001_Mo_Cover_April_2016_Final.pdf 1 5/4/2016 6:41:20 PM
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
Piston Pump
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
PRODUCT
Gear Pump
158
SERVICE Hydraulic Cylinder
O P E R AT E & MONITORING
Vane Pump
M
Y
CM
MY
CY
CMY
Vo l .1 4 N o.1 5 8 A P R I L 2 0 1 6
C
ผู นำด านต นกำลังไฮดรอลิค แบบครบวงจร สู ผู นำการสร างโรงไฟฟ าพลังงานชีวมวล แบบ Turnkey
Control Valve
Hydraulic Accessories
Hydraulic Oil
Certified by :
Filtration Unit
K
เคร�่องประมวลผลการทดสอบ (Data Records)
www.factoryeasy.com www.mmthailand.com 70.
เคร�่องวัดสิ�งสกปรก (Patical Counter)
เคร�่องมือตรวจสถานะการทำงานของระบบไฮดรอลิคแบบออนไลน (On Line Condition Monitoring)
Test Stands
เคร�่องแยกน้ำ
(Dewatering System)
อีกหนึ่งตนแบบความสำเร็จ... จาก ‘ความเชื่อ’ ใน ‘ความพยายาม’ ศ.ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์
สองภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ไตรมาสแรก ป’ 59
Cloud Computing ในกิจการอุตสาหกรรม รูเร็ว เตรียมพรอมกอน
p. 51
p. 44
p. 63
AD_Kaowna.pdf 1 10/21/2015 3:51:30 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
P003_Edit2e.pdf 1 4/28/2016 4:59:06 PM
Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Trust and
believe CC-Link
เทคโนโลยีเคร�อข ายอัจฉร�ยะ เชื่อมต อภาคอุตสาหกรรมไทย ให ก าวสู ความเป นผู นำ
Ms. Naomi Nakamura
Global Director of CLPA
AD_Zi-Argus_27-1-59.pdf 1 1/27/2016 5:38:53 PM
Effective Management of Your Automation Device Changes Has Never Been Easier or More Affordable ZI-ARGUS รวมกับ MDT ซึ่งเปนผูนำดาน Automation Change Management มานานกวา 25 ป ขอนำเสนอซอฟทแวร AutoSaveBasic เปนซอฟทแวร Change Management Solution สำหรับโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลางซึ่ง AutoSave Basic จะชวยในการบริหารและจัดการเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ของระบบควบคุมไมวาจะเปนเหตุการณที่ไมคาดคิด อยางเชนอุปกรณเสียหายเนื่องจากภัยธรรมชาติ หรือจะเปนการเปลี่ยนอุปกรณเนื่องจากตัวอุปกรณในระบบเสียหายยังครอบคลุมไปถึงเอกสารตางๆ ดวย
Undo
C
Recovery
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
PLC, DCS, CNC, HMI, Drives Robot, SCADA, Document
Program Control
Access
MDT’s strategic partnerships with automation vendors
MDT AutoSave change management software supports any PC-based application and greatest breadth of automation devices in the industry Collaborative Automation by
Automation
AutoSave Solutions
Contact: ZI-ARGUS LTD. 278 B1, Fl.1-2 Raintree Office Garden Soi Soonvijai 4, Rama IX Road Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310, Thailand Tel : +66 (0)2 319 9933 Fax : +66 (0)2 319 9949 Email : bangkok@zi-argus.com
AD_Abb.pdf 1 3/7/2016 9:52:42 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
010_AD Compomax.pdf 1 6/28/2013 6:51:34 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
AD_Irct.pdf 1 3/28/2016 2:33:43 PM
ReMEMber to Upgrade your Bench
with Keysight’s Next-Generation Truevolt Digital Multimeters & Trueform Waveform Generators For a limited time, receive FREE memory upgrades when you advance to Keysight’s next-generation Truevolt digital multimeters and Trueform waveform generators (up to $600 USD value). Models include: 34465A, 34470A DMMs; 33511B, 33512B, 33521B, 33522B, 33611A, 33612A, 33621A, 33622A waveform generators. Offer valid: January 1, 2016 to September 30, 2016. C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Keysight Truevolt Digital Multimeters 34465A/34470A
Keysight’s Truevolt DMMs incorporate a patented metrology-grade architecture, giving users unrivalled DMM measurement performance: • 70% less injected current than alternatives, to ensure you measure real-world signals and not instrument error. • Digital sampling AC rms function measures noisy signals with crest factors up to 10:1 without additional error terms. • Guaranteed compliance to industry-leading ISO/IED17025 standards IRC Technologies Limited Authorized Distributor and Authorized Service Center
Keysight Trueform Waveform Generators 33500B/33600A Series
Keysight’s 33500B and 33600A Series waveform generators with exclusive Trueform signal generation technology offer more capability, fidelity and flexibility than previous generation Direct Digital Synthesis (DDS) generators. • 1 GSa/s sampling rate and up to 120 MHz bandwidth • As low as 1 ps jitter, up to 200x better than DDS generators • Up to 5x lower harmonic distortion than DDS
AD_Virtus.pdf 1 3/15/2016 9:46:27 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
TVP Valve.pdf 1 12/14/2015 8:45:23 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
P010_Ad Architect.pdf 1 4/18/2016 10:12:14 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
P11_Thai Polymer.pdf 1 22-Apr-16 3:15:42 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
012_AD AMDA.pdf 1 6/3/2013 5:03:55 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other trademarks, registered trademarks or service marks belong to their respective holders.
ขอเชิญเข้าร่วมงาน….
Thailand Industry Launch… Mold & Die Roadshow 2016 FREE! ในวันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 นี้ ณ ไบเทค บางนา
Benefits & Features…. • Generate consistent tool should cost calculations • Supporting key tooling technologies and types: injection molding, die casting, progressive dies • Optimize costs of in-house manufactured and purchased tooling ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com 02 692 3090-4 ต่อ 113 &114 www.hitachi-sunway-is.com
Leadership Siemens PLM Software Driving innovation for 29 of 30 top automakers.
Today’s cars are more intelligent, more connected— and more challenging than ever to produce. Software and electronics have become as important as vehicle mechanics. The greatest opportunity for innovation is now at the systems level—where these technologies come together. How will you take the lead? For 29 out of 30 automakers, Siemens PLM Software is key to the answer. Our
smart innovation platform helps automakers and suppliers manage collaboration, optimize processes and realize innovation—from planning and design through manufacturing and support. Find out why so many automotive companies rely on Siemens PLM Software to gain a competitive edge. siemens.com/plm/leader
Realize Innovation.
บริษัท ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 252/21 ชั้น 17 เมืองไทยภัทร ออฟฟิศ ทาวเวอร์ 1 ถนนรัชดาภิเษก แขวง/เขตห้วยขวาง 10310 Tel. 02 693 2090-1 Fax. 02 693 2095 Email: enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com Website: www.hitachi-sunway-is.com
SiemensPLM_Auto_Leadership_US_11032016.indd 1
3/11/2016 2:56:27 PM
14
copyright & trademark
2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�ำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�ำเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้ำ
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th
COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
การสมัครสมาชิก
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�ำระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th
ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�ำติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ำมาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�ำหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�ำ ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th
ค�ำประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P014_Copyright&Trademark.indd 14
4/20/2016 4:13:55 PM
AD_Global Seal.pdf 1 3/7/2016 10:01:12 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
contents vol.13 no.158 april 2016
p.30
p.60
p.34
p.56
p.51
24 NEWS & UPDATE
49 EQUIPMENT & TOOL
68 TECH FOCUS INFORMATION TECHNOLOGY
30 COVER STORY
51 REAL LIFE
ไม่ตกเทรนด์ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ต้องรู้จักเทคโนโลยี Virtual Reality และ Augmented Reality
AEROFLUID แอโรฟลูอิด ผู้น�ำระบบ SI มาตรฐานระดับสากล 34 execlusive INTERVIEW
CC-Link เทคโนโลยีเครือข่ายอัจฉริยะ เชื่อมต่อภาคอุตสาหกรรมไทยให้ก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำ 41 project for factory 42 ALL AROUND
R&D, THE LEVERAGE วิจัยและพัฒนา การผงาดอย่างยั่งยืนแห่งภาคอุตสาหกรรม
ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อีกหนึ่งต้นแบบความส�ำเร็จ… จาก ‘ความเชื่อ’ ใน ‘ความพยายาม’ 55 GREEN ZONE POLICY
กระตุ้นผู้ประกอบการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ประหยัดพลังงาน บีโอไอ ประกาศยกเว้นภาษีเพิ่ม 3 ปี 56 GREEN ZONE TECHNOLOGY
ก้าวต่อไปแห่งอนาคตของพลังงาน ‘ลม’ 58 FACTORY VISIT
70 TECH FOCUS
สจล. ปลุกพลัง Startup เมืองไทย From Creativity & Innovations to Startups Project 74 QUALITY CONTROL MEASUREMENT
เช็คความเที่ยงตรงในงานวัดประแจปอนด์และสกรู ด้วยเครื่องมือวัดแรงบิด Standard 76 QUALITY CONTROL MAINTENANCE
โรงไฟฟ้าจากชานอ้อย...ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่
MODERN MAINTENANCE อุดช่องโหว่การบ�ำรุงรักษาแบบเดิมได้อย่างไร
ส่องภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ไตรมาสแรก ปี’59
60 RENEWABLE ENERGY
78 SYSTEM FACILITY MANAGEMENT
หมดยุคทองยางพารา ได้เวลาขายทองรูปพรรณ
ท�ำไม? ต้องตรวจสอบคุณภาพระบบไฟฟ้าโรงงาน
46 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY
63 TECH FOCUS INTERNET OF THING
80 SAFETY
2016 THE YEAR OF INVESTMENT จับตา…มาตรการภาครัฐ กระตุ้นการลงทุน ปี’59
Cloud Computing ในกิจการอุตสาหกรรม รู้เร็ว เตรียมพร้อมก่อน
เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย และเพิ่มศักยภาพในการท�ำงาน MOTOTRBO
44 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P016-017_Contents.indd 16
4/25/2016 4:10:40 PM
p.70
p.58
Typical segments
Key features
Benefits
. Mining & minerals
Full power and voltage range from 0.55 kW to 2.0 MW for both induction and permanent magnet motors.
Same software tools, same control and option boards allowing the maximum utilization of NXP features over a wide power range.
Extensive range of ready-to-use applications for basic to demanding needs.
No additional software engineering required, saving time and money.
Create your own applications with VACON NC61131-3 Engineering tool.
Customized applications provide added flexibility to meet process requirements.
Five built-in expansion slots for additional I/O. fieldbus and functional safety boards.
No additional external modules required. Options boards are compact and easy to install at any time.
. Compressors . Marine & offshore . Cranes & hoists . Metals
82 PRODUCTIVITY LEADERSHIP
. Chemical & refining . Water & wastewater . Oil & gas
84 PRODUCTIVITY HUMAN RESOURCES
มจธ.เร่งติดปีกบัณฑิต ดันสู่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแบบ 2 in 1
. Pulp & paper . Cement & glass . General process industry
85 FOOD PROCESSING
Losses, Ait 2%
4 นวัตกรรม SME ต่อยอดสู่อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ระดับมหภาคของไทย
Power Input 100%
p.80
Power Output (to motor) 98%
COOLING TECHNOLOGY ADVANTAGE
Four models are available to meet various customer needs: • Vacon NXP IP 21/IP54 wall-mounted or standalone drives • Vacon NXP high-power IP00 drive modules for cabinet installation • Vacon NXC robust cabinet drive with maximum flexibility and a wide range of options • Vacon NXC low-harmonic cabinet drive for applications where low-harmonics are required
issue 158 APRIL 2016
P016-017_Contents.indd 17
AD_BTT-3-9-59.indd 1
3/9/2016 4:10:46 5:16:01 PM 4/25/2016 PM
editor’s talk ISSN: 1685-7143
เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลาดพร้าว 107 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสาร 0-2769-8043 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com ที่ปรึกษา: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธารา ชลปราณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถาวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญาติ บรรณาธิการ : ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดาภา แจ้งสัจจา กองบรรณาธิการ: สาวิตรี สินปรุ, เปมิกา สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สาทร บรรณาธิการศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ายศิลปกรรม: ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น, ชุติกาญจน์ กฤดาแสงสว่าง ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตา ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสา โสภิณ, พรเลขา ปั้นนาค ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญา ฝ่ายบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสาร ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรานิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2731-1155-60 โทรสาร : 0-2731-0936
จิรภัทร ข�ำญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th
Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน เป็นอีกหนึ่งก้าวย่างส�ำคัญส�ำหรับนิตยสาร MODERN MANUFACTURING ที่มุ่งมั่นในการพัฒนาและ สร้างสรรค์เพื่อตอบโจทย์คุณผู้อ่านให้มากที่สุด ในฉบับนี้เป็นโฉมใหม่ที่มีการปรับเปลี่ยนทั้งเนื้อหาและงานดีไซน์ ซึ่งทางทีมงานมีความตั้งใจเป็นอย่าง ยิ่ง เพื่อส่งมอบคุณค่าอันเป็นประโยชน์ต่อคุณผู้อ่านผ่านนิตยสารฉบับนี้ เริ่มที่สัมผัสแรกด้วยงานดีไซน์ ที่อ่านง่าย สบายตา และมีภาพประกอบที่สอดคล้องกับเนื้อหา ส่วนเนื้อหาเองก็น�ำเสนอในรูปแบบที่สั้น กระชับ ได้ใจความ โดยคัดสรรและกลัน่ กรองสาระซึง่ อยูภ่ ายใต้แนวคิด Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 Factory Management: สาระที่ว่าด้วยการจัดการในโรงงานสมัยใหม่ที่ครอบคลุม Quality Control, Productivity, Safety และ System เป็นต้น โดยเป็นการน�ำเสนอในแง่มุมของการสร้างแรงบันดาลใจส�ำหรับ ผู้ประกอบการด้านแนวทางและแนวคิดในการจัดการโรงงานสมัยใหม่ เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุค ดิจิตอล Technology: น�ำเสนอเทรนด์ของเทคโนโลยีทที่ นั สมัยรอบโลกทัง้ หมวดของ Automation, Green Energy, C-Technology, Internet of Thing โดยมุ่งเป้าไปที่สาระที่สอดคล้องกับโรงงานอุตสาหกรรม Industrial Economics: รายงาน สถิติ แนวนโยบาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับเศรษฐกิจอุตสาหกรรม แนวโน้มการ ลงทุน รวมถึง ข้อตกลงทางการค้าที่เป็นประโยชน์สำ� หรับคุณผู้อ่านทุกท่าน Industry 4.0: ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรมของโลกด้วยข้อมูลที่สอดคล้องกับแนวคิด อุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเป็นทิศทางของการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญ นอกจากนั้น ภายในโฉมใหม่นี้ ได้เพิ่มเติมความพิเศษในแต่ละคอลัมน์ด้วย Executive Summary ซึ่ง เป็นการย่นย่อเนือ้ หาให้สนั้ กระชับท�ำความเข้าใจภาพรวมของเนือ้ หาทัง้ หมดได้อย่างรวดเร็วในรูปแบบภาษา อังกฤษค่ะ ณ ขณะนี้ พร้อมแล้วทีจ่ ะน�ำเสนอต่อคุณผูอ้ า่ นค่ะ หวังใจเป็นอย่างยิง่ ว่า MODERN MANUFACTURING ฉบับนี้จะเป็นฟันเฟืองหนึ่งในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทยนะคะ จิรภัทร ข�ำญาติ บรรณาธิการบริหาร
Owner : Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8043 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan, Chutikarn Kritdasaengsawang Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝากหรือแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณาธิการ โทรศัพท์ : 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ : 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P018_Editor's Talk.indd 18
4/25/2016 4:17:59 PM
THIS IS RELIABILITY Automations Connectors Hydraulics Filtration Instrumentation Engineered Materials (Seal)
Leader of Motion and Control Technologies Provide the total solutions and service With high quality of 6 product groups Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road, Suanlung, Bangkok 10250 Tel : (662) 186-7000 Fax : (662) 374-1645
Parker enables its partners to increase productivity and profitability, while protecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solve the world’s greatest engineering challenges. www.parker.com/th
AD_Parker.indd 1
3/16/2016 10:28:03 AM
20 SUPPLIER INDEX APRIL 2016
หน้า 1, 30-33 2
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
แอโรฟลูอิด บจก.
0-2577-2999
ก้าวหน้า อินดัสทรีส์ เอ็นจิเนียนิ่ง บจก.
0-2159-9861-4 www.kaowna.co.th
จ�ำหน่าย Air compressor Air dryer เครื่องอัดลม ปั้มลม เครื่องท�ำลมแห้ง อุปกรณ์ปรับปรุงคุณภาพลม อะไหล่ปั๊มลม และงานบริการด้านต่างๆ
0-2682-6522
www.mitsubishifa.co.th
เราน�ำเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้าผ่านเครือข่าย ในการจ�ำหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล
ตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น 3, 34-37, 48 มิ(ประเทศไทย) บจก.
www.aerofluid.com
ข้อมูลบริษัท HYAIR Hydraulic Specialist Brand แบรนด์มือหนึ่งของคนไทย
4
ไซ-อาร์กัส บจก.
0-2319-9933
www.zi-argus.com
Everything Under Control
5
เอบีบี บจก.
0-2665-1000
www.abb.com
ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�ำหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�ำ่
6
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี
7
ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.
0-2717-1400
www.irct.co.th
Leader in Test and Measurement
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�ำลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.
0-2379-1611-12 www.tvp.co.th
จ�ำหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม
11
ไทยโพลิเมอร์ ซัพพลาย บจก.
0-2750-4852-8 www.thaipolymer.co.th
ผู้น�ำในด้านพลาสติกวิศวกรรม ผลิตชิ้นส่วนพลาสติก งานสั่งท�ำ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย และ ประสบการณ์ด้านสินค้าและบริการ มากกว่า 30 ปี
12
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
Autonics Sensors & Controllers
13
ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก. 0-2693-2090-4 www.hitachi-sunway-is.com Hitachi Sunway...End To End PLM Solutions Provider
15
กลอบอลซีล บจก.
0-2591-5256-7 www.globalseal.co.th
กลอบอลซีล ผูใ้ ห้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร
17
บีทีที ยูไนเต็ด บจก.
0-2586-8733
www.BTTunited.com
จ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�ำ่ ครบวงจร
19
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้นำ� เข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�ำงานในเครื่องจักร และเครื่องยนต์ชั้นน�ำของโลก
21
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
www.interlink.co.th
คอมพิวเตอร์ น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง
22
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่าย มอเตอร์, ปัม้ น�ำ้ , พัดลมอุตสาหกรรม ชัน้ น�ำของประเทศไทย
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6 www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
25
ซุ่นไถ่จั่น อิมปอร์ต บจก.
0-2234-9555-8 www.grouplst.com
L.S.T. Group Seeking For Fasteners? We are your answer! ทุกค�ำตอบของสกรูนอ๊ ตคุณภาพสูง
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.
0-2637-5115
www.ikont.co.jp/eg
“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”
47
คราสส์เทค บจก.
0-2732-1144
www.krasstec.com
ตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องจักร และอุปกรณ์ เทคโนโลยีต่างๆ รวมกว่า 30 แบรนด์
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71 www.inb.co.th
ผู้แทนจ�ำหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
ริททัล จ�ำกัด
0-2704-6580-8 www.rittal.com/th-en/
Rittal – The System. Faster – better – everywhere.
113
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8 sales@magna.co.th
Pressure Gauges: Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach
114
การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2396-1134-6 www.gardnerdenver.com
Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.
115
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888 www.crm.co.th
ผู้น�ำเข้า และจัดจ�ำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ อย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุม่ อุตสาหกรรม
116
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8 www.alphac.co.th
- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct. - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
38-39
www.amda.co.th
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�ำขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�ำถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�ำให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P020_Index.indd 20
4/25/2016 4:43:54 PM
INTERLINK AD-9.25x11.75 -240658.pdf 1 6/25/2015 5:02:21 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
นำเขาและจัดจำหนายโดย
บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)
www.interlink.co.th
E-mail : info@interlink.co.th
AD_T.N..pdf 1 1/22/2015 9:36:27 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
AD_Powerade.pdf 1 3/17/2016 4:16:33 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
24 news & update
ชไนเดอร์ฯ เปิดตัว ‘Life Is On’ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทยประกาศเปิดตัว ‘Life Is On’ กลยุทธ์ แบรนด์ใหม่ มุ่งเน้นการน�ำเสนอเทคโนโลยีและโซลูชันที่ให้ความสามารถ ในการเชื่อมต่อ ความยั่งยืน ประสิทธิภาพ ความน่าเชื่อถือ และความ ปลอดภัย ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านการใช้ พลังงาน ขับเคลื่อนด้วยเมกะเทรนด์หลัก 3 ส่วน ได้แก่ การขยายตัวของ สังคมเมือง (Urbanization) การเติบโตด้านดิจิตอล (Digitization) และการ ขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม (Industrialization) ทัว่ โลก เพือ่ ช่วยให้ลกู ค้า ให้ได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน ช่วยลดปริมาณการใช้ พลังงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพสูงสุดให้กบั การด�ำเนินงานในองค์กร ทัง้ ใน กลุ่มที่อยู่อาศัย เมืองและอาคาร อุตสาหกรรมต่างๆ และดาต้าเซ็นเตอร์
อินเตอร์ลิ้งค์จับมือภาครัฐจัดแข่งขัน ‘Cabling Contest 2016’ ชิงถ้วยพระราชทาน บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงาน จัดโครงการแข่งขัน ‘สุดยอดฝีมือสายสัญญาณ ปี 4 (Cabling Contest)’ เปิดโอกาส ให้นิสิต นักศึกษาทั่วประเทศ ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับอาชีวศึกษา ได้เรียน รู้เทคโนโลยีสายสัญญาณในยุคปัจจุบัน ผ่านกิจกรรมการอบรมและแข่งขัน ชิงถ้วย พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พร้อมเงินรางวัล มูลค่า 100,000 บาท ส�ำหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมการแข่งขันโครงการ ‘สุดยอดฝีมือสายสัญญาณ ปี 4 (Cabling Contest 2016)’ สามารถสมัครออนไลน์ได้ที่ www.cablingcontest.com
งานสัปดาห์พลังงานแห่งเอเชีย 2016
Tech Group เปิดส�ำนักงานใหม่ และฉลองครบรอบ 10 ปี Part Tech กลุ่มบริษัท Tech Group จัดงานเปิดส�ำนักงานใหม่และงานฉลองครบ รอบ 10 ปี บริษัท พาร์ทติ้งไลน์ เทคโนโลยี จ�ำกัด ภายในงานมีพิธีการ เปิดส�ำนักงานใหม่ โดยได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.สมชอบ ไชยเวช ประธาน คณะกรรมการสถาบันไทย-เยอรมัน เป็นประธานในการเปิดพิธี หลังจาก นั้น เปิดโอกาสให้ส่ือมวลชนรวมถึงผู้ร่วมงานทุกท่านเข้าเยี่ยมชมโรงงาน เครื่องจักรและเทคโนโลยีต่างๆ ของบริษัทฯ พร้อมจัดงาน Thank you Party ซึ่งมีการจัดแสดงคอนเสิร์ต ‘คนหัวใจเทค’ ของ น้าหมู พงษ์เทพ กระโดนช�ำนาญ ณ สวนสนุก Wonder World ซึ่งมีผู้มาร่วมงานและแสดง ความยินดีเป็นจ�ำนวนมาก
บริษัท เพนน์เวลล์ คอร์ปอเรชั่น จัดงานสัปดาห์พลังงานแห่งเอเชีย 2016 สุดยอดแห่งงานแสดงอุตสาหกรรมพลังงานแห่งเอเชีย ซึง่ จะจัดแสดงขึน้ ที่ ศูนย์การ ประชุมและนิทรรศการคินเท็กซ์ เมืองอิลซาน ประเทศเกาหลีใต้ ในระหว่างวันที่ 20-22 กันยายน 2559 โดยงานนีไ้ ด้รบั เกียรติจาก คณะกรรมการทีป่ รึกษา ประกอบ ด้วย ตัวแทนระดับสูงในกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตพลังงาน พลังงานทดแทน และการ เงินของประเทศเกาหลีใต้และจากทั่วโลก การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาในครั้งนี้ ได้มีวาระการประชุม เพื่อคัดเลือก บทคัดย่อและสรรหาผู้บรรยาย วิทยากรและผู้กล่าวสุนทรพจน์ในสัปดาห์พลังงาน แห่งเอเชีย 2016 ซึ่งครั้งนี้มีธีมเป็น ‘แลกเปลี่ยนความรู้ ก้าวสู่ทางออกพลังงาน’ ‘Exchanging Knowledge – Generating Solutions’ โดยในงานเพาเวอร์-เจน เอเชีย มีทั้งหมด 4 ด้าน ด้านที่ 1 แนวโน้มการพัฒนาและความก้าวหน้า การวางแผน โครงการพลังงานต่างๆ ด้านที่ 2 การเชื่อมโยงระบบโครงข่ายกริดและระบบจ่าย พลังไฟฟ้าแบบกระจาย ด้านที่ 3 เทคโนโลยีโรงผลิตพลังงาน ด้านที่ 4 การเพิ่ม ประสิทธิภาพ การด�ำเนินงานโรงงานซึ่งจะแยกเป็นหัวข้อเฉพาะเรื่อง ด้านพลังงาน ทดแทนในงาน รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ เวิร์ล เอเชีย และเวทีการประชุมการเงินการ ลงทุนในงาน เพาเวอร์-เจน เอเชีย ไฟแนนเชียล ฟอรั่ม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P024,026_NEWS&UPDATE.indd 24
4/20/2016 6:59:13 PM
AD_LST_(Sec 2)_Steel Spring.pdf 1 1/8/2016 11:05:31 AM
Concrete Anchor
Hand Tools Bolt
Other Parts & Accessories
C
M
Y
CM
MY
Nut
Stud Bolt
CY
CMY
K
Machine Screw & Tapping
Ring & Washer
มาลนีนท
พ รงุเท ฟา าลก ทยีน ยาบ บาลเ พยา ธิโิรง มลูน
โรงพ
385/1 ถ.สขุสวสัดิ แขวงราษฎรบรูณะ เขตราษฎรบรูณะ กรงุเทพฯ 10140 Tel: (662)-818-2555 Fax: (662)-818-2598 Email: leesoonthai@gmail.com soonthai@loxinfo.co.th Website: http://www.grouplst.com
26 news & update
เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ จัดงาน เค 2016 เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ น�ำเสนองาน เค 2016 ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุก 3 ปี โดยในปีนี้จะจัด ขึ้นระหว่าง วันที่ 19 – 26 ตุลาคม ที่เมืองดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี เพื่อเป็นการน�ำเสนอ สินค้าและบริการต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอุตสาหกรรม ตัง้ แต่เทคโนโลยีใหม่ลา่ สุด การบุกเบิกของ นวัตกรรมที่ล�้ำยุค ไปจนถึงแนวคิดที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาของอุตสาหกรรมในอนาคต ส�ำหรับงาน เค 2016 ครั้งนี้ มีบริษัทต่างๆ จากทั่วทุกทวีปกว่า 3,000 ราย ได้จับจองพื้นที่ เข้าร่วมงาน รวมทั้งประเทศไทย เพื่อร่วมน�ำเสนอนวัตกรรมต่างๆ ทั้งวัตถุดิบ อุปกรณ์เสริม ผลิตภัณฑ์กึ่งส�ำเร็จรูป ชิ้นส่วนทางเทคนิคและพลาสติกเสริมแรง ตลอดจนเครื่องจักร และ อุปกรณ์ส�ำหรับอุตสาหกรรมพลาสติกและยาง
รี้ดฯ เดินหน้า Roadshow ในงาน Manufacturing Expo 2016
CLPA บุกตลาดประเทศไทย คุณวิชัย จิราธิยุตวิชัย ผู้อ�ำนวยการสถาบันยานยนต์ ร่วมด้วย คุณชนาภา เลิศรุ่งเรือง ผู้จัดการกลุ่มโครงการบริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด และ Mr. PyeongGil Park CFO, Taegutec Company ร่วมในงานแถลงข่าว ‘Emerging Market for Korean Machinery Brands in AEC Via Manufacturing Expo 2016’ ณ กรุง โซล ประเทศเกาหลี โดยได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ ท่าน ศรัณย์ เจริญสุวรรณ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นประธาน เพื่อสนับสนุนนักลงทุน และผู้ประกอบการ ผลิตเครือ่ งจักรจากประเทศเกาหลีให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย พร้อมเชิญเข้าร่วม เจรจาการค้า ภายใต้งาน Manufacturing Expo 2016 ซึง่ จะจัดในระหว่างวันที่ 22-26 มิถุนายนนี้ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
CLPA (CC-Link Partner Association) น�ำโดย Ms. Naomi Nakamura, Global Director ของ CLPA และ คุณบวร เทียนสวัสดิ์ Marketing Department CLPA-Thailand (CC-Link Promotion Center) จัดงานเปิดตัว CC-Link IE (Industrial Ethernet) ขึ้นในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ณ โรงแรง Pullman อโศก โดยมีเหล่าพันธมิตรร่วมแสดงความยินดีกันในงานอย่างคับคั่ง อาทิ 3M, COGNEX, MITSUBISHI, BALLUF, Pro-face, MOLEX และ CISCO น�ำ ผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุนระบบ CC-Link มาร่วมจัดแสดง ภายในงาน มีการจัดสัมมนาให้ความรูด้ า้ นศักยภาพและความสามารถของ ระบบ CC-Link งานสัมมานาแสดงทรรศนะของ Ms. Naomi เกีย่ วกับการตลาด CLPA ความคืบหน้าของ CLPC-Thailand พร้อมน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ และงาน เลี้ยงฉลองเปิดตัวการท�ำตลาดในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ
เชิญร่วมประกวด Machinery & Technology Award 2016 เนื่องด้วย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ สมาคมเครื่องจักรกลไทย จัดการประกวด ‘รางวัลเทคโนโลยีและ เครือ่ งจักรกลยอดเยีย่ ม ประจ�ำปี 2559’ (Machinery & Technology Award 2016) เพือ่ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการไทยเข้าร่วมพัฒนา เทคโนโลยี ให้เกิดประโยชน์สงู สุด มีความทันสมัยและเป็นสากลมากยิง่ ขึน้ เป็นการสร้างชุมชนของผูผ้ ลิตเครือ่ งจักรกลในประเทศไทย อีกทั้งยังประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีเครื่องจักรกลของไทยให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง โดยแบ่งประเภทรางวัลออกเป็น 3 สาขา จ�ำนวน 10 รางวัล ประกอบด้วย 1. สาขาการเกษตรและเกษตรแปรรูป (Technology and Machinery for Agricultural) 3 รางวัล 2. สาขาการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม (Technology and Machinery for Manufacturing) 3 รางวัล 3. สาขาพลังงาน สิ่งแวดล้อม และพัฒนาคุณภาพชีวิต (Technology and Machinery for energy, environment and enhancing quality of life) 3 รางวัล 4. รางวัลสุดยอดเทคโนโลยีและเครื่องจักรกลยอดเยี่ยม (Best of the Best Technology Awards) จะตัดสินจากผลงานที่ดีที่สุด ของรางวัลชนะเลิศที่ 1 ของทั้ง 3 สาขา จ�ำนวน 1 รางวัล สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมที่ 0 2712 2096, 0 2712 2079 อีเมล: thaimachinery2@gmail.com เว็บไซต์: www.thai-machinery.or.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P024,026_NEWS&UPDATE.indd 26
4/20/2016 6:59:16 PM
ME_2016_ADS_9.25x11.75in_Mag.pdf 1 2/19/2016 9:51:53 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
PRODUCTIVITY
28 news & update
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมหารือถึงผลกระทบของ IIoT เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2559 ณ Washington, D.C. National Association of Manufacturers (NAM) แห่งอเมริกา ได้จบั มือกับพันธมิตรอย่าง General Electric (GE), PTC และ ServiceMax จัดงานเสวนา IIoT (Industrial Internet of Things) ขึ้นมา ภายในงานนั้นมีความคิดเห็นเกี่ยวกับ IIoT โดยมองว่าเทคโนโลยีใหม่นี้แทรกซึมอยู่ใน ทุกกระบวนการของการผลิต และถือเป็นโอกาสรูปแบบใหม่สามารถเปลี่ยนรูปแบบของ กระบวนการผลิตได้ สร้างโอกาสใหม่ๆ ทางการค้าได้มากมายไม่ว่าจะการผลิต การซื้อขาย หรือการบริการหลังการขาย ซึ่งพบว่าหลายบริษัทนั้นยังคงมืดบอดส�ำหรับเทคโนโลยีใหม่นี้ ถ้าหากมีการจัดการและวางแผนที่เหมาะสมจะท�ำให้ได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่า นอกจากนี้ IIoT ยังเปลี่ยนรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและลูกค้าอีกด้วย
Daimler กับโรงงานผลิตแบตเตอรี่ Lithium-ion แหล่งที่สอง
โรงงานผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน แบบผสมผสาน แห่งแรกของโลก เมื่อวันที่ 29 มีนาคมที่ผ่านมาได้มีพิธีเปิดโรงงานไฟฟ้าระบบผสมผสาน Stillwater Geothermal Plant ซึง่ มีการผสมผสานระหว่างพลังงานความร้อนและพลังงานแสงอาทิตย์ สองรูปแบบ โดยนาย Matteo Renzi และ Marin Keller ผู้บริหาร Renewable Energy Laboratory ได้ตัดริบบิ้นท�ำพิธีเปิด ด้วยการผสมผสานแหล่งพลังงานอันหลากหลายเข้าด้วยกันท�ำให้โรงไฟฟ้า Stillwater สามารถผลิตพลังงานหมุนเวียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยแค่ภาคส่วนของโรงงาน พลังงานความร้อนใต้พภิ พสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 33.1 เมกะวัตต์ ส่วนพลังงานแสงอาทิตย์ นั้นสามารถผลิตได้ 26.4 เมกะวัตต์ เมื่อน�ำมารวมกันจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 200,000 เมกะวัตต์ชั่วโมง
โรงงานผลิตแบตเตอรี่แห่งนี้ได้มีการลงทุนไปราว 500 ล้านยูโร ตั้งอยู่ที่ Kamenz ใกล้กับ Dresden เยอรมันตะวัน ออก โดยเรื่องนี้ถูกประกาศผ่านงาน Geneva International Motor Show ก�ำหนดการณ์เริม่ ผลิตได้ถกู วางเอาไว้ชว่ งกลาง ปี 2017 โดยจะท�ำการผลิตแบตเตอรี่ส�ำหรับยานพาหนะ ไฟฟ้าและ hybrid ภายใต้ Mercedes-Benz และ Smart brand ซึง่ Dieter Zetsche ประธานแห่ง Daimler และหัวหน้า ใหญ่แห่ง Mercedes-Benz ได้กล่าวเอาไว้ว่า “เพื่อที่จะเข้า ใกล้การขับเคลือ่ นรถยนต์ทใี่ ช้ระบบไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบ นัน้ เราพยายามลงทุนในสิง่ ทีเ่ ป็นหัวใจของยานยนต์ปลอด มลพิษ นั่นคือ แบตเตอรี่อันทรงพลัง” ในด้านของการลงทุนด้านแบตเตอรีส่ ำ� หรับยานพาหนะ แล้ว Tesla ถือเป็นผู้น�ำในด้านนี้ โดยมีความตั้งใจที่จะจัด จ�ำหน่ายรถยนต์ของตนที่มีแบตเตอรี่นี้อยู่ให้ได้ 500,000 คัน ภายในปี 2020 จะเห็นได้ว่านี่คือกระแสใหม่ที่กำ� ลังมา ในตลาดต่างประเทศส�ำหรับพลังงานสะอาด ซึ่งจะเป็นการ ลดมลพิษและวัตถุดิบต่างๆ เป็นผลดีในระยะยาวต่อสภาพ แวดล้อม
