Modern Manufacturing Magazine : July 2016

Page 1

Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

the energy management software เครื่องมือบริหารจัดการพลังงานไฟฟาที่ไดมากกวาเรื่องไฟฟา

คุณสมหวัง บุญรักษเจริญ บริหารงาน ดูแลทีมดวยบทบาท ‘ครูผูให’ และแนวคิด ‘KSA’

จับทิศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ครึ่งหลัง ป 2559

Smart Logistics กลยุทธบริหารจัดการโลจิสติกสอยางชาญฉลาด

p. 54

p. 49

p. 82



Our Duty is to Satisfy Your Needs ความพ�งพอใจของท าน เป นหน าที่ของเรา

DigiGate Technology (Thailand) Co., Ltd. 72/50-51 Moo.3, T.Bangtalad, A.Pakkred, Nonthaburi 11120 Thailand. Tel: +66 02-5822051-53 Fax: +66 02-5822054 E-mail: sales@digigate.co.th Website: www.digigate.co.th



FAX





ผูเชี่ยวชาญงาน Vacuum Application และ Automation

T.V.P Valve & Pneumatic Co.,Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sale@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales



THIS IS RELIABILITY ZoomlockTM Braze-Free Tube Fitting Change Everything

Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000

www.parker.com/th

Specially designed to work without brazing, which makes your job simpler and faster when joining copper tubes. The fittings are leak-proof and more repeatable than brazed connections



Stage floor Silo, Hopper, Damper

Mixing Tank Elec. System

STOCK MATERIAL

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด

เปนผูนำในการดำเนินธุรกิจดาน วิศวกรรม ที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพสินคา และบริการอยางตอเนื่อง รับผลิตและติดตั้งงานถัง ทออุตสาหกรรม และการขยายโรงงานผลิต เชน STAGE FLOOR, SILO, HOPPER, DAMPER, Mixing Tank ELEC. SYSTEM, STOCK MATERIAL บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด

559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com


14

copyright & trademark

2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th

COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

การสมัครสมาชิก

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.



contents vol.14 no.161 july 2016

p.30

p.34

p.40

24 NEWS & UPDATE 30 COVER STORY

p.54

49 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC

62 GREEN ZONE TECHNOLOGY

จับทิศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ครึ่งหลัง ปี 2559

Environmental Management Dashboard เครื่องมือติดตามการใช้พลังงานตามเป้าหมาย

SmartEE โปรแกรมที่บริหารงานเพื่อลดค่าไฟได้ทันท่วงที พัฒนาพร้อมเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ

50 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

34 INTERVIEW

51

ครบครัน คุ้มค่า ไว้วางใจได้ กลยุทธุ์สู่จุดหมายของ บจก. บุญเยี่ยมและสหาย

SMART PRODUCT พัฒนาอย่างไรในยุคอุตสาหกรรม 4.0

40 INTERVIEW

คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�านวยการสถาบันไทย-เยอรมัน บริหารงาน ดูแลทีมด้วยบทบาท ‘ครูผู้ให้’ และแนวคิด ‘KSA’

กลุ่มบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น (มหาชน) ส่งมอบบริการที่เป็นเลิศ ในยุคการสื่อสารไร้พรมแดน 42 EXCLUSIVE INTERVIEW

ฟัง… เลขาธิการ BOI แถลงสิทธิประโยชน์ ต่อนโยบายอุตสาหกรรมเป้าหมาย 45 QUALITY CONTROL

Check List ตู้สวิตช์เกียร์ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

p.73

‘สินเชือ่ ดอกเบีย้ ต�า่ ’ กระตุน้ SMEs ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทย tech focus

54 REAL LIFE

57

RENEWABLE ENERGY

IFAT ประเทศเยอรมนี ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK ประเทศไทย 60 EXCLUSIVE TALK

ชี้ทางรอดวิศวกรไทย เติบโตอย่างไรในยุค AC

GREEN ZONE POLICY 64 มาตรการ EERS ส่งเสริมอาคารพาณิชย์

และโรงงานอุตสาหกรรมอนุรักษ์พลังงาน 67 พพ.น�าร่องโรงงานอุตสาหกรรม 100 แห่ง เปลี่ยนหัวเผาหม้อไอน�้าให้ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล 68 AUTOMATION

การสร้างทางเดินหุ่นยนต์อย่างง่าย ด้วยวิธี Teaching 70 FACTORY VISIT

คอมแพ็คเบรก โรงงานหัวใจสีเขียว 73

TECHNOLOGY LASER

Single Mode Laser Fiber Marker รวดเร็ว ฉับไว ประหยัดค่าใช้จ่าย


p.80

p.82

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

76 TECH FOCUS IT BUSINESS

CYOD อีกหนึ่งแนวคิดเพื่อน�ามาเติมเต็มนโยบาย BYOD 78 INDUSTRIAL MARKETING

Twitter และ Brand Story ความเกี่ยวข้องที่ไม่ควรมองข้าม 80 FOOD PROCESSING

Intel ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร ด้วย SureCheck 82 LOGISTIC SMART

Smart Logistics กลยุทธ์บริหารจัดการโลจิสติกส์อย่างชาญฉลาด 85 SAFETY

การสอบสวนอุบัติเหตุ อีกหนึ่งวิธีปฏิบัติเพื่อทราบสาเหตุพื้นฐาน


editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com ISSN: 1685-7143

เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน นโยบายอุตสาหกรรมเป้าหมาย “บีโอไอได้ประสานและร่วมมือด้านข้อมูล ความต้องการแรงงาน การพัฒนาบุคลากรและแรงงานฝีมือ กับกระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ กรมอาชีวะศึกษา สถาบันอุดมศึกษา กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพือ่ ท�าการสนับสนุนภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการร่วมมือกับองค์กรและบริษทั เอกชน เพื่อผลักดันและแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในทุกระดับอย่างทั่วถึงและใกล้ชิด บีโอไอมีรูปแบบการส่งเสริมทั้งการสร้างแรงจูงใจ และเงื่อนไขให้ผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการพัฒนา บุคลากรเอง เช่น การให้สิทธิประโยชน์เพิ่มเติมแก่ผู้ประกอบการที่มีค่าใช้จ่าย หรือเงินลงทุนจากการเข้าร่วม โครงการที่ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให้สามารถรองรับภาค อุตสาหกรรมและบริการทีใ่ ช้เทคโนโลยีขนั้ สูง และยกระดับอุตสาหกรรมและบริการของไทย รวมทัง้ ช่วยผลักดัน ให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากภาคเอกชนสู่บุคลากรไทย ได้อย่างเป็นรูปธรรม” ใจความตอนหนึง่ ของบทสัมภาษณ์พเิ ศษ คุณหิรญ ั ญา สุจนิ ยั เลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน ในหน้า 41 - 43 นอกจากการสนับสนุนด้านการพัฒนาบุคลากรแล้ว ยังได้กล่าวถึงสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ ส�าหรับการส่งเสริมและสนับสนุนแนวนโยบายอุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล เป็นข้อมูลที่ผู้ประกอบการ ไม่ควรพลาดนะคะ ทางด้าน คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผูอ้ า� นวยการสถาบันไทย - เยอรมัน ก็ได้กล่าวสนับสนุนถึงความพร้อม ต่อการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจด้วยนโยบายอุตสาหกรรมเป้าหมายเช่นเดียวกัน ในคอลัมน์ REAL LIFE นอกจากนัน้ ยังเผยถึงแนวทางการบริหารงานและการบริหารบุคลากร ด้วยคียเ์ วิรด์ ทีว่ า่ ‘บริหารงาน ดูแลทีมด้วยบทบาท ครูผู้ให้ และแนวคิด KSA’ ติดตามรายละเอียดได้ที่หน้า 54 - 56 ค่ะ ในคอลัมน์ INDUSTRIAL ECONOMIC หน้า 49 มีผลการส�ารวจความคิดเห็นและมุมมองของผู้บริหาร ด้านแนวโน้มเศรษฐกิจครึ่งหลังปี 2559 มาอัพเดทกันค่ะ ส่วนคอลัมน์ GREEN ZONE หน้า 64 - 65 น�าเสนอ เรื่องการส่งเสริมอาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรมอนุรักษ์พลังงาน มาตรการ EERS และ เรื่องพพ. น�าร่องโรงงานอุตสาหกรรม 100 แห่ง เปลี่ยนหัวเผาหม้อไอน�้าให้ใช้เชื้อเพลิงชีวมวลนะคะ ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่มนะคะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณำธิกำร: ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ กองบรรณำธิกำร: สำวิตรี สินปรุ, เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัต เพ่งพินิจ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936

Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket


Industrial Regulators: Air, Steam, Liquids, Process Gases, Fuel Gas Regulators for Natural Gas Solutions

Annunciator Fault Recorder Thermocouple for Gas Turbine

Pressure Reducing Regulators Relief / Back Reducing Regulators Hand / Air Operated Valves

Tail Gas Analyzer / Dew Point Monitor Moisture Analyzer / Gas Chromatograph

Position Feedbacks Hose Carrier / Industrial Brakes

Enclosure & Cabinet for : DCS & PLC Systems, Industrial and Telecommunication Applications

Fluidrive Variable Speed Coupling VORECON Variable-Speed Planetary Gear Variable-Speed Turbo Coupling Torque Converters

Electric Heaters / Heating Elements Heating Cables Controls

Point Level & Continuous Level Measurement : RF Admittance Vibration, Ultrasonic Hydrostatic and Radar

Dust Density Monitor

Kanit Engineering Corp., Ltd. 800/3-4 Asoke Dindaeng Road, Dindaeng, Bangkok 10400 Tel : 0-2245-4451, 0-2245-0419, 0-2245-8989, 0-2642-8762-4 Fax : 0-2246-3214, 0-2248-3006 E-mail : sales1@kanitengineering.com, sales2@kanitengineering.com http://www.kanitengineering.com

Pisanu Engineering Co., Ltd. 800/2 Asoke Dindaeng Road, Dindaeng, Bangkok 10400 Tel. 0-2245-9113, 0-2246-4673, 0-2248-2896-8 Fax. 0-2642-8614, 0-2248-3006 E-mail : Pisales@pisanu.co.th ECsales@pisanu.co.th http://www.pisanu.co.th


20 SUPPLIER INDEX july 2016 หน้า 1, 7, 30-33

ชื่อบริษัท

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2910-9728-29

www.tat.co.th

Technological Solutions For You

2

จีทีเอ็ม บจก.

0-2012-1800-4

www.gtm.co.th

จัดจ�ำหน่ำยและให้บริกำรหลังกำรขำยสินค้ำประเภทรถยกและอุปกรณ์ขนย้ำย GT Mover, MIAG และ Master Mover

3

ดิจิเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) บจก.

0-2582-2051-3

www.digigate.co.th

ตัวแทนจ�ำหน่ำย และบริกำรหลังกำรขำยเครื่องมืออุปกรณ์ที่มีควำมละเอียดสูง ด้วยเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัย จำกผู้ผลิตเครื่องมือวัดชั้นน�ำของโลก

4

เจเอสอำร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

เป็นผู้น�ำด้ำนเครื่องจักรกลหนัก กำรก่อสร้ำง เกษตรกรรม และอุสำหกรรม

5

เอบีบี บจก.

0-2665-1000

www.abb.com

ผู้ผลิตและจ�ำหน่ำยอุปกรณ์ป้องกันส�ำหรับระบบไฟฟ้ำแรงสูงและไฟฟ้ำแรงต�่ำ

6

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสำยไฟแบบพลำสติกลูกฟูก คุณภำพสูง ผลิตภัณฑ์จำกประเทศเยอรมนี

8

เวอร์ทสั บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ำยประกบเพลำ และอุปกรณ์ส่งก�ำลังหมำยเลขหนึ่งของ ประเทศ สินค้ำของบริษัทเป็นสินค้ำของแท้ มำตรฐำนโลก

9

ที.วี.พี. วำล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.

0-2379-1611-12

www.tvp.co.th

จ�ำหน่ำยวำล์วอุตสำหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้ำ พร้อมตัวควบคุม สำยลม และข้อต่อลมต่ำงๆ กระบอกลม

11

ปำร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�ำเข้ำและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของระบบกำรท�ำงำน ในเครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�ำของโลก

12

แอมด้ำ บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3

www.cpmflow.com

ควำมสม�่ำเสมอในกำรท�ำงำนผลักดันให้งำนมีคุณภำพพร้อมกับมำตรฐำน ในควำมปลอดภัย “Good Team Change The Future”

15

ไทยโพลิเมอร์ ซัพพลำย บจก.

0-2750-4852-8

www.thaipolymer.co.th

ผูน้ ำ� ในด้ำนพลำสติกวิศวกรรม ผลิตชิน้ ส่วนพลำสติก งำนสัง่ ท�ำ ด้วยเครือ่ งจักร ทีท่ นั สมัย และ ประสบกำรณ์ดำ้ นสินค้ำและบริกำร มำกกว่ำ 30 ปี

17

โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.

0-2150-7808-10

www.motology.co.th

ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ำยก�ำลัง SKF

19

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-8762-4

www.kanitengineering.com

Process Instuments & Controls

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�ำเข้ำและจัดจ�ำหน่ำยอุปกรณ์ข่ำยสำย คอมพิวเตอร์และสื่อสำร รับเหมำติดตั้ง

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ำย มอเตอร์, ปั้มน�้ำ, พัดลมอุตสำหกรรม ชั้นน�ำของ ประเทศไทย

23

เพำเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

25

อีพีเอ็มซี บจก.

0-2322-1678-87

www.epmc.co.th

จ�ำหน่ำย พร้อมให้ค�ำปรึกษำด้ำนอุปกรณ์ระบบไอน�้ำ และวำล์วที่ใช้ในโรงงำน อุตสำหกรรม

27

ฮิตำชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE

34-37

บุญเยี่ยมและสหำย บจก.

0-2322-4333

www.boonyium.com

ตัวแทนจ�ำหน่ำย รับติดตั้ง เครื่องก�ำเนิดไอน�้ำ หม้อน�้ำทำงอุตสำหกรรม หัวพ่นไฟ เครื่องท�ำน�้ำร้อน เครื่องท�ำควำมร้อน หม้อก�ำเนิดไอน�้ำ

38-39

ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.

0-2637-5115

www.ikont.co.jp/eg

“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”

47

เอวีร่ำ จ�ำกัด

0-2681-5050

www.avera.co.th

Offering The Best Alternative!

48

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.

0-2682-6522

www.mitsubishifa.co.th

เรำน�ำเสนอสินค้ำพร้อมแนะแนวทำงต่ำงๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้ำ ผ่ำนเครือข่ำยในกำรจ�ำหน่ำยสินค้ำ อย่ำงกว้ำงขวำงระดับสำกล

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71

www.inb.co.th

ผู้แทนจ�ำหน่ำยสินค้ำ THK อย่ำงเป็นทำงกำรในประเทศไทย

66

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4

www.cgsreboardthai.com

"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�ำหรับบูธนิทรรศกำรด้วยกระดำษ re board"

105

แม็กนำ อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach

106

กำร์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

107

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�ำเข้ำ และจัดจ�ำหน่ำยสินค้ำอุตสำหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้ำส�ำหรับโรงงำน อุตสำหกรรมต่ำงๆ ที่ได้รับกำรแต่งตั้งอย่ำงเป็นทำงกำร พร้อมให้บริกำร ทุกรูปแบบและทุกกลุ่มอุตสำหกรรม

108

อัลฟ่ำ คอนโทรมำติค บจก.

0-2721-1801-8

www.alphac.co.th

- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct. - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.

21, 40-41 อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ. 22, 29

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณำที่จัดท�ำขึ้นเพื่อควำมสะดวกในกำรค้นหำรำยชื่อบริษัทต่ำงๆ ที่ลงโฆษณำในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หำกมีข้อผิดพลำดเกิดขึ้น ทำงผู้จัดท�ำถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยำยำมท�ำให้เกิดควำมถูกต้องอย่ำงที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


นำเขาและจัดจำหนายโดย

บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)

48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)

www.interlink.co.th

E-mail : info@interlink.co.th


waterpump2@tnw.co.th Tel. 0-2115-5000 Fax. 0-2115-5555



24 news & Update

Signing of Service Agreement between TMEIC and BestCooper Group at ASEAN Sustainable Energy Week 2016 TMEIC Asia (Thailand) Co., Ltd. would like to announce that the company will enter a strategic agreement with BestCooper Group in establishing a service arm in Thailand for the PV-PCS businesses. To support the PV-PCS business in Thailand which required highly-skilled manpower and fast response services, TMEIC Asia (Thailand) has selected the BestCooper Group to be our business partner in providing Energy Renewal Solutions to our customers. BestCooper Group started its headquarter office in Thailand in 2001 and has business footprint over the years in various industries and has extended their great service capabilities to other countries such as Indonesia, Taiwan, Bangladesh and etc. As such, it is important to have professional service organization like BestCooper as a business partner

to strengthen our capability and become the customer’s choices in Energy Renewal industry. In this agreement, TMEIC Asia will assign BestCooper Group as a representative to the on-site commissioning, providing preventive maintenance and being the front-end emergency service on TMEIC’s PV inverters that were delivered in Thailand. TMEIC Asia will certify, supervise and conduct regular audits on BestCooper’s service team before going to the field, to ensure the level of competency in providing high quality services. With this agreement in place, our customers will have more confident in our Energy Renewal Solutions services, whereby TMEIC Corporation is able to supply proven high reliable PV inverters globally, while at the same time, getting professional services from BestCooper Group.

INTERLINK ขอบคุณลูกค้า บินลัดฟ้าเยือนเยอรมนี

AVERA ร่วมกับ CHINT Electric จัดงานเสวนา ‘การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าแรงต�่า’

AVERA ผู้น�ำด้ำนกำรจัดกำรพลังงำนไฟฟ้ำแบบครบวงจร ร่วมกับ CHINT Electric ผู้ผลิตและจ�ำหน่ำยอุปกรณ์ไฟฟ้ำแรงต�่ำที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน จัดงำนเสวนำเรือ่ ง ‘การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าแรงต�า่ ’ ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอคองคอร์ด โดยมี Mr. Andres Sanchez Head of Engineering, Trainer CHINT Europe ผู้มีประสบกำรณ์ด้ำนกำรออกแบบและสนับสนุนด้ำนเทคนิค ส�ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้ำแรงต�ำ่ มำมำกกว่ำ 15 ปี เป็นผูบ้ รรยำย โดย Mr. Andres ได้เล่ำควำมเป็นมำเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ CHINT ที่มีควำมพิเศษแตกต่ำงจำก ผลิตภัณฑ์อื่นที่มำจำกจีนเหมือนกัน ว่ำเหตุใดผลิตภัณฑ์จำก CHINT จึงได้รับ ควำมสนใจจนได้รบั ควำมนิยมอย่ำงมำกในแถบประเทศยุโรป อีกทัง้ Mr. Andres ยังได้แนะน�ำในกำรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ำแรงต�่ำต่ำงๆ อย่ำงละเอียดกับทำง ผู้เข้ำร่วมสัมมนำได้น�ำกลับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

อินเตอร์ลิ้งค์ ขอบคุณลูกค้ำผู้มีอุปกำรคุณสุด Exclusive บินลัดฟ้ำสู่ประเทศ เยอรมนี สัมผัสควำมสวยงำมของสถำปัตยกรรมเก่ำแก่ที่มีชื่อเสียง ไม่ว่ำจะเป็น พระรำชวังนิมเฟนบวร์ก พระรำชวงฤดูร้อนสไตล์บำร็อกที่สร้ำงขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1664 จัตุรัสมำเรียนพลัทซ์ สถำปัตยกรรมแบบโกธิค จุดเริ่มต้นของประวัติศำสตร์ และธุรกิจของนครมิวนิค ปรำสำทนอยชวำนสไตน์ อันวิจิตรงดงำมตระกำรตำ ตั้งอยู่บนยอดเขำเหนือทะเลสำป Alpsee ที่มีฉำกหลังเป็นพฤกษชำติและหุบเขำ สูงตระหง่ำนดั่งเทพนิยำยพิพิธภัณฑ์เมอร์เซเดส-เบนซ์ ในเมือง สตุ๊ทกำร์ท หนึ่งในแลนด์มำร์คส�ำคัญของประเทศเยอรมนี และปรำสำทไฮเดลเบิร์ก ที่ได้รับ กำรบันทึกเป็นมรดกโลกจำกยูเนสโก พร้อมจิบเบียร์รสสัมผัสนุ่มลิ้น ปิดท้ำยด้วย Private Party ที่จัดห้องพิเศษ ส�ำหรับคณะอินเตอร์ลิ้งค์โดยเฉพำะ เรียกได้ว่ำจบทริปด้วยควำมประทับใจ พร้อมมิตรไมตรีอันอบอุ่นที่อินเตอร์ลิ้งค์ยินดีมอบให้แก่ผู้ร่วมทริปในครั้งนี้



26 news & Update

บ๊อช จัดแถลงข่าวประจ�าปี 59 มั่นใจบริษัทยังเติบโตอย่างแข็งแกร่งในไทย

โปรเจค สมาร์ทแทงค์ ผลิตน�้าจากความชื้น คว้ารางวัล Go Green in The City 2016 ระดับประเทศ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูเ้ ชีย่ วชาญระดับโลกด้านการจัดการ พลังงาน ประกาศผลการตัดสิน โครงการ ‘Go Green In The City’ เพื่อการกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ในเชิงนวัตกรรมด้าน การจัดการพลังงาน และสิ่งแวดล้อม โดยเป็นการแข่งขันใน ระดับโลก ส�าหรับนิสิต นักศึกษาที่มีแนวคิดช่วยโลก เพื่อช่วย ให้เมืองต่างๆ มีความเป็นอัจฉริยะมากขึ้น ทั้งนี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จะเฟ้นหาแนวคิดที่สร้างสรรค์ และท� า ได้ จ ริ ง มากที่ สุ ด ในทุ ก ปี จ ะมี เ งื่ อ นไขที่ ส� า คั ญ คื อ หนึ่งในสมาชิกของทีมจะต้องเป็นนักศึกษาหญิง เพื่อส่งเสริม แนวคิดและบทบาทของผู้หญิงให้มีมากขึ้นในสังคม ซึ่งทีม ชนะเลิศโครงการ ‘Go Green In The City’ รุ่นที่ 6 คือ ทีม Inspire ที่ประกอบด้วย คุณปฏิพล ธนารักษ์วุฒิกร และ คุณกนิษฐา นฤเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรม ไฟฟ้า นิสติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้คดิ ค้น ‘สมาร์ทแท้งค์’ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นการผลิตน�้าจากความชื้นแม้ในพื้นที่ ที่แห้งแล้ง ด้วยหลักการควบแน่นเปลี่ยนจากความชื้นให้กลาย เป็นหยดน�้า โดยให้อากาศไหลผ่านคอยเย็น เกิดการควบแน่น เกิดหยดน�า้ ไหลผ่านระบบกรอง 3 ชัน้ ได้แก่ คาร์บอน เซรามิค และ เรซิน เพื่อให้เกิดความสะอาดในระดับที่สามารถดื่มได้ ซึ่ ง ความชื้ น สั ม พั ท ธ์ ใ นประเทศไทยโดยเฉลี่ ย คาดว่ า น่ า จะ ผลิตน�้าได้ 21 ลิตรต่อชั่วโมง โดยต้นทุนค�านวณในการสร้าง ‘สมาร์ทแทงค์’ แรกเริ่มประมาณ 20,000 บาท ทีมรองชนะเลิศอันดับ 1 คือ โครงการ Dropless จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ ทีมรอง ชนะเลิศอันดับ 2 คือ โครงการ Ecodistrict Smartgrid จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บ๊อช ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายเทคโนโลยีและการบริการชั้นน�าของโลก ปิดงบการเงินปี 2558 ได้อย่างสวยงามด้วยยอดขายรวมในประเทศไทยมูลค่า 10.8 พันล้านบาท (285 ล้านยูโร) คิดเป็น อัตราการเติบโตร้อยละ 22 เมือ่ เทียบกับปีกอ่ นหน้า จากผลการด�าเนินงานทีด่ เี ยีย่ มในปีทผี่ า่ นมา กลุม่ บริษทั บ๊อชเชือ่ มัน่ ว่ายังคงมีอตั ราการเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในปีนี้ โดยคาดว่ายอดขายทัว่ โลก ในปีพ.ศ.2559 จะเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3-5 หลังปรับผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนแล้ว มร.โจเซฟ ฮง กรรมการผู้จัดการบ๊อช ประเทศไทย กล่าวว่า “ปัจจุบันประเทศไทยก็ยัง คงเป็นตลาดที่ส�าคัญส�าหรับบ๊อช เราคาดการณ์ว่าความต้องการผลิตภัณฑ์และการบริการต่างๆ จากบ๊อชจะเพิม่ สูงขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลในการกระตุน้ เศรษฐกิจ รวมถึง โครงการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานต่างๆ” นอกจากนี้ ยังกล่าวเสริมด้วยว่า “บ๊อชเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสร้างความแตกต่างให้กับ ประเทศไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2466 ด้วยความมุ่งมั่นของเราในการพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต”

ดับบลิวเอชเอ ส่งมอบโรงงานผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ให้แก่ โอมาดะ อินเตอร์เนชั่นแนล บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (มหาชน) จัดพิธีส่งมอบโรงงานแบบ Built-to-Suit ส�าหรับผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ให้แก่ บริษัท โอมาดะ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด ทีจ่ งั หวัดระยอง โรงงานแห่งใหม่ซงึ่ ตัง้ อยูใ่ นท�าเลยุทธศาสตร์ใกล้กบั ท่าเรือแหลมฉบังนี้ คาดว่าจะสามารถเริม่ ด�าเนินการผลิตได้ในเดือนตุลาคม 2559 โดยมีจา� นวนพนักงานรวมกว่า 700 คน ด้วยนวัตกรรมด้านการดีไซน์และเทคโนโลยีอนั ทันสมัย การก่อสร้างทีต่ รงตามความ ต้องการของโอมาดะ อินเตอร์เนชัน่ แนล จะช่วยให้ บริษทั โอมาดะ สามารถผลิตและส่งมอบ สินค้าที่มีคุณภาพระดับโลกให้แก่ลูกค้าในอุตสาหกรรมการบินได้อย่างทั่วถึง


INVERTER NE-S1

WJ200

NJ600B

SJ700/SJ700D

Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW

Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW

Inverter Designed for Fans,Pumps and Conveyors 5.5-355kW

High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW

THE POWERFUL DRIVE SYSTEM

PLC

CONTACTOR & BREAKER

MOTOR & BLOWER


28 news & MOVEMENT

อุตสาหกรรมน�้ามัน

หั่นงบกว่า 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ

เหตุราคาตกต�่า

Nissan วางเดิมพันกับเชื้อเพลิงแห่งอนาคต เอธานอลกับยานยนต์ ไฟฟ้า บริษทั Nissan Motor Co. ได้ประกำศกำรพัฒนำยำนยนต์ไฟฟ้ำทีใ่ ช้พลังงำน จำกเอธำนอลชีวภำพ ซึง่ เป็นกำรวำงเดิมพันกับพลังงำนทำงเลือกส�ำหรับกำรขนส่ง ในอนำคต โดยมีแผนวำงจ�ำหน่ำยอย่ำงเป็นทำงกำรในช่วงปี ค.ศ. 2020 ซึง่ ยำนยนต์ ทีข่ บั เคลือ่ นโดยเอธำนอลนี้ สำมำรถเดินทำงได้ไกลกว่ำ 600 กิโลเมตร ซึง่ ใกล้เคียง กับรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก๊สโซลีน Nissan นั้นได้ออกแบบให้ยำนพำหนะมีถังเก็บเชื้อเพลิงแตกต่ำงจำกผู้ผลิต รำยอืน่ ๆ ทีใ่ ช้ถงั พิเศษเพือ่ บรรจุไฮโดรเจน โดยใช้ถงั บรรจุเชือ้ เพลิงทัว่ ไปเพือ่ บรรจุ เชือ้ เพลิงเหลว จำกนัน้ จะสร้ำงไฮโดรเจนจำกกำรเรียงตัวใหม่ของเอธำนอลบริสทุ ธิ์ หรือเอธำนอลที่ผสมกับน�้ำ แล้วใช้ระบบเชื้อเพลิงที่เป็นออกไซด์แข็งเพื่อสร้ำง พลังงำนจำกไฮโดรเจนและอำกำศ โดยควำมเป็ น ไปได้ ข องเทคโนโลยี นี้ มำจำกแหล่ ง เชื้ อ เพลิ ง เอธำนอลนั้ น แพร่หลำยในภูมิภำคต่ำงๆ เช่น เอเชีย อเมริกำเหนือและอเมริกำใต้ นอกจำกนี้ บริษทั ฯ ยังได้รว่ มมือกับ Daimler AG และ Ford Motor Co. ในกำรพัฒนำยำนยนต์ ที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเมื่อปี 2013 อีกด้วย

อุตสำหกรรมน�้ำมันและแก๊สถูกตัดงบลงไปกว่ำ 1 ล้ำนล้ำนดอลลำร์ สหรัฐ จำกแผนงำนกำรส�ำรวจและพัฒนำน�้ำมันจำกสำเหตุรำคำตกต�่ำ ท�ำให้อตั รำกำรเจริญเติบโตของอุตสำหกรรมเป็นไปอย่ำงเชือ่ งช้ำ แนวโน้ม กำรลงทุนส�ำหรับกำรพัฒนำน�้ำมันและแก๊สทั่วโลกอยู่ที่ 22% หรือ 740 ล้ำนเหรียญดอลลำร์สหรัฐ ซึ่งต�่ำกว่ำกำรคำดกำรณ์ต�่ำสุดเมื่อปี 2014 ก�ำลังกำรผลิตทั่วโลกลดต�่ำลงมำ 3% จำกกำรคำดกำรณ์ปีที่แล้ว ด้วยปริมำณน�้ำมันในคลังทั่วโลกที่มีมำกเกินไป อันเป็นผลมำจำก กำรเพิ่มก�ำลังกำรผลิตน�้ำมันจำกดินดำนของสหรัฐอเมริกำ พร้อมกันกับ กลุ่มประเทศที่ส่งออกปิโตรเลียมได้ตัดสินใจขุดเจำะน�้ำมัน เพื่อจัดกำรกับ ส่วนแบ่งตลำด สองปัจจัยนี้ถือเป็นสำเหตุหลักที่รำคำน�้ำมันร่วงหล่นลง ในปี 2014

Source : http://goo.gl/nJ7eAS

Source : http://goo.gl/wpsQqx

Lenovo และ Tencent ร่วมมือกัน พัฒนาเทคโนโลยี Augmented Reality ยักษ์ใหญ่ทำงด้ำนเทคโนโลยีแดนมังกร Lenovo และ Tencent ได้ร่วมมือลงทุน Startup ซึ่งเป็น Augmented Reality ชื่อ Meta ท�ำกำรพัฒนำระบบที่ใช้สัมผัสและเคลื่อน วัตถุที่เป็นดิจิตอล Meta สำมำรถระดมเงินทุนได้ถึง 50 ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐ จำกกลุ่มที่ให้ควำมสนใจ ได้แก่ Comcast Ventures, Horizons Ventures Limited, Banyan Capital และ GQY ซึ่งผลตอบรับของกำรระดมทุนนี้เป็นผลมำจำกกำรเปิดตัว Headset ในงำนของ Ted เมื่อเดือนกุมภำพันธ์ปี 2016 ซึ่ง ประกำศว่ำต้องกำรที่จะพัฒนำเครื่องจักรธรรมชำติ ที่มี พื้นฐำนอยู่บนประสำทวิทยำศำสตร์เพื่อสร้ำงประสบกำรณ์ กำรใช้คอมพิวเตอร์ที่ง่ำยและสะดวกสบำย โดย Meta นั้นมีกำรวำงแผนที่จะใช้งำนกับบริษัทที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรผลิต ยำรักษำโรค กำรศึกษำ กำร สื่อสำรและกลุ่มธุรกิจอื่นๆ Source : http://goo.gl/c41a6o

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



30 Cover Story

การพัฒนาพร้อมเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ คงปฏิเสธไม่ได้ว่า การสร้างผลก�าไรที่มากขึ้น ต้นทุน ทุกอย่างต้องลดลง รวมถึงต้นทุนค่าไฟ หลายหน่วยงาน ต้องตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ ทั้งในรูปแบบของการออก มาตรการต่างๆ มาใช้ในองค์กร เปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ให้ มีประสิทธิภาพเพื่อลดต้นทุน อีกทั้งหน่วยงานรัฐก็มีการ ออกกฎหมายต่างๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการใส่ใจในการ ใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าที่สุด รวมไป ถึงการใช้มาตรฐานต่างๆ เช่น ISO 50001 ซึ่งเป็นเรื่อง เกี่ยวกับพลังงานโดยเฉพาะ ท�าให้หน่วยงานไม่ว่าจะเป็น ภาคอุตสาหกรรม โรงงาน อาคาร สถานศึกษา หันมาให้ ความส�าคัญกับเรื่องการอนุรักษ์พลังงานมากขึ้นซึ่งเมื่อ น�ามาผนวกกับเทคโนโลยีในปัจจุบันแล้ว ถือว่าการบริหาร จัดการ การใช้พลังงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงมี ประโยชน์อย่างมาก โปรแกรม SmartEE (สมาร์ ท อี อี ) เป็ น โปรแกรม คอมพิวเตอร์ส�าหรับใช้ในการบริหารจัดการเพื่อลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า และบริหารจัดการให้เกิดการลดต้นทุนค่าไฟ รวมไปถึ ง ความสามารถในการใช้ เ พื่ อ ตรวจวั ด การผลิ ต ไฟฟ้าจาก Solar Cell ซึ่งก�าลังเป็นที่นิยมในปัจจุบันอีกด้วย ด้วยการลงทุนด้วยต้นทุนต�่า แต่สามารถลดค่าไฟ หรือการ ต่อยอดได้สูงและมีประสิทธิภาพและยั่งยืน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Cover Story

31

การลดการใช้พลังงานไฟฟ้า หรือการลดค่าไฟฟ้านั้น การตรวจวัดที่แม่นย�า มีประสิทธิภาพ และเป็นปัจจุบัน ถือเป็นสิ่งส�าคัญ ส�าหรับผู้ที่จะเริ่มโครงการบริหารจัดการ เพือ่ ลดค่าไฟฟ้าควรทีจ่ ะเริม่ จากการมีเครือ่ งมือวัดทีแ่ ม่นย�า และต่อเนื่อง ดังนั้น การที่เราติดมิเตอร์ไฟฟ้าและเดินจด บันทึกเป็นช่วงเวลา จึงอาจจะกล่าวได้วา่ ไม่เพียงพอส�าหรับ ผู้ที่มีโครงการจะลดค่าไฟฟ้า เพราะการเดินจดบันทึกจะได้ แต่ค่าพลังงานในช่วงเวลาที่เราบันทึกเป็นประจ�าเท่านั้น แต่ ก ารบั น ทึ ก โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ แ บบอั ต โนมั ติ นั้ น จะได้คา่ Parameter ทุกค่าทีม่ เิ ตอร์วดั ได้อย่างอัตโนมัตเิ ช่น กัน ด้วยความละเอียดสูงสุดเป็นวินาทีซงึ่ ในทีน่ จี้ ะช่วยให้เรา วิเคราะห์การใช้พลังงานได้แม่นย�าและถูกต้อง และน�าไปใช้ ประโยชน์ได้มากขึ้นด้วย SmartEE ท�าให้ลดค่าไฟได้จริงหรือ? เมื่อกล่าวถึงการลดค่าไฟฟ้าเราต้องรู้ก่อนว่าค่าไฟฟ้า ประกอบด้วยอะไรบ้างค่าไฟฟ้าส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารสูง องค์ประกอบหลักคือ • ค่าพลังงาน (Kwhr) • ค่ า ความต้ อ งการพลั ง งานไฟฟ้ า สู ง สุ ด (Peak Demand) • ค่ า ไฟฟ้ า ตามสู ต รการปรั บ อั ต ราค่ า ไฟฟ้ า โดย อัตโนมัติ (Ft) • ค่ า เพาเวอร์ แ ฟคเตอร์ (PF) (ในกรณี ที่ ค ่ า PF ต�่ากว่า 0.85) และประเภทในการคิดราคาและช่วงเวลาในการคิด ค่าไฟฟ้าก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ประประเภทการคิด ค่าไฟ ซึ่งในประเทศไทยมีทั้งหมด 3 แบบ ได้แก่ Normal, TOD, TOU การลดค่าไฟ ด้วยการสังเกตพฤติกรรมจากข้อมูล SmartEE ยกตั ว อย่ า งการตรวจวั ด อย่ า งละเอี ย ดโดยเก็ บ ค่ า พลังงานจากมิเตอร์ที่ติดตั้งไว้ที่เครื่องจักร ยกตัวอย่างจาก โรงงานผลิตอาหารสัตว์หนึ่ง เครื่องจักรหลักที่ท�าให้เกิด การใช้ปริมาณกระแสไฟฟ้ามากๆ ในโรงงานผลิตอาหาร สัตว์จะประกอบด้วย เครื่องบด เครื่องผสม เครื่องอัดเม็ด ซึ่งโรงงานนี้ได้ติดตั้งโปรแกรม SmartEE เพื่อตรวจวัดการ ใช้พลังงานไฟฟ้า พบว่ามีการกินกระแสของเครื่องอัดเม็ด มีความผิดปกติ กล่าวคือ ใช้กระแสสูงแต่ได้อาหารออกมา น้อย เมื่อน�ามาวิเคราะห์พบว่า เครื่องอัดเม็ดกินกระแสสูง ผิดปกติ เมื่อตรวจสอบและแก้ปัญหาที่เครื่องจักรเพื่อให้ กินกระแสน้อยลง รวมทั้งท�าให้สามารถลดค่าไฟฟ้าได้ถึง 150,000 บาทต่ อ เดื อ นด้ ว ยการบริ ห ารจั ด การในช่ ว ง On Peak อย่างต่อเนื่อง

ระยะเวลาในการคืนทุนเร็วยิ่งขึ้น

ถ้ายิ่งสามารถบริหารจัดการให้มีการลดค่า ไฟฟ้าได้ % ที่เพิ่มขึ้น ด้วยข้อมูลที่บันทึก อย่างละเอียดอัตโนมัติจากโปรแกรม SmartEE issue 161 july 2016


