MM Machine Tools & Metalworking : March-April 2017 ISSUE

Page 1

Vol.13 issue

03 04

MAR-APR 2017

PS-series

Quality with

Reliable Efficiency

มากิโน (ประเทศไทย) เป ดตัว PS-series เจาะตลาดผลิตชิ�นส วนฯ เน นคุ มค า คุ มราคา คุณภาพคับเคร�่อง published by

P. 37

P. 45

ถึงเวลาที่อุตสาหกรรมตองปรับตัวครั้งใหญ

ความทาทายและการขับเคลื่อนเทคโนโลยี M2M





n n n o o o i i i t t t im Vta ImiVta ImiVta

miVtation ImiVtationImiVtation

No Time for Look Alikes! or No Look Time Alikes! for Look Don't Settle for LessSettle for Les Settle for Less Don't

orSettleNoNoLook TiformTime eLessDon'fot SettlrAlikes! Look for Al i Look k es! Don't e for LessSettle for Les

tnMX 07... CnMX 1207. DnMX CnMX . 1506... 1207... WnMX 0807.. WnMX DnMX 1506.0807... . 1606... tnMX 1606.. DnMX 1506... Use ISCAR's Use Innovative ISCAR's Products Innovative P s Innovative Products

angential Inserts

Tangential Inserts Tangential Inserts

s Innovative Products Use ISUse CAR' s IISCAR's nnovative Products Innovative P

Helical Cutting Edge, ThickEdge, High Positive Inserts e, Thick Helical High Cutting Positive Inserts Thick High for LessLess Power Consumption Ensure Low CuttingEns sumption for Ensure Power Low Consumption Cutting Forces, Fast Metal Removal andTool LongerLife Tool Life Removal Forces, and Fast Longer Metal Removal and

aydown Inserts

07...

LnMX 1506..

Laydown Inserts Laydown Inserts

LnMX 1506...

CnMX 1207... WnMX 0807... DnMX CnMX 1506... 1207...

angential Inserts

tnMX 1606... tnMX 1606... DnMX 1506... DnMX 1506... WnMX 0807...

Tangential Inserts Tangential Inserts

elligently Machi Machining n i n g I n t e l i g Intelligently ent l y elligently LnMX 1506...

LnMX 1506...

www.iscarthailand.com www.iscarthailand.com Machining Intelligently Machining Intelligently IISCAR SISCAR CAR HIGHHIGH QHIGH LINESQQ LINES LINES ISCAR HIGH Q LINES

www.iscarthailand.com www.iscarthailand.com


AD12

100


THREAD ROLLING MACHINE CAM AUTO LATHE BENCH LATHE

CNC

COLLECT CHUCK

THINK QUALITY THINK PRICE THINK ‘FUTURE VISION’


EDITOR’S editor’sNOTE note Worldwide Switzerland SMM Schweizer Mashchinenmarkt www.smm.ch MSM Le Mensuel de I’industrie www.msm.ch

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat)

การบริหาร (Editorาinหมาย Chief) ประสานพลังขับเคลื่อนอุบรรณาธิ ตสาหกรรมเป้

E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

Austria MM das osterreichische Industriemagazin www.maschinenmarkt.at

กำรขับเคลือ่ นกลยุทธ์ตำ่ งๆ ของหน่วยงำนสนับสนุนอุตสำหกรรมภำครัฐ ยิง่ จะเข้มข้นและออกดอกออกผล ดีค่ะ คุณผูแนวทำงและนโยบำยต่ ้อ่านทุกท่าน ทัสวั้งสมำตรกำร ำงๆ เพื่อให้อุตสำหกรรมเป้ำหมำยสร้ำงกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจตำม ควำมมุ ง ่ หวั ง ของรั ฐ บำล โดยอุ ต สำหกรรมเป้ ำหมำยทัง้ 10 กลุม่ อุตสำหกรรม ประกอบด้วย อุตสำหกรรมยำนยนต์ การปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา การปฏิรูปนิเวศอุตสาหกรรมรองรับอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา และชิ ้ น ส่ ว น อุ ต สำหกรรมเครื ่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ ำ เล็ปกแบบการด� ทรอนิกส์าเนิและอุ โทรคมนำคม ตสำหกรรมปิ โตรเคมี และการเชือ่ มโยงอุตสาหกรรมไทยกับเศรษฐกิจโลก ผ่อิานรู นงานด้ปวกรณ์ ยการสร้ างเครือข่ายเชือ่ อุมโยงคลั สเตอร์อตุ สาหกรรม และเคมี ี่เป็นมิมาตรฐานการผลิ ตรต่อสิ่งแวดล้ตและสร้ อม อุาตงนวั สำหกรรมระบบอั ติแทละหุ ่นยนต์ เพื่อยกระดัภบัณผลิฑ์ตทภาพ ตกรรมใหม่ เป็น ต3 โนมั แผนยุ ธศาสตร์ หลัก อุซึ่งตเป็สำหกรรมอำกำศยำน นนโยบายการขับเคลื่อน 20 ปี ของกระทรวงอุ ตสาหกรรม อุอุตตสาหกรรมในระยะ สำหกรรมนวัตกรรมอำหำร อุตสำหกรรมดิ จทิ ลั อุตสำหกรรมเกษตรแปรรูป อุตสำหกรรมสิง่ ทอและเครือ่ งนุง่ ห่ม ยุทตธศาสตร์ ดังกล่าวเป็นแนวทางส� าคัญให้แต่ละส่วนขับเคลื่อนแผนการด�าเนินงานให้สอดคล้องเพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมไทย และอุ สำหกรรมกำรแพทย์ ค รบวงจร ขับเคลื่อนเศรษฐกิจในยุค 4.0 อย่างต่อเนื่อง หากมองภาพรวมเศรษฐกิจไทยพบข้อมูลว่า ในปี 2559 เศรษฐกิจไทยมีการเติบโต โดยล่ ดทำงสถาบั วิ ชิ าชีพา(องค์ การมหาชน) ได้แต่งวตังไตรมาสแรกของปี ง้ ให้ทำงสถาบันไทย-เยอรมั นผูใกล้ ย้ กร่ ร้อยละ 3.2ำสุโดยที ่ทางศูนย์วนิจคุัยณ กสิวุกฒ รไทยคาดว่ แนวโน้ มเศรษฐกิจไทยในช่ 2560 มีการเตินบเป็ โตได้ เคีำยงง มำตรฐำนอำชี พ คลั ส เตอร์ โ รโบติ ก ส์ เพื อ ่ เป็ น แนวทำงในกำรทดสอบและรั บ รองคุ ณ วุ ฒ ว ิ ช ิ ำชี พ บุ ค ลำกรผู ม ้ อ ี ำชี พ ไตรมาสสุดท้ายของปี 2559 คือ ร้อยละ 3 พร้อมกันนี้ ทางศูนย์วจิ ยั กสิกรไทยยังประมาณการเศรษฐกิจไทยทัง้ ปี 2560 อยูท่ รี่ อยละ 3.3 โดยการขั บเคลื ่อนเศรษฐกิ จของไทยโดยภาพรวมดั งกล่าวนั้น ภาคอุ ตเป็นฟันตเฟืสำหกรรมที องหลัก โดยตั่เกีวแปรที �าคับ ญ ด้ำนคลั สเตอร์ โรโบติ กส์ในประเทศไทย ให้เป็นมำตรฐำนที ่ได้รตับสาหกรรมการผลิ กำรยอมรับในภำคอุ ่ยวข้อ่สงกั นักำรใช้ ่นคือ งการเปลี ย ่ นแปลงของเทคโนโลยี ซึ ง ่ ก่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการผลิ ต ใหม่ ๆ นวั ต กรรมต่ า งๆ ที ส ่ นั บ สนุ น การผลิ ต อย่ า งหลากหลาย ำนและพัฒนำระบบโรโบติกส์ โดยเมือ่ ผ่ำนกระบวนกำรต่ำงๆ แล้วจะมีผลบังคับเชิงปฏิบตั ใิ นช่วง 12 เดือน ด้วยกัน ดังนัน้ การก้าวทันด้วยการเรียนรูแ้ ละน�ามาประยุกต์ใช้กบั องค์กรอย่างสอดคล้องเป็นสิง่ ทีส่ า� คัญ โดยเฉพาะเทรนด์เทคโนโลยี ต่ที่สอ�าจำกนี คัญอย่ไ้ าปง Internet of Things และเทคโนโลยี 4.0 ทำงด้ ำนคณะกรรมการส่ การลงทุ บีโอไออย่น�าำงอุ โดยคุ ณหิการแพทย์ รญ ั ญา กสุ็เจตินิบโตด้ ยั เลขาธิ การคณะกรรมการ ในภาคของอุ ตสาหกรรมที่เป็งนเสริ หนึ่งมในดาวรุ ่งที่นน่าหรื จับอตามอง ปกรณ์ วยแรงเคลื ่อนของเทคโนโลยี ดร.วงศ์นวิทได้ย์ใเสนะวงศ์ ากสาขาวิศวกรรมชี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลั ยศรีนตคริสำหกรรม นทรวิโรฒ ส่ดังงกล่ เสริาวมโดย การลงทุ ห้ขอ้ มูลกัอาจารย์ บ MMจMachine Tools &วการแพทย์ Metalworking ถึงแนวโน้มกำรลงทุ นของอุ ได้กำล่หมำยว่ าวไว้ตอนหนึ ่งว่า “… โลกเปลี ่ยนแปลงแบบก้ ทุกวัน10ท�ากลุ ให้ใม ใหม่นี้ ผู้ควบคุมงข้อนำคต อมูลคือผูซึ้ชง่ นะ งขันวัดกัน เป้ ำ บีโอไอมั น่ ใจว่ ำกำรขอรั บส่งเสริามวกระโดดขึ กำรลงทุน้นของ ่ นยุ อุตคสำหกรรมแห่ เป็นการแข่ อุตสำหกรรม ที่การรับ-ส่งข้อมูลในปริมาณมาก และแม่นย�า ไม่เว้นกระทั่งในแวดวงการแพทย์และสาธารณสุข เป้ำหมำยของรั บำล จะมีมทลู เี่ ค่ป็ำนเงิเทรนด์ นลงทุในอนาคตต้ นตำมเป้อำงมี หมำย 1 แสนล้ ำนบำทส� ำหรับสามารถสวมใส่ ในช่วงครึง่ ปีแพรกกพาติ 2559 โดยอุปกรณ์ทฐางการแพทย์ ลกั ษณะเป็ น Wearable Devices ดตัวได้ ตรวจจับ โดยในช่ ว ง 4 เดื อ นแรกของปี น ี ้ มู ล ค่ ำ เงิ น ลงทุ น ของโครงกำรที ่ ย ่ ื น ขอรั บ ส่ ง เสริ ม กำรลงทุ นใน 10 ข้อมูลและแจ้งเตือนได้อย่างแม่นย�า และทันท่วงที อย่างสมาร์ทวอชที่มี Embed System หรือสมองกลฝังตัว สามารถนั บก้ากลุ วเดิ่มน บความดันและการท� วใจได้ นอกจากใช้วในกลุ ่มคนรั ว ยังเป็นประโยชน์ ในการดู ลผูม้ป่ว211 ยกลุ่มโครงกำร ผู้สูงอายุ อุตรวจจั ตสำหกรรมเป้ ำหมำย ก็าสงานของหั งู ถึง 7 หมื น่ ล้ำนบำทแล้ โดยเป็ นมูกลสุค่ขำภาพแล้ รวมของโครงกำรที ย่ นื่ ขอรั บส่งแเสริ ผู้ป่วยเรื้อรัง ่ยเช่ื่นนขอรั เบาหวาน ความดั น อี่มกอุด้วตย…” ติดตามได้ำในคอลั EXCLUSIVE่ในหลำยกลุ TALK หน้า 37-41 พร้อมกับคอลัเช่มนน์ บส่งเสริ มในกลุ สำหกรรมเป้ หมำยมน์กระจำยอยู ่มอุตสำหกรรม ส�และกลุ ำหรับ่มโครงกำรที ที่น่าสนใจในฉบับนะคะ อุอื่นตๆสำหกรรมยำนยนต์ และชิน้ ส่วน จ�ำนวน 12 โครงกำร เงินลงทุนรวม 14,188 ล้ำนบำท อำทิ กิจกำรผลิตชิน้ ส่วน ยำนพำหนะ ชิ้นาค่ส่ะวนระบบส่งก�ำลัง ชิ้นส่วนระบบเครื่องยนต์ กิจกำรผลิตรถปิคอัพ ส�ำหรับกำรลงทุนใน พบกันใหม่เช่ ฉบันบหน้ อุตสำหกรรมอำกำศยำน 1 โครงกำร เงินลงทุน 22 ล้ำนบำท โดยเป็นกิจกำรผลิตชิน้ ส่วนชิน้ ส่วนอุปกรณ์เครือ่ งใช้ จิรภัทร ข�าญาติ บนเครื่องบิน เป็นต้น บรรณาธิการบริหาร โครงกำรของภำครัฐของทั้งสองหน่วยงำนเป็นสัญญำณที่ดี ที่ชี้ให้เห็นถึงกำรประสำนพลังและกำรเอำจริง เอำจังกับกำรสนับสนุนอุตสำหกรรมอย่ำงเต็มที่นะคะ ยังคงมีสิ่งดีๆ ส�ำหรับผู้ประกอบกำรอย่ำงต่อเนื่อง MM จะเป็ สื่อในกำรส่ งข่ำวสำรถึงคุณผู้อ่ำนอย่ำงแข็งขันค่ะ IF น YOU'RE LOOKING FOR MANUFACTURING EQUIPMENT & TOOLS,

Poland MM Magazyn Przemyslowy www.magazynprzemyslowy.pl

Czech.Rep. MM Prumyslove spektrum www.mmspektrum.com

Hungary MM Muszaki Magazin www.mm-online.hu

Ukraine MM Money and Technplog www.mmdt.com.ua

Turkey MM Makina Magazin www.dunyagazetesi.com.tr

Thailand MM Machine Tools & Metalworking www.mmthailand.com

China MM Xiandai Zhizao www.vogel.com.cn

Korea MM Korea www.mmkored.kr

India MMI Modern Manufacturing India www.modernmanufacturing.in

Indonesia MM Indonesien www.mm-industri.com

Germany MM MasdinenMarket www.masdinenmarket.de

ติดตำมเนื้อหำต่ำงๆ ที่น่ำสนใจภำยในเล่มนะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้ำค่ะ

WWW.FACTORYEASY.COM HAS MORE THAN

10,000 PRODUCTS AWAIT YOU.

(ไทยแลนด์)) จ�จ�ำำกักัดด เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ มีเดีย (ไทยแลนด์ ถนนลำดพร้ำำวว แขวงคลองจั แขวงคลองจั่น่น เขตบำงกะปิ เขตบำงกะปิ 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ 0-2731-1191-4 โทรสำร โทรสำร 0-2769-8043 0-2769-8043 กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com www.mmthailand.com เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, คณะทีป่ รึกษาฝ่ายวิชาการ ภำยใต้ควำมร่วมมือจำก Thai-Germany Technology Promotion Club Verein der ehemaligen Thai-Studenten in Deutshland Unter koeniglicher Schirmherrschaft Schirmherrschaft โดย โดย สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) จินดำ ฮั้งตระกูล Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.)Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) ชูพงษ์ วิรุณหะ Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) Dipl.-Ing., Dipl.-Ing (FH.) เจษฎำ ตัณฑเศรษฐี Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วีระพันธ์ รังสีวิจิตรประภำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. นำวำอำกำศตรี ดร.พงศ์พันธ์ แก้ววจิจินนดำ ดำ Dr.-Ing. Dr.-Ing. พลอำกำศตรี ปัญญำ เชียงอำรีย์ Dipl.-Ing.,Dipl.-Ing., Dipl.-IngDipl.-Ing (FH.) (FH.) นำวำอำกำศเอก ขวัญบุญ จุลเปมะ เปมะ Dipl.-Ing. Dipl.-Ing. ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ Ph.D Ph.D

8

Machine Tools & Metalworking

จิรภัทร ข�าญาติ Editor in Chief jirapat.k@greenworldmedia.co.th INTELLIGENT MARKETPLACE FOR SMART FACTORY

ผูผู้บ้บริริหหารฝ่ ารฝ่าายขาย ยขาย :: กรรมการผู้จ้จัดัดการ การ :: กรรมการผู พัพัชชร์ร์สสิติตำำ ศรี ศรีสสิมิมะรั ะรัตตน์น์ มธ กิกิตตติติธธีรีรพรชั พรชัยย สุสุเเมธ ฝ่ฝ่าายโฆษณา : ผูผู้จ้จัดัดการทั การทั่ว่วไป ไป :: ยโฆษณา : อัอัญ ทร์ จีจีรระโกมลพงศ์ ะโกมลพงศ์ พรชัยย ญริรินนทร์ ธีธีรระะ กิกิตตติติธธีรีรพรชั วรรณิ สำ ปัโสภิ ณ พรเลขำ น ้ นำค บรรณาธิ ก ารบริ ห าร : บรรณาธิการบริหาร : พรเลขำ ปั้นนำค จิจิรรภัภัททรร ข�ข�ำำญำติ ญำติ ประสานงานฝ่ายโฆษณา : ประสานงานฝ่ ยโฆษณา วิไลพร รัชชปัาญ ญำ : บรรณาธิการก: าร : กองบรรณาธิ วิไลพร รัชชปัญญำ ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ บัญชี : เปมิ กำ สมพงษ์ บัณัญฎชีฐวี: แดนค�ำสำร ทศธิ ป สูนย์สกำทร กองบรรณาธิ าร : ณัฎฐวี แดนค�ำสำร จีสำวิ รพรตรีทิสิพนย์ปรุ เคลือบ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : ผูภั้จทัดรำนิ การฝ่ เปมิกำ สมพงษ์ ษฐ์ายการตลาด เจริญผลจัน: ทร์ บรรณาธิ การศิลปกรรม : ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ ทศธิญปญสูปรั นย์งสพัำทร ปริ นธ์ การตลาด : การตลาด : การศิล: ปกรรม : ฉัตรฤดี สำมำรถกุ ล ฝ่บรรณาธิ ายศิลปกรรม เฟื่องลดำ สำมำรถกุล ญ ปรังกฤดำแสงสว่ พันธ์ ชุปริตญ ิกำญจน์ ำง เว็บมาสเตอร์ : อำณั เพ่งพิน:ิจ เว็จินปดำพร มาสเตอร์ ฝ่ายศิตลิ ปกรรม เพ็:ชร์จันทร์โท วลั ่ยม จินดำพร เพ็ชร์จันทร์โท ธนวัยพร ฒน์ลัเชีบเหลี ยงโญ ปิยะพร คุ้มจั่น พิมพ์ : ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด พิมพ์ : บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�โทรศั ำกัด พท์ (+66) 2731-1155-60 โทรศัพท์ (+66) 2731-1155-60 โทรสำร 2731-0936 โทรสำร(+66) (+66) 2731-0936

Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany Licensed by Vogel Business Media GmbH & Co. KG., Germany TheThe ThaiThai editionedition of the MM Maschinemarkt is a publication of the MM Maschinemarkt is a publication of Green (Thailand) Co.,Ltd.byLicensed of Green WorldWorld Media Media (Thailand) Co.,Ltd. Licensed Vogel by Vogel Business & Co. 97082 Wurzburg/Germany. Business MediaMedia GmbHGmbH & Co. KG., 97082KG., Wurzburg/Germany. Copyright the trademark "MM Maschinemarkt" © Copyright theoftrademark Maschinemarkt” Vogel by Vogel BusinessofMedia GmbH“MM & Co. KG., 97082byWurzburg/Germany. Business Media GmbH & Co. KG., 97082 Wurzburg/Germany. ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครือ่ งหมายการค้าต่างๆ ทีป่ รากฎในนิตยสารมีจ�านวนมากและมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้ สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็นทางนิตยสารจะประกาศเจ้าของลิขสิทธิ์เฉพาะส่วน ที่มีการกล่าว อ้างถึงในบทความ หากลิขสิทธิ์ดังกล่าวเป็นที่รับรู้โดยทั่วไปแล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้าเพื่อให้การน�าเสนอบทความกระชับและน่าอ่าน

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับที่จัดอยู่ในรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์เวิร์ดบันทึกเป็น รูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์บทความบันทึกเป็น JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียดประมาณ 300dpi รายละเอียดโปรดสอบถาม กองบรรณาธิการโดยตรง

การสมัครสมาชิก

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกที่ตีพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุดเพื่อเป็นแบบ ฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8043 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระเงินทางโทรสารหรือสอบถามราย ละเอียดได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 หรืออีเมล marketing@ greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับเนื้อหาและรูปแบบ ของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�า มาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่านต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับการติดต่อกลับ โดย กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิป์ รับแต่งถ้อยค�าตามความเหมาะสม ท่านสามารถ ติดต่อได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิตยสารยินดีพิจารณาบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและการ บริหารธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับภาคอุตสาหกรรม แต่ตอ้ งเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ของผู้อื่นไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสาร จะไม่ต้องรับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็นผู้รับ ผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฎในนิตยสารเล่ม นี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดยไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็น ของทางบริษัทฯ เสมอไป


LATEST MODEL OKUMA V760R VERTICAL CNC LATHE


contents / march-april 2017

18

p.

COVER STORY มากิโน (ประเทศไทย) เปิดตัว PS-series เจาะตลาดผลิตชิ้นส่วนฯ เน้นคุ้มค่า คุ้มราคา คุณภาพคับเครื่อง

p.

24

interview

ขาขึ้นแปรรูปโลหะ... ‘อะมาก้า’ มั่นใจเครื่องจักร ‘Brystronic’ สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ ด้านงานชีทเมทัล เอเชีย 2017 โชว์นวัตกรรมตอบโจทย์กระแสการเติบโต

37

p.

EXCLUSIVE TALK 2 ทรรศนะนักวิชาการไทย ถึงเวลาที่อุตสาหกรรม ต้องปรับตัวครั้งใหญ่

12 NEWS & MOVEMENT

42 SPECIAL REPORT

49 MAINTENANCE

22 PLANT EXPLORE

‘Evolving to the Industry 4.0’ 20 ปี TGI ผลักดันอุตสาหกรรมไทย... วิวัฒนาการสู่อนาคต

เรื่องต้องรู้ของการวางแผนบ�ารุงรักษาเครื่องจักร

เยี่ยมชมสายการผลิต Plug-in Hybrid ส่งตรงจาก BMW

32 SPECIAL FEATURE / WELDING ความรู้สู่ปฏิบัติการ-เริ่มฝึกเชื่อมไฟฟ้า 2

10

Machine Tools & Metalworking

45 TECHNOLOGY ความท้าทายและการขับเคลื่อนเทคโนโลยี M2M ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมยุค 4.0


advertisers index march-april 2017

Company

Page

Tel

E-mail / Website

BOYATECH (THAILAND) CO., LTD.

11

0-2644-2292

www.boyatech-carbide.com

FUTURE VISION ASSOCIATE CO., LTD.

7

0-2894-0655

fvamach@hotmail.com

GLOBAL SEAL CO., LTD.

2

0-2591-5256-7

www.globalseal.co.th

GROUP ENGINEERING PRODUCT CO., LTD.

9

0-2960-0136

groupcor@truemail.co.th

ISCAR (THAILAND) CO., LTD.

4-5

0-2713-6633-8

www.iscarthailand.com

JSR GROUP CO., LTD.

6

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

MAKINO (THAILAND) CO., LTD.

1, 19-21

0-2971-5750

www.makino.co.th

MAZAK (THAILAND) CO., LTD.

56

0-2402-0650

www.mazakthai.com

OTC DAIHEN ASIA CO., LTD.

15

0-2529-2130

www.otcdaihenasia.com/th

SAHAMIT MACHINERY PUBLIC COMPANY LIMITED.

13

0-2295-1000-8

www.sahamit.co.th

TUNGALOY CUTTING TOOL (THAILAND) CO., LTD.

3

0-2751-5711

www.tungaloy.co.th

UBM ASIA (THAILAND) CO., LTD.

