MM Machine Tools & Metalworking : January-February 2017 ISSUE

Page 1

Vol.13 issue

01 02

jan-feb 2017

Published by

P. 36

P. 41

P. 45

ปน 'บุคลากร' สูอุตสาหกรรมแมพิมพอยางไร ใหตอบโจทยและตรงใจ

โอกาสทองของอุตสาหกรรมและวิศวกรไทย ในยุควิกฤตแรงงานขาดแคลน

เทคโนโลยีทางการแพทยและการผลิต ที่เชื่อมโยงกันอยางใกลชิด





Edge Turning ISCAR'sInnovations Winning ISCAR's Edge Turning Winning InnovationsEdge Turn

H i gh Gear H i gh Turning Gear Turning Hi g Shortens Shortens Your Your Sho Chips Under Chips All Under All Chip Cutting Conditions! Cutting Conditions! Cut

Edge TurniInSCAR'g Innovati s WinIniSnCAR' g EdgeoTnsusrnWiing InnovatniniognsEdge Turn F3P Finishing

M3P F3P MediumFinishing

R3P M3P Roughing Medium

R3P Roughing

H i gh GearHiTurni gh Gear TunrngHingi g F3M Finishing

F3P Finishing

M3M F3M M3P F3P Medium Finishing MediumFinishing

R3M M3M R3P M3P Roughing Medium Roughing Medium

R3M R3P Roughi ng Roughing

F F

Machining Machining Intelligently Intelligen ligently ligently Machining Machining Intelligently Intelligen F3M Finishing

ISCAR ISCAR HIGH Q LINES HIGH Q LINES ISCAR ISCAR HIGH Q HIGH LINES Q LINES

M3M F3M MediumFinishing

R3M M3M Roughing Medium

R3M Roughing

www.iscar.com www.iscar.com w w w. i s c a www.iscar.com r. c o m

F F



THREAD ROLLING MACHINE CAM AUTO LATHE BENCH LATHE

CNC

COLLECT CHUCK

THINK QUALITY THINK PRICE THINK ‘FUTURE VISION’


editor’s note Worldwide Switzerland SMM Schweizer Mashchinenmarkt www.smm.ch MSM Le Mensuel de I’industrie www.msm.ch

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat)

การบริหาร (Editorาinหมาย Chief) ประสานพลังขับเคลื่อนอุบรรณาธิ ตสาหกรรมเป้

E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

Austria MM das osterreichische Industriemagazin www.maschinenmarkt.at

กำรขับเคลือ่ นกลยุทธ์ตำ่ งๆ ของหน่วยงำนสนับสนุนอุตสำหกรรมภำครัฐ ยิง่ จะเข้มข้นและออกดอกออกผล สดีปีใหม่คแนวทำงและนโยบำยต่ ่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน ำงๆ เพื่อให้อุตสำหกรรมเป้ำหมำยสร้ำงกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจตำม ทัสวั้งมำตรกำร ควำมมุง่ หวังของรัฐบำล โดยอุตสำหกรรมเป้ำหมำยทัง้ 10 กลุม่ อุตสำหกรรม ประกอบด้วย อุตสำหกรรมยำนยนต์ พ.ศ. 2560 ด้่อวงใช้ ยการลงมื บเคลืก่อส์นสิ ่งใหม่ปๆกรณ์ นะคะ เริ่มตั้งแต่การลองท� าในสิ่งที่ไโม่ตรเคมี เคยท�า และชิต้​้อนนรั ส่วบนปีรอุะกา ตสำหกรรมเครื ไฟฟ้ำ ออิท�เาล็และขั กทรอนิ และอุ โทรคมนำคม อุตสำหกรรมปิ หรื อ การก้ า วออกจาก Comfort Zone เพื อ ่ เป็ น การพั ฒ นาตนเอง ซึ ง ่ กล่ า วกั น ว่ า ความยากล� า บากที ส ่ ด ุ ในการพั ฒ นาตนเอง และเคมีภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อุตสำหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อุตสำหกรรมอำกำศยำน การเปลี่ยนแปลงคุ ณภาพชีวอุิตตไปสู ่สิ่งที่ดีขึ้นจนัทิ ่นลั ก็อุคตือสำหกรรมเกษตรแปรรู การไม่ยอมออกจากพืป้นทีอุ่หตรืสำหกรรมสิ อความคุ้นชิง่ ทอและเครื นเดิม ด้วยความเชื อุหรืตอสำหกรรมนวั ตกรรมอำหำร สำหกรรมดิ อ่ งนุง่ ห่ม่อ ที่ว่าจะพบกับความยากล�าบากหรือสิ่งที่ไม่สามารถคาดเดาได้นั่นเอง แต่ในทางกลับกัน การติดอยู่กับ Comfort Zone และอุตสำหกรรมกำรแพทย์ครบวงจร จะเป็นกับดักฉกรรจ์ที่จะท�าให้ชีวิตของเราไม่มีการพัฒนานั่นเองค่ะ โดยล่ ทำงสถาบั นคุTools ณวุฒวิ &ชิ าชี พ (องค์การมหาชน) ต่งตัง้ ให้ทำงสถาบั นไทย-เยอรมั ำง ส�าหรัำบสุดMM Machine Metalworking ฉบับนี้ มีได้ เรื่อแงราวของหน่ วยงานและสถาบั นที่เกีน่ยเป็ วข้นอผูงกัย้ บกร่การ มำตรฐำนอำชี พ คลั ส เตอร์ โ รโบติ ก ส์ เพื อ ่ เป็ น แนวทำงในกำรทดสอบและรั บ รองคุ ณ วุ ฒ ว ิ ช ิ ำชี พ บุ ค ลำกรผู ม ้ อ ี ำชี พ ขับเคลื่อนการพัฒนาบุคลากรทางด้านอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ทั้ง คณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนา ด้ก�าำลันคลั ส เตอร์ โ รโบติ ก ส์ ใ นประเทศไทย ให้ เ ป็ น มำตรฐำนที ่ ไ ด้ ร ั บ กำรยอมรั บ ในภำคอุ ต สำหกรรมที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั งคนอาชีวศึกษา หรือ อ.กรอ.อศ.กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์ ซึ่งได้จัดพิธีลงนามความร่วมมือ เพื่อสนับสนุนพัฒนาการผลิบต ฒนำระบบโรโบติ โดยเมื อ่ ผ่ำนกระบวนกำรต่ ำงๆ แล้วฒจะมี งคับเชิมงคี ปฏิ บตั ใิ มีนช่ความรู วง 12้ มีเดื น กำรใช้ แม่พมิ พ์งำนและพั และเพือ่ ประสานความร่ วมมืกอส์ระหว่ างภาครั ฐและภาคเอกชนในการพั นาก�ผาลบั ลังคนให้ ณ ุ ภาพ ทกั อษะ ต่ตรงตามความต้ อจำกนีไ้ ป องการของสถานประกอบการ ตอบสนองความต้องการก�าลังคนของภาคอุตสาหกรรม ทำงด้ ำนคณะกรรมการส่ งเสริ อ บีโอไอ น�ำโดยคุณตแม่ หิรพญ ั ิมญา สุจนิ ยั เลขาธิการคณะกรรมการ ในขณะที ่สถาบันไทย-เยอรมั น มก็การลงทุ ได้จัดท�าร่นาหรื งมาตรฐานโรงงานผลิ พ์และมาตรฐานแม่ พิมพ์ เพื่อก�าหนด ส่แนวทางในการบริ งเสริมการลงทุหนารจั ได้ดให้การและการพั ขอ้ มูลกับ MM Machine Toolsานต่ & Metalworking ถึงแนวโน้มกำรลงทุ นของอุตสำหกรรม ฒนาองค์ ประกอบด้ างๆ ของสถานประกอบการอุ ตสาหกรรมการผลิ ตแม่พมิ พ์ การประเมิ มิ พ์ตำกำรขอรั ามมาตรฐานที บศักยภาพในแต่ ละด้านซึง่ท�เป็ าให้ ดอ่อน เป้ ำหมำยว่นำโรงงานแม่ บีโอไอมัน่ พใจว่ บส่งเสริก่ า� มหนดจะสามารถทราบถึ กำรลงทุนของ 10 กลุม่ งระดั อุตสำหกรรมแห่ งอนำคต นอุทตราบจุ สำหกรรม และจุ ดบกพร่องทีฐบำล ต่ อ้ งการปรั ขไปในคราวเดี วกัน หลั1งแสนล้ จากร่าำงมาตรฐานเรี อยแล้ จดั ท�2559 าประชาพิจารณ์ เป้ ำหมำยของรั จะมีมบลู ปรุ ค่ำงเงิแก้นไลงทุ นตำมเป้ำยหมำย นบำทส�ำหรัยบบร้ในช่ วงครึว ง่จึปีงได้ แรก เพื่อให้ ผู้ประกอบการร่ นแสดงความคิ งกล่าวนั้น สามารถน� ต์ใช้ในโรงงานต่ โดยในช่ วง 4 เดืวอมกันแรกของปี นี้ มูดลเห็ค่นำว่เงิานมาตรฐานดั ลงทุนของโครงกำรที ่ยื่นขอรับาส่ไปประยุ งเสริมกกำรลงทุ นใน 10างๆกลุได้ ่ม หรือไม่ ซึ่งทัำ้งสองหน่ เป็น่ นล้กลไกที ่ส�าคัญวในการขั น ติดตามได้ที่หน้า ย่ 31-35 อุจริตงสำหกรรมเป้ หมำย ก็วสยงานถื งู ถึง 7อหมื ำนบำทแล้ โดยเป็นบมูเคลื ลค่​่อำรวมของโครงกำรที นื่ ขอรับส่งเสริม 211 โครงกำร มน์ EXCLUSIVE า 36-40 ณี เปรมานั ท์ หัวหน้าภาควิ ชาวิศวกรรมเครื อ่ งมือและวัเช่สนดุ ่ยื่นขอรับส่TALK งเสริหน้ มในกลุ ่มอุตรศ.ดร.วารุ สำหกรรมเป้ ำหมำย นกระจำยอยู ่ในหลำยกลุ ่มอุตสำหกรรม ส�ำหรัในคอลั บโครงกำรที คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ ร ี และอุ ป นายก สมาคมอุ ต สาหกรรมแม่ พมิ พ์ตไชิทยน้ ส่และ อุตสำหกรรมยำนยนต์และชิน้ ส่วน จ�ำนวน 12 โครงกำร เงินลงทุนรวม 14,188 ล้ำนบำท อำทิ กิจกำรผลิ วน รศ.สถาพร ชาตาคม หั ว หน้ า ภาควิ ช าเทคโนโลยี ว ศ ิ วกรรมเครื อ ่ งกล วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ยำนพำหนะ เช่น ชิ้นส่วนระบบส่งก�ำลัง ชิ้นส่วนระบบเครื่องยนต์ กิจกำรผลิตรถปิคอัพ ส�ำหรับกำรลงทุนใน าพระนครเหนือ และเลขาธิการ สมาคมอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ไทย ได้พดู คุยถึงเรือ่ งปัญหาแรงงานและพันธกิจ อุพระจอมเกล้ ตสำหกรรมอำกำศยำน 1 โครงกำร เงินลงทุน 22 ล้ำนบำท โดยเป็นกิจกำรผลิตชิน้ ส่วนชิน้ ส่วนอุปกรณ์เครือ่ งใช้ ของมหาวิทยาลัยในการเป็นฐานรากของการผลิตบุคลากรเพือ่ ตอบสนองงานอุตสาหกรรม ซึง่ มีหลายๆ ประเด็นทีน่ า่ สนใจ บนเครื อ ่ งบิ น เป็ น ต้ น ปิดท้ายด้วย รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี โครงกำรของภำครั วยงำนเป็นสัญญำณที ่ดี ที่ชี้ใาห้ส่เวห็นใหญ่ นถึงกำรประสำนพลั พระจอมเกล้ าธนบุรี ได้กล่ฐาของทั วถึง หุ้งน่ สองหน่ ยนต์และแขนกลในภาคอุ ตสาหกรรมว่ มกั ถูกพูดถึงในมิตงและกำรเอำจริ ขิ องการลงทุนซือ้ง เอำจั ง กั บ กำรสนั บ สนุ น อุ ต สำหกรรมอย่ ำ งเต็ ม ที น ่ ะคะ ยั ง คงมี ส ง ่ ิ ดี ๆ ส� ำ หรั บ ผู ป ้ ระกอบกำรอย่ ำ งต่อเนื่อง MM หรือพัฒนาระบบเพือ่ ให้เข้ากับอุตสาหกรรมและธุรกิจเดิม อาทิ การใช้ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์ในอุตสาหกรรมอาหาร จะเป็ น สื อ ่ ในกำรส่ ง ข่ ำ วสำรถึ ง คุ ณ ผู อ ้ ำ ่ นอย่ ำ งแข็ ง ขั น ค่ ะ เครื่องดื่ม ยาง ชิ้นส่วนยานยนต์ หรือโลจิสติกส์ ทว่ายังมีอีกมิติที่หลายฝ่ายมองว่าเป็นโอกาสทองของไทย นั่นคือ การปั้นตัวเองให้เป็นฮับหรือศูนย์กลางของการผลิตชิ้นส่วนและประกอบหุ่นยนต์ทั้งเพื่อขายในประเทศและส่งออก ติดตำมเนื ำงๆ ทีน่นตั่ำง้ สนใจภำยในเล่ มนะคะ ฉบับหน้ำค่ะ นส�าคัญอีกด้วย ติดตามรายละเอียด ต่างประเทศ ทัง้ ้อนีหำต่ ้ การจะลงทุ โรงงานท�าหุน่ ยนต์ ตอ้ งดูคพบกั วามต้นอใหม่ งการของตลาดเป็ ได้ที่หน้า 41-44 นะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

(ไทยแลนด์)) จ�จ�ำำกักัดด เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ มีเดีย (ไทยแลนด์ ถนนลำดพร้ำำวว แขวงคลองจั แขวงคลองจั่น่น เขตบำงกะปิ เขตบำงกะปิ 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ 0-2731-1191-4 โทรสำร โทรสำร 0-2769-8043 0-2769-8043 กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com www.mmthailand.com เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, คณะทีป่ รึกษาฝ่ายวิชาการ ภำยใต้ควำมร่วมมือจำก Thai-Germany Technology Promotion Club Verein der ehemaligen Thai-Studenten in Deutshland Unter koeniglicher Schirmherrschaft Schirmherrschaft โดย โดย สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) จินดำ ฮั้งตระกูล Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.)Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) ชูพงษ์ วิรุณหะ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) เจษฎำ ตัณฑเศรษฐี Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วีระพันธ์ รังสีวิจิตรประภำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. นำวำอำกำศตรี ดร.พงศ์พันธ์ แก้ววจิจินนดำ ดำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. พลอำกำศตรี ปัญญำ เชียงอำรีย์ Dipl.-Ing.,Dipl.-Ing., Dipl.-IngDipl.-Ing (FH.) (FH.) นำวำอำกำศเอก ขวัญบุญ จุลเปมะ เปมะ Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ Ph.D Ph.D

8

Machine Tools & Metalworking

จิรภัทร ข�าญาติ Editor in Chief jirapat.k@greenworldmedia.co.th

ผูผู้บ้บริริหหารฝ่ ารฝ่าายขาย ยขาย :: กรรมการผู้จ้จัดัดการ การ :: กรรมการผู พัพัชชร์ร์สสิติตำำ ศรี ศรีสสิมิมะรั ะรัตตน์น์ มธ กิกิตตติติธธีรีรพรชั พรชัยย สุสุเเมธ ฝ่ฝ่าายโฆษณา : ผูผู้จ้จัดัดการทั การทั่ว่วไป ไป :: ยโฆษณา : อัอัญ ทร์ จีจีรระโกมลพงศ์ ะโกมลพงศ์ พรชัยย ญริรินนทร์ ธีธีรระะ กิกิตตติติธธีรีรพรชั วรรณิ สำำ โสภิ โสภิณ ณ วรรณิ ส บรรณาธิ ก ารบริ ห าร : บรรณาธิการบริหาร : พรเลขำ นำค พรเลขำ ปัปั้น้นนำค จิจิรรภัภัททรร ข�ข�ำำญำติ ญำติ ประสานงานฝ่ ยโฆษณา :: ประสานงานฝ่าายโฆษณา บรรณาธิการก: าร : กองบรรณาธิ วิวิไไลพร ชปัญ ญญำ ญำ ลพร รัรัชชชปั ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ เปมิ กำ สมพงษ์ บั ญ ชี : บัญชี : ทศธิ ป สูนย์สกำทร กองบรรณาธิ าร : ณั แดนค�ำำสำร สำร ณัฎฎฐวี ฐวี แดนค� จีสำวิ รพรตรีทิสิพนย์ปรุ เคลือบ ผูผู้จ้จัดัดการฝ่ ยการตลาด :: เปมิกำ สมพงษ์ การฝ่าายการตลาด บรรณาธิ การศิลปกรรม : ภัภัททรำนิ เจริญ ญผลจั ผลจันนทร์ ทร์ ทศธิญปญสูปรั นย์งสพัำทร รำนิษษฐ์ฐ์ เจริ ปริ นธ์ การตลาด : บรรณาธิ ก ารศิ ล ปกรรม : การตลาด : ฝ่ายศิลปกรรม : เฟื สำมำรถกุลล ญ ปรังกฤดำแสงสว่ พันธ์ เฟื่อ่องลดำ งลดำ สำมำรถกุ ชุปริตญ ิกำญจน์ ำง อำณั เพ่งพิน:ิจ เว็เว็ปปมาสเตอร์ ฝ่ายศิตลิ ปกรรม มาสเตอร์ :: จิจินนดำพร เพ็ชชร์ร์จจันันทร์ ทร์โโทท ธนวัฒน์ เชียงโญ ดำพร เพ็ ปิยะพร คุ้มจั่น พิมพ์ : ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด พิมพ์ : บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�โทรศั ำกัด พท์ (+66) 2731-1155-60 โทรศัพท์ (+66) 2731-1155-60 โทรสำร 2731-0936 โทรสำร(+66) (+66) 2731-0936

Poland MM Magazyn Przemyslowy www.magazynprzemyslowy.pl

Czech.Rep. MM Prumyslove spektrum www.mmspektrum.com

Hungary MM Muszaki Magazin www.mm-online.hu

Ukraine MM Money and Technplog www.mmdt.com.ua

Turkey MM Makina Magazin www.dunyagazetesi.com.tr

Thailand MM Machine Tools & Metalworking www.mmthailand.com

China MM Xiandai Zhizao www.vogel.com.cn

Korea MM Korea www.mmkored.kr

India MMI Modern Manufacturing India www.modernmanufacturing.in

Indonesia MM Indonesien www.mm-industri.com

Germany MM MasdinenMarket www.masdinenmarket.de

Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany TheThe ThaiThai editionedition of the MM Maschinemarkt is a publication of the MM Maschinemarkt is a publication of Green (Thailand) Co.,Ltd.byLicensed of Green WorldWorld Media Media (Thailand) Co.,Ltd. Licensed Vogel by Vogel Business & Co. 97082 Wurzburg/Germany. Business MediaMedia GmbHGmbH & Co. KG., 97082KG., Wurzburg/Germany. Copyright the trademark "MM Maschinemarkt" © Copyright theoftrademark Maschinemarkt” Vogel by Vogel BusinessofMedia GmbH“MM & Co. KG., 97082byWurzburg/Germany. Business Media GmbH & Co. KG., 97082 Wurzburg/Germany. ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฎในนิตยสารมีจ�านวนมากและมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้ สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็นทางนิตยสารจะประกาศเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วน ที่มีการกล่าว อ้างถึงในบทความ หากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้โดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้าเพื่อให้การน�าเสนอบทความกระชับและน่าอ่าน

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็น รูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึกเป็น JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300dpi รายละเอียดโปรดสอบถาม กองบรรณาธิการโดยตรง

การสมัครสมาชิก

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกที่ตีพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุดเพื่อเป็นแบบ ฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8043 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามราย ละเอียดได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 หรืออีเมล marketing@ greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบ ของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�า มาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับการติดต่อกลับ โดย กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่งถ้อยค�าตามความเหมาะสม ท่านสามารถ ติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและการ บริหารธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรม แต่ตอ้ งเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ของผู้อื่นไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสาร จะไม่ต้องรับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับ ผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฎในนิตยสารเล่ม นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็น ของทางบริษัทฯ เสมอไป


LATEST MODEL OKUMA V760R VERTICAL CNC LATHE


contents / january-february 2017

20

p.

COVER STORY 7 ผลิตภัณฑ์เสถียรภาพสูง ยกระดับสมรรถนะและผลิตผลส่งตรงจาก Tungaloy

p.

24

interview

Think Quality Think Price Think ‘FUTURE VISION ASSOCIATE’ …คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ในยุค 4.0

31

p.

SPECIAL REPORT อ.กรอ.อศ.เร่งพัฒนาก�าลังคน TGI เดินหน้าจัดท�ามาตรฐาน สองโครงการใหญ่เดินหน้าเสริมทัพอุตฯ แม่พิมพ์ไทย

12 NEWS & MOVEMENT

41 INDUSTRIAL ROBOTICS

SPECIAL FEATURE

36 EXCLUSIVE TALK

โอกาสทองของอุตสาหกรรมและวิศวกรไทย ในยุควิกฤตแรงงานขาดแคลน

26 WELDING ความรู้สู่ปฏิบัติการ เริ่มฝึกเชื่อมไฟฟ้า 45 MEDICAL DEVICE TECHNOLOGY เทคโนโลยีทางการแพทย์ และการผลิต ที่เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด 54 SOFTWARE TECHNOLOGY Test-Xpert II ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุ หนึ่งเดียวของ Zwick ที่ตอบโจทย์งานประกันคุณภาพ

ปั้่น ‘บุคลากร’ สู่อุตสาหกรรมแม่พิมพ์อย่างไร ให้ตอบโจทย์และตรงใจ

10

Machine Tools & Metalworking


advertisers index • January - February 2017 •

Company

Page

Tel

E-mail / Website

BOYATECH (THAILAND) CO., LTD.

27

0-2644-2292

www.boyatech-carbide.com

FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD.

7, 24-25

0-2894-0655

fvamach@hotmail.com

GLOBAL SEAL CO., LTD.

2

0-2591-5256-7

www.globalseal.co.th

GRIND MASTER MACHINES PVT. LTD.

33

(+91) 9049948833

www.grindmaster.co.in

GROUP ENGINEERING PRODUCT CO., LTD.

9

0-2960-0136

groupcor@truemail.co.th

ISCAR (THAILAND) CO., LTD.

4-5

0-2713-6633-8

www.iscarthailand.com

JSR GROUP CO., LTD.

6

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

MAZAK (THAILAND) CO., LTD.

56

0-2402-0650

www.mazakthai.com

OTC DAIHEN ASIA CO., LTD.

13

0-2529-2130

www.otcdaihenasia.com/th

TRUMPF LTD.

15

063-202-1431

www.thtrumpf.com

TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD.