32 Cover Story

มาตรการปิดไฟตอนพักเที่ยง แต่ท�าไมค่าไฟไม่ลด กรณีศึกษาของการลดค่าไฟในอาคารแห่งหนึ่งได้ออก มาตรการเพือ่ ช่วยกันลดค่าไฟฟ้าโดยให้ทกุ คนในหน่วยงาน มีสว่ นร่วม ในการปิดไฟ ปิดแอร์ ในช่วงพักกลางวัน เพือ่ ลด การใช้พลังงานและลดค่าดีมานด์ หลังจากมาตรการออกไป ก็ไม่สามารถลดค่าไฟฟ้าได้แถมค่าดีมานด์ยังสูงเท่าเดิม เมือ่ น�าโปรแกรม SmartEE ไปติดตัง้ จึงพบว่า ช่วงเวลาก่อน พักเที่ยงประมาณ 11.30 น. โรงอาหารด้านชั้นบนสุดของ อาคารมีการเปิดแอร์ทั้งหมดเพื่อปรับอากาศให้ห้องเย็น ก่อนถึงเวลาพัก จึงท�าให้ค่า Demand ไม่ลดลง หลังจาก ที่ทราบปัญหาตรงจุดนั้นจากโปรแกรม ผู้ใช้งานจึงบริหาร จัดการและสามารถลดค่าไฟฟ้าลงได้ 20% จากกรณี ศึ ก ษาทั้ ง สองตั ว อย่ า งข้ า งต้ น จะเห็ น ว่ า ถ้ า เราใช้ พ นั ก งานเดิ น จดบั น ทึ ก ค่ า Kwhr เป็ น ประจ� า ทุกวัน เราก็จะไม่มีทางได้ข้อมูลเชิงลึกแบบที่โปรแกรม บันทึกเพื่อที่จะสามารถน�ามาวิเคราะห์เพื่อบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพต่อได้ SmartEE ในทางเลือกของ Solar Rooftop ส�าหรับในปัจจุบัน Solar Rooftop ก็เป็นทางเลือกหนึ่ง ที่ผู้ประกอบการสนใจที่จะลงทุนเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ ส�าหรับพลังงานทดแทนและสามารถคืนทุนได้ในระยะเวลา ไม่นาน เนื่องจากค่าไฟฟ้ามีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี ดังนั้นการลงทุนใน Solar Rooftop จึงเป็นทางเลือกที่ น่าสนใจ และนี่คือตัวอย่างผู้ประกอบการที่ใช้โปรแกรม SmartEE ส�าหรับตรวจวัดการใช้พลังงานจาก Solar Rooftop

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

โปรแกรม SmartEE แสดงปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผลิต ได้ ใ นแต่ ล ะวั น รวมไปถึ ง สรุ ป กระแสไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ ใ น แต่ละปี และ % ทีผ่ ลิตได้ทงั้ หมดเมือ่ เทียบกับพลังงานไฟฟ้า ทั้งหมดที่ใช้ไปในอาคาร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ ในการตัดสินใจที่จะลงทุนติดตั้ง Solar Cell เพิ่มในอนาคต หรือคืนก�าไร เพื่อลดต้นทุนการใช้พลังงานไฟฟ้า ด้วยการ วิเคราะห์จากโปรแกรม

การน�าข้อมูล

บริหารเพิ่มเติมด้วย ค�าสั่งการตัด load แบบอัตโนมัติ ก็สามารถ ลดได้อย่างน้อยอีก 5%


Cover Story 33

SmartEE แสดงพฤติกรรม การใช้ไฟในองค์กรแต่ละส่วนได้ชัดเจน ประโยชน์อีกข้อหนึ่งซึ่งส�าคัญไม่น้อยไปกว่าเรื่องการ ลดค่าไฟฟ้าก็คือ รายงานการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งนอกจาก จะท�าให้เรารู้ถึงพฤติกรรมการใช้ไฟแล้ว ยังท�าให้เรารู้ถึง พฤติกรรมของคนในอาคารนั้นๆ อีกด้วย การลดการใช้ พ ลั ง งานจ� า เป็ น ต้ อ งมี ผู ้ ช ่ ว ยที่ ดี แ ละ ตรวจสอบได้เพื่อที่เราจะได้บริหารการใช้พลังงานได้อย่าง ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ โดยโปรแกรม SmartEE ผลิต ขึ้นด้วยบริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทของคนไทย ผลิตด้วยคนไทย รู้พฤติกรรม ของการใช้ไฟในอุตสาหกรรมไทย มายาวนานกว่า 17 ปี และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ขยายผลไปยัง ประเทศในกลุ่ม AEC และเอเชียใต้อย่างประเทศ อินเดีย ศรี ลั ง กา เป็ น ต้ น รวมถึ ง การพั ฒ นาเพื่ อ ใช้ ไ ด้ ใ นแถบ ประเทศยุโรปอย่างประเทศไซปรัส และหวังที่จะเป็นผู้น�า อย่างต่อเนื่อง ที่มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งและยั่งยืน ไปพร้อมกับเทคโนโลยีที่อยู่ในอุตสาหกรรมต่อไป

สนใจรับโปรแกรมฟรีเพื่อลดค่าไฟทันที ติดต่อบริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด โทร: 0-2910-9728-29 Email : marketing@tat.co.th issue 161 july 2016


34 interview

Company Profile

บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด ปีที่ก่อตั้ง: ค.ศ. 1958 ประเภทธุรกิจ: ตัวแทนจ�ำหน่ำย รับติดตั้ง เครื่องก�ำเนิด ไอน�้ำ หม้อน�้ำทำงอุตสำหกรรม หัวพ่นไฟ เครื่องท�ำ น�้ำร้อน เครื่องท�ำควำมร้อน หม้อก�ำเนิดไอน�้ำ

คุณปาลชัย มีศุข

กรรมการผู้จัดการ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


interview 35

ครบครัน คุ้มค่า ไว้วางใจได้ กลยุทธุ์สู่จุดหมายของ

บจก. บุญเยี่ยมและสหาย

กว่า 50 ปี ที่ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัดคร�่าหวอดอยู่ในวงการอุตสาหกรรมบอยเลอร์มาอย่างยาวนานและยังคงมี การเติบโตทางธุรกิจอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยได้รับความไว้วางใจจากผู้ผลิตชั้นน�าหลายยี่ห้อให้เข้ามาเป็นตัวแทน จ�าหน่ายสินค้า จนธุรกิจสามารถขับเคลื่อนไปข้างหน้าและเป็นยักษ์ ใหญ่แห่งวงการอุตสาหกรรมบอยเลอร์แบบไม่เป็นสอง รองใคร

บุญเยี่ยมและสหาย ตอบสนองความต้องการลูกค้าอย่าง ‘ครบครัน’ เพราะเชื่ อ ว่ า ลู ก ค้ า ในแต่ ล ะธุ ร กิ จ ย่ อ มมี ค วาม ต้องการทีต่ า่ งกันออกไป บริษทั บุญเยีย่ มและสหาย จ�ากัด จึงเป็นผูจ้ ดั จ�าหน่ายทีม่ สี นิ ค้าหลายยีห่ อ้ หลาก รูปแบบ เพื่อคอยให้บริการกับกลุ่มลูกค้าได้ตามความ ต้องการและการใช้สอย เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ คุ ณ ปาลชั ย มี ศุ ข กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด ได้กล่าว ว่า… “ผู้จัดจ�ำหน่ำยส่วนใหญ่มักเป็นตัวแทนบริษัทใด บริษัทหนึ่ง แต่บริษัทของเรำเลือกที่จะจ�ำหน่ำยสินค้ำ ภำยใต้แบรนด์ที่หลำกหลำย ฟังดูอำจจะแปลก แต่ที่ เป็นเช่นนั้นเนื่องจำกเรำพิจำรณำถึงควำมต้องกำร ของผู้ใช้เป็นหลักว่ำเขำต้องกำรอะไร จำกนั้นจึงเลือก ให้เหมำะสมกับควำมต้องกำรของเขำที่สุด กำรที่เรำมี โปรดักส์หลำกหลำย ย่อมหมำยถึง กำรดูแลกลุม่ ลูกค้ำ ได้ในวงกว้ำงและครบครัน”

บริษัทของเราเลือกที่จะจ�าหน่ายสินค้า ภายใต้แบรนด์ที่หลากหลาย ฟังดูอาจจะแปลก แต่ที่เป็นเช่นนั้นเนื่องจากเราพิจารณา ถึงความต้องการของผู้ใช้เป็นหลักว่า เขาต้องการอะไร จากนั้นจึงเลือกให้เหมาะสม กับความต้องการของเขาที่สุด

มอบความ ‘คุ้มค่า’ ด้วยสินค้าคุณภาพ ในส่วนสินค้าไฮไลท์ ของ บริษัท บุญเยี่ยมและ สหาย จ�ากัด ในปีนี้มีอยู่หลายประเภททั้งสินค้าที่ จ�าหน่ายมาอย่างยาวนานอย่างเครื่องก�าเนิดไอน�้า แบบใช้ เชื้ อ เพลิ ง แข็ ง เครื่ อ งจั ก รที่ ช ่ ว ยในการดู แ ล สิง่ แวดล้อม รวมไปถึงผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ ดูแลเครือ่ งจักร ให้มีสภาพดีอยู่เสมอ issue 161 july 2016


36 interview

• เครื่องก�าเนิดไอน�้าแบบ Firetube จาก Cleaver Brooks รุน่ Firetube Boiler ระบบ Fire Tube เป็นระบบหม้อน�า้ ที่มีไฟวิ่งในท่อและถ่ายเทความร้อนให้กับน�้าที่ล้อมรอบ ท่อไฟ ใช้ส�าหรับผลิตไอน�้า มีการเซาะร่องด้านในท�าให้มี พื้นที่ถ่ายเทความร้อนให้กับน�้ามากขึ้น

คุณปาลชัย ได้บอกเล่าถึงคุณสมบัติเด่นของสินค้า แต่ละแบรนด์ที่จ�าหน่ายอยู่ในปัจจุบัน ดังนี้ • Fulton เครื่องก�าเนิดไอน�้าแบบใช้เชื้อเพลิงแข็ง เครื่องก�าเนิดไอน�้าที่ใช้เชื้อเพลิงแข็ง เช่น ถ่านหิน เศษไม้ กะลำปำล์ม* ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาถูก จึงช่วย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิตได้

* กะลาปาล์ม คือ ส่วนหนึ่งที่ได้จาก ผลปาล์ม ได้หลังจากการสกัดน�า้ มัน ปาล์ม โดยกะลาปาล์มจะอยูร่ ะหว่าง เส้นใยปาล์มที่ติดเปลือกด้านนอก สุ ด กั บ เนื้ อ ปาล์ ม ที่ อ ยู ่ ด ้ า นใน มีลักษณะสีน�้าตาล เนื้อแข็ง ให้ค่า ความร้อนค่อนข้างสูง

• Kawasaki Absorption Chiller เครือ่ งท�าน�า้ เย็นแบบ ดูดซับ เครื่องจักรที่สามารถเปลี่ยนพลังงานความร้อนเหลือ ทิง้ จากโรงงานอุตสาหกรรม หรืออาคารขนาดใหญ่ อาคาร ส�านักงาน หรือแม้กระทั่งอาคารโรงแรม เช่น ไอน�้า หรือ น�้าร้อน เพื่อน�ามาเปลี่ยนเป็นน�้าเย็นส�าหรับใช้ในระบบ ความเย็นต่างๆ ท�าให้ความร้อนที่ถูกระบายออกไป หรือ ถูกทิ้งไปนั้น น�ากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกครั้ง จึงถือเป็น การประหยัดพลังงาน และยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมด้วย นอกจากนี้ทาง Kawasaki ยังเป็นผู้ผลิตเครื่องก�าเนิด ไอน�้าแบบ Multi Tube Once-Through Boiler ซึ่งมี ประสิทธิภาพสูงสุดได้ถึง 98% เนื่องจาก Economizer แบบ Condensing มาพร้อมเสร็จจากโรงงานในญี่ปุ่นเลย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

• Hot Water Heather AOSmith เครื่องท�าน�้าร้อน เครือ่ งท�าน�า้ ร้อนทีเ่ หมาะส�าหรับโรงแรม โรงพยาบาล และอพาร์ทเม้นท์ขนาดใหญ่ในตัวเครื่องมีฮีทปั๊ม (Heat Pump) ซึง่ เป็นนวัตกรรมประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง มี ห ลั ก การท� า งานเดี ย วกั บ เครื่ อ งปรั บ อากาศ โดยดึ ง พลังงานความร้อนจากบรรยากาศเข้ามาท�าให้อุณหภูมิ ของน�้าสูงขึ้น • MAXON หัวพ่นไฟเตาเผาอุตสาหกรรม MAXON คื อ ผู ้ ผ ลิ ต หั ว พ่ น ไฟชั้ น น� า ของโลกจาก สหรัฐอเมริกา หัวพ่นไฟทุกรุ่นมีประสิทธิภาพดีเยี่ยมใน การก�าเนิดความร้อน มีหลากหลายรุ่นทั้งหัวพ่นไฟที่ใช้ น�้ามัน หรือใช้แก๊สเป็นเชื้อเพลิง • TANDEX B.W.S เคมีปรับสภาพน�้าใน Boiler และ Cooling Tower ส�าหรับป้องกันปัญหาตะกรันและการกัดกร่อน • TANDEX SOOT POWER ผงเคมีใช้ก�าจัดและป้องกันการสะสมเขม่าในห้องเผา ไหม้ เพิม่ ประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนให้กบั หม้อน�า้ • TANBURN NO.2 ป้องกันการเกิดตะกรันและการกัดกร่อนในหม้อไอน�า้ ซึ่งเป็นสาเหตุของการสิ้นเปลืองพลังงาน


interview 37

บริษัทมีการจัดโครงการดูแลลูกค้า ตลอด 24 ชั่วโมงขึ้น ทั้งนี้เพราะเรา ตระหนักดีว่า หากเครื่องจักรหยุดท�างาน นั่นหมายความว่ามันได้กลายเป็น แค่เศษเหล็กไปแล้ว และลูกค้าไม่ได้ต้องการ เศษเหล็กไปวางในห้องเครื่อง แต่เขาต้องการไอน�้าเพื่อใช้ในสายการผลิต

สร้าง ‘ความไว้วางใจ’ ด้วยบริการเป็นเยี่ยมตลอด 24 ชั่วโมง ในยุคนี้การมีใจบริการเป็นสิ่งส�าคัญที่ช่วยสร้างความ ไว้วางใจให้กับสินค้าและบริการ เพราะเชื่อว่า นอกเหนือ จากการขายสินค้าแล้ว การดูแลลูกค้าตั้งแต่ต้นจนจบคือ สิ่งส�าคัญ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด จึงยกให้ หัวใจบริการเป็นจุดแข็งของธุรกิจทีช่ ว่ ยให้บริษทั เข้าไปยืน อยู่ในใจของกลุ่มลูกค้าและผู้ผลิตได้อย่างยั่งยืน “บริษัทเรำมีทีมที่ดูแลตั้งแต่ก่อนกำรขำย ทั้งกำรให้ ค�ำปรึกษำ ออกแบบ ค�ำนวณ และติดตัง้ ไปจนถึงกำรดูแล หลังกำรขำย ซึ่งทำงบริษัทมีกำรจัดโครงกำรดูแลลูกค้ำ ตลอด 24 ชั่วโมงขึ้น ทั้งนี้เพรำะเรำตระหนักดีว่ำ หำก เครื่องจักรหยุดท�ำงำนนั่นหมำยควำมว่ำมันได้กลำยเป็น แค่เศษเหล็กไปแล้ว และลูกค้ำไม่ได้ต้องกำรเศษเหล็ก ไปวำงในห้องเครื่อง แต่เขำต้องกำรไอน�้ำเพื่อใช้ในสำย กำรผลิต ซึ่งโครงกำรนี้ช่วยแก้ปัญหำต่ำงๆ ให้กับลูกค้ำ

ได้อย่ำงดี นอกจำกกำรดูแลลูกค้ำที่ซื้อสินค้ำกับเรำแล้ว หำกมีคนที่ต้องกำรค�ำปรึกษำ หรือกำรดูแลจำกเรำ แม้ ไม่ได้ซื้อสินค้ำจำกเรำ เรำก็ยินดีให้ค�ำปรึกษำและบริกำร ไม่ต่ำงกัน ส�ำหรับ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด ที่นี่เรำ ยึดหลักควำมจริงใจต่อลูกค้ำเป็นส�ำคัญ บำงครั้งเรำอำจ เป็นนักวิชำกำรมำกจนบำงทีก็ไม่เป็นพ่อค้ำที่ช�่ำชองนัก แต่เรำเชื่อว่ำสุดท้ำยแล้ว ควำมจริงใจในกำรบริกำร คือ สิง่ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เรำเติบโตอย่ำงทีเ่ ป็นทุกวันนี”้ คุณปาลชัย กล่าวทิ้งท้าย เพราะบริการที่เป็นเยี่ยมร่วมกับการใส่ใจกับความ ต้องการของลูกค้าตั้งแต่ช่วงก่อนซื้อไปกระทั่งหลังการซื้อ จึงไม่แปลกใจเลยที่ บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จ�ากัด จะเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจบอยเลอร์ที่ได้รับความไว้วางใจ จากลู ก ค้ า และบริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต ชั้ น น� า หลากหลายแบรนด์ จนถึงปัจจุบัน

issue 161 july 2016


Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”

Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.

• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115

Fax: +66 (0)2-637-5116


Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.

C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.

Needle Bearings Machine elements essential to any industry

Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large

Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics


40 INTERVIEW

กลุ่มบริษัท

อินเตอร์ลิ้งค์

คอมมิวนิเคชั่น (มหาชน) ส่งมอบบริการที่เป็นเลิศ ในยุคการสื่อสารไร้พรมแดน

คุณณัฐนัย อนันตรัมพร Managing Director บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จำ�กัด (มห�ชน)

ปั จ จุ บั น โลกได้ วิ วั ฒ นาการมาสู ่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล อย่ า งเต็ ม รูปแบบ การพัฒนาเทคโนโลยีการสือ่ สารทีเ่ ชือ่ มต่อกันท�าให้ สังคมโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น อินเทอร์เน็ตจึงกลายเป็นปัจจัย ที่ 5 ซึ่งคนส่วนใหญ่ขาดไม่ได้ ไปเสียแล้ว

ย้ อ นไปเมื่ อ ครั้ ง ประเทศไทยอยู ่ ใ นยุ ค อนาล็ อ ก ขณะที่ประเทศมหาอ�านาจค่อยๆ ปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล กลุ่มผู้ก่อตั้งบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) คือกลุ่มผู้มองเห็นโอกาสและมองเกมธุรกิจ ในโลกอนาคตได้อย่างชัดเจน และเฉียบขาด ด้ ว ยอุ ด มการณ์ ส� า คั ญ ที่ ต ้ อ งการน� า เทคโนโลยี ม า พัฒนาประเทศ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ� ำ กั ด (มหำชน) จึ ง ได้ ริ เริ่ ม น� า เทคโนโลยี ส าย LAN เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยเป็นบริษัทแรก ปัจจุบัน อินเตอร์ลิ้งค์ฯ เป็นบริษัทน�าเข้าและจัดจ�าหน่ายสาย สัญญาณที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยมีการน�าเข้าและ จัดจ�าหน่ายสายสัญญาณมากกว่า 2,100 ล้านกิโลเมตร ลงทุนโครงข่ายไฟเบอร์ออพติกครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งยังมีการแตกไลน์ธุรกิจเพื่อยกระดับบริษัทให้สามารถ ดูแลกลุม่ ลูกค้าได้แบบ One Stop Service ถือเป็นการพัฒนา ธุรกิจให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนวิธีหนึ่งด้วย พัฒนำธุรกิจครบวงจร ตอบสนองควำมพึงพอใจลูกค้ำอย่ำงสูงสุด เพราะเห็นว่าการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าคือ สิ่งส�าคัญ อินเตอร์ลิ้งค์ฯ จึงมีการขยายสาขาเพื่อรองรับ ความต้องการที่หลากหลาย ซึ่งประกอบไปด้วยบริษัทแม่ และบริษัทในเครือรวมกัน โดยมุ่งเน้น 3 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจจัดจ�าหน่ายสายสัญญาณ ธุรกิจโทรคมนาคม และ ธุรกิจวิศวกรรมโครงการ เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณณัฐนัย อนันตรัมพร กรรมกำร บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) และกรรมกำรผู้จัดกำร บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ำกัด (มหำชน) ได้กล่าวถึงภาพรวมธุรกิจทั้ง 3 ธุรกิจว่า “แม้จะมีการแบ่งออกเป็นหลายบริษัทแต่ทุกบริษัทคือ ธุรกิจหลักที่เป็นฟันเฟืองช่วยขับเคลื่อนธุรกิจอื่นๆ ที่อยู่ ในกลุ่มบริษัทฯ ได้ อาทิ เมื่อลูกค้าซื้อสายสัญญาณก็อาจ ใช้บริการดาต้าเซ็นเตอร์ ขณะเดียวกันลูกค้าดาต้าเซ็นเตอร์ ก็อาจเลือกซื้อสายสัญญาณของบริษัท” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

นอกจากนี้ในด้านงานขายและการบริการ บริษัทฯ ยังมีความ ใส่ใจต่อลูกค้าเป็นอย่างดี เซลล์ไม่ได้มีหน้าที่ขายเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ต้องดูแลหลังการขายด้วย กล่าวคือ เมือ่ ขายบริการให้กบั ลูกค้า ไปแล้วเซลล์มีหน้าที่รับผิดชอบในด้านการติดตั้ง และจัดการปัญหา หลังการติดตั้งกรณีที่ลูกค้าพบปัญหา ซึ่งถือเป็นการดูแลครบวงจร แบบ One Stop Service ทีช่ ว่ ยสร้างความสบายใจให้กบั ลูกค้าได้อย่างดี Interlink Communication รับประกันควำมเสถียร ปลอดภัย ไว้ใจได้ กลุ่มบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) มี ความตั้งใจอย่างแรงกล้าที่จะเติบโตไปพร้อมกับลูกค้า จึงมีการตั้ง ปณิธานเป็นค�ามัน่ สัญญาในรูปแบบปฏิญญาทางธุรกิจ 3 ข้อด้วยกัน คือ สินค้าคุณภาพ ราคาถูกกว่า และบริการทีด่ กี ว่า ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ส่งมอบ สิ่งที่ดีและสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า เกี่ยวกับปฏิญญาทั้ง 3 ข้อนี้ คุณณัฐนัย กล่าวว่า “เส้นทาง ความส�าเร็จของเราเกิดจากปฏิญญา 3 ข้อ เรามุ่งเน้นเรื่องคุณภาพ หมายความว่า สินค้าหรือบริการจะต้องมีคุณภาพ ต่อมาคือบริการ


INTERVIEW

ที่ดีกว่า เราไม่ได้พูดแค่ว่าของเราดีแต่การดูแลลูกค้าและบริการหลัง การขายจะต้องดีด้วย สุดท้ายราคาถูก คือต้องเป็นราคาที่แข่งขันได้ ซึ่งปฏิญญาทั้งหมดนี้ท�าให้บริษัทเราเป็นเบอร์หนึ่งในใจลูกค้า” ใส่ใจทุกรำยละเอียด เพื่อยืนอยู่ในใจลูกค้ำอย่ำงยั่งยืน ในยุค Internet of Things (IoT) หรืออินเทอร์เน็ตในทุกสิ่งนั้น การให้ บ ริ ก ารทางด้ า นโทรคมนาคมเป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ ที่ จ ะต้ อ งมี ความเสถียร และเกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุด คุณณัฐนัย กล่าวว่า การวางแผนในการด�าเนินงานคือสิ่งส�าคัญ บริษัทฯของเราใส่ใจ ทุกรายละเอียด ทั้งในแง่การบริการและการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้น ในแง่การบริการและการดูแลหลังการขาย บริษัทฯของเราจะไม่มี การจัดจ้างคนภายนอก แต่ใช้พนักงานของเราทั้งหมด ทั้งนี้ก็เพราะ ต้องการควบคุมคุณภาพให้ได้มาตรฐานสูงสุด นอกจากนี้ก็เป็นเรื่องการป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งปัญหาที่ ควบคุมได้อย่างหนึ่งก็คือปัญหาในเรื่องไฟฟ้า บริษัทฯ เรามีอุปกรณ์ ที่ เ ป็ น เทคโนโลยี MPLS หรื อ บริ ก ารสื่ อ สารข้ อ มู ล ความเร็ ว สู ง ด้วยเทคโนโลยีซึ่งถ้าไม่มีไฟฟ้าก็ท�างานไม่ได้ ยูพีเอสของ บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จ�ำกัด จึงเข้ามาตอบโจทย์ตรงนี้ เพราะเราจะต้องท�าอย่างไรก็ได้ให้อปุ กรณ์ทเี่ ราลงทุนทัง้ หมดท�างาน ได้อย่างคุ้มค่า เครื่องไม่เสีย หรือเกิดเหตุขัดข้องขึ้น ดังนัน้ สินค้าทีเ่ ราเลือกใช้ในงานบริการของเราก็จะต้องเป็นสินค้า ทีม่ คี ณ ุ ภาพ เอือ้ ให้บริการของเรามีเสถียรภาพแข็งแรง ขณะเดียวกัน แบรนด์ดิ้งก็เป็นสิ่งส�าคัญ เพราะนอกจากเราจะใช้ภายในเน็ตเวิร์ค แล้ว เรายังต้องมีอุปกรณ์ไปวางไว้ที่ลูกค้าซึ่งจะประสบปัญหาด้าน ไฟฟ้าไม่ได้เหมือนกัน ดังนั้น ลูกค้าก็มองแบรนด์เป็นหลักด้วย หากเราเลือกสินค้าโนเนมลูกค้าก็จะรู้สึกว่าโปรดักส์หรือเซอร์วิส ที่เรามีนั้นไม่น่าไว้วางใจ “การเลือก Eaton ก็เหมือนเป็นการย้อนปฏิญญาของบริษัท เราเองที่ว่า เป็นสินค้าดีมีคุณภาพ ราคาสมเหตุสมผล ให้บริการ เป็นเยีย่ ม เหตุนเี้ อง เราจึงมัน่ ใจให้ Eaton เข้ามาดูแลทัง้ ในออฟฟิศของ เราและของลูกค้า มีการน�าไปวางตามโหนดและที่ศูนย์บริการใหญ่ ดาต้าเซ็นเตอร์ Eaton จึงเสมือนเป็นสองหัวใจกับหนึง่ เส้นประสาทที่ คอยดูแลระบบไฟฟ้าต่างๆ ที่ อินเตอร์ลงิ้ ค์ให้ความไว้วางใจมาอย่าง ยาวนาน” คุณณัฐนัย กล่าวทิ้งท้าย

41

คุณดุษฎี ทองไทย Regional Sales Manager East Asia Central บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จำ�กัด

ผลิตภัณฑ์ที่เหมำะสมที่สุด ตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ คุณดุษฎี ทองไทย – Regional Sales Manager – East Asia Central ได้กล่าวถึงผลิตภัณฑ์เครื่องส�ารองไฟฟ้าของ Eaton ที่ได้ น�าเสนอให้แก่กลุม่ บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์คอมมิวนิเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) ว่า “ทุกครั้งก่อนที่อีตั้นจะน�าเสนอโซลูชั่นใดๆ เราจะค�านึงถึงความ ต้องการและธุรกิจของลูกค้าเป็นหลัก ส�าหรับธุรกิจของอินเตอร์ลง้ิ ค์ และลูกค้าทุกรายของอีตนั้ นัน้ นอกเหนือจากคุณภาพของสินค้าแล้ว ทางเราจะเน้นเรื่องการบริการหลังการขายอีกด้วยเนื่องจากการที่ ระบบไฟฟ้าล่มเป็นสิ่งที่ลูกค้าไม่อาจยอมรับได้ เพราะนั่นหมายถึง ความเสี ย หายทางธุ ร กิ จ ตลอดจนความเชื่ อ มั่ น ของผู ้ ใ ช้ ง าน ด้วยเทคโนโลยี UPS ของอีตนั้ ในปัจจุบนั ท�าให้เราสามารถตอบโจทย์ เหล่ า นี้ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี อี ก ทั้ ง บริ ก ารหลั ง การขายที่ ค รอบคลุ ม ทั่วประเทศและประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง เราจึงมั่นใจว่า โซลูชั่น ของอีตนั้ จะสามารถช่วยให้ธรุ กิจของลูกค้าด�าเนินไปได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยไม่ตดิ ขัด ตัง้ แต่โซลูชนั่ ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ เพือ่ ให้สามารถ Powering Business Worldwidetm ได้อย่างแท้จริง” ส�าหรับระบบควบคุมคุณภาพพลังงานไฟฟ้าและระบบจัดการ พลังงานไฟฟ้าส�ารองนั้น อินเตอร์ลิ้งค์ฯ ได้ไว้วางใจให้ Eaton บริษัท บริหารจัดการพลังงานระดับโลก ที่มียอดขายในปีพ.ศ. 2558 ถึง 20.9 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ Eaton น�าเสนอโซลูชั่นในการจัดการ พลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง จะช่ ว ยลู ก ค้ า ของเราจั ด การ พลังงานไฟฟ้า ไฮดรอลิก และพลังงานกลได้อย่างมีประสิทธิผล อีตั้นมีพนักงานประมาณ 97,000 คน และจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ให้แก่ ลูกค้าในกว่า 175 ประเทศ ตามวิสัยทัศน์ล่าสุดของ Eaton คือ “To improve the quality of life and the environment through the use of our power management technologies and services” ส�าหรับข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาแวะชมที่ www.eaton.co.th issue 161 july 2016


42 exclusive interview

ฟ ง… เลขาธิการ BOI

แถลงสิทธิประโยชน ต อนโยบาย

อุตสาหกรรมเป าหมาย

นโยบายสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในป นี้เห็นจะได แก อุตสาหกรรม เป าหมายทัง้ 10 กลุม ซึง่ แต ละหน วยงานก็ระดมสรรพกําลังกันอย างเต็มทีใ่ นการ ผลักดันกลยุทธ ให เป นไปตามเป าหมายทีต่ งั้ ไว ทางด าน สํานักงานคณะกรรมการส งเสริมการลงทุน หรือ BOI ซึง่ นําโดย คุณหิรญ ั ญา สุจนิ ยั เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการส งเสริมการลงทุน ก็มีหลากมาตรการเพื่อสนับสนุนแนวนโยบายดังกล าวอย างสําคัญเช นกัน

การพัฒนาอุตสาหกรรมใหม มีรากฐานจากการต อยอดอุตสาหกรรมป จจุบัน เติม 5 อุตสาหกรรมใหม

หุ นยนต เพื่อ อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรม การแพทย ครบวงจร

อุตสาหกรรม การขนส ง เชื้อเพลิงชีวภาพ และการบิน และเคมีชีวภาพ

ดิจิทัล

พัฒนาจาก

ต อยอด 5 อุตสาหกรรมเดิม

อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม ยานยนต สมัยใหม อิเล็กทรอนิกส การท องเที่ยว กลุ มรายได ดีและ อัจฉริยะ การท องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วัตถุประสงคหลัก • สร า งความเข ม แข็ ง ของห ว งโซ มู ล ค า ของ อุตสาหกรรมเดิมและอุตสาหกรรมใหม • เสริ ม สร า งศั ก ยภาพการลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแขงขันของประเทศ • เพือ่ กระจายความเจริญไปสูภ มู ภิ าคและทองถิน่ • เนนความรวมมือกับสถานศึกษา สถาบันวิจัย เ พื่ อ ผ ลิ ต ค น ร อ ง รั บ ค ว า ม ต  อ ง ก า ร ใ น ภ า ค อุตสาหกรรมที่ยกระดับสูเทคโนโลยีระดับสูง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

แนวโนมการลงทุนสําหรับกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย คุ ณ หิ รั ญ ญา ได เ ป ด เผยกั บ MODERN MANUFACTURING วา บีโอไอจะสนับสนุนการ ลงทุนในกลุมอุตสาหกรรมแหงอนาคต เริม่ จากกลุม อุ ต สาหกรรมที่ มี พื้ น ฐานเข ม แข็ ง อยู  แ ล ว และ สามารถตอยอดพัฒนาไปสูอุตสาหกรรมใหม เชน อุตสาหกรรมยานยนต ที่สามารถกาวไปสูยานยนต สมัยใหม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสก็จะกาวไปสู อิเล็กทรอนิกสอจั ฉริยะ อุตสาหกรรมเกษตรก็จะกาว ไปสูก ารเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ อุตสาหกรรม

การเกษตร อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี การแปรรูป อาหาร ชีวภาพ

อาหารก็จะกาวไปสูอ าหารเพือ่ อนาคต และอุตสาหกรรม ทองเที่ยวก็จะกาวไปสูการทองเที่ยวกลุมรายไดดี และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมทั้งจะสงเสริมใหอุตสาหกรรมในปจจุบัน พั ฒ นาไปสู  ก ารสร า งฐานของอุ ต สาหกรรมแห ง อนาคตใหมๆ ดวย เชน ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน ยนต การบินและโลจิสติกส เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี ชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจทิ ลั และการแพทยครบวงจร “ยกตั ว อย า งการส ง เสริ ม การลงทุ น ให เ กิ ด อุตสาหกรรมใหม จากกรณีอตุ สาหกรรมอากาศยาน


exclusive interview 43

บีโอไอจะสงเสริมใหเกิดการลงทุนตั้งสายการผลิต (Value Chain) ของอุตสาหกรรมอากาศยานใน ประเทศไทย เริ่มตั้งแตการสงเสริมใหเกิดการผลิต วัตถุดิบ สงเสริมการผลิตชิ้นสวน สงเสริมกิจการ ซอฟทแวรที่เกี่ยวของ รวมถึงกลุมอุตสาหกรรม สนับสนุน” สําหรับแนวโนมการลงทุนของอุตสาหกรรมเปาหมาย บีโอไอมั่นใจวาการขอรับสงเสริมการลงทุนของ 10 กลุมอุตสาหกรรมแหงอนาคต ซึ่งเปนอุตสาหกรรม เปาหมายของรัฐบาล จะมีมูลคาเงินลงทุนตามเปา หมาย 1 แสนลานบาทสําหรับในชวงครึ่งปแรกของ ป พ.ศ. 2559 โดยชวง 4 เดือนแรกของปนั้นมี โครงการยื่นขอรับการสนับสนุนแลว 211 โครงการ เปนมูลคากวา 70,000 ลานบาท โดยโครงการเหลานี้ กระจายตัวอยูในกลุมอุตสาหกรรมหลากหลาย

มูลค าเงินลงทุนตามเป าหมาย 1 แสนล านบาท กลุ มอุตสาหกรรมยานยนต และชิ้นส วน เงินลงทุนรวม 14,188 ล านบาท อุตสาหกรรมเครื่องใช ไฟฟ า อิเล็กทรอนิกส เงินลงทุนรวม 12,400 ล านบาท กลุ มอุตสาหกรรมดิจิทัล เงินลงทุนรวม 1,579 ล านบาท กลุ มอุตสาหกรรมป โตรเคมีและเคมีภัณฑ เงินลงทุนรวม 10,820 ล านบาท กลุ มอุตสาหกรรมการแพทย เงินลงทุนรวม 4,450 ล านบาท กลุ มอุตสาหกรรมอากาศยาน เงินลงทุนรวม 22 ล านบาท อุตสาหกรรมการเกษตร เงินลงทุนรวม 20,829 ล านบาท อุตสาหกรรมการท องเที่ยว เงินลงทุนรวม 6,666 ล านบาท

สิทธิประโยชน เพิ่มเติม ตามคุณค าของโครงการ (Merit-Based Incentive) Cap เพิม่ เติม

ประเภทเงินลงทุน / คาใชจาย

(%ของเงินลงทุน/ คาใชจา ยทีเ่ กิดขึน้ )

R&D ทั้งทําเอง วาจางผูอื่นในประเทศ หรือรวมวิจัยกับองคกรในตางประเทศ การสนับสนุนกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร สถาบันการศึกษา ศูนยฝกอบรม เฉพาะทาง สถาบันวิจัย หนวยงานรัฐดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คาธรรมเนียมการใชสิทธิเทคโนโลยีที่พัฒนาจากแหลงในประเทศ การฝกอบรมดานเทคโนโลยีขั้นสูง การพัฒนา Local Supplier ที่มีหุนไทยไมนอยกวา 51% ในการฝกอบรมดานเทคโนโลยี ขั้นสูง และการใหความชวยเหลือทางเทคนิค การออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ ทั้งทําเอง หรือวาจางผูอื่นในประเทศ ในปจจุบันทิศทางการสงเสริมการลงทุนดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมไดรับความ สนใจอยางตอเนื่องในประเทศไทย โดยตั้งแตเดือน มกราคม - เมษายน ที่ผานมา มีผูประกอบการยื่น ขอรั บ ส ง เสริ ม การลงทุ น ในกลุ  ม นี้ แ ล ว รวม 63 โครงการ เงินลงทุน 21,590 ลานบาท ซึ่งการลงทุน เหลานี้กระจายและแฝงตัวอยูในกิจการประเภท ตางๆ อาทิ การวิจยั และพัฒนาตัวเรงปฏิกริ ยิ า เม็ด พลาสติก การผลิตชิน้ สวนระบบเครือ่ งยนต และชิน้ สวนยานพาหนะที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงที่เปนหัวฉีด เชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส การสนับสนุนการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา จากบีโอไอ คุณหิรญ ั ญา กลาวตอ การลงทุนในดานการวิจยั และพัฒนานั้นเปนสิ่งที่บีโอไอและรัฐบาลใหความ สําคัญเปนอยางยิง่ โดยมีหลักการสงเสริมการลงทุน ใหมระยะเวลา 7 ป (พ.ศ. 2558 - 2564) ซึ่งใหสิทธิ ประโยชนแตกตางกันไปตามระดับเทคโนโลยี การมี นวัตกรรมและการวิจัยและพัฒนา

ใหสิทธิประโยชนเพิ่มเติม ตามสัดสวน เงินลงทุน หรือคาใชจา ย

200% เงินลงทุน/คาใชจาย ตอยอดขายรวม ใน 3 ปแรก

ยกเวน CIT เพิ่มเติม โดยใหมี Cap เพิ่มขึ้นตามที่กําหนด

100%

1% หรือ > 200 ลบ. 2% หรือ > 400 ลบ.

