่อกำรใช้งำน ประกำรที่ (4) เครื่ อ งจั ก รที่ ท� ำ งำนได้ โ ดยไม่ ต ้ อ ง อำศัยแรงงำนมนุษย์ และเทคโนโลยี FMS กำรท�ำงำน โดยปรำศจำกกำรใช้แรงงำนมนุษย์ให้ผลผลิตอย่ำงไร้ที่ติ เทคโนโลยีล่ำสุดของเครื่องจักรกลของ MAZAK ถูกรวม เข้ ำ กั บ หุ ่ น ยนต์ หรื อ อุ ป กรณ์ อั ต โนมั ติ นอกจำกนี้ PALLETECH FMS ถูกใช้โดยผู้ผลิตทั่วโลก เนื่องจำก ระบบนี้ถูกออกแบบส�ำหรับกำรขยำยตัวอย่ำงสะดวก หลั ง จำกกำรติ ด ตั้ ง ในครั้ ง แรก เพื่ อ ตอบสนองควำม ต้องกำรด้ำนกำรผลิตที่เพิ่มขึ้น ระบบนี้ให้ควำมยืดหยุ่น ในกำรผลิตอย่ำงไร้ที่ติ ประกำรที่ (5) เทคโนโลยีกำรจัดกำรงำนทีห่ ลำกหลำย แบบ 5 แกน (5 - Axis Multi - Tasking Technology) สำมำรถ เคลื่อนที่ได้มำกขึ้น ช่วยให้เครื่องจักรมีประสิทธิภำพ กำรท� ำ งำนที่ สู ง ขึ้ น สำมำรถใช้ ใ นกระบวนกำรผลิ ต ชิ้นงำนที่มีควำมสลับซับซ้อนมำกขึ้นได้ด้วยกำรตั้งค่ำ เพียงครั้งเดียว
ประกำรที่ (6) มี ค วำมรวดเร็ ว และแม่ น ย� ำ สู ง เครือ่ งจักรกลของ MAZAK ทัง้ หมดต้องมีคณ ุ สมบัตนิ เี้ พือ่ เพิ่มผลผลิตให้มำกขึ้นในกระบวนกำรผลิต ประกำรที่ (7) เทคโนโลยี เ ครื อ ข่ ำ ย ด้ ว ยกำรใช้ ประโยชน์ เ ครื อ ข่ ำ ยโรงงำน กำรเข้ ำ ถึ ง ได้ ซึ่ ง ข้ อ มู ล เครื่ อ งจั ก ร โปรแกรมแมชชี น นิ่ ง ตำรำงกำรผลิ ต และอืน่ ๆ จะถูกรับรูไ้ ด้ และด้วยกำรปรับเปลีย่ นเทคโนโลยี ผลผลิตสำมำรถเพิ่มขึ้นได้
เทคโนโลยี SMOOTH CNC CONTROL ของ MAZAK ช่วยเพิ่มผลผลิตได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ผู้บริหำรของ MAZAK กล่ำวถึงควำมก้ำวหน้ำทำง เทคโนโลยีเครื่องจักรอุตสำหกรรมของประเทศไทยใน ยุคอุตสำหกรรม 4.0 ว่ำ MAZAK ให้ควำมส�ำคัญกับกำร น�ำเสนอเทคโนโลยีเครื่องจักรอุตสำหกรรม และโซลูชั่น กระบวนกำรผลิตสมัยใหม่ เพื่อรองรับกำรด�ำเนินธุรกิจ ในยุคอุตสำหกรรม 4.0 ซึ่งกล่ำวได้ว่ำทุกวันนี้มีลูกค้ำ และผู้ประกอบกำรจ�ำนวนไม่น้อยที่แสดงควำมต้องกำร เครื่องจักรสมัยใหม่ และต้องกำรให้ MAZAK เข้ำไป วำงระบบเครือข่ำยของเครื่องจักรทุกตัวในกระบวนกำร ผลิตของโรงงำน เพื่อให้ทรำบถึงสภำพกำรท�ำงำนของ เครื่องจักรแต่ละตัวได้ในทันที ซึ่งแน่นอนว่ำเทคโนโลยี เครื่ อ งจั ก รสมั ย ใหม่ นั้ น เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ อย่ ำงยิ่ ง ที่ จ ะ ท�ำให้องค์กรธุรกิจในภำคอุตสำหกรรมกำรผลิตประสบ ควำมส�ำเร็จในยุคอุตสำหกรรม 4.0 “เครือ่ งจักรของ MAZAK มำพร้อมเทคโนโลยี Smooth CNC Control ซึ่งเป็นระบบ Mazatrol CNC รุ่นที่ 7 ตัวควบคุม Smooth Controller มีควำมยืดหยุ่นในกำร เชื่อมต่อกับเครือข่ำย ท�ำให้กำรแบ่งปันข้อมูลระหว่ำง พื้นที่หน้ำงำนกับโรงงำนมีควำมไหลลื่น ช่วยเพิ่มผลผลิต ได้ อ ย่ ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพ นอกจำกนี้ MAZAK ยั ง มี ซอฟต์แวร์สนับสนุนกระบวนกำรผลิตให้มีควำมต่อเนื่อง อีกด้วย” ด้วยประสบกำรณ์กว่ำ 30 ปี ในกำรพัฒนำซอฟต์แวร์ CNC ของตัวเอง MAZAK จึงไม่หยุดยัง้ ทีจ่ ะพัฒนำเพือ่ ให้ ลูกค้ำ ซึง่ เป็นผูป้ ระกอบกำร ผูผ้ ลิตปรับปรุงประสิทธิภำพ กำรผลิ ต และผลผลิ ต ของพวกเขำประกอบกั บ กำรที่ MAZAK มี เ ครื อ ข่ ำ ยสนั บ สนุ น ลู ก ค้ ำ ที่ ก ระจำยอยู ่ มำกถึ ง 79 แห่ ง ทั่ ว โลก ซึ่ ง จะสนั บ สนุ น กำรจั ด หำ โซลูชั่นที่มีประสิทธิภำพสูงสุดให้แก่ลูกค้ำจำกเครือข่ำย ที่ใกล้ที่สุด และมีควำมเข้ำใจในควำมต้องกำรพื้นฐำนใน แต่ละท้องถิ่น Mr. Ido ยั ง ได้ ก ล่ ำ วทิ้ ง ท้ ำ ยว่ ำ สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ในฐำนะผู้ผลิตเครื่องจักรกล คือ กำรให้กำรสนับสนุน ลูกค้ำอย่ำงต่อเนื่อง ตลอดอำยุกำรใช้งำนของเครื่องจักร ซึ่งถือเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ควำมส�ำเร็จ ทั้งใน ปั จ จุ บั น และอนำคต MAZAK ประเทศไทยยั ง คงไม่ หยุดยั้งที่จะลงทุนเพื่อปรับปรุงทักษะและควำมรู้ เพื่อให้ บุคลำกรของ MAZAK สำมำรถให้กำรสนับสนุนกำรจัดหำ เครื่องจักรและโซลูชั่นที่มีประสิทธิภำพสูงสุดให้แก่ลูกค้ำ ในประเทศไทยได้อย่ำงยั่งยืน
HORIZONTAL CNC LATHE MACHINE MODEL : INTEGREX i-200 INTEGREX i - 200 is the fifth generation Mazak multi - tasking machine with 6” chuck. Unsurpassed versatility thanks to B-Axis and C-Axis contouring Advance features a large machining area and high accuracy performance plus unsurpassed ease of operation with SmoothX control, a touch screen operation that operate similar to your phone/tablet. Integrex i - 200 เป็น เครื่องจักรเอนกประสงค์ Mazak รุ ่ น ที่ 5 ที่ มี หั ว จั บ ขนาด 6" ความสามารถในการท� า งานของ ี่ แกน B และ แกน C บนชิ้ น งานขนาดใหญ่ ที่ ย อดเยี่ ย มเปยม ประสิ ท ธิ ภ าพ และเครื่ อ งจั ก รมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพความแม่ น ย� า สู ง บวกกับง่ายต่อการควบคุมการท�างานของเครื่องจักรด้วยระบบ ควบคุ ม รุ ่ น ใหม่ ล ่ า สุ ด SmoothX ที่ เ ป็ น หน้ า จอระบบสั ม ผั ส ซึ่งท�างานคล้ายกับโทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ตของคุณนั่นเอง
อำจกล่ ำ วได้ ว ่ ำ MAZAK เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งจั ก ร และจั ด หำโซลู ชั่ น เพื่ อ อุ ต สำหกรรมกำรผลิ ต ที่ มี ก ำร พัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง มุ่งตอบโจทย์ควำมต้องกำรของ ผู ้ ป ระกอบกำรในอุ ต สำหกรรมผลิ ต อย่ ำ งครบวงจร เพือ่ เป็นกลไกหนึง่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นธุรกิจของลูกค้ำให้เติบโต ได้อย่ำงแข็งแกร่ง ท่ำมกลำงสถำนกำรณ์ทำงกำรตลำดทีม่ ี ระดับกำรแข่งขันทีร่ นุ แรงมำกขึน้ ซึง่ แม้จะมีโอกำส แต่กม็ ี ควำมท้ำทำยรออยู่ด้วยเช่นกัน
August/september 2016
25
ADVERToRIAL
surface with
Take off high-end
Balzers, Liechtenstein, June 2016 – Tribological wear, friction and mechanical impacts take their toll. During operation, aerospace components must withstand wear, corrosion, thermal effects, erosion and greater loads whilst still maintaining their characteristics of light weight and low friction. Plus: mechanical aerospace components have to comply with very strict regulations regarding environmental and safety requirements. Oerlikon Balzers and Oerlikon Metco, both part of the Surface Solutions Segment of the Oerlikon Group, are scheduled to display their complementary offerings for the aerospace industry at the 2016 Farnborough International Airshow.
solutions for the aerospace industry
The objective of a coating is to protect against an undesired effect, such as friction, wear, corrosion, or heat transfer. Coatings can also add new properties to facilitate a desired effect, such as thermal conduction, gas permeability, electrical conduction, magnetism, self-lubrication and low friction. To maximize operational efficiency and safety in the aerospace industry, functional coatings play an essential role as they enhance surface properties and increase the performance and reliability of critical aerospace components. Oerlikon Balzers: Greater performance and reliability Protected with BALINIT coatings from Oerlikon Balzers, such as the new BALINIT TURBINE PRO, the lightweight materials and components used in the aerospace industry permit greater loads, meet closer tolerances, and lower the cost of maintenance. They exhibit excellent wear resistance, 26
Machine Tools & Metalworking
low co-efficient of friction and functional stability at high temperature while also improving the corrosion re s i s t a n c e . C o n s e q u e n t l y, t h i s facilitates a longer service life and prolonged maintenance intervals, reduced energy consumption in flight systems and dry running operation in oil-free systems - thus giving the lowest cost of ownership. Besides, materials important to the aerospace industry like titanium and nickel alloys impose severe stress, not only thermally but also mechanically, on the tools used to machine them. Composite materials, which are increasingly used in the lightweight construction of aerospace p a r t s , a re c h a l l e n g i n g t o c u t . Oerlikon Balzers’ customized BALINIT coatings, such as the new BALINIT DIAMOND coatings, developed for the needs of the aerospace industry, improve the cutting parameters for a wide spectrum of applications while still ensuring the lifetime of the tool remains at a high level. Oerlikon Metco: Reducing fuel consumption and emissions Furthermore, Oerlikon Metco’s
thermal spray materials, coatings, specialized machining services and components for aircraft engines significantly increase efficiency and fuel economy and reduce emissions in engine operation. Specifically designed materials and coatings protect the base material of critical turbine parts from oxidation, hot gas corrosion, erosion, wear and excessive heat. In particular, thermal barrier coatings (TBCs) reduce heat transfer into the base material of turbine parts allowing high operating temperatures and thereby improved efficiency, mechanical properties and life expectancy. Next-generation materials designed for coating and additive manufacturing processes, such as the new MetcoAdd™ alloys, are key contributors to aircraft engine efficiency. With Nadcap certified Customer Centers throughout Europe and USA, Oerlikon Balzers and Oerlikon Metco aerospace customers benefit from a uniquely broad range of surface technologies, coating solutions, application equipment, materials, services and manufactured engine components.
Explore Oerlikon’s high-end surface solutions for the aerospace industry and visit us at the Farnborough Airshow, stand F30 in hall 4! About the Surface Solutions Segment The Surface Solutions Segment of the Oerlikon Group includes the two brands Oerlikon Balzers and Oerlikon Metco. Oerlikon Balzers is one of the world’s leading suppliers of surface technologies that significantly improve the performance and durability of precision components as well as tools for the metal and plastics processing i n d u s t r i e s . E x t re m e l y t h i n a n d exceptionally hard coatings, marketed under the BALINIT and BALIQ brand names, reduce friction and wear. The BALITHERM brand opens up a broad range of heat treatment services, w h e re a s B A LT O N E c o m p r i s e s coatings that are available in a full range of elegant colours, perfectly suited for decorative applications. Under the technology brand ePD, the company develops integrated services and solutions for the metallization of plastic parts with chrome effects. Worldwide, more
than 1’100 coating systems are in operation at Oerlikon Balzers facilities and its customers. Equipment engineering and assembly of Balzers’ machines are headquartered in Liechtenstein. Oerlikon Metco enhances surfaces with coating solutions and equipment. Customers benefit from a uniquely broad range of surface technologies, coating solutions, equipment, materials, services, and specialized machining services and components. The innovative solutions improve performance and increase efficiency and reliability. As innovation leader, Oerlikon Metco is forging new paths with materials for additive manufacturing (AM). Oerlikon Metco serves industries such as power generation, aviation, automotive, and other specialized markets. The Surface Solutions Segment operates a dynamically growing network of currently more than 145 facilities with over 140 coating centres in 37 countries in Europe, the Americas, Asia and Australia, employing more than 6,000 people. The Surface Solutions Segment is part of the Switzerland-based Oerlikon Group (SIX: OERL).
About Oerlikon Oerlikon (SIX: OERL) is a leading global technology Group, with a clear strategy of becoming a global powerhouse in surface solutions, advanced materials and materials processing. The Group is committed to investing in value-bringing technologies that provide customers with lighter, more durable materials that are able to increase performance, improve efficiency and reduce the use of scarce resources. A Swiss company with over 100 years of tradition, Oerlikon has a global footprint of over 13,500 employees at more than 170 locations in 37 countries and sales of CHF 2.7 billion in 2015. The company invested CHF 103 million in R&D in 2015 and has over 1,350 specialists developing innovative and customer-oriented products and services.
Oerlikon Balzers Coating (Thailand) Co.,Ltd. 700/538 Moo.6, T.Donhualoh, A.Muang, Chonburi 20000 Tel:. +66 38 454 201-4 Fax: +66 38 454 205 E-mail: info.th@oerlikon.com Website: www.oerlikon.com/balzers/th
Aerospace industry customers of Oerlikon Metco and Oerlikon Balzers benefit from a uniquely broad range of surface technologies, coating solutions, application equipment, materials, services and manufactured engine components.
August/september 2016
27
The Highlight
SELECTED TECHNOLOGY HIGHLIGHT
FOR NEW S-CURVE in InterPlas Thailand 2016 ตอกยํ้านโยบายอุตสาหกรรม New S-CURVE กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ไทยลาสุด ผานงานมหกรรมเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตพลาสติก และปโตรเคมี ‘InterPlas Thailand 2016’ ที่จัดขึ้น ณ ศูนยนิทรรศการและ การประชุมไบเทค ในชวงตนเดือนกรกฎาคมที่ผานมา โดยเครื่องจักรไฮไลทที่ ไดรับความสนใจในปนี้ คงหนีไมพนเทคโนโลยีเครื่องจักรเพื่อการผลิตพลาสติก ที่จะมารองรับอุตสาหกรรมใหม หรือ New S-Curve เชน เครื่องจักรในการผลิต ชิ้นสวนพลาสติกนํ้าหนักเบาเพื่อกลุมอุตสาหกรรมยานยนต เทคโนโลยีการผลิต วัสดุอุปกรณทางการแพทยระดับไมโครพลาสติก และเครื่องฉีดไฟฟาที่สามารถ ประหยัดพลังงานไดเพิ่มมากขึ้น เปนตน คอลัมน THE HIGHLIGHT ฉบับนี้ จึงไดคัดเฉพาะเทคโนโลยีเครื่องจักรที่จะ สนับสนุนการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม New S-Curve ซึ่งผูผลิต ผูประกอบการได นํามาจัดแสดงภายในงาน เปดโอกาสใหนักอุตสาหกรรมไทยไดมีโอกาสสัมผัส ความกาวลํ้าทางเทคโนโลยีเพื่อการผลิตพลาสติกและปโตรเคมีอยางใกลชิด โดย 5 เครื่องจักรเทคโนโลยีที่โดดเดนและไดรับความสนใจเปนอยางมาก ไดแก
XHD-L 65-90-65 X 1850
THE NEW AUTOMATIC HIGH SPEED THREE OR LAYER EXTRUSION FILM UNIT
C
M
Y
EXTRUSION FOR MEDICAL TUBE Brand: Model: Material: Extruding: Power Rating: Screw Diameter: Motor: Water pump:
THMCO TH 50MTU-28-20 Sofe PVC Output: 30-40 Kgs/Hr. 380 V, 3 Phase, 50Hz 50mm 50 Hp 1 Hp
Optional: • Fully Automatic Thickness Gauge (Chinese/ International Brand) • Fully Automatic T-die (Chinese/International Brand) • Fully Automatic Paper Core Loading & Unloading • System, the real automatic manipulation • Sub atmospheric Vacuum Box (pumps the air and forms a sub atmospheric area) • Melt Gear Pump & PID Control System • Micro-computer & Touch Screen Accurately • Controlled Temperature Controller • Fully Automatic Robot Hand Roller Change • and Loading System • Fully Automatic Hydraulic Screen Changer
ALLROUNDER 470 E
WHICH PRODUCES HIGH-PRECISION MEDICAL PARTS
28
Machine Tools & Metalworking
Optional: • Attractive Entry-Level Electric Injection Moulding Machine Series With Clamping Forces From 600 To 2.000 Kn • Proven High-Quality Technology “Made In Germany“ For Outstanding Precision And Energy Efficiency • Top Performance At A Top Price • Even Greater Cost-Effectiveness For Quality Parts
CM
MY
CY
CMY
K
BL700EK SERVO ENERGY-SAVING
INJECTION PLASTIC MOLDING MACHINE
INJUNCTION MOLDING MACHINE Brand: CHEN DE Model: EM 180-PET-SVP/2 Injunction Molding Machine is specially designed for producing PET preform, upgrading pump, motor, E sector power to handle sticky PET provides smooth operation. CHEN DE has established for more than 50 years and is one of CHEN SHONG GROUP who exports injection molding machine worldwide for more than 9,000 units per years.
Optional: • Full-Servo, Super Energy Saving, Energy Saving Up To 80%Save Your Energy • High Performance-European Standard • External Bending Clamping Structure Clamping Force Are Parallel: Protect Moulds, And Improve Accuracy, Avoid Product Flash When Small Molds Work In Big Machines, Reduce Pressure Losses And Achieve More Energy Saving. Ejector Stroke Is Not Limited By Toggles, Easier For Installation And Maintenance.