23-31

0-2642-6911

www.ubmthailand.com

august/september 2016

11


NEWS and MOVEMENT

งาน 20 ปี สถาบันไทย-เยอรมัน ดันอุตสาหกรรมไทยสู่ 4.0

คณะกรรมการบริหารสมาคม Aluminum Association ซึง่ มีหน้าทีต่ อกย�า้ บทบาทสถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) ต่อภาคอุตสาหกรรมกับวาระครบรอบ 20 ปี เมือ่ วันที่ 9-10 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมา ในงานฉลองครบรอบ 20 ปี สถาบัน ไทย-เยอรมัน ‘Evolving to the Industry 4.0’ วิวฒ ั นาการสูอ่ นาคตซึง่ ได้รบั เกียรติจาก ดร.ด�าริ สุโขธนัง อดีตปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และประธานคณะกรรมการสถาบันไทย–เยอรมัน มาปาฐกถาพิเศษเรื่อง ‘สถาบันไทย–เยอรมันกับการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0’ โดยมี รศ.ดร.สมชอบ ไชยเวช อดีตประธานคณะกรรมการสถาบันไทย-เยอรมัน ร่วมเป็นเกียรติเป็นประธานเปิดงานในครั้งนี้ ณ สถาบัน ไทย–เยอรมัน จังหวัดชลบุรี คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผูอ้ า� นวยการสถาบันไทย-เยอรมัน เผยถึงการเปิดแผนยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรม รับนโยบายภาครัฐผลักดัน New S-Curve หลังครบรอบการด�าเนินงาน 20 ปี มุง่ สูก่ ารเป็นสถาบันทีม่ งุ่ ส่งเสริมพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตของผูป้ ระกอบการใน อุตสาหกรรม ในรูปแบบศูนย์ปฏิบตั กิ ารอุตสาหกรรม พร้อมพัฒนา Smart Factory และสร้างเครือข่าย พัฒนาอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เพื่อบูรณาการความร่วมมือในการใช้เทคโนโลยียกระดับขีดความ สามารถการผลิตของภาคอุตสาหกรรมไทย และเนือ่ งในโอกาสครบรอบ 20 ปี ทาง บริษทั กรีนเวิลด์ มีเดีย (ไทยแลนด์) จ�ากัด ได้มอบกระเช้าดอกไม้ เพื่อร่วมแสดงความยินดีกับความส�าเร็จของสถาบันไทย-เยอรมันอีกด้วย

EMO HANNOVER 2017 งานแสดง สินค้าอุตสาหกรรมโลหะครั้งยิ่งใหญ่

ดาคอน เผยระบบตรวจสอบท่อ

อัจฉริยะ ‘INTELLIGENT PIGGING’ งานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมโลหะครั้งยิ่งใหญ่ท่ีสุดในโลก EMO Hannover 2017 ภายใต้แนวคิด ‘เชือ่ มโยงระบบเพือ่ การ ผลิตอัจฉริยะ’ มีผู้แสดงสินค้ากว่า 1,700 บริษัท จากกว่า 40 ประเทศทั่วโลก บนพื้นที่มากกว่า 150,000 ตารางเมตร ซึ่งจะ จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 18 – 23 กันยายน 2560 ณ เมืองฮันโนเวอร์ ประเทศเยอรมนี นอกจากการแสดงสิ น ค้ า แล้ ว ภายในงานยั ง มี ก ารจั ด สัมมนาภายใต้หวั ข้อ ‘Production for Tomorrow’ โดย สมาคม วิศวกรรมการผลิตแห่งประเทศเยอรมนี (The German Academic Society for Production Engineering - WGP) ภายในงาน มีการใช้นวัตกรรมต่างๆ เพื่ออ�านวยความสะดวกไม่ว่าจะเป็น EBi หรื อ ระบบข้ อ มู ล ส� า หรั บ ผู ้ เข้ า ร่ ว มชมงาน ให้ บ ริ ก าร อินเทอร์เน็ต บริการห้องฝากสัมภาระทันสมัย มีการจัดแสดง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่หลากหลายผ่านระบบดิจิทัล รวมถึง บริการอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ สามารถติดตามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.emo-hannover.de หรือ ติดต่อ คุณกมลชนก นันทบุรมย์ โทรศัพท์: 0-2670-0600 ต่อ 4004 12

Machine Tools & Metalworking

ดาคอน อินสเป็คชัน่ เซอร์วสิ เซส ให้บริการ Intelligent Pigging Solution โดยใช้ระบบคลื่นเสียงอัลตร้าโซนิค (Ultrasonic) ใน การแก้ปัญหาให้กับกลุ่มบริษัทหลักในอุตสาหกรรมน�้ามัน แก๊ส ปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทั่วโลก ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้า ทีม่ คี วามต้องการเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสม�า่ เสมอ และ บริษทั ดาคอน เป็นที่ถูกถามถึงอย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะหาวิธีการแก้ปัญหา ส�าหรับท่อที่การตรวจสอบไม่สามารถเข้าถึงได้ (Unpiggable Pipelines) หรือการตรวจสอบภายในท่อที่เคลือบด้วยโลหะ (Internally Lined Pipelines) และท่อที่ไม่ใช่โลหะ (Non-metallic Pipelines) ดาคอนได้พฒ ั นาเทคโนโลยีทา� ให้ระบบความถีต่ า�่ ทีม่ คี วามไว สูง (Highly Sensitive Low Frequency System) ซึ่งท�าให้การ ลดทอนของสัญญาณน้อยลง และสามารถรับสัญญาณทีน่ า่ เชือ่ ถือ จากด้านนอกของท่อ (Outside Diameter, OD) ซอฟต์แวร์พเิ ศษนี้ ได้ รั บ การพั ฒ นาโดยใช้ ชุ ด ค� า สั่ ง ที่ ซั บ ซ้ อ นเพื่ อ ประมวลผล ข้อมูล ท�าให้สามารถเห็นภาพของการกัดกร่อนในท่อ และให้การ ตรวจสอบที่แม่นย�าถูกต้องส�าหรับความหนาที่เหลืออยู่


Tools Steel for Mold and Die Industry

Band Saw Blades

CAM Software

5-Axis, High Speed Milling, Wire Cut, EDM Die Sinking and Laser Machine

CNC Lathe & Machining Center

CNC Double Column Machining Center

CNC Vertical & Honrizontal Machine

CMM Coordinate Measurment Machine

สหมิตรเครื่องกล SAHAMIT MACHINERY

Laser Cutting Machine

SAHAMIT MACHINERY PUBLIC COMPANY LIMITED 42,48 Rama 3 Road, Soi 53, Yannawa, Bangkok 10120, Thailand Tel: 66(0) 2295-1000-9 Fax: 66(0) 295-3307 E-mail: machine@sahamit.co.th, www.sahamit.co.th


NEWS and MOVEMENT

สถาบันไฟฟ้าฯ จัดสัมมนาติวเข้มผู้ประกอบการ ผลักดันอุตสาหกรรม S-CURVE

ส ถ ำ บั น ไ ฟ ฟ ้ ำ แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ สถำบันเครือข่ำยกระทรวง อุตสำหกรรม จัดใหญ่ สัมมนำวิชำกำรประจ�ำปี 2560 เตรียมควำมพร้อมให้ผู้ประกอบกำร เข้ำสูย่ คุ THAILAND 4.0 ผลักดันอุตสำหกรรม S-Curve ทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ กลุม่ เครือ่ งใช้ไฟฟ้ำอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ กลุม่ หุน่ ยนต์ กลุม่ อุปกรณ์ กำรแพทย์ และกลุ่มยำนยนต์อนำคต พร้อมทั้ง หนุนสตำร์ทอัพ นักประดิษฐ์รนุ่ ใหม่สร้ำงเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และนวัตกรรมสร้ำงสรรค์เป็น ตัวยกระดับอุตสำหกรรม คุณพรชัย ตระกูลวรำนนท์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง อุตสำหกรรม กล่ำวในกำรปำฐกถำพิเศษเรือ่ ง ‘อนำคตอุตสำหกรรมไทย ยุค THAILAND 4.0’ ว่ำ ทิศทำงและกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำที่จะ เกิดขึน้ ในยุค Thailand 4.0 จ�ำเป็นต้องอำศัยกำรประสำนควำมร่วมมือ ในรูปแบบ 4 ประสำน จำกทุกภำคส่วน ได้แก่ 1) เพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและยกระดับผลิตภำพกำร ผลิ ต ของกลุ ่ ม ด้ ว ยนวั ต กรรมและกำรจั ด กำร พร้ อ มทั้ ง บ่ ม เพำะ และพัฒนำกลุ่มผู้ประกอบกำรที่มีนวัตกรรมของตนเอง 2) ร่วมกับสถำบันกำรศึกษำในกำรยกระดับฝีมอื แรงงำน เพือ่ กำร ขับเคลื่อนอุตสำหกรรมอนำคต โดยส�ำหรับอุตสำหกรรมไฟฟ้ำและ อิเล็กทรอนิกส์ในเบือ้ งต้นสำมำรถร่วมกันในกำรพัฒนำบุคลำกรระดับ วิศวกรและช่ำงเทคนิคในด้ำน Electronic Design เช่น Embedded System, PCB Design, Micro Electronic Design, IoT Application

ด้ำน Mechatronic ในสำขำ Informatics และสำขำ Mechanical และด้ำนกำรออกแบบกระบวนกำรผลิตที่เป็น Automation System Design เป็นต้น 3) ร่วมกันส่งเสริมกำรสร้ำงเครือข่ำยระหว่ำง 3 ฝ่ำย (Golden triangle หรือ Triple Helix) ประกอบด้วยหน่วยงำนภำครัฐ ภำคธุรกิจ และสถำบันวิจยั /สถำบันกำรศึกษำ เป็นเครือข่ำยในระดับประเทศและ ระดับพื้นที่ประกอบกำร 4) กำรพัฒนำควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้ำ และอิเล็กทรอนิกส์ ระบบกำรผลิตแบบอัตโนมัติ (Automation) กำรบริหำรจัดกำรข้อมูลขนำดใหญ่ (Big Data Analytics) และ เทคโนโลยีดิจิทัล (Digitalization) เพื่อน�ำมำใช้ส�ำหรับกำรยกระดับ ภำคอุตสำหกรรมในภำพรวมสู่ Smart Factory ทั้งนี้ กิจกรรมภำยในงำนประกอบด้วย กำรบรรยำยโดยวิทยำกร ผูท้ รงคุณวุฒจิ ำกในประเทศและต่ำงประเทศในหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้อง อำทิ กำรปรับตัวของอุตสำหกรรมไทยสู่อุตสำหกรรม 4.0, ทิศทำงและ นโยบำยกำรพัฒนำอุตสำหกรรมไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย ส�ำหรับอนำคต, Industrial Internet of Things (IIoT), กำรออกแบบ อนำคต Smart Future และ Trend of International Standards for Smart Appliances นอกจำกนี้ ยังมีกำรจัดแสดงนิทรรศกำรด้ำน นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง อำทิ รถยนต์ไฟฟ้ำ VERA V1 ซิตคี้ ำร์ไฟฟ้ำแบรนด์ไทย หุน่ ยนต์ดนิ สอมินิ รุน่ ดูแลผูส้ งู อำยุ อุปกรณ์ สวมใส่เพื่อตรวจจับกำรล้มส�ำหรับผู้สูงอำยุ และเครื่องตรวจกำร หลับใน AlertZ เป็นต้น

พัฒน์กลรุก AEC ต่อเนื่อง เดินหน้าลุยตลาดเวียดนาม ตอกย�้าความเป็นผู้น�าในกระบวนการผลิตอาหาร

บริษัท พัฒน์กล จ�ำกัด (มหำชน) ผู้น�ำธุรกิจด้ำนวิศวกรรม ในกระบวนกำรผลิตอำหำร ระบบ ท�ำควำมเย็น และเครือ่ งท�ำน�ำ้ แข็งของโลก รุกตลำด AEC อย่ำงต่อเนือ่ ง เดินหน้ำลุยตลำดเวียดนำม ให้บริกำรเครื่องจักรโรงงำนนมและเครื่องดื่ม คุณแสงชัย โชติชว่ งชัชวำล ประธำนคณะเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำร บริษทั พัฒน์กล จ�ำกัด (มหำชน) กล่ำวว่ำ “ในกำรบุกตลำดต่ำงประเทศนัน้ พัฒน์กลใช้ Model ทำงธุรกิจและผลิตภัณฑ์ทปี่ ระสบควำม ส�ำเร็จในประเทศไทย น�ำไปขยำยผลในประเทศอื่นๆ เพื่อให้มีมำตรฐำนและควำมช�ำนำญ แต่สิ่งที่ ส�ำคัญ คือ ได้มกี ำรปรับกลยุทธ์ตำ่ งๆ ให้เหมำะกับสภำพเศรษฐกิจและสภำพแวดล้อมของประเทศ นั้นๆ ซึ่งเรำมี Partner เป็นนักธุรกิจในประเทศเหล่ำนั้นด้วย เรำเน้นเรื่องบริกำรทั้งก่อนและหลัง กำรขำย เช่นเดียวกับที่เรำท�ำในประเทศไทย เรียกว่ำนโยบำยนี้ว่ำ “เอำของดีไปขยำยในพื้นที่ใหม่” โดยมีทีมงำน One Team One Country 1 ทีม 1 ประเทศ เพื่อให้มีควำมช�ำนำญในแต่ละประเทศ” “ในแถบภูมภิ ำคอำเซียนเรำได้มกี ำรตัง้ ส�ำนักงำนธุรกิจในประเทศฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย มำเลเซีย พม่ำ เวียดนำม และก�ำลังจะเปิดที่กัมพูชำในปีนี้ ส�ำหรับประเทศเวียดนำมนั้น พัฒน์กลได้เข้ำมำท�ำธุรกิจหลำยปีแล้ว เพื่อให้บริกำรรองรับ กำรขยำยตัวของอุตสำหกรรมในประเทศเวียดนำม โดยมีพนักงำนและวิศวกรอยู่ประจ�ำ สำมำรถด�ำเนินธุรกิจได้เหมือนกับส�ำนักธุรกิจ ทีป่ ระเทศไทย ในเวียดนำมพัฒน์กลฯ ได้ออกแบบ ผลิต ประกอบ และติดตัง้ เครือ่ งจักรให้กบั “บริษทั หุน้ ส่วนนมกูจ๋ ”ี (Cu Chi Milk Joint Stock Company Limited) ซึ่งเป็นโรงงำนนมสดพำสเจอร์ไรส์ โยเกิร์ต เเละชำนมบรรจุขวด นับว่ำเป็นโรงงำนขนำดกลำงที่มีควำมทันสมัยแห่งหนึ่ง ในเมือง โฮจิมินห์” คุณแสงชัยกล่ำวเสริม

14

Machine Tools & Metalworking


welding & Handling Robot Friendly series Gas Metal Arc

Synchro-feed GMA Welding Robot Package

WIRE BUFFER L-11610

PUSH FEEDER AFS-2301

WIRE FEED CONTROLLER AFCA-S1W04

Approaching FD-11 FD-B4

minimum spatter! WB-P500L

www.otcdaihenasia.com

otc daihen asia co., ltd. HEAD OFFICE & FACTORY

BANGKOK SALES OFFICE

RAYONG FA CENTER

60/86 Moo 19, Navanakorn Industrial Estate Phase 3, Tambol Klongnueng, Amphur Klongluang, Pathumthani 12120

23/43, FL. 16th Sorachai Bldg., 23 Soi Sukhumvit 63, Klongtonnua, Wattana, Bangkok 10110

500/141 Hemaraj Eastern Seaboard Industrial Estates, Moo 3, Tambol Tasit, Amphur Pluakdaeng, Rayong 21140

TEL: (+66) 2-529-2130 FAX:(+66) 2-529-2132

TEL: (+66) 2-714-3201-3 FAX:(+66) 2-714-3204

TEL: (+66) 38-964-182 FAX:(+66) 38-964-183


NEWS and MOVEMENT

MOBILE APP ส�าหรับการตรวจสอบ และซ่อมบ�ารุงของเหลวในงานโลหการ

Fluid Service Technologies แสดงตัวอย่างแอปพลิเคชันที่บริษัทฯ ได้ พัฒนาขึน้ มาชือ่ ว่า Tech Tool ส�าหรับอุปกรณ์เคลือ่ นทีภ่ ายในงาน HOUSTEX 2017 ซึ่งถือเป็นแอปพลิเคชันที่มีความสามารถในการมอนิเตอร์ จัดการและ รายงานรายละเอียดข้อมูลของเหลวที่ถูกใช้ภายในโรงงานได้เป็นอย่างดี นักเทคนิคหรือเจ้าหน้าที่ซ่อมบ�ารุงสามารถใช้ประโยชน์จากโปรแกรมนี้ ส�าหรับการบ�ารุงรักษาและจัดการข้อมูลจากพื้นที่ภายในโรงงานผ่าน iPhone หรือ iPad ได้ ซึ่งการกรอกข้อมูลนั้นสามารถใส่ข้อมูลได้ตั้งแต่ค่า pH และ การบ�ารุงรักษาการใช้ของเหลวประจ�าวันรวมถึงประวัติการซ่อมบ�ารุง นอกจากนี้ ยังใช้การบันทึกข้อมูลด้วยะบบ Cloud ซึ่งสามารถเข้าถึง ได้จากทุกทีเ่ พียงแค่สามารถเชือ่ มต่อกับระบบเครือข่ายออนไลน์ นอกจากนี้ แอปพลิเคชันยังรอรับการล็อกอินจากผูจ้ ดั การ นักเทคนิค เครือ่ ง สแกนบาร์โค้ด เครื่องระบุต�าแหน่ง GPS เป็นต้น Source: https://goo.gl/O9Oob7

3D PRINTING กับศักยภาพใหม่ ในการขึ้นรูปชิ้นส่วนยานอวกาศ ด้วยไทเทเนียม

ความก้าวหน้าของเครื่องพิมพ์ 3 มิติในยุคปัจจุบันนับเป็นสิ่งที่ ไม่ อ าจมองข้ า มได้ ด้ ว ยการพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งท� า ให้ ใ นวั น นี้ เครือ่ งพิมพ์ 3 มิติ สามารถผลิตชิน้ ส่วนไทเทเนียมทีม่ ขี นาดใหญ่ได้ดว้ ย เทคโนโลยีเลเซอร์ทมี่ กี �าลังสูงถึง 400 W ซึง่ ในอดีตการขึน้ รูปไทเทเนียม ถือเป็นเรือ่ งทีท่ า� ได้ยาก เนือ่ งจากความแข็งแรงของวัสดุอนั เป็นผลมาจาก การวิจัยของ SLM Solutions NA, Inc. ส�าหรับชิน้ ส่วนทีถ่ กู ผลิตขึน้ มาจากไทเทเนียมนัน้ มีรปู ร่างทีไ่ ม่ได้ซบั ซ้อน มากนัก และมีขนาด 11 x 11 x 13.75 นิว้ ขึน้ รูปโลหะด้วยระบบเลเซอร์ ของ SLM 280HL Selective Laser ท�าให้ได้ชนิ้ ส่วนทีม่ นี า�้ หนักเบาและ แข็งแรงทนทานเป็นอย่างมาก Source: https://goo.gl/b7pPx8

COBOTS พระเอกส�าหรับ งานอุตสาหกรรมยุคใหม่

Cobots หรือ Collaborative Robots นั้น เป็นหุ่นยนต์ที่ใช้ท�างานร่วมกับมนุษย์ มีความยืดยุ่นสามารถปรับใช้งานได้หลากหลาย รูปแบบสายการผลิต ซึง่ เหมาะส�าหรับการปรับใช้ในสายการผลิตทีย่ งั ไม่พร้อมส�าหรับการใช้หนุ่ ยนต์ทงั้ สายการผลิต ต้องการการท�างานร่วมกัน ระหว่างแรงงานมนุษย์และหุน่ ยนต์ หรือสายการผลิตทีจ่ า� เป็นต้องใช้การผสมผสานระหว่างหุน่ ยนต์และแรงงานคนโดยไม่จา� เป็นต้องมีรางกัน้ ส�าหรับการท�างานเพื่อแบ่งภาคส่วน ปัจจุบัน Cobots ที่น่าจับตามองมีอยู่ 3 รุ่นด้วยกัน ได้แก่ 1. YuMi หุ่นยนต์แขนคู่จาก ABB Robotics North America 2. Motoman HC 10 Human-Collaborative Robot จาก Yaskawa America, Inc. 3. UR10 Collaborative Robot จาก Universal Robot USA, Inc. Source: https://goo.gl/jqZrGP

16

Machine Tools & Metalworking


NEWS and MOVEMENT

โลหะเหลวส�าหรับ 3D PRINTING จำก VADER การมาถึงเทคโนโลยีขึ้นรูป 3 มิติแบบใหม่ เป็นสิ่งที่อาจเปลี่ยนโฉมหน้าวงการอุตสาหกรรมและโลหการ ได้อีกครั้ง จากแรงบันดาลใจของชายหนุ่มนามว่า Zack Vader อายุ 24 ปี ได้คิดค้นและพัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่ใช้โลหะเหลวเป็นวัตถุดิบขึ้นมาภายใต้บริษัท CrossPoint Business Park ซึ่งพ่อของเขาเป็น CEO อยู่นั่นเอง ผลงานจากแรงบันดาลใจและความพยายามในครั้งนี้ก่อให้เกิดต้นทุนราคาที่ถูกกว่า เร็วกว่า และมี ศักยภาพมากกว่าการขึ้นรูปโลหะแบบ 3 มิติโดยใช้ผงโลหะ ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานในปัจจุบัน “ในวันนีเ้ ทคโนโลยีโลหะเหลวมันสามารถเติมเต็มให้การขึน้ รูปโลหะแบบธรรมดาได้นะ แต่คงต้องหลังจากนี้ ไปอีกอย่างน้อยสัก 10 ปี เทคโนโลยีนี้จะก้าวหน้าเป็นที่นิยมและครองตลาดการขึ้นรูปโลหะ 3 มิติได้อย่าง แน่นอน เพราะมันสามารถสร้างชิน้ งานได้ดว้ ยคุณภาพทีด่ กี ว่า” Chi Zhou ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สาขา Industrial System Engineering Department คณะวิศวกรรมศาสตร์แห่ง University at Buffalo กล่าว Source: https://goo.gl/EEO2tZ

ERGOSKELETON เครื่องมือส�ำหรับปกป้อง

กันการบาดเจ็บส�าหรับระดับปฏิบัติการ! ก้าวต่อไปของ HEXAGON

กับ MSC SOFTWARE

3M™ Personal Safety Division ได้เปิดตัว ErgoSkeleton รุน่ V22 และ FLx ผลงานจาก StrongArm Technologies Inc. ได้ถกู ออกแบบมาเพือ่ ปกป้องผูป้ ฏิบตั งิ านระดับปฏิบตั กิ ารจาก อาการบาดเจ็บที่หลัง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้จากการยกสิ่งของ ทีม่ นี า�้ หนักมากรวมถึงการใช้ทา่ ทางทีผ่ ดิ ในการออกแรงปฏิบตั งิ าน “เราได้ อ อกแบบอนาคของผู ้ ใ ช้ แ รงงงานในระบบ อุตสาหกรรมใหม่ด้วยผลิตภัณฑ์ FLx และ V22 ErgoSkeleton ซึ่ ง ท� า ให้ ผู ้ ส วมใส่ ส ามารถใช้ ชี วิ ต ได้ โ ดยลดอาการบาดเจ็ บ ทีย่ งั คงหลงเหลืออยูจ่ ากการท�างาน ท�าให้สามารถขยายขอบเขต ศักยภาพของมนุษย์ออกไปได้เกินสิง่ ทีเ่ ป็นมา” Sean Peterson ประธานบริหาร StrongArm กล่าว Source: https://goo.gl/v8E9sj