1 ป 2 ป

100%

3% หรือ > 600 ลบ.

3 ป

100% 100% 100%

โดยแบงประเภทกิจการไว 6 กลุม ไดแก A1, A2, A3, B1 และ B2 โดยกลุม A1 นัน้ ถือวามีความสําคัญ ที่ สุ ด คื อ ก ลุ  ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ฐ า น ค ว า ม รู  ซึ่งสวนใหญไมใชกิจการที่มีการลงทุนมูลคาสูง เนน ไปในงานวิจัยและพัฒนาเปนสวนใหญ หากแตเปน สวนสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศในระยะยาว เชน กิจการวิจยั และ พัฒนา กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส กิจการ บริการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑเชิงสรางสรรค นอกจากนี้ ยังมีกจิ การนิคมหรือเขตอุตสาหกรรม ดานเทคโนโลยี และกิจการศูนยจัดเก็บขอมูล (Data Center) และกิจการ Cloud Service ซึง่ กิจการเหลานี้ จะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีสูงที่สุดเมื่อเปรียบ เทียบกับกลุมอื่นๆ สิ่งที่ชี้ใหเห็นวาบีโอไอใหความ สําคัญดานวิจัยพัฒนา คือ การจูงใจใหบริษัทลงทุน เพิม่ ดานการวิจยั และพัฒนาใหมากขึน้ ตามหลักการ ใหสิทธิประโยชนเพิ่มเติม ตามคุณคาของโครงการ (Merit-Based Incentive) หากมีการลงทุนเพิ่มใน 6 กิจกรรม ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ การลงทุนเพิ่มดานการ วิจัยและพัฒนา ซึ่งจะไดรับการยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคลเพิ่มเติม โดยมีรายละเอียดดังนี้

กลุ มอุตสาหกรรมของไทยที่มีความ โดดเด นและเข มแข็งเป นพิเศษ คือ อุตสาหกรรมยานยนต และชิ้นส วน รวมถึง กลุ มอิเล็กทรอนิกส และชิ้นส วน โดยมีการ ลงทุนจากบริษัทชั้นนําทั่วโลกมากมาย ทําให สามารถต อยอดทั้งสองกลุ มนี้เข าสู การเป น ฐานผลิตของอุตสาหกรรมแห งอนาคตได เช น รถยนต ไฮบริด อากาศยาน ระบบอัตโนมัติ และหุ นยนต ยังทําให สามารถต อยอดไปยัง อุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย หรือภาค บริการ อย างเช น ซอฟท แวร และดาต า เซ็นเตอร

issue 161 july 2016


44 exclusive interview

บีโอไอกับการพัฒนาแรงงานภาคอุตสาหกรรม คุ ณ หิ รั ญ ญา กล า วเพิ่ ม เติ ม ว า บี โ อไอได ประสานและรวมมือดานขอมูล ความตองการ แรงงานและการพัฒนาบุคคลากรและแรงงานฝมอื กับกระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ กรม อาชี ว ะศึ ก ษา สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่ ทําการสนับสนุน ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการรวม มือกับองคกรและบริษทั เอกชนเพือ่ ผลักดันและแก ปญหาการขาดแคลนแรงงานในทุกระดับอยางทัว่ ถึงและใกลชิด บีโอไอมีรูปแบบการสงเสริม ทั้งการสรางแรง จูงใจ และเงื่อนไขใหผูประกอบการมีสวนรวมใน การพัฒนาบุคลกรเอง เชน การใหสิทธิประโยชน เพิ่มเติมแกผูประกอบการที่มีคาใชจายหรือเงิน ลงทุ น จากการเข า ร ว มโครงการที่ ส  ง เสริ ม การ พัฒนาบุคลากรในดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ใหสามารถรองรับภาคอุตสาหกรรม และบริ ก ารที่ ใช เ ทคโนโลยี สู ง และยกระดั บ อุตสาหกรรมและบริการของไทย รวมทั้งชวยผลัก ดั น ให เ กิ ด การถ า ยทอดองค ค วามรู  ใ นด า น วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากภาค เอกชนสูบุคลากรไทยไดอยางเปนรูปธรรม การขอรั บ สิ ท ธิ แ ละประโยชน ต ามนโยบาย สงเสริมการลงทุนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูป แบบคลัสเตอรกําหนดเงื่อนไขตองมีความรวมมือ กับสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยหรือศูนยความ เปนเลิศ (Center of Excellence) ทีอ่ ยูใ นเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอรตามรูปแบบ ความรวมมือทีก่ าํ หนด ผูป ระกอบการเองสามารถ เลือกที่จะใชรูปแบบความรวมมือไดตามความ เหมาะสมของแตละกิจการ

ความร วมมือกับสถาบันการศึกษา 1.) สหกิจศึกษา หรือ ระบบการศึกษาระดับบัณฑิตที่จัดให มี การเรียนรู ในสถานศึกษาสลับกับการหาประสบการณ ตรงจาก การปฏิบัติงานจริง 2.) ทวิภาคี คือ การศึกษาวิชาชีพ ภายใต ข อตกลงระหว างสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันกับ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน วยงานของรัฐในการจัดหาหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดผล และประเมินผล โดยใช เวลาเรียนรู ในสถาศึกษา และลงมือภาคปฏิบตั ใิ นสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน วยงานภาครัฐ

ความร วมมือกับสถาบันวิจัย หรือศูนย ความเป นเลิศ 1.) โครงการ Talent Mobility: โครงการที่ช วยจัดหา บุคลากรทางด านวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม จาก มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยของภาครัฐไปปฏิบัติงานในภาค อุตสาหกรรมเป นเวลาชั่วคราว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข งขันของผู ประกอบการในด านต างๆ ได แก การวิจัยและพัฒนา การแก ป ญหาเชิงเทคนิค การวิเคราะห ทดสอบและระบบมาตรฐาน และการจัดการเทคโนโลยี 2. โครงการ Work-integrated Learning (WiL) คือ รูปธรรมของนโยบายการพัฒนากําลังคนด าน วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยความร วมมือของ 3 ภาคส วน ได แก • สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห งชาติ (สวทน.) • บริษัทเอกชน • สถาบันการศึกษา เพื่ อ ผลิ ต แรงงานระดั บ ปวส.และระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี คุ ณ ภาพตรงกั บ ความต อ งการของภาค อุตสาหกรรม โดยนักศึกษาจะเข ารับการฝ กอบรมเป นระยะเวลา 1-2 ป เป นการบูรณาการการทํางานใน สถานประกอบการเพิ่มเติม

บีโอไอนั้นได ทําการสนับสนุนข อมูล ความรู และนโยบายส งเสริมการลงทุนสําหรับนักลงทุนที่ ต องการลงทุนในกลุ มธุรกิจเป าหมายและกลุ มอุตสาหกรรมแห งอนาคต โดยบีโอไอได จัด เตรียมสิทธิพิเศษไว มากมาย นอกจากนี้บีโอไอยังเห็นชอบด วยการสนับสนุนงานวิจัยและ พัฒนา เนื่องจากความสําคัญของการวิจัยและพัฒนานั้นจะส งผลดีต อธุรกิจในระยะยาวอย าง ยั่งยืน นอกจากนี้ ในการพัฒนาศักยภาพแรงงานนั้น บีโอไอ ได สนับสนุนให มีการร วมมือกัน ระหว างหน วยงานและองค กร เพื่อทําการปรับปรุงความรู และความสามารถแรงงานให มี คุณภาพสามารถต อสู ได ในตลาดโลกที่กําลังอ อนไหว คุณหิรัญญา กล าวทิ้งท าย

EXECUTIVE SUMMARY Ms. Hirunya Suchinai, Secretary General of the Board of Investment explain about promoting investment in targeted industry group. BOI believes that the entrepreneur registered for 10 future industry groups which is government’s target group will have investment value as the goal set for 100 billion baht for the first half of 2016. The first 4 months already have registered project for 211 units which is 70 billion baht where these projects widespread into various field of industries. BOI has many measure to support the industrial sector completely.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ

quality control 45

CHECK LIST ตู สวิตช เกียร ไฟฟ าในโรงงานอุตสาหกรรม ดวยความสําคัญของระบบไฟฟาใน โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีความจําเปน ตอทุกสายการผลิต จึงเปนสาเหตุสาํ คัญ ใหทกุ โรงงานตองมีความใสใจ ทัง้ ในเรือ่ ง การติ ด ตั้ ง ตรวจสอบ ดู แ ลและบํ า รุ ง รักษาระบบไฟฟาในโรงงาน เพือ่ ปองกัน การเกิดเหตุรา ยแรงเกีย่ วกับกระแสไฟฟา อั น จะทํ า ให เ กิ ด ความสู ญ เสี ย ทั้ ง กั บ ผูปฏิบัติงานและความเสียหายในระบบ การผลิต ตูสวิตชเกียรไฟฟาภายในโรงงาน (MV&LV Switchgear) ซึ่งเปนอุปกรณ สํ า คั ญ ในการจ า ยไฟฟ า เข า สู  อุ ป กรณ ไฟฟาหลักของระบบไฟฟา จําเปนตองมี การตรวจสอบคุณภาพ และบํารุงรักษา อย า งสมํ่ า เสมอ เพื่ อ ความปลอดภั ย สูงสุดกับผูปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพ การทํางานที่ไดคุณภาพ ซึ่งมีวิธีในการ ตรวจเช็คและบํารุงรักษา ดังตอไปนี้

MV&LV Switchgear ความถี่ในการบํารุงรักษา ความถี่ในการบํารุงรักษา ขึ้นกับสภาพแวดล อมและการใช งาน สภาพที่แสดงออก • การกัดกร อนของบรรยากาศ • ความถี่ในการทํางาน • สิ่งสกปรกและฝุ นละออง • ความถี่ในการตัดกระแสลัดวงจร • อุณหภูมิโดยรอบและความชื้น

การเตรียมการ วิธีตรวจสอบและการทดสอบ เตรียมการ

หาข อมลและ วางแผนตรวจสอบ

ทําการตรวจสอบ

วิธีตรวจสอบและ บํารุงรักษา

Visual Inspection Measurement

ตรวจสอบและบํารุง รักษาตามตาราง issue 161 july 2016


46 quality control

ขณะมีไฟ

การตรวจด วยสายตา

• เสียงการเกิด Discharge ฮัม, สั่นสะเทือน, Resonance • แสงจาก Corona เสียงและแสงจาก Spark • กลิ่นโอโซนจาก Corona หรือจากสารอินทรีย

ปลดวงจรไฟฟ าแล ว • Physical Damage ของฉนวน (แตก บิ่น รอยบิดเบี้ยว เกร็ดร อง เส น) • ตรวจหาวัตถุแปลกปลอม การตรวจหลวมของ Hardware ความเสียหายของบัสบาร สนิมและการ บิดเบี้ยวของโครงสร าง • การเกิดฝุน หรือผง Carbon Track ความชืน้ หรือสนิม การหลุดร อนของสีหรือวานิช ซึ่งเป นเครื่องหมายของ การเกิดความชื้น

ตรวจสอบและทดสอบแผงสวิตซ ตรวจด วยสายตา

ตรวจด วยเครื่องมือวัด

• สภาพการติดตั้ง • สภาพอุปกรณ ภายในตู • อื่นๆ

• วัดความต านทานฉนวน • วัดความร อน, CB Contact Resistance Test • อื่นๆ

EXECUTIVE SUMMARY MV&LV switchgear is an essential tool to powered the main electrical equipment of the system. It’s necessary to verify the usability effectiveness and regular maintenance quality with accurate. To prevent failure in the process which bring the damage to person and asset.

ตารางการตรวจสอบและการบํารุงรักษาตู MV&LV Switchgear สภาพสถานที่ตั้ง พืน้ ทีว่ า งเพือ่ ปฏิบตั ิ งาน การระบายอากาศใน ตู และช องระบายแรง ดัน

มีสว นอืน่ ที่ ไม เกีย่ วข อง หรือเป นเชือ้ เพลิงหรือไม ฐาน เอี ย งหรื อ ทรุ ด กรณี ติ ด ตั้ ง ในห อ ง ตรวจระบาย อากาศว าใช ได ดีหรือไม พื้นที่ว างโดยรอบและทางเข าไม มีสิ่งกีดขวาง ตรวจช องระบายอากาศ การระบายอากาศในตัวตู ว ายังอยู ในภาวะปกติหรือไม ตรวจช องระบายความ ดัน ว าทํางานได ดีหรือไม

โครงสร างและสภาพ ทั่วไปของตู

ตรวจสภาพตู ภายนอกและในตู ฝาตู และกุญแจ ตรวจเสียง ควัน กลิ่น การสั่นสะเทือน ความชื้น ความสะอาด สนิม ฝุ น หยากไย และอื่นๆ ตู ที่ติดตั้ง ภายนอกอาคาร ตรวจสภาพหลังคา ผนัง ยังกันฝน ได ดีและไม เป นสนิม

ขั้วต อสาย จุดต อ สาย

ตรวจจุดต อสายทั้งหมดว า หลุด หลวม มีร องรอย ของความร อ นสู ง หรื อ ไม และขั น ให แ น น อี ก ครั้ ง (ตรวจวัดอุณหภูมิขณะจ ายไฟ) ร องรอยการเกิด Corona ร องรอยการหลุดหลวม

Cable Terminator ของเทป ความสะอาด รอยร าว การต อลงดินของชิลด ตรวจสภาพสายไฟฟ าและอุปกรณ การเดินสาย สายไฟฟ า

ความเป นฉนวนไฟฟ า หลังจากทําความสะอาดแล ว วัดค าความเป นฉนวน และ Power Factor ไฟฟ าต างๆ และ Power Factor ตามวิธีที่กําหนด การต อลงดินและ การต อฝาก

สภาพจุดต อลงดินที่ตู และหลักดิน การต อฝากของ ฝาตู วัดค าความต านการต อลงดิน สภาพสายดิน และสายต อฝาก และขันจุดต อสายให แน นอีกครั้ง

Heater เครื่องวัดต างๆ หลอดไฟ (Indicator Lamp) Protective Relay สวิตซ ควบคุมต างๆ

ตรวจสอบการทํางาน และระบบควบคุมการทํางาน ตรวจสภาพทัว่ ไป การชํารุด แตกหัก และการทํางาน ตรวจว ายังอยู ในสภาพที่ใช งานได หลอดไม หลุด ไม แตก ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสภาพและการทํางาน

เซอร กิตเบรกเกอร

ดึงเซอร กิตเบรกเกอร ชนิด Draw Out ออกตรวจ หน าสัมผัสและทําความสะอาด ตรวจหน า Draw Out ว าคล องตัวหรือไม ใส สารหล อลื่น ตรวจกลไกและ การทํางานของอุปกรณ ต างๆ ตรวจการทํางานระบบอินเตอร ลอ็ ก ทําการทดสอบ ตามวิธีที่กําหนด

ทดสอบการทํางาน

ตรวจการทํางานทางไฟฟ า และระบบอินเตอร ลอ็ กอีกครัง้

ชุด Draw Out

ตรวจแผ นป ายประจําเครื่องว าตรงหับที่ระบุในแบบ

บัสบาร

การจับยึด ตรวจวัดความร อน การต อกับสาย ต อ ระหว างบัสบาร และต อกับอุปกรณ

ตรวจแผ นป ายประจํา ไฟฟ าหรือไม ถ าพบว าไม ตรงให ระบุลงในรายงาน เครื่อง การตรวจสอบ

ลูกถ วยรองรับ บัสบาร

ตรวจความสกปรก ตรวจว าหลุด หลวม ร องรอย ชํารุด การเปลีย่ นสี รอยแตกบิน่ พร อมทําความสะอาด

ตรวจ Mimic Diagram

CT&PT

รอยแตกร าว การต อสาย

ทําความสะอาด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ตรวจวงจรการต อสาย ว าตรงกับ Mimic Diagram หรือไม ถ าไม ตรงให ระบุในรายงานการ ตรวจสอบ

ตรวจตัวตู และทําความสะอาดอีกครั้ง Source: เอกสารการบรรยาย เรื่อง การบํารุงรักษาระบบไฟฟ าในโรงงานอุตสาหกรรม โดย ลือชัย ทองนิล การไฟฟ านครหลวง ประธานวิศวกรรมสาขาไฟฟ า วสท. กรรมการสภาวิศวกร


CVM-B100, CVM-B150 Features -

Format : 96x96 (CVM-B100) and 144x144 (CVM-B150) High resolution and colour screen IP65 front panel protection 5 Voltage inputs (3 phases + Neutral + Earth) 4 Current inputs, ITF Voltage, Current and Power Accuracy = 0.2 Energy Accuracy = 0.5S Expandable up to 4 modules digital/analogue inputs/ outputs modbus/TCPmodbus/XML comm 3 capacitive keys (tactile) Universal power supply Modbus/RTU Bacnet communicate integrated Allows customizable views

PowerStudio SCADA

โปรแกรมบรห ิ ารจด ั การพลงังานในลก ั ษณะอาคาร สำนก ั งาน รานคาเชาและโรงงานอต ุ สาหกรรม

Reference กรมศล ุ กากร

ทท ่ี ำการไปรษณย ี ไทย

สำนก ั งานธนาคารกสก ิ รไทย

Sermthai Complex, จ.มหาสารคาม

Integral parameter measurement V, A, kW, kWh, hours, kvar, cos φ, kgCO2, Costs Seacon Bangkae

Network : ระบบสามารถเชอ ่ื มตอ  อป ุ กรณแ  ละ แสดงผลขอ  มล ู จากหลายสถานทผ ่ี านระบบ Ethernet

Quick display on the screen with the SCV interface

4-quadrant measurement

Multi-station Web Server : ระบบสามารถแสดงผลขอ  มล ู ของ อป ุ กรณผ  าน Software PSS หรอ ื Web browser ได โดยดไูดจ  ากหลายสถานทพ ่ี รอ  มกน ั

Neutral current measurement

Modular, expandable

Mobile : ระบบสามารถแสดงผลขอ  มล ู บน iOS และ android ทว ่ั ไป โดยการเขาถงึจาก Browser ทร่ีองรบ ั มาตรฐาน HTML5

Contact US

บรษ ิ ท ั เอวรีา จำกด ั

อาคารเอสซจ ี ี ชน ้ั 2 เลขท่ี 631 ถนนนนทรี แขวงชอ  งนนทรี เขตยานนาวา กรงุเทพฯ 10120

Tel : Fax : E-mail : Website :

“ตว ั แทนจด ั จำหนายทไ่ีดรบ ั การแตงตง้ัอยางเปน  ทางการรายเดย ี วในประเทศไทย”

+662-681-5050 +662-681-5995 marketing@avera.co.th www.avera.co.th www.avera.co.th



เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC 49

จับทิศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ครึ่งหลังปี 2559 แนวโน้มเศรษฐกิจครึ่งหลังปี 2559 จากการส�ารวจ ความคิดเห็นและมุมมองผูบ้ ริหาร ซึง่ จัดท�าโดย ศูนย์สำ� รวจ ควำมเห็น ‘นิด้ำโพล’ ร่วมกับ สภำอุตสำหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) พบว่า ผู้บริหารส่วนใหญ่ 60.42% ระบุ ว ่ า สถานการณ์ ธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมจะอยู ่ ใ นภาวะ ทรงตัว 25% ขยายตัว 12.50% คาดว่าจะหดตัว และ 2.08% ระบุว่าขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านความไม่มั่นใจต่อสถานการณ์ บ้านเมือง ส่วนแนวโน้มภาคอุตสาหกรรมครึ่งปีหลังของปี 2559 ผู้บริหารระบุว่าจะทรงตัว 56.25% รองลงมา 27.08% จะ ขยายตัว และ 16.67% ระบุวา่ หดตัว โดยปัจจัยเสีย่ งทีย่ งั คง มีความกังวลส่วนใหญ่ 62.50% ระบุว่าเป็นการชะลอตัว ลงของเศรษฐกิจจีน และการฟื้นตัวที่ล่าช้าของเศรษฐกิจ ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว 52.08% โดยมีการระบุว่าเป็น ก�าลังซื้อภายในประเทศ 37.50% ภัยแล้ง 35.42% รวมถึง การเมืองภายในประเทศที่ไม่สงบ เป็นต้น ส่วนปัจจัยที่จะเป็นแรงขับเคลื่อนส่วนใหญ่ 56.25% ระบุว่าเป็นเม็ดเงินลงทุนตามแผนยุทธศาสตร์การลงทุน โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม รองลงมา 50% ระบุว่า เป็นมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐต่างๆ 41.67% การท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ดี ฯลฯ ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาคการส่ง ออกไทยส่วนใหญ่ 47.92% ระบุว่าผลกระทบต่อภาคการ ส่งออกของไทยอยูใ่ นระดับมาก 27.08% ระบุวา่ ปานกลาง 12.50% ระบุว่าน้อย 10.42% ระบุว่ามากที่สุด 2.08% ไม่ระบุ / ไม่แน่ใจ ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรระดับสูง เกี่ยวกับทิศทำงเศรษฐกิจอุตสำหกรรม ครึ่งหลังของปี 2559 1) รัฐบาลควรมีมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ ส่ง เสริม หรือสนับสนุนผู้ประกอบการทั้งทางตรงและทาง อ้อม เช่น ส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวของไทย ขยายการค้า การลงทุนไปยังประเทศเพื่อนบ้านหรือแถบชายแดน การ สนับสนุนสินค้าไปสู่สินค้าที่มีนวัตกรรมและพัฒนาสินค้า อุตสาหกรรมไปสู่ Industry 4.0 2) รัฐบาลควรส่งเสริมผู้ส่งออก โดยถ้าหากเป็นกิจการ ที่ใช้วัตถุดิบในประเทศตั้งแต่ ร้อยละ 80 - 85 ขึ้นไปได้รับ อัตราดอกเบีย้ ทีต่ า�่ ลง และส่งเสริมให้ผสู้ ง่ ออกดังกล่าวได้รบั เงินคืนจากรัฐตามสัดส่วนของยอดส่งออกเพือ่ น�ามาชดเชย กับอัตราแลกเปลีย่ นและเป็นการจูงใจให้ผสู้ ง่ ออกมีกา� ลังใจ 3) รัฐบาลควรเร่งการลงทุนโครงการต่างๆ ของภาค รัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และควรเบิกงบประมาณตามเป้า หมายที่วางไว้ 4) รัฐบาลควรก�าหนดมูลค่าหรือสัดส่วนของแหล่ง สินค้าหรือวัตถุดิบในประเทศ (Local Content) ในโครงการ ก่อสร้างที่ใช้เงินภาษี 5) รัฐบาลควรทบทวนหรือแก้ไขกฎระเบียบของภาค รั ฐ ให้ ผู ้ ป ระกอบการสามารถด� า เนิ น กิ จ การได้ ค ล่ อ งตั ว มากกว่านี้

มุมมองความคิดเห็นผู้บริหาร ต่อสถานการณ์ธุรกิจอุตสาหกรรมไทย 2.08%

ภาวะทรงตัว

25%

มีการขยายตัว หดตัว

60.42%

ไม่มั่นใจต่อ สถานการณ์บ้านเมือง

12.50%

แนวโน้มภาคอุตสาหกรรมครึ่งปีหลังของปี 2559

62.50%

52.08%

การชะลอ ตัวลงของ เศรษฐกิจจีน

การฟื้นตัว ที่ล่าช้าของ เศรษฐกิจ ในกลุ่มประเทศ พัฒนาแล้ว

37.50%

35.42%

ก�าลังซื้อ ภายใน ประเทศ

ภัยแล้ง / การเมือง ภายใน ประเทศ ที่ไม่สงบ

Source: ผลการส�ารวจความเห็นและมุมมองผู้บริหาร เรื่อง “CEO Survey ทิศทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมครึ่งปีหลัง 2559” โดย ศูนย์ส�ารวจความเห็น “นิด้าโพล” ร่วมกับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) EXECUTIVE SUMMARY Nida poll cooperation with The Federation of Thai Industries (FTI) founded that the most of executive about 60.42% specified the situation of industry business has settled by 25%, expanding by 12.05% and forecast about shrinking by 2.08%. These factors are depending on uncertain politic situation. Chief executive who’s joined he poll recommended that the government should have the policy to support the entrepreneur direct and indirect together with exporter’s promotion. The business which use the domestic material more than 80 – 85% will get lower interests and also hasten investment in many projects of government sector and private sector to provoke the economy by set he value or the proportion for local content in construction project which use the tax and review the regulations of government sector to have a better flow for entrepreneur. issue 161 july 2016


50 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ ชาติการุณ

30,000 ล านบาท

B

ผู ประกอบกิจการ SMEs เข าถึงแหล งเงินทุน ดอกเบี้ยตํ่าได มากขึ้น สินเชื่อระยะยาว (L/T) เพื่อ การลงทุนต อเติม หรือเปลี่ยนแปลง อัตราดอกเบี้ย • ธนาคารออมสิน ให สินเชื่อธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงินที่เข าร วมโครงการ อัตรา ดอกเบี้ยร อยละ 0.1 ต อป • ธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงินเฉพาะ กิจที่เข าร วมโครงการฯ ให สินเชื่อแก ผู ประกอบกิจการ SMEs โดยมีเงื่อนไขไม ให Refinance หนี้เดิม อัตราดอกเบี้ยร อยละ 4 ต อป (รัฐบาลจะชดเชยส วนต างอัตรา ดอกเบี้ยให กับธนาคารออมสิน ) • ระยะเวลาให สินเชื่อไม เกิน 7 ป

โครงการสินเชือ่ ดอกเบีย้ ตํา่ เพือ่ ปรับเปลีย่ น เครือ่ งจักร และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สําหรับผู ประกอบกิจการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย อม (SMEs) จะช วยให ผู ประกอบกิจการ SMEs สามารถเข าถึง แหล งเงินทุนดอกเบี้ยตํ่าได มากขึ้น เป นการ เพิ่มศักยภาพในการดําเนินธุรกิจให แก ผู ประกอบกิจการ SMEs รวมถึงเป นการ กระตุ นให เกิดการลงทุนในประเทศและ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให เติบโตอย าง ยั่งยืนต อไป” กฤษฎา จีนะวิจารณะ ผู อํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง โฆษกกระทรวงการคลัง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

‘สินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า’ กระตุ น SMEs ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

ยื่นขอสินเชื่อ ภายในวันที่

31 ธันวาคม 2559

หรือจนกว าวงเงินจะหมด

ตองยอมรับวาผูป ระกอบกิจการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดเล็ก หรือ SMEs เปนฟนเฟองสําคัญ ทีม่ บี ทบาทในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยเปนอยาง มาก ศักยภาพและขีดความสามารถทางการแขงขัน ของ SMEs จึงเปรียบเสมือนอาวุธในการแยงชิง โอกาสทางการคาที่สําคัญ ทั้งในระดับประเทศและ เวที ก ารค า โลก ดั ง นั้ น เพื่ อ เสริ ม สร า งขี ด ความ สามารถทางการแข ง ขั น และยกระดั บ ศั ก ยภาพ ผูประกอบการ SMEs ใหมีความเขมแข็ง สามารถ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศไดอยางมีนยั สําคัญ กระทรวงการคลัง จึงไดเสนอ ‘โครงการสินเชื่อ ดอกเบี้ยตํ่าเพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต สําหรับผูประกอบกิจการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)’ ขึ้น เพือ่ สนับสนุนใหผปู ระกอบกิจการ SMEs สามารถเขา ถึงแหลงเงินทุนดอกเบีย้ ตํา่ ไดมากขึน้ ภายใตวงเงิน 30,000 ลานบาท โดยคณะรัฐมนตรีไดมมี ติเห็นชอบ โครงการดังกลาว เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2559

สําหรับ ‘โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าเพื่อปรับ เปลี่ยนเครื่องจักรและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สําหรับผูประกอบกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (SMEs)’ มีวัตถุประสงคเพื่อเปนสินเชื่อ ระยะยาว (L/T) เพื่อการลงทุน หรือการตอเติม เปลีย่ นแปลง ขยายออก หรือทําใหดขี นึ้ ซึง่ ทรัพยสนิ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ แตไมใชเปนการซอมแซมให คงสภาพเดิมใหแกผูประกอบกิจการ SMEs ตาม นิยามของกระทรวงอุตสาหกรรม โดยเปนนิตบิ คุ คล จดทะเบียนในประเทศ ซึ่งมีบุคคลสัญชาติไทยถือ หุนเกินกวารอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน สวนอัตราดอกเบีย้ และระยะเวลานัน้ กําหนดให ธนาคารออมสินใหสินเชื่อกับธนาคารพาณิชยและ สถาบันการเงินเฉพาะกิจทีเ่ ขารวมโครงการในอัตรา ดอกเบีย้ รอยละ 0.1 ตอป และธนาคารพาณิชยและ สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่เขารวมโครงการใหสิน เชื่อแกผูประกอบกิจการ SMEs เฉพาะการปลอย สินเชื่อใหม โดยมีเงื่อนไขไมให Refinance หนี้เดิม ในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 4 ตอป ระยะเวลาใหสิน เชื่อไมเกิน 7 ป และรัฐบาลจะชดเชยสวนตางอัตรา ดอกเบี้ยใหกับธนาคารออมสิน ทั้งนี้ ผูประกอบกิจการ SMEs สามารถยื่นขอ สินเชื่อภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หรือจนกวา วงเงินจะถูกจัดสรรหมด แลวแตอยางใดอยางหนึ่ง ถึงกอน Source : สํานักนโยบายระบบการเงินและสถาบันการเงิน สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

EXECUTIVE SUMMARY

B

Ministry of Finance has announced ‘Policy Loan for Machinery Modification and Manufacturing Efficiency Improvement for SMEs’ to encourage SMEs entrepreneur to access the financial which has low interest with financial amount not more than 30 billion baht. The government agreed with this policy on 28 June 2016 to be the long-term loan for investment or expanding - improvement asset which related to the business but maintenance not include.


เรื่อง: ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี TECH FOCUS

51

SMART

PRODUCT พัฒนาอย่างไรในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ อั จ ฉริ ย ะ ส่ ง ผลต่ อ การ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง น วั ต ก ร ร ม สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ ์ ที่ ม อ บ ประสบการณ์ทดี่ ใี ห้กบั ลูกค้าจากกระบวนการวิจยั และ พัฒนา ผ่านกระบวนการผลิต การจัดจ�าหน่ายและ การบริ ก ารหลั ง การขาย โดยข้ อ มู ล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เปลี่ยนแปลงวิธีการผลิตจะได้รับการดูแลเอาใจใส่ คุ ณ ภาพเป็ น อย่ า งดี การปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนที่ มี แบบแผนหรือโมเดลผลิตภัณฑ์ที่ใช้กระบวนพัฒนาใน หลั ก แนวคิ ด ใหม่ ๆ และมี เ ครื่ อ งมื อ ในการท�า งานที่ ชัดเจน จะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะตรงกับความ ต้องการของผู้ ใช้งานมากที่สุด นอกจากนี้ การมีแบบแผนการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ งานทีส่ มเหตุสมผล จะส่งผลให้บริษทั ผูผ้ ลิตสามารถ ลดความเสีย่ งต่อความล้มเหลวของการสูญเสียเงิน และเวลาในการลงทุนจ�านวนมหาศาลในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ในปั จ จุ บั น สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ทั้ ง อุ ป โภคและ บริโภคที่ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ถูกพัฒนาให้ตอบ สนองต่ออารมณ์ของผูใ้ ช้งานได้อย่างทันสมัย การ สร้างคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ โดยใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างประสบการณ์และการมีส่วนร่วมระหว่าง ผู้บริโภคกับตัวสินค้า จึงเป็นสิ่งที่บริษัทผู้ผลิตไม่ ควรมองข้าม

บริษัท ‘Diageo’ คือ ผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในแบรนด์ ‘Johnnie Walker’ ได้ออกแบบและพัฒนาขวดเหล้าอัจฉริยะ (Smart Bottle) ทีใ่ ช้งานร่วมกับสมาร์ทโฟน โดยทีต่ วั ขวดเหล้าใช้เทคโนโลยีเซนเซอร์ทตี่ รวจสอบได้วา่ ขวดเหล้าดังกล่าวมีการถูก เปิดมาก่อนหน้านี้แล้วหรือไม่ ซึ่งขวดเหล้าสามารถส่งข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ที่ส�าคัญ เช่น อุณหภูมิที่เหมาะสมในการดื่มเหล้าไปยังสมาร์ทโฟน

รูปที่ 1: ขวดเหล้าอัจฉริยะ (Smart Bottle) และ Kolibree Smart Toothbrush ตามล�าดับ ที่มาข้อมูลภาพ: http://www.wired.co.uk/news/archive/2014-01/05/kolibree-smartbrush

issue 161 july 2016


52 TECH FOCUS

เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง ปรากฏการณ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อัจฉริยะระดับสากล ศูนย์รู้ทันส�าหรับการท�างาน ในอนาคต (Cognizant’s Center for the Future of Work) ได้ร่วมมือกับหน่วยข่าวกรองเศรษฐศาสตร์ (Economist Intelligence Unit) ได้มีการส�ารวจการ ออกแบบผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมกว่า 200 รายการ ที่ผู้บริหารระดับสูงในสหรัฐอเมริกาและยุโรปได้ ก�าหนดแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์อัจฉริยะที่ประสบ ความส�าเร็จ ซึ่งกุญแจของความส�าเร็จที่ส�าคัญ คือ

ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะมอบสิ่งที่ลูกค้าไม่เคยได้รับ ประสบการณ์นี้มาก่อนได้อย่างลึกซึ้ง รายละเอียดของข้อมูลทางกายภาพที่อยู่รอบๆ แสดงให้เห็นว่าลูกค้าใช้หรือมี ความประสงค์ที่จะใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร ซึ่งบริษัทสามารถใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์ เพื่อชี้ชัดถึงการเชื่อมต่ออย่างมีความหมายและความสัมพันธ์ระหว่างสภาพ แวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ตลอดจนกระบวนการผลิต เช่น บริษทั ‘Diageo’ คือ ผูผ้ ลิต เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในแบรนด์ ‘Johnnie Walker’ ได้ออกแบบและพัฒนาขวด เหล้าอัจฉริยะ (Smart Bottle) ที่ใช้งานร่วมกับสมาร์ทโฟนโดยที่ตัวขวดเหล้าใช้ เทคโนโลยีเซนเซอร์ที่ตรวจสอบได้ว่าขวดเหล้าดังกล่าวมีการถูกเปิดมาก่อนหน้านี้ แล้วหรือไม่ ซึง่ ขวดเหล้าสามารถส่งข้อมูลรายละเอียดต่างๆ ทีส่ า� คัญ เช่น อุณหภูมิ ที่เหมาะสมในการดื่มเหล้าไปยังสมาร์ทโฟน

1 3

ความแปลกใหม่ของผลิตภัณฑ์ อาจส่งผลกระทบไม่เพียงพอต่อรายได้และการท�าก�าไรมหาศาล ผลิตภัณฑ์อจั ฉริยะทีม่ คี วามแปลกใหม่เป็นอย่างมาก คือ โอกาสทีอ่ าจมองข้าม โมเดลธุรกิจรูปแบบเดิมๆ ไปได้ แต่ผลิตภัณฑ์ทแี่ ปลกใหม่ อาจไม่สามารถบ่งบอกถึง รายได้และอัตราก�าไรขั้นต้นที่เกิดขึ้นได้ ทั้งนี้ เนื่องจากการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ เกิดใหม่ นักออกแบบผลิตภัณฑ์อาจยอมให้ความคิดที่ถกเถียงกันในระหว่างการ ออกแบบอยูเ่ หนือข้อเท็จจริง ส�าหรับการน�าผลิตภัณฑ์ ไปใช้งานจริงหรือการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยูเ่ ดิมเป็นเพียงแต่ใช้เทคนิคการเล่นแร่แปรธาตุเท่านัน้ ซึง่ ไม่ได้สง่ ผล ให้ผลิตภัณฑ์ที่สร้างขึ้นใหม่มีคุณค่าในตัวผลิตภัณฑ์เอง

แนวโน้มที่ส�ำคัญในกำรขับเคลื่อน ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะ ปัจจุบนั มีอปุ กรณ์แกดเจ็ตจ�านวนมากทีค่ วบคุม ผ่านแอปพลิเคชั่นโทรศัพท์มือถือและฟีดข้อมูล ส่วนบุคคลที่มีคลาวด์เป็นส่วนขับเคลื่อนที่น่าสนใจ ในการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตออฟธิง (Internet of Thing: IoT)ของระบบการใช้งานขนาดใหญ่ เช่น การ เชื่อมต่อระบบภายในบ้านอัตโนมัติ (Smart Home) กับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ หรือ ‘Smart Grid’ ที่ เ ป็ น โครงข่ า ยอั จ ฉริ ย ะที่ เชื่ อ มโยงระบบไฟฟ้ า ระบบสารสนเทศและระบบสื่อสารเข้าไว้ด้วยกัน การเชื่ อ มต่ อ ระบบคลาวด์ กั บ ระบบรถยนต์ แ ละ สมาร์ทซิตี้ เป็นต้น MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะใหม่มีการเปลี่ยนแปลงมาก / น้อย ไปจากผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิมหรือไม่ ผลิตภัณฑ์จะแสดงข้อมูลรายละเอียดปลีกย่อยมากขึน้ และใช้งานเฉพาะเจาะจง กับผู้ใช้เพียงบางกลุม่ เท่านัน้ ซึง่ แตกต่างไปจากอดีตทีม่ เี ป้าหมายไปทีก่ ลุม่ ผู้ใช้ทวั่ ไป โดยผลิตภัณฑ์อัจฉริยะสามารถเปิดเผยข้อมูลเชิงลึก ส�าหรับกระบวนและวิธีการ ผลิต รวมไปถึงการก�าหนดราคาขายผ่านช่องทางคู่ค้าโดยตรง นอกจากนี้ บริษัท ต้องสามารถคาดการณ์ถึงการเอาชนะคู่แข่งขันในผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน รวม ไปถึงการเอาชนะใจลูกค้า