M
Y
Y
june 2016
29
TALK IN’ TREND
เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ
‘Thailand 4.0’ กับความหวังปั้นคลัสเตอร์หุ่นยนต์ไทย ….ฝันเฟื่องหรือเรื่องจริง
เมื่อก้าวสู่โมเดล ‘Thailand 4.0’ สิ่งที่รัฐบาลต้องการ ผลักดันในอุตสาหกรรม New S - Curve ก็คือ อุตสาหกรรม หุ ่ น ยนต์ โดยเชื่ อ มั่ น ว่ า การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมหุ ่ น ยนต์ จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของไทยให้พ้นจากประเทศที่มีรายได้ ปานกลางขั้นต�่า มาสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้ขั้นสูง ซึ่งการ ผลักดันคลัสเตอร์หุ่นยนต์ถือเป็นอีกหนึ่งนโยบายเร่งด่วนที่ ภาครัฐก�าลังให้ความส�าคัญอย่างมากในขณะนี้
ภำพรวมอุตสำหกรรมหุ่นยนต์ ไทย ยุค ‘THAILAND 4.0’
ทันทีที่ภาครัฐประกาศให้ประเทศไทยมุ่งสู่ Thailand 4.0 ปฏิเสธไม่ได้วา่ การหันมาใช้เทคโนโลยีออโตเมชันเป็นสิง่ ส�าคัญ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 85% ของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ไทยต่างให้ความส�าคัญและต้องการน�าเทคโนโลยีออโตเมชัน มาใช้ในอุตสาหกรรม เพราะเห็นว่าเทคโนโลยีนี้จะช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมของตนเองให้ตอบรับกับโมเดล Thailand 4.0 และ ท�าให้อุตสาหกรรมของตนเกิดการพัฒนาถึงขีดสุด ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ทีป่ รึกษาสถาบันวิทยาการหุน่ ยนต์ ภาคสนาม (FIBO) และคณะอนุกรรมการเร่งรัดนโยบายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษคลัสเตอร์หนุ่ ยนต์ ได้บรรยายพิเศษใน งานสัมมนา ASSEMBLY & AUTOMATION 2016 ว่า “หากมองประเทศเพือ่ นบ้านของไทยแล้วจะเห็นว่าหลายๆ ประเทศ อาทิ มาเลเซีย จีน เวียดนาม ต่างก�าหนดแนว นโยบายหลัก โดยมุง่ เน้นไปทีก่ ารพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งอนาคต ดังนั้น ค�าถามที่ว่าการใช้เทคโนโลยี หุ่นยนต์มีประโยชน์อย่างไร จึงเป็นค�าถามที่ค่อนข้างล้าสมัย เมือ่ เทียบกับค�าถามทีว่ า่ จะท�าอย่างไรให้อตุ สาหกรรมหุน่ ยนต์ ไทยเกิดขึ้นจริง ซึ่งเป็นค�าถามส�าคัญที่ภาครัฐและภาคเอกชน จะต้องเร่งหาค�าตอบเพือ่ ท�าให้โมเดล Thailand 4.0 ไม่เป็นเพียง ความฝันอีกต่อไป”
น�ำเข้ำเป็นหลัก ผลิตเป็นรอง ภำพสะท้อนควำมจริงของอุตสำหกรรมหุ่นยนต์ ไทย
แม้ จ ะมี ค วามพยายามผลั ก ดั น ให้ ผู ้ ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์ภายในประเทศ แต่ตาม สภาพความเป็นจริงแล้วกลับพบว่า ผู้ประกอบการยังคงเลือก ที่จะน�าเข้าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเสียเป็นส่วนใหญ่ เมื่อพิจารณาจากอุตสาหกรรมใหญ่ในประเทศที่มีความ ต้องการใช้หุ่นยนต์ เช่น บริษัท เจริญโภคภัณฑ์ วงเงินลงทุน 20,000 ล้านบาท เอสซีจี ประมาณ 5,000 - 6,000 ล้าน บาท ปตท. 2,000 ล้านบาท แต่ละอุตสาหกรรมมีวงเงินลงทุน 30
Machine Tools & Metalworking
มหาศาล หากประเทศไทยไม่สร้างคลัสเตอร์หุ่นยนต์ บริษัทที่ กล่าวมาข้างต้นก็จา� เป็นต้องน�าเข้าหุน่ ยนต์จากต่างประเทศมา ใช้ในการด�าเนินงาน เพื่อให้นโยบายและความมุ่งหวังเกี่ยวกับ Thailand 4.0 เกิดขึน้ จริง ภาครัฐจึงต้องผลักดันให้เกิดคลัสเตอร์หนุ่ ยนต์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการที่มีอยู่ โดยการสนับสนุนด้านเงินทุน ในรูปแบบกองทุน การร่วมทุน และสิทธิประโยชน์ทางภาษี อาทิ การหักค่าใช้จ่าย หักค่าเสื่อม เพื่อกระตุ้นให้เกิดความ ต้องการใช้ผผู้ ลิตทีเ่ ป็นบริษทั คนไทย ซึง่ ถือเป็นปัจจัยกระตุน้ ให้ เกิดการซื้อชิ้นส่วนหุ่นยนต์ที่ผลิตภายในประเทศ และไม่ท�าให้ เงินจ�านวนมหาศาลตกไปอยู่ในมือผู้ผลิตต่างประเทศในที่สุด
การทำาให้เกิดคลัสเตอร์หุ่นยนต์ในประเทศ ซึ่งคนไทย มีศักยภาพในการผลิตหุ่นยนต์ไม่แพ้ประเทศอื่น หลายๆ บริษัทสามารถออกแบบและผลิตชิ้นส่วน หุ่นยนต์ เช่น แขนกล สายพานต่างๆ ได้ ดังนั้น แทนที่ผู้ประกอบการจะนำาเข้าหุ่นยนต์ ทั้งหมด ก็อาจเปลี่ยนเป็นนำาเข้าบางส่วน แล้วนำามาประกอบกับชิ้นส่วนในประเทศ ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมและพัฒนาคลัสเตอร์ หุ่นยนต์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจไทยได้วิธีหนึ่ง
‘PULL MODEL’ กลยุทธ์ส�ำคัญในกำรพัฒนำ
หากพูดถึงคลัสเตอร์หุ่นยนต์ ที่ปรึกษาต่างประเทศมัก ก�าหนดกลยุทธ์การด�าเนินงานหลากหลายขั้นตอน ไม่ว่าจะ เป็นการเริ่มต้นท�า Research & Development (R&D), Engine Prototype และ Building Prototype ซึง่ ความจริงแล้วนักลงทุน ไทยยังไม่มีศักยภาพสูงถึงเพียงนั้น เหตุนี้เองวิธีที่จะท�าให้คลัสเตอร์หุ่นยนต์เกิดขึ้นจริง จึง ต้องน�าความต้องการหรือดีมานด์เป็นตัวตั้ง (Pull Model) จาก การคาดการณ์การลงทุนของบริษัทใหญ่ๆ ทั้ง บริษัท เจริญ โภคภัณฑ์ เอสซีจี หรือ ปตท. ชี้ให้เห็นถึงดีมานด์หรือความ
ต้องการซื้อจ�านวนมหาศาล ซึ่งความต้องการที่มากนี้เอง สามารถท�าให้เกิดคลัสเตอร์หุ่นยนต์ขึ้นได้
การพัฒนาหุ่นยนต์ในประเทศไทยให้ประสบ ความสำาเร็จในเชิงพาณิชย์และเกิดคลัสเตอร์หุ่นยนต์ ได้จริง สามารถทำาได้โดยใช้วิธีการแบบ Pull Model คือ ดูดีมำนด์หรือควำมต้องกำรของอุตสำหกรรม เป็นหลัก ว่ำมีควำมต้องกำรอย่ำงไร จำกนั้นจึง พัฒนำอุตสำหกรรมหุ่นยนต์ขึ้นมำ เพื่อรองรับ ควำมต้องกำรนั้นๆ ซึ่งวิธีคิดนี้จะต่างจากงานวิจัย ทั่วไป ที่มักจะเริ่มการสร้างต้นแบบขึ้นมาก่อน ที่เรียกว่า Push Model ที่อาจยังไม่เหมาะกับ สภาวการณ์ของนักลงทุนในประเทศไทยนัก
อุปสรรคของอุตสำหกรรมหุ่นยนต์ วิธีจัดกำรปัญหำ
ส�าหรับอุปสรรคส�าคัญในการผลักดันคลัสเตอร์หนุ่ ยนต์นนั้ โดยหลั ก แล้ ว จะเป็ น เรื่ อ งของปั จ จั ย ทางการเงิ น ของ นักลงทุนทีแ่ ม้จะมีการคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใดๆ ออกมา แต่ผปู้ ระกอบการรายใหม่กไ็ ม่สามารถลงทุนในอุตสาหกรรมได้ เนื่องจากไม่ได้รับการสนับสนุนที่ดีนักจากสถาบันทางการ เงินต่างๆ ดังนั้น ภาครัฐ สถาบันการเงินในประเทศควรมี ส่วนร่วมในการก�าหนดมาตรการด้านการลงทุน เพื่อเอื้อให้ อุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์ในประเทศไทยมีโอกาสเติบโต เป็นอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศ ภายใต้แนวคิด อุตสาหกรรม ‘New S - Curve’ นอกจากนี้ ควรก�าหนดมาตรการดึงดูดนักลงทุน ส�าหรับ บริษัทออกแบบระบบหุ่นยนต์ หรือ System Integrators โดย ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี ลดหย่อน 50% ซึ่งคาดว่ามาตรการ ข้างต้นนี้จะเป็นแรงเสริมในการกระตุ้นนักลงทุนให้สามารถ พัฒนานวัตกรรม คิดค้นไอเดียใหม่ๆ เพือ่ เติบโตเป็นคลัสเตอร์ หุน่ ยนต์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและตอบสนองต่อภาคอุตสาหกรรมภายใน ประเทศได้อย่างเต็มศักยภาพ
นวัตกรรมภูมิปัญญำไทย ขับเคลื่อนคลัสเตอร์หุ่นยนต์ ไทยให้รุ่งเรือง
ทั้งนี้ แก่นหลักของโมเดล Thailand 4.0 คือ การน�าความ หลากหลายเชิงชีวภาพ และความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม มาท�าให้เกิดความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และเครื่องกล ที่ ใช้ ร ะบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ค วบคุ ม หรื อ Smart Devices, Robotics & Mechatronics ก็เป็น 1 ใน 5 กลุ่มเทคโนโลยี และอุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย ที่ ต ้ อ งน� า ความหลากหลาย เชิ ง ชี ว ภาพและวั ฒ นธรรมมาเติ ม เต็ ม ด้ ว ยวิ ท ยาการ ความคิดสร้างสรรค์ รวมไปถึงนวัตกรรมล�้าสมัย ประเทศไทย จั ด เป็ น ประเทศที่ มี ค วามหลากหลาย ทั้ ง ด้ า นชี ว ภาพ
มำตรกำรสนับสนุนกำรลงทุน อุตสำหกรรมผลิตหุ่นยนต์ ในประเทศไทย จัดตั้งกองทุน Fund of Fund เพื่อลงทุนในธุรกิจ ร่วมลงทุน (Venture Capital) ในลักษณะจัดตั้ง กองทุนร่วมลงทุน (Matching Fund) มาตรการทางการเงิน โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำา มาตรการทางภาษี ปรับโครงสร้างอากรขาเข้า ชิ้นส่วน / อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ยกเว้นอากร ขาเข้ามาทำา R&D / ทดสอบ และหักค่าใช้จ่าย 2 เท่า สำาหรับการอบรมบุคลากร
และวัฒนธรรมสูงมาก ดังนั้น สิ่งที่ต้องท�าต่อไปในอนาคต เมื่ อ คลั ส เตอร์ หุ ่ น ยนต์ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในประเทศไทยแล้ ว คื อ การผลิตหุ่นยนต์ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาไทย มาแปลงเป็นนวัตกรรมที่ไม่เหมือนหุ่นยนต์ในประเทศใดๆ เช่ น การผลิ ต หุ ่ น ยนต์ น วดแผนโบราณ การท� า โรโบติ ก ส์ เมดิคัล เป็นต้น จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้วา่ ดีมานด์ในภาคอุตสาหกรรม ไทยนัน้ มีอยูใ่ นระดับสูง การเติมเต็มโอกาสให้นกั ลงทุนไทยทัง้ ด้านการสนับสนุนทางการเงิน การสร้างแรงจูงใจทางด้านภาษี ล้วนเป็นปัจจัยส�าคัญที่ช่วยสร้างโอกาสให้คลัสเตอร์หุ่นยนต์ เกิดขึ้นจริง หากท�าได้ตามมาตรการดังกล่าว โมเดล Thailand 4.0 จะต้องไปสูเ่ ป้าหมาย ซึง่ ส่งผลให้ประเทศไทยมีความมัน่ คง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดังที่ภาครัฐต้องการให้เกิดได้อย่างแน่นอน
EXECUTIVE SUMMARY
T
o step into the ‘Thailand 4.0’ model which Thai government want to drive New S - Curve industrial which is robotic industrial age. They believe that robotic industrial will raise Thailand’s economy and change the status of the country from middle income country into high income country instead. By supporting in benefit via fund, joint venture and privilege in tax, for example, tax expense and breakage expense to make the demand of Thai’s manufacturing company in the market. These supporting will encourage the robotic part trading for domestic and keep the massive profit from the foreign manufacturing at last.
August/september 2016
31
see / saw / seen
เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์
Trending Issue 'The future of Thai's EV' Hope, Truth and Chance จับประเด็น ‘อนาคตยานยนต์ไฟฟ้าไทย’ ความหวัง ความจริง และโอกาส นับเป็นทอล์ค ออฟ เดอะ ทาวน์ ของปีนี้ กั น เลยที เ ดี ย ว กั บ เรื่ อ งเด่ น ประเด็ น ดั ง ‘นวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้า’ หรือที่หลายๆ คน เรียกกันติดปากว่า ‘รถ EV’(Electric Vehicles) หรื อ BEV (Battery Electric Vehicles) ซึ่งหมายถึง รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจาก แบตเตอรี่เพียงอย่างเดียว กระแสที่ ใ ครๆ ก็ พู ด ถึ ง อนาคตรถ EV เทคโนโลยี ย านยนต์ ที่ จ ะตอบโจทย์ ต ลาด รถยนต์ในยุคน�า้ มันแพง ค่าแรงสูง มุง่ ลดโลกร้อน ท่ า มกลางนานาทรรศนะทั้ ง เชิ ง บวกและลบ จากหลายๆ ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ไม่ ว ่ า จะเป็ น เจ้าของนโยบายอย่างภาครัฐ ผู้ประกอบการ ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่กุมพลังแห่งการขับ เคลือ่ น และประชาชนผูบ้ ริโภค ซึง่ ถือเป็นไพ่ใบ ส�าคัญที่จะมีส่วนช่วยชี้ชะตาอนาคตยานยนต์ ไฟฟ้ า ไทยว่ า จะเปล่ ง ประกายฉายแววเป็ น ‘ดาวรุ่ง’ หรือจะแผ่วปลายกลายเป็น ‘ดาวร่วง’
ตั้งเป้าก�าหนดกลยุทธ์ ขับเคลื่อนยานยนต์ ไฟฟ้าให้ถูกทาง
ในฐานะที่ประเทศไทยเองก็เป็นหนึ่งใน ฐานการผลิตและประกอบชิ้นส่วนยานยนต์ รายส�าคัญแห่งหนึ่งของโลก การมุ่งเป้าก้าวสู่ อุตสาหกรรมยานยนต์จึงไม่ใช่เรื่องที่ไกลเกิน ฝันมากไปนัก หากต้องกลับมามองศักยภาพ ที่แท้จริง พิจารณาถึงโอกาสความเป็นไปได้ และความท้าทายที่ต้องเผชิญ เพื่อวางแผน ก�าหนดกลยุทธ์ในการขับเคลือ่ นยานยนต์ไฟฟ้า ได้อย่างถูกทิศทาง ทันทีที่รัฐบาลประกาศเดินหน้าสนับสนุน อุตสาหกรรมยานยนต์ พร้อมขับเคลื่อนแผน ส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2579 ยิง่ ตอกย�า้ ให้ยานยนต์ไฟฟ้า ทะยานขึน้ แท่น ‘อุตสาหกรรมใหม่’ ทีม่ อี นาคต สวมบทพระเอกขับเคลื่อนภาพรวมเศรษฐกิจ ของประเทศให้มกี ารเติบโตอย่างเข้มแข็งต่อไป
รัฐบาลปูพรม ส่งเสริม ‘ยานยนต์ ไฟฟ้า’ อย่างต่อเนือ่ ง 2559
2555
2549 2547
32
• ปรับภาษีใหม่มผี ลเมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2559 • กระทรวงพลังงาน จัดท�าแผนขับเคลือ่ นส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ ไฟฟ้า เพือ่ ให้เกิดการใช้ งานรถยนต์ ไฟฟ้าประเภทไฮบริดปลัก๊ อิน และยานยนต์ ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ รวม 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2579 • สวทช. มอบต้นแบบรถยนต์ ไฟฟ้าดัดแปลง EGAT EV ให้ กฟผ.น�าไปใช้งาน และเก็บผล ทดสอบส�าหรับน�าไปปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ ไฟฟ้าในอนาคต • ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) และส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดท�ามาตรฐานเกีย่ วกับยานยนต์ ไฟฟ้ารายการแรก คือ มาตรฐานเต้ารับและเต้าเสียบส�าหรับยานยนต์ ไฟฟ้าขนาดใหญ่ • ครม.มีมติเห็นชอบกับมาตรการส่งเสริมการผลิตรถยนต์ ไฟฟ้าในประเทศ • ครม.มีมติอนุมตั กิ ารเปลีย่ นโครงสร้างภาษีสรรพสามิต โดยวัดจากการปล่อย CO2 และ คุณสมบัตใิ นด้านความปลอดภัย โดยให้ผผู้ ลิตมีการเตรียมการเพือ่ ผลิตรถยนต์ ให้เหมาะกับโครงสร้างภาษีใหม่ • จัดตัง้ และด�าเนินโครงการอีโคคาร์ • รัฐบาลเริม่ วางแผนปรับภาษีสา� หรับรถยนต์พลังงานไฟฟ้า และรถทีป่ ล่อย CO2 ต�า่ ไว้ที่ 10% ซึง่ ต�า่ ทีส่ ดุ ในรถยนต์นงั่
Machine Tools & Metalworking
รัฐปูพรมส่งเสริม ‘ยานยนต์ ไฟฟ้า’ อย่างต่อเนื่อง
หากลองย้ อ นรอยเส้ น ทางการส่ ง เสริ ม ยานยนต์ไฟฟ้าในบ้านเรา จะพบว่าภาครัฐให้ ความส�าคัญและมีนโยบายส่งเสริม สนับสนุน มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีต จนกระทั่งล่าสุด เมือ่ ต้นเดือนสิงหาคม ทีผ่ า่ นมา ทีป่ ระชุมคณะ รัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติเห็นชอบแผนส่งเสริม ลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย โดย ได้อนุมัติหลักการว่า บริษัทที่สนใจลงทุนผลิต รถยนต์ ไ ฟฟ้ า ในประเทศ ต้ อ งยื่ น แผนการ ด� า เนิ น งานในลั ก ษณะแผนรวม (แพคเกจ) ประกอบด้วย แผนการลงทุนประกอบรถยนต์ ไฟฟ้า และผลิตชิน้ ส่วนส�าคัญของรถยนต์ไฟฟ้า อาทิ แบตเตอรี่ มอเตอร์ ระบบการจ่ายไฟ พร้อมทั้งให้การส่งเสริมรถยนต์ไฟฟ้า (Battery Electric Vehicles : BEV) เพื่อเป็นการเตรียม ความพร้ อ มของอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ทย ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอนาคต ของยานยนต์ ซึง่ ขณะนีม้ ที ศิ ทางทีช่ ดั เจนว่าจะ มุ่งไปสู่การขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า มาตรการส่งเสริมทีภ่ าครัฐด�าเนินการอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง ผลั ก ดั น ให้ ภ าคเอกชนโดยเฉพาะ ผู ้ ผ ลิ ต รถยนต์ ห ลายๆ ค่ า ยที่ มี ฐ านโรงงาน ประกอบรถยนต์ในประเทศไทยตื่นตัวขานรับ นโยบาย ‘ยานยนต์ไฟฟ้า’ อย่างเป็นรูปธรรม อาทิ มีแผนทีจ่ ะต่อยอดให้ไทยเป็นฐานการผลิต รถกระบะทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และรถกระบะ Hybrid บริษทั แรกๆ ทีพ่ ฒ ั นารถยนต์ ไฟฟ้า มีเป้าหมายทีจ่ ะให้ไทยเป็นฐานการผลิต รถไฟฟ้าเพือ่ การส่งออก ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานการวิจยั และพัฒนารถยนต์ในระดับภูมภิ าค เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถให้ไทยเป็น ศูนย์กลางการพัฒนารถยนต์
นอกจากนี้ ในส่ ว นภาคเอกชนอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้องต่างก็ออกโรงสนับสนุนนโยบายภาค รัฐในการผลักดัน ‘ยานยนต์ไฟฟ้า’ ให้แจ้งเกิด เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่มีอนาคตการเติบโต เป็นกลไกที่สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศไทยได้อย่างมีนัยส�าคัญ ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดเจน ก็คือ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ซึง่ ได้รว่ มกับค่ายรถยนต์ ทั้งจากยุโรปและญี่ปุ่นรวม 3 - 4 ราย จัดตั้ง ‘สถานี ช าร์ จ ไฟฟ้ า ’ รองรั บ นโยบายรั ฐ บาล ในการผลั ก ดั น ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ให้ เ กิ ด ขึ้ น ใน อนาคตอันใกล้ ซึ่งปัจจุบัน ปตท. มีสถานีชาร์จ ไฟฟ้าจ�านวน 4 แห่ง และมีเป้าหมายจะเพิม่ เป็น 6 แห่ง ภายในปีนี้ และเพิ่มอีก 14 แห่ง เป็น 20 แห่ง ภายในปี พ.ศ. 2560 อี ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า งที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความ มุ่งมั่นสานฝันการก้าวสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้ า ไทย ก็ คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ร่่วมกับ บริษัท FOMM Corporation ซึง่ เป็นบริษทั ผูอ้ อกแบบ ยานยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กจากประเทศญี่ปุ่น พั ฒ นารถยนต์ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ต้ น แบบเชิ ง พาณิชย์ หรือ รถต้นแบบ Concept One ที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ สภาวะภู มิ อ ากาศใน ประเทศไทย ถือเป็นรถยนต์ขนาด 4 ทีน่ งั่ ทีเ่ ล็ก ทีส่ ดุ คันแรกของโลก ออกแบบตัวถังรถให้กนั น�า้ ขอบล้ อ เป็ น ใบพั ด ท� า ให้ ล อยตั ว พร้ อ มขั บ ในน�้ า ได้ ส่ ว นแบตเตอรี่ เป็ น รู ป แบบของ คาสเซ็ท สะดวกต่อการถอดเปลี่ยน และชาร์จ ด้วยไฟบ้านทั่วไป ภายในติดตั้งระบบท�าความ เย็นก�าลังสูง และประหยัดพลังงาน สามารถ ขับเคลื่อนได้ 150 กิโลเมตร อัตราความเร็ว สูงสุด 85 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
เปิดเวทีระดมความเห็น นานาทรรศนะ คิดรอบด้าน มองต่างมุม
ท่ามกลางกระแสการผลักดัน ‘ยานยนต์ ไฟฟ้า’ ให้กลายเป็นอุตสาหกรรมใหม่ ย่อมมี ทั้งแรงสนับสนุนและแรงต้าน เพื่อถ่วงสมดุล ให้การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศไทยมีความเข้มแข็ง การเปิดรับความ คิดเห็นและนานาทัศนะ จากหลากหลายภาค ส่วน ย่อมท�าให้การวางนโยบาย การส่งเสริม สนับสนุน การตัดสินใจลงทุน และอืน่ ๆ มีความ รอบด้านครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ภายในงานแสดงเทคโนโลยีชิ้นส่วนยาน ยนต์ ประจ�าปี 2559 ที่ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย ส� า นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ จึงไม่พลาดที่จะมีเวที เสวนาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการส่งเสริมให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า” เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมเสวนาจาก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการ
“EV เป็นเทคโนโลยีใหม่ต้องอาศัยเวลา สิ่งที่เกิดขึ้น ผมมองว่า เป็น Power Trend ดังนั้น เมื่อเทรนด์มา โอกาสมี การจะสนับสนุน ให้เกิดขึ้นไม่ใช่เรื่องยาก แต่ก็ต้องมีการวางแผนให้รอบด้าน ต้องค�านึงถึงความพร้อมในเรื่องต่างๆ เช่น พลังงานไฟฟ้า สถานีชาร์จ ความพร้อมของภาคการผลิต เพราะการที่เราจะมุ่งเป้า ไปยังอุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้าหรือไม่ ไม่ใช่ผู้ผลิตที่จะเป็นตัวก�าหนด เราต้องไม่บิดเบือนกลไกตลาด ไม่ควรส่งเสริมจนเอียงไป ด้านใดด้านหนึ่ง การสนับสนุนต้องดูกลไกทางอุตสาหกรรม เป็นส�าคัญ เพราะ EV เป็น Product Scale ไม่ใช่ Mass Production จ�าเป็นต้องให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง รถ EV มีข้อดี แต่ข้อที่เป็นอุปสรรคก็ต้องบอกด้วย ” คุณธนวัฒน์ คุ้มสิน นายกสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ ไทย
“หากจะส่งเสริมให้เกิดการผลิตยานยนต์ ไฟฟ้าในไทย ต้องมุ่งเน้นเรื่องการวิจัยเป็นหลัก ซึ่งหลังจากที่รัฐบาล ประกาศนโยบายชัดเจนในการพัฒนายานยนต์ ไฟฟ้าเป็น อุตสาหกรรมใหม่ สวทช. เองก็ได้รับมอบหมายให้ด�าเนินการ จัดท�าแผนพัฒนายานยนต์ ไฟฟ้า ซึ่งครอบคลุมทั้งเรื่อง การพัฒนาแบตเตอรี่ โครงสร้างน�้าหนัก ตลอดจนนโยบาย มาตรฐานต่างๆ ที่จะต่อยอดไปสู่ภาคอุตสาหกรรม สิ่งที่จะท�าให้ยานยนต์ ไฟฟ้าขับเคลื่อนได้ช้า ก็คือ เรื่องของ แบตเตอรี่ เนื่องจากมีข้อจ�ากัดทั้งเรื่องน�้าหนักและราคาที่ ค่อนข้างสูง แต่ในอนาคตคาดว่าจะมีผู้ลงทุนเรื่องการผลิต แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ราคาถูกลงตามกลไกทางการตลาด และในที่สุด ก็จะเกิดการใช้งานอย่างแพร่หลาย” คุณชาตรี ศรีไพพรรณ ที่ปรึกษาอาวุโส ผู้อ�านวยการ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
August/september 2016
33
“รถไฟฟ้า EV ไม่ใช่เรื่องใหม่ส�าหรับภาครัฐ เนื่องจากตระหนัก ดีอยู่แล้วว่าเทคโนโลยียานยนต์ ในอนาคต จะได้รับการพัฒนาให้มีการใช้ เชื้อเพลิงน้อยลง และปล่อย CO2 ต�่า โดยปัจจุบันถือเป็นช่วง เปลี่ยนผ่านของเทคโนโลยียานยนต์ ซึ่งรัฐบาลมุ่งสนับสนุนในรูปแบบ การลงทุนแบบแพกเกจ คือ ผู้ที่จะลงทุนประกอบรถยนต์ ไฟฟ้า ต้องผลิตชิ้นส่วนหลัก เช่น แบตเตอรี่ มอเตอร์ ไฟฟ้า กล่องควบคุม (CBU) ควบคู่กันไป เช่นเดียวกันกับโมเดลของอีโค่คาร์ ซึ่งท�าให้ต้นทุนถูก ทั้งยังมีการยกเว้นอากรน�าเข้า CBU และยกเว้นอากรน�าเข้าชิ้นส่วนหลักหรือ ส่วนประกอบ อุปกรณ์ประกอบของรถยนต์นั่งไฟฟ้า ในช่วงแรกของการประกอบรถยนต์ด้วย แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศฐานการผลิตยานยนต์ที่มีการส่งออก มากกว่าร้อยละ 60 มีซัพพลายเชนที่เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนที่มีศักยภาพ แต่เชื่อว่า การผลิตยานยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทยคงยังไม่เกิดขึ้น ในเร็ววันนี้ ยังต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากยังมีเรื่องของ เทคโนโลยีที่อยู่ระหว่างการพัฒนา รวมถึงเรื่องของผู้ผลิตรถยนต์ ที่จะต้องพิจารณาเรื่องความคุ้มทุน เรื่อง Business Model ด้วยเช่นกัน แม้ภาครัฐจะมีนโยบายและมาตรการสนับสนุน ที่ชัดเจนพอสมควรแล้วก็ตาม” พัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมยานยนต์ ได้แสดง ทรรศนะความคิดเห็นในมุมมองต่างๆ เกี่ยว กับการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย
ปูทางวางอนาคต คิดใหญ่เป็นผู้ผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า
จากนานาทรรศนะของผู้ประกอบการใน ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สะท้อนหลากหลายแง่มุม ของการก้าวสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าไทย ในอนาคต ซึ่งต้องยอมรับว่ากว่าประเทศไทย จะก้าวขึ้นแท่นเป็นผู้น�าอุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้ า ได้ นั้ น อาจต้ อ งเผชิ ญ ความท้ า ทาย หลายประการ แม้ว่าจะมีโอกาสที่หอมหวาน เป็นแรงจูงใจให้พุ่งเป้าไปสู่การเป็นประเทศ อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประเทศไทยจะเพิก เฉยต่อการขึ้นขบวนรถไฟสายยานยนต์ไฟฟ้า แต่ในอนาคตอันใกล้ผปู้ ระกอบการในภาคส่วน อุตสาหกรรมยานยนต์ก็ต้องปรับตัวในหลายๆ เรื่องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาทิ การปรับปรุง กระบวนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อ บังคับด้านสิง่ แวดล้อม การรับมือกับสภาวะการ แข่งขันในอุตสาหกรรมยานยนต์ทสี่ งู ขึน้ หรือแม้ กระทัง่ การปรับกระบวนการผลิตให้สอดคล้อง กับพัฒนาการของเทคโนโลยียานยนต์สเี ขียว ที่ มุ่งลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 34
Machine Tools & Metalworking
คุณดุสิต อนันตรักษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�านาญการพิเศษ ส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สมอ.)