1, 3, 20-23

0-2751-5711

www.tungaloy.co.th

august/september 2016 JUNE 2016

11 19


NEWS and MOVEMENT

ซีเมนส์ พัฒนา PROCESS โรงงานน�้าตาล เสริมศักยภาพการผลิต ซีเมนส์ เผย Process ระบบออโตเมชั่นส�ำหรับอุตสำหกรรมน�้ำตำล เพื่อเพิ่มศักยภำพและขยำยก�ำลังกำรผลิต แก้ปัญหำภำวะน�้ำตำลขำดแคลน คุณฌิลส์ เวแบร์ Vice President บริษัท ซีเมนส์ จ�ากัด กล่ำวว่ำ “ปัจจุบันในประเทศไทยมีควำมต้องกำรน�้ำตำลเพิ่มขึ้น แต่ขณะที่กระบวนกำร ผลิตน�้ำตำลกลับสวนทำงกัน เนื่องจำกสภำวะอำกำศที่มีผลอย่ำงมำกต่อกำรเกษตรท�ำให้อ้อยที่ได้มีปริมำณลดน้อยลงกว่ำ 10-15% จึงส่งผลต่อภำค อุตสำหกรรมกำรผลิตน�้ำตำลต้องปรับตัวครั้งใหญ่ โดยอำศัยเทคโนโลยีที่ก้ำวหน้ำที่มีกำรน�ำศักยภำพทำงดิจิทัลและกำรก้ำวสู่ยุคออโตเมชั่น เพื่อกำร ขยำยก�ำลังกำรผลิต” “ทั้งนี้ ซีเมนส์มีระบบและโซลูชั่น Process ส�ำหรับโรงอุตสำหกรรมน�้ำตำล ซึ่งในประเทศไทยมีทีมวิศวกรที่สำมำรถพัฒนำแอพพลิเคชั่นที่เกี่ยวกับ น�ำ้ ตำล โดยส่วนใหญ่จะเป็นระบบออโตเมชัน่ Distributed Control System ทีส่ ำมำรถควบคุมโรงน�ำ้ ตำลได้ทงั้ หมด เรำมองว่ำโรงน�ำ้ ตำลในประเทศไทย ยังคงใช้แรงงำนคนเป็นจ�ำนวนมำกไม่ค่อยมีกำรใช้ระบบออโตมั่นมำกนัก ทั้งนี้ เมื่อประมำณ 2-3 ปีที่ผ่ำนมำ น�้ำตำลมีรำคำค่อนข้ำงต�่ำ ดังนั้น อุตสำหกรรมน�้ำตำลในไทยต้องหำวิธีลดต้นทุนให้น้อยลง แต่น�้ำตำลที่ได้ต้องมีคุณภำพ เช่น คุณภำพของเม็ดน�้ำตำลต้องเท่ำกัน สีของ น�้ำตำลต้องเหมือนกัน ซึ่งซีเมนส์มีอุปกรณ์และโซลูชั่นที่จะช่วยในเรื่องนี้ ส�ำหรับโรงไฟฟ้ำชีวมวล ซีเมนส์มีโซลูชั่นที่ช่วยควบคุมกำรเก็บไฟฟ้ำไว้ใช้งำน หรือจะขำยออกไปตำมที่ก�ำหนด อีกทั้ง ซีเมนส์มีอุปกรณ์ที่สำมำรถดึงข้อมูลของโรงงำนทั้งหมดเพื่อให้เห็นภำพรวมของกิจกำรทั้งหมดว่ำ ขณะนี้กระบวนกำรผลิตมีประสิทธิภำพ ที่ดีหรือไม่ เครื่องจักรเกิดปัญหำหรือไม่ ระบบของเรำเป็น DCS ที่สำมำรถตรวจสอบปัญหำได้ และ MES ที่น�ำระบบมำดึงข้อมูล ทั้งนี้ กำรน�ำระบบ ออโตเมชั่นเข้ำมำใช้จะช่วยลดข้อผิดพลำดจำกแรงงำนคน และประสิทธิภำพต่อวันหรือคุณภำพของน�้ำตำลที่ได้ก็จะเพิ่มมำกขึ้น”

ค็อกเน็กซ์ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ รองรับยุคออโตเมชั่น

ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (NASDAQ: CGNX) ผู้น�ำด้ำน แมชชีนวิชั่นเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่รองรับกำรเปลี่ยนผ่ำนสู่ยุค กำรผลิตแบบออโตเมชั่นทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ได้แก่ In-Sight VC200 มัลติสมำร์ทคำเมร่ำวิชนั่ ซึง่ เป็นกล้องวิชนั่ ซิสเต็มส์แบบมัลติสมำร์ทคำเมร่ำตัวแรกของโลก ที่พัฒนำขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรท�ำงำนให้รวดเร็วขึ้นตำมจ�ำนวน กล้องแต่ละตัวที่เพิ่มเข้ำ ผลิตภัณฑ์ In-Sight® 2000 Series รุ่นใหม่ คือ กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ท่ีรวมเอำประสิทธิภำพของระบบจับภำพ In-Sight ทีใ่ ช้งำนในระดับอุตสำหกรรมผนวกเข้ำกับควำมง่ำยและรำคำ ที่ซื้อหำได้ของตัวเซ็นเซอร์จับภำพ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เหมำะกับ กำรใช้งำนส�ำหรับระบบพิสูจน์ข้อผิดพลำด ระบบอ่ ำ นข้ อ มู ล ป้ ำ ยเพื่ อ จั ด กำรกระเป๋ ำ เดิ น ทำงใน สนำมบิน (ABH-ID) ซึ่งเป็นระบบเครื่องอ่ำนป้ำยติดกระเป๋ำ โดยอัตโนมัติจำกภำพ (ATR) ช่วยให้ลดต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับ กำรส่งมอบกระเป๋ำเดินทำงที่อำจจะเกิดกำรสูญหำยหรือเกิด ควำมล่ำช้ำในกำรส่งมอบลงได้ ทั้งนี้ ระบบ ABH-ID มีควำม สำมำรถยอดเยีย่ มในกำรอ่ำนป้ำยทีเ่ กิดควำมเสียหำยได้อย่ำง รวดเร็วและเที่ยงตรง 12

Machine Tools & Metalworking

โครงการแปลงเครื่องจักรเป็นทุน หนุนเอสเอ็มอี

คุณมงคล พฤกษ์วัฒนา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่ำวถึง “โครงกำรแปลงเครื่องจักรเป็นทุน และกำรปรับเปลี่ยนเครื่องจักรส�ำหรับ ผูป้ ระกอบกำรเอสเอ็มอี (ภำยใต้แผนปฏิบตั กิ ำรส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อม ปี 2559) ว่ำเป็นโครงกำรฯ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนให้ ผู้ประกอบกำร SMEs สำมำรถเข้ำถึงแหล่งเงินทุน และมีเงินทุนหมุนเวียน เพียงพอในกำรประกอบกิจกำร รวมถึงกำรสนับสนุนให้ผู้ประกอบกำร เอสเอ็มอี มีกำรใช้เครื่องจักรที่มีประสิทธิภำพสูง มีกำรใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ในด้ำนกำรผลิตเพือ่ เพิม่ ศักยภำพกำรแข่งขันทำงกำรตลำด โดยมอบหมำย ให้มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ เป็นผู้ด�ำเนินโครงกำรฯ ดร.ธิรินทร์ ณ ถลาง ผู้อ�านวยการโครงการฯ กล่ำวว่ำโครงกำรฯ นี้มีกิจกรรมเพื่อให้กำรบริกำรและสนับสนุนแก่ผู้ประกอบกำร SMEs จ�ำนวน 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมกำรจดทะเบียนกรรมสิทธิเ์ ครือ่ งจักรผ่ำน ช่องทำงพิเศษส�ำหรับผูป้ ระกอบกำร SME กิจกรรมกำรสนับสนุนค่ำใช้จำ่ ย ในกำรขอรับสินเชื่อ กิจกรรมกำรสนับสนุนค่ำใช้จ่ำยในกำรขอรับกำรส่ง เสริมกำรลงทุน (BOI) ทั้ ง นี้ สำมำรถติ ด ต่ อ ขอรั บ กำรบริ ก ำรหรื อ รั บ กำรสนั บ สนุ น ได้ ที่ ส�ำนักงำนทะเบียนเครื่องจักรกลำง กรมโรงงำนอุตสำหกรรม โทรศัพท์: 0 2202 4073 หรือคณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ โทรศั พ ท์ : 08 9000 3777 E-mail : machinefund@gmail.com www.machinefund.org


welding & Handling Robot Friendly series Gas Metal Arc

Synchro-feed GMA Welding Robot Package

WIRE BUFFER L-11610

PUSH FEEDER AFS-2301

WIRE FEED CONTROLLER AFCA-S1W04

Approaching FD-11 FD-B4

minimum spatter! WB-P500L

www.otcdaihenasia.com

otc daihen asia co., ltd. HEAD OFFICE & FACTORY

BANGKOK SALES OFFICE

RAYONG FA CENTER

60/86 Moo 19, Navanakorn Industrial Estate Phase 3, Tambol Klongnueng, Amphur Klongluang, Pathumthani 12120

23/43, FL. 16th Sorachai Bldg., 23 Soi Sukhumvit 63, Klongtonnua, Wattana, Bangkok 10110

500/141 Hemaraj Eastern Seaboard Industrial Estates, Moo 3, Tambol Tasit, Amphur Pluakdaeng, Rayong 21140

TEL: (+66) 2-529-2130 FAX:(+66) 2-529-2132

TEL: (+66) 2-714-3201-3 FAX:(+66) 2-714-3204

TEL: (+66) 38-964-182 FAX:(+66) 38-964-183


NEWS and MOVEMENT

คราสส์เทคจับมือมาซัค

ร่วมกันพัฒนาตลาดเครื่องเลเซอร์ตัดโลหะแผ่นในประเทศไทย คราสส์ เ ทคเป็ น ผู ้ บุ ก เบิ ก ในการน� า เข้ า เทคโนโลยี เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ตา่ งๆ อันทันสมัยจากต่างประเทศ เข้ามาสู่อุตสาหกรรมในประเทศไทย ปัจจุบันบริษัทฯ มี สินค้าหลากหลายซึง่ ถือได้วา่ ครอบคลุมกระบวนการผลิต อย่างครบวงจร ล่าสุดคราสส์เทคและมาซัคได้ตกลงร่วมเป็นพันธมิตร ทางธุรกิจกันโดย มร.มาซาโนริ อิโดะ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท มาซัค (ประเทศไทย) จ�ากัด และ คุณกิตติ ตั้งทรงธรรม กรรมการผู้จัดการ บริษัท คราสส์เทค จ�ากัด กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “เริ่มต้นจากการที่ทางมาซัค มีความประสงค์จะพัฒนาและขยายตลาดด้านเครือ่ งจักร เลเซอร์ โดยได้เริ่มศึกษาหาผู้เชี่ยวชาญในกลุ่มตลาด ดังกล่าวซึง่ ได้ศกึ ษาเป็นระยะเวลานาน และในทีส่ ดุ ก็พบว่า ทางคราสส์เทคเองนัน้ มีประสบการณ์ทางด้านเครือ่ งจักร แปรรู ป โลหะแผ่ น มานาน และได้ พ บปะพู ด คุ ย กั น มา โดยตลอด จนในทีส่ ดุ ได้ตกลงร่วมกันในการเป็นพันธมิตร ทางธุรกิจ และได้มกี ารเปิดตัวในการเป็นพันธมิตรครัง้ แรก ในงาน THE GRAND METALEX 2016” นอกจากนี้ ในการร่ ว มแสดงผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นงาน THE GRAND METALEX 2016 คราสส์เทคได้เปิดตัว เทคโนโลยีโลหการจากเยอรมันครั้งแรกในเอเชีย อาทิ เครื่องรีดแผ่นเหล็กให้เรียบจากบริษัท ARKU ส�าหรับชิ้น ส่วนโลหะแผ่นที่มีความหนาตั้งแต่ 0.3 – 5 มิลลิเมตร ในอุตสาหกรรมเครื่องเสียง การต่อเรือ อากาศยาน และอื่นๆ ส่วนแบรนด์ใหม่ที่น�ามาเสนอ คือ JENOPTIK จากเยอรมนี ซึ่งเป็นแขนกลส�าหรับงานตัด-เชื่อมเลเซอร์ ที่มีความรวดเร็ว และมีความแม่นย�าสูง ถูกการันตีด้าน ผลิตภาพจากบริษัทผู้ผลิตยานยนต์ชั้นน�า อีกทัง้ ยังได้มกี ารน�าเข้าเทคโนโลยีหวั ตัดและหัวเชือ่ ม เลเซอร์จากแบรนด์ PRECITEC ของประเทศเยอรมนี อีกด้วยนอกจากสินค้าที่กล่าวมาข้างต้น ยังมีสินค้าอีก มากมายที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์งาน ก่อสร้าง งานอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

14

Machine Tools & Metalworking

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน คราสส์เทค ได้เป็นตัวแทน จ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องจักร และ อุปกรณ์ เทคโนโลยีตา่ งๆ รวมกว่า 50 แบรนด์ โดยส่วนมาก เป็ น แบรนด์ ชั้ น น� า จากยุ โรป โดยเฉพาะจากประเทศ เยอรมนี และจากญี่ ปุ ่ น เพื่ อ สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรม โลหะของไทย และรองรับการเติบโต ความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ในระดั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย และอาเซี ย น ให้ประเทศไทยมีการพัฒนา และเติบโตในอุตสาหกรรม การผลิตอย่างยั่งยืน


The TruLaser Cell 3000. Uniquely universal. The new benchmark for cost-effective laser processing of small and medium-sized parts has a name: TruLaser Cell 3000. This versatile five-axis machine is capable of delivering top-quality 2D and 3D cutting and welding, for anything from prototypes all the way through to high-volume production. Its modular design and innovative technical features allow you maximum flexibility in adapting this all-in-one system to your changing processing needs – giving you a lasting edge in productivity. www.trumpf-laser.com

TRUMPF Ltd. • 89 AIA Capital Center • 20th Floor • Unit 2016-2017 • Ratchadapisek Road • Dindaeng • Bangkok 10400 Phone: 063 202 1431 • 063 202 1433 (Service Hotline) • info@th.trumpf.com • www.th.trumpf.com


NEWS and MOVEMENT

สมาคม ALUMINUM กับประธานสมาคมคนใหม่ คณะกรรมการบริหารสมาคม Aluminum Association ซึ่งมีหน้าที่ หลักในการดูแลตลาด Aluminum ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงดูแล การส่งออก ได้คัดสรรผู้น�าสมาคมคนใหม่ผ่านการโหวตจากสมาชิกใน การประชุมที่ Washington, D.C. มร. Marco Palmieri ประธานบริษทั Novelis North America ได้รบั เลือกให้เป็นผูน้ า� คนใหม่ของสมาคม Aluminum โดยได้ มร. Scott และ Michelle O’Neil รองประธานฝ่ายกิจการติดต่อรัฐบาลและ นโยบายการค้าของ บริษัท Alcoa มาร่วมทีมบริหารของสมาคม ทีมบริหารใหม่นี้จะต้องเผชิญกับปัญหาโลหะล้นตลาดโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการผลิตที่มากเกินความต้องการของประเทศจีน ซึ่ง รายงานผลกระทบทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกานั้นพบว่า ธุรกิจทาง ด้าน Aluminum ของสหรัฐอเมริกาก�าลังอยู่ในขาขึ้น แต่ก็ยังคงต้อง เฝ้าระวังต่อไปโดยไม่อาจให้คลาดสายตาได้ Source: https://goo.gl/O9Oob7

WORKSHOP นานาชาติส�าหรับ 3D METROLOGY ในการขึ้นรูปโลหะ

TRUMPF กับเครื่องมือใหม่ 3D PRINTERS

16

GOM ได้ จั ด การอบรมความรู ้ ค วามสามารถด้ า น 3D Metrology ส�าหรับการขึ้นรูปโลหะทั่วโลก กว่า 23 สถานที่ จาก 14 ประเทศทั่วโลก เริ่มต้นตั้งแต่เดือนมกราคมไปจนถึง เดือนเมษายน 2017 ซึง่ เครือข่าย GOM นัน้ ได้รว่ มมือกันส่งต่อ ความรู ้ ด ้ า นมาตรวิ ท ยาให้ กั บ วิ ศ วกรออกแบบเพื่ อ พั ฒ นา ศักยภาพการท�างานให้ดียิ่งขึ้น ระบบมาตรวัดของ GOM นั้น ถูกใช้ในงานปั๊ม งานพับ และระบบการขึ้นรูปโลหะอีกหลากหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถ รับประกันผลงานทีผ่ า่ นระบบนีไ้ ด้เป็นอย่างดี โดยการอบรมนี้ ไม่มีค่าใช้จ่าย ถือเป็นอีกหนี่งโครงการคุณภาพที่น่าสนใจ

บริษัทผู้ผลิตเครื่องตัดเลเซอร์คุณภาพ Trumpf ได้ขยาย ก�าลังการผลิตมายังเทคโนโลยี Additive Manufacturing ของ งานโลหการ ซึ่งมีการใช้งาน Laser Metal Fusion (LMF) และ Laser Metal Deposition (LMD) TruPrint 3000 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชู โรงตั ว ใหม่ ที่ ม าพร้ อ มกั บ เทคโนโลยี LMF มาพร้อมกับเลเซอร์ก�าลังสูงถึง 500 วัตต์ สามารถตอบสนองการท� างานที่ต้องการประสิทธิภาพและ รายละเอียดสูงได้เป็นอย่างดี “ตัง้ แต่ทเี่ ราเปิดตัวเทคโนโลยี LMF และ LMD ในช่วงปลายปี 2015 เราได้เห็นความส�าคัญที่เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญ รวมถึงความสนใจที่เพิ่มขึ้นจากทุกภาคส่วนของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกค้าในตอนนี้ที่มีการใช้งานเทคโนโลยี Additive ซึ่งมิได้เป็นเพียงระบบต้นแบบอีกต่อไป แต่กลับ เป็นการผลิตเต็มรูปแบบด้วยเช่นกัน” Peter Leibinger หัวหน้า แผนก TRUMPF Laser – und Systemtechnik GmbH กล่าว

Source: https://goo.gl/ootEZi

Source: https://goo.gl/DC8jZp

Machine Tools & Metalworking


NEWS and MOVEMENT

หุ่นยนต์ขนาดพกพาส�าหรับการเชื่อมแบบอาร์ก ABB Robotics North America เปิดตัวหุน่ ยนต์รนุ่ ใหม่ IRB 1660ID ซึง่ เป็นหุน่ ยนต์ ขนาดพกพาส�าหรับการเชื่อมแบบอาร์กและการหยิบจับชิ้นส่วนส�าหรับการผลิต IRB 1660ID ถูกออกแบบด้วยรูปแบบ DressPack ซึ่งท�าให้ง่ายต่อการตั้งค่า การใช้งานและจ�าลองการเคลื่อนไหวของสายเคเบิลเพื่อให้สามารถวางระบบสาย ล่วงหน้าได้ มีระยะการท�างานของแขนกลที่สูงถึง 1.55 เมตร และรองรับน�้าหนัก ได้ถึง 6 กิโลกรัม สามารถรองรับหัวเชื่อมที่มีน�้าหนักสูงส�าหรับการตอบสนองต่อ การเชื่อมปริมาณมากได้ “หุ่นยนต์นี้จะช่วยเพิ่มผลิตภาพในการท�างาน ยกระดับคุณภาพชิ้นงานและลด เวลาที่ใช้ในการท�างานลงได้เป็นอย่างดี” Dr. Hui Zhang หัวหน้าฝ่ายการจัดการ ผลิตภัณฑ์ทั่วโลกกล่าว Source: https://goo.gl/akYP86

ตลาด CUTTING TOOL สหรัฐอเมริกาซบเซาลง มูลค่าตลาด Cutting Tool ของสหรัฐอเมริกาเมือ่ ช่วงปลายปี 2016 ทีผ่ า่ นมา มีมลู ค่า อยู่ที่ 168.99 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ตามข้อมูลของ U.S. Cutting Tool Institute และ AMT – The Association for Manufacturing Technology ซึ่งมูลค่าลดลงมาจาก 171.67 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ในช่วงปีเดียวกันก่อนหน้า และลดลงมา 4.7% เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2015 “ผลประกอบการ Cutting Tool แบบปีตอ่ ปีนนั้ ท�าให้เห็นว่าทิศทางในปี 2016 นัน้ เดินมาถูกทิศแล้ว แม้ว่าผลการเลือกตั้งที่ยังไม่ส่งผลดีเท่าไหร่จะจ่อรออยู่ก็ตาม ไม่ว่า อย่างไรธุรกิจควรจะไปอยู่ในต�าแหน่งที่ดี เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้กับแผนการของ ผู้ประกอบการซึ่งก�าลังก้าวเข้าสู่ปี 2017 ที่ก�าลังจะมาถึงนี้” Steve Stokey ประธาน แห่ง USCTI กล่าว Source: https://goo.gl/qUskKr

FANUC กับระบบอัจฉริยะ ระบบวิเคราะห์ขั้นสูงและ Deep Learning ส�าหรับการบ�ารุงรักษาตาม สถานการณ์ ‘ระบบ FIELD’ จาก FANUC ซึ่งสามารถสนับสนุนศักยภาพ การท�างานและการซ่อมบ�ารุงของ CNC หุน่ ยนต์ รวมถึงอุปกรณ์และเซ็นเซอร์ ต่างๆ ในระบบออโตเมชัน่ ได้ ซึง่ ก่อให้เกิดเสถียรภาพการท�างานร่วมกันของ ทั้งระบบ FANUC America Corporation ได้นา� เสนอผลิตภัณฑ์ใหม่อย่าง Intelligent Edge Link and Drive (FIELD) ซึ่งสามารถท�างานร่วมกับแอพพลิเคชั่นอย่าง Zero Down Time (ZDT) หรือสนับสนุนการเรียนรู้อย่าง Deep Learning หรือ Machine Learning เพื่อเรียนรู้และปรับเข้ากับรูปแบบของโรงงานที่ ด�าเนินการได้อย่างเฉียบคมของ EDGE โดยประมวลปริมาณข้อมูลขนาดใหญ่ ภายในพืน้ ทีด่ า� เนินการผลิต ลดจ�านวนและค่าใช้จา่ ยของการแบ่งปันข้อมูลลง ในขณะทีส่ ร้างระบบ Cloud ทีม่ คี วามปลอดภัยส�าหรับแอพพลิเคชัน่ เหล่านัน้ การพัฒนาระบบนี้ขึ้นมานั้น Fanuc ได้ร่วมมือกับ Cisco และ Rockwell Automation รวมถึง Preferred Networks, Inc. Source: https://goo.gl/1F3Aj1

january/february 2017

17


NEWS and MOVEMENT

THE GRAND METALEX 2016

รวมเครื่องจักรโลหการ ส่งตรงสู่ภาคอุตสาหกรรมไทย ‘THE GRAND METALEX 2016’ มหกรรมเครื่องจักรและ เทคโนโลยีโลหการระดับภูมิภาค รวมเทคโนโลยีล่าสุดกว่า 3,300 แบรนด์ชั้นน�า จาก 50 ประเทศทั่วโลก เต็มเปี่ยมไปด้วยความรู้ จากการประชุมและสัมมนาบุคคลส�าคัญของวงการและผู้เชี่ยวชาญ ในสาขาต่างๆ ในแวดวงอุตสาหกรรม ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา THE GRAND METALEX 2016 จัดขึน้ ภายใต้แนวคิด ‘แปลกใหม่ ใหญ่ ครบ’ มีการจัดแสดงเครื่องจักรและเทคโนโลยีโลหการกว่า 3,300 แบรนด์ชนั้ น�า จาก 50 ประเทศทัว่ โลก ทัง้ เทคโนโลยีการตัด พับ โลหะแผ่น ระบบอัตโนมัติ เครือ่ งวัดความแม่นย�าในการผลิต หุน่ ยนต์

18

Machine Tools & Metalworking

และแขนกลขนาดเล็ก ส�าหรับผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและย่อม SMEs ไปจนถึงเครือ่ งจักรเทคโนโลยี Hi Precision ส�าหรับผูผ้ ลิตชิน้ งาน ที่มีความละเอียดและแม่นย�าสูง ทั้งนี้ เครื่องตัดโลหะที่จัดแสดงในงานยังได้ผลิตและสร้างสรรค์ ใบโพธิเ์ งิน ใบโพธิท์ อง มาประกอบเป็น ‘ต้นโพธิแ์ ห่งความจงรักภักดี’ ใช้เขียนค�าแสดงความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช ซึ่งภายหลังจะน�าไปรังสรรค์เป็นพวงมาลา เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายพระบรมศพ ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง อีกทั้ง ภายในงานมีการจัดแสดง ‘METALEX Robot Orchestra’ ครั้งแรกของโลกในการรวมหุ่นยนต์แขนกล 10 แบรนด์ชั้นน�าระดับโลก ประกอบด้วย ABB, COMAU, DENSO, KAWASAKI, KUKA, MITSUBISHI


NEWS and MOVEMENT

ELECTRIC, NACHI, OTC, UNIVERSAL ROBOTS, และ YASKAWA ซึ่งเขียนโปรแกรมควบคุมและเชื่อมต่อ โดย ROBOT SYSTEM ประสานจังหวะประกอบบทเพลงพระราชนิพนธ์ ‘แผ่นดินของเรา’ เพื่อเทิดพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9 นอกจากนี้ ยังมีการประชุมและสัมมนาจากบุคคลส�าคัญของ วงการและผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาต่างๆ มาให้ความรูแ้ ลกเปลีย่ นมุมมอง ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นแนวโน้มอุตสาหกรรม ภาพรวมตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ที่จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับภาค อุตสาหกรรม ซึ่งมีหัวข้อที่น่าสนใจ อาทิ ติดปีกทักษะวิศวกรไทย ทะยานสูย่ คุ ยานยนต์สมัยใหม่ พลิกเส้นทางวิศวฯ สูย่ คุ ดิจติ อล 4.0 โอกาสหุ่นยนต์ทางรอดวิกฤตแรงงาน เป็นต้น

january/february 2017

19


cover story

6

High Stability Products,

Efficiency and Productivity Improvement from TUNGALOY

6 ผลิตภัณฑ์เสถียรภาพสูง ยกระดับสมรรถนะและผลิตผลส่งตรงจาก Tungaloy

STEP BY STEP BUT FAST DOOR OPENING SOLUTIONS ACCELERATED MACHINING ทัง้ 3 คียเ์ วิรด์ คือ แนวคิดหลักของการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์มาตลอด ระยะเวลา 20 ปีของ บริษัท ทังกาลอยด์ คัทติ้ง ทูล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ซึ่งเป็นหนึ่งในสมาชิก IMC (International Metalworking Companies) ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเครื่องมือตัดเฉือนโลหะส�ำหรับงานอุตสาหกรรม หลากหลายประเภท ทั้ง TAC Milling Tools, TAC Drilling Tools, TAC Insert Tools, PCD และ CBN โดยมีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ ประเทศญี่ปุ่น

