Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
คุณศิริรุจ จุลกะรัตน ป 2560 คาดอุตฯ ไทยโตตอเนื่อง
ความทาทายและโอกาสทางเศรษฐกิจ ยุค THAILAND 4.0
วิกฤตพิชิตโอกาส พลังงานทดแทนไทย
p. 52
p. 36
p. 59
70 baht
Industry 4.0 กำลังมา
จากประสบการณ งาน Wireless ของ ZI-ARGUS เรามีประสบการณ มายาวนานกว า 10 ป
มีการลงพ�้นที่และออกแบบระบบให เหมาะสม กับการใช งานด วยเทคโนโลยีที่หลากหลาย เราพร อมให คำปร�กษาเพ�่อก าวสู อนาคตไปด วยกัน
CONTACT: ZI-ARGUS LTD. 278 B1, Raintree Office Garden Soi Soonvijai 4, Rama IX Road Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310, Thailand Tel : +66 (0)2 319 9933 Fax : +66 (0)2 319 9949 Email : bangkok@zi-argus.com
ผู้น�ำด้ำนผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นอัจฉริยะ
พร้อมส่งมอบผลิตภัณฑ์คุณภาพ เพื่อตอบทุกโจทย์ด้านอุตสาหกรรม 4.0
Mr. Chaney Ho
ประธาน บริษัท แอดวานซ์เทค คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด
AD12
100
Scrap the Toys. Get a Real Oscilloscope!
Introducing the new Keysight 1000 X-Series oscilloscopes. Featuring 6-in-1 instrument integration with exclusive frequency response analyzer.
The Kaysight 1000 X-Series oscilloscopes are engineered to give you quality, industry-proven technology at unbelievably low prices. Now it’s easy to get professional measurements and accessible expertise at your fingertips.
Models
EDUX1002A
Bandwidth
EDUX1002G 50MHz
Update Rate
DSOX1102A
DSOX1102G
70MHz (100MHz with B/W upgrade) >50,000 Waveforms/Second
Sample Rate
1GSa/s
ราคาสุดคุม เริ่มตนที่
2GSa/s
Display
16,500.-
7” WVGA TFT LCD
Channels
2 analogue plus Trigger View (1 digital ch) 100k points
1M points
I2C, UART/RS232
I2C, SPI, UART/RS232, CAN, LIN
Memory Serial Decode (option) WaveGen
N/A
20MHz
N/A
20MHz
Get Scope Tips eBook: www.keysight.com/find/1000X www.irct.co.th/oscilloscopes-analyzers-meters
IRC Technologies Limited
Authorized Distributor and Service Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th © Keysight Technologies, Inc. 2017
T.V.P. Valve & Pneumatic Co., Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sales@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales
INVERTER NE-S1
WJ200
NJ600B
SJ700/SJ700D
Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW
Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW
Inverter Designed for Fans,Pumps and Conveyors 5.5-355kW
High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW
THE POWERFUL DRIVE SYSTEM
PLC
CONTACTOR & BREAKER
MOTOR & BLOWER
12
news & UPDATE