“มติ ครม. ล่าสุดได้เห็นชอบแผนส่งเสริมลงทุนผลิตรถยนต์ ไฟฟ้า โดยบริษัทฯ ที่จะลงทุนต้องยื่นแผนการด�าเนินงานแบบแผนงานรวม ประกอบด้วย แผนลงทุนประกอบรถยนต์ ไฟฟ้าและผลิตชิ้นส่วนส�าคัญ เช่น มอเตอร์ แบตเตอรี่ ระบบควบคุมการจ่ายไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อขอรับ สิทธิประโยชน์ภาษีเงินได้และสิทธิประโยชน์ด้านภาษีอื่นๆ โดยบริษัทฯ ที่ได้รับ บัตรส่งเสริมการลงทุนแล้ว จะได้รับลดหย่อนภาษีน�าเข้ารถยนต์ส�าเร็จรูป หรือ ยกเว้นอากรขาเข้าในรุ่นรถยนต์ที่ผลิต เพื่อทดลองตลาดในปริมาณที่ก�าหนด ทั้งยังได้สิทธิลดหย่อนยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าส�าคัญที่ยังไม่สามารถผลิต ภายในประเทศได้ในช่วงเริ่มต้นการประกอบรถยนต์ ไฟฟ้า หลังการได้รับบัตร ส่งเสริมการลงทุนแล้ว คาดว่าจะเห็นการลงทุนผลิตจริงภายใน 2 ปี ทั้งนี้ บีโอไอ กระทรวงการคลัง และกระทรวงอุตสาหกรรมจะร่วมกันก�าหนด หลักเกณฑ์และเงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนต่อไป ซึ่งมาตรการนี้ บริษัทฯ ที่สนใจจะต้องยื่นขอรับการส่งเสริมภายในปีนี้ เพื่อให้ ได้สิทธิประโยชน์สูงสุด” คุณดุสิต ไตรศิริพานิช ผู้อ�านวยการส�านักบริหารการลงทุน 2 ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(BOI)
ทั้งหมดนี้ หากพิจารณาถึงความเป็นไป ได้ในการก้าวสู่อุตสาหกรรม ‘ยานยนต์ไฟฟ้า’ อย่างเต็มรูปแบบ ประกอบกับนโยบายส่งเสริม และมาตรการสนับสนุนของภาครัฐที่ประกาศ ชั ด เจนถึ ง แผนการขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรม ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า อย่ า งจริ ง จั ง และต่ อ เนื่ อ ง อาจกล่าวได้วา่ ‘ยานยนต์ไฟฟ้า’ ในประเทศไทย ไม่ใช่แค่ความฝันที่เฟื่องฟุ้งไปตามวิสัยทัศน์ ที่ ก ว้ า งไกล หากแต่ เ ป็ น การปรั บ ตั ว รองรั บ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่าง เท่าทัน ขณะเดียวกันผู้ประกอบการตัวจริง เสี ย งจริ ง ที่ ค ร�่ า หวอดอยู ่ ใ นวงการยานยนต์ ก็ ต ้ อ งมองโอกาสให้ เ ป็ น ใช้ โ อกาสให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แม้ จ ะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความ ท้าทายหลายๆ ประการ แต่เชื่อว่าท้ายที่สุด ผู ้ ป ระกอบการไทยจะปรั บ ตั ว ได้ เพราะผู ้ ที่ ปรับตัวได้ก่อน ย่อมได้เปรียบ และผู้ที่ยอมรับ การเปลี่ยนแปลงก่อน ย่อมได้ก�าชัยชนะก่อน นั่นเอง
อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ วันวาน วันนี้ พรุง่ นี้
ยานยนต์ สันดาปภายใน ใช้พลังงาน จากน�า้ มัน
ยานยนต์ ไฟฟ้า ไฮบริด (HEV) ใช้นา�้ มัน และไฟฟ้า
ยานยนต์ ไฟฟ้า ไฮบริดปลัก๊ อิน (PHEV) ใช้นา�้ มันและไฟฟ้า แต่เน้นพลังงาน ไฟฟ้า ความเร็ว เพิม่ ขึน้
ยานยนต์ ไฟฟ้า แบตเตอรี่ (BEV) ใช้พลังงานไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ อย่างเดียว
ยานยนต์ ไฟฟ้า เซลล์เชือ้ เพลิง (FCEV) ผลิตพลังงาน ไฟฟ้าได้โดยตรง จากไฮโดรเจน เป็น พลังงานสะอาดใน อนาคต
H
EXECUTIVE SUMMARY
T
ที่มา:
- เสวนาพิเศษ “แนวทางการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง การผลิตยานยนต์ ไฟฟ้า” - สมาคมยานยนต์ ไฟฟ้าไทย - สถาบันยานยนต์ ไทย http://www.thaiauto.or.th/ - นโยบายและแผนที่น�าทางยานยนต์ ไฟฟ้าของประเทศไทย www.thaiauto.or.th - หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน 360 องศา วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559 - หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ วันที่ 28 กรกฎาคม 2559
hailand is one the most important manufacturing base for automobile part and part assembly of the world. To aiming for an ultimate goal in automobile manufacturing, it wouldn’t be a long distance dream anymore. Thailand must realize their true potential and considering on the opportunities and challenges to plan the strategy for electrical vehicle (EV) and drive it into the proper direction. Thai government has been announced the support for automobile manufacturing while encouraged the plan for EV usage about 1.2 million cars in 2036. This is an emphasize for EV to storming into ‘New Industry’ that has a bright future and act as a hero to drive overall economic of the country with stronger growth rate. You could say that ‘EV’ in Thailand is not just an imagination or day dreaming from wide spread vision anymore. This is an adaptation to support the transformation that will occur soon while the real entrepreneur which experienced in automobile manufacturing business must figure and catch the opportunities. They must take a chance to make the most profit even they must face many challenge factors.
August/september 2016
35
Special Report
เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ
ตามติดเทรนด์
‘โรงงานอุตสาหกรรมยุคใหม่’ ขับเคลื่อนกระบวนการผลิตด้วยหุ่นยนต์ ปฏิเสธไม่ได้ว่า ‘แรงงาน’ เป็นปัจจัย การผลิ ต ที่ ส� า คั ญ ของกระบวนการผลิ ต ทว่าปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และ อัตราการจ้างแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในภาคอุตสาหกรรมยังคงเป็น อุ ป สรรคที่ ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งเผชิ ญ และใช้ ก ารบริ ห ารจั ด การต้ น ทุ น เพื่ อ ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ อ ย่ า งมี ศั ก ยภาพ ท่ า มกลางภาวะการแข่ ง ขั น ที่ ท วี ค วาม รุนแรงมากขึ้นตามล�าดับ โลกอุตสาหกรรมสมัยใหม่ ภายใต้ แนวคิด ‘Industry 4.0’ ท�าให้เทคโนโลยี หุ่นยนต์เข้ามามีบทบาทในกระบวนการ ผลิตมากขึ้น เนื่องจากไม่เพียงแต่ช่วย แก้ ป ั ญ หาด้ า นแรงงาน หากยั ง เพิ่ ม ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตให้สูงขึ้น ลดระยะเวลาในการผลิต ท�าให้ก�าลังการ ผลิตเพิ่มสูงขึ้น ปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมหลาย แห่งทั่วโลกก�าลังหันมาพึ่งพาเทคโนโลยี หุ่นยนต์ ทดแทนแรงงานมนุษย์มากขึ้น แนวโน้มความต้องการใช้หุ่นยนต์ในภาค อุตสาหกรรมการผลิตจึงเพิม่ มากขึน้ อย่าง 36
Machine Tools & Metalworking
ต่อเนือ่ ง แม้จะต้องใช้เงินลงทุนสูงในระยะ เริ่ ม ต้ น ก็ ต าม แต่ นั บ เป็ น การลงทุ น ที่ ความคุ ้ ม ค่ า ในระยะยาว โดยเฉพาะ กระบวนการผลิตที่ต้องการความแม่นย�า สูง หรือกระบวนการผลิตที่เป็นอันตราย ต่อแรงงานมนุษย์ ทั้งนี้ ตัวเลขที่น่าสนใจจาก International Federation for Robotics หรือ IFR ระบุว่าภายในปี 2017 ประเทศจีนจะ กลายเป็นประเทศทีม่ หี นุ่ ยนต์ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรมมากที่สุดในโลก สะท้อนถึง บทบาทของเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ในอนาคต ได้อย่างชัดเจนทีเดียว เพื่ อ ให้ ผู ้ ป ระกอบการในบ้ า นเรา ก้าวทันกระแสเทคโนโลยีหุ่นยนต์ และ เกาะติดความก้าวหน้าของการประยุกต์ ใช้หุ่นยนต์ทดแทนแรงงานมนุษย์ในภาค อุตสาหกรรมการผลิต คอลัมน์ Special Report ฉบับนี้ ขอน�าเสนอตัวอย่างโรงงาน อุตสาหกรรมทีน่ า� นวัตกรรมหุน่ ยนต์มาใช้ ในกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ท�าไม? ต้องใช้
‘หุ่นยนต์อุตสาหกรรม’ ทดแทน ‘แรงงานมนุษย์’
ลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน
ลดข้อจ�ากัดในเรื่องเวลาท�างาน มีความเร็ว ความแม่นย�า และความละเอียดสูง
กระบวนการหยิบจับชิ้นงานที่เหมาะสม ช่วยร่นระยะเวลาในการท�างาน และความเสียหายของชิ้นงานได้
ผลผลิตได้มาตรฐานคงที่
ใช้ปฏิบัติงานที่มีความอันตราย หรืองานที่มีความเสี่ยงได้
Foxconn International Holdings Ltd.
Shenzhen Rapoo Technology Co.
Foxconn โรงงานผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ของโลก สัญชาติไต้หวัน ยกระดับโรงงานให้ทันสมัยยิ่งขึ้น โดยน�าหุ่นยนต์แขนกล Foxbot มาใช้ในกระบวนการผลิต ส�าหรับงานที่ต้องท�าซ�้าหรืองานที่มี ความซับซ้อนไม่มากนัก ส่วนแรงงานมนุษย์จะถูกโอนย้ายไปปฏิบตั หิ น้าที่ ในสายงานที่ซับซ้อนมากขึ้น เช่น งานพัฒนาและวิจัย หรือการควบคุม การผลิตและผลิตภาพของสินค้า
บริษัท Shenzhen Rapoo Technology โรงงานตั้งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศจีน โดยติดตัง้ หุน่ ยนต์ของ ABB Ltd. สัญชาติสวีเดน จ�านวน 80 ตัว และน�าหุ่นยนต์แขนกลมาใช้ทดแทนแรงงานคนเป็นระยะเวลาหลายปี
การใช้งาน: ประกอบอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ
ใช้หุ่นยนต์แขนกล ทดแทนแรงงานมนุษย์ - สามารถประหยัดต้นทุนได้สูงถึง 1.6 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐในแต่ละปี - ลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน เนื่องจากบริษัทฯ ได้ลดจ�านวนแรงงานเหลือน้อยกว่า 1,000 คน จากจ�านวน 3,000 คน แต่ทั้งนี้ แม้จะมีการลดจ�าวนพนักงานลง แต่ บริษทั ฯ ไม่มกี ารปลดพนักงานทัง้ หมดออกเพือ่ น�าหุน่ ยนต์มาท�างานแทนที่ เนือ่ งจาก บริษัทฯ พยายามหาจุดสมดุลให้หุ่นยนต์และมนุษย์สามารถท�างานร่วมกันได้
ใช้หุ่นยนต์ ในกระบวนการผลิตประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้น - กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น - ลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน Source: www.voathai.com, https://goo.gl/wXT597
การใช้งาน: ใช้ประกอบชิ้นส่วนของเมาส์ คีย์บอร์ด และอุปกรณ์แยกย่อย
ขั้นตอนการผลิต สายพานล�าเลียงจะขนย้ายแผงวงจรจาก เครื่องบัดกรีอุตสาหกรรม โดยหุ่นยนต์ แขนกลจะเคลื่อนย้ายแผงวงจรเหล่านั้น จากเหล็กที่เคลื่อนไหวไปมา และวางลงไป ในสายพานล�าเลียงอีกเส้นหนึ่ง
หุน่ ยนต์ประกอบตัวรับสัญญาณของเมาส์ ไร้สาย เป็นงานทีก่ อ่ นหน้านีต้ อ้ งใช้แรงงาน คนถึง 26 คนในการท�า ในปัจจุบันใช้คน เพียงแค่ 1 หรือ 2 คน ในการควบคุม โดย แสงเลเซอร์จะเชื่อมปิดเสื้อเหล็กส�าหรับ ปลั๊ก USB โดยอัตโนมัติ 4 ตัวในเวลา เดียวกัน และแค่ไม่กขี่ น้ั ตอน แขนกลจะเลือ่ น ปลั๊ ก เหล่ า นั้ น ใส่ ซ องพลาสติ ก อั ต โนมั ติ อย่างรวดเร็ว
Source: http://goo.gl/pI0rMU
EXECUTIVE SUMMARY
N
owadays, many factories all over the world are heading into the robotics labor to replace human. The tendency of robotics need in the industrial sector are rising continuously even it use high value of investment at the beginning but it will be worthwhile in long run. It’s very useful with high accuracy manufacturing or the manufacturing process that endanger to human. The column Plant Explore this issue represented you the model of manufacturing factory that use robotic in the operation. Foxconn factory with Foxbot robotic that use in electronic component manufacturing for automate repeated routine work or less complex assembly. Shenzhen Rapoo Technology which use robotic arm to assembly the mouse, keyboard and accessory component.