2 4

การเรียนรู้กับข้อมูลผลิตภัณฑ์ และการแบ่งปันบทสรุปแห่งความส�าเร็จร่วมกัน กลยุทธ์ที่ประสบความส�าเร็จของผลิตภัณฑ์อัจฉริยะ คือ สมองกลฝังตัว อัจฉริยะที่ใช้ ในการตรวจสอบข้อมูลที่ ได้รับและการแบ่งปันข้อมูลระหว่างของ ผลิตภัณฑ์ที่อาจจ�าเป็นต้องใช้งานร่วมกัน รวมถึงความเชื่อมั่นของลูกค้าที่มีต่อ ผลิตภัณฑ์ โดยผู้ออกแบบต้องสามารถคาดการณ์ทิศทางของตลาดโดยรวมที่ใช้ เงินลงทุนจ�านวนมหาศาล ความล้มเหลวของกลยุทธ์จะไม่เกิดขึ้น ถ้าผู้ออกแบบ มีการแบ่งปันบทสรุปแห่งความส�าเร็จร่วมกันระหว่างบุคลากรในองค์กรเดียวกัน หรือต่างองค์กรและสามารถน�าเทคโนโลยีเซนเซอร์ต่างๆ เข้ามาประยุกต์ ใช้ เพื่อ เสริมสร้างจุดแข็งของธุรกิจ เทคโนโลยีนจี้ ะสามารถเข้าสูต่ ลาดผูบ้ ริโภคอย่างแท้จริง

เทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ตออฟธิงยังออกแบบ ใช้งานกับอุปกรณ์ใช้งานขนาดเล็ก เช่น ‘Kolibree Smart Toothbrush’ คือ แปรงสีฟนั อัจฉริยะทีส่ ามารถ เชือ่ มต่อกับแอปพลิเคชัน่ บนมือถือแบบไร้สาย เพือ่ ตรวจดูว่าแปรงฟันสะอาดหรือยังสามารถรองรับ การใช้งานทั้ง iOS และ Android ดังรูปที่ 1 และ ไม้ เ ทนนิ ส อั จ ฉริ ย ะที่ เชื่ อ มต่ อ กั บ แอปพลิ เ คชั่ น บนมือถือแบบไร้สาย ส�าหรับการวิเคราะห์ท่าทาง ลักษณะการตีไม้เทนนิส รวมไปถึงค�านวณความเร็ว และความแรงของลูกเทนนิสที่ตี เป็นต้น


TECH FOCUS 53

1

Smart Component ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ให้ผลิตภัณฑ์มีรหัส ประจ�าผลิตภัณฑ์เสมือน รวมถึงเซนเซอร์และการ ประมวลผล การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล การควบคุ ม และ ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จะเก็บข้อมูลในระบบปฏิบัติ การสมองกลฝังตัวและการเข้าถึงผ่านระบบยูสเซอร์ อิ น เตอร์ เ ฟซที่ เ พิ่ ม หรื อ ผ่ า นทางแผงควบคุ ม ระยะไกล เป็นต้น

องค์ประกอบหลัก 3 ส่วนของผลิตภัณฑ์อัจฉริยะ

2

Connectivity พอร์ ต เสาอากาศและโปรโตคอลซอฟต์ แ วร์ ที่ ช ่ ว ยให้ ก ารเชื่ อ มต่ อ แบบมี ส ายหรื อ ไร้ ส ายกั บ ผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าสถานการณ์และสถานที่ใดๆ ก็ตาม ที่ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากแอปพลิเคชั่นและ เว็บไซต์ของลูกค้าได้อย่างสะดวกสบาย

3

Physical Component ชิ้ น ส่ ว นทางกายภาพและทางไฟฟ้ า ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ� า เป็ น ต้ อ งเปลี่ ย นแปลงการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ให้เป็นที่ยอมรับ โดยชิ้นส่วนทางกายภาพ และอุปกรณ์ส่วนไฟฟ้าจะมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มชิ้นส่วน ของวัสดุใหม่ๆ เข้าไปในส่วนประกอบหรือกระบวนการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการผลิ ต ที่ ท� า ให้ ผู้ ใ ช้ ง านเกิ ด ความ สะดวก โดยใช้ ข ้ อ มู ล และการวิ เ คราะห์ ข องบริ ษั ท ที่สามารถคาดการณ์พฤติกรรมผู้ ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ สามารถตีความหมายของข้อมูลและการคาดการณ์ ได้ ว ่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง กล่ า วนี้ ช ่ ว ยแก้ ป ั ญ หาความ ต้องการในปัจจุบนั และอนาคตได้อย่างไร ฟังก์ชนั่ ของ ผลิตภัณฑ์จะเป็นสิง่ ทีถ่ กู ควบคุมอย่างเข้มงวดมากขึน้

รวมไปถึงการเพิ่มประสิทธิภาพ ที่จ�าเป็นต้องเอาใจใส่ในส่วนของเวิร์กโฟลว์นวัตกรรมที่เชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของบริษัทเข้าด้วยกัน อาทิเช่น บ้านที่เชื่อมต่อกับรถยนต์และ เชื่อมโยงกับสมาร์ทซิตี้ โดยแต่ละสแต็คของการเชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งานแบบครบวงจรที่ควบคุมผ่านแพลตฟอร์มเดียวหรืออินเตอร์เฟซที่บูรณาการอย่างเต็มที่ และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างอัตโนมัติ

กำรสร้ำงสรรค์คุณค่ำ ของผลิตภัณฑ์อัจฉริยะจำกแก่นแท้ องค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ทีผ่ อู้ อกแบบ สามารถน� า ไปใช้ ย กระดั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สู ่ ส ถานะ ‘อัจฉริยะ’ ทั้งนี้ อาจเป็นการน�าองค์ประกอบทาง กายภาพของผลิตภัณฑ์แบบดั้งเดิมมาพัฒนาให้ ทันสมัยขึ้น โดยใช้ ‘ส่วนประกอบดิจิตอล’ ซึ่งส่วน ประกอบดิจิตอลเหล่านี้รวมถึงเซนเซอร์และการ ประมวลผล การควบคุมซอฟต์แวร์และการจัดเก็บ ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ ผ ่ า นทางอิ น เตอร์ เ ฟส และเชื่ อ มต่ อ กั บ IP ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ส ามารถ สื่อสารทุกๆ สถานที่หรือสภาพแวดล้อมทั่วๆ ไป โดยผลิตภัณฑ์อจั ฉริยะหมายถึงผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถ เชือ่ มต่อสือ่ สารกันระหว่างอุปกรณ์กบั อุปกรณ์หรือ อุปกรณ์กับผู้ใช้งานและต่อกับการบริการอื่นๆ กำรเข้ำใจลูกค้ำเป็นหัวใจหลักที่ส�ำคัญ ของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ข้อมูลที่ใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์อัจฉริยะจัดเป็น ข้อมูลแบบเชิงลึก ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากล�าบากที่จะน�า ข้อมูลเหล่านี้ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ลูกค้าสามารถ เข้าใจอย่างถ่องแท้ได้ การเอาใจใส่ต่อสิ่งนี้อย่าง จริ ง จั ง ในขั้ น ตอนการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เมื่ อ น� า จ�าหน่ายออกสู่ตลาด บริษัทที่มีผลิตภัณฑ์ที่ดีจะ สร้างความได้เปรียบแหงผลก�าไรมากกว่าบริษัท คู่แข่งได้อย่างแตกต่างชัดเจน ดังนั้น การก้าวไปสู่ เศรษฐกิจผลิตภัณฑ์อัจฉริยะการเข้าใจลูกค้าบริษัท จึงควรน�ามาเป็นวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

กำรสร้ำงประสบกำรณ์ กำรใช้งำนซอฟต์แวร์ให้กับลูกค้ำ การเพิ่มประสบการณ์ส�าหรับการใช้งานของ ลู ก ค้ า ที่ จ ะได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากคุ ณ ภาพของการ อินเตอร์เฟซแบบดิจิตอลของผลิตภัณฑ์อัจฉริยะ ที่ต้องค�านึงถึงการตอบสนองของลูกค้าต่อสินค้า ที่ สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลที่เ กี่ย วข้องกับการ ใช้งานของผลิตภัณฑ์ เช่น ไม้เทนนิสสมาร์ทที่มี การโต้ตอบกับแอปพลิเคชั่นที่จะติดตามการแกว่ง ทางกลศาสตร์ของมือและแขนในการเล่นเทนนิส เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น การอิ น เตอร์ เ ฟซนี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ผู ้ ออกแบบผลิตภัณฑ์อัจฉริยะไม่ควรมองข้าม เนือ่ งจากคุณภาพการปฏิสมั พันธ์ของซอฟต์แวร์ จะเป็ น สิ่ ง ประกั น ความส� า เร็ จ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ออกแบบ ทั้งนี้ การอินเตอร์เฟซจ�าเป็นต้องใช้ งานและปรับแต่งได้ง่ายอีกด้วย การใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีความแปลกใหม่และไม่ซ�้ากัน เพื่อให้แรงผลัก ดันนวัตกรรมอัจฉริยะใหม่ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง สม�่าเสมอ บริ ษั ท ฯ ควรน� า เทคโนโลยี เซนเซอร์ ต ่ า งๆ เข้ า มาประยุ ก ต์ ใช้ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งจุ ด แข็ ง ของ ธุ ร กิ จ เทคโนโลยี นี้ เพื่ อ ให้ ส ามารถเข้ า สู ่ ต ลาด ผูบ้ ริโภคอย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตามนักออกแบบ ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะ อย่าพยายามใส่ใจเทคโนโลยี ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละคุ ณ สมบั ติ ต ่ า งๆ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ มากจนเกินไปกว่าการจดจ่อกับความต้องการของ ลูกค้าเป็นหลัก ซึง่ อาจส่งผลต่อการใช้งานผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ม่เกิดความสะดวกสบายและไม่สอดคล้องกับการ ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย (Life Styles)

EXECUTIVE SUMMARY Cognizant’s Center for the Future of Work cooperating with Economist Intelligence Unit investigate design of the product and innovative more than 200 accounts which senior manager from U.S.A. and Europe has settled the development plan for smart product that succeed. The keys for success are smart product gave in - depth experience that the customer never met anywhere before and new smart product has a little / big changed from the old one or not. Product’s innovative could effect on benefit and profit but still lacking in term of mass income, also learning and product’s detail including sharing the conclusion of success together. issue 161 july 2016


54 REAL LIFE

คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ

ผู้อ�ำนวยกำรสถำบันไทย - เยอรมัน บริหำรงำน ดูแลทีมด้วยบทบำท ‘ครูผู้ให้’ และแนวคิด ‘KSA’ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

หนึ่ ง ชี วิ ต ของคนเรำล้ ว นมี เ ป้ ำ หมำยที่ ต ่ ำ งกั น ออกไป คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ก็เป็นอีกหนึ่งคนที่ วำงเป้ ำ หมำยชี วิ ต ไว้ ว ่ ำ ในหนึ่ ง ชี วิ ต จะต้ อ งกลั บ มำ พัฒนำบ้ำนเกิด ท�ำอะไรเพื่อส่วนรวม และเป็นฟันเฟือง เล็กๆ ในกำรขับเคลื่อนให้ประเทศเกิดกำรพัฒนำ จำกเป้ำหมำยเล็กๆ อันแสนยิง่ ใหญ่นเี้ อง จึงเป็นทีม่ ำ ส�ำคัญซึ่งท�ำให้ คุณสมหวัง ก้ำวเข้ำสู่กำรท�ำงำนใน สถำบันไทย – เยอรมัน หรือที่รู้จักกันดีในนำม TGI ใน ส่วนงำนบริหำรทัง้ ด้ำนเทคโนโลยีและกำรจัดกำรมำโดย ตลอด จนก้ำวเข้ำสู่ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยกำรสถำบันใน ที่สุด


REAL LIFE 55

พัฒนาเกิดขึ้นจริงได้ด้วยการเพิ่มความสมบูรณ์ด้าน วิศวกรรมและเทคโนโลยีการผลิต จนได้ต้นแบบและ กระบวนการผลิตที่น�าไปขยายผลเชิงธุรกิจต่อไปได้ โดยตั ว อย่ า งที่ ท� า ไปแล้ ว ที่ เ ด่ น ๆ มี ทั้ ง ใน อุตสาหกรรมชิน้ ส่วนและเครือ่ งมือแพทย์ อากาศยาน เครื่องจักรกลอัตโนมัติ และการประยุกต์ใช้ระบบ อัตโนมัติและหุ่นยนต์ ซึ่งโดยปกติผู้ประกอบการมี ความรู้ด้านเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์ตัวเองอยู่แล้ว แต่การผลิตให้ออกมาจนขยายผลในเชิงอุตสาหกรรม ได้ นั้ น สถาบั น ฯ สามารถช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ได้ ซึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการที่ ส นใจก็ ส ามารถเข้ า ไปดู ข ้ อ มู ล ความรู้ รวมถึงข่าวประชาสัมพันธ์ต่างๆ ในเว็บไซต์ www.tgi.or.th หรือบนเฟซบุก๊ www.facebook.com/ thaigermaninst ได้โดยตรง” จากบทบาท ‘ครู’ สู่ผู้บริหารที่มีแต่ให้ คุณสมหวัง ก�าเนิดและเติบโตที่จังหวัดชลบุรี ย้อนไปช่วงวัยรุน่ คุณสมหวัง มีความชืน่ ชอบในเรือ่ ง เครื่องยนต์กลไกมาตลอด จึงเลือกเข้าศึกษาในเส้น ทางสายอาชีวศึกษา จนกระทั่งส�าเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จึงตัดสินใจเข้ารับบทบาทครู เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่ ร�่าเรียนมาให้กับเด็กรุ่นต่อไป “หลังจากเรียนจบที่พระนครเหนือ ช่วงนั้นเป็น ช่วงทีป่ ระเทศไทยขาดแคลนครูผสู้ อน ผมจึงตัดสินใจ เข้าสอนในภาควิชาครุศาสตร์เครือ่ งกล สอนมาได้ 15 ปี ก็ รู ้ สึ ก ว่ า อยากจะกลั บ ไปท� า อะไรให้ บ ้ า นเกิ ด และ ส่วนรวมบ้าง เผอิญว่าสถาบันไทย - เยอรมัน เปิดรับ สมัครผมจึงได้รับต�าแหน่งผู้อ�านวยการฝ่ายทางด้าน CNC and CAD / CAM ช่วงท�างานระยะแรกทางสถาบันฯ เน้นการพัฒนา บุคลากร การฝึกอบรม เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี

ยกระดับสถานประกอบการอุตสาหกรรม คือ งานส�าคัญของสถาบันไทย - เยอรมัน สถาบันไทย - เยอรมัน จัดตัง้ ขึน้ โดยความร่วมมือ ระหว่างรัฐบาลไทย และรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถาบันฯ เป็น หน่วยงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตขั้นสูงมาสู่ภาคอุตสาหกรรมไทย คุณสมหวัง กล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า “เมื่อพูดถึง สถาบันไทย - เยอรมัน ยุทธศาสตร์หลักของสถาบันฯ คือ มุง่ เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนทีส่ า� คัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ อุตสาหกรรมเครือ่ งจักรกล และระบบอั ต โนมั ติ ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ โดยใช้กลยุทธ์ Networking คือ การสร้างพันธมิตรในการท�างาน ร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งตอนนี้เราได้สร้าง

เครื อ ข่ า ยกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ก ารเรี ย นการสอน เกีย่ วกับเทคโนโลยี รวมไปถึงผูจ้ ดั จ�าหน่ายเทคโนโลยี ทั้ ง หลาย ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ตอบรั บ นโยบายของรั ฐ บาล ในเรื่ อ งการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมใน S – Curve, New S - Curve และอุตสาหกรรม 4.0 หากมองในมุมผู้ประกอบการแล้ว สามารถน�า ประโยชน์จากสิ่งที่สถาบันฯ พัฒนาไปต่อยอดได้ หลายช่องทาง เพราะสถาบันฯ ของเราเกี่ยวข้องกับ เรื่องเทคโนโลยี ซึ่งสามารถช่วยผู้ประกอบการน�าไป พัฒนาธุรกิจของตนเองได้ เมื่อพูดถึงการพัฒนาเทคโนโลยีก็สามารถแบ่ง ได้เป็น 2 ส่วน คือ การพัฒนาบุคลากร และอีกส่วน คือ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เมื่อทุกภาคส่วน มุ่งไปที่การสร้างนวัตกรรมผ่านการวิจัยและพัฒนา สถาบันไทย-เยอรมันสามารถช่วยท�าให้แนวคิดในการ issue 161 july 2016


56 REAL LIFE

ในอุตสาหกรรมการผลิต ด้วยความที่เราเคยเป็นครู มาก่อน จึงมีความช�านิชา� นาญในการพัฒนาคน และ เข้าใจว่าคนแต่ละเจนเนอเรชัน่ มีความแตกต่างกัน ซึง่ เราก็สามารถน�ามาปรับใช้ในการพัฒนาสถาบันฯ ได้ มากว่า 20 ปี จนปัจจุบันได้รับต�าแหน่งผู้อ�านวยการ เราก็ยังสามารถน�ามาใช้ในการบริหารคนได้” จะกี่ยุคกี่สมัย การพัฒนาความรูท้ กั ษะในตัวบุคคล คือ สิง่ ส�าคัญ ด้วยภาระงานที่ต้องพัฒนาคน และให้ความรู้ใน เรื่องของเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท�าให้ คุณสมหวัง มองเห็นการเจริญเติบโตของวงการอุตสาหกรรมไทย อย่างต่อเนือ่ ง เกีย่ วกับเรือ่ งการพัฒนาและเติบโตของ วงการอุตสาหกรรมไทยจากอดีตมาจนปัจจุบันนั้น คุณสมหวัง เล่าให้ว่า… “ถ้าย้อนอดีตจะเห็นว่าการปฏิวัติอุตสาหกรรม แต่ละครั้งจะใช้เวลาเป็น 50 - 100 ปี แต่ตอนนี้ การเปลี่ ย นแปลงเร็ ว มาก ดั ง นั้ น เพื่ อ ตอบรั บ กั บ อุตสาหกรรม 4.0 จึงต้องขยับและปรับตัวให้เร็ว ณ ตอนนีส้ ถาบันฯ ก็มคี วามพร้อมในเรือ่ งต่างๆ มากมาย ในระดับหนึง่ ทัง้ เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ 3D Printing ฯลฯ ทัง้ นี้ ก็เพือ่ เตรียมพร้อมตอบสนองต่อการพัฒนา อุตสาหกรรม 4.0 ในประเทศไทยให้เจริญเติบโต ยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ตอนนี้ รั ฐ บาลต้ อ งการ พัฒนา New S - Curve หรือพัฒนาอุตสาหกรรมอนาคต อาทิ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรมการแพทย์ เป็นต้น ถึงแม้ทางสถาบันฯ ไม่ได้ดูแลโดยตรง แต่เราก็ ต้องท�าหน้าที่สนับสนุนได้ทั้งหมด เพื่อผลักดันให้ ประเทศได้มลู ค่าเพิม่ จากอุตสาหกรรมประเภทนีม้ าก ขึ้น โดยยึดหลักในการเริ่มต้นพัฒนาคนเพื่อพัฒนา อุตสาหกรรมต่างๆ อย่างเป็นล�าดับขั้น คือ ใช้เป็น ใช้เก่ง ซ่อมได้ ดัดแปลงได้ และสร้างได้ เพียงเท่านี้ก็ ช่วยให้เราสามารถพัฒนาตนเองจนสามารถทัดเทียม ประเทศอื่นๆ ได้ไม่ยาก” คุณสมหวัง กล่าว เข้าใจธรรมชาติของคน คือ Key Success ในการบริหารงาน เมื่อก้าวเข้าสู่การเป็นหัวเรือใหญ่ของสถาบัน ไทย - เยอรมัน อย่างเต็มตัว คุณสมหวัง ก็ยังคง

ยึดมัน่ กับการบริหารคนไปพร้อมๆ กับการบริหารงาน เหมือนดังเช่นที่เคยปฏิบัติมา เพราะเชื่อว่า ‘คน’ คือ ก�าลังส�าคัญที่สุดในการขับเคลื่อนองค์กร “คนเรามี ค วามหลากหลาย ทุ ก องค์ ก รต่ า ง ต้องการคนดี คนเก่ง และจะดีขึ้นไปอีก ถ้าคนๆ นั้น มีความสุข เก่ง ดี มีความสุข หากบุคลากรมี 3 สิง่ นี้ เขาก็จะท�างานได้ดี อยูไ่ ด้นาน จริงๆ การบริหารคนให้เก่งและดีนนั้ ก็ตอ้ งยึดหลัก KSA คือ Knowledge Skill และ Attitude ซึ่งหาก ย้อนมองแล้วภูมปิ ญ ั ญาคนไทยเรียงไว้อย่างชัดเจนว่า การพัฒนาคนจะต้อง สั่ง สอน ฝึก ฝน อบ รม แต่ละค�าล้วนมีความหมายในตัวเองทัง้ สิน้ ซึง่ แต่ละคน ก็ต้องใช้วิธีแ ตกต่างกัน สั่งอย่า งไร สอนอย่า งไร ฝึ ก ด้ ว ยวิ ธี ไ หน ฝนอย่ า งไรให้ แ หลม ท� า ให้ เร็ ว อบและรมอย่างไรจึงท�าให้เขาเป็นคนดี ผมคิดว่าการเป็นผู้น�านั้น ไม่ใช่แค่เพียงการออก ค�าสั่งให้ท�า แต่เราต้องท�าให้เขาเห็น จะเห็นบ่อยครั้ง ทีผ่ นู้ า� พูดนัน่ นี่ แต่ตวั เองไม่เคยปฏิบตั สิ กั ครัง้ มันก็ไม่ สัมฤทธิ์ผล ดังนั้น ต้องท�าให้เห็น เช่น พนักงานต้อง แตะบัตรก่อนเข้างาน เราก็ตอ้ งท�า ซึง่ ตัวผมเองตัง้ แต่ ต้นจนถึงปัจจุบนั ก็ยงั คงแตะบัตรเวลามาท�างาน ทัง้ นี้ ก็เพราะต้องการเป็นต้นแบบให้เขาเห็น การบริหารคนในเรือ่ งการพัฒนาความรูไ้ ม่ใช่เรือ่ ง ยากเลย เราสอนเขา 1+1 เท่ากับ 2 แต่ถ้าเขาบวกผิด เราบอกว่าเป็น 3 เขาเปลีย่ นใหม่ได้ทนั ที การฝึกทักษะ ต้องฝึกให้ถกู ตัง้ แต่ตน้ เพราะถ้าผิดแล้วแก้ยาก แต่สงิ่ ที่ยากที่สุดก็คือเจตคติ ดังนั้น ในทุกๆ เรื่องหากเขา เห็นผู้น�าปฏิบัติแล้วเขาเกิดความประทับใจ ที่สุดแล้ว เขาก็จะเปลี่ยนตัวเองให้ท�าตามในสิ่งที่ถูกที่ควรได้ใน ที่สุด” คุณสมหวัง กล่าวทิ้งท้าย กว่า 15 ปีในรั้วมหาวิทยาลัย มาสู่การเป็น ผูบ้ ริหารใหญ่ในสถาบันไทย - เยอรมัน ระยะเวลา รวมแล้วมากกว่า 30 ปี จะเห็นได้ว่า คุณสมหวัง คือ หัวเรือใหญ่ที่ไม่ได้ยึดติดกับค�าว่า ‘เจ้านาย’ หากแต่ยังคงมุ่งพัฒนาคนให้เก่ง ดี และมีความ สุข ด้วยหัวใจของความเป็น ‘ครู’ อย่างครบถ้วน เพราะเขาเชื่อว่าความสุขจะช่วยพัฒนาคน และ คนจะพัฒนาตนเองถึงขีดสุดเมื่อการท�างานโอบ ล้อมด้วยความสุขนั่นเอง

EXECUTIVE SUMMARY Mr.Somwang Boonrakcharoen is a man who aimed his life’s goal to come back to develop his mother land, make an action for the community and also want to be a tiny gears that drive the country to develop. Started from this little big goal, it’s an important cause that made Mr.Somwang step into Thai – German Institute or known as TGI in the part of administration whether technology or management all along until he became the president of TGI at last. More than 15 years in university work to the chief executive of TGI with total work experience more than 30 years, Mr.Somwang is a head who’s not stick with the word ‘Boss’ but he’s also focus on human to be an expert, good will and happy with the heart of ‘teacher’ completely. He believes that happiness will develop people and people will develop themselves to reach their limit when work environment is full of happiness. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย RENEWABLE ENERGY

57

IFAT

& ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK งาน ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK ที่ศูนย์การ ประชุมไบเทค บางนา ประเทศไทย กับงาน IFAT ที่นครมิวนิค ประเทศเยอรมนี ต่างเป็นงานแสดงเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม และพลั ง งานทดแทนทั้ ง ระดั บ ประเทศและระดั บ โลกกั น เลย ที เ ดี ย ว ส� า หรั บ งาน IFAT สามารถดึ ง ดู ด ผู ้ น� า ธุ ร กิ จ ระดั บ ต้นๆ ของประเทศไทยที่ใส่ใจเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมและ พลังงานได้อย่างมากมายเลยทีเดียว มีการจัดงานทุกๆ 2 ปี ซึ่งพอเหมาะกับการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ส่วนงาน ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK นั้ น จั ด ทุ ก ปี เรามาลอง วิเคราะห์เจาะลึก 2 มหกรรมงาน Trade Show ระหว่างยักษ์ใน ภูมิภาคกับยักษ์ระดับโลกแบบไม่เกรงใจผู้จัดงานว่าความเห็น ผู้เขียนกับท่านจะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

ปี นี้ ค รบรอบวั น เกิ ด 50 ปี ของ IFAT (ไอแฟท) พอดี ขอหยิ บ ยกความส� า เร็ จ มา เล่าสู่กันฟัง งาน IFAT เริ่มจัดแสดงเทคโนโลยี แบบงานแสดงสินค้าครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 – 9 กันยายน ค.ศ. 1966 หรือเมื่อ 50 ปีที่แล้ว ในครั้งนั้นมุ่งเน้นเทคโนโลยีการบ�าบัดน�้าเสีย จากภาคอุตสาหกรรม

มุ่งเน้นการรักษาความสะอาดบนท้องถนน และท่อระบายน�้า โดยมีการแสดงรถกวาดถนน และรถท�าความสะอาดท่อระบายน�้ากันเป็นส่วนใหญ่

สู่ยุคของพลังงานทดแทนใหม่ ๆ อาทิ เทคโนโลยีชีวภาพ และการใช้ความร้อน ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ Waste to Energy

ค.ศ. 1980

ค.ศ. 2000

ค.ศ. 1970

เน้นทางด้านรีไซเคิล น�าของเสียกลับมาใช้ใหม่

ค.ศ. 1990

หันกลับมาด้าน Water Supply ให้ความส�าคัญด้านน�้า

ก้าวสู่โลกของนวัตกรรม จัดที่นครมิวนิค ระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน 2016

ค.ศ. 2010

ปัจจุบัน ค.ศ. 2016

เริ่มขยายการจัดงานไปยังต่างประเทศ เช่น ประเทศจีน อินเดีย ตุรกี แอฟริกาใต้

issue 161 july 2016


58 RENEWABLE ENERGY

คนในแวดวงพลังงานและสิ่งแวดล้อมจึงมีความรู้สึกว่าเคย ได้ยินชื่องาน IFAT ที่เยอรมนีมาตั้งแต่เริ่มท�าธุรกิจ หลายๆ ท่าน เคยไปเยือน IFAT ทีเ่ ยอรมนีตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1980 สมัยรถกวาดถนน เริม่ เฟือ่ งฟูและไหลเข้าสูป่ ระเทศไทยให้ทา่ นเห็นจนถึงในปัจจุบนั งาน IFAT อาจจะเป็นมาตรวัดกระแสโลกด้านเทคโนโลยี หรือ ตัวกลางในการสร้างกระแสเทคโนโลยี ไม่วา่ IFAT จะเป็นอะไรแต่ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่น�ามาแสดงในงานนี้มักจะกระจายสู่ลูกค้าทั่ว โลกอย่างรวดเร็ว ซึ่งหลายๆ ผลิตภัณฑ์ก็แจ้งเกิดที่นี่ ว่ากันแต่เรือ่ งดีๆ ของ IFAT มาดูขอ้ เสียกันบ้าง แน่นอนทีส่ ดุ ก็คือ โรงแรมในมิวนิคพลอยแพงกันไปหมด แบบที่พอพักได้ ก็ต้องนั่งรถไฟใต้ดิน 1 ชั่วโมงจากสถานที่จัดงาน ราคาห้องพัก คืนละประมาณ 10,000 บาท พักไม่กี่คืนก็เท่ากับค่าตั๋วเครื่อง บินไปกลับเลยทีเดียว IFAT ช่วงหลังๆ จัดที่นครมิวนิคมาตลอด ใครไปดูงานเป็น ประจ�าก็จะสามารถจ�าทางได้เลยทีเดียว ภายในงานประกอบ ด้วย อาคารขนาดใหญ่ประมาณ 18 อาคาร มีการแบ่งแยกตาม เทคโนโลยีอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังมีส่วนนอกอาคารพร้อม การสาธิตอีกจ�านวนหนึ่งที่น่าสนใจมาก หากท่านจะไป IFAT ประการแรกที่จะต้องพร้อม คือ พื้นฐานด้านไอที เนื่องจากการ ลงทะเบียนทุกอย่างใช้ระบบไอที แต่ก็ยังมีเอกสารที่พิมพ์แจก

ข้อมูลเชิงเทคนิค ส�ำหรับผู้สนใจสั่งน�ำเข้ำมำสร้ำงนวัตกรรมให้คนไทย ขนาดของ Solar Pack

14 ลูกบาศก์เมตร

กว้าง × ยาว × สูง (เมตร)

2.3 × 5.57 × 2.33 เมตร

น�้าหนักถังเปล่าพร้อมอุปกรณ์

5 ตัน

น�้าหนักรวมประมาณ

5.6 ตัน

Power per Panel

250 วัตต์

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมัน มีของช�าร่วยประเภทถุงผ้า และถุงสะพายสวยงามน่าใช้แจกกันตลอดงาน ส่วนปากกาและ ของช�าร่วยนั้นมีแทบทุกคูหา บางบริษัทท�าเก๋ แจกแอปเปิ้ลเขียว พิมพ์ชื่อบริษัทตัวเองอีกด้วย ถ้าขยันหยิบมีหวังได้ซื้อกระเป๋า เดินทางใหม่แน่นอน หากไปเยอรมนีแล้วลองอุดหนุนกระเป๋า เดินทางยีห่ อ้ RIMOWA ดูจะรูว้ า่ ราคาสูงกว่าตัว๋ เครือ่ งบินเสียอีก แต่แข็งแรงแบบ Made in Germany ต่อไปจะขอแนะน�าเทคโนโลยี ด้านสิ่งแวดล้อมพลังงานให้ท่านที่สนใจได้มีโอกาสต่อยอดใน เมืองไทยสัก 2 - 3 เทคโนโลยี ดังต่อไปนี้ 1. ถังรองรับขยะชุมชนตั้งพื้นแบบอัดด้วยพลังงานเซลล์ แสงอาทิตย์ (Solar Pack) แนวคิดแบบนี้ Made in Germany แน่นอน สามารถเคลือ่ นย้ายได้สะดวก เนือ่ งจากมีขนาดเดียวกับ รถที่เทศบาลต่างๆ ใช้กันอยู่ ความจริงแล้วเทคโนโลยีไม่สูงนัก แต่ออกแบบและออกตลาดได้ถกู ต้องตามเวลาพอดีกบั ราคาของ โซล่าร์เซลล์ที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ในราคาไม่ต่างจากค่าไฟบ้าน ทั่วไป และมีแนวโน้มว่าจะถูกกว่าไฟฟ้าบ้านเรือนในช่วงพีคใน อีกไม่กี่ปีนี้ ถังอัดขยะชุมชนแบบตั้งพื้นนี้สอดคล้องกับนโยบาย ท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานในปัจจุบันของไทยพอดี คือ มีระบบกักเก็บพลังงาน Energy Storage สามารถใช้พลังงาน ได้ตลอดเวลาแม้ยามค�่าคืน


RENEWABLE ENERGY 59

2. ระบบแปลงขยะเป็นเชื้อเพลิง RDF: Refuse Derived Fuel วันนี้คงเป็นเวลาของพลังงานขยะ Waste to Energy ท่ า นที่ ไ ปชมอาคาร Recycle และการจั ด การของเสี ย จะ เห็ น ได้ ว ่ า มี ก ารแสดงเทคโนโลยี ก ารปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ของเสี ย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ขยะชุ ม ชนให้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง คุ ณ ภาพดี ค วามร้ อ นสู ง เกื อ บทั้ ง อาคาร จากหลากหลาย เทคโนโลยี ทั่ ว โลก ใครที่ ยั ง ใช้ วิ ธี เ ดิ ม ๆ เผาขยะสดๆ ไม่ได้คัดแยกขยะ อาจได้ไฟฟ้าก็น้อยแถมด้วยไดออกซินก็มาก ลองศึกษาการแปลงขยะเป็นเชื้อเพลิง RDF ดู แท้จริงแล้วการแปลงขยะเป็นเชื้อเพลิง RDF เป็นกระบวน การย่อยลดขนาดของขยะลงและแยกประเภทที่ไม่ซับซ้อนอะไร มาก ความส�าคัญอยูท่ คี่ ณ ุ ภาพของเครือ่ งจักรกลทีใ่ ช้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเครื่องย่อยขยะ ซึ่งต้องมีความแข็งแรงและทนทาน สามารถใช้งานต่อเนือ่ งตลอด 24 ชัว่ โมง ได้เป็นเวลาหลายๆ วัน โดยไม่หยุดพัก เนื่องจากขยะเข้ามาตลอดเวลา ผ่านจากเครื่อง ย่อยก็ต้องมีระบบคัดแยกต่างรูปแบบกันไป ทั้งอาศัยแรงหมุน เหวีย่ ง (Trommel) หรือแบบใช้ตะแกรงร่อนแยกขยะอินทรียอ์ อก จากขยะที่เป็นเชื้อเพลิง และจบลงด้วยการคัดแยกขยะด้วยแรง ลม เพือ่ แยกขยะทีม่ ขี นาดและน�า้ หนักแตกต่างกัน ขยะชุมชนใน ประเทศไทยโดยทั่วไปแล้วมีองค์ประกอบไม่แตกต่างกันมากนัก หลังจากคัดแยกแล้วก็จะมีส่วนที่เป็นขยะอินทรีย์ประมาณ 50% ขยะเชื้อเพลิงประมาณ 35 - 40% ที่เหลือเป็นขยะที่รีไซเคิลได้ และ Inert Waste ส่วนค่าความร้อนขยะสดก่อนคัดแยกประมาณ 1,000 kCal/kg หลังจากคัดแยก ค่าความร้อนอาจสูงขึน้ ถึง 4,000 kCal/kg อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีเครื่องจักรดีๆ แล้วก็อย่าลืม หลัก 3R บรมครูของการจัดการขยะ นั่นคือ Reduce Reuse และ Recycle ด้วย

งาน Entech Pollutec จัดโดย UBM ปีนี้ปรับเปลี่ยนชื่อจน ลูกค้าเก่าๆ ไปงานไม่ค่อยถูก ต่างกับ IFAT 50 ปี ที่คงชื่อเดิม ความหลากหลายภายในงานปรับเปลีย่ นได้ แต่ชอื่ นัน้ ส�าคัญมาก อย่าไปห่วงเรื่องความหมายจนเกินไป งาน ASEAN Sustainable Energy Week หรือ Entech Pollutec เดิม จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 – 4 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ปีนี้อาจจะขาดความหลากหลายไปบ้าง เนื่องจากกลุ่มพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์ตา่ งเข้ามาจับจองพืน้ ทีก่ นั อย่างมากมาย สังเกต จากพื้นที่ในโซนของพลังงานทดแทนกว่า 80% เป็นเรื่องราว ของ Solar Cell หรือพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ มีตั้งแต่คนขาย อุปกรณ์ติดตั้งแผงเซลล์ ซึ่งล้วนสั่งอุปกรณ์จากต่างประเทศ ส่วน ชุด Inverter และแผงเซลล์เกือบ 100% น�าเข้าแบบไม่ต้องเสีย ภาษี เนื่องจาก BOI สนับสนุนให้อยู่ในเป้าหมาย A1 และท�า ก�าไรน�าเงินส่งกลับประเทศผู้ผลิตได้ รัฐคงต้องก�าหนดมาตรการ สนับสนุนอุตสาหกรรมของไทยบ้าง เนื่องจากพลังงานเซลล์ แสงอาทิตย์เป็นพลังงานยิ่งใหญ่และมีอนาคตไกล ประเทศไทยเป็นลูกค้าซือ้ เทคโนโลยีมาช้านาน หากรัฐจะ ส่งเสริมให้มกี ารวิจยั พัฒนา คงจะต้องเลือกเทคโนโลยีทไี่ ทย เรามีจดุ แข็ง มิฉะนัน้ แล้วงบประมาณในการวิจยั พัฒนาไม่วา่ จะเพิ่มอีกเท่าไหร่ ก็จะถูกนักวิจัยหน้าเดิมๆ เอาไปเพิ่มราย ได้ให้ตนเอง และทิ้งความล้มเหลวไว้ให้กับนักวิจัยรุ่นหลังๆ เหมือนอย่างในปัจจุบัน

EXECUTIVE SUMMARY The ASEAN Sustainable Energy Week (ASE) which held in Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC) in Thailand and IFAT which held in Munich, Germany are both environmental technologies and renewable energy exhibitions for national and world class. IFAT could be measure the world technologies’ trends and it could spread widely to the customers all over the world. In this year, the renewable energy technology which may apply and suitable for Thailand is the Solar Trash Compactor from Solar Pack Company. The Solar Pack is easily to relocate and the size is similar to the common trash use in Thai local municipalities. It also has energy storage to operate all day long, even night time which in harmonious with strategy from present Thailand Energy Minister. For ASEAN Sustainable Energy Week, renamed from Entech Pollutec has been lacked of varieties for this year since 80% of the renewable energy zone is solar cell. All of the solar cell equipment were importing from other countries that enjoy the BOI privilege as the A1 list. However, solar energy is the great energy and also has the fruitful future. The government should support the new research and development in Thai renewable energy technologies research team more in order to reduce the unsuccessful projects. issue 161 july 2016