TungForce-Rec กลุ่มผลิตภัณฑ์หัวกัดบ่าฉากขนาดเล็กรุ่นใหม่มาพร้อมกับคุณสมบัติ ระบบจับยึดแบบพิเศษทีใ่ ห้เสถียรภาพสูงเป็นพิเศษให้การตัดเฉือนทีด่ ี ในการ กัดร่องพ็อกเก็ตและกัดเซาะร่องขนาดเล็ก คุณสมบัติอันโดดเด่น • มีความเสถียรภายใต้เงื่อนไขการตัดเฉือนที่สูง • มีการจัดวางต�ำแหน่งเม็ดมีดทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เพือ่ ให้ความแข็งแรงของ แกนกับหัวกัด โดยใช้เส้นผ่านศูนย์กลางขนาดเล็ก • พืน้ ผิวด้านมุมป้านของเม็ดมีดช่วยเสริมความแข็งแรงของขอบคมตัด และลดการแตกบิ่นของคมตัด • ความแข็งแรงของเม็ดมีดถูกท�ำให้เพิ่มขึ้นที่หน้าตัดขวางรูสกรู • สกรูขนาดใหญ่และหน้าสัมผัสทีเ่ พิม่ ขึน้ พร้อมกับหัวกัดทีม่ เี สถียรภาพ ดีขึ้น • ด้านล่างของเม็ดมีดรูปตัววีช่วยขยายพื้นที่จับยึดส�ำหรับขนาดของ เม็ดมีดตามที่ต้องการ • ขอบคมตั ด ที่ ค มมี ผิว หน้ า ลาดเชิ ง บวกท� ำ ให้ มั่ น ใจได้ ถึ ง การตั ด ที่ราบรื่น

20

Machine Tools & Metalworking

แนวคิดดังกล่าว ขยายความได้ว่า Tungaloy มีจุดเริ่มต้นในการ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คุณภาพมาจากการทุ่มเทในการคิดค้น วิจัยและ พัฒนา โดยมุ่งเน้นเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านการเพิ่มผลผลิต และการลดต้นทุนการผลิต ในครั้งนี้ คุณฟ้าใส ภาวะนิตย์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ทังกาลอยด์ คัทติ้ง ทูล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ได้แนะน�ำผลิตภัณฑ์ซึ่งมีความโดดเด่น และมาจากแนวคิดหลักดังกล่าวทั้งหมด 6 ผลิตภัณฑ์ด้วยกัน


TungTurn-Jet ด้ า มมี ด กลึ ง ที่ ม าพร้ อ มกั บ ระบบน�้ า หล่ อ เย็ น แรงดั น สู ง ช่ ว ยหั ก เศษ ให้สั้นและช่วยระบายความร้อนบนขอบคมตัดท�าให้อายุการใช้งานของ เม็ดมีดยาวนานขึ้น คุณสมบัติอันโดดเด่น • เพิ่มผลิตผลให้สูงขึ้นด้วยระบบน�้าหล่อเย็นแรงดันสูง • น�า้ หล่อเย็นจากหัวฉีดทีต่ ดิ ตั้งด้านบนของด้ามมีดส่งตรงไปยังคมตัด และจากรูด้านล่างไปที่ด้านข้างของเม็ดมีด • น�้ า หล่ อ เย็ น จากสองทิ ศ ทางช่ ว ยลดการสึ ก หรอของเม็ ด มี ด และ การสึกหรอเป็นหลุมท�าให้สามารถตัดเฉือนด้วยความเร็วตัดที่สูงได้ • น�้าหล่อเย็นแรงดันสูงที่ขอบคมตัดช่วยหักเศษเป็นชิ้นเล็กๆโดยเฉพาะ อย่างยิ่งวัสดุที่ยากต่อการตัดเฉือนซึ่งเป็นเรื่องยากที่จะหักเศษด้วย ระบบน�้าหล่อเย็นจากภายนอกทั่วไป • การสึกหรอเป็นหลุมที่ลดลง และเพิ่มความเร็วตัดท�าให้การตัดเฉือน มีประสิทธิภาพสูงขึ้น • ความเร็วตัด เพิ่มขึ้นสูงถึง 200% เมื่อท�าการตัดเฉือนไททาเนียมและ โลหะผสมทนความร้อน • อายุการใช้งานของเม็ดมีด เพิ่มขึ้นสูงถึง 100% เมื่อท�าการตัดเฉือน เหล็กกล้าอัลลอยและสเตนเลส

MillQuadFeed เป็ น หั ว กั ด อั ต ราป้ อ นสู ง ที่ ท รงประสิ ท ธิ ภ าพส� า หรั บ ระยะกิ น ลึ ก ที่ มากขึ้น ยกระดับสมรรถนะและผลิตผล คุณสมบัติอันโดดเด่น • เม็ ด มี ด รู ป ทรงสี่ เ หลี่ ย มที่ มี ข อบคมตั ด 4 คมตั ด และระยะห่ า ง หน้าแปลนด้านบวก • ผิวหน้าแปลนเสริมความแข็งแรงส�าหรับการทนต่อการแตกร้าวที่สูง • งานกัดลาดเอียงสามารถท�างานได้ดียิ่งขึ้นจากมุมหลบหลังเม็ดมีด • ผลิตผลที่ยอดเยี่ยมเนื่องจากระยะกินลึกมากถึง 2.5 มม. (0.98”) และอัตราป้อนต่อฟันสูงสุดถึง 2 มม. ต่อฟัน (0.078 นิ้วต่อฟัน) • รัศมีคมตัดขนาดใหญ่ของเม็ดมีดช่วยให้สามารถรับแรงกระแทกใน การตัดเฉือนได้ดี • รัศมีคมตัดขนาดใหญ่ ช่วยเพิ่มความทนทานต่อการแตกร้าวในการ ตัดเฉือน โดยมีระยะกินลึกหลายค่า

january/february 2017

21


DuoJust-Cut ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ง านตั ด ชิ้ น ส่ ว นขนาดเล็ ก รุ ่ น ใหม่ ที่ มี ค วามทนทานสู ง ประกอบด้วยขอบคมตัด 2 คมตัดสามารถตัดชิน้ งานขนาดเล็กได้จนถึงขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. ได้อย่างดีเยี่ยม คุณสมบัติอันโดดเด่น • สมรรถนะการตัดเฉือนที่ยอดเยี่ยมในการกลึงตัดชิ้นงาน • การตัดเฉือนที่มีประสิทธิภาพโดยการเลือกความยาวของเม็ดมีด ตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางการตัดชิ้นงานที่ต้องการ • ระบบจั บ ยึ ด แบบพิ เ ศษที่ สั ม ผั ส เม็ ด มี ด 3 ต� า แหน่ ง ให้ ก ารจั บ ยึ ด ที่แข็งแรงและมีความเสถียรในการตัดเฉือน • รูปทรงเม็ดมีดอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว • การออกแบบบ่านั่งเม็ดมีดที่ขอบคมตัดแต่ละคมตัดสามารถยึดกับ ด้ามมีดแยกจากกันได้โดยไม่ขึ้นกับขอบคมตัดอื่น • ความยาวของเม็ดมีดที่แตกต่างกัน 3 ค่าสามารถใช้ ได้กับด้ามมีด เดียวกัน • ขอบคมตั ด ที่ ค ม ช่ ว ยลดแรงตั ด เฉื อ นและท� า ให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพ ผิวตัดเฉือนที่ดี

TetraMini-Cut ด้ามมีดเซาะร่อง ที่มีบ่านั่งเม็ดมีดที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ ท�าให้การ ตัดเฉือนมีความเสถียรสูงและท�าให้เม็ดมีดมีความทนทานที่ยอดเยี่ยม คุณสมบัติอันโดดเด่น • เม็ดมีดแบบเจียรละเอียดคมตัดที่มีขอบคมตัด 4 คมตัดส�าหรับ การกลึงเซาะร่องความเที่ยงตรงสูง • เหมาะส�าหรับการเซาะร่องตื้นบนชิ้นงานขนาดเล็ก • ขอบคมตัดที่มีความคมช่วยให้งานมีความเที่ยงตรงและคุณภาพ ผิวที่ดี • การออกแบบกลไกการจับยึด ท�าให้จดุ ตัดเฉือนนัน้ ใกล้ชนิ้ งานมากขึน้ • บ่านั่งเม็ดมีดที่ออกแบบเป็นพิเศษเพื่อป้องกันคมตัดที่ยังไม่ใช้งาน จากความเสียหายที่ไม่ได้คาดการณ์ ไว้ • ระบบจับยึดแบบพิเศษท�าให้การจับยึดมีความเสถียรสูงขณะตัดเฉือน และต�าแหน่งที่แม่นย�าในการเปลี่ยนถอดเม็ดมีด • สกรูเม็ดมีดสามารถขันได้จากทั้งด้านหน้าและด้านหลังซึ่งท�าให้ ง่ายต่อการเปลี่ยถอดเม็ดมีดบนเครื่องกลึงขนาดเล็ก

22

Machine Tools & Metalworking


DrillForceMeister ก้าวไปอีกขั้นกับการเพิ่มผลิตผลให้สูงขึ้นและลดเวลาในการเปลี่ยน หัวเจาะ ทาง Tungaloy ได้มกี ารพัฒนาระบบการเจาะทีม่ เี ส้นผ่านศูนย์กลาง ขนาดใหญ่ที่มาพร้อมกับกลไกการเปลี่ยนหัวเจาะที่รวดเร็ว คุณสมบัติอันโดดเด่น • ระบบจับยึดหัวเจาะที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ • ระบบการเปลีย่ นหัวเจาะได้ถกู พัฒนาขึน้ ให้งา่ ยต่อการใช้งาน ช่วยลด Run-Out ในต�าแหน่งศูนย์กลางของหัวเจาะ • สามารถถอดหัวเจาะออกจากด้ามเจาะ โดยไม่ต้องถอดสกรูจาก ด้ามเจาะ • การเปลี่ยนหัวเจาะที่รวดเร็วขณะอยู่บนเครื่องจักรและต�าแหน่งของ หัวเจาะที่แม่นย�าหลังจากถอด-เปลี่ยน ช่วยลดเวลาการหยุดของ เครื่องจักรได้ • สกรู ยึดอยู่กับที่ติดกับผิวที่ส่งแรงจับยึดโดยตรง ไปตามทิศทาง ที่ต้องการ ช่วยให้จับยึดหัวเจาะได้อย่างมั่นคง • การหักเศษที่ยอดเยี่ยม เนื่องจากหน้าลายหัวเจาะที่เหมาะสมน�าไปสู่ การก�าจัดเศษอย่างง่ายดาย • รูปทรงหน้าลายของหัวเจาะ ช่วยลดคลีบที่ทางออก

คุ ณ ฟ้ า ใส ได้ ก ล่ า วเสริ ม ถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นกลุ ่ ม TunGForce ว่ า เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีการวิจัยและพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องมือ ตัดเฉือนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 100% ทั้งในแง่ของความรวดเร็วและ แม่นย�าซึง่ จะน�าไปสูก่ ารผลิตในภาคอุตสาหกรรมให้เกิดความคุม้ ค่าทีส่ ดุ คุณฟ้าใส กล่าวต่อถึงโปรเจกต์ใหม่ของ Tungaloy ที่ชื่อ ‘Machine Tools Builder’ ว่าเริ่มมาจากแนวคิดย้อนกลับจากความคุ้นชินเดิม เพราะที่ผ่านมาการซื้อขายเครื่องมือเครื่องจักรไม่สอดคล้องกันต่างคน ต่างขายจึงต้องการบูรณาการให้เป็นเรือ่ งเดียวกันโดย Tungaloy จะรับงาน ออกแบบโปรเจกต์ออกแบบระบบ รวมทั้งให้ค�าปรึกษาและวางแผน การใช้งานทั้งเครื่องมือและเครื่องจักรให้กับโรงงาน จากอดีตที่เคยขาย เพียงเครื่องมือตัดเฉือนก็ได้เริ่มท�างานกับตัวแทนจ�าหน่ายหรือผู้ผลิต เครื่องจักรด้วย ซึ่งท�าให้ลูกค้าได้รับประโยชน์สูงสุดในการลงทุน “ปกติแล้วเครื่องมือกับเครื่องจักรต้องใช้งานร่วมกันแต่ที่ผ่านมา ต่างคนต่างไป เราอยากให้ไปพร้อมกัน บริษัทเครื่องจักรก็มีเทคโนโลยี ใหม่ๆ ในส่วนของ Tungaloy ก็มีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ก็น�ามาแลกเปลี่ยนกัน ดึ ง ศั ก ยภาพและจุ ด เด่ น ของทั้ ง เครื่ อ งจั ก รและคั ท ติ้ ง ทู ล ออกมาได้ เต็มประสิทธิภาพ ฉะนัน้ ลูกค้าจะได้รบั ผลประโยชน์ทมี่ ากขึน้ อย่างแน่นอน เหตุนี้เอง เราจึงตั้งทีม MTB หรือ ‘Machine Tools Builder’ ขึ้นมา เพื่อรองรับความต้องการจากลูกค้าโดยตรง ออกแบบโปรเจกต์ โดยให้ คัทติ้งทูลของเราป็นตัวหลัก และท�างานร่วมกับแมชชีนทูลเพื่อให้เข้ากับ โปรเจกต์ของลูกค้า ซึ่งท�าให้เราได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี” ทั้งนี้ เกี่ยวกับการเติบโตขององค์กรในปี 2560 คุณฟ้าใส กล่าวว่า เชื่อมั่นว่าการเติบโตของบริษัทต้องไม่ต�่ากว่า 15% เพราะนอกจากจะมี โปรเจกต์ MTB และ TunGForce ที่จะเป็นผลิตภัณฑ์ชูโรงแล้ว Tungaloy ยังมีแผนจะลงทุนขยายโรงงานเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิต Special Tools (Made to Order) ซึ่ง Tungaloy ในประเทศไทยเป็นจุดยุทธศาสตร์ส�าคัญ ของภูมิภาคท�าให้โอกาสการขายผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ไม่ถูกจ�ากัดอยู่เพียง ในประเทศไทย

20 ปีที่ผ่านมา Tungaloy พิสูจน์ตัวเองผ่านการน�าเสนอผลิตภัณฑ์ คุ ณ ภาพให้ แ ก่ ภ าคอุ ต สาหกรรมที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น แล้ ว ว่ า คุ ้ ม ค่ า กั บ การลงทุน นอกจากนี้ยังมุ่งมั่นวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามวิสัยทัศน์ ที่ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการผลิ ต ในภาคอุ ต สาหกรรมที่ ทรงประสิทธิภาพ 100% จากภาพรวมทั้งหมดนี้จึงท�าให้ Tungaloy เป็น ผู้น�าทางด้านเครื่องมือตัดเฉือนอย่างแท้จริง

คุณฟ้าใส ภาวะนิตย์

ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ทังกาลอยด์ คัทติ้ง ทูล (ไทยแลนด์) จ�ากัด

january/february 2017

23


Interview

Think

Quality Price

‘FUTURE VISION ASSOCIATE’

… คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ในยุค 4.0

ใ น ยุ ค ที่ ถู ก ก ล ่ า ว ข า น ว ่ า เ ป ็ น ยุ ค แ ห ่ ง อุตสาหกรรม 4.0 นอกจากการปรับเปลีย่ นองค์กร เพือ่ ตอบรับกับความก้าวล�า้ ของเทคโนโลยีแล้วนัน้ สิง่ ส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจนัน่ ก็ คือ การคิดแตกต่าง อย่างสร้างสรรค์ โดยสร้างมูลค่าสูงสุดให้กบั ลูกค้า และที่ส�าคัญภายใต้งบประมาณที่ไม่สูงนัก บริษัท ฟิวเจอร์ วิชชั่น แอสโซซิเอท จ�ำกัด (FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD.) ตัวแทนจ�าหน่ายเครือ่ งจักรกลและอุปกรณ์สา� หรับ ภาคอุตสาหกรรม อาทิ เครื่องกลึงแบบลูกเบี้ยว เครื่องกลึง CNC เครื่องรีดเกลียว เครื่องมิลลิ่ง 24

Machine Tools & Metalworking

รวมถึงอะไหล่ และอุปกรณ์เสริมต่างๆ ที่ น�าเข้าจากประเทศไต้หวัน เป็นหนึ่งใน ต้นแบบของการคิดนอกกรอบที่ประสบ ความส�าเร็จ ภายใต้การน�าของ คุณเจริญ ตันตินีรนำท กรรมกำรผู้จัดกำร บริษัท ฟิวเจอร์ วิชชั่น แอสโซซิเอท จ�ำกัด

หาช่องว่างของตลาด คือทางรอดของอุตสาหกรรมในยุคนี้

ในช่วงปีทผี่ า่ นมาอุตสาหกรรมอุปกรณ์ เครือ่ งมือเครือ่ งจักรยังไม่คอ่ ยคึกคักมากนัก

ส่วนหนึ่งเพราะสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวม ไม่สดู้ ี ทีส่ า� คัญคือ ผูบ้ ริโภคไม่มกี า� ลังซือ้ ปัจจัย เหล่านีเ้ องทีท่ า� ให้ภาคอุตสาหกรรมเติบโตไม่ได้ อย่างที่ควรจะเป็น และแน่นอนว่าเหตุการณ์ นี้ย่อมส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจซื้อขาย เครื่องมือเครื่องจักรอย่างปฏิเสธมิได้ คุณเจริญ ตันตินีรนำท เกริ่นให้เห็นภาพ สถานการณ์ของภาคอุตสาหกรรมไทยว่า หาก แบ่งการผลิตในภาคอุตสาหกรรมคร่าวๆ จะ แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ ระดับที่ใช้เทคโนโลยี ขั้นสูง เป็นกลุ่มที่ใช้เครื่องมือเครื่องจักรใน


ระบบอัตโนมัติหรือโรบอติกส์ และอีกระดับ คือ ระดับที่ใช้ระบบแมคานิกธรรมดาอยู่ ด้วย เทรนด์และนโยบาย 4.0 ของรัฐบาล อาจท�าให้ ตลาดเครื่องจักรอัตโนมัติคึกคัก แต่ในระดับ แมคานิกนัน้ ยังค่อนข้างซบเซาอยู่ พร้อมกับตัง้ ข้อสังเกตด้วยว่า แม้ประเทศไทยจะท�างานแบบ แมคานิกกันมาหลายทศวรรษแล้ว แต่ก็ยังไม่ ตอบโจทย์เรื่องประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทว่าในคู่แข่งอย่างจีนและเวียดนาม ก็เป็น คู่แข่งที่น่ากลัวด้วยต้นทุนการผลิตเครื่องจักรที่ ต�่ากว่า ท�าให้มีศักยภาพสูงมากในการแข่งขัน ด้วยกลยุทธ์ด้านราคา คุณเจริญจึงวิเคราะห์ ว่าทางรอดเดียวคือต้องหาช่องว่างของตลาด ในที่นี้คือ ช่องว่างระหว่างสินค้าราคาแพงจาก ยุโรปและญี่ปุ่น กับสินค้าราคาถูกจากจีนและ เวียดนาม “ยกตัวอย่างสินค้าตัวหนึง่ ญีป่ นุ่ ขาย 4,000 บาท จีนขาย 300 บาท ลูกค้าเขาคนละกลุ่ม แต่มันมีตรงกลาง เราตั้งโจทย์ว่า ถ้าเราผลิต ของดีๆ แล้วขาย 1,500 บาทได้หรือไม่ หรือ อย่างแม่พิมพ์ เป็นองค์ความรู้ที่สามารถท�าให้ เหล็กก้อนหนึ่งที่มูลค่า 1,000 บาท กลายเป็น 100,000 บาท ถ้าเราอยากอยู่รอด อยากอยู่ ให้ได้ และเติบโตได้ในปี 2560 เราต้องสร้าง นวัตกรรม หาอะไรใหม่ๆ มาเสนอขาย เช่น เครื่องจักรหรือแม่พิมพ์ที่ลูกค้าเคยท�าไม่ได้ ให้ท�าได้ ฉะนั้น ช่องว่างตรงกลางระหว่างทั้งสอง ตลาดนี้ คือค�าตอบของเรา เป็นทางรอดพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้ขึ้นไปอยู่ตรงกลาง หาช่องว่าง เพราะถ้าเราลงไปเจอจีน เวียดนาม เราไม่มที าง ทีจ่ ะสูไ้ ด้ ต้นทุนการผลิตเราไม่สามารถท�าให้ตา�่ เท่าเขาได้ ฉะนั้น เราต้องขึ้นไประดับที่สูงขึ้น ต้องเปลี่ยนวิธีท�างานให้ได้งานละเอียดขึ้น” คุณเจริญยกตัวอย่างให้เห็นภาพ

สร้างแบรนด์ ให้เป็นที่จดจ�า เพิ่มมูลค่าให้ตัวเอง

จากจุดเริ่มต้นในการเป็นตัวแทนจ�าหน่าย อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งจั ก รน� า เข้ า จากประเทศ ไต้หวัน ปัจจุบันบริษัทฯ ก�าลังเดินหน้าสร้าง แบรนด์ ‘ฟิวเจอร์ วิชชั่น แอสโซซิเอท’ เพื่อ เพิม่ มูลค่าให้องค์กร บนแนวคิดทีว่ า่ ‘กำรสร้ำง แบรนด์ให้อยู่ได้ด้วยตัวเองย่อมยั่งยืนกว่ำ’ “เคยมีหลายกรณีทกี่ อ่ นหน้านี้ คนไทยเป็น ตัวแทนจ�าหน่ายให้บริษัทแม่ วางแผน เปิด ตลาด หาลูกค้า จนในที่สุด แบรนด์ติดตลาด แล้ว บริษทั แม่มาเปิดสาขาประเทศไทยเอง แล้ว เราก็กลายไปเป็นลูกน้องเขา แต่เราจะท�าเอง เหมือนเราท�าเฮ้าส์แบรนด์ และสร้างแบรนด์ ของเราเองให้แข็งแกร่ง แต่เฮ้าส์แบรนด์ของ เรา แตกต่างออกไปเพราะเราเพิ่มมูลค่าและ คุณภาพให้มากกว่าที่ในท้องตลาดขายกันอยู่” คุณเจริญกล่าวถึงการสร้างแบรนด์ คุณเจริญ กล่าวเพิม่ เติมว่า การสร้างสินค้า ของตัวเองเริ่มมาได้ประมาณ 2-3 ปี ท�าอย่าง ค่อยไปเป็นค่อยไป โดยปัจจัยหลักคือ เงิน ลงทุน เนื่องจากไม่ต้องการใช้แหล่งทุนจาก ภายนอกจึงใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เดินไปได้ ด้วยตัวเอง และสามารถท�างานของตัวเองได้ เต็มที่โดยไม่ต้องพะวงกับค่าใช้จ่ายซึ่งไม่ควร จ่าย แม้ว่าเติบโตช้ากว่าการลงทุนใหญ่ๆ แต่ก็ ถือว่าเป็นที่น่าพอใจ “เราสร้างแบรนด์ และพยายามท�าให้ลกู ค้า จดจ�า ไม่รจู้ ะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ แต่กด็ กี ว่า ไม่ได้ท�า” คุณเจริญยืนยัน

ยอมรับมากขึ้น เพราะพิสูจน์แล้วว่า คุณภาพ คุม้ ค่ากับการลงทุน โดยลงทุนเพิม่ เติมจ�านวน ไม่มากนักจากเครือ่ งปกติ แต่สามารถลดเวลา ในการท�างานและต้นทุนการผลิตลง ไม่ว่าจะ เป็นเครื่องจักรชนิดใดที่บริษัทฯจ�าหน่ายอยู่ จะได้รับความร่วมมือจากผู้ผลิต ช่วยผลิตให้ ตามแบบที่เราขอไปเพราะเป็นประโยชน์ทั้ง 3 ฝ่ายในระยะยาว “เราพยายามดูสิ่งที่ตลาดเครื่องจักรโดย ทัว่ ไปเขายังไม่ทา� พยายามออกไปท�าตรงนัน้ ” คุณเจริญกล่าว คุณเจริญยังกล่าวอีกว่า องค์กรจะเดินหน้า ด้วยวิสัยทัศน์ ‘Think Quality, Think Price, Think Future Vision Associate’ ซึง่ หมายถึง หากลู ก ค้ า ต้ อ งการสิ น ค้ า คุ ณ ภาพในราคา ที่ เ หมาะสม ต้ อ งคิ ด ถึ ง ‘ฟิ ว เจอร์ วิ ช ชั่ น แอสโซซิเอท’ “ผลิตเครื่องจักรไม่ใช่เรื่องยาก ที่ยากคือ ความสามารถในการใช้งานเครื่องจักรให้ได้ เต็มประสิทธิภาพ เรายั ง ยื น ยั น ว่ า จะขายสิ น ค้ า คุ ณ ภาพ เท่านั้น อยากให้ยั่งยืน ลูกค้าลงทุนแล้วใช้ได้ ระยะยาว ขายของแล้วภูมใิ จ ยืดอกได้ ไม่ใช่ขาย ของไปแล้วต้องเปลีย่ นเบอร์โทรศัพท์หนีลกู ค้า เพราะกลัวเขาโทรมาด่า แบบนั้นเราไม่ท�า” คุณเจริญยืนยันทิ้งท้าย จากมุ ม มองของคุ ณ เจริ ญ ดู เ หมื อ นว่ า นาทีนี้การแข่งขันที่ดีที่สุดก็คือการแข่งขันกับ ตัวเอง... แข่งขันเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ตอบโจทย์ความ ต้องการของตลาดที่สุด แข่งขันเพื่อให้ได้งาน ที่ดีที่สุด และสุดท้าย แข่งขันเพื่อสร้างความ พึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้านั่นเอง

คุณเจริญ ตันตินีรนาท กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟิวเจอร์ วิชชั่น แอสโซซิเอท จ�ากัด

THINK QUALITY, THINK PRICE, THINK FUTURE VISION ASSOCIATE’

คุ ณ เจริ ญ ได้ ก ล่ า วถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของ ผลิตภัณฑ์อีกว่า สินค้าของบริษัทได้รับการ january/february 2017

25


special feature / welding

เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

หลังจากเราได้ผา่ นการเรียนรู้ และท�าความรูจ้ กั กับชนิดของ ลวดเชื่อม เครื่องเชื่อม และอันตรายอันอาจเกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงานเชื่อมแล้ว มาท�าความรู้จักกันว่า การฝึกฝีมือนั้น ควรจะเริ่มอย่างไร

1. การเชื่อมพอก

เตรียมชิ้นงานจากเหล็กแผ่น ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นเหล็ก ก่อสร้างธรรมดา (เหล็ก S235JR+AR ตาม EN10025 – 2:2004 -10 ซึ่งก็คือเหล็ก St.37-2 ที่รู้จักกันสมัยก่อน) หนาประมาณ 8 – 12 มม. ขนาด กว้าง × ยาว ประมาณ 200 – 250 มม. ท� า ความสะอาดแผ่ น เหล็ ก ชิ้ น งานและโต๊ ะ เชื่ อ มให้ ปราศจากสนิม สี สิ่งสกปรก ร่องรอยเกรียมไหม้ คราบไขมัน และน�้ามัน ทั้งนี้ เพื่อให้ชิ้นงานได้วางแนบสนิทกับโต๊ะ และ ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้สะดวก ซึ่งจะส่งผลดีต่อการอาร์ก ของลวดเชื่อมด้วย

Know How to Action! Electric Welding Practice!