august/september 2016
37
PLANT EXPLORE
เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)
เยี่ยมชมโรงงำน
ผลิตเครื่องจักรกลไต้หวัน อุ่นเครื่องก่อนงาน
TMTS 2016 MM ฉบับนี้ขอน�ำผู้อ่ำนเยี่ยมชมเทคโนโลยีกำรผลิตเครื่องจักรกลถึง ไต้หวัน โดยเรำได้รับเกียรติจำก Taiwan Machine Tool & Accessory Builders’ Association – TMBA เข้ำชมโรงงำนระดับแถวหน้ำด้ำนกำรผลิต เครือ่ งจักรกลของไต้หวัน รวมถึงร่วมงำน Pre - Show Press Conference ซึ่งนับเป็นกำรอุ่นเครื่องก่อนงำน Taiwan International Machine Tool Show - TMTS 2016 ที่จะจัดขึ้นวันที่ 23-27 พฤศจิกำยนนี้
รุกอย่ำง ‘หนัก’ และ ‘แน่น’ ในทุกด้ำน
‘ไต้หวัน’ แม้จะเป็นเกำะเล็กๆ มีพื้นที่เพียง 36,000 ตำรำงกิโลเมตร แต่กลับมีกำรเจริญเติบโตอย่ำงน่ำสนใจในช่วงหลำยปีที่ผ่ำนมำ กระทั่ง กลำยเป็นประเทศพัฒนำแล้วที่มีขนำดเศรษฐกิจใหญ่ติดอันดับโลกด้วย กำรก�ำหนดทิศทำงให้ประเทศขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้ จำกแบรนด์ผลิตภัณฑ์ไอทีชั้นน�ำมำกมำยที่มำจำกบริษัทสัญชำติไต้หวัน อำทิ HTC Acer ASUS รวมไปถึง Foxconn ที่เป็นซัพพลำยเออร์ให้แก่ ผลิตภัณฑ์ของ Apple นอกจำกเทคโนโลยีแล้ว สิ่งที่น่ำสนใจและเป็นเสน่ห์ของไต้หวัน คือ จุดแข็งทำงด้ำนสังคมและวัฒนธรรม จำกกำรที่ไต้หวันถูกปกครองโดย ญี่ปุ่นช่วงก่อนสงครำมโลกครั้งที่ 2 ท�ำให้ไต้หวันซึมซับวัฒนธรรมและ เทคโนโลยีจำกญีป่ นุ่ มำกพอสมควร เรำได้เห็นภำพวิศวกรทีเ่ ป็นช่ำงฝีมอื
ในกำรผลิตและประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรอย่ำงประณีต เห็นควำมเป็น มืออำชีพและตรงต่อเวลำในกำรท�ำงำน ได้สัมผัสมำรยำทในแบบญี่ปุ่น รวมถึงควำมเป็นระเบียบของบ้ำนเมือง ท�ำให้ปริมำณคนไทยที่เดินทำง เข้ำประเทศไต้หวันเพิม่ ขึน้ ในหลำยปีทผี่ ำ่ นมำ ทัง้ เพือ่ กำรท่องเทีย่ ว และ กำรท�ำธุรกิจ เพรำะไต้หวันเป็นเหมือนตรงกลำงระหว่ำงคนญีป่ นุ่ คนไทย และคนจีน โดยหำกจะบอกว่ำเป็นกำรรวมข้อดีของทั้ง 3 ชนชำติก็คงไม่ เป็นกำรกล่ำวที่เกินเลย
เครื่องจักรกลคือฐำนกำรผลิตที่สร้ำงควำมเชื่อมั่น
ส�ำหรับอุตสำหกรรมเครื่องจักรกล ไต้หวันมีควำมได้เปรียบจำกสำย สัมพันธ์กับบริษัทชั้นน�ำหลำยแห่งในญี่ปุ่น ซึ่งบำงบริษัทได้ตั้งฐำนกำร ผลิตขนำดใหญ่ในไต้หวันโดยท�ำงำนร่วมกันได้อย่ำงยอดเยีย่ ม นอกจำกนี้ จำกภำวกำรณ์เติบโตทำงอุตสำหกรรมหลำยๆ ด้ำนในประเทศจีน ช่วย ยกระดับขีดควำมสำมำรถทำงกำรผลิตเครื่องจักรกลของไต้หวัน ทั้งด้ำน กำรพัฒนำเทคโนโลยี และกำรประหยัดต่อขนำด (Economy of Scale) ที่ท�ำให้กำรบริกำรหรือกำรจัดหำอะไหล่เป็นไปอย่ำงรวดเร็วยิ่งขึ้น ดัง เช่นที่เรำได้เห็นจำกผลิตภัณฑ์สัญชำติจีนหลำยรำยกำรที่มีคุณภำพทัด เทียบแบรนด์ระดับโลก เครื่องจักรกลไต้หวันจึงมีควำมพร้อมและควำมแข็งแกร่งตลอดโซ่ อุปทำน ไม่ว่ำจะเป็นฐำนกำรผลิตที่ใช้เครื่องจักรกลของตัวเอง แบรนด์ ผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ ที่ผู้บริโภคให้กำรยอมรับ และกำรเป็นต้นน�้ำผู้พัฒนำ เทคโนโลยีสำ� หรับ Machine Maker ด้วยตัวเอง ท�ำให้เครือ่ งจักรกลไต้หวัน ได้รับกำรยอมรับมำกขึ้นในตลำดโลก
ภำพรวมตลำดเครื่องจักรกลไต้หวัน
เครื่องจักรกลและชิ้นส่วนเครื่องจักรกลไต้หวันมีตลำดทั่วโลก ทั้งใน เอเชีย อเมริกำ และยุโรป โดยในไตรมำสแรกของปี 2016 ไต้หวันสำมำรถ ส่งออกเครื่องจักรกลได้ถึง 84,990 หน่วย คิดเป็นมูลค่ำ 6,362,790,000 เหรียญสหรัฐ ซึ่งแม้จะลดลงจำกช่วงเดียวกันในปี 2015 (ประมำณ 8 พันล้ำนเหรียญสหรัฐ) อันเป็นผลจำกภำวะเศรษฐกิจโลก แต่ก็ยังนับว่ำ เป็นมูลค่ำที่สูงมำก อีกทั้งยังมีอัตรำเติบโตในหลำยประเทศ นอกจำกนี้ ในไตรมำสเดียวกัน ไต้หวันยังส่งออกชิ้นส่วนเครื่องจักรกลคิดเป็นมูลค่ำ 3,262,580,000 เหรียญสหรัฐ โดยตลำดส่งออกมีสัดส่วนดังแผนภำพ ต่อไปนี้
สัดส่วนประเทศผู้น�ำเข้ำเครื่องจักรกลจำกไต้หวัน
สถิติกำรส่งออกชิ้นส่วนเครื่องจักรกลไต้หวัน
2016 Q1
2015 Q1
(Share %)
(Share %)
(Change %) CHINA UNITED STATES TURKEY GERMANY THAILAND NETHERLANDS VIETNAM INDIA JAPAN KOREA OTHERS
38
28.4 % 11.7 % 6.6 % 4.0 % 3.8 % 3.6 % 3.3 % 3.2 % 3.0 % 2.6 % 29.7 %
Machine Tools & Metalworking
CHINA JAPAN UNITED STATES GERMANY KOREA INDIA ITALY THAILAND TURKEY MALAYSIA OTHERS
46.5 % 10.1 % 6.8 % 5.4 % 5.1 % 4.1 % 2.9 % 1.8 % 1.7 % 1.2 % 14.6 %
-42.7 % -11.0 % -14.9 % -19.0 % -32.0 % +12.4 % -23.7 % -11.5 % -36.6 % -1.1 % -14.7 %
CHINA JAPAN UNITED STATES GERMANY KOREA INDIA ITALY THAILAND TURKEY MALAYSIA OTHERS
56.1 % 7.9 % 5.5 % 4.6 % 5.1 % 2.5 % 2.7 % 1.4 % 1.8 % 0.8 % 11.7 %
ตามทีไ่ ด้เกริน่ ไว้ตอนต้น ตัวแทนจาก MM ทัง้ ประเทศไทยและประเทศอืน่ ๆ ได้ รับโอกาสเข้าเยีย่ มชมโรงงานผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรกลและชิน้ ส่วนชัน้ น�า 10 แห่ง ของไต้หวัน เราจึงขอน�าเสนอภาพบรรยากาศบางส่วนที่ได้รับอนุญาต ให้เผยแพร่ได้ รวมถึง Highlight Products ของแต่ละรายที่จะจัดแสดง ในงาน TMTS 2016 ช่วงปลายปีนี้
TOP TEN HIGHLIGHTS
1
2
KEY ARROW
: Telescopic Steel Cover
Maximum Efficiency with 100 Patents
HARTFORD MOTORS : Machining Center
With R&D and Strong Focus, They Are More Than OEM
www.keyarrow.com
3
HIWIN TECHNOLOGIES
: Motion Control & System Technology
The Best Partner for Industry 4.0
5-axis machining center:5A-600T • • • •
5 years warranty on guideway Vertical bridge type construction delivers higher rigidity Bearing housing stop pin: Improves transmission rigidity Thermal growth control on 3-axis: 3-axis feed system is cooled to remove thermal deformation while ensuring the positioning accuracy of the machines • Great span on Y-axis linear guideway: Increases structural rigidity and resist heavy cutting load
www.hiwin.tw
www.hartford.com.tw august/september 2016
39
TOP TEN HIGHLIGHTS 5
GSA TECHNOLOGY : CNC Rotary Tables
4
GOODWAY MACHINE : Machine Tools
High Accuracy
High Performance
High Reliability
No.1 Machine Tools Maker
www.gsaplus.com.tw
6
TONGTAI
: Machine Tools
AWEA: MB series
MB series provide maximum mechanical performance and strengthen our reputation as a professional boring mills manufacturer. High rigidity structure combined with a high precision spindle provides excellent machining accuracy and heavy-duty cutting ability. The rotary working table is supported with hydrostatic bearings. Working table maximum load is up to 4,000 kg. B-axis positioning accuracy is 0.001o. One-piece bed structure plus 4 compound guideways are combined with the X / Y axes high rigidity box way to meet with various needs for heavy-duty cutting and precision machining. www.goodwaycnc.com
40
Machine Tools & Metalworking
www.tongtai.com.tw
The Icon of Trust & Technology
TOP TEN HIGHLIGHTS 7
POSA MACHINERY : Spindle
The Strong Supporting Industry
8
YOU JI
: CNC Machining Center
Best Solution for Challenging Workpieces
The POSA PHB-130 Boring and Milling Machine Spindle
It has a spindle diameter of 130 mm with a W-Axis stroke up to 700 mm. When the spindle extends 600 mm the straightness is 0.01mm (International Standards 0.02 mm), and the spindle runout accuracy is less than 0.02 mm (International Standards 0.03 mm). www.posa-spindle.com
9
LITZ HITECH
: Machine Tools
TM-2500 Machining Center
World’s No.5 Machine Tools Manufacturer
2016 TMTS will be the debut of LITZ turning and milling machine, TM2500. It is an ultimate compound machining center with many advantages combined all together-high accuracy, high rigidity, high functionality and intensification of processes. TM Series, acquiring relatively small space, realize the design of reducing thermal deformation, which is the best suited for small yet precise medical and measuring devices that require high-performance and high-accuracy machining for workpieces with complicated shapes. www.litzhitech.com
VHL Series Vertical Turning Lathe
You Ji VHL series vertical turning lathe adds a horizontal ram can reach past wide diameters to turn difficult-to-access surfaces. It is possible to keep the cutting tool short and stout. More importantly, the part doesn’t have to be moved to another machine to complete those features. The side head configuration provides the best solution for those challenging shapes and multiple diameters work pieces. Live tools and C axis are applicable for all VHL machines, providing extremely multifunctional features on turning, milling, drilling, tapping and grinding processes. www.youji.com
august/september 2016
41
TOP TEN HIGHLIGHTS
About TMTS 2016 Show Title:
10
FEMCO
: Boring & Milling Machine
There Is No Limit
Taiwan International Machine Tool Show (TMTS) Date: 23 - 27 November 2016 Venue: Greater Taichung International Expo Center Organizer: Taiwan Machine Tool & Accessory Builders' Association (TMBA) Exhibition Space: 78,000 square meters No. of Exhibitors: 700 companies Visitors: 75,000 visitors (Anticipated) Exhibits: • Cutting Machine Tools • Forming Machine Tools • Components/ Attachments / Cutting Tools / Tool holding & Work holding • Devices / Tools / Software / Inspecting, Measuring and Testing Equipment • Automation & Control / Hydraulic, Pneumatic, Lubrication / Industrial Robot • Associations / Trade Media
EXECUTIVE SUMMARY
T
BMC-110R1F
A new model BMC-110R1F, using the smaller facing head and its auto tool exchangeable (ATC), the speed will be the same as spindle itself. This facing head is sharing the same interchange interface with the other general processing tools. While the general processing tool is on the spindle, it can do drilling, tapping, milling and boring. If the facing head is changed onto the spindle, the differential mechanism of the rear spindle, may drive the shaft inside the spindle, this independent driven system may drive the U-axis on the facing head, which able the facing head to start with the facing function. www.femco.com.tw
For more information: tmts@tmba.org.tw
42
Machine Tools & Metalworking
aiwan Machine Tool Industry reached USD 4,167 million of product value in 2015, and ranked the 7 th in the world. Focused on export market, 80% of the exports to 138 countries all over the world lead Taiwan as the 4th export country of machine tools in the world. According to the statistics, the top 10 export areas of machine tools at the first quarter of 2016 are as follows: China (incl. Hong Kong), USA, Turkey, Germany, Thailand, Netherlands, Vietnam, India, Japan, and Korea. Moreover, Taiwan is ranked 15th by import value and 9th by consumption value in the world. Taiwan is a major manufacturing country and consuming market for global machine tools. There are more than 1,600 manufacturers in Taiwan machine tool supply chain, and nearly 90% of these manufacturers are located in the Greater Taichung area. Taichung is the biggest cluster of Taiwan machine tool industry, which is compared favorably with the automobile industry cluster in Germany and Japan. TMTS 2016 is themed with ‘Activating Intelligent Manufacturing • Heading towards Industry 4.0’ to express the achievement of related advanced products, including sensing technology, machineto-machine (M2M), data driven decision making, robot-controlled manufacturing, human-robot collaboration, and intelligent control of flexible (customized) manufacturing system, which all are specialized fields of Taiwan machine tool industry.
เรื่อง: Klaus Jopp เรียบเรียง: เรืองยศ ลอยฤทธิวุฒิไกร
special feature / MAINTENANCE
New
Measurement to Prevent Eroding มิติใหม่ การป้องกันการสึกกร่อน
รูปที่ 1: เครื่องชุบผิวที่สถาบัน Fraunhofer-IST: การพัฒนาใหม่ด้านเทคโนโลยีการชุบผิว สร้างการใช้งานใหม่ได้ต่อเนื่อง
การสึกกร่อนและการเสียดสีเป็นตัวก�าหนดอายุ การใช้งาน ภาระแรงที่สามารถรับได้ และขอบเขต การใช้งานของเครือ่ งมือและชิน้ งาน ด้วยเทคโนโลยี การปรั บ ผิ ว ซึ่ ง ได้ พั ฒ นาเป็ น กระบวนการช่ ว ย ป้องกันพื้นผิวให้ดีขึ้น ท�าให้สามารถปรับปรุงให้ใช้ งานได้ดีที่สุด หรือแม้กระทั่งสร้างการใช้งานแบบ ใหม่ๆ ขึ้นได้ บริษทั Axyntec Dünnschichttechnik GmbH ได้นา� เสนอการชุบผิวคาร์บอนคล้ายเพชร (Diamond like Carbon) ส�าหรับอุตสาหกรรมทันตกรรม บริษทั ฯ ได้พัฒนาการปรับผิวขึ้น ภายใต้ชื่อ Axyprotect Medical ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างความแข็ง ระดับสูง ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่ต�่า ความ ทนทานด้านเคมี และความสามารถเข้ากับสารอินทรี ได้ อย่างเช่นการใช้งานในร่างกายของมนุษย์ได้ August/september 2016
43
ส� า หรั บ ในการออกแบบโครงสร้ า งข้ อ ต่ อ นั้ น อวัยวะเทียมต้องมีความเที่ยงตรงทางกายวิภาค และต้องท�าให้เคลื่อนไหวได้อย่างถูกต้อง ไม่ท�าให้ เจ็บปวด ซึ่งล้วนแต่เป็นตัวแปรมีส่วนเกี่ยวข้องกับ การปรับใช้งานในร่างกายมนุษย์โดยตรง และขึ้นกับ ความแข็งแรงของวัสดุที่น�ามาผลิตเป็นหลัก Dr. Marcus Kuhn ผู้บริหารของ Axyntec ได้ อธิบายต่อไปว่า กระบวนการผลิต Plasmaimpax ที่ จดลิขสิทธิ์ไว้สามารถสร้างผิวที่ป้องกันการสึกหรอ มีความหนาแน่นสูงและทนต่อการกัดกร่อนได้อย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง ช่ ว ยป้ อ งกั น การแตกตั ว ของ ไอออนจากสสาร ทีส่ ง่ ผลท�าให้รา่ งกายเกิดอาการแพ้ ได้อย่างนิคเกิล ส่วนกระบวนการ Plasmaimpax นัน้ เป็นกระบวนการผสมระหว่างการปรับผิวด้วยก๊าซ พลาสมา (CVD) และ Ion Implantation ซึ่งท�างาน ด้วยการใช้พลังงานสสารอย่างสูง ซึ่งอาจจะสูงสุด ถึง 30 Kev ได้ และยิงไปยังที่ผิวชิ้นงานด้วยความถี่
ป้องกันการสึกกร่อนและ ป้องกันการเกาะยึดไปพร้อมกัน
44
Machine Tools & Metalworking
รูปที่ 2: เครื่องชุบผิว Selga - Coat จากบริษัท AHC Oberflachentechnik: สามารถชุบผิวโครมเมียม (VI) ได้ โดยไม่ขัดกับข้อกำาหนดของ Reach :
สิ่งสกปรกต่างๆ การยึดติดของสาร การตก ตะกอนหรือแม้แต่ไบโอฟิลม์ (Biofilm) นั้น เป็น ปัญหาใหญ่ของการท�างานในอุตสาหกรรมอาหาร หรื อ ในอุ ต สาหกรรมผลิ ต ยา พื้ น ผิ ว ลั ก ษณะนี้ นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติที่ไม่มีการยึดเกาะแล้ว ยั ง ต้ อ งมี ค วามต้ า นทานการสึ ก หรอได้ สู ง ด้ ว ย เพื่อให้มีอายุการใช้งานได้ยาวนาน ในที่นี้ผิว DLC ที่ปรับแต่งพิเศษก็ท�างานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผิว Sicon ที่พัฒนาขึ้นโดย สถาบั น Fraunhofer-Institut für Schicht-und Oberflächentechnik (IST) นัน้ เป็นผิว DLC ชนิดหนึง่ ที่ปรับแต่งด้วย Silicon และออกซิเจน เหมาะใช้กับ งานนีเ้ ป็นอย่างยิง่ ผิวชุบ Sicon นีม้ ีคณ ุ ภาพลืน่ ไหล คล้ายกับผิวเทฟลอน (Teflon) ที่รู้จักกันอย่างดี แต่ ทว่ามีความแข็งแรงทนทานต่อการสึกหรอได้สูงกว่า มาก ทั้งยังมีการทนต่อความร้อนที่สูงกว่า หนึ่งใน ตัวอย่างการใช้งานผิวที่ป้องกันการสึกหรอและผิว ที่ลื่นไหลนั้น คือ มีดตัดเฉือนที่ใช้ในอุตสากรรม ใน วงการอุตสาหกรรมนั้น นอกจากความทนทานต่อ การสึกหรอของมีดแล้ว คุณสมบัตผิ วิ ทีไ่ ม่ยดึ เกาะนัน้ มีความส�าคัญไม่น้อยกว่ากัน เพราะไม่เพียงแต่ช่วย ลดกระบวนการท�าความสะอาดแล้วก็ยงั ช่วยลดเวลา ที่ต้องหยุดเครื่องเพื่อเปลี่ยนเครื่องมือได้อีกด้วย หัวข้อที่ส�าคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือ การหาสสาร ตั ว แทนของโครเมี ย มที่ มี ป ั ญ หาอยู ่ ซึ่ ง ตามข้ อ ก�าหนด Reach ของสหภาพยุโรปนัน้ การใช้สารนีต้ อ้ ง ได้รบั ใบอนุญาตเฉพาะทาง นับตัง้ แต่เดือนกันยายน ปี 2017 เป็นต้นไป ระหว่างงานของสมาพันธ์กลาง ด้ า นเทคโนโลยี พื้ น ผิ ว หรื อ Zentralverbandes Oberflächentechnik (ZVO) ที่ มี ชื่ อ ว่ า ‘World Of Surface’ ก็ มี ก ารน� า เสนอทางเลื อ กใหม่ ๆ
กระบวนการซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของเทคโนโลยีปรับผิวด้วยพลาสมาทางด้าน อุตสาหกรรมได้ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการทำางานของเครื่องมือและ ชิ้นส่วนเครื่องจักรมาตลอด 25 ปีที่ผ่านมา Dr. Martin Riester ที่ปรึกษาสำาหรับเทคโนโลยีพื้นผิว สมาคมผู้ผลิตเครื่องจักรของเยอรมัน (VDMA)
ทางบริษัทฯ BASF ได้เลือกใช้ของเหลวไอออนิก (Ionic Liquid) มาใช้แทนกรดก�ามะถันโครเมียม กระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก ‘ของเหลวไอออนิก ถูกใช้งานในอุตสาหกรรมลักษณะนี้เป็นครั้งแรก’ Dr. Uwe Vagt ผู้บริก53 ารแผนก Product ของ บริษทั BASF และยังดูแล Ionic Liquid ได้กล่าวว่า สารพิเศษ ของเหลวไอออนิก (Ionic Liquids) จัดเป็น สารประเภทเกลืออินทรีย์ ที่มีสถานะเป็นของเหลว ณ อุณหภูมิห้อง มีคุณสมบัติน�ากระแสไฟฟ้าได้ และมีความเสถียรต่อความร้อนสูง ทางออกอีก ตัวเลือกหนึง่ ได้ถกู น�าเสนอโดย Coventya ด้วยระบบ ชนิดหนึ่งท�าขึ้นโดย Potassium Permanganate ด้ ว ยระบบใหม่ ที่ ไ ม่ ใช้ ค ลอรี น สามารถท� า งานที่ ความเข้ ม ข้ น ต�่ า กว่ า 5 G/L ได้ ชุ ด กั ล วาไนซ์ แบบใหม่นจี้ า� ต้องมีการเปลีย่ นใช้เมมเบรนเทฟลอน แทนเท่านั้น ขณะนี้ทาง Coventya ก�าลังพัฒนาการ เลือกส�าหรับสสารหลายๆ ชนิดให้ดียิ่งขึ้น
Oberflächentechnik GmbH ได้เลือกเดินหนทาง อื่ น ด้ ว ยกรรมวิ ธี ชุ บ ฮาร์ ด โครเมี ย มแบบคั ด เลื อ ก (Selective Hard Chromium Process) โดยท�าการ ชุบผิวโครเมียมแบบเฉพาะจุด ชิ้นงานที่ต้องการชุบ ผิวนัน้ จะถูกวางไว้ภายในภาชนะ และจะท�าปฏิกริยา กับสารชุบผิวในต�าแหน่งที่กา� หนดไว้เท่านั้น ผิวส่วน อื่นๆ ของชิ้นงานจะไม่ถูกชุบไปด้วย การชุบผิวนั้นภายในเครื่องจักรที่ปิดสนิท โดย โครเมียมจะไม่สัมผัสกับเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมเครื่อง และไม่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อม และเครื่องจักรนี้ จะไม่สร้างของเสียออกและท�างานกับสารเคมีที่น�า กลับมาใช้ใหม่ได้ทงั้ หมด จึงท�าให้มสี ารตกค้างทีต่ อ้ ง น�าไปก�าจัดจ�านวนน้อยเท่านัน้ ข้อก�าหนดการใช้สาร เคมีของสหภาพยุโรป Reach นั้นก�าหนดให้ตั้งแต่ ปี 2017 เป็นต้นไปไม่สามารถใช้โครเมียมทั่วๆ ไป อี ก แล้ ว แต่ Selga - Coat Chrom นี้ ก็ ไ ด้ รั บ ข้อยกเว้นในเรื่องนี้แล้ว
ทางออกของตัวเองช่วยสร้าง ผิวโครเมียม (VI) ได้อย่างถาวร
Mr.Jürgen Diesing หัวหน้าฝ่ายการตลาดของ AHC Oberflächentechnik กล่าวว่า “บริษัท AHC
กระบวนชุบผิวแบบเฉพาะจุด มีชื่อเรียกว่า Selga-Coat Chrom ทำางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากกว่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มากกว่ากระบวนชุบโครเมียม แบบทั่วๆ ไป รูปที่ 3: กระบวนการ Plasmaimpax จากบริษทั Axyntec สร้างผิวป้องกัน การสึกหรอด้วยการป้องกันการแตกตัวของไอออนิค
EXECUTIVE SUMMARY
A
ny dirt, adhesive behavior, subside or even biofilm are the big problem in food manufacturing’s operating or pharmaceutical manufacturing, surface adjusting which develop in to the process that help to prevent the surface better with non-adhesive behavior and high erode resistance to extend the usable life. Fraunhofer-Institut für Schicht- und Oberflächentechnik (IST) has developed the special DLC surface that advance with silicon and oxygen modified. It can resist to erode more than the former one and also endure the higher the temperature. It has non – adhesive surface which not only reduce the time for cleaning process but also reduce downtime for tools changing.
