Modern Manufacturing Magazine : Special Issue #2

Page 1

SPEC IAL ISSUE #2

Factory Automation #Technologies #Advanced Industries #Thailand 4.0

China’s Labor to Automation

มังกรเหล็กผงาด

อุตสาหกรรมจีนจากแรงงานสู่ระบบอัตโนมัติ

7 1 4 0 0 1 7 7 1 6 8 5 9

ISSN: 1685-7143

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com



THE MOMENT

“Progress is impossible without change, and those who can’t change their minds can’t change anything” ้ ไม่ได้เลยถ้าไม่มก ่ นแปลง “ความก้าวหน้าจะเกิดขึน ี ารเปลีย และผู้คนที่ไม่อาจเปลี่ยนความคิดของตัวเองได้ก็ไม่อาจ เปลี่ยนสิ่งใดได้เลยเช่นกัน”

George Bernard Shaw นักเขียน

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคปัจจุบันส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในทุกภาคส่ วนรวมถึงภาค อุตสาหกรรม ท�าให้รูปแบบการแข่งขันของอุตสาหกรรมเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างมาก ซึ่งเป็นผลจากพฤติกรรมของลูกค้า ที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วกว่าที่ผ่านมา อีกทั้งยังเข้าถึงการตรวจสอบคุณภาพได้อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน เทคโนโลยีการผลิต กลายเป็นสิ่งจ�าเป็นต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทัง ้ ในเชิงต้นทุน คุณภาพและปริมาณ การมาถึงของอุปกรณ์ อัจฉริยะ (Smart Device) IoT ระบบการผลิตอัตโนมัติและ AI เป็นการพลิกโฉมหน้าโลกทั้งใบในช่วงเวลาอันสั้น ท�าให้เกิด การลงทุนและแข่งขันด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มข้น เช่น มีการลงทุนด้าน IoT กว่า 178,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ่ 74 ตัวต่อแรงงาน 1 หมืน ่ คน ซึง ่ เพิ่มขึน ้ ในปี 2016 (ข้อมูลจาก i-scoop.eu) หรือการใช้งานหุน ่ ยนต์ในการผลิตทัว่ โลกเฉลีย จากปี 2016 ที่มีการใช้งานหุ่นยนต์ 66 ตัวในสัดส่วนเดียวกัน (ข้อมูลจาก ifr.org) ผู้ประกอบการมีความกังวลเกี่ยวกับการลงทุนในการปรับปรุงการผลิตเนื่องจากขาดความเข้าใจในเทคโนโลยี พนักงาน ่ ะถูกแทนทีด ่ ว้ ยระบบอัตโนมัติ ซึง ่ ในความเป็นจริงทีผ ่ า่ นมาเทคโนโลยีได้เข้ามาสนับสนุนการท�างาน สร้างการ อาจหวาดกลัวทีจ ่ นเป็นการใช้สว่านท�าให้การท�างาน เติบโตให้ตลาด รวมถึงสร้างต�าแหน่งงานใหม่ ๆ ยกตัวอย่างเช่น การขันสกรูดว้ ยไขควงเปลีย ้ มาตรฐานดีขน ้ึ หรือการใช้รถขุดดินก็ไม่ได้มแี รงงานออกมาเรียกร้องให้ปกป้องอาชีพขุดดินด้วยจอบ เป็นต้น ดังนัน เร็วขึน ้ ่ นแปลงด้านเทคโนโลยีจง ่ ค การเปลีย ึ เป็นการมาถึงของโอกาสใหม่ ๆ ในการตอบสนองต่อพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีม ี วามซับซ้อน ้ การปรับเปลีย ่ นต้องเกิดขึน ้ อย่างรวดเร็วทีส ่ ุด ผูบ ่ าดวิสัยทัศน์แห่งความเปลีย ่ นแปลงท�าให้ธรุ กิจย�า่ อยูก มากขึน ้ ริหารทีข ่ บ ั ที่ ปล่อยคูแ่ ข่งน�าหน้าก็จะรอคอยเวลาปิดตัวลง และแรงงานทีไ่ ม่พัฒนาทักษะก็เปรียบได้กบ ั การใช้ตวั เปล่าต่อสู้กบ ั รถถังอย่าง ไร้หนทาง ้ มาเพื่อเสริมศักยภาพทีข ่ าดหาย เพื่อส่งเสริมวิสัยทัศน์และความสามารถในการแข่งขัน ภาครัฐจึงจัดตัง ้ โครงการ EEC ขึน รวมถึงสนับสนุนการลงทุนระบบอัตโนมัติแบบครบวงจรผ่าน BOI นับเป็นสั ญญาณที่ดีส�าหรับเหล่าผู้ประกอบการและ ่ นแปลง Modern Manufacturing ฉบับพิเศษนี้ ขอแนะน�างาน INTERMACH 2018 ซึง ่ ท่าน แรงงานส�าหรับเริม ่ ต้นการเปลีย จะได้อัพเดทระบบการผลิตที่ครบวงจรและล�า้ สมัย ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค วันที่ 16-19 พฤษภาคมนี้

ทศธิป สูนย์สาทร Contents Creator

3


4

WWW.MMTHAILAND.COM MODERNMANUFACTURINGNEWS

CHIEF EXECUTIVE OFFICER

ART DIRECTOR

TEERA KITTITEERAPORNCHAI

PRIN PRANGPAN

OWNER: GREEN WORLD PUBLICATION CO., LTD.

ACCOUNT DIRECTOR

GRAPHIC DESIGNER

PHATSITA SRISIMARAT

CHUTIKARN KRITDASAENGSAWANG

244 SOI LADPRAO 107, LADPRAO ROAD, KLONGCHAN, BANGKAPI, BANGKOK 10240 TEL:

ADVERTISING SALES REPRESENTATIVE

CUSTOMER RELATIONSHIP OFFICER

AUNYARIN JEERAKOMONPONG

WILAIPORN RATCHAPUNYA

PORNLAKAR PANNARK

(+66) 2731-1191-4 FAX: (+66) 2769-8043

CHURAIRATANA SANITMUTCHARO

EVENT MARKETING MANAGER

WEBSITE:

NUTGIDTA PUTCHANUKUN

RUNGTHIP THISA

WWW.GREENWORLDMEDIA.CO.TH,

CHIEF OPERATING OFFICER

MARKETING EXECUTIVE

PHATTRANIT CHAROENPOLJAN

CHAVIPORN POHHITTANONT

WWW.MMTHAILAND.COM WWW.FACTORYEASY.COM

KANOKKAN THONGSIRI CONTACT EDITORIAL

CONTENTS CREATOR THOSSATHIP SOONSARTHORN

WEB MASTER

DEPARTMENT

SIRA THIPVORATHAM

CHINDAPORN PETCHANTHO

TEL: 0-2731-1191-4

to 115

FAX: 0-2769-8043 REPORTER

ACCOUNTING

JEERAPORN THIPKHLUEB

NATTHAWEE DAENKHAMSAN

E-MAIL: JEERAPORN.T@GREENWORLDMEDIA.CO.TH

FONT - THAI GOOGLE FONT (CADSON DEMAK)

PRINTED BY G.P.CYBERPRINT CO LTD TEL: (+66) 2731-1155 FAX: (+66) 2731-0936

PIC SHUTTERSTOCK.COM | PIXABAY.COM




interroll.co.th

Tel : +66 38 316 400 E-mail: th.sales@interroll.com


SPECIAL ISSUE#2

28

EEC

INTERMACH 2018

12

32

GLOBAL MOVEMENT

CONTENTS

INTERMACH 2018 กุญแจสู่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต

มังกรเหล็กผงาด อุตสาหกรรมจีน จากแรงงานสู่ ระบบอัตโนมัติ

36

40

44

TRENDS

ECONOMICS

ADVERTORIAL

EEC จุดศูนย์กลางด้านการลงทุนออโตเมชัน ยุคประเทศไทย 4.0

เชื่อมั่น EEC อุตสาหกรรมไทย ถึงเวลาโชติช่วงเสี ยที

สิ นค้าดี x พาร์ทเนอร์ดี = ระบบดี

55

58

62

AUTOMATION

MAINTENANCE

ย่อยบทวิเคราะห์ อุตสาหกรรมโลก 2018 กับ Modern Manufacturing

Automation กระดูกสั นหลังอุตสาหกรรมยานยนต์

TECHNOLOGY

8

งานซ่อมบ�ารุง ความขาดแคลนแห่ง 4.0

‘เทคโนโลยีการผลิต’ ถ้าไม่ลงทุนอาจต้องลงหลุม


รู้ก่อนหนึ่งเรื่อง นําทันทีหนึ่งก้าว

SUBSCRIBE NOW สมัครรับข่าวย่อยอัพเดทอุตสาหกรรมรายสัปดาห์ และลุ้นรับรางวัลพิ เศษทุกเดือน

Modern Manufacturing อัพเดทเทคโนโลยีการผลิตและความเคลื่อนไหววงการอุตสาหกรรมจากทั่วโลก

www.mmthailand.com


Keysight Keysight Streamline Streamline Series Series VNA, VNA, Scopes Scopes & & AWG AWG

N EE W RN RELEA W ELEASE! SE!

Keys Keys

VNA VNA

5 GHz 5/GHz 20 /

VNA: P937xA Streamline 300 kHz to 26.5 GHz VNA: Streamline - WideP937xA frequency coverage: 300 4.5 /kHz 6.5 /to9 26.5 / 14 /GHz 20 /

copes copes ptions

Scopes: P924xA Streamline USB Oscilloscopes Scopes: P924xA Streamline USB Oscilloscopes - 200 MHz, 500 MHz, and 1 GHz bandwidth options

/ 20 /

- 26.5 WideGHz frequency coverage: 4.5 / 6.5 / 9 / 14 / 20 / 26.5 GHz - Full 2-port (P937XA) VNA -- Full 2-port (P937XA) VNA USB VNA Small, compact form factor - Small, compact form factor USB VNA

ptions

-- 200 MHz,channels, 500 MHz,5and 1 GHz bandwidth 2 analog GSa/s sample rate options -- 2See analog 5 GSa/s rate wfms/s morechannels, signal detail withsample 1,000,000 - update See more signal detail with 1,000,000 wfms/s rate update rate

fms/s fms/s

AWG

AWG: P9336A Streamline 540 MHz I/Q AWG AWG: P9336A 540 MHz I/Qsuch AWGas - Supported by Streamline Keysight waveform tools

AWGas uch uch ols as ols

- Signal Supported by Waveform Keysight waveform tools such as Studio, Creator and IQ tools Signal Studio, Waveform Creator and IQ tools - Up to 1 GHz IQ baseband bandwidth -- Up to 1 GHz IQ bandwidth 3 differential orbaseband single-ended signal channels -- 3Precise differential or single-ended signal channels ch-to-ch synchronization - Precise ch-to-ch synchronization

els els

SB SB ght, ght, UT. UT.

Keysight A new family of compact, faceless, USB Keysight A new family of compact, faceless, USB instruments that offer a small footprint (size, weight, instruments that offer a small footprint (size, weight, power) and mobility to more efficiently test DUT. power) and mobility to more efficiently test DUT. Compact Form. Zero Compromise. Compact Form. Zero Compromise. Balance deadlines, productivity, budget and bench Balance deadlines, productivity, budget and bench space with the new Keysight Streamline Series. You’ll space with the new Keysight Streamline Series. You’ll move confidently across every stage of your product’s move confidently across every stage of your product’s development lifecycle by leveraging accurate and development lifecycle by leveraging accurate and repeatable measurements, automated code capability, repeatable measurements, automated code capability, and a consistent, intuitive user experience. and a consistent, intuitive user experience.

nch nch u’ll u’ll ct’s ct’s and and ity, ity,

IRC Technologies Limited Authorized Distributor and Service Center IRC Technologies Limited

© Keysight Technologies, Inc. 2017 © Keysight Technologies, Inc. 2017

KPN Tower, 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand 719, 4th Floor, Authorized Distributor andRama Service Center Tel: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand 719,02-717-1400 4th Floor, KPN Fax: Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th

© Keysight Technologie © Keysight Technologie


— — — write future Let’s write the futu re Let’s Let’s write the the future with robots have with robots e what with robots that that have what what that ha takes to takes to collabora e. it itit takes to collaborate. collaborate.

More than 300 000 ABB robots operate in factories and plants around the world to around More More the than 300 world 000 than to 300 operate 000 inpart factories ABB and plants robots around the the world operate to in factories and pla drive productivity toABB newrobots levels. They are of an integrated ecosystem: Internet ecosystem: drive drive productivity the productivity to Internet new levels. The Theytruly are collaborative partto of an integrated new ecosystem: levels. the Internet They are part of an integrat of Things, Services and People. YuMi is driving a manufacturing riving of aof Things, manufacturing Things, Services and People. The truly and YuMiPeople. is drivingnew a manufacturing The truly collaborative YuMi revolution where people andServices robots workcollaborative together, creating entirely possibilities. irely new revolution revolution possibilities. where and where robots work together, people creating entirely and new robots possibilities. work together, creating Discover more at people abb.com/future Discover Discover more at abb.com/future more at abb.com/future


12

EEC


EEC

EEC จุดศูนย์กลางด้านการลงทุนออโตเมชัน ยุคประเทศไทย 4.0 - เจน น�ำชัยศิริ -

คุณเจน น�ำชัยศิริ คณะกรรมกำรนโยบำยเขตพั ฒนำเศรษฐกิจพิ เศษ (กนพ.) ได้กล่าวปาฐกถาในหัวข้อ “EEC จุดศูนย์กลางด้านการลงทุนออโตเมชันยุคประเทศไทย 4.0” ในงานแสดงเทคโนโลยีดา้ นระบบการผลิต อัตโนมัติ ‘AUTOMACH 2018’ (ออโตแมค 2018) โอกาสนี้ทางทีมงาน Modern Manufacturing จึงได้คัดสรรสาระส�าคัญมาฝากท่านผู้อ่านอีกเช่นเคย

EEC เชื่อมโลกให้ไทยแล่น ด้วยอุตสาหกรรมเป้ าหมาย คุณเจน น�ำชัยศิริ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กล่าวว่า ขณะนีน้ กั ลงทุนต่างจับจ้อง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นยุทธศาสตร์หลักในการ ขยายการลงทุน เนือ่ งจากมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ทีส่ ดุ ในโลก ขณะทีส่ หรัฐอเมริกาเติบโตประมาณ 1-2% จีนไม่ เติบโต ญีป่ นุ่ เติบโตประมาณ 1% ซึง่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียนยังสามารถเติบโตได้อีก โดยเฉพาะประเทศ ในกลุ่ม CLMV ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม และมีไทยเป็นจุดเชื่อมต่อของประเทศเหล่านั้น “ประเทศไทยอยูต่ รงกลางของกลุม่ CLMV เป็นจุดเชือ่ ม ต่อของประเทศเหล่านี้ ขณะเดียวกันก็เป็นส่วนหนึ่งของ อาเซียน ซึ่งไทยถือว่ามีระดับของการพัฒนาความเจริญอยู่ ในอันดับ 3 ของอาเซียน เป็นรองจากสิงคโปร์ และมาเลเซีย ขณะที่อินโดนีเซียมีอันดับใกล้เคียงกับเรา เพียงแต่รายได้ เฉลี่ยของประชากร การพัฒนาธุรกิจและความทันสมัยยัง เป็นรองไทยเล็กน้อย” คุณเจนกล่าวเพิม่ เติมว่า ขณะนีร้ ฐั บาลมีโมเดล Thailand 4.0 ปรับเปลี่ยนจากผู้ผลิตที่เน้นปริมาณมาเป็นผู้ผลิตที่เน้น คุณภาพ และต้องเร่งผลักดันส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในพืน้ ที่ EEC รวมถึงพัฒนาภาคการผลิตให้มคี วามก้าวหน้า ด้วยการน�าเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถทางการแข่งขันให้แก่ประเทศในระดับสากล “การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมในพื้ น ที่ EEC รั ฐ บาลมี เป้าหมายสนับสนุนอุตสาหกรรม 10+1 นั่นคือ มุ่งยกระดับ

5 อุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ การแปรรูปอาหาร และ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งจะน�าไปต่อยอดให้ทันสมัยมากขึ้น ด้วยการน�าระบบอัตโนมัติมาเข้าใช้งานในกระบวนการผลิต ขณะที่การสร้าง 5 อุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) ได้แก่ หุ่นยนต์ การบินและโลจิสติกส์ การแพทย์ ไบโอ และดิจิทัล อุตสาหกรรมเหล่านี้ต้องมี IoT รวมถึงดิจิทัลเข้ามารองรับ นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้มกี ารสนับสนุนอีกหนึง่ อุตสาหกรรม นั่นคือ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ซึ่งเรามีความหวังว่า ทดแทนการน�าเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนลดลง และสร้าง อุตสาหกรรมประเภทนี้ให้เกิดขึ้นในประเทศด้วย” จะไปถึง 4.0 ได้อย่างไร ในเมื่อคนยังคงเป็น 0.4 จากค�ากล่าวที่ว่า “ประเทศไทยจะไปถึง 4.0 ได้อย่างไร ในเมื่อคนยังคงเป็น 0.4” คุณเจนได้แสดงทัศนะว่า การจะ ก้าวไปสู่ 4.0 ต้องใช้เวลา ต้องทันต่อเทคโนโลยี ผูป้ ระกอบการ ควรจะปรั บ ตั ว เพื่ อ ให้ เ กิ ด ดี ม านด์ และควรตระหนั ก ถึ ง ปัญหาของการพึ่งพาแรงงานในภาคการผลิตที่มีแนวโน้มว่า จะหาคนท�างานได้ยากขึ้น เนื่องจากแรงงานในประเทศไทย มีแนวโน้มจะมีจ�านวนลดน้อยลง เพราะขณะนี้ประเทศไทย ก�าลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มีอัตราการเกิดน้อยลง ซึ่ง ภายใน 1 ปีที่ผ่านมา พบว่า โรงเรียนและมหาวิทยาลัยมี นักเรียนนักศึกษาลดน้อยลงกว่า 20% แต่สว่ นใหญ่มจี า� นวน ลดลงโดยเฉลี่ย 10% ของทุกปี ดังนั้น จึงส่งผลให้แรงงาน

13


14

ของไทยมีผลิตภาพต�่าลงเรื่อยๆ และในอนาคตหากไม่เร่ง พัฒนาการศึกษาและฝีมือแรงงาน ประเทศไทยจะมีภาวะ ขาดแคลนแรงงานอย่างแน่นอน “กระบวนการผลิตสินค้าในยุค ‘ไทยแลนด์ 3.0’ ต้อง พึง่ พาทรัพยากรแรงงาน วัตถุดบิ ต้นทุนต่าง ๆ ในลักษณะทีม่ ี ผลิตภาพค่อนข้างต�า่ ต้องยอมรับว่า 10 ปีทผี่ า่ นมาผลิตภาพ ทางด้ า นแรงงานของไทยต�่ า ลงทุ ก ปี ในขณะที่ ป ระเทศ เพื่อนบ้านมีผลิตภาพแรงงานสูงขึ้นทุกปี และในที่สุดไทยก็ จะถูกเพื่อนบ้านแซง ซึ่งขณะนี้ประเทศเพื่อนบ้านก�าลังเร่ง พัฒนาด้านการศึกษา ก�าลังพัฒนาฝีมอื แรงงานให้มคี ณ ุ ภาพ มีทักษะด้านต่าง ๆ แต่ขณะเดียวกันประเทศไทยใช้แรงงาน ต่างด้าวเข้ามาช่วยด�าเนินธุรกิจในเรือ่ งของการผลิต ในทีส่ ดุ เมื่ อ แรงงานเหล่ า นั้ น ย้ า ยกลั บ ไปพั ฒ นาประเทศก็ จ ะยิ่ ง ส่งผลท�าให้แรงงานลดน้อยลง ซึ่งอยู่ในภาวะเสี่ยงของการ ขาดแรงงาน ดังนั้น บริบทของประเทศไทยในตอนนี้จึงไม่ใช่ เรื่องที่จะขยายการผลิตโดยใช้ก�าลังคน แต่เราต้องขยาย การผลิตด้วยการลงทุนเทคโนโลยี ทั้ ง นี้ การพั ฒ นาประเทศไทยในยุ ค 4.0 ต้ อ งเน้ น เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ ส�าหรับภาค การผลิตการทีจ่ ะก้าวไปสู่ 4.0 ได้นนั้ เราได้มองเรือ่ งของผลิตภาพ ในเชิงแรงงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ไทยตกต�่ามานาน ถึงเวลาแล้ว ที่จะต้องพัฒนาผลิตภาพแรงงงาน ซึ่งการพัฒนาทักษะของ แรงงานอย่ า งเดี ย วโดยขาดการพั ฒ นากระบวนการคง ไม่ เ พี ย งพอ สิ่ ง ที่ จ� า เป็ น ที่ สุ ด ในการพั ฒ นาจากแรงงาน ต้นทุนต�่ามาเป็นกระบวนการที่ใช้แรงงานอย่างมีคุณค่า มากขึ้น นั่นคือ การผลิตแบบอัตโนมัติหรือออโตเมชัน” ออโตเมชันลดการสูญเสีย แต่เพิ่ม Productivity คุณเจนกล่าวเพิม่ เติมว่า การทีจ่ ะท�าให้ภาคอุตสาหกรรม รอดพ้ น จากภาวะเสี่ ย งแรงงานขาดแคลนที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน

อนาคตได้นั้น ผู้ประกอบการในประเทศไทยจ�าเป็นต้องให้ ความส�าคัญกับเรื่องของเทคโนโลยี รวมถึงพึ่งพาการผลิต แบบอัตโนมัตมิ ากขึน้ ซึง่ ระบบอัตโนมัตทิ นี่ า่ จับตามองอย่าง Industrial Robot ถูกน�ามาใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมยานยนต์ แต่ในการน�า Industrial Robot มาใช้งาน ในอุตสาหกรรมไม่ได้หมายความว่าจะเป็นอุตสาหกรรม 4.0 เสมอไป เพราะการจะเป็นอุตสาหกรรม 4.0 ได้นั้นต้องมี องค์ประกอบหลายส่วนรวมกัน โดยเฉพาะ ‘ดิจิทัล’ “ขณะนี้ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ นประเทศไทยได้ น� า Industrial Robot เข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย บางคนบอกว่า Industrial Robot คือ อุตสาหกรรม 4.0 แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไม่ ใช่ แ บบนั้ น เพราะการมี หุ ่ น ยนต์ ใ นกระบวนการผลิ ต ช่วยยกระดับได้แค่อุตสาหกรรม 3.0 แค่นั้นเอง แต่การที่ จะเป็น 4.0 ต้องมีดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม ครอบคลุมเรือ่ งการขาย และบัญชี การจัดซื้อ การผลิต การเก็บวัตถุดิบ เก็บสินค้า การขนส่งสินค้ากระจายสินค้า ระบบดิจทิ ลั จะต้องครอบคลุม ทั้งหมดนี้จึงจะเรียกว่าเป็นอุตสาหกรรม 4.0 อย่ า งไรก็ ต าม การน� า ระบบอั ต โนมั ติ เข้ า มาใช้ ใ น กระบวนการผลิ ต จะช่ ว ยยกระดั บ อุ ต สาหกรรมให้ เ ป็ น อุตสาหกรรม 4.0 ด้วยการท�างานที่สอดคล้องกันของระบบ อัตโนมัติและเครื่องจักรสามารถที่จะส่งข้อความและส่ง ข้อมูลได้ถึงกันและกัน ท�าให้การเชื่อมต่อเชื่อมโยงเป็นไปได้ อย่างรวดเร็ว และที่ส�าคัญ คือ ไร้ข้อผิดพลาด” นอกจากนี้ คุณเจนยังได้กล่าวทิง้ ท้ายถึงความเป็นไปได้ ของการตั้ ง ฐานการผลิ ต หุ ่ น ยนต์ แ ละระบบอั ต โนมั ติ ใ น ประเทศไทยนัน้ จะต้องขึ้นอยู่กบั ดีมานด์หรือความต้องการ ใช้ ง านหุ ่ น ยนต์ หากมี ค วามต้ อ งการมากพอและมี ก าร โปรโมทที่ดี คาดว่าพื้นที่ EEC ของไทยก็จะมีความหวังและ โอกาสในการเป็นฐานการผลิตหุ่นยนต์ในภูมิภาคนี้ “ขณะนี้ทางนักลงทุนญี่ปุ่นมองว่าการมาตั้งโรงงานผลิต ในประเทศไทยต้องมีดีมานด์ที่จะใช้หุ่นยนต์หรือแขนกล อย่างน้อยปีละประมาณ 10,000 ตัว ซึ่งปัจจุบันไทยมี ดีมานด์แค่ประมาณพันกว่าตัว แต่ระยะหลังเพิ่มขึ้นมาเป็น 4,000 – 5,000 ตัว แต่ถ้าเราโปรโมทในเรื่องของการใช้งาน รวมถึงชีแ้ นะให้ผปู้ ระกอบการเห็นประโยชน์และความส�าคัญ ของการใช้ แขนกลมาช่ ว ยทดแทนแรงงานที่ มี จ� า นวน ลดน้ อ ยลง คาดว่ า จะท� า ให้ เราเข้ า ใกล้ จุ ด คุ ้ ม ทุ น ในการ ตั้งโรงงานผลิตหุ่นยนต์แขนกลในประเทศได้ไม่ยาก” แม้ ว ่ า การลงทุ น ในด้ า นของออโตเมชั น อาจจะยั ง ใช้ เงินลงทุนที่สูงอยู่ แต่การลงทุนในด้านของออโตเมชันนี้มี วิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ต้นทุนลดลงอย่างรวดเร็ว เช่นกัน ในขณะเดียวกันต้นทุนทางด้านแรงงานมีแนวโน้ม สูงขึน้ เรือ่ ยๆ แต่เมือ่ มองจุดตัดการลงทุนในอนาคตออโตเมชัน จะคุม้ ทุนและถูกกว่าการใช้แรงงาน และเมือ่ มีดมี านด์เกิดขึน้ มากมาย ประเทศไทยก็จะเป็นฐานการผลิตระบบอัตโนมัติ และหุ่นยนต์ได้เองในไม่ช้า โดยเฉพาะในพื้นที่ส�าคัญทาง เศรษฐกิจอย่าง EEC ที่จะเป็นเป้าหมายส�าคัญในการขยาย การลงทุนของอุตสาหกรรมระดับโลก



1

2 3 4 5

6

7

8 9

10 11

12 13

14

สนใจสอบถามข อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม ได ท ี ่

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)


THIS ISIS IS THIS THIS RELIABILITY RELIABILITY REL Automations Automations Automations Connectors Connectors Connectors Leader Leader of Motion of Motion andandControl ControlTechnologies Technologies Hydraulics Hydraulics Hydraulics Provide Provide the the totaltotal solutions solutionsandandservice serviceFiltration Filtration Filtration highhigh quality quality of 6ofproduct 6Instrumentation productgroups groups Instrumentation Instrumentation WithWith Engineered Engineered Materials Materials (Seal) (Seal) Engineered Materials (Seal)

THIS THIS THIS IS IS IS RELIABILITY RELIABILITY REL Parker Parker Hannifin Hannifin (Thailand) (Thailand) Co.,Co.,Ltd.Ltd.