Smart Kanban/ VMI System
Apex Supply Chain Technologies เปิดตัว อุปกรณ์อัจฉริยะ Kanban/VMI ที่ช่วยในการจัด การสต็อกและเตือนสถานะปริมาณอุปกรณ์สิ้น เปลืองต่างๆ โดยที่เก็บเครื่องมือนี้ถูกออกแบบมา เพือ่ แก้ปญ ั หาอุปกรณ์เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ขาดแคลน โดยการส่งสัญญาณอัตโนมัติเพื่อแจ้งเตือนและ แจ้งจ�ำนวนที่จ�ำเป็น จากนั้นจึงส่งข้อมูลไปยังผู้จัด จ�ำหน่ายเพื่อจัดการปัญหาทรัพยากรขาดแคลน สร้างความต่อเนื่องในการท�ำงานได้เป็นอย่างดี เครื่ อ งมื อ นี้ ม าพร้ อ มกั บ ระบบ Trajectory Cloud ซึ่งท�ำหน้าที่ในการรวมระบบที่มีอยู่แล้วเข้า ด้วยกันเพื่อพัฒนาความคล่องตัวในการท�ำงาน นอกจากนีย้ งั สามารถใช้เฝ้าดูระบบ Actylus Smart Bin ซึง่ ถูกออกแบบมาเพือ่ พัฒนากระบวนการผลิต โดยจ�ำนวนของวัสดุที่ขาดเหลือต่างๆ นั้นสามารถ ตรวจสอบได้ ท างอี เ มล์ ห รื อ โทรศั พ ท์ จ ากที่ ไ หน เวลาใดก็ได้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P028-029_NEWS&UPDATE.indd 28
4/20/2016 7:00:25 PM
news & update 29
Ross กับ CrossMirror Series วาล์วแห่งความปลอดภัย
โตโยต้าทดสอบ พลังงานไฮโดรเจน ส�ำหรับใช้กับ รถฟอร์คลิฟ
โตโยต้าได้รว่ มมือกับพันธมิตรอย่าง Kanagawa Prefectural Government และบริษทั เอกชนอีกสามแห่งเพื่อยกระดับแบตเตอรี่พลังงานหมุนเวียนส�ำหรับใช้ในรถฟอล์คลิฟท์ โดยลดการปลดปล่อยคาร์บอนทีเ่ กิดขึน้ โดยจะประจุพลังงานทีโ่ รงไฟฟ้าแห่งเมือง Yokohama จากนัน้ จึงน�ำไปปล่อยตามจุดทดสอบ โดยบริษทั ฯ ตัง้ เป้าหมายในการลดการปลด ปล่อย CO2 เอาไว้ที่ 80% เมือ่ เทียบกับการใช้รถฟอล์คลิฟท์ทใี่ ช้พลังงานน�ำ้ มันหรือไฟฟ้า ไฮโดรเจนนั้นจะถูกแยกออกมาจากน�ำ้ ผ่านกระบวนการ Electrolysis โดยไม่มี CO2 จากนั้นจึงจัดเก็บพลังงานในแบตเตอรี่ที่สามารถใช้หมุนเวียนได้ จากนั้นจะถูกน�ำมาใช้ กับรถฟอล์คลิฟท์ โดยจะมีการเฝ้าสังเกตการณ์ใช้งานจริงเพื่อให้ตอบโจทย์การใช้งานดัง ที่ต้องการ
Ross เปิดตัว CrossMirror Series ที่ได้รับการรับรองจาก BG Certification ซึ่งผ่านมาตรฐาน DIN ES ISO 138491 PL e คุ ณ จะแน่ ใจได้ ว ่ า ลู กสู บ นั้ น จะกลั บ ไปยัง ต� ำ แหน่ ง ปลอดภั ย ของตัวเองโดยการใช้ลมร้อนผลักดันกลับไปในช่วงเวลาที่ไม่ใช้ พลังงาน วาล์วตัวนี้สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายตั้งแต่ งานเชื่อม งานเกี่ยวกับลูกสูบและท่อลม รวมถึงประตูที่ใช้แรง ดันท่อลม นอกจากนี้ยังมีการทดสอบใช้งานกับเครื่องมือที่เป็น Third Party ซึ่งผ่านการทดสอบมาตรฐานอย่าง DGUV Test ตัววาล์ว นีส้ ามารถติดตัง้ แยกกันหรือใช้รว่ มกันได้ โดยสามารถเลอกใช้ดงั้ รุ่นที่เป็นโซลินอยด์หรือระบบอัดอากาศ
โครงการสนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ตามทีก่ ระทรวงพลังงานได้กำ� หนดยุทธศาสตร์ และแนวทางส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ของประเทศ ทัง้ ระยะสัน้ 1-2 ปี ระยะกลาง 5 ปี และระยะยาว 22 ปี โดยมีเป้าหมายลดความเข้ม การใช้พลังงาน (Energy Intensity : EI) ลงร้อย ละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 เมือ่ เทียบกับปี พ.ศ. 2553 ใน 4 ภาคเศรษฐกิจที่มีการใช้พลังงานมาก ได้แก่ ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาค บ้านอยูอ่ าศัย โดยใช้มาตรการผสมผสานทัง้ การ บังคับ (Push) ด้วยการก�ำกับดูแลผ่านพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ควบคู่กับการจูงใจ (Pult) ด้วยมาตรการทางการเงินโดยการสนับสนุน ช่ ว ยเหลื อ อุ ด หนุ น จากกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุรักษ์พลังงาน โ ค ร ง ก า ร ส นั บ ส นุ น ก า ร ล ง ทุ น เ พื่ อ ปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ก็เป็นอีกมาตรการหนึ่ง ในกลยุทธ์ภาคความร่วมมือ (Voluntary Program) ของแผนอนุรักษ์พลังงาน ที่กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) เล็งเห็นแล้ว ว่ า เป็ น มาตรการส� ำ คั ญ ในการช่ ว ยเหลื อ สถานประกอบการที่ ยั ง ลั ง เลที่ จ ะตั ด สิ น ใจ
ด�ำเนินการอนุรักษ์พลังงาน เนื่องจากเห็นว่าต้อง ใช้เงินลงทุนสูง หรือยังไม่มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ ว กับเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ว่าสามารถลดการใช้ พลังงานลงได้จริง โดยให้เป็นเงินให้เปล่าร้อยละ สรุปมาตรการและวงเงินสนับสนุนให้แก่สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ 20-30 ของค่าอุปกรณ์และค่าติดตั้ง ในมาตรการ ที่ก่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน ซึ่งมีระยะเวลา คืนทุนไม่เกิน 7 ปี และจ�ำนวนเงินสนับสนุนไม่เกิน 3 ล้านบาท/ราย ทั้ ง นี้ ผลจากการด� ำ เนิ น โครงการ ดั ง กล่ า ว มี ส ถานประกอบการในเขตพื้ น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ จ�ำนวน 365 แห่ง ด�ำเนินการลงทุน อนุรักษ์พลังงานเป็นเงินรวม 1,690.651 ล้าน บาท คิดเป็นวงเงินที่ได้รับการสนับสนุนจาก พพ. จ�ำนวน 259.917 ล้านบาท สามารถท�ำให้ เกิดผลประหยัดพลังงานโดยแบ่งออกเป็น ไฟฟ้า 156.445 ล้านหน่วยต่อปี ความร้อน 317.946 GJ ต่ อ ปี หรื อ คิ ด เที ย บเท่ า ตั น น�้ำมันดิบ 20.857 ktoe ต่อปี คิดเป็นเงินที่ ประหยัดได้ปีละ 704.816 ล้านบาท ลดการ ปล่อยก๊าซ CO2 ได้ปีละ 103,528 ตัน CO2
issue 158 APRIL 2016
P028-029_NEWS&UPDATE.indd 29
4/20/2016 7:00:26 PM
30 cover story
aerofluid แอโรฟลูอิด ผู้น�ำระบบ SI มาตรฐานระดับสากล
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P030-033_Cover Story_edit.indd 30
5/4/2016 6:20:17 PM
cover story
การเริ่ มต้ น จาก ธุ ร กิ จ SI Hydraulic Power System to SI Biomass Power Plant ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปเมื่อสถานการณ์การ แข่งขันในโลกธุรกิจมีระดับความรุนแรงมาก ขึน้ การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจึง กลายเป็นกลยุทธ์หลักทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจเติบโต อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน กลุ ่ ม บริ ษั ท แอโรฟลู อิ ด คื อ หนึ่ ง ใน ธุรกิจที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ตลอด 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ธุรกิจมีการขยายตัวอย่าง เห็ น ได้ ชั ด เริ่ ม ต้ น จากการท� ำ ธุ ร กิ จ สาย ไฮดรอลิค ก่อนที่จะขยายธุรกิจเป็นตัวแทน จ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฮดรอลิคแบรนด์ชนั้ น�ำและ พัฒนาการให้บริการงานสร้างระบบ หรือ System Integration (SI) และงานซ่อมบ�ำรุง ไฮดรอลิคนิวแมติกอย่างครบวงจร ด้วยทีม งานผู้ช�ำนาญการที่ประจ�ำอยู่กว่า 7 สาขา ทั่วประเทศ ภายใต้ระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2008, ISO 14001:2004, OHSAS 18001:2007, มอก 975-2538, Green Industry และสถานประกอบการดีเด่น ด้าน การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานจาก กระทรวงแรงงาน ที ม งานกองบรรณาธิ ก ารนิ ต ยสาร MODERN MANUFACTURING ได้ มี โอกาสเข้าพบเพื่อสัมภาษณ์ ดร.กฤษดา อัครพัทธยากุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด พร้อมทั้งเจาะลึก รายละเอียดธุรกิจด้านการให้บริการสร้าง ระบบ System Integration ที่ครอบคลุม กระบวนการผลิตทุกขั้นตอนอย่างครบวงจร ตั้ ง แต่ ก ารออกแบบติ ด ตั้ ง ระบบเครื อ ข่ า ย จนกระทั่ ง ถึ ง การบริ ก ารหลั ง การขาย ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย ความเชี่ ย วชาญและ ประสบการณ์เฉพาะทาง
รู้จักแอโรฟลูอิด
ดร.กฤษดา อัครพัทธยากุล ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด ได้กล่าวว่า ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ มีการเติบโตขยายธุรกิจและพัฒนาศักยภาพ การด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง นอกเหนือจาก การเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฮดรอลิค แบรนด์ชั้นน�ำระดับโลกแล้วบริษัทฯ ยังให้ บริการงานออกแบบพัฒนาปรับปรุงระบบ ไฮดรอลิค นิวแมติก และออโตเมชัน่ ตลอดจน บริการตรวจเช็ค ซ่อมบ�ำรุง รวมถึงปรับปรุง คุณภาพระบบไฮดรอลิคด้วย ปัจจุบันบริษัทฯ ขยายธุรกิจก้าวสู่งาน สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลแบบครบวงจร ภายใต้บริษทั ในเครือ ซึง่ ได้ด�ำเนินธุรกิจในรูป แบบใหม่ในบทบาทของผู้ให้บริการ System Integrator (SI) เพื่อสร้างโมเดลใหม่ทาง ธุรกิจ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า
ได้อย่างครบวงจร อีกทั้งมีศูนย์ฝึกอบรม ส�ำหรับบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม เสริม สร้างศักยภาพของบุคลากรให้สามารถดูแล งานด้านการบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงรุกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการลดต้นทุนใน การด�ำเนินธุรกิจด้วยทีมงานผู้เชี่ยวชาญ ล่าสุด บริษัทฯ ได้เปิดสาขาชลบุรี เพื่อ รองรั บ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เขตอุ ต สาหกรรมภาค ตะวันออก กลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด ด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ภายใต้ ม าตรฐานคุ ณ ภาพ ISO 9001:2008, ISO 14001:2004, OHSAS 18001:2007, Green Industry จากกระทรวง อุตสาหกรรมและสถานประกอบการดีเด่น ด้ า นการส่ ง เสริ ม พั ฒ นาฝี มื อ แรงงานจาก กระทรวงแรงงาน
31
การด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท แอโรฟลูอิดนั้น ผมอาศัยความช�ำนาญ และประสบการณ์ที่สั่งสมมา ประกอบกับความชอบ ความถนัด และมีความมุ่งมั่นที่จะท�ำ ผมน�ำสิ่งเหล่านั้นมาก�ำหนดเป็นวิสัยทัศน์ เพื่อให้ทีมงานด�ำเนินการ ดร.กฤษดา อัครพัทธยากุล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด
“บุคลากร” คือพลังส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนองค์กร
ดร.กฤษดา กล่าวว่า การด�ำเนินธุรกิจ ของกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด อยู่บนพื้นฐาน ของความเชื่อมั่นในความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน ซึ่งไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบต่อ ผลการด�ำเนินกิจการของบริษทั หากยังขึน้ อยู่ กับปัจจัยหลักส�ำคัญสองประการ ประการแรก คือ บุคลากร หรือพนักงาน ในบริษัทฯ ต้องมีแนวคิดหรือมีทัศนคติที่ ดีต่อองค์กร มีความรักในองค์กร เปรียบ เสมือนเป็นคนในครอบครัว มีความพร้อมที่ จะเพิ่มทักษะการเรียนรู้ในหน้าที่ตนเอง ซึ่ง สิ่งส�ำคัญที่สุด คือ การปลูกฝังบุคลากรของ องค์กรให้มีทัศนคติเชิงบวก เพราะหากขาด ทัศนคติที่ดีแล้ว องค์กรก็ยากที่จะพัฒนา ประการทีส่ อง คือ การสร้างความเชือ่ มัน่ ให้เกิดขึ้นกับลูกค้า บริษัทฯ มีหน้าที่ต้อง ท�ำให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่น และยอมรับใน ทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ ตัวแทน จ�ำหน่าย (High Quality Product) การให้ บริการสร้างระบบ (System Integration) การบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกล (Maintenance Repair Overhaul and On Site Service) ตลอดจน ศูนย์ฝึกอบรม (Aerofluid Training Center) เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร รวมถึงการได้รบั ความร่วมมือจากมหาวิทยาลัย KMUTT, UTCC และอื่นๆ “ทุกวันนี้ธุรกิจเทรดดิ้ง เป็นธุรกิจที่เกิด ขึ้ น ได้ ง ่ า ย แต่ จ ะรั ก ษาให้ ธุ ร กิ จ นั้ น ยั่ ง ยื น ในระยะยาวได้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ย ากกลุ ่ ม บริ ษั ท แอโรฟลูอิดเป็นการด�ำเนินธุรกิจเฉพาะทาง ทีจ่ ำ� เป็นต้องอาศัยความรูค้ วามสามารถและ ความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษ ทั้งยังต้องอาศัย เวลาในการสัง่ สมประสบการณ์ ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ะ ขับเคลื่อนองค์กรให้เดินไปข้างหน้าได้ คือ การสร้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ในงานระบบไฮดรอลิค และระบบนิวแมติก issue 158 APRIL 2016
P030-033_Cover Story_edit.indd 31
5/4/2016 6:20:21 PM
32 cover story
โดยมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้กบั บุคลากร รุน่ ใหม่ๆ รวมถึงการถ่ายทอดไปยังกลุม่ ลูกค้า ผ่านศูนย์ฝกึ อบรม (Aerofluid Training Center) เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ประกอบกับความท้าทาย/สร้างสรรค์ และ แนวคิดนอกกรอบ ในการแก้ปญ ั หาหรือการ สร้ า งระบบที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ สภาวะ ปัจจุบันที่มีการแข่งขันเชิงไร้ขีดจ�ำกัด ท�ำให้ กลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด ยังอยู่ในโลกธุรกิจ อย่างยั่งยืน” ดร.กฤษดากล่าว
เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส เปลี่ยนจุดแข็งเป็นจุดขาย เคล็ด (ไม่) ลับ การด�ำเนินธุรกิจ
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กลุ่มบริษัท แอโรฟลูอิด ด�ำเนินธุรกิจบนเส้นทางสาย อุ ต สาหกรรมได้ อ ย่ า งมั่ น คง ธุ ร กิ จ มี ก าร เติบโตอย่างต่อเนื่อง และยังสามารถขยาย ธุรกิจได้อย่างมีศักยภาพ ดร. กฤษดา ได้กล่าวถึงกลยุทธ์ส�ำคัญ ในการด�ำเนินธุรกิจ ว่า “บริษัทฯ มุ่งเน้น การให้บริการลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนแรก คือ การให้คำ� ปรึกษา และค�ำแนะน�ำถึงหลักการ ท� ำ งานของระบบไฮดรอลิ ค หลั ง จากนั้ น จะมีทีมงานออกแบบที่มากประสบการณ์ เข้ า มาด� ำ เนิ น การค� ำ นวณชิ้ น งาน เพื่ อ ควบคุมการผลิตชิ้นงานให้มีคุณภาพ ตรง ตามความต้องการของลูกค้า หลังจากที่ได้ รับการอนุมัติแบบจากลูกค้าแล้วบริษัทฯ จะ ด�ำเนินการผลิตสร้างชิ้นงานดังกล่าว เมื่อ เสร็จสิ้นกระบวนการ บริษัทฯ ก็จะด�ำเนิน การติดตั้ง และด�ำเนินการตามกระบวนการ Commissioning ตลอดจนการท�ำ Contract เพื่อดูแลลูกค้าในระยะยาวอีกด้วย “การท�ำธุรกิจเราต้องรูจ้ กั เปลีย่ นวิกฤติให้ เป็นโอกาส และเปลีย่ นจุดแข็งให้เป็นจุดขาย ปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ประยุ ก ต์ ใช้ สร้ า งความ
แตกต่างในตลาด แต่สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือ การรู้จักใช้จุดแข็งในทางที่ถูกซึ่งเมื่อเหลียว กลับมาดูกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิด จะพบว่า สิ่งที่เรามีคือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เราต้องดึงจุดนี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด” ดร. กฤษดา ยังได้กล่าวต่อไปว่า “การ ด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิดนั้น ผมอาศัยความช�ำนาญ และประสบการณ์ ที่สั่งสมมา ประกอบกับความชอบ ความ ถนั ด และมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะท� ำ ผมน� ำ สิ่ ง เหล่านั้นมาก�ำหนดเป็นวิสัยทัศน์ เพื่อให้ ทีมงานด�ำเนินการ เราต้องสื่อสารสิ่งเหล่านี้ ออกไปให้ได้ สื่อสารให้ถึงบุคลากรทุกระดับ ในองค์กร ให้เขามองเห็ นควมมุ่ งมั่นของ องค์กร และพร้อมทีจ่ ะก้าวเดินไปในแนวทาง เดียวกันกับองค์กร”
ภายนอกอื่นๆ เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร ที่ ต ้ อ งใช้ อุ ป กรณ์ ไ ฮดรอลิ ค ในการสร้ า ง อุปกรณ์ก็ยังคงมีภาวะชะลอตัวอย่างค่อน ข้ า งชั ด เจนซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาสื บ เนื่ อ งมาจาก ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต�ำ่ โดยเฉพาะ ราคาข้าว ท�ำให้กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตร ไม่มีอัตราการเติบโตอย่างที่ควรจะเป็น ส่ง ผลกระทบเป็นลูกโซ่มาถึงกลุ่มผู้ผลิต OEM และกลุม่ ผูป้ ระกอบการทีเ่ กีย่ วข้องตามล�ำดับ
เพิ่มบทบาทการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยี รองรับการก้าวกระโดดสู่ยุคIndustry 4.0
อย่างไรก็ตาม แม้ภาคอุตสาหกรรมไทย จะไม่ มี อั ต ราการเติ บ โตหวื อ หวานั ก
ภาพรวมสถานการณ์อุตสาหกรรม ของประเทศไทยในปัจจุบัน
ท่ า มกลางสถานการณ์ ก ารแข่ ง ขั น ใน ภาคอุตสาหกรรมไทยปัจจุบัน ซึ่งทราบกัน ดีว่าอยู่ในภาวะชะลอตัว ดร.กฤษดา ได้ กล่าวแสดงความคิดเห็นว่า หลายๆ องค์กร หลายๆ ภาคส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องยังคงอยู่ ในภาวะชะลอตัว ไม่มีแผนการลงทุนเพิ่ม หรือแนวโน้มการขยายธุรกิจที่แน่นอน ขณะ ที่มาตรการส่งเสริมจากภาครัฐนั้น แม้จะมี เม็ดเงินอัดฉีดเพื่อลงทุนก่อสร้างโครงการ สาธารณูปโภคขนาดใหญ่ หรือ Infrastructure ทั้ ง ส่ ว นงานรถไฟฟ้ า , การก่ อ สร้ า งถนน หนทางต่ า งๆ แต่ ก็ ยั ง ไม่ ไ ด้ ขั บ เคลื่ อ นให้ อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ ที่ เ ป็ น อุ ต สาหกรรม สนั บ สนุ น มี ก ารลงทุ น เพิ่ ม มากขึ้ น อย่ า งมี นัยส�ำคัญ แม้กระทั่งอุตสาหกรรมเหล็ก ซึ่ง ถือเป็นอุตสาหกรรมใหญ่ที่มีปริมาณความ ต้องการใช้ระบบไฮดรอลิคเป็นจ�ำนวนมาก ก็ยังคงอยู่ในภาวะซบเซา รวมไปถึงปัจจัย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P030-033_Cover Story_edit.indd 32
5/4/2016 6:20:24 PM
cover story 33
แต่ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมยังคง ต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดในการด�ำเนินธุรกิจ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของบริบท แวดล้อมทางการแข่งขัน ซึ่งไม่เพียงแค่การ แข่งขันภายในประเทศเท่านัน้ หากแต่รวมถึง การแข่งขันระหว่างประเทศด้วย ส�ำ หรั บ แนวคิ ด อุ ต สาหกรรม 4.0 ซึ่ ง เป็นกระแสที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ในภาคอุตสาหกรรมทั่วโลก เนื่องจากเป็น โมเดลอุตสาหกรรมการผลิตยุคใหม่ ที่ได้รับ การพัฒนามาจากแนวคิดอุตสาหกรรมการ ผลิตเดิม เป็นการบูรณาการของเทคโนโลยี สารสนเทศและเทคโนโลยีการผลิต บนพืน้ ฐาน ของ Knowledge Economy และ Digital Economy ซึ่งผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ต้องปรับตัวเข้าสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่อย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดร.กฤษดา กล่าวต่อไปอีกว่า กลุม่ ลูกค้า ในปันจุบันมีความรู้มากขึ้นเรา การด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ ก็จ�ำเป็นต้องประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารมากขึ้นแม้ว่า ระบบไฮดรอลิคจะไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลง มากว่า 20 ปี หากแต่สงิ่ หนึง่ ทีล่ กู ค้าคาดหวัง ก็ คื อ ความรวดเร็ ว ที่ ส ามารถตอบสนอง ลูกค้าได้ทันเวลา เช่นในเรื่องของราคา และ Technical Support ซึ่งมั่นใจว่าบริษัทฯ เรา มีทีมผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรมการผลิต มากที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ในวงการเพราะลู ก ค้ า เหมือนหุ้นส่วน หรือ พันธมิตรทางการค้า ของทางบริษัทฯ
บริษัทฯ สามารถให้บริการงานสร้างระบบ SI ได้อย่างครบวงจร เนื่องมาจากศักยภาพของบุคลากร ที่มีความช�ำนาญ และมีประสบการณ์ ท�ำให้สามารถ พัฒนาและสร้างงานระบบต่างๆ เข้าด้วยกัน แบบบูรณาการได้ ซึ่งถือเป็นจุดแข็งที่บริษัทฯ เล็งเห็น ถึงโอกาสทางธุรกิจ และมุ่งมั่นพัฒนางานสร้างระบบ ที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้า
ตั้งเป้าความส�ำเร็จธุรกิจระยะสั้น ระยะกลาง สู่แผนการด�ำเนินธุรกิจระยะยาว
ส�ำหรับแผนการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่ม บริษทั แอโรฟลูอดิ ดร.กฤษดา ได้กล่าวว่าใน ปีนกี้ ลุม่ บริษทั แอโรฟลูอดิ ได้วางแผนด�ำเนิน ธุรกิจระยะสั้นครอบคลุมเวลาในการด�ำเนิน การตามแผนตัง้ แต่ 1 ปี มุง่ ปรับกระบวนการ ปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้า ด้วยกระบวนการผลิตสินค้าที่มี คุณภาพ และการให้บริการจากทีมงาน ซึ่ง เป็นบุคลากรที่มากด้วยความช�ำนาญและมี ประสบการณ์ ส่ ว นแผนการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ระยะกลาง ซึ่งครอบคลุมระยะเวลาในการด�ำเนินการ ตามแผนตั้งแต่ 1-5 ปี จะเป็นเรื่องของการ รองรับความต้องการของลูกค้า พัฒนาสินค้า ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ให้มีความโดดเด่น และยัง่ ยืนโดยเฉพาะงานบริการ ซึง่ บริษทั ฯ ได้ ตัง้ เป้าเป็นผูน้ ำ� ด้านงานบริการอย่างครบวงจร และสร้างนวัตกรรมใหม่ ให้สอดคล้องกับ การเติบโตของตลาดในแต่ละอุตสาหกรรม ซึ่งหากแผนการด�ำเนินธุรกิจระยะสั้น และ ระยะกลางสามารถด�ำเนินการได้ตามแผน ย่ อ มท� ำ ให้ แ ผนการด� ำ เนิ น งานระยะยาว ส�ำเร็จบรรลุเป้าหมายได้เช่นเดียวกัน
ชูการให้บริการงานสร้างระบบ (SI) เป็นไฮไลต์แห่งปี
ดร. กฤษดา ยังได้กล่าวว่าในปีนี้การ พัฒนาการให้บริการงานสร้างระบบ หรือ System Integration (SI) ของกลุ่มบริษัท แอโรฟลูอดิ ทีถ่ อื เป็นนวัตกรรมการให้บริการ แบบบูรณาการ ซึ่งเป็นจุดแข็งที่ท�ำให้ธุรกิจ ของบริษัทฯ มีความแตกต่างจากคู่แข่งขัน ซึ่งระบบ SI ของกลุ่มบริษัทแอโรฟลูอิดนั้น เป็นการให้บริการแบบครบวงจร เป็น One Stop Service ซึ่งบริษัทฯ มีทั้ง บุคลากรที่ มีความช�ำนาญเฉพาะทาง ประกอบกับการ มี สิ น ค้ า /ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ามารถรองรั บ งาน ระบบต่างๆ ได้อย่างครบครัน ทั้งอุปกรณ์ ไฮดรอลิคต่างๆ ระบบ Control เพื่องาน อุตสาหกรรม ตลอดจนระบบ Sensor ที่มี คุณภาพสูง ที่สามารถควบคุมงานระบบใน
ระยะไกลได้ด้วย Remote Sensor ประกอบ กั บ การมี บุ ค ลากรรองรั บ การซ่ อ มบ� ำ รุ ง ไฮดรอลิค นิวแมติกอย่างครบวงจร ท�ำให้ บริษัทฯ สามารถให้บริการงานสร้างระบบ (SI) ส�ำหรับงานอุตสาหกรรมได้อย่างครบ วงจร ที่ ผ ่ า นมา กลุ ่ ม บริ ษั ท แอโรฟลู อิ ด มี ผลงานด้านงานสร้างระบบ (SI) ในหลายๆ โครงการ อาทิ โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า หงสาซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเขตเมืองหงสา แขวงไซยะบุรี สปป.ลาว มี มู ล ค่ า งานประมาณ 4 ล้ า น เหรียญสหรัฐ ชุดทดสอบ Transmission ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และโครงการ โรงไฟฟ้ า จากพลั ง งานชี ว มวล, โครงการ โรงไฟฟ้าจากพลังงานขยะ และโครงการ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ภายใต้ชื่อ บริษทั เคพีเอ็น กรีน เอ็นเนอจี โซลูชนั่ จ�ำกัด นอกจากนี้ ดร.กฤษดา ยังได้กล่าวเพิ่ม เติมเกี่ยวกับการให้บริการงานสร้างระบบ SI ว่า “บริษทั ฯ สามารถให้บริการงานสร้างระบบ SI ได้อย่างครบวงจร เนื่องมาจากศักยภาพ ของบุ ค ลากรที่ มี ค วามช� ำ นาญ และมี ประสบการณ์ ท�ำให้สามารถพัฒนาและสร้าง งานระบบต่างๆ เข้าด้วยกันแบบบูรณาการ ได้ ซึ่งถือเป็นจุดแข็งที่บริษัทฯ เล็งเห็นถึง โอกาสทางธุรกิจ และมุ่งมั่นพัฒนางานสร้าง ระบบที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับความต้องการ ของลูกค้า ซึ่งเชื่อมั่นว่าการพัฒนางานสร้าง ระบบ SI ของกลุ่มบริษัทแอโฟลูอิดนั้นจะ สามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ในอนาคตได้เป็นอย่างดี สมกับที่เป็นผู้น�ำ ระบบ SI มาตรฐานระดับสากล
AEROFLUID CO., LTD.
169/4,169/5 หมู่ 1 ถ.รังสิต-นครนายก ต.ล�ำผักกูด อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 Tel. 0-2577-2999 Fax. 0-2577-2700 E-Mail : info@aerofluid.com Website : www.aerofluid.co.th
issue 158 APRIL 2016
P030-033_Cover Story_edit.indd 33
5/4/2016 6:20:25 PM
34 execlusive interview
Trust and
believe
CC-Link เทคโนโลยีเครือข่ายอัจฉริยะ เชื่อมต่อภาคอุตสาหกรรมไทยให้ก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำ ทุกวันนี้คงปฏิเสธความส�ำคัญของการบริหารจัดการข้อมูลและการสื่อสารไม่ได้ ส�ำหรับวงการ อุตสาหกรรมก็เช่นกัน ด้วยระบบอุตสาหกรรมในปัจจุบันที่มีการใช้เครื่องจักรและคอมพิวเตอร์ รวมไป ถึงหุ่นยนต์ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นระบบที่ต้องการเครือข่ายสื่อสาร สั่งงาน และการบริหารจัดการข้อมูลมา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานทั้งสิ้น ถือเป็นโอกาสอันดีของประเทศไทยที่ระบบ CC-Link ซึ่งมีชื่อเสียงอย่างมากในเรื่องของระบบเครือ ข่ายภายในโรงงานอุตสาหกรรมได้มาเปิดตัวท�ำการตลาดในประเทศ โดยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ที่ผ่านมานั้น CLPA (CC-Link Partner Association) ได้จัดงานเปิดตัว CLPC – Thailand (CC-Link Promotion Center – Thailand) ประจ�ำประเทศไทยขึน้ อย่างเป็นทางการ ณ โรงแรม Pullman อโศก โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานกันอย่างคึกคัก โดย CLPC – Thailand นัน้ มีเป้าหมายในการสนับสนุนเหล่าสมาชิกของ CLPA และผู้ใช้งาน นั่นเอง
CC-Link IE ระบบเชื่อมต่อเปี่ยมด้วยคุณภาพและความน่าเชื่อถือ ในโอกาสนี้นั้นทางนิตยสาร Modern Manufacturing ได้มีโอกาส สัมภาษณ์พิเศษกับ Ms. Naomi Nakamura และเหล่าคู่ค้าทางธุรกิจอัน แข็งแกร่งภายในงานนี้ โดยเรื่องราวและวิสัยทัศน์ของยักษ์ใหญ่แห่งวงการ เครือข่ายอย่าง CC-Link, CC-Link IE (IE – Industrial Ethernet) จะถูกน�ำ มาเสิรฟ์ ร้อนๆ ถึงมือคุณผูอ้ า่ นกันอย่างจุใจเลยครับ โดยเราจะมาพูดคุยกับ หัวเรือใหญ่แห่ง CLPA อย่าง Ms. Naomi Nakamura, Global Director of CLPA กันก่อนครับ Ms. Naomi Nakamura นั้นได้พูดคุยถึงความส�ำคัญของเทคโนโลยี ส�ำหรับการเชือ่ มต่อข้อมูลส�ำหรับอุตสาหกรรมในประเทศไทยเอาไว้ได้อย่าง น่าสนใจว่า ด้วยการทีเ่ มืองไทยนัน้ ถือได้วา่ เป็นหนึง่ ในฐานการผลิตรายใหญ่ ในภูมภิ าค เต็มไปด้วยทรัพยากรทีพ่ ร้อมสรรพและทิศทางการสนับสนุนของ รัฐบาลต่อวงการอุตสาหกรรมซึ่งมีแนวโน้มที่ดี สิ่งเหล่านี้สมควรได้รับการ สนับสนุนและผลักดันให้กา้ วไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพซึง่ จะส่งผลต่อ คุณภาพของผลิตภัณฑ์อย่างชัดเจน Ms. Naomi Nakamura นั้นเล็งเห็นว่าการสื่อสารและระบบเครือข่าย เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะผลักดันเทคโนโลยีขั้นสูงในประเทศไทย CC-Link IE นัน้ เป็นระบบเครือข่ายผสมผสานทีส่ ามารถส่งข้อมูลจ�ำนวนมากไปสูเ่ ครือ่ ง มือปฏิบัติงานทั้งหลายได้อย่างเต็มสมรรถนะ ด้วยความเร็วที่สูงและขนาด
ของเครือข่ายที่สามารถรองรับการใช้งานพร้อมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ CC-Link IE ได้กลายมาเป็นระบบการเชื่อมต่อหลักที่สามารถเชื่อถือ ได้มากที่สุดระบบหนึ่ง Ms. Naomi Nakamura กล่าวต่อว่า “ในการเข้ามาท�ำการตลาดของ CLPA นั้น ประเทศไทยถือเป็นเป้าหมายส�ำคัญของ CC-Link IE ในระดับ โลก ซึ่งประเทศไทยนั้นถือว่ามีโอกาสอีกมากมายในการปรับใช้ระบบนี้เข้า กับอุตสาหกรรมไทยที่เต็มไปด้วยบุคลากรที่มีความสามารถ” ขณะที่เทรนด์ของ IoT (Internet of Thing) ก�ำลังมานั้น Ms. Naomi Nakamura ได้ให้ความส�ำคัญกับทิศทางและการพัฒนาของ IoT ไม่น้อย ซึ่งถือว่าในอนาคตอันใกล้นั้น IoT จะกลายมาเป็นหนึ่งในหัวใจส�ำคัญของ การพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ที่จะเห็นได้อย่างชัดเจนก็คือการปฏิวัติ อุตสาหกรรมครั้งที่ 4 นั่นเอง หรือเรียกได้ว่า ‘กายภาพแห่งระบบไซเบอร์’ ด้วยข้อมูลขนาดใหญ่ที่ถูกป้อนมาจากอุปกรณ์ต่างๆ แบบ Real-Time ซึ่ง ต้องใช้เครือ่ งมือทีม่ ี Bandwidth ค่อนข้างสูงเป็นกุญแจส�ำคัญ และ CC-Link สามารถตอบโจทย์ตรงนีไ้ ด้อย่างดีเยีย่ มด้วยศักยภาพความเร็วระดับ Gigabit ในจุดนี้เอง CLPA นั้นได้มองเห็นถึงความส�ำคัญของเทคโนโลยีการ สื่อสารก่อนที่ประเทศไทยนั้นจะปรับเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ดังที่เป็น แนวปฏิบัติจากนโยบายของรัฐบาล โดย CLPA นั้นให้ความสนใจเป็นพิเศษ ส�ำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P034-037_Interview_CLPA.indd 34
4/22/2016 4:51:06 PM
execlusive interview 35
ในส่วนของการสนับสนุนและการพัฒนานั้น Seamless Message Protocol (SLMP) นั้นถือว่าเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการน�ำการเชื่อมต่อของ CC-Link IE เข้ากับเครื่องมือที่เป็น Reduced Development ได้อีกด้วย
ร่วมจัดแสดงนวัตกรรมในงาน Manufacturing Expo 2016 ด้วยความน่าสนใจของประเทศไทยที่มีแนวโน้มของตลาดอุตสาหกรรม ที่เติบโตอย่างรวดเร็วอีกทั้งยังมีการสนับสุนจากยุทธศาสตร์ภาครัฐ แต่ก็ยังมี ปัญหาระดับจุลภาคที่คอยบั่นทอนเสถียรภาพอยู่บ้าง แต่ถ้ามองในแง่ดีแล้ว อนาคตของอุตสาหกรรมประเทศไทยยังมีแนวโน้มที่จะจเริญเติบโตได้อีกมาก จากแนวโน้มและทิศทางทีก่ ล่าวมานัน้ ท�ำให้ CLPA เกิดความสนใจในตลาด ของไทย ซึ่งถูกจัดอันดับเอาไว้เป็นหนึ่งในประเทศหลักที่จะด�ำเนินแผนธุรกิจ อย่างเต็มตัว โดยมีความตั้งใจที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดการตื่นตัวใน Brand ของสินค้าผ่านงานสัมมนา งานจัดแสดงและงานอืน่ ๆ ในส่วนของงานจัด แสดงนั้น CLPC – Thailand จะจัดแสดงในงาน Manufacturing Expo 2016 ใน เดือนกรกฎาคมทีจ่ ะถึงนี้ ในงานนี้ CLPA ต้องการทีจ่ ะแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ เต็มรูปแบบและการใช้งานร่วมกันระหว่างผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย บนระบบ CC-Link อีกด้วย ซึง่ จะท�ำให้ลกู ค้าสามารถแน่ใจได้วา่ จะไม่มปี ญ ั หาส�ำหรับการ เชื่อมต่อระบบด้วย CC-Link IE Ms. Naomi Nakamura, Global Director of CLPA ได้บอกกับเราว่า CLPA นัน้ มีความตัง้ ใจจะสนับสนุนเทคโนโลยีการสือ่ สารทีด่ ที สี่ ดุ ให้กบั เหล่าผูใ้ ช้เพือ่ ให้ ไปถึงเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ ด้วยเครือข่ายระบบเปิด ผูใ้ ช้จะไม่ถกู จ�ำกัดเอาไว้ดว้ ยข้อ จ�ำกัดของยี่ห้อหรือเครื่องมือ ซึ่ง CLPA จะให้การสนับสนุนพันธมิตรทั้งหลาย ให้ผลิตภัณฑ์สามารถใช้งานร่วมกับระบบได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและผลักดัน ผลิตภัณฑ์ของพันธมิตรเข้าสู่ตลาด บรรยากาศในงานเต็มไปด้วยพันธมิตรทีต่ บเท้ากันเข้ามาแสดงผลงานอย่าง คับคั่ง มีทั้งผู้ประกอบการและผู้ที่ให้ความสนใจเข้ามาร่วมงานในครั้งนี้อย่าง ครึกครื้น นี่จะเป็นจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการใช้เครือข่ายระดับโลกที่มี คุณภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ โดย CLPA และ CLPC – Thailand รวมถึง เหล่าพันธมิตรนัน้ มีความพร้อมในการผลักดันและสนับสนุนวงการอุตสาหกรรม ไทยอย่างเต็มที่แล้วในวันนี้ “เครื อ ข่ า ยระบบเปิ ด ของเราไม่ ไ ด้ จ� ำ กั ด การใช้ ง านของผู ้ ใช้ ด ้ ว ยยี่ ห ้ อ ผลิตภัณฑ์ และเราจะท�ำการสนับสนุนเหล่าพันธมิตรทั้งหลายเพื่อให้เกิด ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำงานเข้ากันได้อย่างมีเสถียรภาพ และผลักดันสินค้าเข้าสู่ตลาด อย่างเต็มภาคภูมิ” Ms. Naomi Nakamura กล่าวในช่วงท้าย issue 158 APRIL 2016
P034-037_Interview_CLPA.indd 35
4/20/2016 11:22:12 PM
36 execlusive interview
ผลิตภัณฑ์ของเราที่เกี่ยวข้องกับ CC-Link นั้นจะอยู่ในส่วนของ Automation ซึ่งมี จุดเด่นอยู่ที่สามารถติดตั้งหรือแก้ไขได้โดยไม่ต้องพึ่งอุปกรณ์อะไรมากมาย และมี การจัดการกับสัญญาณรบกวน ท�ำให้ลดเวลา Downtime และเพิ่มเสถียรภาพให้ กับระบบ CC-Link
Our products related to CC-Link will be in the part of Automation which its strength is the capability to install or revise without dependence on other devices and there is a feature to manage signal interference which helps reducing Downtime and add stability to CC-Link system.
3M Thailand Co., Ltd. MR. SOMKID LIKITAPHISIT SALES DEVELOPMENT COORDINATOR, ELECTRONICS MATERIALS SOLUTION DIVISION
ผลิตภัณฑ์ของเรานัน้ ใช้สำ� หรับการสือ่ สารระหว่างเครือ่ งมือ มีหน้าจอแสดงผลระบบ สัมผัสทีส่ ะดวกต่อการใช้งาน CC-Link ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของเรานัน้ แสดงความสามารถ ออกมาได้อย่างครบครันเต็มความสามารถ
Our products used for communication between tools have touchscreen displays to make more convenience to use with CC-Link which allows our products to give full performance.
Schneider electric thailand MR. HIROSHI WATABE SENIOR SALES MANAGER, INDUSTRY BUSINESS
เราผลิตสินค้าส�ำหรับผู้ผลิตเครื่องจักรหรือเครื่องมือต่างๆ เพื่อ เชื่อมต่อระบบเข้ากับ CC-Link หรือ CC-Link IE เรามี Module รองรับการใช้งานทีห่ ลากหลาย เราเป็นผูผ้ ลิตทีค่ รอบคลุม Solution ซึ่งจะตอบโจทย์ในการใช้งาน CC-Link ได้อย่างครบวงจร
We produce products for machinery or tool makers to link their systems to CC-Link or CC-Link IE. We have a wide range of modules to support varied operations and we are the manufacturer who owns the wide coverage solutions that can totally response to all CC-Link operations.
Molex (Thailand) Ltd. MR. DAMIEN LETERRIER DIRECTOR, INDUSTRIAL SOLUTION MR. AKIHIRO TEZUKA MANAGER, INDUSTRIAL SOLUTION
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P034-037_Interview_CLPA.indd 36
4/22/2016 4:51:15 PM
execlusive interview 37
เราเป็นผูผ้ ลิตเทคโนโลยี Vision ส�ำหรับโรงงาน ซึง่ ช่วยลดข้อผิดพลาดกระบวนการผลิต ของระบบออโตเมชัน เราเป็นพันธมิตรกับ CC-Link มาอย่างยาวนาน ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ ของเราสามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพเมื่อใช้งานร่วมกับ CC-Link ที่สามารถส่ง และจัดการข้อมูลของเราได้อย่างดีเยี่ยม”
We are Vision technology manufacturer for factory which helps reducing production process malfunction of automation system. We have partnered with CC-Link for a long time which allows our products to give full performance when using with CC-Link featured the outstanding data transfer and management.
COGNEX MR.MORIO YOSHIDA AREA DEVELOPMENT MANAGER (ASEAN), GLOBAL ACCOUNT, ACCOUNT SALES DEPARTMENT
CC-Link นั้นได้เพิ่มศักยภาพให้กับผลิตภัณฑ์ของเราอย่างมากในฐานะผู้ให้บริการ ด้านเครือข่าย ผลิตภัณฑ์ของเรา IO-Link ต้องการพาหนะที่สามารถส่งเสริมการ สื่อสารกับ PLC และนอกจากนี้ CC-Link IE ยังสามารถดึงศักยภาพของผลิตภัณฑ์ ของเราได้อย่างครบถ้วนเต็มพิกัด
CC-Link has greatly added capacity to our products. On behalf of network provider, our product; IO-Link needs transporting device that can promote communication with PLC. And besides, CC-Link IE can fully help releasing our products’ full performance.
Balluff Co., Ltd BALLUFF CO., LTD MR.KENJI YOSHIDA MANAGING DIRECTOR BALLUFF (THAILAND) LTD. MR.HEIKO LANDAUER COUNTRY MANAGER
ในปัจจุบันการสื่อสารโดยใช้ระบบ CC-Link หรือ CC-Link IE ได้รับความนิยมมากขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง ในฐานะผูน้ ำ� ทางด้านเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ควบคุมอัตโนมัติ ในโรงงาน อุตสาหกรรม จากผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายครอบคลุมความต้องการของผูใ้ ช้งาน ทัง้ นีเ้ รา พร้อมที่จะสนับสนุนและให้ค�ำปรึกษาแก่ลูกค้าเพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตให้ดียิ่งขึ้น
Currently, communication with CC-Link or CC-Link IE system has continually become more popular. On behalf of the leader in automation control technologies and products for factory with the wide range of products to response to all user requirements, we are ready to support and give instruction to customers in order to develop the better production capacity.
Mitsubishi Electric Factory Automation (Thailand) Co., Ltd. MR.YUTAKA KAWASAKI, MANAGING DIRECTOR
issue 158 APRIL 2016
P034-037_Interview_CLPA.indd 37
4/22/2016 4:51:32 PM
ADVERTORIAL IKO 050-051.pdf 1 12/9/2015 4:25:19 PM
Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
•
Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.
• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115
P038-039_Adver IKO.indd 38
Fax: +66 (0)2-637-5116
4/20/2016 6:15:50 PM
Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.
C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.