August/september 2016
45
special feature / welding
เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)
welding
e n i h Mac
ประกายไฟอาร์กนั้นเราสามารถสร้างได้ในสนาม ไฟฟ้าทัง้ จากระบบไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ หาก เลื่อนขั้วไฟเข้าหากันให้อยู่ในระยะที่เหมาะสม ดังรูปที่ 1 แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การเคลื่ อ นที่ ข องประจุ ไ ฟฟ้ า ในกรณี ของไฟฟ้ากระแสตรง ประจุบวกจะเคลื่อนตัวสู่ขั้วลบ (Cathode) ส่วนประจุลบจะเคลื่อนตัวสู่ขั้วบวก (Anode)
ความรู้สู่การปฏิบัติ - เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
รูปที่ 1: การเคลื่อนตัวของประจุขณะเกิดการอาร์กของไฟฟ้ากระแสตรง
ฉบับที่ผ่านมาเราคุยกันถึงเรื่องเกี่ยวกับลวดเชื่อม ไฟฟ้าพอเป็นพื้นฐานในการเลือกใช้ไปแล้ว ฉบับนี้มา ดูเรื่องเครื่องเชื่อมบ้าง เพราะเทคโนโลยีที่แฝงอยู่ใน แต่ละเครื่องแต่ละแบรนด์นั้นต่างกัน อาร์กได้เหมือนกัน แต่ท�าไมถึงเชื่อมได้ไม่เหมือนกัน ส�าหรับช่างเชื่อมแล้ว ไม่ต่างจากคนขับรถที่สนุกหรือน่าร�าคาญในการใช้ 46
Machine Tools & Metalworking
การปะทะกันของประจุทั้งสองจะก่อให้โมเลกุลของ ก๊าซเกิดประจุเพิ่มขึ้นอีกมากจนกลายเป็นพลาสม่า การ คงอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งของประกายไฟอาร์ ก ยั ง มี ตัวแปรทางฟิสิกส์อื่นๆ อีกหลายตัวที่เราจะไม่ขอพูดถึง ให้ ท ฤษฎี มั น ลึ ก เกิ น ไป การเชื่ อ มนั้ น เราท� า ได้ ทั้ ง กั บ ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ แต่ที่เหมาะสม ที่สุดคือการเชื่อมด้วยไฟฟ้ากระแสตรงเพราะจากแรง
เคลือ่ นไฟฟ้าทีค่ งทีไ่ ม่เปลีย่ นขัว้ ไปมาเหมือนไฟฟ้ากระแส สลับ จึงให้ประกายไฟอาร์กที่เสถียรกว่า ที่ควรตระหนัก ในการเชื่อมด้วยไฟฟ้ากระแสตรง คือ แรงอิทธิพลจาก สนามแม่เหล็กซึง่ เกิดขึน้ รอบๆ ตัวน�าไฟฟ้าขณะทีก่ ระแสไฟ ไหลผ่านจะเบนเบีย่ งเปลวไฟอาร์กดังรูปที่ 2 โดยจะเกิดขึน้ ไม่เฉพาะกับการเชื่อมเหล็กแต่เกิดกับโลหะทุกชนิด และ เป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดการสะดุดของเปลวไฟอาร์ก
รูปที่ 2: การหักเหของเปลวไฟอาร์กจากอิทธิพลของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
วิธีแก้ไข คือ ปรับมุมเอียงของลวดเชื่อมเสียใหม่ หรือย้ายต�าแหน่งสายดิน อีกวิธีในการแก้ไข คือ ใช้ เหล็กท่อนใหญ่วางลงในต�าแหน่งที่ต้องการโน้มเปลว ไฟอาร์กให้เอียงไป แต่สว่ นใหญ่แล้วการปรับมุมเอียงของ ลวดเชื่อมใช้ได้ เป็นที่ทราบกันดีว่าไฟฟ้ากระแสสลับนั้น ขั้วของไฟ จะสลับไปมาตามความถี่ ในรูปที่ 3 แสดงให้เห็นถึง พฤติ ก รรมของเปลวไฟอาร์ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ขณะเชื่ อ มด้ ว ย ไฟฟ้ากระแสสลับ
แหล่งก�าเนิดไฟเชื่อม
มีเหตุผลหลายประการที่ไม่ควรน�าไฟฟ้าที่ใช้อยู่ใน ครัวเรือนมาใช้กับงานเชื่อมโดยตรง ที่ส�าคัญคืออันตราย อันอาจเกิดจากไฟฟ้าแรงดันสูง (V) ทีใช้อยูน่ นั้ จะส่งผลให้ ผูเ้ กีย่ วข้องและผูเ้ ชือ่ มเสียชีวติ ได้ ประการต่อมา คือ ขณะ เชื่อมจะมีการใช้กระแสไฟ (A) สูงซึ่งจะสร้างภาระให้แก่ โครงข่ายการจ่ายไฟฟ้าไม่เสถียร ซึ่งอาจท�าให้เครื่องใช้ ไฟฟ้ า อื่ น ๆ เสี ย หายได้ นอกจากนี้ เราไม่ มี โ ครงข่ า ย ไฟฟ้ากระแสตรงทีเ่ หมาะแก่งานเชือ่ มไว้ใช้งานด้วย ดังนัน้ จึงจ�าเป็นต้องมีแหล่งก�าเนิดไฟเชือ่ มหรือเครือ่ งเชือ่ มหาก จะใช้ โดยเราอาจจ�าแนกเครือ่ งเชือ่ มออกตามเทคนิคของ การได้มาซึ่งไฟเชื่อมเป็นเครื่องเชื่อมแบบต่างๆ ดังนี้: - Transformer - Rectifier - Converter - Power Electronics
เครื่องเชื่อมประเภท TRANSFORMER
โดยหลักการแล้ว Transformer เพื่องานเชื่อมจะท�า หน้าที่ลดแรงดันและเพิ่มกระแสไฟฟ้ากระแสสลับตาม ความต้องการใช้ในงานเชื่อม มีโครงสร้างเช่นเดียวกับ Transformer หรือหม้อแปลงไฟทั่วไป คือ มีแกนเหล็ก พันด้วยลวดทองแดงสองขดดังรูปที่ 4 ด้านไฟเข้าเครื่อง (Primary) จ�านวนขดลวด
ด้านจ่ายไฟเชื่อม (Secondary) จ�านวนขดลวด
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
แกนเหล็ก
รูปที่ 4: หลักการของหม้อแปลงไฟเชื่อม
รอบที่ 1
ไฟอาร์กดับ ไฟอาร์กติดอีกครั้ง ช่วงระยะเวลา ที่ไฟอาร์กดับ
รูปที่ 3: พฤติกรรมของเปลวไฟอาร์คขณะเชื่อมด้วยไฟฟ้ากระแสสลับ
เปลวไฟอาร์กจะติดดับเป็นช่วงสลับกันไป สิ่งที่จะ ช่ ว ยให้ เ ปลวไฟอาร์ ก เสถี ย รอยู ่ ไ ด้ คื อ การเพิ่ ม ความถี่ เพิม่ Open Circuitvoltage (OCV) ของแหล่งก�าเนิดไฟเชือ่ ม อี ก ช่ อ งทางหนึ่ ง ที่ ช ่ ว ยแก้ ไขได้ คื อ สารผสมที่ มี อ ยู ่ ในฟลักซ์หุ้มลวดเชื่อม และเทคนิคของเครื่องเชื่อมไฟฟ้า กระแสสลับที่ปรับเปลี่ยน
โดยด้านไฟเข้าจะพันด้วยลวดขนาดเล็กจ�านวนมาก ส่วนด้านจ่ายไฟออกจะพันด้วยลวดเส้นใหญ่ด้วยจ�านวน ขดน้อยกว่า หลักคิดคร่าวๆ ถ้าไม่คา� นึงถึงความสูญเสียใดๆ ในระบบเลย จะได้สดั ส่วนระหว่างแรงดันไฟฟ้าและจ�านวน ขดลวดทีพ่ นั ระหว่างด้านไฟเข้า 1 และด้านจ่ายไฟเชือ่ ม 2 ดังนี้: U1 : U2 = N1: N2 และส�าหรับสัดส่วนระหว่าง แรงดันกับกระแสไฟฟ้าได้ U1 : U2 = I2 : I1 ข้ อ ส� า คั ญ คื อ แรงดั น ไฟฟ้ า ของเครื่ อ งเชื่ อ มขณะ เปิ ด เครื่ อ งแต่ ยั ง ไม่ เ ชื่ อ มซึ่ ง เยอรมนี เ รี ย กกั น ว่ า Leelaufspannung (ตรงกับ Open Circuitvoltage (OCV) ในภาษาอังกฤษ) จะต้องไม่เกิดเกณฑ์ที่ก�าหนดคือ 113V ส� า หรั บ ไฟฟ้ า กระแสตรงและไม่ เ กิ น 80V ส� า หรั บ ไฟฟ้ากระแสสลับโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยก�าลังสอง (RMS หรือ Effektivwert) ส�าหรับเครือ่ งทีใ่ ช้ปฏิบตั งิ านในสถานที่ เสี่ยงทางไฟฟ้าส�าหรับผู้เชื่อม เช่น เชื่อมโครงสร้างเหล็ก และเชือ่ มหม้อไอน้า� ขนาดใหญ่ซง่ึ ตัวผูเ้ ชือ่ มปีนป่ายขึน้ ไป ท� า งานบนงานนั้ น ๆ ห้ า มไม่ ใ ห้ ใช้ เ ครื่ อ งเชื่ อ มไฟฟ้ า กระแสสลับที่มีค่า OCV สูงเกินกว่า 48V ทั้งนี้ก็เพื่อ ความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง August/september 2016
47
การปรับกระแสไฟเชื่อมจาก Transformer ง่ายๆ แบบเก่าส�าหรับหม้อแปลงไฟเชื่อมขนาดเล็ก อาจปรั บ กระแสไฟให้ เ หมาะสมกั บ งานเชื่ อ มได้ โ ดย ปรับตั้งจ�านวนรอบขดลวดด้วยไฟเข้าดังรูปที่ 5 หรือ จ�านวนรอบขดลวดด้วยจ่ายไฟเชื่อมก็ได้แต่ใช้กับกรณีที่ กระแสและแรงดันไฟ OCV ต�่าๆ อีกทั้งการปรับตั้งท�าได้ เฉพาะช่วงหยุดเชื่อม Transformer
Rectifier
Smoothing Inductor
รูปที่ 8: Block Diagram ของต้นก�าลังไฟเชื่อมโดยทั่วไป ตามหลักการของ Koch และ Welz
เครื่องเชื่อมประเภท CONVERTER
รูปที่ 5: หลักการหนึ่งของการควบคุมไฟเชื่อมจาก Transformer
เครื่องเชื่อมประเภท RECTIFIER
เครื่องประเภทนี้เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสลับแรงดันสูง ให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงโดยอาศัยวงจร Rectifier ต่อพ่วง เข้าไปปรับกระแสสลับทางด้านออกของ Transformer ให้เป็นกระแสตรงตัวรูปที่ 6 ซึ่งใช้ Diode ท�าหน้าที่จัด กระแสไฟให้ไหลไปทางเดียว และต่อมาใช้หลักการของ Graetz ปรับปรุงคุณสมบัติโดยต่อ Diode เป็น Bridge Circult เข้าไปในวงจรดังรูปที่ 7
รอบที่ 1
รูปที่ 6: หลักการของวงจรปรับ ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสตรง โดยอาศัย Diode (D)
รอบที่ 1
เครื่องเชื่อมประเภท POWER ELECTRONICS
ส่วนของต้นก�าลังไฟเชื่อมในเครื่องเชื่อมประเภทนี้ จะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกซ์ ซึง่ ประกอบด้วย Transformer และ Rectifier โดยมีระบบอิเล็กทรอนิกซ์ควบคุมเป็นได้ ทั้งแบบ - Analog System - Secondary Clocked System - Primary Clocked System
รูปที่ 7: Single - Phase Bridge Rectifier ตามหลั ก การของ Graetz
การพัฒนาวงจรเครือ่ งเชือ่ มยุคใหม่มกี ารปรับเปลีย่ น กระแสไฟหลายขั้ น ตอน โดยในขั้ น แรกจะปรั บ ไฟฟ้ า กระแสสลั บ จากไฟบ้ า นเป็ น ไฟฟ้ า กระแสตรงด้ ว ย Rectifier ก่อน แล้วเปลีย่ นกระแสตรงทีไ่ ด้เป็นกระแสสลับ ความถี่สูงและรูปแบบอื่นก่อนจะผ่านเข้า Transformer เพือ่ ลดแรงดังลงแล้วปรับด้วย Rectifier ให้ได้ไฟเชือ่ มเป็น ไฟฟ้ากระแสตรงอีกครั้ง ด้วยเทคนิคความถี่สูงดังกล่าว ช่วยท�าให้ได้เครื่องเชื่อมที่ใช้ Transformer ขนาดเล็กและ เบาลง มีหลักการดังรูปที่ 8
48
รูปแบบเก่าของการเปลี่ยนพลังงานเพื่อให้ได้มาซึ่ง ไฟเชื่อมคือการเปลี่ยนผ่านพลังงานกลผ่านเพลาไปยัง เจนเนอเรเตอร์ โดยอาจท�าให้เราได้ไฟฟ้ากระแสสลับหรือ กระแสตรงเพือ่ งานเชือ่ มก็ได้ ตัวขับเคลือ่ นทีเ่ หมาะสมกับ สถานที่ก่อสร้างซึ่งไม่มีไฟฟ้าใช้ คือ เครื่องยนต์ ส่วนในที่ ซึ่งมีไฟอาจใช้มอเตอร์สามเฟสเป็นตัวขับเจนเนอเรเตอร์ ปั่นไฟเชื่อมโดยอาจเป็นได้ทั้งไฟเชื่อมกระแสตรงและ กระแสสลับ ข้อส�าคัญ คือ รอบเครื่องต้องคงที่ขณะเชื่อม
Machine Tools & Metalworking
Transformer
Rectifier
Control Transitors
รูปที่ 9: Block Diagram ของระบบต้นก�าลังไฟเชื่อมแบบ Analog ตามหลักการของ Koch และ welz
Transformer
Rectifier
Control
ระบบ Analog ทั่ ว ไปจะไม่ มี ร ะบบปรั บ ไฟที่ Transformer ให้เหมาะสมกับขนาดลวดเชือ่ ม และใช้วงจร Transistors ปรับให้ได้ไฟกระแสตรงที่ดี แทนที่จะเป็น Smoothing Induction ต้นก�าลังไฟเชื่อมระบบ Analog ผ่านวงจร Transistors มีความสูญเสียมากกว่าจึงท�าให้ เครื่องมีประสิทธิภาพต�่าไปด้วย แทนที่จะใช้ Transistor เป็นตัวปรับภาระโหลด แต่ให้เป็นวงจร Rapid Switch จะท�าให้ได้ Clocked Current Source ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรกแต่ Response Time นานกว่า การปรับตัวไฟเชื่อมจึงอาศัย Pulse - Width Module ที่ Clock Frequency (ซึ่งขึ้นกับ ชนิดของสารถึงตัวน�าที่ใช้) ประมาณ 30 - 200 KHz มี Block Diagram ดังรูปที่ 10 การพัฒนาระบบต้นก�าลังไฟเชือ่ มรุน่ ต่อมาเป็นแบบ Primary Clocked System ดัง Block Diagram รูปที่ 11 ซึ่ ง อาศั ย Rectifier ปรั บ ไฟฟ้ า 3 เฟสให้ เ ป็ น ไฟฟ้ า กระแสตรงแรงดันสูงก่อน จากนั้นใช้ Inverter เปลี่ยน กระแสตรงให้เป็น Rectangular Pulse ทีส่ ามารถปรับช่วง ความกว้างและความสูงของ Frequency ได้ก่อนที่จะ ผ่านเข้าสู่ Transformer เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ ความถี่สูงแล้วผ่าน Rectifier ปรับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง อี ก ครั้ ง ก่ อ นที่ จ ะผ่ า นเข้ า สู่ Smoothing Inductor เป็นไฟเชื่อมจากเครื่องเชื่อม Inverter รุ่นใหม่ๆ ทั้ ง หมดในฉบั บ นี้ เ ป็ น การพั ฒ นาระบบต้ น ก� า ลั ง ไฟเชื่อมที่เราพอคุยกับผู้ผลิตแต่ละรายได้บ้างว่า เครื่อง ที่ เราพอใจจะหามาไว้ ใช้ นั้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ป ระเภทใด ฉบับหน้าเราคุยกันต่อถึงการเชื่อมแบบอื่นๆ ต่อนะครับ
Smoothing Inductor
รูปที่ 10: Block Diagram ของระบบต้นก�าลังไฟเชื่อมแบบ Secondary Clocked System ตามหลักการของ Koch และ Welz
Control Rectifier
Transitors
Transformer
Rectifier
Smoothing Inductor
รูปที่ 11: Block Diagram ของระบบต้นก�าลังไฟเชื่อมแบบ Primary Clocked System
Source:
- Hans I.Fahrenwldt : “Praxiswissen Schweisstechnik” 4.Aufl.2011 Viewey & Teubner Verlg, Germany - www.ewm.de : “Die EWM E-Hand-Fibel” - Schulungsunterlage Fronius Technology Center : “Elektroden Schweissen” - มอก. 49 – 2556 : “ลวดเชื่อมไฟฟ้ามีสารพอกหุ้มใช้เชื่อมเหล็กกล้าไม่เจือและ เกรนละเอียดด้วยการเชื่อมอ๊าร์คโลหะด้วยมือ” - Prof. Dr. - ing.Knuth - Michael Honkel Universitaet Rostock : “Vorlesung Schweissmetallurgie” 2015 - www.voestalpine.com/welding : “Schweisspositionen nach EN ISO 6947” - www.wikipedia.de : - “Schweissstromquelle” - “Gleichrichter” - “Leerlufspannung” - www.semikron.com/de/applikationen/... - “Schweissstrom fuer Lichtbogenschweissen”
EXECUTIVE SUMMARY
T
he welding operation could use AC (Alternate Current) and DC (Direct Current) electric charge both but the best fit for welding is DC because the charge with DC is more stable which is different from AC that is why arc welding has more stable process. The issue that must be aware for DC welding is magnetic field that occurred around the conductor while the electricity is running, arc flame will be diverted. This phenomenon won’t occur with specific metal welding particularly but it could be occurred to every types of metal and also cause discontinue of arc flaming.