แบบฝึกหัดแรก

การฝึกพื้นฐานเบื้องต้น คือ การเริ่มฝึกเขี่ยไฟอาร์ก ด้วย ลวดเชื่อมขนาด ø ≈ 4 มม. โดยตั้งไฟประมาณ 40A ต่อ 1 มม. ø ซึ่งกรณีนี้ก็จะตั้งไฟที่เครื่องเชื่อม ≈ 160A ให้ผู้ฝึก นั่งหน้าโต๊ะเชื่อม ในระยะสบายๆ พาดสายเชื่อมบนบ่า เพื่อ ผ่อนน�้าหนักที่มือเชื่อม ค่อยๆ จรดปลายลวดเชื่อมลงบน ชิ้นงาน ในระยะห่างประมาณ 10 – 20 มม. พร้อมเตรียม ป้องหน้ากากเชื่อมชิดหน้าเพื่อเตรียมปิด ในขณะที่ลวดเชื่อม เข้าใกล้ชิ้นงานและถูกเคาะเบาๆ ตรงต�าแหน่งที่ต้องการจะ เชือ่ มจนเกิดประกายไฟอาร์กขึน้ ซึง่ สามารถมองผ่านกระจกด�า บนหน้ากากเชื่อมให้เห็นได้ว่า การหลอมของลวดเชื่อมเป็นไป ถูกต้องตรงต�า แหน่งของลวดเชื่อมหรือไม่ เริ่มฝึกครั้งแรก ยังไม่ตอ้ งกังวลกับการส่ายลวดเชือ่ ม เพียงแค่พยายามประคอง ให้เกิดประกายไฟอาร์กต่อเนื่อง และสร้างรอยเชื่อมเป็น แนวตรง ขนาดกว้างประมาณ 6 มม. ไปด้วย เนื่ อ งจากระยะห่ า งที่ เ หมาะสมที่ จ ะให้ เ กิ ด การอาร์ ก หลอมละลายทั้งลวดเชื่อมและชิ้นงานเข้าด้วยกัน คือ ระยะ ประมาณเท่ากับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลวด แต่การ หลอมละลายของลวดก็ท�าให้ลวดเชื่อมสั้นลงทุกขณะ ดังนั้น จึงเป็นการยากที่จะท�าให้ได้ดี ส�าหรับผู้ฝึกใหม่หรือผู้ที่ฝึก น้อยและผู้ที่ห่างเหินจากงานเชื่อมไปนาน บ่อยครั้งที่จะเกิด การลัดวงจรท�าให้ไม่เกิดการอาร์ก ผู้ฝึกจึงต้องคอยเปิด-ปิด หน้ากาก บางครั้งลวดติดกับแผ่นชิ้นงานดึงไม่ออก จนลวด เชื่อมไหม้แดงเสียไปทั้งเส้นก็มี ต้องบีบง้างคีมจับลวดเชื่อม ให้หลุด แล้วใช้คอ้ นเคาะสแลกด้านปากแบนสกัดลวดออกจาก ชิ้นงาน ปล่อยให้เย็นลงแล้วคีบใหม่เพื่อฝึกเชื่อมต่อไป รูปที่ 1 แสดงถึงแนวฝึกเชือ่ มเบือ้ งต้นจากการรักษาระยะห่าง ควบคุมไฟอาร์กแล้วลากไปเป็นแนวตรงๆ โดยไม่ต้องส่าย

ความรู้สู่ปฏิบัติการ เริ่มฝึกเชื่อมไฟฟ้า แผ่นเหล็ก ก่อสร้างหนา ≈ 8-12 มม.

รอยจบแนวเชื่อม

แนวเชื่อม

มือจับลวดเชื่อม และสายเชื่อม

โต๊ะเชื่อม

รูปที่ 1: แบบฝึกหัดเริ่มฝึกเชื่อม 26

Machine Tools & Metalworking

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


รูปที่ 2 แสดงถึงขัน้ ตอนการเริม่ เชือ่ ม ซึง่ ผูฝ้ กึ จะค่อยๆ ลด ระยะห่างระหว่างลวดเชือ่ มกับต�าแหน่งทีจ่ ะเชือ่ มบนชิน้ งานลง และเคาะลวดเชื่อมลงบนผิวงานเบาๆ เพื่อให้เกิดประกาย ไฟอาร์ก ซึ่งอาจเกิดการช็อตจนลวดเชื่อมติดกับชิ้นงานหรือ เกิดประกายไฟอาร์กก็ได้ การเริ่มฝึกเบื้องต้นไม่ควรให้ผู้ฝึกเริ่มที่ขอบแผ่นชิ้นงาน ดังรูปที่ 3 ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาสองประการ ซึ่งผู้ฝึกใหม่ ยังไม่คุ้นชิน ประการแรกที่เกิดขึ้นขณะเชื่อมขอบแผ่น คือ การคลายความร้อนที่ขอบแผ่นเป็นไปไม่สม�่าเสมอระหว่าง สองฟากของรอยเชื่อม ซึ่งอาจท�าให้น�้าเหล็กจากการหลอม ละลายไหลออกนอกแนวมาทางขอบแผ่น ซึ่งร้อนกว่าขอบ ด้ า นในของแผ่ น ได้ ผู ้ ฝ ึ ก ใหม่ ค วรคุ ้ น ชิ น กั บ การฝึ ก สร้ า ง เปลวไฟอาร์กและควบคุมการป้อนลวดเชือ่ มอย่างต่อเนือ่ งบน แผ่นเหล็กเย็นก่อน ประการที่สอง คือ ประกายไฟอาร์กที่ เกิดขึ้นจะเบนทิศทางเข้าสู่จุดศูนย์ถ่วงของแผ่นชิ้นงาน กรณีนี้ คือ กลางแผ่น ขณะฝึกเชือ่ มผูฝ้ กึ ใหม่จะได้ความรูส้ กึ ว่าเปลวไฟ อาร์กตีกลับเมือ่ เขาลากแนวเชือ่ มยาวผ่านกึง่ กลางแผ่นชิน้ งาน จนต้องบิดมือเพื่อปรับมุมลวดเชื่อม ดังรูปที่ 4

ขณะเคาะจุด เปลวไฟอาร์ก ≈ OV

แรงดันไฟฟ้า 50-60V กระแส = OA

ไม่ถูกต้อง ขณะเชื่อม

ลวดเชื่อมติด

เมื่อเกิดการลัดวงจร แรงดันไฟฟ้า ≈ OV กระแส ≈ 180-200A

กระแสระหว่างเชื่อม ≈ 140-160A

รูปที่ 2: ขั้นตอนการเริ่มเชื่อม

ไม่ถูกต้อง ถูกต้อง

รูปที่ 3: การวางแนวเชื่อมเมื่อเริ่มฝึกผิดพลาด

รูปที่ 4: การเริ่มฝึกที่ถูกต้อง

january/february 2017

27


ตั้งไฟน้อยไป

จุดศูนย์ถ่วง

กระเด็น ตั้งไฟสูงเกินไป จุดศูนย์ถ่วง ความร้อน

พอดี

รูปที่ 5: ลักษณะภาพตัดรอยเชื่อมด้วยไฟเชื่อมต่างๆ กัน รูปที่ 6: หมุนกลับชิ้นงานเมื่อเริ่มหัด เพื่อหลีกเลี่ยง การเบี่ยงเบนเปลวไฟอาร์กจากอ�านาจสนามแม่เหล็ก

≈ 10

แนวส่ายของลวด

ลวดเชื่อมขนาด ø ≈ 4 มม.

≈ 10 แนวส่ายของลวด

≈ 2-3

ลวดเชื่อม ø ≈ 4 มม.

≈ 10 ≈ 2-3

แนวส่ายของลวด

แนวส่ายของลวด

8a)

แนวส่ายของลวด

แนวส่ายของลวด

8b)

รูปที่ 7: การส่ายลวดเชื่อมเพื่อสร้างแนวเชื่อมวงกว้าง 10 มม. รูปที่ 8: การส่ายลวดเชื่อมไม่หุ้มฟลักซ์ 8a) และหุ้ม ฟลักซ์หนา 8b)

รูปที่ 5 แสดงให้เห็นถึงภาพตัดผ่านรอยเชือ่ มว่าการตัง้ ไฟ อ่อนไป/แก่ไป และพอดีนั้นจะมีผลต่อการเชื่อมต่ออย่างไร พฤติกรรมของเปลวไฟอาร์กที่เหมาะสมกับการเชื่อม คือ เปลวไฟอุ่นน�าแนวเชื่อม ซึ่งจะช่วยเอื้อให้ผู้เชื่อมสามารถ เชือ่ มได้เป็นแนวตรง การหลอมละลายเป็นไปด้วยดี ในขณะที่ รอยเชื่อมแข็งตัวได้เร็ว แต่น่าเสียดายที่มันไม่เป็นเช่นนั้น เสมอไป ช่างเชื่อมบางคนแก้ปัญหาด้วยการกลับทิศทาง รอยเชื่อม ดังรูปที่ 6 หรือเราอาจแก้ปญ ั หาด้วยการปรับเลือ่ นต�าแหน่งสายดิน ที่เป็นขั้วบวกของกรณีเครื่องเชื่อมกระแสตรงได้เหมือนกัน ซึง่ กรณีนจี้ ะง่าย ถ้าเราใช้แม่เหล็กเป็นตัวยืดสายดิน แทนการ ใช้แคล้มหนีบหรือขันสกรู

แบบฝึกแรกดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ฝึกได้เรียนรู้ ดังนี้

• เขาสามารถบังคับทิศทางของเปลวไฟอาร์กได้ด้วยการ เอียงลวดเชื่อม • เปลวไฟอาร์กจะหันทิศทางไปทางมวลส่วนใหญ่ของ วัสดุ/มันเบนทิศทางไปยังจุดศูนย์ถ่วงของชิ้นงาน • เปลวไฟอาร์กไปทางใด ความร้อนจะไปทางนั้น

แบบฝึกเชื่อมไฟฟ้าขั้นที่สอง

เป็นการฝึกสร้างรอยเชื่อมในแนวราบให้ได้ รอยกว้าง ประมาณ 10 มม. โดยใช้ลวดเชื่อมขนาด ø ≈ 4 มม. เพื่อให้ ได้รอยเชื่อมกว้างดังกล่าว ผู้ฝึกต้องฝึกประคองมือส่ายลวด เชือ่ ม ดังรูปที่ 7 อย่างสม�า่ เสมอ ควรให้มกี ารฝึกกับลวดเชือ่ ม หลากหลายชนิด อาทิ ลวดเชือ่ มไม่หมุ้ ฟลักซ์ ลวดเชือ่ มฟลักซ์ บาง/ฟลักซ์หนา ให้ผู้ฝึกได้มีโอกาสสังเกตการหลอมไหล เข้ า ด้ ว ยกั น ของน�้ า โลหะ ซึ่ ง จ� า เป็ น ต้ อ งมี ก ารปรั บ วิ ธี ก าร ประคองสายลวดเชือ่ ม เพือ่ ให้ได้รอยเชือ่ มกว้างตามต้องการ เป็นแนวตรงและสวยงาม เช่น อาจต้องส่ายดังรูป 8a ส�าหรับ ลวดเชื่อมไม่หุ้มฟลักซ์ และรูป 8b ส�าหรับการเชื่อมด้วย ลวดเชื่อมฟลักซ์หนา ผู้ฝึกต้องฝึกเชื่อมให้ได้รอยเชื่อมเต็ม พอดีไม่กินขอบเป็นหลุมลึก

28

Machine Tools & Metalworking


ขั้นที่ 3 ของการฝึกเชื่อมพอก

การสร้างแนวเชือ่ มต่อเนือ่ งเรียงแถวกันไปบนแผ่นชิน้ งาน ดังรูปที่ 9 การเชือ่ มพอกทีถ่ กู ต้องนัน้ รอยเชือ่ มต้องเกยกันไป ประมาณครึง่ รอย ทัง้ นีเ้ พือ่ ไม่ให้เกิดช่องว่างรอยต่อแนวเชือ่ ม ภายหลังจากการปรับผิวงานให้เรียบด้วยการกัด ไส หรือกลึง การจะเชื่ อ มพอกให้ แ นวเชื่ อ มเกยกั น ผู ้ ฝ ึ ก จะต้ อ งเอี ย ง ลวดเชื่อมในแนวถัดไป ดังรูปที่ 10 ก่อนการเชื่อมแนวใหม่ ต้องขัดท�าความสะอาดรอยเชือ่ มเก่าด้วยแปรงลวดให้สะอาด เคาะสแลกด้วยค้อนออกให้หมดก่อนขัด เพื่อไม่ให้เกิดโพรง ใต้รอยเชื่อม เช่นเดียวกันเมื่อต้องต่อแนวเชื่อม ร่องต่อแนวเชื่อม

ไม่ถูกต้อง

ถูกต้อง

ปรับผิวเรียบ

รูปที่ 9: การฝึกเชื่อมพอก

ผู้ฝึกจะถูกฝึกเชื่อมในท่านี้อยู่นานจนกว่าจะจับจุดแก้ไข ฝีมือตนเองได้ถูกต้อง เป็นที่พอใจของครูฝึกจึงจะเปลี่ยน ท่าเชื่อมต่อไปเป็นการฝึกเชื่อมเข้ามุม

2. การเชื่อมเข้ามุม

รูปที่ 10: การเอียงลวดเชื่อมขวางแนวในการเชื่อมพอก

รอยนูน

รอยเรียบ

แบบฝึกหัดเชื่อมแบบที่สอง เป็นการฝึกเชื่อมเข้ามุมใน แนวระนาบ โดยเริ่มฝึกจากการเชื่อมเข้ามุมแนวเดียวและ ซ้อนแนวด้วยลวดเชื่อมขนาด ø ≈ 4 มม. รูปที่ 11 แสดงถึง รูปแบบต่างๆ ของรอยเชื่อมเข้ามุม โดยให้มีความหนา a ≈ 4 มม. โดยไม่ต้องส่ายลวดเชื่อม รอยเชื่อมเข้ามุมที่หนากว่า a > 4 มม. จ�าเป็นต้องมีการเชื่อมซ้อนแนว ดังรูปที่ 12 ซึ่งจะ อาศัยการส่ายลวดเชื่อม ดังรูปที่ 13 ฝึกเชื่อมจากซ้ายไปขวา และขวาไปซ้าย

รอยเว้า

รูปที่ 11: รูปแบบต่างๆ ของรอยเชื่อมเข้ามุม แผ่นเหล็กตั้งหนา ≈ 10 มม.

แนวเชื่อมพอกซ้อน

แนวเชื่อมเข้ามุม แนวแรก แผ่นเหล็กฐานหนา ≈ 10 มม.

รูปที่ 12: การเชื่อมพอกซ้อนแนวเชื่อมเข้ามุม january/february 2017

29


ใช้เหล็กแผ่นก่อสร้างเป็นชิ้นงาน ฝึกโดยค�้ายึดให้แผ่น เหล็กตัง้ ฉากด้วยแท่งเหล็ก ดังรูปที่ 14 แล้วติก๊ เชือ่ มจุดเพือ่ ยึด แผ่นเหล็กเข้าด้วยกันทีป่ ลายทัง้ สองข้างของแผ่น (จุด a และ b) ดังรูปที่ 15 เริม่ ฝึกด้วยการใช้แผ่นเหล็กพืน้ ทีย่ าวกว่าแผ่นเหล็ก ตัง้ เล็กน้อย เพือ่ ให้สะดวกในการเชือ่ มจุดยึดแผ่น (จากอ�านาจ ที่มีต่อเปลวไฟอาร์ก) และผู้ฝึกเกิดความมั่นใจในการจบรอย เชื่อมได้สวยกว่า ต่อจากนั้นจึงฝึกใช้แผ่นเหล็กที่ยาวเท่ากัน การเริ่มฝึกให้เขี่ยลวดเชื่อม เริ่มอาร์กจากมุมขวามือแล้วสร้าง แนวเชือ่ ม ‘C’ ตามรูปที่ 15 ไปทางซ้าย จนถึงจุดทีร่ สู้ กึ ว่าเปลวไฟ อาร์กตีกลับจึงหยุด ทั้งนี้ เพื่อให้สังเกตเปลวไฟอาร์กอุ่น น�ารอยเชื่อม จากนั้นเริ่มเช่นเดียวกันจากปลายด้าน a เป็น แนวเชื่ อ ม d ให้ ฝ ึ ก การต่ อ รอยเชื่ อ มให้ คุ ้ น ชิ น โดยผู ้ ฝ ึ ก ต้องฝึกสังเกตผลที่เกิดจากอ�านาจสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเบี่ยงเบนเปลวไฟอาร์กไป หากเป็นเช่นนั้นช่วงรอยต่อ แนวเชื่อม อาจจะต้องเขี่ยย้อนลวดเชื่อมไปบนแนวเชื่อมเดิม ก่อนจะเชื่อมต่อแนวต่อไป โดยต้องให้รอยต่อนั้นต่อกันได้ สวยงาม ไม่มีโพรงหรือสแลกซ่อนอยู่ในรอยต่อ ซึ่งจะท�าให้ รอยเชื่อมไม่แข็งแรง สมัยที่ผู้เขียนฝึกอยู่นั้นต้องใช้เวลานาน สิ้นเปลืองวัสดุและไฟฟ้ามาก เชื่อมเสร็จดูแนวแล้วไปหักดู ข้างในและเจียรให้เรียบ แล้วน�ามาฝึกต่อ รูปที่ 16 และ 17 แสดงให้เห็นวิธีการวิเคราะห์รอยเชื่อมเข้ามุมที่ได้รับ เมื่อฝึก จนได้ผลงานดีตลอดจึงค่อยเปลี่ยนท่าฝึกต่อไป ฉบับหน้า เตรียมอ่านการเชื่อมแนวตั้งนะครับ... สวัสดี

ทิศทางเชื่อม

รูปที่ 13: แนวส่ายของลวดเชื่อมขณะเชื่อมพอกเข้ามุม ตัวช่วย

แผ่นตั้ง

แผ่นฐาน

รูปที่ 14: การค�้าเพื่อเชื่อมยึด

แผ่นเหล็กแนวตั้งความกว้าง ≈ 40 มม. หนา 8 มม.

จุดเริ่มอาร์ก

รูปที่ 15: แนวฝึกเชื่อมเมื่อเริ่มต้น

กรณี

แบนราบเกินไป

กินขอบ

ตั้งไฟแรงไป

เชื่อมไม่ติด

รูปที่ 16: ภาพตัดแนวเชื่อมเข้ามุม

EXECUTIVE SUMMARY Source:

- Hans J. Fahrenwaldt / Volkmar Schuler : “Praxiswissen Schweisstechnik” 4.Aufl.2011Viewey & Teubner Verlg, Germany www.ewm.de : “Die EWM E-Hand-Fibel” - Schulungsunterlage Fronius Technology Center : “Elektroden – Schweissen” - มอก. 49 – 2556 : “ลวดเชื่อมไฟฟ้ามีสารพอกหุ้มใช้เชื่อมเหล็กกล้าไม่เจือและ เกรนละเอียดด้วยการเชื่อมอ๊าร์คโลหะด้วยมือ” - Prof. Dr.-ing.Knuth – Michael Honkel Universitase Rostock : “Vorlesung Schweissmetallurgie” 2015 - www.voestlpine.com/welding : “Schweisspositionen nach EN ISO 6947W” - www.wikipedia.de : • “Schweissstromquelle” • “Gleichrichter” • “Leerlufspannung” - www.semikron.com/de/applikationen/... - “Schueissstrom fuer Lichtbogenschweissen” - Karl-Heinz Rellensmann: “Fachgerechtes Lichbogenschweissen” Verl.Handwerk und Technik 1963 30

Machine Tools & Metalworking

S

tarting Arc Welding training should begin with basic Fillet Welding which is to start with the scratch method training to initiate the arc spark and check the melt of welding rod whether it is set in the correct position of welding rod. At the beginning of training session, trainee should not start on the edge of work piece to avoid 2 incurred problems as uneven exotherms at the edge of work piece between both sides of the weld and incurred arc spark deviating toward the center of gravity of work piece. Then, start fillet weld training by using construction metal sheet as the work piece and trying to hold the metal sheet upright with the metal piece before proceeding with spotted weld to piece the metal sheets up together at the tip of both work pieces.


special Report

อ.กรอ.อศ. เร่งพัฒนากำาลังคน

สถาบันไทย-เยอรมัน เดินหน้าจัดทำามาตรฐาน

สองโครงการใหญ่

เดินหน้าเสริมทัพ อุตฯ แม่พิมพ์ไทย january/february 2017

31


อุ ต สาหกรรมแม่ พิ ม พ์ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น (Supporting Industry) หรืออุตสาหกรรมกลางน�้าที่รองรับ อุตสาหกรรมการผลิตทีส่ า� คัญเกือบทุกประเภท เนือ่ งจากการผลิต สินค้าหลายสาขาจ�าเป็นต้องอาศัยแม่พิมพ์ (Mold and Die) ในการขึ้นรูปและก�าหนดรูปร่างเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และขนาดตามความต้องการ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์จึงถือเป็น อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงอุตสาหกรรมอื่นๆ หากมีแม่พิมพ์ที่ดี มี ม าตรฐาน จะส่ ง ผลต่ อ ความได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น ของ อุตสาหกรรมการผลิตที่เกี่ยวข้อง ด้วยเหตุนี้ หน่วยงานต่างๆ และภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง จึงระดม ก�าลังกัน เพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ของไทย ให้มศี กั ยภาพ สูงยิ่งขึ้น เพื่อที่จะสามารถก้าวขึ้นสู่ระดับการแข่งขันได้ ซึ่งเมื่อ ไม่นานมานี้ คณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน เพือ่ พัฒนา ก�าลังคนอาชีวศึกษา หรือ อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์ ได้รว่ มกับองค์กร สถานศึกษาและสถานประกอบการทีส่ นับสนุน การขับเคลื่อน จัดพิธีลงนามความร่วมมือ เพื่อผลักดันการผลิต บุ ค ลากรคุ ณ ภาพสู ่ ภ าคอุ ต สาหกรรมแม่ พิ ม พ์ ใ ห้ มี ศั ก ยภาพ มากขึ้น ในเวลาเดียวกันทางสถาบันไทย-เยอรมัน ก็ได้ร่าง มาตรฐานโรงงานผลิตแม่พิมพ์และมาตรฐานแม่พิมพ์ พร้อมทั้ง ท�าประชาพิจารณ์ เพือ่ เร่งหาข้อสรุปในการน�ามาตรฐานดังกล่าว มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ด้วยเช่นกัน