12651265 RamaRama 9 Road 9 Road Suanluang SuanluangBangkok Bangkok10250 10250

Automations Automations Connectors Connectors Hydraulics Hydraulics Filtration Filtration Instrumentation Instrumentation Engineered Engineered Materials Materials (Seal) (Seal)

Automations

Tel: (66) Tel: 2(66)1862 186 70007000 Connectors Leader Leader of Motion of Motion and and Control Control Technologies Technologies Hydraulics Provide Provide the the total total solutions solutions and and service service Parker enables partners to increase productivity and profitability, whilewhile Parkeritsenables Parker its partners toenables increase productivity its and profitability, partners to increaseFiltration productivity WithWith highhigh quality quality of 6ofproduct 6Instrumentation product groups groups

Engineered Materials (Seal) c protectingprotecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solvesolve This the protecting environment. This reflects the Parker’s environment. commitment to helping reflects Parker’s Parker Parker Hannifin Hannifin (Thailand) (Thailand) Co., Co., Ltd. Ltd.

the world’sthegreatest engineering challenges. world’sthe greatest world’s engineering challenges. greatest engineering challenges. 1265 Rama 9 Road, Pattanakarn, 1265 1265 Rama Rama 9 Road 9 Road Suanluang Suanluang Bangkok Bangkok 10250 10250 Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) Tel: 2(66) 186 2 186 7000 7000

Parker enables Parkerits enables partners Parker its partners to increase toenables increase productivity productivity and profitability, its and profitability, par while tners while to increase productivity

www.parker.com/th www.parker.com/th www.parker.com/th

protectingprotecting the environment. the protecting environment. This reflects This reflects Parker’s the Parker’s commitment environment. commitment to helping to helping solvesolve This reflects Parker’s c the world’sthe greatest world’sthe engineering greatest world’s engineering challenges. challenges. greatest engineering challenges. www.parker.com/th www.parker.com/th www.parker.com/th



NEWS

ถูกเรื่อง-ถูกที่-ถูกเวลา

AUTOMACH ปั กธง EEC รายแรก จัดมหกรรมระบบ Automation วันที่ 28 มีนาคม 2561 คุณเจน น�าชัยศิริ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาและเป็นประธานเปิดงานแสดงเทคโนโลยีดา้ นระบบการผลิตอัตโนมัติ ‘AUTOMACH 2018’ (ออโตแมค) ณ Hall C ศูนย์ประชุม PEACH โรงแรมรอยัลคลิฟ โฮเต็ล กรุป๊ พัทยา และมีคุณสราญโรจน์ สุทัศน์ชูโต ผู้อ�านวยการฝ่ายส่งเสริมตลาดในประเทศ ส�านักงานส่งเสริมการ จัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) ร่วมแถลงถึงการสนับสนุนการจัดงานดังกล่าว โดยมีการใช้ แขนกลเป็น Gimmick ร่วมในพิธีเปิด ภายในงาน AUTOMACH 2018 มีผู้จ�าหน่ายสินค้าระบบ อัตโนมัติกว่า 70 รายร่วมแสดงเทคโนโลยี มีการสาธิต Smart Factory และสัมมนาฟรีกว่า 30 หัวข้อ งานจัดขึ้นเมื่อ 28-30 มีนาคม ที่ผ่านมา การพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC รัฐบาลมีเป้าหมายสนับสนุนอุตสาหกรรม 10+1 นั่นคือ มุ่งยกระดับ 5 อุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ การเกษตรและเทคโนโลยี ชีวภาพ การแปรรูปอาหาร และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ขณะที่การสร้าง 5 อุตสาหกรรมใหม่ (New S-Curve) ได้แก่ หุน่ ยนต์ การบินและโลจิสติกส์ การแพทย์ ไบโอ และดิจทิ ลั อุตสาหกรรมเหล่านี้ ต้องมี IoT รวมถึงดิจิทัลเข้ามารองรับ นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้มีการสนับสนุนอีกหนึ่งอุตสาหกรรม นั่นคือ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ คุณธีระ กิตติธรี พรชัย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั กรีนเวิลด์ พับลิเคชัน่ จ�ากัด ผูจ้ ดั งาน AUTOMACH 2018 เผยว่า นโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยเฉพาะ EEC เรามองว่าเป็นโซลูชั่นที่ตอบโจทย์อย่างมาก เพราะมีทิศทางสร้างความยั่งยืนในการแข่งขันระยะยาว แม้ว่าตอนนี้ต้นทุนของการลงทุนระบบ หุ่นยนต์ยังสูงแต่เราก็ต้องเริ่มเรียนรู้เพื่อพร้อมรับมือ ซึ่งประเทศไทยเองมีมูลค่าการส่งออกอุปกรณ์ ด้านระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ราว 134,000 ล้านบาท และมีการน�าเข้าที่ 270,000 ล้านบาท โดยโรดแมปของ BOI เกี่ยวกับเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คือ สนับสนุนการร่วมทุนกับ ต่างประเทศเพือ่ พัฒนาองค์ความรูแ้ ละ SI ภายในประเทศ ก�าหนดเงือ่ นไขให้ตอ้ งใช้ Local Suppliers สัดส่วน 30% ขึน้ ไป ซึง่ ทัง้ หมดนีจ้ ะน�าไปสูก่ ารเป็นประเทศผูผ้ ลิตเทคโนโลยีระบบอัตโนมัตใิ นอนาคต “นีจ่ งึ เป็นจังหวะทีด่ ที สี่ ดุ ของผูป้ ระกอบการและบุคลากรภาคการผลิตใน EEC ทีจ่ ะแสวงหาโอกาส ใหม่ ๆ ทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาทักษะเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ รวมถึง การขยับขยายไปยังธุรกิจใหม่ที่อาจเป็นอุตสาหกรรมเป้าหมาย New S-Curve หรืออุตสาหกรรม สนับสนุนต่าง ๆ ในปีต่อไป AUTOMACH จะขยายการจัดงานโดยเพิ่มสาขาเทคโนโลยีที่จัดแสดง ให้ใหญ่ขึ้นและครอบคลุม MICE Destination ทั่วประเทศ เพื่อเป็นอีกฟันเฟืองร่วมสนับสนุนให้ ประเทศไทยใช้ศักยภาพที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่เพื่อการแข่งขันอย่างยั่งยืนต่อไป” คุณธีระกล่าวทิ้งท้าย

เกี่ยวกับผู้จัดงาน บริษัท กรีนเวิลด์ พั บลิเคชั่น จ� ำ กั ด ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ สื่ อ ด้ ำ น B2B และอุ ต สำหกรรม โดย ร่วมมือกับ Vogel Business Media ประเทศเยอรมนี และ Marshall Cavendish Business Information Pte Ltd ประเทศ สิ ง คโปร์ และได้ ข ยำยธุ ร กิ จ กำรจัดสัมมนำ งำนแสดงสินค้ำ ระบบ database marketing และระบบ e-marketplace เพื่อพัฒนำ Big Data ในกำร สร้ำง platform ที่ครบวงจร ส�ำหรับตลำด B2B ในอนำคต

19


20

NEWS

MANUFACTURING TECHNOLOGY

นักวิทยาศาสตร์ใช้ 3D Printer พิ มพ์ ของเหลวได้แล้ว!

Conscious Factory in a Box อุตสาหกรรมเคลือ ่ นทีจ ่ าก Nokia

นักวิทยาศาสตร์จาก Berkeley Lab ได้คน้ พบวิธพี มิ พ์โครงสร้าง 3 มิติ ที่มีส่วนประกอบเป็นของเหลวทั้งหมดได้แล้ว ความส�าเร็จดังกล่าวเกิดขึ้นจากการใส่เส้นด้ายที่ท�าจากน�้าลงไปใน น�้ามันซิลิโคนเพื่อขึ้นรูปท่อที่ท�าจากของเหลวข้างในของเหลวอีกชั้นหนึ่ง โดยเส้ น ด้ า ยที่ ท� า จากน�้ า ที่ พิ ม พ์ ม านั้ น มี ข นาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง ระหว่าง 10 ไมครอนและ 1 มิลลิเมตร อยู่ในลักษณะขดหรือรูปทรง กิ่งก้านยาวหลายเมตร นอกจากนี้ วัตถุดิบสามารถปรับเลือกใช้ให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมโดยรอบได้ Source: sciencedaily.com

Nokia น�าทัพ 12 ผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เสนอแนวคิด 'Conscious Factory in a Box' สายการผลิต เคลื่อนที่ซึ่งเป็นการติดตั้ง จัดเก็บ ขนส่ง ภายใต้เวลา อันรวดเร็ว เป้ า หมายแนวคิ ด นี้ คื อ การสร้ า งสายการผลิ ต อิเล็กทรอนิกส์สายเดีย่ วขึน้ มาโดยใช้รถบรรทุกซึง่ สามารถ ย้ายที่ได้ตามความเหมาะสมปฏิบัติงานโดยเทคโนโลยี 4.0 นวัตกรรมนี้ท�าให้สามารถใช้งานสายการผลิตจาก แหล่งวัตถุดิบได้ทันที โดยสามารถขับรถบรรทุกไปเพื่อ ท�าการผลิตในแหล่งวัตถุดิบและโยกย้ายได้ตามต้องการ ท�าให้สามารถรับมือกับเหตุไม่คาดคิด เช่น การย้ายฐาน การผลิตฉุกเฉิน Source: https://nokia.ly/2Eya23z

หุ่นยนต์งานคลังหลบไป Skypods มาแล้ว! Skypods หุ่นยนต์ส�าหรับคลังสินค้าที่สามารถไต่ระดับแนวดิ่ง ได้จาก Excotec Solutions จากประเทศฝรั่งเศสสามารถช่วยคุณ แก้ปัญหาได้ Skypods สามารถไต่ช้ันวางสินค้าในคลังในแนวดิ่งเพื่อน�าถาด สินค้าเข้าและออกตามค�าสั่ง พร้อมทั้งน�าไปส่งยังต�าแหน่งที่ระบุได้ อย่างรวดเร็ว สามารถรับค�าสั่งได้ถึง 400 ค�าสั่งต่อหนึ่งชั่วโมงและรับ น�้าหนักได้ถึง 30 กิโลกรัมต่อการขนส่งหนึ่งครั้ง ด้วยการท�างานใน แนวดิ่งท�าให้ไม่จ�าเป็นต้องยกชั้นวางทั้งแถวเพื่อท�าการแยกจึงส่งผล ให้ท�างานได้รวดเร็วกว่า

Source: www.exotecsolutions.com/?lang=en


NEWS

21

Blockchain มิติใหม่ความปลอดภัยทางอาหาร กลุ่มพันธมิตรด้านอาหารจัดตั้ง Blockchain Food Safety Alliance ตั้งเป้าเพิ่ม ศักยภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร รวมถึงความสามารถในการติดตามและย้อน ดูประวัติเส้นทางวัตถุดิบ โครงการดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในประเทศจีน การท�างานของ Blockchain เป็นการใช้งาน Cryptography และ Timestamps เพือ่ สร้างบันทึกการติดต่อซื้อขายที่มีการเข้ารหัสความปลอดภัยสามารถเข้าถึงได้เฉพาะ ผู้มีสิทธิ์ ทั้งยังสามารถติดตามข้อมูลได้แบบ Real Time จากทั้งซัพพลายเชนท�าให้ ซัพพลายเออร์ ผู้ผลิตและผู้บริโภคเกิดความโปร่งใสสามารถตรวจสอบเส้นทางของ วัตถุดิบได้อย่างชัดเจน สร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ผลิตและผู้บริโภค

Source: Food Engineering Mag

ใครว่าคลังสิ นค้าอัจฉริยะไม่ต้องใช้คน ท�างาน? Startup Boxed กับเทคโนโลยี ที่ท�างานร่วมกับมนุษย์

openMOS อีกหนึ่งทาง เลือกระบบ Automation openMOS ระบบ Automation แบบเปิดพร้อมระบบ Plug-and-Produce (P&P) ทีน่ า� เอาผูผ้ ลิตอุปกรณ์หลากหลาย เจ้าในห่วงโซ่มลู ค่าต่าง ๆ มารวมกันสร้างโซลูชนั ทีต่ อบความ ต้องการของนักอุตสาหกรรมได้อย่างเต็มที่ ด้วยการใช้งานระบบ P&P ท�าให้สามารถต่อสายของ อุปกรณ์หรือเครื่องจักรเข้าระบบและด�าเนินการผลิตได้ทันที สร้ า งความรวดเร็ ว และความสะดวกสบายในการท� า งาน openMOS มาพร้อมกับชุดแพ็คเกจที่หลากหลายตอบสนอง ต่อการใช้งานที่ตรงกลุ่ม เช่น ชุดพื้นฐานอุตสาหกรรม (WP1) ชุดระบบ P&P อัจฉริยะแบบฝังตัวส�าหรับอุตสาหกรรมการ ผลิต (WP2) openMOS ถูกพัฒนาขึน้ ด้วยการสนบสนุนของพันธมิตร ต่าง ๆ มากมาย เช่น Afag Automation AG, Ford Motor Company Ltd, Loughborough Uniersity รวมถึงสหภาพ ยุโรปด้วยเช่นกัน Source: www.openmos.eu

บริษัท BOXED ซึ่งเป็น E-Commerce Startup ใช้การท�างาน ร่วมกันระหว่างระบบอัตโนมัติและมนุษย์ได้โดยไม่จ�าเป็นต้องปลด พนักงานออก ระบบอัจฉริยะถูกใช้ในการบริหารจัดการระบบส่งของ ท�าให้เกิด การปรับหน้าที่ของมนุษย์ให้เป็นหน่วยจัดวางสินค้าหรือการเตรียม สินค้า ท�างานร่วมกับ AGV แบบพิเศษ ซึ่งมีระบบการป้อนค�าสั่งที่ ใช้งานได้ง่าย ใช้ระบบเซนเซอร์ที่อ่านเส้นทางบนพื้นรวมถึงการอ่าน Tag ความสะดวกสบายนี้สามารถ ลดระยะเวลาในการท�างานได้ เป็นอย่างดี

Source: https://cnet.co/2rfRh12

ติดตามข้อมูล Manufacturing Technology เพิ่มเติมได้ที่


NEWS

อันดับวิศวกรเงินดี ในต่างประเทศ

5

วิศวกร ปิโตรเลียม

วิศวกร ไฟฟ้า

TRENDS AND ECONOMICS

จากการรวบรวมข้ อ มู ล ของเว็ บ ไซต์ Types of Engineering Degrees ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลจาก หลากหลายแหล่ ง เช่ น Forbes สมาคมวิศวกรรม และมหาวิทยาลัยชั้นน�าใน ต่างประเทศ น�าเสนอรายได้ ของเหล่าวิศวกรในสายงาน ต่ า ง ๆ โ ด ย จั ด ล� า ดั บ ผลตอบแทนที่เรียกได้ว่า เม็ดเงินแสนงาม ตามล�าดับ โดยไล่เรียงจากรายได้ทด ี่ ี ที่สุด 5 อันดับ ดังนี้

เริม ่ ต้น: 74,240$ ผู้เชี่ยวชาญ: 186,520$

เริ่มต้น: 57,330$ ผู้เชี่ยวชาญ: 89,180$

วิศวกร คอมพิวเตอร์

เริ่มต้น: 63,970$ ผู้เชี่ยวชาญ: 150,130$

วิศวกร อากาศยาน

เริ่มต้น: 65,450$ ผู้เชี่ยวชาญ: 103,720$

วิศวกร เคมี

เริ่มต้น: 58,830$ ผู้เชี่ยวชาญ: 154,840$

Source: The Manufacturer

22

โตช้า! เศรษฐกิจล�าบากเมือ ่ ขาดวิศวกร จากการเก็บข้อมูลของ Queen Elizabeth Prize for Engineering (QEPrize) พบว่ า ช่ อ งว่ า งระหว่ า งอุ ป สงค์ แ ละจ� า นวนวิ ศ วกรในปั จ จุ บั น มี ผ ลท� า ให้ เศรษฐกิจโตช้า จากการส� า รวจในกลุ ่ ม ประเทศตั ว อย่ า ง ได้ แ ก่ สหราชอาณาจั ก ร สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน เยอรมนี แอฟริกาใต้ พบว่าความ ต้องการวิศวกรผู้เชี่ยวชาญมีมากกว่าต�าแหน่งงานในปัจจุบันสูงถึง 53% ปรากฏการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโลกในระยะยาวเป็นผล ให้ภาคเศรษฐกิจเกิดการเติบโตช้า เนือ่ งจากขาดแรงงานทีส่ ามารถตอบสนอง ต่อเทรนด์การผลิตอัตโนมัติ ซึ่งเป็นหัวใจหลักในการแข่งขันปัจจุบัน

หุ่นยนต์ดึงผู้ผลิตอาทิตย์อุทัยกลับบ้าน ปัญหาค่าใช้จา่ ยส�าหรับแรงงานพุง่ สูงขึน้ ในกลุม่ ทวีปเอเชียซึง่ เป็นแหล่งแรงงาน ราคาถูก ท�าให้ผู้ผลิตจากญี่ปุ่นหันมาให้ความสนใจกับการใช้หุ่นยนต์และปัญญา ประดิษฐ์เพื่อเปิดสายการผลิตในประเทศบ้านเกิดแทน ผู้ผลิตรายล่าสุดที่ตกลงใจย้ายกลับไปยังมาตุภูมิ คือ Casio Computer ซึ่ง มีฐานการผลิตในประเทศไทย จีน และญี่ปุ่น การย้ายกลับไปพร้อมระบบการ ผลิตอัตโนมัติคาดว่าสามารถเพิ่มก�าลังการผลิตได้เป็น 2 เท่า จากเดิมที่สามารถ ผลิตได้ 1 แสนเรือนต่อเดือน นับเป็นการลงทุนที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้เห็น ได้อย่างชัดเจน ซึ่งเหตุผลด้านการลงทุนนี้ได้ผลักดันให้ Honda Motor ผู้ผลิต จักรยานยนต์ Canon ผู้ผลิตกล้อง และ Pioneer ในส่วนของระบบน�าทางยานยนต์ กลับไปลงทุนในบ้านเกิดก่อนหน้า Casio

Source: https://s.nikkei.com/2HKGqGV


NEWS

23

อเมริกาขาดอุตฯ จีนไม่ได้

คาดการณ์ตลาดปะเก็นอุตฯ โต 1 หมื่นล้านดอลลาร์ในปี 2020 จากรายงานของ ResearchAndMarkets.com พบว่า ตลาดปะเก็นอุตสาหกรรมจะโตขึ้นจากมูลค่า 8,860 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2017 คาดการณ์ทะยานสู่ 11,580 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2020 ด้วยอัตราเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อ ปี 5.5% ในช่วงปีดังกล่าว ปัจจัยหลักการเติบโตมาจากการใช้งานอย่างกว้างขวาง ในธุรกิจอุตสาหกรรม โดยปะเก็นกลุ่ม Polytetrafluoroethylene (PTFE) จะมีความต้องการสูงในตลาด ส�าหรับกลุ่ม อุตสาหกรรมที่ตลาดปะเก็นจะเติบโตเป็นพิเศษ คือ ผลิต น�้ามันและก๊าซ ซึ่งประเทศในกลุ่มเอเชีย-แปซิฟิกจะมีการ เติบโตสูง โดยความกังวลที่เกิดขึ้น คือ การใช้งานปะเก็นที่มี แร่ใยหินเป็นพืน้ ฐานในกลุม่ ประเทศเกิดใหม่เนือ่ งจากราคาที่ ต�่าส่งผลต่อตลาดภาพรวม

ความสั ม พั น ธ์ อั น เปราะบางระหว่ า งสหรั ฐ อเมริ ก ากั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจีนเกิดจากนโยบายของ Donald Trump ประกาศสงครามการค้า ด้วยการเก็บภาษีน�าเข้าสินค้าเพิ่มเติมจากเดิม 50,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อีกกว่า 100,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งในความเป็นจริงประเทศอเมริกา ไม่สามารถอยู่รอดได้หากขาดประเทศจีน สาเหตุที่อเมริกายังคงต้องพึ่งพิงประเทศจีนเพราะความอ่อนแอด้าน โครงสร้างทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะการออมภายในประเทศ ซึง่ ในช่วงไตรมาส สุดท้ายปี 2017 สหรัฐอเมริกามีอตั ราการออมอยูเ่ พียง 1.3% จากรายได้ของ ประเทศ การขาดแคลนการออมแต่ต้องการการบริโภคและการเติบโตท�าให้ สหรัฐอเมริกาต้องน�าเข้าเม็ดเงินจากต่างประเทศรวมถึงบริหารการขาดดุล จากการน�าเข้าที่เกิดขึ้น ในปี 2017 อเมริกาขาดดุลการค้ากว่า 102 ประเทศ ท�าให้อเมริกาไม่ได้อยู่ในสถานะแห่งการต่อรองใด ๆ

Source: markets.businessinsider.com

จีนผลิตหุ่นยนต์ทะลุ 100,000 ตัว ในเวลา 10 เดือน

ประเทศจีนสามารถผลิตหุ่นยนต์ได้มากกว่า 100,000 ตัว ภายใน ระยะเวลาเพียง 10 เดือนของปี 2017 ซึง่ เมือ่ เทียบกับปี 2016 ทีม่ ยี อด การผลิตในช่วงเวลาหนึ่งปีอยู่ที่ 90,000 ตัว รายละเอียดดังกล่าวตรงกับการคาดการณ์ของ IFR (International Federation of Robotics) แสดงให้เห็นถึงการเติบโตของตลาดหุ่นยนต์ ประเทศจีน สอดคล้องกับสภาวะค่าใช้จ่ายด้านแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้นใน ประเทศ ชี้ให้เห็นศักยภาพการผลิตหุ่นยนต์และความต้องการใช้งาน หุ่นยนต์ของประเทศจีนได้เป็นอย่างดี ซึ่งในปี 2018 นี้คาดว่าอัตรา การผลิตจะเพิ่มสูงขึ้นกว่าเดิมจากความต้องการทางตลาดและกลไก ของสังคม

ติดตามข้อมูล Trends and Economics เพิ่มเติมได้ที่ Source: https://bit.ly/2IbduXP


24

MOTIONS

ข้อมูลข่าวสารในยุคปั จจุบน ั ถูกน�าเสนอออกมาภายใต้แพลตฟอร์มอันหลากหลาย ภาพ เคลือ ่ นไหวหรือคลิปวิดโี อนับเป็นอีกหนึ่งช่องทางข้อมูลทีน ่ า่ สนใจและน่าติดตามข้อมูล นอกเหนือจากความบันเทิงแล้วการใช้งานภาพวิดโี อส� าหรับการพัฒนาตัวเองและการ เก็บเกีย ่ วประสบการณ์ผา่ นหน้าจอยังเป็นทางเลือกทีน ่ า่ สนใจส� าหรับทุกคนโดยเฉพาะ สายงานที่มีความซับซ้อนอย่างวิศวกร Modern Manufacturing คัดสรรคลิปวิดีโอที่ น่าสนใจส� าหรับนักอุตสาหกรรมด้วยการใช้งาน QR Code เพื่อน�าทุกท่านไปสู่ ขา่ วสาร ที่น่าสนใจได้ในทันที

WorkbenchVR โซลูชันอัจฉริยะส� าหรับอุตสาหกรรม

Cemtrex บริษัทอุตสาหกรรมประกาศแผนเปิดตัว เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) และ Virtual Reality (VR) ในชื่อ WorkbenchVR Henry Ford ชายผู้เปลีย ่ นโฉมหน้าอุตสาหกรรม

Henry Ford ผู้ก่อตั้งบริษัทรถยนต์ยี่ห้อดัง Ford ชายผู้ปฏิวัติวงการอุตสาหกรรมโลกด้วยการคิดค้น ระบบสายการผลิ ต และเปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ของชาว อเมริกนั ด้วยยานพาหนะทีท่ กุ ชนชัน้ สามารถเข้าถึง

หุ่นยนต์จินตนาการได้แล้ว!