ABB รับรำงวัล The Most Knowledge Transferring Awards งาน SETA 2017 คุณนรรัตน์ เนาวรัตน์กลู ชัย Product Marketing Director, Electrification Product Division ตัวแทน จากบริษทั เอบีบี จ�ากัด เข้ารับมอบโล่รางวัล The Most Knowledge Transferring Awards (การออกแบบบูธ เชือ่ มโยงความรูไ้ ด้อย่างครบวงจร) ในงาน Sustainable Energy & Technology Asia 2017 จาก ดร.ธัชชัย สุมติ ร ประธานคณะกรรมการด�าเนินงานโครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย ( SETA 2017) โดยบูธเอบีบี ได้นา� เสนอเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีของการผลิตและใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในรูปแบบ ของโซลาร์รฟู มาเปลีย่ นแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าเพือ่ น�ามาใช้เป็นแหล่งพลังงานภายในทีพ่ กั อาศัย รวมถึงสามารถ ใช้ชาร์จไฟฟ้าให้กบั รถยนต์พลังงานไฟฟ้าได้อกี ด้วย
บีจีซี ตอกย�้ำศักยภำพผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์แก้ว อันดับ 1 ใน อาเซียน บีจี คอนเทนเนอร์ กล๊าส ในเครือบริษัท บางกอกกล๊าส จ�ากัด (มหาชน) โดย คุณสมพร เต็มอุดมสมบูรณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานการผลิต พร้อมคณะผู้บริหาร โชว์ศักยภาพปฏิบัติการโรงงานผลิต บรรจุภณ ั ฑ์แก้วทีจ่ งั หวัดอยุธยา ตอกย�า้ ความส�าเร็จผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์แก้วอันดับ 1 ในภูมภิ าคอาเซียน ซึง่ มีกา� ลังการผลิต ประมาณ 1,620 ตันต่อวัน จาก 4 เตาหลอม 14 ไลน์ นับเป็นโรงงานที่มีก�าลังผลิตมากที่สุดของบีจีซีในปัจจุบัน บริษัทฯ เตรียมพร้อมขยายไลน์การผลิตเพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง ที่จังหวัดราชบุรี รองรับการขยายตัวของตลาด ทั้งใน และต่างประเทศ พร้อมน�าระบบ Plunger Process Control หรือ PPC ซึ่งเป็นระบบควบคุมปริมาณน�้าแก้วส�าหรับ การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์แก้วให้ได้มาตรฐาน พร้อมกระบวนการควบคุมคุณภาพของบรรจุภัณฑ์แก้วที่มีประสิทธิภาพ ตอกย�้าความเป็นผู้น�าในการผลิตที่ค�านึงถึงคุณภาพชีวิตของผู้บริโภคเป็นส�าคัญ พร้อมพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต อย่างต่อเนื่อง สร้างความมั่นใจให้ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ และคาดว่าในปี 2561 บีจีซีจะมีก�าลังการผลิตรวม เพิ่มขึ้นเป็น 3,655 ตันต่อวัน หลังจากการเปิดตัวโรงงานที่จังหวัดราชบุรี ปัจจุบัน บริษัทฯ มีก�าลังการผลิตบรรจุภัณฑ์แก้วเป็นอันดับหนึ่งของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ด้วย ก�าลังการผลิต 3,335 ตันต่อวัน โดยในส่วนบรรจุภัณฑ์แก้วประมาณ 50% ผลิตให้กับเครือบุญรอด อีก 50% ให้ ลูกค้าภายนอก หลักๆ เป็นอาหาร เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ขวดยา และอีกประมาณ 5% จะเป็นในส่วนของตลาดส่งออก
SETA 2017 ชูเทรนด์พลังงำนไฮบริด รถพลังงานไฟฟ้า กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมด้วย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงคมนาคม และกรุงเทพมหานคร เปิดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ ‘โครงการพลังงาน และเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืนแห่งเอเชีย 2560’ หรือ ‘SETA 2017’ ปีที่ 2 ภายใต้ธมี ‘Towards A Low-Carbon Society’ ใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ นโยบายและการวางแผนด้านพลังงาน เทคโนโลยีระบบผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อปล่อยคาร์บอนต�่า พลังงานเพื่อการคมนาคมขนส่งเพื่อปล่อยคาร์บอนต�่า และเมืองอัจฉริยะและ อุตสาหกรรมสีเขียว เพือ่ ผลักดันและพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นพลังงานและเทคโนโลยีอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปีนี้ เน้นเทรนด์อตุ สาหกรรมไฮบริด และรถยนต์พลังงานไฟฟ้า โดยงานจัดระหว่างวันที่ 8-10 มีนาคม 2560 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา นอกจากนี้ ภายในงานยังมีการจัดให้มกี ารบรรยาย ประชุมสัมมนา และเวิรค์ ช็อปจากองค์กรระดับนานาชาติ และบริษทั ทีเ่ ป็นผูน้ า� ในหัวข้อต่างๆ อาทิ ‘CEO Energy Forum’ โดยรวบรวมกูรดู า้ นพลังงานระดับโลก และเจาะลึกนโยบายพลังงานและความร่วมมือในระดับภูมภิ าคใน ‘CLMVT Energy Forum Financing in Energy โดย Reliott’ ‘Hybrid & EV Technology Zone’ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม งานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ ‘โครงการพลังงานและเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืนแห่งเอเชีย 2560’ หรือ ‘SETA 2017’ มีผเู้ ข้าร่วมงานเป็นผูบ้ ริหาร ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ผูผ้ ลิต บริษทั ผูผ้ ลิตไฟฟ้า นักวิชาการ ผูเ้ ชีย่ วชาญ บริษทั ผูผ้ ลิตพลังงานทดแทน ธนาคาร นักลงทุน จากทุกภาคส่วนและผูส้ นใจทัว่ ไป ทัง้ ในและ ต่างประเทศกว่า 5,000 คน พืน้ ทีจ่ ดั งาน 9,000 ตารางเมตร บูธจัดงานกว่า 150 บูธ โดยมีโซนไฮบริดและเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้า โซนโซลาร์เซลล์ และโซนระบบเมืองอัจฉริยะ จากเมืองโตเกียวและกรุงเทพมหานคร รวมไปถึงพาวิเลียนจากต่างประเทศกว่า 40 ประเทศ พร้อมกิจกรรมการจับคูธ่ รุ กิจ อาทิ แคนาดา เยอรมัน ไต้หวัน เกาหลี จีน ญีป่ นุ่ อินเดีย มาเลเซีย สิงคโปร์ เป็นต้น MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
news & UPDATE
13
ยูไนเต็ด มอเตอร์เวิกส์ (สยาม) ประกำศครบรอบ 70 ปี บริษัท ยูไนเต็ด มอเตอร์เวิกส์ (สยาม) จ�ากัด (มหาชน) ผู้น�าด้านการตลาดและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ขนถ่าย ล�าเลียงสินค้า เครื่องจักรกลเพื่อการก่อสร้างขนาดเล็กและขนาดกลาง อุปกรณ์และเครื่องมือในการซ่อมบ�ารุง ยานยนต์ ที่ได้รับมาตรฐานชั้นน�าส�าหรับหลากหลายอุตสาหกรรม ได้จัดแถลงผลการด�าเนินงานครบรอบ 70 ปี ทิศทางธุรกิจและเป้าหมายสูจ่ ดุ ยืนทางธุรกิจในการเป็นผูใ้ ห้บริการรูปแบบโซลูชนั่ ครบวงจรชัน้ น�าในประเทศไทย พร้อมทัง้ ผนึกแบรนด์ดงั ท�าการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ทมี่ าพร้อมนวัตกรรมทีล่ า�้ หน้า 3 สายผลิตภัณฑ์ ออกสู่ ตลาดอย่างเป็นทางการ ประกอบด้วย รถฟอร์คลิฟต์ CB Series จากค่ายมิตซูบิชิ, เจแอลจี 1500 AJP รถกระเช้าบูมศอกที่สูงที่สุดในโลกจาก เจแอลจี อินดัสตรีส์ อิงค์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และรถขุดและรถตัก มาตรฐานเยอรมัน จากพันธมิตรรายใหม่ล่าสุด แวคเคอร์ นิวชั่น ผู้น�าระดับโลกด้านการผลิตสินค้าประเภท รถขุดและรถตักคุณภาพสูงจากประเทศเยอรมัน มร. อาซึชิ โตมิตะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูไนเต็ด มอเตอร์เวิกส์ (สยาม) จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยถึงสภาวะเศรษฐกิจโดยภาพรวม ว่า “บริษัทที่สามารถได้รับ ความเชื่อถือไว้วางใจจากลูกค้ามายาวนานได้ถึง 70 ปีนั้น มีจ�านวนไม่มากนัก ในส่วนของยูไนเต็ดฯ บริษัทได้วางรากฐานธุรกิจบนความเอื้ออาทรต่อกัน โดยให้ความ สนับสนุนทัง้ กลุม่ ลูกค้า