3 องค์กร จับมือ ผลิตก�ำลังคนแม่พิมพ์

คุณกมล นาคะสุวรรณ ประธาน อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพ แม่พิมพ์ ซึ่งเป็นประธานในพิธีลงนามความร่วมมือ ได้กล่าว เกี่ยวกับการด�าเนินงานที่ผ่านมาของ อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพ แม่พิมพ์ ว่าได้มีการปรับปรุงหลักสูตรแผนการเรียนระดับ ปวช. ปวส. สาขาแม่พิมพ์ และระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยี แม่พมิ พ์ โดยการก�าหนดรูปแบบการจัดการสอน 4 รูปแบบ เพือ่ ให้สามารถตอบสนองอุตสาหกรรมได้มากขึน้ การวิเคราะห์เทียบ สมรรถนะจากมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง สู่บูรณาการการด�าเนินงาน 32

Machine Tools & Metalworking

คุณกมล นำคะสุวรรณ ประธาน อ.กรอ.อศ. กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์

C

แบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาก�าลังคนอาชีวศึกษา ตามนโยบาย ของส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา “การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือครัง้ นี้ เป็นการรับรู้ รับทราบและยืนยันเจตนารมณ์เพื่อการร่วมมือช่วยเหลือของ 3 กลุม่ หลักประกอบด้วย สถาบัน/สมาคม สถานศึกษาทีเ่ ปิดสอน สาขาแม่พิมพ์ และสถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม กับ คณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาก�าลังคน อาชีวศึกษา หรือ อ.กรอ.อศ. กลุม่ อาชีพแม่พมิ พ์ สังกัดส�านักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา เพื่อการพัฒนาสู่เป้าหมายการสร้าง ความพร้อมของสถานศึกษาที่เปิดท�าการสอนในสาขาแม่พิมพ์ ให้ ส ามารถผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรในสาขาอาชี พ ทั้ ง ภาค การศึกษาและภาคอุตสาหกรรม ที่มีสมรรถนะมาตรฐานเป็นไป ตามมาตรฐานอาชีพ สูก่ ารรับรองคุณวุฒวิ ชิ าชีพ ให้ตรงกับความ ต้องการของผูป้ ระกอบการ หรือผูว้ า่ จ้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็ น ไปอย่ า งยั่ ง ยื น หวั ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการพั ฒ นา อุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศต่อไป” คุณกมล กล่าว

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


TGI ผลักดันร่างมาตรฐานแม่พิมพ์และโรงงาน

ทางสถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) ในสถานะผู้สนับสนุน ด้านเทคโนโลยีเพื่อภาคอุตสาหกรรม ก็ได้เล็งเห็นความส�าคัญ ในเรื่องมาตรฐานกระบวนการจัดการของอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ผู ้ ป ระกอบการไทยอยู ่ จ� า นวนมาก ทั้ ง แม่ พิ ม พ์ พลาสติก แม่พิมพ์โลหะ แม่พิมพ์ยาง และแม่พิมพ์ชนิดอื่นๆ แต่ละแห่งล้วนแต่มีแนวทางและวิธีการบริหารจัดการกันเอง จึงมีความแตกต่างกันในกระบวนการจัดการ ท�าให้มผี ลต่อการเลือก และตัดสินใจในการว่าจ้างที่ต้องการจัดซื้อหรือว่าจ้างให้ท�าการ ผลิตแม่พิมพ์ ซึ่งถือได้ว่าสถานประกอบการแม่พิมพ์ต่ างๆ ดังกล่าวยังขาดมาตรฐานโรงงานแม่พิมพ์และมาตรฐานของ แม่พมิ พ์ทเี่ ป็นแนวทางการบริหารจัดการ รวมถึงแนวทางในการ พัฒนาเพือ่ ยกระดับศักยภาพโรงงานแม่พมิ พ์ให้สามารถแข่งขันได้ คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�านวยการสถาบันไทยเยอรมัน ได้กล่าวถึงการท�าประชาพิจารณ์มาตรฐานแม่พิมพ์ และโรงงานแม่พิมพ์ในครั้งนี้ว่า การจัดท�ามาตรฐานโรงงาน ผลิตแม่พิมพ์นี้ มีเป้าหมายหลักเพื่อมุ่งหวังต่อการพัฒนาและ ยกระดั บ สถานประกอบการอุ ต สาหกรรมผลิ ต แม่ พิ ม พ์ ข อง ผูป้ ระกอบการไทยให้สามารถแข่งขันในตลาดในประเทศทดแทน การน� า เข้ า และเพื่ อ การส่ ง ออกแม่ พิ ม พ์ ไ ปยั ง ต่ า งประเทศ ในโอกาสต่อไป ด้วยระดับคุณภาพทีเ่ ป็นสากลและสอดคล้องกับ ข้ อ ก� า หนดและมาตรฐานของลู ก ค้ า ที่ จ ะจั ด ซื้ อ หรื อ ว่ า จ้ า ง มอบความไว้วางใจให้ท�าการผลิตแม่พิมพ์ต่อไป

คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�ำนวยกำรสถำบันไทย-เยอรมัน

P033_Ad_Grindmaster.pdf 1 1/9/2017 5:19:53 PM

Over 4500 Successful Installations Worldwide

w w w. g r i n d m a s t e r. c o . i n

Meet the Master’s of Metal Finishing in Stall A110, Hall No 2A BIEC, Bengaluru, Karnataka, India 26 Jan to 01 Feb 2017

Microfinishing

Superfinishing

Deburring

Robotic Automation

WE EAT

SLEEP

DREAM

MACHINES

NANOFINISH

I

M E TA L F I N I S H

I

sales@grindmaster.co.in 24×7 Hotline No. : (+91) 9049948833 DEBURR

I

A U T O M AT I O N I A B R A S I V E S january/february 2017 33


“ส�าหรับการท�าประชาพิจารณ์ก็คือ การที่เราร่างมาตรฐาน แม่พิมพ์และโรงงานแม่พิมพ์มา แล้วน�ามาให้ทางผู้ประกอบการ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ามาตรฐานดังกล่าวนัน้ สามารถน�าไป ประยุกต์ใช้ในโรงงานต่างๆ ได้จริงหรือไม่ ซึง่ ผลจากตรงนีก้ จ็ ะให้ ประโยชน์ 2 ด้าน ด้านหนึง่ คือ ไปพัฒนาสถานศึกษา อีกด้านหนึง่ คือ การตลาด พอได้มาตรฐานมาแล้ว เราจะสามารถประเมิน ได้ว่า โรงงานนี้อยู่ในเกรด A B C ซึ่งการจัดเกรดนี้ ประโยชน์ ส่วนหนึ่งก็เพื่อให้ผู้ประกอบการไปปรับปรุงกิจการของเขาเอง อีกส่วนหนึ่ง คือ ผลทางด้านการตลาด ในด้านความไว้วางใจ จากลูกค้า” คุณสมหวัง กล่าว

รู้ทิศทางอุตสาหกรรม เข้าใจผลิตภัณฑ์ เพิ่มความสามารถการแข่งขันด้วย QCD

นอกจากนี้ คุณสมหวัง ยังบอกถึงทิศทางของอุตสาหกรรม แม่พิมพ์และปัจจัยส�าคัญที่ผู้ประกอบการควรทราบว่า แม่พิมพ์ ถือเป็นอุตสาหกรรมแม่ แต่วา่ ทิศทางทีจ่ ะไปต้องตามอุตสาหกรรม ลูกของแม่พิมพ์ เช่น ยานยนต์ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เพราะว่ า แม่ พิ ม พ์ เ ป็ น ส่ ว นสนั บ สนุ น ปั จ จั ย หลั ก ที่ ส� า คั ญ 3 ประการในการพัฒนา คือ ประการแรก ต้องดูทิศทางตามอุตสาหกรรมเป้าหมายของ ทางภาครัฐบาลในประเทศ ว่าอุตสาหกรรมใด เรามีแนวโน้ม ที่ดี และอุตสาหกรรมใดที่เราตั้งเป้าเอาไว้ อย่างประเทศไทย จะเด่นเรื่องอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ยานยนต์ ประการทีส่ อง คือ ผลิตภัณฑ์ การจะเป็นผลิตภัณฑ์ได้ ต้อง มีองค์ประกอบอื่นๆ วัสดุ รูปร่าง ขนาด น�้าหนัก ซึ่งหลักๆ ก็คือ เรื่องของวัสดุที่มีการพัฒนาขึ้นไปตามเทคโนโลยี รถยนต์ต้องมี น�้าหนักเบาลง เมื่อเบาลงเหล็กต้องบาง แต่เหล็กบางแล้วต้อง แข็งแรง วัสดุจะเปลี่ยน พลาสติกจะถูกน�ามาใช้แทนเหล็กได้ มากขึ้น หรือจากพลาสติกธรรมดาก็เปลี่ยนเป็นไบโอพลาสติก ฉะนั้น ตัวแม่พิมพ์ก็ต้องตามให้ทัน

34

Machine Tools & Metalworking


ประการที่สาม คือ เรื่องของความสามารถในการแข่งขัน ตรงนี้ คือ เรื่องเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะใช้ ตั้งแต่การออกแบบ การผลิต การควบคุมคุณภาพต่างๆ ถ้าเราใช้แค่หนึ่งสมอง สองมือ เราท�าได้ แต่แข่งกับเขาไม่ได้ ฉะนัน้ ในส่วนของแม่พมิ พ์ หรืออุตสาหกรรมทัว่ ไป เขาก็จะดูตวั ทีจ่ ะเป็นตัววัดความสามารถ ในการแข่งขัน นั่นคือ ตัว QCD (Quality, Cost, Delivery)

‘บุคลากร’ หัวใจส�าคัญในการขับเคลื่อน

ในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์นั้น ทุกฝ่าย เห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น ว่ า การที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมไปได้ สิ่งที่ส�าคัญ คือ ‘บุคลากร’ ซึ่งในทางส่วนของภาคการศึกษา คุณสินเธาว์ ชัยสวัสดิ์ ที่ปรึกษาด้านมาตรฐานอาชีวศึกษา ธุรกิจและบริการ ส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวในพิธลี งนามความร่วมมือว่า ความ ร่วมมือครัง้ นี้ เพือ่ เป็นการพัฒนาก�าลังคนของอาชีวศึกษาในการ พัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ทีต่ อบสนองนโยบายการผลิตสมัยใหม่เพือ่ เข้าสูย่ คุ Thailand 4.0 ซึ่งจะน�าไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ให้ยั่งยืนต่อไป ในส่วนของภาคผู้ประกอบการ คุณสมหวัง ได้กล่าวว่า พอเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 ต่อไปจะไม่ใช่การผลิตแบบ Mass Product อีกแล้ว แต่จะเป็นลักษณะ Mass Customization ฉะนั้น เทคโนโลยีก็จะเข้ามาเกี่ยวข้องมากขึ้น ในเรื่องของความ สามารถในการจ�ากัด ซึง่ เป็นหัวใจส�าคัญ แต่ทยี่ งั ขาดอยูค่ อื เรือ่ ง ของบุคลากรซึ่งเป็นหัวใจส�าคัญเช่นกัน เพราะอุตสาหกรรม เราเลือกได้ ผลิตภัณฑ์เรารู้ เทคโนโลยีเราเข้าใจ แต่ตัวส�าคัญ ที่จะท�าให้เกิดได้จริงๆ คือ ‘บุคลากร’ “การพัฒนาบุคลากรทางด้านแม่พิมพ์ต้องพัฒนาทั้งทักษะ ทางด้านเทคนิคในการท�างาน (Hard Skills) และทักษะด้าน พฤติกรรม (Soft Skills) ซึ่งการจะก้าวเข้าไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ได้นั้น ยังต้องมีการพัฒนา Soft Skills ให้มีมากขึ้น ได้แก่ Communication, Cooperation และ Creative และอีกสิ่ง ที่ต้องการจริงๆ แต่เป็นเรื่องที่ท�ายากที่สุด ก็คือเรื่องของเจตคติ และทัศนคติของบุคคล ทุกๆ งานต้องการผู้ร่วมงานที่ดี การ สร้างคนให้เก่งนั้นไม่ใช่เรื่องยาก แต่ที่ยากคือการสร้างคนดี” คุณสมหวัง กล่าว

จากความร่วมมือของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ถือได้ว่าเป็น สัญญาณที่ดีในการมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย ทั้งเรื่อง ของการสนับสนุนการผลิตบุคลากรที่ตรงสายงาน และการเสริม สร้างมาตรฐานในกระบวนการจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ เพือ่ เข้าสู่ สนามการแข่งขัน และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั อุตสาหกรรม ของประเทศ อีกทั้ง ยังตอบโจทย์การเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ได้ในอนาคตอีกด้วย EXECUTIVE SUMMARY

M

old and Die industry is considered as the supporting industry that supports almost every type of manufacturing industries so related agencies and sectors has gotten together to promote Thailand’s mold and die industry development to gain higher capacity for reaching up to the world competition stage. In addition, Joint Committee of Government and Private Sectors in Mold and Die Professional Group had arranged MOU signing ceremony to support mold and die manufacturing development and join the collaboration between government and private sectors on manpower development to gain better quality, knowledge and skill to response to the demand in manpower of establishments and industrial sector. In the same time, Thai – German Institute had created the draft of mold and die manufacturing factory and M&D standards to designate the guideline in element administration and development of mold and die manufacture industrial establishment, and M&D factory evaluation following designated standard which will help entrepreneurs to acknowledge their capability in each area so they will know the weakness and disadvantage required further development in the same time. After this standard draft has been completed, public hearing will be held to allow entrepreneurs to express their opinions whether such standard draft can be applied for real in factories or not.

january/february 2017

35


exclusive talk

ปั้น ‘บุคลากร’ สู่อุตสาหกรรมแม่พิมพ์

อย่างไร....

ตอบโจทย์ ตรงใจ

ให้ และ

การผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เจอความท้าทายครั้ง ส�าคัญ ทั้งปัญหาแรงงานและคู่แข่งในตลาด OEM อย่าง จี น และเวี ย ดนามที่ มี ต ้ น ทุ น การผลิ ต ต�่ า กว่ า ไทยเรา มาก ท�าให้ผู้เกี่ยวข้องตัดสินใจเปลี่ยนตัวเองไปสู่ตลาด ที่สูงขึ้น สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และกลุ่ม อุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve และ New S-Curve การ ปรับตัวครั้งนี้ถือเป็นความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ เพราะ หนึ่งในโจทย์ที่ท้าทายและเป็นปัจจัยที่ส�าคัญตัวหนึ่งของ กระบวนการผลิต คือ การขาดแคลนบุคลากรหรือแรงงาน มีฝีมือต่างหาก

36

Machine Tools & Metalworking

ต้นธารของภาคอุตสาหกรรม นอกจากจะต้องโฟกัส กันที่ ‘คน’ หรือบุคลากรแล้ว อีกสิ่งที่ยิ่งต้องโฟกัสให้ลึก ลงไปคือ ‘งานแม่พมิ พ์’ ค�าถามคือ เรามี ‘คน’ ทีต่ อบโจทย์ งานด้านนี้เพียงพอหรือไม่ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ฉบับนี้จะพาคุณมาชิดขอบวงสนทนากับอาจารย์ ระดับบริหารของทั้ง 2 มหาวิทยาลัยชั้นน�าด้านการผลิต วิศวกรของประเทศไทย ถึงปัญหาแรงงานและพันธกิจของ มหาวิทยาลัยในการเป็นฐานรากของการผลิตบุคลากร เพื่อตอบสนองงานอุตสาหกรรม อย่าง รศ.ดร.วารุณี เปรมานันท์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและ วัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และอุปนายก สมาคม อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย และ รศ.สถาพร ชาตาคม หั ว หน้ า ภาควิ ช าเทคโนโลยี วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) และเลขาธิการ สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยกัน


exclusive talk หน้าที่ของสถาบันการศึกษาไม่ใช่แค่ผลิตบัณฑิต รศ.ดร.วารุณี เปรมานันท์ จาก มจธ. เกริน่ ภาพกว้างว่า พบสถิติที่น่าสนใจจากการเก็บข้อมูลโดยโครงการพัฒนา อุ ต สาหกรรมแม่ พิ ม พ์ ไ ทย สถาบั น ไทย-เยอรมั น ซึ่ ง ระบุว่า บุคลากรที่ท�างานในภาคอุตสาหกรรมไทยด้าน แม่พมิ พ์ มีระดับการศึกษาไม่สงู นัก ส่วนใหญ่เป็นวุฒปิ ระถม ศึกษาและมัธยมศึกษา อีกทัง้ พบว่าในระดับปริญญาตรี มี ม หาวิ ท ยาลั ย ไม่ กี่ แ ห่ ง ที่ ผ ลิ ต วิ ศ วกรเฉพาะทาง ด้านแม่พิมพ์ ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ โจทย์นี้ เป็ น โจทย์ ร ่ ว มกั น ระหว่ า งสถาบั น การศึ ก ษาและภาค อุตสาหกรรม ว่าต้องพยายามเพิ่มสัดส่วนวิศวกรหรือ แรงงานมีฝีมือเข้าไปให้ได้ อย่ า งไรก็ ต าม มจธ.ท� า งานร่ ว มกั บ สมาคม อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย จึงมีการประชุม สัมมนาแลกเปลี่ยนข้อมูล ความเห็นกันอยู่ตลอด “เดิ ม ที เรามี In-House Training หรื อ จั ด บริ ก าร วิชาการตามการร้องขอของโรงงาน มีการจัดอบรมใน หัวเรื่องที่ต้องการ แต่ตอนนี้เรามีแนวคิดจะเปิดการเรียน การสอนส�าหรับผูป้ ระกอบการหรือวิชาชีพ เปิดเป็นคอร์ส สั้นๆ อบรมให้ความรู้เชิงเทคนิค หรืออัพเดทเทคโนโลยี จัดให้สม�่าเสมอขึ้น เพื่อเป็นการเสริมความรู้ให้บุคลากร ผู้ประกอบการ หรือแรงงานในวิชาชีพอีกช่องทางหนึ่ง” รศ.ดร.วารุณี เล่าถึงงานบริหารวิชาการของ มจธ.

ในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ ของ มจธ. ปัจจุบนั มี 3 สาขาวิชา ได้แก่ วิศวกรรมเครือ่ งมือ วิศวกรรม วัสดุ และวิศวกรรมการผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ซงึ่ เป็นสาขา น้องใหม่ รศ.ดร.วารุณี ยกตัวอย่างสาขาน้องใหม่ที่เพิ่ง เปิดให้มีการเรียนการสอนเมื่อปีการศึกษา 2559 นี้ว่า นี่เป็นภาพสะท้อนว่า สถาบันการศึกษาต้องเดินตาม ภาคอุ ต สาหกรรม ต้ อ งดู ค วามต้ อ งการของตลาดว่ า ต้องการบุคลากรด้านไหน ระดับไหน สถาบันการศึกษา ต้องตั้งโจทย์จากภาคอุตสาหกรรม

"พระนครเหนือแตกต่างกับ มหาวิทยาลัยอื่น

จบไปได้ วศ.บ.แม่พิมพ์ แต่นักศึกษา ไม่มีสิทธิ์ยื่นขอสอบเพื่อรับใบ กว. เราเลือกจะฉีกออกมา ผลตอบรับ คือ ยอดสมัครล้นตลอด

เพราะตรงกับความต้องการ ของตลาด ของสถานประกอบการ คือ จบแล้วทำางานได้"

january/february 2017

37


exclusive talk ด้าน รศ.สถาพร ชาตาคม กล่าวเสริมว่า การออกแบบ หลักสูตรแต่ละสาขานั้นจะมีกลุ่มรายวิชาบังคับที่เป็นไป ตามเกณฑ์ก�ากับของส�านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ส่วนหน่วยกิตทีเ่ หลือแต่ละสถาบันสามารถออกแบบ ได้ดว้ ยตัวเอง ซึง่ ปัจจุบนั คณะวิศวกรรมศาสตร์สว่ นใหญ่จะ ออกแบบให้นักศึกษามีสิทธิ์ยื่นสอบเพื่อขอรับใบ กว. เลย แต่ที่พระนครเหนือ เลือกจะไม่น�ามาควบรวม “ในสาขานี้ พระนครเหนือแตกต่างกับมหาวิทยาลัย อื่น จบไปได้ วศ.บ.แม่พิมพ์ แต่นักศึกษาไม่มีสิทธิ์ยื่น ขอสอบเพือ่ รับใบ กว. เราเลือกจะฉีกออกมา ผลตอบรับคือ ยอดสมัครล้นตลอด เพราะตรงกับความต้องการของตลาด ของสถานประกอบการ คือจบแล้วท�างานได้ เราออกแบบ รายวิชาให้สอดคล้องกับการท�างานจริงมีรายวิชาที่ตรงกับ การท�างานของสาขาช่างแม่พมิ พ์ ตอบสนองความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรมบ้านเรา” รศ.สถาพร กล่าวถึงความ แตกต่างของหลักสูตร

จบไป ท�างานได้เลย การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยเพียง 4 ปี ดูเหมือน ไม่เพียงพอจะท�าให้นักศึกษาจบออกมาแล้วท�างานได้จริง ตามความคาดหวังของด้านสถานประกอบการ นี่เป็นสิ่งที่ ต้องขบคิดหาทางออกร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษาและ ผูป้ ระกอบการ รศ.ดร.วารุณี พูดถึงประเด็นนีอ้ี กี ว่า ปัญหา เด็กจบไปแล้วยังท�างานไม่ได้จริง ท�าให้เกิดนโยบายสหกิจ ศึกษาขึ้น กล่าวคือ ทาง มจธ. เอง ก็มองว่า การฝึกงาน เพียง 2-3 เดือนนั้น ไม่เพียงพอจะท�าให้เด็กรู้งาน จึงปรับ นโยบายเป็นสหกิจศึกษา คือให้นักศึกษาออกฝึกงานกับ ผู้ประกอบการเป็นเวลา 4-6 เดือน “เรามีโรงงานทีป่ ระสานงานกันอยู่ มีรเี ควสจากโรงงาน มาเรือ่ ยๆ มหาวิทยาลัยมีระบบการติดตาม สอบถามความ

พึ ง พอใจของทั้ ง สถานประกอบการ และตั ว นั ก ศึ ก ษา ข้อมูลความพร้อมในส่วนความรูพ้ นื้ ฐานของตัวนักศึกษา สถานประกอบการเองก็ต้องพร้อมดูแลและถ่ายทอด ความรู้ให้นักศึกษาเราด้วย ต้องได้คุณภาพร่วมกัน โดย มีโรงงานที่รองรับสหกิจศึกษาทุกขนาด ทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เพื่อให้นักศึกษาสมัครตาม ความสนใจ “ที่ผ่านมา เท่าที่ติดตามผลการด�าเนินงาน พบว่า ประสบความส�าเร็จมาก ระหว่างการฝึกงาน ถ้าสามารถ พัฒนาโจทย์ร่วมกันระหว่างนักศึกษา สถานประกอบ การ และอาจารย์ทปี่ รึกษา ก็เกิดเป็นโปรเจกต์เพือ่ การจบ การศึกษาของนักศึกษาได้ ก็ Win-Win ทั้งสองฝ่าย คือ ได้งานวิจยั ทีต่ อบโจทย์ผปู้ ระกอบการ นอกจากนัน้ ยังพบว่า มี นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ หลายคน หลั ง จบก็ ไ ด้ ง านในสถาน ประกอบการที่เข้าฝึกสหกิจด้วย” รศ.ดร.วารุณี กล่าวถึง นโยบายสหกิจศึกษาของ มจธ.ที่เสมือนทวิภาคีระหว่าง สถาบันการศึกษาและผู้ประกอบการ ด้าน รศ.สถาพร ก็มคี วามเห็นสอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกัน แม้ว่าพระนครเหนือจะมีข้อจ�ากัดที่ว่า เรียนจบ ไปไม่ได้ใบ กว. ทว่าหลักสูตรที่ทางสาขาออกแบบมา เพื่อตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม ส่วนหนึ่งเพราะจุดแข็ง ของพระนครเหนื อ อยู ่ ที่ ก ารมี ร ากฐานแข็ ง แกร่ ง ที่ พัฒนาการเรียนการสอนแบบเยอรมัน ที่เราเรียกติดปาก ว่า ไทย-เยอรมัน ท�าให้เน้นภาคปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี เราจึงรับนักศึกษา ปวช. ทีม่ พี นื้ ฐานทางช่างเข้ามาศึกษาต่อ ในหลักสูตร วศ.บ. “เราออกแบบรายวิชาสอดคล้องกับความเป็นจริง ตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมของบ้านเรา โรงงานและผูป้ ระกอบการมาจองตัวตลอด เพราะเขารูว้ า่ จบแล้วสามารถท�างานได้เลย ส่วนหนึง่ เพราะรากฐานของ เรา คือ ไทย-เยอรมัน เขามองไว้นานแล้วว่านีค่ อื พืน้ ฐาน ที่แข็งแกร่งก่อนจะก้าวไปสู่อุตสาหกรรม 4.0