60 EXCLUSIVE TALK เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

ชี้ทางรอดวิศวกรไทย

เติบโตอย่างไร ในยุค AC

ศาสตราจารย์ ดร.สุ ชัช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ นายกวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ใน พระบรมราชู ป ถั ม ภ์ (วสท.) และ อธิ ก ารบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวแสดงปาฐกถาพิเศษ ใน งานสัมมนาและแสดงนิทรรศการเทคโนโลยีด้าน การบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ (Condition Based Maintenance) ประจ�าปี ซึ่งจัดโดย สถาบันไทยเยอรมัน ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี เมื่อเร็วๆ นี้ จากปาฐกถาพิเศษดังกล่าว ศาสตราจารย์ ดร.สุชัชวีร์ ได้กล่าวว่า “ผมถือว่าอาชีพทางด้าน วิ ศ วกรรม เป็ น ตั ว แทนสายอาชี พ ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ในด้านของการพัฒนาประเทศ ดังนั้น จึงจ�าเป็น ที่ จ ะต้ อ งผลั ก ดั น ให้ วิ ศ วกรไทยขึ้ น มามี บ ทบาท มากกว่าเดิม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุค AC (ASEAN Community) ทั้งนี้ เพื่อให้ประเทศไทยได้ก้าวสู่การ เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างที่คาดหวังไว้เสียที” ทุกวันนี้ ประเทศเราก�าลังมีปัญหาเรื่องราคา ยางพารา เพราะเมื่อวันที่ยางพาราราคาสูง ทุกคน ก็สนับสนุนให้มาปลูกยางกัน ก็เลยพากันปลูกทั้ง ประเทศ พอคนขายมาก คนซือ้ น้อย ราคาก็ตกเป็น เรือ่ งธรรมดา แต่ทนี่ า่ แปลก คือ ประเทศไทยส่งออก ยางพาราเป็นอันดับ 1 ของโลก ภายใน 20 ปี เรา ส่งออกยางพาราประมาณ 4 ล้านตัน อันดับ 2 น่า จะเป็นมาเลเซีย หรือไม่กอ็ นิ โดนีเซีย แต่เชือ่ ไหมว่า รายได้ของการปลูกยางพาราของประเทศไทย รวม กับประเทศอินโดนีเซียแล้ว เท่ากับมูลค่าของบริษทั มิชลินบริษทั เดียว ซึง่ ไม่นา่ เชือ่ ว่า คน 200 กว่าล้าน คนท�ามาหากิน แต่มูลค่าเทียบเท่ากับบริษัทเดียว ซึ่งมีคนประมาณสักหมื่นคนเท่านั้นเอง ... ค�ำถำม คือ มันเกิดอะไรขึ้นกับประเทศไทย? นายก วสท. ยังได้กล่าวต่อไปว่า ประเทศไทย เป็นประเทศทีม่ ที รัพยากรสมบูรณ์ มีแรงงานทีร่ าคา ไม่แพง รวมทั้งแรงงานวิศวกร ซึ่งถือเป็นแรงงาน ชั้นที่1 แต่มีราคาค่าแรงที่ค่อนข้างต�่าเมื่อเทียบกับ ประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือแม้แต่ประเทศมาเลเซีย เราเน้นแต่ขายของที่เป็นวัตถุดิบ เราส่งยางออก 35 บาท แต่ยางรถยนต์กลับมาหาเรา เส้นละเป็น พัน หรือเป็นหมืน่ ก็มี หรือยางทีเ่ ป็นเทคนิค ขายกัน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

สิ่งเดียว

ที่อยากให้ทุกคนมี คือ จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้ (Fighting Spirit) ถ้าเกิด เราไม่สู้ ไปข้างหน้า ถ้าเราไม่ พัฒนาตัวเองอย่างมีวินัย ประเทศไทยก็จะไม่สามารถ แข่งขันกับใครได้ และไม่มีวันได้เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้วได้สักที

เส้นละเป็นล้านหรือหลายล้าน... นีม่ นั เกิดอะไรขึน้ ... แสดงว่าวิศวกรบ้านเราไม่ได้ทา� งานอย่างนัน้ หรือ...? ผมเองในฐานะวิศวกรคนหนึง่ ขอพูดตามตรงว่า ประเทศไทยไม่ มี วิ ศ วกรนะครั บ มี แ ต่ Worker เพราะวิศวกร หมายถึง คนที่มีความรู้ มีความคิด สร้างสรรค์ในการออกแบบ พัฒนาให้ดีขึ้น เรามี แต่คนท�างาน ท�าตามคัมภีร์ เรารู้ว่าจะท�าอย่างไร แต่ไม่รู้ว่าจะพัฒนาให้ดีกว่าได้อย่างไร หากไม่เชื่อ ลองส�ารวจรอบตัวเรา ข้าวของเครื่องใช้ทางเทคนิค ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ แว่นตา หรือกระทั่งนาฬิกาที่ทุกคนใส่ มีอะไรบ้างที่ท�าใน ประเทศไทย หรือเป็นฝีมือ มันสมองของคนไทย ทั้งๆ ที่วัสดุหลายอย่างนั้นมาจากเมืองไทยแทบ ทั้งสิ้นเลย ที่กล่าวเช่นนี้ ไม่ได้จะบอกว่าคนไทยไม่เก่ง แต่ ป ั จ จุ บั น สิ่ ง ที่ ป ระเทศไทยขาดไม่ ใช่ บุ ค ลากร


EXCLUSIVE TALK

คนไทยเก่ง ไม่แพ้ชาติใดในโลก แต่สงิ่ ทีป่ ระเทศไทย ขาด และขาดในยุ ค ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด อย่ า งยุ ค AC ก็คือ Fighting Spirit พวกเราไม่ได้เกิดมาเพื่อต่อสู้ อะไรเลย มีใครรู้บ้างว่าวิสัยทัศน์ของประเทศไทย คืออะไร ? ขออนุญาตยกตัวอย่างประเทศเกาหลี เขามี วิสยั ทัศน์เพียงประโยคเดียว ทีเ่ ปลีย่ นแปลงประเทศ ทั้งหมด นั่นคือ “เรำจะแพ้ญี่ปุ่นไม่ได้” แล้วพวก เขาก็ท�าตามวิสัยทัศน์นั้น ญี่ปุ่นเคยเป็นสุดยอด ของโลก ใครจะเชือ่ ว่าในวันนี้ ยอดขายโทรทัศน์กว่า 70% เป็นของเกาหลีหมดแล้ว สมัยที่ผมเรียนอยู่ที่สหรัฐอเมริกา มีข่าวพาด หัวในหนังสือที่ส�าคัญทางด้านเศรษฐกิจของโลก ด่าซีอโี อของ SAMSUNG ยับเยิน บอกว่า SAMSUNG ตัดสินใจผิดพลาดทีส่ ดุ ทีน่ า� เอาสินค้าออกจาก Wall Mart ไปขึ้นห้างฯ แข่งกับพวก Philips, Electrolux, Sony อยู่ตลาดล่างก็ดีอยู่แล้ว ขึ้นมาตลาดบนจะ สู้ได้อย่างไร ผมยังจ�าค�าติฉินนินทาประธานบริษัท ซัมซุงครั้งนั้นได้ดี ตอนนั้ น ประธานซั ม ซุ ง บอกว่ า “เรำจะอยู ่ อย่ำงนี้ต่อไปไม่ได้ เรำต้องขึ้นไปเป็นเบอร์ 1 ของโลก” ทุกคนหัวเราะกันแทบทั้งโลก แล้ววันนี้ยังจะมี ใครจะกล้าหัวเราะเยาะเขาบ้าง เกาหลีมีอะไรที่มากกว่าไทยงั้นหรือ? ไม่มีเลย ครับ… คนไทยไม่เคยเรียนแพ้คนเกาหลีเลย แต่ที่ เกาหลีมีมากกว่าพวกเราทุกคน คือ Fighting Spirit พลังจิตวิญญาณของการต่อสู้ สิ่งที่ผมพูด จุดประสงค์เดียว คือ อยากให้ทุก คนรู้ว่า ถ้าเกิดเราไม่สู้ไปข้างหน้า ประเทศไทยก็ เป็นแบบนี้ ประเทศเราไม่ได้อยู่ในสายตาประเทศ ที่พัฒนาแล้วเลย ไม่ว่าท่านจะเป็นศาสตราจารย์ อภิมหาเศรษฐีแค่ไหน แต่ถ้าท่านอยู่ในประเทศ ที่สุดท้ายแล้ว เราไม่ได้มีความภาคภูมิใจเต็มที่ คือ คนเขามองเรามาอย่างนั้น เวลาญี่ปุ่น เกาหลี มา ประเทศเรา เรามองเขาดีไปหมด ทั้งที่คนๆ นั้นเขา เรียนอะไรมาก็ไม่รู้ แต่เรามองภาพรวมของประเทศ หากในวันนี้ ท่านกลับไปแล้วท่านก็เฉยๆ ก็ ท�างานทุกอย่างตามปกติ หรือไม่คิดที่จะพัฒนา งานของตั ว เอง หรื อ พั ฒ นาตั ว เองให้ ดี ขึ้ น กว่ า ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย นั่ น ก็ แ ล้ ว แต่ แต่ อ ย่ า ลื ม ว่ า ประเทศไทยอยู่ในก�ามือท่านแล้ว อย่าคิดว่าคน เดียวเปลี่ยนแปลงโลกไม่ได้ ดูอย่างพระพุทธเจ้า หรือไม่กพ็ ระเยซู พระองค์ทา่ นเริม่ ท�างานตอนอายุ 30 สิ้นพระชนม์ตอนอายุ 33 พระเยซูท�างาน 3 ปี แล้วท่านดูคริสตจักรที่มีคนนับถือทั่วโลก ไม่ต้อง ท�างานนาน ก็กลายเป็นผู้ย่ิงใหญ่ในประวัติศาสตร์ เพราะฉะนั้ น คนเดี ย วเปลี่ ย นแปลงโลกได้ นโปเลี ย น จากลู ก คนยากจนกลายเป็ น จอม จักรพรรดิแห่งฝรัง่ เศส ออง ซาน ซูจี คนเดียว ท�าให้ พม่าเปลี่ยนแปลงจนถึงทุกวันนี้ เราเกิดมาในสมัยข้าวตกต�า่ แล้วชาวนาประท้วง แล้วเรายังอยูใ่ นสมัยทีร่ าคายางตกต�า่ แล้วชาวสวน ยางประท้ ว ง เราจะอยู ่ ใ นสภาพนี้ กั น อี ก เท่ า ไร

61

ในชีวิตผม

ยังคงมีอีกหนึ่งความฝัน คือ ลมหายใจสุดท้ายที่ผมอยู่บนโลกนี้ ผมขอตายในสถานะพลเมืองชั้น 1 ของโลก นั่นคือ วันที่ผมตาย ประเทศไทยต้องเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว

อีก 10 ปีข้างหน้า ก็จะมีเรื่องแบบนี้อยู่อีกเหรอ? ประเทศไทยประกาศว่าจะผลิตรถยนต์ปีละ 2 ล้านคัน เครื่องยนต์และการดีไซต์ เราท�าได้ไหม หรือแม้แต่รถยนต์บางประเภทจะซ่อมแซมก็ต้อง ไปซ่อมที่สิงคโปร์ วิศวกรรมอากาศยานเราผลิต กันเต็มที่ แต่สุดท้ายเรียนจบมาก็ไปท�างานโรงงาน รถยนต์ เพราะว่าอุตสาหกรรมต้นน�้าไม่เกิด ไม่ใช่ ความผิดพวกเรานะ รัฐบาลเองก็ไม่ได้ให้ความ ส�าคัญเท่าที่ควร ภาคอุตสาหกรรมก็ไม่เคยสนใจ เรื่องงาน R&D อย่างจริงจัง เพราะเห็นว่างาน R&D นั้นเป็น Costs ไม่ได้เห็นว่าเป็น Investment อย่างไรก็ตาม ศาสตราจารย์ ดร.สุชชั วีร์ ยังได้ กล่าวว่า ทัง้ หมดนีผ้ มไม่ได้พดู ให้ทกุ ท่านเสียก�าลังใจ เพราะผมเองบ่นทุกวัน แต่ก็ไม่ท้อ เพราะผมเดิน ไปข้างหน้าทุกวัน บทบาทเราตอนนี้ ถือเป็นผู้น�า อาเซียน เพราะเรามีทุกอย่างแล้ว แต่เรายังสื่อสาร ไม่ดี ถ้าเกิดใครยังเห็นว่าภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่ น่ากลัว อย่ากลัวเลย เพราะเชื่อไหมว่า… ผมสอบ โทเฟลทั้งหมด 14 ครั้ง ผมเคยมีความอ่อนแอด้าน ภาษาอย่างมาก แต่ปัจจุบันสามารถ ฟัง พูด เขียน ได้เต็มที่ เพราะว่าผมมี Fighting Spirit ผมไม่ยอม ให้ประเทศไทยต้องไปนั่งก้มหน้าเงียบๆ อีกต่อไป ผมอ่านหนังสือวันละ 16 ชั่วโมงสมัยเรียน ไม่ ต้องพูดถึงตอนอยู่ MIT (สถาบันเทคโนโลยีแมสซา ชูเซตส์) ผมแทบไม่ได้นอนเลยทั้งอาทิตย์ ปัจจุบัน ผมยังฝันอยู่เลยว่าผมเรียนไม่จบ เพราะมันท�างาน หนักจนเข้าไปในส่วนลึกของสมองแล้ว อาจจะไม่ใช่ เรื่องดีต่อสุขภาพ แต่ถ้าไม่อ่านขนาดนี้ก็ไม่รอด เพราะต้องไปเจอที่ 1 ของจีน ที่ 1 ของสหรัฐอเมริกา รอยหยั ก ในสมองเขาก็ ม ากกว่ า เรา แถมขยั น กว่าเราอีก

ผมไม่ได้บอกว่าตัวเองฉลาดกว่าใคร แต่ ก�าลังจะบอกว่า นัน่ คือ วินยั ทีเ่ ราใช้พฒ ั นาตัวเอง ผมตั้งใจมางานนี้ เพราะอยากจะพูดกับคนที่ ส�าคัญที่สุดในประเทศหรือในโลกด้วยซ�้า นั่นคือ วิ ศ วกรทุ ก ท่ า น และ สถาบั น ไทย - เยอรมั น ที่ ถื อ ว่ า เป็ น สถาบั น ที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ มี ค วาม เป็นเลิศ ที่จะน�าพาไทยนั้นต่อสู้กับโลกภายนอกได้

EXECUTIVE SUMMARY Prof. Dr. Suchatchavee Suwansawat, Chief of The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) and The President of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) has a speech in seminar and exhibition in Condition Based Maintenance Technology 2016 annual, arranged by Thai – German Institute (TGI) at Amata Nakorn Industrial Park, Chonburi “I counted that engineering profession is representative of the most important career in term of country’s development. Thus, Thai engineering should be push into more participating role, particularly in the ages of ASEAN Community (AC) to drive Thailand to become a developed country as we expect at last” “Now, Thailand aren’t lacking of good quality staff, Thais are skillful against all over the world but Thailand are lacking of the most valueable core, Fighting Spirit!” issue 161 july 2016


62 GREEN ZONE TECHNOLOGY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

ENVIRONMENTAL

MANAGEMENT DASHBOARD

เครื่องมือติดตามการใช้พลังงานตามเป้าหมาย ปฏิเสธไม่ได้ว่าความยั่งยืนในการด�าเนินธุรกิจทุกวันนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การ บริหารจัดการให้องค์กรมีก�าไร หรือมีตัวเลขผลประกอบการที่ดี หากยังต้อง ค�านึงถึงความยั่งยืนด้านอื่นๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากร สิ้นเปลืองต่างๆ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และแน่นอนรวมถึงการ บริหารจัดการด้านพลังงานด้วยเช่นกัน ซึ่งแทบทุกองค์กรในปัจจุบันล้วนแต่มี การก�าหนดเป้าหมายในการลดใช้พลังงานอย่างชัดเจน บริษทั สแตนลีย์ อิเล็กทริก จ�ำกัด หนึง่ ในหลายๆ องค์กรทีใ่ ห้ความส�าคัญ กับการลดใช้พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม มีการก�าหนดนโยบายทีจ่ ะลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกภายใต้การก�ากับดูแลสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในระยะยาว ทัง้ ยังจัดตัง้ โครงการต่างๆ ทีม่ เี ป้าหมายเพือ่ ลดการใช้พลังงานให้เกิดขึน้ ในทุก พื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นส�านักงานหรือโรงงาน ดังนั้น เพื่อให้บรรลุได้ตามเป้าหมาย สแตนลีย์ อิเล็กทริก จ�าเป็นต้องก้าวข้ามความคุน้ ชินและเปลีย่ นวิธคี ดิ ของผูค้ น ทีท่ า� งานอยูใ่ นพืน้ ทีจ่ ริงให้ใส่ใจทุกครัง้ ทีใ่ ช้พลังงาน และค�านึงหาหนทางในการ ลดการใช้พลังงาน ซึ่ง FUJITSU Sustainability Solution Environmental Management Dashboard คือ ค�าตอบ! MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

FUJITSU Sustainability Solution Environmental Management Dashboard ได้รับการพัฒนาโดยฟูจิตสึ บริษัทญี่ปุ่นชั้นน�าด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ที่มีผลิตภัณฑ์ โซลูชันและบริการทาง เทคโนโลยีครบวงจร ตระหนักดีถงึ ข้อจ�ากัดต่างๆ ในการลดใช้พลังงาน ดังนัน้ จึงได้สร้างระบบที่ทุกคนในบริษัทสามารถมองเห็นความคืบหน้าในการลดใช้ พลังงาน และติดตามการใช้พลังงานได้ โดยสามารถตรวจสอบติดตามข้อมูล ได้ในระดับรายชั่วโมง รายวัน หรือตามที่ต้องการ เพื่อให้สามารถด�าเนินการ ตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ สแตนลีย์ อิเล็กทริก ยังน�าระบบดังกล่าวไปใช้กับโรงงาน เพื่อแบ่งปันข้อมูลร่วมกัน อันน�าไปสู่การลดใช้พลังงานอย่างมีนัยยะผ่าน กระบวนการเก็บข้อมูลวัดผลเชิงรุก เพื่อให้แต่ละโรงงานลดการใช้พลังงาน ได้ตามเป้าหมาย ดังนั้น โรงงานหลักทั้ง 27 แห่งของสแตนลีย์ อิเล็กทริก จึงสามารถติดตามสถานะการลดใช้พลังงานได้แบบเรียลไทม์ เพื่อทราบถึง ความคืบหน้าการลดใช้พลังงานตามเป้าหมาย และเปรียบเทียบข้อมูลระหว่าง โรงงานได้ตลอดเวลา


GREEN ZONE TECHNOLOGY 63

ทั้งนี้ ระบบดังกล่าวได้เริ่มเปิดใช้งานมาตั้งแต่เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าของแต่ละโรงงานถูกเก็บรวบรวมมาจาก เซนเซอร์และระบบ จากนั้นน�ามาแปลงให้อยู่ในฟอร์แมตเดียวกัน และเก็บ รวบรวมไว้ในที่เดียว ก่อนจะถูกประมวลผลเพื่อน�าเสนอในรูปแบบกราฟิก ผ่านระบบ FUJITSU Sustainability Solution Environmental Management Dashboard ซึ่งเป็นหน้าแสดงแผงควบคุมที่แจ้งข้อมูลการใช้พลังงาน ของแต่ละโรงงาน สถานะความคืบหน้าการลดใช้พลังงานตามเป้าหมาย และประสิทธิภาพด้านอื่นๆ ของโรงงาน ผ่านรูปแบบที่เข้าใจได้ง่าย ซึ่งช่วย

ให้ผู้บริหาร ผู้จัดการโรงงานและทีมงานเข้าใจสถานการณ์ของแต่ละโรงงาน และภาพรวมทั้งหมดของโรงงานได้ผ่านแผงควบคุมเพียงชุดเดียว ท�าให้ผู้มี อ�านาจตัดสินใจสามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็วและได้รับข้อมูลสนับสนุนที่ ถูกต้อง ช่วยให้เกิดการสนับสนุนต่อเป้าหมายการลดการใช้พลังงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

ท�าความรู้จักระบบการท�างาน สร้างภาพกราฟฟิก เพื่อแสดงสถานะการใช้ พลังงานของแต่ละโรงงาน

รองรับการท�างานร่วมกับ ระบบตรวจสอบพลังงาน และเซนเซอร์ที่หลากหลาย

ระบบสำมำรถแสดงสถำนภำพกำรใช้พลังงำน ไฟฟ้ ำ และสถำนะควำมคื บ หน้ ำ กำรลดใช้ พลังงำนตำมเป้ำหมำยของแต่ละโรงงำน และ สถำนะรวมของทุกโรงงำนในมุมมองช่วงเวลำที่ หลำกหลำย ไม่วำ่ จะเป็นรำยเดือน รำยวัน หรือ แบบ Real Time ส�ำหรับข้อมูลควำมผิดปกติที่ ตรวจพบของโรงงำนต่ำงๆ จะแสดงบนแผนที่ และมีแถบสีกำ� กับเพือ่ แสดงเปรียบเทียบกับเป้ำ หมำย และกรำฟฟิคแสดงเปรียบเทียบเดือน ต่อเดือน เมื่อใกล้จะถึงเป้ำหมำยที่คำดกำรณ์ ไว้ นอกจำกมุมมองภำพรวมที่เห็นข้อมูลจำก โรงงำนทั่วโลกแล้ว ยังสำมำรถเจำะลึกข้อมูล ลงไปถึงสถำนะต่ำงๆ ของโรงงำนอย่ำงละเอียด เพื่อง่ำยต่อกำรท�ำควำมเข้ำใจ

ระบบสำมำรถรับข้อมูลจำกอุปกรณ์ตรวจสอบ ด้ ำ นพลั ง งำนและเซนเซอร์ ไ ด้ ห ลำกหลำยผู ้ ผลิต ซึ่งติดตั้งอยู่ในโรงงำนแต่ละแห่ง เมื่อได้ รับข้อมูลแล้วระบบจะแปลงและจัดฟอร์แมต ข้ อ มู ล เพื่ อ ให้ เ ป็ น มำตรฐำนเดี ย วกั น และ ส่งไปเก็บรวบรวมในระบบส่วนกลำง ท�ำให้ สำมำรถสร้ำงระบบที่เก็บข้อมูลส่วนกลำงจำก ทุกโรงงำนได้อย่ำงรวดเร็ว ช่วยให้ทุกโรงงำน สำมำรถเริ่มต้นส่งข้อมูลด�ำเนินงำนได้อย่ำง รวดเร็ว

หลังจากเริม่ ใช้ระบบ สแตนลีย์ อิเล็กทริก ได้เริม่ ต้น ทบทวนการใช้พลังงาน และก�าหนดกระบวนการใน การลดใช้พลังงานของแต่ละโรงงาน ซึ่งการพัฒนาส่วน เสริมส�าหรับระบบ Environmental Management Dashboard ได้ช่วยตอบโจทย์ในการด�าเนินงานด้าน อืน่ ๆ ด้วย ไม่เพียงแต่การลดใช้พลังงานเท่านั้น หากยัง ช่วยให้หลายองค์กรได้พฒ ั นาระบบการผลิตในภาพรวม ให้มคี า่ ใช้จา่ ยการผลิตทีต่ า�่ ลง บริหารจัดการก�าหนดการ ผลิตได้แม่นย�า ให้ผลตอบแทนที่สูงขึ้น และคุณภาพ ที่ดีกว่าเดิม

รองรับการสือ่ สารร่วมกัน ระบบมำพร้อมฟีเจอร์กำรสื่อสำรส�ำหรับกำร ส่งข้อมูล ข้อเสนอแนะจำกภำพรวมทิศทำง กำรใช้พลังงำนหรือกิจกรรมกำรด�ำเนินงำน ด้ำนกำรประหยัดพลังงำน หรือแบ่งปันข้อมูล ร่วมกันผู้จัดกำรโรงงำน ผู้บริหำรและทีมงำน ที่เกี่ยวข้องในโรงงำนอื่นๆ ร่วมกัน ด้วยควำม สำมำรถนี้จึงช่วยให้ทุกคนสำมำรถมองเห็น ภำพรวมเดียวกัน และช่วยเพิ่มประสิทธิภำพ ในกำรสือ่ สำรระหว่ำงโรงงำน เพือ่ กำรปรับปรุง กิจกรรมร่วมกันให้ดียิ่งขึ้น

EXECUTIVE SUMMARY Stanley Electric Co., Ltd. has a goal to provide energy consumption reduction in every area. They considering to use FUJITSU Sustainability Solution Environmental Management Dashboard which is a system that made every person in the company can see the progressing of energy conservation and also monitoring energy usage, check information in hour, day or whatever detail of time period for take an action instantly. Besides, Stanley Electric also brought this system into the factory for sharing information together which leads to energy conservation significantly through proactive data collecting. Each factor could reduce energy consumption as their goal. Thus, Stanley Electric 27 main factories can monitoring their energy conservation in real-time to tracking the energy conservation process and compare the information between the factory. issue 161 july 2016


64 GREEN ZONE POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

มาตรการ EERS ส่งเสริมอาคารพาณิชย์และโรงงานอุตสาหกรรมอนุรักษ์พลังงาน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ภาพรวมเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน ภายใต้ EEP 2015 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 ภาครัฐ 7,144 ล้านหน่วย

ภาคที่อยู่อาศัย 13,633 ล้านหน่วย

ภาคอุตสาหกรรม 31,843 ล้านหน่วย

0 ภาคอาคารธุรกิจ 37,052 ล้านหน่วย

แผนอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 - 2579 (Energy Efficiency Plan: EEP 2015) ได้ตั้ง เป้าหมายที่ชัดเจนในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้ ง ในภาพรวมของประเทศและในภาค เศรษฐกิ จ หลั ก โดยเฉพาะการประหยั ด พลังงานไฟฟ้า ซึ่งมีเป้าหมาย คือ 89,672 ล้านหน่วย (GWh) ในปี 2579 โดยแบ่ง ออกเป็นเป้าหมายใน ภาคอุตสาหกรรม 31,843 ล้ า นหน่ ว ย ภาคอาคารธุ ร กิ จ 37,052 ล้านหน่วย ภาคทีอ่ ยูอ่ าศัย 13,633 ล้านหน่วย และ ภาครัฐ 7,144 ล้านหน่วย ทั้ ง นี้ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานในอดี ต ที่ ผ่ า นมามั ก จะด� า เนิ น การโดยผู ้ ใ ช้ ห รื อ ผู้บริโภคพลังงาน (End-User) เป็นหลัก ซึ่งอาจขาดความช�านาญโดยเฉพาะเทคนิค ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งาน ในขณะทีผ่ ปู้ ระกอบธุรกิจให้บริการพลังงาน โดยเฉพาะการไฟฟ้ า ทั้ ง ฝ่ า ยผลิ ต และ ฝ่ายจ�าหน่ายจะมีความรูค้ วามช�านาญ ทีจ่ ะ สามารถช่วยเหลือผู้บริโภคพลังงานในการ ด�าเนินกิจกรรมอนุรักษ์พลังงาน ดั ง นั้ น ล่ า สุ ด ส� า นั ก งานนโยบาย และแผนพลังงาน โดย กองทุนเพื่อส่ง เสริมการอนุรักษ์พลังงาน จึงได้ร่วมกับ บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย ร่ ว มด้ า นพลั ง งานและ สิ่ ง แวดล้ อ ม (JGSEE) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จัดท�า ‘โครงการจัดท�าแผนปฏิบัติการส่ง เสริมการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดย ผู้ให้บริการไฟฟ้า (Energy Efficiency Resource Standard : EERS)’ ขึ้น โดย มีระยะเวลาการด�าเนินงานของโครงการ 1 ปี 6 เดือน (ตุลาคม 2558 - มีนาคม 2560) เพือ่ รวบรวมหลักการ แนวปฏิบตั ิ ประโยชน์ และบทเรียนในการด�าเนินมาตรการ EERS หรื อ มาตรการใกล้ เ คี ย งอื่ น ๆ ในการ ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานโดยผู้ให้บริการ ไฟฟ้าในต่างประเทศ รวมถึงการสร้างความ เข้ า ใจและพั ฒ นาขี ด ความสามารถของ ผู้ให้บริการไฟฟ้าและผู้บริโภคไฟฟ้าในการ ด�าเนินมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ไฟฟ้าโดยผู้ให้บริการไฟฟ้า (EERS) และ เพื่อพัฒนาแนวทางที่เหมาะสมส�าหรับการ ด�าเนินมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ไฟฟ้า โดยผู้ให้บริการไฟฟ้า (EERS) ใน ประเทศไทย

การด� า เนิ น การโครงการจั ด ท� า แผน ปฏิบัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตาม มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดยผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารไฟฟ้ า มี ก ารด� า เนิ น งาน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการรวบรวม ผลการศึกษาและประสบการณ์ที่เกี่ยวกับ EERS จากต่างประเทศและในประเทศ และ ระยะที่ 2 เป็นขั้นตอนของการประมวล ผลและปรับปรุงแผนในระยะยาว โดยแผน เริ่มต้นในการด�าเนินมาตรการ EERS โดย จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามลักษณะผู้ใช้ ไฟฟ้า คือ กลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นอาคาร พาณิชย์ และ กลุม่ ผูใ้ ช้ไฟฟ้าทีเ่ ป็นโรงงาน อุตสาหกรรม ส�าหรับผลที่คาดว่าจะได้รับในการจัด โครงการดังกล่าวคือ สามารถใช้ข้อมูลเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจและการวางแผนด้าน มาตรการ EERS ส�าหรับหน่วยงาน เป็น แนวทางปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกิดเป้าหมายของผล ประหยัด โดยจะมีการน�าเสนอร่างแผนการ อนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานของหน่ ว ยงาน เพื่ อ น� า ไปปฏิบัติจริงในการด�าเนินโครงการระยะ ที่ 2 ตลอดจนน�าไปเป็นแนวทางจัดท�าแผน

ปฏิบัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตาม มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดยผู้ให้บริการไฟฟ้า (EERS) รวมถึงผู้ใช้ บริการไฟฟ้าจะได้รับค�าแนะน�าในการหา แหล่ง เงินทุนที่จ�า เป็นในการน�า มาลงทุน ปรับปรุงอุปกรณ์ เครื่องจักรต่างๆ ตาม มาตรการทีผ่ ใู้ ห้บริการไฟฟ้าเสนอแนะ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจและความตระหนักของ ผู้เกี่ยวข้องในการอนุรักษ์พลังงาน ทั้ ง นี้ การด� า เนิ น โครงการดั ง กล่ า ว ตั้ ง เป้ า ผลประหยั ด ตามแผน 500 ktoe (พันตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ) EXECUTIVE SUMMARY EPPO, Energy Conservation Fund collaborate with JGSEE (KMUTT) launched ‘Energy Efficient Resource Standard: EERS’ project from October 2015 to March 2017 to develop the solution which suit to operate with electricity consumption improvement in Thailand. This measure focused on commercial building and industrial factory circle which aiming to conserve the energy 500 ktoe.


WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND

PC (Servo Press) Compact structure incorporating a ball

screw nut and ball spline shaft to reduce the product length.

PCT (Cylinder Type) Use in a small press fitting or caulking machine Use motor instead of air-cylinder - Reducing Time - Increasing Accuracy - Providing Multi-Points Positioning

If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71

I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 www.inb.co.th e-mail address : sales@inb.co.th


C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป

เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign


เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ GREEN ZONE POLICY

67

พพ.น�ำร่องโรงงำนอุตสำหกรรม 100 แห่ง เปลี่ยนหัวเผาหม้อไอน�้าให้ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล

พพ. เดิ น หน้ า โครงการเปลี่ ย นหั ว เผา หม้อไอน�า้ ให้ ใช้เชือ้ เพลิงชีวมวล น�าร่องโรงงาน อุตสาหกรรม 100 แห่ง ใช้งบกองทุนอนุรกั ษ์ฯ สนับสนุนค่าลงทุนไม่เกินร้อยละ 30 ไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อแห่ง หวังลดต้นทุนการผลิต ให้แก่โรงงาน เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน ช่วยลดการน�าเข้าเชื้อเพลิง ส่งเสริม การใช้พลังงานทดแทนตามแผน AEDP ขณะนี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ด�ำเนินกำร ส่งเสริมกำรใช้พลังงำนทดแทนเพิ่มขึ้นโดย เฉพำะในภำคอุตสำหกรรม โดยได้ด�ำเนิน โครงกำรสนับสนุนเพื่อเปลี่ยนหัวเผำหม้อ ไอน�ำ้ ไปเป็นหัวเผำทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงชีวมวล โดย พพ. พร้อมสนับสนุนโรงงำนอุตสำหกรรมที่ ได้สมัครเข้ำร่วมโครงกำร 100 แห่ง ในด้ำน เงิ น ทุ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด กำรปรั บ เปลี่ ย นระบบ หัวเผำหม้อไอน�ำ้ ซึง่ เดิมใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล อำทิ ก๊ำซหุงต้ม น�ำ้ มันเตำ ให้เป็นหม้อไอน�ำ้ ที่ ใช้ เชื้ อ เพลิ ง จำกชี ว มวลอั ด เม็ ด (Wood Pellets) ซึ่ง พพ. จะสนับสนุนเงินทุนไม่เกิน ร้อยละ 30 ของค่ำลงทุนทั้งหมด แต่ไม่เกิน 2 ล้ำนบำทต่อแห่ง ทั้ ง นี้ งบประมำณส่ ง เสริ ม กำรลงทุ น ตำมโครงกำรปรับเปลีย่ นหัวเผำหม้อไอน�ำ้ ฯ ดังกล่ำว มำจำกกองทุนเพื่อส่งเสริมกำร อนุรักษ์พลังงำน ซึ่งจะมีระยะเวลำด�ำเนิน กำรตัง้ แต่เดือนกุมภำพันธ์ 2559 จนถึงเดือน กรกฎำคม 2560 โดยปัจจุบนั ได้มโี รงงำนทีม่ ี ควำมประสงค์จะเข้ำร่วมโครงกำร ฯ ตำม เงือ่ นไข คือ จะต้องลงทุนเองบำงส่วน และมี ควำมพร้อมในด้ำนสถำนที่ และกำรอ�ำนวย ควำมสะดวกในกำรให้ทีมงำนเข้ำไปติดตั้ง ปรับปรุงระบบ รวมทั้งมีควำมพร้อมในกำร จัดซื้อเชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด เพื่อใช้เป็น เชื้อเพลิงหลักในหม้อไอน�้ำต่อไป เบื้ อ งต้ น ประโยชน์ ข องโครงกำร สนั บ สนุ น เพื่ อ ปรั บ หั ว เผำหม้ อ ไอน�้ ำ ให้ สำมำรถใช้เชื้อเพลิงจำกชีวมวลอัดเม็ด จะ ช่วยให้โรงงำนที่เข้ำร่วมโครงกำร สำมำรถ ลดต้ น ทุ น ในกำรผลิ ต ของโรงงำน หรื อ สำมำรถลดค่ำใช้จ่ำยด้ำนต้นทุนพลังงำน ลดลงจำกเดิมที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล รวมทั้ง ประโยชน์ในภำพรวม คือ ลดกำรใช้เชือ้ เพลิง น�ำเข้ำ ลดกำรสูญเสียเงินตรำไปต่ำงประเทศ เกิดกำรพึ่งพำพลังงำนที่ผลิตได้ในประเทศ และช่วยรักษำสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

พพ. ได้เดินหน้ำตำมแผน

พัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 2558 – 2579 หรือ AEDP 2015 โดยโครงการ ปรับเปลี่ยนหัวเผาหม้อไอน�้า เพื่อให้สามารถใช้ เชื้อเพลิงจากชีวมวลอัดเม็ดได้นั้น ถือเป็นหนึ่งใน มาตรการส่งเสริมตามแผน AEDP ดังกล่าว ซึ่งจะ เป็นมาตรการส�าคัญที่จะช่วยให้สามารถบรรลุ ตามเป้าหมายหลักของแผน ฯ ที่ประเทศไทยจะมี การเพิ่มการใช้พลังงานทดแทนในสัดส่วนร้อยละ 30 ของพลังงานที่ใช้ในประเทศ ภายในปี 2579 คุณธรรมยศ ศรีช่วย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

การพึ่งพาพลังงานที่ผลิตในประเทศเพิ่มขึ้น

ปรับหัวเผา หม้อไอน�้า ให้ ใช้เชื้อเพลิง จากชีวมวลอัดเม็ด ท�าแล้วได้อะไร ?