บริษทั Hexagon AB บริษทั ชัน้ น�าผูใ้ ห้บริการด้าน IT ระดับโลก ได้ ป ระกาศข้ อ ตกลงในการเข้ า ถื อ ครอง MSC Software Corporation ซึ่งเป็นบริษัทที่เชี่ยวชาญด้าน CAE รวมถึง ซอฟต์แวร์จ�าลองส�าหรับผลิตภัณฑ์เสมือน (Virtual Product) ส�าหรับกระบวนการพัฒนาระบบการผลิตอุตสาหกรรม ถือเป็น การยกระดับขีดความสามารถของบริษัทขึ้นไปอย่างโดดเด่น ภายใต้ยุคแห่งเทคโนโลยีเสมือน “MSC นั้นเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลง ส�าหรับพันธกิจของเรา เพือ่ การส่งเสริมให้เกิดกระบวนการผลิต อัจฉริยะที่สามารถลงมือจัดการได้โดยตรง เป็นผลให้เราก้าว เข้าไปใกล้กับรูปแบบการเชื่อมต่อโรงงานนอัจฉริยะอีกขั้นหนึ่ง เราสามารถมองเห็นภาพของอุตสาหกรรมรูปแบบต่างๆ ได้ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์และอากาศยาน” Ola Rollen ประธานกรรมการและประธานบริ ห ารของ Hexagon กล่าว Source: https://goo.gl/zGn5WH

march-april 2017

17


cover story เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

PS-series

Quality with Reliable Efficiency

มากิโน (ประเทศไทย) เปิดตัว PS-series เจาะตลาดผลิตชิ้นส่วนฯ เน้นคุ้มค่า คุ้มราคา คุณภาพคับเครื่อง กว่าทศวรรษที่ผ่านมา ‘มากิโน (ประเทศไทย)’ สร้าง ความมั่ น ใจในตั ว โปรดั ก ส์ สะท้ อ นผ่ า นการครองตลาด เครื่องจักรคุณภาพสูงมากว่า 12 ปี ตอบโจทย์ผู้ประกอบการ ในอุ ต สาหกรรมไทยที่ ต ้ อ งการเครื่ อ งจั ก รผลิ ต แม่ พิ ม พ์ ความละเอียดสูง ถึงวันนี้ มากิโนบุกตลาดเครื่องจักรผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และชิ้นส่วนอื่นๆ ด้วยหลักการเดิมที่ยึดมั่นมาโดยตลอด คือ ‘Quality First’ เปิดตัวโปรดักส์ใหม่ในนาม ‘PS-series’ ทีต่ อบโจทย์อตุ สาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนฯ ด้วยคุณภาพคับเครือ่ ง

ส่งตรงผลิตภัณฑ์เพื่อตลาดผลิตชิ้นส่วนฯ คุณบุญสม กอประเสริฐถาวร Technical Director บริษทั มากิโน (ประเทศไทย) จ�ากัด ชี้เฉพาะลงไปที่ผลิตภัณฑ์ ซีรสี่ ใ์ หม่ของมากิโน (ประเทศไทย) ทีเ่ ปิดตัวในนาม ‘PS-series’ ว่าลูกค้าหลักของเครือ่ งจักรซีรสี่ น์ ี้ คือ กลุม่ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ซึ่งประเทศไทยเป็นฐานหลักระดับโลก โดยยอมรับว่าปัจจัย ที่ผลักดันให้มากิโนเปิดตัวเครื่องจักรซีรี่ส์นี้ ส่วนหนึ่งเพราะ สภาวะทางเศรษฐกิจที่ซบเซามานาน ส่งผลให้ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์มีข้อจ�ากัดด้านการลงทุน ต้องการเครื่องจักรที่มีคุณภาพสูงขึ้นในราคาที่ย่อมเยาลง 18

Machine Tools & Metalworking


“ในช่วงเศรษฐกิจซบเซา ผู้ประกอบการเริ่มเซฟตัวเอง ต้องการเครื่องจักรที่คุ้มค่ามากขึ้น เราจึงออก PS-series รุ ่ น ใหม่ ม า โดยปรั บ แต่ ง จู น อั พ กลไกขั บ เคลื่ อ นและเพิ่ ม ศักยภาพของชุดคอนโทรลเลอร์ เพือ่ ให้ได้โปรดักส์ทไี่ ม่เพียงแต่ มีประสิทธิภาพเหมาะสมต่อการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เท่านั้น แต่ยงั สามารถใช้ในการผลิตแม่พมิ พ์คณ ุ ภาพปานกลางทัว่ ๆ ไป ได้ด้วย” คุณบุญสม แนะน�าให้รู้จักโปรดักส์ PS-series คุ ณ บุ ญ สม อธิ บ ายรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ว่ า โปรดั ก ส์ ในกลุม่ PS-series นี้ มีคณ ุ ภาพในระดับปานกลาง ราคาอาจจะ สูงกว่าเครื่องจักรอื่นๆ จากญี่ปุ่นและไต้หวัน แต่มากิโนเชื่อ มาโดยตลอดว่า เครือ่ งจักรทีด่ ีต้องมีระบบควบคุมการผลิตทีด่ ี “เราไม่ลดราคา ไม่ลดมาตรฐาน สกรูขบั เคลือ่ นเราใหญ่กว่า รางเลือ่ นเราใหญ่กว่า ท�างานได้ดกี ว่า มัน่ คงกว่า ใน PS-series นี้ หวังป้อนตลาดกลาง คือ ให้ผู้ประกอบการที่ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์และผลิตแม่พิมพ์ทั่วๆ ไป สามารถเซฟค่าใช้จ่ายได้ แม้จะแพงกว่าเจ้าอื่น แต่เรายืนยันได้เลยว่าท�างานคุ้มราคา ทั้งด้านความแม่นย�าและความทนทาน” คุณบุญสม ชูจุดแข็ง ของเครื่องจักรมากิโน

เครื่อง Makino PS-series นี้ หวังป้อนตลาดกลาง คือ ให้ผู้ประกอบการที่ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์และ ผลิตแม่พิมพ์ทั่วๆ ไป สามารถเซฟค่าใช้จ่ายได้

PS-SERIES แม่นย�าและรวดเร็ว ในราคาจับต้องได้ งานอุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ตอ้ งการความอึดและลุย เพราะ ต้องใช้เวลาในการผลิตระยะยาวและต่อเนือ่ ง ท�าให้ คุณบุญสม เปรียบเทียบว่า งานแม่พิมพ์ คือ การวิ่งมาราธอน ในขณะที่ งานชิ้นส่วนยานยนต์ คือ การวิ่งผลัด

march-april 2017

19


คุณภาพงานเครื่องจักรท�าแม่พิมพ์ของมากิโนเอง ถือว่าอยู่ในระดับแนวหน้า ไม่เฉพาะในประเทศไทย แต่กระทั่งคู่แข่งในประเทศญี่ปุ่น มากิโน ก็เหนือชั้นกว่าทั้งด้านความแม่นยำา และความทนทาน

“งานผลิตชิ้นส่วนฯ ต้องการความเร็วและความแม่นย�าสูง เพราะเปลี่ยนทูลส์เยอะ ชิ้นส่วนหนึ่งๆ ต้องเปลี่ยนทูลส์เป็น 10 อัน จึงเหมือนวิ่งผลัด 4 x 100 เครื่องจักรต้องเปลี่ยนทูลส์ ได้แม่น เปรียบเหมือนวิ่งแล้วไม้ผลัดห้ามร่วงหลุดมือ ไม่งั้น แพ้เลย นอกจากนี้ ทุกคนต้องเร็วจี๋หมด งานชิ้นส่วนฯ พูดกัน เป็นวินาที เร็วขึ้นแค่เสี้ยววินาทีลูกค้าก็ต้องการ เพราะหาก วันหนึ่งๆ ผลิต 1,000 ชิ้น ถ้าเร็วขึ้นได้ชิ้นละ 1 วินาที ก็เร็วขึ้น ได้ 1,000 วินาที ผลิตเพิ่มได้วันละ 50-60 ชิ้น ก็ถือเป็นก�าไร ของผู้ประกอบการแล้ว” คุณบุญสม เปรียบเทียบให้เห็นภาพ มากิโน (ประเทศไทย) เปิดตัว PS-series โดยแบ่งเครือ่ งจักร เป็น 2 รุ่น เพื่อความเหมาะสมกับแต่ละวัสดุ และเพื่อคุ้มค่า ในการลงทุน รองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมที่มี ความต้องการแตกต่างกันทั้งขนาดและการใช้งาน Makino PS-series 8K เหมาะกับงานทีต่ อ้ งการแรงบิดสูง (High Torque) ท�างานได้ 8,000 รอบต่อนาที เหมาะกับงาน โลหะแข็ง และเหล็กหล่อ Makino PS-series 14K เหมาะกับงานทีต่ อ้ งการความเร็ว แต่แรงบิดต�า่ กว่า โดยท�างานได้ 14,000 รอบต่อนาที เหมาะกับ งานอะลูมิเนียม หรือเหล็กเบา “ระดับคุณภาพชิน้ งานของผูป้ ระกอบการจะเป็นตัวระบุเอง ว่า ต้องใช้เครื่องแบบไหน รุ่น iQ รุ่น V หรือ รุ่น F สามารถ ท�าได้หมด แต่บางทีมันไม่เหมาะสมกับระดับคุณภาพชิ้นงาน หากผู ้ ป ระกอบการต้ อ งการระดั บ คุ ณ ภาพชิ้ น งานทั่ ว ไป 20

Machine Tools & Metalworking

แต่ลงทุนซือ้ F–series ไป ก็ Over Spec เราจึงเสนอ PS-series ไม่จ�าเป็นต้องซื้อแพง ไม่มีเหตุผลต้องสู้ราคาไปลงทุนซื้อ รุ่นพรีเมี่ยม ซื้อ PS-series คุ้มค่ากว่า”

เครื่องจักรมากิโน การันตีคุณภาพ ที่ผ่านมากว่า 10 ปี มากิโน (ประเทศไทย) มุ่งเน้นน�าเสนอ เครือ่ งจักรคุณภาพสูงให้แก่ผปู้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรม ไทย ไม่เพียงขายสินค้า แต่มากิโนยังมีบริการติดตั้ง ซ่อมบ�ารุง รวมถึงให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับระบบวิศวกรรมและเครื่องจักร คุณบุญสมให้ภาพกว้างว่า เครื่องจักรของมากิโนรองรับ ความต้องการของงานทุกระดับความละเอียดและแม่นย�า อาทิ เครื่อง iQ-series ที่เน้นงานละเอียดและซับซ้อน เป็นเครื่อง 3 แกน ทีส่ ามารถท�างานได้ผวิ ละเอียดในระดับ 0.1-1 ไมครอน หรือลดหลั่นมาอย่าง V-series ในระดับ 1-2 ไมครอน และ F-series ในระดับ 3-4 ไมครอน “คุณภาพงานเครื่องจักรท�าแม่พิมพ์ของมากิโนเอง ถือว่า อยูใ่ นระดับแนวหน้า ไม่เฉพาะในประเทศไทย แต่กระทัง่ คูแ่ ข่ง ในประเทศญี่ปุ่น มากิโนก็เหนือชั้นกว่าทั้งด้านความแม่นย�า และความทนทาน”


“นอกจากนี้ เรากล้าพูดได้เลยว่า หากผู้ประกอบการผลิต แม่พิมพ์เลือกใช้เครื่องจักรของมากิโนจะได้รับความเชื่อมั่น จากลูกค้าของคุณอย่างแน่นอน เพราะเครื่องจักรของเรา เหมื อ นเป็ น เครื่ อ งยื น ยั น คุ ณ ภาพของเราเป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้งในหมู่ผู้ประกอบการและผู้บริโภค” คุณบุญสม กล่าวถึง ภาพรวมผลิตภัณฑ์ โดยเครื่องจักร F-series ผลิตและประกอบในโรงงานของ มากิ โ นที่ สิ ง คโปร์ โดยใช้ เ ทคโนโลยี แ ละควบคุ ม การผลิ ต มาตรฐานญี่ปุ่นเช่นเดียวกับ PS-series โปรดักส์น้องใหม่ ที่เพิ่งเปิดตัวได้ปีเศษ โดยหวังตอบสนองความต้องการตลาด เครื่องจักรในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ด้วยการชู จุดเด่นที่ราคาและคุณภาพที่คุ้มค่ากว่าเดิม

เมื่อเอ่ยถึงมากิโน... ต้อง ‘Quality First’ และด้วย ค�าขวัญ ‘คุณภาพต้องมาก่อน’ นีเ้ องทีเ่ ป็นตัวพิสจู น์ตนเอง ของเครือ่ งจักรทีท่ า� งานรับใช้อตุ สาหกรรมไทยมากว่า 30 ปี จนสร้างความเชื่อมั่นและเชื่อมือได้ไม่ว่าเวลาจะผ่านไป นานแค่ไหนก็ตาม...

เปิดมุมมอง... เทรนด์อุตฯ ไทย ชิ้นส่วนอากาศยานมาแน่ หนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S-Curve) ที่ รัฐบาลไทยผลักดันให้เป็นความหวังให้เราหลุดจากกับดักรายได้ ปานกลาง คือ อุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนอากาศยาน ทีส่ ามารถ ต่ อ ยอดได้ จ ากการเป็ น ฐานการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ ไ ด้ ไม่ยากนัก เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ คุณบุญสม มีความเห็นและวิเคราะห์ตลาด สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันว่า การผลิตชิน้ ส่วนอากาศยาน ในประเทศไทยมี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น มาก ทั้ ง การลงทุ น จาก ต่างประเทศ และบริษัทผลิตชิ้นส่วนอากาศยานเดิมที่อยู่ใน ไทยเองก็รบั งานผลิตชิน้ ส่วนอากาศยานเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง งานส่วนนี้ก�าลังขยายตัวในประเทศไทย “มากิโนมีแม่พิมพ์ DM ซึ่งมีความละเอียดสูงมาก ท�างาน ได้ซับซ้อนมาก และนอกจากนี้ บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่นมีหน่วยงาน ทีช่ อื่ ว่า MAG (Makino Aerospace Group) ท�างานเฉพาะเจาะจง ส�าหรับเครื่องจักรเพื่อการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน รองรับ ทั้งการผลิตชิ้นส่วนล�าตัว เครื่องยนต์เทอร์ไบน์ เครื่องไอพ่น ทั้ ง หมดต้ อ งการความเบาและแข็ ง แรง เป็ น งานละเอี ย ด งานยาก ต้องแม่นย�ามากๆ ผู้ผลิตจะเจอความยากล�าบาก เครื่องจักรและเครื่องมือต้องพิเศษ” “บริษทั แม่ของเรามี Know How ทีเ่ ข้มแข็งมาก เรามีพนื้ ฐาน ด้านความแม่นย�าและแข็งแรง พื้นฐานเครื่องจักรของเราดีพอ ที่จะต่อยอดไปสู่ตรงนั้นได้แน่นอน จึงมองตลาดนี้อยู่เช่นกัน” คุณบุญสม กล่าวถึงแนวโน้มอุตสาหกรรมชิน้ ส่วนอากาศยาน และทิศทางของมากิโน (ประเทศไทย) นอกจากนี้ คุณบุญสมยังให้ความเห็นทิ้งท้ายเกี่ยวกับ อุตสาหกรรม 4.0 ด้วยว่า ปัจจัยที่จะส่งเสริมให้เรื่องนี้เกิดขึ้น ได้จริง คือ ข้อจ�ากัดด้านแรงงานทีห่ ายากขึน้ ทุกวัน โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมกลุ่มที่ต้องใช้แรงงานระดับกลาง สามารถผันตัว มาลงทุนกับเครื่องจักรและออโตเมชั่นได้เร็วและคุ้มค่ากว่า แต่ทั้งนี้ ข้อควรระวัง ในอุตสาหกรรม 4.0 คือ การฝาก ทุ ก อย่ า งไว้ กั บ เครื่ อ งจั ก รและระบบ หากเกิ ด ข้ อ ผิ ด พลาด หรือ Error ย่อมหมายถึง การ ‘ทิ้งทั้งล็อต’ หรือ ‘ไม่มีชิ้นดี’ ผู้ประกอบการจึงต้องเลือกเครื่องมือเครื่องจักรและวางระบบ ที่มีคุณภาพและความแม่นย�า

บริษัทแม่ของเรามี Know How ที่เข้มแข็งมาก เรามีพื้นฐานด้าน ความแม่นย�าและแข็งแรง พื้นฐาน เครื่องจักรของเราดีพอที่จะ ต่อยอดไปสู่การท�างาน เฉพาะเจาะจงส�าหรับเครื่องจักร เพื่อการผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน รองรับทั้งการผลิตชิ้นส่วนล�าตัว เครื่องยนต์เทอร์ไบน์ เครื่องไอพ่น ทั้งหมดต้องการความเบา และแข็งแรง เป็นงานละเอียด

march-april 2017

21


plant explore เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

BMW's

Plugin-Hybrid Assembly Line เยี่ยมชมสายการประกอบ Plug-in Hybrid ส่งตรงจาก BMW จากกระแสทิศทางของยานยนต์อนุรกั ษ์พลังงานทีเ่ กิด ขึ้นทั่วโลกในขณะนี้ ท�าให้เกิดการพัฒนาและการตื่นตัว ของตลาดในวงกว้างทั้งทางด้านนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง อย่างแบตเตอรี่ ระบบขับเคลื่อน ฯลฯ เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของตลาดให้ได้มาตรฐานที่เหมาะสม BMW ได้เล็งเห็นความส�าคัญเหล่านี้และได้ด�าเนิน สายการประกอบยานยนต์กึ่งไฟฟ้าหรือ Plug-in Hybrid (PHEVs) ขึ้นภายในประเทศไทยด้วย BMW 330e Luxury และ BMW X5 xDrive40e M Sport โดยจัดงานเปิดตัวขึ้น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงงาน BMW Group Manufacturing Thailand นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ 22

Machine Tools & Metalworking

จังหวัดระยอง ซึง่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรงอุตสาหกรรม ดร.อุตตม สาวนายน เป็นประธานในพิธี โรงงานแห่งนี้ ถือเป็นเป็นโรงงานแห่งเดียวในโลกทีท่ า� การประกอบยานยนต์ BMW MINI และ BMW Motorrad ทั้ง 3 แบรนด์ภายใต้ โรงงานเดียวกัน สายการประกอบยานยนต์ PHEV ของ BMW นั้น เน้นไปทีก่ ารจัดการพืน้ ทีใ่ ช้สอยและพืน้ ทีส่ า� หรับตรวจเช็ก ระบบการท�างานของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง การท�างานของ โรงงานแห่งนีเ้ ป็นการน�าเข้าชิน้ ส่วนตัวถังจากต่างประเทศ รวมถึ ง ชิ้ น ส่ ว นแบตเตอรี่ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง เป็ น ชิ้ น ส่ ว นส� า คั ญ ได้น�ามาท�าการประกอบที่นี่ด้วยเช่นกัน



Interview

An Upturn

in Metal Processing

‘Amaka’ Trusts in ‘Brystronic’ Machineries to Add Value for Its Products And Sheet Metal Asia 2017 Exhibits Innovations to Response Growth Trend

ขาขึ้นแปรรูปโลหะ…

‘อะมาก้า’ มั่นใจเครื่องจักร ‘Brystronic’ สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ ด้านงานชีทเมทัล เอเชีย 2017 โชว์นวัตกรรมตอบโจทย์กระแสการเติบโต หนึ่งในอุตสาหกรรมที่เป็นฐานรากให้เศรษฐกิจ ของประเทศมาโดยตลอด อย่างอุตสาหกรรมโลหะ เป็ น หนึ่ ง ในอุ ต สาหกรรมที่ ไ ด้ รั บ ผลเชิ ง บวกจาก นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่สนับสนุนให้ ลงทุนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมเช่นกัน ส่งผลให้ ผู้ประกอบการที่สามารถพัฒนา สร้างมูลค่าเพิ่ม และ สร้างจุดแข็งให้สินค้าและบริการสามารถเติบโตตาม กระแสได้อย่างก้าวกระโดด ฟังเสียงกลยุทธ์ส�าคัญอย่างบริษัท อะมาก้า เลเซอร์คัต จ�ากัด ซึ่งเป็นผู้น�าทางด้านการตัด พับ ดัดโลหะ และอโลหะบางประเภท ทีส่ ร้างความแข็งแกร่ง ในงานบริการ โดยชูจดุ แข็งด้านคุณภาพด้วยการลงทุน ทางด้านเครื่องจักรในระบบอัตโนมัติ ผสานกับความ เชี่ยวชาญของบุคลากร พร้อมทั้ง ตามติดงานแสดง นวั ต กรรมส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมแปรรู ป โลหะแผ่ น ในงานชีทเมทัล เอเชีย 2017 ซึง่ ครบครันด้วยเทคโนโลยี เครื่องจักรและอุปกรณ์มากที่สุดในประเทศไทย ซึ่งจัด ในวันที่ 17-20 พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค ทีเ่ ป็นดัชนีชวี้ ดั ถึงการเติบโตของ อุตสาหกรรมทางด้านนี้ได้เป็นอย่างดี

ลงทุนเลือกเครื่องจักร เลือก Bystronic ได้ผลลัพธ์เกินคาดหมาย คุ ณ มี ชั ย วงศ์ น พดลเดชา กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั อะมาก้า เลเซอร์คตั จ�ากัด พูดถึง เรื่องนี้ว่า ช่วงปีหลังๆ มานี้ มีออร์เดอร์จาก ลูกค้าเข้ามาจ�านวนมากและหลากหลาย จาก เทรนด์นี้เองที่ท�าให้อะมาก้ามีความโดดเด่น และเติบโตในวงการแปรรูป เพราะสามารถ ชูจุดแข็งของตัวเองได้ท่ามกลางธุรกิจประเภท เดี ย วกั น การเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งจั ก รจึ ง มี ค วาม ส�าคัญเป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจากเป็นการลงทุนทีม่ ี 24

Machine Tools & Metalworking

มูลค่าสูง จึงต้องดูประสิทธิภาพการท�างานและ ระยะเวลาการใช้งานของเครื่องจักรเป็นหลัก เป็นเหตุผลให้อะมาก้าเลือกเครื่องจักรจาก Bystronic “เราเปิดตัวบริษทั ตอนปี 2525 ตอนนัน้ เรา ใช้เครื่องจักรที่ท�างานด้วยคอมพิวเตอร์ พอถึง ปี 2540 เราหาออโตเมชั่นมาใช้งาน พอถึงปี 2545 เราลงเครื่อง Bystronic เป็นเครื่องแรก เป็นเครื่องแรกในเอเชียด้วย” “Bystronic มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี อ ยู ่ เสมอ มองแล้ ว ว่ า สามารถรองรั บ ธุ ร กิ จ ใน อนาคตของเราได้ รั ฐ บาลมี แ ผนการลงทุ น ด้ า นสาธารณู ป โภคและระบบโลจิ ส ติ ก ส์ เชือ่ มโยงอาเซียน เศรษฐกิจในประเทศจึงมีโอกาส เติบโตไปอีกไกล เราจึงวางแผนแบบระยะยาว ในการซื้อเครื่องจักรเพื่อรองรับโอกาสที่เข้ามา ต้องมองเทรนด์ที่ก�าลังมา เราต้องก้าวไปก่อน ต้องมองให้ไกลมากกว่าที่คนอื่นมอง” “เราตั ด สิ น ใจซื้ อ เครื่ อ งจั ก รรุ ่ น ล่าสุดของ Bystronic เพราะความสามารถท�างานได้หลากหลาย

ประสิทธิภาพคงทน ระบบอัตโนมัติ สามารถ ท�างานได้ 24 ชั่วโมง โดยใช้บุคลากร 1 คน ในการควบคุ ม ประหยั ด ก� า ลั ง ไฟฟ้ า 30% อะไหล่ก็ลดลง 25% ลดต้นทุน ประกอบกับ ความเร็ ว ของเครื่ อ งที่ ตั ด ได้ เร็ ว กว่ า ทุ ก รุ ่ น ที่เคยมีมา” คุณมีชัยกล่าวเพิ่มเติมถึงบริการหลังการ ขายของบริษัท ที.เวลดิ้ง จ�ากัด ซึ่งเป็นตัวแทน จ�าหน่ายเครือ่ ง Bystronic ว่า หากเครือ่ งจักรเสีย มีช่างเทคนิคเข้ามาดูแล ประเมิน และจัดหา อะไหล่มาซ่อมแซมได้ทันที ไม่เคยต้องหยุด สายการผลิต จึงไม่เคยเสียลูกค้าหรือเสียโอกาส ทางธุรกิจเลย แต่ที่ส�าคัญที่สุด คือ บริการหลัง การขายที่น่าประทับใจ คุณมีชยั กล่าวถึงเหตุผลในการเลือกเครือ่ ง ของ Bystronic พร้อมกับพาชมเครื่องอื่นๆ อาทิ Bystronic Xpert 150 Fast Bend เครื่ อ งพั บ โลหะท� า งานด้ ว ยระบบไฮดรอลิ ก ฟูลออโตเมชัน่ มี CNC Control ระบบสัมผัสท�างานได้ ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง มีระบบระบายความร้อน ทีด่ ี ท�างานเสถียร แรงดันไม่ตก นอกจากนี้ งาน ทีไ่ ด้มคี วามละเอียดสูง ค่าคลาดเคลือ่ นไม่ถงึ 0.5 มิลลิเมตร เหมาะกับงานประณีต ส่วน Bysprint Pro 4020 เป็นเครื่องตัดที่ ท�างานได้กว้างกว่าปกติ สามารถตัดงานได้เร็ว ประหยัดพลังงาน ตัดงานได้เกือบทุกประเภท ของโลหะ ทั้งเหล็ก สเตนเลส อะลูมิเนียม ทองเหลือง ทองแดง และอโลหะ เช่น อะคริลกิ และไม้ MDF “ผู้ประกอบการต้องหมั่นศึกษา ตามให้ ทัน อย่าหยุดนิ่ง ทั้งเรื่องระบบ เทคโนโลยี และเทรนด์ความต้องการของทั้งผู้บริโภค และ อุตสาหกรรม อย่ากลัวเรื่องการลงทุน พัฒนา ไปเรื่อยๆ แล้วเราจะรอด” “ความกลัวเรื่องการลงทุนจะท�าให้เรา ไม่สามารถไปแข่งขันกับผู้อื่นได้” คุณมีชัยกล่าวทิ้งท้าย...