Needle Bearings Machine elements essential to any industry
Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large
Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics
P038-039_Adver IKO.indd 39
4/20/2016 6:15:50 PM
40 NEWS & UP DATE
Global Seal
จัดงานเลี้ยงฉลองขอบคุณลูกค้าสุดยิ่งใหญ่
บริษัท กลอบอลซีล จ�ำกัด (Global Seal Co., Ltd.) จัดงานเลี้ยงฉลองอย่าง ยิ่ ง ใหญ่ เ พื่ อ เป็ น การขอบคุ ณ ลู ก ค้ า และ พันธมิตรทางธุรกิจ ณ โรงแรม Classic Kameo จังหวัดระยอง โดยมี คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู้จัดการ และผู้บริหาร บริษัทฯ กล่าวแสดงความขอบคุณลูกค้า และพันธมิตรที่มอบความไว้วางใจ เชื่อ มั่นในผลิตภัณฑ์ และบริการของกลอบอล ซีลมาโดยตลอด นอกจากนี้ ได้มีการจัดสัมมนาเกี่ยว กับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ทีจ่ ะส่ง ตรงถึงมือผู้ใช้งานปั๊มในประเทศไทย โดย ผู้บริหารปั๊มคุณภาพสูงแบรนด์ Sundyne จากต่างประเทศ รวมถึงเปิดโอกาสให้ผู้ เข้าร่วมงานได้พูดคุยซักถามด้านการให้ บริการ การใช้งาน และปัญหาต่างๆ ทีอ่ าจ เกิดขึน้ ได้เกีย่ วกับปัม๊ ปิดท้ายด้วยงานเลีย้ ง ฉลองอย่างยิ่งใหญ่ในบรรยากาศอบอุ่น เป็นกันเอง รวมถึงการแสดงมินิคอนเสิร์ต จากนักร้องสาว ญาญ่าหญิง และนักร้อง เกิร์ลกรุ๊ปวง One9Stand ที่มาสร้างสีสัน ให้กบั งาน และการจับฉลากแจกของรางวัล มากมายให้แก่ผู้เข้าร่วมงานในครั้งนี้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P40_NEWS_Global Seal.indd 40
21-Apr-16 9:19:18 PM
ALL AROUND
41
บริบทของการขับเคลือ่ นภาคอุตสาหกรรมในประเทศให้เติบโตนัน้ นอกจากผูป้ ระกอบการซึง่ เป็นฟันเฟืองส�ำคัญ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมให้เดินไปข้างหน้าแล้ว ภาครัฐยังมีส่วนส�ำคัญที่จะช่วยก�ำหนดทิศทาง และผลักดัน ให้ธุรกิจอุตสาหกรรมเกิดความสามารถด้านการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีโครงการดีๆ เกิดประโยชน์ จากภาครัฐทีช่ ว่ ยต่อยอดธุรกิจ พัฒนาศักยภาพขององค์กรและกระบวนการผลิต เพือ่ สนับสนุนผูป้ ระกอบการ ไทยจ�ำนวน 4 โครงการ ดังนี้ โครงการ Boost up the Machine Performance สนับสนุนงบประมาณ 50% โดยโครงการ ITAP สานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
สัมมนาการพัฒนาขีดความสามารถ ผู้รับผิดชอบพลังงานในด้านการ เพิ่มประสิทธิภาพ วัสดุ เครื่องจักร อุปกรณ์ ในโรงงาน/อาคารควบคุม (Refresh PRE) โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ร่วม กับ สถาบันไทย-เยอรมัน ร่วมกัน วางระบบบริ ห ารการเพิ่ ม ผลิ ต ภาพ โดยมุ ่ ง เน้ น ที่ จ ะพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง เครื่องจักรที่มีอยู่ของผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมให้สามารถใช้งาน ได้ อ ย่ า งเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ มี ผ ลิ ต ภาพสูงสุด และสามารถวัดผลส�ำเร็จ ได้อย่างชัดเจน
การจัดโครงการนีข้ นึ้ เพือ่ ต้องการ ให้ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นพลั ง งาน ได้ มี โอกาสพัฒนาขีดความสามารถผ่าน รูปแบบการสัมมนา และการถ่ายทอด ความรูโ้ ดยตรงจากผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์ ในการอนุรักษ์ พลังงานที่ประสบผล ส�ำเร็จ ตลอดจนเป็นโอกาสที่ดีในการ สร้างเครือข่ายระหว่างผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน ในแต่ละหน่วยงาน เพือ่ ที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน
ระยะเวลาด�ำเนินการ เดือนพฤษภาคม – ธันวาคม 2559 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม ที่มีเครื่องจักรเป็นเครื่องมือหลักใน การผลิต จ�ำนวน 8 บริษัท ส่งตัว แทนเข้าร่วมสัมมนา บริษทั ละ 5 คน โดยบุคลากรที่เข้าร่วมสัมมนาควรจะ ประกอบไปด้วย ผูบ้ ริหารขององค์กร ผูบ้ ริหารโครงการ ผูจ้ ดั การโรงงาน ผู้ จัดการฝ่ายผลิต ผู้จัดการฝ่ายซ่อม บ�ำรุง และ วิศวกร เป็นต้น ข้อมูลติดต่อ สถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่ ง ชาติ คุณศาตพร เผ่าสกุลทอง โทรศัพท์ 0 2619 5500 ต่ อ 576 Email: Saataporn@ftpi.or.th
ระยะเวลาการสัมมนา ระหว่างเดือนกรกฎาคม - ตุลาคม 2559 ระยะเวลาในการสัมมนา 1 วัน (ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งนี้ไม่รวมถึง ค่าที่พักและค่าเดินทางของผู้เข้ารับ การสัมมนา) คุณสมบัติผู้เข้าร่วมสัมมนา ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ และอาวุโสประจ�ำอาคารและโรงงาน ควบคุม ผู้สมัครต้องเป็น ผชอ. ผชร. ผอส. หรื อ ผฉก. ที่ ไ ด้ รั บ เลขขึ้ น ทะเบียนจากทาง พพ แล้วเท่านั้น สมัครเข้าร่วมโครงการได้ที่ http://refreshpre.ete.eng.cmu. ac.th/
โครงการส่งเสริมการลงทุนเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถด้านการอนุรักษ์ พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมขนาด กลางและเล็ก
30-70 ส�ำหรับ SME สนับสนุน ร้อยละ 30 ระยะเวลาด�ำเนินการ วันนี้ – 14 พฤษภาคม 2559 คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมโครงการ - บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ มีความประสงค์จะด�ำเนินมาตรการ อนุรักษ์พลังงานโดยการปรับเปลี่ยน ปรับปรุงเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน - สถานประกอบการที่ ไ ม่ เ ป็ น โรงงานควบคุม/อาคารควบคุมตาม พระราชบั ญ ญั ติ ก ารส่ ง เสริ ม การ อนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ.2550) ผู้ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการ และ/หรื อ ขอรั บ การสนั บ สนุ น เงิ น ลงทุ น สามารถขอรั บ เอกสาร ใบสมั ค รได้ ที่ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การอนุรักษ์พลังงาน (สสอ.) กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) โทรศัพท์ 0 2223 0021-9 ต่อ 1547 หรือทางเว็บไซต์ www.dede.go.th
รางวัลสุดยอด SMEs แห่งชาติ (SMEs National Awards) ครั้งที่ 8
ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่ อ ม (สสว.) จั ด กิ จ กรรมการประกวดรางวั ล เพื่ อ ผู ้ ประกอบการ SMEs โดยได้รับความ ร่วมมือจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่ง ชาติ เพื่อมอบรางวัลให้กับกลุ่มธุรกิจ SMEs ที่มีประสิทธิภาพและความ สามารถในการบริหารจัดการ ส่งเสริม ให้เกิดการสร้างมาตรฐาน/คุณภาพ กระตุ้นให้ผู้ประกอบการ SMEs เกิด แรงจู ง ใจ เกิ ด การปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา ธุรกิจให้มีมาตรฐานมากขึ้นสู่ระดับ สากล คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโคงการ ผู้ประกอบการ SMEs สนใจร่ ว มโครงการติ ด ต่ อ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ คุณ ศาตพร เหล่าสกุลทอง โทรศัพท์ 0 2619 5500 ต่ อ 585 Email: Saataporn@ftpi.or.th หรือ ดูขอ้ มูล เพิ่มเติมได้ที่ www.smenationalawards.com
issue 158 APRIL 2016
P41_PROJECT FOR FACTORY.indd 41
21-Apr-16 9:14:52 PM
42 ALL AROUND เรื่อง: ทศธิป สูนย์สาทร
R&D, THE LEVERAGE
วิจัยและพัฒนา การผงาดอย่างยั่งยืน ของภาคอุตสาหกรรม จากข้อมูลของ European Commission ช่วงปี 2007 – 2014 ดังรูปที่ 1 นั้นแสดงให้เห็น ถึงผลกระทบของงานวิจัยที่ส่งผลโดยตรงต่อผลประกอบการ หรือยอดขายอย่างชัดเจน โดย แนวทางของการวิจยั และพัฒนาจะช่วยเพิม่ ทัง้ ผลผลิต ลดต้นทุน รวมถึงระบบการจัดการต่างๆ ในงานอุตสาหกรรมให้มคี วามต่อเนือ่ งและท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึง่ ในแต่ละประเทศ นัน้ จะมีหน่วยงานส�ำหรับสนับสนุนและผลักกระบวนการวิจยั และพัฒนา โดยมากมักจะเป็นการ แหล่งความรู้ คลังข้อมูล แหล่งเงินทุน ในบางครั้งจะพบว่าหน่วยงานดังกล่าวนั้นท�ำหน้าที่เป็น ตัวกลางในการด�ำเนินการ หรือแม้กระทั่งเป็นพันธมิตรในการวิจัยร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ เพื่อ ด�ำเนินการผลักดันโครงการด้วยตัวเอง ในคอลัมน์วนั นีจ้ งึ ขอแนะน�ำสถาบันวิจยั ทีม่ คี วามโดดเด่น น่าสนใจส�ำหรับผู้ประกอบการ ซึ่งแต่ละสถาบันนั้นจะมีจุดเด่นที่แตกต่างกันออกไปแต่ทั้งหมด ล้วนสามารถใช้เป็นคลังข้อมูลเพื่อต่อยอดและพัฒนาส�ำหรับภาคส่วนต่างๆ ของอุตสาหกรรม ได้อย่างมีประสิทธิผลแน่นอน
รูปที่1: กราฟข้อมูลจาก European Commission ที่แสดงให้เห็นถึงยอดขายที่แปรผันตามการลงทุนวิจัย
Korean Institute of Science and Technology (KIST)
ประเทศ: เกาหลี ซึ่งมีสิทธิบัตรและงานวิจัยอยู่กว่า 20,000 ฉบับ ทัง้ ยังเปิดหลักสูตรการศึกษาที่ได้รบั ความร่วมมือจากสถาน ศึกษาชั้นน�ำกว่า 22 สถาบัน Website: www.eng.kist.re.kr/kist_eng/main/
Industrial Technology Research Institute (ITRI)
ประเทศ: ไต้หวัน มีสิทธิบัตรกว่า 2 หมื่นฉบับ ผลักดันสร้าง บริษัทใหม่ 260 บริษัท และได้รับรางวัลนวัตกรรมระดับนานาชาติ มากมาย นอกจากนี้ยังเสริมสร้างจุดแข็งให้กับอุตสาหกรรม ไต้ห วันอย่าง เซมิคอนดักเตอร์ คอมพิวเตอร์ และจักรยาน คุณภาพสูงT Website: https://www.itri.org.tw/eng/
Agency for Science, Technology and Research หรือ A*Star
ประเทศ: สิงคโปร์ ท�ำการสนับสนุนการวิจัยในวงกว้างให้แก่ ภาคเอกชนและสถาบันต่างๆ โดยท�ำการวิจยั ร่วมกับภาคธุรกิจกว่า 1,700 โครงการต่อปี ยืน่ จดสิทธิบตั ร 290 ฉบับต่อปี โดยสามารถ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้อย่างมากมาย Website: https://www.a-star.edu.sg/
ส� ำ หรั บ ประเทศไทยนั้ น ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) ที่ พ ร้ อ มส� ำ หรั บ การให้ บริการ สนับสนุนและผลักดันการวิจัยและพัฒนาส�ำหรับภาค อุตสาหกรรม โดยมีศนู ย์ยอ่ ยในการร่วมมือกันท�ำงาน 5 ศูนย์ได้แก่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ และศูนย์บริหารจัดการ เทคโนโลยี โดยสวทช. นั้นมีการให้บริการอันหลากหลาย อาทิเช่น คลัง ความรู้ คลังข้อมูลอุตสาหกรรม ทุนวิจัย ทุนการศึกษาของสวทช. มีสทิ ธิบตั รทีถ่ กู ผลักดันออกมาตัง้ แต่ปพี .ศ. 2553-2558 ประมาณ 400 ฉบับ และมีผลงานวิจัยและพัฒนากว่า 300 ชิ้น ที่ได้รับการ ผลักดัน เช่น ระบบแสตนบายไม่ใช้พลังงาน แผ่นกรองอากาศ มัลติฟังก์ชั่น และสารชีวบ�ำบัดภัณฑ์ย่อยสลายน�้ำมันปิโตรเลียม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P42-43_ALL AROUND.indd 42
21-Apr-16 9:21:20 PM
ALL AROUND 43
VTT Technical Research Centre of Finland
ประเทศ: ฟินแลนด์ มีงานวิจัยหลากหลายตั้งแต่ Smart Industry ไปจนถึง Low Carbon Energy มีเอกสารวิชาการตี พิมพ์กว่า 1,500 ฉบับ ด�ำเนินการตามค่านิยมหลักขององค์กร ห้าประการได้แก่ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า การ ใช้พลังงานสะอาดที่ผลิตเอง การแข่งขันที่เกิดจากอุตสาหกรรม ที่พัฒนาปรับปรุงใหม่ สังคมอัจฉริยะที่มีการเชื่อมต่อเครือข่าย คุณภาพและเสถียรในทุกวันของชีวิต และสุดท้ายคือการก้าวน�ำ อยู่บนกระแสของ Digital Disruption Website: http://www.vttresearch.com/
Imec
ประเทศ: เบลเยียม ผู้น�ำในด้านการวิจัยเทคโนโลยี NanoElectronics มีพาร์ทเนอร์อยู่ทั่วโลก มีหัวข้อของการวิจัยและ พั ฒ นาที่ น ่ า สนใจหลักๆ อยู่สี่หัว ข้อได้แก่ CMOS Scaling,
Intuitive Internet of Things, Internet of Health และ Internet of Power นอกจากนี้ยังให้บริการด้านการศึกษาในระดับสูงเช่น PhD และ การศึกษาต่อเนื่องจากระดับดุษฎีบัณฑิต นอกจาก นี้ยังมี Technology Forum ที่เปิดให้ความรู้ตามแหล่งประเทศ พันธมิตรอีกด้วย Website: http://www2.imec.be/be_en/home.html
Fraunhofer (Fraunhofer-Gesellschaft)
ประเทศ: เยอรมนี เป็นสถาบันวิจยั ประยุกต์ทมี่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในภาคพืน้ ยุโรป โดยประกอบไปด้วย 67 สถาบันย่อยรวมถึงหน่วย วิจยั มีเงินทุนหมุนเวียนว่า 2.1 ล้านล้านยูโร กว่า 70% ของสัญญา งานวิจัยมาจากกลุ่มอุตสาหกรรมและโครงการวิจัยสาธารณะ มีสิทธิบัตรเกิดขึ้นโดยเฉลี่ยสองฉบับต่อวันที่ดำ� เนินการ Website: http://www.fraunhofer.de/en.html
จากข้ อ มู ล ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ผลกระทบของงานวิ จั ย ต่ อ วงการ อุตสาหกรรมต่างๆ พบว่านวัตกรรมหรือผลกระทบที่เกิดจากงาน วิจัยและพัฒนานั้นส่งผลกระทบโดยตรงต่อยอดขาย ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยนั้นยังไม่เกิดการตื่นตัวในด้านของการวิจัยและพัฒนานัก ทั้งๆ ที่มีความพร้อมในเรื่องของบุคลากรรวมทั้งหน่วยงานที่ให้การ สนับสนุน หากผู้ประกอบการยังมีความสงสัยหรือมีแนวคิดริเริ่มที่น่า สนใจทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั หรือพัฒนางานอุตสาหกรรม สวทช. พร้อม ให้การสนับสนุนและผลักดันธุรกิจให้ก้าวไกลอย่างยั่งยืน รวมถึงการ ก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำในกลุ่มอุตสาหกรรมนั้นๆ ด้วยเทคโนโลยีและวัต กรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใครนัน้ จ�ำเป็นต้องใช้การท�ำความเข้าใจ ผลิตภัณฑ์และพัฒนาจุดเด่นขึ้นมาอย่างถูกต้อง ทีม่ า: https://ec.europa.eu/jrc/sites/default/files/minisites/eu-scoreboard-2015 http://www.nstda.or.th https://www.youtube.com/watch?v=RktInwO7kIY
EXECUTIVE SUMMARY From picture no. 1, the graph presented the relation between business profits and research and development (R&D). This information showed that profit has an effected by outstanding innovation of the product/service. This column brought 6 examples of international R&D institute and plus 1 Thailand R&D institute, National Science and Technology Development Agency (NSTDA). NSTDA has a mission to drive Thailand’s economic with R&D, technology transfer, human resource development and infrastructure development. NSTDA also give support in financial, Science & Technology Knowledge Services: STKS and Industrial Technology.
issue 158 APRIL 2016
P42-43_ALL AROUND.indd 43
21-Apr-16 9:21:22 PM
44 INDUSTRIAL ECONOMIC statistics เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
ส่องภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมไทย
ไตรมาสแรก ปี’59 การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมในเดื อ น มกราคม 2559 หดตัวร้อยละ 3.3 เมือ่ เทียบ กับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา ตัวเลข การหดตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม ที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น เนื่ อ งมาจากสถานการณ์ เศรษฐกิ จ โลกที่ ยั ง คงชะลอตั ว จากราคา สินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับตัวลดลง ประกอบ กั บ การฟื ้ น ตั ว อย่ า งค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปของ เศรษฐกิ จ ประเทศส� ำ คั ญ อย่ า งประเทศ สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศสหภาพ ยุโรป ท�ำให้ความต้องการสินค้าจากต่าง ประเทศลดลง ในเดื อ นมกราคม 2559 มี ป ริ ม าณ ทั้ ง หมดจ� ำ นวน 9,590.8 ล้ า นกิ โ ลวั ต ต์ ชั่วโมง ลดลงจากเดือนธันวาคม 2559 ร้อย ละ 1.08 (9,695.3 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 จากช่วงเดียวกันของปี 2558 (8,964.6 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) หาก แยกการใช้ไฟฟ้าตามขนาดของกิจการ พบ ว่า ปริมาณการใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กและขนาด กลาง มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลงจากเดือน ที่ผ่านมา แต่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ส่วนกิจการขนาดใหญ่มีปริมาณการ ใช้ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ จากเดือนทีผ่ า่ นมาและจาก ช่วงเดียวกันของปี 2558
ปริมาณ
การใช้ ไฟฟ้าของภาค อุตสาหกรรมการผลิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 คิดเป็น 8,964.6 ล้าน กิโลวัตต์-ชั่วโมง
การผลิตในภาคอุตสาหกรรมไทยเมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (Manufacturing Production Index : MPI) เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ลดลง หรือหดตัวร้อยละ 3.3 อุตสาหกรรมส�ำคัญที่ส่งผลให้การผลิตลดลง เช่น รถยนต์ ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ เหล็กและเหล็กกล้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรม ที่ผลิตเพื่อตอบสนองในประเทศยังคงขยายตัวได้ อาทิ น�ำ้ มันประกอบอาหาร น�้ำมันเชื้อ เพลิง ผลิตภัณฑ์กระดาษ เป็นต้น
การผลิตในภาคอุตสาหกรรม ลดลงร้อยละ 3.3
การเปิดปิดโรงงาน เดือนมกราคม 2559 มีโรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการจ�ำนวน 269 ราย ลดลง จากเดือนธันวาคม 2558 ร้อยละ 24.4 มี ยอดเงินลงทุนรวมลดลงร้อยละ 48.7 และ มีจ�ำนวนการจ้างงานลดลงร้อยละ 7.3 อุตสาหกรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตเครือ่ งใช้ไฟฟ้า และชิน้ ส่วนเครือ่ ง ใช้ไฟฟ้า มีจ�ำนวน 3 โรง จ�ำนวนเงินทุน 3,645.90 ล้านบาทและจ�ำนวนคนงาน 530 คน เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีก่อน มีโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการลด ลงจากเดือนมกราคม 2558 ร้อยละ 18.5 ส�ำหรับโรงงานที่ปิดด�ำเนินกิจการมีจ�ำนวน
135 ราย มากกว่าเดือนธันวาคม 2558 ร้อย ละ 22.73 และมากกว่าเดือนเดียวกันของปี ก่อนร้อยละ 26.17
โรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ ลดลงร้อยละ 24.4 ยอดเงิน ลงทุนรวมลดลงร้อยละ 48.7 และมีจ�ำนวนการจ้างงานลดลง ร้อยละ 7.3
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P044-045_MO_Industrial Economic.indd 44
20-Apr-16 6:32:43 PM
INDUSTRIAL ECONOMIC statistics 45
การน�ำเข้าของภาคอุตสาหกรรมไทย ในเดื อ นมกราคม 2559 การน� ำ เข้ า เครื่ อ งจั ก รใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมและส่ ว น ประกอบ หดตัวร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีก่อน จากการน�ำเข้า เครือ่ งยนต์ เพลาส่งก�ำลังและส่วนประกอบ อื่ น ๆ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ใช้ ใ นการ แปรรูปยางหรือพลาสติก และเครื่องจักร ใช้ในการแปรรูปโลหะและส่วนประกอบที่ ลดลง ด้านการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบและกึ่ง ส�ำเร็จรูป(ไม่รวมทองค�ำ) มีมูลค่า 5,406.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 16.9 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน จาก การน�ำเข้าด้ายและเส้นใย ผ้าผืน เคมีภัณฑ์ เหล็ ก เหล็ ก กล้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมถึ ง อุปกรณ์ส่วนประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ลดลง
การน�ำเข้า
เครื่องจักร ที่ใช้ใน อุตสาหกรรมและ ส่วนประกอบ หดตัว ร้อยละ 1.2 การน�ำเข้า สินค้าวัตถุดิบ และกึ่งส�ำเร็จรูป (ไม่รวมทองค�ำ) หดตัวร้อยละ 16.9
โรงงานที่เริ่ม ประกอบกิจการ ลดลง ร้อยละ 24.4
การใช้ ไฟฟ้าของ ภาคอุตสาหกรรม การผลิต เพิ่มขึ้น ร้อยละ 7
การผลิตในภาค อุตสาหกรรม ลดลง ร้อยละ 3.3
สถานภาพเศรษฐกิจอุตสาหกรรมการผลิตไทย (1) การน�ำเข้าเครื่องจักร ที่ใช้ในอุตสาหกรรม และส่วนประกอบ หดตัว ร้อยละ 1.2
จ�ำนวน การจ้างงาน ลดลง ร้อยละ 7.3
การน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบ และกึ่งส�ำเร็จรูป (ไม่รวมทองค�ำ) หดตัวร้อยละ 16.9
สถานภาพเศรษฐกิจอุตสาหกรรมการผลิตไทย (2) ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
EXECUTIVE SUMMARY Manufacturing industry has been reduced in January 2016 by 3.3% when compared to January 2015. The number of reduction in manufacturing industry was coming from world economic crisis that still decelerate by consumer goods reduction and also economic recovery from major country likes USA or EU. The need of imported products have been shrink but the manufacturing for domestic still expanding, for example, cooking oil, petroleum oil and paper product.
สถิติสำ� คัญที่ควรรู้* อุตสาหกรรมที่มีการลงทุน เริ่มประกอบกิจการสูงสุด คือ
อุตสาหกรรมผลิตเครื่อง ใช้ ไฟฟ้า และชิ้นส่วน เครื่องใช้ ไฟฟ้า
ความต้องการผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ ใน ตลาดโลกลง ส่งผลให้
ดัชนีผลผลิตของ อุตสาหกรรมการผลิตชิ้น ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ หด ตัวร้อยละ 13.4
อุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
จะเริ่มฟื้นตัวในไตรมาส 3 และคาดว่าจะปรับตัวเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 6.55
issue 158 APRIL 2016
P044-045_MO_Industrial Economic.indd 45
21-Apr-16 11:43:11 AM
46 INDUSTRIAL ECONOMIC เรื่อง: ภิญญาภร์ ชาติการุณ
2016 THE YEAR OF INVESTMENT
จับตา…มาตรการภาครัฐ กระตุ้นการลงทุน ปี’59
เป้าหมายแห่งความส�ำเร็จของการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมไทยในปีนี้ คือ การที่ภาครัฐปักธงประกาศให้ปี 2559 เป็นปีทองแห่งการลงทุนของ ประเทศไทย (2016 The Year of Investment) หลังจากพิจารณาตัวเลขการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตลอดปี 2558 และมีความเชือ่ มัน่ ว่าเศรษฐกิจ ไทยจะสามารถฟืน้ ตัวได้อย่างต่อเนือ่ ง แม้วา่ ในปี 2559 จะยังคงเผชิญกับ แนวโน้มปัจจัยเสีย่ งจากภายนอก ทัง้ เศรษฐกิจโลกทีย่ งั เปราะบาง บวกกับ ความผันผวนของตลาดการเงินโลก ซึง่ เกิดจากความไม่สอดคล้องกันของ นโยบายการเงินของประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงความ ผันผวนของราคาสินค้าเกษตร หากพิจารณาถึงโอกาสและความท้าทาย นี่คือ ช่วงเวลาที่เหมาะ สมในการเร่งระดมเม็ดเงินเพือ่ การลงทุนมากขึน้ ซึง่ จะส่งผลให้เศรษฐกิจ ไทยลดการพึ่งพิงอุปสงค์จากภายนอกประเทศ และเป็นการสร้างให้เกิด ความสมดุลของโครงสร้างเศรษฐกิจมากขึน้ ทัง้ ยังเป็นโอกาสในการเสริม สร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันอีกด้วย
มาตรการภาครัฐ กระตุ้นการลงทุน ปี’59 มาตรการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงการคลัง สิทธิประโยชน์ เพือ่ ส่งเสริมกิจการ SMEs มาตรการด้านการเงิน -- สินเชื่อดอกเบี้ยต�ำ่ -- ค�้ำประกันสินเชื่อ -- กองทุนร่วมลงทุน มาตรการด้านภาษี -- ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับ SMEs เหลือร้อยละ 10 ระยะเวลา 2 รอบ บัญชี -- ภาษีเงินได้นิติบุคคล 5 รอบระยะ เวลาบั ญ ชี ส� ำ หรั บ กิ จ การ New Start-up
มาตรการส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอ
มาตรการส่งเสริมการลงทุนทั่วไป หักค่าใช้จา่ ยได้ 2 เท่าส�ำหรับการลงทุน ในทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่อง หักค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา ได้ 3 เท่า -- ยกเว้ น ภาษี ส รรพสามิ ต อากรขา เข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม และให้สามารถ หักค่าเสื่อมได้เต็มจ�ำนวนส�ำหรับ รถยนต์ ต ้ น แบบที่ ผ ลิ ต ในประเทศ ห รื อ น� ำ เ ข ้ า ม า เ พื่ อ ก า ร วิ จั ย พัฒนา หรือทดสอบสมรรถนะใน ประเทศไทย
สิทธิประโยชน์พิเศษส�ำหรับการ ลงทุนโดยใช้ประเทศไทยเป็นฐาน ในการลงทุนใน AEC
สิทธิประโยชน์ New Growth Engine 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย
สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ส� ำ หรั บ เขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนเป็นการ ทัว่ ไปหากไม่ได้ขอรับการส่งเสริมการลงทุน จาก BOI และสิทธิประโยชน์ ในการจัดตั้ง ส�ำนักงานใหญ่ข้ามประเทศ (IHQ) และ บริษัทการค้าระหว่างประเทศ (ITC)
การให้ แ รงจู ง ใจทางการเงิ น ส� ำ หรั บ กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายผ่านกองทุน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันส�ำหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมายผ่านกองทุนเพิ่ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ส� ำ หรั บ อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง EXECUTIVE SUMMARY The successful of Thai manufacturing driven is coming from the government sector announced ‘2016 The Year of Investment’. In 2016, Thailand still have to encounter the risk of unstable world economy, also unstable world financial that inappropriate with major economic country including unstable agriculture price. Consideration to chance and challenge, this is a great time to rush in capital mobilization. This circumstance will be reducing the import demanding form outside of the country and also balancing economic structure. This is a great chance to improve competitive ability of Thai manufacturing.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P46_IND_EC_POLICY.indd 46
21-Apr-16 9:23:16 PM
AD_Krasstec.pdf 1 3/7/2016 9:43:32 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
P48_AD_Mitsubishi FA_24-3-59.pdf 1 24-Mar-16 9:25:17 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
EQUIPMENT&TOOL 49
โต๊ะเลื่อยวงเดือน SCHEPPACH
รุ่น HS100S
มาตรฐานเยอรมัน หน้าโต๊ะกว้างท�ำงานได้สะดวก ปรับ องศาในการตัดได้ • มอเตอร์ก�ำลังแรง 2000 Watt - 230 V ท�ำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • น�ำ้ หนักเบาเคลื่อนย้ายสะดวก • ปรับขนาดหน้าโต๊ะเลื่อยวงเดือน ให้เหมาะสมกับ ขนาดชิ้นงานได้อย่างง่ายดาย • ปรับระดับสูงต�่ำของใบมีดได้ • ตัดชิ้นงานได้หนาสุดที่ 85 มม. • มีอุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัย • ปรับองศาในการท�ำงาน ได้ 45 ํ- 90 ํ • ร่วมกับเครื่องดูดฝุ่นรุ่น HD2P และ HD12 ได้
ข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท ฮาร์ดแวร์ เอ็กซ์เพิร์ต จ�ำกัด โทร. 086-3312212
เครื่องชั่งดิจิตอล Nagata
รุ่น SW Platform Scales
ตัวเลขแสดงผลรวดเร็ว ต่อพ่วงโหลดเซลล์ได้สูงสุด 8 ตัว • พิกัดก�ำลัง 60 kg - 3000kg • ตัวเลข LCD 25.4 Mm, LED 14.0 Mm • โปรแกรม: Tare, Hi/Low Weight Checking • ต่อพ่วงกับโหลดเซลล์ได้มากสุด 8 ตัว • พลังงาน: Rechargeable Battery ใช้งาน ต่อเนื่องได้ 60 ชม. • เลือกใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V. ผ่าน AC Adapter • Optional RS-232C ท�ำงานร่วมกับ Printer, Computer • ตัวเลขแสดงผลรวดเร็ว • โหลดเซลล์ถูกบรรจุไว้ในส่วนที่ปกปิดมิดชิด ป้องกันน�้ำได้ดี • ช่วยลดแรงกระแทก • โหลดเซลล์ผลิตในประเทศไต้หวัน • เสาเครื่องชั่งเป็นสแตนเลส เส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว • ผ่านการตรวจรับรองจากส�ำนักชั่งตวงวัด • ผลิตในประเทศไต้หวัน • รุ่น SW-102B แท่นอัลลอยด์ แบบบาง น�้ำหนักเบา
ข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท ไทยพัฒนสิน ควอลิตี้ทูลส์ จ�ำกัด โทร. 0-2432-6834-37
issue 158 APRIL 2016
P049-050_EQUIPMENT&TOOL.indd 49
4/21/2016 6:55:21 PM
50 EQUIPMENT&TOOL
เครื่องอัดลม AIRMAN
Trailer Type / PDS Series
ใช้งานง่าย สามารถผลิตอากาศแรงดันสูงในอุโมงค์ • ขนาด 90 - 1,200 cfm • มีหลากหลายรุ่น เหมาะสมกับการใช้งานตรงตาม ความต้องการ • มีโครงสร้างที่สามารถจัดการกับเสียงรบกวน ใช้งานง่าย • สามารถตรวจสอบข้อมูลทั้งหมดได้ผ่านทาง จอแสดงผล • เป็น Compressor ที่มีความน่าเชื่อถือ และมีศักยภาพ • สามารถผลิตอากาศแรงดันสูง • เหมาะส�ำหรับงานที่ใช้ Jacking Method หรืองาน ที่ต้องด�ำเนินการภายในอุโมงค์หรือท่อ • ขนาดกะทัดรัด • มีระบบจัดการความร้อนที่ติดตั้งมาในตัว • ระบบดูดอัตโนมัติ สามารถเก็บอากาศที่ไร้ความชื้น ได้แม้ในช่วงเวลาฝนตกหรือช่วงเวลาที่มีหมอก
ข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท น�ำแสง เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด โทร. 0-2708-5991-4
เครื่องทดสอบความแข็ง (Hardness Testing Machine)
เพื่อควบคุมคุณภาพของวัสดุและชิ้นส่วน
เครือ่ งทดสอบความแข็ง (Hardness Testing Machine) เป็นเครือ่ ง มือส�ำหรับวัดความแข็งของวัสดุหรือชิ้นงานต่างๆ ที่ได้รับการ พัฒนาภายใต้ โครงการสร้างเครือ่ งจักรต้นแบบ ด้วยกระบวนการ วิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า ประจ�ำปีงบประมาณ 2557 โดย สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย ร่วมกับ บริษัท อินทนนท์อินดัสเทรียล ซัพพลาย จ�ำกัด คุณลักษณะเฉพาะและสมรรถนะ No. Technical Specification 1 Preliminary Load 2 Test Force 3 Max. Work Piece Height 4 Max Work Piece Depth 5 Min Reading 6 Load Control 7 Stage Elevation 8 Display 9 Weight 10 Conical Diamonds Indenter for Rockwell Scale C 11 1.5 mm Diameter Ball Indenter for Rockwell Scale B
Value 98.07 N 588.4 N 980.7 N 1,471 N 150 mm 145 mm 0.5 HR Automatic Manual Analogue 50 kg 1 unit
Tolerance ±5% ±3%
1 unit
-
-
ข้อมูลเพิ่มเติม : บริษัท อินทนนท์อินดัสเทรียล ซัพพลาย จ�ำกัด โทร. 0-2918-8748
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P049-050_EQUIPMENT&TOOL.indd 50
4/21/2016 6:55:21 PM
เรื่อง: ทศธิป สูนย์สาทร | ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ REAL LIFE
ศ.ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อีกหนึ่งต้นแบบความส�ำเร็จ… จาก ‘ความเชื่อ’ ใน ‘ความพยายาม’
51
คนเรามีความเชื่อที่แตกต่างกัน บางคนเชื่อในโชคชะตาฟ้าลิขิต บางคนเชือ่ ในความรัก และบางคนก็เชือ่ ในความพยายามมุง่ มัน่ เชือ่ ว่า ‘ความพยายามอยู่ที่ไหน ความส�ำเร็จอยู่ที่นั่น’ เมือ่ เร็วๆ นี้ ทีมงานนิตยสาร MODERN MANUFACTURING ได้ มีโอกาสพบปะและแลกเปลีย่ นมุมมองทางความคิดของผูบ้ ริหารหนุม่ ไฟแรง อย่าง ศาสตราจารย์ ดร. สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ กับบทบาท ของการเป็น นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) หรือ อาจารย์เอ้ อธิการบดีคนล่าสุดของพี่น้อง ชาว สจล. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผู้ซึ่งไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรคใดๆ ที่ผ่านเข้ามาในชีวิต เพราะเชื่อใน ความคิดที่มุ่งมั่นจะเปลี่ยนแปลงประเทศ ด้วยปณิธานเพื่อส่วนรวม และด้วยจิตวิญญาณอันลุกโชน issue 158 APRIL 2016
P051-055_MO_Real Life_��.���������.indd 51
21-Apr-16 11:50:44 AM
52 REAL LIFE
หากเราตั้งใจหรือจริงจังกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดจาก หัวใจแล้วล่ะก็ มันเป็นเรือ่ งง่ายๆ เลย ทีจ่ ะมีความ มุง่ มัน่ ต่อเป้าหมายทีต่ งั้ เอาไว้ แล้วส่วนทีเ่ หลือก็ คือการท�ำความเข้าใจกับตัวเอง และท�ำตามสิ่ง ที่รัก ท�ำตามความเชื่อนั้นๆ ให้สัมฤทธิ์ผล
เชื่อในความพยายาม และใช้ความรักเป็นแรงขับ จากแนวคิดแห่งความมุมานะที่ไม่ยอมแพ้ ประกอบกับวิสัยทัศน์ที่มองการณ์ไกลและตั้งอยู่ บนหลักของเหตุและผล รวมถึงพลังความรักที่ อาจารย์เอ้ ใช้ผลักดันชีวิตตั้งแต่เมื่อครั้งเยาว์วัย ที่บ้านเกิด ในจังหวัดระยอง จนกระทั่งได้โควต้า ช้ า งเผื อ กของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ซึง่ แน่นอนว่าชีวติ ทีเ่ ดินทางมาได้ไกลเช่นนีย้ อ่ มไม่ ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบอย่างแน่นอน เคล็ดลับความส�ำเร็จของ อาจารย์เอ้ นั้นอยู่ ที่ความมุ่งมั่น ไม่ย่อท้อ เชื่อในความพยายาม และยังมีความรัก ความหลงใหลปรุงแต่งเป็นแรง ขับอยู่ภายในใจเป็นอย่างมาก ซึ่งหากมองกัน ให้ดีแล้ว ความรักหรือความหลงใหล (Passion) อย่างแท้จริงนี่เองที่เป็นพลังผลักดันให้เกิดความ มุ่งมั่นทั้งหลายขึ้นมา “หากเราตั้งใจหรือจริงจังกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดจาก หัวใจแล้วล่ะก็ มันเป็นเรือ่ งง่ายๆ เลย ทีจ่ ะมีความ มุ่งมั่นต่อเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ แล้วส่วนที่เหลือก็ คือการท�ำความเข้าใจกับตัวเอง และท�ำตามสิ่ง ที่รัก ท�ำตามความเชื่อนั้นๆ ให้สัมฤทธิ์ผล” มองโอกาสความผิดพลาดเพื่อป้องกัน แก้ ไข มองโอกาสความส�ำเร็จ เป็นแรงบันดาลใจ ระหว่างการสนทนา อาจารย์เอ้ ได้กล่าวถึง ตัวอย่างของบุคคลทั้งหลาย ที่รักและเชื่อในสิ่งที่ ตัวเองท�ำจริงๆ มากมายหลายคน ซึ่งท�ำให้เห็น ได้อย่างชัดเจนว่าคนหนึ่งคนนั้นสามารถสร้าง คลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นแบบอย่าง และแรงบั น ดาลใจให้ ผู ้ ค นได้ ม ากเพี ย งใด ยก ตัวอย่างเช่น ออง ซาน ซูจี ที่ถูกจองจ�ำอยู่ใน บ้านพักมาเป็นเวลานาน แม้กระทั่งการเสียชีวิต ของสามีก็มิอาจออกมาดูใจได้ แต่ทันทีที่ได้ออก มาสังคมก็เกิดคลื่นกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง
ถ้าเรารักสิ่งใดแล้ว ให้เราท�ำสิ่งนั้นจาก ความรักทีม่ ี ท�ำจากหัวใจเป็นทีต่ งั้ แล้วสิง่ ที่เหลือที่จะตามมา นั่นคือ ความสุข
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P051-055_MO_Real Life_��.���������.indd 52
21-Apr-16 11:50:48 AM
REAL LIFE 53
ครั้งใหญ่ขึ้นภายในประเทศ หรืออย่าง เนล สัน แมนเดล่า ซึ่งติดคุกมาเป็นเวลาเกือบ 30 ปี เมื่อได้รับอิสรภาพออกมา กลายเป็น ประธานาธิบดีและให้อภัยแก่ผู้คนทั้งหลาย ซึ่งเคยท�ำร้ายเขา หรืออีกหนึ่งตัวอย่างที่คน ไทยอาจจะคุ้นเคยอย่าง สตีฟ จ็อบส์ ซึ่ง ต้องใช้ความพยายามอย่างมากมายฝ่าฟัน ปัญหาชีวิตและความล้มเหลวครั้งแล้วครั้ง เล่า กว่าโทรศัพท์มือถือแบบทัชสกรีนอย่าง ไอโฟนจะเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับ อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน สิ่งที่คนเหล่านี้มีเหมือนกัน คือ ความ มุง่ มัน่ พยายาม ทีห่ ลอมรวมไปด้วยความรัก และความหลงใหลอันเปี่ยมล้นของพวกเขา ซึ่งนอกเหนือไปจากนี้ สิ่งหนึ่งที่ อาจารย์ เอ้ ได้บอกเล่าผ่านบทสนทนา ก็คือ เรื่อง ความกล้า กล้าที่จะคิดต่างหรือกล้าที่จะ คิดอย่างสร้างสรรค์นั่นเอง ซึ่งต้องเริ่มต้น มาจากความเข้าใจตัวเอง เข้าใจว่ารักใน สิ่งใด ต้องการได้อะไร ต้องการเป็นอะไร และสุ ด ท้ า ยคื อ จะต้ อ งท� ำ อย่ า งไร เมื่ อ รู ้ และเข้าใจสิ่งเหล่านี้อย่างถ่องแท้แล้ว จะ ท�ำให้มีความกล้าที่จะคิดให้แตกต่าง เพื่อ ตอบสนองให้ตรงและตอบโจทย์กับสิ่งที่เรา ต้องการ “คนเรามองเห็นโอกาสเสมอ ทั้งโอกาส ของความผิดพลาดและโอกาสของความ ส� ำ เร็ จ การมองเห็ น โอกาสของความผิ ด พลาด จะท�ำให้เราสามารถป้องกัน แก้ไข โอกาสที่ จ ะเกิ ด ความล้ ม เหลวได้ ม ากขึ้ น ขณะเดี ย วกั น การมองโอกาสของความ ส�ำเร็จ จะเป็นแรงขับ เป็นแรงบันดาลใจที่ จะผลักดันตัวเองให้ก้าวไปสู่ความส�ำเร็จ สิ่ง ทีม่ อี ย่างเดียว คือ ท�ำอย่างไรจะก้าวไปสูเ่ ส้น ชัย ก้าวไปสู่ความส�ำเร็จ แม้ว่าระหว่างทาง เราจะต้องเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือหลีก เลี่ยงสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ตาม แต่เราจะสามารถ ก้าวไปถึงเป้าหมาย ซึ่งเป็นจุดส�ำคัญที่สุด ได้ ถ้าเรามีความเชื่อในความมุ่งมั่น เชื่อใน ความเพียรพยายามของตนเอง” การได้ท�ำในสิ่งที่รัก ส�ำคัญที่สุดต้องมีความมุ่งมั่น เมือ่ กล่าวถึงเรือ่ งความสุขในการท�ำงาน อาจารย์เอ้ ก็ได้เผยแนวคิดเชิงบวกว่า “ถ้า เรารักสิ่งใดแล้ว ให้เราท�ำสิ่งนั้นจากความ รักที่มี ท�ำจากหัวใจเป็นที่ตั้ง แล้วสิ่งที่เหลือ ที่จะตามมา นั่นคือ ความสุข” “การได้ท�ำในสิ่งที่เรารัก ไม่ว่าคุณจะอยู่ ในช่วงวัยใดก็ตาม ส�ำคัญทีส่ ดุ ก็คอื คุณต้อง มีความมุ่งมั่น รักในสิ่งที่คุณท�ำ ข้อห้ามเด็ด ขาด คือ การกล่าวโทษว่าตนเอง ว่าองค์กร เพราะเมื่อใดก็ตามที่เราท�ำในสิ่งที่เป็นข้อ
ห้ามเหล่านี้ ผลที่ตามมา ก็คือ ความรักของ คุณจะหายหมด ชีวติ การท�ำงานในแต่ละวัน จะมีแต่ความทุกข์ ความสุขในการท�ำงาน จะหายไปทันที ผมมีความเชื่อว่าคนเราเกิด มาควรจะต้องด�ำรงชีวิตอยู่อย่างมีความ สุขที่สุด เพราะชีวิตคนเรานั้นสั้นนัก เมื่อ เรามีความสุขกับงานที่ท�ำ เราจะสามารถ สร้างประโยชน์ได้มากขึ้นในทุกๆ วันที่เรา ด�ำเนินชีวิตอยู่” นอกจากนี้ อาจารย์เอ้ ยังได้ให้ข้อคิด ดี ๆ เพิ่ ม เติ ม อี ก ว่ า “การประเมิ น ตนเอง เป็นสิ่งที่ดี แต่จะดียิ่งกว่า ถ้าเราสามารถ แยกแยะเหตุผลและอารมณ์ออกมา เพื่อ สร้างการแก้ไขที่สมเหตุสมผลกับเป้าหมาย ของเรา ไม่ใช่การเทไปตามอารมณ์ แล้วล้ม ลงไปกับความล้มเหลวที่เราล่ามตัวเองไว้”
แข่งขัน ซึ่งไม่เฉพาะเพียงสังคมการศึกษา อย่ า งมหาวิ ท ยาลั ย เท่ า นั้ น หากแต่ ภ าค อุตสาหกรรมก็ตกอยู่ในภาวะดังกล่าวด้วย เช่นกัน” อาจารย์เอ้ ตั้งค�ำถามว่า “ลองคิดดูว่า เป็นไปได้อย่างไร ที่ประเทศไทยทั้งประเทศ มีรายได้จากการส่งออกยางพาราน้อยกว่า รายได้ ข องบริ ษั ท ยางมิ ช ลิ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็นเพราะเรามัวแต่ย�่ำอยู่กับที่ ไม่ก้าวไป ไหน ไม่พัฒนา ดังนั้น ไม่ว่าจะกี่ปีผ่านไป ประเทศไทยจึ ง ยั ง ติ ด กั บ ดั ก ของการเป็ น ประเทศปานกลาง ประเทศที่ก�ำลังพัฒนา อยู่ตลอดเวลา”
ส่งต่อแนวคิดดีๆ สู่สังคมส่วนรวม และประเทศชาติ
ไมล์สโตนของ อาจารย์เอ้ ที่นับเป็น ความภาคภู มิ ใจในสายงานวิ ช าชี พ ด้ า น วิศวกรรม ก็คือ การได้รับต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ตั้ ง แต่ อ ายุ ยั ง น้ อ ยด้ ว ยความมุ ม านะและ ความสามารถในการไขว่คว้าโอกาสต่างๆ อยู่เสมอ อาจารย์เอ้ ได้ก้าวเข้ามารับต�ำแหน่ง ผู้ช่วยคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ในช่วงอายุ 30 ปี และต่อมาได้รับต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์ดา้ นการก่อสร้างอุโมงค์ใต้ดนิ เป็นคนแรกและคนเดียวของประเทศไทย เมื่อครั้งอายุ 37 ปี และต�ำแหน่งอันเป็น ความภาคภูมใิ จทีส่ ดุ ก็คอื การได้รบั เลือกตัง้ เป็นนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ซึ่งถือเป็น นายกฯ ที่มีอายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์
แนวคิดดีๆ ของ อาจารย์เอ้ ยังกว้าง ไกลไปถึงสังคมส่วนรวมและประเทศชาติ ด้วย โดย อาจารย์เอ้ ได้กล่าวว่า “สิ่งที่ต้อง ท�ำ คือ การคิดถึงส่วนรวม คิดถึงประเทศ ชาติเป็นหลัก ถ้าประเทศชาติอยู่ได้ เราก็ อยู่ได้ หากย้อนดูประเทศเกาหลี สมัยก่อน เขามี GDP เท่ากันกับประเทศไทย แต่เมื่อ เวลาผ่ า นไป ทุ ก วั น นี้ เ กาหลี พั ฒ นาก้ า ว น�ำประเทศไทยไปประมาณ 7-8 เท่าแล้ว สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่าประเทศไทย นั้ น ขาดจิ ต วิ ญ ญาณอั น ลุ ก โชนของการ เป็นนักสู้ ขาด Fighting Spirit ไม่ว่าจะท�ำ อะไร ประเทศไทยก็ ไ ม่ ก ล้ า ที่ จ ะออกไป
ไมล์สโตนแห่งความภาคภูมิใจ ร่องรอยความส�ำเร็จจากความมุ่งมั่นพยายาม
issue 158 APRIL 2016
P051-055_MO_Real Life_��.���������.indd 53
21-Apr-16 11:50:52 AM
54 REAL LIFE
วงการอุตสาหกรรมไทยทุกวันนี้ ยังขาด Missing Link หรือข้อต่อที่ จะท�ำให้เกิดการเชือ่ มโยงกันระหว่าง ผู้ประกอบการ สถาบันการศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนจากภาครัฐ ด้วยเช่นกัน
ด้านบทบาทของการเป็นอธิการบดี สจล. นั้น อาจารย์เอ้ ได้กล่าวว่า “ผมเป็นอธิการคน แรกที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบองค์กร น�ำรูป แบบการจัดการแบบ MIT มาใช้เป็นแห่งแรกใน ประเทศไทย มีการใช้ระบบ Provoke System เป็น ที่แรก ค่อยๆ หาช่องทาง ค่อยๆ ปรับเปลี่ยน ใช้ ความคิดสร้างสรรค์ ท�ำมหาวิทยาลัยให้มีความ แตกต่าง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเข้าไปอยู่ในใจคน จะเห็นได้ว่า สจล. ยุคนี้เปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ ชัด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างการบริหาร การ พัฒนาศักยภาพของมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ มีการทุ่มเทด้านการวิจัยและพัฒนาที่สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ได้จริงมากขึ้น รวมถึงเรื่องการ สร้างคนเพื่อออกไปแข่งขัน ผมพยายามสร้าง สจล. ให้เป็นมิติใหม่ ซึ่งต้องยอมรับว่าวันนี้ สจล. เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่ง เลยทีเดียว” นอกจากนี้ ยังมีเรื่องราวแห่งความประทับใจ อืน่ ๆ อีกหลายเรือ่ งทีส่ ะท้อนความเป็นตัวตนแห่ง ความมุง่ มัน่ พยายาม อย่างเช่น การไปนัง่ เฝ้าหน้า ห้องผูว้ า่ ราชการ กทม.ทุกวันเป็นเวลานานถึงสอง สัปดาห์ เพื่อเสนอผลงานเกี่ยวกับรถไฟฟ้าใต้ดิน ตั้งแต่สมัยที่บ้านเรายังไม่มีรถไฟลอยฟ้าบีทีเอส ซึ่งถือเป็นความพยายามอย่างยิ่งยวดในฐานะ วิศวกรคนหนึ่งที่พยายามผลักดันให้ประเทศไทย มีรถไฟฟ้าใช้ทุกวันนี้ ไม่นับรวมถึงเรื่องราวสมัย วัยเรียนที่พยายามสอบ TOEFL เพื่อไปศึกษาต่อ ต่างประเทศกว่า 10 ครั้ง โดยไม่เคยคิดจะล้มเลิก ความตั้งใจ แม้จะต้องสอบแล้วสอบอีกหลายต่อ หลายครั้ง จนเพื่อนๆ รุ่นเดียวกันได้ไปศึกษาต่อ ต่างประเทศกันหมดแล้ว
ชี้…ภาคอุตสหกรรมไทย ยังขาด Missing Link ที่เชื่อมโยงกัน ล่าสุด อาจารย์เอ้ ได้รบั ต�ำแหน่งเป็นทีป่ รึกษา รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ ยังได้ชี้ให้เห็นว่า “วงการอุตสาหกรรมไทยทุกวัน นี้ ยังขาด Missing Link หรือข้อต่อที่จะท�ำให้เกิด การเชื่อมโยงกันระหว่างผู้ประกอบการ สถาบัน การศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนจากภาครัฐ ด้วยเช่นกัน” อาจารย์ เ อ้ กล่ า วว่ า ผู ้ ป ระกอบการใน ภาคอุ ต สาหกรรมต้ อ งหั น กลั บ มาช่ ว ยพั ฒ นา ศักยภาพเด็กนักศึกษาที่จะเป็นแรงงานเข้าสู่ภาค อุตสาหกรรมด้วย ไม่ใช่เพียงแค่รอรับเด็กนักศึกษา ที่จบการศึกษาเข้าไปท�ำงาน เพราะนั่นอาจท�ำให้ ภาคอุตสาหกรรมไม่ได้บคุ ลากรทีต่ อบโจทย์ความ ต้องการอย่างแท้จริง เพราะหากผู้ประกอบการ ต้องการบุคลากรแบบไหนก็ควรจะเข้ามาช่วยกัน พัฒนา ต้องเข้ามาลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ร่วมกัน อีกเรื่องหนึ่งที่ส�ำคัญที่ต้องขับเคลื่อน ก็คือ งานวิจัยร่วม เนื่องจากประเทศไทย ผู้ประกอบ การส่วนใหญ่อยู่ในส่วนที่เป็นอุตสาหกรรมปลาย น�้ำ ผลิตสินค้าชิ้นใหญ่ แต่ราคาถูก ซึ่งที่จริงแล้ว ควรมุ่งผลิตสินค้าชิ้นเล็ก แต่ราคาแพงมากกว่า ซึ่งที่เป็นเช่นนี้ เพราะบ้านเราอ่อนเรื่องการวิจัย และพัฒนา อีกทั้งยังขาดการเพิ่มมูลค่า และไม่มี จิตวิญญาณแห่งนักสู้ อาจารย์เอ้ ยังได้เล่าให้ฟังว่า “ผมมีโอกาส ได้ ไ ปดู ง านที่ โรงงานกรุ น ด์ ฟ รอส ประเทศ เดนมาร์ก ซึ่งเป็นโรงงานผลิตปั๊มขนาดใหญ่ มี ความประหลาดใจหลายเหตุการณ์ทีเดียว เริ่ม ตั้งแต่เมื่อลงเครื่องที่โคเปนเฮเก้น และต้องเดิน ทางไปอีกไกลท่ามกลางป่าเขา เพราะโรงงาน ตั้งอยู่กลางป่า แต่ด�ำเนินการผลิตปั๊มกว่า 20 ล้านตัว คิดเป็นมูลค่ากว่าแสนล้านบาทต่อปี ซึ่ง ขณะที่ เ ดิ น ทางไปนั้ น บรรยากาศโดยรอบนั้ น มืดเหมือนตอนกลางคืน จะมีก็เพียงแสงสลัวๆ เพียงสีช่ วั่ โมงต่อวัน แต่เขาก็ทำ� งานได้ โดยภายใน โรงงานมีแรงงานคนเพียงแค่ 5 คนเท่านัน้ ทีเ่ หลือ เป็นการใช้เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ ขณะทีป่ ระเทศไทย มีครบครันทุกอย่าง ทัง้ ทรัพยากร ระบบการขนส่ง ต่างๆ ที่สะดวกสบายแต่กลับไม่พัฒนาเท่าที่ควร นั่นเพราะคนไทยเราขาดแรงจูงใจกับจิตวิญญาณ ต่างจากประเทศเกาหลีที่พัฒนาไปได้ไกลมาก นั่นเพราะเกาหลีบอกตัวเองเสมอว่า “เราจะแพ้ ญี่ปุ่นไม่ได้” เป็นแรงขับที่ท�ำให้คนทั้งประเทศ พยายามพัฒนาตนเองมาอยู่ในจุดที่เราเห็นกัน ในปัจจุบัน ซึ่งผมมองว่าบ้านเราสามารถท�ำได้ และท�ำได้ดีกว่าประเทศเหล่านี้มากมายนัก ถ้า หากเรามีผู้น�ำที่ดี เชื่อว่าภายในระยะเวลา 20 ปี ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างไม่ ยากเย็น”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P051-055_MO_Real Life_��.���������.indd 54
21-Apr-16 11:50:56 AM
REAL LIFE 55
ผู้บริหารที่ดีและมีความสุข ต้องรู้จัก ‘เชื่อใจคน’ จากเรือ่ งงานมาถึงไลฟ์สไตล์สว่ นตัว อาจารย์ เอ้ ได้เล่าว่า “ผมชอบเล่นกีฬาเป็นพื้นฐานอยู่ แล้ว เพราะเล่นกีฬามาตั้งแต่เด็ก และงานอดิเรก ที่ขาดไม่ได้เลย ก็คือ การอ่านหนังสือ เป็นคน รักการอ่านมาก ท�ำให้มีความรู้รอบด้าน เรียก ได้ว่าหายใจเข้าออกเป็นตัวอักษรได้เลย ในวัน ว่ า งส่ ว นใหญ่ มั ก จะออกไปขี่ จั ก รยานหรื อ ไปขี่ มอเตอร์ไซค์ Triumph คันโปรด ซึ่งได้น�ำไปไว้ที่ สจล.วิทยาเขตชุมพร ชอบไปขีม่ อเตอร์ไซค์บริเวณ รอบๆ มหาวิทยาลัย ดูนั่น ดูนี่แล้วก็คิดพัฒนา อะไรต่างๆ นานา นอกจากนี้ ยังชอบสะสมปืน สะสมปากกา ด้วยเหตุผลที่ว่าสิ่งเหล่านี้มีความ คล้ายคลึงกับเครื่องจักร สามารถมองเห็นกลไก การท�ำงานต่างๆ ได้ ขณะเดียวกันก็ชื่นชอบงาน ศิลปะ ชอบเสพงานศิลป์และรักการเดินทางท่อง เที่ยวคนเดียวอีกด้วย” ก่อนจะจบบทสนทนา อาจารย์เอ้ ยังได้ทิ้ง ท้ายว่า การจะเป็นผู้บริหารที่ดีและมีความสุขได้ นั้น เราต้องหัด ‘เชื่อใจคน’ ซึ่งแม้จะยาก แต่ก็ ต้องท�ำให้ได้ เพราะการจะท�ำงานใหญ่ให้ส�ำเร็จ ได้จ�ำเป็นต้องเชื่อใจคน ชีวิตคนเราจะไม่สนุกเลย
หากเชื่อใจคนไม่เป็น ถ้าเราไม่เชื่อใจคน ไม่เชื่อใจ ในความสามารถของบุคลากรรอบๆ ตัวเรา เราก็ จะท�ำงานได้แค่อย่างสองอย่าง แต่ถา้ เราคนทีเ่ ชือ่ ใจคน ฝากฝังสิ่งต่างๆ ฝากงานให้รับผิดชอบ เรา เองก็จะสามารถท�ำงานได้อย่างนับไม่ถ้วน ดังนั้น ถ้ารูจ้ กั เชือ่ ใจคน เราจะเป็นนักบริหารทีม่ คี วามสุข “จริ ง ๆ แล้ ว เราทุ ก คนต่ า งก็ ท� ำ งานด้ ว ย จิตวิทยากันทั้งนั้น การที่เราเจอคนหลากหลาย มันจะสอนเราให้รบั มือได้ เมือ่ เราเจอคนแบบหนึง่ เราก็ต้องรู้จักหาวิธีการจัดการที่ถูกต้อง ที่เหมาะ สมกับคนแบบนั้นๆ เราต้องศึกษาและท�ำความ เข้าใจ ‘คน’ เพื่อปรับตัวให้ได้หลากหลาย และ แน่นอนไม่เพียงแต่ใช้จิตวิทยาในการสื่อสาร แต่ เรายังคงต้อง ‘เชื่อใจ’ บุคคลต่างๆ ด้วย” ทั้งหมดนี้ คือ ตัวตนของ ‘อาจารย์เอ้’ ผู้ บริหารหนุม่ ไฟแรง ทีเ่ ปลีย่ น ‘ความเชือ่ ’ ให้กลาย เป็น ‘พลัง’ ซึ่งหากจะกล่าวว่าเขาคือต้นแบบหนึ่ง ของความส�ำเร็จ ที่เกิดจาก ‘ความเชื่อ’….‘เชื่อ ในสิ่งที่รัก และรักในสิ่งที่ท�ำ ก็คงจะไม่ผิดนัก เพราะทุกจังหวะของการด�ำเนินชีวิตของเขาล้วน มี แรงขั บ พื้ น ฐานมาจากความพยายามมุ ่ ง มั่ น และเขาผู้นี้ คือ อีกหนึ่งบทพิสูจน์ของประโยคสุด คลาสสิคทีว่ า่ ….‘ความพยายามอยูท่ ไี่ หน ความ ส�ำเร็จอยู่ที่นั่น’
EXECUTIVE SUMMARY Prof. Suchatchawee Suwansawas,Ph.D or Ajarn Ae enthusiastic executive that convert ‘belief’ into ‘power’, we could say that he’s a role model. His successful are coming from believe ‘believe in your love and love in what you do’, every step in his life has driven by his attempt and his path way has proven the quote ‘where there’s a will, there’s way’ Ajarn Ae has became Asst. Dean of Faculty of Engineering at King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang in the age of 30. He is the first and the only one Professor in Tunneling and Underground Space, Civil Engineering in Thailand at 37 years old and his proudest moment in lifetime job that he was a chairman of the Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage as the youngest chairman in the history.