"เราเน้นเสมอว่า ต้องร่วมมือกับผู้ประกอบการ

อาจารย์ต้องไม่สอนแค่ในห้อง

แต่ต้องออกไปหาข้อมูลหรืออัพเดทข้อมูล จากสถานประกอบการ" รศ.สถาพร ชาตาคม

หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) และเลขาธิการ สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ไทย

38

Machine Tools & Metalworking


exclusive talk

“เหมือนการปลูกบ้าน ก็ต้องลงเสาเข็มให้แน่น ให้ แกร่งก่อน ต้องรู้พื้นฐานก่อนจะวางระบบอื่นๆ ตามมา บ้านจะล�้าแค่ไหน ก็อยู่เสาเข็มอยู่ดี เด็กเราต้องแม่นที่ แก่นแท้” รศ.สถาพร กล่าวถึงจุดแข็งของการออกแบบ หลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ

วิจัยไม่ขึ้นหิ้ง ความเชื่อมโยงระหว่างงานวิจัยและการใช้งานได้ จริงในโรงงานอุตสาหกรรมถูกตั้งค�าถามมาตลอด นั่น เพราะการท�างานที่ไม่บูรณาการ หลายครั้งท�าให้ทุนวิจัย สู ญ เปล่ า ไป เพราะวิ จั ย แล้ ว ขึ้ น หิ้ ง ไม่ ส ามารถปรั บ ประยุกต์ให้เกิดเป็นรูปธรรมได้ เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ รศ.ดร.วารุณี และ รศ.สถาพร กล่าว สอดคล้องกันว่า งานวิจัยในสถาบันการศึกษาเปลี่ยน โจทย์มานานแล้ว ทุกคนและทุกฝ่ายตระหนักดีว่า งาน วิจยั ต้องตัง้ โจทย์มาจากภาคอุตสาหกรรม ซึง่ เป็นวิธเี ดียว ที่ท�าให้งานวิจัยมีประโยชน์และใช้งานได้จริง “งานวิจัยของคณาจารย์จะมีหลายส่วน แต่ละคนก็ ท�าตามความถนัดและความสนใจ เช่น งานขึ้นรูปโลหะ งานปั๊ม งานขึ้นรูปคอมโพสิท พอลิเมอร์ เซรามิก ท�าให้ ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมการผลิต หรือการที่เราส่ง นักศึกษาออกไปฝึกงานระยะยาวกับผูป้ ระกอบการ ท�าให้ ได้คลุกคลีและได้รับโจทย์ที่น่าสนใจมา เราอาจจะเอา โจทย์นั้นมาต่อยอด เพราะในโรงงานอาจมีข้อจ�ากัดด้าน สายการผลิต เราก็เอามาพัฒนาต่อให้มันสมบูรณ์แบบ ในเชิงองค์ความรู้วิชาการ เช่น การยืดอายุการใช้งาน ของแม่พิมพ์ โจทย์มาจากโรงงาน แต่เราเอามาวิจัย จนได้ค�าตอบองค์รวม

“หรือเราอาจจะจับโจทย์จากหลายๆ โรงงานมารวมกัน ให้เกิดภาพเชิงวิชาการว่ามันประยุกต์ใช้ได้จริง เกิดเป็น องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์” รศ.ดร.วารุณี กล่าวถึงการ วิจัยที่ใช้โจทย์จากภาคอุตสาหกรรมเป็นตัวตั้ง “เราเน้ น เสมอว่ า ต้ อ งร่ ว มมื อ กั บ ผู ้ ประกอบการ อาจารย์ตอ้ งไม่สอนแค่ในห้อง แต่ตอ้ งออกไปหาข้อมูลหรือ อัพเดทข้อมูลจากสถานประกอบการ ผมก�าหนดเป็นเป้า ว่าทุกคนต้องออกไปสัมผัส เขาจะได้คุ้นเคย รู้จัก มี ความสนิทกัน ได้โจทย์มาโดยตรง เอามาแชร์กนั ผลักดัน ตัวเองออกไปสูภ่ าคอุตสาหกรรม การออกไป ไม่ใช่แค่ได้ ไปเปิดหูเปิดตา แต่ทา� ให้เราได้รหู้ น้างานจริง ได้รขู้ อ้ จ�ากัด ได้รู้อุปสรรคและปัญหาจริง เพื่อน�าโจทย์เหล่านั้นมาหา ค�าตอบทีถ่ กู ทีเ่ หมาะสม” รศ.สถาพร กล่าวถึงความร่วมมือ ระหว่างสถาบันการศึกษากับอุตสาหกรรม

บริการวิชาการ ไม่ใช่แค่ผลิตบัณฑิตที่จบไปแล้วท�างานได้จริง ไม่ใช่ ท�างานวิจยั ทีต่ อบโจทย์อตุ สาหกรรม แต่ทงั้ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ต่างก็มหี น่วยงาน บริการวิชาการส�าหรับบุคคลทั่วไป หรือผู้ประกอบการ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ หรื อ อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ลงทุนเพื่อใช้สอนนักศึกษามาท�างานบริการทางวิชาการ เพื่อประโยชน์สูงสุดร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษา และอุตสาหกรรมด้วย

january/february 2017

39


exclusive talk

มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี มี ห น่ ว ยงานบริ ก ารวิ ช าการในชื่ อ 'ส� ำ นั ก วิ จั ย และ บริกำรวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (สวท.)' นอกจาก รับเป็นที่ปรึกษาโครงการ งานวิจัยและพัฒนาแล้ว ยัง มีบริการด้านอุตสาหกรรม โดยหน่วยวิจัยผลิตขั้นสูง ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทดสอบ และวิ เ คราะห์ ส ่ ว นผสมทาง เคมี ข องโลหะ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองความสามารถห้ อ ง ปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐานเลขที่ มอก.170252548 (ISO/IEC 17025:2005) จากส�านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมผู้สนใจ สามารถสอบถามรายละเอียดของการส่งตัวอย่าง ได้ที่ 0-2470-9671

สำาหรับบริการของมหาวิทยาลัยนั้นแบ่งออกเป็น รับทดสอบคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ต่างๆ ลูกบิด บานพับประตู ถังดับเพลิง คุณสมบัติทางกลของเหล็ก การทดสอบแรงดึง ทดสอบการดัดโค้ง ความแข็งของเหล็ก ทดสอบยาง พอลิเมอร์ เป็นต้น รับวิเครำะห์โลหะผสม องค์ประกอบทางเคมี เชือ้ เพลิง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ิ โ ตรเลี ย ม น�้ า น�้ า เสี ย น�้ า ทิ้ ง จากระบบ ผลิตภัณฑ์ทางเคมี วัสดุกอ่ สร้าง กระเบือ้ ง ฉนวน อาหาร แร่ เป็นต้น รับสอบเทียบด้านมวล มิติ ปริมาตร เป็นต้น ส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ เอง ก็ มี 'ศู น ย์ วิ จั ย เฉพำะทำงด้ ำ น แม่ พิ ม พ์ ขึ้ น ตรงกั บ ส� ำ นั ก วิ จั ย วิ ท ยำศำสตร์ แ ละ เทคโนโลยี' ที่ท�างานตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ด้านแม่พิมพ์ โดยเฉพาะ เพื่อตอบสนองภายใต้โครงการสร้างความ ยั่งยืนของอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย ของ สถาบันไทยเยอรมัน ตั้งแต่ปี 2548 มาจนถึงปัจจุบัน โดยมีสถาบัน อุดมศึกษาทีร่ ว่ มกันท�างาน ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ร่วมกับสถานประกอบ 20-30 แห่ง เพื่อตั้งโจทย์และวิจัย เพื่อหาค�าตอบร่วมกัน

งานวิจัยของคณาจารย์จะมีหลาย ส่วน แต่ละคนก็ทำาตามความถนัด และความสนใจ เช่น งานขึ้นรูปโลหะ

งานปั๊ม งานขึน้ รูปคอมโพสิท พอลิเมอร์ เซรามิก ทำาให้ครอบคลุม ทุกอุตสาหกรรมการผลิต รศ.ดร.วารุณี เปรมานันท์

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และอุปนายก สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ไทย

การร่วมมือกันทั้งทางสถาบันการศึกษาและภาคสถาน ประกอบการ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นด้ า นการพั ฒ นาบุ ค ลากรใน วิชาชีพอุตสาหกรรม เป็นแนวทางทีส่ อดคล้องและเร่งด่วนใน ยุคทีใ่ ครๆ ก็เรียกว่า 4.0 ยุคทีข่ บั เคลือ่ นด้วยเทคโนโลยี ดังนัน้ หากผู้ประกอบการมีข้อมูลดีๆ สามารถสื่อสารมายังสถาบัน การศึกษาในช่องทางต่างๆ จะยิ่งเร่งสร้างบุคลากรได้ตรงกับ ความต้องการเป็นจ�านวนมากยิ่งขึ้น

EXECUTIVE SUMMARY

A

sst. Prof. Ph.D. Warunee Premmanan, the Head of Engineering Program in Tool and Material Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) and Vice President of Thai Tool and Die Industry Association, and Asst. Prof. Sataporn Chatakom, the Head of Mechanical Engineering Technology Program, Industrial Technique College, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok and Secretary of Thai Tool and Die Industry Association had discussed about the labor issue and obligation of universities for being the foundation of personnel creation to serve industrial works. Both Asst. Prof. Ph.D. Warunee and Asst. Prof. Sataporn had agreed that research works in educational institutes had already been changed long ago, and every key player had well realized that research works should be questioning by industrial sectors as this would be the only way to get the most benefits out of the research works and they would practically be used.

40

Machine Tools & Metalworking


INDUSTRIAL ROBOTICS

Golden Time for

Thai's Manufacturing and Engineer in the Ages

of Workforce Lacking โอกาสทองของอุตสาหกรรมและวิศวกรไทย ในยุควิกฤตแรงงานขาดแคลน

รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ในอดีตความกังวลเรื่องวิกฤตแรงงานเคยเป็นแค่แนวโน้มที่ หลายๆ ฝ่ายคาดการณ์วา่ จะเกิดขึน้ ในไม่ชา้ ทว่าในปี พ.ศ. 2560 ความกังวลนี้ได้อุบัติขึ้นจริง ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงอายุ เต็มรูปแบบ และมีหนุม่ สาววัยแรงงานเข้าสูต่ ลาดแรงงานน้อยลง ถึงขั้นติดลบเป็นประวัติการณ์ เหตุการณ์นเี้ คยเกิดขึน้ มาแล้วกับบรรดาประเทศพัฒนาแล้ว หรื อ กลุ ่ ม ประเทศอุ ต สาหกรรมก้ า วหน้ า ไม่ ว ่ า จะเป็ น สหรัฐอเมริกา หรือญีป่ นุ่ มีการแก้ปญ ั หาทัง้ ในรูปแบบการขนเงิน ออกไปลงทุนยังต่างประเทศที่มีแรงงาน และในรูปแบบการ เปลี่ยนมาใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ เพื่อแก้ปัญหาวิกฤต แรงงาน ค่าจ้างแรงงาน รวมถึงความรวดเร็วและแม่นย�าในการ ท�างาน ตอนนี้ไทยเราก็ต้องเร่งแก้ปัญหานี้เช่นกัน

Do It or Die - ถ้าไม่ ไปก็ตกขบวน

กระแสไทยแลนด์ 4.0 ท�าให้กระแสโรโบติกส์และเครื่องมือ เครื่องจักรที่ถูกท�าให้สอดรับกับระบบอัตโนมัติถูกจับตามอง ไม่ใช่แค่ในฐานะนวัตกรรมใหม่ แต่ยังถือเป็นความหวังของภาค อุตสาหกรรมที่จะเป็นยาดีแก้ปัญหาวิกฤตแรงงานได้ โดยสอดคล้องกับข้อมูลจากเวทีสมั มนา ‘พลิกเส้นทางวิศวะ สูย่ คุ ดิจทิ ลั 4.0 โอกาสหุน่ ยนต์ ทางรอดวิกฤตแรงงาน’ ในงาน THE GRAND METALEX 2016 จัดโดย REED TRADEX ที่มี รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มาให้ความรู้โดย รศ.ดร.ชิต ได้เล่าว่า... “นอกจากการเข้าสูส่ งั คมสูงอายุและเกณฑ์คา่ แรงขัน้ ต�า่ 300 บาท ที่ท�าให้เราประสบปัญหาวิกฤตแรงงานแล้ว ยังมีปัจจัย ภายนอกที่ควบคุมไม่ได้อีกมาก เช่น การเลือกตั้งในเมียนมา ที่ท�าให้แรงงานต่างด้าวกลับประเทศไป และไม่กลับมาท�างาน ที่ ป ระเทศไทยอี ก เลย นั่ น สะท้ อ นว่ า แรงงานมนุ ษ ย์ มี ค วาม ไม่แน่นอน และมีความเสี่ยงมากกว่าระบบคอมพิวเตอร์และ เครื่องจักร ยิ่งเมื่อพิจารณาจากสถิติจ�านวนแรงงานในตลาด พบว่า เราขาดแคลนอย่างมากโดยเฉพาะในกลุ่มอุตสาหกรรม อาหาร เครื่องดื่ม และยารักษาโรค” january/february 2017

41


ย้อนกลับไปราว 30 ปี ประเทศไทยเริ่มมีการน�าเข้าหุ่นยนต์ หรือแขนกลมาใช้ในงานอุตสาหกรรม ยุคนัน้ อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ ของเรายังใช้แรงงานมนุษย์ และแรงงานคนยังมีเหลือเฟือ แต่ การเปลี่ยนผ่านและปฏิวัติอุตสาหกรรมระดับโลกในปัจจุบัน เรียกได้ว่าเป็นสถานการณ์บังคับ และถือเป็นจังหวะส�าคัญของ ประเทศไทย ซึ่ง รศ.ดร.ชิต ใช้ค�าว่า “ถ้าไม่ไป เราจะตกขบวน” นอกจากนี้ รศ.ดร.ชิต ยังแสดงทัศนะเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของอุตสาหกรรมไทยไว้อย่างน่าสนใจอีกว่า หากอุตสาหกรรม 3.0 หมายถึง การใช้ออโตเมชั่นและโรโบติกส์อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งหากว่ากันตามจริงแล้วอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่ยังก้าวไป ไม่ถึงจุดนั้น ฉะนั้น การตั้งเป้าว่าจะเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 จึง เสมือนเป็นการเรียนข้ามชั้นที่ยิ่งท�าให้การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เป็นเรื่องยากและใหญ่ หันไปทางไหนดูเหมือนเจอแต่อุปสรรค แต่มองอีกแง่หนึง่ ก็ถอื เป็นการลงทุนทีไ่ ด้เปรียบ เพราะปรับตัวกัน ครั้งใหญ่รอบเดียวแต่ได้ผลสัมฤทธิ์สูง “ตั้งเป้าให้สูงเข้าไว้ แม้ไปไม่ถึง อย่างน้อยก็เกือบถึง เรา ตั้งเป้าไว้ที่ 4.0 ถ้าไปไม่ถึง เราได้เป็นอุตสาหกรรม 3.5 ก็ยังดี” รศ.ดร.ชิต กล่าวไว้อย่างน่าสนใจ ในสถานการณ์ ที่ เ ทรนด์ โ ลกเปลี่ ย น ทั้ ง การเข้ า มาของ เทคโนโลยี ล�้ า สมั ย ในราคาจั บ ต้ อ งได้ ผนวกเข้ า กั บ วิ ก ฤต ขาดแคลนแรงงาน สถานการณ์ ‘Do It or Die’ นี้ ยิ่งท�าให้เรา ไม่ มี ท างเลื อ กใดนอกจากขึ้ น รถไฟแห่ ง การเปลี่ ย นแปลงนี้ ไปพร้อมกับชาติอื่นๆ

โอกาสของไทยอยู่ที่ชิ้นส่วน ไม่ใช่ตัวหุ่นยนต์

หุน่ ยนต์และแขนกลในภาคอุตสาหกรรมนัน้ ส่วนใหญ่มกั ถูก พูดถึงในมิติของการลงทุนซื้อหรือพัฒนาระบบเพื่อให้เข้ากับ อุตสาหกรรมและธุรกิจเดิม อาทิ การใช้ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์ ในอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม ยาง ชิ้นส่วนยานยนต์ หรือ โลจิสติกส์ ทว่ายังมีอีกมิติที่หลายฝ่ายมองว่าเป็นโอกาสทอง ของไทย นั่นคือ การปั้นตัวเองให้เป็นฮับหรือศูนย์กลางของการ ผลิตชิน้ ส่วนและประกอบหุน่ ยนต์เพือ่ ขายในประเทศและส่งออก ต่างประเทศ ทัง้ นี้ การจะลงทุนตัง้ โรงงานท�าหุน่ ยนต์ตอ้ งดูความ ต้องการของตลาดเป็นส�าคัญด้วย หากมองภาพรวมการผลิตหุ่นยนต์เมื่อเทียบกับเจ้าตลาด แล้ ว ประชากรหุ ่ น ยนต์ ใ นประเทศญี่ ปุ ่ น มี 50-60 ล้ า นตั ว สหรัฐอเมริกาประมาณ 30 ล้านตัว ส่วนในไทยยังมีเพียง 6 - 7 แสนตัว มีความต้องการหุน่ ยนต์ปลี ะประมาณ 6 - 8 พันตัว และมี แนวโน้มจะมีความต้องการมากขึน้ เป็น 2 - 3 หมืน่ ตัวต่อปีในอีก 2 ปีขา้ งหน้า แต่ทนี่ า่ สนใจกว่านัน้ คือ ข้อมูลที่ รศ.ดร.ชิต กล่าว ในเวทีสัมมนาว่า การจะลงทุนตั้งโรงงานผลิตหุ่นยนต์นั้่น แต่ละ โรงงานจะอยู่รอดได้ก็ต่อเมื่อขายได้ปีละ 5,000 ตัว เมื่อน�ามา เฉลี่ยกับแบรนด์ต่างๆ ที่ผลิตหุ่นยนต์อยู่แล้วในตลาดเกือบ 10 แบรนด์ นั่นเท่ากับว่าความต้องการซื้อหุ่นยนต์หรือแนวโน้ม ออร์เดอร์ที่มียังไม่เพียงพอ จน รศ.ดร.ชิต ฟันธงว่า “การตั้ง โรงงานผลิตหุ่นยนต์ไม่ใช่ทางของเรา” ทัง้ นี้ หากย้อนดูโมเดลการวางตัวเป็นฮับด้านการผลิตชิน้ ส่วน ยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ของอุตสาหกรรมไทยที่วางฐาน แข็งแกร่งทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพ จึงไม่ใช่เรือ่ งยากหากเราจะ ปรับตัวไปสูก่ ารผลิตชิน้ ส่วนหุน่ ยนต์ กล่าวคือ แทนทีจ่ ะผลิตหุน่ ยนต์ ก็ควรหันมาผลิตชิน้ ส่วนโดยไม่จา� เป็นต้องมีแบรนด์หนุ่ ยนต์ของ ตัวเอง แต่ทา� ‘พาร์ทส์’ ให้ดี และปัน้ ตัวเองเป็นฮับด้านนี้ เพราะ คู่แข่งน้อยกว่า ก�าไรมากกว่า และที่ส�าคัญ คือ ง่ายกว่า

42

Machine Tools & Metalworking

หากอุตสาหกรรม 3.0 หมายถึง การใช้ออโตเมชั่นและ โรโบติกส์อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งหากว่ากัน ตามจริงแล้วอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่ ยังก้าวไปไม่ถึงจุดนั้น ฉะนั้น การตั้งเป้าว่าจะเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 จึงเสมือนเป็นการเรียนข้ามชั้นที่ยิ่งท�าให้ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้เป็นเรื่องยาก และใหญ่ หันไปทางไหนดูเหมือนเจอแต่อุปสรรค แต่มองอีกแง่หนึ่งก็ถือเป็นการลงทุนที่ ได้เปรียบ เพราะปรับตัวกันครั้งใหญ่รอบเดียว แต่ ได้ผลสัมฤทธิ์สูง


หากย้อนดูโมเดลการวางตัวเป็นฮับ ด้านการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ ของอุตสาหกรรมไทยที่วางฐานแข็งแกร่ง ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ จึงไม่ใช่เรื่องยาก หากเราจะปรับตัวไปสู่การผลิตชิ้นส่วนหุ่นยนต์ กล่าวคือ แทนที่จะผลิตหุ่นยนต์ ก็ควรหันมาผลิตชิ้นส่วนโดยไม่จ�าเป็นต้องมี แบรนด์หุ่นยนต์ของตัวเอง แต่ท�า ‘พาร์ทส์’ ให้ดี และปั้นตัวเองเป็นฮับด้านนี้ เพราะคู่แข่งน้อยกว่า ก�าไรมากกว่า และที่ส�าคัญ คือ ง่ายกว่า

“หุน่ ยนต์ทงั้ ตัวเป็นสินค้าทีต่ น้ ทุนสูง แต่กา� ไรต�า่ เช่นเดียวกับ รถยนต์ รถยนต์ทั้งคันก�าไรเพียง 5% แต่ชิ้นส่วนยานยนต์ ก�าไร 30-40% นอกจากนี้ เรามี ศั ก ยภาพไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะไปแข่ ง ขั น ด้ า นฮาร์ ด แวร์ ห รื อ ซอฟต์ แวร์ กั บ รายใหญ่ ข องโลกที่ สั่ ง สม ประสบการณ์ ทั้งด้านองค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญ และเขาเจาะ ตลาดมา 30-40 ปี สู้ไปก็เจ็บตัว ดังนั้น การลงทุนด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์จึงไม่ใช่ค�าตอบ” รศ.ดร.ชิต เปรียบเทียบให้เห็น ภาพ

PUSH VS PULL: โยนเงินเข้าไป VS ดึงคนออกมา

ค�าว่า 4.0 มีคีย์เวิร์ดที่ความเป็นนวัตกรรม และนวัตกรรม จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการวิจัยและพัฒนา (R&D) ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ เพราะประเทศไทยมีสถาบันวิชาการและนักวิจยั มากมาย อีกทัง้ รัฐบาลยังให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง ทว่าในมุมมองของ รศ.ดร.ชิต กลับมองว่าสิ่งต่างๆ เหล่านี้ยังไม่ค่อยส่งผลเท่าไรนักในทางปฏิบัติ เช่นเดียวกับ ข้อครหา ‘วิจัยขึ้นหิ้ง’ ที่พูดติดปากใครหลายๆ คน ฉะนั้น การเปลี่ยนผ่านครั้งนี้ต้องไม่ใช่แค่ปฏิวัติระบบการ ผลิต แต่ต้องปฏิวัติกระทั่งการท�าวิจัยและพัฒนา จากเดิมเคยใช้ Push Model คือ การให้ทุนแก่นักวิจัย และน�าผลการวิจัย มาประยุกต์เข้ากับอุตสาหกรรม ซึ่ง รศ.ดร.ชิต มองว่า โมเดลนี้ ถูกพิสจู น์แล้วว่าไม่ได้ผล จึงต้องเปลีย่ นเป็น Pull Model ทีไ่ ม่ตอ้ ง โยนเงินทุนวิจัยเข้าไป แต่ดึงคนออกมา โดยให้เอกชนเป็น พระเอก ใช้ความต้องการของตลาดเป็นตัวตั้ง ส่วนนักวิชาการ หรืออาจารย์มหาวิทยาลัยอยูแ่ ถวสองเป็นก�าลังส�ารอง ท�าหน้าที่ สนับสนุนและให้ข้อมูลด้านองค์ความรู้ Pull Model จึงเป็นค�าตอบที่ Win-Win ทั้งฝ่ายวิชาการและ ผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ยังได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและ ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดได้อีกด้วย