Making Investment on Bystronic Gains the Result Beyond Expectation Mr. Meechai Wongnoppadoldaecha, Managing Director, Amaga Laser Cut Co., Ltd. said that in the past years, there were huge and variable orders coming in. This trend helped promoting the company’s strength and growing in the field of processing because company could hold up its prominent point among the same type of business. Therefore, selecting machineries was an important matter since it was pricy so machinery’s performance and operating time length were the key factors. This was why Amaka chose to use machineries from Bystronic. “We started the company in 1982 and at that time, we used machineries operated with computer. Then, in 1997, we started to seek for automation system, and in 2002, we used Bystronic machinery for the first time in Asia.” “Bystronic has always developed its technology which we thought their machineries could take up our business in the future. And since the government has an investment plan on infrastructure and logistics system to connect ASEAN, this makes economy in the country standing a chance to get growing even more in the long run. Therefore, we has set a long term plan to buy machineries to take up all coming opportunities, while we have to forecast the

upcoming trend, and have to be ahead of the game and others as well.” “We decided to buy the latest series machine of Bystronic because of its versatility, consistency performance, automation system, and 24hrs non-stop operation, while the machine needs only one operator to control, and save 30% electric power, and reduce the cost of parts by 25%, and more importantly, its cutting speed is faster than every existing cutting machine in the market. Mr. Meechai added about after sale service of T. Welding Co., Ltd. ; the Bystronic’s machinery distributor that every time when machinery has broken down, technicians would come to take care, evaluate, and supply parts for immediate maintenance and repair which the production line has never been stopped so the company has never dismissed customer or lost business opportunity, but the most important thing was the impressive after sale service. Mr. Meechai said about the reason to choose Bystronic machinery as well as

presented other machineries such as; Bystronic Xpert 150 Fast Bend is a metal folding machine which is operated with full automation hydraulic system equipped with CNC Control and touch system. This machine can be continually operated 24hrs with good heat ventilated system, operation and pressure stabilization. Besides this machine has high resolution with deviation value less than 0.5 mm suits more elaborated work. Bysprint Pro 4020 is a cutting machine that cover wider range of works than general cutting machines. This machine can quickly cut work piece and save energy. Basically, it can cut almost every type of metals including steel, stainless, aluminum, brass, copper, and non-metal such as acrylic and MDF wood. “Entrepreneur must always study and keep up with system, technology and demand trend of both consumer and industry. Do not afraid of making investment and keeping on development, then we will be survived since the fear of investment will give no chance to compete with others” said Mr. Meechai.

One fiber laser, all options and Intelligent solutions for loading and unloading laser cutting systems

BySprint Fiber with ByTrans Extended • สามารถใช้ได้กับรุ่น 3015, 4020, 6520 และ 8020 สามารถจัดการกับแผ่นโลหะขนาด 8x2 เมตร ได้อย่างรวดเร็ว • ปริมาณงานสูงสุดและคุณภาพการตัดระดับเฟิรส์ คลาส ใช้ได้กับแผ่นโลหะที่มีความหนาต�่าถึงปานกลางขึ้นอยู่กับ ก�าลังของเลเซอร์ • ต้นทุนการท�างานต�่า เนื่องจากต้องการพลังงานน้อย และไม่ต้องใช้ก๊าซส�าหรับสร้างเลเซอร์

• ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อั จ ฉริ ย ะส� า หรั บ การขนถ่ า ยวั ต ถุ ดิ บ เข้าและออกจากระบบตัดด้วยเลเซอร์นี้ มีการใช้งานยืดหยุ่น ไม่เพียงใช้กบั การจัดเก็บ/การขนย้ายกลับเท่านัน้ ยังใช้สา� หรับ การถอดชิ้นส่วนขนาดใหญ่ด้วย รวมถึงการเตรียมอุปกรณ์ ป้องกันส�าหรับแยกส่วนที่ท�าจากพลาสติก ซึ่งเครื่องจะใส่ เข้าไประหว่างแผ่นโลหะ • กระบวนการผลิตชิน้ งานแบบใช้คนควบคุมเพียงเล็กน้อย

• Available in models 3015, 4020, 6520 and 8020: sheet metal up to 8 × 2 meters in format can be processed quickly and economically • Unparalleled high parts production and first-class cutting quality for thin to medium thick sheet metal, depending on laser power • Low operating costs since minimal energy is used and no laser gas is required • ByTrans Extended : Flexible use. Not just for storage/return transfer but also for large parts removal as well as the preparation of plastic protective separators, which are placed between the metal sheets by the system • Entry into lightly manned parts production

17-20 May 2017

BITEC, Bangna

march-april 2017

25


ชีทเมทัล เอเชีย 2017 ครบครันด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักร และอุ ป กรณ์ ส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมแปรรู ป โลหะแผ่ น มากที่สุดในประเทศไทย

Sheet Metal Asia 2017 offers the most completed ranges of machinery and device technologies for metal sheet processing industry in Thailand

ในช่วงที่เศรษฐกิจมหภาคมีความผันผวน แต่ภาค การผลิตในอุตสาหกรรมแปรรูปโลหะแผ่นยังคงเติบโต สวนกระแส ในปีนี้ได้ขยายพื้นที่จัดงานกว่า 25% โดย ผู้เข้าร่วมงานจาก 25 ประเทศ ร่วมจัดแสดงเทคโนโลยี กว่า 200 แบรนด์ชั้นน�า พร้อมกับเทคโนโลยีล่าสุดกว่า 20 รายการที่มาเปิดตัวเป็นครั้งแรกในประเทศไทยและ ภูมิภาคอาเซียน แบรนด์ชนั้ ระดับโลกทีร่ ว่ มน�าเสนอเทคโนโลยีลา่ สุด เพื่ออุตสาหกรรมยานยนต์ อากาศยาน เครื่องใช้ไฟฟ้า งานก่อสร้างและตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์การ แพทย์และสุขภาพ และอุตสาหกรรมการเกษตร อาทิ Bodor, Bystronic, Dener, Durma, Eagle, Ermaksan, Euromac, Flow, LVD, Mazak, Mitsubishi, Maxiem, Farley Laserlab, Angle, Ras, DNE Laser, MG, LFK, Han’s Laser, Haco, Han Kwang, Jaimac, Murata, Nukon, Omax, ProArc, Adira, Akyapak, Geka, HSG, Techni, Timesaver, Tops, Cosmic, Fiber Technique, YSD ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมกว่า 20,000 ราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้มีอ�านาจตัดสินใจให้ความสนใจ เข้าร่วมชมงานทุกปี ถือได้วา่ เป็นงานเดียวในประเทศไทย ที่รวบรวม เทคโนโลยีไฟเบอร์ เลเซอร์ ไว้มากที่สุด จัดพร้อมกับ เวลเทค 2017 งานแสดงเทคโนโลยี อุปกรณ์งานเชื่อม รวมถึงกิจกรรมแข่งขันฝีมือแรงงาน ช่างเชือ่ มแห่งประเทศไทยร่วมกับกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ส�านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สมาคมครูและ ผู้ประกอบการวิชาชีพช่างเชื่อม บริษัท อาร์.พี.เอส ซัพพลาย จ�ากัด บริษัท เอส.อี.เอ. เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด และ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด

During the fluctuated phase of macro economy, manufacturing sector in metal sheet processing industry still keeps growing against such trend. For this year, the event expands its exhibition space more than 25% with a large number of exhibitions over 200 leading brands of the world, coming from 25 countries with over 20 latest technologies to be introduced for the first time in Thailand and ASEAN region. The world’s leading brands joining the exhibition to introduce their latest technologies in automobile, aviation, electric appliance, construction and decoration, furniture, medical device and wellness, and agricultural industries include Bodor, Bystronic, Dener, Durma, Eagle, Ermaksan, Euromac, Flow, LVD, Mazak, Mitsubishi, Maxiem, Farley Laserlab, Angle, Ras, DNE Laser, MG, LFK, Han’s Laser, Haco, Han Kwang, Jaimac, Murata, Nukon, Omax, ProArc, Adira, Akyapak, Geka, HSG, Techni, Timesaver, Tops, Cosmic, Fiber Technique, YSD, etc., while over 20,000 entrepreneurs in industries especially decision makers are interested to participate this major event every year. This is considered the only event in Thailand that gather the most fiber laser technologies of the world. Sheet Metal Asia 2017 is held together with Weldtech 2017; a welding tool technology exhibition as well as Thailand’s welding technician skill competition, arranged in-association of Department of Labor Skill Development, the Office of Vocational Education Commission, Instructor and Welding Technician Profession Association, R.P.S Supply Co., Ltd., S.E.A Engineering Co., Ltd., and UBM Asia (Thailand) Co., Ltd.

Laser Cutting , Engraving Machine

26

Machine Tools & Metalworking


INTERMACH 2017 ‘Advanced Technology - The SMART WAY to Success’ 17-20 May 2017 at BITEC, Bangkok, Thailand The heart of today’s SMART Factory comprises self-configuring production technology plus associated planning and control systems. It uses a fully comprehensive network to connect virtual and physical production elements by introducing the 'Internet of Things and Services' to manufacturing operations. Technology such as Big Data, Advanced Analytics, the Internet of Things (IoT), Advanced Robotics, and Learning Machines, are finding their way into factories. Industrial Machinery, Equipment, Tools, and the latest Automation will all meet these requirements and be on display at INTERMACH 2017 – a not-to-be-missed event! For more than 30 years, INTERMACH has proved to be the ideal business platform for entrepreneurs seeking new innovations in manufacturing. Introducing new and more efficient technology to production can provide a business with the competitive edge entrepreneurs seek. INTERMACH is the only exhibition in Thailand that focuses exclusively on industrial machinery… so that your company is ready for business excellence. “To stay competitive, SMEs need to continuously innovate and reinvent their business strategies, and invest in new capabilities that make the most of new opportunities. The rising cost of living, raw materials and wages also means entrepreneurs need to advance and become a SMART Factory. By investing in

หั ว ใจของโรงงานอั จ ฉริ ย ะ (SMART Factory) ทุ ก วั น นี้ ป ระกอบด้ ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ส ามารถ ตั้ ง ค่ า ได้ อั ต โนมั ติ และการวางแผน/ควบคุ ม การผลิ ต ที่ ป ระสานเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น โดยเพิ่ ม เทคโนโลยี การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของสิ่งของและบริการต่างๆ เข้ า สู ่ ก ระบวนการผลิ ต โดยใช้ เ ครื อ ข่ า ยอั จ ฉริ ย ะ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีต่างๆ เข้าด้วยกัน อาทิ การใช้ ข้อมูลขนาดใหญ่ การวิเคราะห์ขั้นสูง เทคโนโลยีหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ และปัญญาประดิษฐ์ ที่ เข้ า มามี อิ ท ธิ พ ลกั บ โรงงานผลิ ต ในยุ ค นี้ เพื่ อ ช่ ว ย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต และเปิ ด ช่ อ งทางสู ่ นวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตมากขึ้น งานอินเตอร์แมค 2017 เป็นศูนย์รวมเครื่องจักรอุตสาหกรรม เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีอัตโนมัติล่าสุดที่พร้อมส�าหรับ การปฏิวัติการผลิตในยุคนี้ ผลงานกว่า 30 ปีที่ผ่านมา ได้พิสูจน์แล้วว่างาน อิ น เตอร์ แ มค คื อ เวที ข องผู ้ ป ระกอบการที่ มุ ่ ง มั่ น หา นวั ต กรรมที่ เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต น� า เสนอ เทคโนโลยี ล ่ า สุ ด เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ทาง ธุรกิจ งานแสดงสินค้างานเดียวในประเทศไทยที่เน้น จัดแสดงเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม…ให้คุณพร้อมก้าวสู่ ความเป็นเลิศด้านธุรกิจ “เพื่อให้ความรู้ผู้ประกอบการในการเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขัน จึงจ�าเป็นต้องหาโอกาสทางธุรกิจ และลงทุนเสริมสร้างศักยภาพใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัง้ ด้านค่าครองชีพ วัตถุดบิ และค่าจ้าง เป็ น ปั จ จั ย เสริ ม ที่ ท� า ให้ ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งลงทุ น ใน เทคโนโลยี แสวงหากระบวนการผลิตที่สิ้นเปลืองน้อยลง march-april 2017

27


advanced technology, they will increase their chances of success through greater business flexibility combined with lean and efficient operations that will permit a variety of different products manufactured at the same facility. Profitable mass customization allows for the production of small lots (even as small as single unit items) due to the ability to rapidly configure machines to meet to customer specifications and changes in manufacture,” said Mrs. Sukanya Amornurathkhun, Project Manager at UBM Asia (Thailand), the show organizer. “Companies need to be able to produce products of greater complexity in order to stay ahead of competition coming from ASEAN and around the world. As a result, future products will offer better value, especially items that require precision accuracy and quality. INTERMACH will have much of this exciting equipment on display at the 2017 show - an event you just can't afford to miss," the Director added. “We look forward to seeing you there.” Besides the manufacturing technology exhibition, INTERMACH is co-located with Subcon Thailand 2017 - ASEAN’s Largest Industrial Subcontracting and Business Matching Event, plus also many activities such as Thailand Welding Competition, Advance Mold & Die Making Workshop, Enhance Automotive Part Manufacturing Standard Seminar, Medical Device and Aerospace Part Manufacturing Seminar from the experts, Seminar for Japanese Executive in Automotive and New S-Curve Investment and various seminar topics for manufacturer.

มีประสิทธิภาพมากขึน้ สามารถผลิตสินค้าได้หลากหลาย ในโรงงานแห่งเดิม หรือที่เรียกกันว่า 'โรงงานอัจฉริยะ' (SMART Factory) ที่สามารถผลิตตามค�าสั่งแต่ยังมีก�าไร แม้จะผลิตในปริมาณน้อยจนถึงสินค้าเพียงชิ้นเดียวก็ได้ ด้วยการตั้งค่าเครื่องจักรให้ตอบรับกับความต้องการของ ลูกค้าและการเปลี่ยนแปลงในค�าสั่งผลิตอย่างรวดเร็ว” คุณ สุกัญญา อมรนุรัตน์กุล ผู้จัดการโครงการ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) ผู้จัดงานกล่าว “ธุรกิจต้องสามารถผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนได้ มากขึ้น เพื่อจะแข่งขันกับผู้ผลิตทั้งในภูมิภาคและทั่วโลก ผลิตภัณฑ์ในอนาคตจึงต้องมีมูลค่ามากขึ้น โดยเฉพาะ สินค้าทีม่ คี วามละเอียดและคุณภาพสูง งานอินเตอร์แมค ในปีนี้มีเทคโนโลยีใหม่ๆ มากมาย คุณจึงไม่ควรพลาด” ผู้อ�านายการกล่าว นอกจากจะได้ชมเทคโนโลยีเพื่อการผลิตแล้ว งานนี้ ยังจัดร่วมกับงาน ซับคอน ไทยแลนด์ 2017 ศูนย์กลาง ของการจัดซือ้ จัดหาชิน้ ส่วนอุตสาหกรรมแห่งภูมภิ าค และอี ก หลากหลายกิ จ กรรม อาทิ การแข่ ง ขั น ฝี มื อ ช่ า งเชื่ อ มแห่ ง ประเทศไทย สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร การผลิ ต แม่ พิ ม พ์ ขั้ น สู ง สั ม มนาอุ ต สาหกรรมเพื่ อ ยกระดับมาตรฐานการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ และสั ม มนาจากผู ้ เชี่ ย วชาญในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นอุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ แ ละอุ ต สาหกรรม อากาศยาน สั ม มนาส� า หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารญี่ ปุ ่ น เกี่ ย วกั บ การลงทุนในประเทศไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์และ อุตสาหกรรมในอนาคตที่รัฐบาลให้การสนับสนุน และ อีกหลากหลายหัวข้อเพื่อนักอุตสาหกรรม

ASEAN'S LARGEST INDUSTRIAL MACHINERY & SUBCONTRACTING EXHIBITION

Further details can be obtained from our website: www.intermachshow.com or contact us Intermach@intermachshow.com Tel: +662 642 6911

ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.intermachshow.com หรือติดต่อ intermach@intermachshow.com โทรศัพท์: +662 642 6911

28

Machine Tools & Metalworking

คุณ สุกัญญา อมรนุรัตน์กุล ผู้จัดการโครงการ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย)


SUBCON THAILAND 2017 -THE ‘HEART OF ASEAN’S INDUSTRIAL PARTS SOURCING INDUSTRY’ With over a decade of proven success in business linkage and providing outstanding new business opportunities, SUBCON THAILAND is at the center of successful parts sourcing destination. The 2017 event is again being organized by the Thailand Board of Investment in conjunction with the Thai Subcontracting Promotion Association and UBM Asia (Thailand). The show will be held from 17-20 May 2017 at BITEC Bangkok, Thailand. The 2017 event will feature leading part-makers of metal, plastics and rubber parts; electrical and electronic components; mold and die; tooling, jigs and fixtures - plus a variety of support industries such as Automotive, Mechanical, Electronics, Electrical Appliances, Air-Conditioning, Construction and more. More than 400 industrial part-makers especially from Thailand, Taiwan, Japan and ASEAN are expected to exhibit at this record-breaking event.

กว่า 10 ปืที่กล่าวได้ว่า ซับคอน ไทยแลนด์ ได้สร้าง โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ให้กบั ผูป้ ระกอบการ โดยการจับคู่ ทางธุ ร กิ จ และก้ า วสู ่ ก ารเป็ น งานที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร วม การจั ด ซื้ อ จั ด หาชิ้ น ส่ ว นอุ ต สาหกรรมแห่ ง ภู มิ ภ าคที่ ประสบความส� า เร็ จ มากที่ สุ ด โดยความร่ ว มมื อ ของ ส� า นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น สมาคม ส่งเสริมการรับช่วงผลิตไทย และ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) ระหว่างวันที่ 17-20 พฤษภาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุม BITEC ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมภิ าคทีผ่ ผู้ ลิตทัว่ โลก มาเพื่อจัดหาชิ้นส่วนอุตสาหกรรม และในปีนี้มีผู้ผลิต ชิน้ ส่วนชัน้ น�าทัง้ ชิน้ ส่วนโลหะ พลาสติก และยาง ชิน้ ส่วน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด ต่ า งๆ ไปจนถึ ง ผู ้ รั บ จ้ า งผลิ ต จากอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น ที่ต้องการ อาทิ ยานยนต์ เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้า ปรับอากาศ งานก่อสร้างและตกแต่ง และอีกมากมาย รวมกว่า 400 ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนจากทัง้ ในประเทศไทย ไต้หวัน ญี่ปุ่น และอาเซียนเข้าร่วมแสดงในงานครั้งนี้ march-april 2017

29


SUBCON Thailand as the regional hub for sourcing industrial partsis ready to welcome over 25,000 Industrial Part Buyers from all over the world, including large Tier 1 and Tier 2 corporations will also be attending the event which provides an excellent business platform for important industries such as Automotive, Medical Devices, and Aerospace Equipment. One of the highlights of SUBCON Thailand 2017 will be the match-making program which offers outstanding business opportunities and business linkage designed to help you establish long-term, global partnerships between part makers and part buyers from around the world. So if you’re looking for business opportunities, SUBCON Thailand 2017 is a must …and right at the heart of the action. You can’t afford to miss this unique opportunity for new business. Over a decade, business matching activities at SUBCON THAILAND have created over 20,000 partnerships. Major manufacturers from all over the world continue to use the show as an essential venue to meet with top quality part-makers. Free! Register online for the special Business Matching Program today. Go to:www.subconthailand. com. Registration closes on 5th May 2017. SUBCON THAILAND 2017 is absolutely the ‘mustattend’ event of the year and you can’t afford to miss it!