ลดการน�าเข้าเชื้อเพลิง ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานลดลง ต้นทุนการผลิตของโรงงานลดลง ลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

EXECUTIVE SUMMARY Department of Alternative Energy Development and Efficiency (DEDE), Ministry of Energy has promoted alternative energy usage particularly in industry segment. By proceeding in the project which encourage to change the steam boiler into biomass boiler, DEDE is ready to support 100 registered industrial factories which join the project by provide the budget to turn the steam boiler that use fossil fuel, such as, liquid petroleum gas and fuel oil into steam boiler hat use wood pellets as the fuel. DEDE provide support budget not more than 30% of total investment, limit at 2 million baht per location. Thus, the budget to promote investment in this steam boiler convert project were came from Energy Conservation Fund with the operation period from February 2015 to July 2017. issue 161 july 2016


68 INDUSTRIAL ROBOTICS

เรื่อง : นที เดยะดี วิศวกรไฟฟ าและระบบควบคุม แผนกไฟฟ าและระบบควบคุม ศูนย เครื่องจักรกลและระบบอัตโนมัติ สถาบันไทย-เยอรมัน

การสร างทางเดิ ทางเดินหุ นยนต อย างง าย ด วยวิธี

TEACHING ทางเดินหุนยนต: Robot Path ทางเดินหุน ยนต (Robot Path) : คือ การสรางเสนทางในการทํางานของหุน ยนต เพือ่ ใหหนุ ยนตสามารถเคลือ่ นทีไ่ ปตามเสนทางทีเ่ รากําหนด หรือทีเ่ ราตองการ ซึง่ เสนทางเดินของหุนยนตนั้นก็จะมีลักษณะคลายกับการเดินทางของมนุษย กลาว คือ มนุษยเมือ่ จะเดินทางก็จะตองทําการกําหนดเสนทางทางเดินวาจะเดินแบบไหน มีจดุ เริม่ ตนและจุดสิน้ สุดอยูท ใี่ ด ก็ตอ งพึงระมัดระวังในเรือ่ งอุปสรรคและขอจํากัด ของเสนทางเดินนั้นดวย การสรางทางเดินหุนยนตก็เชนกัน จําเปนที่จะตองมีการ กําหนดจุดเริ่มตน - จุดสิ้นสุด และรูปแบบของเสนทาง รวมไปถึงขอจํากัดตางๆ ของเสนทางเดินนัน้ ดวย เพียงแตหนุ ยนตนนั้ ไมสามารถวางแผนหรือออกแบบเสน ทางเดิ น ได ด ว ยตั ว เอง จึ ง ต อ งอาศั ย มนุ ษ ย ซึ่ ง เป น ผู ค วบคุ ม การทํ า งานเป น ผูออกแบบเสนทางและรูปแบบของเสนทางเดินหุนยนต รวมไปถึงยังตองเปน ผูกําหนดจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของแตละเสนทางดวย ซึ่งในครั้งนี้เราจะมารูจัก กับวิธกี ารสรางทางเดินหุน ยนต และคําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของกับการสรางทางเดินหุน ยนต ในรูปแบบทีง่ า ยทีส่ ดุ คือ วิธกี าร Teaching หรือ Jog นัน่ เอง ในทีน่ จี้ ะขอยกตัวอยาง ในการอธิบายสําหรับหุนยนต Yaskawa: MOTOMAN

MOTION TYPE ลักษณะการเคลื่อนที่ ของหุ นยนต

COORDINATE SYSTEM ระบบพิกัด Coordinate ของระบบหุ นยนต

ลักษณะการเคลื่อนที่ของหุนยนต : Motion Type ในการ Teach หุนยนต คือ การควบคุมหุนยนตใหเคลื่อนที่ไปยังตําแหนง (Point) ที่ตองการ แลวทําการบันทึกคาตําแหนงนั้นๆ โดยสามารถบันทึกคา ตําแหนงไดตามทีต่ อ งการ ซึง่ ตําแหนงตางๆ ทีท่ าํ การบันทึกนัน้ ก็คอื การระบุเสน ทางเดินของหุนยนตนั่นเอง ดังนั้น การที่จะสามารถควบคุมใหหุนยนตเกิดการ เคลือ่ นทีไ่ ปยังตําแหนงทีต่ อ งการดวย Programming Pendant จะตองทราบกอนวา จะใหหนุ ยนตมกี ารเคลือ่ นทีอ่ ยางไร นัน่ คือ การเลือกลักษณะการเคลือ่ นทีข่ องหุน ยนต (Motion Type) นั่นเอง

ลักษณะการเคลื่อนที่ของหุ นยนต เพื่อทําการ Teaching การเคลื่อนที่แบบ JOINT (JOINT MOTION)

การสั่งให หุ นยนต เคลื่อนที่โดยการควบคุม ที่ Programming Pendant แบบควบคุม ทีละ Joint ซึ่งการ ควบคุมลักษณะนีจ้ ะนิยมใช ก็ต อเมื่อหุ นยนต มิ ได อยู ในพืน้ ทีท่ าํ งาน (Work Area)

การเคลื่อนที่แบบ CARTESIAN (CARTESIAN MOTION)

การสั่งให หุ นยนต เคลื่อนที่ตามแนวพิกัด แกนตั้งฉาก 3 แกน โดยที่ระบบพิกัดแกนตั้ง ฉาก 3 แกน หรือเรียกว า Cartesian Coordinate การเคลื่อนที่แบบนี้จะมี ลักษณะสั่งให หุ นยนต เคลื่อนที่ ไป ซ าย - ขวา หน า - หลัง และ ขึ้น - ลง

ข อมูลที่ต องรู ก อนการ Teaching MOVE INSTRUCTION คําสั่งในการ Teach หุ นยนต

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ROBOT TEACHING LIMITATION ข อจํากัดในการสร าง ทางเดินหุ นยนต

การเคลื่อนที่แบบ Joint (Joint Motion) การควบคุมหุนยนตในลักษณะการเคลื่อนที่แบบ Joint นั้น เปนการสั่งให หุนยนตเคลื่อนที่โดยการควบคุมที่ Programming Pendant แบบควบคุมทีละ Joint ซึง่ การควบคุมลักษณะนี้จะนิยมใชก็ตอเมือ่ หุน ยนตมไิ ดอยูในพืน้ ที่ทาํ งาน (Work Area) Joint ของหุนยนตจะเคลื่อนที่อิสระจากกัน ขึ้นอยูกับผูควบคุมวา ตองการให Joint ใดเกิดการเคลือ่ นทีก่ จ็ ะสัง่ ที่ Joint นัน้ ๆ การเคลือ่ นทีใ่ นลักษณะ นี้ระบบการทํางานของหุนยนตไมสามารถคํานวณคาองศาของ TCP (Tool Center Point) ของ Tool ที่ตัวหุนยนตได สงผลใหเวลาหุนยนตเกิดการเคลื่อนที่ มุมของ TCP ก็จะเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ตามการเคลื่อนที่ของ Joint ที่ควบคุม


industrial robotic 69

จากรูปที่ 1 ในภาพ (a) เปนการแสดงใหเห็นถึงโครงสรางของหุนยนต เพื่อ ตองการควบคุมใหเกิดการเคลื่อนที่แบบ Joint ซึ่งจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ ได 2 สถานะ คือ ไปและกลับ โดยถูกกําหนดดวยเครือ่ งหมายบวกและเครือ่ งหมายลบ ในแตละ Joint แยกจากกัน สวนภาพ (b) เปนการแสดงใหเห็นถึงปุมกดบน Programming Pendant เพื่อ ควบคุมใหหุนยนตเกิดการเคลื่อนที่แบบ Joint โดยแยกออกแบบ 2 สวน คือ สวน ทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุมการทํางานของ ARM (Joint : S/L/U) และสวนทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุม การทํางานของ Wrist (Joint : R/B/T) โดยการควบคุมใหกดไปที่ปุมชื่อของ Joint ที่ ต  อ งการให เ กิ ด การเคลื่ อ นไปทางบวกหรื อ ลบก็ ข้ึ น อยู  กั บ การใช ง านของ ผูควบคุมเอง การเคลื่อนที่แบบ Cartesian (Cartesian Motion) การควบคุมหุนยนตใหเคลื่อนที่แบบ Cartesian Motion คือ การสั่งใหหุนยนต เคลื่อนที่ตามแนวพิกัดแกนตั้งฉาก 3 แกน โดยที่ระบบพิกัดแกนตั้งฉาก 3 แกน หรือเรียกวา Cartesian Coordinate การเคลือ่ นทีแ่ บบนีจ้ ะมีลกั ษณะสัง่ ใหหนุ ยนต เคลือ่ นตามแนวพิกดั แกนทัง้ 3 กลาวคือ สามารถควบคุมใหเคลือ่ นทีไ่ ป ซาย - ขวา หนา - หลัง และ ขึ้น - ลง ดังรูปที่ 2 จากรูปที่ 2 เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงระบบพิกัดตั้งฉาก 3 แกนและลักษณะการ เคลื่อนที่ของหุนยนต ในรูป (a) เปนการแสดงระบบพิกัดแกนตั้งฉาก 3 แกน ของ ตัวหุนยนตซึ่งถูกกําหนดคามาจากโรงงานผูผลิตแลวสําหรับใชอางอิงในการ โปรแกรมหุนยนตอยางงายที่สุด โดยมีจุดอางอิงอยูที่จุดกึ่งกลางของตัวหุนยนต หรือตําแหนงเริม่ ตนที่ 0,0,0 นัน่ หมายวา การเคลือ่ นทีข่ องหุน ยนตแบบ Cartesian นัน้ ในทุกๆ ตําแหนงของหุน ยนตทเี่ คลือ่ นทีไ่ ป จะสามารถทราบระยะการเคลือ่ นที่ ไดโดยใชระบบพิกดั ตัง้ ฉากนัน่ เอง สวนในรูปที่ 2 (b) เปนรูปทีแ่ สดงใหเห็นลักษณะ การเคลื่อนที่ของหุนยนตตามแนวพิกัด X, Y, Z โดยปกติแลวในเวลาที่ทําการ เคลื่อนที่หุนยนตแบบ Cartesian จะตองยืนหันหนาไปทางเดียวกับหนาหุนเสมอ เพื่อที่จะไดไมสับสนในสั่งงานหุนยนตและใหใชกฎมือขวา ตามรูปที่ 3 (a) เปนตัว อางอิงระบบพิกัด X, Y, Z ทั้งนี้ ก็เพื่อใหสามารถควบคุมหุนยนตไดงายขึ้นรวดเร็ว และปลอดภัยนั่นเอง Cartesian Motion เปนการควบคุมใหหนุ ยนตเคลื่อนที่ไปยังตําแหนงตางๆ แลวทําการบันทึกตําแหนงที่ตองการ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบนี้จะแตกตางกัน อยางสิ้นเชิงกับการเคลื่อนที่หุนยนตแบบ Joint Motion คือ นิยม Teach หุนยนต ใหเคลื่อนที่แบบ Cartesian Motion ก็ตอเมื่อหุนยนตไดเขาสูพื้นที่การทํางานแลว การเคลือ่ นทีแ่ บบนี้ เมือ่ กดปุม ควบคุมการทํางานบน Programming Pendant ตาม รูปที่ 3 (b) โดยการควบคุมจะกดปุม ใหหนุ ยนตเคลือ่ นทีต่ ามระนาบทีต่ อ งการ เชน หากเราตองการใหเคลื่อนที่ไปตามแนวระนาบ Y+ เราก็จะกดไปที่ปุม Y+ บน Programming Pendant หุนจะเกิดการเคลือ่ นที่ โดยทีข่ อ ตอทั้ง 6 ของหุนยนตนนั้ จะเกิดการเคลื่อนไปดวยกันทั้งหมด จึงถือวาการควบคุมหุนยนตแบบ Cartesian Motion นั้น ขอตอทุกขอตอจะทํางานแบบมีเงื่อนไขซึ่งกันและกัน โดยเงื่อนไขจะ สัมพันธกนั ทัง้ นี้ เพือ่ ใหระบบการควบคุมหุน ยนตทาํ การคํานวณคาพิกดั และรักษา

ÃÙ»·Õè 1

ARM join

(a) โครงสร างลักษณะ การเคลื่อนที่แบบ Joint Motion

Wrist joint

(b) ปุ มควบคุมการทํางานบน Programming Pendant

ÃÙ»·Õè 2

(a) ระบบพิกัดแกนตั้งฉาก 3 แกน

(b) ลักษณะการเคลื่อนที่ของหุ นยนต

องศาของ TCP ใหคงทีอ่ ยูต ลอดเวลา เมือ่ มีการเคลือ่ นทีไ่ ปยังตําแหนงจากนัน่ เอง ที่กลาวมาขางตน เปนเรื่องของลักษณะการเคลื่อนที่ซึ่งเปนเรื่องที่มีความ จําเปนทีจ่ ะตองศึกษาไวกอ นทีจ่ ะทําการ Teach หุน ยนตเพือ่ โปรแกรม หากไมทราบ ในขณะทีโ่ ปรแกรมหุน ยนตนนั้ จะติดขัดและเกิดปญหาเกีย่ วกับการ Teach หุน ยนต ได คราวหนาจะมาอธิบายตอระบบพิกัด Coordinate ของระบบหุนยนต (Coordinate System) ซึ่งจะเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการใชการจริงในการโปรแกรมหุนยนต แลวครับ ขอบคุณทุกทานที่ติดตาม พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ... Credit : ภาพประกอบบทความจาก คูมือการใชงานหุนยนต Yasakawa : Motoman EXECUTIVE SUMMARY

ÃÙ»·Õè 3

(a ) กฎมือขวาในการอ างอิงระบบ พิกัดแกนตั้งฉาก 3 แกน

Position

Attitude

(b) ปุ มควบคุมการทํางาน แบบ Cartesian

Robot path is the route that set for robot operation as we assign or we want. The robot path is similar to human path which when human want to go on the route they set their way, how to travel, where is the starting point and where is the travel end and also be careful about the barrier and limitation, the robot path also has the same factor and it must be assigned the starting point and the ending point also the limitation of that route. While the robot couldn’t program the path by itself, human must be assigned the path and form the route for robot also the starting point and ending point for each path. issue 161 july 2016


70 FACTORY VISIT เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ

COMPACT

BRAKE

โรงงานหัวใจสีเขียว บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจออกแบบและผลิต ดิสก์เบรก ก้ำมเบรก พร้อม ผ้ำเบรกไร้ใยหินส�ำหรับรถยนต์ทุกประเภทในนำม ‘คอม แพ็คเบรก’ ตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอเขำย้อย จังหวัดเพชรบุรี โรงงำน แห่งนี้ได้มีกำรน�ำเทคโนโลยีต่ำงๆ มำใช้ในกำรคิดค้นสูตร ส�ำหรับกำรผลิตสินค้ำ มีกระบวนกำรผลิตและกำรทดสอบ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย พร้อมด้วยจิตส�ำนึกที่ดีต่อสังคม ด้ำนกำรรักษำสิ่งแวดล้อม ภำยใต้นโยบำย ‘สร้ำงสรรค์ นวัตกรรมควำมปลอดภัย มุ่งมั่นใส่ใจในชีวิต เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม พร้อมตอบสนองควำมพึงพอใจของ ลูกค้ำ เพิ่มคุณค่ำและพัฒนำคุณภำพชีวิตพนักงำน’

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รู้จักคอมแพ็คเบรก

2519

เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ในนามบริ ษั ท สหเอเชี ย อุ ต สาหกรรม จ�ากัด เริม่ การผลิตผ้าเบรก ส� า หรั บ รถบรรทุ ก ขนาด ใหญ่ มีการผลิตเพิ่มมาก ขึ้ น เรื่ อ ยๆ และขยายการ ผลิตมาสู่ผ้าเบรกส�าหรับ รถบรรทุกขนาดกลาง และ รถบัส

บริษัทฯ ได้ย้ายฐานการผลิต มาสร้ า งโรงงานแห่ ง ใหม่ ที่ จ.สมุ ท รสาคร ในนาม บริ ษั ท เอเซียคอมแพ็ค ต่อมาบริษัทฯ ได้ขยายการผลิตจากผ้าเบรก ไปผลิตก้ามเบรกและดิสเบรก และได้รับรองมาตรฐาน มอก. 97/2536 จากส� า นั ก งาน มาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.)

2531

2537

บริษัทฯ ตั้งโรงงานขึ้นอีก หนึง่ แห่งในนาม บริษทั คอม แพ็ ค อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (1994) ตั้ ง อยู ่ ที่ อ� า เภอ เขาย้ อ ย จั ง หวั ด เพชรบุ รี โดยได้ รั บ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากส� า นั ก งาน ส่งเสริมการลงทุน (BOI) ด้านการผลิตและการวิจัย พัฒนา


FACTORY VISIT

71

กว่าจะเป็น….ผ้าเบรกคอมแพ็ค วัสดุผา้ เบรกทีม่ หี ลากหลาย อีกทัง้ ส่วนผสมทีแ่ ตกต่างกัน ก่อให้เกิดประสิทธิภาพการเบรก ที่แตกต่างกัน จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลของวิศวกรและบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านของคอมแพ็คเบรก ท�าให้ ได้ข้อมูลพื้นฐานของรถ และรายละเอียดทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับ ระบบเบรก เพื่อให้ ได้มาซึ่งข้อมูลน�าเข้าเพื่อออกแบบผ้าเบรกให้มีความเหมาะสมที่สุด จึงต้อง ศึกษาข้อมูลเพื่อให้ ได้มาซึ่งความเข้าใจอย่างแท้จริงในแต่ละลักษณะการใช้งาน การทดสอบภายในห้องปฏิบัติการที่มีเครื่องมือเพียบพร้อมและทันสมัย ส�าหรับการ วิเคราะห์คณ ุ สมบัตขิ องผ้าเบรกในแต่ละด้าน เพือ่ ประเมินประสิทธิภาพของวัสดุผา้ เบรก ในแต่ละ ลักษณะการใช้งาน โดยค�านึงทุกรายละเอียดของประสิทธิภาพการเบรก การเลือกใช้เครือ่ งมือ และกระบวนการทดสอบให้สอดคล้องกับการประเมินคุณลักษณะผ้าเบรกในแต่ละด้าน เพือ่ การ เก็บข้อมูลอย่างละเอียดและเป็นระบบทั้งก่อนและหลังการทดสอบ ส่งผลให้ประเมินผลการทดสอบอย่างแม่นย�า น�าไปสู่การพัฒนาวัสดุผ้าเบรกที่เหมาะสม กับแต่ละลักษณะการใช้งาน เพื่อเกิดความสมดุลกับระบบเบรกที่เหมาะสม ซึ่งส่งผลให้เกิด ประสิทธิภาพการเบรกและความปลอดภัยอย่างแท้จริง

พัฒนาการครั้งส�าคัญ พ.ศ. 2541: บริษทั ฯ ได้นา� เอาระบบบริหาร งานคุณภาพ ISO 9002 มาใช้ใน การบริหารงานของบริษัทฯ และ ได้รับการรับรองในปี พ.ศ.2542 จาก SGS Thailand บริ ษั ท ฯ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบ บริหารงานอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน บริษทั คอมแพ็ค อินเตอร์เนชัน่ แนล (1994) จ�ากัด ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO ต่างๆ ตามล�าดับ พ.ศ. 2549: บริษทั ฯ ได้รว่ มกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ บริษัท สยาม เอ็ ก ซ์ เ ทค จ� า กั ด ร่ ว มกั น วิ จั ย การน�าเอานาโนเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์เบรก จน ได้ NANO Technology Brake เป็ น ผลส� า เร็ จ เป็ น แห่ ง แรกของ ประเทศไทย พ.ศ. 2551: บริ ษั ท ฯ ได้ น� า เข้ า เครื่ อ ง ทดสอบเบรก SNT (SNT BRAKE DYNAMOMETER) จากประเทศ ญี่ ปุ ่ น เพื่ อ ใช้ ใ นการทดสอบและ พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ นับเป็นผู้ ผลิตเบรกรายเดียวในประเทศไทย และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มี เครือ่ งทดสอบประสิทธิภาพเบรกนี้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้น�าเอาการ ผลิตแบบโตโยต้า TPS (Toyota Production System) เข้ามา ใช้ ในการผลิตผ้าเบรก เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและพัฒนาการผลิต

พ.ศ. 2547: บริษทั ฯ ได้รบั การแนะน�าจากผู้ เชีย่ วชาญชาวญีป่ นุ่ ด้วยความร่วม มื อ และสนั บ สนุ น จากส� า นั ก งาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่ ง ชาติ (สวทช.) เพื่ อ พั ฒ นา เทคโนโลยีการผลิตผ้าเบรกไร้ใยหิน NAO (Non Asbestos Organic) เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค และพนักงาน ตลอดจนเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม พร้อมยกระดับการ ผลิตสู่ตลาด OEM และตลาดโลก

issue 161 july 2016


72 FACTORY VISIT

ไมล์สโตนแห่งคุณภาพ บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จ�ากัด ได้รับรางวัลคุณภาพจากหลายสถาบัน อาทิ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และได้รับเกียรติบัตรระดับสากล ISO 9001 : 2008

2550

2552

2554

รับรางวัล ITAP AWARD ด้าน BEST GREEN PRODUCT DEVELOPMENT จากส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จ�ากัด ได้รับการรับรองระบบ บริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008 ซึ่ง เป็นระบบมาตรฐานส�าหรับอุตสาหกรรม ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ จาก สถาบัน TUV Rheinland

บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จ�ากัด ได้รบั การรับรองมาตรฐาน E-Mark จากสถาบัน TUV Rheinland

บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จ�ากัด ได้รับการรับรองระบบ บริ ห ารคุ ณ ภาพ ISO/TS 16949 : 2002 ซึ่ ง เป็ น ระบบมาตรฐานส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น ยานยนต์ จากสถาบัน TUV Rheinland

บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ การคั ด เลื อ กจาก ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด (มหาชน) ให้เข้า รับรางวัล Bualuang SME Awards ใน ฐานะสถานประกอบการดีเด่น ที่มีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านของการ บริหารและการผลิต

2553 2552

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

EXECUTIVE SUMMARY Compact International (1994) Co., Ltd. is running business in brake pad, disc brake, brake clamp and brake pad without asbestos for every type of vehicles in brand ‘Compact Brake’ located at Khao Yoi, Phetchaburi. This factory brought various technologies to provide the formula to produce the product, also manufacture and testing with modernize machinery with mind that take responsibility with environmental friendly. The company earned the price in quality from many institute such as National Science and Technology Development Agency (NSTDA) and certificated ISO 9001: 2008.


เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร TECHNOLOGY laser

73

SINGLE MODE FIBER LASER MARKER

รวดเร็ว ฉับไว ประหยัดค่าใช้จ่าย

ในโลกปั จ จุ บั น เครื่ อ งไม้ เ ครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ในชี วิ ต ประจ�าวันกลับมีขนาดเล็กลงไปทุกทีๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อุปกรณ์ทางการแพทย์ รถยนต์ และตลาดอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีเลเซอร์ทใี่ ช้ในงานอุตสาหกรรมเป็นอีกหนึง่ สาขา ที่ได้รับผลกระทบเช่นกัน ด้วยความก้าวล�้าไปในศักยภาพ ของล�าแสงเลเซอร์ เทคโนโลยี Micromachining สมัยใหม่ สามารถด�าเนินการผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ถูกและรวดเร็วกว่า ซึ่งตอบสนองต่อผู้ผลิตที่ก�าลังมองหาเครื่องมือส�าหรับการ ผลิตที่มีจ�านวนมาก เทคโนโลยี Micromachining ความต่างที่ไม่อาจมองเห็นด้วยตาเปล่า Micromachining นั้นเป็นการใช้เครื่องจักรด�าเนินงาน พื้นฐาน เช่น การตัด การเจาะ การขัด แต่เป็นการด�าเนิน การส�าหรับอัตราส่วนขนาดเล็ก ซึ่งมาตรฐานแน่นอนใน เรื่องของขนาดนั้นยังไม่มีมาตรฐานกลาง โดยสิ่งที่เกิดขึ้น จากเทคโนโลยีนี้ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น หาก ท�าการเจาะรูขนาด 50 µm บนแผ่นทองแดง อาจจะมอง เห็นแสงลอดผ่าน แต่อาจจะไม่รู้ถึงขนาดของรูที่ปล่อยให้ แสงออกมาได้อย่างชัดเจน

issue 161 july 2016


74 TECHNOLOGY laser

Fiber Laser ตอบสนองงานได้ตรงความต้องการ เมื่อผู้ใช้งาน Fiber Laser นั้นมีความช�านาญ สามารถ ลดค่าใช้จ่ายลงไปได้ 2 - 3 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่อง มือมาตรฐานส�าหรับ Micromachining และด้วยความเข้ม ของล�าแสงเลเซอร์ สามารถใช้งานได้ทขี่ นาดเล็กสุดถึง 20 µm นอกจากนี้ ความยาวช่วงคลืน่ ทีส่ ามารถเลือกได้รวมถึง ลักษณะเฉพาะตัวของค่า Peak Power จะเป็นตัวก�าหนด คุณภาพผิวที่เกิดขึ้น การเปรียบเทียบ Fiber Markers กับเทคโนโลยี Micromachining อื่นๆ การใช้ Fiber Laser Markers สามารถใช้เป็นทางเลือก ส�าหรับเทคโนโลยี Micromachining ที่มีราคาสูงกว่า รวมถึงอุปกรณ์ EDM หรือเลเซอร์ที่มีช่วงคลื่น 532 และ 355 nm Nd:YVO4

Single Mode Fiber Laser Marker ทางเลือกที่ลงตัวส�าหรับงาน Micromachining ด้วยความสามารถในการใช้งานของ Single Mode Fiber Laser Marker ที่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยน้ อ ยลง เหมาะกั บ งาน เจาะ ตัด และการลอก สิ่งส�าคัญที่สุด คือ การรู้จักเครื่องมือและการใช้งาน ที่ เ หมาะสม โดยใช้ ใ นงานที่ มี ข นาด ชิ้นงานเล็ก หรือมีความละเอียดอ่อน เปราะบางสู ง นอกจากนี้ พื้ น ผิ ว ที่ ใ ช้ เทคโนโลยี Single Mode Fiber Laser Marker ยังมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทีท่ า� ให้ ชิ้นงานมีความแตกต่าง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รูปที่1: การเปรียบเทียบรูเจาะบนซิลิคอน โดยใช้ Fiber Laser Marker (ซ้าย) และ 355 nm UV Laser (ขวา)

ตัวอย่างที่ 1 (รูปที่ 1) เป็นการเปรียบเทียบรูเจาะ ระหว่าง Fiber Laser Marker ด้านซ้าย และ 355 nm UV Laser ซึ่ง UV Laser สามารถสร้างคุณภาพที่ดีกว่า Fiber Laser ซึ่ง Fiber Laser นั้นเพียงพอกับการใช้งานในระดับ นี้ ซึง่ เรียกได้วา่ เหมาะสมกับจุดประสงค์ของงาน นอกจากนี้ Fiber Laser ยังสามารท�างานได้เร็วกว่า UV Laser และ ประหยัดกว่า 50% ในส่วนทีร่ เู จาะของ UV ทีไ่ ม่กลมเพราะ โปรแกรมก�าหนดเส้นทางเกิดความผิดพลาด

รูปที่ 2: การเปรียบเทียบคุณภาพรูเจาะบนซิลิคอน โดยใช้ 20 W Single Fiber Laser (ซ้าย) และ 5 W 355 nm Laser (ขวา) ด้วยระยะเวลาด�าเนินการเท่ากัน


TECHNOLOGY laser 75

รูปที่ 3: การใช้ Fiber Laser กับแผ่นโลหะฟอยล์หนา 25 µm โดยมีความลึก 13 µm

ตัวอย่างที่ 2 การใช้งานดังรูปที่ 3 ท�าให้เกิดจุดที่ มักเกิดความผิดพลาดขึ้นบ่อยๆ โดยมีความกว้างอยู่ที่ 75 µm และ มีความลึกทั้งพื้นที่แตกต่างกัน ±1 µm ตัวอย่างที่ 3 (รูปที่ 4) เซรามิกนั้นถือเป็นวัตถุดิบที่ นิยมใช้ในกิจการของ Microelectronic ซึ่งโดยมาก 355 nm Laser มักถูกใช้ในกิจการนี้ โดย Fiber Laser Marker นั้น สามารใช้ในวัสดุทเี่ ป็นเซรามิกเพือ่ หลีกเลีย่ งรอยแตกระดับ ไมโครที่อาจเกิดขึ้นได้ การใช้งานเลเซอร์นนั้ สามารถใช้ได้กบั งานอุตสาหกรรม หลากหลายประเภท โดยสามารถลบผิ ว เคลื อ บและ ผิวภายนอกจากโลหะ เซรามิก และแม้แต่พลาสติก การใช้ Fiber Laser Machining มีประโยชน์อย่างมากในการบัดกรี ส�าหรับ Micromachining เช่น การท�างานกับตัวต้านทาน หรือ Capacitor และยังสามารถลบผิวเพื่อใช้ในการเชื่อม ได้อีกเช่นกัน นอกจากนี้ เลเซอร์ยังเป็นที่นิยมส�าหรับการ ใช้งานทีเ่ กีย่ วข้องกับพวกวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ มีขนาดเล็ก

รูปที่ 4: การใช้ Fiber Laser กับเซรามิก ท�าให้สามารถหลีกเลี่ยงรอยแตก ระดับไมโครที่มักจะเกิดขึ้นกับวัสดุที่เป็นเซรามิกได้ Source: http://goo.gl/g4fWxj EXECUTIVE SUMMARY Laser technology nowadays has been advanced in tool size and the power in manufacturing which suitable to work with a wide variety of applications. The Single Mode Fiber Laser Marker is suitable with micromachining and circuit works. This Fiber Laser could provide in macro workpiece or product which need high precision and delicate likes ceramics and high - detailed metalworking.

issue 161 july 2016


76 TECH FOCUS IT BUSINESS เรื่อง: นเรศ เดชผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

CYOD อีกหนึ่งแนวคิด เพื่อน�ำมำเติมเต็มนโยบำย

BYOD ในระยะ 2 - 3 ปีที่ผ่านมา กระแสความนิยมในการน�าอุปกรณ์ ไอที ส่วนตัวของพนักงานมาใช้ ในการปฏิบัติงาน หรือที่เรียกว่านโยบาย Bring Your Own Device (BYOD) มีมากขึ้นเรื่อยๆ หลายองค์กรเริ่ม ก�าหนดนโยบายและมีความพยายามในการปรับตัวให้เข้ากับนโยบาย ดังกล่าว แน่นอนว่าองค์กรในภาคอุตสาหกรรมหลายแห่งก็อยูใ่ นช่วงของการ ปรับตัวนี้เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องมาจากข้อดีหลายๆ ประการของ นโยบาย BYOD ซึ่งหากเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ก็จะส่งผลดี ต่อองค์กร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ข้อดีของนโยบาย BYOD ต่อองค์กร

1 2 34 5 เมื่อพนักงานน�าอุปกรณ์ ไอทีของตนมาใช้ ในกระบวนการปฏิบัติงาน องค์กรไม่ต้อง ใช้งบในการจัดซื้ออุปกรณ์ ไอที หรืออย่าง น้อยที่สุดก็ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่องค์กรจะ ต้องใช้ไปกับงบประมาณในการจัดซือ้ จัดหา อุปกรณ์ ไอทีมาใช้

เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ของพนักงานเองจึงหมดกังวลใน เรื่องของความสะดวกและความคล่องตัวในการน�าไป ใช้งาน โดยเฉพาะเมื่อต้องน�าอุปกรณ์ ไปใช้ปฏิบัติงาน นอกสถานที่ และเมื่ออุปกรณ์อยู่กับตัวผู้ใช้งานตลอด เวลา ก็จะยิ่งสร้างความช�านาญในการใช้งานเพิ่มมาก ขึ้นอย่างแน่นอน

ปฏิเสธไม่ได้ว่าเมื่อวันเวลาผ่านไป อุปกรณ์ก็ย่อมที่จะเสื่อม และล้าสมัยไปตามสภาพ ข้อดีของการน�านโยบาย BYOD มาใช้กค็ อื องค์กรจะมีการเปลีย่ นถ่ายเอาอุปกรณ์ทที่ นั สมัย ไม่ตกรุน่ มาใช้งานโดยตลอด เนือ่ งจากผู้ใช้งานอุปกรณ์ ไอที ส่วนใหญ่มักจะไม่ยอมให้อุปกรณ์ของตนใช้งานได้ ไม่เต็ม ประสิทธิภาพด้วยสาเหตุอปุ กรณ์ตกรุน่ ซึง่ ก็จะท�าให้องค์กร ได้รับอานิสงส์นี้ด้วย

องค์กรไม่ต้องกันงบประมาณส�าหรับใช้จ่ายในเรื่องของ การซ่อมบ�ารุงอุปกรณ์ ไอที เพราะหากเป็นอุปกรณ์ ไอที ของพนักงานเองย่อมที่จะอยู่ในการดูแลเป็นอย่างดีจาก เจ้าของอุปกรณ์อยู่แล้ว ทั้งนี้ ทางองค์กรควรจะต้อง เตรียมอุปกรณ์ส�ารองไว้ให้กับพนักงานไว้ใช้งานระหว่าง ส่งซ่อมด้วยเช่นกัน

ความพึงพอใจต่ออุปกรณ์ทใี่ ช้งานเป็นอีกเรือ่ งทีส่ ง่ ผล ต่อความรู้สึกของพนักงาน เนื่องจากนโยบาย BYOD เปิดทางให้พนักงานสามารถเลือกซื้ออุปกรณ์ ไอทีได้ เอง อุปกรณ์ที่ใช้ย่อมได้รับการคัดสรรโดยผู้ ใช้ ข้อ พิจารณาเป็นล�าดับแรกๆ มักเป็นเรื่องของราคา ล� า ดั บ ถั ด มาก็ จ ะเป็ น เรื่ อ งการออกแบบดี ไ ซน์ หรื อ รู ป ลั ก ษณ์ ข องอุ ป กรณ์ และที่ ข าดไม่ ไ ด้ ก็ คื อ ประสิทธิภาพการใช้งานของอุปกรณ์ ซึ่งหากข้อมูล การตั ด สิ น ใจไม่ เ พี ย งพอจนไม่ มั่ น ใจ ผู ้ ใ ช้ ก็ มั ก จะ ได้รับค�าแนะน�าจากกลุ่มผู้ ใช้คนอื่นๆ ในองค์กรจนได้ สิ่งที่ดีที่สุดส�าหรับตนเองมาใช้งาน ซึ่งก็ส่งผลดีต่อ องค์กรด้วยเช่นเดียวกัน


TECH FOCUS IT BUSINESS

เชือ่ ว่าข้อดีของนโยบาย BYOD ทีก่ ล่าวมานัน้ เป็นสิง่ ทีท่ กุ องค์กร ล้วนปรารถนา เพราะไม่เพียงแต่จะลดค่าใช้จ่าย ยังท�าให้พนักงานมี ความสุขกับการน�าอุปกรณ์ไอทีของตนมาใช้ในงานอีกด้วย แน่นอน ว่าหากผู้ประกอบการจะเห็นตามด้วยเช่นนั้น ก็ไม่ถือว่าผิดแต่อย่าง ใด เพราะในปัจจุบนั มีหลายๆ องค์กรทีป่ ระสบความส�าเร็จในการน�า นโยบาย BYOD มาใช้ แต่กม็ หี ลายองค์กรทีไ่ ม่ประสบความส�าเร็จกับ นโยบายนี้ และกลุ่มหลังนี้เองที่ผู้ประกอบการควรพิจารณาว่าอยู่ใน ข่ายนี้ด้วยหรือไม่

สาเหตุที่ท�าให้นโยบาย BYOD ยังไม่ประสบความส�าเร็จ เนื่องมาจากการที่องค์กรไม่ได้มีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับกับ นโยบายนี้มาตั้งแต่เริ่มต้น หรือมีแต่ศึกษาในรายละเอียดน้อยจนเกินไป ท�าให้ขาด การพิจารณาความพร้อมขององค์กรแบบรอบด้าน ทั้งในเรื่องการเตรียมระบบ จัดการกับอุปกรณ์ ไว้รองรับ การก�าหนดสิทธิ์ของการเข้าถึงข้อมูลของพนักงาน ที่แตกต่างกัน รวมถึงการเตรียมความพร้อมในเรื่องระบบป้องกันการโจมตี จากมัลแวร์และผู้ ไม่ประสงค์ดี เป็นต้น

สิ่งที่จะตามมา หากองค์กรไม่ ได้ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับนโยบาย • ปัญหาด้านความปลอดภัยในการใช้งานระบบไอทีในองค์กร • ปัญหาไวรัสและมัลแวร์ • ปัญหาในเรื่องอุปกรณ์ ไอทีที่มีความหลากหลายเกินไปท�าให้ ยากแก่การบริหารจัดการ • ปัญหาในเรือ่ งของการรักษาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของบริษทั • ปัญหาในเรื่องของความเข้ากันได้ของระบบปฏิบัติการที่ ใช้งานกับระบบบริการด้านไอทีขององค์กร • ปัญหาอันเกิดจากการน�าแอปพลิเคชั่นที่มีความเสี่ยงสูง เข้ามาใช้ในองค์กร เป็นต้น แน่นอนว่าปัญหาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ก�าลังรอค�าตอบเพื่อที่ จะน�าข้อมูลมาพิจารณาเพื่อหาทางอุดช่องโหว่และสามารถเติม เต็มให้องค์กรที่ขาดความพร้อมสามารถด�าเนินนโยบายนี้ต่อไป ได้อย่างราบรื่น

Choose Your Own Device (CYOD) เป็นนโยบายที่จะท�าให้ องค์กรได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการเตรียมการ บริหารจัดการอุปกรณ์ ไอทีของพนักงานได้มากยิ่งขึ้น ในทางปฏิบัติเห็นว่าควรน�าระบบ CYOD เข้ามาใช้ก่อนนโยบาย BYOD เนื่องจากสามารถควบคุมการใช้งานของผู้ใช้ในองค์กรได้โดย ง่าย ทั้งยังดูแลในเรื่องของความปลอดภัยของระบบได้ดีกว่า และ เมื่อระบบสมบรูณ์แล้วจึงค่อยๆ ขยับเข้าสู่นโยบาย BYOD ต่อไป ก็ยังไม่สาย

77

ขัน้ ตอนส�าคัญของ CYOD มีดงั นี้ 1. องค์ ก รเป็ น ผู ้ ก� า หนดสเปคขั้ น ต�่ า ของอุ ป กรณ์ ไ อที ที่ พนักงานจะน�ามาใช้งาน พร้อมกันนี้ต้องก�าหนดอายุการใช้งาน ของอุปกรณ์ ไอทีนนั้ เมือ่ ถึงก�าหนดเวลาพนักงานเจ้าของอุปกรณ์ จะต้องเปลี่ยนไปใช้รุ่นที่ทันสมัยมากขึ้น 2. องค์กรเป็นผู้ประสานงานจัดหาอุปกรณ์ ไอทีหรือให้ข้อมูล โปรโมชั่นแก่พนักงาน เพื่อช่วยเป็นแรงสนับสนุนให้พนักงาน สามารถตัดสินใจในการน�าอุปกรณ์ ไอทีของตนเองมาใช้ ได้ง่าย ยิ่งขึ้น เช่น อาจเสนอช่วยเหลือในเรื่องของค่าอุปกรณ์ที่พนักงาน น�ามาใช้ หรือมีคา่ เสือ่ มสภาพเป็นรายเดือนให้กบั พนักงานเจ้าของ อุปกรณ์ เป็นต้น 3. การดูแลอุปกรณ์ ไอทีระหว่างใช้งานนัน้ องค์กรเป็นผูร้ บั ผิด ชอบ พร้อมทั้งมีบริการอุปกรณ์ส�ารองระหว่างส่งซ่อม 4. องค์กรจะเป็นผู้ตั้งค่าความปลอดภัยในอุปกรณ์ ไอทีให้กับ พนักงาน เช่น ลงทะเบียนอุปกรณ์ ไอทีทุกชิ้นที่พนักงานน�าเข้ามา ใช้ในองค์กร ก�าหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลแต่ละคน หรือติดตั้ง ซอฟต์แวร์ป้องกันมัลแวร์ ในอุปกรณ์ ไอทีของพนักงาน เป็นต้น 5. องค์กรเป็นผูก้ า� หนดกฎ กติกา มารยาทและบทบัญญัตใิ ดๆ ในการใช้งานอุปกรณ์ ไอทีในองค์กรของพนักงาน