โอกาสของวิศวกรไทยกับ ‘ค่าโง่’ ที่ ไม่ควรจะเสีย

การลงทุนผลิตและวางระบบหุ่นยนต์สามารถคิดค�านวณ คร่าวๆ เป็นค่าฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ได้ประมาณ 30-40% เป็นค่าออกแบบระบบอีกประมาณ 30% ที่เหลือคือ ค่ายี่ห้อ หรือที่ รศ.ดร.ชิต ใช้ค�าว่า ‘ค่าโง่’ อย่างที่กล่าวมาข้างต้น ในตลาดหุ่นยนต์ หากไทยไม่แข่ง เรื่องฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เรายังเหลือ ‘ค่าออกแบบระบบ’ และ ‘ค่าโง่’ เป็นช่องว่างทางการตลาดและเป็นโอกาสทองของ วิศวกรไทย ‘ค่าโง่’ ในทีน่ ี้ หมายถึง ค่าซ่อมบ�ารุงทีแ่ บรนด์ตา่ งๆ ยึดเอาไว้ ไม่ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี (Technology Transfer) ให้ลูกค้า กล่าวคือ ติดสัญญาทาส ผูกขาดเทคโนโลยี เราซื้อขาด หุน่ ยนต์และระบบเขามา แต่กลับต้องเซ็นสัญญาซ่อมบ�ารุงรายปี ให้แบรนด์นั้นๆ ด้วย “ผูป้ ระกอบการต้องซือ้ เป็น ต้องเลือกอย่างฉลาด ไม่ใช่เห็นว่า เป็นของนอกแล้วจะดีทั้งหมด เราต้องรู้ว่าเราต้องการอะไร และ แบรนด์ไหนรุ่นไหนตอบโจทย์เรา ที่ส�าคัญคือ ต้องซ่อมเป็น ต้องไม่ติดสัญญาทาส ค่าซ่อมบ�ารุงเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายที่มี นัยส�าคัญ ฉะนั้น ซื้อแล้วต้องส่งต่อความรู้ด้านเทคโนโลยีด้วย ให้เราซ่อมบ�ารุงเองได้ ปรับประยุกต์ได้ โมดิฟายด์ระบบได้” รศ.ดร.ชิต กล่าวไว้อย่างน่าสนใจ

january/february 2017

43


ฉะนั้น เทรนด์ความต้องการซื้อและลงทุนหุ่นยนต์ในภาค อุตสาหกรรมของไทยปีละ 2-3 หมื่นตัวนั้น นับว่าเป็นตลาด ใหญ่ และมีมูลค่า รศ.ดร.ชิต เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ รายวันนี้ ไม่ได้ไฮเทคเกินความสามารถของวิศวกรและช่าง เทคนิคของไทยที่มีศักยภาพในการออกแบบ ซ่อมบ�ารุง และ ปรับประยุกต์ระบบ ซึ่งถ้าคนของเราท�าได้ก็ไม่ต้องเสียค่าโง่ให้ แบรนด์ต่างประเทศอีกต่อไป เหตุนี้เอง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นหัวใจส�าคัญ นอกจากวิศวกรต้องขยันอัพเดทตัวเองให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ามาแล้ว ยังมีแรงงานเดิมที่ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบ อนาคตพวกเขาด้ ว ยการพั ฒ นาทั ก ษะหรื อ ฝี มื อ แรงงานให้ สอดคล้องกับเครื่องมือเครื่องจักรและระบบใหม่ๆ “ทุกการเปลี่ยนแปลง ย่อมท�าให้องค์กรบาดเจ็บ ฉะนั้น ต้องบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้ดี จัดคนที่ตัวเองมีให้อยู่ถูกที่ ถูกทางและเหมาะสม องค์กรจะรอดหรือไม่รอด วัดกันที่ตรงนี้” รศ.ดร.ชิต กล่าวทิ้งท้าย เหมือนค�าถามโลกแตกที่ว่า คอมพิวเตอร์กับคน ใครฉลาด กว่ากัน? หลายครั้ง คอมพิวเตอร์ฉลาดกว่า แต่อย่างไรก็ตาม คน คือ ผู้คิดค้น พัฒนา ซ่อมแซม และวางระบบคอมพิวเตอร์ ฉะนั้่น ถึงแม้ประเทศก�าลังอยูใ่ นวิกฤตแรงงานขาดแคลน แต่การพัฒนา ฝีมือคนก็ถือว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนกว่าการพึ่งพิงเพียงระบบ คอมพิวเตอร์ในระยะยาว

44

Machine Tools & Metalworking

EXECUTIVE SUMMARY

A

sst. Prof. Ph.D. Chit Lhaowattana, Advisor to Institute of Field Robotics, King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) described under the topic 'Turn Over Engineering Toward Digital 4.0 Era, Robotic Opportunity – Labor Crisis Survival’ within THE GRAND METALEX 2016, arranged by REED TRADEX. Some main substance indicated that robots and robotic arms in industrial sector were mostly talked about the investment dimension or system development to suit existing industries and business i.e. using automation system and robot in food, beverage, tire, automobile part or logistics industry. However, there was another dimension several key players considering as the golden opportunity of Thailand which was to conduct ourselves as the robotic part and robot assembling hub or center for domestic sell and oversea export. In addition, making investment to put up robot manufacturing factory was required to primarily consider the market demand as well.


เรื่อง: Udo Schnell แปล/เรียบเรียง: อิทธิเทพ อมาตยกุล

special feature / medical device technology การปรับใช้: การที่จะปรับใช้เพื่อให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลนั้นนับว่าเป็นความพยายาม อย่างสูงของเทคโนโลยีทางการแพทย์ (ในรูป : แสดงถึงการทดลองเพือ่ ค้นหาเสถียรภาพ เบื้องต้นของเบ้าสะโพกเทียมที่ถูกกระท�ากับจากแรงกระแทกต่างๆ ) รูป: คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย Rostock

Advance Medical Technology A Closer Relate to Manufacturing Process เทคโนโลยีทางการแพทย์ และการผลิต ที่เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด

นวัตกรรมผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงส�าหรับแต่ละปัจเจกบุคคล ถื อ เป็ น ความต้ อ งการที่ ส� า คั ญ ของเทคโนโลยี ก ารแพทย์ ผูป้ ระกอบการจะสามารถจัดการประสานความต้องการดังกล่าว กับเทคโนโลยีการผลิตที่ใช้และเป็นที่ยอมรับกันอยู่ในเวลานี้ได้ อย่างไรนั้น? ค�าตอบเหล่านี้ได้ถูกน�ามาจัดแสดงไว้ในสาขาการ แพทย์ (Medical Area) ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ขนาดผลิตภัณฑ์ที่เล็กลง การเปลี่ยน จากการตอบโจทย์ดว้ ยผลิตภัณฑ์เพียงอย่างเดียว (Pure Product Solutions) เป็นการแก้ปญ ั หาเชิงระบบและกระบวนการ (System and Process Solutions) การสนธิเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ เข้ากับเทคโนโลยีการสื่อสาร ความเป็นส่วนตัวและเป็นเอกเทศ ทั้งหมดนี้เป็นแนวโน้มที่ก�าหนดถึงงานด้านเทคโนโลยีทางการ แพทย์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน การเชื่อมโยงที่ใกล้ชิดของเทคโนโลยีทางการแพทย์และ เทคโนโลยีทางการผลิต เป็นหัวข้อของสาขาการแพทย์ที่จัดขึ้น ภายในงานงานนิทรรศการ International Exhibition for Metalworking (Metav) เมือง Duesseldorf ด้วยอัตราการเติบโตทีเ่ พิม่ สูงขึ้นของเทคโนโลยีทางการแพทย์ ซึ่งเป็นกลุ่มของลูกค้าที่ให้ ความส�าคัญอย่างมากในด้านของคุณภาพ ความปลอดภัย และ ความน่าเชือ่ ถือได้ สิง่ เหล่านีต้ อ้ งการเทคโนโลยีของกระบวนการ (Process Technologies) ทีส่ ามารถจะให้ความแม่นย�าและความ ถูกต้องสมบูรณ์สา� หรับแต่ละขัน้ ตอนของการผลิตได้ ไม่วา่ จะเป็น การผลิตแบบชิ้นเดียวหรือแบบการผลิตเป็นจ�านวนมาก Mr. Lothar Horn ซึ่งเป็น CEO ของบริษัท HartmetallWerkzeugfabrik Paul Horn จากเมือง Tuebingen และประธาน กลุ่มของ VDMA Specialist Group Precision Tools เขาได้ กล่าวว่า “ส�ำหรับเครื่องบินนั้นงำนขึ้นรูปส่วนใหญ่ คือ งำนเจำะ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับธุรกิจด้ำนเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์แล้ว งำนขึน้ รูปส่วนใหญ่จะเป็นงำนกลึงและงำนกัด แต่หำกพิจำรณำ ในแง่ของมูลค่ำนั้นประมำณ 50% จำกยอดขำยรวมของบริษัท จำก Tuebingen จะมำจำกอุตสำหกรรมยำนยนต์และประมำณ 15% มำจำกธุรกิจด้ำนเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ โดยเฉพำะ อย่ำงยิ่งจะมำจำกควำมต้องกำรจำกทั่วโลกในกำรใช้อุปกรณ์

เมื่อพิจารณาถึงความต้องการต่างๆ แล้ว จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางการแพทย์ มีลักษณะร่วมที่เหมือนกับภาคอุตสาหกรรม การบินอยู่หลายประการ กล่าวคือ มีความต้องการเครื่องมือ (Tools) เพิ่มสูงขึ้น ส�าหรับการน�ามาใช้กับงานตัดขึ้นรูปแบบมีเศษ กับวัสดุที่ท�างานได้ยากและมีราคาสูงมากขึ้น january/february 2017

45


ทีฝ่ งั ในร่ำงกำย (Implant) และกำรใส่อวัยวะเทียม ท�ำให้งำนด้ำน กำรขึ้นรูปเติบโตสูงขึ้นถึงประมำณ 5% ต่อปีต่อเนื่องมำตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1995” ความเชี่ ย วชาญเฉพาะทางด้ า นหนึ่ ง ของบริ ษั ท จาก Tuebingen คือ การพัฒนา ‘Tailor-made Tools’ ตามข้อก�าหนด ของลูกค้า Mr. Horn ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า “ส�ำหรับลูกค้ำรำยหนึ่ง ซึ่ง ยึดมั่นอย่ำงมำกกับควำมส�ำคัญของควำมสำมำรถในกำรผลิต เพื่อตอบสนองต่อควำมต้องกำรดังกล่ำว บริษัทฯ จึงได้ท�ำกำร พัฒนำ Milling Tools ขึ้นมำโดยเฉพำะ เพื่อใช้ส�ำหรับงำนท�ำ ข้อสะโพกเทียม โดยได้ท�ำกำรพัฒนำจำกเครื่องมือตัดระบบ สำมคมตัด (Three – Cutting – Edge System) ให้เพิ่มเป็นระบบ หกคมตัด (Six – Cutting – Edge System) ท�ำให้ควำมสำมำรถ ในกำรผลิตเพิ่มขึ้นอีก 30% ซึ่งโดยทั่วไปแล้วควำมส�ำเร็จของ กำรปรับปรุงกระบวนกำรทีใ่ ห้ผลตอบรับมำกอย่ำงนีจ้ ะเกิดขึน้ ได้ ก็เฉพำะเมื่อมีควำมร่วมมืออย่ำงใกล้ชิดกับเจ้ำของงำน” ทั้งนี้ การเลือกเครื่องมือที่น�ามาใช้งานส�าหรับงานด้าน เทคโนโลยีทางการแพทย์จากแคตตาล็อกนัน้ จะเกิดขึน้ น้อยมาก Mr. Horn อธิบายเพิ่มเติมว่า “เกือบจะตลอดเวลำที่เรำต้อง ท�ำกำรปรับผลิตภัณฑ์ของเรำให้ตรงกับลักษณะกำรน�ำไปใช้งำน และนั่นเป็นสิ่งที่ยืนยันว่ำเรำเป็น German Engineering Artistry ส�ำหรับตลำดในประเทศ” อย่ า งไรก็ ต าม ผู ้ ใ ดที่ มี ค วามส� า เร็ จ ในการท� า เช่ น นี้ ไ ด้ จะสามารถรั ก ษาสถานภาพทางตลาดของตนในระดั บ โลก ไว้ได้ Mr. Horn ได้เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนค�ากล่าวอ้างดังกล่าว ด้วยประสบการณ์ที่ได้จากตลาดในตะวันออกไกล: ลูกค้าจาก บริเวณพื้นที่ป่าด�า (Black Forest) ของบริษัท Horn รายหนึ่ง เป็นตัวอย่างที่ประสบความส�าเร็จจากการที่ได้ยอดการผลิต ทีเ่ สียให้ไปกับผูป้ ระกอบการจากจีนกลับคืนมา โดยการเพิม่ ความ สามารถในการผลิตของตนขึ้น: ปัจจุบันนี้ลูกค้ารายนี้สามารถ ผลิตสกรูขันกระดูก (Bone Screw) ได้ถึงเกือบ 500 ล้านชิ้น ต่อปี โดยมีราคาต�า่ กว่าทีผ่ ลิตจากจีน ความลับของความส�าเร็จนี้ อยู่ที่การจับคู่กันอย่างแม่นย�าของเครื่องมือกล ตัวจับเครื่องมือ (Tool-Holder) และเครื่องมือ ซึ่งน�าไปสู่คุณภาพและผลผลิต ที่สูงขึ้นอย่างมีนัย เป็นเรื่องที่เราได้รับการเปิดเผย ความต้องการของเครื่องมือได้ถูกก�าหนดให้มีความเข้มงวด มากขึ้นจากลูกค้าของบริษัท Fraisa GmbH จากเมือง Willich โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการแพทย์นั้น ถือเป็นความท้าทายของผูป้ ระกอบการ ในการสร้างเครือ่ งมือ เช่น เพื่อใช้ส�าหรับท�าการผลิตเครื่องมือผ่าตัดจากเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel, High-alloy Austenitic Steel เช่น EN1.4301 (ASTM 304)) ส�าหรับการผลิตอุปกรณ์ที่ฝังในร่างกายมนุษย์

ซึ่งท�าจาก Titanium หรือ Cobalt Chromium (CoCr) Alloy และ อุปกรณ์ที่ท�าจาก Carbon Fibre Composite Materials (CFRP)

ข้อก�าหนดที่ส�าคัญ คือ ความแม่นย�าในการท�าซ�้า และกระบวนการได้รับยืนยันความถูกต้อง

Mr. Michael Ohlig ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาดได้ อธิบายไว้ “กลุ่มลูกค้ำยังยึดมั่นอย่ำงมำกที่จะให้ควำมส�ำคัญ กับอัตรำกำรก�ำจัดเนือ้ วัสดุทสี่ งู และมีอำยุกำรใช้งำนนำน ทัง้ นี้ เนื่องจำกส่วนมำกแล้วตำมขั้นตอนจะต้องมีกำรตำมเก็บงำน ที่ตัวชิ้นงำน ส่งผลให้ควำมส�ำคัญด้ำนคุณภำพผิวของชิ้นงำน เป็นเรื่องรองลงไป” Mr. Ohlig กล่าวต่อไปว่า “ผู้ผลิตบำงรำยนิยมที่จะไม่ท�ำผิว ของอุปกรณ์ที่ฝังในร่ำงกำยมนุษย์ให้มีควำมเรียบมัน หำกแต่ ตั้งใจจะให้ผิวมีควำมหยำบอยู่บ้ำง แนวโน้มอย่ำงหนึ่งส�ำหรับ สำขำนี้ในปัจจุบัน คือ เทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ส่วนบุคคล ซึ่งมีโจทย์ว่ำ เรำสำมำรถจะผลิตอุปกรณ์ที่ฝังในร่ำงกำยมนุษย์ ให้เป็นเอกเทศเฉพำะตัวบุคคลได้อย่ำงไร? ค�ำถำมนี้เป็นค�ำถำม ซึ่งผู้เชี่ยวชำญทั้งนักวิจัยและนักอุตสำหกรรมพยำยำมที่จะให้ เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมสำขำกำรแพทย์ โดยมีเจตนำที่จะ แสดงให้เห็นตัวอย่ำงว่ำสำมำรถจะท�ำกำรผลิตเพียงชิ้นเดียว (Batch size 1) ได้อย่ำงไรในด้ำนของเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ กับกระบวนกำรผลิตแบบดัง้ เดิม ส�ำหรับควำมเป็นส่วนบุคคลนัน้ เป็นเรื่องที่กระทบโดยตรงของห้องทดลองงำนวิจัย Research Laboratory for Biomechanics And Implant Technology (Forschungslabor fuer Biomechanik und Implantattechnologie [Forbiomit]) ที่คณะแพทยศำสตร์ มหำวิทยำลัย Rostock” Prof. Dr. Med. Habil. Dipl.-Ing. Rainer Bader หัวหน้า ห้องทดลองได้อธิบายว่า “เงื่อนไขขอบเขตมีกำรเปลี่ยนแปลง อย่ำงมำกส�ำหรับผูป้ ว่ ยแต่ละรำย เมือ่ พิจำรณำถึงกำรฝังอุปกรณ์ ทำงด้ำนศัลยกรรมกระดูก ก่อนทีจ่ ะมีกำรผลิตอุปกรณ์ให้กบั ผูป้ ว่ ย แต่ละรำยนัน้ จะต้องมีกำรจ�ำลองทำงดิจทิ ลั ก่อน เพือ่ ตรวจสอบ ว่ำอุปกรณ์ที่จะถูกฝังนี้จะรับควำมเครียดที่เกิดขึ้นอย่ำงใด” ปัจจุบันยังขาดแบบจ�าลองมาตรฐานส�าหรับใช้กับมนุษย์ ที่ครอบคลุมคุณลักษณะอันเป็นเอกเทศของผู้ป่วยแต่ละราย พร้อมกับมีความเหมาะสมกับเทคโนโลยีทางการแพทย์ส่วน บุคคล ซึ่งนี่ก็คือ ทิศทางงานวิจัยของนักวิจัยที่เมือง Rostock โดยใช้การจ�าลองทีค่ ล้ายกับการประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเรียกว่า ‘Hardware-In-The-Loop (Hil)-Simulations’ ท�าการ จ�าลองส�าหรับข้อสะโพกเทียม และข้อเข่าเทียม (Hip And Knee Endoprostheses) อย่างมีการปฏิสัมพันธ์ (In-The-Loop) ระหว่างหุ่นยนต์ (Hardware) กับแบบจ�าลอง Digital Multi-Body Model ของโครงกระดูกรยางค์ล่าง (Lower Extremity)

การรวมกันของวัสดุโครงสร้าง และคุณสมบัติตรงกับการใช้งานเข้าด้วยกัน

ประมาณ 30-40% ของความต้องการจะเป็น ของเครื่องมือพิเศษ ทว่าสิ่งที่ส�าคัญเป็นอย่างยิ่ง คือ ความแม่นย�าในการท�าซ�้า มีผลิตภัณฑ์ พร้อมอยู่เสมอ และกระบวนการผลิต ที่ได้รับการยืนยันความถูกต้อง 46

Machine Tools & Metalworking

ด้วยระยะเวลาถึง 4 ปีที่ “Fraunhofer Institute for Machine Tools and Forming Technology (Fraunhofer Institut fuer Werkzeugmachinen and Umformtechnik; IWU) ที่เมือง Chemnitz และ Dresden ได้พยำยำมทีจ่ ะค้นคว้ำวิจยั และพัฒนำ ในด้ำนเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ นอกเหนือไปจำกกระบวนกำร แบบเยเนอเรทิฟ (Generative Process) เช่น กำรหลอมด้วย ล�ำแสงเลเซอร์ (Laser Beam Melting) เป้ำหมำยของสถำบัน แห่งนีบ้ ำงส่วนจะเกีย่ วข้องกับ ‘กำรผลิตเพียงชิน้ เดียว’ อีกทัง้ ยังมี ส่วนทีเ่ รียกว่ำ Unconventional Material Compounds ซึง่ จะรวมถึง


วั ส ดุ ที่ ไ ด้ ท� ำ กำรสนธิ วั ส ดุ ที่ คุ ณ สมบั ติ เ หมำะสมกั บ ลั ก ษณะ กำรใช้งำน (Integrated Functional Materials)” Prof. Dr.-Ing. Welf-Guntram Drossel ซึง่ เป็นผูอ้ ำ� นวยกำร ของงำนวิจัยด้ำน Mechatronics And Functional Lightweight Construction ได้กล่ำวว่ำ “เรำได้ท�ำกำรสนธิ เช่น ShapeMemory Element เข้ำกับชิน้ ส่วนทีจ่ ะถูกฝังในร่ำงกำยมนุษย์ เพือ่ ที่จะรักษำให้แรงกดที่ผิวสัมผัสกับกระดูกเกิดขึ้นอย่ำงสม�่ำเสมอ เป็นลักษณะเดียวกัน ท�ำให้เกิดกำรปรับให้สอดคล้องกับกำร เปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขต่ำงๆ ได้อย่ำงโดยตรงและเป็นอิสระ ดังนัน้ จึงเป็นกำรรวมกันของวัสดุโครงสร้ำงและมีควำมเหมำะสม กับกำรใช้งำนเข้ำด้วยกัน นั่นก็คือกำรน�ำเทคโนโลยีและวัสดุ มำประสำนกันอย่ำงสอดคล้อง” บริษทั Datron Ag เมือง Muehtal ได้มกี ำรพัฒนำ Processing Centre พิเศษเฉพำะทำง (Specially Tailored Processing Centre) ส�ำหรับช่ำงทันตกรรมและทันตแพทย์ ถูกสร้ำงขึ้นมำโดยเฉพำะ ส�ำหรับงำนด้ำนเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ส่วนบุคคล ทั้งนี้ Mr. Frank Fuchs ซึ่งเป็นผู้จัดกำรด้ำนผลิตภัณฑ์ Dental CAD/CAM System ได้กล่ำวว่ำ “ควำมท้ำทำยอยู่ที่กำร พัฒนำเครื่องจักรที่สำมำรถปรับให้เข้ำกับวัสดุหลำกหลำยชนิด ที่ถูกน�ำมำใช้งำน และให้เข้ำกับลูกค้ำในกลุ่มงำนทันตกรรม ซึ่ง ทัว่ ไปแล้วไม่มคี วำมรูท้ เี่ กีย่ วกับกำรโปรแกรมและกำรขึน้ รูป เนือ่ ง ด้วยงำนกำรผลิตในด้ำนทันตกรรมนั้น จะต้องท�ำงำนกับวัสดุที่ หลำกหลำย เช่น พลำสติก Zirconium Oxide หรือ Titanium” Mr. Fuchs ได้กล่ำวต่อไปว่ำ “เรำมีลูกค้ำซื้อเครื่องจักร ส�ำหรับงำนทันตกรรม เพื่อน�ำไปใช้ในกำรสร้ำง เช่น อุปกรณ์ กระดูกส�ำหรับฝังในร่ำงกำย และนีก่ เ็ ป็นอีกครัง้ หนึง่ ทีเ่ รำจะต้อง ท�ำงำนกับวัสดุที่แตกต่ำงออกไปอย่ำงสิ้นเชิง”

สาขาในงานนิทรรศการ Metav โอกาสที่จะได้พบกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

ผู้ร่วมด�ำเนินงำนรำยหนึ่งของ Medical Area ก็คือ VDMA working group Medical Technology ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมำ กลุ่ม งำนนี้วำงต�ำแหน่งของตนเองไว้ให้เป็นเวทีส�ำหรับกำรค้นหำ ปัญหำต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตด้ำนเทคโนโลยีทำงกำร แพทย์ Mr. Juergen Lindenberg, CEO บริษทั Citizen Machinery Europe GmbH จำกเมือง Essinglen และเป็นสมำชิกของกลุ่ม งำน ได้กล่ำวถึงเรื่องนี้ว่ำ “สำขำใหม่ที่งำนนิทรรศกำร Metav เป็นโอกำสทีด่ ใี นกำรทีจ่ ะได้แลกเปลีย่ นควำมคิดเห็นได้อย่ำงตรง เป้ำหมำยกับลูกค้ำจำกกลุ่มต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกัน เรำต้องกำร ที่จะท�ำควำมเข้ำใจกับควำมต้องกำรต่ำงๆ ทำงด้ำนเทคโนโลยี