Asean's largest industrial SUBCONTracting and business matching EVENT

ผู้จัดซื้อชิ้นส่วนอุตสาหกรรมจากทั่วโลกกว่า 25,000 คน รวมถึ ง หน่ ว ยงานจั ด ซื้ อ จากองค์ ก รระดั บ เที ย ร์ 1 และ 2 ก็ตอบรับเข้าร่วมงานเพือ่ หาพาร์ทเนอร์ทางธุรกิจ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมใหม่ๆ ที่ส�าคัญ เช่น ยานยนต์ แห่ ง อนาคต อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ การแพทย์ รวมถึ ง อุตสาหกรรมอากาศยานและการบิน หนึ่ ง ในกิ จ กรรมส� า คั ญ ของ ซั บ คอน ไทยแลนด์ 2017 คือ การจับคู่ธุรกิจ ซึ่งจะช่วยเปิดโอกาสและความ เชื่อมโยงทางธุรกิจ น�าไปสู่ความร่วมมือในระดับโลก ระหว่างผู้ผลิตชิ้นส่วนและหน่วยงานจัดซื้อจากบริษัท ผู้ผลิตชั้นน�าทั่วโลก กิจกรรมการเจรจาจับคูธ่ รุ กิจ จัดโดยหน่วยพัฒนาการ เชื่อมโยงอุตสาหกรรม ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (บีโอไอ) เชื่อมโยงธุรกิจให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนและ ผู้ซื้อพบปะเจรจาโดยนัดหมายได้ล่วงหน้าเพื่อพบปะ เจรจากั น ภายในงาน กิ จ กรรมการจั บ คู ่ เจรจาธุ ร กิ จ ในงานซับคอน ไทยแลนด์ 10 ปีทผี่ า่ นมาก่อให้เกิดธุรกรรม กว่า 5 หมื่นล้านบาท จับคู่เจรจาธุรกิจแล้วกว่า 20,000 คู่ ฟรี ล งทะเบี ย นถี ง วั น ที่ 5 พฤษภาคม 2560 www.subconthailand.com

For more information about SUBCON THAILAND 2017 please visit us at www.subconthailand.com or contact: Sukanya.A@ubm.com or tel +66 2 642 6911

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ซับคอน ไทยแลนด์ 2017 เข้าชมได้ที่ www.subconthailand.com หรือติดต่อ Sukanya.A@ubm.com หรือโทรศัพท์ : +662 642 6911

30

Machine Tools & Metalworking



special feature / welding เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

Know How to Action! Practical Electric Welding 2! ความรู้สู่ปฏิบัติการ-เริ่มฝึกเชื่อมไฟฟ้า 2

ลวดเชื่อม PIC.17 การฝึกเชื่อม พอกผนังแนวตั้ง PIC.17 32

Machine Tools & Metalworking

ในฉบับที่ผ่านมา เราได้คุยกันถึงเรื่อง เริ่มฝึกเชื่อม ไฟฟ้าให้ผู้ที่ต้องการจะยึดอาชีพช่างเชื่อมที่ได้มาตรฐาน ตามรูปแบบของเยอรมัน โดยเราเริ่มจากการเชื่อมพอก ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 แบบฝึก แล้วตามด้วยการเชื่อมเข้ามุม เป็นแบบฝึกที่ 2 ฉบับนีเ้ ราจะคุยกันต่ออีก 3 แบบฝึก โดย เริ่มจากการฝึกเชื่อมแนวตั้ง

3. การฝึกเชื่อมแนวตั้ง ผู้ที่จะยึดอาชีพช่างเชื่อม จะต้องได้รับการฝึกเชื่อม แนวตั้ง ทั้งการเชื่อมเข้ามุมใน/นอก และการเชื่อมต่อ ตะเข็บเป็นรูปตัว V โดยส่วนใหญ่จะเป็นการฝึกเชื่อมขึ้น คือ เชื่อมจากด้านล่างสู่ด้านบน ถ้าเป็นตะเข็บหนาจะเชื่อมยึดไปก่อนหนึ่งแนว ใน ภาษาเยอรมัน เรียก Wurzelraupe (วัวร์เซลเราเพ) ซึ่งถ้า แปลเป็นไทยอาจบอกได้ว่าเป็นแนวราก จากนั้นจะเชื่อม ซ�้าพอกแนวจนเต็มร่อง ช่ า งเชื่ อ มจะเรี ย นรู ้ ว ่ า ในการเชื่ อ มขึ้ น แนวตั้ ง นั้ น จะต้ อ งลดกระแสไฟให้ น ้ อ ยลงกว่ า การเชื่ อ มในแนว ระนาบ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ลวดเชื่อมชนิดใด ทั้งนี้ เพื่อ ไม่ ใ ห้ อุ ณ หภู มิ ใ นการหลอมละลายสู ง เกิ น จนท� า ให้ น�้าเหล็กไหลลง เริ่มแรกช่างเชื่อมต้องฝึกลากตะเข็บเชื่อมแนวตั้งบน แผ่นเหล็กหนา 10 มม. ดังรูปที่ 17 ก่อน ให้ได้แนวเชื่อม สักจ�านวนหนึ่ง เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับการเชื่อม แนวตั้ง การแกว่งลวดเชื่อมไปมาขณะสร้างแนวเชื่อม จะใช้เวลาประมาณ 1 วินาที โดยขณะเริม่ แนวอาจนานกว่า


เล็กน้อย เพือ่ ให้นา�้ แหล็กเป็นฐานแนวเชือ่ มก่อนทีจ่ ะเกิด เกล็ดชั้นต่อๆ ไป เป็นตะเข็บในแนวตั้ง ล� า ดั บ ต่ อ ไป จะเริ่ ม ฝึ ก เชื่ อ มเข้ า มุ ม แนวตั้ ง ให้ ไ ด้ ตะเข็บเดียวหนาประมาณ a = 6 มม. ด้วยการส่าย ลวดเชือ่ มคล้ายๆ กับแบบฝึกการเชือ่ มเข้ามุมแนวระนาบ ที่ผ่านมา (รูปที่ 13 ฉบับที่แล้ว) แต่คราวนี้ในแนวตั้ง ดังรูปที่ 18 โดยเริ่มจุดประกายอาร์กที่ 1 แล้วลากขึ้นไป ที่ 2 และลากกลับลงมาที่ 3 ก่อนจะส่ายไป 4 และดัน ขึ้นไปที่ 5 ลากกลับมาที่ 6 ส่ายไป 7 แล้วดันขึ้นไปที่ 8 ฯลฯ จะให้ได้รอยตะเข็บเชื่อมแบน จะต้องส่ายลวดเชื่อม จาก 3 วาดโค้งเข้ามุมไปยัง 4 เช่นเดียวกันกับจาก 6-7 ฯลฯ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ต ะเข็ บ เชื่ อ มเต็ ม ไม่ กิ น ขอบเข้ า ไปใน แผ่นเหล็กทั้งสองด้าน ต้องให้เวลาต่อการเกาะตัวของ น�า้ เหล็กทีจ่ ดุ 3, 6 และ 4, 7 ก่อนจะส่าย หรือดันไปในจุด ต่อไป ช่างเชือ่ มต้องเรียนรูก้ บั การบังคับเปลวไฟขณะเชือ่ ม ให้เป็นเปลวอุ่นน�ารอยเชื่อม ขณะด�าเนินการเชื่อม

ชิ้นงานขนาด 10×50×200 มม.

เหล็กฉาก ช่วยประกอบ

PIC.18

การส่ายลวดเชื่อม

4. การฝึกเชื่อมมุมนอก แผ่นชิ้นงานฝึกหนา 10 มม. กว้าง × ยาว ประมาณ 50 × 200 มม. จะถูกจัดยึดติดกันเป็นมุมฉาก ห่างกัน ประมาณ 2-3 มม. ดังรูปที่ 19 โดยใช้เหล็กฉากช่วย ในการปฏิบัติงาน จากนั้นหมุนชิ้นงานให้อยู่ในท่าเชื่อม แล้วท�าการฝึกเชื่อมด้วยลวดเชื่อมขนาด ø≈4 มม. ตั้งไฟ ประมาณ 160 A โดยเชื่อมเป็นสองขั้นตอน ก) เชื่ อ มยึ ด ด้ ว ยการเอี ย งลวดเชื่ อ มดั ง รู ป ที่ 20 โดยเชื่อมตะเข็บ c" ก่อน แล้วหันมาเชื่อมตะเข็บ d" ด้วยการส่ายลวดเชื่อมดังรูป ดูให้น�้าเหล็กทะลุรอยต่อ แผ่ น เหล็ ก สม�่ า เสมอเป็ น รอยเชื่ อ มที่ ส วยงามแข็ ง แรง รอยเชือ่ มต่อต้องไม่เป็นโพรงจากสแลคทีท่ า� ความสะอาด ไม่เรียบร้อย ข) เชือ่ มปิดแนว ดังรูปที่ 21 โดยเชือ่ มยาวสร้างตะเข็บ จากซ้ายไปขวา หากจ�าเป็นให้เชื่อมรอบที่ 3 อีกชั้นหนึ่ง จนได้รอยต่อ ดังรูปที่ 21

5. การฝึกเชื่อมมุมนอกแนวระนาบ ใช้ลวดเชื่อมขนาด ø≈4 มม. ตั้งไฟประมาณ 160 A ตัดแผ่นเหล็กชิ้นงานขนาดประมาณ 10×50 × 200 มม. เชื่อยึดเป็นฉาก 90° ให้มีร่องห่างกันประมาณ 2-3 มม. ดังรูปที่ 22 แล้วจับงานคว�่าให้อยู่ในท่าดังรูปที่ 23 และ ท�าการฝึกโดยแยกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ก) เชื่อมยึดแนวเชื่อม c จากหัว b ขวามือมาทางซ้าย จนรู้สึกว่าเปลวไฟอาร์กตีกลับ จากนั้นเริ่มเชื่อมจากหัว a ซ้ายมือไปทางขวาจนแนวเชื่อมชนกัน เชื่อมให้ทะลุเกิด ตะเข็ บ สม�่ า เสมอด้ า นใต้ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ช ่ อ งห่ า งระหว่ า ง แผ่นเหล็กทะลุมากเกินไป ผูเ้ ชือ่ มต้องส่ายปลายลวดเชือ่ ม กระตุ้น แต่หากตะเข็บด้านใต้ทะลุน้อยไป เช่น ประมาณ เพียง 1 มม. ให้เพิ่มกระแสไฟเล็กน้อย แล้วค่อยลดลง เช่นเดิมเมื่อเชื่อมแนวปิดต่อไปโดยก่อนเชื่อมต้องเคาะ สแลคออกให้หมดและขัดด้วยแปรงลวดให้สะอาด ข) เชื่อมปิดแนวแรก ให้ฝึกเชื่อมวนลวด ดังรูปที่ 24 จากซ้ายไปขวา

PIC.19

PIC.20

ค) เชื่อมปิดแนวบน ให้ฝึกเชื่อมวนลวดเช่นเดียวกับ แนว ข. ผู ้ เชื่ อ มต้ อ งฝึ ก วนลวดเชื่ อ มเพื่ อ ดึ ง น�้ า โลหะ ขึ้นปิดด้านบนของแนวเชื่อม ไม่ให้ย้อยลงด้านล่างของ ตะเข็บ ดังรูปที่ 25 จึงจะได้ตะเข็บเชือ่ มบนสันฉากทีแ่ ข็งแรง และสวยงาม PIC.18 การส่ายลวดเชื่อม ขณะเชื่อมเข้ามุม แนวตั้ง PIC.19 การประกอบยึด ชิ้นงานเป็นมุมฉาก PIC.20 การฝึกเชื่อมยึดมุม นอกชิ้นงานแนวราบ

หมายเหตุ เมื่อเชื่อมเสร็จและก่อนเชื่อมแต่ละแนว ผู้เรียนจะต้องส่งชิ้นงานให้ผู้ฝึกตรวจความถูกต้องก่อน ทุกครั้ง

6. การฝึกเชื่อมมุมในแนวราบของการชนเหล็กรูป ด้วยลวดฟลักซ์หนา การใช้ลวดเชือ่ มทีม่ ฟี ลักซ์หนาให้ความรูส้ กึ ต่อผูเ้ ชือ่ ม ทีไ่ ม่ตอ้ งกังวลกับความผันผวนของเปลวไฟอาร์ก เหมือน ลวดเชื่อมฟลักซ์บางหรือลวดเชื่อมเปลือยและลวดเชื่อม สอดไส้ (Flux-Filled Wire) ฟลักซ์หนาที่หุ้มลวดเชื่อมไว้ ราวกับท่อจะช่วยให้เนื้อวัสดุจากลวดเชื่อมละลายไหล รวมกับเนื้อชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง โดยผู้เชื่อมเพียงเอียง ลวดเชื่อมเล็กน้อย เพื่อให้เปลวไฟอาร์กช่วยส่งน�้าโลหะ ไปยังแนวเชือ่ ม และดันสแลคทีห่ ลอมเหลวกลับมาเย็นตัว หลั ง แนวแทนการไหลแซงน�้ า โลหะไปหน้ า แนวเชื่ อ ม การฝึกแบบฝึกหัดนี้จะแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ

march-april 2017

33


แนว ตะเข็บล่าง

แนว ตะเข็บบน เหล็กค�้า ช่วยยึด

PIC.21

PIC.22

แนวเชื่อมตะเข็บล่าง

PIC.24

PIC.23 PIC.21 การเชื่อมปิดนอก มุมฉากแนวราบ

กินขอบบน เชื่อมไม่เต็ม

PIC.22 การเตรียมยึดชิ้นงาน PIC.23 การฝึกเชื่อมมุมแนวระนาบ PIC.24 การเดินลวดเชื่อมแนวบน

ย้อย ผิด

ถูกต้อง

ใหญ่กว่า

PIC.25

PIC.25 เปรียบเทียบแนวเชื่อม ที่ไม่ถูกต้องและถูกต้อง PIC.26 ลวดเชื่อมเล็กจะให้การยึดติด ในมุมที่ดีกว่าลวดใหญ่ PIC.26

34

Machine Tools & Metalworking

ก) ให้เชือ่ มเข้ามุม ด้วยลวดเชือ่ มฟลักซ์หนา ท�าตะเข็บ ให้ได้ความหนา a≈4 มม. โดยใช้ลวดเชื่อมขนาด ø≈3.25 มม. ตั้งไฟประมาณ 150 A เชื่อมยึดที่ a และ b ของ ชิน้ งานก่อน แล้วเชือ่ มตะเข็บ c จากซ้ายไปขวา ดังรูปที่ 27 รวดเดียวให้ได้ตะเข็บหนา a≈4 มม. ขณะเชื่อมจากซ้าย ต้องเอียงลวดไปทางขวา เพื่อไม่ให้น�้าสแลควิ่งออกหน้า ในขณะเดี ย วกั น ก็ เ อี ย งแบ่ ง มุ ม ฉากประมาณครึ่ ง หนึ่ ง ดังรูปที่ 26 แล้วลากยาวไปโดยไม่ตอ้ งส่ายลวด จนตะเข็บ ต่อเข้ากับตะเข็บ c ที่เชื่อมไว้ก่อนหน้า ขณะเชื่อมต้อง ระวังไม่ให้ไฟอาร์กกินขอบลึก หรือมีสแลคซ่อนอยู่ใต้ รอยเชื่อม ดังรูปที่ 28 เพราะจะท�าให้เป็นจุดอ่อนของ รอยเชื่อม ครูฝึกจะตรวจดูรอยเชื่อมและหักดูด้านใน ข) เมื่อฝึกเชื่อมแบบ ก. ได้ดีแล้ว ให้ฝึกเชื่อมพอก ตะเข็บ โดยเชือ่ มตะเข็บแรกเหมือนแบบฝึก ก. ใช้ลวดเชือ่ ม ขนาดเดิ ม ตั้ ง ไฟประมาณ 50A/มม. ø เคาะสแลค ท� า ความสะอาดรอยเชื่ อ มให้ เ รี ย บร้ อ ยก่ อ นลงมื อ เชือ่ มพอกโดยใช้ลวดเชือ่ มขนาด ø≈4 มม. ตัง้ ไฟประมาณ 40A/มม.ø เชื่อมพอกตะเข็บที่ 2 และ 3 ดังรูปที่ 29 โดยไม่ต้องส่ายลวดเชื่อมลากยาวจากซ้ายไปขวาทั้งสอง ตะเข็บ ให้ได้ตะเข็บเชื่อมเข้ามุมที่มีความหนา a > 5 มม.


ความผิดพลาดในการเชื่อม ดังรูปที่ 30 และ 31 อาจ เอื้อให้เกิดการหักในตะเข็บได้ ผู้ฝึกเชื่อมจะเรียนรู้ว่า เฉพาะการเชื่ อ มตะเข็ บ แรกในมุ ม เท่ า นั้ น ที่ ส ามารถจี้ ลวดเชือ่ มฟลักซ์หนาเข้าชิดได้ ดังรูปที่ 32 ตะเข็บ 2 และ 3 ในการเชื่ อ มพอก เขาจะต้ อ งประคองลวดเชื่ อ มให้ มี ระยะห่างออกมาจากตะเข็บแรกประมาณ 2 มม. ดังรูปที่ 33 เพื่อไม่ให้สแลคเหลวไหลคลุมอยู่ที่ปลายลวดเชื่อมแล้ว ไหลน�ารอยเชื่อมออกไปก่อน ค) ฝึกเชือ่ มพอกเข้ามุมด้วยลวดเชือ่ มชนิดฟลักซ์หนา ปานกลาง เป็นแบบฝึกเรียนรู้พิเศษ ซึ่งผู้ฝึกเชื่อมจะรู้จัก ความแตกต่างของพฤติกรรมเปลวอาร์ก การฝึกเริ่มด้วย ที่จุด a และ b การเชื่อมยึดเหล็กเป็นรูปตัวทีคว�่า ด้วยลวดเชือ่ มขนาด ø3.25 มม. ตัง้ ไฟฟ้าประมาณ 45-50 A/มม.ø จากนัน้ เชือ่ มตะเข็บ c จากขวาไปซ้าย เคาะสแลค ออกและขัดท�าความสะอาดด้วยแปรงลวดให้เรียบร้อย แล้วเชือ่ มตะเข็บ d โดยลากยาวจาก a จนตะเข็บ d ต่อกับ c ผู้ฝึกจะได้ความรู้สึกว่าน�้าโลหะไหลหน่วงกว่าการเชื่อม ด้วยลวดเชื่อมฟลักซ์หนาในแบบฝึกที่ผ่านมา การเชือ่ มพอกตะเข็บ ใช้ลวดเชือ่ มขนาด ø4 มม. ตัง้ ไฟ ประมาณ 45-50 A/มม.ø ท�าตะเข็บทับตะเข็บแรกจาก ซ้ายไปขวาด้วยการส่ายวนลวดเชื่อม ดังรูปที่ 35

แผ่นงานตั้ง สแลคไหลเข้าไป อยู่ใต้รอยชน

PIC.27

กินขอบ ช่องว่าง

PIC.28

ราบเกินไป

PIC.29

PIC.30

จุดที่จะหัก

PIC.31

PIC.27 ล�าดับแนวฝึกเชื่อด้วยลวดเชื่อม ฟลักซ์หนามาก PIC.28 ความผิดพลาดในการเชื่อมด้วย ลวดเชื่อมฟลักซ์หนา

เนื่องจากขาตัว T มักจะไม่ราบกระชับบนแผ่นเหล็ก หัวตัว T เสมอ จึงมักจะมีปัญหาที่มีสแลคแทรกเข้าไปอยู่ ใต้แผ่นเหล็กหัวตัว T ดังรูปที่ 28 ท�าให้เป็นจุดอ่อนของ รอยเชื่อมยึดตั้งแต่ตะเข็บแรก ในเรื่ อ งของการฝึ ก พื้ น ฐานให้ ไ ด้ ช ่ า งเชื่ อ มที่ มี มาตรฐาน สร้างผลงานที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ เบาใจกว่าผู้ว่าจ้าง ต้องลงทุนมาก และตัวช่างเองก็ต้อง หมัน่ ทบทวน ซึง่ หากช่างผ่านการฝึกพืน้ ฐานมาดี จะท�าให้ สามารถต่อยอดฝีมือกับการเชื่อมวิธีอื่นๆ ได้ง่ายและลด ค่าใช้จ่ายในการฝึกไปด้วย ยังคงมีแบบฝึกเชื่อมชนเรื่อง ตัว V เชื่อมร่อง V และการเชื่อมเหนือศีรษะ ที่เราจะน�า มาคุยกันในฉบับหน้านะครับ

PIC.29 รอยแนวเชื่อมซ้อนที่ดี PIC.30 รอยแนวเชื่อมกลับ ลงบนแผ่นล่างมากกว่า PIC.31 แนวเชื่อมที่มีจุดอ่อน พร้อมจะหัก march-april 2017

35


PIC.32 ระยะชิดของลวดเชื่อม เข้ามุมแนวแรก PIC.33 ระยะห่างของลวดเชื่อม จากแนวเชื่อมแนวแรก PIC.34 ล�าดับการเชื่อมด้วย ลวดเชื่อมฟลักซ์ปานกลาง PIC.35 การเดินลวดเชื่อมแนวบน เยื่อปิดแนว

PIC.32

PIC.33

Source:

- Hans J. Fahrenwaldt / Volkmar Schuler : “Praxiswissen Schweisstechnik” 4.Aufl.2011Viewey & Teubner Verlg, Germany www.ewm.de : “Die EWM E-Hand-Fibel” - Schulungsunterlage Fronius Technology Center : “Elektroden – Schweissen” - มอก. 49 – 2556 : “ลวดเชื่อมไฟฟ้ามีสารพอกหุ้มใช้เชื่อมเหล็กกล้าไม่เจือและ เกรนละเอียดด้วยการเชื่อมอ๊าร์คโลหะด้วยมือ” - Prof. Dr.-ing.Knuth – Michael Honkel Universitase Rostock : “Vorlesung Schweissmetallurgie” 2015 - www.voestlpine.com/welding : “Schweisspositionen nach EN ISO 6947W” - www.wikipedia.de : • “Schweissstromquelle” • “Gleichrichter” • “Leerlufspannung” - www.semikron.com/de/applikationen/... - “Schueissstrom fuer Lichtbogenschweissen” - Karl-Heinz Rellensmann: “Fachgerechtes Lichbogenschweissen” Verl.Handwerk und Technik 1963

EXECUtIVE SUMMARY

PIC.34

PIC.35

To start practice electric welding as German style, welding mask is the first step and then welding joint is the second. The practice with hard flux. It’s better to develop welder skill with should begins with vertical welding or horizontal welding for invert T iron standard to make the better quality of work for user while the welder must reviews their knowledge usually. Also, the welder that got through good practical training could extend the skill for other from of welding technic and reduce cost of training. 36

Machine Tools & Metalworking


EXCLUSIVE TALK

The Visions from Thai Academicians The Time for Thai Industrial to Reforming 2 ทรรศนะนักวิชาการไทย

ถึงเวลาที่อุตสาหกรรมต้องปรับตัวครั้งใหญ่

ทั้ ง ด้ ว ยวิ ก ฤตแรงงานและความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ประกอบกั บ การประกาศนโยบายอุ ต สาหกรรมที่ ผ ลั ก ดั น ให้ อุตสาหกรรมไทยต้องเร่งปรับตัวไปสู่ New S-Curve ซึง่ นอกจาก เป็นทางรอดเดียวของผู้ประกอบการแล้ว ยังเป็นตัวขับเคลื่อนให้ ประเทศไทยเป็นผู้น�าด้านอุตสาหกรรมในภูมิภาคได้อีกด้วย

อุตสาหกรรมต้องปรับอย่างไร... ฉบับนี้เรามีทรรศนะจากนักวิชาการ 2 ท่าน มาน�าเสนอ ทรรศนะหนึง่ มุง่ เน้นผลักดันให้อตุ สาหกรรมปรับตัวสูอ่ ตุ สาหกรรม ชีวการแพทย์ และทรรศนะหนึ่งมุ่งเน้นในเรื่องเครื่องจักรและ ซอฟต์แวร์ จุดร่วมของทั้ง 2 ทรรศนะ มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน คือ การท�าให้อตุ สาหกรรมไทยไม่ใช่เรือ่ งในอุดมคติทพี่ ดู กันหนาหู แต่ท�าจริงไม่ได้อีกต่อไป march-april 2017

37


PIC.1

ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ Biomedical ความหวังใหม่อุตสาหกรรมไทย Medical Hub หรือศูนย์กลางทางการแพทย์ เป็น ความหวั ง ใหม่ ข องอุ ต สาหกรรมไทยที่ ถู ก ระบุ อ ยู ่ ใ น นโยบาย New S–Curve ที่ผ่านมา จุดแข็งด้านการแพทย์ ของประเทศไทยอยู่ที่งานบริการด้านสาธารณสุข ทว่า ผู ้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรมส่ ว นใหญ่ ม องว่ า ประเทศไทยสามารถไปได้ไกลกว่านี้ เกริน่ ให้เห็นสถานการณ์ของอุตสาหกรรมชีวการแพทย์ หรือ Biomedical ว่า หลังจากมีการระบุให้อุตสากรรม ทางการแพทย์เป็นหนึ่งใน New S-Curve กระทรวง อุ ต สาหกรรมก็ พ ยายามให้ ก ารสนั บ สนุ น อย่ า งเต็ ม ที่ จากในอดีตไทยเคยผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ แต่บริษัทแม่ จะย้ายฐานการผลิตไปสูป่ ระเทศทีค่ า่ แรงต�า่ กว่า ส่งผลให้ อุตสาหกรรมยานยนต์บางส่วนต้องปรับตัวมาท�างานชิ้น ส่วนที่ยากและละเอียดมากขึ้น ซึ่งนั่นก็คือ อุปกรณ์และ เครื่องมือทางการแพทย์ ดร.วงศ์วทิ ย์ แนะน�าว่า ผูป้ ระกอบการต้องรวมตัวกัน และแจ้งความจ�านงว่าจะผลิตเครือ่ งมือแพทย์ โดยขณะนี้ ภาครัฐสนับสนุนเต็มที่ อีกทั้งด้านงานวิจัยและพัฒนา สถาบันการศึกษาเองก็มอี งค์ความรูท้ พี่ ร้อมจะแลกเปลีย่ น และถ่ายทอดให้ภาคอุตสาหกรรม จึงเป็นการท�างาน ในลักษณะหุ้นส่วน (Partnership) หรืออาจเป็นการท�า ความตกลง (MOU) ร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมและ สถาบันการศึกษาก็ได้พดู ง่ายๆ ก็คอื เป็นการน�าความเก่ง ของแต่ละฝ่ายมารวมกัน “รวมกันเราอยู่ แยกกันเราตาย อุปกรณ์การแพทย์ มีรายละเอียดมาก ทั้งตัวอุปกรณ์ อย่างวัสดุก็มีตั้งแต่ยาง พลาสติก เหล็ก ส่วนระบบก็มีทั้งกลไกแบบแมคคานิค และกลไกคอมพิวเตอร์ ในเชิงกายภาพโรงงานอาจต้องท�า คลีนแล็บ ควบคุมอุณหภูมิ ความดัน และความชืน้ รวมถึง ยกระดับทักษะบุคลากรสายเทคนิค ทั้งมาตรฐานต่างๆ ที่ต้องได้รับการรับรอง ISO พ.ร.บ.เครื่องมือแพทย์ และ CE Mark การรวมตัวกัน นอกจากจะได้แลกเปลี่ยนความรู้แล้ว ยังเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล เช่น กระทรวงพาณิชย์ บอกว่า ประเทศไทยน�าเข้าเครื่องควบคุมสารละลายทาง เส้นเลือดด�ามากที่สุด ก็จะส่งโจทย์ไปให้อุตสาหกรรมว่า ท�าไมไทยไม่ผลิตเอง เพราะมีความต้องการมาก ผลิตแล้ว มีคนซื้อแน่” ดร.วงศ์วิทย์ ให้รายละเอียด นอกจากนี้ ช่องว่างระหว่างแม่พมิ พ์ชนิ้ ส่วนยานยนต์ กับแม่พิมพ์เครื่องมือการแพทย์ยังมีเรื่องที่ต้องท�าความ เข้าใจร่วมกันใหม่ คือ อุตสาหกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์ถนัด ผลิตแยกชิ้นกัน แล้วน�ามาประกอบ ในขณะที่อุปกรณ์ การแพทย์ไม่สามารถผลิตแยกชิน้ ได้ เพราะเครือ่ งมือแพทย์ 38