นักวิจยั จาก UC Berkeley พัฒนาเทคโนโลยีสา� หรับ การเรียนรู้ของหุ่นยนต์ให้สามารถจินตนาการภาพ ขั้นตอนการด�าเนินการที่หลากหลาย เพื่อหาทาง เลือกในการจัดการตามเป้าหมายด้วยตัวเอง Karakuri Kaizen ระบบสายพานเก่าแต่ยังเก๋า

Karakuri Kaizen ระบบสายพานท�างานโดยใช้กลไก ท�าหน้าทีล่ า� เลียงสินค้าภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ จะใช้ไฟฟ้าหรือไม่กไ็ ด้ โดยสามารถเพิม่ อัตราการ ผลิตและซ่อมบ�ารุงได้อย่างง่ายดาย


MOTIONS

หุ่นยนต์นม ิ่ (Soft Robot)

Soft Robot หรือ ‘หุน่ ยนต์นมิ่ ’ นัน้ ได้รบั ความสนใจ และถูกน�ามาใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย มากขึ้ น ตอบโจทย์ ก ารท� า งานที่ ต ้ อ งการความ ยืดหยุ่น นักวิทยาศาสตร์พบวิธีควบคุมรูปร่างโลหะเหลว

นั ก วิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง Sussex และ มหาวิทยาลัย Swansea ค้นพบการใช้ประจุไฟฟ้า ควบคุมโลหะเหลวในรูปแบบสองมิติ กว่าจะเป็นยางรถยนต์ 1 เส้ น

สายการผลิตยางรถยนต์ กว่าจะเป็นยาง 1 เส้น ที่ ใช้ กั น ตามบ้ า นหรื อ งานขนส่ ง อย่ า งรถบรรทุ ก มีที่มาอย่างไร

25

การท�างานของกังหันไอน�้าในกลุ่มอุตสาหกรรม

หลักการท�างานของกังหันไอน�้าที่มีการใช้งานกัน อย่างแพร่หลายในกลุม่ อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า เช่น ปี 1996 ประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้พลังงาน ไฟฟ้าจากกังหันไอน�้าถึง 90% 3D Printing + เทคโนโลยี AI = ไร้ความสู ญเสี ย

อุตสาหกรรมการผลิตอาจสร้างความสูญเสียใน กระบวนการผลิตเท่ากับ 0 ปัจจุบันด้วยการใช้ เทคโนโลยี 3D Printing ร่วมกับ AI กระบวนการผลิตรถยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม

ขั้นตอนการผลิตรถยนต์ตั้งแต่แรกเริ่มจนเสร็จสิ้น กระบวนการ ตัง้ แต่การออกแบบ การขึน้ รูป การพ่นสี การประกอบและการตรวจสอบคุณภาพ


26

NEWS พิ ธีมอบแผงสาธิตเครือ ่ งตัดไฟรั่ว บริษัท เอบีบี จ�ำกัด โดยคุณประดิษฐพงษ์ สุขสิริถำวรกุล Account Manager for EGAT and Sales Manager และคุณนรรัตน์ เนำวรัตน์กูลชัย Product Marketing Director, Electrification Products Division เป็นตัวแทนมอบอุปกรณ์แผงสำธิตกำรติดตัง้ ระบบไฟฟ้ำ และเครือ่ งตัดไฟรัว่ ภำยในทีพ่ กั อำศัย จ�ำนวน 13 ชุด ให้กับกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคทั้ง 13 เขต เพื่อประโยชน์ในกำรให้ ควำมรู้กับบุคลำกรในองค์กร และประชำชนทั่วไป เกี่ยวกับกำร ติดตั้งระบบไฟฟ้ำที่ถูกต้อง ควำมส�ำคัญของเครื่องตัดไฟรั่ว ภำยในบ้ำน เพื่อควำมปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยมี คุณพิเชษฐ ศรีสวัสดิ์ รองผูว้ ำ่ กำรฯ สำยงำนวิศวกรรม, คุณไพฑูลย์ พรหมพิทกั ษ์ ผูอ้ ำ� นวยกำรกองมำตรฐำนระบบไฟฟ้ำ และคณะฯ เป็นตัวแทนรับมอบ ณ ห้องประชุมคณะกรรมกำร กฟภ. ชัน้ 23 อำคำร LED ส�ำนักงำนใหญ่กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค

Junghienrich เปิดตัวรถยกเทคโนโลยี แบตเตอรี่ลิเธี่ยมไอออนในไทย อย่างเป็นทางการ บริษัท ยุงค์ไฮน์ริช ลิฟท์ ทรัค จ�ำกัด แสดงควำมพร้อมที่จะส่งมอบ เทคโนโลยีใหม่ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรท�ำงำนในคลังสินค้ำ โดยกำร เปิดตัวรถยกไฟฟ้ำทีใ่ ช้เทคโนโลยีแบตเตอรีล่ เิ ธีย่ มไอออนมำจัดแสดงให้ผทู้ ี่ สนใจได้สัมผัสกับนวัตกรรมล่ำสุดในอุตสำหกรรมรถยกอย่ำงเป็นทำงกำร ในงำนแสดงสินค้ำในประเทศไทย ซึ่งได้มีกำรจ�ำหน่ำยแล้วให้กับลูกค้ำ ชัน้ น�ำต่ำง ๆ เทคโนโลยีแบตเตอรีล่ เิ ธีย่ มไอออนช่วยเรือ่ งกำรประหยัดพลังงำน อำยุกำรใช้งำนยำวนำนกว่ำแบตเตอรีแ่ บบกรดตะกัว่ ถึง 3 เท่ำ ชำร์จไฟได้เร็ว ทุกที่ทุกเวลำ ไม่ต้องเปลี่ยนแบตเตอรี่ หมดกังวลเรื่องกำรบ�ำรุงรักษำ Junghienrich คือ ผูน้ ำ� ด้ำนนวัตกรรมรถยกอุตสำหกรรมและ Intralogistics ระดับโลกจำกประเทศเยอรมนี ซึง่ มีสำขำทัว่ โลกกว่ำ 39 ประเทศ มีตวั แทน และคูค่ ำ้ กว่ำ 80 ประเทศ มีฐำนกำรผลิต 6 แห่งในเยอรมนี บริษทั ยุงค์ไฮน์รชิ ลิฟท์ ทรัค จ�ำกัด จ�ำหน่ำย ให้เช่ำรถยก รถปรับสภำพ รถยูสท์ ระบบชัน้ วำง สินค้ำ (Racking systems) ระบบกำรจัดกำรคลังสินค้ำ (WMS) พร้อมด้วย บริกำรหลังกำรขำย อะไหล่ และร้ำนค้ำออนไลน์ สนใจสอบถำมข้อมูล เพิ่มเติมได้ที่ 0-2009-0200 หรือ info@jungheinrich.co.th

SSI CARRIER One of the “Best of 2018”

SSI Carrier นวัตกรรมแห่งระบบขนย้ำยล�ำเลียงของ SSI SCHAEFERได้รับกำรเสนอชื่อเป็นหนึ่งใน "Best of 2018" ในหมวดของ Intralogistics & Production Logistics ณ งำนแสดงสินค้ำที่ Hanover ด้วยควำมสำมำรถอัน หลำกหลำย SSI Carrier สำมำรถช่วยล�ำเลียงสินค้ำ จัดเก็บ กระจำย และคัดแยกสินค้ำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและ รวดเร็ว ซึ่งเป็นตัวช่วยส�ำคัญในธุรกิจ e-commerce ในปัจจุบนั ท�ำให้จดั เก็บสินค้ำได้มำกขึน้ และเคลือ่ นย้ำย สิ น ค้ ำ ได้ ห ลำกหลำยประเภท ไม่ ว ่ ำ จะเป็ น เสื้ อ ผ้ ำ รองเท้ำ เครื่องส�ำอำง และอุปกรณ์ต่ำง ๆ


NEWS

27

EVAT ร่วมกับ UBM จัดงาน EV คู่ขนาน ASE 2018 สมำคมยำนยนต์ไฟฟ้ำไทย ร่วมกับ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดงำนแสดงเทคโนโลยีอุตสำหกรรมยำนยนต์ ไฟฟ้ำ งำน iEVTech & Electric Vehicle Asia 2018 (EV) คู่ขนำน กับงำน ASEAN Sustainable Energy Week 2018 (ASE 2018) ภำยในงำนจัดให้มกี ำรน�ำเสนอเทคโนโลยีเกีย่ วกับอุตสำหกรรม กำรผลิตที่เกี่ยวข้องกับยำนยนต์ไฟฟ้ำจำกแบรนด์ระดับโลก อำทิ Delta ABB Sumsung และพำวิลเลียนส�ำคัญจำก USA และเยอรมนี งำนดั ง กล่ ำ วจะจั ด ขึ้ น ระหว่ ำ งวั น ที่ 6-9 มิ ถุ น ำยน นี้ ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ

TUNGALOY ตั้งเป้าเติบโต Double Digits ในปี 2018 บริษทั ทังกำลอยด์ คัทติง้ ทูล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด จัดงำน ‘Tungaloy Cutting Tool (Thailand) Dealer Seminar 2018’ เพื่ อ เตรี ย มควำมพร้ อ มให้ กั บ พั น ธมิ ต รรั บ มื อ กำรเติ บ โตของอุ ต สำหกรรม ณ โรงแรมเมเปิล บำงนำ กรุงเทพฯ โดยมีดีลเลอร์ เข้ำร่วมงำนกว่ำ 80 ท่ำน Mr. Dylan Khor กรรมกำรผู้จัดกำร บริษัท ทังกำลอยด์ คัทติง้ ทูล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เปิดเผยว่ำ ทังกำลอยด์ได้ให้ควำมทุม่ เทกับ After Sale Service มำโดยตลอด จึงท�ำให้เป็นทีย่ อมรับในตลำด ตัง้ เป้ำ เติบโตถึงสองหลักในปี 2018 ขณะทีผ่ ลประกอบกำร ไตรมำสแรกเติ บ โตทะลุ เ ป้ ำ กวำดมำร์ เ ก็ ต แชร์ อยู่ในกลุ่ม TOP 5 ของประเทศไทย ซึ่งกลยุทธ์ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้บริษทั เติบโตอย่ำงก้ำวกระโดด นัน่ คือ 1. มุง่ มัน่ สนับสนุนด้ำนเทคนิคและกำรให้บริกำร หลังกำรขำย 2. Turn-Key Project เป็นกำรให้บริกำรแบบครบ วงจรที่พร้อมช่วยเหลือสนับสนุนลูกค้ำ 3. Tool Management Project โซลูชนั ทีช่ ว่ ยเพิม่ Productivity ให้ลูกค้ำ

คอนติเนนทอล ฉลองติดตั้งเครื่องจักร เครือ ่ งแรกทีโ่ รงงานแห่งใหม่ในจังหวัดระยอง เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท คอนติเนนทอล ไทร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ติดตั้ง เครื่องจักรเครื่องแรกในโรงงำนผลิตยำงรถยนต์กรีนด์ฟิลด์แห่งใหม่ที่นิคม อุตสำหกรรมเหมรำชอีสเทิรน์ ซีบอร์ด 4 จังหวัดระยอง ในพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ ภำคตะวันออก (อีอซี )ี โดยโรงงำนแห่งนีไ้ ด้รบั กำรออกแบบทีเ่ น้นประหยัดพลังงำน ตำมมำตรฐำนระดับเวิลด์คลำสและจะเดินสำยกำรผลิตอย่ำงเป็นทำงกำร ในปี 2562 พร้อมน�ำประสบกำรณ์ด้ำนกำรผลิตยำงรถยนต์กว่ำ 140 ปีมำใช้ ขับเคลื่อนกำรด�ำเนินงำน ตั้งเป้ำก�ำลังกำรผลิตยำงในระยะแรกสี่ล้ำนเส้นต่อปี


28

INTERMACH 2018

INTERMACH 2018 THE KEY TO SMART MANUFACTURING OF THE FUTURE INTERMACH 2018 กุญแจสู่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต “ยุคของอุตสาหกรรม 4.0 ก�าลังใกล้เข้ามา ผู้ผลิตอุตสาหกรรมต้องเพิ่มผลผลิตด้วย ‘เทคโนโลยีการผลิตอัจฉริยะ’ ทีป ่ รับเปลีย ่ นกระบวนการผลิตให้มค ี วามฉลาดและยืดหยุน ่ มากขึ้น ภาคอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่ วนเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่ เข้าสู่การผลิตทีเ่ น้นคุณภาพ โดยปั จจุบน ั อุตสาหกรรมรถยนต์กา� ลังทะยานสู่อต ุ สาหกรรม ยุคอนาคตด้วยการสนับสนุนจากภาครัฐและค่ายผู้ผลิตรถยนต์ชั้นน�าในอุตสาหกรรม ยานยนต์ไฟฟ้า โดยมีศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่พื้นที่ระเบียงเขตเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (EEC - Eastern Economic Corridor) ซึ่งเขตดังกล่าวยังเป็น ศูนย์รวมของอุตสาหกรรมขัน ้ สูงทางเทคโนโลยีส�าหรับแสดงศักยภาพของอุตสาหกรรม ไทยยุค 4.0 นับเป็นการลงทุนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของภูมิภาค มีเม็ดเงินรวมจากทั้ง ภาครัฐและเอกชนรวมกันกว่า 1.5 ล้านล้านบาท”


INTERMACH 2018

INTERMACH คือ งานแสดงเทคโนโลยีเครื่องจักรกล เพื่อการจัดซื้อชิ้นส่วนและเครื่องจักรการผลิตรวมถึงการ ติ ด ต่ อ อุ ต สาหกรรมรั บ ช่ ว งการผลิ ต โดยปี น้ี จั ด ร่ ว มกั บ SHEET METAL ASIA / MTA และ SUBCON THAILAND ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค วันที่ 16-19 พฤษภาคมนี้ เชื่ อ ว่ า ผู ้ อ ่ า นเกื อ บทุ ก ท่ า นต้ อ งเคยได้ เ ยี่ ย มชมงาน INTERMACH มาแล้ว บางท่านเป็นขาประจ�า เพราะความ ครบของการจัดแสดงในงานที่ครอบคลุมทั้งเครื่องจักรกล ชิ้นส่วน และผู้รับเหมาช่วง ส�าหรับปี 2018 นี้ยิ่งมีความ น่าสนใจมากขึ้นอีก Modern Manufacturing ฉบับพิเศษ จึงขอพรีวิวเพื่อเชิญทุกท่านเข้าชมงานปีนี้ MUST-ATTEND EVENT ท�าไมจึงไม่ควรพลาด INTERMACH 2018 EEC + BOI ปี นี้ คื อ ยุ ค ทองที่ อุ ต สาหกรรมไทยจะเติ บ โตแบบ ก้าวกระโดด ไม่ใช่แค่ปริมาณ แต่รวมถึงด้านคุณภาพและ การสร้ า งศั ก ยภาพรองรั บ อนาคต เพราะประเทศไทย ประกาศนโยบาย EEC ที่มาพร้อมกับการสนับสนุนอัดฉีด ที่ดีที่สุดจาก BOI เพื่อให้ภาคการผลิตของไทยได้เข้าสู่ยุค การปรับใช้ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม สิทธิ ประโยชน์ที่ BOI น�าเสนอครอบคลุมทัง้ ฝัง่ ผูใ้ ช้งาน ผูจ้ า� หน่าย ไปจนถึงการร่วมทุนกับเจ้าของเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อวางรากฐานนักพัฒนาระบบ (SI - System Integrators) ในประเทศไทย International Advanced Machinery มีการจัดแสดงเทคโนโลยีการผลิตแบบสมัยใหม่จาก 1,200 แบรนด์ 45 ประเทศ Top Class Conferences & Workshops หัวข้อการประชุมสัมมนาที่ครอบคลุมอุตสาหกรรมแห่ง อนาคต ซึง่ หาฟังได้ยากเพราะเป็นเรือ่ งทีใ่ หม่มาก ๆ ส�าหรับ คนไทย เช่น ยานยนต์ไฟฟ้า อุปกรณ์การแพทย์ การบินและ อวกาศ ฯลฯ ที่ส�าคัญคือเกือบทุกหัวข้อไม่เสียค่าใช้จ่ายใน การเข้าร่วม Advanced Manufacturing Showcase 4.0 การจัดแสดงระบบการผลิตอัตโนมัติแบบครบวงจรเพื่อ ให้คณ ุ สามารถสัมผัสเทคโนโลยียคุ 4.0 โดยได้รบั ความร่วมมือ จากแบรนด์ชั้นน�ามากมาย

นี่คือครั้งแรกของโลก กับ โซน “Progressive Bending Robot” แสดงการใช้ระบบซอฟต์แวร์เชื่อมโยงการท�างาน ร่วมกันของเครื่องพับ 3 เครื่องกับหุ่นยนต์แขนกลเพียง ตัวเดียว โซน “Smart Factory Showcase” สาธิตโรงงาน อัจฉริยะในการผลิตชิ้นงานจริงเต็มรูปแบบสายการผลิต เป็นครั้งแรกในอาเซียน และโซน “Advanced Technology” เทคโนโลยี อั จ ฉริ ย ะ จั ด แสดงเครื่ อ งพิ ม พ์ 3D เร็ ว ที่ สุ ด ในโลก เทคโนโลยี Virtual Reality (VR) เต็ ม รู ป แบบ ออโตเมชัน 4.0 นวัตกรรมเครื่องวัด 3D และเทคโนโลยี การเชื่อมล่าสุดกับหุ่นยนต์แขนกล มี Technologies อะไรมาแสดงบ้าง ไฮไลท์คงจะอยู่ในหมวดระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ที่ เราอยากให้คุณลงแรงเดินดูและเก็บ Contacts ให้มากที่สุด ยิ่งวันนี้มีข้อมูลมากเท่าไหร่ วันพรุ่งนี้คุณจะตัดสินใจได้ เร็วขึน้ และแม่นขึน้ เชือ่ ว่าวันนีผ้ จู้ า� หน่ายทุกรายย่อมเข้าใจดี ว่ า จะต้ อ งให้ ค วามรู ้ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ คุ ณ ให้ ม ากที่ สุ ด โดยไม่เร่งรัดทีจ่ ะรีบปิดการขายให้คณ ุ อึดอัดใจ และทีส่ า� คัญ ในปีนี้ Intermach ชูแนวคิดของการดึงแบรนด์ตา่ ง ๆ มาท�างาน ร่วมกันเพื่อสร้างความเชื่อมั่นสบายใจแก่ผู้ประกอบการ ว่าการผสานยูนิตต่าง ๆ เข้าเป็นระบบอัตโนมัติหรือ Smart Facory (System Integration) นัน้ ง่ายขึน้ กว่าทีผ่ า่ นมา ส�าหรับ เทคโนโลยีอื่น ๆ ก็ยังคงครอบคลุมเครื่องมือหรือชิ้นส่วน ส�าหรับเครื่องจักร งานโลหการ เครื่องจักรแปรรูปโลหะแผ่น ระบบควบคุ ม และที่ ส� า คั ญ คื อ ระบบสมาร์ ท โลจิ ส ติ ก ส์ ซึ่งเป็นตัวแปรอันดับต้น ๆ ส�าหรับโรงงานในการลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพ

29


30

หุ่นยนต์

ใกล้ตัวกว่าที่คิด และหุ่นยนต์ไทย ก้าวหน้ากว่าที่เราเคยรู้

รองศาสตราจารย์ ดร. ชิต เหล่าวัฒนา กรรมการคลัสเตอร์ระบบอัตโนมัติ และหุ่นยนต์ไทย และผู้ก่อตั้งและที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาค สนาม (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กล่าวว่า ปัจจุบัน และในอนาคตอันใกล้ ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์จะเข้ามามีบทบาทมากขึน้ ในทุกอุตสาหกรรมของไทย เนื่องจากปัจจัยด้านแรงงาน เวลา และค่าจ้าง ที่มีขีดจ�ากัด จึงปฏิเสธไม่ได้ที่ระบบอัตโนมัติจะเข้ามาแทนที่ในหลากหลาย อุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการความแม่นย�า และมีกา� ลังการ ผลิตในปริมาณมาก และต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อการผลิตขั้นสูง ให้สอดคล้อง กับภาคการผลิตของประเทศไทยทีม่ งุ่ เน้นสูก่ ารพัฒนาไปยังอุตสาหกรรมแห่ง อนาคต งานซับคอนไทยแลนด์ที่จัดร่วมกับงานอินเตอร์แมคนี้จึงเป็นโอกาส ส�าคัญของผู้ประกอบการไทยที่จะเข้ามาชมความก้าวหน้าที่ครบองค์ความรู้ และก้าวทันเทคโนโลยีการผลิตที่ล�้าสมัย และครบครันที่สุด “ปีนี้เป็นครั้งแรกที่กลุ่มผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย (TARA) ได้เข้าร่วมงานซับคอนไทยแลนด์ 2018 จัดกิจกรรมในส่วนของ การจัดพื้นที่พิเศษขึ้นภายในงาน เพื่อน�าเสนอผลงานของผู้ประกอบการ ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ในประเทศไทยไว้ด้วยกัน โดยผู้ชมงานจะได้เห็น ศักยภาพการควบคุมระบบอัตโนมัติในด้านต่างๆ ประกอบไปด้วย รถยก ไฟฟ้า หุ่นยนต์ยก และการจัดเรียง-จัดเก็บ และระบบเรียกสินค้าออกจาก ชัน้ วาง ระบบจ่าย Pallet รถขนถ่ายล�าเลียงพร้อมระบบเซนเซอร์ ทีท่ า� งานร่วมกับ โปรแกรม Equipment Embedded Software และภายในงานจะมีการจัด Live Show ด้วย เพือ่ เป็นการสาธิตระบบโลจิสติกส์อจั ฉริยะ SMART Logistic ครัง้ แรก ในประเทศไทย โดยแสดงรูปแบบการท�างานที่มีความเชื่อมโยงกันระหว่าง ระบบโลจิสติกส์อัตโนมัติกับหุ่นยนต์อัจฉริยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ”

คุณดวงใจ อัศวจินตจิตร์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยว่า ประเทศไทยได้รับการยอมรับ จากทัว่ โลกให้เป็นหนึง่ ในประเทศเป้าหมายอันดับต้น ๆ ในการ เป็นประเทศคู่ค้าในอุตสาหกรรมรับช่วงการผลิตมาโดยตลอด และด้วยความพร้อมในด้านโครงสร้างพืน้ ฐานและนโยบายทาง เศรษฐกิจของรัฐบาลภายใต้ “ประเทศไทย 4.0" ที่มุ่งเน้นการ สร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอันจะน�าพาประเทศ ไปสู่ประเทศที่เป็นแหล่งรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมขั้นสูง บีโอไอจึงมุง่ หวังให้งานซับคอนไทยแลนด์ (SUBCON Thailand) ซึ่งเป็นงานจับคู่ธุรกิจและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุด ในอาเซี ย นเป็ น งานส� า คั ญ ในการช่ ว ยพั ฒ นาและเชื่ อ มโยง อุตสาหกรรมรับช่วงการผลิตของไทยให้พร้อมสู่การพัฒนาเพื่อ รับการก้าวสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 เช่นกัน

ไปได้เร็วกว่า ถ้าอาศัยคู่ค้า

‘รับช่วงการผลิต’


INTERMACH 2018

31

Conferences ที่น่าสนใจ

SI มืออาชีพ

ของประเทศไทย

Modern Manufacturing ขอแนะน�าบางส่ วนของหัวข้อ สั มมนาที่น่าสนใจ โดยท่านสามารถดูหัวข้ออื่น ๆ รวมกว่า 50 หัวข้อได้จากเอกสารของผู้จัดงาน หรือเว็บไซต์ www.intermachshow.com เลือกเมนู Conference Wednesday, 16 May 2018 08.00 - 12.00 / Room: GH203 “Next Generation Vehicle and Opportunity to Invest in EEC” 13.00-16.00 / Room: GH201 มาตรการส่ งเสริมการลงทุนสู่ การพลิกโฉมประเทศไทย

ปัญหาปวดหัวของ SME หลายรายไม่ใช่เรื่องต้นทุนของ ระบบอัตโนมัติ แต่เป็นการวางระบบให้มีประสิทธิภาพ ยิ่ง ระบบครบวงจรมากเท่าใดยิ่งต้องการการวางแผนที่รอบคอบ มากขึ้นหลายเท่า ในขณะเดียวกันก็ต้องติดต่อกับ Suppliers หลายราย หลายแบรนด์ หลายระบบ ถ้าคุณมีปญ ั หา ดังนี้ Modern Manufacturing ขอแนะน�าให้คุณไปที่สถาบันไทย-เยอรมัน (TGI หรือ Thai-German Institute) ซึ่งเปรียบเสมือน Total Solutions ส�าหรับเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ เพราะมีทงั้ เครือ่ งมือ เครื่องจักรของจริงให้ลองสัมผัสเรียนรู้ หัวข้อฝึกอบรมแบบ เจาะลึก การสอบเพื่อรับ Certificate การเป็นผู้ควบคุมระบบ หุ ่ น ยนต์ บริ ก ารเครื่ อ งพิ ม พ์ ส ามมิ ติ ที่ ส ามารถผลิ ต ชิ้ น ส่ ว น เครื่องจักรได้จริง และอื่น ๆ อีกมากมาย อาจารย์สมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�านวยการสถาบันไทยเยอรมัน กล่าวว่า สถาบันฯ มีความยินดีทจ่ี ะเชือ่ มโยงและเตรียม ความพร้อมของผูป้ ระกอบการในการเป็น Smart Factory ซึง่ ทาง สถาบันมีผู้เชี่ยวชาญที่จะช่วยส่งเสริมผู้ประกอบการให้เกิดการ เรียนรู้เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะคลัสเตอร์ อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรม ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และไทยมีความพร้อมและผลักดันต่อจาก อุ ต สาหกรรมเดิ ม จากการเป็ น ฐานการผลิ ต ในอุ ต สาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วน ให้สามารถปรับเปลี่ยนไปผลิตชิ้นส่วนที่มี เทคโนโลยีขั้นสูงได้ไม่ยาก โดยในปีนี้ทางสถาบันไทย-เยอรมัน ร่วมสนับสนุนการจัด Smart Factory Showcase แสดงสายการผลิตจริงภายในบริเวณ พืน้ ทีจ่ ัดงาน ด้วยเครือ่ งจักรจากแบรนด์ชนั้ น�าเข้ามาโชว์ขนั้ ตอน การผลิตด้วยระบบอัตโนมัติ ไร้แรงงานมนุษย์ ภายใต้การสั่งงาน ผ่านระบบออนไลน์ โดยจุดเด่นของการรวมตัวกันในครั้งนี้จะมี การผลิตชิ้นงานจริงๆ จากเครื่องจักร อาทิ แขนกล เครื่องพับ เครือ่ งแมชชีนนิง่ เซ็นเตอร์ เครือ่ งวัด ระบบสายพาน จากแบรนด์ ชัน้ น�าเข้ามาท�างานร่วมกันกับระบบซอฟต์แวร์ ซึง่ ถือเป็นครัง้ แรก ที่จัดขึ้นในภูมิภาคอาเซียน อีกทั้งยังร่วมจัดสัมมนา Intermach Forum โดยมีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะให้ผปู้ ระกอบการเห็นความจ�าเป็น ในการน�าระบบอัตโนมัติ และแขนกลเข้ามาใช้ในโรงงาน เพื่อ เตรียมพร้อมรองรับในการเป็นอุตสาหกรรม 4.0

13.30-15.45 / Room: MR215 การพัฒนาระบบมาตรวิทยาส� าหรับการสอบเทียบอุปกรณ์ด้าน EMC เพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 Thursday, 17 May 2018 09.00-12.50 / Room: GH203 Intermach Forum#2 ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ก้าวส� าคัญ สานฝั นสู่ 4.0 09.00-12.00 / Room: MR215 Low Cost Automation for SMEs 13.30-15.30 Room: MR220 Warehouse Automation for Smart Warehouse ระบบคลังสิ นค้า อัตโนมัติ Friday, 18 May 2018 08.00-15.30 / Room: MR210 (มีค่าใช้จ่าย) มิติใหม่สู่อนาคต เครื่องมือแพทย์ไทยก้าวไกลสู่ Medical Hub 12.30-16.15 / Room: MR222-223 Mold Tech workshop (การผลิตแม่พิมพ์ขั้นสู ง “Trends and 3D Printing Technology”) 13.00-16.30 / Room: MR225 (มีค่าใช้จ่าย) แนวคิดเบื้องต้นของ KARAKURI KAIZEN

INTERMACH + SUBCON + SHEET METAL ASIA + MTA

ปีนี้จัดหนัก จัดใหญ่ จัดเต็มพื้ นที่ไบเทค เดินวันเดียวคงไม่ครบ แน่นอน ขอแนะน�าให้ทา่ นวางแผนการเดินทางและบริหารเวลาดี ๆ โดยสามารถเดินทางมายังสถานที่จัดงานได้ด้วย BTS ลงสถานี บางนา นอกจากนี้ ท่านยังสามารถติดตามไฮไลท์ดี ๆ ที่น่าสนใจ ได้ ท าง www.mmthailand.com นอกจากนี้ Modern Manufacturing ก็ได้ร่วมประชาสั มพันธ์ในงานนี้ ณ บูธหมายเลข V15 Hall 101 โซน MTA โดยมีของรางวัลมาแจกอีกเช่นเคย


32

GLOBAL MOVEMENT

มังกรเหล็กผงาด อุตสาหกรรมจีน จากแรงงานสู่ระบ บอัตโนมัติ

RISE OF THE DRAGON! CHINA’S LABOR TO AUTOMATION

สาธารณรัฐประชาชนจีน อู่วัฒนธรรมโลก ดินแดนแห่ง ปรัชญาและอุตสาหกรรม ปั จจุบันจีนครองสั ดส่ วน GDP โลกสู งถึง 50% แต่หากมองย้อนไปไม่ถงึ 20 ปี เมือ ่ ได้ยน ิ ค�าว่าสิ นค้า ‘จีนแดง’ หลายคนคงส่ ายหน้าไปตาม ๆ กัน แต่ วันนี้สินค้าชั้นน�าต่างตบเท้าเปิดสายการผลิตที่ประเทศจีน ไม่ว่าจะเป็นแบรนด์ที่พิถีพิถันอย่าง Apple หรือ Huawei ผู้เชี่ยวชาญเรื่องระบบเครือข่าย


GLOBAL MOVEMENT

จากเถ้าที่เกือบมอดกลับกลายเป็นมังกรที่ผงาดขึ้นเป็น หนึ่งได้อีกครั้งด้วยนโยบายภาครัฐและแรงงานจ�านวนมาก ในวันนี้มังกรตัวเดิมก�าลังเปลี่ยนผ่านสู่ยุค ‘มังกรเหล็ก’ ยุค ที่ ร ะบบออโตเมชั น เป็ น สั ด ส่ ว นหลั ก ของการผลิ ต ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่อการผลิตทั้งหมดจากเดิมที่ศักยภาพการผลิต ท�าไมต้องจีน? สูงอยู่แล้วจะท�าให้ศักยภาพการผลิตทิ้งห่างประเทศคู่แข่ง ด้วยพืน้ ทีท่ ม่ี ถี งึ 9 ล้านตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า แบบไม่เห็นฝุ่นได้อย่างน่าสะพรึง 1,400 ล้านคน ท�าให้ประเทศจีนมีข้อได้เปรียบทั้งทางด้าน พื้นที่ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงจ�านวนแรงงานที่มีมาก เกินกว่าประเทศใด ๆ ในโลก ท�าให้ประเทศจีนมีความพร้อม ผงาดจากเถ้า ส�าหรับงานหรือโครงการใด ๆ ก็ตามทีต่ อ้ งการใช้ทรัพยากร ด้ ว ยประวั ติ ศ าสตร์ อั น ยาวนานของจี น ที่ มี ก ารสั่ ง สม จ� า นวนมาก โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภายหลั ง เปิ ด ประเทศ วัฒนธรรมมากมายท�าให้มีองค์ความรู้ที่หลากหลายและ ในขณะที่ประชากรมีภาวะอดอยากแร้นแค้นยิ่งส่งผลให้มี ลงลึก แต่ดว้ ยการปฏิวตั วิ ฒ ั นธรรมของเหมาเจ๋อตุงเมือ่ วันที่ 16 ค่าแรงที่ต�่ามาก พฤษภาคม 1966 เกิดการเผาท�าลายความรูเ้ ก่าและปัญญาชน นอกเหนือจากสภาพแวดล้อมทางสังคมทีก่ ระตุน้ ให้เกิด จ�านวนมากล้มตายซ�้าร้ายด้วยการปิดประเทศท�าให้ประเทศ การสร้างงานจากความอดอยาก นโยบาย ‘4 ทันสมัย’ ทีเ่ น้น เดินถอยหลังและเริ่มต้นฤดูหนาวที่แสนยาวนาน การพัฒนาทางด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทหาร ฟ้าใหม่เริ่มส่องสว่างเมื่อเติ้งเสี่ยวผิงเริ่มนโยบายเปิด และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นตัวผลักดันประเทศ ประเทศในปี 1978 เพราะมองเห็นว่าการจะน�าพาประเทศ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมได้ก�าหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 ไปข้างหน้าได้นั้นจ�าเป็นต้องสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา เมือง ได้แก่ เซินเจิ้น (Shenzhen), จูไห่ (Zhuhai), เซี่ยเหมิน ธุรกิจต่าง ๆ ขึ้น จึงเริ่มเดินทางเยี่ยมเยียนประเทศเพื่อน (Xiamen) และซัวเถา (Shantou) รวมถึงใช้นโยบาย 1 ประเทศ บ้าน ผลักดันให้เกิดการลงทุนจากต่างชาติด้วยนโยบายเขต สองระบบ แบ่งการปกครอบแบบดั้งเดิมและเสรีทุนนิยมใน เศรษฐกิจพิเศษ ได้แก่ เซินเจิ้น จูไห่ ซัวเถา และเซียเหมิน ประเทศเดียวกัน พร้อมนโยบายสนับสนุนต่าง ๆ อีกมากมาย อาทิ สินค้าส่ง ออกไม่มีการเสียภาษี ซึ่งภาครัฐให้การสนับสนุนภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ดึงดูดความสนใจนักลงทุน โดยปัจจุบนั จุดเด่นของการลงทุนอุตสาหกรรมในประเทศจีน จากทั่ ว โลก พลิ ก ฟื ้ น จากฤดู ห นาวสู ่ ฤ ดู เ ก็ บ เกี่ ย วที่ แ สน ที่สามารถดึงดูดนักลงทุนจากทั่วโลกได้ มีดังนี้ โชติช่วงแห่งยุคสมัย 1. สายการผลิตมีราคาถูก ด้วยนโยบายด้านภาษีท�าให้ มีค่าใช้จ่ายส�าหรับการน�าเข้าทรัพยากรที่ต�่า รวมถึงการ ปลอดภาษีสง่ ออก ไม่จา� กัดระยะเวลาใด ๆ ในการด�าเนินการ ผลิตหรือกักเก็บสินค้า

33

ท�ำไมอุตสำหกรรมจีน จึงยิ่งใหญ่


34

5 2. ผลิตได้มากในเวลาที่น้อย ด้วยการสนับสนุนด้าน เทคโนโลยี ความตื่นตัวของประชากรและจ�านวนประชากร ที่มีจ�านวนมากถึง 1 พันล้านคน ท�าให้สามารถผลิตได้อย่าง รวดเร็วเมื่อเทียบกับการลงทุนในประเทศอื่น ๆ 3. ขยายโอกาสทางการตลาดได้งา่ ย ด้วยพืน้ ทีจ่ า� นวนมาก สามารถขยายโรงงานได้อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ ยังมี พรหมแดนติดกับหลากหลายประเทศ ไม่ไกลจากยุโรปท�าให้ เป็นฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพและเป็นตัวเลือกที่น่า ลงทุนอย่างมาก นอกจากนี้ ยังมีสิทธิพิเศษเพิ่มเติมอีกส�าหรับบริษัทที่ ด�าเนินการอย่างถูกกฎหมายในประเทศจีนแผ่นดินใหญ่มาเป็น เวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี และมีรายละเอียดตรงกับเงือ่ นไขเหล่านี้ • ถือครองกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ทีล่ งทะเบียนอย่างถูกต้องในจีน • มี กิ จ การในสาขา: ข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ยาแผน ปั จ จุ บั น อากาศยาน วั ส ดุ ขั้ น สู ง พลั ง งานใหม่ แ ละการ ประหยัดพลังงาน สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงจากอุตสาหกรรมดัง้ เดิมสูก่ ารใช้เทคโนโลยี ใหม่ ธุรกิจงานบริการส�าหรับเทคโนโลยีอื่น ๆ • ต้องมีบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์หรือผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคนิคอย่างน้อย 30% ในบริษัทและต้องมีการวิจัย และพัฒนาในหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง การลงทุนด้านวิจัย และพัฒนาในจีนต้องมีไม่น้อยกว่า 60% เมื่อเปรียบเทียบ จากผลรวมองค์กรนั้น ๆ ทั่วโลก • รายได้ที่เกิดขึ้นจากการขายผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มี เทคโนโลยี ใ หม่ ห รื อ เทคโนโลยี ร ะดั บ สู ง ของบริ ษั ท ต้ อ งมี สัดส่วน 60% ของรายได้ทั้งหมดส�าหรับปีที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่ารัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนด้านเทคโนโลยี อย่างเข้มแข็ง ส่งผลให้เทคโนโลยีกลายเป็นหัวหอกในการ ผลักดันอุตสาหกรรมของจีนให้รุดหน้าเรียกได้ว่าจากคลาน เป็นวิ่งในเวลาไม่กี่สิบปี โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจดิจิทัลและ สตาร์ทอัพ

ประเทศที่มีการใช้ หุ่นยนต์มากที่สุด

ประเทศจีน ประกอบกับหลายประเทศเริ่มออกนโยบายดึง ผู้ประกอบการกลับมาลงทุนในมาตุภูมิ เช่น สหรัฐอเมริกา หรือญี่ปุ่นที่เริ่มมีการย้ายโรงงานกลับประเทศแล้ว เช่น Canon ท�าให้ประเทศจีนต้องปรับตัวเองอีกครั้งหนึ่งภายใน ระยะเวลาสั้น ๆ ด้วยแนวนโยบายที่ส่งเสริมวิทยาศาสตร์และนวัตกรรม ที่เข้มแข็งดุจเหล็กกล้า ส่งผลให้ดึงดูดการลงทุนผ่านการตั้ง หน่วยงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและการผลิตขั้นสูงขึ้น เป็นจ�านวนมากในประเทศจีน เช่น Airbus บริษัทผู้ผลิต อากาศยานที่ก่อตั้งศูนย์นวัตกรรมในประเทศจีน Apple และ Mercedes ที่ต่างเปิดศูนย์วิจัยและพัฒนาในประเทศ จีนเช่นกัน ท�าให้ประเทศจีนถูกเสริมทัพด้วยนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เข้มข้นจากบรรดาผู้ผลิตทั่วโลก นับเป็นความส�าเร็จของ นโยบายที่ปูพรมแดงไว้ให้กับการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา ได้เป็นอย่างดี เมื่ อ ภาวะปั ญ หาแรงงานราคาสู ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น มาพบกั บ ศักยภาพด้านนวัตกรรมทีร่ ดุ หน้าไม่นอ้ ยไปกว่ายุโรป ด้วยการ ลงทุนด้านนวัตกรรมจากทั่วโลกท�าให้จีนมีศักยภาพพร้อม ส�าหรับการใช้งานระบบออโตเมชันและเทคโนโลยีล�้าหน้า ที่มีในโลกเกือบทั้งหมด ท�าให้เกิดแนวโน้มการปรับเปลี่ยน มาใช้งานระบบอัตโนมัติแทนแรงงานมนุษย์ ความพร้อมของจีนนอกเหนือจากการลงทุนด้านวิจัย และพัฒนาแล้ว เมืองเซินเจิน้ ยังถูกแปรสภาพให้เป็น Silicon Valley หรื อ เมื อ งแห่ ง นวั ต กรรมของจี น มี ก ารซื้ อ ขาย ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทุกเกรด เป็นทั้งที่ตั้งบริษัทและแหล่ง จัดจ�าหน่ายขนาดใหญ่ในเวลาเดียวกัน ชีใ้ ห้เห็นความพร้อม ทางด้านสภาพแวดล้อมและบุคคลากรที่สามารถตอบสนอง ต่อการใช้งานเทคโนโลยีได้เป็นอย่างดี

หนึง่ ในสัญญาณของการเปลีย่ นแปลงทีส่ า� คัญนอกเหนือ จากค่าจ้างแรงงานที่เพิ่มขึ้น คือ ยอดรวมการผลิตหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมในประเทศจีนที่พุ่งขึ้นสูงกว่า 120,000 ตัว สู่ วิถีมังกรเหล็ก ต่อปี สอดคล้องกับการคาดการณ์ของ IFR หรือสมาพันธ์ ปั ญ หาด้ า นค่ า ใช้ จ ่ า ยแรงงานเกิ ด ขึ้ น ทั่ ว ภู มิ ภ าค หุน่ ยนต์นานาชาติทรี่ ะบุถงึ การใช้งานหุน่ ยนต์ในประเทศจีน โดยเฉพาะในประเทศที่ มี ก ารเติ บ โตในพริ บ ตาอย่ า ง ที่เพิ่มขึ้น

เซินเจิ้น Silicon Valley แห่งฮำร์ดแวร์


GLOBAL MOVEMENT

การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ จ ะท� า ให้ อุ ต สาหกรรม จี น กระโดดข้ า มทิ้ ง ห่ า งอุ ต สาหกรรมจากประเทศอื่ น ๆ สร้ า งผลกระทบต่ อ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ในวงกว้ า ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล่าประเทศในเอเชียที่มีก�าลังการผลิต เป็นแรงงานมนุษย์ในสายการผลิตเป็นส่วนมาก จากแนวโน้มการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนารวมถึง การพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนวัตกรรม IT และเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ประเทศจีนถือว่ามีความพร้อมในการ แปรรูปแรงงานที่มีอยู่ในปัจจุบันให้เป็นแรงงานที่มีศักยภาพ ในการใช้งานเทคโนโลยีและเครื่องจักรได้อย่างไม่ยากเย็น ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนถ่ายรูปแบบการผลิต จึงเป็นปัญหาที่มีความส�าคัญเล็กน้อยเมื่อเทียบกับผลการ ลงทุนที่จะเกิดขึ้น