กำรแพทย์ให้ลึกซึ้งมำกขึ้น และต้องกำรที่จะเสนอขีดควำม สำมำรถที่ส�ำคัญของเรำทำงด้ำนกำรขึ้นรูประดับไมโคร (Micro Machining) ให้กับกลุ่มลูกค้ำเหล่ำนี้ งำนนิทรรศกำร Metav นี้ จึงเป็นกำรเปิดโอกำสที่ดี” สำขำเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ส�ำหรับภูมิภำคนี้ได้รับกำร สนับสนุนจำก Cluster Medizin – Technik. NRW ที่ตั้งอยู่ที่ เมือง Duesseldorf ทั้งนี้ CEO คือ Dr. Oliver Lehmkuehler ได้ให้ควำมเห็นว่ำ “สำขำกำรแพทย์ (Medical Area) ของงำน นิทรรศกำร Metav ได้ท�ำกำรรวมภำคอุตสำหกรรมหลักของ รัฐ North Rhine-Westphalia ได้แก่ เทคโนโลยีกำรขึ้นรูปโลหะ และเทคโนโลยีทำงกำรแพทย์เข้ำด้วยกัน แนวทำงนี้เป็นกำร เน้นถึงเทคโนโลยีคุณภำพสูงจำก North Rhine-Westphalia (NRW) และผลิตภัณฑ์ทำงด้ำนกำรแพทย์ซงึ่ ผลิตจำกเทคโนโลยีนี้ ในฐำนะทีเ่ ป็นผูร้ ว่ มมือกับ Medical Area เรำจึงมีควำมยินดีทจี่ ะ สำมำรถท�ำให้ผปู้ ระกอบกำรทีม่ นี วัตกรรมระดับสูงจำกรัฐ North Rhine-Westphalia ซึ่งมีบทบำทส�ำคัญในกำรเชื่อมประสำนนี้ ได้มีวิสัยทัศน์ที่ดีขึ้น” เป็นที่ชัดเจนว่ำ Mr. Ulrich Krenzer ซึ่งเป็น CEO ของ บริษัท Mapal Competence Center VHM, Miller จำกเมือง Altenstadt มีควำมมั่นใจกับกรอบควำมคิดใหม่นี้ และได้กล่ำว เพิ่มเติมว่ำ “เทคโนโลยีทำงกำรแพทย์แสดงให้เห็นถึงศักยภำพ ที่มีอยู่อย่ำงมำกมำย แต่ทั้งนี้ก็เรียกร้องถึงกำรพัฒนำแนวทำง แก้ปัญหำของตัวเอง ตัวอย่ำงเช่น ในงำนทันตกรรมที่ต้อง พิจำรณำถึงกำรปรับปรุงรูปทรงและวัสดุที่จะน�ำมำใช้เป็นคมตัด เรำรูส้ กึ ยินดีมำกทีก่ ลุม่ อุตสำหกรรมนีไ้ ด้ถกู น�ำเสนอในสำขำของ ตัวเองในงำนนิทรรศกำร Metav 2016 ครั้งนี้” Source: - Masachinenmarkt-2016-001

EXECUTIVE SUMMARY

M

edical technology development rate is climbing up which this sector’s customer gives priority to quality, security and reliability. These factors are needed process technologies that could drive each procedure of manufacturing process with precision and perfection. As you can see, the medical technology is sharing many specification with aviation industry. For example, it’s needed more tools to forming material with some bit and hard to control material which the cost is raising. By 30-40% of the demand is special tool requirement. The most important feature is a precision for repeat and stock must be readied all the time and manufacturing process could identify the product’s correctness. Every factors are going to be a trend for technology development to support manufacturing industry and medical industry, particularly the advance medical device.

january/february 2017

47


special feature / software technology

เรื่อง: Peter Stipp แปล/เรียบเรียง: อิทธิเทพ อมาตยกุล

ซอฟต์แวร์ส�ำหรับงำนทดสอบวัสดุ จะควบคุมแต่ละขั้นตอนที่ระบบทดสอบกระท�ำ และยังเอื้อต่อกำรท�ำงำนร่วมกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระนำบ กำรท�ำงำนที่สูงกว่ำ

Test-Xpert II ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุหนึ่งเดียวของ Zwick ที่ตอบโจทย์งานประกันคุณภาพ ความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งของการใช้ วัสดุชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติสูงขึ้น ท�าให้ข้อก�าหนดต่างๆ เกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ มี ค วามเข้ ม งวดมากขึ้ น โดยเฉพาะการประกั น คุ ณ ภาพ ส่ ง ผลต่ อ เนื่ อ งมาถึ ง ซอฟต์แวร์ส�าหรับงานทดสอบที่น�ามาใช้ จ�าเป็นต้อง รองรับการทดสอบต่างๆ ที่ใช้ข้อก�าหนดตามมาตรฐาน การทดสอบ และรองรับข้อก�าหนดทีใ่ ช้สา� หรับการทดสอบ รูปแบบต่างๆ ไปจนกระทั่งถึงการปรับปรุงซอฟต์แวร์ ให้เป็นไปตามความต้องการเฉพาะของผู้ใช้งาน การพัฒนาใหม่ๆ ในสาขาโลหะวิทยานั้นเป็นความ มุ่งมั่นเพื่อการรองรับการสร้าง ‘โครงสร้างเบา’ ส�าหรับ ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของทั้ ง กระบวนการผลิ ต และศู น ย์ ก ลางของห่ ว งโซ่ อุปทาน (Supply Chain Center) บริษัทผู้ผลิตวัสดุโลหะ ที่ต้องการความได้เปรียบจากคู่แข่งขันที่มีเพิ่มมากขึ้น 48

Machine Tools & Metalworking

ในตลาดโลกนั้น ท�าให้ผลิตภัณฑ์ต้องมีความแตกต่าง จากคู่แข่ง ซึ่งหากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อก�าหนดด้าน สมรรถนะของผลิ ต ภั ณ ฑ์ บทบาทของคุ ณ สมบั ติ ท าง กายภาพ และความเป็นไปได้ในการใช้งานรูปแบบใหม่ ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้กลายเป็นข้อก�าหนด ต่างๆ ที่ตามมาส�าหรับการทดสอบวัสดุ Mr. Manfred Goblirsch ผู ้ จั ด การผลิ ต ภั ณ ฑ์ ซอฟต์แวร์ส�าหรับงานทดสอบวัสดุ Test-Xpert บริษัท ผู้ผลิตเครื่องมือทดสอบวัสดุ Zwick จากเมือง Ulm ได้ กล่าวว่า “การแสดงคุณสมบัติของวัสดุได้อย่างครบถ้วน นับว่าเป็นส่วนส�าคัญ ทั้งช่วงวงรอบพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการประกันคุณภาพ ทัง้ นี้ พวกเราเข้าใจดีวา่ ทัง้ หมดนี้ กระบวนการทดสอบต้องไม่ส่งผลเสียต่อสมรรถนะของ การผลิต


ส�าหรับการแก้ไขปัญหาที่ท้าทายเช่นนี้ ผู้ใช้งานจะ ได้รับการสนับสนุนการท�างานด้วยการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทีอ่ อกแบบขึน้ มาโดยเฉพาะส�าหรับการทดสอบวัสดุ และ ตอบโจทย์ของงานประกันคุณภาพ ดังนั้น ซอฟต์แวร์ จึงสามารถทีจ่ ะควบคุม เช่น ควบคุมแต่ละขัน้ ตอนทีร่ ะบบ ทดสอบกระท�า และยังเอื้อต่อการท�างานร่วมกับระบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระนาบการท�างานที่สูงกว่า”

Zwick มุ่งลดข้อผิดพลาด เพิ่มความต่อเนื่อง

ผู ้ ป ระกอบการที่ มี ที่ ตั้ ง ส� า นั ก งานอยู ่ ต ามสถานที่ ต่างๆ ทั่วโลก พยายามจะมุ่งเน้นให้วิธีการ และขั้นตอน ของการทดสอบมีมาตรฐานเดียวกัน ด้วยเหตุนี้บริษัท Zwick จึ ง ได้ น� า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท� า ให้ ก ระบวนการ ทดสอบมีความกลมกลืนกันอย่างเหมาะสมที่สุด ผลที่ได้ ก็คือ การลดข้อผิดพลาดที่มักจะเกิดขึ้น และเพิ่มความ ต่อเนื่อง ด้วยการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใหม่แบบ Corporate License ท�าให้กลุ่มบริษัทที่ท�างานอยู่ตามสถานที่ต่างๆ ทั่วโลก สามารถที่จะประสานงานเกี่ยวกับข้อก�าหนด ส�าหรับการทดสอบได้จากส่วนกลาง และท้ายสุดจัดส่ง ไปยั ง ส� า นั ก งานที่ อ ยู ่ ค นละแห่ ง กั น ได้ ผ ่ า นทางระบบ เครือข่ายขององค์กร นอกจากนี้ Zwick ยั ง เสนอการสั ม มนาพิ เ ศษ เพื่อสนับสนุนการใช้งานของผู้ที่ใช้งานใหม่ เช่นเดียว กั บ การอธิ บ ายข้ อ ซั ก ถามต่ า งๆ ของช่ า งเทคนิ ค ที่ มี ประสบการณ์ในการใช้งานมาแล้ว เช่น ค�าถามเกี่ยวกับ แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพในการท�างาน ทั้งนี้ ซอฟต์แวร์เวอร์ชั่นใหม่ได้ถูกจัดท�าขึ้น เพื่อให้ ผู้ใช้งานเริ่มการท�างานทดสอบที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เมื่ อ เปิ ด ระบบทดสอบ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถจั ด การกั บ สิทธิ์ของผู้ใช้งานในระดับต่างๆ จึงเป็นการรองรับให้กับ ผู้บริหารโดยเฉพาะหัวหน้าห้องทดสอบ ซึ่งจะต้องมีการ ปรับเปลี่ยนการจัดสรรการใช้ทรัพยากรของห้องทดสอบ หลายครั้งในแต่ละวัน

จำกกำรเปิดเผยของลูกค้ำเกี่ยวกับฟังก์ชั่น Corporate License นั้น พบว่ำ มีส่วนช่วย ในกำรท�ำงำนอย่ำงมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกับกำร ประสำนกำรท�ำงำนเพื่อกำรทดสอบด้วยวิธีวนรอบ (Round Robin Test) ด้วยฟังก์ชั่น Corporate License ท�าให้ห้องแล็บทดสอบกลางสามารถก�าหนด เช่น รูปแบบของ User Interface บนจอ ตามที่ต้องการ รวมทั้งสามารถที่จะปรับเพิ่มลดให้ เหมาะสมกับแต่ละแห่งตามสถานที่ต่างๆ กันได้ทั่วโลก

Test-Xpert ได้รวมโปรแกรม กำรทดสอบไว้มำกกว่ำ 600 โปรแกรม ผู้ ใช้งานจึงสามารถใช้โปรแกรมทดสอบ ที่มีอยู่ท�าการทดสอบต่างๆ ได้มากกว่า 900 มาตรฐาน กว่า 600 โปรแกรม รองรับการทดสอบมากกว่า 900 มาตรฐาน

ในขณะที่ ก ารเปลี่ ย นแปลงความต้ อ งการตาม ระดับของผู้ใช้เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง เป็นเหตุให้ User Interface ต้องใช้งานง่าย ส่วนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผล ต่อการออกแบบซอฟต์แวร์ Test-Xpert II คือ การเพิ่ม ประสิทธิภาพการทดสอบ ที่ท�าโดย Storage ของ Test Station ผู้ใช้งานเพียงแต่ต้องท�าการเลือกข้อก�าหนดการ ทดสอบที่จะใช้งานขึ้นมา ตัวซอฟต์แวร์จะด�าเนินการ ก�าหนดสิ่งที่เกี่ยวข้องส�าหรับการท�างานทดสอบ ได้แก่ เซ็นเซอร์วัดแรง ตัวจับชิ้นงานทดสอบ หรือแผ่น Plate ทิศทางของการทดสอบ และ Testing Room โดยอัตโนมัติ เนื่องด้วยซอฟต์แวร์ Test-Xpert ได้รวมโปรแกรมการ ทดสอบไว้มากกว่า 600 โปรแกรม ผู้ใช้งานจึงสามารถใช้ โปรแกรมทดสอบทีม่ อี ยูท่ า� การทดสอบต่าง ๆ ได้มากกว่า 900 มาตรฐาน อีกทั้ง มีการเปลี่ยนชื่อเรียกต่างๆ โดย อัตโนมัติ ท�าให้ซอฟต์แวร์จะเลือกใช้คา� เรียกทีต่ รงกับการ ใช้งานของผู้ใช้งานใช้ได้อย่างถูกต้อง การแสดงหน่วยวัด จะเป็นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ใช้ ทั้งนี้ ส�าหรับผู้ใช้งานที่มีปริมาณงานทดสอบจ�านวน มาก จะได้ประโยชน์มากขึ้นจากการจัดเตรียมโปรแกรม ทดสอบมาตรฐานเอาไว้ เนือ่ งด้วยรายงานผลการทดสอบ จะถูกก�าหนดไว้จากมาตรฐานที่ใช้งานไปด้วยพร้อมกัน

Test-Xpert II ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุ หนึ่งเดียวของ Zwick

ส� า หรั บ ห้ อ งทดสอบที่ ท� า งานกั บ มาตรฐานที่ มี อ ยู ่ อย่างหลากหลายนัน้ จะมี Master Test Program ส�าหรับ การทดสอบต่างๆ รองรับการใช้งาน ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานที่หลากหลายจ�านวนมาก ไม่ว่าจะเป็นการ ทดสอบ แรงดึง แรงกด แรงบิด และแรงเฉือน การทดสอบ แบบเป็นวงรอบ และแบบต่อเนื่อง เช่นเดียวกับการ ทดสอบด้วย Pendulum Swing และทดสอบความแข็ง

Mr. Manfred Goblirsch ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ User Interface ของซอฟต์แวร์ส�ำหรับงำนทดสอบนี้ จะติดตั้ง Touchpanel เป็นอุปกรณ์เผื่อเลือกส�ำหรับป้อนค่ำผ่ำนทำง Touchdisplay january/february 2017

49


ซอฟต์แวร์ Test-Xpert II เป็นซอฟต์แวร์ส�ำหรับงำน ทดสอบวัสดุ ซึ่งเป็นหนึ่งเดียวส�ำหรับตอบโจทย์ด้ำน งำนทดสอบวัสดุของ Zwick นั่นหมำยควำมว่ำผู้ใช้งำน สำมำรถจะเปลีย่ นระบบเครือ่ งมือทดสอบจำกระบบหนึง่ ไปสู่อีกระบบหนึ่งได้อย่ำงไม่มีปัญหำ ผลลัพธ์ที่ได้จำก กำรค�ำนวณตำมอัลกอริธึมของ Test-Xpert II สำมำรถที่ จะท�ำกำรยืนยันควำมถูกต้องได้จำกฟังก์ชั่นพิเศษอย่ำง “Tenstand” กำรเปลี่ยนชื่อเรียก (Terminology Swapping) ที่ได้ ถูกรวมเอำไว้ ท�ำให้ Master Test Program สำมำรถ ปรับให้เข้ำกับลักษณะงำนของอุตสำหกรรมแต่ละด้ำนได้ อย่ำงสะดวก ทั้งค�ำนิยำม ค�ำย่อ และสัญลักษณ์ของสูตร หน่วยวัด และตัวพำรำมิเตอร์ต่ำงๆ จึงถูกแสดงได้อย่ำง เฉพำะเจำะจงกับลักษณะงำนนั้นๆ ส�ำหรับผู้ใช้งำนแล้ว สิ่งต่ำงๆ ที่มองเห็นก็คือข้อมูลที่ส�ำคัญเฉพำะของงำน ด้ำนนั้นๆ เท่ำนั้น ส�ำหรับอุตสำหกรรมบำงสำขำ เช่น งำนโลหะ จะแสดง Layouts ที่มีเพิ่มขึ้นมำบนหน้ำจอ อย่ำงอัตโนมัติ และขั้นตอนทดสอบจะถูกขยำยออกไป ตำมฟังก์ชั่นกำรทดสอบ ทั้งหมดนี้ท�ำให้กำรท�ำงำนกับ Test-Xpert เป็นไปได้ง่ำย และข้อก�ำหนดกำรทดสอบ ตำมมำตรฐำนต่ำงๆ ก็มชี อื่ เรียกทีถ่ กู ปรับให้เหมำะสมกับ ลักษณะงำนของอุตสำหกรรมด้ำนนัน้ ๆ มำเรียบร้อยแล้ว สิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น และพบบ่ อ ยเป็ น พิ เ ศษส� ำ หรั บ งำน วิ จั ย คื อ ควำมสำมำรถในกำรโปรแกรมขั้ น ตอนกำร ทดสอบได้อย่ำงอิสระ ทั้งนี้ Test-Xpert II ก็ได้จัดเตรียม Graphical Sequence Editor ไว้สำ� หรับกำรปรับแก้ขนั้ ตอน กำรทดสอบ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่ Test-Xpert II ใช้ส�ำหรับ ปรับแก้โปรแกรมให้เป็นตำมควำมต้องกำรเฉพำะของผูใ้ ช้ เพื่อให้ลงตัวกับลักษณะงำนทดสอบที่จะถูกใช้งำน กำร ใช้งำนกับเซ็นเซอร์ชนิดต่ำงๆ ตัวอย่ำงเช่น เครื่องมือวัด ตำชั่ง เซ็นเซอร์วัดแรง เซ็นเซอร์วัดระยะทำง โหลดเซล สำมำรถทีจ่ ะน�ำมำร่วมใช้งำนได้อย่ำงสะดวกและง่ำยดำย ด้วยหลักกำรของกำรใช้เซ็นเซอร์ภำยนอก (External Sensors) กำรวัดผ่ำนทำง Measurement Channel ของ Measurement Amplifier ภำยนอกที่ มี ใช้ กั น อย่ ำ ง แพร่ ห ลำยส� ำ หรั บ งำนวิ จั ย และพั ฒ นำ ซอฟต์ แ วร์ Test-Xpert II สำมำรถที่จะท�ำกำรอ่ำนค่ำกำรวัดได้อย่ำง สอดคล้องกับเวลำ (Synchronisation) ส�ำหรับกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่ได้จำกกำรวัดนั้น ตัว ซอฟต์แวร์ได้มกี ำรสนธิอลั กอริธมึ เพือ่ ท�ำกำรประมวลเอำ ไว้แล้ว ด้วยภำษำโปรแกรม “ZIMT” (Zwick Interpreter of Material Testing) ท�ำให้กำรค�ำนวณทีซ่ บั ซ้อน และวิธกี ำร ประเมินสำมำรถก�ำหนดได้ตำมควำมต้องกำร

การบริหารจัดการและควบคุมการทดสอบจากส่วนกลาง ด้วยการใช้ Corporate License

ข้อก�าหนดการทดสอบมาตรฐาน ส�าหรับการทดสอบพื้นฐาน

การเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลมาตรฐาน

500 ข้อก�าหนดการทดสอบ แบบมาตรฐาน

รายงานผลการทดสอบ

การสนธิเข้ากับระบบ IT ของลูกค้า สามารถท�าได้อย่างสมบูรณ์

ลายเซ็นดิจิตัลตาม FDA 21 Part 11. (Electronic Records)

EXECUTIVE SUMMARY

Z

wick is proudly present the software ‘Test-Xpert II’ which could operate the testing procedure harmoniously for the best result. It could reduce the error and keep the system flow in order that user could start the test as soon as they can when the system start. This system could be authorized user access level which support the executive or laboratory’s chief who must manage resource in lab so many times each day. This software has been collected the testing program more than 600 methods. The user could use this program to operate the test more than 900 standards. If user uses it with massive quantity, it will provide great usability. The software will be considering related factor that is force sensor, material handling or plate and testing room automatically.

50

Machine Tools & Metalworking


8 - 10 มนีาคม 2560

Energy Policy & Planning Electrical Vehicle Power Generaion

Green Building SOLAR PV Waste-to-Energy Smart Cities

Biomass & Biogas

Smart Grid

www.seta.asia


The Grand

METALEX 2016 เมทัลเล็กซ์สร้างอีกหนึง่ บทพิสจู น์ในฐานะ เวที ศู น ย์ ก ลางด้ า นโลหการของอาเซี ย นได้ น�าเสนอโอกาสทางธุรกิจชั้นเยี่ยมที่ก้าวข้าม ทุ ก พรมแดนสู ่ นั ก อุ ต สาหกรรมในภู มิ ภ าค หลากหลายนวั ต กรรมล�้ า สมั ย จากทั่ ว โลก มารวมตั ว กั น ในศู น ย์ ร วมด้ า นโลหการอั น ครบวงจร สะท้อนถึงอนาคตสดใสของวงการ โลหการและการผลิตที่เหล่าผู้ประกอบการ ต่างเตรียมความพร้อมสู่การเป็นฐานการผลิต ชั้นน�าของโลก ด้วยจ�านวนผู้ชมงานมากถึง 90,516 คน ย�้าชัดศูนย์กลางโลหการอาเซียน พร้อม เทคโนโลยีและโซลูชั่นล่าสุด ส�าหรับ ทุกกระบวนการโลหการโดยแบรนด์ดัง ผู้ผลิต และผู้จ�าหน่ายของ 3,300 แบรนด์จาก 50 ประเทศ นอกจากนี้ ยังมีการเปิดตัวนวัตกรรมและ องค์ความรู้ใหม่ในหัวข้อการประชุมต่างๆ ที่ จะยกระดับประสิทธิภาพการผลิตและความ สามารถทางการแข่ ง ขั น พบแรงบั น ดาลใจ ใหม่และเผยโฉมศักยภาพใหม่โลหการไปกับ กิจกรรมพิเศษ อาทิ METALEX Engineer Forum, METALEX Robot Orchestra และ Metal Design Zone ซึ่ง พร้อมช่วยหนุนธุรกิจ ของคุณให้ไกลกว่าทีเ่ คยสูค่ วามส�าเร็จอีกระดับ

ต้นโพธิ์แห่งความจงรักภักดี

งานเมทัลเล็กซ์ ขอเชิญผู้ประกอบการ และนักอุตสาหกรรมในวงการโลหการไทย ร่วมน้อม ร�าลึกในพระมหากรุณาธิคุณด้วยการเขียนค�าไว้อาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บนใบโพธิ์ เงิน-ทอง ซึง่ บรรจงผลิตจากเครือ่ งตัดโลหะทีจ่ ดั แสดงภายในงาน เพือ่ แขวนไว้ บนต้ น โพธิ์ แ ห่ ง ความจงรั ก ภั ก ดี โดยทุ ก วั น ช่ ว งเย็ น เหล่ า นั ก โลหการจะรวมตั ว ร้ อ งเพลง พระราชนิพนธ์ ซึ่งภายหลังจากงานแล้ว ใบโพธิ์โลหะจะถูกรวบรวมเพื่อรังสรรค์ให้เป็นพวงมาลา ในนามของนักอุตสาหกรรมโลหการไทย น้อมเกล้าฯ ถวายพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังต่อไป

เปิดตัว 30 นวัตกรรม

เครือ่ งจักรล่าสุด พลิกโฉมการผลิตโลหการ อาทิ เครื่อง Bending Center เครื่องตัด พับ เจาะโลหะแผ่ นอั ต โนมั ติในเครื่องเดียวกัน , เครื่องมิลลิ่ง แมชชีน ส�าหรับงานที่มีความ ซับซ้อนและต้องการผิวงานที่มีความละเอียด สูง และเครื่องเลเซอร์ 5 แกน เพื่อผลิตงาน ที่มีความละเอียดสูง ทั้งแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เป็นต้น

ครั้งแรกในโลก “METALEX Robot Orchestra”

ซึง่ เป็นการแสดงประสานจังหวะ ระหว่างแขนกล 10 แบรนด์ ชัน้ น�าของโลก ประกอบบทเพลง พระราชนิพนธ์ “แผ่นดินของเรา” ร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระประมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช นับเป็นครั้งแรกของโลกกับการผสานพลังความร่วมมือของหุ่นยนต์ 10 แบรนด์ ต่างค่าย ต่างภาษาอันประกอบด้วย ABB, COMAU, DENSO, KAWASAKI, KUKA, MITSUBISHI ELECTRIC, NACHI, OTC, UNIVERSAL ROBOTS และ YASKAWA การเขียนโปรแกรมควบคุม และเชื่อมต่อ โดย ROBOT SYSTEM


การมาชมงาน เดอะ แกรนด์ เมทั ล เล็ ก ซ์ 2016 ช่ ว ยให้ นั ก ลงทุ น และ นักอุตสาหกรรมค้นพบและสร้างเครือข่ายกับแบรนด์หลัก พร้อมก้าวทันแนวโน้ม ด้านอุตสาหกรรมและการตลาด เพื่อเตรียมพร้อมส�าหรับความท้าทายที่จะเกิดขึ้น ผูจ้ ดั แสดงนานาชาติมากมายจะเปิดตัว เทคโนโลยีลา่ สุดครัง้ แรกในเอเชีย เตรียมตัวมาเปิด โลกทัศน์ไปกับความแม่นย�าระดับสูง ประสิทธิภาพการผลิตอันเป็นเลิศ และศักยภาพ ของเทคโนโลยีทจี่ ะผลักดันให้ ธุรกิจก้าวล�า้ ไปอีกระดับตลอดการจัดงาน และครัง้ ต่อไป METALEX 2017 จะจัดขึ้นในวันที่ 22-25 พฤศจิกายน 2560 พร้อมน�าเสนอเทคโนโลยี และโอกาสทางธุรกิจให้กบั ผูเ้ ข้าชมงานได้สมั ผัสเต็มพืน้ ที่ ไบเทค อีกครัง้ สอบถามข้อมูล เพิ่มเติม www.metalex.co.th หรือ โทร +66 2686 7299

www.metalex .co.th




Service Call Center : +(66)2402-0652 E-mail : info@mazakthai.com URL : www.mazakthai.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.