EXECUTIVE SUMMARY ‘Choose Your Own Device (CYOD)’ is a concept that allow the organization to contribute in preparation and managing IT equipment for the staff more than before. Each organization should perform a task with this concept before start ‘Bring Your Own Device (BYOD)’ policy to prevent many problems. If the organization didn’t ready for BYOD, for example, security in IT system for internal system, virus and malware or too many types of IT equipment which make it hard to manage particular in keep an organization secret hidden.

issue 161 july 2016


78 industrial marketing

เรื่อง: ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�ำ ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำดและสื่อสำรองค์กร บริษัท อินเตอร์ลิงค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน)

TWITTER & BRAND STORY ความเกี่ยวข้องที่ไม่ควรมองข้าม

บางคนอาจใช้ Twitter เพื่อการท�างาน หรือใช้เพื่อพูดคุยเรื่องที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ�าวัน แต่ถ้าวันหนึ่งมีคนอยากรู้จักตัวตนของคุณ มากขึ้น นอกจาก Facebook แล้ว Twitter ก็เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่ถ่ายทอดทัศนคติของตัวคุณได้ เมื่อมีคนอื่นๆ เข้ามายังแอคเค้าท์ ของคุณ พวกเขาก็จะรู้จักตัวตนของคุณมากขึ้น ทั้งความคิด ทัศนคติ หรือค�าพูดที่ไม่เหมาะสม ซึ่งนี่อาจเป็นตัวกระตุ้นในการตัดสินใจ อะไรบางอย่างก็ ได้ อย่าลืมว่าคุณสามารถใช้ Twitter เพือ่ สร้างแบรนด์ให้ ตัวเองได้ (Personal Branding) ไม่ว่าคุณจะเป็นลูกจ้าง หรือนายจ้าง หนทางสูค่ วามส�าเร็จในยุคนี้ ก็คอื การท�าให้ ตัวเองเป็นแบรนด์ เพียงแค่ค้นหาภาพลักษณ์ว่าคุณเป็น ใคร มีความสามารถด้านใด เชี่ยวชาญในเรื่องอะไร อะไร คือจุดขาย เป็นต้น เมื่อคุณค้นหาตัวเองพบแล้ว ก็ลองใช้ Twitter เป็นอีกหนึง่ ช่องทางทีจ่ ะสร้างแบรนด์ให้ตวั เองได้ กลับมาที่กระบวนการท�า Storytelling นั้นไม่ใช่เรื่อง ใหม่อย่างมาก มีการใช้เรื่องนี้ในกระบวนทางการตลาด อย่างหนึ่งมาช้านาน ตั้งแต่ยุคมนุษย์หินที่คนในยุคนั้นวาดรูปต่างๆ เพื่อ เล่าเรื่องราวความกล้าหาญของเผ่าในการล่าอาหาร สิ่ง แวดล้อม และเรื่องจิตวิญญาณ ต่ อ ม า เ ร า ก็ ใช้ เ รื่ อ ง เ ล่ า ห รื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร Storytelling นีใ้ นการสร้างเรือ่ งเล่าทางประวัตศิ าสตร์ตา่ งๆ การสร้างศาสนาหรือแม้แต่ความกล้าหาญของกษัตริยใ์ น อาณาจักรต่างๆ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เนื่องจาก Twitter เป็น แพลตฟอร์มที่ทุกคน สามารถค้นหา และสื่อสาร กับคุณได้ (ยกเว้นแต่ว่าคุณจะ

ตั้งบัญชีให้เป็นส่วนตัว) นี่อาจ เป็นโอกาสที่ดีในการแสดงตัวใน ด้านดีๆ หรือจะท�าให้ตัวเองต้อง เสียชื่อ

จะเห็นได้ว่ากระบวนการท�า Storytelling นี้มีมาแต่ โบราณกาล และเป็นกระบวนการท�าการตลาดในแบบ ทีเ่ รียกว่าโฆษณาชวนเชือ่ หรือ Propaganda และได้ผล ต่ อ สมองของมนุ ษ ย์ ม านั บ แต่ โ บราณจนถึ ง ปั จ จุ บั น กระบวนการเล่าเรื่องนั้นเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเรา และ มนุษย์ชอบการรับฟังเรื่องราวเหล่านี้ กระบวนการเล่าเรื่องนี้เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ใน การสร้างเรื่องราวที่จะผูกกับตัวละครและการเดินทาง เรื่องหนึ่ง จากจุดตั้งต้นและไปถึงจุดจบของเรื่อง หรือ ทิ้งปมให้คนที่รับฟังและรับชมนั้นเกิดจินตนาการต่อได้ แต่ ก ารเล่ า เรื่ อ งนั้ น ไม่ ใช่ เรื่ อ งง่ า ย และไม่ ใช่ เรื่ อ งที่ แบรนด์นั้นจะต้องท�าทุกๆ ครั้งในการท�า Marketing Campaign หรือมีเรื่องราวที่จะต้องเล่าออกไป แต่ควร จะเป็นการสร้างเรือ่ งราวทีจ่ ะส่งต่ออนาคตในการเติบโต ขององค์กร และเป็นแก่นในการสร้างการเติบโตของ องค์กรนั้นต่างหาก


industrial marketing 79

ในยุคนีแ้ บรนด์ทมี่ เี รือ่ งราวความเป็นมาทีด่ ี โดยเป็นเรือ่ งราวของการก�าเนิด แบรนด์นนั้ ย่อมท�าให้ผบู้ ริโภครูส้ กึ สามารถเข้าถึงแบรนด์นนั้ ได้ และเข้าใจด้วยว่า การสร างเรื่องราวและการทํา Storytelling ของแบรนด แบรนด์นั้นเกิดขึ้นมาเพื่ออะไร และจะตอบโจทย์ผู้บริโภคตรงไหน เช่น New Covent Garden Soup นั้นมักจะใช้เรื่องราวการก�าเนิดแบรนด์ในการท�าการ นัน้ ขึน้ อยูก บั ส วนสําคัญส วนหนึง่ คือ การบอกเรือ่ งราวความ ตลาด โดยมีตน้ ก�าเนิดจากผูก้ อ่ ตัง้ คนหนึง่ ออกไปแล่นเรือใบ และรูส้ กึ หนาว เมือ่ จริงของแบรนด ให ผู คนได รู จักว าแบรนด น้ันมาจากไหน และ กลับมาบ้านจึงอยากทานอะไรอุน่ ๆ แทนสลัดทีเ่ ค้าจะได้ทาน จึงบอกแม่ตวั เอง สร างกระแสต อเนื่องของเรื่องราวนั้นกลายเป นวัตถุประสงค ด้วยเวลานั้นท�าให้แม่ของผู้ก่อตั้งท�าซุปด้วยเครื่องปรุงเดียวกัน จึงออกมาเป็น ซุปทีร่ อ้ น อุน่ และสดใส สุดท้ายกลายมาเป็นซุปกระปองให้ทกุ คนได้ซอื้ หาทาน ของแบรนด ต อไป การมีเรื่องราวที่ดีของแบรนด นั้นสามารถ กันต่อไป เชื่อมเข าสู อารมณ ของผู บริโภคได นอกจากนีแ้ บรนด์นยี้ งั ได้ใช้เรือ่ งเล่าของพนักงานมาสร้างสรรค์การเล่าเรือ่ ง อีกทั้งแก นเรื่องที่แข็งแรง มีความน าเชื่อถือ ที่ตรงกับการ ต่อ โดยให้พนักงานนั้นให้สูตรซุปที่ที่บ้านชอบท�าหรือสูตรซุปเก่าแก่ของที่บ้าน รับรู ในความเป นจริงนัน้ สามารถนําพาข อความทางการตลาด ออกมาท�าเป็นสูตรแจกจ่ายในการท�าการตลาดของแบรนด์ ในมุมมองของ Creative และ Marketing การจะท�าตลาดให้กับ Brand ต้อง หรือข อความที่เป นตัวตนของแบรนด นั้นเข าไปอยู ในใจของ เริ่มจากความเข้าใจสินค้าและบริการให้ดีที่สุด จากนั้นต้องศึกษาเพื่อท�าความ ผูบ ริโภคได แถมทําให ผบ ู ริโภคเกิดความเชือ่ ต อแบรนด นนั้ ด วย เข้าใจผู้บริโภค ลงลึกให้เห็น Consumer Insight หรือความต้องการที่แท้จริงใน ใจผูบ้ ริโภค และต้องใส่ใจรายละเอียดระดับ Micro Moment เพือ่ มองเห็น Consumer Journey นั่นคือ มองเห็นเรื่องราวของผู้บริโภคและ Brand เพื่อสร้าง ประสบการณ์รว่ มให้เกิดขึน้ จริง และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ สร้างความเชือ่ ถือระหว่าง ผู้บริโภคและ Brand สร างความไว ใจให กลุ ม ตัวอย่างการท�า Storytelling ที่ประสบความส�าเร็จมาก เช่น Steve Jobs เป าหมาย หรือลูกค าของคุณ และ Apple ทีท่ กุ ครัง้ ทีม่ ี Keynote Speech ทุกคนทัว่ โลกจะให้ความสนใจและ รอฟังว่าครั้งนี้มีอะไรใหม่เกิดขึ้นกับ Apple บ้าง หรือ Samsung เป็นอีก แบรนด์ทสี่ ร้างเรือ่ งราวได้นา่ สนใจและน่าติดตามทุกครัง้ ทีม่ สี นิ ค้าใหม่ เช่น Galaxy S6 edge หรือ Galaxy Note 5 มีการตั้งค�าถาม ท้าทาย ดึงดูดนักลงทุน หรือองค กรต างๆ ให้ผู้บริโภคสงสัย และน�าไปสู่การค้นหาค�าตอบ ของการสร้างแบรนด์ ทั้งนี้ คุณต้องแน่ใจว่าจะทวิตในเรื่องที่เป็นประโยชน์จริงๆ ซึ่ง ให้ตัวเองบน การสร้างแบรนด์ให้ตวั เอง ก็มจี ดุ เริม่ ต้นมาจากสิง่ ทีช่ อบ หรือสนใจ สร างการรับรู เกี่ยวกับแบรนด ซึง่ ถ้ามีความเชีย่ วชาญมากในระดับหนึง่ การแบ่งปันความรูเ้ หล่านี้ ของคุณ (หรือตัวคุณเอง) ไปยังคนอื่นๆ ก็จะช่วยสร้างคุณค่าให้ตัวคุณเองได้ ไม่จ�าเป็นจบดร. หรือเป็นอาจารย์ผ้สู อน ตราบใดทีค่ ุณมีความตัง้ ใจ การสร้างแบรนด์ให้ ตัวเอง ก็อาจเป็นแค่คา� พูดสวยหรู แต่การได้เจอเพือ่ น หรือกลุม่ คนทีม่ คี วาม ชอบแบบเดียวกัน ถือเป็นสิ่งที่ดีที่สุด

ประโยชน์

ทําให คุณแตกต างจากคนอื่นๆ

วิธีสร้าง

แบรนด์ ให้ตัวเองบน

อัพเดทภาพ Cover คุณสามารถแสดงความคิดสร างสรรค เล็กๆ น อยๆ ใน การออกแบบได แต ต องแสดงถึงบุคลิกหรือตัวตนของคุณด วย เข าร วมแชท หรือสร างแชทในทวิตเตอร เพื่อแชร ความคิดเห็นในเรื่องต างๆ ที่ เกี่ยวกับธุรกิจของคุณ แถมคุณยังจะได เรียนรู จากผู เชี่ยวชาญคนอื่นๆ ด วย

อัพเดทภาพโปรไฟล ต องดูเป น มืออาชีพ ไม ใช ภาพเก าเกินไป ใส คีย เวิร ดใน Bio อย าปล อยให บริเวณนี้ โล งเป นอันขาด คุณต องใส คําอธิบาย สั้นๆ ว าคุณคือใคร จะทวิตเรื่องอะไร ทักษะที่ต องการให คนอื่นรู รวมถึงสิ่งที่ กําลังสนใจ

EXECUTIVE SUMMARY

รีทวิตข อความของตัวเอง ฟ งดูกอ็ าจเหมือน อวยตัวเองมากเกินไป แต เมือ่ มีคนมารีทวิต ชื่นชมข อความของคุณ คุณสามารถ นําคําชมเหล านี้ใช ต อได เพราะจะช วย สร างความน าเชื่อถือเข าไปอีก

Twitter is an essential tool to make brand for organization. Do a branding on twitter has advantages to directly provide trust to targeted group or customer and also drawing entrepreneur and recognition of your brand which made you different from the other. Brand’s story telling with reliability which recognition with reality could bring the marketing message or the text which represent the brand’s identity to stay within the people heart. issue 161 july 2016


80 FOOD PROCESSING เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

Intel ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยอาหารด้วย

SURECHECK

อาหารหรื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ ส ะอาดหรื อ มี ก าร เจือปนนัน้ ถือเป็นสิง่ ทีอ่ นั ตรายอย่างยิง่ หลายครัง้ พบว่ า ความรุ น แรงที่ เ กิ ด ขึ้ น ส่ ง ผลถึ ง ชี วิ ต และ หากมองให้ ลึ ก ลงไปจะพบว่ า มี ห นทางในการ ป้องกันอยู่เช่นกัน ด้วยมาตรการความปลอดภัย ทางอาหาร Food Safety Modernization Act (FSMA) ของสหรัฐอเมริกาได้ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงครั้งส�าคัญ สร้างการติดตามข้อมูล อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ขั้นตอนการดูแลและผลิต วัตถุดิบอาหาร ร่วมกับกระบวนการวิเคราะห์และ ควบคุมความเสีย่ งอาหาร Hazard Analysis and Critical Control Points (HACCP) ความปลอดภัยทางอาหาร ความเสี่ยงที่กระจายตัวอยู่มากมาย การเจ็บป่วยจากอาหาร (เช่น อาหารเป็น พิษ) เป็นเรื่องที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ซึ่งเป็นผล มาจากวิวัฒนาการของเผ่าพันธุ์ หากลองสังเกต ให้ดีจะพบว่าหลายคนติดรสชาติที่หวานมากกว่า รสขมหรื อ เปรี้ ย ว ซึ่ ง พิ ษ ทั้ ง หลายที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความเจ็บป่วยจากอาหารมักจะมีรสชาติที่ขมกว่า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่จะหลีกเลี่ยงรสชาติที่อาจเป็น สาเหตุของความป่วยไข้ แต่สา� หรับในโลกทุกวันนี้ ที่มีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ท� า ให้ เราไม่ อ าจเชื่ อ ถื อ ในปรากฏการณ์ นี้ ไ ด้ เต็มที่อีกต่อไป ตัวอย่างเช่น ตูเ้ ย็น ซึง่ ถือเป็นการถนอมอาหาร และการปรุ ง อาหารด้ ว ยเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ สมัยใหม่ ได้พัฒนาคุณภาพชีวิตขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง แต่ ท ว่ า อาจท� า ให้ ป ระสาทการรั บ รู ้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงผิดพลาดได้ ในกระบวนการน�าเข้า อาหารนั้น กว่า 20% เป็นผลไม้และผัก ซึ่งมี รายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและกระบวนการผลิต น้อยมาก ซึ่งอาหารสดเหล่านี้สามารถเกิดการ ปนเปือ้ นได้งา่ ย นอกจากนี้ การบริโภคอาหารแปรรูป ยังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ถือเป็นอีกหนึ่ง ตัวแปรที่ส่งผลต่อการปนเปื้อนในอาหารมากขึ้น เพราะกระบวนการแปรรู ป อาหารต้ อ งผลิ ต ใน ปริมาณมากและอาจท�าให้เกิดการดูแลได้ไม่ทวั่ ถึง นอกจากนี้ ยังพบว่าประชากรกว่า 48 ล้านคน ต่อปี หรือ 16.8% ของประชากรทั้งหมดนั้นเกิด อาการป่วยจากการบริโภคอาหารที่ปนเปื้อน

HACCP

วิเคราะห์อันตรายและ จุดวิกฤตในการผลิตอาหาร Hazard Analysis and Critical Control Points (HACCP) หรือระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ ประเมินอันตราย (เช่น จุลินทรีย์ที่อาจฆ่าคน หรือท�าให้ป่วย) ระบุจุดวิกฤตที่ต้องท�าการควบคุม ซึ่งอาจเกิดความผิดพลาดได้ (เช่น การขนส่ง การจัดเก็บ การปรุงอาหาร)


FOOD PROCESSING

81

หลักการท�างานเบื้องต้นของ SURECHECK สร้างความปลอดภัยทางอาหารแบบครบวงจร ด้วยการควบคุมความเสีย่ งและการจัดการปัญหาทีท่ นั ท่วงที ศักยภาพในการใช้งานสูง สามารถท�าให้ผู้ปฏิบัติงานด�าเนินขั้นตอนได้ส�าเร็จ ถูกต้อง ว่องไว และข้อผิดพลาดน้อย ยกระดับคุณภาพ ด้วยการใช้ HACCP ท�าให้การรวบรวมข้อมูลสามารถใช้ในการควบคุมคุณภาพได้ ข้อมูลที่ครอบคลุม ด้วยฐานข้อมูลที่ครบถ้วน รวมถึงรายละเอียดเวลาที่ชัดเจน รายการที่อาจขาดหาย หรือจ�านวนวัตถุดิบที่ยังไม่ได้รับการตรวจสอบ และผลรวมประจ�าวัน สามารถตรวจสอบความเป็นมาได้ ท�าให้สามารถรับรู้ขั้นตอนกระบวนการด�าเนินการ และผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอนได้ ประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายส�าหรับขั้นตอนความปลอดภัย ของกระบวนการผลิตอาหารได้อย่างชัดเจน โดยบริษัทผู้ผลิตกล่าวว่า สามารถประหยัดเวลาลงไปได้ถึง 60%

ความปลอดภัยของอาหารในยุค IoT ด้ ว ยเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ที่ ท� า ให้ ข ้ อ มู ล ต่างๆ นั้นเข้าถึงได้อย่างง่ายดาย รวมถึงเพิ่ม ประสิทธิภาพในการท�างานให้เต็มศักยภาพ ด้วย โปรแกรม หรือแอปพลิเคชันทีบ่ รรจุรายการตรวจ สอบของ HACCP เอาไว้ ท�าให้สามารถด�าเนินการ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

HACCP เตรียมมาตรการขั้นตอน การป้องกันที่จะช่วยลด อันตรายได้ (เช่น ล้างอาหาร ปรุงอาหารด้วยอุณหภูมิ ที่เหมาะสม) ด�าเนินการตามขั้นตอนและ เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เป็นเวลา 2 ปีเพื่อวัดและประเมินผล

SureCheck เทคโนโลยีแห่งความปลอดภัยที่ปลายนิ้ว บริษัทผู้ผลิตชิปประมวลผล Intel จับมือกับ Par Technology สร้างแอปพลิเคชันส�าหรับมือถือ ที่มุ่งเน้นการจัดการปัญหาด้านความปลอดภัย ของอาหาร ‘SureCheck’ โดยใช้ประโยชน์จาก สมาร์ทโฟนและการเชื่อมต่อไร้สายระบบบลูทูธ มาพร้อมกับระบบตรวจจับอุณหภูมิ 3 รูปแบบ ได้แก่ ระบบตรวจจับแบบเทอร์โมมิเตอร์ทั่วไป ระบบอินฟราเรด (ส�าหรับตรวจสอบอุณหภูมิท่ี

พื้นผิวอาหารขณะปรุง) และ RFID (สามารถใช้ ในการติดตามอุณหภูมิและต�าแหน่งของอาหาร เมื่อถูกลงบันทึก) เพื่ อ อนาคตที่ มี ค วามมั่ น คงและปลอดภั ย มากขึ้ น ในการจั ด การดู แ ลความปลอดภั ย ของ อาหาร ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล แหล่ง ที่มา วิธีการดูแลรักษา ถือเป็นเรื่องส�าคัญในการ ควบคุมมาตรฐานของวัตถุดิบเพื่อยกระดับและ พัฒนาอาหารขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นใน ระบบอุตสาหกรรมหรือในครัวเรือน ด้วยแอป พลิเคชันที่สามารถใช้ได้ในทุกกระบวนการขั้น ตอนของอาหาร - วัตถุดิบ ร่วมกับการใช้งาน ตามพื้นฐานของ HACCP สามารถท�าให้มั่นใจได้ ในเรือ่ งของมาตรฐานและคุณภาพทีเ่ กิดขึน้ ตลอด กระบวนการอย่างแน่นอน Source: Making Food Safer for Everyone (Intel)

EXECUTIVE SUMMARY Food - borne illness which many cases are deadly could be prevent by various measures. To taking care of the problem, Hazard Analysis and Critical Control Point or HACCP is one of the best measures for food processing. The operator could gather comprehensive information for the material and IoT technology also provide easier HACCP usability with SureCheck application for smartphone which gathered concerned material’s information. The application also recorded the information on cloud system for verify, information sharing in real-time, cost saving, reduce time in the processing and improve management efficiency to provide trust worthiness for the buyer. issue 161 july 2016


82 LOGISTICs SMART เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ

SMART LOGISTICS กลยุทธ์บริหารจัดการโลจิสติกส์...อย่างชาญฉลาด โลจิสติกส์ (Logistics) เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ Supply Chain Management ซึ่งรวมถึงเรื่องการวางแผน การด�าเนินการ การควบคุม การไหลเวียน การจัดเก็บวัสดุ สินค้า การบริการ และสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล จากแหล่งจุดก�าเนิดของวัตถุดิบ จนถึงจุด บริโภคหรือจุดการใช้งาน เพื่อตอบสนองความต้องการ ของลู ก ค้ า เป็ น กิ จ กรรมที่ มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ธุ ร กิ จ เกื อ บทุ ก ประเภท อี ก ทั้ ง เป็ น ต้ น ทุ น พื้ น ฐานที่ ส� า คั ญ ซึ่งกระทบต่อต้นทุนรวมของผลิตภัณฑ์และบริการ การ บริ ห ารจั ด การระบบโลจิ ส ติ ก ส์ อ ย่ า งชาญฉลาดทั้ ง ด้ า น กลยุทธ์และระดับปฏิบัติการ ส่งผลบวกต่อประสิทธิภาพ โดยรวมขององค์ ก รและต้ น ทุ น ที่ ล ดลง โดยค� า นึ ง ถึ ง องค์ประกอบส�าคัญ ดังนี้

การบริหารจัดการ คลังสินค้าสมัยใหม่

เทคนิคการบริหาร สินค้าคงคลัง

กลยุทธ์ลดต้นทุน การขนส่ง

ดัชนีชวี้ ดั ผลการปฏิบตั งิ าน การจัดการโลจิสติกส์

การบริหารจัดการคลังสินค้าสมัยใหม่ วัตถุประสงค์ • เพือ่ ลดต้นทุนด้านการผลิตและขนส่ง: ผลิต และขนส่งในปริมาณมาก • เพือ่ ถ่วงดุลอุปสงค์และอุปทาน: สินค้าตาม ฤดูกาล สินค้าที่มีราคาไม่แน่นอน • เพื่อช่วยกระบวนการผลิต: ช่วยผลิตได้ต่อ เนื่อง สินค้าที่ต้องการการเพาะหรือบ่ม • เพื่อช่วยลดกระบวนการตลาด: ลดเวลา การส่งมอบ ลดการเสียโอกาส ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า Warehouse Management System: WMS เ ป ็ น ร ะ บ บ โ ป ร แ ก ร ม ที่ พั ฒ น า ขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ ใ นการบริ ห ารระบบคลั ง สินค้า ที่ครอบคลุมกระบวนการต่างๆ ในคลั ง สิ น ค้ า ได้ แ ก่ การรั บ สิ น ค้ า (Receiving) การจัดเก็บ (Putaway) และการจัดและการเติมสินค้า (Picking & Replenishment)

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

การค�านวณความต้องการเนื้อที่เก็บสินค้า การออกแบบคลังให้ ได้ผลต้องค�านวณความต้องการเนื้อที่ เก็บสินค้า โดยจัดสรรเนื้อที่อย่างรอบคอบและเกิดประโยชน์มาก ที่สุด ไม่ให้เนื้อที่เสียเปล่า โดยมีปัจจัยที่ใช้ ในการค�านวณความ ต้องการเนื้อที่เก็บสินค้า ดังนี้ • ปริมาณของสินค้าทีจ่ ะเก็บ พิจารณาปริมาณของยอดขายที่ จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งๆ ว่ามีความคงที่หรือค่อนข้างจะเปลี่ยน • ลักษณะเฉพาะของสินค้าที่จะเก็บ • อุปกรณ์ส�าหรับการล�าเลียงขนถ่าย • ลักษณะของการเก็บรักษาสินค้า

การบริหารบุคลากรในคลังสินค้า • ก�าหนดเป้าหมาย • วิธีการด�าเนินการ • พิจารณาให้ค�าแนะน�า • เลือกวิธีการสื่อสาร เบา หรือ หนัก • ติดตามความคืบหน้า ประเมินผล • แนะน�า หากต้องมีการแก้ ไข • พิจารณาเหตุของความล้มเหลว • ติดตามความคืบหน้า ประเมินผล


LOGISTICs SMART 83

ตัวอย่างการจัดสรรพื้นที่เก็บสินค้า

เทคนิคการบริหารสินค้าคงคลัง ระยะเวลา สินค้าที่สั่งมาจะมีความสามารถเปลี่ยนเป็น เงินสดได้รวดเร็วเพียงใด ต้นทุน จะต้ อ งใช้ เ งิ น เท่ า ไรที่ จ ะซื้ อ สิ น ค้ า มาเพื่ อ เป็นการเพิ่มรายได้ให้มากขึ้น • ต้นทุนที่ใช้ซื้อสินค้าเพื่อขาย (Costs of Acquiring) • ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการเก็ บ รั ก ษา (Costs of Holding) การบริการ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ได้ดีขึ้น

การบริหารคลังสินค้าและสินค้าคงคลังด้วยหลักการ ABC Analysis (Always Better Control) ส่งผลให้มีประสิทธิภาพในการจัดวางสินค้า ช่วยลด ต้นทุนการขนถ่ายสินค้าด้านแรงงานและเวลาที่ใช้ มีหลัก การดังนี้ • สินค้าที่ขายดี - ไม่ดี จะมีต�าแหน่งการวางต่างกัน • สินค้าที่ขายดี อยู่ใกล้ประตูเข้าออก เพื่อสะดวกใน การขนถ่าย • สินค้าที่ขายไม่ดี จะเก็บด้านใน เพราะไม่ค่อยมีการ ขนถ่ายสินค้า • สินค้าทีม่ ขี นาดใหญ่ ขนถ่ายล�าบาก จะเก็บใกล้ประตู กลยุทธ์ลดต้นทุนการขนส่ง การบริหารการขนส่ง ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การขนส่งแต่ละรูปแบบมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกัน ลักษณะ เด่นและด้อย จะมีอยู่ในทุกรูปแบบการขนส่ง ดังนั้น การ ขนส่งแต่ละรูปแบบจึงพยายามที่จะพัฒนาตัวเองให้เจริญ ก้าวหน้าอยู่เสมอ เพื่อให้การขนส่งมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล กล่าวคือ

สินค้าถูกต้อง (Right Product & Customer)

ประสิทธิภาพ

ปริมาณถูกต้อง (Right Quantity) คุณภาพถูกต้อง (Right Condition) เวลาถูกต้อง (Right Time)

Fixed Storage • สถานที่จัดเก็บถูกก�าหนดชัดเจน • ขนาดของที่จัดเก็บจะต้องเพียงพอ เพือ่ รองรับปริมาณสินค้าคงคลังของ สินค้านั้นๆ • ต้นทุนการเคลื่อนย้ายสินค้าต�่า • ต้นทุนของสถานที่จัดเก็บสูง

B A C

Randomized Storage • สามารถจัดเก็บได้ทุกที่ • ที่จัดเก็บสินค้าทั้งหมดต้องเพียงพอ ในการรองรับปริมาณสินค้าทุก รายการ • ต้นทุนของสถานที่จัดเก็บต�่า • ต้นทุนการเคลื่อนย้ายสินค้าสูง

Class-based Storage • สามารถจั ด เก็ บ ได้ ทุ ก ที่ ภ ายในโซน ที่ก�าหนด • ที่จัดเก็บสินค้าในแต่ละโซนต้อง เพียงพอเพื่อรองรับปริมาณสินค้า ในโซนนั้นๆ • ต้ น ทุ น ของสถานที่ จั ด เก็ บ และการ เคลื่อนย้ายสินค้าปานกลาง

ABC

A

AB

ปัจจัยส�าคัญในการบริหารการเปลีย่ นแปลง • หาจุดสมดุลระหว่างต้นทุนการขนส่งที่ต�่า กับระดับการบริการที่ เหมาะสม • การสร้างโครงข่ายการขนส่งสินค้าที่จะอ�านวยให้เกิดการขนส่ง ที่มีต้นทุนต�่า ในขณะเดียวกันก็มีระดับการบริการตามข้อก�าหนด ของลูกค้า • การเลือกรูปแบบการขนส่งสินค้าที่เหมาะสม • เข้าใจต้นทุนของการขนส่ง และมีการเก็บข้อมูลเพื่อติดตามต้นทุน อย่างใกล้ชิด • มีการติดตามวัดผลการปฏิบัติการ KPIs • น�าหลักวิธีการการจัดเส้นทางตารางเวลามาใช้เพื่อลดต้นทุนและ เพิ่มประสิทธิภาพ • พิจารณาปัจจัยต่างๆ เพื่อประเมินประโยชน์และความเสี่ยง ก่อน ตัดสินใจจัดจ้างการขนส่ง

issue 161 july 2016


84 LOGISTICs SMART

KPIs หมายถึง ดัชนีหรือพฤติกรรมการปฏิบัติที่ส�าคัญ ที่สามารถวัดได้ และสามารถแสดงหรือบ่งชี้ถึงความส�าเร็จ ของการด�าเนินงาน

ลักษณะของการวัดผลทีด่ ี เฉพาะเจาะจง

สามารถวัดได้

สามารถบรรลุผลส�าเร็จได้

มีความเป็นจริง

มีระยะเวลาของการใช้งาน

หัวข้อในการวัด KPI ในงานคลังสินค้า กิจกรรม

การเงิน

ศักยภาพ

คุณภาพ

Cycle Time

การรับ

ต้นทุนการรับ ต่อรายการการรับ

จ�านวนการรับสินค้า ต่อคนต่อชั่วโมง

เปอร์เซ็นต์ความถูกต้อง ของการรับสินค้า

Receipts Processing Time Per Receipt

การเก็บ

ต้นทุนการเก็บ ต่อรายการเก็บ

จ�านวนการเก็บสินค้า ต่อคนต่อชั่วโมง

เปอร์เซ็นต์ความถูกต้อง ของการเก็บสินค้า

Putaway Cycle Time (Per Putaway)

การจัดเก็บ

ต้นทุนการเก็บสินค้า ต่อจ�านวนสินค้า

ความถูกต้อง ของการจัดเก็บ

เปอร์เซ็นต์โลเคชั่น หรือพื้นที่ว่าง

Inventory Days on Hand

การจัด

ต้นทุนการจัด ต่อจ�านวนสินค้าทีจ่ ดั

จ�านวนการจัดสินค้า ต่อคนต่อชั่วโมง

เปอร์เซ็นต์ความถูกต้อง ของการจัดสินค้า

Order Picking Cycle Time (Per Order)

Shipping

Shipping Cost Per Customer Order

จ�านวนการส่งมอบสินค้า ต่อคนต่อชั่วโมง

เปอร์เซ็นต์ความถูกต้อง ของการส่งสินค้า

Warehouse Order Cycle Time

Source: เอกสารประกอบการบรรยาย โดย คุณอาณัติ ยงยุทธ, Supply Chain Manager บริษัท ล�่าสูง (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) จากงานสัมมนา Automation & Control Forum 2016 EXECUTIVE SUMMARY Logistics are important factor of the supply chain management method. It’s a method that involve in the procedure for almost every business. Smart logistics management for strategy and operation provide positive result to overall efficient of the organization and also cost reduction. This management is considering on these factors as follows: modern warehouse management, inventory management, strategy for reduce transportation cost and operation indicator for logistics management. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ SAFETY 85

การสอบสวนอุบัติเหตุ

อีกหนึ่งวิธีปฏิบัติเพื่อทราบสาเหตุพื้นฐาน อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ท่ีไม่พึงปรารถนา ซึ่ง เมือ่ เกิดขึน้ แล้วจะน�ามาซึง่ ความเสียหาย ทัง้ ต่อชีวติ ทรัพย์สนิ กระบวนการผลิต ตลอดจนภาพพจน์ และ ชือ่ เสียง ดังนัน้ หากทุกองค์กรได้มรี ะบบและวิธกี าร สอบสวนอุบัติเหตุ เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) ของการเกิดอุบัติเหตุที่แท้จริงแล้ว การวางแผน ควบคุม และป้องกันมิให้อุบัติเหตุ ดังกล่าวเกิดขึ้นซ�้าอีก ก็จะด�าเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ดังนั้น ผู้บริหารขององค์กรควรให้ ความส�าคัญของการสอบสวนอุบัติเหตุทุกครั้ง เมื่อ มีอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น และต้องถือเสมือนหนึ่งว่าเป็น ความรับผิดชอบที่จะต้องค้นหาให้ทราบถึงสาเหตุ อันแท้จริงของการเกิดอุบัติเหตุ

วัตถุประสงค์ของการสอบสวนอุบัติเหตุ 1. เพื่อค้นหาให้ทราบถึงสาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) ของการเกิดอุบัติเหตุ และหาแนวทาง ป้องกันมิให้อุบัติเหตุในลักษณะดังกล่าวเกิดซ�้าขึ้นอีก 2. เพื่อน�าแนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุที่ได้ก�าหนดขึ้นจากการค้นหาสาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุ ไปขยายผลในงานต่างๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน 3. เป็นการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุที่ มีอยู่ ซึ่งจะน�าไปสู่การปรับปรุงมาตรการการควบคุมและ ป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมต่อไป 4. เพื่อน�าผลที่ได้จากการสอบสวนอุบัติเหตุ น�าไปให้หัวหน้างาน และผู้บังคับบัญชาไว้เป็นข้อมูล พื้นฐานในการสอนงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาต่อไป 5. เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์ อุบัติเหตุ (Accident Analysis) ในการพิจารณา แนวโน้มของการเกิดอุบัติเหตุในหน่วยงานนั้นๆ

issue 161 july 2016


86 SAFETY

ขั้นตอนในการสอบสวนอุบัติเหตุ 1. เมือ่ มีเหตุการณ์ / อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ จะต้อง ด�าเนินการตอบโต้เหตุการณ์อย่างเหมาะสม ซึ่งใน การตอบโต้เหตุการณ์จะครอบคลุมในเรื่องต่อไปนี้ • การเข้าควบคุมบริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ • การปฐมพยาบาลผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ ใน เบื้ อ งต้ น ก่ อ นน� า ผู ้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ ส่ ง โรง พยาบาลต่อไป • ควบคุมมิให้ผลความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จาก อุบัติเหตุได้ขยายผลต่อไป • เก็บรักษาหลักฐานในสถานทีเ่ กิดเหตุ เพือ่ ป้ อ งกั น การเปลี่ ย นแปลงของหลั ก ฐาน หากมีการเคลื่อนย้าย • แจ้ ง ให้ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ได้ รั บ ทราบถึ ง ข้อมูลเบื้องต้นของการเกิดอุบัติเหตุ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลและหลักฐานที่ เกีย่ วข้อง ในขัน้ ตอนนีเ้ ป็นขัน้ ตอนทีม่ คี วามส�าคัญ มาก จะน�าไปสู่การวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิด อุบัติเหตุที่แท้จริงได้ เทคนิคส�าคัญที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมหลักฐานและข้อมูล มีดังนี้ • การสัมภาษณ์ซกั ถามผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ได้แก่ ผู้ ประสบอุบัติเหตุ ผู้เห็นเหตุการณ์ หัวหน้า งานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานนั้นๆ • การวาดภาพของเหตุการณ์ประกอบ • การถ่ายรูปหรือบันทึกภาพ ไม่วา่ จะเป็นผู้ ที่ประสบอุบัติเหตุ บริเวณที่เกิดอุบัติเหตุ เครื่องจักรที่เกิดอุบัติเหตุ และภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จะใช้เป็นหลักฐานที่ส�าคัญที่ ใช้ประกอบในการสอบสวนอุบัติเหตุ • การแสดงซ�้าให้ดู ในระหว่างการสอบสวน อุบัติเหตุ • การตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ และ เครื่องจักร ในการสอบสวนอุบัติเหตุที่มี การท�างานเกี่ยวข้องกับการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องจักร 3. การวิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ ข องการเกิ ด อุบัติเหตุ ผู้ที่รับผิดชอบในการสอบสวนอุบัติเหตุ จะต้องน�าข้อมูลต่างๆ มาใช้ในการวิเคราะห์หา สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งสาเหตุที่ต้องการ จะต้องเป็นสาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) ของการ เกิดอุบัติเหตุ และสาเหตุพื้นฐานสามารถแบ่งได้ ออกเป็น 2 ปัจจัย คือ • ปัจจัยทีเ่ กิดจากคน (Personal Factor) เช่น การขาดความรู้ การขาดทักษะและความ ช�านาญ การได้รับความกดดันทางด้าน ร่ายกายและจิตใจ เป็นต้น • ปัจจัยที่เกิดจากงาน (Job Factor) เช่น ขาดเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสมใน การท�างาน ขาดการบ�ารุงรักษาเครื่องมือ และอุปกรณ์ การใช้อุปกรณ์และเครื่อง มือผิดประเภท การใช้งานเกินก�าลังของ เครื่องมือและเครื่องจักร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ขอบเขตของอุบัติเหตุที่จะต้องท�าการสอบสวน เพือ่ ให้การสอบสวนอุบตั เิ หตุได้ดา� เนินการให้ครอบคลุมในทุกรายของการเกิดอุบตั เิ หตุ และ เกิดความเข้าใจตรงกันภายในองค์กรว่า ลักษณะเหตุการณ์ ใดควรจะเป็นอุบัติเหตุที่ต้องการ สอบสวน ดังนั้น ขอบเขตของอุบัติเหตุที่ต้องท�าการสอบสวนควรครอบคลุม ดังต่อไปนี้ • การบาดเจ็บจากการท�างานที่มีการสูญเสียวันท�างาน • การบาดเจ็บจากการท�างานถึงขั้นทุพพลภาพ พิการ หรือสูญเสียอวัยวะ • การเสียชีวิต • การเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการท�างาน (Occupational Disease) • การเกิดอัคคีภัย หรือการระเบิด • อุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์หรือทรัพย์สินของ องค์กร • อุบัติเหตุที่ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อกระบวนการผลิตขององค์กร (Process Loss) • เหตุการณ์ที่เกือบจะเป็นอุบัติเหตุ (Near Miss)