issue 158 APRIL 2016
P051-055_MO_Real Life_��.���������.indd 55
21-Apr-16 11:51:00 AM
56 Green Zone Technology เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ก้าวต่อไปแห่งอนาคตของ
พลังงาน ‘ลม’ ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ก ้ า วหน้ า ไปอย่ า ง รวดเร็วของโลกทุกวันนี้ ส่งผลเป็นอย่างยิ่ง กับกิจการต่างๆ ทีม่ กี ารใช้หลักการวิจยั และ พัฒนา พลังงานลมเองก็เช่นกัน ด้วยเป้า หมายในการเพิ่มผลิตผลที่ได้ ลดรายจ่าย ทั้งต้นทุนและค่าดูแลรักษา ความทนทาน รวมถึงการขนย้ายต่างๆ ล้วนเป็นผลต่อ เนื่องมาจากเทคโนโลยีและงานวิจัยทั้งสิ้น มีปัจจัยหลักของการสร้างพลังงานลม คือ ขนาดของใบพัดทีใ่ ช้ในการก่อสร้างพลังงาน กลในเบื้องต้น ขนาดของกังหันที่แปรผันกับพลังงาน หนึง่ ในความท้าทายครัง้ ส�ำคัญของการ ค้นคว้าวิจัย คือ การหาวิธีสร้าง ‘ใบพัด’ ที่มี ขนาดใหญ่เกินกว่า 650 ฟุต ส�ำหรับกังหัน ลมนอกชายฝั่งที่มีก�ำลังในการผลิตไฟฟ้า ประมาณ 50 MW โดยในเบื้องต้นนั้นได้มี การใช้เทคโนโลยี Segmented Ultralight Morphing Rotor (SUMR) ซึ่งสามารถลด ภาระและการสึกหรอของใบพัดได้ ด้วยน�้ำ หนักที่เบา ท�ำให้สามารถปรับเข้าหาแรงลม ที่แปรผันได้อย่างราบรื่น เมื่อเกิดการปะทะ ลมทีม่ คี วามเร็วสูงตัวใบพัดจะปรับตัวเข้ากับ ทิศทางของลมจึงเกิดความเสียหายขึ้นน้อย มาก เมื่อเทียบกับรูปแบบที่เคยมีมา ยาม เมื่อเจอกับลมที่มีความเร็วต�่ำใบพัดจะปรับ ตัวให้เข้ากับแรงลมและท�ำการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าได้อย่างเต็มความสามารถ
เงื่อนไขส�ำคัญของการผลิต ค ว า ม ท ้ า ท า ย ค รั้ ง ส� ำ คั ญ ส� ำ ห รั บ กระบวนการผลิ ต และการออกแบบ คื อ ความต้องการขนาดใบพัดที่ใหญ่และเสาที่ สูงขึ้น โดยน�้ำหนักนั้นจะต้องมีไม่มาก รวม ถึงต้นทุนที่คุ้มค่าต่อการลงทุน แล้วอะไรที่ เป็นจุดเชื่อมระหว่างกับการลดน�้ำหนักของ ใบพัดลงกับการเพิ่มศักยภาพในการผลิต ไฟฟ้า หนึ่งในวิธีที่น่าสนใจ คือ การลดน�้ำ หนั ก ใบพั ด รวมถึ ง มวลต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ส่ ว น ประกอบของตัวกังหันลง อี ก ทางออกหนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ การ หาผ้ามาใช้คลุมเฟรมที่เป็นโลหะเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดการกับแรงลมและ ผลิตไฟฟ้า แม้แต่วิธีในการผลิตใบพัดเอง ก็เปลี่ยนไปเช่นกัน มีการใช้ 3D Printing เพื่อสร้างแม่พิมพ์ใบพัด และในส่วนของ กระบวนการขนส่งที่ท�ำได้ง่ายดายมากขึ้น จากรูปแบบ 3 ขั้นตอน ดังนี้ อันดับแรก ใช้คอนกรีตร่วมในการสร้าง เสาของกังหัน โดยเปลี่ยนจากรูปแบบเก่าที่ ขนส่งเสาเหล็กกล้าทัง้ ต้น อันดับต่อมาขนส่ง เหล็กที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการสร้างหรือ ปรับแต่งใดๆ และสุดท้าย คือ การเชื่อม หรือผลิต ณ สถานที่ติดตั้งจริง นอกจากนี้ ยังมีการพบว่ามีการสูญเสียลมที่ใช้ในการ สร้างกระแสไฟฟ้า โดยทางบริษัท GE ได้มี การแก้ไขปัญหานีด้ ว้ ยการสร้างกังหันระบบ ecoROTR ที่มีโดมครอบอยู่ตรงส่วนกลาง เพื่อจับลมที่กระจายออกนอกใบพัด
ความท้าทาย
ของกระบวนการผลิต และการออกแบบ คือ ขนาดใบพัดที่ใหญ่ เสาสูงขึ้น น�้ำหนักเบา และคุ้มค่ากับการลงทุน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P056-057_MO_Green Zone.indd 56
20-Apr-16 6:38:57 PM
Green Zone Technology 57
เทคโนโลยีพลังงานไกลฝั่ง บริษทั Carbon Trust ได้เปิดตัวโครงการ ทีส่ ร้างความตืน่ ตาตืน่ ใจขึน้ มาด้วยการตรวจ จับแสงที่ชื่อว่า Light Detection and Radar (LIDAR) ซึง่ ท�ำให้เห็นภาพของสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับ ระบบพลังงานลมได้อย่างมีรายละเอียด ลด ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับการสร้างแหล่งพลังงานลม ลงได้กว่า 45% หากเปรียบเทียบจะเหมือน การดูภาพถ่ายกับการดูวิดีโอสามมิติที่มา พร้อมกับระบบเสียงสมบูรณ์ หากท�ำการประมาณพลังงานลมจาก ทั่วโลกแล้วเราจะเห็นว่าแนวโน้มนั้นอาจ ผลิตได้ถึง 2,000 GW ภายในปี 2030 และ จะขานรับกับความต้องการพลังงานของ ประชาชนได้ถงึ 19% จากทัง้ หมด เราจะเห็น ได้ถึงแนวโน้มพลังงานหมุนเวียนที่ถูกปรับ แต่งแก้ไขให้มศี กั ยภาพทัดเทียมกับพลังงาน หลักที่ใช้กันอยู่ และพลังงานสะอาดเหล่า นี้ถือได้ว่าเป็นพลังงานหมุนเวียนที่ไม่มีวัน หมด ซ�้ำยังยังก่อมลภาวะในปริมาณที่น้อย มาก นอกจากนี้ ด้วยการติดตั้งในภาคพื้น ทะเลยังท�ำให้เกิดการสูญเสียพื้นที่การใช้ งานในปริมาณน้อยอีกด้วย
หากท�ำการ
ประมาณพลังงานลม จากทั่วโลก จะเห็นว่า แนวโน้มนั้นอาจผลิตได้ ถึง 2,000 GW ภายในปี 2030 และขานรับกับ ความต้องการพลังงาน ของประชาชนได้ถึง 19% จากทั้งหมด
เมื่อลองมองกลับมายังประเทศไทยที่การใช้ พลังงานหมุนเวียนจากลมยังไม่เป็นที่นิยมเท่าใด นัก เราจะพบเห็นถึงปัญหาเรื่องการขาดแคลน พลังงานและการน�ำเข้าพลังงานมากมาย แม้วา่ จะ เริม่ มีสว่ นของการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ทดแทน อยู่บ้างแต่ก็ถือเป็นส่วนน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับ การใช้งานทั้งหมด หากประเทศไทยปรับตัวและ เริม่ หันมาใช้พลังงานหมุนเวียนอย่างจริงจังก็คงดี ไม่น้อย เพราะจะสามารภลดสภาวะมลพิษต่างๆ อันเกิดจากการผลิตกระแสไฟฟ้าลงได้อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทัง้ ยังเป็นการรักษาสภาวะแวดล้อมอย่าง ยั่งยืนอีกด้วย
กังหันอัจฉริยะและเทคโนโลยี พลังงานสีเขียว
ด้วยการวิจัยและพัฒนาระบบในการตรวจ จับโหลดที่เกิดขึ้น ท�ำให้สามารถดูและตรวจสอบ สถานะของกังหันได้อย่างทันท่วงทีแบบ Real Time ทั้งยังสามารถปรับแต่งค่าต่างๆ และลด ต้นทุนได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ไม่เพียงแต่ใบพัด หรือระบบกังหันเท่านั้นที่ได้รับการพัฒนา ยังมี ระบบจ�ำลองการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากลม ที่ ถูกสร้างขึน้ มาเพือ่ ท�ำนายรูปแบบและสถานการณ์ การใช้งานจริง ท�ำให้สามารถค�ำนวณและตรวจ สอบสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับกังหันลมได้ โดยมีการ เตรียมพร้อมและพยากรณ์การซ่อมบ�ำรุงได้อีก ด้วย ยิ่งมีความเข้าใจในสภาวการณ์ที่เกิดขึ้น เท่าไร จะยิ่งสามารถพัฒนาเทคโนโลยีรวมถึง วางแผนรับมือ เพื่อสร้างผลผลิตได้อย่างเต็ม ศักยภาพ โดยไม่มี Downtime อีกด้วย
EXECUTIVE SUMMARY The wind energy is an interesting choice for renewable energy, it can improve productivity of electricity and reduced the material waste by research and development process. The size of blade is vary to energy productivity, with SUMR technology that support for blade’s maintenance and ecoROTR system that made the turbine operate with full efficiency. With the technology that monitor and show the turbine condition in real time, resulted in extremely cost reduction for maintenance and also provide more energy production effectively. This is a good choice for renewable energy that has advantage on clean energy, easier maintenance and less pollution.
issue 158 APRIL 2016
P056-057_MO_Green Zone.indd 57
20-Apr-16 6:39:00 PM
58 FACTORY VISIT เรื่อง: สาวิตรี สินปรุ | ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
โรงไฟฟ้า
จากชานอ้อย...
ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่
ขั้นตอนด�ำเนินงาน โรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ เป็นโรงไฟฟ้าชีวิมวลขนาด 36 MW โดย น�ำวัตถุดิบที่เหลือใช้ทางการเกษตรนั่นคือ ‘ชานอ้อย’ มาเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงส�ำหรับ การผลิตไฟฟ้า การด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า จะมีการท�ำสัญญาซือ้ เชือ้ เพลิงชานอ้อยจาก บริษัท น�้ำตาลทิพย์สุโขทัย จ�ำกัด เพื่อ ใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับหม้อไอน�้ำแรงดัน ต�่ำและไอน�้ำแรงดันสูง จากนั้นจึงจ�ำหน่าย ไฟฟ้าให้แก่โรงงานน�้ำตาล การไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค และส�ำหรับไว้ใช้เองในโรงงาน
ปัจจุบันโรงไฟฟ้าสามารถผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ประมาณ 61.4 MWh ต่อปี และผลิตไอน�้ำจ�ำหน่ายให้ โรงงานน�ำ้ ตาลทิพย์สโุ ขทัย 818,919 ตันต่อปี เทียบเท่าการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 34,437 tCO2 ต่อปี และ 188,251 tCO2 ต่อปี (รวม 222,688 tCO2 ต่อปี) โดยเครือ่ งจักรหลักทีใ่ ช้ในการผลิต คือ หม้อไอน�ำ้ ทีม่ จี ำ� นวน 3 ชุด ผลิตไอน�ำ้ ที่ 100 ตันต่อชัว่ โมง ทีแ่ รงดัน 40 บาร์ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 450 องศาเซลเซียส การด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าจะแบ่งเป็น 4 ช่วง สอดคล้องกับฤดูกาลผลิตของโรงงานน�ำ้ ตาล ได้แก่
เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน โรงงานน�้ำตาลหยุดการผลิตหรือ นอกฤดูหีบ (Off Season) โรง ไฟฟ้าจะผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้การ ไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคเพียงอย่างเดียว
เดือนธันวาคม – มีนาคม ฤดูหีบอ้อย (Crushing Season) ซึ่งโรงงานน�้ำตาลต้องใช้พลังงาน ค่อนข้างมาก โรงไฟฟ้าจะผลิตไอ น�้ำแรงดันสูงและไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้ โรงงานน�้ำตาลและการไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค โดยมีก�ำลังการผลิตสุทธิ 27 MW จ� ำ หน่ า ยให้ แ ก่ โ รงงาน น�้ำตาล 15 MW จ�ำหน่ายให้การ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 8 MW และน�ำ มาใช้เองภายในโรงไฟฟ้า 4 MW คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นประมาณ 42%, 22% และ 16% ตามล�ำดับ
เดือนเมษายน – สิงหาคม ฤดูละลายน�้ำตาล (Remelt Season) ซึง่ โรงงานน�้ำตาลใช้พลังงาน ไม่ ม ากนั ก โรงไฟฟ้ า จะผลิ ต ไอ น�้ ำ แรงดั น ต�่ ำ และไฟฟ้ า จ� ำ หน่ า ย ให้ โ รงงานน�้ ำ ตาลและการไฟฟ้ า ส่วนภูมิภาค
เดือนกันยายน ช่วงการหยุดเพื่อซ่อมบ�ำรุงรักษา เครื่องจักรของโรงไฟฟ้า (Plant Shut Down) โรงไฟฟ้าจะหยุด การผลิตไฟฟ้า และรับซื้อไฟฟ้า จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเข้ามาใช้ ภายในโรงไฟฟ้าแทน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P058-059_MO_Factory Visit.indd 58
20-Apr-16 5:27:27 PM
FACTORY VISIT 59
รางวัลแห่งความส�ำเร็จ
ความส�ำเร็จของโรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย
โรงไฟฟ้าทิพย์สโุ ขทัย ไบโอเอนเนอยี่ ใช้เทคโนโลยี ที่มีกระบวนการไม่ยุ่งยาก สามารถน�ำไปประยุกต์ ด�ำเนินการให้กับโรงงานในที่พื้นที่มีวัตถุดิบชีวมวล เพียงพอ โดยอาจมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดและ ก�ำลังการผลิตให้มีความเหมาะสม จนสามารถคว้า รางวัลดีเด่น ด้านพลังงานทดแทน Thailand Energy Award 2015 และรางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Award 2015 ประเภทโครงการพลังงานความร้อน ร่วมจากพลังงานหมุนเวียน (Co-Generation) ซึ่ง เป็นแบบอย่างที่ดีแก่หน่วยงานอื่นๆ ในการร่วมกัน สร้างสรรค์พัฒนาพลังงานของประเทศ
ความส�ำเร็จในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากความคิดที่ ต้องการต่อยอดโรงงานน�้ำตาลทิพย์สุโขทัย มีชาน อ้อยที่ได้จากกระบวนการผลิตน�้ำตาลปริมาณมาก จึงได้ออกแบบจัดตั้งโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�ำลัง การผลิตติดตั้ง 36 MW ภายในบริเวณโรงงาน น�้ำตาล โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อน�ำชานอ้อยที่ เหลือจากกระบวนการหีบสกัดน�้ำอ้อยของโรงงาน น�้ำตาลมาใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยน�ำมาเป็น วัตถุดิบเชื้อเพลิงส�ำหรับผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำเพื่อใช้ ในกระบวนการผลิตของโรงงานน�้ำตาลและจ�ำหน่าย ให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ช่วยเสริมสร้าง ความมั่นคงด้านพลังงานให้แก่โรงงานและระบบ ไฟฟ้าในจังหวัดสุโขทัย
EXECUTIVE SUMMARY Thip Sukhothai Bio Energy is 36 MW power plant that has an objective to convert leftover bagasse from cane juice productivity into the fuel to operate lowhigh pressure steam boiler and turn into energy for sugar factory and PEA. Thip Sukhothai power plant operating with simple method, this method can apply to any field that has enough bio energy by modify some procedure and production capacity to be appropriate. The power plant got the Outstanding Prize in alternative energy from Thailand Energy Award 2015 and the First Prize from ASEAN Energy Award 2015 in thermal energy co-generation with renewable energy. Thip Sukhothai power plant became a role model for the other agency in term of national energy creativity.
issue 158 APRIL 2016
P058-059_MO_Factory Visit.indd 59
20-Apr-16 5:27:32 PM
60 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข
TIME FOR VALUE ADDED RUBBER? หมดยุคทองยางพารา ได้เวลาขายทองรูปพรรณ
ปัญหายางพาราในประเทศไทยในมุม มองของคนทั่วไป อาจเห็นว่าเป็นปัญหา ของเศรษฐกิจและถูกการเมืองแทรกแซง ถ้ามองในมุมของมหภาคแล้วยางพาราถูก มองว่าเป็นสาเหตุหนึ่งของการท�ำลายสิ่ง แวดล้อมและระบบนิเวศน์ในระดับโลกที เดียว ท่านคงอยากทราบว่ายางพาราจาก ป่าร้อนชื้นในลุ่มน�้ำแอมะซอนท�ำไมกลาย เป็นพืชอัศจรรย์ที่ปลูกได้เกือบทุกพื้นที่ที่ ใกล้เส้นศูนย์สูตร และในอนาคตโลกเรายัง ต้องใช้ยางจากต้นยางพาราอีกต่อไปหรือไม่ ในเมือ่ ยางธรรมชาติอาจ สูย้ างสังเคราะห์ไม่ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อน�ำไปผลิตตุ๊กตา ยางหรือใช้ในทางการแพทย์ ราคาตลาดยางที่ ผั น ผวนในระดั บ นี้ สาเหตุหลักเกิดจากความต้องการในตลาด ลดลง และราคายางสั ง เคราะห์ ซึ่ ง เป็ น ผลพลอยได้จากน�้ำมันถูกลง อันเนื่องมา จากราคาน�้ำมันดิบโลกลดลง และแน่นอน
ที่ สุ ด ที่ เ กิ ด จากชาวอาเซี ย นเองที่ แ ห่ กั น ปลูกยางพารา โดยหวังในความร�ำ่ รวยมาก เกินไป หรือจะให้โทษนักวิทยาศาสตร์ชาว จีน ที่พัฒนายางพาราให้สามารถปลูกได้ ในแทบทุกพื้นที่ในอาเซียน ไม่เฉพาะแต่ ป่ า ดิ บ ชื้ น แบบลุ ่ ม น�้ ำ แอมะซอนเหมื อ น แต่ก่อน ซึ่งปลูกได้เฉพาะพื้นที่ปลายด้าม ขวานของไทย มาเลเซี ย และอิ น โดนี เซี ย แต่ปัจจุบันยางพาราปลูกได้ทั่วทุกภาคของ ไทย รวมทั้งเพื่อนบ้านของไทย กัมพูชา เวียดนาม และเมียนมาร์ และประเทศทีป่ ลูก ยางพารามากที่สุดในอาเซียนและในโลกก็ คือ อินโดนีเซีย แต่ประเทศทีไ่ ด้ผลผลิตมาก ที่สุดคือประเทศไทย ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ปริมาณเนื้อที่ การปลูกยางของโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 73.14 ล้านไร่ ในปี 2554 เป็น 77.60 ล้านไร่ในปี 2558 ส่วนผลผลิตจากยางพารา ในตลาดโลกนัน้ เพิ่มขึ้นจาก 11.28 ล้านตัน
แหล่งก�ำเนิดของต้นยางพารา (RUBBER TREE) เป็นพืช ที่ชอบภูมิอากาศอบอุ่นและมีฝนตกชุก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เขตเส้นศูนย์สูตรแบบไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และในเขตลุ่มน�้ำ แอมะซอน ของทวีปอเมริกาใต้ต้นก�ำเนิดของต้นยางพารา เมื่อ แรกเริ่มของการใช้ประโยชน์จากยางพาราได้น�ำมาผลิตเป็นของใช้ เช่น รองเท้า เสื้อคลุม ฯลฯ ซึ่งใช้ยางพาราในยุคแรก ๆ ยังประสบ ปัญหาการละลายของยางเมื่อเจอความร้อนในฤดูร้อน และเมื่อ อากาศเย็นก็จะสูญเสียความยืดหยุ่นจนกระทั่งปี พ.ศ. 2383 หรือ ราว 176 ปีมาแล้ว นักประดิษฐ์ชาวอเมริกันได้ค้นพบวิธีท�ำให้ยาง คงสภาพอยู่ได้ในสภาพอากาศทั้งร้อนและหนาว จึงมีการใช้ยาง ธรรมชาตินี้อย่างกว้างขวางขึ้น ราวกับกระแสน�้ำที่ไหลออกเมื่อ เปิดประตูระบายน�ำ้ นอกจากนี้ยางยังเป็น 1 ใน 3 ของปัจจัยหลัก ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเมื่อราว 150 ปีก่อน ในสมัยนั้นต้อง มี 3 วัตถุดิบหลัก ๆ คือ เหล็กกล้าเพื่อผลิตชิ้นส่วน เชื้อเพลิงจาก ฟอสซิลเพื่อใช้เป็นพลังงาน และยางเพื่อใช้เชื่อมต่อและปกป้องชิ้น ส่วนทีม่ กี ารเคลือ่ นไหว เช่น ใช้เป็นสายพาน หรือเป็นซีลป้องกันการ รั่วซึม เป็นท่อยางที่สามารถดัดโค้งงอได้ทุกรูปแบบ ฯลฯ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P060-062_MO_Renewable Energy.indd 60
20-Apr-16 5:28:28 PM
RENEWABLE ENERGY
อดีตที่ควรจดจ�ำ ของยางพารา
ในปี 2554 เป็น 12.00 ล้านตันในปี 2558 เมื่อราคายางสูงขึ้น ท�ำให้เป็นเหตุจูงใจให้มี การขยายพื้นที่ปลูกยางเพิ่มตั้งแต่ปี 2547 โดยผู ้ ผ ลิ ต ยางพารารายใหญ่ ข องโลก 3 ประเทศได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย มี เนื้อที่ปลูกยางพารารวม 46.50 ล้านไร่ คิด เป็นร้อยละ 59.92 ของเนื้อที่ปลูกยางพารา ของโลก ผลผลิตรวม 8.36 ล้านตัน ส่ ว นความต้ อ งการใช้ ย างพาราของ ประเทศจีนนั้นมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสวน ทางกับทางยุโรปและประเทศญี่ปุ่น ความ ต้องการใช้ยางของประเทศจีนในช่วง 5 ปีที่ ผ่านมา มีอัตราการใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 3.60 ล้านตันในปี 2554 เป็น 5.00 ล้านตัน ในปี 2558 เนือ่ งจากประเทศจีนมีการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอย่างต่อ เนือ่ ง ส่วนยุโรปมีความต้องการใช้ยางพารา ลดลงจาก 1.24 ล้านตันในปี 2554 เหลือ 1.13 ล้านตันในปี 2558 อินเดียต้องการใช้ ยางเพิ่มขึ้นจาก 0.96 ล้านตัน ในปี 2554 เป็น 1.05 ล้านตันในปี 2558 สวนทางกับ สหรัฐอเมริกาที่ใช้ยางลดลงจาก 1.03 ล้าน ตันในปี 2554 เหลือ 0.91 ล้านตันในปี 2558 เช่นเดียวกับญี่ปุ่น ที่ใช้ยางลดลงจาก 0.77 ล้านตันในปี 2554 เหลือ 0.70 ล้านตันในปี
พืชประหลาดชนิดหนึง่ ซึง่ ปัจจุบนั หากนึกถึงยาง หลายท่านมักนึกถึงยางสังเคราะห์ ความจริง แล้วยางในโลกนีก้ ว่า 40% มาจากต้นไม้ และส่วนใหญ่กค็ อื มาจากยางพารา พืชประหลาดทีว่ า่ นี่แหละ ขอสรุปอดีตที่รุ่งเรืองและปัจจุบันที่ร่วงโรยมาเป็นบทเรียน ดังนี้
ยางพารา ต้ น ไม้ อั ศ จรรย์ ข องประเทศ บราซิลที่สร้างความร�่ำรวยให้ชาวบราซิล ได้เดินทางข้ามโลกมาจากทวีปอเมริกาใต้ กว่า 50 ล้านต้นไปเติบโตอยูใ่ นเอเชีย และไม่ กีป่ ถี ดั มายางพาราจากเอเชียก็ไหลสูต่ ลาด ยางโลกอย่างท่วมท้น ท�ำให้ราคายางใน บราซิลดิ่งลง อุตสาหกรรมยางพาราพัง ราบลงอย่างหน้าตกใจในเวลาเพียงไม่กี่ เดือน ชาวสวนยางในบราซิลจะโกรธแค้น ชาวอาเซียนอย่างไร ก็คงไร้ผล
ปริมาณการผลิตน�้ำยางธรรมชาติของ โลก ประมาณ 4 ล้านตัน เพิ่มขึ้นเป็นเกือบ 12 ล้านตันในปัจจุบนั ชาวเอเชียตะวันออก เฉียงใต้หรืออาเซียน ต้องแผ้วถางพื้นที่ กว่า 46,600 ตารางกิโลเมตร ไม่เพียง แต่เป็นการคุกคามระบบนิเวศน์ และความ หลายหลายทางชีวภาพเท่านั้น แต่ยังจะ ตามมาด้วยปัญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว (Monoculture) ซึ่งจะเกิดผลกระทบต่อ การท�ำหน้าที่ทางนิเวศวิทยาระดับพื้นฐาน ของภูมิภาค
2453
2526
2478
มหาเศรษฐี ช าวอเมริ กั น เคยพยายาม เนรมิ ต สวนยางขนาดครึ่ ง หนึ่ ง ของรั ฐ นิวเจอร์ซีย์ และปรากฏว่าต้นยางพาราที่ ปลูกนั้นตายหมดในเวลาไม่กี่เดือน นับเป็น หายนะทางระบบนิเวศน์ และความพินาศ ทางเศรษฐกิ จ อั น เนื่ อ งจากสภาพทาง ภูมิศาสตร์ ไม่เหมาะสมกับต้นยางพารา ทั้งความชื้น และดินที่มีทรายมากเกินไป
2558 ท�ำให้ผู้ผลิตยางต้องพึ่งพาตลาดจีน มากขึ้น และการส่งออกยางของโลกเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 5.45 ต่อปี โดยไทยส่งออกเป็น อันดับหนึง่ 3.70 ล้านตัน อินโดนีเซียส่งออก
สัดส่วนการปลูกยางพารา
61
2558
ประเทศไทย เกิดเหตุประท้วงจากชาวสวน ยางอันเนื่องจากราคายางตกต�่ำลงเหลือ เกื อ บ 4 กิ โ ลกรั ม ต่ อ 100 บาท จาก สมัยที่เคยรุ่งเรืองยางได้ราคากิโลกรัมละ กว่า 100 บาท ฤๅว่าประวัติศาสตร์จะซ�ำ้ รอย หรือเวรกรรม online หรือได้เวลาที่ ประเทศไทยจะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ น�ำยางดิบมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่ม มูลค่าขึ้นอีกกว่า 10 เท่าตัว เฉกเช่นยุค เฟือ่ งฟูของพลอยจันทบุรี วันนีจ้ นั ทบุรไี ม่มี พลอย แต่ก็ยังเป็นศูนย์กลางของอัญมณี
เป็นอันดับสอง 2.70 ล้านตัน มาเลเซียเป็น อันดับสาม 1.26 ล้านตัน และเวียดนามส่ง ออกเป็นอันดับสี่ 1.00 ล้านตันในปี 2558
92% ทวีปเอเชีย
ทวีปแอฟริกา
5% ทวีปอเมริกา
3%
issue 158 APRIL 2016
P060-062_MO_Renewable Energy.indd 61
20-Apr-16 5:28:32 PM
62 RENEWABLE ENERGY
เราไม่อาจโทษหรือต�ำหนิชาวสวนยาง ในอาเซียนได้เลย พวกเขายากจนกันมานาน วันนี้มีพืชที่ปลูกแล้วท�ำให้เขาเหล่านั้นหลุด พ้นจากหนี้สินและสร้างความร�่ำรวยลืมตา อ้าปากได้ พร้อมด้วยรถปิคอัพคันงามอัน เป็นสัญลักษณ์ของความหายนะทางระบบ นิเวศน์ ยางรถปิคอัพ ก็คือ ผลพวงจาก ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำให้เขาเหล่านั้นมีวันนี้ ... เจ้าพืชประหลาดที่เรียกว่ายางพารา ช่างมีสายใยชีวิตที่ยืดยาวราวกับแมวเก้า ชีวิต เริ่มจากเมื่อเติบโตเต็มวัยก็สามารถให้ น�้ำยางสม�ำ่ เสมอเกือบตลอดระยะเวลา 20 ปี ไม่ตา่ งกับการได้สมั ปทานจากภาครัฐ และ เมื่อแก่ตัวให้ผลผลิตน�้ำยางไม่ดี ก็สามารถ
น�ำไปผลิตเฟอร์นิเจอร์และของใช้แทบทุกชนิด และท้ายสุดเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าแทน ถ่านหินได้เป็นอย่างดี ส่วนน�้ำยางพาราได้ กลายเป็นผลิตภัณฑ์ในชีวิตประจ�ำวัน ตั้งแต่ ท�ำถนน ยางล้อรถต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ของใช้ใน บ้านไปจนถึงถุงยางอนามัย ถึงแม้ว่าจะมียาง สังเคราะห์มาเป็นคูแ่ ข่งก็ตาม แต่ยางธรรมชาติ จะมีความแข็งแกร่งมากกว่า ยืดหยุ่นกว่า และ ทนต่อแรงสัน่ สะเทือนได้ดกี ว่ายางสังเคราะห์ . ..ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ป ระเทศไทยต้ อ งน� ำ ยางพารามาผลิตสินค้าขายให้มากขึ้น แทน การขายเป็นวัตถุดบิ ซึง่ คงไม่ตา่ งจากการน�ำ ทองค�ำมาผลิตเป็นทองรูปพรรณเพื่อเพิ่ม มูลค่านั่นเอง
EXCUTIVE SUMMARY Time for value added rubber? The phenomenon of rubber’s prices vary in Thailand are interesting. The price went down from 120 baht per kilograms to 40 baht per kilograms in the last couple years. The plantation area has risen to 18.85 million rai in 2015. However the yield has decreased to 237 kilograms per rai. This result has an affected from government policy to extend the cultivated area. Nowadays, Thailand is the second largest rubber plantation
ส� ำ หรั บ ประเทศไทย การผลิ ต ยางพารา ใช้ เ นื้ อ ที่ ก รี ด ยางเพิ่มขึ้นเป็น 18.85 ล้านไร่ในปี 2558 ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 4.42 ล้านตัน แต่ผลผลิตต่อไร่ลดลงเหลือ 237 กิโลกรัมต่อ ไร่ เนื่องจากนโยบายช่วยสนับสนุนการขยายเนื้อที่ปลูกของ รัฐบาล ซึง่ ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีเนือ้ ทีป่ ลูกยางพาราเป็นอันดับ 2 ของโลก แต่มีผลผลิตยางมากที่สุด และยังมีความต้องการใช้ ยางพาราเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็น 582,000 ตันในปี 2558 เป็นผล จากการขยายฐานการผลิตของอุตสาหกรรมจากต่างประเทศ ทัง้ อุตสาหกรรมยางล้อ อุตสาหกรรมท�ำถุงมือยาง ท�ำให้การส่ง ออกของไทยเพิ่มขึ้นเป็น 3.70 ล้านตัน เนื่องจากจีนและอินเดีย มีความต้องการเพิ่มมากขึ้น ส่วนแนวโน้มการส่งออกยางแท่ง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.91 ตามความต้องการของตลาด
in the world. The demand on rubber is 582,000 tons in 2015 because of the expansion in tires and rubber gloves manufacturing industries from foreign companies in Thailand. Thailand exports 3.7 million metric tons of rubber to China and India. The export of TSR (Block rubber) expects to increase 7. 91% this year from the demand in the market. In order to increase the value in this industry, we should increase the value of rubber. Today, rubber trees were long live as getting the concession from the
government. The old rubber trees with low or no latex can be produced furniture’s and feedstock to generate electricity as coal substitution. The latex becomes our daily usage, such as, roads, condoms, tires and etc. The synthetic latex has become the challenger today but the natural latex still has more durability and flexibility. This is the time for Thailand to turn rubber into versatile products rather than sell it as the raw material. That’s why turning raw gold into gold jewelry make much more money.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P060-062_MO_Renewable Energy.indd 62
20-Apr-16 5:28:33 PM
เรื่อง: ปัญญา มัฆะศร INTERNET OF THING 63
ไม่ตกเทรนด์ยุคอุตสาหกรรม 4.0
ต้องรู้จักเทคโนโลยี Virtual Reality และ Augmented Reality ความจริงเสมือน (Virtual Reality)
คื อ การจ� ำ ลอง 3 มิ ติ ซึ่ ง สร้ า ง โดยคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ รี ย กว่ า ‘Virtual Environment’ (VE) หรือ สภาพแวดล้อม เสมื อ นจริ ง หมายถึ ง การใช้ โ ปรแกรม คอมพิ ว เตอร์ จ� ำ ลองภาพเสมื อ นจริ ง เพื่ อ กระตุ ้ น การรั บ รู ้ ป ระสาทสั ม ผั ส ทั้ ง 5 ของ ร่างกายมนุษย์ เพื่อให้เกิดความรับรู้ทั้ง การ ได้ยิน การกลิ่น การมองเห็น การสัมผัสหรือ แม้กระทั่งการลิ้มรสก็ตาม โดย ผู้ใช้สามารถเลือกทิศทาง เช่น การ เคลื่ อ นย้ า ยสถานที่ การเปลี่ ย นแปลงมุ ม มองและการตอบโต้กับประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่ น เคลื่ อ นย้ า ยสิ่ ง ของในสภาพแวดล้ อ ม เสมือนจริงได้ โดยแนวคิดหลัก (Major of Concepts) ของเทคโนโลยีดังกล่าวนี้ คือ VR จ�ำเป็นต้องสามารถให้ผู้ใช้สามารถดู (View) สภาพแวดล้อมจากต�ำแหน่งและมุมใดๆ ได้ อย่างสมบูรณ์ และ VR จ�ำเป็นต้องสามารถ ให้ผู้ ใช้สามารถโต้ตอบ (Interactive) กับ วัตถุในสภาพแวดล้อมได้อย่างสมบูรณ์ โดย ระบบคอมพิวเตอร์ยังท�ำหน้าที่ตรวจจับการ เคลื่อนไหวของมนุษย์หรือการโต้ตอบต่อสิ่ง เร้าทีก่ ระตุน้ จากนัน้ โปรแกรมอัลกอริทมึ จะเกิด การเปลี่ยนแปลงต่อสิ่งที่มนุษย์เกิดปฏิกิริยา โต้ตอบอย่างฉับพลัน
อุตสาหกรรม 4.0 จะเปลีย่ นการเซลล์การผลิต ที่แยกจากกันในยุคก่อนปรากฏ มาสู่การบูรณา การร่วมกันอย่างอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของกระบวนการผลิ ต และการลดของเสี ย จาก กระบวนการผลิตทีเ่ ปลีย่ นแปลงความสัมพันธ์ของ การผลิตแบบเดิมๆ ในกลุ่มผู้ผลิต ซัพพลายเออร์ และลูกค้าน�ำไปสู่การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ของ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรใน สภาพแวดล้อมทางอุตสาหกรรมได้อย่างลงตัว การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเหล่านีช้ ว่ ยเพิม่ การ สื่อสารการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์การ ผลิต โดยช่วยในการระบุและหลีกเลีย่ งข้อผิดพลาด ของการออกแบบในขัน้ ตอนเริม่ ต้นของการพัฒนา
และช่วยลดจ�ำนวนของต้นแบบทางกายภาพและ ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ยส�ำหรับองค์กร นอกจากนี้ บางองค์กรยังใช้เป็นสื่อประกอบ องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานของพนักงานที่ใช้ ศึกษาขัน้ ตอนการท�ำงานของเครือ่ งจักร ชือ่ หน้าที่ หลักของชิน้ ส่วนของเครือ่ งจักรกลต่างๆ ในแต่ละ ชิ้น รวมไปถึง ขั้นตอนการเสนอแนะหรือชี้แนะ การซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรที่เกิดการเสียหายด้วย เทคโนโลยี VR/AR ดังนั้น ทั้ง VR และ AR จึงเป็นเครื่องมือที่ ง่ายต่อการท�ำความเข้าใจในการติดต่อระหว่างผู้ ใช้งานไปยังส่วนพืน้ ทีข่ องการออกแบบผลิตภัณฑ์ ในสภาพแวดล้อมที่เสมือนจริงด้วยคอมพิวเตอร์ ทีส่ ร้างสภาพแวดล้อมแบบสามมิติ
ความจริงเสมือนสามารถอธิบายได้ ด้วยหลักพื้นฐานได้ว่า
ความจดจ่อทางร่างกาย = การที่ผู้ใช้รู้สึก ตัดขาดจากโลกแห่งความเป็นจริงสามารถ ระดับที่ 1 Fully Immersive System คือ ผู้ใช้รสู้ กึ ตัดขาดจากโลกจริงอย่างสมบูรณ์แบบ โดยสภาพแวดล้อมเสมือนจริง ระดับที่ 2 Semi-Immersive หรือ NonImmersive System คือ ผู้ใช้ยังสัมผัสกับ โลกจริงอยู่ ระดับความจดจ่อทางร่างกายอาจ ส่งผลถึง ‘ความมีอยู่’ โดย ‘ความมีอยู่’ คือ ผู้ใช้กระท�ำสิ่งต่างๆ ขณะที่อยู่ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงคล้าย กับสถานการณ์จริง ซึ่งมีความแตกต่างกันใน แต่ละบุคคล issue 158 APRIL 2016
P63-64,67_TECH FOCUS.indd 63
21-Apr-16 9:30:48 PM
64 INTERNET OF THING
รูปที่ 1: From Real-Life to Virtual Reality รูปที่ 1: From Real-Life to Virtual Reality
ความโดดเด่นของ Virtual Reality
เทคโนโลยี VR นิยมใช้สำ� หรับการแสดงผลรูปทรง ที่เป็นจริงของสินค้า (วัสดุพื้นผิว สี) และพฤติกรรม เทคโนโลยี VR ใช้ ในการแสดงผลขั้นสูงที่ช่วยให้ วิศวกรสามารถสัมผัสต้นแบบที่เสมือนเหมือนจริง รูป ที่ 2 (บนซ้าย) แสดงระบบ VR ที่ประกอบไปด้วย: ชุด อุปกรณ์แสดงผลแบบสวมศีรษะ (Head Mounted Displays: HMD) ที่ประกอบไปด้วยจอแสดงผลแบบ LCD ขนาดเล็กและเซนเซอร์ตรวจจับการต�ำแหน่งการ หมุนของศีรษะทีช่ ว่ ยให้วศิ วกรสามารถมองเห็นมุมมอง เชิงพื้นที่ในต้นแบบเสมือนจริงได้มากยิ่งขึ้น ดังรูปที่ 2 (ภาพล่างด้านขวามือ) โดยการรับรู้ด้วยการมองวัตถุ แบบ 3 มิติ (Visual interfaces) ประกอบไปด้วยตัวแปร ที่ส�ำคัญดังนี้ คือ “Field of View” (FOV) คือ ค่า ขอบเขตการมองเห็นเป็นสมบัตทิ แี่ สดงถึงพืน้ ทีก่ ารมอง เห็นวัตถุของกล้องทีป่ ระกอบไปด้วย ความละเอียดของ ภาพ (Resolution), Refresh Rate คือ จ�ำนวนอัตรา รวมของการสร้างภาพใหม่ หรือ Refresh ต่อวินาที (หน่วยเป็น Hz) ความสว่างของแสง (Brightness) และ สี (Color)
คุณลักษณะหลักของเทคโนโลยี VR
-- ความละเอียด (Resolution) -- ความแม่นย�ำ (Accuracy) -- การตอบสนองต่ อ ระบบใช้ ง าน (System Responsiveness) เช่น Sample Rate, Data Rate, Update Rate และ Latency เป็นต้น
รูปที่ 2: ชุดอุปกรณ์สวมศีรษะ (Head mounted displays: HMD) กับจอแสดงผลและมุมมองของ ต้นแบบเสมือนจริง ตามลำ�ดับ
โดยที่เทคโนโลยี Augmented Reality: AR หรือ ‘แบบจ�ำลองเสมือนจริง’ เป็นการผสมผสานภาพระหว่างเครื่องยนต์ของรถยนต์จริงกับภาพวัตถุจ�ำลองที่ สร้างขึน้ แสดงบนคอมพิวเตอร์ทแี่ สดงรายละเอียดต่างๆ ของเครือ่ งยนต์ เช่น การ บ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์หรือการท�ำงานของชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ เทคโนโลยี AR หน้าที่เสริมสร้างมุมมองของผู้ใช้ในโลกแห่งความจริงกับวัตถุ เสมือนจริงทีม่ อี ยูใ่ นเวลาทีเ่ หมาะสมและต�ำแหน่งทีเ่ กีย่ วกับมุมมองของผูใ้ ช้ ดังรูป ที่ 3 แสดงตัวอย่างส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงจากความเป็นจริง (หน้า 70) และ (รูป ที่ 1 ภาพซ้ายมือ คือ สภาพรถยนต์จริง) ส่วนเทคโนโลยี VR ที่แสดงโมเดลจ�ำลอง ของรถยนต์ในแบบ 3 มิติทั้งหมด
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P63-64,67_TECH FOCUS.indd 64
21-Apr-16 9:30:49 PM
K
CMY
CY
MY
CM
Y
M
C
AD_I.N.B.pdf 1 6/23/2014 5:27:44 PM
066_Rittal_15-1-59.pdf 1 15-Jan-16 11:52:00 AM
Your Home4Energy Infrastucture solutions for energy storage systems
C
M
Y
CM
MY
CMY CY
K
INTERNET OF THING 67
รูปที่ 4: อุปกรณ์ Hand Master ถุงมือ (Glove) และ Arm Master ในระบบเสมือนจริง
รูปที่ 3: การใช้อุปกรณ์ตามวัตถุประสงค์เฉพาะ และให้ความรู้สึกของการแสดงตัวตนในสถานการณ์เสมือนจริง
Types of VR Immersive
การใช้อุปกรณ์ตามวัตถุประสงค์เฉพาะและให้ความรู้สึกของการแสดงตัวตนในสถานการณ์เสมือนจริง แสดงดังรูปที่ 3. ดังนั้น เทคโนโลยี VR และ AR จึงเป็นเทคโนโลยีที่มีความส�ำคัญส�ำหรับงานวิศวกรรมพื้น ฐาน ส�ำหรับการสร้างต้นแบบเสมือนของการท�ำงานที่ช่วยให้วิศวกรสามารถวิเคราะห์รูปร่างรูปแบบและ พฤติกรรมการท�ำงานของผลิตภัณฑ์ในอนาคตในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงได้ รวมไปถึงการโต้ตอบกับผู้ใช้ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีการสัมผัส ในระบบ VR วิศวกรที่มีการน�ำทางใน 3 มิติ ในพื้นที่และการจัดการกับวัตถุแบบ 3 มิติ ดังนั้น อุปกรณ์ VR ที่ใช้งานเฉพาะเจาะจง ส�ำหรับการปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ อาทิเช่น ถุงมือ Hand Master และ Arm Master เป็นต้น ดังรูปที่ 4. ที่ได้รับความช่วยเหลือจากระบบติดตามต�ำแหน่งแบบ 3D โดยระบบ VR สามารถรับรู้ ต�ำแหน่งและทิศทางของการใช้งานในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงได้เป็นอย่างดี
เทคโนโลยีการสัมผัส (Haptic Interfaces)
คือ การตอบรับจากการสัมผัสที่จะสร้างความรู้สึกจาก การสัมผัส โดยใช้แรงสัน่ สะเทือนหรือการเคลือ่ นไหวให้กบั ผู้ใช้ การกระตุน้ นีส้ ามารถน�ำมาใช้ในการสร้างวัตถุเสมือนจริงด้วย คอมพิวเตอร์ ไปสู่ระบบการโต้ตอบหรือการเกิดปฏิสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์และเครือ่ งจักร (Enactive Interfaces) ส�ำหรับ การปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดให้ประสบความส�ำเร็จ
EXECUTIVE SUMMARY The concept of industrial 4.0 is productivity improvement by reduce failure in the process and knowledge management for the operator with up to date technology. The Virtual Reality (VR) and Augmented Reality (AR) have to join in manufacturing process as media for operation learning, to study in machine working process and the main function of machinery part. The advice for maintenance method for damaged machine proceed through the related system between human and technology in reality and digital world perfectly, to improve the work efficiency like never before.