Machine Tools & Metalworking

เป็นงานละเอียด สเกลเล็ก ต้องไม่มรี อยต่อ ดร.วงศ์วทิ ย์ ชีใ้ ห้เห็นว่า ต่อจากนีไ้ ปผูป้ ระกอบการต้องท�าความคุน้ เคย กับสินค้า Made to Order การเปลีย่ นแม่พมิ พ์บอ่ ยๆ รวมถึง ท�าความคุ้นเคยกับการท�างานบนสรีระมนุษย์ร่วมด้วย “กล่าวคือ จากทีง่ านประเภท Made to Order เคยเป็น งานพิเศษก็จะกลายเป็นงานปกติ เมื่อใช้กับร่างกายคน จึ ง ไม่ มี Free Size ทุ ก อย่ า งต้ อ งฟิ ต กั บ สรี ร ะมนุ ษ ย์ เพื่อการท�างานเต็มประสิทธิภาพของอุปกรณ์” ดร.วงศ์ วิ ท ย์ วิ เ คราะห์ เ พิ่ ม เติ ม ว่ า ที่ ผ ่ า นมา อุตสาหกรรมไทยมีนวัตกรรมและศักยภาพ สามารถผลิต เครื่องมือแพทย์ได้ แต่ขายเองไม่ได้ เพราะรูปลักษณ์ ความสวยงาม การออกแบบ การตลาด และแบรนดิ้งยัง อ่อนแอ ดูไม่เป็นสากล

PIC.1 จุดแข็งด้านการแพทย์ของ ประเทศไทยอยู่ที่งานบริการด้าน สาธารณสุข ทว่าผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มองว่า ประเทศไทยสามารถไปได้ไกลกว่านี้


PIC.2

นอกจากนี้ ส่วนใหญ่อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ที่ปรับตัว จากชิ้นส่วนยานยนต์มาท�าแม่พิมพ์เครื่องมือแพทย์ ก็ ขึ้นรูปจาก 3D Printer ได้ตัวโปรโตไทป์ที่สวยงาม คงทน แต่ราคาแพง เมื่อน�ามาผลิตจริงกลับท�าไม่ได้ เพราะติด ปัญหาเรื่องต้นทุนสูงเกินไป

เทคโนโลยีใหม่ ช่วยชีวิตคนได้มากขึ้น โลกเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดขึ้นทุกวัน ท�าให้ ในยุคใหม่นี้ ผู้ควบคุมข้อมูลคือผู้ชนะ การแข่งขันวัดกันที่ การรับ-ส่งข้อมูลในปริมาณมาก และแม่นย�า ไม่เว้นกระทัง่ ในแวดวงการแพทย์และสาธารณสุข นอกจาก 4G และ Wi-Fi ที่ท�าให้ Telemedicine และ แอปพลิเคชันทางการแพทย์เป็นไปได้จริงแล้ว ดร.วงศ์วทิ ย์ ยั ง ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ที่ เ ป็ น เทรนด์ ในอนาคตต้ อ งมี ลั ก ษณะเป็ น Wearable Devices สามารถสวมใส่พกพาติดตัวได้ ตรวจจับข้อมูลและแจ้งเตือน ได้อย่างแม่นย�า และทันท่วงที อย่างสมาร์ทวอช ที่มี Embed System หรือสมองกลฝังตัว สามารถนับก้าวเดิน ตรวจจับความดันและการท�างานของหัวใจได้ นอกจาก ใช้ในกลุ่มคนรักสุขภาพแล้ว ยังเป็นประโยชน์ในการดูแล ผู้ป่วยกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน อีกด้วย “เทคโนโลยีในการดูแลผูป้ ว่ ยเรือ้ รัง เช่น เบาหวาน เช็ก ระดับน�า้ ตาลในเลือดได้วา่ สูงหรือต�า่ อาจจะเป็นลักษณะ การกินแคปซูลในระดับน�าส่งยา ซึง่ จะมีเซ็นเซอร์อตั โนมัติ ถ้าเรามีน�้าตาลมากเกินไป ยาจะไปเปลี่ยนอินซูลินเป็น ไกลโคเจน หรือถ้าน�้าตาลต�่าก็จะเตือนผู้ป่วยว่าต้องเพิ่ม น�้าตาลในเลือดแล้วนะ” ดร.วงศ์วิทย์ ยกตัวอย่าง

PIC.2 ทุกสถาบันปรับปรุงหลักสูตรให้ ทันสมัยมากขึ้น เช่น เพิ่มรายวิชา Internet of Things หรือวิชา Embed System เข้าไปใน การเรียนการสอน เรามีหน้าที่สร้าง บุคลากร เด็กที่จบมาจะได้ไปรองรับ อุตสาหกรรมใหม่ที่ก�าลังจะเกิดขึ้น

เปิดตลาดช้อปไอเดีย R&D จากสถาบันการศึกษา การลงทุนที่ Win - Win เมื่อเอ่ยถึงสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ (ThaiBME) นั้น สมาคมนี้เกิดจากการรวมตัวของสถาบันการ ศึกษา 7 สถาบัน ได้แก่ มหิดล มศว. ลาดกระบัง ม.รังสิต พระนครเหนือ สงขลานครินทร์ และคริสเตียน มีหลักสูตร ระดับปริญญาตรีเพื่อผลิตบุคลากรรองรับอุตสาหกรรม ชีวการแพทย์โดยตรง ซึง่ ถือว่าเป็นการตอบรับนโยบายรัฐ ได้อย่างดี ล่าสุดมีการจัดแข่งขัน Biomedical Engineering Innovation โดยจะเวียนกันจัดใน 7 มหาวิทยาลัย ให้ นักศึกษาน�าเสนอนวัตกรรมแข่งขันกัน โดย ดร.วงศ์วิทย์ กล่าวว่า ในอนาคตจะเชิญผูป้ ระกอบการภาคอุตสาหกรรม มาชอปปิงไอเดียไปต่อยอด เนื่องจากหากผู้ผลิตลงทุน งบประมาณส่วน R&D เอง จะมีค่าใช้จ่ายมาก การชอป ไอเดียจึงเป็นวิธีที่ Win-Win ทั้งสองฝ่าย “ทุกสถาบันปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยมากขึ้น เช่น เพิม่ รายวิชา Internet of Things หรือวิชา Embed System เข้าไปในการเรียนการสอน เรามีหน้าทีส่ ร้างบุคลากร เด็ก ทีจ่ บมาจะได้ไปรองรับอุตสาหกรรมใหม่ทกี่ า� ลังจะเกิดขึน้ ท�าให้ Learning Curve สั้นลง เพราะจบตรงสาย ถูกฝา ถูกตัว หรือกระทั่งในแวดวงอาชีวศึกษาเอง ก็ปรับตัว เพือ่ พยายามผลิตช่างเทคนิคด้านนีเ้ ช่นกัน” ดร.วงศ์วทิ ย์ กล่าวทิ้งท้าย march-april 2017

39


รศ.ดร.ชัชพล ชังชู ซอฟต์แวร์ + คน ท�างานดี มีชัยไปกว่าครึ่ง

ในงานอุ ต สาหกรรมแม่ พิ ม พ์ ไม่ ว ่ า จะเป็ น อุตสาหกรรมสเกลเล็กหรือใหญ่ ละเอียดมากหรือน้อย มาร์จนิ้ สูงหรือต�า่ ย่อมต้องมีตวั สือ่ สารระหว่างเครือ่ งจักร และคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยกลุม่ ซอฟต์แวร์ CAD CAE และ CAM ซึ่งการสั่งการที่แม่นย�าจะส่งผลไปยังกระบวนการ อื่นๆ ตามมาเป็นเงาตามตัว เพราะซอฟต์แวร์ทที่ า� งานร่วมกับเครือ่ งจักรได้อย่างดี จะน� า ไปสู ่ ก ารผลิ ต ที่ ไ ม่ มี Error ช่ ว ยให้ ไ ม่ สู ญ เสี ย เวลาจากการแก้ไข ส่งผลไปสู่ชิ้นงานคุณภาพ และท�าให้ อุตสาหกรรมไทยถูกกล่าวถึงในเชิงบวก รศ.ดร.ชัชพล ชั ง ชู อาจารย์ จ ากสาขาวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เล่าถึง ความจ�าเป็นในการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ CAD CAE CAM ให้เหมาะสมกับเครื่องจักรไว้อย่างชัดเจน

CAD CAE CAM เวิร์ค = ชิ้นงานเวิร์ค องค์กรมีแต่ ได้ประโยชน์

รศ.ดร.ชัชพล อธิบาย CAD CAE CAM แบบสัน้ ๆ แต่ ได้ประโยชน์ ว่า CAD คือ การวาดภาพโดยการประมาณ เส้น จากนั้นส่งข้อมูลให้ CAE วิเคราะห์และลองค�านวณ สร้างสมมติฐาน ทดสอบความแข็งแรง ทนทาน อายุการใช้งาน และค�านวณหาค่าประมาณของค�าตอบ (Approximate Solution) ทดสอบเพื่อหาค่าความคลาดเคลื่อน (Error) หากไม่ผ่านมาตรฐาน ก็ส่งกลับไปแก้ที่ CAD แต่หาก ผ่านแล้ว ก็ส่งไป CAM ซึ่งมีหน้าที่ส่ือสารให้เป็นภาษา เครื่องจักร เพื่อให้เครื่องจักรรับค�าสั่งไปปฏิบัติงานต่อ “CAM คื อ ล่ า มที่ จ ะแปลภาษาเพื่ อ สื่ อ สารกั บ เครือ่ งจักร แม้เครือ่ งจักรจะมีภาษาสากล แต่ CAM ทีด่ ี จะ ต้องรู้ภาษาเฉพาะของเครื่องจักรนั้นๆ เพื่อให้เครื่องจักร รับค�าสัง่ ได้ถกู ต้อง 100% และท�างานได้เต็มประสิทธิภาพ ฉะนั้น การจะลงทุนซื้อ CAM ต้องพิจารณาว่า CAM รู้จัก กับ CAD และเครื่องจักรหรือไม่ กลุ่มซอฟต์แวร์นี้ส่วนใหญ่ใช้ในเครื่องจักร CNC และ แขนกล เขาจะขายเป็นแพ็คเกจ มี CAD เป็นหลัก และ CAM เป็นตัวแถม ซึ่งที่ผ่านมา CAD ไม่ค่อยมีปัญหา แต่ CAM มักท�างานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ เพราะ CAM รู้จักกับเครื่องจักรไม่ดีพอ ข้อมูลที่ถ่ายทอดหรือส่งต่อไป จึงไม่สมบูรณ์ 40

Machine Tools & Metalworking

โรงงานไหน ต้องซือ้ หรือไม่นนั้ ขึน้ อยูก่ บั ความซับซ้อน ของเครื่องจักร ถ้าเขาอยู่ใน Supply Chain เขาต้องมี โปรแกรมตามบริษัทแม่ แต่บางโรงงานต้องการ CAM เยอะมาก เพราะมีลกู ค้าหลากหลาย ลูกค้าหิว้ ไฟล์อะไรมา ต้องเปิดได้หมด หรือในโรงงานสายออกแบบ ลูกค้า ออร์เดอร์อะไรมา ต้องพร้อมออกแบบแม่พิมพ์ ยิ่งหาก เป็นลักษณะ Made to Order ยิ่งต้องมีเยอะ เพราะ ความต้องการของลูกค้าหลากหลาย ดังนัน้ อุตสาหกรรม ก็ ต ้ อ งปรั บ ตั ว ไปตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า ด้ ว ย” รศ.ดร.ชัชพล กล่าว

แนะ 4 เรื่องส�าคัญ ตีโจทย์ ให้แตกก่อนซื้อเครื่องจักรและซอฟต์แวร์

เพราะเครือ่ งจักรและซอฟต์แวร์ตอ้ งท�างานประสานกัน อย่างลงตัว รศ.ดร.ชัชพล จึงฝากเรือ่ งส�าคัญทีผ่ ปู้ ระกอบการ ต้องคิดก่อนตัดสินใจเลือกเครื่องจักรและซอฟต์แวร์ โดย มีหลักการง่ายๆ ว่า... หนึ่ง พิจารณาความจ�าเป็น (Need Requirement) ของโรงงาน


สอง พิ จ ารณาคุ ณ สมบั ติ แ ละประสิ ท ธิ ภ าพของ เครื่องจักร สาม พิจารณางบประมาณของบริษัทฯ และที่จะลืมไม่ได้เลย คือ บริการหลังการขาย ได้แก่ การซ่อมบ�ารุง อะไหล่ ประกัน ศูนย์บริการ และความ น่าเชื่อถือของตัวแทนจ�าหน่าย สีข่ อ้ สัน้ ๆ เพียงเท่านีก้ ส็ ามารถช่วยให้ผปู้ ระกอบการ ประเมิ น ความคุ ้ ม ค่ า ในการเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งจั ก รและ ซอฟต์แวร์ต่างๆ ได้ไม่ยาก

คน คือ หัวใจหลัก คอมพิวเตอร์ก็แค่เครื่องคิดเลข INPUT ผิด จะไม่มีวันได้ OUTPUT ที่ถูก

“แม้ว่าเทคโนโลยีก้าวหน้า แต่คอมพิวเตอร์ก็คือ เครือ่ งคิดเลข ใช้เลขฐานสอง และหาได้เพียงค่าประมาณ นั่นหมายความว่า ไม่ว่าเครื่องคิดเลขจะดีเพียงใดก็ตาม แต่ถ้า Input ข้อมูลผิด Output ก็ย่อมผิด ฉะนั้น CAD CAE และ CAM ไม่ใช่พระเจ้าที่ท�าทุกอย่างได้ นอกจากนี้ แม้วา่ จะคุยภาษาเดียวกันแล้ว เครือ่ งจักร รับค�าสั่งไปอย่างถูกต้อง 100% ก็ตาม แต่เครื่องจักร ท�าตามค�าสั่งได้ไหม และถ้าท�าได้ สามารถท�าได้ทั้งหมด หรือไม่ ก็เป็นอีกเรื่องที่ผู้ผลิตต้องระวัง ตัวทีจ่ ะทดสอบ Error หรือความคลาดเคลือ่ นมีทางเดียว คือ ทดลองท�าจริงเท่านั้น ไม่ว่ากระบวนการไหน ต้อง ลองท�าจริงแล้วดูผล เพราะสุดท้ายมันจะมีปัจจัยที่บอก เราว่า นี่คือลิมิต ท�าเกินนี้ไม่ได้แล้ว แต่ถ้าบุคลากรมี ประสบการณ์ คุ้นเคยกับเครื่อง เขาจะบอกได้คร่าวๆ ว่า อันไหนเครื่องท�าได้ อันไหนท�าไม่ได้... หัวใจหลักยังอยู่ที่คน เพราะคนเป็นผู้ป้อนข้อมูล” รศ.ดร.ชัชพล ยืนยันถึงความส�าคัญของคน เมื่อคนเป็นผู้แลระบบ สภาวิศวกร จึงบรรจุการใช้ ซอฟต์แวร์ CAD CAE และ CAM ลงในหลักสูตรให้เป็น วิชาบังคับ เพื่อให้คนท�างานมีความรู้พื้นฐานไปต่อยอด สู่การลงมือท�าจริง

“ในงานอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ไม่ว่าจะเป็น อุตสาหกรรมสเกลเล็กหรือใหญ่ ละเอียดมาก หรือน้อย มาร์จิ้นสูงหรือต่ำา ย่อมต้องมีตัวสื่อสาร ระหว่างเครื่องจักรและคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย กลุ่มซอฟต์แวร์ CAD CAE และ CAM ซึ่งการ สั่งการที่แม่นยำาจะส่งผลไปยังกระบวนการอื่นๆ ตามมาเป็นเงาตามตัว” รศ.ดร.ชัชพล ยืนยันว่า ต้องเรียนและฝึกภาคปฏิบตั ิ เพิ่ม มหาวิทยาลัยสอนได้แค่พื้นฐาน คือ หนึ่งสอนให้ เด็กรู้วิธี Input ข้อมูลให้ถูก และสองสอนให้เด็กรู้วิธีอ่าน Output ให้เป็น “นั ก ศึ ก ษาก็ เ ป็ น คน ยั ง ต้ อ งเทรน ต้ อ งฝึ ก ไม่ มี ส�าเร็จรูปพร้อมใช้งาน ไม่ฝกึ ไม่ได้” รศ.ดร.ชัชพล เน้นย�า้ จากข้อมูลที่ ดร.วงศ์วทิ ย์ และ รศ.ดร.ชัชพล เล่ามา พอสรุปได้วา่ ไม่วา่ เราจะอยูใ่ นอุตสาหกรรมใดก็ตาม การ รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์บ้านเมืองร่วมกับการ หาความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ทั้งกับภาครัฐฯ และ ภาคการศึกษา จับมือกันเป็นสามประสาน ใช้ประโยชน์ จากมาตรการภาครัฐ ใช้องค์ความรูจ้ ากสถาบันการศึกษา และใช้ศกั ยภาพในการผลิตของอุตสาหกรรมให้เต็มที่ เป็น สิ่งส�าคัญที่ ผู้ประกอบการต้องเก็บไปคิดเป็นการบ้าน และตีโจทย์ ให้แตก และตัดสินใจท�าอย่างเร่งด่วน เพราะคนที่ปรับตัวได้เร็วกว่า คือ ผู้ที่มีโอกาสรอดมากกว่านั่นเอง

EXECUtIVE SUMMARY Dr. Wongwit Senawong, Department of Biochemical at Srinakarinwirot University has an opinion that entrepreneurs must be joining hand and state theirs’s intention about medical device manufacturing because government sector is supporting this sector substantially at present. For research and development part, academic sector has plenty of knowledges that ready to share and transfer to industrial sector. This activity operates as partnership or MOU between industrial sector and the academics which bring their best to share and combine together. The medical devices that will become trendy for the future must be available with wearable device feature in order to detect the information and give a notification precisely. For example, smartwatch with embedded system that can track activities like steps, heart rate and blood pressure. Besides health-conscious people group, these devices are the great tools for taking care of elders and patients with chronic too. Ass. Prof. Chatchapol Chungchoo, Department of Mechanical Engineering at Kasetsart University gave an opinion that the entrepreneurs must make a consideration wisely before invest in machinery and software. The consideration should base on 1. Necessity for the factory 2. Specification and feature of machinery 3. Company’s budget and after sale service that is maintenance, spare part, warranty, service center and reliability of dealer.

march-april 2017

41


SPECIAL REPORT

‘Evolving to

the Industry 4.0’ 20 ปี TGI ผลักดันอุตสาหกรรมไทย ...วิวัฒนาการสู่อนาคต ภายใต้นโยบายประเทศไทย 4.0 อีกหนึง่ แรงขับเคลือ่ น ที่ส�าคัญก็คือ ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องปรับตัวในการน�า เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติมาใช้ในภาคอุตสาหกรรม มากขึ้น ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ ทางสถาบันไทย-เยอรมัน ได้จดั งานครบรอบ 20 ปี สถาบันไทย-เยอรมันขึน้ ภายใต้ คอนเซ็ปต์ ‘Evolving to the Industry 4.0’ วิวัฒนาการ สูอ่ นาคต ซึง่ ถือเป็นอีกงานทีช่ ว่ ยผลักดันอุตสาหกรรมไทย ให้ก้าวสู่ยุค 4.0 พร้อมทั้งมีกิจกรรมต่างๆ ภายในงาน อาทิ ระบบหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระบบตรวจสอบเครื่องจักร ออนไลน์ และระบบโรงงานผลิต 4.0 (Smart Factory) และ การสัมมนาให้ความรู้แก่ภาคอุตสาหกรรม คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�ำนวยกำรสถำบัน ไทย-เยอรมัน กล่าวถึงการจัดงานครั้งนี้ว่า จากนโยบาย ของกระทรวงอุตสาหกรรม ในการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม ในระยะ 20 ปีข้างหน้า ด้วย 3 แผนยุทธศาสตร์ ได้แก่ การปฏิ รู ป ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยปั ญ ญา การปฏิ รู ป นิ เวศอุ ต สาหกรรมรองรั บ อุ ต สาหกรรมที่ ขับเคลือ่ นด้วยปัญญา และการเชือ่ มโยงอุตสาหกรรมไทย

42

Machine Tools & Metalworking

กับเศรษฐกิจโลก ผ่านรูปแบบการด�าเนินงานด้วยการ สร้ า งเครื อ ข่ า ยเชื่ อ มโยงคลั ส เตอร์ อุ ต สาหกรรมเพื่ อ ยกระดั บ ผลิ ต ภาพ มาตรฐานการผลิ ต และสร้ า ง นวัตกรรมใหม่ เพื่อผลักดันประเทศไทยก้าวสู่การเป็น ไทยแลนด์ 4.0 ในโอกาสที่ ส ถาบั น ไทย-เยอรมั น ครบรอบการ ด�าเนินงาน 20 ปี จึงได้จัดงานเปิดแผนยุทธศาสตร์ ถึงแผนงานที่มีเป้าหมายมุ่งสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม ในอนาคต หรือ New S-Curve เพื่อเพิ่มศักยภาพและ ขี ด ความสามารถการแข่ ง ขั น ของผู ้ ป ระกอบการไทย โดยสถาบันฯ จะเพิ่มภารกิจบทบาทจากเดิมที่มุ่งการ ถ่ า ยทอดเทคโนโลยี แ ละพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ แ ก่ ผูป้ ระกอบการ ไปสู่การส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีการผลิตของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม อนาคต ผ่านรูปแบบการจัดตั้งศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม (Industry Transformation Center) โดยจะสนับสนุน ข้อมูลเพื่อการวางนโยบายและแผนส�าหรับอุตสาหกรรม หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Robot and Automation


ส่งเสริมพัฒนาผู้ประกอบการ ให้เข้าถึงและได้ใช้ระบบอัตโนมัติ และสารสนเทศ ส่งเสริมพัฒนาและสร้างบุคลากร ภาคบริการอุตสาหกรรม

ยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรม

4.0

Intelligence Unit) เพื่อไปช่วยผลักดันกลุ่มอุตสาหกรรม แปรรู ป อาหาร การเกษตรและเทคโนโลยี ชี ว ภาพ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์สมัยใหม่ เป็นต้น ทางด้ า นสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย โดย คุณเจน น�ำชัยศิริ ประธานสภาฯ ก็ได้มาปาฐกถาในหัวข้อ ‘กำรพัฒนำอุตสำหกรรมและเทคโนโลยี สู่ยุค 4.0’ ซึ่งแสดงวิสัยทัศน์ว่า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จะเป็นผู้สนับสนุนอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 โดยมียุทธศาสตร์และนโยบายขับเคลื่อนดังต่อไปนี้

ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน ภาคอุตสาหกรรม เพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 สร้างกลไกตอบสนอง ความต้องการใช้ด้านเทคโนโลยี ของภาคผู้ผลิต

นโยบาย

2015

Industry 2.0

อุตสาหกรรมไทยที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบัน

2020

Industry 3.0

ระบบการผลิตอัตโนมัติเพื่อเพิ่มผลิตภาพ (Productivity)

2025

Industry 4.0

Thai Industries 2025

การยกระดับสู่ประเทศไทย 4.0

ปี ค.ศ.