35

อุตฯ ไทยแข่งยังไงให้รอด ส�าหรับประเทศไทย ผู้ผลิตและภาครัฐนั้นตระหนักถึง แนวโน้มความกังวลทีเ่ กิดขึน้ ในระดับโลก ไม่วา่ จะเป็นปัญหา ด้านแรงงาน ศักยภาพการแข่งขัน หรือนโยบายการดึงดูด นักลงทุนที่เกิดขึ้นในประเทศเพื่อนบ้าน ท�าให้เกิดนโยบาย ‘ประเทศไทย 4.0’ รวมไปถึงนโยบาย EEC ทีพ่ งุ่ เป้าสนับสนุน อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ดึงดูดนักลงทุน ต่างชาติ รวมถึงการสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมอย่าง แข็งขัน โดยเน้นไปทีง่ านวิจยั ทีส่ ามารถใช้งานได้จริง เป็นการ เปิดโอกาสให้นักอุตสาหกรรมสามารถแข่งขันได้กับการ เปลี่ยนแปลงในระดับโลกที่ก�าลังเกิดขึ้น จุ ด แข็ ง อี ก หนึ่ ง ประการของอุ ต สาหกรรมไทย คื อ ประสบการณ์ ที่ ย าวนานและความเชี่ ย วชาญในกิ จ การ ที่เกี่ยวข้อง อะไรคือกิจการที่เกี่ยวข้องครับ? หากน�ามา ผสมผสานกับการใช้งานเทคโนโลยีออโตเมชัน ซึ่งได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐจะท�าให้ประเทศไทยสามารถเจาะกลุม่ สินค้าระดับสูง ซึ่งต้องการประสบการณ์และเทคโนโลยีได้ อย่ า งมี ศั ก ยภาพ นอกจากนี้ ที่ ตั้ ง ของประเทศไทยยั ง ถือเป็นศูนย์กลางของ SEA ที่มีอาณาเขตติดกับหลากหลาย ประเทศอีกด้วย การเจาะกลุ่มตลาดเพื่อนบ้านหรือตลาด ที่ ผู ้ ผ ลิ ต มี ค วามคุ ้ น เคยเป็ น สิ่ ง ที่ ส ามารถต่ อ ยอดความ ส�าเร็จได้อย่างยั่งยืนมากกว่าการพุ่งเป้าแข่งขันหรือทัดทาน ลูกพี่ใหญ่อย่างจีน การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศจี น เป็ น ผลจาก นโยบายภาครัฐที่เข้มแข็งและการขานรับจากภาคเอกชนที่ พร้อมเพรียง จีนได้ใช้จุดเด่นจากทรัพยากรธรรมชาติและ แรงงานเป็นทีต่ งั้ ต่อยอดด้วยการดึงดูดนักลงทุนต่างประเทศ และการบังคับใช้กฎเกณฑ์อย่างหนักแน่น ท�าให้ประเทศจีน เติบโตอย่างมั่นคงด้วยการมีนวัตกรรมและงานวิจัยเป็น กระดูกสันหลังอันส�าคัญยิ่ง ในขณะที่ประเทศไทยก�าลัง ด�าเนินนโยบาย EEC และประเทศไทย 4.0 ซึ่งมีลักษณะ ทางโครงสร้างคล้ายกัน แต่การพุ่งเป้าตลาดขนาดใหญ่แบบ ที่จีนท�า เห็นจะไม่เหมาะนักกับสิ่งที่ไทยเป็น การให้ความ ส�าคัญกับประเทศคู่ค้าเดิมและประเทศใกล้เคียงถือเป็น เป้าหมายที่น่าสนใจ การปรับเปลี่ยนสู่ระบบออโตเมชัน เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากต้องการศักยภาพในการแข่งขัน ท่ามกลางภาวะปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในกิจการอุตสาหกรรม ซึ่งหากตั้งเป้าหมายคู่ค้าเป็นกลุ่มประเทศใกล้เคียงการเร่ง ลงทุ น ระบบอั ต โนมั ติ จ ะเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการผลิ ต เหนื อ คู่แข่งได้อย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นก�าลังการผลิต ต้นทุน ระยะเวลาการผลิ ต ถื อ เป็ น การใช้ ค วามพร้ อ มทางด้ า น โครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่เดิมต่อยอดและช่วงชิงโอกาสทาง ธุรกิจอย่างรวดเร็ว ก่อนที่ประเทศเพื่อนบ้านจะถีบตัวข้าม ประเทศไทยไปอย่างไม่หวนกลับ Source: www.satit.up.ac.th/BBC07/AboutStudent/Document/HistModer nWorld/Century20th/pdf/China2.pdf, www.cina.bbc-llp.co.uk/corebusiness/formation-company-a-tax-advisory/tax-incentives-in-china. html, http://ieeexplore.ieee.org/stamp/stamp.jsp?arnumber=7254256, www.bloomberg.com/news/articles/2017-08-22/china-s-robotrevolution-may-weigh-on-global-rebalancing


36

TRENDS

MANUFACTURING 2018 OUTLOOK WITH MODERN MANUFACTURING ย่อยบทวิเคราะห์อุตสาหกรรมโลก 2018 กับ Modern Manufacturing


TRENDS

37

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องเป็น ผลจากความต้องการ IC ที่เพิ่มขึ้นเพื่อตอบรับเทคโนโลยี อัจฉริยะและ IoT โดยกลุ่มเป้าหมายส่งออกที่มีการเติบโต สูงสุด คือ ยุโรป จีน และ CLMV ตามล�าดับ มุมมองจาก Modern Manufacturing “เทรนด์ EV ที่ ก�าลังเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ผูป้ ระกอบการควรเฝ้าระวังกระแส ความต้องการของตลาดต่างประเทศที่เปลี่ยนไปซึ่งเป็น ปัญหาในระยะยาวการเติบโตของธุรกิจ แม้ภาครัฐจะมีการ สนับสนุนและตลาดปัจจุบนั อาจดูมนั่ คงแต่การเปลีย่ นแปลง สู่ EV จะมาถึงไม่ช้าก็เร็วจากการขับเคลื่อนของเทรนด์และ ความต้องการของตลาดโลก นอกจากนี้ อุตสาหกรรมใน ปี 2018 จ�าเป็นต้องมีแรงงานที่มีความรู้ความสามารถเพิ่ม มากขึน้ แรงงานต้องมีความสามารถในด้านนวัตกรรมรองรับ การท�างานและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อย่ า งรวดเร็ ว เพื่ อ ให้ ทั น กั บ ตลาดที่ เ ติ บ โตขึ้ น ในพริ บ ตา ทิศทางโลก 2018 ซึ่งเป็นผลกระทบจาก Disruptive Technology ความรู้ความ ปี 2017 เป็ น ปี ที่ มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตที่ ดี อั น เป็ น สามารถและไหวพริบจะเป็นกุญแจส�าคัญส�าหรับแรงงาน สัญญาณมาจากไตรมาสที่ 3 ของปี โดยมีพี่ใหญ่อย่างจีน ยุคนวัตกรรม และตลาดอาชีพของช่างซ่อมบ�ารุงจะเป็นสิ่ง เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก ด้วยศักยภาพทางการผลิต จ�าเป็นอย่างมาก” เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในขณะที่ผู้น�าของสหรัฐอเมริกา และเกาหลีเหนือสร้างความไม่มั่นใจให้กับทั่วโลกท�าให้เกิด การชะลอตัวส�าหรับการลงทุน ภูมภิ าคยุโรปฟืน้ ตัวอย่างช้า ๆ จากสภาวะ Brexit และการก่อการร้ายที่กระจายตัว เป็นผล ให้สถาบันการเงินต่าง ๆ มีมาตรการที่รัดกุมยิ่งขึ้นส�าหรับ การลงทุน ขณะที่ภาวะปัญหาแรงงานที่เกิดขึ้นทั่วโลกระบบ ออโตเมชันและหุ่นยนต์กลายเป็นทางเลือกอันดับต้น ๆ ท�าให้อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องเติบโตอย่างรวดเร็ว มุ ม มองจาก Modern Manufacturing “ภาพรวม อุตสาหกรรมมีสภาพคล่องและการเติบโตที่ดีมากขึ้นและ ส่งผลต่อการลงทุนในปี 2018 เป็นอย่างดี โดยเฉพาะใน ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ซึง่ มีแนวโน้มความต้องการสินค้า 12.00 มากขึน้ โดยเอเชียถือเป็นอูข่ า้ วอูน่ า�้ ส�าหรับตลาดการผลิตโลก ซึ่ ง มี พื้ น ฐานมาจากประเทศจี น ที่ เ ติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว 10.00 ในขณะเดียวกันประเทศจีนถือเป็นความเสีย่ งขนาดใหญ่ตอ่ ภาพรวมเศรษฐกิจหากเกิดปัญหาขึ้น แม้ว่าปี 2018 จะเป็น 8.00 ปีที่มีแนวโน้มที่ดี แต่ปัจจัยผลักดันการเติบโตนั้นไม่ได้ถูก 6.00 กระจายออกจึงกลายเป็นความเสีย่ งใหม่ดว้ ย ถือเป็นโอกาส ในการแทรกตัวได้หากมีตลาดที่เข้มแข็งชัดเจนพอในการ 4.00 แบ่งส่วนแบ่งจากประเทศจีน”

Modern Manufacturing น�ำเสนอบทวิเครำะห์ภำพรวม อุตสำหกรรมจำกต่ำงประเทศ ซึ่งส่ งสั ญญำณกำรเติบโตที่ดี ในปี 2018 โดย Russel Investment กล่ำวถึงจีนในฐำนะ ฟั นเฟืองส� ำคัญและจุดอ่อนของเศรษฐกิจ Reuters ชี้ยุโรป เริ่มฟื้ นตัวอีกครั้ง Moody แสดงตัวเลขกำรขยำยตัวของ อุตสำหกรรมโลก Advancemanufacturing.org ระบุสหรัฐฯ จะกลั บ มำยิ่ ง ใหญ่ อี ก ครั้ ง ผ่ ำ นอุ ต สำหกรรมอำกำศยำน Focus-Economics มั่นใจกำรเติบโตอำเซียนในปี 2018 ซึ่งประเทศไทยได้รับผลกระทบจำกทิศทำงเหล่ำนี้โดยตรง เนื่องจำก GDP ของไทยขึ้นอยู่กับกำรส่ งออกเป็นหลัก

ดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม (MPI)

2.00

แดนสยาม 4.0 ส�าหรับประเทศไทยปัญหาภาวะแรงงานขาดตลาดและ สังคมผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พึงระวัง ปี 2017 มีการขยายตัว ของอุตสาหกรรม MPI อยูท่ ี่ 1.5 % และคาดการณ์วา่ จะสูงถึง 2.5% ส�าหรับปี 2018 โดยการเติบโตหลักของประเทศไทย อยูท่ กี่ ารส่งออก กระทรวงอุตสาหกรรมคาดว่ากลุม่ ยานยนต์ มีแนวโน้มเพิ่มการผลิตถึง 2.56% ทางด้านอุตสาหกรรม

0.00 -2.00 -4.00 -6.00

2555

2557 2560

2561


38

นักวิเคราะห์ต่างประเทศ • Russel Investments ในปี 2017 ถือว่าสถานการณ์ทวั่ ไปดูดกี ว่าทีค่ าดการณ์ไว้ ก�าแพงของความกังวลก่อตัวขึน้ ภายใต้การชีน้ า� ของ Donald Trump ซึ่งส่งผลกระทบกับเศรษฐกิจทั่วโลก ในปี 2017 ประเทศจีนมีการเติบโตอันเป็นกุญแจส�าคัญส�าหรับเศรษฐกิจ โลก ส�าหรับปี 2018 การเติบโตของสหรัฐฯ ในปี 2017 เป็นไป อย่างรวดเร็วแต่ก็เปราะบาง ท�าให้มีความเสี่ยงของสภาพ เศรษฐกิจและการลงทุนสูงขึน้ ตาม ส�าหรับยุโรปถือว่าก�าลังอยู่ ในช่วงฟืน้ ตัว GDP เติบโตอย่างแข็งแรงแต่ตอ้ งระวังเกีย่ วกับ ความอ่อนไหวทางการเมืองที่เกิดขึ้น สถาบันการเงินใน ภูมิภาคยังไม่นิ่งเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาส่วนหนึ่งมาจากการที่ จีนเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านเศรษฐกิจและนวัตกรรม ส� า หรั บ เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก แม้ จ ะมี อั ต ราการเติ บ โตที่ ไ ม่ สูงมากแต่เป็นไปอย่างหนักแน่นมัน่ คง โดยมีอตั ราการเติบโต ของ GDP 5% ในช่วงไตรมาสที่ 3 เป็นผลจากการซื้อขาย ระหว่างภูมิภาค ในปี 2018 คาดการณ์ว่ามีการเติบโต 10% ส�าหรับ MSCI Asia Pacific Index ซึ่งการเติบโตหลักมาจาก จีนที่มีสัดส่วนการน�าเข้าสูงถึง 55% ของภูมิภาค ส�าหรับ ประเทศญี่ปุ่นอนาคตการลงทุนถือว่าสดใสเป็นผลจากการ เป็นเจ้าภาพจัดงานโอลิมปิกปี 2020 เอเชียแปซิฟิกในปี 2018 เป็นปีที่มีการเติบโตที่ดีอย่างต่อเนื่องในขณะที่ต้นทุน ต่างๆ เริ่มมีราคาสูงขึ้น แต่ก็ยังเป็นภูมิภาคที่น่าสนใจที่สุด ในการเติบโตของปี 2018 • Reuters ในปี 2017 อุตสาหกรรมมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทีส่ ดุ เนือ่ งจากความต้องการของตลาดและมาตรการทีร่ ดั กุม ยิ่ ง ขึ้ น ของสถาบั น การเงิ น มี ก ารเพิ่ ม ดอกเบี้ ย ในธนาคาร แต่ละภูมิภาค ซึ่งประเทศเกาหลีเป็นประเทศแรกในเอเชียที่ ตัดสินใจขึ้นอัตราดอกเบี้ย โดยมีมาเลเซียและฟิลิปปินส์ ตั้งเป้าเริ่มด�าเนินการในปีหน้า

การผลิ ต ของภู มิ ภ าคยุ โ รปเดื อ นพฤศจิ ก ายนเป็ น ช่วงเวลาที่งานเยอะที่สุดในรอบ 17 ปี ซึ่งปรากฏการณ์นี้ จะเป็นแรงส่งไปจนถึงปลายปี 2017 โดยเฉพาะสหราชอาณาจั ก รที่ มี ช ่ ว งเวลาของอุ ต สาหกรรมที่ ดี ที่สุ ด ในรอบ 4 ปี ซึ่งปรากฏการณ์น้ีส่งผลการเติบโตในปี 2018 ในช่วง ไตรมาสแรกด้วย ส� า หรั บ ฝั ่ ง เอเชี ย มี ก ารขยายโรงงานขึ้ น จ� า นวนมาก โดยเฉพาะเกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน ในขณะที่ปักกิ่ง ต้องพบเจอปัญหาด้านมลภาวะทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการเติบโต ของอุตสาหกรรมจีน อินเดียเริ่มฟื้นตัวจากการถูกขัดด้วย ภาวะภาษีที่เพิ่มขึ้น ในเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมาอินเดียมี กิจกรรมด้านอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากที่สุด ตั้งแต่การมัดมือ ผู้ประกอบการด้วยภาษีเมื่อช่วงต้นปี 2016 ท�าให้เอเชียเป็น ตลาดทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวสูงในปี 2018 ในขณะทีน่ กั วิเคราะห์ ต่างมองว่าจีนยังคงเป็นความเสีย่ งทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ส�าหรับอัตรา การเติบโตของเศรษฐกิจโลก เพราะการกระจุกตัวของการ เติบโตนั่นเอง • Moody’s Investor Service ในปี 2018 นั้นอุตสาหกรรมทั่วโลกมีแนวโน้มในทิศทาง ที่ดี Moody คาดการณ์ว่า EBITDA จะเติบโตถึง 3.1% โดย มีตลาดผู้ใช้งานเป็นตัวผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมมีการ ขยายตัวเกิดขึ้น โดยในกลุ่มประเทศ G-20 มี GDP ที่โตเกิน 3% และส�าหรับประเทศเศรษฐกิจใหม่สามารถโตได้ถึง 5% จนถึงปี 2019 นอกจากนี้ ดัชนีอตุ สาหกรรมของ JPMorgan มีคา่ สูงถึง 53.5 จุด ในเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ซึ่งหมายถึงการขยายตัว ทีเ่ กิดขึน้ เป็นแนวโน้มทีด่ สี า� หรับการขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง ของภาคการผลิตทั่วโลก • Advancemanufacturing.org ด้วยปัจจัยพื้นฐานที่เข้มแข็งของสหรัฐอเมริกาส่งผลให้ อัตราการเติบโต 2% เกิดขึ้นได้ในภาคส่วนของอากาศยาน ยานยนต์ พลังงานและเครือ่ งมือแพทย์ ซึง่ ตลาดอากาศยาน สามารถเพิม่ ส่วนแบ่งในตลาดโลกได้ ในขณะทีต่ ลาดของโลก ก�าลังหดตัวลงเป็นผลจากการก่อการร้าย กรณีพิพาทกับ เกาหลีเหนือและปัญหาด้านการบินระยะยาวโดยไม่ตอ้ งพัก ด้วยความท้าทายของตลาดอากาศยานทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลกท�าให้ เป็นโอกาสของสหรัฐอเมริกาด้วยเงินสะพัดกว่า 8 หมืน่ ล้าน ในปี 2015 สร้างมูลค่าการส่งออกถึง 1.35 แสนล้านและด้วย เทคโนโลยีในปัจจุบันที่มาพร้อม Lean และระบบ ERP ที่ดี ยิ่งขึ้น คาดว่าผลิตภาพสามารถเพิ่มขึ้นได้ถึง 40% • Focus-Economics ด้วยตลาดแรงงานที่มีความแข็งแรง โครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมาตรฐานดีขึ้นและความต้องการสินค้าจากตลาดโลกที่ เข้มแข็งท�าให้เศรษฐกิจอาเซียนโตถึง 5.1% ในปี 2017 ท�าให้ ปี 2018 ยังคงได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากการเติบโตนี้และ ส่งผลให้กลุ่มประเทศอาเซียนเติบโตได้อย่างมาก เมี ย นมาเป็ น ประเทศที่ ถู ก จั บ ตามองว่ า มี ก ารเติ บ โต สู ง ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคถึ ง 7.4% ตามมาด้ ว ยกั ม พู ช า โดย


TRENDS

39

ประเทศไทยคาดการณ์ว่ามีการเติบโตได้ถึง 3.6% ในขณะที่ ประเทศไทยเริ่ ม ฟื ้ น ตั ว ทางเศรษฐกิ จ ในช่ ว งไตรมาส 3 GDP เพิม่ ขึน้ 4.3% สูงเกินความคาดหมายของตลาด ปัจจัย ภายนอกเป็นตัวหลักในการผลักดันการเติบโตนี้ ส�าหรับ ภาคอุตสาหกรรมในปี 2018 มีการขยายตัวอยู่ที่ 2.1% อย่างไรก็ตาม การเติบโตนี้มีความเสี่ยง เพราะขึ้นอยู่กับ ปั จ จั ย ภายนอกเป็ น หลั ก ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ ก� า หนดการ เลือกตั้งที่จะประกาศในปีหน้าด้วยเช่นกัน ข้อเสนอแนะจาก Modern Manufacturing จากการเติ บ โตของประเทศจี น ทิ ศ ทางตลาด อุ ต สาหกรรมโลกที่ มี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น และโลกตะวั น ตก เริ่มฟื้นตัวอีกครั้ง ประเทศไทยอยู่ท่ามกลางพายุของการ เปลีย่ นแปลงไม่วา่ จะเป็น Disruption Technology หรือภาวะ สังคมผู้สูงอายุ รวมถึงการขาดแคลนแรงงาน การวางแผน รับมือล่วงหน้าภายในองค์กรเป็นสิ่งส�าคัญส�าหรับการท�า อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน รวมถึงการเป็นเจ้าของเทคโนโลยีเอง ของผู ้ ป ระกอบการชาวไทยจะเป็ น ไม้ เ ด็ ด ที่ ส ร้ า งจุ ด ยื น อุตสาหกรรมไทยในเวทีโลก 2018 ได้ และหากอุตสาหกรรม ในประเทศจี น เกิ ด ความอ่ อ นไหวประเทศไทยสามารถ กลายเป็นทางเลือกของนักลงทุนต่างชาติได้ โดยควรให้ ความส�าคัญกับประเด็น ดังนี้ 1. ประเทศไทยควรพัฒนาแรงงานอุตสาหกรรมแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มซ่อมบ�ารุง (สายปฏิบัติ) และวิศวกร ควบคุม (สายทฤษฎี) เพือ่ ตอบสนองต่อการใช้งานนวัตกรรม การดูแลรักษา และการเติบโตของอุตสาหกรรมได้อย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เปรี ย บเทคโนโลยี เ ป็ น กล้ า มเนื้ อ และระบบประสาท ในขณะที่มนุษย์เป็นมันสมองของการ ท�างานที่ไม่อาจขาดความรู้ในเชิงทฤษฎีและความสามารถประสบการณ์ในการท�างานได้ 2. การเรียนรู้จากเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศจีน ในการ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมและการเติ บ โตที่ เ กิ ด ขึ้ น ภายในช่ ว ง ระยะเวลาไม่ถึงชั่วอายุคน ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศไทยที่มี การเติบโตก่อนหน้าท�าให้เห็นถึงอัตราการเติบโตที่แตกต่าง ประเทศญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของนวัตกรรม หรือแม้แต่ประเทศ รัสเซียที่ Mercedes ลงทุนสร้างโรงงานมูลค่าแสนล้าน ในขณะที่ประเทศจีนยังมีความน่าสนใจส�าหรับการลงทุน แต่ประเทศไทยซึ่งมีความเข้มแข็งทางด้านยานยนต์กลับไม่ ถูกเลือก บทเรียนเหล่านี้เป็นสิ่งที่ต้องสังเกตและวิเคราะห์ เพื่อน�ามาปรับใช้ 3. การประยุกต์สิ่งที่มีเข้ากับเทคโนโลยีและเทรนด์ใหม่ เพื่อก่อให้เกิดการเป็นเจ้าของเทคโนโลยีอย่างแท้จริง สร้าง ความยั่งยืน เพราะการเป็นเจ้าของเทคโนโลยีสามารถตัด ความเสีย่ งจากการถูกเลิกจ้างหรือย้ายฐานการผลิตได้ รวมถึง การสร้างและพัฒนานวัตกรรมที่สามารถป้อนตลาดภายใน ประเทศท�าให้เกิดทุนหมุนเวียนภายในโดยไม่ตอ้ งคอยพะวง กับการส่งออกเป็นหลัก

Source: https://russellinvestments.com/us/insights/global-market-outlook/asia-pacific-outlook, www.reuters.com/article/us-global-economy/global-manufacturing-buoyed-as-focusshifts-to-rate-hikes-idUSKBN1DV3OC, www.moodys.com/research/Moodys-2018-outlookfor-global-manufacturing-is-positive-on-continued--PR_377214, www.focus-economics. com/regions/asean, www.focus-economics.com/country-indicator/thailand/manufacturing, www.biv.com/article/2017/12/outlook-2018-building-innovative-workforce-should-/, http://advancedmanufacturing.org/, www.oie.go.th


40

ECONOMICS


ECONOMICS

EEC TRUSTED! TIME FOR THAI MANUFACTURING TO SHINE เชือ ่ มั่น EEC อุตสาหกรรมไทยถึงเวลาโชติช่วงเสี ยที Eastern Economic Corridor (EEC) หรือระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกเป็นส่ วนหนึ่งของแผน ยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ต่อยอดความส� าเร็จแผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard ที่ผลักดันประเทศให้มีการพัฒนาด้วยการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 8% ต่อปี เป็นเวลา กว่า 30 ปี ท�าให้ในปั จจุบันมีความพร้อมทางด้านโครงสร้างพื้ นฐานและระบบสาธารณูปโภคเป็น ต้นทุนเดิม สร้างการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการกว่า 100,00 อัตราต่อปี

นโยบาย EEC นั้นมีความต้องการที่จะพัฒนากิจกรรม ทางเศรษฐกิจและยกระดับทรัพยากรมนุษย์ โดยการดึงดูด นักลงทุนจากภายในประเทศและนักลงทุนข้ามชาติ ภายใต้ การส่งเสริมพื้นที่เป้าหมาย 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เตรียมความพร้อมส�าหรับการลงทุน อุตสาหกรรม Super Cluster และอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในฐานะพื้นที่อุตสาหกรรมระดับโลก

ศูนย์กลางอุตสาหกรรมส�าหรับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ทัง้ ยังมีกา� ลังซือ้ สูงจาก ASEAN จีนและอินเดีย ท�าให้พนื้ ที่ EEC เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมแก่การลงทุนอย่างยิ่ง ความพร้ อ มด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานเดิ ม สามารถมี นโยบายในการยกระดับความสามารถเพิ่มขึ้น เช่น การ พัฒนาสนามบินอูต่ ะเภา ก�าหนดเขตส่งเสริมนวัตกรรม EEC บริเวณวังจันทร์วัลเล่ย์ สร้างเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและ นวัตกรรมดิจิทัล (EECd) ตั้งนิคมอุตสาหกรรม Smart Park รวมถึงการพัฒนาท่าเรือน�้าลึกและโครงข่ายรถไฟ ในขณะที่ โอกาสทีเ่ ปิดกว้างส� าหรับอุตสาหกรรมในอนาคต เป็นฐานอุตสาหกรรมด้านพลังงาน ซึง่ ถือเป็นปัจจัยทีต่ อ้ งให้ ด้วยทีต่ งั้ ทางภูมศิ าสตร์ทเี่ ชือ่ มต่อกับประเทศเพือ่ นบ้าน ความส�าคัญศักยภาพเหล่านี้จะเป็นตัวผลักดันความส�าเร็จ และติ ด พื้ น ที่ ท างทะเลท� า ให้ มี ค วามพร้ อ มในการเป็ น ในการแข่งขันระดับนานาชาติอย่างครบวงจร