issue 158 APRIL 2016
P63-64,67_TECH FOCUS.indd 67
21-Apr-16 9:30:50 PM
68 Technology Focus เรื่อง: นเรศ เดชผล
C
l
u
o
d
Computing g ในกิจการอุตสาหกรรม ย้อนไปเมื่อ 10 ปีก่อน หากมีใครสักคนมาบอกว่าในอนาคตเราไม่จำ� เป็น ต้องติดตั้งโปรแกรมใช้งานใดๆ ลงไปในคอมพิวเตอร์อีกต่อไปแล้ว เพราะ เราจะเข้าใช้งานโปรแกรมนั้นๆ บนอินเทอร์เน็ตแทน เชื่อว่าหลายคนที่ได้ ฟังก็คงจะคิดว่าค�ำพูดนีเ้ กินจริงอยูส่ กั หน่อย เพราะความเป็นไปได้มนี อ้ ย มาก เนือ่ งจากอินเทอร์เน็ตในสมัยนัน้ ทัง้ ช้าและราคาแพง ล�ำพังแค่เปิดเว็บ เข้าไปอ่านอีเมลก็ต้องรอแล้วรออีก คิดแล้วยังเหนื่อยแทน หลั ง จากนั้ น ไม่ น านนั ก คนทั่ ว โลกก็ ไ ด้ รู้จักกับเว็บไซต์ Google ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ ให้บริการสืบค้นข้อมูลหรือ Search Engine ที่ทรงประสิทธิภาพมาก ทั้งยังใช้งานง่าย เพียงพิมพ์ Keyword ที่ต้องการค้นหาและ กดปุ่ม Enter หน้าจอแสดงผลก็จะแสดง รายการข้อมูลโดนๆ มาให้เลือกทันที เพียง เท่านีเ้ ว็บไซต์ Google.com ก็ได้รบั ความนิยม อย่างล้นหลามและสามารถครองใจผู้ใช้งาน ทั่วโลกจวบจนปัจจุบัน
Google ไม่ ได้มีดีแค่ Search Engine
ทว่า Google ไม่ได้มดี แี ค่ Search Engine แต่ยังพ่วงบริการออนไลน์อื่น ๆ มาด้วย ไม่ ว่าจะเป็นบริการ Gmail ซึ่งเป็นผู้ให้บริการ ฟรีอีเมลเจ้าแรกๆ ที่ให้พื้นที่มากถึง 1 GB (ปัจจุบัน 15 GB) แอปพลิเคชัน Google Docs เครือ่ งมือพิมพ์เอกสาร Word Processor ออนไลน์ แอปพลิเคชั่น Google Sheet ท�ำมาเพื่อใช้งานเกี่ยวกับ Spread Sheet ซึ่งคล้ายกับโปรแกรม Microsoft Excel อีก ทั้ง Google Slide ส�ำหรับท�ำ Presentation คล้ายกับโปรแกรม Microsoft Power Point เป็นต้น บริการออนไลน์เหล่านี้ล้วนต้องใช้ งานผ่านอินเทอร์เน็ต จนกูรูด้านไอทีหลาย คนฟันธงว่าไม่น่าจะไปรอด แต่สิ่งที่เกิดขึ้นก็ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะ เมื่ออินเทอร์เน็ตมีความเร็วสูงขึ้นสวนทาง กับค่าบริการทีน่ บั วันจะยิง่ ราคาถูกลง บริการ
ของ Google จึงเริ่มถูกน�ำมาใช้งานทดแทน โปรแกรมท�ำงานด้านเอกสารเดิมทีเ่ คยติดตัง้ กันในเครื่อง ทั้ง Word Processor, Spreadsheet หรือแม้แต่งานด้าน Presentation ก็ ยั ง ได้ รั บ ความสนใจจากผู ้ ใช้ ง านจ�ำ นวน ไม่น้อย เหตุผลส�ำคัญก็คือบริการออนไลน์เหล่า นี้สามารถใช้งานกันได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด เพี ย งแค่ มี Account Gmail และท� ำ การ ล็ อ กอิ น ครั้ ง เดี ย วก็ ส ามารถใช้ บ ริ ก ารอั น หลากหลายของ Google ได้ ถึงตรงนีห้ ลายคน อาจจะยังไม่ทราบว่าการที่ Google สามารถ เปิ ด บริ ก ารบนอิ น เทอร์ เ น็ ต ให้ ร องรั บ กั บ ผู้ใช้งานหลายร้อยล้านคนได้นั้น พวกเขาจะ ต้องพึ่งพาคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์จ�ำนวน มากและต้ อ งมี เ ทคโนโลยี ร ะบบบริ ห าร จัดการทรัพยากรที่ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นที่มาของ เทคโนโลยี Cloud Computing นั่นเอง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P068-069_Technology Focus.indd 68
4/20/2016 11:11:30 PM
Technology Focus 69
Cloud Computing
เป็นการใช้งานผ่าน อินเทอร์เน็ต ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงสามารถ ใช้งานระบบจากที่ใดก็ ได้ ที่มีอินเทอร์เน็ตเข้าถึง
ในภาคอุตสาหกรรมนัน้ ได้มกี ารน�ำระบบ ไอทีมาใช้งานนานแล้ว โดยเฉพาะการน�ำ ซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยในการประมวลผล เรียก ได้ว่ามีการน�ำมาใช้งานในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ การจั ด สรรวั ต ถุ ดิ บ เข้ า สู ่ ขั้ น ตอนการผลิ ต ตลอดไปจนถึงการออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ ซึง่ ผู้ประกอบการย่อมทราบเป็นอย่างดีว่าต้อง ใช้งบประมาณในการลงทุนค่อนข้างมาก ยิ่ง ถ้าสายการด�ำเนินงานในบริษทั ใดมีความซับ ซ้อนหรือมีขนาดธุรกิจที่ใหญ่ก็จะยิ่งมีค่าใช้ จ่ายในส่วนนี้มากขึ้นเป็นเงาตามตัว เพราะนอกจากจะเป็นค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับ ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์แล้วยังต้องมีค่าใช้จ่ายใน เรื่องของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ต้องได้รับ การอัพเกรดให้ทนั สมัย ค่าใช้จา่ ยในการว่าจ้าง บุคคลากรที่จะเข้ามาดูแลระบบให้สามารถ ใช้งานได้โดยไม่สะดุด ยังไม่นับรวมถึงค่า ใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง (Maintenance) ซึ่ง
เป็นค่าใช้จ่ายจุกจิกที่เมื่อน�ำมาค�ำนวณรวม กันแล้วก็อาจจะท�ำให้เจ้าของกิจการต้องกุม ขมับได้ ข่าวดีก็คือ ด้วยเทคโนโลยี Cloud Computing ท�ำให้เกิดผู้ให้บริการที่จะเข้ามา ช่วยลดปัญหาและค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ได้ ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ผู ้ จ� ำ หน่ า ยซอฟต์ แวร์ ทั้ ง รายเล็ ก และรายใหญ่ ต ่ า งก็ ท ยอยน� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องตนขึ้ น ไปไว้ บ นเทคโนโลยี Cloud Computing แล้ว และเปลี่ยนจาก การขายขาดมาเป็ น การเปิ ด ให้ เช่ า ใช้ ง าน ผ่านอินเทอร์เน็ตแทน ทั้งซอฟต์แวร์จัดการ งานด้ า นเอกสาร ซอฟต์ แวร์ ร ะบบบั ญ ชี ซอฟต์แวร์งานขาย ซอฟต์แวร์ระบบคลัง สินค้า ซอฟต์แวร์ระบบบริหารงานบุคคล แม้แต่ซอฟต์แวร์ระบบขนาดใหญ่อย่าง การ วางแผนทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) ก็ยังมีให้เช่าใช้ งาน ท�ำให้เชื่อได้ว่าในอนาคตซอฟต์แวร์ที่ ใช้งานเชิงธุรกิจทั้งหมดจะถูกน�ำไปวางไว้บน เทคโนโลยี Cloud Computing ซึง่ ผูป้ ระกอบ การจ�ำเป็นจะต้องเตรียมพร้อมส�ำหรับการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อจากนี้ อย่างไรก็ตาม การเปลีย่ นถ่ายจากระบบ เดิมไปสู่ Cloud Computing นั้นจะต้องมี การเตรียมความพร้อมและวางแผนอย่าง เป็นระบบ ในฐานะของผู้ใช้จะต้องท�ำการ ทดสอบและทดลองใช้งานจนมั่นใจว่าจะใช้ บริการได้อย่างราบรื่น และเมื่อพบข้อผิด พลาดต้องเร่งประสานผู้ให้บริการรีบด�ำเนิน การแก้ไข ท�ำให้เชือ่ ได้แน่วา่ เทคโนโลยี Cloud Computing จะท�ำให้เกิดการใช้งานอย่างมี ประสิทธิภาพและน�ำมาซึ่งประสิทธิผลตาม ที่ผู้ประกอบการคาดหวังไว้อย่างแน่นอน
ข้อดีของการใช้งานซอฟต์แวร์ผ่าน Cloud Computing
ผู้ประกอบการไม่ต้อง มาวุ่นวายในการจัดซื้อ จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์
ไม่ต้องซื้อลิขสิทธิ์ ซอฟต์แวร์
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ในส่วนของบุคลากรเพิ่ม
ในอนาคตหากมีเหตุจ�ำเป็น ต้องขยับขยายระบบ ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ ไม่ยากนัก
ที่น่าสนใจก็คือ Cloud Computing เป็นการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ดังนั้น ผู้ใช้งานจึงสามารถใช้งานระบบจากที่ใดก็ได้ที่มีอินเทอร์เน็ตเข้าถึง
บริการด้านอื่นๆ ของ Cloud Computing
1. Software as a Service (SaaS) เน้นในเรื่องของการให้บริการเช่าใช้ซอฟต์แวร์ และแอปพลิเคชั่น ซึ่งเป็น Cloud computing ที่ผู้ประกอบการจะต้องให้ความสนใจมากที่สุด
2. Platform as a Service (PaaS) จะเป็นการเปิดให้เช่าใช้งานระบบสนับสนุนส�ำหรับ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) เป็นหลัก
3. Infrastructure as a Service (IaaS) ส�ำหรับเปิดบริการทรัพยากรระบบ เช่น พื้นที่จัดเก็บ ข้อมูล โครงข่ายเน็ตเวิร์ก หรือ การประมวลผล ของเครื่อง เป็นต้น
EXECUTIVE SUMMARY Cloud computing technology from google is a technology that manufacturer should try to understand, alert and prepare the strategy to deal with incoming technology. In the near future, every business software will shift into cloud computing technology with the unique feature ‘Working on Internet’. User could operate the software from anywhere and anytime. Cloud computing provider has 3 services; 1. Software as a Service (SaaS) 2. Platform as a service (PaaS) 3. Infrastructure as a service (IaaS).
issue 158 APRIL 2016
P068-069_Technology Focus.indd 69
4/20/2016 11:11:31 PM
70 TECH FOCUS
สจล. ปลุกพลัง
Startup เมืองไทย
From Creativity & Innovation to Startups Project
เมื่อเอ่ยถึง Startup หรือ Technology Startup คงเชื่อมโยงกันอย่าง รวดเร็วไปถึง Facebook Instragram ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากกลุ่มคน รุ่นใหม่ และอายุของบริษัทเหล่านี้ก็ ไม่ถึง 10 ปี แต่มีมูลค่าการเติบโตอย่าง มหาศาล ความส�ำเร็จระดับโลกเช่นนีเ้ กิดมาจากจุดเล็กๆ กลุม่ คนเล็กๆ ทีร่ วม ตัวกันผลักดันด้วยพลังแห่งความมุ่งมั่น ‘โครงการงานสร้างสรรค์นวัตกรรมนักศึกษาไทย... สู่สตาร์ทอัพ From Creativity & Innovation to Startups ประจ�ำปี 2016’ เป็นหนึ่ง โครงการดีๆ ของไทย ที่เปิดพื้นที่ส�ำหรับนักคิดเพื่อน�ำไปสู่ธุรกิจหรือการ สร้างอุตสาหกรรมระดับประเทศ โครงการนี้ จั ด ขึ้ น โดยคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ซึ่ ง เป็ น การน�ำนวัตกรรมของ นักศึกษาทั้งสิ้น 485 ผลงาน น�ำเสนอต่อสาธารณะเพื่อเป็นการส่งเสริม พลังแห่งโอกาสของการเป็น Startup หรือผู้ประกอบการที่น�ำเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์มาพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการให้โดดเด่น โจทย์ ของนวัตกรรมของกลุ่มนักศึกษาไฟแรง คือ การพัฒนานวัตกรรมที่สร้าง มูลค่าเพิ่ม ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ลดการน�ำเข้า สามารถพึ่งพา และพัฒนาเทคโนโลยีเองได้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P070-072_MO_Tech Focus.indd 70
21-Apr-16 8:33:03 PM
TECH FOCUS
71
รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. กล่าวว่า งานสร้างสรรค์นวัตกรรมนักศึกษาไทย...สู่ สตาร์ทอัพ From Creativity & Innovation to Startups ประจ� ำ ปี 2016 ครั้ ง นี้ จั ด ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด นั บ ตั้ ง แต่ ก ่ อ ตั้ ง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. มา 55 ปี ด้วยการจัดแสดง นวัตกรรมจ�ำนวน 458 ผลงานจาก 10 ภาควิชา ได้แก่ ภาค วิชาโทรคมนาคม ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ โยธา เคมี อาหาร อุตสาหการ เครื่องกล คอมพิวเตอร์ การวัดและควบคุม โดยมีวัตถุประสงค์การจัดงานเพื่อส่งเสริมความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมด้วยองค์ความรู้และ เทคโนโลยี เปิดเวทีส�ำหรับการแสดงผลงานของคนรุ่นใหม่ และเปิดโอกาสให้เจ้าของนวัตกรรมและผู้ประกอบการทั้ง ภาครัฐและเอกชนมาพบปะกันในงานนี้ อันจะเป็นลูท่ างความ ร่วมมือและต่อยอดเชิงพาณิชย์ต่อไป กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วยนิทรรศการแสดงผลงาน นอกจากนี้ยังเปิดเวทีประกวดสุดยอดนวัตกรรม Best Exhibition Awards 2016 โดยคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ และประสบการณ์จากภาครัฐและภาคเอกชน คัดสรรผลงาน นวัตกรรมนักศึกษาเข้ารอบชิงชนะเลิศ 15 ผลงานและตัดสิน มอบรางวัลแก่แชมป์ชนะเลิศ และ รองแชมป์ชนะเลิศ
issue 158 APRIL 2016
P070-072_MO_Tech Focus.indd 71
21-Apr-16 8:33:04 PM
72 TECH FOCUS
1
หุ่นยนต์ กรับบ๊อท (Grubbot) เจ้าของผลงาน: ธิติพงษ์ สุหัตถาพร นายธาริน ยุทธนาการและนาย เอกพัฒน์ เอกนรพันธ์ นักศึกษาปี 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2
2 ใน 485
ตัวอย่างจากงาน From Creativity & Innovation to Startups 2016
ที่มา:
แนวคิดที่มองไปถึงบ้านและส�ำนักงานในอนาคตจะมีหุ่น ยนต์ช่วยท�ำงานซึ่งจะตอบโจทย์การขาดแคลนแรงงานและลด ภาระงานจ�ำเจในส�ำนักงานลงโดยสร้างสรรค์หุ่นบริการที่ช่วย ท�ำงานในออฟฟิศเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในอาคารส�ำนักงาน คุณสมบัติ: • น�ำส่งเอกสารหรือสิ่งของอื่นๆ ที่มีน�้ำหนักไม่เกิน 20 กิโลกรัมไปตามสถานที่ • ตั้ ง โปรแกรมให้ ไ ปรั บ ส่ ง เอกสารตามจุ ด ต่ า งๆ ที่ ก�ำหนดไว้ ได้ • ท� ำ งานร่ ว มกั บ คนได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดย Grubbot • เดินหลบหลีกคนและเฟอร์นิเจอร์ ได้ การท�ำงานของหุน่ ยนต์ จะมีแบบอัตโนมัติ โดยหุน่ จะเดิน ตามจุดที่โปรแกรมไว้ แล้ววนไปเรื่อยๆ หรือ ระบบค�ำสั่งเสียง ที่ สามารถระบุสถานทีใ่ ห้หนุ่ ยนต์ ไปส่งสิง่ ของได้ ในระยะถัดไป จะ ท�ำการพัฒนาระบบ App เพือ่ ให้ผู้ใช้สามารถเรียกหุน่ ยนต์ทอี่ ยู่ ใกล้ที่สุดเพื่อให้ประหยัดเวลาในการจัดส่งเอกสาร
งาน 44 th International Exhibition and Invention of Geneva จัดขึ้น ณ สมาพัน ธรัฐสวิส เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ เมื่อวันที่ 18 เมษายน แต่ละ ปีจะมีผลงานนวัตกรรมจัดแสดง มากกว่า 1,000 ผลงาน จาก 48 ประเทศทั่วโลก ส�ำนักข่าว BBC ของประเทศอังกฤษ ยกย่องให้งาน นี้เป็น ‘Seven of the Best and Weirdest New Inventions’
EXECUTIVE SUMMARY The Faculty of Engineering, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang open the space for student’s competition and innovative show case with 458 participants. The ‘From Creativity & Innovation to Startups 2016’ showcase has 2 interesting example participants, Grubbot by Mr. Thitipong Suhathaporn, Mr.Tarin Yutthanagarn and Mr.Eakkaoat Eaknoraphan form 3rd years student and Durian’s ripe detector with microwave from Assistant Professor Sornwat Chewpreecham PhD., lecturer from telecommunication department.
เครื่องวัดความสุก-อ่อนของ ทุเรียนด้วยคลื่นไมโครเวฟ เจ้าของผลงานวิจัย: ผศ.ดร.ศรวัฒน์ ชิวปรีชา อาจารย์ประจ� ำภาควิชา วิ ศ วกรรมโทรคมนาคม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รางวัล: เหรี ย ญทองแดง สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ร ะดั บ โลก งาน 44th International Exhibition and Invention of Geneva 2016 ณ สมาพันธรัฐสวิส เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์เมื่อ วันที่ 18 เมษายน ที่มา:
ผลงานการวิจัย เครื่องวัดความสุก-อ่อนของทุเรียน ด้วยคลื่นไมโครเวฟ เป็นผลผลิตจากโครงการวิจัย ‘เซ็นเซอร์ ไมโครเวฟเพื่อการเกษตร’ โดยมี ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ ภาค วิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม เป็นหัวหน้าโครงการ เราใช้เวลา ศึกษาวิจัยต่อเนื่องนานหลายปี จนกระทั่งสามารถพัฒนาย่อ ส่วนอุปกรณ์ลงมาให้เล็กกะทัดรัด และยังสามารถลดต้นทุน ค่าใช้จ่ายเหลือเพียงราคาหลักหมื่นบาท มุ่งเน้นการใช้งาน ที่ง่าย และที่ส�ำคัญราคาต้องไม่สูงเพื่อเกษตรกรจะได้มีก�ำลัง ซื้อหามาใช้ ได้ คุณสมบัติ: • ท�ำงานด้วยคลื่นความถี่ 915 MHz. มีก�ำลังส่ง 10 มิลลิวัตต์ ใช้เสาอากาศ 2 ชุด คือ ด้านรับ TR-Ant และด้าน ส่ง Tx-ant จุดวัดทุเรียนจะอยู่ตรงกลาง • แกนวัดค่าได้รวดเร็วโดยจะรูผ้ ลเป็นภาษาไทยได้ภายใน ไม่ถึง 1 วินาที ว่าทุเรียนมีคุณภาพอ่อน หรือแก่สำ� หรับการ บริโภค เพราะจากการศึกษาพบว่า ทุเรียนอ่อน และแก่จะได้คา่ แตกต่างกันหรือมีความต้านทานไม่เท่ากัน ท�ำให้เครื่องสแกน ระบบไมโครเวฟเซ็นเซอร์สามารถวัดค่าได้อย่างแม่นย�ำ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P070-072_MO_Tech Focus.indd 72
21-Apr-16 8:33:05 PM
GREEN ZONE POLICY 73
กระตุน้ ผูป้ ระกอบการลงทุน
ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรประหยัดพลังงาน บีโอไอ ประกาศยกเว้นภาษีเพิ่ม 3 ปี ตัวเลขการใช้พลังงานของภาคอุตสาหกรรมทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในปัจจุบนั ส่งผลให้หน่วย งานภาครัฐทีม่ หี น้าทีใ่ นการออกมาตรการต่างๆ ต้องเร่งส่งเสริมผูป้ ระกอบการเพือ่ ลดการใช้พลังงาน ให้นอ้ ยลง ผลักดันให้ผปู้ ระกอบการตืน่ ตระหนักต่อการปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรในกระบวนการผลิตเพือ่ การประหยัดพลังงาน และประสิทธิภาพทีส่ งู ขึน้ ล่าสุด บีโอไอ หรือ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ได้ออกประกาศ เรือ่ ง ‘มาตรการ ส่งเสริมการลงทุนเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต’ เพือ่ ส่งเสริมและกระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบการ ทีด่ ำ� เนินกิจการอยูแ่ ล้วในปัจจุบนั ทัง้ กลุม่ ทีไ่ ด้รบั และไม่ได้รบั ส่งเสริมการลงทุนให้เกิดการลงทุนเพิม่ เพือ่ ปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรเพือ่ การประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน การลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม การสนับสนุนการวิจยั พัฒนา รวมถึงการออกแบบทางวิศวกรรมเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิต
3 มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อการวิจัย และออกแบบ ทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพ
เปิดให้ผู้ประกอบการที่สนใจเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการ ประหยัดพลังงาน การน�ำพลังงานทดแทนมาใช้ในกิจการ หรือการลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์หรือสัดส่วนที่กำ� หนด
มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ผู้ประกอบการจะต้องเสนอแผนการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนด เช่น การน�ำระบบอัตโนมัติมาใช้ในสายการผลิตที่มีอยู่เดิม
มาตรการส่งเสริมการลงทุน เพื่อการวิจัย และออกแบบ ทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพ
ยกเว้นอากรขาเข้าเครื่องจักร ทุ ก เขต ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล 3 ปี เป็ น สั ด ส่ ว น ร้อยละ 50 ของเงินลงทุน (ไม่ รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียน ในการปรับปรุง) โดยภาษีเงิน ได้นิติบุคคลที่ ได้รับยกเว้นจะ ค�ำนวณจากรายได้ของกิจการ ที่ด�ำเนินการอยู่เดิม
ผู้ประกอบการต้องเสนอแผนการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา หรือออกแบบทาง วิศวกรรมตามเกณฑ์ที่กำ� หนด และต้องมีการลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของยอด ขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่ยื่นขอรับส่งเสริม กรณีเป็น SME ต้องลงทุน ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดขายรวมใน 3 ปีแรก นับจากวันที่ยื่นขอรับส่งเสริม
สิทธิ์ที่ผู้ประกอบการพึงได้รับ เมื่อเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อการประหยัดพลังงาน
ส�ำหรับผูป้ ระกอบการทีส่ นใจยืน่ ขอรับส่งเสริมการลงทุนตาม มาตรการต่างๆ จะต้องด�ำเนินกิจการตามประเภทกิจการทีบ่ โี อไอ ได้ประกาศให้การส่งเสริมการลงทุนมีขนาดการลงทุนไม่นอ้ ยกว่า 1 ล้านบาท (ไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน) ส่วนโครงการลงทุน ของผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ก�ำหนดให้มี เงินลงทุนเพียง 500,000 บาท (ไม่รวมค่าทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน) ก็สามารถขอรับส่งเสริมได้
EXECUTIVE SUMMARY The board of investment of Thailand (BOI) announced ‘Investment Promotion Policy for Productivity Improvement’ to encourage the manufacturer to convert their machine into green energy, pollution reduction and energy saving machine, also support in research and development including mechanical design to improve productivity with 3 policies; the first policy (1) is a policy to encourage investment for energy saving, renewable energy and pollution reduction, the second policy (2) is a policy to encourage investment to convert the machine for productivity improvement, the third policy (3) is a policy to encourage research and development in mechanical design to improve productivity efficiency. The manufacturer that attend to get support from the policy must be register before 31 December 2017 and also proceed the project in 3 years from the date that policy granted.
issue 158 APRIL 2016
P73_GREEN ZONE_POLICY.indd 73
21-Apr-16 9:13:20 PM
74 QUALITY CONTROL MEASUREMENT ผู้พัฒนาผลงาน: ทัศนัย แสนพลพัฒน์(1) | โชคชัย วาดทอง(2) | สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
CHECK UP TOOL, WRENCH & TRANSDUCER ในงานอุ ต สาหกรรมที่ มี แ นวโน้ ม การ เติ บ โตเพิ่ ม มากขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วนยานยนต์ การบิ น หรื อ การต่ อ เรื อ ล้ ว นส่ ง ผลต่ อ การแข่ ง ขั น กั น ในด้ า นคุ ณ ภาพสู ง ขึ้ น ตาม ผู้ประกอบการจึงได้ให้ความส�ำคัญกับการ ควบคุมคุณภาพเป็นล�ำดับส�ำคัญ เช่น การ ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ อาทิ สกรู ประแจ ปอนด์ เป็นต้น ปริมาณความต้องการใน การสอบเทียบเครื่องมือเหล่านี้มีเพิ่มสูงขึ้น ตามไปด้วย ในขณะเดียวกัน ห้องปฏิบัติการที่เปิด ให้ บ ริ ก ารสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ วั ด แรงบิ ด ในระดับอ้างอิงยังคงมีน้อย และไม่เพียง พอ เนื่องจากการน�ำเข้าเครื่องมือวัดแรง บิ ด อ้ า งอิ ง มาตรฐานประเภทนี้ มี ร าคาสู ง มาก จึงไม่สามารถส่งเสริมการลงทุนเพื่อ ใช้งานในห้องปฏิบัติการสอบเทียบเครื่อง มือวัดแรงบิดภายในประเทศได้ ดังนั้น ห้อง ปฏิบตั กิ ารแรงบิด ฝ่ายมาตรวิทยาเชิงกล จึง มุ่งคิดค้น ศึกษา กระทั่งสามารถผลิตเครื่อง มือที่น�ำมาใช้เป็น Standard ส�ำหรับน�ำมา ให้ห้องปฏิบัติการสอบเทียบใช้เป็นเครื่อง มือมาตรฐานในการถ่ายทอดค่าการวัดทีถ่ กู ต้องไปยังผู้ใช้งาน
สาเหตุและปัจจัย ในการสร้างเครื่องมือ Standard ห้องปฏิบัติการแรงบิด ฝ่ายมาตรวิทยา เชิงกล สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ผลิตเครื่อง มือวัด Standard Torque Transducer และ Standard Torque Transfer Wrench มี วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในงานสอบเทียบเครื่องมือ มาตรฐาน ที่ใช้ส�ำหรับสอบเทียบประแจวัดแรง บิดและเพื่อลดการน�ำเข้าเครื่องมือวัดมาตรฐาน จากต่างประเทศ ในปัจจุบัน ห้องปฏิบัติการที่เปิดให้บริการ สอบเทียบเครื่องมือวัดแรงบิดในระดับอ้างอิงใน ประเทศไทยมีจ�ำนวนน้อย ส่งผลให้งานส่วนใหญ่ ตกอยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของสถาบั น มาตร วิทยาแห่งชาติ ในส่วนของห้องปฏิบตั กิ ารแรงบิด ประแจวัดแรงบิดอ้างอิงจะใช้สอบเทียบเครื่องมือ ประเภท Torque Wrench Calibrator ซึ่งเป็น เครื่องมือมาตรฐานสอบเทียบให้กับเครื่องมือ ประเภทประแจปอนด์และสกรูวัดแรงบิดในงาน ภาคอุตสาหกรรม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P074-075_MO_Quality Control.indd 74
20-Apr-16 6:42:24 PM
QUALITY CONTROL MEASUREMENT 75
วิธีการใช้งาน เครือ่ งมือวัดแรงบิด อาจจะมีรปู แบบแตกต่างกันขึน้ อยูก่ บั ผูผ้ ลิต แต่จะมีลกั ษณะของการท�ำงานทีเ่ หมือน กัน เครือ่ งมือนีใ้ ช้สำ� หรับสอบเทียบประแจปอนด์หรือสกรู ซึง่ จะต้องเช็คความถูกต้องโดยใช้ Torque Transfer ที่สร้างขึ้นโดยจะมีตัว Standard อยู่ที่ตัวเครื่อง และมีตัวจ่ายค่าแรงบิดที่ก้าน วิธกี ารวัด คือ น�ำประแจปอนด์หรือสกรูมาเสียบทีเ่ ครือ่ งพร้อมกับเซ็ทระดับให้ได้ระนาบ จากนัน้ จึงหมุน ค่าแรงบิด กระทั่งเกิดเสียงลั่น เพื่อวัดค่าตัวถูกสอบเทียบให้มีค่าตรงกัน
Standard Torque Transfer Wrench
- ใช้ในการสอบเทียบวัดแรงบิดประแจปอนด์ - ค่าความผิดพลาด 0.2%
ประโยชน์ต่อการส่งเสริม ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย เพื่อยกระดับความสามารถในการให้ห้อง ปฏิบัติการสอบเทียบในประเทศได้น�ำประแจวัด แรงบิดอ้างอิง เปิดให้บริการสอบเทียบระดับ เครือ่ งมือประเภท Torque Wrench Calibrator ซึง่ เป็นเครือ่ งมือมาตรฐานสอบเทียบให้กบั เครือ่ ง มือประเภทประแจปอนด์และสกรูวดั แรงบิดในงาน ภาคอุตสาหกรรมและเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่น ในการถ่ายทอดความถูกต้องในการสอบเทียบ เครือ่ งมือประเภทประแจปอนด์และสกรูวดั แรงบิด ในอุตสาหกรรมไทย
Standard Torque Transducer - ใช้ในการสอบเทียบวัดแรงบิดสกรู - ค่าความผิดพลาด 0.5%
Executive Summary In Thailand, the laboratory for calibrate the torque measurement tool in reference level still lacking by its costly price. The national institute of metrology of Thailand, mechanical department has developed the standard torque transducer and standard torque transfer wrench measurement tools to be the calibration standard of the tools for Thai manufacturing.
(1) นักมาตรวิทยาห้องปฏิบัติการแรงบิด (2) หัวหน้าห้องปฏิบัติการความแข็งและแรงบิด
issue 158 APRIL 2016
P074-075_MO_Quality Control.indd 75
20-Apr-16 6:42:31 PM
76 QUALITY CONTROL MAINTENANCE เรื่อง: สุเมธ อัศวศิลาวสุกุล | ผู้จัดการแผนกบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ | สถาบันไทย-เยอรมัน
MODERN MA อุดช่องโหว่การบ�ำรุงรักษาแบบเดิมได้อย่างไร
ในยุคทีอ่ ตุ สาหกรรมก้าวเข้าสูย่ คุ ทีม่ กี าร แข่งขันด้านการผลิตมากขึ้นเพื่อให้ได้ของดี มีคุณภาพและต้นทุนต�่ำ อุตสาหกรรมได้ น�ำเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในกระบวนการ ผลิ ต มากขึ้ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามมามากขึ้ น คื อ การที่ เ ครื่ อ งจั ก รเกิ ด การเสี ย หายมากขึ้ น และบางครั้งการเสียหายของเครื่องจักรก็มี ความซับซ้อนมากขึ้นด้วย มีผลให้ต้นทุนใน การผลิตสูงตามมา เทคโนโลยีท�ำการบ�ำรุง รักษาเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยี ที่จะเข้ามาแก้ ปัญหาและเพิ่มให้กระบวนการผลิตนั่นให้มี เสถียรภาพมากขึ้น
การบ�ำรุงรักษา แบ่งเป็น… การบ�ำรุงรักษานอกแผน (Unplanned Maintenance) หมายถึง
การบ�ำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) หมายถึง
งานบ�ำรุงรักษานอกแผนงานที่ได้วางเอาจากการ ที่เครื่องจักรเกิดการขัดข้องโดยไม่ทราบสาเหตุล่วงหน้า
งานบ�ำรุงรักษาที่อยู่ในแผน สามารถก�ำหนดได้ตามแผนที่ได้วางเอาไว้ สามารถก�ำหนดได้ตามแผนที่ได้วางเอาไว้
การบ�ำรุงรักษานี้จะก่อให้เกิดปัญหามากกว่าการ บ�ำรุงรักษาตามแผน อันเนื่องมาจาก การที่ไม่สามารถ วางแผนเวลา ก�ำลังคน อะไหล่ รวมไปถึงอุปกรณ์ ซ่อมแซมต่างๆ ที่จะให้ในการซ่อมได้อย่างทันเวลา
สามารถเตรียมการได้ล่วงหน้า สามารถวางแผนก�ำลังคนที่จะใช้ อะไหล่ รวมถึงอุปกรณ์ ซ่อมแซมต่างๆ ให้มีความพร้อมก่อนที่จ�ำท�ำการซ่อมบ�ำรุง
กลยุทธ์ของแนวทางการบ�ำรุงรักษาที่จ�ำแนกเพื่อเพื่อให้เหมาะสมกับประเภทและระดับความส�ำคัญของเครื่องจักรในโรงงานได้ แบ่งเป็น
กลยุทธ์การบ�ำรุงหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance) การบ�ำรุงรักษาเมื่อเครื่องจักรเกิดการ การช�ำรุดหรือหยุดฉุกเฉิน โดยกลยุทธ์นี้เหมาะ กับเครื่องจักรที่เสียหายแล้ว และไม่มีผลกระทบ กับกระบวนการผลิต หรือมีผลกระทบน้อยมาก ประโยชน์ที่ได้คอื สามารถให้ประโยชน์ของอุปกรณ์ ได้ยาวนานที่สุด ข้อเสียคือ การเสียหายอาจท�ำให้ เกิดการเสียหายส่วนอื่นด้วย
1
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P076-077_MO_Quality Control_Maintenance.indd 76
กลยุทธ์การบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) มีการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักรก่อนทีจ่ ะมีความ เสียหายเกิดขึ้น โดยจะให้เงื่อนไขของเวลามาใช้ใน การวางแผนบ�ำรุงรักษา โดยข้อมูลที่จะถูกน�ำมา ใช้ ในการวางแผนอาจจะมาจาก ค�ำแนะน�ำจาก ผู้ผลิต หรือ สถิติการเสียหายของเครื่องจักรที่ ผ่านมา เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิด การเสียหายแบบฉุกเฉินได้
2
กลยุทธ์การบ�ำรุงรักษาตามสภาพ (Condition Based Maintenance) การน�ำเอาข้อมูลของเครื่องจักรมาพิจารณาในการบ�ำรุงรักษารวมไปถึงการวางแผนให้ งานบ�ำรุงรักษาสามารถป้องกันไม่ให้เกิดการเสีย หายแบบฉับพลัน และยังสามารถบอกถึงสาเหตุ ที่ท�ำให้เครื่องจักรเกิดความเสียหายได้ ดังนั่นใน การซ่อมแซมเครื่องจักรนั่น จะสามารถเข้าถึง สาเหตุที่แท้จริงที่ท�ำให้เกิดปัญหา ด้วยเหตุนี้เอง จึงท�ำให้เครื่องจักรไม่เกิดการเสียหายแบบซ�้ำเดิม หรือเรียกว่าปัญหาเรื้อรังต่อไป
3
กลยุทธ์การออกแบบเพื่อลดงานบ�ำรุงรักษา (Design out of Maintenance) การน�ำเอาจุดอ่อนหรือจุดบกพร่องต่างๆ ของเครื่องจักรหรืออุปกรณ์มาเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงให้ เพือ่ ท�ำให้เครือ่ งจักรนัน้ มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นและอายุที่ยาวนานมากขึ้นด้วย
4 21-Apr-16 5:05:17 PM
QUALITY CONTROL MAINTENANCE
77
INTENANCE เทคโนโลยีวิเคราะห์การสั่นสะเทือน (Vibration Analysis)
การตรวจสอบสภาพการเสียหายของเครื่องจักรหมุนเป็นหลักโดยน�ำเอาเครื่องมือ เก็บข้อมูลการสัน่ สะเทือนเครือ่ งจักร(Vibration Analyzer) ไปเก็บข้อมูลการสัน่ สะเทือน ของเครื่องจักรในต�ำแหน่งที่เหมาะสม และน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยผู้เชียวชาญ โดย ข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลในเชิงความถี่ ทีจ่ ะท�ำให้ผวู้ เิ คราะห์สามารถรูถ้ งึ สาเหตุตา่ งๆ ทีท่ ำ� ให้ เครื่องจักรสั่นผิดปกติได้ โดยผู้วิเคราะห์จะประเมินความรุนแรงของปัญหา และสามารถ วางแผนงานบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพได้
เทคโนโลยีตรวจสอบสภาพน�ำ้ มันหรือสารหล่อลื่น (Oil Analysis)
การวิเคราะห์สภาพน�้ำมัน เป็นการตรวจสอบสภาพการสึกหลอของชิ้นส่วนหรือ อุปกรณ์ต่างๆ ในเครื่องจักร โดยจะมีการเก็บตัวอย่างของน�้ำมันหรือสารหล่อลื่น ส่ง เข้าตรวจสอบในห้องทดลอง เพื่อดูคุณสมบัติของน�้ำมัน และ สิ่งปนเปื้อนในเรื่องของ เศษโลหะต่างๆ ที่หลุดออกมา โดยผลที่ได้จะถูกประเมินถึงสาเหตุและความรุนแรงที่เกิด ขึ้น น�ำไปซึ่งการวางแผนบ�ำรุงรักษาต่อไป
เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อน (Infrared Thermography Analysis)
เทคโนโลยีท่ีใช้ตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ทางไฟฟ้าหรือทางกลโดยไม่ต้องสัมผัส เครือ่ งจักร ตรวจสอบสภาพความเสียหายของเครือ่ งจักรโดยใช้หลักการวิเคราะห์อณ ุ หภูมิ ที่เปลี่ยนแปลง หรือไม่สัมพันธ์กันในสภาวะใกล้เคียงกัน ท�ำให้สามารถมองหาสาเหตุที่ ท�ำให้เกิดปัญหาได้ โดยเทคโนโลยีนมี้ ปี ระโยชน์เป็นอย่างมากในการน�ำไปตรวจสอบสภาพ ทางไฟฟ้า และยังได้นำ�้ ไปใช้แพร่หลายในงานด้านอืน่ เช่น ใช้ในสนามบิน หรือ ชุมชนใหญ่ๆ ในการจ�ำแนกผู้ป่วย ในภาวะที่เกิดโรคระบาด
การบ�ำรุงรักษาสมัยใหม่ (Modern Maintenance) ได้น�ำเอากลยุทธ์การบ�ำรุงรักษาตาม สภาพหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าการบ�ำรุงรักษาเชิง คาดการณ์ (Predictive Maintenance) มาใช้ โดย การน�ำเอาสัญญาณการเสียหายต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในเครื่องจักรเช่น การสั่นสะเทือน ความร้อน เสียง สภาพการปนเปื้อนของสารหล่อลื่นต่างๆ ในเครื่องจักรมาใช้เป็นสัญญาณเตือน และน�ำมา วางแผนบ�ำรุงรักษา ให้ตรงกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จริง สิง่ ทีส่ ำ� คัญของการตรวจสภาพของเครือ่ งจักร จะต้องเลือ กใช้เทคโนโลยีในการตรวจสอบให้ เหมาะสมในการแต่ละประเภทการท�ำงานของ เครื่องจักร รวมไปถึงความถี่ในการตรวจสอบ ต้องเหมาะสม เพียงพอที่จะตรวจสอบปัญหาที่ จะเกิดขึ้นได้ โดยเทคโนโลยีหลักที่ได้ถูกน�ำมาใช้ เริ่มต้นส่วนใหญ่แล้วคือ เทคโนโลยีวิเคราะห์การ สัน่ สะเทือนเครือ่ งจักร เทคโนโลยีตรวจสอบสภาพ น�้ำมันหรือสารหล่อลื่น และเทคโนโลยีภาพถ่าย ความร้อน ในการท� ำ งานบ� ำ รุ ง รั ก ษาสมั ย ใหม่ โ ดยใช้ กลยุทธ์การบ�ำรุงรักษาตามสภาพ ส่วนส�ำคัญคือ ต้องมีเครือ่ งมือตรวจสอบทีเ่ หมาะสม และ ต้องมี บุคลากรทีไ่ ด้รบั การฝึกอมรมทีถ่ กู ต้อง เพือ่ ท�ำการ แปลผลข้อมูลที่ได้มาให้ตรงกับสภาวะสภาพของ เครื่องจักรที่เกิดขึ้น โดยประโยชน์ที่เห็นได้ชัดใน การน�ำเอางานบ�ำรุงรักษาตามสภาพ มาใช้นั่น คือ ลดการส�ำรองอะไหล่ ลดเวลางานซ่อมบ�ำรุง ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง ใช้ประโยชน์จาก การใช้งานของเครื่องจักรได้มากขึ้น และยังเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของเครือ่ งจักรให้สามารถ ผลิตได้ตามความสามารถที่ได้ออกแบบไว้ได้
EXECUTIVE SUMMARY Modern maintenance use the strategy that fix and maintain by condition as we call ‘Predictive Maintenance’. This method observe the sign of machine cracking to plan the strategy to take a right maintenance solution. Use the right method to verify the problem properly, such as, vibration analysis, oil analysis and infrared thermography analysis. issue 158 APRIL 2016
P076-077_MO_Quality Control_Maintenance.indd 77
21-Apr-16 5:05:17 PM
78 SYSTEM facility management เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
ท�ำไม?