August/september 2016
49
Research & development
เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
The Process Control of
Hybrid PVD - PECVD for Industrial Works
การควบคุมกระบวนการเคลือบด้วย Hybrid PVD-PECVD สำาหรับงานอุตสาหกรรม การเคลื อ บแบบคอมโพสิ ท ที่ มี ค าร์ บ อนและ ไทเทเนียมเป็นพื้นฐาน เรียกว่า การเคลือบไทเทเนียมคาร์บอน มีความทนทานสูง และค่าเสียดทานสัมประสิทธิ์ ต�่า จึงได้รับความนิยมในการใช้ร่วมกับอุปกรณ์ที่ต้อง ใช้ ง านเชิ ง กล เพื่ อ เสริ ม ความแข็ ง แรงของวั ส ดุ ทว่ า กระบวนการเคลื อ บดั ง กล่ า วกลั บ พบว่ า มี ค ่ า ความไม่ เสถี ย รของแรงดั น ไฟฟ้ า ที่ ต กในระหว่ า งกระบวนการ เกิดขึ้น ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องหาค่าหรือเงื่อนไขเพื่อให้ สามารถคาดการณ์ค่าความไม่เสถียรดังกล่าว ซึ่งจะช่วย ให้กระบวนการเคลือบแบบคอมโพสิทมีประสิทธิภาพที่ สูงขึ้น สามารถท�าซ�้าได้ในกระบวนการผลิตเชิงปริมาณ จากความส�าคัญดังกล่าว Department of Physical Electronics, Faculty of Science, Masaryk University จึงได้ด�าเนินการวิจัย โดยวัตถุประสงค์หลักของงานวิจัย ชิ้นนี้ มุ่งเน้นการค้นหารูปแบบ วิธีการ หรือเงื่อนไขที่ แน่นอนส�าหรับการเคลือบแบบ Hybrid เพื่อตอบโจทย์ ปัญหาข้างต้น มุ่งเน้นที่กระบวนการเคลือบแบบ Hybrid ที่ มี ค วามแข็ ง แรงสู ง รองรั บ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ที่ต้องการทั้งคุณภาพและปริมาณ
ทดลองเพื่อทดสอบสถานะ การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต
กระบวนการทดลองนัน้ ด�าเนินการด้วยเครือ่ งจักรทีใ่ ช้ ในงานอุตสาหกรรม ซึ่งติดตั้งด้วยห้องสุญญากาศ ขนาด กว้าง 580 x ยาว 566 x สูง 580 ซม. ดังรูปที่ 1 โดยห้ อ งสุ ญ ญากาศนี้ จ ะมี ไ ทเทเนี ย มแคโทดทรง กระบอกกลวงอยู่ตรงส่วนกลาง และพื้นที่เก็บวัสดุติด ตั้ ง อยู ่ ร อบๆ ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น ซี เ มนต์ ทั ง สเตนคาร์ ไ บด์ ถู ก ท� า ความสะอาดโดยสารเคมี จากนั้ น น� า มาผ่ า น กระบวนการอัลตราโซนิค เพื่อลดผลกระทบของสารเคมี และจึงน�ามาติดตัง้ ในพืน้ ทีเ่ ก็บวัสดุและท�าการเหวีย่ งแบบ 3 ทิศทาง ซึ่งเป็นรูปแบบการเคลื่อนที่ที่ซับซ้อน แต่จะ ท�าให้การเคลือบผิวมีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกันทั่วทั้งวัสดุ แม้ว่ารูปทรงของวัสดุจะมีความแตกต่างกันก็ตาม 50
Machine Tools & Metalworking
รูปที่ 1: ภาพร่างห้องสุญญากาศที่ใช้พ่นเคลือบ
จากนั้นจึงจะเป็นการเพิ่มแรงดันและอุณหภูมิที่สูงที่ 450oC โดยสิ่งที่เจือปนอยู่ในวัตถุดิบจะถูกก�าจัดออกไป หลั ง จากขั้ น ตอนการท� า ความสะอาดแล้ ว จากนั้ น จะเป็นขั้นตอนการเคลือบวัสดุ โดยใช้ nc-TiC/a-C:H ด้วย 20 kW แม็กนีตรอน และ -100 V Bias ส�าหรับ วัตถุดิบ Ar 50 sccm (~ 0.42 Pa) รวมถึงอุณหภูมิวัสดุที่ 450oC แหล่งก�าลังไฟฟ้าแบบ DC จะถูกใช้ส�าหรับการ สร้างความเบี่ยงเบน (Biasing) ของวัตถุดิบ การทดสอบ สถานะและผลลัพธ์ของการทดสอบด้วย Fischerscope H100 Depth-Sensing Indentation (DSI) ที่ติดตั้งด้วย Berkovich ท�าให้สามารถค�านวณค่าความแข็งแรงได้ด้วย กระบวนการ Oliver - Pharr ส่วนการตรวจสอบสารเคมีนนั้ สามารถท�าได้โดยการฉายรังสี X-ray Spectroscopy (EDX) ด้วยการสแกนอิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบ TESCAN MIRA FEG
รูปแบบแตกต่างกัน แปรผันตามเงื่อนไขกระบวนการเคลือบ
1. ลักษณะกระบวนการทับถมของสาร การพัฒนา ของแคโทดและแรงดันรวมที่เกิดขึ้นในเวลาที่ท�าการพ่น สารนั้น อะเซทิลีนค่อยๆ เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ เพื่อสร้าง ความเสถียรให้กับวัตถุ เมื่อค่าของอะเซทิลีนคงที่แรงดัน ไฟฟ้าของแคโทดจะตกลง แรงดันและอะเซทิลนี จะเพิม่ ค่า ขึน้ ไปด้วยกันจนถึงจุดอิม่ ตัว ค่าคุณสมบัตขิ องพลาสมาที่ ทับถมกันและค่าคุณสมบัตใิ นการเคลือบจะสอดคล้องกับ การที่แรงดันไฟฟ้าตก ทั้งนี้ สามารถอธิบายได้จากการเปลี่ยนเฟสของพื้น ผิววัตถุเป้าหมายจาก Ti/TiC เป็น TiC ก่อให้เกิดการปลด
ปล่อยพลังงานจากอิเล็กตรอนล�าดับที่ 2 ของเป้าหมาย อัตราการพ่นที่ต�่าไปยังเป้าหมายและการแยกตัวของ อะเซทิลนี อัตราสูง นัน้ เป็นผลมาจากความหนาแน่นอย่าง มากของพลาสมา ทีท่ า� ให้เกิดการเพิม่ จ�านวนคาร์บอนใน ตัวตั้งต้น ซึ่งเอื้อให้เกิดปฏิกริยากับไฮโดรเจน เมือ่ เสร็จสิน้ กระบวนการ เปิดห้องสุญญากาศออกมา พบว่า ไทเทเนียมแคโทดถูกปกคลุมไปด้วยชัน้ คาร์บอนสีดา� อย่างไรก็ตาม หากมีปริมาณอะเซทิลนี ต�า่ กว่า 140 sccm ผิวของวัตถุจะไม่มีคาร์บอนติดอยู่ แต่หากมีปริมาณอยู่ ที่ 144 sccm แล้ววัตถุจะถูกปกคลุมด้วยชั้นคาร์บอนที่ สามารถเห็นได้ทันที 2. การกระตุ ้ น ความแข็ ง แรงทนทานของการ เคลื อ บ ขึ้ น อยู ่ กั บ การตอบรั บ กั น ของอะเซทิ ลี น และ ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ลดลง ซึ่งแปรผันกับความหนา ของวัตถุ เพื่อให้ได้ความแข็งแรงที่มากที่สุด นอกจากนี้ ความรวดเร็วในการด�าเนินการยังถือเป็นปัจจัยส�าคัญ เพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ งในการท�างาน ความบางของการ เคลือบถือเป็นอีกปัจจัยทีไ่ ม่อาจเพิกเฉยได้ ในขณะทีก่ าร หมุนการฉีด ต้องมีความช้าพอที่จะให้หยดของสารเคมี นัน้ สามารถถูกตรวจจับได้ ท�าให้ตอ้ งหารูปแบบทีส่ ามารถ ใช้ได้กับวัสดุที่ต้องการ 3. รูปแบบกระบวนการที่ใช้ควบคุมและทดสอบ รู ป แบบเงื่ อ นไขของการด� า เนิ น การ เพื่ อ หาค� า ตอบที่ เหมาะสมที่สุด ต้องสังเกตและตรวจสอบข้อมูลในระบบ เรียลไทม์ โดยมีโครงสร้างแผนผัง ดังนี้
ตั้งค่าเริ่มต้นสำาหรับอะเซทิลีน
เพิ่มปริมาณ อะเซทิลีน 1 sccm / นาที
ไม่
แผนภาพ 1: เงื่อนไขที่คอยควบคุมรูปแบบกระบวนการ
โหลดค่าล่าสุด 130 ค่าของไฟฟ้าและแรงดัน (1 ค่า = 1 วินาที)
นับค่ากลางที่เปลี่ยนไป เพื่อให้ ได้ 100 แต้ม โดย 1 แต้มแทน ค่ากลาง 30 ค่า
ค่าล่าสุด 60 ค่าของ แรงดันไฟฟ้า สูงกว่าค่าตำ่าสุดที่ต้องการหรือไม่?
ทำาให้ค่าที่ผ่านขั้นตอน กระบวนการแล้วเป็นค่า ที่เหมาะสม โดยการ ยืดเส้นออกและ กำาหนดค่า Slope
บันทึกค่าแรงดันและไฟฟ้าที่ต่อยอด มาจาก Slope ของแนวที่ยืด ออกจากหัวข้อก่อนหน้า
ใช่ ไม่
ค่าที่ของแรงดันที่ถูกต่อยอด มีน้อยกว่า 1 ใน 4 ของแรงดันสูงสุด ที่ต้องการทุกครั้งเวลาดำาเนินการ ผ่านขั้นตอนนี้หรือไม่
ใช่
กำาหนดค่าปริมาณอะเซทิลีน ด้วยแรงดันไฟฟ้าที่ต่อยอดเพื่อถึงระดับ ความต้องการมาตรฐานและปรับตั้งค่า ที่ได้ - 6 sccm พยายามทำาให้ค่านี้คงที่ จนกระทั่งจบกระบวนการ August/september 2016
51
รูปที่ 2: ตัวอย่างค่าที่แสดงแรงดันไฟฟ้าแคโทด (a) และแรงดันโดยรวม (b) ที่มีความราบรื่น ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ค่ากลางที่เคลื่อนที่
4. การท�าซ�า้ กระบวนการทับถมของสาร จากข้อมูล ที่ได้สรุปผลออกมาตามเงื่อนไขกระบวนการได้ ดังนี้
ความหนา (มม.)
ปริมาณอะเซทิลีน (sccm)
ความแข็งแรง [GPa] (อัตราโหลด 20 mN)
ความแข็งแรง [GPa] (อัตราโหลด 40 mN)
26
55.5
39 ± 1
38 ± 1
14
53.3
39 ± 1
38 ± 1
4
49.5
42 ± 1
39 ± 1
ตาราง 1: แสดงผลการทดสอบการเคลือบบนวัสดุที่มีความหนาแตกต่างกัน
ส�าหรับค่าเฉลี่ยที่ได้จากการทดลองดังตารางข้างต้น จะมีผลต่อการพ่นสารเคลือบ nc-TiC/a-C:H ส�าหรับ งานอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการความหนาอยู ่ ที่ 1 µm นอกจากนี้ ยังแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างความหนา ของวัตถุ 3 แบบ ค่าเฉลี่ยที่เกิดขึ้นมาจากตัวอย่างทั้ง สามที่ผ่านกระบวนการเงื่อนไขในแผนภาพ 1 ท�าให้ได้ ผลลัพธ์ดังที่แสดงไว้ท�าให้เห็นรูปแบบเงื่อนไขที่วางเอาไว้ นั้นมีประสิทธิภาพในการควบคุมผลลัพธ์ให้มีความคลาด เคลื่อนต�่า การเคลือบ nc-TiC/a-C:H ที่ใช้กระบวนการ Hybrid PVD – PECVD ของไทเทเนียม ซึ่งเป็นการผสมของ อาร์กอนและอะเซทิลนี เปิดเผยให้เห็นถึงการเพิม่ ปริมาณ ของอะเซทิลนี อย่างช้าๆ ในขณะทีแ่ รงดันไฟฟ้าของแคโทด ตกลง แรงดันรวมนั้นเกิดจุดอิ่มตัวขึ้นเข้ามาแทนที่พร้อม กันกับการเพิ่มปริมาณของอะเซทิลีนเช่นกัน สิ่งที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์ในการ เคลือบ หากมีการใช้ระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วยในการ ด�าเนินการผ่านเงื่อนไขขั้นตอนดังแผนภาพ 1 จะท�าให้ เห็นรายละเอียดเหล่านี้ชัดเจน ทั้งยังมีการเก็บข้อมูลราย ละเอียดเพือ่ การพัฒนาได้อย่างครบถ้วน และการทดสอบ ผ่านเงื่อนไขเดิมซ�้าๆ โดยเปลี่ยนตัวแปร คือ ความหนา ของวัสดุ และท�าให้สามารถพิสูจน์โครงสร้างเงื่อนไขและ หาวิธีการจัดการวัสดุให้ได้ตามเป้าหมาย 52
Machine Tools & Metalworking
Source:
- Principles and Practice of an Automatic Process Control for the Deposition of Hard nc-TiC/a-C:H by Hybrid PVD – PECVD Under Industrial Conditions
EXECUTIVE SUMMARY
T
he deposition of nc-TiC/a-C:H coating by hybrid PVD – PECVD process of sputtering a titanium target in a mixture of argon and acetylene which outstanding in hardness an also has a micron size of particle sputtering which suitable for coating. This method need a vacuum chamber to operate the coating process. The important factors are acetylene supply and when it reached the saturation point which it’s went to the opposite direction with cathode voltage that dropped down and replaced with total pressure which these factors vary on the material’s thickness, resulted in unstable output. It needs the standard, condition and method to predict and find the median value to apply with the proper work. The condition depends on the goal and any vary element that could occur.
เรียบเรียง: ทศธิป สูนย สาทร
research & development
New Galvanization
with High Efficiency กระบวนการชุบสังกะสีแบบใหม ประสิทธิภาพสูง กระบวนการอุตสาหกรรมตางๆ นั้นมีการใชเหล็กและเหล็กกลาอยาง กวางขวาง ไมวาจะเปนสวนประกอบ ของวัสดุ การกอสราง หรืออุปกรณ เครื่ อ งใช ต า งๆ ในกระบวนการ ผลิต เหล็กจะถูกชุบดวยสังกะสี ซึ่งมี คุณสมบัติของปฏิกิริยาทางไฟฟาเคมี ที่เรียกวา ‘อาโนด’ (Anode) ตอเหล็ก ชวยลดอัตราการกัดกรอนและการเกิด สนิมของเหล็ก ทําใหสามารถใชงาน ไดนานขึ้น กรรมวิธีที่นิยมใชในการชุบสังกะสี สําหรับอุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก คือ กระบวนการชุบสังกะสีแบบจุม รอน ซึง่ ชวยปกปองโลหะจากการสึกหรอ โดย ความทนทานตอการสึกกรอน ขึ้นอยู
กั บ ชั้ น ของการชุ บ สั ง กะสี ในทาง กลับกัน การชุบดวยสังกะสีเปนการ สิ้นเปลืองวัตถุดิบ รวมถึงพลังงาน ความรอนเปนอยางมาก จึงไดมกี าร คนควาวิจัยในหัวขอ ‘กรรมวิธีชุบ สังกะสีแบบใหมทมี่ ปี ระสิทธิภาพ’ ซึ่งเสริมความตานทานการกัดกรอน และปองกันการเกิดสนิมของเหล็ก ไดมากกวาเดิม 100% หรือสองเทา เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีที่นิยม ใชกนั ในปจจุบนั โดยชัน้ ชุบไมจาํ เปน ตองมีความหนาจนเกินไป เพื่อลด ความสิ้นเปลืองวัตถุดิบ คาใชจาย ในการดูแล รวมถึงการใชวตั ถุดบิ และ พลังงานในกระบวนการผลิตอีกดวย
กรรมวิธีชุบสังกะสีแบบใหม มีดีอย างไร ? • ป องกันการกัดกร อนได มากกว าขัน้ ตอนจุม ร อนทั่วไปถึง 100% • เข ากันได กับเทคโนโลยีการผลิตแบบเดิม ไม ต องการการปรับปรุงขั้นตอนการผลิต มากนัก • มี ชั้ น สั ง กะสี ที่ บ างกว า ทํ า ให ส ามารถ ควบคุมจัดการชิ้นส วนที่มีความซับซ อน ได ดีกว า • เหมาะสําหรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก และ ชุบเคลือบโลหะ
เปรียบเทียบเทคโนโลยีจากงานวิจัยกับเทคโนโลยีที่ใช อยู เดิม Properties Galvaniche Coating thickness [micrometer] 20-50 Salt-spray corrosion resistance (B117) [hours] >1400 Coating Hardness [Vickers] 90 Relative friction coefficient moderate Approximate max. service temp. [celcius] 210 Overtapping of bolts/nuts [micron] not required or 200 Relative cost moderate EXECUTIVE SUMMARY
ตารางเปรียบเทียบข อมูลวิธีการหลอมแบบจุ มร อน
Galvanize 50-100 200 60 moderate 210 400 moderate
Fluoropolymer 20-50 >2200 90 low 130 not required or 200 high Source: การชุบเคลือบสังกะสีประสิทธิภาพสูง (www.research2biz.com)
H
ot – dip galvanization is a famous method in iron – related industry or metal working. This method consumes a lot of resources, such as, zinc and heat to form a protective layer over the metal. These layers have erode resistance which new galvanization with high efficiency will be more effective in higher quality, cost reduction, less time waste and also improve the resistance capability by 100% when compared to the standard one.
august/SEPTEMBER 2016
53
CASE STUDY
เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
Die ? m e l b o r P Easy Solution ปัญหา DIE… แก้ไขได้ง่ายดาย 54
Machine Tools & Metalworking
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ใ น โร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ทุกขั้นตอน อาจพบปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการท�างาน ได้ กระบวนการผลิตในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ก็เช่นกัน โดยปัญหาที่พบบ่อยครั้ง คือ ปัญหาที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการท�าแม่พิมพ์ (Die) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นปัญหา ที่สามารถแก้ไขได้ในช่วงเวลาสั้นๆ และผู้ปฏิบัติงาน สามารถแก้ไขและป้องกันการเกิดปัญหาซ�้าได้ เพียงแต่ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสามารถวิเคราะห์สาเหตุของการเกิด ปัญหาได้ ก่อนที่จะตัดสินใจด�าเนินการซ่อมบ�ารุง เพื่อให้ สามารถด�าเนินการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง เนือ่ งจากหลายๆ ครัง้ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อาจไม่ได้มสี าเหตุมาจากตัวเครือ่ งจักร โดยตรง แต่เกิดจากความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน คอลัมน์ CASE STUDY ในฉบับนี้ ขอน�าเสนอปัญหา ที่ พ บบ่ อ ยเกี่ ย วกั บ แม่ พิ ม พ์ แ ละแนวทางในการแก้ ไข ปัญหา ดังนี้
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
ท่อน�ำ้ หล่อเย็นรัว่ หรือสำยต่อท่อน�ำ้ หล่อเย็นช�ำรุด ส่งผล ให้น�้ำหล่อเย็นรั่วออกมำจำกแม่พิมพ์ ขณะท�ำกำรฉีดแม่พิมพ์ ถือเป็นอีกหนึ่งปัญหำที่พบบ่อยครั้ง
• ออกแบบป้องกันไม่ให้สำยท่อน�้ำหล่อเย็นถูกกดทับในขณะฉีดจนฉีกขำด • วำงต�ำแหน่งสำยน�้ำหล่อเย็นในต�ำแหน่งที่เหมำะสม ไม่อยู่ใกล้ต�ำแหน่งที่มีควำมร้อนสูง • หมัน่ ตรวจสอบสภำพเทปพันไม่ให้หมดอำยุกำรใช้งำนหรือเสือ่ มสภำพ เนือ่ งจำกส่วนทีเ่ ป็นท่อทองแดงของท่อน�ำ้ หล่อเย็นมักช�ำรุดในส่วนที่เป็นเกลียว จึงต้องมีผ้ำเทปพันกันน�้ำหล่อเย็นรั่วออกจำกแม่พิมพ์ • กำรแก้ ไขปัญหำเมื่อน�้ำรั่วออกจำกแม่พิมพ์ สำมำรถท�ำได้โดยกำรเปลี่ยนเทปพันและเปลี่ยนสำยน�้ำหล่อเย็น
อะลูมิเนียมพุ่งออกจำกแม่พิมพ์ ส่วนใหญ่มีสำเหตุ จำกเศษอะลูมิเนียมติดอยู่ที่หน้ำแม่พิมพ์ ท�ำให้เกิดช่องว่ำง ในระหว่ำงกำรฉีด หรือบำงครั้งอำจเกิดจำกหน้ำแม่พิมพ์ ไม่เรียบ หรือสึกหรอ
• ตรวจสอบแม่พิมพ์ก่อนขึ้นฉีด และตรวจควำมฟิตของหน้ำแม่พิมพ์ก่อนเสมอ เพื่อป้องกันปัญหำอะลูมิเนียมพุ่ง ออกจำกแม่พิมพ์ ในขณะฉีด • กรณีที่มีเศษอะลูมิเนียมติดที่หน้ำแม่พิมพ์ ต้องท�ำกำรแซะออกหรือหำกติดแน่นก็ใช้หินขัดขัดออก แต่หำกหน้ำ แม่พมิ พ์สกึ หรอให้ฟติ หน้ำแม่พมิ พ์ ใหม่ ดูตำ� แหน่งทีส่ กึ หรอ แล้วท�ำกำรเชือ่ มขัดให้เรียบเสมอกันกับหน้ำแม่พมิ พ์ ซึง่ กำรแก้ ไขหน้ำแม่พมิ พ์จำ� เป็นจะต้องใช้ควำมละเอียด เพรำะหำกแก้ ไขออกมำแล้วท�ำให้สว่ นอืน่ ไม่เรียบเสมอกัน จะเป็นปัญหำไปอีกไม่จบ
ขอบชิ้นงำนเกิดครีบหนำ เมื่อเริ่มรอบกำรฉีดทุกครั้ง ท�ำให้เกิดกำรสึกกร่อนไปเรื่อยๆ จนเมื่อถึงระยะเวลำหนึ่ง ก็จะ ท�ำให้เกิดครีบหนำที่ชิ้นงำน เนื่องจำกขอบบิ่นหรือสึกไปแล้ว
• ต้องท�ำกำรเชื่อมขอบแล้วขัดแม่พิมพ์ ให้อยู่ในลักษณะเดิม โดยเมื่อขัดแล้วจะต้องขึ้นฉีดทดสอบ และวัดค่ำชิ้นงำน ว่ำตรงตำมแบบหรือไม่ หำกไม่ตรงจะต้องขัดตกแต่งใหม่จนกว่ำจะได้ค่ำที่ตรงตำมแบบ
Limit Switch เสีย ส่วนใหญ่พบในแม่พิมพ์ที่มี Slide Core เนือ่ งจำกต้องใช้ระบบไฮดรอลิกช่วยในกำรเคลือ่ นที่ และ Limit Switch เป็นตัวควบคุมคอยเชือ่ มต่อค�ำสัง่ ควบคุมจำก เครื่องจักรมำสู่ Slide Core อีกต่อ หนึ่ง หำก Limit Switch เสีย จะไม่สำมำรถควบคุมกำรเคลื่อนที่ของ Slide Core ได้
• เปลีย่ น Limit Switch ใหม่ทนั ที หำกจ�ำเป็นจะต้องฉีดงำนต่อ แต่กรณีทแี่ ม่พมิ พ์ยงั ไม่ตอ้ งใช้งำนเร่งด่วน สำมำรถ น�ำ Limit Switch มำตรวจซ่อมได้
Vacuum ตัน เป็นลักษณะปัญหำทีเ่ กิดในแม่พมิ พ์ทตี่ อ้ ง ใช้ Vacuum ในกำรช่วยดูดอำกำศส่วนเกินออกจำกแม่พิมพ์
• หมั่นตรวจสอบกำรดูดอำกำศว่ำยังใช้ ได้ดีอยู่เสมอ หำกซีลเริ่มเสื่อมสภำพให้ท�ำกำรเปลี่ยนก่อนขึ้นฉีดแม่พิมพ์ ทุกครั้ง • ตั้งค่ำแรงดันฉีดให้เหมำะสม เพรำะหำกตั้งค่ำแรงดันสูงมำกเกินไป จะท�ำให้น�้ำโลหะพุ่งเกินเข้ำไปในส่วนที่เป็น Vacuum • หำกทำงเดินของอำกำศมีขนำดใหญ่เกินไป จนท�ำให้มนี ำ�้ โลหะไหลเกินเข้ำไปใน Vacuum ให้แก้ไขโดยแซะอะลูมเิ นียม ออกจำก Vacuum ตรวจสอบควำมเสียหำยของ Vaccum แล้วท�ำกำรซ่อมแซม หำกเกิดจำกทำงไหลของอำกำศ ที่ช�ำรุดหรือขนำดใหญ่เกินไปให้ท�ำกำรแก้ ไขให้มีขนำดเหมำะสม
จากปั ญ หาและแนวทางแก้ ไขข้ า งต้ น น่ า จะเป็ น ประโยชน์ส�าหรับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย โดยจะเห็นว่าบางปัญหานั้นสามารถป้องกันได้ก่อนที่จะ เกิดปัญหาขึ้น ดังนั้น สิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานควรตระหนักอยู่ เสมอ ก็คอื การซ่อมและบ�ารุงรักษาอย่างถูกวิธี ซ่อมแซม เมื่อเกิดปัญหาหรือความเสียหาย และบ�ารุงรักษาทุกครั้ง
หลังมีการใช้งาน เพื่อยืดอายุการใช้งาน และเป็นการ ป้องกันมิให้เกิดปัญหาระหว่างการเดินเครื่อง ซึ่งการ ป้องกันก่อนที่จะเกิดปัญหาย่อมท�าให้กระบวนการผลิต มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ลดความสูญเสียทั้งเวลา แรงงาน และต้นทุนค่าใช้จ่ายได้ด้วย แบบนี้เรียกว่า… ‘กันไว้ ดีกว่าแก้’ นั่นเอง Source: http://goo.gl/mlw3Ie
EXECUTIVE SUMMARY
T
he problem that related with Die making process mostly solve in short period of time. The operator could fix and prevent the problem from occur repeatedly with the condition that they could analyze the root of problem before proceeding maintenance procedure. To operate maintenance procedure correctly where many case of problems didn’t occur from the machine directly but came from the failure in while operating, such as, coolant leaked or coolant pipe broken, aluminum bounced off the die which the case found that an aluminum bit left on the die surface, flange at the material’s rim, vacuum clogged and limit switch broke down for example. If the operator has the right procedure to solve the problem, fix and maintenance methodically which will improve the manufacturing process, reduce waste in time, labor and also cost.