41


42

นอกเหนื อ จากนโยบายเตรี ย มความพร้ อ มด้ า น สาธารณู ป โภคพื้ น ฐานแล้ ว นโยบายส่ ง เสริ ม การลงทุ น เบื้องต้นดังนี้ • ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนานสูงสุด 15 ปี • ยกเว้นอากรขาเข้า เครือ่ งจักร วัตถุดบิ ทีน่ า� เข้ามาผลิต เพื่อส่งออกและของที่น�าเข้ามาเพื่อ R&D • เงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการลงทุน การวิจัยและ พัฒนาส่งเสริมนวัตกรรมหรือการพัฒนาบุคลากรเฉพาะด้าน ของกิจการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย • อนุญาตให้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการที่ ได้รับการส่งเสริม • สิทธิ์การเช่าที่ดินราชพัสดุ 50 ปี สามารถพิจารณา ต่ออายุได้อีก 49 ปี • อั ต ราภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดา 17% ผู ้ บ ริ ห าร ผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัยที่มีคุณสมบัติตรงตามก�าหนดที่ตรงกับ ความต้องการในอุตสาหกรรมเป้าหมาย • ระบบ One-Stop Service ส�าหรับอ�านวยความสะดวก ให้นักลงทุนภายในจุดเดียว • วีซ่าการท�างาน 5 ปี ดึงดูดนักลงทุน ผู้เชี่ยวชาญและ นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก มาตรการส่งเสริมการลงทุนของ EEC มีการคาดการณ์วา่


ECONOMICS

43

• อาหารแห่งอนาคต • อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมใหม่ นั บ เป็ น กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ เกิ ด ขึ้ น จากเทรนด์ ค วามต้ อ งการของตลาดโลก รั ฐ บาล ก� า หนดขึ้ น เพื่ อ สร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขั น และ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ไทยพร้ อ มกั บ เทคโนโลยี แ ละความ ต้องการยุคใหม่ มีกลุ่มอุตสาหกรรม ดังนี้ • เครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ • การบินและโลจิสติกส์ • เคมีชีวภาพและปิโตรเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • ดิจิทัล • การแพทย์ครบวงจร

กลุ่มอุตสาหกรรมเป้ าหมาย 10 กลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ถือเป็นกลุม่ อุตสาหกรรม ที่ได้รับการสนับสนุนจากนโยบายอย่างเป็นทางการ แบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรมเดิม (First S-Curve) และกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (New S-curve) มี รายละเอียด ดังนี้ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมเดิ ม ถื อ เป็ น กลุ ่ ม ที่ ป ระเทศไทยมี ความเชี่ ย วชาญและมี ศั ก ยภาพในการผลิ ต โดยกลุ ่ ม อุตสาหกรรมเดิมจะได้รับการสนับสนุนในการพัฒนาเพื่อ ให้สอดรับกับแนวนโยบายใหม่พร้อมการสนับสนุนด้าน การพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมต่าง ๆ โดยมีกลุ่ม อุตสาหกรรม ดังนี้ • ยานยนต์สมัยใหม่ • อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ • การท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ

EEC วันนี้เพื่อความเป็นหนึ่งในวันข้างหน้า จากความเชื่อมั่นของภาคเอกชนที่มีต่อนโยบายภาครัฐ EEC กลายเป็นเหมืองทองทีน่ า่ ลงทุนส�าหรับกลุม่ อุตสาหกรรม เป้าหมายในพืน้ ที่ ด้วยความพร้อมซึง่ เป็นทุนเดิมจาก Eastern Seaboard มาถึงการต่อยอด EEC ท�าให้เกิดการขยายตัวขึน้ แล้วในภาคส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต เช่น การ ขยายสายการประกอบยานยนต์ไฟฟ้าของ BMW ในส่วนของนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐและ BOI นัน้ มีการสนับสนุนแยกตามประเภทกิจการและสิทธิประโยชน์ เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการรวม นอกจากนี้ ยังมี สิทธิพิเศษด้านภาษีส�าหรับพื้นที่ในเขต EEC ที่สามารถ สร้ า งโอกาสในการซื้ อ ตั ว บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถ เข้ า มาท� า งานในพื้ น ที่ การลงทุ น ระบบอั ต โนมั ติ รวมถึงเทคโนโลยีและงานวิจัย ท�าให้ EEC กลายเป็น ห้างสรรพสินค้าสุดหรูที่เต็มไปด้วยผลิตภัณฑ์อันเป็นที่ ต้องการ สร้างภาพลักษณ์และการจดจ�าในฐานะขุมทอง อุตสาหกรรมแห่ง ASEAN

Source: www.eeco.or.th, www.scbeic.com/th/detail/product/3544 www.boi.go.th/upload/content/BOI-EEC%20announcement-20170517_33689.pdf

สามารถดึงดูดการลงทุนได้มากกว่า 1.9 ล้านล้านบาท จาก ภาคเอกชน (SCB Economic Intelligence Center) โดย นโยบายที่เกิดขึ้นสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนต่างชาติ มากขึ้น ซึ่งนโยบายและแนวทางของ EEC สอดคล้องไปกับ เทรนด์โลกที่ให้ความส�าคัญกับเทคโนโลยี สร้างโอกาสและ การเติบโตไปพร้อมกับเศรษฐกิจของโลก

เพราะ EEC ไม่ได้ส่งผลดีแค่ภาคการผลิต ผลกระทบของ EEC นอกเหนือจากการยกระดับการ แข่งขันทางเศรษฐกิจและศักยภาพของอุตสาหกรรมแล้ว ยัง ส่งผลกระทบเกีย่ วกับการจ้างงานและอาชีพของผูค้ นในพืน้ ที่ ใกล้เคียงจากการจ้างงานที่เพิ่มมากขึ้นกว่า 1 แสนอัตรา นอกจากนี้ื การลงทุนด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น รถไฟ ความเร็วสูง ส่งผลถึงการด�ารงชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้อง นอกเหนือจากภาคอุตสาหกรรมในวงกว้าง สร้างความเจริญ ในพื้นที่อย่างครบวงจร น�าทางสู่ความเป็นไปได้ทางธุรกิจ อันหลากหลายและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากการดึงดูด การลงทุนในพื้นที่ นอกจากนี้ ความพร้อมของพื้นที่ EEC นั้นยังเหมาะสม ให้เกิดธุรกิจ Start-Up หรือกลุ่มธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล ในรูปแบบของธุรกิจสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี ท�าให้ภาคธุรกิจ สามารถเติบโตได้ทัดเทียมกับต่างประเทศเช่นกัน


44

ADVERTORIAL

SMART FACTORY PARTNERS สินค้าดี x พาร์ทเนอร์ดี = ระบบดี

่ งมือ ยุคนีใ้ คร ๆ ก็พูดถึงการเพิ่มประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ เราได้เห็นการน�าเสนอโซลูชน ั หรือเครือ ่ งจักรมากมายหลากหลายแทบจะเรียกได้วา่ ครอบคลุมทัง ่ แต่ละระบบก็ดท เครือ ู น ั สมัย ้ ซัพพลายเชนเลยก็วา่ ได้ ซึง ่ รึกษา น่าลงทุนไปหมด แต่ในความเป็นจริงโรงงานผลิตบ้านเราหลายแห่งเป็น SME ไม่ได้มเี งินมหาศาลไปจ้างทีป วางระบบครบวงจรไปถึงอนาคต จึงต้องเริ่มทีละยูนิตอย่างรอบคอบและคุ้มค่าที่สุด เราจึงต้องหาพาร์ทเนอร์ที่ พร้อมช่วยหาโซลูชันที่ดีที่สุดส�าหรับธุรกิจของเรา คุณสมบัติที่ส�ำคัญของพำร์ทเนอร์เมื่อคุณต้องกำรลงทุนระบบอัตโนมัติ 1. ใส่ใจปัญหาของคุณ ‘มากกว่า’ มุ่งปิดการขาย ต้องบอกได้ว่าเราจะลดความสูญเสียหรือเพิ่มประสิทธิภาพ ได้อย่างไร ่ เช่น ถ้าคุณมีระบบล�าเลียงทีด ่ อ 2. พร้อมท�างานร่วมกับซัพพลายเออร์รายอืน ี ยูแ่ ล้วและต้องการติดตัง ้ เซนเซอร์ หรือหุ่นยนต์เพิ่ มเติม แต่ละรายต้องสนับสนุนซึ่งกันและกันได้ ไม่เกี่ยงงานหากต้องประสานการท�างานของ เครื่องมือเข้ากับซอฟต์แวร์ของอีกเจ้า เป็นต้น 3. มีทม ี สนับสนุนหรือทีมซ่อมบ�ารุงอย่างเป็นกิจลักษณะในประเทศไทย Modern Manufacturing แนะน�า 10 Smart ่ ค ่ ถือ มี Portfolio ดี เป็นผูจ ่ ม เพื่อเป็น Factory Partners ทีม ี วามน่าเชือ ้ า� หน่ายแบรนด์ชน ั้ น�า และมีการบริการดีเยีย ทางเลือกแก่โรงงานอุตสาหกรรมไทย โดยครั้งนี้เราเลือกสินค้ากลุ่มหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ ระบบล�าเลียง และ เครื่องมือวัด


XXXXX

“Electrify, automate and digitalize the world around us” SIEMENS เคลมว่าทุก ่​่ ส�าหรับด้านออโตเมชัน อุตสาหกรรมต้องได้เคยสัมผัสเทคโนโลยีของ SIEMENS ไม่ทางใดก็ทางหนึง ่ หมายถึงการออกแบบสถานี เราขอแนะน�าไฮไลท์ได้แก่ระบบ Digital Twin + Workstation ซึง การผลิตชิ้นงานที่อาศัยโซลูชัน Digital Twin ในการจ�าลองกระบวนการผลิตแบบเห็นภาพตลอด กระบวนการ สามารถประเมินปัญหา เวลา และผลลัพธ์ในการผลิตชิ้นงานได้อย่างแม่นย�า ช่วย ให้การออกแบบสายการผลิตหรือการปรับแก้ไขเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังรองรับ ่ ัฒนาขึ้นเองชื่อ MindSphere อุตสาหกรรม 4.0 ด้วย IoT OS ทีพ

MarketingAIDT.th@siemens.com www.siemens.com

45


46

่ า� เนินธุรกิจในเอเชียแปซิฟก ZI-ARGUS เป็นบริษัทในกลุม ่ Zuellig Industrial ทีด ิ มาแล้วกว่า 100 ปี เหมาะส� าหรับโรงงานที่ต้องการพาร์ทเนอร์ดา้ นระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรมแบบ ครบวงจร เพราะ ZI-ARGUS จะเริม ่ จากให้คา� ปรึกษากับลูกค้า ศึกษาความต้องการออกแบบ จัดหา วัสดุอป ุ กรณ์ จนถึงพัฒนาโปรแกรมตามความต้องการ โดย ZI-ARGUS มีอป ุ กรณ์จากแบรนด์ชน ้ั น�า อาทิ LENZE - อุปกรณ์ Drive Control & Inverter / Artesis - อุปกรณ์ตรวจสอบมอเตอร์ เพื่ อสนับสนุน Preventive Maintenance ที่เน้นความง่ายในการใช้งาน อ่านค่าได้โดยไม่จ�าเป็น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ / Rittal - แบรนด์ช้ันน�าด้าน Power Distribution, Climate Control และ IT Infrastructure / TURCK BANNER - อุปกรณ์เซนเซอร์อุตสาหกรรมจากเยอรมนี

bangkok@zi-argus.com www.zi-argus.com


XXXXX

Mitsubishi Electric Factory Automation (Thailand) หรือ MEATH เกิดจากการ ่ เป็นผู้จ�าหน่ายอุปกรณ์ของ Mitsubishi ที่ ควบรวมของ Mitsubishi Electric และ F.A.Tech ซึง ด�าเนินการในประเทศไทยมาแล้ว 20 ปี และมีทีมงานกว่า 80 คน ประสบการณ์ยาวนานในระดับที่ Mitsubishi เลือกเป็นพันธมิตรน่าจะการันตีได้ถง ึ คุณภาพงานบริการและความรูด ้ า้ น Automation และยิ่งประกอบกับสินค้าจากผู้ผลิตโดยตรง MEATH ย่อมเป็นตัวเลือกทีไ่ ว้วางใจได้ถ้าคุณก�าลัง สนใจระบบ Smart Factory แบบครบวงจร เพราะนอกจากแขนกล มอเตอร์ ปั๊ม เลเซอร์ CNC ่ เป็นโซลูชันจัดการโรงงานเพื่ อรองรับ และสินค้าอุตสาหกรรมอื่น ๆ แล้ว ยังมี e-F@ctory ซึง อุตสาหกรรม 4.0

sales@MitsubishiFA.co.th www.mitsubishifa.co.th

47


48

บริษัทชัน ่ ยนต์ ระบบอัตโนมัติ การ ้ น�าระดับโลกที่มเี ทคโนโลยีส�าหรับอุตสาหกรรมหลากหลายทัง ้ หุน วางระบบจัดการโรงงาน และอื่น ๆ อีกมากมาย ABB ไม่เพียงพัฒนาประสิทธิภาพให้แก่ลูกค้า แต่ ยังมุง ่ ลดการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นั่นหมายความว่าธุรกิจของคุณจะลดความเสี่ยงจาก การถูกกีดกันจากประเด็นสิ่งแวดล้อมในกรณีท่ีต้องด�าเนินการค้าระหว่างประเทศ ด้วยประวัติ อันยาวนานและมีการจ้างงานกว่า 136,000 คนใน 100 ประเทศทั่วโลก เราเชื่อว่า ABB จะเป็น พาร์ทเนอร์ที่น่าไว้วางใจอีกรายแน่นอน

+66 2665 1000 www.abb.co.th


XXXXX

นั บจากปี 1968 โลกได้รู้จั ก EP-101 ซึ่ง เป็ น เครื่ อ งพิ ม พ์ ร ะบบอิ เล็ก ทรอนิ กส์ ข นาดเล็ก เป็ น ครัง ้ แรก EPSON ได้ค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ อีกมากมายไม่จ�ากัด แต่เพียงเครื่องใช้ส�านักงาน แต่ก้าวสู่การเป็น ‘Information Equipment’ ที่ตอบโจทย์ Office Automation และจนถึงวันนี้ EPSON กลายเป็นอีกหนึ่งผู้จ�าหน่ายหุ่นยนต์อุตสาหกรรม โดยเรา ขอแนะน�าหุ่นยนต์ SCARA รุน ่ T3 ที่ขายดีท่วั โลก มาพร้อมคอนโทรลเลอร์ Build-in มีขนาด กะทัดรัด และที่ส�าคัญราคาค่อนข้างเป็นมิตร

+66 2685 9888 www.epson.co.th

49


50

เพิ่งจะฉลองครบรอบ 50 ปี ส� าหรับ KAWASAKI ROBOTICS โดยในประเทศไทย KAWASAKI MOTORS ENTERPRISE (THAILAND) พาร์ทเนอร์กบ ั บริษัท PROSPER KHON ในการจ�าหน่าย ่ ทีโ่ ดดเด่นคือหุ่นยนต์งานเชื่อม และหุ่นยนต์พ่นสี ซึง ่ มีแกนต่อภายนอก หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ซึง ที่ส ามารถปรับตามรูปแบบโรงงานลูกค้า โดยในงาน AUTOMACH 2018 ที่ผ่ านมายังมีการ น�าเสนอ Vision Sensor และหุ่นยนต์เสิรฟ ์ กาแฟที่สั่งงานผ่าน Tablet ได้อีกด้วย

robot@kawasaki.co.th https://robotics.kawasaki.com/th/


XXXXX

่ ร้อมก้าวสู่ Smart ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี CMM (Coordinate Measuring Machines) ทีพ Manufacturing โดย HEXAGON น�าเสนอการเชื่อมต่อเครื่องมือวัด 3 มิติ เข้ากับ Software ที่ ่ สามารถประมวลผลและแจ้งไปยังฝ่ายผลิตได้อย่างรวดเร็ว จึงเหมาะกับการผลิต ชื่อ Q-DAS ซึง ่ � าคัญของโซลูชันนี้คือความพร้อมในการท�างาน ที่ต้องการทัง ้ คุณภาพและ Lead Time จุดเด่นทีส ่ งมือของแบรนด์อน ่ งมือวัดของ HEXAGON จึงเป็นทางเลือกทีค ่ ม ร่วมกับเครือ ื่ ๆ เครือ ุ้ ค่าวางใจได้ เพราะพร้อมรองรับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในอนาคตได้อย่างแน่นอน

+66 2361 3695 to 9 www.HexagonMI.com

51


52

JSR จ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรมมากว่า 40 ปี เน้นอุปกรณ์ประเภท Tools ได้แก่ Cutting Tools / Hand Tools / Measuring Tools หลากหลายแบรนด์ ไฮไลท์ที่เราอยากแนะน�า คือ Profile Projector รุน ่ PJ-H30 จาก Mitutoyo ที่เคลมว่าแม่นย�าเหนือกว่ามาตรฐาน JIS ให้ความเข้ม ของแสงในการแสดงภาพสู งกว่าระบบทั่วไปถึง 2 เท่า โดยข้ อ ดีที่เราอยากแนะน� า JSR คื อ ่ รอบคลุมการซ่อมเคลมสินค้า ส่งสอบเทียบเครือ ่ งมือวัด ศูนย์บริการหลังการขายแบบครบวงจร ทีค ้ อะไหล่ รับจัดอบรม และทีส ่ � าคัญคือมีบริการรับ-ส่งเครื่องมือโดยไม่มค สั่งซือ ี า่ ใช้จา่ ย เรียกว่าทุ่มเท ให้กับงานบริการมากทีเดียว

salesjsr@jsr.co.th www.jsr.co.th


XXXXX

ระบบล� า เลี ย งคื อ หนึ่ ง ในเป้ า หมายส� าคั ญ ของผู้ จั ด การโรงงานในการลดต้ น ทุ น การผลิ ต INTERROLL คือหนึ่งในตัวเลือกที่ดีที่สุดในระดับโลก เพราะบริษัทแม่สวิตเซอร์แลนด์ทุ่มเทให้กับ โซลูช่ัน Material Flow มากว่า 50 ปี และได้รบ ั การพิสูจน์จากลูกค้าระดับโลก อาทิ Amazon DHL Lazada CocaCola Nestle ที่ล้วนแต่ให้ความส� าคัญกับคุณภาพ เวลา และการบริการ ต้นทุนในระบบล�าเลียง ส� าหรับประเทศไทย INTERROLL ปักฐานมาแล้วถึง 25 ปี จึงเข้าใจความ ต้องการของอุตสาหกรรมไทยอย่างดี โดยไฮไลท์ทเี่ ราอยากแนะน�า คือ MCP - Modular Conveyer Platform เป็นระบบสายพานที่ใส่แนวคิด Modular ที่สามารถน�าระบบย่อย ๆ มาต่อเชื่อมกัน ได้ อ ย่ างอิ สระ สามารถประกอบหน้ างานได้ อ ย่ างรวดเร็ว ไม่ มีส ายไฟเกะกะ ถอด-ประกอบปรับเปลี่ยน ได้สะดวก จึงเหมาะกับโรงงานทุกขนาด

th.sales@interroll.com www.interroll.co.th

53


54

ผลิตภัณฑ์ Forklift Trucks Pallets Stackers จากประเทศที่เป็นจ้าวแห่งเทคโนโลยีและคุณภาพ อย่างเยอรมนี JUNGHEINRICH เป็นแบรนด์ Top Three ของโลกในด้าน Material Handling Equipment นอกจากรถยกแบบใช้ดีเซล JUNGHEINRICH ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีแบตเตอรี่ ่ ง ลิเธียมไอออนขึ้นเองเพื่อใช้กบ ั รถ Forklift โดยรับประกันแบตเตอรีถ ึ 5 ปี และส� าหรับด้านบริการ อะไหล่ หรือความคุ้มค่า ก็วางใจได้ เพราะ JUNGHEINRICH มีหน่วยงาน Refurbish ที่เรียกว่า ่ กล้ารับประกันรถ Refurbished Trucks เหมือนซื้อของใหม่ ถ้าโรงงานคุณ ‘JungSTARS’ ซึง อยากใช้สินค้าเกรดพรีเมี่ยม เชื่อถือได้ยาว ๆ ไม่ต้องกังวลปวดหัวในภายหลัง JUNGHEINRICH คือพาร์ทเนอร์ท่ีเราแนะน�า

info@jungheinrich.co.th www.jungheinrich.co.th


A U T O M AT I O N

AUTOMATION

AUTOMATION AS BACKBONE OF AUTOMOTIVE INDUSTRY Automation กระดูกสั นหลังอุตสาหกรรมยานยนต์

BY:

อุตสาหกรรมยานยนต์ถอ ื เป็นรากฐานส�าคัญในการพัฒนา ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ปั จจุบันมีมูลค่าถึงร้อยละ 5.8 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และได้รับการ กล่ า วถึ ง อย่ า งมากจากผู้ ป ระกอบการยานยนต์ ทั่ ว โลก จึงท�าให้อุตสาหกรรมยานยนต์ถูกบรรจุลงในอุตสาหกรรม เป้ า หมายที่ จ ะใช้ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ไทยในอนาคต โดยจะมี ก ารพั ฒ นาเป็ น ฐานการผลิ ต ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ขยายธุ ร กิ จ ในห่ ว งโซ่ คุ ณ ค่ า ของอุ ต สาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะการออกแบบและจัดท�าต้นแบบ รวมทัง้ ส่ งเสริม การใช้ เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความ แม่นย�าสู ง

จีรพร ทิพย์เคลือบ

เมื่อยานยนต์ไทยจะไปยานยนต์โลก ประเทศไทยเริ่ ม มี ร ถยนต์ ใช้ ใ นช่ ว งรั ช กาลที่ 5 โดย ชาวต่างชาติเป็นคนน�าเข้ามาภายในประเทศซึ่งได้รับความ สนใจเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นไทยได้เริ่มส่งเสริมกิจการ ประกอบรถยนต์ ภ ายในประเทศ เพื่ อ ตอบสนองความ ต้ อ งการของตลาดในประเทศ และมี ก ารน� า เทคโนโลยี ทั น สมั ย มาใช้ ใ นการประกอบ และเริ่ ม พั ฒ นาในด้ า น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามข้อก�าหนดของผู้ประกอบรถยนต์ จนในปี พ.ศ. 2548 ไทยสามารถผลิตรถยนต์เพือ่ การจ�าหน่าย ในประเทศและส่งออกครบ 1 ล้านคัน ด้วยแรงผลักดัน และการส่งเสริมจากภาครัฐ รวมทั้งภาคเอกชนที่มีส่วนร่วม ในการลงทุนและสร้างความแข็งแกร่งให้กบั ซัพพลายเชนของ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ในทีส่ ดุ ไทยก็กา้ วขึน้ เป็นฐานการผลิต รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ประเภทเครื่องยนต์สันดาป และ ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ ที่ ส� า คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของโลกได้ อ ย่ า งเต็ ม ภาคภูมิ