ต้องตรวจสอบคุณภาพ ระบบไฟฟ้าโรงงาน ปฏิเสธไม่ได้ว่าการขับเคลื่อนของเครื่องจักรต่างๆ ใน โรงงานอุตสาหกรรมแทบทุกประเภท จ�ำเป็นต้องใช้กระแส ไฟฟ้าเป็นพลังหลักในการขับเคลือ่ น ซึง่ กระบวนการผลิตที่ ดีนั้น เครื่องจักรต้องสามารถท�ำงานได้อย่างต่อเนื่อง ผลิต สินค้าได้คณ ุ ภาพตามมาตรฐาน และตรงตามเวลาทีก่ ำ� หนด โดยมีระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐาน ซึ่ง จ�ำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบคุณภาพอย่างสม�่ำเสมอ เพราะต้องยอมรับว่าคุณภาพของระบบไฟฟ้าโรงงานนั้น มีความส�ำคัญมาก หากระบบไฟฟ้าโรงงานมีปัญหา จะ ท�ำให้เกิดอันตรายและส่งผลอย่างรวดเร็วต่อทั้งชีวิตและ ทรัพย์สนิ ภายในโรงงาน อีกทัง้ คุณภาพไฟฟ้าโรงงานยังมีผล ต่อความสามารถในการประหยัดต้นทุนทีเ่ กิดจากการรัว่ ไหล ของไฟฟ้า ช่วยลดการใช้ไฟฟ้าในกระบวนการผลิต ท�ำให้ ต้นทุนต�่ำลง สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ยังเป็นการช่วยประเทศชาติลดใช้พลังงานอีกทางหนึ่งด้วย
ผู้ใช้งานหรือดูแล ระบบไฟฟ้าต้องศึกษา หาความรู้ ท�ำความเข้าใจ ในระบบไฟฟ้า และแปลน ระบบไฟฟ้าโรงงาน
ควรมีการประสานงาน ระหว่างฝ่ายผลิตและ ฝ่ายซ่อมบ�ำรุงไฟ ฟ้าให้ชัดเจน
โรงงานอุตสาหกรรม ต้องมีการตรวจ สอบระบบไฟฟ้าโรงงาน และบ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้า โรงงานประจ�ำปีทุกๆ ปี
ควรใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ได้รับ มาตรฐาน เน้นคุณภาพ มากกว่าจ�ำนวนเงิน ที่ต้องจ่าย
คัดสรรช่างเทคนิคไฟฟ้า ประจ�ำโรงงาน ที่มีความรู้ ความ สามารถ เพื่อดูแลตรวจสอบ ระบบไฟฟ้าในโรงงาน หรือซ่อม แซมระบบฯ เบื้องต้นได้
วิธีป้องกัน
การเกิดปัญหาใน ระบบไฟฟ้าโรงงาน
ปัญหาที่พบบ่อยในระบบไฟฟ้าโรงงาน ผู้ ใช้งานขาดความรู้ ความเข้าใจอย่างแท้จริงเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า โรงงานและมองข้ามความส�ำคัญของผู้ดูแลระบบไฟฟ้าโรงงาน ขาดความรูค้ วามเข้าใจในแปลนระบบไฟฟ้าโรงงาน ซึง่ อาจจะมีการต่อ เติมระบบไฟฟ้าไม่ถูกหลักวิชาการและไม่เป็นระบบ ใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ไม่มีมาตรฐาน เน้นราคาถูก ไม่เน้นคุณภาพ ขาดช่างเทคนิคไฟฟ้าที่มีความสามารถในการดูแลระบบไฟฟ้าโรงงาน ขาดการประสานงานที่ดี ระหว่างฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบ�ำรุง ท�ำให้ เข้าใจผิดในการสั่งงาน อาจท�ำให้เกิดอันตรายได้ ขาดความเอาใจใส่ และไม่ให้ความส�ำคัญ กับการตรวจสอบระบบไฟฟ้า โรงงานและบ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้าโรงงานประจ�ำปี
ปัจจัยที่ต้องพิจารณา เกี่ยวกับงานระบบไฟฟ้าของโรงงาน 1. ขนาดของโรงงานและก�ำลังไฟฟ้าที่ใช้ มีผลกระทบต่อ การเลือกระดับแรงดันของระบบไฟฟ้าในโรงงาน ซึ่งจะส่งผลต่อไปยังการลงทุนในอุปกรณ์ และอัตราค่าไฟฟ้า ตลอดจนมาตรฐานที่การไฟฟ้าฯ ใช้ควบคุมการใช้ไฟของโรงงาน 2. กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม ถือเป็นอีกหนึง่ ปัจจัย ชี้น�ำในการลงทุน เพื่อคุณภาพของระบบไฟฟ้า ของโรงงาน ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของกระบวนการผลิต ออกเป็น 3 รูปแบบ คือ • กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง Continuous Flow เช่น อุตสาหกรรมเคมี โรงกลั่น เป็นต้น ระบบไฟฟ้าขัดข้อง อาจท�ำให้สนิ ค้าทีอ่ ยูใ่ นกระบวนการผลิตทัง้ หมดเสียหาย ต้อง น�ำไปท�ำลาย ค่าเสียหายจากการที่ระบบไฟฟ้าขัดข้องจึงสูง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P078-079_MO_System.indd 78
21-Apr-16 5:32:33 PM
SYSTEM facility management 79
การลงทุนให้ระบบไฟฟ้าภายในโรงงานมัน่ คงจึงคุม้ ค่า • กระบวนการผลิ ต แบบ Batch Flow เช่ น โรงงานทอผ้า อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปบางประเภท โรงถลุงเหล็ก เป็นต้น การขัดข้องของระบบไฟฟ้า อาจท�ำให้สินค้า Lot นั้นคุณภาพไม่ได้มาตรฐานต้อง ท�ำลายทิ้ง หรือจ�ำหน่ายเป็นสินค้าเกรดต�่ำ หรือต้อง เริ่มต้นกระบวนการผลิตของ lot นั้นใหม่ การตัดสินใจ ลงทุนเพื่อคุณภาพของระบบไฟฟ้าของโรงงานจึงขึ้น กับระดับความ สูญเสียทีจ่ ะเกิดจากระบบไฟฟ้าขัดข้อง เฉลี่ยต่อครั้ง • กระบวนการผลิตที่ไม่ต่อเนื่อง การหยุดการ ผลิตไม่ได้ท�ำให้สินค้าหรือวัตถุดิบที่อยู่ใน Production Line เสียหาย เช่น อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ โรงงานผลิตชิ้นส่วน อะไหล่ โรงโม่หิน เป็นต้น 3. ประเภทของอุปกรณ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้ในโรงงาน อุปกรณ์ ที่ใช้ไฟฟ้าเป็นต้นก�ำลังจะมีความต้องการคุณภาพ ของ Power Supply ในระดับที่แตกต่างกัน โดยจะขึ้น อยู่กับประเภทของอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น และลักษณะการใช้ งาน เช่น อุปกรณ์ Motor ไฟฟ้าใช้กับไฟ 3 Phase เป็นต้น ทัง้ นี้ ระบบไฟฟ้าของโรงงานจะต้องออกแบบให้เป็นต้น ก�ำลังทีเ่ หมาะสมและปลอดภัยเพียงพอกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ จะต้องใช้ในโรงงาน ซึง่ การวางระบบทีเ่ หมาะสมจะสามารถ เลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้า ได้หลากหลายสนองความต้องการใน กระบวนการผลิตของโรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ปัจจัย ทุน / ความเสี่ยงในการหยุดการผลิต ใน การพิจารณาทางเลือกในการลงทุนในระบบไฟฟ้าของแต่ ละโรงงาน การวิ เ คราะห์ ค วามเหมาะสมทาง เศรษฐศาสตร์ เป็นแนวทางหนึ่งที่ใช้ประกอบการตัดสิน ใจ ฐานที่ใช้ในการเปรียบเทียบมักใช้ทางเลือกที่การลงทุน เบื้องต้นต�่ำที่สุดเก็นเกณฑ์ ซึ่งทางเลือกที่ก�ำหนดขึ้นเป็น โจทย์ทจี่ ะต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานของปัจจัยดังกล่าวข้างต้นแล้ว ของแต่ละโรงงาน ทั้งหมดนี้ คือ สิ่งที่ผู้ประกอบการ เจ้าของโรงงาน อุตสาหกรรม ควรต้องให้ความส�ำคัญกับการคุณภาพของ ระบบไฟฟ้าและบ�ำรุงระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นประจ�ำ เพราะ เมื่อปัญหาเกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้านั้นยากที่จะแก้ไขและท�ำ ทุกอย่างให้กลับคืนมาเหมือนเดิม ซึ่งหลายๆ ครั้งก็พบ ว่ามูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นมากกว่าค่าบ�ำรุงรักษา ไฟฟ้าหลายเท่าตัวนัก ดังนั้น คุณภาพของระบบไฟฟ้าใน โรงงานอุตสาหกรรมนั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่ต้องลงทุน อย่าให้ เกิดกรณีวัวหายล้อมคอก หรือเสียน้อยเสียยาก เสียมาก เสียง่ายเลยจะดีกว่า
ขนาดของโรงงาน ก�ำลังไฟฟ้าที่ต้องใช้
ประเภทของ อุปกรณ์ ไฟฟ้า ที่ใช้ในโรงงาน
ปัจจัยที่ต้องพิจารณา เกี่ยวกับงานระบบ ไฟฟ้าของโรงงาน
ลักษณะหรือ กระบวนการ ผลิตของ อุตสาหกรรม
ปัจจัย ทุน / ความเสี่ยง ในการหยุดการผลิต EXECUTIVE SUMMARY We all have to admit that the quality of electricity system for industrial factory also essential, system failure will take life and properties into unnecessary high risk. The quality of system could save the cost that came from leak electricity and also reduce the use of energy in processing. Another benefits are competing in market with efficiency and reduce country’s energy consuming. We frequently found that the damaged cost is much more than maintenance cost. We have to put more interests in electricity system for industrial factory to run the business in long term with efficiency.
ที่มา: - http://thermotracer.co.th/ - บทความ เรื่อง “ระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม” โดยสมบัติ จันทร์กระจ่าง
issue 158 APRIL 2016
P078-079_MO_System.indd 79
21-Apr-16 5:32:33 PM
80 SAFETY เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
MOTOTRBO
เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย และเพิ่มศักยภาพในการท�ำงาน เมื่อยักษ์ใหญ่แห่งวงการสื่อสารอย่าง Motorola ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบการสื่ อ สารและการดู แ ลความ ปลอดภัยของโรงงาน การเข้ามาค้นคว้าและ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพือ่ ความปลอดภัย และเพิ่มศักยภาพจึงได้เกิดขึ้นมา ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นแม้จะเป็นเรื่องเล็ก น้อยแต่กลับส่งผลกระทบในวงกว้าง ไม่ว่า จะเป็นการบาดเจ็บของผู้ด�ำเนินงาน ความ ผิ ด พลาดในขั้ น ตอนต่ า งๆ ส่ ง ผลต่ อ การ เกิด Downtime และการสูญเสียต้นทุนอยู่ เสมอ โดยเมื่อปี 2015 Motorola ได้ส�ำรวจ ข้อมูลจากเหล่าผู้ปฏิบัติการในโรงงานและ พบว่า กว่า 45% นั้นมีปัญหา ‘ความคม ชัดและความครอบคลุมของสัญญาณการ สื่อสาร’ เป็นปัจจัยหลักของปัญหา
45% เป็น
ปัญหาด้าน ความคม ชัดและความครอบคลุม ของสัญญาณการ สื่อสาร ด้วยพื้นที่ของโรงงานที่วุ่นวาย สับสน และเสียงดัง ท�ำให้สญ ั ญาณวิทยุทใี่ ช้ในพืน้ ที่ ของโรงงานอุตสาหกรรมนั้นจ�ำเป็นต้องมี ลักษณะพิเศษเช่นเดียวกับนักดับเพลิงหรือ ต�ำรวจใช้ เช่น มีระบบจัดการกับเสียงรบกวน และระบบเสียงอัจฉริยะ โดยมี MOTOTRBO ซึง่ เป็นสัญญาณวิทยุแบบดิจทิ ลั ทีจ่ ดั การกับ เสียงรบกวนเบือ้ งหลัง และปรับระดับความ ดังของเสียง โดยผู้ปฏิบัติงานไม่จำ� เป็นต้อง คอยปรับค่าต่างๆ ตลอดเวลา ด้วยอุปกรณ์
เสริ ม ไร้ ส ายและอุ ป กรณ์ ส วมหั ว ที่ มี ก าร จั ด การกั บ เสี ย งรบกวนจะท� ำ ให้ ส ามารถ จัดการสิ่งต่างๆ ได้อย่างเป็นอิสระ ในขณะ ที่อุปกรณ์เหล่านั้นจะช่วยปกป้องการได้ยิน ของผู้ปฏิบัติงานด้วยเช่นกัน การสื่อสารที่มี ปัญหาจะก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุรวมถึงคุณภาพ ในการปฏิบัติงาน
WAVE Smartphone Interface
MOTOTRBO Digital Radio Core
Avtec Safety and Security Interface
SeQent Production Alarm Interface
การสื่อสารผ่าน MOTOTRBO นั้นจะ เป็ น การสื่ อ สารแบบสองทาง ซึ่ ง มี ค วาม ยืดหยุ่นและปรับการใช้งานได้อย่างหลาก หลาย ช่ ว ยในการวางแผนงาน บริ ห าร ความเสี่ ย ง มี ร ะบบ GPS และสามารถ จัดการ Downtime ที่ไม่ได้คาดคิดเอาไว้ได้ อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ยังมี WAVE ซึ่งเป็นระบบ สือ่ สารทีส่ ามารถใช้บนระบบปฏิบตั กิ ารใดๆ ก็ได้ โดยจะเป็นการขยายช่องทางในการเข้า ถึงสัญญาณวิทยุส�ำหรับผู้ที่ไม่ได้ถือเครื่อง มือสื่อสารทางการไว้ในมือ สามารถเชื่อม ต่อผ่านสมาร์ทโฟน โน้ตบุค แท็บเบล็ต ผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ทมือถือ Wi-Fi ได้อย่าง สะดวกและง่ายดาย ด้ ว ยความสามารถในการตรวจสอบ สถานะผ่านการสื่อสารคุณภาพท�ำให้เกิด การบริ ห ารความเสี่ ย งได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที ก่อนที่ปัญหาจะเกิด หรือสามารถแก้ไขได้ ภายในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งจากการส�ำรวจ พบข้อมูลดังนี้
52% อยากให้มีการสื่อสารแบบ Real Time ระหว่างเครื่องจักรและ เหล่าผู้ปฏิบัติงานด้วยกัน
46% บอกว่า วิทยุดิจิทัล สามารถลดเวลา Downtime ลงได้ 10-20%
30% อยากให้ระบบ SCADA เชื่อมต่อผู้ปฏิบัติงานเข้ากับเครื่องไม้ เครื่องมือของโรงงาน
MOTOTRBO
คื อ เทคโนโลยี ที่ เ ป็ น ระบบการสื่ อ สารระหว่ า ง เครื่องมือโดยใช้สัญญาณดิจิทัล ใช้งานภายใต้พื้นที่ ที่มีความวุ่นวายและมีเสียงรบกวน มีระบบอัตโนมัติ ส�ำหรับควบคุมระดับเสียงเพื่อให้มีความชัดเจนเหมาะ สมกับพื้นที่ใช้งาน และยังมีการปกป้องเสียงรบกวน จากภายนอก MOTOTRBO มีทั้ง Hardware ที่ติด ตั้งระบบพร้อมใช้และ Software ที่ท�ำให้ ใช้ร่วมงาน กับ Hardware เฉพาะได้ส�ำหรับอุปกรณ์พกพาอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีระบบส�ำหรับตรวจสอบสติสัมปชัญญะ ของผู้ที่ปฏิบัติงานคนเดียวภายใต้พื้นที่อันตรายเพื่อ ติดตาม ป้องกันและแก้ ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่าง ทันท่วงที
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P080-081_MO_Safety.indd 80
20-Apr-16 5:32:14 PM
SAFETY
81
ตัวอย่างลักษณะการท�ำงานของ MOTOTRBO ผู้ปฏิบัติงานจะได้รับข้อความ บนวิทยุจาก ระบบควบคุม และเตือนภัย ของโรงงาน ที่ส่งสัญญาณเตือนระดับ แรงดันน�้ำมัน
ในโรงงานนั้น ผู้ เชี่ยวชาญใช้วิทยุ MOTOTBRO XPR7550 ซึ่งมีการ รับรองการใช้งานภายใต้ พื้นที่อันตราย
ในสายการผลิตนั้นมีการใช้งาน XBT Wireless Headset เพื่อให้ท�ำงานได้ อย่างสะดวกและปกป้องการได้ยิน
แรงดันน�้ำมัน เครื่องจักรหมายเลข 6
หากผู้ปฏิบัติงานไม่ตอบสนองต่อระบบ เตือน ระบบจะส่ง สัญญาณฉุกเฉิน ไปยัง ทีมสนับสนุนของโรงงาน
เมื่อเข้าสู่พื้นที่การปฏิบัติงาน ระบบระบุพื้นที่ของ MOTOTRBO สามารถระบุได้ว่าผู้ปฏิบัติงานอยู่ใน พื้นที่เสี่ยง และจะเปิดระบบ Lone Worker ขึ้นมา
สามารถใช้วิทยุ XPR 7550 เพื่อติดต่อผู้ จัดการโรงงานที่ออกนอกพื้นที่
จะเห็นได้วา่ MOTOTRBO นัน้ สามารถสนับสนุนการ ท�ำงานให้เกิดความราบรื่น ทั้งยังช่วยจัดการปัญหาด้าน ความปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้นจากการสื่อสารที่ผิดพลาด และยังดูแลความปลอดภัยในกรณีที่ต้องปฏิบัติงานคน เดียว โดยมีระบบเพื่อตรวจสอบการตอบสนองของผู้ ปฏิบัติงานได้อีกด้วย ที่มา: - www.motorolasolutions.com/en_us/products/mototrbo.html - White Paper; Accelerate Efficiencies as Manufacturing Surges Forward by Motorola
ผู้จัดการโรงงานติดต่อกลับด้วย WAVE Mobile Communicator บนมือถือสมาร์ท โฟนเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างฉับพลัน
EXECUTIVE SUMMARY Motorola introduced communication system under chaotic and loud circumstance. These issues can cause safety and downtime problems in manufacturing process. The MOTOTRBO is communicating with digital signal like fire fighter and police’s radio do, for signal stability and clearly sound. It can automatically adjust the volume to be appropriate with the field of work, reduce chance of accidental and another problem that cause by communication. The MOTOTRBO has alert and operate automatically with hazardous area check system. This system could be a wise choice for factory’s risk management that cause by communication failure.
issue 158 APRIL 2016
P080-081_MO_Safety.indd 81
21-Apr-16 4:11:15 PM
82 PRODUCTIVITY BOOSTER FTPI เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์
การเพิ่มผลิตภาพ หรือก็คือการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เพื่อให้ผลผลิตมีปริมาณและมูลค่าที่สูงขึ้นนั้น มีอยู่ด้วยกันหลายวิธี ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องของต้นทุน วัตถุดิบ อุปกรณ์การผลิต เวลาในการผลิต รวมไปถึงบุคลากรที่มีส่วนร่วมในการผลิต และเมื่อพูดถึงบุคลากรแล้ว ไม่เพียงหมายถึงกลุม่ ผูท้ เี่ ป็นแรงงานเท่านัน้ แต่ผบู้ ริหารหรือหัวหน้างาน ก็เป็นหัวเรือส�ำคัญที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการเพิ่มผลิตผลของ องค์กรด้วยเช่นกัน ดังนั้น ‘ผู้น�ำ’ จึงต้องเป็นผู้ที่มีศักยภาพ ที่จะสามารถน�ำทีมงานให้ ด�ำเนินงานร่วมกันจนบรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ พัฒนาทีมงานให้ร้จู ักเพิ่ม คุณค่าของงานด้วยการคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งสร้างความผูกพัน ระหว่างทีมงานและองค์กร เราจึงรวบรวมแนวคิดและกลวิธตี า่ งๆ ในการ พัฒนาผู้น�ำจากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติมาน�ำเสนอ เพื่อการเป็น นักส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพ ส�ำหรับสุดยอดผู้น�ำและหัวหน้างาน
1
ออกแบบการจ่ายผล ตอบแทนให้สอดคล้องกับผล ประกอบการขององค์กร
2 แนวทางบริหาร เพื่อเพิ่มผลิตภาพ ในตัวพนักงาน
7
ผู้น�ำระดับ 5 (ดาว)
การเป็นผู้น�ำที่แท้จริง ไม่ใช่เพียงการได้รับต�ำแหน่งแล้วจบ การ ได้รับเลือกให้มีต�ำแหน่งเหนือผู้อื่น เป็นเพียงผู้น�ำระดับต�่ำสุดของ ความเป็นผู้นำ� ซึ่งมีทั้งหมด 5 ระดับ ผู้น�ำที่เป็นมากกว่า ‘เจ้านาย’ คือสามารถท�ำให้ผู้อื่นท�ำตาม ไม่ใช่เพียงเพราะว่าเขาจ�ำเป็นต้องท�ำ แต่ผู้น�ำต้องมีฝีมือในการผูกใจคนและสร้างแรงบันดาลใจ ผู้น�ำต้อง สามารถช่วยให้คนอื่นพัฒนาตนเองเพื่อเป็นผู้น�ำในอนาคตได้ หาก คุณเป็นผู้น�ำที่มีทั้งฝีมือและความเสียสละ เมื่อนั้นคุณจึงจะก้าวสู่จุด สูงสุดของการเป็นผู้นำ� ระดับที่ 5 ได้
ผู้น�ำ 5 ระดับ
1 2 3 4 5
Position ตามต�ำแหน่งหน้าที่ ถือเป็นระดับล่างสุด ระดับนี้ยังไม่ใช่ ผู้นำ� ที่แท้จริง ยังต้องรอการพิสูจน์ผลงานและการยอมรับ
Production การสร้างผลงานจนเป็นที่ประจักษ์ทั้งประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
People Development การพัฒนาคนไม่ใช่เพียงเพื่อมาทดแทน แต่ต้องท�ำให้ ก้าวหน้าและยิ่งใหญ่กว่าคนเดิม
Pinnacle ความส�ำเร็จสูงสุดของผู้น�ำ คือการท�ำให้เกิดผู้น�ำ 4 ระดับ เพิ่มขึ้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P082-083_MO_Productivity Booster_FTPI.indd 82
3
ให้เกียรติ พนักงานที่ตัว บุคคล ไม่ใช่แค่งาน ที่ท�ำเท่านั้น
ท�ำพฤติกรรมให้เป็น ตัวอย่างส�ำหรับทีม
สู่สุดยอดการเป็น
Permission การยอมรับจากคนรอบข้าง 360 องศา
ให้ข้อมูลป้อน กลับ หรือต�ำหนิ อย่างสร้างสรรค์ และสม�่ำเสมอ
6 อย่าขี้เหนียวค�ำชม
4
5
ให้การสนับสนุน งานในสิ่งที่เขาให้ ความส�ำคัญ
พัฒนาทักษะการบริหาร จัดการให้แก่หัวหน้างานทุกๆ คน ในทุกๆ ระดับ
มหัศจรรย์เลข 70 / 20 / 10 สุดยอดเทคนิคการบริหารงาน และการจัดการคนในองค์กร
แนวคิด 70/20/10 (Learning & Development Model) ให้เป็น เครื่องมือหนึ่ง ส�ำหรับนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ผลส�ำรวจจากกลุ่มผู้จัดการที่มีสมรรถนะสูง และ ประสบความส�ำเร็จ ในการบริหารงาน แสดงให้เห็นเป็นสัดส่วน ที่น่าสนใจ ดังนี้
70 20 10
ผูจ้ ดั การทีม่ ปี ระสิทธิผลสูง ใช้ ไปในการดูแลความ เรียบร้อย ของงานภายใต้ความ รับผิดชอบหลัก
%
ใช้ ไ ปในการดู แ ลคน หรื อ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา โดยตรง
%
ใช้ ไปในการเรียนรู้ เข้าอบรม เสริมทักษะ และ การอ่าน
%
21-Apr-16 12:06:24 PM
PRODUCTIVITY BOOSTER FTPI 83
ท�ำไม...
พัฒนาผู้น�ำไม่ส�ำเร็จ ในอดีตการวัดผลส�ำเร็จของการพัฒนาบุคลากรอาจ ไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อย่างมากก็แค่ดูว่าผู้เข้า รับการพัฒนามีความพึงพอใจมากหรือน้อยเพียงใด และ มีความรู้ที่เพิ่มขึ้นหรือไม่เท่านั้น แต่ปัจจุบันแนวทางการ วั ด ผลมี ค วามส� ำ คั ญ สู ง ขึ้ น และดู เ ป็ น รู ป ธรรมมากขึ้ น ด้วย หนึ่งวิธีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในองค์กรต่างๆ คือ การส�ำรวจแบบ 360 องศา ที่ถามคนรอบๆ ข้างว่าเห็น พัฒนาการอะไรบ้าง โดย ส�ำรวจทั้งก่อน (Pre) และหลัง (Post) การพัฒนา แล้วจึงน�ำผลที่ได้มาเปรียบเทียบ ท�ำให้ เห็นความส�ำเร็จที่ชัดเจนมากขึ้น แต่บอ่ ยครัง้ ทีพ่ บว่าหลังจากผ่านการพัฒนาแล้วคะแนน ที่วัดครั้งหลัง (Post) อาจน้อยกว่าครั้งแรก (Pre) ซึ่งแปล ว่า ผู้ที่ได้รับการพัฒนา นอกจากจะไม่ดีขึ้นแล้ว ยังกลับมี พฤติกรรมที่แย่ลงไปอีก ซึ่งได้มีการค้นหาสาเหตุแห่งความ ไม่ส�ำเร็จนี้ และสรุปได้ว่ามีสาเหตุ 5 ประการ ที่ท�ำให้การ พัฒนาผู้นำ� ไม่ส�ำเร็จตามเป้าหมาย เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวัดความส�ำเร็จของการพัฒนามีอยู่ หลากหลาย ทุกเครื่องมือมีประโยชน์หากน�ำมาใช้อย่างถูก ต้อง ในทางกลับกันเครื่องมือเหล่านี้อาจก่อให้เกิดปัญหา ตามมา หากผู้ใช้มีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ดังนั้น ก่อน น�ำเครื่องมือใดๆ มาใช้ควรท�ำความเข้าใจให้ถ่องแท้และ น�ำมาใช้อย่างระมัดระวังการวัดผลก็จะมีประสิทธิภาพอย่าง เต็มศักยภาพ ตามที่คาดหวัง
EXECUTIVE SUMMARY To encourage CEO or executive in selfdevelopment, this is an important procedure to improve productivity. A great leader could bring up team work and accomplish the goal, also developing their team to appreciate the value of work. The mission of leadership is not just about higher responsible but it’s also acceptance and trust from the whole organization. To be an inspiration from the heart of all employees, the leader must be an expert and also make a sacrifice for organization, development in all-rounder skill and always be a learner. Good management skill and colleague respect also need, in order to develop the other colleague to be a leader.
สาเหตุของการประเมิน 360 องศา ที่ไม่บรรลุผล ความคาดหวังที่สูงขึ้น การที่ผู้ประเมินให้คะแนนลดลงอาจไม่ใช่เพราะ พฤติกรรมของผู้พัฒนาที่แย่ลง แต่เป็นความคาดหวังของผู้ประเมินเองที่หวังจะ เห็นความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนตามที่ตั้งใจไว้ แต่เมื่อไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง จึง ให้คะแนนลดลง ไม่มุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนอย่างจริงจัง ปัญหานี้เกิดจากตัวผู้ที่ได้รับการ พัฒนาเอง บ่อยครั้งที่การพัฒนา กลายเป็น ‘ไฟไหม้ฟาง’ ลุกโชนอยู่เพียง ชัว่ คราว ก่อนทีจ่ ะดับมอดไปอย่างรวดเร็ว ผูค้ นทีท่ ำ� งานด้วยรอบข้างแม้จะสังเกต เห็นพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในช่วงแรก แต่เป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ ก่อนที่จะ หวนกลับคืนมามีพฤติกรรมอย่างเดิมอีก ดังนั้น คะแนน 360 ที่ให้ภายหลังการ พัฒนาจึงลดต�่ำลง เป็นนิสัยถาวรที่แก้ ไขยาก ต้องยอมรับว่าการพัฒนาอาจไม่ใช่ยาวิเศษที่ แก้ ไขพฤติกรรมของคนทุกคนได้ การพัฒนาความรู้และทักษะ ง่ายกว่าการปรับ เปลี่ยนเรื่องอารมณ์ ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยม ส่วนตัวที่คนๆ นั้นยึดถือ ดัง นั้นหากประเด็นที่ต้องพัฒนาเป็นเรื่องยากที่จะแก้ ไขย่อมมีโอกาสสูงมาก ที่คน รอบข้างจะมองไม่เห็นการเปลีย่ นแปลงทีช่ ดั เจน ในระยะอันสัน้ นิสยั บางอย่างต้อง อาศัยความตั้งใจอย่างมาก และระยะเวลาที่ยาวนานในการปรับเปลี่ยน เหตุการณ์ ไม่ปกติในช่วงประเมิน บางทีเหตุการณ์บางอย่าง ที่เกิดขึ้น ในระหว่างที่มีการเก็บข้อมูล 360 องศาในช่วงหลังการพัฒนา (Post) ก็อาจมี ผลต่อคะแนนที่ได้รับ ตัวอย่างที่เกิดขึ้นบ่อยๆ เช่น เป็นช่วงเวลาที่มีการประเมิน ผลงานประจ�ำปีและผู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็น ผู้บังคับบัญชาของคนที่ต้องตอบ แบบสอบถามซึง่ เผอิญปีนี้ได้ผลงานไม่ดี จึงสบโอกาส ใช้ 360 องศาเป็นช่องทาง ระบายความคับข้องใจทีม่ ตี อ่ เจ้านาย เป็นต้น คะแนนนีจ้ งึ ไม่ได้สะท้อนพฤติกรรม ทีแ่ ท้จริงของผู้ได้รบั การพัฒนา แต่เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างทีม่ กี ารเก็บข้อมูล มีคะแนนแปลกประหลาดที่ฉุดค่าเฉลี่ย เป็นไปได้ที่อาจมีบางคนให้คะแนน เบี่ยงเบนออกจากกลุ่มอย่างมาก (Outlier) เช่น ให้คะแนนสูงมากหรือต�่ำมาก เมื่อเทียบกับผู้ประเมินคนอื่นๆ ซึ่งปกติข้อมูลแบบนี้ หากพบในการประเมิน 360 องศา ควรใส่หมายเหตุไว้ ให้ชัดเจน เพื่อผู้ที่อ่านผลจะได้รับทราบว่ามีคะแนน แปลกประหลาดอยู่ในข้อมูลนั้นๆ ด้วย ที่สำ� คัญคะแนนแบบนี้ควรเป็นตัวเร่งที่จุด ประเด็นให้มีการค้นหาสาเหตุ ที่แท้จริงต่อไป (โดยไม่จ�ำเป็นที่จะต้องหาว่า ‘ใคร’ เป็นคนให้คะแนนนั้น)
ทีม่ า: Productivity Corner สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ issue 158 APRIL 2016
P082-083_MO_Productivity Booster_FTPI.indd 83
21-Apr-16 12:06:25 PM
84 PRODUCTIVITY human resorce เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ
มจธ.เร่งติดปีกบัณฑิต
ดันสู่ผู้ประกอบการอุตสากรรมแบบ 2 in 1 เรามักได้ยินค�ำนี้อยู่บ่อยๆ ว่า “เมืองไทยมีคนเก่งเยอะ” ทั้ง นักเรียน นักศึกษาไทยสามารถคว้ารางวัลในการประกวด นวัตกรรมระดับโลกมาได้อย่างเป็นกอบเป็นก�ำ แต่คำ� ถามทีต่ าม มาหลังจากนั้น คือ แล้วคนเก่งๆ เหล่านั้นไปอยู่เสียที่ไหนหมด เหตุใดธุรกิจนวัตกรรมที่มีการตั้งโรงงานผลิตใหญ่โตในไทยจึง เป็นของชาวต่างชาติเสียเป็นส่วนใหญ่ จะเห็นได้วา่ ระบบการศึกษาไทยทีผ่ า่ นมาผลิตบุคลากร ที่มีความรู้เฉพาะด้านแบบเชิงเดี่ยว โดยเฉพาะความรู้ด้าน วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ซึ่ ง เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ต่ อ การ พัฒนาประเทศที่แม้บุคลากรจะมีความสามารถสูงแต่ยัง ไม่สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดมูลค่าเชิงธุรกิจได้ โจทย์ ส�ำหรับสถาบันการศึกษา คือ ท�ำอย่างไรที่จะสามารถผลิต บุคลากรทีม่ คี วามสามารถด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ การบริหารธุรกิจอยู่ในคนเดียวกัน เพื่อยกระดับผู้ประกอบ การอุตสาหกรรมไทยให้มีความสามารถสู่การแข่งขันใน ระดับสูงได้
คุณค่าต่อวงการอุตสาหกรรมไทย มีบคุ ลากรทีส่ ามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการประดิษฐ์คดิ ค้น ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจนเป็นนวัตกรรม และพัฒนานวัตกรรม ด้านการบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์เชิงธุรกิจ สร้างผู้น�ำทางด้านธุรกิจเทคโนโลยี โดยบุคลากรที่ส�ำเร็จการ ศึกษาไปแล้วและต้องการเป็นผู้น�ำด้านธุรกิจเทคโนโลยี ให้สามารถเริ่ม ต้นธุรกิจได้ สามารถเป็นผู้ประกอบการ ผู้จัดการและนักวิจัยระดับแนวหน้า ในด้านเชิงเทคโนโลยีและการจัดการ บุคลากรเหล่านี้เป็นผู้มีความรู้สามารถและประสบการณ์ ใน การผสานองค์ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยี การตัดสินใจและแก้ ไข ปัญหา การพัฒนาและวิจัยการประกอบการธุรกิจ การตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางการแข่งขันต่างๆ ทั้งในระดับ ชาติและสากลได้อย่างมีประสิทธิผล
สมการ 2 in 1 ติดปีกบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มิได้เพิกเฉยต่อปัญหา ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในภาคอุ ต สาหกรรมไทย และเปิ ด หลั ก สู ต รหวิ ท ยาศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยี (Master of Science Program in Technopreneurship) เพื่อแก้สมการนี้ โดยเน้นองค์ความรูท้ งั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ในด้านการพัฒนาความ สามารถทางการแข่งขันเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนากระบวน วิธีการทางธุรกิจ การประกอบการและนวัตกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ผสานองค์ความรูด้ า้ นการจัดการเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เข้ากับการบริหารจัดการเชิงธุรกิจ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ ในเชิงรุก อีกทั้งส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ในการประกอบการ การท�ำแผนธุรกิจเชิง เทคโนโลยีที่ใช้ ได้จริง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสร้างสรรค์ สามารถก้าวสู่การ เป็นผู้ประกอบการอย่างมีศักยภาพ และเป็นผู้น�ำในด้านธุรกิจเทคโนโลยี เรียก เหล่านี้ว่า สมการ 2 in 1 = เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม + การบริหาร จัดการธุรกิจ = 1 คน
EXECUTIVE SUMMARY King Mongkut’s University of Technology Thonburi has new curriculum in Master of Science Program in Technipreneurship, merging the knowledge of technology management in science and engineering with business management to create initiative learning with theoretical and practicing. This curriculum also encourage learning process in business management and effective business strategy with technology to create creativity behavior for learner and lead them to be efficiency entrepreneur, also leading in technology business.