August/september 2016
55
WHITE PAPER
เรียบเรียง: ทศธิป สูนย สาทร
Zinc Selection
for High-Pressure Molding การเลือกใช Zinc สําหรับการข�้นรูปโลหะโดยใช แรงดันสูง
การใช แ รงดั น ขึ้ น รู ป จากแม พิ ม พ แ รงดัทนี่มขึี ้ นZinc รู ป จากแม ิ ม พ สําหรัการใช บอัลลอยด หรือสังพกะสี สํเปานหรั บ อั ล ลอยด ท ่ ี ม ี Zinc หรื อ สั ง กะสี พืน้ ฐานนัน้ ถือวามีคณ ุ ภาพสูงสําหรับ เปนพืน้ งาน ฐานนั น้ ถือวามีไคดณ ุ กภาพสู งสําหรับ การใช สามารถใช ับกระบวนการ การใช ง าน สามารถใช ไ ด ก ั บ กระบวนการ ผลิตที่หลากหลาย ทั้งยังมีความแข็งแรง ผลินตทียํา่หลากหลาย ทั้งยั้นงรูมีปคทรงโลหะที วามแข็งแรง แม และสามารถขึ ่ มี แมนยําบซและสามารถขึ ้นรูปทรงโลหะที่มี ความซั อนได ความซั บซอนได ่ ใช สํ า หรั บ การขึ้ น รู ป กระบวนการที กระบวนการที สํ า หรัวบยเครื การขึ ้ น รูกปร โลหะสวนใหญดําเนิ่ ในชการด ่องจั ดําบเนิแรงดั นการด ยเครื งจักร อัโลหะส ตโนมัวตนใหญ ิ ซึง่ รองรั นสูงวได สว่อนใหญ อันิยตมใช โนมัเตครืิ ซึอ่ ่งงอั รองรั บ แรงดั น สู ง ได โดยส วน ดแบบไฮดรอลิก เมือ่ โลหะ ใหญ น ย ิ มใช เ ครื อ ่ งอั ด แบบไฮดรอลิ ก เมื ถูกอัดดวยแรงดันและเกิดการแข็งตัวขึ้น่อ โลหะถูกอัดดวยแรงดันและเกิดการแข็งตัว
56
Machine Tools & Metalworking
รูปแล้วจะเผยให้เห็นเกรน ซึ่งบ่งชี้ได้ถึง น้ รูภาพโลหะ ปแลวจะเผยให ห็น่เกรน ซึง่ บงชีไ้ ดถงึ คุขึณ เป็นเหนึ งในกระบวนการ คุ ณ ภาพโลหะ เป น หนึ ่ ง ในกระบวนการ ตรวจสอบคุณภาพด้วยสายตา ตรวจสอบคุ ภาพดวยสายตา บริษัท ณ Dynacast ผูใหบริการวัสดุ บริ ษ ั ท Dynacast อุปกรณโลหะที่มีความแมผูน ใยํหาสูริ กงสํารวั าหรัสบดุ อุ ป กรณ โ ลหะที ่ ม ี ค วามแม น ยํ า สู ง สํ หรันบ หลากหลายกลุ ม อุ ต สาหกรรม าเช ม อุ ตกลุ สาหกรรม เช น อุหลากหลายกลุ ตสาหกรรมยานยนต มอุตสาหกรรม อุ ต สาหกรรมยานยนต กลุ ม อุ ต สาหกรรม สุขภาพ อิเล็กทรอนิกส ดวยประสบการณ สุขภาพาอิ80 เล็กปทรอนิ ดวยประสบการณ มากกว ทําใหกสDynacast สามารถ 80 ป ทําให Dynacast สามารถ คิมากกว ดคนสาวนผสมและโครงสร างของสั งกะสี คิ ด ค น ส ว นผสมและโครงสร า งของสั งกะสี ที่มีประสิทธิภาพสูงเหมาะสําหรับการใช ที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เหมาะสํ า หรั บ การ งานที่หลากหลาย ใชงานที่หลากหลาย
สําหรับการขึ้นรูปแมพิมพสังกะสีโดย สําหรั ้นรูปงแรงมากกว แมพิมพสังากะสี โดย ใชแรงดั น บมีการขึ ความแข็ การขึ ้น ใช แ รงดั น ทํ า ให ม ี ค วามแข็ ง แรงมากกว รูปอะลูมินัม 356-T6 ดวยทราย บรอนซา การขึ40 ้นรูรวมถึ ปอะลูงมการขึ ินัม ้น356-T6 วยทราย SAE รูปโลหะดClass 30 บรอนซ SAE 40 รวมถึ ง การขึ น ้ รู ป โลหะ นอกจากนี้ การใชแรงดันยังสามารถทําให Class 30 นอกจากนี แรงดั นยัง ZA อัลลอยด มีความแข็้ งการใช แรงมากขึ น้ หาก สามารถทํ า ใหบการขึ ZA ้นอัรูลปลอยด วาม เปรี ยบเทียบกั อะลูมินมีัมค380 แข็ ง แรงมากขึ ้ น หากเปรี ย บเที ย บกั อัลลอยด โดย Dynacast ไดพฒ ั นาสังกะสีบ การขึ ้ น รู ป อะลู ม ิ น ั ม 380 อั ล โดย ขึ้นมาจากการประสบการณอลอยด ันยาวนาน Dynacast ได พั ฒ นาสั ง กะสี ขึ้ น มาจาก ภายใต ชื่อ Zamak การประสบการณ อั น ยาวนาน ภายใต ชื่อ Zamak
จ�ดเด นของ ZAMAK ALLOYS
Zamak 2 Zamak #1 อัลลอยด พิเศษรุ นต นแบบซึ่งถูกผลิตขึ้นมา ครั้งแรกเมื่อช วงยุค 1920 ชื่อนี้มีที่มาจากตัวย อใน ภาษาเยอรมันซึ่งเป นองค ประกอบหลักของ อัลลอยด นีร้ วมอยู ได แก Z (Zinc) A (Aluminum) M (Magnesium) และ K (Copper) อัลลอยด ถือ เป นรากฐานสําหรับการพัฒนาโลหะสังกะสี Zamak รุ นอื่นๆ
อัลลอยด รุ นที่มีความแข็งแรงสูงที่สุด ในตระกูล Zamak • ปริมาณทองแดงสูง 3% • มีความแข็งแรงและทนทาน มากกว า รุ นอื่นๆ ทําให มั่นใจในคุณภาพและ ประสิทธิภาพการใช งาน
Zamak 3
ACuZinc 5 สังกะสีอัลลอยด ที่ได รับการพัฒนาโดย General Motors Research & Development • ในตอนแรกภาคส วนวิศวกรรมเบื้องต นถูกจํากัด ให ใช เฉพาะผลิตภัณฑ ของ GM เท านั้น ต อมาจึงได ขออนุญาตลิขสิทธิ์ให ใช งานได กว างมากขึ้น • มีส วนผสมของทองแดงอยู สูง ทําให ทนทาน ต อการเสียดสีและความคืบมากที่สุด • แบ งเป น 2 รุ นย อย ได แก ACuZinc 5 (ทองแดง 5%) และ ACuZinc 10 (ทองแดง 10%) ซึ่งถูกนํามา ใช งานหลากหลายในอุตสาหกรรมยานยนต โดย ACuZinc 5 จะใช กับเตาขึ้นรูปด วยความร อน และ ACuZinc 10 ใช กับเตาขึ้นรูปด วยความเย็น
Zamak 5 นิยมใช ในขั้นตอนการออกแบบ สําหรับการขึ้นรูป • มีความแข็งแรงมากกว ารุ นอื่น จากการเพิ่มทองแดง 1% • คุณสมบัติโดยรวมใกล เคียงกับ Zamak 3 แต อัตราการยืดน อยกว า • วัสดุยังมีการจัดการป ญหาเรื่องเสี้ยนเหล็ก ที่เกิดขึ้นได ดีกว ารุ นอื่นๆ
EZAC • EZAC นั้นเป นอัลลอยด จาก ฝ งตะวันออกที่มีความแข็งแรง และทนต อค าความคืบได • ใช งานกับเตาขึ้นรูปด วยความร อนได ดี ด วย สถานะของเหลวที่เหมาะสม ทั้งยังมีจุดเดือดที่ตํ่า • ลดป ญหาสําหรับการหลอมและการขึ้นรูปรวม ถึงการเสียดสีและการสึกกร อน
za 8 • สังกะสีอัลลอยด ที่มี ค าความต านทานความคืบมากที่สุด • มีความแข็งแรง ทนทาน มีลักษณะใกล เคียง Zamak 2 • นิยมใช ในงานที่เป นโครงสร าง หรืองานที่มีค าความเครียดสูง • สามารถในการใช งานกับห องอบความร อน ของเครื่องจักรที่ใช ขึ้นรูปได เป นอย างดี
สังกะสีอัลลอยด ที่ได รับ ความนิยมในการใช งานอย างกว างขวาง • มีการใช งานประมาณ 85% จากทั่วโลก • โครงสร างของมันเป นพื้นฐานของ Zamak อัลลอยด ทั้งหมด (สังกะสี 96% และ 4% อะลูมินัม) • ใช กับงานได หลากหลายรูปแบบด วยคุณสมบัติ ทางกายภาพและทางกล • สามารถเพิ่มกระบวนการ Electroplated ได • สร างมาตรฐานสังกะสีอัลลอยด สําหรับ การขึ้นรูปจากแม พิมพ
Zamak 7 ผลิตภัณฑ Zamak ล าสุด เป นการดัดแปลงจากอัลลอยด รุ นที่ 3 • มีแมกนีเซียมน อยลง • เพิ่มความเหลว เพื่อหลีกเลี่ยงป ญหา ของการกัดกร อน • ส วนของความบริสุทธิ์ ใช ปริมาณนิเกิลค อน ข างน อย แต มีความอ อนตัว • สามารถตรวจสอบค าต างๆ ขณะดําเนินการได อย างง ายดาย • ลดการสูญเปล า และทําให คุณภาพมีความคงที่
จะเห็นไดวา สังกะสีอลั ลอยดนนั้ มีรปู แบบและองคประกอบทีส่ ามารถ จะเห็นหได วา สังกะสีอเหมาะสมกั ลั ลอยดนนั้ บมีการขึ รปู แบบและองค ใชงานได ลากหลาย ้นรูปดวยแมปพระกอบที ิมพ แตส่ ทามารถ ั้งนี้ทั้ง ใช ง านได ห ลากหลาย เหมาะสมกั บ การขึ น ้ รู ป ด ว ยแม พ ม ิ พ แตทั้งนี้ทั้งนั้น นั้นจําเปนตองใหความสําคัญกับคุณสมบัติและสวนประกอบทางเคมี จํดาวเป งใหคอวามสํ คัญกับคุาณ สมบัตแิ ละส ยซึน่งตสองผลต ระดับาโครงสร งของโลหะ ดังวนันประกอบทางเคมี ้น การเลือกใชวัสดุดจว ึงยซึ ควรง่ สพิงจผลต อ ระดั บ โครงสร า งของโลหะ ดั ง นั น ้ การเลื อ กใช ว ส ั ดุ จ ง ึ ควรพิ จ ารณา ารณาถึงปจจัยและสภาพแวดลอมในการใชงานจริง เพื่อการตัดสิน ถึใจเลื งปจอจักวัยตและสภาพแวดล อมในการใชงานจริ ง เพื่อสการตั ดสินใจเลื อก ถุดิบไดอยางเหมาะสมและเพื ่อประโยชน ูงสุดในการใช งาน วัตถุดิบไดอยางเหมาะสมและเพื่อประโยชนสูงสุดในการใชงาน ตารางแสดงลักษณะคุณสมบัติของสังกะสีอัลลอยด รุ นต างๆ
Source: The High Pressure Zinc Die Casting Process: Materials Zn (Dynacast) Source: The High Pressure Zinc Die Casting Process: Materials Zn (Dynacast)
EXECUTIVE SUMMARY
Z
inc-based alloy is one of the most efficient with pressure die casting which suitable for produced part and material that need strength, which need strength,hardness hardnessand andreliability. reliability.Zinc Zincalloys alloyscould couldcast castinto intocomplex complexpart part with with reliable reliable quality. Dynacast proudly presented Zamak Alloys which has outstanding properties, suitable for versatile high-production method while maintain the unique strength and hardness from zinc alloys capability.
ausgust/september august/SEPTEMBER 2016
57
special feature / production
เรื่อง: Benedikt Hofmann เรียบเรียง: ภัทรภา เอี่ยมเสริมศรี
Smart Grid Intelligent Control
ระบบเครือข่ายอัจฉริยะ เพื่อการจัดการพลังงานจากศูนย์กลาง
58
Machine Tools & Metalworking
เนื่องจากคอนเซ็ปต์อุตสาหกรรมแบบใหม่และการ เปลี่ยนทิศทางเข้าสู่การใช้พลังงานทางเลือก จึงส่งผล กระตุ้นให้ผู้ประกอบการหันมาใส่ใจเรื่องการจัดการกับ พลังงานมากขึ้น เช่นเดียวกันในงานการประชุมสุดยอด ผูน้ า� Energy and Wind ที่ Hannover ซึง่ เป็นการรวมตัวกัน เพือ่ การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเกีย่ วกับพลังงาน ภายใน งานมีหวั ข้อเรือ่ ง Smart Grids และเครือ่ งจัดการพลังงาน แบบกระจายพลังงานจากศูนย์กลางเป็นไฮไลท์ของงาน ในขณะนี้ เ ราต่ า งก� า ลั ง พู ด ถึ ง การปฏิ วั ติ ด ้ า น อุตสาหกรรมครั้งที่ 4 และการวางระบบเครือข่ายของ กระบวนการในห่วงโซ่คุณค่า แต่การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นของเรามักจะสะดุดอยูท่ หี่ วั ข้อระบบอัตโนมัตแิ ละ ซอฟต์แวร์ เช่นเดียวกับส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการด้าน พลังงาน พลังงานถือเป็นประเด็นที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะไม่เพียงแต่เราจะต้องตั้งค�าถามว่าจะน�าเครือข่าย ของพลังงานมาใช้ในระบบอุตสาหกรรมเวอร์ชั่น 4.0 ได้ อย่างไรจึงจะมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน เราต้องค�านึงถึงความเปลี่ยนแปลงไป ของสัดส่วนพลังงานในตลาดพลังงานอันเนือ่ งมาจากการ หมุนเวียนพลังงานภายในโรงงานหรือครัวเรือน ค�าถามดัง กล่าวท�าให้เกิดแนวคิดการสร้างระบบจัดการกับพลังงาน Smart Grids และเครื่องจัดการพลังงานแบบกระจาย พลังงานจากศูนย์กลาง เทคโนโลยีเหล่านี้ท�าให้เราเห็น
ว่าการเพิ่มประสิทธิภาพและใช้ระบบควบคุมร่วมกับส่วน ประกอบของเครือข่ายไฟฟ้าช่วยให้ระบบจัดการพลังงาน สามารถเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตพลังงานได้
เทคโนโลยีดิจิตอล ช่วยให้ระบบเครือข่ายมีความมั่นคง
กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและการจัดการ พลังงานจะเชื่อมต่อเป็นระบบเดียวกันได้อย่างไรนั้น เรา หาค�าตอบได้จากอุปกรณ์ Contom ของบริษัท Beck IPC ซึ่ ง ท� า งานเกี่ ย วกั บ ระบบการโอนถ่ า ยข้ อ มู ล ทาง อุตสาหกรรมที่จ�าเป็นต่อระบบสื่อสารกับเครื่องจักรและ ระหว่างเครื่องจักรด้วยกัน ตัวอย่างเช่น การควบคุมเครื่องจักรจากระยะไกล หรื อ การใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การกระจายพลั ง งานอย่ า ง อัจฉริยะ บริษัทฯ ทราบดีว่าระบบการสื่อสารในส่วน ของการผลิตพลังงานค่อนข้างมีความส�าคัญมาก ดังนั้น อุปกรณ์ควรรองรับเกณฑ์และมาตรการล่าสุด โดยค�านึง ถึงลักษณะทางเศรษฐกิจด้านพลังงานได้ จึงท�าให้เรา สามารถมั่นใจได้ว่าเรามีเครือข่ายที่มั่นคง โดยไม่จ�าเป็น ต้องใช้โครงสร้างแบบใหม่ท่ีมีขนาดใหญ่เพื่อจัดการการ หมุนเวียนพลังงาน ด้วยเครือ่ งมือพิเศษท�าให้เราสามารถ เชือ่ มต่ออุปกรณ์สร้างกระแสไฟฟ้าทุกประเภทและระบบ เฝ้าระวังเข้ากับ Smart Grids ได้
รูปที่ 1: Energy คือ งานประชุมระดับนานาชาติของผู้น�าด้านเทคโนโลยีการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือกและแบบดั้งเดิม หัวข้อที่ถูกน�ามาพูดคุย ได้แก่ การจัดการพลังงาน การโอนถ่ายพลังงาน การกระจายพลังงานและการกักเก็บพลังงาน August/september 2016
59
การควบคุมจากระยะไกล
เห็นด้วย ไม่สามารถ ตัดสินได้
53
ไม่เห็นด้วย
0
10
20
30
40
50
60
กราฟที่ 1: 53% ของบริษัทที่เป็นสมาชิกจำานวนทั้งหมด 1,300 บริษัทร่วมลงความเห็นสนับสนุนว่า ‘ระบบการ จัดการพลังงานแบบอัจฉริยะด้วย Smart Grids ช่วยสร้างโอกาสที่สำาคัญ ณ ที่ตั้งของธุรกิจต่างๆ’ มีเพียง 12% ของสมาชิกที่ไม่เห็นด้วยกับเรื่องนี้
ในการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ นอกจากจะนำาเราก้าวเข้าสู่เทคโนโลยี ของการหมุนเวียนพลังงานแล้ว ยังทำาให้ผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน มีแนวคิดการใช้เครื่องจัดการพลังงานที่กระจายพลังงานจาก ศูนย์กลาง ซึ่งสิ่งนี้จะทำาให้มีจำานวนผู้ประกอบการที่สร้างกระแส ไฟฟ้าเพื่อใช้เองภายในบริษัท รวมถึงนำาขายสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น
รูปที่ 2: อุปกรณ์ Contom Graphics ทำาหน้าที่ เชื่อมต่อทุกชิ้นส่วนประกอบสำาหรับระบบ เพิ่มศักยภาพ HMI ที่ฝังตัวอยู่เข้ากับ ระบบอัตโนมัติของโรงงานและอาคาร ทั้งหมดให้ทำางานเป็นหนึ่งเดียวกัน
Bilfinger Manuell มีความเคลื่อนไหวในการพัฒนา เทคโนโลยีการควบคุมจากระยะไกลและระบบการควบคุม ต่างๆ ส�าหรับเครือข่ายพลังงานและเครือข่ายกระจาย พลังงานอยู่เสมอ เครือข่ายระบบต่างๆ ได้แก่ ระบบแก๊ส กระแสไฟฟ้า น�า้ หรือพลังงานความร้อน เช่นเดียวกับการ ใช้ระบบการควบคุมจากระยะไกลในอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีทใี่ ช้กบั สิง่ ปลูกสร้าง บริษทั ฯ สามารถให้บริการ ลูกค้าที่ท�าธุรกิจอุตสาหกรรมหลากหลายประเภทและให้ บริการด้านระบบควบคุมที่ใช้หลักการการจัดล�าดับความ ส�าคัญผ่านการสื่อสารโอนถ่ายข้อมูล ซึ่งถูกออกแบบให้ เหมาะสมกับผูใ้ ช้งานในทุกรูปแบบของเครือข่าย รูปแบบ ของเครือข่าย ได้แก่ แบบเส้นตรง แบบวงแหวน และแบบ ตาข่าย ซึง่ ทุกรูปแบบสามารถเชือ่ มต่อกันได้ เนือ่ งจากการ ใช้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อและระบบที่เหมือนกัน หัวข้อเรือ่ งการจัดการด้านพลังงานไม่ใช่เรือ่ งใหม่ แต่ ทุกครัง้ ทีม่ กี ารหยิบยกเรือ่ งนีม้ าพูดมักจะมีขอ้ คิดเห็นและ มุมมองใหม่ๆ อยู่เสมอ การรวมตัวกันของสุดยอดผู้น�า ในงานประชุมแสดงความคิดเห็น Esco ใน ZVEI และ สมาคมด้านพลังงานและความร้อนแห่งสหพันธรัฐ ซึ่งได้ เข้าร่วมการประชุมครั้งแรกตั้งปีที่ 6 ของการจัดประชุม ภายใต้สโลแกน ‘ประสิทธิภาพของพลังงานผ่านการ ท�าสัญญาและการเชื่อมต่อพลังงานกับความร้อน’ ทั้งยังเป็นผู้ริเริ่มสร้างเครื่องจัดการพลังงานแบบกระจาย พลังงานจากศูนย์กลางอีกด้วย ในงานประชุ ม อภิ ป รายนี้ นอกจากจะน� า เสนอ ตัวอย่างโปรเจกต์ต่างๆ ที่ได้ด�าเนินการ ผู้เข้าร่วมประชุม ยังจะได้พบกับมุมมองเกี่ยวกับแนวโน้มและการพัฒนา แบบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งการจัดการพลังงานอีกด้วย การรวมตัวเพื่อประชุมอภิปรายกลุ่มถัดไปได้พูดถึง การริเริ่มใช้เซลล์เชื้อเพลิงเพื่อเป็นกุญแจส�าคัญของการ ผลิตพลังงาน ผู้ที่รวมตัวอยู่ในกลุ่มดังกล่าว ได้แก่ บริษัท ผู้น�าในตลาดได้แก่ Vaillant, Viessmann, Eon และ Buderus โดยพวกเขาต้องการสร้างเครื่องจักรท�างานที่ มีประสิทธิภาพสูงส�าหรับท�างานกับเซลล์เชื้อเพลิงและ อุปกรณ์ท�าความร้อนเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้าภายใน ครัวเรือน การพยายามของสมาชิกในกลุ่ม ได้แก่ การ พัฒนาอุปกรณ์และชิ้นส่วนประกอบต่างๆ รวมถึงการ ค้นหาความผิดพลาดของระบบและการผลิตผู้สาธิตการ ใช้งานเครื่องจักรด้วย
EXECUTIVE SUMMARY
T
he 4th industrial revolution and the network of process in value chain setup are getting an attention extremely from new generation manufacturer while energy management still one of the issue that also got attention extremely too. When the energy networking were brought into industrial 4.0 system which focused on the capability, energy networking system management as ‘Smart Grids’ is one of the idea for capability improvement that focus on spreading the energy management from the central by using the system control with the component of electrical networking to improve the quality in energy generating. To use the control system from a long distance in industrial and technology for building, the entrepreneurs could take their service right into the customer in various field and also give a service in control system that use a method to arranging the significant information through data transferring which were designed to suitable with every type of the networking user.