เป้าหมาย

2030

Thai Farming 4.0

1. เพิ่มผลผลิต 2 เท่าต่อพื้นที่เกษตรกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีการเกษตร 2. ลดเกษตรกรภาคการเกษตรเหลือ 1/3 ต่อพื้นที่ ซึ่งได้ผลผลิต 6 เท่า เกษตรกร 2/3 เข้าสู่ภาคการผลิตและภาคบริการ 3. ลดพื้นที่เพาะปลูกเดิมเหลือ 70% ของพื้นที่ และน�าพื้นที่เพาะปลูกเดิม 30% มาปลูกป่าหมุนเวียน เพื่อเป็นวัสดุอุตสาหกรรม

2035

Thailand 4.0

เป็นประเทศที่มีรายได้ประชากรในระดับสูง มีความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจอย่างมั่งคง มั่งคั่ง ยังยืน

march-april 2017

43


นอกจากนโยบายการขับเคลื่อนจากภาคต่างๆ แล้ว ยังมีการสัมมนาให้ความรูแ้ ก่ผปู้ ระกอบการ ในการเตรียม ความพร้อมเข้าสู่ 4.0 ในหัวข้อ ‘Smart Factor for Industry 4.0’ โดย คุณสิทธิภรณ์ เมืองกลำง ผู้เชี่ยวชาญด้านการ บริหารจัดการโรงงาน Smart Factory ซึง่ มีไฮไลท์นา่ สนใจ ดังนี้ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการจ�าเป็นต้องมีแนวคิดแบบ Smart Think ที่น�าเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการผลิต ซึ่ง จะน�าไปสู่การเป็น Smart Factory ที่ช่วยบริหารการผลิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสถาบันไทย-เยอรมัน และ หน่วยงานต่างๆ ที่สนับสนุน พร้อมที่จะเข้าไปช่วยเหลือ อบรม วางแผน และเป็นที่ปรึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนา รวมถึงมีแนวคิดจะสร้างเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมใน อนาคต (Industry Development Network) ที่จะเกิดเป็น ความร่วมมือในการบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนที่จะท�าให้ผู้ประกอบการ ก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรม 4.0 ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้

ทักษะที่จําเป็นในอีก 5-10 ปี สําหรับ INDUSTRY 4.0 ทักษะที่จําเป็นในปี 2015

ทักษะที่จําเป็นในปี 2020

1. การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 2. การประสานงานกับผู้อื่น 3. การบริหารคน 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5. การเจรจาต่อรอง 6. การควบคุมคุณภาพ 7. การให้บริการ 8. การตัดสินใจ 9. การฟังอย่างตั้งใจ 10. ความคิดสร้างสรรค์

1. การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การบริหารคน 5. การประสานงานกับผู้อื่น 6. ความฉลาดทางอารมณ์ 7. การตัดสินใจ 8. การให้บริการ 9. การเจรจาต่อรอง 10. ความยืดหยุ่นด้านองค์ความรู้

การเตรียมพร้อมเพื่อเข้าสู่ INDUSTRY 4.0 1. การเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0 เป็นวิสัยทัศน์ธุรกิจ ระยะยาว ต้องประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันและ วางแผนคนให้สอดคล้องกับธุรกิจ 2. การปรั บ โครงสร้ า งองค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลง การปรั บ เปลี่ ย นโครงสร้ า งองค์ ก ร ทัง้ เสริมจุดแข็งและแก้ปญ ั หาจุดด้อย เพือ่ คงความสามารถ ในการแข่งขันระยะยาว 3. เทคโนโลยี ใ หม่ แ ละนวั ต กรรมไม่ มี สู ต รส� า เร็ จ ต้ อ งรู ้ จั ก เลื อ กเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะของ อุตสาหกรรม ตลาด และวัฒนธรรมขององค์กร 4. เลื อ กเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมในเวลาที่ เ หมาะสม จะต้องเตรียมพร้อมด้วยการจัดท�าแผนธุรกิจให้สอดคล้อง กับยุทธศาสตร์เลือกให้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและ ลักษณะการผลิตเพราะการน�าเข้าเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งมี ต้นทุนต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ 5. การพั ฒ นาคนคื อ หั ว ใจของการเข้ า สู ่ ยุ ค อุ ต สาหกรรม 4.0 ในอนาคตจึ ง ตองการพั ฒ นา ทั้งผู้ประกอบการ ผู้บริหาร รวมทั้งแรงงานให้มีทักษะ และเป็นอัจฉริยะ (Smart Employee)

EXECUtIVE SUMMARY On the occasion of Thai-German Institute (TGI) 20th anniversary, TGI organized the event to show strategic plan for Future Industrial Development or New S-Curve to improve the efficiency and enhance Thai entrepreneur’s competitive capability. The strategy focuses on technology transfer and human resources development to encourage innovation and manufacturing technology for entrepreneur in future industrial through Industry Transformation Center. The entrepreneur must have the vision about Smart Think which leads to Smart Factory that will support in manufacturing management. TGI and other department are supporting in training, planning and consulting to drive development and push the vision to build Industry Development Network to become Industry 4.0 as the target goal. 44

Machine Tools & Metalworking


technology เรื่อง: ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

M2M

Technology's Challenge and Drive for Industry 4.0 ความท้าทาย และการขับเคลื่อนเทคโนโลยี M2M สำาหรับภาคอุตสาหกรรมยุค 4.0

ปัจจุบัน Internet of Things: IoT เริ่มเข้ามามีบทบาทใน ชีวติ ประจ�าวันของมนุษย์มากยิง่ ขึน้ ในโลกของยุคดิจทิ ลั ‘IoT’ นัน้ ใครทีอ่ ยากทราบข้อมูลสิง่ ใดก็สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก และง่ายมากยิง่ ขึน้ ไม่วา่ ทีพ่ กั อาศัย ตลอดจนการเดินทางในสถานที่ ต่างๆ หรือแม้กระทัง่ ในองค์กรหรือสถานประกอบการในส่วนภาค เกษตรและภาคอุตสาหกรรม โดยเทคโนโลยีหนึ่งที่ก้าวหน้าไปพร้อมกับเทคโนโลยี IoT และเป็นเทคโนโลยีที่มีความเป็น Sub Set กันอยู่ก็คงไม่พ้น เทคโนโลยี ที่ ใ ช้ สื่ อ สารระหว่ า งอุ ป กรณ์ กั บ อุ ป กรณ์ หรื อ เครื่ อ งจั ก รกั บ เครื่ อ งจั ก รผ่ า นเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ทั้งแบบชนิดมีสาย(Wired) และแบบไร้สาย(Wireless) ที่มีชื่อ เรียกว่า ‘M2M’ (Machine to Machine Communication)

march-april 2017

45


การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องจักรกับเครื่องจักร การสื่ อ สารหรื อ การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ระหว่ า ง เครื่องจักรกับเครื่องจักรหรือเป็นระบบที่เกิดจากความ สัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ติ กับสิง่ แวดล้อม (M2M Ecosystem) โดยที่ไม่จ�าเป็นต้องมีมนุษย์เข้าไปเกี่ยวข้องหรือสั่งการ และด� า เนิ น การตั ด สิ น ใจใดๆ เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย ตามที่ ม นุ ษ ย์ ก� า หนดไว้ ซึ่ ง ต่ า งกั บ ระบบการสื่ อ สาร ในยุคอุตสาหกรรม 3.0 ทีร่ ะบบเซ็นเซอร์สามารถตรวจจับ ปริมาณทางฟิสิกส์และส่งข้อมูลมายังระบบคอมพิวเตอร์ ส�าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาในแบบทิศทางเดียว (One Way) และยังคงต้องใช้มนุษย์เฝ้าสังเกตข้อมูลที่ ได้รบั อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ น�าข้อมูลมาวิเคราะห์และตัดสินใจ ในการด�าเนินการในขั้นตอนต่อไป โครงสร้างการท�างานของ M2M ที่ใช้ในอุตสาหกรรม ยุค 4.0 จะมีองค์ประกอบที่ส�าคัญ ได้แก่ ระบบเซ็นเซอร์ ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง พิ เ ศษ และระบบ คอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วและสมรรถนะสูงเป็นพิเศษ (Service Gateway) โมดูลเกตเวย์ให้การควบคุมและ การแปลความหมายข้อมูล เพื่อบริการส�าหรับการเก็บ รวบรวมข้อมูล เกตเวย์ยังมุ่งเน้นการเข้าชมหลักของ ผูป้ ระกอบการซึง่ รองรับการใช้งานบลูทธู , ZigBee ความสามารถ GPRS ทีส่ นับสนุนมาตรฐานการสือ่ สารไร้สาย เช่น GSM / GPRS, IEEE 802.11 บลูทธู / IEEE 802.15.1 (รองรับการ เชื่อมโยงการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ในระยะทางสั้นๆ ) ZigBee / IEEE 802.15.4 (ใช้ส�าหรับการถ่ายโอนข้อมูล ความเร็วต�่าระหว่างอุปกรณ์ของผู้บริโภคพลังงานต�่า) โดยเซ็นเซอร์ทใี่ ช้งานจะถูกออกแบบพิเศษให้มขี นาด เล็กลงและใช้พลังงานต�่าเป็นอย่างมาก เพือ่ ทีจ่ ะสามารถ ฝังลงในอุปกรณ์หรือชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลได้อย่าง ง่ายดาย โดยเซ็นเซอร์ที่ใช้ตรวจจับค่าปริมาณทางฟิสิกส์ ในงานอุตสาหกรรม เช่น การตรวจจับค่าอุณหภูมิและ ความชื้นที่เหมาะสมภายในโรงงาน การควบคุมกล้อง วงจรปิดที่ใช้กับระบบรักษาความปลอดภัย การควบคุม

46

Machine Tools & Metalworking

PIC.1

PIC.1 การติดต่อสื่อสารในอุตสาหกรรม ด้วยเทคโนโลยี M2M

ระบบโลจิสติกส์ในโรงงาน การตรวจสอบสินค้าคงคลัง ในชัน้ วางสินค้าแบบอัจฉริยะทีใ่ ช้สา� หรับตรวจสอบระยะไกล ในสต็อกสินค้า ตัวอย่างเช่น เครื่องจ�าหน่ายสามารถ ส่งข้อความถึงผู้จัดจ�าหน่าย เมื่อรายการเฉพาะหมด การ สื่อสาร M2M เป็นสิ่งส�าคัญของการจัดการคลังสินค้า การควบคุ ม ระยะไกลหุ ่ น ยนต์ ควบคุ ม การจราจร ให้บริการโลจิสติกส์ การจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน การจัดการ ยานพาหนะ (Transportation Service) การรักษาระดับความ สดใหม่ของสินค้าในเครื่องเวนเดอร์แมทชีน (Vending Machine Control) ซึง่ เป็นพืน้ ฐานส�าหรับแนวคิดทีเ่ รียกว่า Internet of Things (IoT) เป็นต้น แสดงการติดต่อสือ่ สารใน งานอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยี M2M ดังรูปที่ 1.


การสือ่ สารข้อมูลจ�านวนมหาศาล (Big Data) ในระบบ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ สิ่งที่ส�าคัญไม่น้อยไปกว่ากัน การสื่อสารข้อมูลจ�านวนมาก คือ ข้อมูลที่ได้รับมานั้น ต้องได้รบั อย่างรวดเร็วและทันต่อการน�ามาวิเคราะห์ การ วางแผนและตัดสินใจได้อย่างทันทีทันใด ข้อมูลที่ได้รับ จากระบบเซ็นเซอร์จะผ่านส่วนทีเ่ ป็นแอปพลิเคชัน จากนัน้ จะถูกรวบรวมไว้บนระบบโครงข่ายคอมพิวเตอร์ผ่าน ระบบคลาวด์ที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน M2M สามารถรองรับมาตรฐานแพลตฟอร์ม ของอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์กับ อุปกรณ์ (Integration Platform) ได้เป็นจ�านวนมากขึ้น แสดงโครงข่ายการติดต่อสื่อสารของเทคโนโลยี M2M ดังรูปที่ 2. PIC.2

PIC.2 โครงข่ายการติดต่อสื่อสารของ เทคโนโลยี M2M

การสื่อสารข้อมูลจำานวนมหาศาล (Big Data) สิ่งที่สำาคัญ คือ ข้อมูลที่ได้รับมานั้นต้องได้รับ อย่างรวดเร็วและทันต่อการนำามา วิเคราะห์ การวางแผนและ ตัดสินใจได้อย่างทันทีทันใด

Capillary Network

Operator platform M2M Gateway Client Appliacation

Appliacation

Communication network

M2M Area network

PIC.3 โครงสร้างปัจจัยของเทคโนโลยี M2M A

Key Network Elements

M2M Device And Capillary Network

A device loaded with sensors, processors and communication transceivers capable of assimilating and transmitting data contained within those devices autonomously. Capillary network provides connectivity within M2M devices and also from the devices towards the M2M gateways M2M Capillary network encompasses technologies across Personal Area Network Technologies such as IEEE 802.15 (includes Bluetooth and ZigBee piconets), SRD, UWB, M-BUS, Wireless M-BUS..

M2M Gateways

Concentrates M2M traffic towards the Telco’s core on one side and interconnects with the capillary network on the other.

M2M Backhaul

Supports Communications between M2M Gateways and M2M Application (server). Inclusive of technologies as xDSL, PLC, Satellite, LTE, GERAN, UTRAN, W-LAN and WiMAX.

M2M Applications (Server)

Contains the middleware (application, services, and data) which hosts the business intelligence for execution of the M2M business logic. It essentially is a software process or agent by which the data can be analyzed, reported or acted upon.

march-april 2017

47


ตัวอย่าง การใช้งานเทคโนโลยี M2M ในอุตสาหกรรม ยุค 4.0 ส�าหรับการเก็บฐานข้อมูลรายละเอียดด้านประวัติ อายุการใช้งาน การสึกหรอของชิน้ ส่วนเครือ่ งจักรกลแบบ ออนไลน์ เช่น เทคโนโลยี M2M สามารถน�ามาใช้ในระบบ เฝ้าระวังและติดตาม การบันทึก วัน/เวลา แรงดันและ กระแสไฟฟ้า ก�าลังไฟฟ้า การตรวจจับอุณหภูมคิ วามร้อน ที่เกิดขึ้นในขดลวดของมอเตอร์เหนี่ยวน�า การตรวจจับ ความเร็วรอบ (RPM) และแรงบิด (Torque) ของมอเตอร์ โดยข้อมูลเหล่านี้สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ ส�าหรับการ วิเคราะห์ความผิดปกติของการท�างาน การจัดการด้าน พลังงานและการซ่อมบ�ารุงมอเตอร์ชนิดเหนี่ยวน�าใน ขั้นตอนถัดไป เป็นต้น แสดงดังรูปที่ 4.

PIC.4 (a),(b) การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี M2M เพื่อบันทึกข้อมูลออนไลน์ การใช้งานมอเตอร์ชนิดเหนี่ยวน�า

PIC.5 Smart Energy Monitoring Systems

ตัวอย่าง การใช้งานเทคโนโลยี M2M ในอุตสาหกรรม ยุค 4.0 ส�าหรับการเก็บฐานข้อมูลรายละเอียดด้านพลังงาน ที่ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น การบริหารจัดการพลังงาน การควบคุมการผลิตและการจ่ายพลังงานไฟฟ้าภายใน โรงงานโดยอัตโนมัติ (Automation) ทั้งสภาวะปกติและ สภาวะฉุกเฉินในการตรวจจับและแสดงผล (Sense & Monitor) ณ ฐานเวลาจริง นอกจากนี้ ยังสามารถสื่อสารข้อมูล ในเชิงโต้ตอบ (Two-way Communication/Interactive) กับอุปกรณ์ดว้ ยกันเองและระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมไปถึง ตัวบุคคลที่รับผิดชอบอย่างอัตโนมัติ แสดงระบบการ จัดการด้านพลังงาน ดังรูปที่ 5.

EXECUtIVE SUMMARY Essential cause and factor to adapt M2M technology for industry 4.0 circle are less cycle and problem solving time in manufacturing process with fast and precision before equipment or machinery got damaged. The operation to improve and maintenance the measuring system and also keep an eye on machinery output of Industry 3.0 as common procedure shouldn't be one way communication that doesn’t show properly within the time that problem being. To identify and planning for the better outcome, reduce lack/over product in warehouse including, cost for domestic logistics and between facilities with faster procedure.

48

Machine Tools & Metalworking


maintenance เรื่อง: โกศล ดีศีลธรรม

เรื่อง: สุริยันต์ เทียมเพ็ชร์ (Dipl.-Ing.Suriyan Tiampet)

Machinery Planned Maintenance, Must Know Method! เรื่องต้องรู้

ของการวางแผนบำารุงรักษาเครื่องจักร หลายทศวรรษที่ผ่านมาบทบาทฝ่ายบ�ารุงรักษาถูกมองว่าเป็นศูนย์ต้นทุน โดย มุง่ บทบาทในการดูแลทรัพยากรสนับสนุนการผลิตและเครือ่ งจักรให้สามารถใช้งาน ด้วยต้นทุนต�่าสุด แต่แนวโน้มอุตสาหกรรมถูกปรับเปลี่ยนไปจากรูปแบบเดิมที่มุ่งใช้ แรงงานสูค่ วามเป็นอัตโนมัตมิ ากขึน้ ท�าให้ประสิทธิผลการบ�ารุงรักษาไม่เพียงแค่เป็น ศูนย์ต้นทุนแต่ได้กลายเป็นอาวุธส�าคัญในการแข่งขัน

โดยฝ่ายบ�ารุงรักษาจะรับผิดชอบการวางแผน อาทิ การจั ด ท� า แผนก� า หนดการและปฏิ บั ติ ต ามใบสั่ ง งาน งานดังกล่าวครอบคลุมถึงการบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันรวมถึงงานแก้ไขที่ได้รับการ อนุมัติจากฝ่ายผลิตและวิศวกรรม ซึ่งการวางแผนจะมุ่ง ประเด็นการจัดสรรทรัพยากรที่จ�าเป็นต่องานบ�ารุงรักษา ให้เสร็จสิ้นด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมและก�าหนดการ ในแผนบ�ารุงรักษาควรตอบค�าถามส�าคัญ อาทิ การบ�ารุง รักษาเครื่องจักรในโรงงานประกอบด้วยงานอะไรบ้าง งาน อะไรทีม่ คี วามส�าคัญสูงสุด เครือ่ งจักรมีความพร้อมเดินเครือ่ ง เมื่อไหร่และทรัพยากรหรือระบบสนับสนุนการผลิตมี ความพร้อมเมื่อไหร่ ดังนั้น การบ�ารุงรักษาเชิงวางแผนเป็นกิจกรรมที่มุ่ง ประสิ ท ธิ ผ ลงานบ� า รุ ง รั ก ษาด้ ว ยการตรวจจั บ ความ บกพร่อง เพื่อให้เครื่องจักรมีสภาพพร้อมใช้งานสูงสุด และลดค่าใช้จา่ ยบ�ารุงรักษา ทัง้ ยังด�าเนินกิจกรรมปรับปรุง สภาพเครื่ อ งจั ก รที่ มุ ่ ง ขจั ด ความขั ด ข้ อ งและปั ญ หา การหยุดเดินเครื่องจักร โดยใช้ข้อมูลที่บันทึกเพื่อระบุ ก�าหนดการบ�ารุงรักษาด�าเนินการโดยบุคลากรฝ่ายบ�ารุง รักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต march-april 2017

49


ประเภทแผนงานบำารุงรักษา โดยกิจกรรมหลักบ�ารุงรักษาเชิงวางแผน คือ การ บันทึกสภาพปัญหาเครื่องจักรและประเมินผลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพเครื่องจักร การสร้างระบบสารสนเทศ งานบ�ารุงรักษา การจัดเตรียมข้อมูลคัดเลือกเครื่องจักร หรือชิ้นส่วนให้สอดคล้องกับแผนงานบ�ารุงรักษา รวมถึง การพัฒนาและปรับปรุงแผนงานต่อเนื่อง ดังนั้น การก�าหนดเป้าหมายงานบ�ารุงรักษาควร ด� า เนิ น การร่ ว มระหว่ า งฝ่ า ยบ� า รุ ง รั ก ษากั บ ฝ่ า ยงาน เกี่ ย วข้ อ งแต่ แ ผนงานมั ก เกิ ด ข้ อ จ� า กั ด บางประการ เนื่องจากต้องใช้ทรัพยากร อาทิ บุคลากร เวลา และ งบประมาณ โดยด�าเนินกิจกรรมตามแผนงานที่ระบุไว้ อาทิ การตรวจเช็กตามรอบเวลาการซ่อมใหญ่และการ ถอดเปลี่ยนอุปกรณ์ การปรับตั้งเครื่อง และการเปลี่ยน ถ่ายน�้ามันตามรอบเวลา การน�าสารสนเทศการขัดข้อง เพื่อใช้วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น การค้นหาปัญหาเรื้อรัง ที่ส่งผลให้เกิดความบกพร่อง การควบคุมความเที่ยงตรง ของเครื่องด้วยการสอบเทียบ รวมถึ ง การควบคุ ม ความพร้ อ มสิ่ ง อ� า นวยความ สะดวกงานบ�ารุงรักษา โดยเฉพาะอะไหล่ดว้ ยการวินจิ ฉัย และคาดการณ์ความเสื่อมสภาพสภาพของเครื่องจักร ด้วยการวิเคราะห์สภาพการหล่อลื่นและการวิเคราะห์ ความสั่นสะเทือน ส�าหรับฝ่ายบ�ารุงรักษาจะมีบทบาทสนับสนุนการ ฝึกอบรมให้ทีมงานบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง ซึ่งด�าเนินการ โดยผู้ควบคุมเครื่องจักรประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1. ช่วงเริ่มต้นโครงการปรับปรุงเครื่องจักร โดยมี การอธิบายหน้าที่การท�างานเครื่องจักรการระบุรายการ ท�าความสะอาดการตรวจสอบและการหล่อลื่น ซึ่งมีการ จัดท�าเอกสารบทเรียนจากปัญหาให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้เรียนรู้ และแนะน�าวิธีการตรวจสอบขณะที่ด�าเนินการท�าความ สะอาด รวมทั้ง ฝึกอบรมเรื่องการเคลื่อนย้ายงานและ ตรวจสอบกลไกท�างานขณะเดินเครื่องเพื่อค้นหาความ ผิดปกติ โดยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถก�าหนดเกณฑ์การ ตรวจสอบ 50