ทีม่ า: http://fibo.kmutt.ac.th/fiboweb/2013/index.php/th/education/admission/ academic-programs/master-program-techno-preneurship
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P084_MO_Productivity Human Resorce.indd 84
21-Apr-16 11:41:11 AM
เรื่อง: สาวิตรี สินปรุ | ทศธิป สูนย์สาทร FOOD PROCESSING 85
4 นวัตกรรม SME
ต่อยอดสูอ่ ตุ สาหกรรมแปรรูป อาหารระดับมหภาคของไทย
หากมองตามตั ว เลขที่ ไ ด้ จ ากธนาคารแห่ ง ประเทศไทยในเรื่องของมูลค่าและปริมาณสินค้า ออกจ�ำแนกตามการผลิตจะพบว่า ตัวเลขของมูลค่า และปริมาณสินค้าออกจ�ำแนกตามกิจกรรมการผลิต นัน้ มีแนวโน้มทีใ่ กล้เคียงกับช่วงดียวกันของปีทแี่ ล้ว ซึง่ ภาพรวมถือว่ามีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ โดยกลุม่ อุตสาหกรรม อาหารของไทยนัน้ มีสดั ส่วน GDP อยูท่ ี่ 10.5% โดย ประมาณ เป็นการผลิตในประเทศ 78% และการน�ำ เข้าอีก 22% ซึง่ มูลค่าการผลิตอาหารของไทยนัน้ มี สัดส่วนสูงสุดในภาคการผลิต ส่วนมากผูป้ ระกอบการ มักจะเป็นโรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม ในส่วน ของการแปรรูปนัน้ เนือ้ สัตว์แปรรูป สัตว์นำ�้ แปรรูป ผล ไม้และผักแปรรูปอยูท่ ี่ 3.7%, 2.6% และ 2.2% ตาม ล�ำดับ (ข้อมูลจากธนาคารกสิกรไทย SME) ส� ำ หรั บ อุ ต สากรรมการแปรรู ป อาหารนั้ น ถื อ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมาย มีการต่อยอด มาจากอุตสาหกรรมอาหาร โดยทางภาครัฐนั้นได้
สนับสนุนให้เป็นหนึง่ ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย เป็นผลมาจากการที่เศรษฐกิจอ่อนแอเพราะมีการ ลงทุนที่น้อยมาก รวมถึงประเทศไทยนั้นขาดความ มุ่งมั่นอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ท�ำให้มีปัญหาหลัก ในโครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ของประเทศ ซึ่ ง สามารถ ด�ำเนินการแก้ไขต่อยอดได้ดว้ ยการลงทุนในเรือ่ งของ การวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพสู่ระดับ นานาชาติ สามารถปรับตัวน�ำเทคโนโลยีสำ� หรับธุรกิจ ขนาดเล็กมาใช้กบั ธุรกิจขนาดกลางขึน้ ไปเพือ่ พัฒนา ศักยภาพและเทคนิคทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตของภาค อุตสาหกรรม โดยจะเป็นการลดต้นทุนทีต่ อ้ งใช้สำ� หรับ ธุรกิจขนาดกลางขึน้ ไป ส�ำหรับคอลัมน์ FOOD PROCESSING ได้น�ำ เสนอตัวอย่างของเครื่องจักรแปรรูปอาหารจ�ำนวน 4 เครือ่ ง ทีใ่ ช้ในธุรกิจ SME เพือ่ เป็นแนวทางและจุด ประกายความคิดการใช้งานเครือ่ งจักรแปรรูปอาหาร ซึง่ สามารถปรับใช้กบั ธุรกิจขนาดกลางขึน้ ไปได้
จากการที่ประเทศไทยนั้นมีผลผลิตทางการเกษตร ทีส่ งู และวัตถุดบิ เหล่านีม้ วี งจรชีวติ ทีค่ อ่ นข้างจ�ำกัด การแปรรูปอาหารจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับการรักษา ผลผลิตที่มี ทั้งยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าได้ อย่างชัดเจน ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบบรรจุภณ ั ฑ์ กรรมวิธี ในการแปรรูปอาหาร โดยมากมักเกิดขึ้นในรูปแบบ ของอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (SME) แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น สามารถปรับใช้กับอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่กว่า ได้อย่างง่ายดาย
issue 158 APRIL 2016
P85-87_FOOD PROCESSING.indd 85
21-Apr-16 11:02:31 PM
86 FOOD PROCESSING
เครื่องจักรอบแห้งสุญญากาศและลดอุณหภูมิ
เครือ่ งจักรอบแห้งสุญญากาศและลดอุณหภูมจิ ะใช้อากาศเป็นตัวกลางในการอบแห้งวัสดุ โดยการผ่านอากาศไปยังวัสดุท�ำให้เกิดการถ่ายเทความร้อนจากอากาศไปยังวัสดุและถ่ายเท มวลจากวัสดุไปยังอากาศ ซึง่ จะเกิดขึน้ พร้อมๆ กันความร้อนทีว่ สั ดุได้รบั ส่วนใหญ่จะถูกน�ำไป ใช้ในการระเหยน�้ำออกจากวัสดุ วัสดุสว่ นใหญ่จะมีลกั ษณะภายในเป็นรูพรุน เมือ่ ถูกท�ำให้แห้งในลักษณะชัน้ บาง (อุณหภูม,ิ ความชื้น และความเร็วอากาศ) อัตราการอบแห้งจะคงที่ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้น จะ ลดปริมาณความชื้นของวัสดุขณะที่อัตราการอบแห้งเริ่มเปลี่ยนจากคงที่เป็นลดลง เรียกว่า ‘ปริมาณความชื้นวิกฤต’ ซึ่งค่าปริมาณความชื้นวิกฤตจะขึ้นกับชนิดของวัสดุ และสภาวะใน การอบแห้ง ประโยชน์ของการอบแห้งนอกจากเป็นการถนอมอาหาร ยังเป็นการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าสินค้าและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอีกด้วย
คุณสมบัติ – ขนาดห้องอบ 620 x 930 x 1260 มิลลิเมตร – ชั้นวางวัตถุดิบ 3 ชั้น (สามารถขยายเป็น 5 ชั้น) ขนาด 560 x 1200 มิลลิเมตร ระยะห่างระหว่างชั้นประมาณ 140 มิลลิเมตร – ความดันภายในห้องอบ 650 – 700 มิลลิเมตรปรอท – อุณหภูมิภายในห้องอบ 42 – 52 องศาเซลเซียส พัฒนาโดย: นายชวลิต รุ่งอิทธิวงศ์ ส�ำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 บางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท์: 0 2913 2500 ต่อ 2618, 08 6782 6501 โทรสาร: 0 2585 3902 Email: chv_th@hotmail.com บริษัทที่ร่วมโครงการ บริษัท ที เทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 109/156 ซอย 18 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: 0 2512 4376, 0 2512 2031, 0 2938 8217
คุณสมบัติ – ขนาดเครือ่ ง 2 x 3.6 x 1.75 เมตร – วัสดุทำ� ด้วย Iso wall – มีความจุ 200 – 1000 กิโลกรัม (ขึน้ กับชนิดวัตถุดบิ ก่อนท�ำแห้ง) มีลกั ษณะเป็นตูเ้ ดีย่ วสามารถถอดและประกอบในทีต่ า่ งๆ ได้ – ภายในถาดส�ำหรับบรรจุผลิตภัณฑ์ทจี่ ะท�ำแห้ง โดยระยะเวลาท�ำ แห้งขึน้ กับปริมาณความชืน้ ในผลิตภัณฑ์ – มีระบบตรวจเช็คอุณหภูมแิ ละความชืน้ อัตโนมัตแิ สดงผลด้วยจอ ดิจติ อล
เครื่องอบระบบดูดความชื้น
– เครื่องอบระบบดูดความชื้น มีหลักการท�ำงาน คือ การใช้ลมเย็นแห้งและมีความชื้นต�่ำเป่าผ่าน ผลิตภัณฑ์ออก ท�ำให้ความชื้นในผลิตภัณฑ์ค่อยๆ ลดต�่ำลงจนอยู่ในระดับที่จุลินทรีย์ ไม่สามารถ เติบโตได้หรือเติบโตได้ช้าและคุณภาพผลิตภัณฑ์เปลี่ยนแปลงไม่มาก – สามารถรักษาคุณค่าของอาหาร และยังรักษากลิน่ รสและสีของผลิตภัณฑ์ ไว้คงเดิมด้วย โดยเฉพาะ ผักผลไม้ และสมุนไพร – ช่วยถนอมผลิตภัณฑ์หรือผลผลิต ให้สามารถเก็บได้ทั้งปีโดยยังมีรสชาติ สี กลิน่ และคุณค่าอาหาร ใกล้เคียงกับธรรมชาติได้มาก – ช่วยเพิม่ มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร เมือ่ น�ำไปเป็นวัตถุดบิ ตัง้ ต้นในการทีจ่ ะแปรรูปไปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ต่อไป – เครือ่ งอบระบบดูดความชืน้ สามารถลดความชืน้ จากเริม่ ต้นทีค่ วามชืน้ 31.7 % ลงมาที่ 14.4 % และ อุณหภูมิ 25.7 องศาเซลเซียส มาอยู่ที่ 20.3 องศาเซลเซียส ในระยะเวลา 5 ชั่วโมง ซึ่งสามารถลด ความชื้นและอุณหภูมิลงมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาโดย: สมาคมเครือ่ งจักรไทย เลขที่ 86/6 อาคารส�ำนักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน ซอยตรีมติ ร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: 0 2712 2096 โทรสาร: 0 2712 2979 ร่วมกับ: บริษทั ซัพพอร์ท แพค จ�ำกัด เลขที่ 1070, 768 หมู่ 3 ซอยท่านผูห้ ญิง ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์: 0 2758 1492-9 โทรสาร: 0 2758 1492-9 E-Mail: sale@support-pack.com บริษทั ทูลส์ พาร์ท โมล์ด จ�ำกัด เลขที่ 768 หมู่ 3 ซอยท่านผูห้ ญิง ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลเทพารักษ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270 โทรศัพท์: 0 2758 1492-9 โทรสาร: 0 2758 1492-9 E-Mail: sale@support-pack.com
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
P85-87_FOOD PROCESSING.indd 86
21-Apr-16 11:02:32 PM
FOOD PROCESSING 87
ประสิทธิภาพของเครื่องจักร – เป็นการนวดกล้วยโดยการทุบด้วยระบบนิวเมติกส์สามารถ ปรับความดันไว้ 0.5 - 0.7 MPA – ควบคุมการท�ำงานให้สอดคล้องและต่อเนื่องด้วยระบบ PLC – สามารถผลิตกล้วยแผ่นได้ 200 แผ่น ต่อชั่วโมง – ใช้พลังงานไฟฟ้าประมาณ 0.35 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง
เครื่องนวดกล้วยแผ่นอัตโนมัติ
การท�ำงานประกอบด้วยสามขัน้ ตอน คือ ขัน้ ตอนการล�ำเลียงกล้วยเข้า ผูป้ ฏิบตั งิ านท�ำหน้าทีว่ างกล้วยผ่า ซีกทีบ่ รรจุอยูใ่ นซองพลาสติกลงบนถาด ขัน้ ตอนการนวดกล้วยแผ่นทุบกล้วยทีต่ ดิ กับกระบอกลมจะท�ำการบีบ กล้วยโดยใช้ระบบนิวเมติกส์ขนั้ ตอนการท�ำงานทัง้ สามจะถูกควบคุมให้เกิดขึน้ ในจังหวะเดียวกัน เมือ่ เสร็จสิน้ การ ท�ำงานในแต่ละขั้นตอนถาดจะถูกหมุนด้วยชุดหมุนโดยมอเตอร์ ไฟฟ้าเพื่อท�ำงานในรอบต่อไป การท�ำงานของ เครื่องถูกควบคุมให้เกิดขึ้นอย่างสอดคล้องและต่อเนื่องด้วยระบบ PLC
พัฒนาโดย: เวชยันต์ รางศรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ต�ำบล สุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์: 0 5394 4146 ต่อ 416 หรือ 938
เครื่องล้างท�ำความสะอาดสาหร่ายไก
คุณลักษณะและสมรรถนะของเครื่อง 1. ตัวเครือ่ งจักรมีขนาดกว้าง 0.52 เมตร ยาว 1.00 เมตร และสูง 1.41 เมตร ตัวเครือ่ งสร้าง ขึ้นจากสแตนเลสทั้งหมดที่ผ่านการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม จึงมีนำ�้ หนักเบา แข็ง แรง ทนทานสามารถเคลือ่ นย้ายได้สะดวกด้วยล้อเลือ่ นทีส่ ามารถล็อกให้อยูก่ บั ที่ได้ มีนำ�้ หนักเครื่องเปล่าประมาณ 60 กิโลกรัม 2. ใช้กบั ระบบไฟฟ้ากระแสสลับ เฟสเดียว 220 โวลต์ 50-60 เฮิรตซ์ ควบคุมการท�ำงานด้วย ระบบไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ ใช้พลังงานไฟฟ้า 374 วัตต์ 3. อัตราการล้าง 6.2 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง และมีอตั ราการสิน้ เปลืองน�้ำ 667.24 ลิตรต่อชัว่ โมง 4. ใช้ส�ำหรับล้างสาหร่ายน�้ำจืดเส้นใยสูง (สาหร่ายไก) โดยการบรรจุสาหร่ายเปียกลงใน ถังล้างครั้งละไม่เกิน 6 กิโลกรัม และยังประยุกต์ ใช้เพื่อการล้างพืชผลทางการเกษตรที่มี คุณสมบัติลอยน�ำ้ ได้ เช่น พืชผักและผลไม้ ได้เป็นอย่างดี หลักการท�ำงาน – ตั้งโปรแกรมการท�ำงาน โดยการปรับตั้งจังหวะการฉีดน�ำ้ (Nozzle Step) ปรับตั้งช่วงเวลาในการเปลี่ยนน�ำ้ (Drain Period) และปรับ ตั้งเวลาทั้งหมดในการล้าง (Machine Period) – เปิดสวิตช์ เครื่องจักรจะเริ่มท�ำงานโดยที่นำ�้ สะอาดจะไหลเข้ามาในถัง ล้างและถังตกตะกอนจนเต็ม – ปั๊มน�้ำที่ติดตั้งอยู่ใต้ถังล้างจะเริ่มท�ำงานอัตโนมัติโดยดูดน�ำ้ สะอาด จากถังตกตะกอนมาสร้างแรงดันเพื่อส่งไปยังหัวฉีดที่อยู่ส่วนบน ของถังล้าง น�ำ้ แรงดันสูงจะถูกฉีดลงในถังล้างเกิดคลื่นฟองแบบปั่น ป่วน ท�ำให้สาหร่ายเกิดการเคลื่อนที่ม้วนตัวไปมาอย่างปั่นป่วนด้วย เช่นกัน ส่งผลให้สิ่งสกปรกและเศษดินทรายที่จับตัวอยู่กับเส้นใย สาหร่ายสลัดหลุดออกมา พัฒนาโดย: ดร.สิทธิบูรณ์ ศิริพรอัครชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดน่าน สาขาวิศวกรรม เครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ 59 หมู่ 13 ต�ำบลฝายแก้ว อ�ำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 55000 โทรศัพท์: 0 5471 1601 Email: boontisit@hotmail.com
EXECUTIVE SUMMARY Food processing is one of the 10 targeted industries, continue from food industry. Thai government has been supported food processing in order to enhance the quality to compete in the international market. The column FOOD PROCESSING has presented 4 food processing machines - i.e., low temperature vacuum drying machine, dehydration drying oven, automatic banana rolling machine and cleaning machine for kai seaweed. These machines are using in SME business and could be apply the idea of food processing machine to use with medium size business or above.
issue 158 APRIL 2016
P85-87_FOOD PROCESSING.indd 87
21-Apr-16 11:02:35 PM
‘ABB ยกทัพเทคโนโลยีหุ่นยนต์
ร่วมจัดแสดงในงาน MANUFACTURING EXPO 2016’ งาน MANUFACTURING EXPO มหกรรมเทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลด้านอุตสาหกรรมการผลิต ทีจ่ ดั ขึน้ เป็นประจ�าทุกปี เพือ่ น�าเสนอเทคโนโลยี และเครื่องจักรที่ทันสมัยส�าหรับใช้ในการผลิตแม่พิมพ์ ชิ้นส่วนยานยนต์ เทคโนโลยีด้านกระบวนการประกอบ และเครื่องจักรอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งถือเป็นงานใหญ่ที่นักอุตสาหกรรมไม่ควรพลาด บริษัท เอบีบี จ�ำกัดบริษัทชั้นน�ำที่มีควำมเชี่ยวชำญ ด้ำนเทคโนโลยีพลังงำนและระบบอัตโนมัติ หนึ่งในผู้เข้ำร่วม จัดแสดงสินค้ำและเทคโนโลยีก็ได้เตรียมยกทัพเทคโนโลยี หุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ งำนอุ ต สำหกรรม ที่ ไ ด้ รั บ กำรพั ฒ นำให้ มี ควำมสำมำรถเพิม่ ขึน้ ไปแสดงในงำน MANUFACTURING EXPO 2016 ในครั้งนี้ด้วย โดย คุณล�้ำบุญ สิมะขจรบุญ Local Business Unit Manager for Robotics Discrete Automation & Motion Division บริ ษั ท เอบี บี ประเทศไทย จ�ำกัด ได้ให้เกียรติพูดคุยกับกองบรรณำธิกำร ถึงมุมมองสถำนกำรณ์อตุ สำหกรรมกำรผลิตชิน้ ส่วนยำนยนต์ ในประเทศไทย พร้อมทั้งน�ำเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะจัด แสดงภำยในงำน MANUFACTURING EXPO 2016 ครั้งนี้ด้วย เศรษฐกิจซบเซา ผู้ประกอบการพลิกวิกฤตเป็นโอกาส ปรับปรุงสายการผลิต ใช้ระบบอัตโนมัติ คุ ณ ล�้ ำ บุ ญ ได้ ก ล่ ำ วถึ ง ภำวะเศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บั น ว่ำสถำนกำรณ์เศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนีไ้ ด้สง่ ผลกระทบต่อ หลำกหลำยธุรกิจในวงกว้ำง ส�ำหรับเอบีบีเองก็ได้รับผล กระทบในระดับหนึ่ งด้ วยเช่ นกั น เนื่ องจำกอุ ตสำหกรรม รถยนต์นนั้ มีกำรใช้งำนหุน่ ยนต์ในสำยกำรผลิตเป็นจ�ำนวนมำก แม้ว่ำจะมีตัวเลขที่ดูเหมือนจะมีกำรเติบโตอยู่บ้ำง แต่ก็ไม่ใช่ กำรเติบโตที่มีนัยยะส�ำคัญใดๆ ทั้งนี้ ผลกระทบจำกปัญหำควำมไม่มั่นใจต่ำงๆ เช่น ปัญหำเศรษฐกิจของประเทศจีนที่ส่งผลต่อกำรซื้อขำยและ กำรส่งออก ท�ำให้กำรตัดสินใจหยุดชะงัก หรือปัญหำจำกภำค กำรเกษตร ที่ต้องเผชิญกับควำมเปลี่ยนแปลงของสภำพภูมิ อำกำศ โดยเฉพำะปัญหำภัยแล้ง ซึ่งปัญหำที่เกิดขึ้นในภำค กำรเกษตรได้สง่ ผลกระทบต่อเนือ่ งมำยังอุตสำหกรรมรถยนต์ ด้วยเช่นกัน จะเห็นได้ว่ำเมื่อภำคกำรเกษตรมีกำรเติบโต ควำมต้องกำรใช้รถกระบะก็ มำกขึ้ น รถกระบะขำยดี ขึ้ น ก็ท�ำให้อุตสำหกรรมรถยนต์ ได้รับอำนิสงส์ไปด้วย ซึ่งในปีนี้ บริษัทโตโยต้ำ (ประเทศไทย) จ�ำกัดก็คำดกำรณ์ว่ำยอดขำย รถยนต์ของโตโยต้ำในประเทศมีแนวโน้มที่จะลดลงถึง 10 % “แม้อุตสาหกรรมรถยนต์จะไม่มีการเติบโตมากนักแต่ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมอืน่ ๆ การปรับเปลีย่ นรูปแบบแรงงาน จากทรัพยากรมนุษย์ไปสู่หุ่นยนต์นั้นกลับมีนัยยะที่น่าสนใจ เพราะช่วงเวลาที่ภาคธุรกิจต้องเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจ ซบเซาสามารถพลิกวิกฤตเป็นโอกาส โดยเฉพาะการพัฒนา กระบวนการผลิตด้วยปรับเปลี่ยนสายการผลิตจากการใช้ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ม าเป็ น หุ ่ น ยนต์ อั ต โนมั ติ หรื อ ระบบ Automation แทน ยกเว้นอุตสาหกรรมที่มีสายการผลิตเป็น ระบบอัตโนมัติอยู่แล้ว”
Interview ABB.indd All Pages P088-089_Ad Interview ABB.indd 88
คุณ ล�้ำบุญ สิมะขจรบุญ Local Business Unit Manager for Robotics Discrete Automation & Motion Division บริษัท เอบีบี ประเทศไทย จ�ำกัด
4/18/2016 10:31:35 AM
เอบีบีเสริมทัพหุ่นยนต์รุ่นใหม่ เพิ่มศักยภาพให้กับอุตสาหกรรมไทยและอาเซียน คุ ณ ล�้ ำ บุ ญ ยั ง ได้ ก ล่ ำ วต่ อ ไปว่ ำ หุ ่ น ยนต์ ที่ ใ ช้ ใ น กระบวนกำรผลิตของเอบีบีในขณะนี้ มีแผนกำรปรับเพิ่ม จ�ำนวนรุ่น และจ�ำนวนของหุ่นยนต์ให้มำกขึ้น เช่น กำรผลิต หุ่นยนต์สองแขนที่เปิดตัวไปแล้วเมื่อสองเดือนก่อนเนื่องจำก กำรเพิ่มหุ่นยนต์นั้นถือเป็นกำรเพิ่มทำงเลือกในกำรใช้งำน ให้กับผู้ประกอบกำรมำกขึ้น ซึ่งจะมีหุ่นยนต์รุ่นใหม่เข้ำมำ เสริมทัพตัวอย่ำง เช่น หุน่ ยนต์ทสี่ ำมำรถรับน�ำ้ หนักได้มำกขึน้ กว่ำเดิม จำกเดิมสำมำรถรับได้ 600 กิโลกรัม ก็ได้รับกำร พัฒนำให้สำมำรถรับน�้ำหนักได้มำกขึ้นเป็น 900 กิโลกรัม สำมำรถทดแทนกำรใช้งำนเครื่องจักรใหญ่ๆ ได้ในหลำย อุตสำหกรรมเนื่องจำกน�้ำหนักที่รองรับได้เมื่อติดอุปกรณ์ ยึดจับเข้ำไปด้วยแล้วจะท�ำให้ควำมสำมำรถในกำรรับน�ำ้ หนัก ไม่เพียงพอต่อกำรใช้งำนจริง เช่น กระบวนกำรท�ำงำนของ โรงเหล็ ก หรื อ ไฟเบอร์ ซี เ มนต์ ที่ ต ้ อ งรองรั บ น�้ ำ หนั ก และ ขนำดใหญ่เป็นต้น ส�ำหรับประเด็นกำรเปิดประชำคมเศรษฐกิจอำเซียนนั้น คุณล�้ำบุญ ได้กล่ำวแสดงควำมคิดเห็นว่ำ กลุ่ม CLMV ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย รำชอำณำจั ก รกั ม พู ช ำ, สำธำรณรั ฐ ประชำธิ ป ไตยประชำชนลำว, สำธำรณรั ฐ แห่ ง สหภำพ เมียนมำร์และสำธำรณรัฐสังคมนิยมเวียดนำมนั้นกลำยเป็น กลุ ่ ม ประเทศที่ มี ค วำมน่ ำ สนใจเพิ่ ม มำกขึ้ น โดยเฉพำะ สำธำรณรัฐแห่งสหภำพเมียนมำร์ ซึง่ เริม่ มีกำรศึกษำเกีย่ วกับ กำรใช้ หุ ่ น ยนต์ ใ นระบบอุ ต สำหกรรมอำหำรหรื อ กลุ ่ ม อุ ต สำหกรรมขนำดเล็ ก ส� ำ หรั บ ไลน์ ก ำรผลิ ต ที่ จ ะมี ก ำร ลงทุนใหม่ ต่ำงจำกประเทศไทยที่แต่เดิมนั้นมีรำกฐำนกำรใช้ แรงงำนจำกทรัพยำกรบุคคลเป็นหลัก และกำรเปลี่ยนแปลง ไม่สำมำรถท�ำได้ง่ำยนัก ขณะที่เมียนมำร์นั้นอำจมีกำรก้ำว กระโดดแม้ว่ำกำรใช้หุ่นยนต์ในระบบอุตสำหกรรมยังถือว่ำ น้อยมำกเมื่อเทียบกับประเทศไทยในปัจจุบัน “เอบีบี กรุ๊ปมีคู่ค้าทางธุรกิจในประเทศเมียนมาร์อยู่แล้ว โดยคู่ค้าที่ได้รับความสนใจจะยึดถือจากแนวทางของธุรกิจที่ สอดคล้องไปด้วยกันได้โดยแนวทางอุตสาหกรรมรถยนต์ ในกลุ่ม CLMV อาจจะเรียกได้ว่าอยู่ในช่วงตั้งไข่ เนื่องจาก ห่วงโซ่ในการผลิตชิ้นส่วนนั้นต้องใช้เงินลงทุนสูงรวมถึงกลุ่ม ตัวแทนทีห่ ลากหลาย ดังนัน้ การเติบโตทางด้านอุตสาหกรรม รถยนต์จึงเป็นไปอย่างช้าๆ” ชูหุ่นยนต์ YuMi ไฮไลท์ในงาน MANUFACTURING EXPO 2016 ส�ำหรับงำน MANUFACTURING EXPO 2016 ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ คุณล�ำ้ บุญได้กล่ำวว่ำ หุน่ ยนต์ YuMi ซึง่ เคย ถือดอกไม้ผูกมิตรกับสร้ำงควำมประทับใจให้กับผู้ร่วมงำนไป เมื่อปลำยปีที่แล้ว ในปีนี้เอบีบีจะน�ำ YuMi มำอวดโฉม อีกครั้ง โดย YuMi จะได้รับกำรพัฒนำให้มีควำมสำมำรถ มำกกว่ำเดิม เป็นหนึ่ งในไฮไลท์ ของเอบี บี ที่ เ ข้ ำ ร่ ว มงำน MANUFACTURING EXPO 2016 ในปีนี้ “หุ ่ น ยนต์ แ บบแขนเดี่ ย ว 6 แกนกลายเป็ น ภาพที่ พบเห็นกันทั่วไปโดยเฉพาะในกระบวนการผลิตของโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ จ� า เป็ นต้ องมี รั้ วหรื ออุ ป กรณ์ รักษา ความปลอดภัยระดับสูง แต่ส�าหรับ YuMi ซึ่งเป็นหุ่นยนต์ ที่สามารถใช้ท�างานร่วมกับคนได้โดยไม่ต้องมีรั้วหรืออุปกรณ์ รักษาความปลอดภัยระดับสูง ท�าให้โอกาสการใช้งานเปิด กว้างมากกว่าแค่ การใช้ งานภายในโรงงานอุ ตสาหกรรม เพราะสามารถใช้ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทีเ่ ป็นไปได้หลากหลาย ปฏิเสธ ไม่ได้ว่าทุกวันนี้หุ่นยนต์ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�าวัน มากขึ้ น ไม่ เ ฉพาะเพี ย งแค่ ท� า งานในพื้ น ที่ อั น ตรายเท่ า นั้ น
P088-089_Ad Interview ABB.indd 89
หากหุ่นยนต์ยังสามารถเป็นแรงงานที่ท�างานร่วมกับคนได้ มากขึ้น เรียกได้ว่าเป็นมิตรกับคน หรือ Human Friendly เลยทีเดียว” นอกจำกนี้ ภำยในงำนดังกล่ำว เอบีบียังมีหุ่นยนต์น้อง เล็กอีกตัวหนึง่ คือ “SCARA” ทีม่ งุ่ เน้นกำรใช้งำนในส่วนของ อุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลักด้วยขนำดที่เล็กและ มีควำมว่องไวในกำรท�ำงำนเหมำะส�ำหรับพื้นที่ที่ต้องกำร ควำมกระชับ แต่ก�ำหนดกำรวำงจ�ำหน่ำยและกำรเปิดตัว ยังไม่ระบุชัดเจน ส�ำหรับผู้ที่สนใจสำมำรถสัมผัสนวัตกรรม เครื่องจักรกลและเทคโนโลยีใหม่ๆรวมถึงสินค้ำไฮไลท์ของ บริษัท เอบีบี จ�ำกัด ได้ที่บูธ 1D01 Hall 101 ภำยในงำน MANUFACTURING EXPO 2016 ได้ตั้งแต่วันที่ 22-25 มิถุนำยน 2559 ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ
05-Apr-16 5:42:59 PM 4/18/2016 10:31:35 AM
Wagner ชูเทคโนโลยีใหม่ เพื่ออุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ในงาน
SURFACE & COATINGS
2016
กลางปีนี้นักอุตสาหกรรมชั้นแนวหน้าทั่วทั้งภูมิภาคอาเซียนและต่างประเทศ จะได้พบกับงาน SURFACE AND COATINGS 2016 ซึ่งเป็นงาน อุตสาหกรรมสนับสนุนประจ�าปี ทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ ตอบรับความต้องการของภาคการผลิตให้กบั ผูท้ สี่ นใจเทคโนโลยีขนั้ สูงด้านการปรับพืน้ ผิววัสดุและ การเคลือบ ท�าสี เพื่อน�าไปพัฒนาต่อยอดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทั้ ง นี้ งาน SURFACE AND COATINGS 2016 เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของงาน MANUFACTURING EXPO 2016 มหกรรมสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตที่ใหญ่ที่สุด ภายในงานดังกล่าว W&G Equipment and Service Co., Ltd ผู้น�าด้านเครื่องมือ และอุปกรณ์พ่นสี จากเยอรมนี ได้เข้าร่วมจัดแสดงเทคโนโลยีและสินค้าไฮไลท์ภายในงาน ครั้งนี้ด้วย โดย คุณอนุชิต แสงอรุณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ของ W&G ได้ให้เกียรติพูด คุยกับทีมงานกองบรรณาธิการถึงนวัตกรรมใหม่ของ Wagner ที่จะน�ามาจัดแสดงภายในงาน เพื่อสนับสนุนงานอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทย
ผลิตภัณฑ์ Wagner
พลิกโฉมนวัตกรรมใหม่ในอุตสาหกรรมการพ่นสี คุณอนุชิต ได้กล่าวถึงสินค้าและบริการของบริษัทฯ ว่า W&G เป็นตัวแทนจ�าหน่าย ผลิตภัณฑ์ของ Wagner จาก ประเทศเยอรมนี โดยผลิตภัณฑ์กลุ่ม Industrial Solution ซึ่งประกอบด้วยสีผงและสีน�้ามัน มุ่งเน้นเจาะกลุ่มตลาดที่ใช้สีในอุตสาหกรรมเป็นหลัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยสีนา�้ มันได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายอยูแ่ ล้วในปัจจุบนั สามารถใช้ในงานโลหะทุกชนิด ส่วนสีผง เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ก�าลังจะเข้ามาแทนที่สีน�้ามัน มีลักษณะเป็นแป้งฝุ่น เมื่อพ่นชิ้นงานแล้ว สามารถน�าสีที่เหลือร่วงจากชิ้นงานมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สีน�้ามันไม่สามารถท�าได้ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังจ�าหน่าย ผลิตภัณฑ์ ในการพ่ น สี รวมถึ ง ให้ บ ริ ก ารเกี่ ย วกั บ ระบบการพ่ น สี ทั้ ง หมด ไม่ ว ่ า จะเป็ น ปื น พ่ น สี ผ ง แบบ Manual และแบบ Automatic ตลอดช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาสัดส่วนของผู้ใช้สีผงเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะมี จุ ด เด่ น ที่ ส ามารถรี ไ ซเคิ ล ได้ ท� า ให้ ต ้ น ทุ น การผลิ ต ต�่ า ลง อี ก ทั้ ง ตั ว สี ผ งนั้ น มี ความแข็งแกร่งทนทานมากกว่าสีน�้ามัน แม้ว่าก่อนหน้านี้สีผงจะมีปัญหาเรื่องพื้นผิวของงาน ที่พ่นออกมา ผิวสัมผัสไม่เรียบเท่าสีน�้ามัน แต่ปัจจุบันผลิตภัณฑ์สีผงได้รับการพัฒนาจนมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ท�าให้พื้นผิวของงานเรียบเนียนขึ้น ได้รับการยอมรับจากลูกค้ามากขึ้น ยกตัวอย่างอุตสาหกรรมยานยนต์ ก็มีลูกค้าหลายรายที่ใช้ผลิตภัณฑ์สีผงของ Wagner เช่น บริษัท คูโบต้า และรถจักรยานยนต์ยี่ห้อ Ducati ที่ใช้สีผงพ่นเฟรม เป็นต้น นอกจากนี้ ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ อย่างอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ที่ผลิตตู้เอกสาร ชั้นวางของ ขาเก้าอี้ ขาโต๊ะ และงานอลูมิเนียม รวมไปถึงชิ้นงานที่เป็นโลหะ ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปในชีวิตประจ�าวัน ก็หันมาใช้สีผงในการพ่นมากพอสมควร
คุณอนุชิต แสงอรุณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ W&G
ชูนวัตกรรม ปืนพ่นสีผง
ไฮไลท์ในงาน Surface and Coatings 2016 คุณอนุชติ ยังได้กล่าวต่อไปถึงผลิตภัณฑ์ไฮไลท์ทจี่ ะไปน�าเสนอในงาน SURFACE AND “จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ Wagner คือ เรื่องการประหยัดของสี ซึ่งมีการเปรียบเทียบ COATINGS 2016 ว่า สินค้าไฮไลท์ที่จะน�าไปจัดแสดงในงานดังกล่าวนี้ เป็นผลิตภัณฑ์หลัก วัด เก็บผลสถิติในการพ่น หมายความว่าชิ้นงานที่พ่นออกไป ไม่ว่าจะพ่นจ�านวนเป็นแสนชิ้น ที่บริษัทฯ ด�าเนินการจัดจ�าหน่ายอยู่ คือ ปืนพ่นสี ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ แบบแรก คือ หรือล้านชิ้นต่อเดือนต่อปี ก็จะเก็บสถิติชิ้นงานที่พ่นเยอะที่สุดแล้วน�ามาวัดสถิติ เปรียบเทียบ ปืนพ่นสีระบบออโตเมติก ซึ่งใช้แขนกลในการพ่น ไม่ต้องใช้แรงงานคน และอีกแบบหนึ่ง คือ บัญญัติไตรยางค์ ซึ่งก็จะท�าให้ทราบถึงปริมาณสีที่ใช้กับปริมาณสีที่ต้องเหลือทิ้ง ซึ่งการที่ผงสี ปืนพ่นสีระบบ Manual เป็นปืนพ่นสีแบบใช้มือพ่น ดังนั้น ในกรณีที่ชิ้นงานมีซอกมุม Wagner สามารถรีไซเคิลได้ จึงท�าให้กระบวนการพ่นสีนนั้ ใช้ปริมาณสีนอ้ ยลง ประหยัดต้นทุน มีความลึกความตื้นที่หลากหลาย แขนกลก็จะไม่สามารถเก็บงานได้ทั้งหมด จ�าเป็นต้องใช้ สายตาคนในการสังเกตและพ่นสี ได้มากขึ้น”
Interview Wagner.indd All Pages P090-091_Ad Interview W&G.indd 90
4/18/2016 10:33:46 AM
“ภายในงาน SURFACE AND COATINGS 2016 เรา จะน�าเสนอ Video Presentation เกี่ยวกับระบบต่างๆ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ และอุ ป กรณ์ ที่ ท� า การตลาดภายในปี นี้ นอกจากนี้ ยังน�าบูธพ่นสีไปจัดแสดงภายในงานด้วย โดยบูธ ดังกล่าวจะมีขนาด กว้าง 1.50 เมตร สูง 2.0 เมตร พร้อมทั้ง สาธิตการพ่นสีผงด้วยระบบ Manual โดยที่สีไม่ฟุ้งออกมา เนื่องจากมีระบบดูดสีที่มีคุณภาพ มาตรฐานจากประเทศ เยอรมนีอยู่ด้านหลัง ท�าให้ลูกค้ามีโอกาสได้สัมผัสนวัตกรรม ใหม่อย่างใกล้ชิด ส่ วนวั สดุ ที่ จ ะน� าไปพ่ นโชว์ นั้นจะเลื อก ใช้ แ ผ่ น โลหะเรี ย บ เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ ของปืน การเกาะติดของสี และปริมาณผงสีที่ร่วงจากการ พ่นสี ขณะเดียวกัน ก็จะแสดงการพ่นสีงานอลูมิเนียมที่มี ลักษณะเป็นกล่อง มีซอกมุมด้วย เพื่อสาธิตให้ลูกค้าเห็นถึง ประสิทธิภาพการพ่นเข้าซอกมุมลึกๆ ด้วย นอกจากระบบมือ พ่นแล้ว ก็จะมีระบบแขนกล ซึ่งจะยึดกับปืน Automatic ส�าหรับ พ่นชิ้นงานโดยไม่ต้องใช้แรงงานคน ไปจัดแสดง ภายในงานด้วย” ผลักดันภาคอุตสาหกรรมเพิ่มศักยภาพการผลิตด้วยระบบ พ่นสีผง ส�าหรับการสาธิต จัดแสดงสินค้าภายในงาน ถือเป็นการ ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการท�างานของสีผง และการใช้ อุปกรณ์ต่างๆ ให้กับผู้ที่สนใจ เพื่อให้ผู้ผลิตหันมาใช้สีผงใน อุตสาหกรรมการผลิตมากขึ้น เนื่องจากเชื่อว่าการใช้สีผงใน อุตสาหกรรมการผลิตนัน้ เป็นการเพิม่ ศักยภาพการผลิตให้สงู ขึ้นได้นั่นเอง “ส่วนใหญ่ลูกค้าจะสนใจเรื่องวิธีการพ่นสี และการตรวจ สอบชิ้นงานให้ลูกค้าเห็นหน้างาน เนื่องจากลูกค้าบางราย รู ้ จั ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สี ผ ง แต่ ยั ง ไม่ มี ป ระสบการณ์ ก ารใช้ สี ผ ง ไม่ทราบถึงรายละเอียดการท�างานของระบบการพ่นสีผง การเข้าร่วมงานและจัดแสดงสินค้าเทคโนโลยีภายในงาน SURFACE AND COATINGS 2016 จึงเป็นโอกาสดี ที่ จะสนับสนุนลูกค้า หรือผู้ใช้กลุ่มนี้ให้มีความรู้ ความเข้าใจใน ระบบการท�างานของสีผง ทัง้ ในด้านการลงทุนและระยะเวลา คืนทุน โดยจุดเด่นที่ผู้ผลิตสนใจ คือ เรื่องของความประหยัด และการเทียบสถิติให้เห็นได้อย่างชัดเจน เนื่องจากปีหนึ่งๆ โรงงานของเขาต้องพ่นงานกว่าหนึ่งล้านชิ้น หากสามารถ ประหยัดผงสีได้ แม้เพียง 2-3 กรัมต่อชิน้ ก็สามารถลดต้นทุน ได้อย่างมีนัยส�าคัญทีเดียว” คุณอนุชติ ได้กล่าวทิง้ ท้ายว่า ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ สมบัติ ด้านการประหยัดต้นทุน หาแต่บริษัทฯ ยังสามารถให้บริการ เป็นที่ปรึกษาให้ลูกค้าได้ด้วย เพราะ W&G ไม่ได้ขายแค่สี หรื อ อุ ป กรณ์ พ ่ น สี แต่ มี ทั้ ง ระบบที่ ส ามารถรองรั บ ความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างแท้จริง” ส�าหรับผู้ที่สนใจสามารถไปพบกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ได้ ภายในงาน SURFACE AND COATINGS 2016 และสามารถเยี่ยม ชมผลิตภัณฑ์ของ Wagner ได้ที่ บู ธ 5B15 Hall 105 ระหว่ า งวั น ที่ 22-25 มิ ถุ น ายน 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
P090-091_Ad Interview W&G.indd 91
05-Apr-16 5:41:29 PM 4/18/2016 10:33:46 AM
P092-093_Ad Intermach.indd 92
4/18/2016 10:28:58 AM
P092-093_Ad Intermach.indd 93
4/18/2016 10:29:00 AM
RENEWABLE ENERGY ASIA 2016 ASEAN’S LARGEST AND MOST COMPREHENSIVE RENEWABLE ENERGY EXHIBITION 1-4 JUNE 2016, BITEC, BANGKOK, THAILAND RENEWABLE ENERGY — Wind, Solar, Waste to energy, Geothermal, Hydro-Electric, and Biomass – all can now serve as a replacement for electricity, bio-fuels, rural energy and heating. Entrepreneurs for all types of products or services are now increasingly utilizing renewable energy sources at their plants, factories, buildings and offices. ASEAN governments have encouraged investment by improving the returns for renewable energy projects. This includes feed-in tariffs, tax incentives and energy production payments – and RENEWABLE ENERGY ASIA 2016 couldn’t come at a better time. RENEWABLE ENERGY ASIA 2016 highlights… • Largest and most comprehensive Renewable Energy Technology Exhibition and Conference in ASEAN. • Features technologies from top 10 worldleading solar companies all under one roof i.e. JA Solar, Canadian Solar, Trina Solar, JINKO solar etc. • Latest technology displayed at 6 International Pavilions: Germany, China, Japan, Singapore, Taiwan and Korea.
094_Mo_ASE.indd 94
DON’T MISS IT! RENEWABLE ENERGY ASIA 2016 is absolutely the ‘must-attend’ event of the year and you can’t afford not to be there!
For more information, pre-registration and to avoid long queues go to: www.asew.-expo.com or call +66 2 642 6911
• Energy & Environmental Clinic gives advice on energy policy, energy conservation, energy measurement & analysis. Also covers usage in the workplace, consulting and environmental management situations. • Special advice and consulting on investment in energy conservation and renewable energy funds (ESCO Revolving Fund) from leading financial institutions. • International Conference - Renewable Energy Asia 2016 - on ‘ENERGY TRANSITION FOR ASEAN’S FUTURE’ - an academic symposium delivered by top speakers from around the world. RENEWABLE ENERGY Asia is part of ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK (ASE) 2016 - ASEAN’s Largest & most comprehensive renewable energy, environmental & energy-efficiency exhibition. ASE 2016 will showcase the latest innovative energy sources and technologies along with cutting-edge machinery and equipment in renewable energy, environmental protection, pollution control and energy efficiency.
19-Apr-16 6:55:57 PM
P096_AD Palmex 2016.pdf 1 4/18/2016 10:08:39 AM
PALMEX THAILAND 2016 is the only specialized Palm Oil event in Thailand that brings together an intermational congregation of both upstream and downstream palm oil companies and also its supporting industries gathered in the major palm oil producing city of Surattani, Thailand to showcase the latest developments in the palm oil industry. C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
เตรียมตัวพบกับงาน Palmex Thailand 2016 ครั้งที่ 6! งานแสดงสินคา และสัมมนาที่รวบรวมบริษัทชั้นนำเกี่ยวกับวงการอุตสาหกรรมปาลมที่ ใหญที่สุด ในประเทศไทย! จากการประสบความสำเร็ จ อย า งต อ เนื ่ อ งเป น ป ท ี ่ 6 ซึ ่ ง Fireworks Media (Thailand) ไดสานตอความสำเร็จอีกครั้ง ดวยการสนับ สนุ น จากสมาคมปาล ม น้ ำ มั น และน้ ำ มั น ปาล ม ประเทศไทย จั ด งานที ่ สหกรณ สุราษฎรธานี (โค-ออป) จังหวัดสุราษฎรธานีที่สามารถรองรับบริษัทชั้นนำทั้ง ในและนอกประเทศ และการประชุมนานาชาติที่รวบรวมผูคร่ำหวอดในวงการ อุตสาหกรรมน้ำมันปาลมมาใหความรู อัพเดทเทคโนโลยี ขาวสารใหมๆ ไวอยาง มากมาย!
Thai Oil Palm & Palm Association
Thai Palm Oil Refinery Association
Thai Palm Oil Crushing MillAssociation
Asia Palm Oil Technology Association
Asia Palm Oil Technology Association
Technology Promotion Association (Thai-Japan)
Thailand Exhibition Association
Indonesia Palm Oil Directory
Asia Palm Oil Magazine
JuzTalk Thailand
Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group
P097_AD_TBD-2.pdf 1 4/22/2016 4:43:35 PM
2016 THAILAND BUILDERS DIRECTORY 2016
www.ThailandBuilders.in.th www.AsiaBuilders.com
C
C
M
M
H)5ĉ)!;Ċ
Tel. +66 2315 5500 Fax. +66 2312 4655 Email: insulation@microfiber.co.th website: www.microfiber.co.th FM 72802
EMS 561064
H)-Ä&#x2030; @ <H'
Save
the Environment
Y
Y
CM
CM
MY
MY
CY
CY
CMY
CMY
K
K
OHS 505531
Web_Promote_TBD.pdf 1 4/7/2016 3:33:59 PM
"+<19 ": 5 E5"F -A 5<D- +< E5! Ä? 5! ; 9 $AÄ&#x160;E ! ;3!Ä&#x2030;:* 5@# + Ä?H''Ä&#x2026;:E+ 9! L; *=L3Ä&#x160;5 ÄŠÄŞÄŞ E-8 2:*H''Ä&#x2026;:": 5 D D"<M- ÄŞÄŤÄŤ 5*Ä&#x2030;: D#Ä&#x2018;! : :+
www. thailand builders. in.th
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
F +Ĺ´`bĹłihhĹłebbhĹłi E' Ä?Ĺ´ `bĹłihhĹłdefbĹłcŲ `bĹłihhĹłdffdĹłe ÄĹ&#x2022;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x2018;Ĺ&#x201D; Ģ ĸĹ&#x161;Ĺ&#x2014;Ĺ?Ĺ&#x161;Ĺ?Ĺ&#x203A;Ĺ&#x203A;Ĺ&#x2018;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x2013;Ĺ&#x2021;Ĺ?Ĺ&#x161;Ĺ&#x2014;Ĺ?Ĺ&#x2DC;ĨĹ?Ĺ&#x2014;Ĺ&#x153;Ĺ&#x2022;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x2018;Ĺ&#x201D;Ĺ´Ĺ&#x2039;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x2022;Ų ÄŞĹ&#x2030;Ĺ&#x2013;Ĺ?Ĺ&#x201C;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x201C;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x160;Ĺ&#x203A;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x201D;Ĺ?Ĺ&#x153;Ĺ?ĨĹ?Ĺ&#x2022;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x2018;Ĺ&#x201D;Ĺ´Ĺ&#x2039;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x2022; ÄżĹ?Ĺ&#x160;Ĺ&#x203A;Ĺ&#x2018;Ĺ&#x153;Ĺ? Ģ Ĺ&#x;Ĺ&#x;Ĺ&#x;Ĺ´Ĺ&#x160;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x2013;Ĺ?Ĺ&#x201C;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x201C;Ĺ&#x2030;Ĺ&#x160;Ĺ´Ĺ&#x2039;Ĺ&#x2014;Ĺ&#x2022;
AD-Samchai Steel 2016_46x53mm.pdf 1 26-Feb-16 1:36:08 PM
MY
CY
CMY
K
Concrete Anchor
Bolt
Machine Screw & Tapping
Nut
Ad_VPC_Front Cover Panel (8).pdf 1 3/8/2016 9:53:52 AM
Stud Bolt
Ring & Washer
Future Sign cover 46x53mm-2.pdf 1 05-Apr-16 3:20:03 PM
Future Sign Co.,Ltd.