บุคคลที่เกี่ยวข้อง 1. หัวหน้างาน เป็นบุคคลแรกที่ควรเป็นผู้รับรายงานว่ามีอุบัติเหตุเกิดขึ้น และเข้าไปยังจุดที่เกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับเหตุการณ์มากที่สุด และเป็นผู้บังคับบัญชาที่อยู่หน้างาน (Front Line Management) ซึ่งจะคุ้นเคยกับพนักงาน ลักษณะการท�างาน เครื่องจักร สภาพแวดล้อมในการท�างาน และ สภาพการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ 2. ผู้บริหารในสายงานบังคับบัญชา เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมและเกิดความรับผิดชอบต่อความสูญเสีย ที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุผู้บริหารในสายงานบังคับบัญชาของผู้ประสบอุบัติเหตุ หรือ ผู้รับผิดชอบในพื้นที่ที่เกิด อุบัติเหตุจะต้องเข้าร่วมในการสอบสวนอุบัติเหตุ ในฐานะผู้บังคับบัญชาที่ต้องแสดงความรับผิดชอบต่อความ เสียหายที่เกิดขึ้นด้วย 3. เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยระดับวิชาชีพ (จป.วิชาชีพ) นับว่าเป็นบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถในเรือ่ ง ของงานความปลอดภัยตามทีก่ ฎหมายก�าหนด อีกทัง้ เป็นผูท้ ผี่ า่ นการศึกษาอบรม ในองค์ความรูท้ เี่ กีย่ วกับงาน ด้านความปลอดภัย จึงนับว่าเป็นบุคลากรทีจ่ ะใช้เทคนิควิชาการในการสอบสวนอุบตั เิ หตุและใช้ประสบการณ์จาก การท�างานด้านความปลอดภัย ในการร่วมค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 4. คณะกรรมการความปลอดภัย เป็นองค์กรความปลอดภัยที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายและเป็นองค์กรที่ มีบุคลากรที่เป็นตัวแทนฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายผู้ปฏิบัติงานอยู่ในคณะกรรมการดังกล่าว ดังนั้น ในบางกรณีที่มี การเกิดอุบัติเหตุที่เกิดกรณีส�าคัญ เช่น การเกิดอัคคีภัย การระเบิด การสูญเสียด้านบุคคลขั้นรุนแรง เป็นต้น คณะกรรมการความปลอดภัยอาจมีการเรียกประชุม เพือ่ ร่วมพิจารณาผลจากการสอบสวนสาเหตุของการเกิด อุบตั เิ หตุในขัน้ ต้นจากหัวหน้างานเพือ่ พิจารณาวางมาตรการในการด�าเนินการป้องกันอุบตั เิ หตุทอี่ าจเกิดขึน้ อีก 5. ผู้เชี่ยวชาญการเกิดอุบัติเหตุ บางลักษณะที่มีความสลับซับซ้อนและเป็นเรื่องทางเทคนิคอาจต้องใช้ผู้ เชีย่ วชาญเฉพาะเรือ่ ง (Specialist) ในการร่วมสอบสวนเพือ่ ให้ความเห็นในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องทางเทคนิคซึง่ ความ เห็นทั้งหมดจะได้น�ามาประมวลเพื่อสรุปหาสาเหตุพื้นฐานของการเกิดอุบัติเหตุต่อไป


SAFETY 87

1

การบันทึกรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประสบอุบัติเหตุ ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล อายุ เพศ หมายเลขประจ�าตัว ต�าแหน่ง หน้าที่ หน่วยงานที่ สังกัด อายุงาน เป็นต้น

2 3 4

วัน เดือน ปี ที่เกิดอุบัติเหตุ

สถานที่ ที่เกิดอุบัติเหตุ

อธิบายรายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

5 7

ผู้เห็นเหตุการณ์

ค่าเสียหายจากการ เกิดอุบัติเหตุ

สาเหตุพื้นฐาน ของการเกิดอุบัติเหตุ

6

วิธีการแก้ ไขและป้องกันมิให้อุบัติเหตุเกิดขึ้นอีก

8 9

ความเห็นของ ผู้บังคับบัญชา

10 12

รายงานของเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์เกี่ยวกับลักษณะการ บาดเจ็บความรุนแรงของการบาดเจ็บ ค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาล

11

ลายมือชื่อของ คณะกรรมการที่ท�าการ สอบสวนอุบัติเหตุ

ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

4. การก�าหนดวิธีการแก้ไขและพัฒนาแนวทางการ ป้องกันอุบตั เิ หตุ องค์กรควรพิจารณาก�าหนดเป็นแผนการ แก้ไข แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ • แผนแก้ไขปัญหาระยะสั้น ภายหลังจากการ สอบสวนอุบตั เิ หตุจะมีแนวทางการแก้ไขบางอย่าง ที่อาจจ�าเป็นที่ต้องเร่งด�าเนินการ และสามารถ ด�าเนินการได้ทันที เพื่อหยุดยั้งเหตุการณ์ที่อาจ เกิดขึ้นอีกซึ่งแนวทางดังกล่าวจะเป็นแนวทางที่ ใช้แก้ไขตามสิ่งที่เกิดจากการกระท�า และสภาพ การณ์ที่ไม่ปลอดภัย • แผนแก้ไขปัญหาระยะยาว เป็นการแก้ไขปัญหา อย่างถาวร ซึ่งจะเป็นการแก้ไขที่สาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) ของอุบัติเหตุ ซึ่งการแก้ไขปัญหา ระยะยาวจ�าเป็นที่จะต้องใช้การวางแผนที่ดี และ ได้รับการสนับสนุนจากระดับบริหาร ทั้งในด้าน ของงบประมาณอัตราก�าลัง บุคลากร ซึง่ การแก้ไข ปัญหาลักษณะนีจ้ ะเป็นการควบคุม เพือ่ ป้องกันมิ ให้อุบัติเหตุในลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นอีก 5. การติดตามและประเมินผล จะท�าให้ได้ทราบว่า วิธีการแก้ไขที่ก�าหนดในแผนบรรลุซ่ึงเป้าหมายที่ต้องการ หรือไม่ ในการติดตามผลควรมีการด�าเนินการอย่างเป็น ระยะ มีการก�าหนดให้มผี รู้ บั ผิดชอบในการติดตามทีช่ ดั เจน และในการติ ด ตามผลนั้ น จะต้ อ งมี ก ารรายงานความ ก้าวหน้าของการแก้ไขปัญหาให้ผู้บริหารทราบเป็นระยะ จนกระทั่งการแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ Source: สวินทร์ พงษ์เก่า สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�างาน (ประเทศไทย)

EXECUTIVE SUMMARY Investigating an accident is a practice to learn the truth about basic cause of that accident, strategic planning, controlling and prevent repetitive accidental. When the problem occurred, it will be damaged to life, assets, production as well as the company’s image and reputation. Thus, company’s executive should be serious with investigation of accident and also considered that is their responsibility to take an action to reveal the real basic cause.

issue 161 july 2016


Supported By:

Ministry of Industry

Ministry Of Energy

Petroleum Institute of Thailand (PTIT)

Singapore Industrial Automation Association (SIAA)

Malaysia External Trade Development Corporation (MATRADE)

Design & Engineering Consulting Service Center

Thai Machinery Association

Technology Promotion Association

Welding Institute of Thailand

Technical Petroleum Training Institute (TPTI)

Premium Exhibitors :

Technip Engineering (Thailand) Ltd.

The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University

Official Media :

PAE Technical Service Company Limited

Oil & Gas Today Magazine

Juz Talk (Thailand)

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group

เขFree าชมงานฟร� ! To Attend!

Ministry of Industry

Thai Machinery Association

The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University


Asia’s Largest Specialized Sugar and Bioethanol Technology Event!

World

UGAR S 2016 Conference

7-8 September 2016

Co-Located With :

BITEC, Bangkok, Thailand www.sugar-conference.com

An

Special Rate

20% Off

(Register and pay on or before)

Mr.Kitti Choonhawong, President of Thailand Society of Sugar Cane Technologist (TSSCT) Mr.Somsak Jantararoungtong Secretary-General of The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)

1 August 2016

Mr.Rangsit Hiangrat, Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) Mr.Pipat Suttiwisedsak, Chief Operating Officer / Managing Director at Ekarat Pattana Co., Ltd. (EPC Ethanol) Dr.Pipat Weerathaworn, Member of Agriculture and Biology Committee, National Research Council of Thailand (NRCT) Mr.Achmad Widjaja, Secretary General of Indonesian Sugar Association (AGI) Mr.U.San Thein, Vice President of Myanmar Sugar and Sugar Related Products Merchants and Manufacturer's Association (MSMA) Mr.Ahmad Farid Kamarudin, Head of MSM Trading International DMCC, Malaysia Mr.Tsai Tung Sheng, Vice President of Tai&Chyun Associates Industries, Inc Mr.Bernd Langhans, Siemens Co.,Ltd.

Supported By:

Ministry of Industry

The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)

Platinum Exhibitor By :

FTI, Agricultural Machinery Manufactures Industry Club

Thai Sugar And Bio-Energy Producers Association-TSEA

Co-Located With :

Thailand Society of Sugar Cane Technologists

Official Media :

Thai Sugar Millers Corporation Limited

Conference By :

Thai Machinery Association

Energy Research and Development Institute - Nakornping

Organized By :

World

SUGAR

Conference 2016

Samart Kaset-Yon Co.,Ltd.

World Sugar Conference 2016

Sugar Asia Magazine

JuzTalk Thailand

Fireworks Media (Thailand) Co. Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group

KTIS Group

Ekarat Pattana Company Limited

Khonburi Sugar Public Company Limited

Siemens Thailand

Thai-Japan Technology Promotion Assn




ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 – AN OUTSTANDING SUCCESS! They are delighted to inform you that ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 exceeded all expectations for both exhibitors and visitors. UBM Asia (Thailand) Co., Ltd. the show organizer, extends its deepest appreciation to all for making the show the most successful renewable energy, energy efficiency, environmental technology, boilers, pumps and valves exhibition ever held in the region. BOILEX ASIA AND PUMPS & VALVES ASIA 2016 both run in conjunction with ASE2016 and are the only specialized shows in the Kingdom featuring pumps, valves and boiler technology exclusively. The show has now become a central meeting point for world leading brands and entrepreneurs will find it the perfect place to do business and find the latest technology in energy saving and energy efficient. This is a without a doubt a must-attend event. ANOTHER RECORD BREAKING EVENT! ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 has broken all records. The total number of visitors for the four day exhibition was 26,337 from 40 countries. The number of overseas visitors increased by 10% and exhibitors were all highly satisfied with the quality of attendees who represented a wide variety of industries. Over 75% of 2017 exhibition space has already been booked and confirmed on site. The show organizer, UBM Asia (Thailand), extends its deepest appreciation to all exhibitors, delegations, speakers, business partners, government officers, industrial associations and agencies for their support in making the 2016 event an all - round winner!

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2017

is projected to expand once again and will run from June 7 - 10, 2017 at BITEC, Bangna, Thailand.

PUMPS & VALVES ASIA 2017

will be held from June 7 – 10, 2017 and BOILEX ASIA 2018 is a bi - annual event that will run from in June 2018. Altogether a winning team!

For more information Tel: +66 (0)2642 6911 www.asew-expo.com

ประสบความส�าเร็จอย่างมากมายส�าหรับงาน ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 ทั้งทางด้าน ผู ้ ร ่ ว มออกงานและผู ้ เข้ า ชมงาน โดยบริ ษั ท ยู บี เ อ็ ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด ในฐานะผู้จัดงานขอแสดง ความขอบคุ ณ ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งภายในงานทุ ก ท่ า น ที่มีส่วนร่วมท�าให้การจัดงานพลังงานทดแทน อนุรักษ์ พลังงาน เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม หม้อไอน�้า ปั้มและวาล์ว ในครั้ ง นี้ ป ระสบความส� า เร็ จ ได้ อ ย่ า งดี ที่ สุ ด เท่ า ที่ เ คย จัดขึ้นในภูมิภาค BOILEX ASIA AND PUMPS & VALVES ASIA 2016 ที่จัดร่วมกันกับ ASE 2016 ถือเป็นงานเดียวที่รวบรวม เทคโนโลยีปั้ม วาล์ว และหม้อไอน�้าชั้นน�า ซึ่งท�าให้ งานแสดงในครั้ ง นี้ ก ลายเป็ น ศู น ย์ ร วมในการประชั น เทคโนโลยีจากแบรนด์ระดับโลก ซึ่งผู้ประกอบการจะได้ พบปะเพื่ อ เจรจาทางธุ ร กิ จ และยั ง ได้ เ ปิ ด มุ ม มองใหม่ กับเทคโนโลยีล่าสุดทางด้านการอนุรักษ์พลังงานและ ประหยัดพลังงานซึ่งถือเป็นงานที่ไม่ควรพลาด ท�ำลำยสถิติอีกครั้งของกำรจัดงำน ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 ท�าลายสถิติอีกครั้ง โดยจ�านวนผู้เข้าชมงานมากสูงสุด เป็นประวัติการณ์ตลอดทั้ง 4 วัน จ�านวน 26,337 คน จาก 40 ประเทศ จ�านวนผู้เข้าชมงานชาวต่างชาติเพิ่มขึ้น ถึง 10% และผูม้ าออกงานพอใจเป็นอย่างมากกับคุณภาพ ผู้เข้าชมงานที่มาจากหลากหลายอุตสาหกรรม ส่งผลให้ ผู้มาออกงานต่างร่วมจับจองพื้นที่ต่อเนื่องในปี 2017 รวมแล้วกว่า 75% ทางผู้จัดงานฯ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ทั้งผู้ร่วมออกงาน คณะผู ้ แ ทน วิ ท ยากร พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ตั ว แทน ข้าราชการ สมาคมต่างๆ ในอุตสาหกรรม และหน่วยงาน ต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนด้วยดีมาโดยตลอด จึงท�าให้การ จัดงานในครั้งนี้ประสบความส�าเร็จอย่างยิ่งใหญ่อีกครั้ง


INTERMACH, SUBCON THAILAND & SHEET METAL ASIA 2016 A MAJOR SUCCESS IN BUSINESS OPPORTUNITIES & LINKAGE FOR ASEAN ENTREPRENEURS ประสบความสำาเร็จอีกปีกับโอกาสและการเชื่อมโยงธุรกิจ ในงาน

อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2016 การจัดงานในปีนี้ได้รับผลตอบรับดีเกินคาดทั้ง 3 งาน อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2016 มีผู้เข้าชมงานมาก กว่า 40,500 คน ผู้มาออกงานพอใจเป็นอย่างมากกับคุณภาพผู้เข้าชม งานหลากหลายอุตสาหกรรม มีผู้สนใจเทคโนโลยีเครื่องจักรและเครื่องมือทางอุตสาหกรรมกว่า 1,000 ชิน้ และมีการจับคูธ่ รุ กิจเกิดขึน้ ทัง้ หมด 5,216 คู่ คิดเป็นมูลค่าทาง ธุรกิจมากกว่า 8,619 พันล้านบาทในการจัดงานเพียงแค่ 4 วัน นี่เองท�าให้งาน อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2016 เป็นงานที่รวมแหล่งเทคโนโลยี เครื่องจักร เครื่องมือ อุตสาหกรรมทีด่ ที สี่ ดุ ครอบคลุมทีส่ ดุ ส�าหรับผูซ้ อื้ และผูป้ ระกอบการ และ ด้วยความส�าเร็จครั้งนี้ส่งผลให้ผู้มาออกงาน จองพื้นที่ อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2017 แล้วกว่า 70% นอกจากนี้งาน อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2016 ได้แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยยังสามารถเป็นฐานการผลิต ในระดับภูมิภาค และพลักดันให้เศรฐกิจอาเซียนเติบโตได้ อินเตอร์แมค ซับคอนไทยแลนด์ และ ชีท เมทัล เอเชีย 2017 จะจัดขึ้นในวันที่ 17-20 พฤษภาคม 2017 ณ ไบเทค บางนา

INTERMACH, SUBCON THAILAND & SHEET METAL ASIA 2017 will be held on 17-20 May 2017 at BITEC, Bangna, Thailand.

Don’t miss it!

The show has received excellent feedback on this year. The success of the combined events was highly complemented on and more than 40,500 trade visitors were in attendance. Exhibitors were all highly satisfied with the quality of attendees who represented a wide variety of industries. Thousands of pieces of the latest machinery and equipment were sold at the show and more than 5,216 business-matching pairs were made at SUBCON. Over 8,619 billion Baht in transactions took place during the show’s four day period. INTERMACH, SUBCON Thailand & Sheet Metal Asia has already proved to be the perfect place for businesses to source new technology and inspect industrial machinery, tools & equipment by decision-makers, buyers, factory owners and entrepreneurs. The results have been spectacular. More than 70% of exhibitors have already re-booked onsite for INTERMACH, SUBCON Thailand & Sheet Metal Asia 2017. The show further helps establish Thailand as the regions manufacturing hub by contributing to the growth of ASEAN supporting industries.

For more information visit:

www.intermachshow.com, www.subconthailand.com, www.sheetmetal-asia.com Tel. +66 (0)2642 6911 E-mail: intermach@intermachshow.com june 2016

93


ตอกย�้ำควำมร่วมมือ ผลักดัน

อุตฯโลจิสติกส์เอเชีย DITP จับมือ รี้ด เทรดเด็กซ์ เดินสายจัดโร้ดโชว์ ประชาสัมพันธ์งาน TILOG – LOGISTIX 2016 กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP) และ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ ตอกย�้าความร่วมมือ ผลักดันอุตฯ โลจิสติกส์เอเชีย ร่วมจัดงานแถลง ข่ า วและเดิ น สายโร้ ด โชว์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ง าน TILOG – LOGISTIX 2016 โดยได้ พ บกั บ สื่อมวลชน และผู้แทนการค้าจากองค์กรด้าน โลจิสติกส์ รวมทั้งสมาคมที่เกี่ยวข้อง ในประเทศ จี น อิ น เดี ย และเวี ย ดนาม อาทิ Yunnan Logistics Industry Association, Yunnan Hongtu Airlines Logistic Co.,Ltd., Federation of Freight Forwarders’ Associations in India (FFFAI), BVC Logistics India และ Vietnam Logistics Business Association (VLA) เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ เ ชิ ญ ชวนนั ก ธุ ร กิ จ และ นั ก อุ ต สาหกรรมด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ เข้ า ร่ ว มงาน TILOG - LOGISTIX 2016 เพื่อน�าเสนอทิศทาง ของโลจิสติกส์หลังเออีซี และแผนการจัดงาน รวมถึงนโยบายด้านการส่งเสริมความร่วมมือ ให้ กั บ นั ก ธุ ร กิ จ และนั ก อุ ต สาหกรรมด้ า น โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ล่าสุดได้พบปะให้ขอ้ มูลกับสือ่ มวลชนฮ่องกง ในหัวข้อทีไ่ ทยจะเป็นศูนย์กลางด้าน logistics ของ อาเซียน เชิง transshipment & manufacturing และนโยบายด้านการส่งเสริมความร่วมมือให้ กับนักธุรกิจและนักอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์ ระหว่ า งประเทศ พร้ อ มประชาสั ม พั น ธ์ ง าน TILOG - LOGISTIX 2016 น�าโดย คุณวิทยากร มณีเนตร ผูอ้ า� นวยการอาวุโส ส�านักงานส่งเสริม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

การค้าระหว่างประเทศ เมืองฮ่องกง Mr. Willy Lin: President of The Hong Kong Shipper’s Council และ คุณดวงรัตน์ อุดมสมพร ผู้จัดการ โครงการอาวุโส บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ ร่วมให้ขอ้ มูล นอกจากนี้ ยังได้เดินสายพบปะผูแ้ ทนสมาคม และผู้บริหารองค์กรชั้นน�าด้านโลจิสติกส์ อาทิ The Chinese General Chamber of Commerce, The Chamber of Hong Kong Logistics Industry, The Hong Kong R&D Centre for Logistics and Supply Chain Management Enabling Technologies, HK Cross-Border E-Commerce Association, Ming Kee Cargo Co., Ltd., OYM Logistics Co., Ltd etc. TILOG - LOGISTIX 2016 งานแสดง การให้บริการด้านโลจิสติกส์ เทคโนโลยีและ โซลูชั่นด้านอินทราโลจิสติกส์ที่ครบครัน พร้อม ยกระดั บ ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ให้ เทียบเท่ามาตรฐานในระดับสากล มุ่งมั่นในการ สร้างเครือข่ายจากทัว่ ทัง้ วงการโลจิสติกส์ในกลุม่ อาเซียน พลัส 6 จะจัดขึน้ ในวันที่ 21 - 23 ก.ย. นี้ ที่ไบเทค บางนา

พบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Tel: +66 2686 7299 E-mail: info@tilog-logistix.com Website: www.tilog-logistix.com


21-23

SEP 2016 BITEC • BANGKOK The Most Comprehensive Exhibition on Logistics Service Providers and Intralogistics Technologies & Solutions for ASEAN+6

The Most Comprehensive Exhibition on Logistics Service Providers and Intralogistics Technologies & Solutions for ASEAN+6

UNIFYING THE POWERS OF ASEAN+6 LOGISTICS Each ASEAN+6 country’s logistics has its own strengths and advantages. Combining the powers of logistics innovations and know-how from them all together in one place will create an immensely powerful platform for all participants to benefit from. And TILOG – LOGISTIX 2016 will be that platform of the industry where the logistics community will come together to share the latest services and solutions, case studies on the post-AEC effects, best practices, and more. New business partnerships will be forged, and opportunities will be capitalized on. Come reveal the next chapter of logistics excellence together at TILOG – LOGISTIX 2016.

Organized by:

For space inquiries, please +66 2686 7299 info@tilog-logistix.com www.tilog-logistix.com



One of Global NEPCON Series

Vietnam’s Only Exhibition on SMT, Testing Technologies, Equipment and Supporting Industries for Electronics Manufacturing – 9th Edition

TO

6 8 OCT 2 016

Co-located with :

SECC (TT Trien lam Saigon)

HO CHI MINH CITY VIETNAM

Organized by : 2 0 1 6

Local partner :

SOLUTION

DYNAMIC BUSINESS

Vietnam is shining with capability and growth of electronics industry. Meet thousands of your future customers and business partners in the only electronics manufacturing exhibition in Vietnam. The event will offer the platform to present a comprehensive range of technologies for SMT line manufacturing, from feeder to testing, 200 brands from 20 countries.

Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 26867299 nepconvietnam@reedtradex.co.th www.nepconvietnam.com www.facebook.com/nepconvietnampage


LED

SPECTRUM

ผู้น�ำด้ำนหลอดไฟแอลอีดี LED Spectrum มองเห็นถึงศักยภาพและโอกาส ของตลาด LED ในประเทศไทยอย่างไรจึงเตรียมการ จัดตั้งโรงงานผลิต LED ในประเทศไทย ทางบริษัท แอลอีดี สเปกตรัม จ�ากัด มองเห็นว่า ตลาดแอลอีดี ในประเทศไทยก�าลังเติบโตไปในทิศทางที่ดีและในปัจจุบันหลอด ไฟแอลอีดี ถือว่าทางรัฐบาลเองเริ่มให้การสนับสนุนและยังเป็น ที่ต้องการของกลุ่มลูกค้ามากขึ้น ซึ่งในอนาคตอาจจะมีการจัดตั้ง โรงงานผลิตเป็นของเราเองเพราะอยากสนับสนุนให้คนได้หันมา ใช้หลอดไฟแอลอีดีมากขึ้น คาดการณ์ว่าทิศทางและแนวโน้ม ของตลาด LED ของไทยในปี 2559 อย่างไร หลอดไฟแอลอีดี เริ่มได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง ด้วย จุดเด่นที่สามารถประหยัดพลังงานและมีอายุการใช้งานยาวนาน กว่ า หลอดทั่ ว ไป ทิ ศ ทางการเติ บ โตของตลาดแอลอี ดี จึ ง เพิ่ ม มากขึ้นกว่า 1 - 2 ปีที่ผ่านมา ท�าให้ราคาของแอลอีดีปรับลดตาม ลงมา ส่งผลให้คนทั่วไปมีแนวโน้มหันมาเลือกใช้หลอดไฟแอลอีดี กันเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ดังนั้นทิศทางจึงไปในทางที่ดีขึ้นและคาดว่า หลอดไฟแอลอีดีก็ยังคงจะได้รับความนิยมมากขึ้นอีกด้วย

ส�าหรับในปี 2559 นี้ทางบริษัทมีแนวทาง การด�าเนินธุรกิจอย่างไร มีสินค้าและบริการใหม่อะไรบ้าง ที่จะน�าเสนอให้แก่กลุ่มลูกค้าของบริษัท ในปีนี้ ทางเราได้คัดสรรสินค้าคุณภาพดีต่อกลุ่มลูกค้าของเรา ไม่ว่าจะเป็นหลอดไฟแอลอีดี, Solar Cell และ ระบบ Monitoring ที่สามารถช่วยประหยัดพลังงานต่างๆ นวัตกรรมของไฟฟ้าและแสงสว่างที่ LED Spectrum จะน�าเสนอใน Thailand Lighting Fair 2016 มีอะไรบ้าง ภายในงาน Thailand Lighting Fair 2016 เราจะน�าเสนอในด้าน เทคโนโลยีที่ทันสมัยทุกคนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อลดต้นทุน ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน อย่างเช่น Solar Rooftop หรือพลังงาน แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ซึ่งเป็นที่นิยมของลูกค้าจ�านวนมาก และทางเราก็มีวิศวกรและทีมออกแบบที่ช�านาญที่ท่านสามารถ ปรึกษากับทีมงานเราได้ในงานทันที ทางบริษัทมองเห็นศักยภาพใดที่จะเอื้อต่อการด�าเนินธุรกิจ ของการเข้าร่วมงาน THFL 2016 ส�าหรับการได้เข้าร่วมงานกับ THFL 2016 ทางเราได้มองเห็น ถึงโอกาสที่จะแสดงศักยภาพของการด�าเนินธุรกิจเพื่อให้ประสบ ผลส�าเร็จและเป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้าง และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าบริษทั เรา จะเป็นที่จดจ�าต่อผู้ที่มาเยี่ยมชมงานในครั้งนี้อีกด้วย อยากให้ฝากทิ้งท้ายถึงผู้ที่สนใจจะเข้าชมงาน Thailand Lighting Fair 2016 บริษัท แอลอีดี สเปกตรัม จ�ากัด หวังเป็นอย่างยิ่งว่าอยากให้ ผู้ชมงานเข้ามาเยี่ยมชม สินค้าและนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ทางเราได้ จัดหาให้ท่านได้ความรู้ ไม่ว่าจะเป็น หลอดไฟแอลอีดีทุกชนิด, Solar Cell และระบบ Monitoring ต่างๆ ที่มาพร้อมคุณภาพและ ราคาที่คุ้มค่าอย่างแน่นอน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


คุณภัทรกร เนตระชาติ General Manager

แล้วพบกับเราที่งาน Thailand Lighting Fair 2016 1-3 กันยายน 2559 ณ ฮอลล์ 101 – 102 ไบเทค บางนา Booths No. H11, H13, G12, G14

issue 161 july 2016


NO.161 7/2559

ประกาศรายชื่อผูโชคดี ประจำเดือนมิถุนายน 2559 คุณสุทธภา ศรีทอง จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คุณอุสมาน ซูโอะ จากจังหวัดชลบุรี

ลุนรับรางวัลงายๆ

เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ

Motology (Thailand) Co.,Ltd. Alpha Contromatic Co.,Ltd. C.G.S. (Thailand) Co.,Ltd. Tel: 0-2731-1191#131

I.N.B. Enterprise Co.,Ltd. GTM Company Limited Fax: 0-2769-8043

ชื่อ :

บริษัท :

อีเมล :

เบอรโทรศัพทมือถือ :

Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :



102 Editor’s Pick

Computer SMART III Integral Power Factor relay: Compensation, Analysis, Protection Advanced compensation Measurement with three current transformers guarantees an analogue reading of the company’s meter. The computer SMART III is the only Power Factor Relay in the market that offers the possibility of using 3 measuring transformers in addition to the traditional method of measuring with a single current transformer, as well as providing the functions of an integral power analyzer and controlling the residual leakage currents. Measurement equivalent to the billing energy meter

SCHMALZ - Vacuum Tube Lifter Jumbo* อุปกรณ์ช่วยยกของหนักได้ถึง 300 กิโลกรัม – รวดเร็ว - ง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นกล่องลังกระดาษบรรจุสินค้า กระเป๋า ถังน�้า ลังไม้ ฯลฯ ก็ หมดห่วงด้วยอุปกรณ์ช่วยยกเพื่อทุ่นแรง Vacuum Tube Lifter Jumbo ท�าให้ การยกของหนักเหล่านี้เป็นเรื่องง่ายๆ ในเวลาอันรวดเร็ว และยังออกแบบมา ให้ใช้งานได้อย่างเหมาะสมทางด้านสรีระศาสตร์ อุปกรณ์ชุด Jumbo นี้ถูกน�า มาใช้งานอย่างแพร่หลายในการล�าเลียงชิ้นงานเข้าสู่การผลิต การขนส่ง และ อื่นๆ อีกมากมาย การใช้งาน ช่วยในการยกชิ้นงานได้น�้าหนักถึง 300 กก. เช่น • ยกลังกระดาษ กระเป๋า ถังน�้า ฯลฯ ในการล�าเลียงขนส่ง • ยกชิ้นงานเข้า-ออกจากเครื่องแมชชีนนิ่งในการผลิต จุดเด่นของ Vacuum Tube Lifter Jumbo • เพิ่มผลผลิตให้รวดเร็ว อันเนื่องมาจากการลดเวลาการจัดการล�าเลียง ขนส่งในขั้นตอนการผลิต • ปลอดภัยในการใช้งาน ด้วยอุปกรณ์จัดยึดแบบสุญญากาศ • ลดเวลาในขัน้ ตอนการท�างานด้วยการลดแรงงานและการเกิดอุบตั เิ หตุ • สามารถใช้งานได้โดยคนเพียงคนเดียว

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Krasstec Co., Ltd. Tel: 0-2732-1144 E-mail: krasscom@krasstec.com Website: www.krasstec.com

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Compensation based on real needs Control of the electrical parameters and consumption of the installation Easy preventive maintenance and maximum safety Minimum investment, Maximum profits

Application Computer SMART III is the perfect power factor correction solution for:

Industry

Office Buildings

Renewable Energies For more information, AVERA Co., Ltd. Tel: +662-681-5050 E-mail: marketing@avera.co.th Website: www.avera.co.th

Plug & Play


Editor’s Pick 103

MNS iPDU (Intelligent Power Distribution Unit) PDU (Power Distribution Unit) ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ ส�าคัญที่ท�าหน้าที่ส�าหรับจ่ายก�าลังไฟฟ้า ป้องกันแรงดันเกิน ชั่วขณะ (Surge Protection) ระบบสายดินของ Computer Level Grounding และระบบตรวจการณ์ พร้อมทั้งบริหารการ ใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยประสบการณ์และความเชีย่ วชาญจากการประกอบตู้ สวิตซ์เกียร์แรงต�า่ ในซีรสี่ ์ MNS เอบีบจี งึ ได้พฒ ั นา MNS iPDU ซึ่งเป็นตู้จ่ายไฟที่มีขนาดกะทัดรัด ได้รับการออกแบบเพื่อจ่ายไฟให้กับโหลดที่มีความ ส�าคัญ (Sensitive Loads) เช่น ห้องคอมพิวเตอร์และศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ (Data Center) MNS iPDU ยังเป็นตัวเชือ่ มรวมระบบ Static Transfer System (STS), อุปกรณ์ Load Bus Synchronization (LBS) และระบบ Uninterrupted Power Supply System (UPS) เพื่อให้ได้ระบบที่มีความสมบูรณ์สูง ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจาก MNS iPDU • อุปกรณ์คุณภาพสูงของเอบีบี • ระบบมอนิเตอร์อัจฉริยะที่เชื่อถือได้ • ระบบบัสบาร์จ่ายไฟฟ้าแบบ Smissline • สามารถติดตั้งหม้อแปลง Isolation ได้ คุณสมบัติโครงสร้างภายนอกที่ส�าคัญ ตู้ MNS iPDU สามารถออกแบบได้หลากหลายขนาดเพื่อตอบสนองต่อการใช้งาน ใน Data Center ซึ่งตัวตู้มีโครงสร้างที่เป็นคุณสมบัติหลัก เช่น • ประตู 2 ชั้น แบบตาข่ายหรือกระจก เพื่อที่จะได้เห็นการท�างานของอุปกรณ์ ภายใน • ออกแบบให้ฝาหลังและฝาข้างถอดได้ ท�าให้ง่ายต่อการบ�ารุงรักษา • ภายในมีการแบ่งส่วนอย่างชัดเจน ท�าให้การเดินสายจัดเรียงได้ง่าย • ชิ้นงานผ่านกระบวนการพ่นสีฝุ่น Epoxy ด้วยวิธี Electro - Statically หนากว่า 70 μm ท�าให้มีความสวยงามและคงทน Energy Efficiency Management System for real-time monitoring and analytic system MNS iPDU สามารถติดตั้งระบบการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพส�าหรับ Data Center โดยรวมค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าของ PDU ซึ่งรวบรวมข้อมูลผ่านมาจาก Field Bus อินเตอร์เฟส ระบบประกอบด้วยคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยและซอฟต์แวร์มอนิเตอร์ ระบบทัง้ หมดสามารถท�าการวัด การควบคุม การเตือนและการควบคุมระยะไกล การรวม กันของการควบคุมและเทคโนโลยีเครือข่ายนีท้ า� ให้สามารถแชร์ขอ้ มูลและการจัดการด้วย ตัวเอง คุณสมบัติของซอฟต์แวร์ที่ส�าคัญ เช่น • การจัดการและการรายงานด้านไฟฟ้า • การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน • การจัดการการเตือน • การจัดการระบบข้อมูล • การจัดการโปรเจ็กต์และส�ารองข้อมูล สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th

GEMCO 953 VMAX ส�ำหรับงำนกำรเป่ำขึ้นรูป พลำสติก

ในงานเป่าขึ้นรูปพลาสติก (Plastic Blow Molding) การจัดวาง ต�าแหน่งตามแนวตรง (Linear Positioning) มีความจ�าเป็นจะต้องใช้ เพื่อที่จะควบคุมปริมาณพลาสติกที่ป้อนเข้าสู่แม่พิมพ์ Sensor บนเครื่องเป่าขึ้นรูปพลาสติกจะต้องรองรับการกระแทก อย่างหนัก, การสั่นสะเทือน, และอุณหภูมิที่สูง GEMCO 953 VMAX จาก AMETEK สามารถทนกับสภาพที่รุนแรงดังกล่าวนี้ได้ GEMCO 953 VMAX ได้รับการออกแบบให้ท�างานที่อุณหภูมิสูงได้ถึง 85°C, ทนแรงกระแทกได้ถึง 1000 G’s และทนการสั่นสะเทือนได้ถึง 30 G’s ข้อดี • การทนแรงกระแทกและการสั่นสะเทือนได้สูงท�าให้มั่นใจว่า จะมีอายุการใช้งานได้อย่างยาวนาน • มี Connectors ที่ดีกว่า เพื่อให้สามารถน�าไปเปลี่ยนของเก่า ได้ทันทีโดยไม่ต้องมีการดัดแปลง • Zero และ Span แบบโปรแกรมได้ • มี LED บอกอาการผิดปกติ GEMCO 953 VMAX ให้ Output ได้ทั้งแบบ Analog, Digital และ SSI (Synchronous Serial Interface) และมีแบบที่มี Connectors ที่ สามารถน�าไปเปลี่ยนของเก่าได้ทันที (ให้เลือก) เมื่อมีการปรับปรุง เครื่องเป่าขึ้นรูปพลาสติกเก่า GEMCO 950MD housing ช่วยให้การ ติดตั้งง่ายขึ้นด้วยการยึดติดเพียงสองจุด

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด Tel: 0-2642-8762-4 Fax: 0-2248-3006 E-mail: sales1@kanitengineering.com Website: www.kanitengineering.com

issue 161 july 2016


ข อมลูผส ูมัครสมาชกิ ชื่อ (Name)

นามสกลุ (Surname)

ตำแหนง งาน

E-mail

เบอร โทรศพัท (Telephone)

เบอร โทรสาร (Fax)

สมัครสมาชกิ นติยสาร Modern Manufacturing

มอืถอื (Mobile)

ตั้งแตฉ บบั

ถงึ ฉบบั

ทอ ียท ู ีใช ในการจดัสง บร�ษทั

แผนก/หนว ยงาน

เลขที่

หม ู

แขวง/ตำบล

ประเภทอตุสาหกรรม เขต/อำเภอ

จงัหวดั

รหสัไปรษณยี

ว�ธกีารชำระเง�น โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชอ ืบญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214 เช็คขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั

สมคัรสมาชกิ 1 ป 12 ฉบบั

แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพรีเมี่ยม 1 ตวั

subscribe now!

840 บาท






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.