Machine Tools & Metalworking

2. การวิเคราะห์สาเหตุต้นตอและประเภทปัญหา ความบกพร่องในสายการผลิต ซึ่งส่งผลกระทบต่อเวลา การเดินเครื่องจักรและคุณภาพผลิตผล โดยปรับเปลี่ยน แนวคิดจากการควบคุมคุณภาพสู่การประกันคุณภาพ ด้วยการศึกษาองค์ประกอบหลักของเครือ่ งจักรทีส่ ง่ ผลต่อ คุณภาพผลิตผลและด�าเนินการขจัดต้นตอปัญหา ซึง่ มีการ ติดตามวัดผลตามรอบเวลาเพื่อใช้ข้อมูลด�าเนินกิจกรรม ไคเซ็นและจัดเก็บข้อมูลที่จ�าเป็นโดยมีรายละเอียด ดังนี้ • ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ อาทิ ต�าแหน่งที่เกิด ปัญหาความบกพร่อง ความรุนแรงแต่ละประเภทปัญหา ความถีก่ ารตรวจพบปัญหาแต่ละช่วงการทดสอบ รวมทัง้ ข้อมูลแสดงแนวโน้มการเกิดปัญหาทางคุณภาพตามรอบ เวลา • ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ กระบวนการโดยเฉพาะเงื่ อ นไข การท�างานแต่ละกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องกับแรงงานวิธกี าร ท� า งานวั ส ดุ แ ละเครื่ อ งจั ก รการก� า หนดมาตรฐานหรื อ เงื่อนไขการท�างานของแต่ละกระบวนการข้อมูลบันทึก เกี่ยวกับสภาพการท�างานขณะที่เกิดปัญหาขึ้น 3. จัดเตรียมสิง่ อ�านวยความสะดวกและระบบป้องกัน อาทิ • สร้างระบบควบคุมด้วยการมองเห็น เพือ่ ให้ผป้ ู ฏิบตั งิ าน สะดวกต่อการตรวจจับปัญหาและสามารถเข้าถึงจุดทีย่ าก ต่อการตรวจสอบ • ก�าหนดความถี่และวิธีการด�าเนินกิจกรรม อาทิ การท�าความสะอาด การหล่อลืน่ การขันแน่น รวมถึงการ ให้ค�าแนะน�ากับผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปัญหาการท�างาน • จั ด เตรี ย มเครื่ อ งมื อ ที่ จ� า เป็ น ไว้ ใ นพื้ น ที่ ท� า งาน เพื่อสามารถหยิบใช้งานได้สะดวก • จัดเตรียมใบงานแสดงการขัดข้อง เพือ่ ใช้วเิ คราะห์ ปัญหาและแก้ไขความผิดปกติที่ถูกตรวจพบ • ท�าการสาธิตอธิบายแนวทางด�าเนินการบ�ารุงรักษา เชิงป้องกันและการบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง • ก�าหนดมาตรฐานการหล่อลืน่ และตรวจสอบแรงดัน อุณหภูมิมาตรฐานท�าความสะอาด

กระบวนการควบคุมงานบำารุงรักษา ส�าหรับผู้จัดการฝ่ายผลิตและฝ่ายบ�ารุงรักษาควร ให้การสนับสนุนร่วมก�าหนดนโยบายสร้างระบบบ�ารุง รักษาด้วยตนเอง โดยระบุรายละเอียดขอบเขตประเภท งานบ�ารุงรักษาพนักงานแต่ละคนและขั้นตอนท�างาน ทีช่ ดั เจน ดังนัน้ ก่อนทีจ่ ะมอบหมายความรับผิดชอบให้กบั พนักงานควรท�าการฝึกอบรม เพื่อลดความผิดพลาด ขณะปฏิบัติงาน ส่วนขั้นตอนด�าเนินการบ�ารุงรักษาด้วย ตนเอง ได้แก่ การจัดเตรียมบุคลากร การท�าความสะอาด เครื่องจักรเบื้องต้น การแก้ปัญหามาตรฐานบ�ารุงรักษา ด้วยตนเอง การตรวจสอบทัว่ ไป การตรวจสอบด้วยตนเอง และการบริหารจัดการด้วยตนเอง นอกเหนื อ จากงานที่ รั บ ผิ ด ชอบข้ า งต้ น ฝ่ า ยบ� า รุ ง รักษายังต้องแจ้งเตือนฝ่ายผลิตเกี่ยวกับงานค้าง ส่วน ฝ่ายผลิตจะมีบทบาทสนับสนุนงานบ�ารุงรักษาในการ จัดตารางเวลาการหยุดเดินเครือ่ งจักร เพือ่ ให้ฝา่ ยบ�ารุงรักษา


สามารถด�าเนินการได้โดยไม่กระทบต่อกิจกรรมการผลิต ซึ่งประสิทธิผลการวางแผนจะส่งผลให้เกิดการเพิ่มก�าลัง การผลิตและประสิทธิภาพการท�างาน ดังนัน้ กระบวนการ วางแผนจะต้องประสานความร่วมมือระหว่างบุคลากร อาทิ หัวหน้างานวิศวกรบ�ารุงรักษา วิศวกรกระบวนการ เพื่อก�าหนดช่วงเวลาเหมาะสมให้กับฝ่ายบ�ารุงรักษา โดยมุง่ การลดเวลาด�าเนินการแต่ละกิจกรรมให้สามารถ บรรลุผลตามเป้า โดยปกติแล้วการวางแผนบ�ารุงรักษา ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสามารถป้ อ งกั น การเกิ ด งานซ�้ า ซ้ อ น ที่ส่งผลกระทบต่อเวลาการเดินเครื่องจักรและคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ บางองค์กรอาจมอบหมายให้ผู้ควบคุมงาน บ� า รุ ง รั ก ษาได้ มี บ ทบาทในกระบวนการวางแผน แต่ ผู้ควบคุมงานส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้รับการฝึกอบรมจึงมัก ผลักภาระงานบางส่วนให้กับช่างเทคนิคท�าให้เกิดความ สูญเปล่าเวลาในกิจกรรมการผลิต ซึง่ องค์กรทีม่ โี ครงสร้าง ซับซ้อนมีความจ�าเป็นต้องจ้างบุคลากรในการประสานงาน และจัดสรรงานบ�ารุงรักษา ส่วนผูค้ วบคุมงานบ�ารุงรักษา และช่ า งเทคนิ ค จะมี ส ่ ว นร่ ว มวางแผนและแก้ ป ั ญ หา งานเร่งด่วนรวมทั้งด�าเนินแผนงานประจ�าวันมากกว่า การวางแผนงานล่วงหน้าส�าหรับการจัดท�าแผนปฏิบตั กิ าร จะด�าเนินการ ดังนี้ 1. การจัดท�าประวัตเิ ครือ่ งจักร โดยแสดงรายละเอียด ข้อก�าหนดเพือ่ การใช้งาน ประวัตกิ ารซ่อมและเวลาทีห่ ยุด เดินเครื่องจักรเพื่อซ่อมแซม 2. จัดท�าคู่มือบ�ารุงรักษาเครื่องจักร พร้อมทั้งบัญชี อะไหล่ทตี่ อ้ งเปลีย่ นตามรอบเวลาและท�าตารางหรือแบบ ฟอร์มการตรวจเช็กเครื่องจักรตามรอบ อาทิ ประจ�าวัน ประจ�าสัปดาห์ ประจ�า 3 เดือน 6 เดือน และการตรวจเช็ก ประจ�าปี 3. ด�าเนินการบ�ารุงรักษาเครือ่ งจักรด้วยการตรวจเช็ก เครื่องจักรตามรอบเวลาในแผน พร้อมทั้งจัดท�าแบบ รายงานสรุปแจ้งกับหัวหน้างานและติดประกาศ

ความสูญเสีย ในเครื่องจักร

การเสื่อมสภาพ สิ่งผิดปกติ เล็กๆ น้อยๆ

การสูญเสีย แฝงเร้น (Chronic Losses) ขาดการสังเกต หรือละเลย การสูญเสียแบบ ฉับพลัน (Sporadic Losses)

ประสิทธิภาพ โดยรวม ของเครื่องจักร ต�่าลง

4. การซ่อมและถอดเปลี่ยนอะไหล่ตามอายุใช้งาน โดยท�าบัญชีอะไหล่ที่ต้องถอดเปลี่ยนตามอายุใช้งาน แต่ละสัปดาห์ เพื่อเสนอฝ่ายจัดซื้อและระบุก�าหนดการ ถอดเปลี่ยนอะไหล่ในวันหยุด 5. ท�าแผนงานปรับปรุงระบบสนับสนุนประจ�า 3 เดือน อาทิ งานระบบไฟฟ้า งานแสงสว่างงานระบบ น�้า ระบบควบคุมฝุ่น อุปกรณ์ส�านักงานห้องน�้า และ สิ่งอ�านวยความสะดวก 6. น�าเสนอผลการด�าเนินกิจกรรมบ�ารุงรักษาเชิง ป้องกันตามรอบ 6 เดือน ในทีป่ ระชุมและเสนอด้วยรูปแบบ โปสเตอร์ โดยรายละเอี ย ดควรแสดงถึ ง ระบบบ� า รุ ง รักษาเชิงป้องกันสามารถลดเวลาหยุดกิจกรรมการผลิต เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรขัดข้องเชิงปริมาณเท่าใดหรือ ค่าใช้จ่ายบ�ารุงรักษาต่อหน่วยลดลงเท่าใด

ปัจจัยการเสื่อมสภาพเครื่องจักร ส่วนช่วงแรกการจัดท�าคู่มือโครงสร้างเครื่องจักรจะ ด�าเนินการจ�าแนกประเภทโครงสร้างเป็น 2 ส่วน คือ โครงสร้างหลัก อาทิ ระบบไฮโดรลิกนิวแมติก ระบบส่ง ก�าลังการหล่อลืน่ และองค์ประกอบ เพือ่ แบ่งรายละเอียด เป็นส่วนย่อยและระบุรายละเอียดกิจกรรมตรวจสอบ ตามรอบเวลา รวมถึ ง วิ เ คราะห์ ค วามช� ารุ ด เสี ย หาย ในองค์ประกอบแต่ละส่วนของเครื่องจักรด้วยข้อมูลที่ ถูกบันทึกและประเมินหาจุดอ่อนที่ส่งผลต่อความช�ารุด เสียหาย ซึ่งข้อมูลจะถูกใช้เป็นแนวทางจัดท�าแผนการ ป้องกันและแก้ไข โดยประเภทเอกสารสนับสนุนกิจกรรมบ�ารุงรักษา ได้แก่ ทะเบียนบันทึกประวัติเครื่องจักรทั้งหมด แผน ก� า หนดการกิ จ กรรมบ� า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น ในรอบปี ก� า หนดการถอดเปลี่ ย นชิ้ น ส่ ว นตามรอบเวลาคู ่ มื อ โครงสร้างเครื่องจักรเอกสารเกี่ยวกับระบบการจัดการ บ�ารุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ แผนภาพวงจรไฟฟ้า บันทึก ประวัตกิ ารบ�ารุงรักษารายการอะไหล่สา� รองทีจ่ า� เป็นและ แนวโน้มการใช้งานข้อมูล แนวโน้มการเกิดปัญหาขัดข้อง เอกสารการวิเคราะห์สาเหตุการขัดข้อง เอกสารรับรอง การสอบเทียบเครื่องคู่มือการใช้งานและข้อแนะน�าจาก ผู้ผลิต

EXECUtIVE SUMMARY Planned Maintenance activity should be considering to operate at the work floor which making a machine status’s report and evaluate it as elementary standard test to recover the machinery status, setting information technology for maintenance system up, prepare the information to choose machinery or part that match with maintenance schedule which including development and strategy improvement continuously. In this way, to set the goal for maintenance works, the operation should run with cooperation between maintenance department and related department. In many cases, the strategy has it owns limitation which effected from the resource but the plan must push forward as strategized. Information technology could be useful for analyze the problem that occurred or identify the chronic problem which causes faultily to precision control with calibrator machine including maintenance facilities such as spare part by analyze and predict machine’s degeneration. With oil lube analysis and vibration analysis from maintenance department, these would be key roles to support in training program for related staff.

march-april 2017

51


INTERVIEW

saijo denki,

Energy Saving that Surpass Label No.5 ซัยโจ เด็นกิ ติดปีกเร่งเครื่อง ปั้นแอร์ประหยัดไฟเกินเบอร์ 5 เจ้าแรกของโลก

เชือ่ ว่านาทีนคี้ งไม่มใี ครทีไ่ ม่รจู้ กั แบรนด์ ‘ซัยโจ เด็นกิ’ ผู้น�าด้านเทคโนโลยีเครื่องท�าความเย็นที่ก่อร่างสร้างตัว มาจากการคิดค้นนวัตกรรมความเย็นที่ไม่เคยหยุดนิ่ง มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอดเวลา จึงไม่ใช่ เรื่องแปลกเลยที่ในวันนี้ ซัยโจ เด็นกิ จะเป็นชื่อที่ติดหู และติดใจใครหลายๆ คน จนรักษาความเป็นผู้น�าด้าน เทคโนโลยีเครื่องท�าความเย็นล�าดับต้นๆ ในตลาดไว้ได้ ฉบับนีจ้ ะชวนมาพูดคุยกับ คุณธันยวัฒน์ จิตติพลังศรี Assistant Managing Director จากบริษทั ซัยโจ เด็นกิ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด ถึงจุดแข็ง เป้าหมาย และ ทิศทางของซัยโจ เด็นกิ ทีท่ า� ให้เครือ่ งปรับอากาศแบรนด์น้ี สามารถครองต� า แหน่ ง ผู ้ น� า ด้ า นเทคโนโลยี ไ ด้ อ ย่ า ง ต่อเนื่อง รวมถึงความ SMART ของซัยโจ เด็นกิ ที่ว่ากัน ตั้งแต่ต้นน�้ายันปลายน�้า

ติดปีกเร่งเครื่อง สองปีกลายเป็นเบอร์หนึ่ง ประหยัดไฟได้มากที่สุด เบอร์ 5 ยังน้อยไป คุณธันยวัฒน์ จิตติพลังศรี เปิดบทสนทนาด้วยการ กล่ า วถึ ง ความส� า เร็ จ เมื่ อ ปี ที่ ผ ่ า นมาว่ า ซั ย โจ เด็ น กิ ประเทศไทย จดทะเบียนสิทธิบัตรกว่า 20 ใบ ซึ่งเป็น 52

Machine Tools & Metalworking


นวัตกรรมที่วิจัยและพัฒนาขึ้นเอง ยิ่งไปกว่านั้นคือการ ได้รบั เกียรติจากธนาคารโลก (World Bank) ให้เป็นองค์กร ต้นแบบที่ประสบความส�าเร็จด้านการคิดค้นนวัตกรรม ประหยัดพลังงานและ Protocol ลดโลกร้อนด้วย “World Bank ท�ำควำมตกลงกับองค์กรระดับโลกจำก หลำยประเทศชัน้ น�ำ เช่น ไทย ญีป่ นุ่ จีน ฟิลปิ ปินส์ อินเดีย อินโดนิเซีย ยุโรป อเมริกำ แต่ในที่สุดก็ได้ยกให้เรำเป็น Success Case ในกำรใช้สำรท�ำควำมเย็น R32 รุ่นใหม่ ทีท่ ำ� ให้เครือ่ งปรับอำกำศเย็นขึน้ ประหยัดไฟมำกขึน้ และ ลดกำรท�ำลำยสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อน ถือเป็นตัวอย่ำง ของควำมส�ำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นเจ้ำแรกของประเทศไทย บริษัทแรกๆ ในโลก” อีกทัง้ ซัยโจ เด็นกิ สามารถพัฒนาเครือ่ งปรับอากาศ ขนาดใหญ่ ส� า หรั บ โรงงานอุ ต สาหกรรมให้ ป ระหยั ด พลังงานได้เจ้าแรกในโลก “เรำพั ฒ นำ Inverter ของตั ว เอง ปั จ จุ บั น มี เครื่ อ งปรั บ อำกำศที่ ป ระหยั ด ไฟที่ สุ ด ในเมื อ งไทย เกณฑ์กำรประหยัดไฟ คือ เบอร์ 5 ซึ่งต้องวัดค่ำ SEER ได้เกิน 15 แต่ของเรำวัดค่ำ SEER ได้ถึง 26.61 ซึ่งเป็น เบอร์หนึง่ ของทัง้ ในเมืองไทยและสิงคโปร์” คุณธันยวัฒน์ อธิบายถึงความสามารถในการประหยัดไฟ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั สัดส่วนยอดขายของซัยโจ เด็นกิ แบ่งเป็นเครื่องปรับอากาศขนาดเล็กใช้ในบ้าน 50% ขนาดกลาง (ต�่ากว่า 60,000 BTU/h) อีก 30% และ ขนาดใหญ่ 60,000 BTU/h ขึ้ น ไปที่ ใช้ ใ นโรงงาน อุตสาหกรรมอีก 20%

แค่ตามเทรนด์ ไม่พอ แต่ต้อง Smart ทุกมิติ “ไม่ใช่ว่ำเทรนด์ 4.0 มำ แล้วก็แห่ตำมโดยไม่รู้ว่ำแก่น ของตัวเองคืออะไร ควำมแข็งแรงของเรำคืออะไร อย่ำ หลุดโฟกัส เรำตำมเทรนด์ควำมต้องกำรของผูบ้ ริโภคด้วย และเรำโฟกั ส ที่ จุ ด แข็ ง 3 จุ ด คื อ ประหยั ด พลั ง งำน คุณภำพอำกำศ และ Smart” คุณธันยวัฒน์ กล่าว SMART ของซั ย โจ เด็ น กิ คื อ การเชื่ อ มต่ อ เครื่องปรับอากาศเข้ากับผู้ใช้ผ่านสมาร์ทโฟน เช่น SMART AC ผู้ใช้สามารถควบคุมเครื่องปรับอากาศ ผ่ า นแอปพลิ เ คชั น ได้ เช่ น เปิ ด -ปิ ด ตั้ ง อุ ณ หภู มิ ปรับระดับความแรงลม SMART ENGINEER ผู้ใช้สามารถรู้ปัญหาของ ระบบได้ เช่น น�า้ ยาแอร์หมด คอมเพรสเซอร์เสีย มอเตอร์ ช�ารุด เป็นต้น โดยสามารถบอกต้นเหตุของอาการเสีย ของแอร์ได้มากกว่า 30 อาการ ผ่าน Application Smartphone SMART ENERGIE แอปพลิเคชันช่วยค�านวณหาวิธี ท�างานให้เป็น Energy Saving Mode ซึ่งสามารถ ประหยัดไฟได้อกี 30% นอกจากนี้ ยังตรวจสอบค่าไฟได้ เปิดมากี่ชั่วโมง กินไฟไปกี่หน่วย กินไฟไปแล้วกี่บาท กล่ า วคื อ เครื่ อ งปรั บ อากาศของซั ย โจ เด็ น กิ ใช้ระบบ Internet of Things ได้เต็มรูปแบบและเต็ม ประสิทธิภาพอย่างแท้จริง โดยปัจจุบันมีให้ดาวน์โหลด แล้วทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android ในชือ่ Saijo Denki Application

Roadmap ของซัยโจ เด็นกิ รับ IoT และ Industrial 4.0 คุณธันยวัฒน์ยังให้ความคิดเห็นที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ค่าแรงในประเทศไทยสูงกว่าเวียดนาม อินโดนีเซีย และ เมียนมาแล้ว ถ้าไทยไม่ 4.0 ก็อาจท�าให้เสียโอกาส ในการแข่งขัน “ในควำมเห็นของผม ค�ำว่ำ Industrial 4.0 หมำยถึง เรำควรเป็ น เจ้ ำ ของเทคโนโลยี ไม่ ใช่ ซื้ อ หรื อ น� ำ เข้ ำ เทคโนโลยีมำใส่โรงงำน ถ้ำแค่ซอื้ มำ มันไม่ยงั่ ยืน พัฒนำ ตัวเองต่อไม่ได้ ฉะนัน้ ต้องสร้ำงนวัตกรรม สร้ำงองค์ควำมรู้ ใหม่ๆ เป็นเหตุผลให้ ซัยโจ เด็นกิ พัฒนำอย่ำงรวดเร็วเพือ่ เป็นผูน้ ำ� ใช้ควำมต้องกำรของผูบ้ ริโภคมำสร้ำงมูลค่ำเพิม่ ให้ผลิตภัณฑ์” คุณธันยวัฒน์ กล่าวไว้อย่างน่าสนใจ โดยซัยโจ เด็นกิ เองก็มี Roadmap ที่สอดคล้องกับ อุตสาหกรรม 4.0 ทั้ง 4 มิติ ทุกองค์ประกอบต้องเป็น นวัตกรรม คือ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Product) ที่ เ ป็ น นวั ต กรรมทั้ ง การ ประหยัดพลังงานและคุณภาพอากาศ บริการ (Services) เช่น e-Warranty การรับประกัน และบริการหลังการขายผ่านระบบอินเทอร์เน็ต กระบวนการท�างาน (Process) เช่น การใช้ QR Code เพือ่ ท�าฐานข้อมูลลูกค้าและช่างซ่อม รู ป แบบธุ ร กิ จ (Business Model) จากที่ เ คยขายผ่ า นดี ล เลอร์ จ ะพยายาม ขยับเป็น Digital Trade เห็นได้ว่า เป้าหมายและทิศทางของ ซัยโจ เด็นกิ ที่เน้นการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีด้วยตัวเอง เพื่อสร้างนวัตกรรม และองค์ความรู้ กลายเป็นเคล็ดลับในการ ครองความเป็นผู้น�าด้านเทคโนโลยี คุณธันยวัฒน์ ยังทิง้ ท้ายว่า หลักการ ท�างานทีซ่ ยั โจ เด็นกิ ยึดมั่นมาโดยตลอดนี้ สอดคล้องกับธีมหลักของงาน Manufacturing Expo 2017 ที่จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21-24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560 ซึง่ จัดแสดงเครือ่ งจักร เครื่องมือ ระบบออโตเมชั่น และโรบอติกส์ ซึ่ ง ปี นี้ เ น้ น ที่ แ ม่ พิ ม พ์ เพราะเชื่ อ ว่ า เป็ น รากฐานของการผลิ ต โดยเฉพาะแม่ พิ ม พ์ (Mold) ประกอบกับเป็นพื้นที่โชว์นวัตกรรม คุณธันยวัฒน์ จิตติพลังศรี ทีส่ อดรับกับอุตสาหกรรม 4.0 ทีจ่ ะแสดงให้เห็น Assistant Managing Director ถึงค�าว่า SMART ได้รอบด้านมากยิ่งขึ้นด้วย บริษัท ซัยโจ เด็นกิ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด march-april 2017

53


International Trade Exhibition and conference for Surface Treatment, Paints & Coating Technology Co-located with:

ACHIEVE EFFICIENCY & OUTPUT FASTER

QUALITY OF MACHINE & PRODUCTION

UPGRADE TO SMART MANUFACTURING

“Surface and Coatings 2017” is a platform that brings together the new technologies of the fast growing surface processing market and the industrial implementers, creating new opportunities for the sector. This highly diverse trade exhibition specializing in surface finishes, treatments and coatings for broad class of materials capable of altering the surface finish, form or function to enhance appearance, bond strength, corrosion resistance or any design feature. This show boasts a wide range of must-see features like the innovation updates, in-depth presentations, special product focus features, live demonstrations, and networking opportunities.

Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 surfaceandcoatings@reedtradex.co.th www.facebook.com/surfaceandcoatings www.surfaceandcoatings.com

2124 Officially Supported by:

JUNE 2017 BITEC • BANGKOK THAILAND Organized by:


Thailand’s Largest Manufacturing and Supporting Industries Event

Co-located with:

ACHIEVE EFFICIENCY & OUTPUT FASTER

QUALITY OF MACHINE & PRODUCTION

UPGRADE TO SMART MANUFACTURING

Part makers and assemblers are in constant need of solutions to achieve their targets with efficiency. These solutions need to encompass speed, strong quality and style. Manufacturing Expo 2017 will serve as the gateway to these solutions with a growing list of 2,425 brands of technologies from 46 countries, as well as enhanced partnership networks through specially organized activities and seminars. Join us toward this evolution of technologies that will answer every manufacturing requirement together!

Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 manufacturing-expo@reedtradex.co.th www.facebook.com/manufacturingexpopage www.manufacturing-expo.com

2124 Officially Supported by:

JUNE 2017 BITEC • BANGKOK THAILAND Organized by:


Service Call Center : +(66)2402-0652 E-mail : info@mazakthai.com URL : www.mazakthai.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.