55


56

ในปัจจุบันการวิจัยและพัฒนาที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ประกอบกับเทรนด์โลกเป็นไปในทิศทางสีเขียวหรือรณรงค์ เรื่องของสิ่งแวดล้อม รวมถึงพลังงานทางเลือกที่จะช่วย ในเรื่องความความมั่นคงพลังงาน และลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมด้วย ดังนัน้ ท�าให้การพัฒนายานยนต์ในอนาคต จะใช้พลังงานจากการขับเคลื่อนแบบอื่น อาทิ HEV PHEV ยานยนต์ไฟฟ้า และ Fuel Cell Vehicle นัน้ ซึง่ เป็นเทคโนโลยี ที่ต้องติดตามและพัฒนา รวมถึงการวิจัยเพื่อต่อยอด แต่ สิง่ ส�าคัญทีต่ อ้ งค�านึงถึง คือ การก�าจัดซากขยะอิเล็กทรอนิกส์ อย่างถูกวิธี ในการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าให้ประสบความส�าเร็จเกิด จากความร่วมมือของหลาย ๆ ภาคส่วนด้วยกัน โดยหัวเรือใหญ่ ในการผลักดันยานยนต์ไฟฟ้าอย่างกระทรวงพลังงานตั้ง เป้าหมายไว้ว่าภายในปี 2579 จะเกิดการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศไทย 1.2 ล้านคัน ทั้งแบบยานยนต์ไฟฟ้าปลั๊กอิน ไฮบริด (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) และยานยนต์ไฟฟ้า แบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle) จากข้อมูลของ IEA เมื่อปี 2017 ในรายงานได้ระบุว่า สถานการณ์การผลิตรถยนต์ทั่วโลกมีอัตราการผลิตรถยนต์ จ�านวน 80 ล้านคันต่อปี โดยในปี 2020 จะมีการผลิต ประมาณ 120 ล้านคัน แต่มี EV เพียง 2 ล้านคัน นัน่ เท่ากับว่า ยังไม่ถึง 1% ของจ�านวนรถทั้งหมด ซึ่งถือว่ามีสัดส่วนที่ น้อยมากในจ�านวนรถสะสมทัง้ หมด 30% ประมาณในปี 2030 สะท้อนให้เห็นว่าสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไปในเรือ่ งของการพัฒนา ตลาดของเทคโนโลยีใหม่ๆ ส� าหรั บ ประเทศไทย ปั จ จุ บั น เริ่ ม ตื่ น ตั ว และมี ก ารใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น โดยปัจจุบันมียานยนต์ที่ใช้มอเตอร์ ไฟฟ้าในประเทศไทย 103,702 คัน แบ่งเป็น ยานยนต์ที่ ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าทั้งแบบไฮบริดและปลั๊กอินไฮบริด (PHEV) 102,308 คัน และยานยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV) 1,394 คัน

สัดส่วนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศไทย ยานยนต์ที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้ า แบบไฮบริดและ ปลั๊กอินไฮบริด (PHEV)

102,308 คัน ยานยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่ (BEV)

1,394 คัน

อย่ า งไรก็ ต าม ยานยนต์ โ ลกเปลี่ ย นท� า ให้ ป ี 2040 รถยนต์ไฟฟ้าจะได้รับความนิยมมีการใช้มากถึง 120 ล้าน คัน หรือมีสัดส่วน 50% ในอนาคตเครื่องยนต์สันดาปจะ ถูกกลบด้วยยานยนต์ไฟฟ้า เพราะเทคโนโลยีมีแนวโน้มจะ ถูกลง ตุ้นทุนต�่าลง ชิ้นส่วนน้อยลง ท�าให้ยานยนต์ไฟฟ้า ได้รับความนิยมมากขึ้น นั่นจึงเป็นช่องทางและโอกาสที่ดี ของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในการจะก้าวไปเป็นฮับของ อุตสาหกรรมยานยนต์ เพราะปัจจุบันไทยเป็นผู้น�าในการ ผลิตรถกระบะในภูมิภาคนี้ ดังนั้น จึงมีสิทธิ์ที่จะก้าวขึ้นมา เป็นผู้น�าของ EV เพียงแต่การจะเป็นฮับได้นั้นต้องพึ่งพา องค์ความรู้ เดินหน้าด้วยนวัตกรรม มีแบรนด์ของตัวเอง และไม่เลียนแบบต่างชาติ เมื่อออโตเมชันไม่ใช่แค่กระแสนิยม

การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ท�าให้ทงั้ โรงงานประกอบรถยนต์และผูผ้ ลิตชิน้ ส่วน ต้องเร่งการผลิตมากกว่าปกติ แต่ปัญหาใหญ่ที่ต้องเผชิญ คื อ การขาดแคลนแรงงานฝี มื อ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ต้ อ งพึ่ ง พา แรงงานต่างชาติ หากในอนาคตประเทศเพื่อนบ้านมีการ พัฒนาเศรษฐกิจที่รวดเร็วขึ้น เกิดความต้องการแรงงาน มากขึน้ จะท�าให้ประเทศไทยมีความเสีย่ งต่อการขาดแคลน แรงงาน เนือ่ งจากมีแนวโน้มว่าแรงงานเหล่านัน้ จะย้ายกลับ ภูมิประเทศ อีกทั้ง ภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกมีการแข่งขันกันอย่าง ดุเดือด ท�าให้ผปู้ ระกอบการเริม่ มองหาเทคโนโลยี นวัตกรรม ระบบการผลิตอัจฉริยะและโลจิสติกส์ที่จะสามารถเพิ่ม ผลิตภาพ ผลผลิต เพิม่ ความคล่องตัวเป็นทีต่ อ้ งการของผูผ้ ลิต รวมถึงรองรับความหลากหลายของหุน่ ยนต์ทมี่ แี นวโน้มจะ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ด้วย และตอบโจทย์อุตสาหกรรม ยุค 4.0 ดังนัน้ การน�าระบบออโตเมชันเข้ามาใช้งานจึงได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลายในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ เพราะจะช่วยสนับสนุนการท�างานของแรงงาน ช่วยลด ต้นทุนและลดเวลาในการท�างาน เพิม่ คุณภาพ เพราะระบบ ออโตเมชันนัน้ เป็นสิง่ ทีม่ คี วามแม่นย�าสูง เพิม่ ความสามารถ ในการผลิต รวมถึงรักษาสุขภาพและความปลอดภัยที่ดี จากรายงานของ International Federation of Robotics (IFR) ตลอดช่วงระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา หุ่นยนต์บริการ (Service Robots) มียอดขายเฉลี่ยต่อปีประมาณ 5 ล้านตัว ส่วนหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot) มียอดขาย เฉลี่ยเพียง 200,000 ตัวเท่านั้น โดย IFR ได้คาดการณ์ว่า ในปี 2018 จะมีแนวโน้มการใช้งานหุน่ ยนต์เพิม่ ขึน้ อีกเกือบ 2 เท่า ทัง้ นี้ ความต้องการใช้หนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรมส่วนใหญ่ มาจาก 5 อุตสาหกรรมหลัก เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก ผลิตภัณฑ์ยางและ พลาสติก และการแปรรูปอาหาร นอกจากนี้ หากพิจารณาถึง อัตราส่วนการทดแทน แรงงานของหุ่นยนต์ต่อจ�านวนแรงงาน (Robot Density) ในประเทศจีน จะพบว่ายังมีอัตราส่วนที่ค่อนข้างน้อย ประมาณ 36 ตัวต่อแรงงาน 10,000 คน ซึ่งล่าสุดรัฐบาล


Source: www.thaiauto.or.th/2012/th/, www.industry.go.th, www.eppo.go.th, www.iea.org/ publications/freepublications/publication/GlobalEVOutlook2017.pdf, www.aic.or.th, IEA

A U T O M AT I O N

จีนได้ประกาศเป้าหมายการเพิ่ม Robot Density ในปี 2020 ให้สูงขึ้นอีก 300% หรือเท่ากับ 150 ตัวต่อ 10,000 คน พร้อมทั้งเตรียมแผนการด�าเนินงานเพื่อผลักดันให้ ผู้ผลิตหุ่นยนต์ท้องถิ่นมียอดขายในประเทศเพิ่มขึ้นอีกกว่า 5 เท่า ภายใต้นโยบาย China Manufacturing 2025 ที่จะ สร้างอุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมให้เป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของจีนอีกด้วย ทั้งนี้ ส�าหรับระบบออโตเมชันที่ได้รับความนิยมเป็น อย่างมาก คือ Industrial Robot ถูกน�ามาใช้ในงานสร้างรูปทรง โดยตัดเฉือนเนื้อวัสดุออก งานประกอบ งานตรวจสอบ งานหยิบจับวัสดุ เป็นต้น โดยหุน่ ยนต์เหล่านีส้ ามารถท�างาน ได้อตั โนมัตติ ามโปรแกรมทีถ่ กู ตัง้ ค่าเอาไว้ ซึง่ มีรายงานพบว่า ค่าเฉลี่ยความสามารถในการท�างานของแรงงานเมื่อน�า หุน่ ยนต์เข้ามาเพิม่ ขึน้ 0.37% เพิม่ ผลผลิตของอุตสาหกรรม ที่ใช้ถึง 13.6% ตัวอย่างเช่น ไทยซัมมิทกรุ๊ป ผู้ผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ ที่ได้ใช้หุ่นยนต์อัตโนมัติกว่า 1,765 ตัว สามารถ ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยเฉพาะค่าจ้างแรงงาน เมื่อน�า หุ่นยนต์อัตโนมัติมาใช้ในสายการผลิตสามารถลดจ�านวน พนักงานลงกว่า 5,000 คน โดยใช้หนุ่ ยนต์ทา� งานแทนคนใน จุดที่ยากและเมื่อยล้า ช่วยลดกระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิด มูลค่าเพิ่ม ลดอาการบาดเจ็บจากการท�างานในพื้นที่เสี่ยง อย่างไรก็ตาม แม้วา่ อุตสาหกรรมบางประเภทจะเริม่ หันมา ใช้ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์บา้ งแล้ว แต่อตุ สาหกรรมไทย ส่วนใหญ่ยังคงใช้ระบบ Manual คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 85 โดยอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มีแผนที่จะลงทุนเปลี่ยนเป็น หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติภายใน 1 – 3 ปี ถึงร้อยละ 50 ทัง้ นี้ ทางกระทรวงอุตสาหกรรมได้ตงั้ เป้าหมายให้ปนี มี้ กี าร ลงทุนในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติไม่น้อย กว่า 12,000 ล้านบาท และภายใน 3 ปีไม่นอ้ ยกว่า 100,000 ล้านบาท เพราะการเปลีย่ นมาใช้ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์

57

ไม่เพียงแค่ช่วยประหยัดแรงงาน แต่ก็ยังใช้เพื่อประหยัด พลังงานและวัสดุ รวมทั้งปรับปรุงคุณภาพ ความถูกต้อง และความแม่นย�าของสายการผลิตได้อีกด้วย ตลาดอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ นปั จ จุ บั น เกิ ด ความ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็นเทคโนโลยี นวัตกรรม รวมถึงความต้องการตลาด เช่น EV หรือ ระบบขับเคลื่อน อัตโนมัติ ท�าให้การใช้งานออโตเมชันหรือระบบอัตโนมัติ สามารถตอบสนองต่ อ ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันการผลิตและการประกอบ ยานยนต์ทั่วโลกมีแนวโน้มการใช้งานออโตเมชันเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะหุ ่ น ยนต์ ท� า ให้ ก ารแข่ ง ขั น ในอุ ต สาหกรรม ยานยนต์ทวีความเข้มข้นขึ้นด้วยเทคโนโลยีการผลิต และ หากนักลงทุนไทยยังลังเลหรือไม่ลงทุนด้านระบบอัตโนมัติ ให้เพียงพออาจเป็นผู้ผลิตต่างชาติที่เข้ามาลงทุนและแย่ง ส่วนแบ่งเดิมออกไปแทน ท้ายทีส่ ดุ แล้ว หากภาคการผลิตของอุตสาหกรรมยานยนต์ ยังคงยึดติดกับการผลิตแบบเดิมที่พึ่งพา ‘แรงงาน’ วันหนึ่ง วันใดที่ประสบกับค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น คนน้อยลง หรือ แม้แต่การย้ายกลับภูมิล�าเนาของแรงงานต่างชาติ วันนั้น จะเกิดผลกระทบต่อภาคการผลิตอย่างมหาศาล ดังนั้น การหั น มาพึ่ ง พากระดู ก สั น หลั ง ชิ้ น ใหม่ อ ย่ า ง ‘ระบบ อัตโนมัติและหุ่นยนต์’ ในการผลิตจะท�าให้อุตสาหกรรม ถูกขับเคลื่อนไปอย่างรวดเร็ว และเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแข่งขันน�าพาประเทศไปสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ได้ อย่างเต็มภาคภูมิ เพราะการชิงพื้นที่อุตสาหกรรมในปัจจุบันไม่ใช่ เพียงการแข่งขันในตลาดโลกแต่ยงั หมายถึงการแข่งขัน กับนักลงทุนต่างชาติที่สามารถลงทุนช่วงชิงโอกาสใน บ้านเราได้ ไม่เริ่มวันนี้ อาจไม่มีท่ีของธุรกิจคุณเหลือ ในปีหน้าก็เป็นได้


58

MAINTENANCE

‘MAINTENANCE’ WHAT ’S LACKING FOR 4.0 งานซ่อมบ�ารุง ความขาดแคลนแห่ง 4.0

ไม่แปลกใจหากใครหลายคนจะกังวลกับความเปลีย ่ นแปลง จากเทคโนโลยีที่เข้ามาก่อกวน (Disruption) วันนี้ MM Thailand ชวน คุณบุญสม กอประเสริฐถาวร ผูอ ้ า� นวยการ ฝ่ายเทคนิค บริษัท มากิโน (ประเทศไทย) จ�ากัด มาพู ดคุย ในประเด็นของความเปลี่ยนแปลงยุค 4.0 ผ่านสายตา ผู้มากประสบการณ์ในวงการ


MAINTENANCE

59

การเป็นเจ้าของ

ตัวอย่างการท�างาน ของ EV

ตัวอย่างการท�างาน ของเบรค Servo

EV vs ICE สายการผลิตที่เปลี่ยนไป เมือ่ EV กลายเป็นเทรนด์และกระแสตลาดเกิดการตอบรับ อย่างล้นหลามด้วยคุณภาพที่สูงขึ้นและต้นทุนที่น้อยลง อุตสาหกรรมชิ้นส่วนเครื่องยนต์ต้องร้อน ๆ หนาว ๆ กัน บ้าง เพราะเครื่องยนต์ ICE เป็นสิ่งแรกที่จะถูกกลืนหายไป เปลีย่ นเป็นอะไรใหม่ ๆ ทีน่ อ้ ยชิน้ อย่างแบตเตอรีท่ ชี่ าร์จได้ไว พวกชิ้นส่วนช่วงล่างก็ยังต้องใช้เหมือนเดิมไม่ต้องห่วงอะไร ส� า หรั บ ระบบเบรครู ป แบบเดิ ม จะมี ค วามส� า คั ญ น้ อ ยลง เพราะเบรคระบบไฟฟ้าที่ใช้สนามแม่เหล็กมีความแม่นย�า สูงกว่าและยังชาร์จพลังงานกลับได้อกี ต้องยกผลประโยชน์ให้ มอเตอร์ เซอร์โว ทีท่ า� งานได้อย่างแม่นย�า ไม่วา่ สัง่ หยุด สัง่ หมุน ควบคุมความเร็ว ต่างจากมอเตอร์ปม๊ั น�า้ หรือพัดลมทีบ่ า้ นที่ จะมีแรงเหวีย่ งเหลือแล้วค่อย ๆ ลดแรงลง ส�าหรับแรงออกตัว และแรงบิดถ้าตั้งค่าให้ดีมีความสามารถเหนือซุปเปอร์คาร์ หลาย ๆ คันตอนนี้อีก ระบบส่งก�าลังมีการเปลี่ยนแปลง เล็ ก น้ อ ยถ้ า มองส่ ว นของเกี ย ร์ อ าจจะไม่ ต ้ อ งมี แ ล้ ว ก็ ไ ด้ ขนาดเครื่องซักผ้ายังใช้มอเตอร์แบบต่อตรงกับตัวถังซัก ไม่ต้องผ่านสายพานแบบเก่าแต่สามารถท�างานได้ดีกว่า ชิน้ ส่วนน้อยกว่า ประหยัดกว่า จากการพูดคุยกับสายการผลิต ชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งยนต์ อ ย่ า งฝาสู บ หรื อ เสื้ อ สู บ สายงาน ที่เกี่ยวข้องต้องเริ่มเตรียมตัวรับความเปลี่ยนแปลงแล้ว

ต้องรออีกนานไหมส� าหรับ EV ผู ้ ผ ลิ ต มี เ ทคโนโลยี นี้ ห มดแล้ ว แต่ เ อาออกมาไม่ ไ ด้ Infrastructure บ้านเรายังไม่พร้อม ต่างประเทศท�าได้ เพราะ มีโรงไฟฟ้าทีส่ ร้างมลพิษได้นอ้ ยมาก บ้านเราโรงไฟฟ้าพลังน�า้ ซึ่งแปรผันเยอะมากน�้าเยอะก็ล้นท่วม น�้าน้อยก็ไม่มีไฟใช้ ถึงมีคนสนับสนุนผลักดันแต่เอาเข้าจริงโครงสร้างพื้นฐาน บ้านเราไปได้ไม่หมด ขนาดไปห้างยังมีจุดชาร์จอยู่ไม่กี่จุด ถ้าเกิดขับรถมาหลายคันจะท�ายังไงได้ ถ้าจะเกิดได้ต้องให้ รัฐผลักดันอย่างจริงจังก่อน อุตสาหกรรมโลหการที่น่าสนใจ นอกเหนือจากยานยนต์ อุ ต สาหกรรมของไทยที่ น ่ า จั บ ตานอกจากยานยนต์ แล้วก็มี OA (Office Automation) และงานอากาศยาน ซึ่ง บ้านเราเริ่มมีการเคลื่อนไหวมากขึ้น ถ้าเทียบกับ Medical Device มองว่าตลาด Aerospace มีความเป็นไปได้มากกว่า มาก เพราะ Medical Device มีปัญหาเรื่อง Hygienic หรือ พวกสุขอนามัยอย่างมากส�าหรับประเทศไทย ลองคิดดูว่า Coolant ใช้ซ้ีซ้ัวไม่ได้ต้องให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย เท่านั้น พอเป็นอะไรที่เกี่ยวกับมนุษย์แล้วความปลอดภัย ทางสุขอนามัยต้องมาเป็นล�าดับแรก ไม่ว่าจะเป็นอวัยวะ เทียมหรือชิ้นส่วนที่ต้องฝังเข้าไปในร่างกายท�าให้ Hygienic พลาดไม่ได้เลย ไม่ว่า Coolant ที่ใช้ ลมที่ใช้ มันต้องระวังกัน

เทคโนโลยี R&D เป็นสิ่งจ�าเป็น แต่บ้านเรายังไม่มี งานวิจัยและพัฒนา มากนัก ไม่ช้าก็เร็ว มันจ�าเป็นต้องเกิด Innovation เพื่อผลในระยะยาวขึ้น ไม่งั้นเราก็จะเป็นได้ แค่ฐานการผลิต ให้ใครที่ไหนก็ไม่รู้


60

ตัวอย่างเครื่องจักรคุณภาพ ส�าหรับงาน Aerospace จาก Makino

ตั้ ง แต่ แรกไม่ ใ ห้ เ กิ ด การปนเปื ้ อ นหรื อ ลดสเปกของสิ่ ง ที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด เช่น ตัวท�าละลาย เครื่องจักรที่ใช้ในการ ผลิ ต ทั้ ง หมดต้ อ งถู ก ควบคุ ม และทดสอบตั้ ง แต่ วั ต ถุ ดิ บ ไปจนถึงกระบวนการผลิตทั้งหมด

เปรียบเทียบการผลิตระหว่าง 3D Printing และแม่พิมพ์

3D Printing - Mould & Die 3D Printing ถือเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่ Disruption เทคโนโลยีอนื่ โดยเฉพาะแม่พมิ พ์ แต่เทคโนโลยี 3D Printing มีการใช้งานทีเ่ ฉพาะเจาะจง มันมีขอ้ ดีของมันเอง เพราะการ สร้างแม่พิมพ์แต่ละตัวขึ้นมามีค่าใช้จ่ายสูง ถ้าท�าแค่ผลิตตัว ต้นแบบคงไม่คุ้ม ทีนี้ต้องมองถึงผลได้ผลเสีย คิดถึงความ เหมาะสมของงาน เช่น พวกท่อน�้า ระบบหล่อเย็น ซึ่งขึ้นรูป ง่ า ยใส่ ร ายละเอี ย ดยิ บ ย่ อ ยซั บ ซ้ อ นภายในได้ ซึ่ ง เหล็ ก เป็นก้อนขึ้นรูปสร้างอะไรเล็ก ๆ ละเอียดจุกจิกมากแบบนั้น ไม่ได้ ต่อมาต้องดูคณ ุ ภาพของวัสดุวา่ ใช้งานได้ไหม การใช้งาน ซีเรียสแค่ไหนอย่างไร ถ้างานซีเรียสในเรื่องรายละเอียด 3D Printing ใช้ได้ แต่สา� หรับงานทีต่ อ้ งการความแข็งแรงมาก รวมถึงการผลิตแบบ Mass แม่พิมพ์ตอบสนองได้ดีกว่าอยู่ แล้วทั้งด้านความทนทานและจ�านวน แต่ถ้าท�างานน้อยชิ้น แล้วไปสั่งหล่อก็ไม่คุ้ม ถึงตอนนี้ 3D Printing สามารถผสม วัตถุดบิ ได้แล้วแต่คา่ ใช้จา่ ยถือว่ายังสูงอยู่ ยังไม่นบั รวมระยะ เวลาในการผลิตต่อชิ้น ข้อดีของทั้งสองอย่างนี้จึงสามารถ แยกได้ด้วย ความละเอียดของชิ้นงาน ความแข็งแรง และ สุดท้ายปริมาณการผลิต

แรงงาน VS 4.0 ผู้ประกอบการกลัวเทรนด์ Demand ของตลาดที่เกิดขึ้น ใหม่อย่าง EV และ Disruption อื่น ๆ แรงงานเองก็กลัว Disruption เช่นกัน แรงงานกลัวการถูกแทนที่เทคโนโลยี อัจฉริยะและระบบออโตเมชัน ในปัจจุบันทิศทางแรงงาน กลายเป็น Skilled Labor หรือแรงงานฝีมือลดน้อยลงแต่ แรงงานที่ใช้ความรู้จะเยอะขึ้น ถ้าอยากได้แรงงานราคาถูก นักลงทุนจะย้ายไปกัมพูชา ไปเวียดนามกันหมดแล้ว กลับกัน ในส่วนงานซ่อมบ�ารุงแรงงานยังเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นอยูอ่ ย่างมาก พวกติ ด ตั้ ง และดู แ ลระบบก็ ยั ง มี อ ยู ่ บทบาทและความ ต้องการของแรงงานในอุตสาหกรรมจะเปลี่ยนไป แต่ละ หน้าที่มีอยู่เหมือนเดิมแค่เปลี่ยนสัดส่วน แต่ที่แน่ ๆ ความรู้ เรื่องเทคโนโลยีต้องมีทุกคน