C
M
$-< ;3!Ä&#x2030;:* !9L +Ä&#x160;:! E-85@# + Ä? Ä&#x2030;52+Ä&#x160;:
Y
CM
MY
CY
CMY
Hotline 081-818-2200 1 2 3 4
Â&#x17E;ÂťnĂ&#x2026;ÂnÂ&#x153;ÂĽÂśÂ&#x192;´¼Ă&#x201A;Â&#x2039; ´²Â&#x2122;´Â&#x2030; Š³Â&#x2013;ÂşÂ&#x192;mÂŻÂŹÂĽn´Â&#x2030;Ă&#x201A;Â&#x2039; ´²Â&#x2122;´Â&#x2030; ÂĽn´Â&#x203A;Â&#x2020;n´Š³Â&#x2013;ÂşÂ&#x192;mÂŻÂŹÂĽn´Â&#x2030; ÂŞÂťÂ&#x203A;¤qÂ&#x2014;Â&#x192;Ă&#x192;Â&#x2014;mÂ&#x2030; Ă&#x201A;Â&#x2020;¼šĂ&#x160;ÂŻÂ&#x2030;£š¯ Ă&#x201A;Â&#x2020;¼šĂ&#x160;ÂŻÂ&#x2030;Â&#x160;ÂłÂ&#x192;ÂĽ ÂŻÂşÂ?Â&#x192;ÂĽÂ&#x2022;qÂ&#x192;mÂŻÂŹÂĽn´Â&#x2030; Â&#x17E;§œÂ&#x2014;¢³Â&#x2022;Â&#x201C;qÂ&#x2020;ÂŻÂ&#x203A;Â&#x192;¼¡Â&#x2014; Ă&#x201A;´Ă&#x201A;Â&#x201E;Ă&#x2030;ÂŁ Ă&#x192;§²Š³Â&#x2013;ÂşĂ&#x2020;ÂŁn  §´Â&#x2014;ÂśÂ&#x192; Ă&#x201E;§Â²
Jointly published by:
CM
AD_LST.pdf 1 07-Apr-16 2:00:03 PM
K
K
4/22 M.4 Bangbuathong-Suphanburi Rd., Rathniyom, Sai-Noi, Nonthaburi 11150 Tel: (66) 2-922-3900-8 Fax: (66) 2-922-3909 Hotline: 088-8095433 E-mail: mkt_fs@futuresign.co.th Website: www.futuresign.co.th
5 6 7 8
ÂŹÂşÂ&#x201E;¢³Â&#x2022;Â&#x201C;q ÂnÂŻÂ&#x2030;Â&#x203A;Ă&#x2039;Âľ Â&#x2020;¼³Š ŠÂ&#x203A; Ă&#x192;§²¼²Â&#x153;Â&#x153;Â&#x203A;Ă&#x2039;Âľ Â&#x2122;mÂŻ Â?¼²Â?´ ¡ Ă&#x201A;Â&#x2020;£¡ Â&#x192;ÂłÂ&#x203A;Â?¸£ ´¼Â&#x2122;ÂľÂ&#x2020;Š´£²¯´Â&#x2013; Â&#x192;ÂľÂ&#x160;ÂłÂ&#x2013;Ă&#x192;£§Â&#x2030; §³Â&#x2030;Â&#x2020;´ Â&#x;i´ Â&#x17E;Â&#x203A;ÂłÂ&#x2030; Ă&#x201E;Â&#x2020;ÂĽÂ&#x2030;Ă&#x201A;Â&#x2020;ÂĽm´ ¯²§£œĂ&#x201A;Â&#x203A;¡¤£ Â&#x192;¼²Â&#x160;Â&#x192; Â?¼²Â&#x2014;Âť ÂÂ&#x203A;n´Â&#x2014;m´Â&#x2030;  šĂ&#x2039;Â&#x203A; Š³Â&#x2013;ÂşÂ? šĂ&#x2039;Â&#x203A;
M
Y
Ad_TPC 2000_Front Cover Panel.pdf 1 3/11/2016 10:56:55 AM
Ad_LED Spectrum_Front Cover Panel 2.pdf 1 2/10/2016 12:00:26 PM
LOGO COLOR C=100 M=91 Y=0 K0
( SOURCE BOOK FOR DEVELOPERS, CONTRACTORS & ARCHITECTS )
C
www.ThailandBuilders.in.th
2016
Supported by:
9 10 11 12
Ă&#x201A;ÂĄÂŻÂĽqÂ&#x203A;ÂśĂ&#x201A;Â&#x160;ÂŻÂĽq Â&#x2014;Â&#x192;Ă&#x192;Â&#x2014;mÂ&#x2030;  ¼£ Â&#x17E;n´£m´Â&#x203A; ¼²Â&#x153;Â&#x153;ÂŻÂłÂ&#x2014;Ă&#x201E;Â&#x203A;ÂŁÂłÂ&#x2014;Âś šĂ&#x160;¯´¼ ¼²Â&#x153;Â&#x153;Ă&#x201A;Â&#x201E;n´¯¯Â&#x192; ¼²Â&#x153;Â&#x153;Â&#x2020;Š´£Â?§¯Â&#x2013;¢³¤ Ă&#x2020;ÂĄÂĄi´ ÂŻÂşÂ?Â&#x192;ÂĽÂ&#x2022;qĂ&#x2020;ÂĄÂĄi´ Ă&#x201A;Â&#x2020;¼šĂ&#x160;ÂŻÂ&#x2030;Â?ÂĽÂłÂ&#x153;¯´Â&#x192;´ª GREEN PRODUCTS
อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2016
ฉีดโอกาสใหม่ให้ธุรกิจคุณ ห้ามพลาด
โอกาสในการเพิ่ม ยอดขายและขยาย ธุรกิจ พร้อมเก็บเกี่ยว ความรู้ วิสัยทัศน์ และเทรนด์ ใหม่ใน อุตสาหกรรม งานอินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ เป็นมหกรรม ด้านเทคโนโลยีเพือ่ การผลิตพลาสติกและปิโตรเคมี หนึ่งเดียวของไทย จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 25 ระหว่าง วันที่ 7- 10 กรกฎาคม 2559 ที่ไบเทค บางนา กรุงเทพ พร้อมสร้างโอกาสทางธุรกิจให้กบั เจ้าของ เทคโนโลยีในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายจาก อุตสาหกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ชิ้นส่วนยานยนต์ บรรจุภัณฑ์ การผลิตเป็นต้น จากข้อตกลงการค้าเสรีของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ และการค้าเชิงบวกในอนาคต ประเทศไทยพร้อม ทีจ่ ะเก็บเกีย่ วผลประโยชน์จากความได้เปรียบด้าน ต่างๆ ทัง้ ในด้านการผลิตและการจัดส่ง ด้วยผูผ้ ลิต พลาสติกจะหาทางเจาะตลาดโลกให้มากขึ้น ซึ่งใน ตลาดขนาดใหญ่เช่นนี้ คาดว่าความต้องการจะเพิม่ สูงขึน้ และการเติบโตสูงสุดคาดว่าจะอยูใ่ นประเทศ ที่ก�ำลังพัฒนาในเอเชีย ทั้ ง นี้ การใช้ เ ทคโนโลยี ขั้ น สู ง ที่ ล�้ ำ สมั ย ใน อุ ต สาหกรรมส่ ง ออกที่ ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ อย่ า ง อิเล็กทรอนิกส์ การผลิตยานยนต์และการผลิต อาหาร มีความจ�ำเป็นที่จะต้องไล่ให้ทันการเติบโต และความต้องการในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ เหล่า นั้น อุตสาหกรรมพลาสติกก็เป็นเช่นเดียวกัน เร่งความส�ำเร็จให้ธุรกิจคุณกับงานอินเตอร์ พลาส ไทยแลนด์ 2016! งานอินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2016 พร้อมเป็น
098_Mo_Inter Plas.indd 98
เวทีให้คุณและอีกกว่า 350 แบรนด์ชั้นน�ำจาก 20 ประเทศเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากโอกาสที่ก�ำลัง จะมาถึงและขยายตลาดด้วยเครื่องจักรและองค์ ความรู้ไปยังผู้ซื้อคุณภาพกว่า 17,000 รายจาก หลากหลายอุตสาหกรรม อาทิ ยานยนต์ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ บรรจุภัณ ฑ์ สินค้าอุปโภค บริโภค การก่อสร้าง และพลาสติก ที่กำ� ลังมองหา เครื่องจักร วัสดุและสารเคมี การวัด อุปกรณ์การ วัดและทดสอบ ตลอดจนชิ้นส่วนเพื่อน�ำไปเพิ่ม ศักยภาพและก�ำลังการผลิตของตน งานนี้ จ ะช่ ว ยให้ นั ก อุ ต สาหกรรมได้ เ พิ่ ม ประสิทธิภาพสายการผลิตและมูลค่าสินค้า ภายใน งานยังอัดแน่นด้วยกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่าย ทางธุรกิจ กิจกรรมพิเศษเพื่อเพิ่มพูนโอกาสใหม่ งานในปีนี้ได้มีการจัดโซนและกิจกรรมพิเศษ เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตและผลก�ำไร อาทิ • InterPackaging ที่จะรวมเครื่องจักรและ เทคโนโลยีหลายร้อยรายการเพื่อการผลิตบรรจุ ภัณฑ์พลาสติกประเภทต่างๆ อาทิ กล่อง ขวด ลัง ถาด แก้ว บรรจุภัณฑ์ในเครื่องขายของอัตโนมัติ และบรรจุภัณฑ์เพื่อการปกป้อง • Robot Technology Pavilion ที่จะเปิดตัวครั้ง แรกที่รวมเจ้าของเทคโนโลยีด้านหุ่นยนต์กว่า 10 รายเพื่อช่วยให้การรวมระบบอัตโนมัติเข้ากับสาย การผลิตของคุณง่ายขึ้น โดยจะมีทั้งการสาธิตการ
ท�ำงานของหุ่นยนต์สำ� หรับการฉีด การรีด และขั้น ตอนการผลิตอื่นๆ • Plastics Innovation Showcase Zone น�ำ เสนอชิ้นงานต้นแบบ วัสดุ และนวัตกรรมด้าน การผลิตพลาสติก พร้อมบริการให้ค�ำปรึกษาโดยผู้ เชี่ยวชาญจากหน่วยงานชั้นน�ำ • Composites Thailand ที่จะช่วยให้คุณก้าว ทันแนวโน้มของการผลิตคอมโพสิต ตั้งแต่วัตถุดิบ เทคโนโลยี และเทคนิค
พบรายละเอียดเพิม่ เติมพร้อมรับข้อเสนอสุดพิเศษ ได้ที่เว็บไซต์ www.interplasthailand.com และ www.facebook.com/interplasthailandpage สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมหรือส�ำรองพืน้ ทีแ่ สดงสินค้า ได้ที่ โทร: +66 2686 7299 อีเมล์: interplas@reedtradex.co.th
19-Apr-16 6:55:16 PM
111 House AD Material_C.pdf 1 6/28/2013 6:01:11 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
www.surfaceandcoatings.com
22-25 JUNE BITEC â&#x20AC;˘ BANGKOK THAILAND
THE VISION OF
PRODUCTIVITY 59,000 Trade Visitors 2,425 Brands of Technologies from 46 Countries 6 National Pavilions International conferences; Automotive Summit, Surface & Coatings Forum, Automation Conference and more
International Technology Exhibition and Networking Event for Surface Treatment, Paints & Coatings Solutions
@ Officially Supported by:
S&C_2016_ADS_23.5x29.8cm_ModenMAG.indd 1
Organized by:
Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 surfaceandcoatings@reedtradex.co.th www.facebook.com/surfaceandcoatings
1/15/59 BE 12:11 PM
ATM_2016_ADS_9.25x11.75 in_MM_Mag.pdf 1 2/23/2016 2:45:21 PM
www.automanexpo.com
22-25 JUNE BITEC • BANGKOK THAILAND
C
M
Y
CM
MY
CY
THE VISION OF
PRODUCTIVITY
CMY
K
59,000 Trade Visitors
2,425 Brands of Technologies from 46 Countries
6 National Pavilions International conferences; Automotive Summit, Surface & Coatings Forum, Automation Conference and more
Thailand’s Most Comprehensive International Machinery and Technology Expo for Automotive Parts Manufacturing
PKA'16 Ad 235x298 OL.pdf 1 2/23/2016 2:53:33 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
PR-Book Modern.pdf 1 12-Apr-16 10:15:19 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
P104_Catalogue Corner.pdf 1 4/21/2016 8:42:43 PM
Electric & Electronics ELECTRICAL & POWER ELECTRONICS
1
Bearing 2012 BENCH PRODUCT CATALOG
2
3
NEW PRODUCTS
THE MARK OF LINEAR MOTION
7
• LM Guide • Ball Screw • Linear Bushing • Slide Pack • Slide Rail • Cam Follower • Roller Follower
• OEM Product & Solution Products • Low-Voltage up to Medium-Voltage Products • Solution Products & Power Quality Product
A.P.T. GROUP CO., LTD.
TRINERGY INSTRUMENT CO., LTD.
BTT UNITED CO., LTD.
4
5
6
MISUBISHI SAFETY CONTROLLER MELSEC-WS SERIES
MITSUBISHI ELECTRIC AUTOMETION (Thailand) CO., LTD. C
M
Y
อปุกรณไฟฟา
จำหนายอปุกรณไฟฟา แรงสงู-ตำ ทกุชนดิ รบัทำ ตสูวทิซบอรด ทกุระบบ ทกุขนาด ตามตองการ
THK CO., LTD. RITTAL - THE SYSTEM. FASTER - BETTER EVERYWHERE.
LINEAR MOTION SYSTEM
8
• Enclosures • Power Distribution • Climate Control • IT Infrastrure • Software & Services
MAHATHON ELECTRIC PART LTD.
I.N.B. ENTERPRICE CO., LTD.
Rittal GmbH & Co. KG
Metrology & Measurement 9
เครอืงมอือตุสาหกรรม
JSR GROUP ตวัแทนจำหนาย ผลติภณ ั ฑเครอืงมอือตุสาหกรรม มากวา 40 ป
CM
MY
10
METROLOGY PRODUCT • CMM • PCMM • Laser Tracker • Vision Machine • White Light Scanning
CY
11
• Products • Electronic pressure measurement • Mechatronic & Mechanical pressure measurement • Electrical temperature measurement • Mechatronic temperature measurement • Mechanical temperature measurement • Thermowells • Level measurement
CMY
K
JSR GROUP
HEXAGON METROLOGY (Thailand) CO., LTD.
12
METROLOGY PRODUCTS Metrology & Inspection Product and Calibration Service
MAX VALUE TECHNOLOGY CO., LTD.
ระชาสัมพันธ ป ร า ก ง อ ต น า หากท คา/บริการ แคตตาล็อคสิน บการ ระกอ ใหกับกลุมผูป รม ดานอุตสาหกร ี! ไมมีคาใชจาย
ฟร
13
stry ess Indu for Procition 2013 Ed Sensors Product
Overview
–
BAUMER
Sensors สำหรบัอตุสาหกรรม ประเภท Process Industry (อตุสาหกรรม เคม,ี ปโตรเคม,ี การแปรรปูอาหาร, ผลติภณ ั ฑเยอื กระดาษและกระดาษ, เซรามกิ, แกว, ผลติภณ ั ฑยาง, ซเีมนต ฯลฯ) และ อตุสาหกรรมอนื ทงัดาน Pressure, Temperature, Level, Conductivity, Strain & Force
KANIT ENGINEERING CO., LTD
WIKA IS A GLOBAL MARKET LEADER IN PRESSURE, TEMPERATURE AND LEVEL MEASUREMENT TECHNOLOGY.
WIKA INSTRUMENTATION CORPORATION (Thailand) CO., LTD.
14
เครอืงมอืวดัและทดสอบทางไฟฟา
ตวัแทนจำหนายและศนูยซอมเครอืงมอืวดัทางไฟฟา ของผลติภณ ั ฑ Keysight ทกุชนดิ แหงเดยีวในไทย ซงึผลติภณ ั ฑหลกัของเราคอื • Network Analysis • Oscilloscope • Spectrum and Signal Analyser • LCR Meter และเครอืงมอืวดัและทดสอบทางไฟฟาอนืๆ อกีมากมาย
IRC TECHNOLOGIES CO., LTD.
APRIL_01/2016
P105_Catalogue Corner.pdf 1 4/21/2016 8:44:59 PM
Hydraulic & Pneumatic 15
HYDRAULIC AND PNEUMATIC SOLUTION & SERVICE
16
• Filtration • Pneumatic • Hydraulic Fitting • Push - Lok Hose • Hydraulic Hose
PARKER HANNIFIN (THAILAND) CO., LTD.
Material Handling PNEUMATIC
CYLINDER SERVICE
17
อปุกรณในระบบกำจดัฝนุ-วาวล และหวัขบัสำหรบังานระบบ อปุกรณในระบบนวิแมตคิ
A.P.S. CONTROL CO., LTD.
21
ศนูยซอมและสราง กระบอกไฮโดรลคิและนวิเมตกิซ แบบครบวงจร
COMPREHENSIVE MATERIAL HANDLING EQUIPMENT FOR YOUR ALL INDUSTRIAL NEED
GLOBAL SEAL CO., LTD.
รถยก รถลาก และอปุกรณขนยายทคีรอบคลมุทกุความตองการในทกุอตุสาหกรรม
GTM COMPANY LIMITED
Software Energy Management, ERP
22
C
M
18
Y
Q-ERP เครอืงมอืตรวจวดั สขุภาพทางธรุกจิ
19
เครอืงมอืตรวจวดัสขุภาพทาง จดัการพลงังานไฟฟาธรุกจิ เชงิปองกนั สำหรบัเจาของธรุกจิ ยคุใหมทตีองการและใสใจในสขุภาพ ธรุกจิของทานในดานตางๆ
CM
MY
CY
TAT SMART EE
20
AVERA ผจูดัจำหนาย และผเูชยีวชาญ
โปรแกรมบรหิาร จดัการพลงังานไฟฟา The Power management software เครอืงมอืตรวจวดัสขุภาพทาง การจดัการพลงังานไฟฟา
• อปุกรณไฟฟาภายในตสูวทิซบอรด • อปุกรณเครอืงมอืตรวจจบัพายุ และฟาผา • อปุกรณปองกนัไฟฟากระชาก ภายในปละภาายนอก • งานบรกิารหลงัการขาย และการบำรงุรกัษา
THE EXPERT IN WAREHOUSE For all types of hand pallet truck • Hand pallet truck 2.5T, 3.0T • Scale pallet truck • Cold-Storage room pallet truck • Special pallet truck
CMY
K
QUADRA TECHNOLOGY CO., LTD.
TAT ENERGY AND ENGINEERING CO., LTD.
Green Product
Screw Conveyors
23
REBOARD THE ORIGINAL AND SUPERIOR
กระดาษ Reboard นวตักรรมใหม สำหรบังานแสดงสนิคา และนทิรรศการ
C.G.S. (THAILAND) CO., LTD.
24
TRANSFER SYSTEM SCREW CONVEYORS
AVERA CO., LTD.
Pallet
Air & Gas Compressor 25
26
AIR & GAS COMPRESSOR
• Screw Air Compressor • Piston Air Compressor • Air Dryer • Air Filter • Air Receiver Tank • Services & Overhaul
Spiral Screw U-Trough Screw Conveyors V-Trough Screw Conveyors Tubular Trough Screw
CPM ENGINEERING CENTER CO., LTD.
M-RICH CORPORATION CO., LTD.
ADEKOM KOMPRESSOREN (THAILAND) CO., LTD.
APRIL_02/2016
PLASTIC PALLET
• กนันำ กนัชนื ปลอดเชอืรา • ปราศจากเสยีน และตะปู • แขง็แรง ทนทาน ไรกงัวล • ทนตอสภาวะแวดลอมไดดี • ประหยดัเวลา และคาใชจาย • สามารถนำกลบัมา Recycle ได
NAWAPLASTIC INDUSTRAIL CO., LTD.
ของรางวลัประจำฉบบั บตัรชมภาพยนตร MAJOR CINEPLEX 2 ใบ
106_ facebook_Edit.pdf 1 4/22/2016 10:31:52 AM
NO.158 4/2559
ประกาศรายชื่อผูโชคดี ประจำเดือนมีนาคม 2559 คุณบดินทร มุงคุณ จากจังหวัดชลบุรี คุณพีชนพล กิจนิธิไพศาล จากจังหวัดปทุมธานี
ลุนรับรางวัลงายๆ
เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
คราสสเทค บจก. เอบีบี บจก. ไทยโพลิเมอร ซัพพลาย บจก. Tel: 0-2731-1191#131
ไออารซี เทคโนโลยีส บจก. มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก. Fax: 0-2769-8043
ชื่อ :
บริษัท :
อีเมล :
เบอรโทรศัพทมือถือ :
Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :
EDITOR’s PICK 107
LINK CCTV Cable
ตัวแปลงสัญญาณกล้อง IP CCTV ให้สามารถใช้งานบนสาย Coaxial ได้ หรือที่เรียกว่า EoC (Ethernet over Coaxial)
CIRCUTOR Heavy Duty Capacitors Robust, reliable and safe
1. แบบ Point to Point เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง IP Camera และ NVR รองรับระยะทาง 750 เมตร
2. แบบ Multi Camera One Coaxial Access เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง NVR และ IP Camera จ�ำนวน 4 ตัว โดยใช้สาย Coaxial เพียงเส้นเดียว (300 เมตร) เหมาะกับงานที่กล้องทั้ง 4 ตัวอยู่ห่างกันไม่เกิน 100 เมตร
3. แบบ Multi Camera, Multi Coaxial Aggregation Access เป็นการ เชื่อมต่อ IP Camera 4 กล้องที่อยู่ต่างพื้นทีกัน โดยใช้สาย Coaxial 1 เส้น (ระยะไม่เกิน 300 เมตร) มายังตัวรับสัญญาณที่อยู่กับ NVR โดย สามารถใช้ตัวรับสัญญาณเพียงแค่ตัวเดียว จุดเด่น
1. ติดตั้งระยะ IP Camera ได้ 300 – 750 เมตร บนสาย Coaxial 2. รองรับระบบ PoE ตามมาตรฐาน IEEE 802.3af 3. ใช้ Adapter จ่ายไฟเฉพาะต้นทาง (ปลายทางไม่ต้องใช้ไฟฟ้าเลย) 4. สามารถใช้สาย Coaxial เดิม ไม่ต้องติดตั้งสาย LAN ใหม่
4. แผงกระจายสายส�ำหรับระบบกล้องวงจรปิด และเคเบิลทีวี
หมดปัญหากับการจัดการสายทีย่ งุ่ เหยิง และสายเส้นโต แข็งแรงอยาก ด้วย UC-1016: BNC Patch Panel 16 Port w/BNC Bulk Head ที่ออกแบบมาให้เป็น แผงพักและกระจายสายสัญญาณระบบกล้องวงจรปิดและ เคเบิลทีวี โดยมีขนาด 19” ตามมาตรฐาน EIA – 310D
จุดเด่น
1. เป็นจุดพักสายและกระจายสายสัญญาณจากภายนอกที่เข้ามา 2. ง่ายต่อการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือโยกย้ายต�ำแหน่งของระบบ 3. ใช้เป็นจุดเปลี่ยนสายเส้นโต (สายจากภายนอก) ให้เป็นสายเส้นเล็ก (Patch Cord)
5. สายสัญญาณ RG6 แบบชิลด์ 3 ชั้น
CB-0106T: LINK RG6 Tri Shield Cable เพิ่มระดับการป้องกันเป็น 3 ชั้นเพื่อคุณภาพ สัญญาณที่ดีที่สุด เหมาะกับงานกล้องวงจรปิดที่ต้องการภาพที่ชัดๆ หรือเคเบิลอินเตอร์เน็ต (Doscic) โดย Tri Shield ประกอบด้วย 1. Foil Shield: Aluminum - Polyester Tape Bonded 2. Braid Shield: Aluminum Wire Coverage 85% 3. Foil Shield: Aluminum – Polyester - Aluminum
» บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) Tel: 0-2693-1222, Expressway: 0-2276-0340 FAX: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th
CIRCUTOR cutting-edge technology
• • • • • • • • •
Greater current capacity: 1.8 In permanently x, 2.5 In short time Greater tolerance to inrush currents: 400 x In Longer lifetime: 150,000 h Higher temperature resistance: -50/D, to 65 o°C More secure and safe: Inert gas More efficient: the lowest losses in its class, only 0.4 W/kvar Longer warranty: 4 years Faster delivery: more than 15,000 units in stock Altitude: until 4,000 meters above sea level.
CIRCUTOR Heavy Duty capacitors will ensure:
Greater durability • Maximum quality in European propylene • Dielectric thickness optimised for longer duration Greater continuity of service • Self-regeneration technology that ensures minimum loss of capacity • Internal fuse technology. • Ensures disconnection of the capacitor preventing dangerous situations Guaranteed safety • Overpressure safety system. • To ensure the proper disconnection of the capacitor element • Inert gas technology. Complete elimination of fire risks and leakages.
» บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด Tel: 02-681-5050 E-mail: marketing@avera.co.th Website: www.avera.co.th issue 158 APRIL 2016
Producthight_Apr 2016.indd 107
21-Apr-16 2:15:55 PM
108 EDITOR’s PICK
INDUSTRY’S FIRST FLOW CONTROLLER WITH BUILT-IN SHOCK ABSORBER FUNCTION
ตูค้ อนซูมเมอร์ยนู ติ เอบีบแี นะน�ำตูค้ อนซูมเมอร์ยนู ติ เป็นตูท้ ใี่ ช้สำ� หรับใส่รวมอุปกรณ์ปอ้ งกันระบบไฟฟ้าต่างๆ (เซอร์กิตเบรกเกอร์, อุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว, อุปกรณ์เสริมอื่นๆ ตามลักษณะการใช้ งาน) เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้ไฟฟ้า การเลือกใช้และการติดตั้งตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตเป็นสิ่ง จ�ำเป็นที่ควรพิจารณาโดยตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตควรจะมีความเป็นฉนวน มีความทนทานและมี รูปแบบที่ดูสวยงามทันสมัย ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตของเอบีบีท�ำจากวัสดุที่เป็นฉนวน มีความทนทานสูงไม่เป็นสนิม ที่ ส�ำคัญไม่เป็นสื่อน�ำไฟฟ้าและไม่ลามไฟ อีกทั้งยังออกแบบตามมาตรฐาน IEC60364 และ IEC60439-1 ใช้สำ� หรับติดตัง้ ภายในอาคารและสามารถติดตัง้ กับอุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสไฟฟ้า MCBs ได้ทุกรุ่น ส�ำหรับการติดตั้งตัวตู้ควรติดตั้งในบริเวณที่มีการระบายอากาศอย่างเพียง พอและติดตั้งให้พ้นจากระดับที่น�้ำอาจท่วมถึง รวมถึงควรมีการป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง ในการดูแลระบบไฟฟ้าสามารถเข้าไปปรับปรุงแก้ไขได้ อย่าให้ปัญหาเล็กๆ อย่างเรื่องของสายสัญญาณมีผลกระทบกับระบบการสื่อสารอันมีค่า ของคุณ เลือกสายสัญญาณครั้งใด มั่นใจ LINK สายสัญญาณมาตรฐานอเมริกา ทดสอบและ รับรองคุณภาพจากสถาบัน UL และ INTERTEK พร้อมรับประกันสินค้าถึง 30 ปี
คราสส์เทค ขอแนะน�ำ อุปกรณ์ควบคุมการไหลของแรงดันลมเทคโนโลยีใหม่ลา่ สุดจาก Pisco ประเทศญีป่ นุ่ นับได้วา่ เป็นครัง้ แรกของการควบคุมระบบลมในอุตสาหกรรม ทีม่ กี ารรวมเอา คุณสมบัตขิ องการลดแรงกระแทกเข้าไว้ใน อุปกรณ์ควบคุมการไหลของแรงดันลม ส�ำหรับอุปกรณ์ ควบคุมการไหลของแรงดันลมนี้ สามารถควบคุมความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องลูกสูบในกระบอกลม ได้เป็น 2 ระดับ ท�ำให้ชว่ ยในการควบคุมความเร็ว และช่วยลดแรงกระแทกได้เป็นอย่างดี อุปกรณ์ควบคุมการไหลของแรงดันลมจาก Pisco จะมีทปี่ รับเพือ่ ควบคุมแรงดันลม 3 ต�ำแหน่ง เพือ่ ใช้ในการปรับค่าต่างๆ 3 ค่า คือ 1. ระดับความเร็วของลูกสูบในกระบอกลมขณะเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วในช่วงเริม่ ต้น 2. ความเร็วของลูกสูบในกระบอกลมขณะชะลอตัวก่อนสุดระยะกระบอกลม 3. เวลาทีจ่ ะใช้ในการเปลีย่ นความเร็วจากความเร็วที่ 1 ไปเป็นความเร็วที่ 2 ส�ำหรับความเร็วขณะชะลอตัวในช่วงที่ 2 ของอุปกรณ์นนี้ นั้ จะท�ำให้การเคลือ่ นทีข่ องลูกสูบ ก่อนมาถึงบริเวณปลายของกระบอกลมลดลง โดยการลดความเร็วลงนีจ้ ะสามารถช่วยลดแรง กระแทกได้มากถึง 90% โดยทีเ่ วลาในแต่ละรอบ (cycle time) นัน้ ยังเท่าเดิมไม่เปลีย่ นแปลง ส�ำหรับระบบทีม่ กี ารติดตัง้ อุปกรณ์ลดแรงกระแทก (Shock absorber) อยูแ่ ล้ว หากน�ำอุปกรณ์ ควบคุมการไหลของแรงดันลมจาก Pisco เข้าไปใช้รว่ มด้วยนัน้ จะสามารถท�ำการเร่งความเร็ว ในช่วงเริม่ ต้นของลูกสูบในกระบอกลมได้เพิม่ ขึน้ ถึง 2 เท่า เมือ่ เทียบกับความเร็วปกติ ก่อนทีจ่ ะ ลดความเร็วลงเป็นความเร็วปกติเมือ่ เข้าใกล้ชว่ งปลายของกระบอกสูบ ซึง่ การควบคุมแรงดันลม ลักษณะนีจ้ ะท�ำให้เวลาทีใ่ ช้ในการท�ำงานในแต่ละรอบนัน้ ลดลง หรือก็คอื การท�ำงานได้จำ� นวนรอบ ทีม่ ากขึน้ ในเวลาเท่าเดิมนัน่ เอง ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในระบบการผลิตโดยเครือ่ งจักรแบบ อัตโนมัติ (Automation) อุปกรณ์ควบคุมการไหลของแรงดันลมนีเ้ ป็นการออกแบบทีเ่ สมือนรวมเอาอุปกรณ์ 2 ชนิด เข้าไว้ดว้ ยกัน โดยสามารถควบคุมความเร็วของกระบอกลมได้ 2 ระดับ และลดการกระแทกของ กระบอกลมต่ออุปกรณ์ลดแรงกระแทก (Shock absorber) ได้อกี ด้วย นอกจากนีอ้ ปุ กรณ์นยี้ งั มีอายุการใช้งานทีย่ าวนานกว่าอุปกรณ์ลดแรงกระแทก (Shock absorber) ทัว่ ไปถึง 3 เท่า และ ยังต้องการการดูแลรักษาทีน่ อ้ ยกว่า ระบบทีม่ กี ารติดตัง้ อุปกรณ์ลดแรงกระแทกแบบทัว่ ไปนัน้ มักมีการเปลีย่ นอุปกรณ์บอ่ ยครัง้ ซึง่ ส่งผลโดยตรงต่อต้นทุนในการผลิตทีไ่ ม่คมุ้ ค่ากับระยะเวลาที่ ใช้งานอุปกรณ์ สามารถสอบถามเกีย่ วกับอุปกรณ์ควบคุมการไหลของแรงดันลมเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุดจาก Pisco ได้ที่ คราสส์เทค ตัวแทนจ�ำหน่ายอย่างเป็นทางการของ Pisco
» KRASSTEC CO.,LTD.
Tel. 02-732-1144 (Auto Lines) Fax: 02-732-2350 E-mail: krasscom@krasstec.com
» ABB Limited
Tel. 02-665-1000, 02-665-1474 (Direct) Mobile: 081-802-9820 Website : www.abb.co.th/homeprotections
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Producthight_Apr 2016.indd 108
21-Apr-16 2:15:56 PM
EDITOR’s PICK 109
Keysight InfiniiVision 3000T X-Series Oscilloscope 100 MHz. to 1GHz. Economy Scope Touch, Discover, Solve หนึ่งในนวัตกรรมที่ดีที่สุด Touch (ระบบสัมผัส)
• ท�ำงานและสั่งการด้วยระบบแตะสัมผัสหน้าจอขนาด 8.5 นิ้ว การสัมผัสในแต่ละครั้งจะมี ค�ำอธิบาย
Discover (ค้นพบ)
• มีอัตราการอัพเดต Waveform ที่รวดเร็วและมีจุดเด่นที่ Zone Trigger ในการทริก สัญญาณที่รวดเร็ว • มีอัตราการประมวลผลของสัญญาณ 1 ล้าน Waveform/วินาที
Website Guide The website contains a vast range of products listed by model number that allows users to verify product information. CAD data for products and Catalog PDF files are available for download. You can also view the worldwide trade show/exhibition schedule and much more.
IKO http://www.ikont.co.jp/eg/ Product information
Solve (แก้ปัญหา)
Products can be searched by product series names and by a bearing’s directional motion. On each page, product features are detailed in a user friendly format
• รวมฟังก์ชันการท�ำงานของ 6 เครื่องไว้ในหนึ่งเดียว • มีฟงั ก์ชนั การสาธิตสัญญาณเบือ้ งต้นของเครือ่ งมือเพือ่ ให้ทา่ นได้ทำ� การศึกษาข้อมูลเบือ้ งต้น
Download
รับ ประกัน
3ปี
<CAD Data> CAD data can be downloaded for each product. 2D and 3D CAD data is provided. <Product Catalog> The product catalogs can be downloaded in PDF format.
Exhibition/trade show information
Worldwide trade show/exhibition schedules are available so you can find out where will be showcasing our products near you. We encourage you to come view our products in person at any of our booths.
Introducing the
Technical Service Site
The Technical Service Site can be accessed from the website. We offer various tools to help you make an appropriate Linear Way and Linear Roller Way selection. Please use them to aid with your selection. You can also use the site to download Instruction Manuals for the mechatro series. Login Screen
Menu Screen
Authorized distributor and Service Center
» IRC Technologies Co., Ltd. Tel. 02-717-1400 Fax. 02-717-1422 E-mail : info@irct.co.th Website : www.irct.co.th
» IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak Bangkok 10500, Thailand Tel. 02-637-5115 Fax: 02-637-5116 issue 158 APRIL 2016
Producthight_Apr 2016.indd 109
22-Apr-16 3:30:10 PM
110 EDITOR’s PICK
ADEKOM Kompressoren, The world class screw air compressor and treatment system. ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ส�ำหรับการใช้งานลมทุกสภาวะอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ได้รับการออกแบบส�ำหรับการใช้งานหนักอย่างต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง (100% Duty Cycle) อุปกรณ์ภายในผลิตในประเทศเยอรมันและอิตาลีที่มีการ ออกแบบเป็นพิเศษ ให้มีความทนทานต่อทุกสภาวะการใช้งานและทุกสถานที่ โดยเฉพาะการ ใช้งานในเขตร้อนอย่างประเทศไทย ปั๊มลมระบบสกรู “ADEKOM” ยังเหนือกว่าด้วยการใช้ งานจริงที่สามารถประหยัดพลังงานได้ในทุกขณะท�ำงาน (ADEKOM Real Time Energy Saving System) นอกจากนีป้ ม๊ั ลมระบบสกรู “ADEKOM” ยังมีรนุ่ ทีอ่ อกแบบส�ำหรับใช้งานในสภาวะพิเศษ ตามการใช้งาน ได้แก่ •• Oil Free Screw Air Compressor •• High Pressure Air Compressor (Max : 350 bar) •• Explosion Proof Screw Air Compressor •• Special Gases Compressor (Biogas, Methane, LPG, NGV, etc.) •• Air treatment system (Air dryer, air filter) ในด้านการบริการ “ADEKOM” สามารถบริการคุณด้วยทีมวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญใน ระบบปั๊มลม สามารถให้ค�ำแนะน�ำและการติดตั้งปั๊มลมอย่างถูกต้องและปลอดภัย รวมถึง สามารถบริการซ่อมบ�ำรุงปั๊มลมได้ทุกยี่ห้อ
» Adekom Kompressoren (Thailand) Co., Ltd. Tel. 0-2453-2374-5 Fax. 0-2453-2349 E-mail: info@adekom-thailand.com Website: www.adekom-thailand.com
Compact Series Model KSF Optimal for high rigidity and high-cycle operation High speed/High acceleration type KSF •• Equipment service life improvement •• Productivity Improvement •• Accuracy improvement
High rigidity
Use of an iron outer rail with a U-shaped cross section enables this model to receive a large moment. Since the rigidity of the actuator itself is high, spacesaving design is allowed.
Full cover
Use of a side cover and a strip seal on the top face achieves a full-cover structure. The full cover prevents external foreign material from entering the actuator.
Increased Rated Output of the Applicable Motors
The ball screw shaft diameter is larger compared to the existing models. The ball screw end part is also larger. Using a motor with the larger rated output has made the high speed and high-acceleration/deceleration operations possible without changing the main unit size.
» I.N.B. Enterprise Co., Ltd. Tel. 02 613-9166 – 71 Fax. 02-215-8494 E-mail: sales@inb.co.th Website: www.inb.co.th
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Producthight_Apr 2016.indd 110
22-Apr-16 3:30:11 PM
EDITOR’s PICK 111
Sundyne Gearbox Exchange Program
SVBT - RTMZ
Exchange your Sundyne pump and compressor gearbox to increase reliability and operations longevity. Upgraded gearboxes feature Sundyne Genuine Parts.
ออกแบบเพือ่ การป้องกันมอเตอร์ทดี่ ที สี่ ดุ พร้อมสามารถแสดงค่าต่างๆ ครบถ้วน
Sundyne Gearbox Upgrade
Avoid costly downtime today and gain a lifetime of reliability. That’s the Sundyne UPTIME ASSURANCE promise!
New Design Features
1. All shafts in gearbox drive train (input, idler and output shaft) are dynamically balanced to ISO standard 1940 2. Tapered alignment bolts with lead in chamfer maintain integrity of original close tolerance gearbox housing 3. New input shaft seal acts as a bearing isolator while the inner sleeve rotates against a stationary outer seal. standard design for LMV-322/311/331 gearboxes. 4. Fluor elastomer O-rings replace gaskets at the gearbox-split lines (Item 936AG). 5. Tapered land thrust washers develop greater oil wedge to support loads than the traditional flat washers replaced and are dimensionally interchangeable. 6. Extended sight glass allows for entrained air to return to the gearbox sump eliminating oil foaming.
RAK
Introducing the NEW Sundyne Reliability Assurance Kit, all of the parts you need to keep your Sundyne Pump and Compressor running smoothly while minimizing maintenance downtime.
• ขณะมอเตอร์ท�ำงาน : ป้องกันด้วยเงื่อนไขโปรเทคชั่นกระแสของมอเตอร์ • ขณะมอเตอร์หยุดท�ำงาน : ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของมอเตอร์
คุณสมบัติที่โดดเด่น
• ระดับการคุ้มครองมอเตอร์ขั้นสูง (High Level Protection Class) • ป้องกันมอเตอร์ด้านกระแสที่ครบถ้วน (Current based protection) – กระแสมอเตอร์เกิน (Over Current) – กระแสมอเตอร์ต�่ำ (Under Current) – กระแสมอเตอร์ขาดเฟส (Phase Loss) – เฟสเข้ามอเตอร์ผิดปรกติ (Reverse Phase) – กระแสมอเตอร์ไม่สมดุล (Unbalance) – โรเตอร์ของมอเตอร์ไม่หมุน (Locked Rotor) – กระแสของมอเตอร์กระชากรุนแรง (Shock/Stall) – มอเตอร์กระแสรั่ว (Ground Fault) • ป้องกันมอเตอร์อุณหภูมิสูง (Sensed by PT100) • ตรวจสอบค่าความเป็นฉนวนของมอเตอร์ได้ขณะมอเตอร์หยุดการท�ำงานทุกครั้ง • แสดงผลค่าต่างๆ โดยจอ LED สีแดง – สามารถแยกจอได้ด้วยสายยาว 2 เมตร – แสดงค่าการใช้กระแสเป็นตัวเลข – (Load Current) – แสดงค่ากระแสที่รั่วเป็นตัวเลข – (Earth Current) – แสดงค่าความเป็นฉนวนเป็นตัวเลข(Insulation resistance) – แสดงค่าเวลาการท�ำงานสะสมเป็นตัวเลข (Accumulated working time) – แสดงค่าเปอร์เซ็นต์การท�ำงานของโหลดเป็นบาร์กราฟ (%Load factor Round Bar graph) • มาตรฐานการสื่อสารส่งออกเป็น 4—20mA. • สามารถเพิ่มการสื่อสารข้อมูล การใช้งานผ่านเข้าระบบคอมพิวเตอร์ • Option 1 : สื่อสารผ่านเข้าอุปกรณ์อื่นๆ ได้โดย Module RTU/Modbus • Option 2 : Motor Working Recorder & Motor Communication with Program.
รีเลย์รน ุ่ ใหม่
» Global Seal Co., Ltd.
Tel. 0-2953-8840-8 Fax. 0-2953-8461 Website: www.globalseal.co.th
ป้องกันมอเตอร์ไหม้ ทุกกรณีมาพร้อมกับ ความสามารถในการวัด ค่าความเป็นฉนวนของ มอเตอร์
» BTT United Co., Ltd.
Tel. 0-2586-8733 Fax. 0-2587-8852 E-mail: info@bttunited.com Website: www.BTTunited.com
issue 158 APRIL 2016
Producthight_Apr 2016.indd 111
21-Apr-16 2:16:00 PM
P112_.pdf 1 4/22/2016 5:44:44 PM
001_Mo_Cover_March_2016_final.pdf 1 3/2/2016 5:27:24 PM
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
157 M
Y
MY
CY
CMY
Vol.14 No.157 MARCH 2016
C
CM
Honesty and Sincerity are our Key Success Factors
K
www.mmthailand.com
ŕš ŕ¸&#x2013;ลŕ¸&#x;ร฾ ŕš&#x20AC;สมŕš&#x2030;ŕ¸ŕš&#x201A;ŕ¸&#x203A;ŕš&#x201A;฼ŕš&#x20AC;ภรŕ¸&#x201D;ŕ¸&#x17E;ร฾ŕš&#x20AC;ล฾ŕš&#x2C6;ยล 1 ŕ¸&#x2022;ูว ญรมภUSB FLASH DRIVE 1 ŕ¸&#x2022;ูว
www.factoryeasy.com
สลูŕ¸&#x201E;รสลาŕ¸&#x160;ิภ1 ŕ¸&#x203A;ď&#x153;&#x201A; 12 ŕ¸&#x2030;ŕ¸&#x161;ูŕ¸&#x161;
p. 44
p. 52
p. 67
D +?L5 )?52!9"2!@! : :+D <! E-8 :+- @! D&?L5 :+5!@+9 1Ä?&-9 :!
5!@+9 1Ä?&-9 :!G!(: 5@ 2:3 ++) ;E-Ä&#x160;/H Ä&#x160;58H+ħ
@ &< 9* <L!29! <2@
/Ä&#x2030;: c` #Ä "!D2Ä&#x160;! : 2:*5@ 2:3 ++) 9"" ": 2@(:&"@+@1&-9 :! E !
4/2016
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Magna Ad_new.pdf 1 1/11/2016 11:49:01 AM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
AD_Gardner.pdf 1 11/24/2015 3:16:44 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
K
CMY
CY
MY
CM
Y
M
C
115_AD_.pdf 1 2/20/2014 5:02:36 PM
116_AD_MO_10_2014_AD Alpha.pdf 1 1/28/2015 4:36:01 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K