60
Machine Tools & Metalworking
S.M.A.R.T. CHOICE
Metal 3D Printer One-stop Solution
ISCAR
Drilling Heads Provide Enhanced Self-centering Capability By popular demand, ISCAR has expanded their successful SUMOCHAM drilling head options. The revolutionary ISCAR HCP drilling heads feature an innovative geometry with concave cutting edges that substantially enhances the self-centering capability of the drill, enabling the use of long drills of up to 12 x diameter without first drilling a pilot hole. ISCAR’s advanced drilling heads are available in diameters from 8 - 25.9 mm, in 0.1 mm increments. By eliminating the need for a pilot hole, the new drilling heads significantly cut machining cycle times and provide substantial cost reduction by reducing the number of tools required when performing drilling operations. The new HCP drilling heads can be mounted on any ISCAR SUMOCHAM drill body that features the appropriate pocket size. As a single drilling head can now replace two other types and reduce the number of stock items, ISCAR HCP geometry (patent pending) in an excellent, cost effective choice for the efficient machining of steel (ISO-P) and cast iron (ISO-K) material groups. The high quality HCP drilling heads are made from ISCAR’s IC908 TiAlN PVD nano layer coating grade and feature: • Increased peeling resistance • Excellent wear resistance • Stable and predictable wear progression • Efficiency with MQL coolant • High surface quality
One-stop solution is a new product development proposed by Sodick. Sodick’s technology realizes the completion of all the processes from design (CAD/CAE/ CAM), manufacturing of molds in the Metal 3D Printer “OPM250L,” to product molding in injection molding machines utilizing molds. One Process Milling One process milling machining can be performed continuously from the melting of metal powder by a scanning laser beam, to milling finish machining by a rotary tool. Particularly in the manufacturing of molds for plastic molding products, complicated shapes, such as 3D cooling piping, deep ribs, etc. can be manufactured with this machine only. Advantages of applying the opM250L to mold manufacturing Plastic injection molding is greatly affected by the molding performance due to the structure of the molds used It is essential to control the temperature in a mold, and 3D cooling piping can be laid out in the molds manufactured by the OPM250L Accordingly, the mold shrinkage rate could be optimized, while realizing an ultra high cycle which was not possible with conventional molds. For more information : SODICK (THAILAND) CO.,LTD. Tel : (+66)0 2529 3925 Fax : (+66)0 2529 3626 E-mail : wattana@sodick.co.th Website : www.sodick.co.th
For more information : www.iscar.com august/september 2016
P061-062_SMART CHOICE_aug_Edit.indd 61
61
8/26/2016 3:33:08 PM
Consecutive batch, article and drawing numbers On the outer diameter / up to the collar
On an oblique surface On a spherical surface
Face
TIMESAVERSGRINDING MASTER ; Excellence through Experience
Burrs are common in machining process such as shear, plasma cut, water jet, punch, laser, or mill. To some, a part is considered deburred when the vertical burr is removed. To others, a part isn’t fully deburred until the edge of the part has a radius. Inefficiency deburring can cause lots of time waste and even more complicated process needed. With decades of experiences and thousands of machines in use, Krasstec present Auto-Deburr for fast and excellence burr ease result from Timesaver, The Netherland. For more information : krasstec Co.,Ltd. Tel : (66) 2732 1144 www.krasstec.com E-mail : krasscom@krasstec.com
toolnet Precise at every position
The example shows that you can mark at practically any position. Whether on a spherical surface, on the collar, on an oblique surface or on the face – zeus marking technology satisfies your requirements. We help you determine which marking system is right for your application. Send us the adjacent enquiry form with your specifications. We can also discuss your individual requirements. We provide comprehensive advice and find the optimal solution for you. For more information : Toolnet (Thailand) Co.,Ltd. Tel : (66) 2736 2381-4 Fax : (66) 2736 2385 Website : www.toolnet.co.th
62
Machine Tools & Metalworking
Asia’s Largest Specialized Sugar and Bioethanol Technology Event!
UGAR S 2016 Conference
7-8 September 2016
Co-Located With :
BITEC, Bangkok, Thailand www.sugar-conference.com
An
Special Rate
20% Off
(Register and pay on or before) Mr.Kitti Choonhawong, President of Thailand Society of Sugar Cane Technologist (TSSCT) Mr.Somsak Jantararoungtong Secretary-General of The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)
1 August 2016
Mr.Rangsit Hiangrat, Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) Mr.Pipat Suttiwisedsak, Chief Operating Officer / Managing Director at Ekarat Pattana Co., Ltd. (EPC Ethanol) Dr.Pipat Weerathaworn, Member of Agriculture and Biology Committee, National Research Council of Thailand (NRCT) Mr.Achmad Widjaja, Secretary General of Indonesian Sugar Association (AGI) Mr.U.San Thein, Vice President of Myanmar Sugar and Sugar Related Products Merchants and Manufacturer's Association (MSMA) Mr.Ahmad Farid Kamarudin, Head of MSM Trading International DMCC, Malaysia Mr.Tsai Tung Sheng, Vice President of Tai&Chyun Associates Industries, Inc Mr.Bernd Langhans, Siemens Co.,Ltd.
Supported By:
Ministry of Industry
The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)
Platinum Exhibitor By :
FTI, Agricultural Machinery Manufactures Industry Club
Thai Sugar And Bio-Energy Producers Association-TSEA
Co-Located With :
Thailand Society of Sugar Cane Technologists
Official Media :
Thai Sugar Millers Corporation Limited
Conference By :
Thai Machinery Association
Energy Research and Development Institute - Nakornping
Organized By :
World
SUGAR
Conference 2016
Samart Kaset-Yon Co.,Ltd.
World Sugar Conference 2016
Sugar Asia Magazine
JuzTalk Thailand
Fireworks Media (Thailand) Co. Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group
KTIS Group
Ekarat Pattana Company Limited
Khonburi Sugar Public Company Limited
Siemens Thailand
Thai-Japan Technology Promotion Assn
THE NEXT STEP IN
METALWORKING PRODUCTION
Taking metalworking production to the next level involves in exploring new machining and tooling technologies to earn long-term competitive advantages in the era of AEC. Manufacturers who act now will strive, while those who fail to shift will rapidly fall behind. It is time for you and 500 brands from 25 countries, to once again provide technology they need, and build partnerships in the international trade fair of 10,000 machinery and technology buyers.
2 0 1 6
6-8 OCT
SECC (TT Trien lam Saigon)
HCMC Vietnam Vietnam’s International Exhibition on Machine Tools & Metalworking Solutions for Production Upgrade
Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 2 686 7299 metalexvietnam@reedtradex.co.th www.metalexvietnam.com www.facebook.com/metalexvietnampage
Organized by :
Local Partner:
Supported By:
Ministry of Industry
Ministry Of Energy
Petroleum Institute of Thailand (PTIT)
Singapore Industrial Automation Association (SIAA)
Malaysia External Trade Development Corporation (MATRADE)
Design & Engineering Consulting Service Center
Thai Machinery Association
Technology Promotion Association
Welding Institute of Thailand
Technical Petroleum Training Institute (TPTI)
Premium Exhibitors :
Technip Engineering (Thailand) Ltd.
The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University
Official Media :
PAE Technical Service Company Limited
Oil & Gas Today Magazine
Juz Talk (Thailand)
Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group
เขFree าชมงานฟร� ! To Attend!
Ministry of Industry
Thai Machinery Association
The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University
Manufacturing Expo 2016 Post Show แมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซ์โป 2016 ปิดฉากลงด้วยความชื่นชมของ นักอุตสาหกรรม ร่วมด้วยตัวแทนผู้มีเกียรติจากกระทรวงอุตสาหกรรม ตลอดจนองค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในไทยและต่างประเทศที่เข้าร่วม แสดงความยินดีอย่างคับคั่ง มหกรรมแห่งปีนี้ได้ตอกย�้าพันธกิจของเรา ที่ จ ะเป็ น ศู น ย์ ก ลางน� า เสนอเทคโนโลยี แ ละโอกาสทางธุ ร กิ จ ส� า หรั บ ผู้ประกอบการ เจ้าของกิจการ ผู้ผลิตชิ้นส่วน ผู้ควบคุมสายการผลิต ฝ่ายจัดซือ้ และผูเ้ กีย่ วข้องในอุตสาหกรรมการผลิตและสนับสนุน พร้อมทัง้ เทคโนโลยีจาก 2,425 แบรนด์จาก 46 ประเทศได้เผยโฉมแก่ผู้ร่วมงาน กว่า 51,811 รายทัง้ ชาวไทยและต่างประเทศทีต่ ้องการโซลูชั่นเพือ่ ทลาย ข้อจ�ากัดทางการผลิต บริษทั ทีเ่ ข้าร่วมงานจ�านวนมากได้พบกับพันธมิตร ธุรกิจ ข้อเสนอมีการแลกเปลี่ยนเพื่อความร่วมมือในอนาคต การประชาสัมพันธ์งานอย่างต่อเนื่องดึงดูดผู้เข้าชมงานหมู่คณะ จ�านวนมากจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่ต่างต้องการมาเพิ่ม วิสัยทัศน์ด้านเทคโนโลยีและความรู้
Learning Platform for Smarter Manufacturing
เวทีแห่งการเรียนรู้เพื่อการผลิตอันชาญฉลาด
เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ผู ้ เข้ า ร่ ว มงานจะได้ รั บ ประโยชน์ สู ง สุ ด เราจึงคัดสรรกิจกรรมมีคุณภาพเพื่อการต่อยอดทางธุรกิจมา น�าเสนอเช่น :
• Automotive Summit & iEVtec 2016
รับฟังความคิดเห็นและข้อมูลเชิงลึกจากผูท้ รงความรูท้ งั้ ใน องค์กรภาครัฐและเอกชนเกี่ยวกับแนวคิดด้าน “หนทางสู่การ เป็นศูนย์กลางการผลิตยานยนต์เพื่อสิ่งแวดล้อม”
• 3D Printing for Mold & Auto Parts
For more information please kindly contact ข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ Tel: +66 2686 7299 Email : manufacturing-expo@reedtradex.co.th Website : www.manufacturing-expo.com 68
Machine Tools & Metalworking
การจัดแสดงเทคโนโลยีด้าน 3D Printing และตัวอย่าง ชิ้นงานที่ผลิตได้ เพื่อแสดงความสามารถของเทคโนโลยีการ พิมพ์ 3 มิตทิ สี่ ามารถเปลีย่ นโฉมอุตสาหกรรมการผลิตแม่พมิ พ์ และชิ้นส่วนสู่อนาคต
VIP TESTIMONIAL
Mr. Toshihiro Fujikawa
Mr. Hitesh Gauswami
Mr. Kazumasa Susaki
Executive Advisor Automotive Mold Technology Co., Ltd.
CEO Compucare India Pvt. Ltd.
The head of Tokyo Trade Center, GM Tokyo Metropolitan SME Support Center
งานบริ ษั ท ของผมคื อ การจั ด หา อุปกรณ์ให้แก่บริษัทต่างๆ ส่วนใหญ่จะ เป็นในส่วนของยานยนต์ที่เราจัดหาให้ กับบริษัทโตโยต้า ฮอนด้าและอิซูซุ ดังนั้น ผมจึงมาท่นี ี่ เพือ่ จะหาผูผ้ ลิตและลูกค้าอืน่ ๆ รวมไปถึงโอกาสการลงทุนในประเทศไทย ด้วย
ผมชอบที่จะเห็นเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ งานนี้ ผมเจอเทคโนโลยีทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ บริษัทของผมในอนาคต เช่น Automated Guided Vehicles (AGVs) จากสิงคโปร์ นอกจากนี้ ผมประทับใจกับการประชุม ทางวิ ช าการที่ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ท่ี มี ป ระโยชน์ มากมาย แต่สิ่งที่ดีที่สุดคือ ผมประสบ ความส�าาเร็จในการขยายเครือข่ายของ บริษัทผมในงานนี้
งานแมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซ์โป 2016 เป็นงานทีค่ รบครันส�าหรับกลุม่ อุตสาหกรรม โดยผู้เข้าร่วมงานแสดงสินค้าสามารถที่ จะสร้างเครือข่ายทางธุรกิจกับกลุ่มคนใน วงการได้ นอกจากนี้ พวกเรากลุ่ม Tokyo Pavilion ต้องการที่จะสร้างเครือข่ายกับ นั ก ประกอบการธุ ร กิ จ ในประเทศเพื่ อ มองหาพันธมิตรทางธุรกิจเพือ่ ขยายธุรกิจ และกิจการ
• Series of Robot & Automation
SI Chat เวทีรวมพลคน SI (System Integrators) ที่มากที่สุด เพื่อ ให้ผู้ร่วมงานสามารถแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับแนวทาง การจัดการสายการผลิตให้เป็นระบบอัตโนมัตหิ รือกึง่ อัตโนมัติ Automation Theater เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีล่าสุดในระบบอัตโนมัติ อาทิ Robot, IoT (Internet of Things), Industry 4.0 เป็นต้น ที่ Automation Theater Smart Factory Showcase น�าเสนอตัวอย่างการน�าแนวคิดโรงงานอัจฉริยะมาปรับ ใช้จริงในอุตสาหกรรมการผลิต ผ่านเทคโนโลยีอันทันสมัย กิจกรรมนี้ร่วมจัดกับ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ (KU) และ สถาบั น ไทย-เยอรมัน (TGI)
• Surface & Coatings Showcase
Surface & Coatings Forum 2016 ไม่ พ ลาดข้ อ มู ล ล่ า สุ ด ในแนวโน้ ม ของเทคโนโลยี ก าร ชุบเคลือบทีส่ ามารถประยุกต์ใช้ได้กบั หลายอุตสาหกรรม รวมถึง การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ การอากาศยาน อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ทางการแพทย์และอื่นๆ กับการสัมมนาในหัวข้อ “เทคโนโลยีด้านชุบเคลือบพื้นผิวส�าหรับตลาดที่ก�าลังเติบโต” จากความส�าเร็จอย่างต่อเนื่องในการจัดงาน รวมถึง ความสนับสนุนด้วยดีจากท่าน ทางบริษัทฯ จึงได้ก�าหนด การจัดงาน Manufacturing Expo 2017 ระหว่างวันที่ 21-24 มิถุนายน 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา ผู้จัดงานขอแสดงความขอบคุณทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในความส�าเร็จครั้งนี้ และหวังว่าจะได้ต้อนรับ ทุกท่านอีกครั้งเพื่อการผนึกก� าลังอันเข้มแข็งในวงการ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต และสนั บ สนุ น ที่ แ มนู แ ฟกเจอริ่ ง เอ็กซ์โป 2017!
august-september 2016
69
APPLICABLE WORLD-CLASS TECHNOLOGIES FOR THAI INDUSTRIES
APPLICABLE WORLD-CLASS TECHNOLOGIES FOR THAI INDUSTRIES
Vol.13 issue
07
j u ly 2 0 1 6
Machine Tools & Metalworking
Machine Tools & Metalworking v o l . 1 3 • i s s u e 0 7 • j u ly 2 0 1 6
ขอ มลูผส ูมคัรสมาชกิ
Published by
ชื่อ (Name)
นามสกลุ (Surname)
ตำแหนง งาน
เบอร โทรศพัท (Telephone)
เบอร โทรสาร (Fax)
P. 30 หน ุ ยนตและระบบอต ั โนมต ั ิ สำหรบ ั กระบวนการเชอ ่ื ม
P. 34 Natoli Engineering กบ ั กระบวนการคณ ุ ภาพแหงเหลก ็ กลา
P. 47 การตรวจวเิคราะหน ำ้มน ั หลอ ลน ่ื ยด ื อายก ุ ารใชงานเครอ ่ื งจก ั ร ลดคาใชจ ายซอ มบำรงุ
MM Cover | size 210 x 297 mm. | สน ั ปก 3 mm.
มอืถอื (Mobile)
สมคัรสมาชกิ นติยสาร MM Machine Tools & Metalworking ตั้งแตฉ บบั
ถงึ ฉบบั
ที่อยู ที่ใช ในการจัดส ง บริษทั
แผนก/หนว ยงาน
เลขที่
หม ู
แขวง/ตำบล
ประเภทอตุสาหกรรม เขต/อำเภอ
จงัหวดั
รหสัไปรษณยี
ว�ธกีารชำระเง�น โอนเง�นผา นธนาคารไทยพาณชิย ชื่อบญ ั ชี บร�ษทั กร�นเว�ลด มีเดีย (ไทยแลนด ) จำกัด สาขาหัวหมาก ประเภทบัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 044-3-040520 เชค็ข�ดครอ มสั่งจา ย บร�ษทั กร�นเว�ลด มีเดีย (ไทยแลนด ) จำกัด
สมคัรสมาชกิ 1 ป 6 ฉบับ (ราย 2 เดือน)
แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพร�เมี่ยม 1 ตวั
subscribe now!
480 บาท