MAINTENANCE

ปวช. ปวส. ป.ตรี มหาวิทยาลัย ตัวเลือกไหนเหมาะกับ 4.0 ถ้าคุยกันเรือ่ งสายงานการศึกษาเป็นรากแก้วทีข่ าดไม่ได้ เบื้องต้นแยกพวกเรียน ป.ตรี วิศวะออกเป็นสองสายก่อน แบบแรกสายทฤษฎีพวกถนัดงานวิจัยพัฒนางานวิชาการ ทั้ ง หลายเรี ย กสายมื อ สะอาด แต่ ถ ้ า สายปฏิ บั ติ ส ายช่ า ง มาจากพวก ปวช. ปวส. อะไรแบบนี้เขาจะฐานแน่นมาก เป็นสายมือเลอะ เมื่อก่อนมีสถาบันรองรับเปิดสอนหลาก หลายที่เดี๋ยวนี้ปิดกันไปเยอะ ทุบช็อปฝึกงานไปไม่น้อย ทั้ง ทีพ่ วกงานซ่อมบ�ารุงยังเป็นทีต่ อ้ งการจ�านวนมากงานพวกนี้ หุน่ ยนต์ออโตเมชันไหน ๆ ก็ทดแทนไม่ได้ ถ้าพืน้ ฐานไม่แน่น ต่อยอดล�าบากถ้าให้คนที่ไม่เคยรื้อไม่เคยจับมาท�าครึ่งวัน จะเจอตัวปัญหาไหมยังไม่รู้เลย แต่พวกสายมือเลอะมา ท�าแป๊ป ๆ ได้แล้ว แต่จุดเด่นพวกสายมือสะอาดก็มีพวกนี้ ท�างานพัฒนาสร้างนวัตกรรมขึน้ มาได้รวมถึงพวกงานบริหาร ต่าง ๆ เพียงแค่ยุค 4.0 งานซ่อมบ�ารุงกลายเป็นสิ่งที่ตลาด ออโตเมชันที่เป็นเทรนด์หลักต้องการอย่างมากพอ ๆ กับ วิศวกรสายบริหารหรือสายเทคนิค ท้ายทีส่ ดุ แล้วมันก็จา� เป็น ทั้งสองส่วนไม่ว่าจะเลอะหรือสะอาด เมืองไทยกับการเป็นเจ้าของเทคโนโลยี การเป็นเจ้าของเทคโนโลยี R&D เป็นสิ่งจ�าเป็นแต่บ้าน เรายังไม่มีงานวิจัยและพัฒนามากนัก ไม่ช้าก็เร็วมันจ�าเป็น ต้องเกิด Innovation เพื่อผลในระยะยาวขึ้นไม่งั้นเราก็จะ เป็นได้แค่ฐานการผลิตให้ใครที่ไหนก็ไม่รู้ ให้ไปแข่งตัดราคา เขาก็ไม่ได้ตลอดการย้ายฐานการผลิตมีให้เห็นอยู่เรื่อยๆ หลายครั้งนโยบายบ้านเราเปิดโอกาสให้องค์กรใหญ่เท่านั้น ทีจ่ ะเติบโตหรือพัฒนาได้ มันน่าคิดนะว่าทัง้ ๆ ทีเ่ มืองไทยมี คนไปแข่งนูน่ ชนะ ประกวดไอ้นนั่ ได้ เก่ง ๆ เยอะแยะไปหมด ไหนจะประสบการณ์งานอุตสาหกรรมทีย่ าวนานของประเทศ

61

อีก ท�าไมคนเก่ง ๆ กลายเป็นถูกซือ้ ตัวหมด เสียดายไม่มกี าร สนับสนุนคนเหล่าให้เขาอยู่ได้ ให้เขาได้ท�าสิ่งที่เขาถนัด ท�า สิ่งที่เขาต้องการ Innovation’s Demand ถ้าอยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตลาดนี่แหละที่เป็น ตัวขับเคลื่อนที่มีดีมาก หลายอย่างภาครัฐไม่กล้าออกตัว สนับสนุนมากเท่าไหร่ออกหน้ามากเดี๋ยวรายใหญ่ย้ายฐาน ผลิตจะเป็นปัญหาใหญ่ เช่น พลังงานทางเลือกก็ได้รับความ สนใจอย่างแพร่หลาย Compressed Air นีม่ คี นท�ากันเยอะนะ แต่ท้ายที่สุดต้องรอตลาดอยู่ดี รอให้มันเป็น Mass ไม่งั้น ราคามันก็จะสูง ทั้ง ๆ ที่มีแต่คนต้องการสิ่งเหล่านี้เพราะ ราคาทุนถูกกว่า คุณภาพดีกว่า เกิดตัวเลือกที่หลากหลาย มาก เหมือนน�้ามัน จะซื้อจากไหน ตะวันออกกลาง ยุโรป อเมริกา ว่ากันไปนั่น ดูอย่าง EV สิ แต่สุดท้ายมาจบที่ โครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานอยู่ดี มันต้องมีคนเป็น เจ้ า ภาพรั ฐ บาล กฟผ. หรื อ ปตท. หน่ ว ยงานรั ฐ ต้ อ ง สนั บ สนุ น และให้ ค วามส� า คั ญ ก่ อ นเพราะขนาดโครงการ มันใหญ่เกินความสามารถเอกชน การเติบโตของอุตสาหกรรมในประเทศไทยแม้จะมี ตลาดเป็นตัวผลักดัน แต่การสนับสนุนจากภาครัฐเป็น สิ่งจ�าเป็น ต้องส่งเสริมมาตั้งแต่รากฐานเริ่มตั้งแต่การ ศึกษา การสร้างความเข้าใจถึงความส�าคัญของรูปแบบ การท�างานที่แตกต่าง เมื่อเกิดบุคลากรคุณภาพขึ้นมา ไม่ ว ่ า จะเป็ น วิ ศ วกรสายบริ ห ารหรื อ ปฏิ บั ติ ก าร การ สนับสนุนบุคคลเหล่านี้เป็นกุญแจส�าคัญที่จะสร้างพื้นที่ ให้ประเทศไทยในตลาดโลก ก้าวเข้าสู่การเป็นเจ้าของ เทคโนโลยี หากการพัฒนาและความก้าวหน้าสู่สิ่งใหม่ เป็นความจ�าเป็น หน่วยสนับสนุนดูแลอย่างงานซ่อมบ�ารุง ก็มีความส�าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน


62

TECHNOLOGY

MANUFACTURING T E C H N O L O G Y, INVEST FOR WINE OR DIE WITH THE PAST ‘เทคโนโลยีการผลิต’ ถ้าไม่ลงทุนอาจต้องลงหลุม


TECHNOLOGY

63

การแข่งขัน ของอุตสาหกรรมสมั ย ใหม่ มีเ ทคโนโลยี ที่ใ ช้ เ ป็น ตั ว ตั ด สิ น เนือ ่ งจากภาวะการผันผวนของ Demand ในตลาดทีเ่ กิดการเปลีย ่ นแปลง อย่างรวดเร็ว ร่วมกับการขาดแคลนแรงงานที่เหมาะสมส� าหรับการ ปฏิบัติงาน ตัวอย่างส� าหรับกรณีดงั กล่าว เช่น ประเทศจีน ซึ่งมีการเติบโตทีร่ วดเร็วใน ระยะเวลาอันสั้นทัง้ ยังเป็นสัดส่วน GDP จ�านวนมากได้เริม ่ น ่ มีการปรับเปลีย มาใช้ระบบอัตโนมัตแ ิ ทนแรงงานมนุษย์ ท�าให้เห็นถึงกระแสการเปลีย ่ นแปลง และการแข่งขันทีน ่ อกจากจะเน้นในเรือ่ งปริมาณการผลิต ศักยภาพการผลิต ยังเป็นเรื่องส� าคัญที่จะตอบสนองความพึ งพอใจของคู่ค้าหรือผู้ใช้งาน เทคโนโลยีส�าหรับการผลิต อย่างเช่น Automation ที่มีความแม่นย�าสู ง และ Productivity ที่ไว้ใจได้จึงเป็นสิ่ งจ�าเป็น หากคุณภาพของสิ นค้า ไม่ถึง ศั กยภาพการผลิตไม่สามารถสู้ กับผู้ผลิตเจ้าอื่นในตลาดได้ ธุรกิจ อุ ต สาหกรรมของคุ ณ อาจถึ ง เวลาต้ อ งถอยลงหลุ ม และปิด ตั ว ไปอย่ า ง เงียบ ๆ ท่ามกลางกระแสการลงทุนเทคโนโลยีที่โหมกระหน�่าในปั จจุบัน

การใช้งาน ERP ร่วมกับ การมอนิเตอร์เครื่องจักร

จุดเด่นและข้อควรระวังของแรงงำนมนุษย์ ในยุคหุ่นยนต์ จุดเด่นของแรงงำนที่มีข้อได้เปรียบเมื่อเทียบกับระบบ อั ต โนมั ติ คื อ ควำมสำมำรถในกำรยื ด หยุ ่ น ส� ำ หรั บ กำร ปฏิบัติงำน ควำมสำมำรถในกำรตัดสินใจ กำรปรับเปลี่ยน ให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ และประสบกำรณ์ ซึ่งในกรณีนี้หำก เป็น AI หรือปัญญำประดิษฐ์อำจพัฒนำไล่ตำมควำมสำมำรถ ในกำรตัดสินใจเหล่ำนี้ได้ ส�ำหรับควำมเสี่ยงที่พบจำกแรงงำนที่สำมำรถพบเจอ ได้ทั่วไป เช่น ควำมผิดพลำดในกำรท�ำงำน ปัญหำทำง ด้ ำ นสุ ข ภำพ จิ ต ใจ และอำรมณ์ ท� ำ ให้ ก ำรเลื อ กลงทุ น ในเทคโนโลยีที่มีควำมเสี่ยงหรือส่งผลกระทบต่อสภำวะ ร่ำงกำยและจิตใจของมนุษย์ เช่น สำยกำรผลิตที่มีกำรท�ำ ซ�้ำอย่ำงต่อเนื่องและใช้เวลำยำวนำนสำมำรถสร้ำงผลลัพธ์ ที่มีประสิทธิภำพมำกกว่ำได้ แม้เทคโนโลยีและนวัตกรรม จะเป็นกุญแจส�ำคัญส�ำหรับกำรแข่งขันในกิจกำรอุตสำหกรรม ยุคใหม่ ในขณะที่บทบำทแรงงำนมนุษย์ยังคงมีส่วนส�ำคัญ โดยเปลี่ยนจำกกำรท�ำงำนที่มีควำมเสี่ยงสู่กำรวำงแผนและ ควบคุมเทคโนโลยีในกำรท�ำงำน รวมถึงกำรท�ำงำนในรูปแบบ ของกำรซ่อมบ�ำรุงยังคงต้องพึ่งพำมนุษย์เป็นหลัก

ท�ำไมต้อง Automation? ด้วย 3 คุณสมบัตทิ ที่ ำ� ให้กำรใช้เครือ่ งจักรมีประสิทธิภำพ มำกกว่ำคน ได้แก่ ขนำดและปริมำณของงำน ควำมเร็ว ในกำรผลิ ต และควำมซั บ ซ้ อ นของชิ้ น ส่ ว นที่ ผ ลิ ต ซึ่ ง เครื่องจักรสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรเหล่ำนี้ได้อย่ำง มีประสิทธิภำพ สำมำรถวำงใจในกำรปฏิบัติงำนได้ รวมถึง ควำมแม่นย�ำในกำรปฏิบัติงำน เทคโนโลยี Automation เป็นกำรควบคุมเครื่องจักรและ กำรท�ำงำนที่เกี่ยวข้องผ่ำนระบบอัตโนมัติ ท�ำให้สำมำรถ คำดกำรณ์และวำงแผนกำรซ่อมบ�ำรุง ซึ่งสำมำรถลดเวลำ Downtime ทัง้ ยังสำมำรถเจำะลึกถึงกำรท�ำงำนได้อย่ำงทัว่ ถึง ไม่ว่ำจะเป็นกำรใช้พลังงำน กำรแสดงค่ำต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ขัน้ ตอนกำรท�ำงำนแบบ Real-Time ส�ำหรับกำรด�ำเนินกำรใน ระยะยำวสำมำรถลดค่ำใช้จำ่ ยและคืนทุนได้อย่ำงรวดเร็วเมือ่ เทียบกับแรงงำนมนุษย์ กำรลงทุนในเทคโนโลยี นวัตกรรม ซึ่งสำมำรถลดอุบัติเหตุ กำรสูญเปล่ำในกระบวนกำรผลิต วิศวกรเฉพำะทำงและฝ่ ำยซ่อมบ�ำรุง และควบคุมปัจจัยในกำรผลิตได้มำกขึ้น ก่อให้เกิดสำยกำร ก�ำลังหลักอุตสำหกรรมยุคใหม่ ผลิตที่สำมำรถเชื่อถือได้ สำมำรถแก้ไขและจัดกำรได้อย่ำง ด้วยเทคโนโลยีทมี่ คี วำมหลำกหลำยมำกขึน้ ท�ำให้ควำมรู้ เหมำะสมกับเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นอย่ำงทันท่วงที เฉพำะทำงมีควำมจ�ำเป็นมำกขึน้ เช่น ระบบเครือข่ำย ระบบ คอมพิวเตอร์ เพือ่ รองรับกำรท�ำงำนกับ Smart Factory หรือ Automation ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงำนต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ กำรเลือกลงทุนเครือ่ งจักรในยุคปัจจุบนั นัน้ จ�ำเป็นจะต้อง ในกำรท�ำงำนกับเทคโนโลยีดังกล่ำว นอกจำกนี้ ในส่วน คิดเผื่อส�ำหรับกำรลงทุนใช้งำนร่วมกับ Automation เพื่อ ของกำรซ่อมบ�ำรุง ซึ่งแรงงำนมนุษย์ยังเป็นสิ่งที่ขำดไม่ได้ เตรียมควำมพร้อมส�ำหรับกำรแข่งขันในเวทีระดับนำนำชำติ กลำยเป็นพื้นที่ซึ่งขำดแคลนอย่ำงมำก ภำยใต้นวัตกรรมที่ ซึง่ หลำยประเทศเริม่ มีกำรใช้ระบบ Automation อย่ำงแพร่หลำย ก้ำวหน้ำระบบและเครื่องมือที่มีควำมซับซ้อนยิ่งต้องกำร เพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรผลิตและดึงดูดนักลงทุนต่ำงชำติ กำรดูแลรักษำทีม่ คี วำมพิถพี ถิ นั ลงรำยละเอียดมำกขึน้ ท�ำให้ ด้วยเทคโนโลยีที่มี อำทิ เกำหลีใต้และประเทศจีน ควำมส�ำคัญของหน่วยซ่อมบ�ำรุงเพิ่มขึ้นตำมเทคโนโลยี


64

ในปัจจุบนั กำรขำดแคลนแรงงำนถือเป็นปัญหำทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่ ำ งต่ อ เนื่ อ ง ในขณะที่ น วั ต กรรมใหม่ เ กิ ด ขึ้ น และเพิ่ ม จ�ำนวนอย่ำงรวดเร็วจ�ำนวนแรงงำนฝีมือที่มีไม่อำจรองรับ ต่อกำรใช้งำนจริง และแรงงำนฝีมือบำงส่วนกลับขำดแคลน ศักยภำพในกำรเรียนรู้หรือประยุกต์กำรใช้งำนเทคโนโลยี ใหม่ ๆ อีกด้วย ท�ำให้พื้นที่ส�ำหรับแรงงำนที่มีควำมรู้ควำม สำมำรถด้ำน Automation หรือเทคโนโลยียังขำดแคลนอยู่ เป็นจ�ำนวนมำก ยังไม่นับรวมแรงงำนซ่อมบ�ำรุงที่มีควำม ต้องกำรมำกกว่ำผู้เชี่ยวชำญเฉพำะด้ำน จับ Automation ให้อยู่ก่อนกระโดดไป 4.0 เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ก่อให้เกิดกำรปฏิวัติอุตสำหกรรม ครั้งที่ 4 หรือ เทคโนโลยียุค 4.0 เป็นนวัตกรรมที่น่ำสนใจ ด้วยกำรผสำนระบบเครือข่ำยก่อให้เกิด IoT และ Big Data เมื่อน�ำมำใช้ร่วมกับเครื่องจักรต่ำงๆ เช่น CNC 3D Printing หรือ หุ่นยนต์ สมัยใหม่ที่มีควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร ระหว่ำงเครื่องจักรเป็นพื้นฐำนท�ำให้สำมำรถส่งข้อมูลผ่ำน เครือข่ำยทั่วโลก สำมำรถเฝ้ำดูข้อมูล รำยงำนกำรท�ำงำน

บริหำรจัดกำร หรือขอกำรสนับสนุนจำกผู้ให้บริกำรได้แบบ Real-Time เพิ่มคุณภำพและผลิตภำพของกำรท�ำงำนแบบ ก้ำวกระโดด เนื่องจำกสำมำรถควบคุมได้ทุกขั้นตอนรวมทั้ง ยังสำมำรถพยำกรณ์เวลำซ่อมบ�ำรุงล่วงหน้ำได้อีกด้วย แต่ ก่อนที่จะมำถึงเทคโนโลยี 4.0 เทคโนโลยีซึ่งถือเป็นรำกฐำน ที่ส�ำคัญต่อ 4.0 อย่ำง Automation ที่จ�ำเป็นต้องเริ่มต้นเป็น ล�ำดับแรก เทคโนโลยี Automation สำมำรถตอบสนองรูปแบบ กำรผลิตได้อย่ำงหลำกหลำย ทั้งยังสำมำรถลดเวลำและ ต้นทุนต่ำง ๆ ในสำยกำรผลิตได้เป็นอย่ำงดี ด้วยศักยภำพ กำรท�ำงำนที่แม่นย�ำ เที่ยงตรง ลดเวลำในกำรผลิต รวมทั้ง เพิ่มควำมปลอดภัยในกระบวนกำรท�ำงำน โดยกำรท�ำงำน ของ Automation นัน้ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ตำ่ ง ๆ สำมำรถ ส่งผ่ำนข้อมูลให้แก่กันภำยในโรงงำนได้เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ส�ำหรับกำรต่อยอดไปยัง 4.0 เพียงแค่เสริมกำรสื่อสำรกับ Server ภำยนอกจะสำมำรถท�ำงำนแบบ Real Time ผ่ำน ระบบเครือข่ำยได้ ดังนัน้ กำรครอบครองและท�ำควำมเข้ำใจ ให้ดีกับศักยภำพของ Automation จึงเป็นรำกฐำนส�ำคัญ ส�ำหรับกำรก้ำวไปในสนำมของอุตสำหกรรม 4.0


TECHNOLOGY

กำรลงทุน Automation สำมำรถลงทุนในส่วนที่มีควำม สนใจหรือเป็นปัญหำอยู่ก่อน โดยสำมำรถประยุกต์ใช้กับ เทคโนโลยี IoT เฉพำะส่วนได้ เช่น กำรใช้เทคโนโลยี QC หรือ Measurement ทีส่ ำมำรถเข้ำถึงและตรวจสอบคุณภำพสินค้ำ จำกนอกสถำนทีไ่ ด้ อย่ำงน้อยกำรลงทุนกับควำมสำมำรถใน กำรแสดงผลข้อมูลกิจกรรมในโรงงำนหรือสำยกำรผลิตแบบ Real Time สำมำรถช่วยลดกำรสูญเสียและวำงแผนกำรซ่อม บ�ำรุงล่วงหน้ำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพแม้ยงั ไม่มกี ำรลงทุนใน ส่วนของหุ่นยนต์หรือสำยพำนล�ำเลียงอัจฉริยะก็ตำม

เพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขันกับตลำดอื่น ๆ ในระดับสำกล ที่น�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มำช่วยลดต้นทุนและเพิ่มผลิตภำพ ของงำนอุตสำหกรรม จำกปัญหำด้ำนแรงงำนที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยปัจจุบนั เช่น ค่ำใช้จำ่ ยด้ำนแรงงำนที่สงู ขึน้ กำร ขำดแคลนแรงงำนทีม่ คี ณ ุ ภำพ หรือแม้กระทัง่ กำรเข้ำสูส่ งั คม ผูส้ งู อำยุ ล้วนเป็นตัวผลักดันให้ผปู้ ระกอบกำรมีควำมจ�ำเป็น ในกำรลงทุนด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมำะสมกับ รูปแบบอุตสำหกรรมของตัวเองมำกขึ้น ในขณะที่ประเทศไทยยังคงรักษำควำมโดดเด่นด้ำน อุตสำหกรรมในภูมิภำคได้ในปัจจุบัน ประเทศเพื่อนบ้ำน ได้ ล งทุ น ด้ ำ นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ถื อ เป็ น คู ่ แข่ ง ท�ำไมอุตสำหกรรมไทยจึงควรผลักดัน ใกล้ตัว เช่น ประเทศเวียดนำม สำมำรถดึงดูดนักลงทุน ด้วยกำรลงทุนเทคโนโลยีกำรผลิต? ให้ย้ำยกำรผลิตจำกประเทศไทยได้ หรือกำรที่ประเทศจีน กำรลงทุนในเทคโนโลยีและนวัตกรรมกำรผลิตยุคใหม่ สำมำรถดึ ง ดู ด นั ก ลงทุ น ต่ ำ งประเทศส� ำ หรั บ กำรผลิ ต ที่รองรับกำรท�ำงำนแบบ 4.0 หรืออย่ำงน้อยรองรับกำร จ�ำนวนมำกและสำมำรถต่อยอดกำรลงทุนศูนย์นวัตกรรมจำก ท�ำงำนแบบ Automation นอกจำกจะเป็นกำรเพิ่มควำม บริษัทต่ำง ๆ ในพื้นที่ได้ สะดวกสบำยในกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิตแล้ว ยังเป็นกำร

65

ระบบสายการผลิตอัตโนมัติ ในประเทศจีน

รายการคิดยกก�าลังสอง ตอน นวัตกรรมมังกรผยองโลก


66

ต้องลงทุน เทคโนโลยีที่จ�ำเป็นต่อกำรผลิตเพื่อ ยกระดับมำตรฐำนกำรผลิตและเพิ่ม ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันบนเวที 5 เทคโนโลยีนี้มีกำรใช้งำนกันอย่ำง แพร่หลำยในระบบอุตสำหกรรมชั้นน�ำ ได้แก่ Automation : สนับสนุนกระบวนกำร ผลิตอัจฉริยะ Sustainable Energy : กำรใช้พลังงำนหมุนเวียน หรือพลังงำนทำงเลือก Smart Training : กำรฝึกฝนแรงงำนให้มี ศักยภำพ

การเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

รักษาความสามารถ ในการแข่งขันด้วยนวัตกรรม

เมื่อจุดแข็งของอุตสาหกรรมไทยไม่ใช่ราคาแรงงาน อีกต่อไป ประสบการณ์ด้านอุตสาหกรรมที่ยาวนาน ท�าให้ประเทศไทยมีความพร้อมเรื่องบุคลากรฝีมือซึ่ง มีราคาสูงมากกว่า รวมถึงความพร้อมด้านโครงสร้าง สาธารณูปโภคพืน้ ฐานและต�าแหน่งทีต่ งั้ ทีเ่ ป็นศูนย์กลาง ท� า ให้ ป ระเทศไทยยั ง คงเป็ น ที่ น ่ า จั บ ตามองส� า หรั บ นักลงทุน การน�านวัตกรรมเข้ามาแก้ปญ ั หาดังกล่าวและ เลือกใช้แรงงานฝีมอื ทีเ่ หมาะสมกับลักษณะงานสามารถ สร้ า งพื้ น ที่ ข องอุ ต สาหกรรมไทยในเวที โ ลกได้ อ ย่ า ง ยั่งยืน เพราะอุตสาหกรรมในยุคปัจจุบันขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยีการผลิตเป็นหลัก

Smart Logistics : นอกเหนือจำกกำรผลิต ระบบขนส่ งและคลังสิ นค้ำ สำมำรถปรับให้ใช้งำน ร่วมกับ IoT ERP System : หรือ Enterprise Resource Planning สำมำรถวัดและประเมิน ผลกำรท�ำงำนขององค์กร ได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ

Source: MM Thailand, https://www.ft.com/content/e1def550-f600-11e7-8715-e94187b3017e, http://www.asse.org/practicespecialties/management/automation_human_intervention/, http://www.aia-india.org/CMS/downloads/Harish%20Chatterjee%20-%20Increasing%20productivity%20through%20automation.pdf, http://www.ejaet.com/PDF/3-2/EJAET-3-2-45-47.pdf

5

เทคโนโลยี Smart Factory




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.