ผูจ้ ดั จ�าหน่าย กลุม่ ซัพพลายเออร์ ตลอดจนพนักงานและครอบครัวของพนักงาน รวมถึงผูถ้ อื หุน้ บริษทั ด้วยความจริงใจทีส่ ดุ สานต่อความมุง่ มัน่ ของ ประธานผูก้ อ่ ตัง้ มร. เชีย เชง ง้วน ทีไ่ ด้วางไว้เป็นแนวทางทีว่ า่ ชือ่ เสียงทางธุรกิจไม่ได้เกิดขึน้ ภายในข้ามคืน แต่เติบโตอย่างช้าๆ และมัน่ คงจากความพอใจของลูกค้า เฉกเช่น การหยัง่ รากลึกลงในพืน้ ดินทีแ่ ข็งแกร่ง ซึง่ นับเป็นสูตรลับสูค่ วามส�าเร็จของกลุม่ ยูไนเต็ดฯ เพราะความไว้วางใจทีล่ กู ค้ามอบให้ไม่สามารถเนรมิตให้เกิดขึน้ ได้ในชัว่ ข้ามคืน”
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เปิดตัว EcoStruxure™ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เปิดตัว EcoStruxure™ สถาปัตยกรรม และแพลตฟอร์มเพือ่ การจัดการพลังงานล�า้ พร้อมเปิด Customer Experience Center โชว์เคสนวัตกรรมสถาปัตยกรรมการจัดการพลังงานในอนาคต สาธิตรูปแบบการใช้งานจริง IoT เพื่อตอบโจทย์ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้กับทั้งพันธมิตรและกลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยเฉพาะตามแนวนโยบาย Thailand 4.0 EcoStruxure™ ช่วยให้โซลูชั่นด้าน IoT สามารถต่อเชื่อม เก็บข้อมูล วิเคราะห์ และด�าเนินการด้านข้อมูลได้ในแบบเรียลไทม์ เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความปลอดภัย ประสิทธิภาพ ความน่าเชื่อถือ และความยั่งยืน โดยตัวแพลตฟอร์มถูกน�าไปใช้ในอาคาร ดาต้าเซ็นเตอร์ โรงงานอุตสาหกรรม และในโครงข่ายไฟฟ้าเพื่อเมืองอัจฉริยะ (Grid) ทั้งในอาคาร และบนคลาวด์ นอกจากนี้ ยังมาพร้อมกับระบบการรักษาความปลอดภัยบนไซเบอร์ที่ติดตั้งมาล่วงหน้าในทุกระดับของผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมเข้าด้วยกัน ในการ ควบคุมอุปกรณ์ปลายทาง ในแอปพลิเคชันและการวิเคราะห์ และในการบริการ คุณทอมมี่ เหลียง ประธานบริษทั ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประจ�าภาคพืน้ เอเชียตะวันออกและญีป่ นุ่ กล่าวว่า “เราพัฒนา EcoStruxure™ ในฐานะของ IoT แพลตฟอร์มพร้อมสถาปัตยกรรมแบบเปิดทีส่ ามารถท�างานร่วมกับอุปกรณ์อนื่ ๆ ทีล่ กู ค้ามีอยูเ่ พือ่ สร้าง ความปลอดภัย เสริมประสิทธิภาพ และความยัง่ ยืนในการท�างาน แพลตฟอร์มของเราสามารถรองรับได้ทงั้ อาคาร โครงข่ายไฟฟ้า อุตสาหกรรม และดาต้าเซ็นเตอร์ ซึ่งนับเป็นกลุ่มที่ใช้พลังงานกว่า 70% ของการใช้พลังงานทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยี IoT ที่ทันสมัย EcoStruxure™ มาพร้อมกับโมบิลิตี้และเทคโนโลยีทางด้านคลาวด์ ระบบการวิเคราะห์ และการรักษาความปลอดภัยบนไซเบอร์”
พัฒน์กลรุกตลาดเวียดนาม ให้บริกำรเครือ่ งจักรโรงงำนนมและเครือ่ งดืม่ บริษัท พัฒน์กล จ�ากัด (มหาชน) รุกตลาด AEC อย่างต่อเนื่อง เดินหน้าลุยตลาดเวียดนาม ให้บริการเครื่องจักร โรงงานนมและเครื่องดื่ม คุณแสงชัย โชติช่วงชัชวาล ประธานคณะเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พัฒน์กล จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ในแถบ ภูมภิ าคอาเซียน เราได้มกี ารตัง้ ส�านักงานธุรกิจในประเทศฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า เวียดนาม และก�าลังเปิดที่ กัมพูชาในปีน้ี ส�าหรับประเทศเวียดนามนัน้ พัฒน์กลได้เข้ามาท�าธุรกิจหลายปีแล้ว และเริม่ มีสา� นักงานธุรกิจมาประมาณ 3 ปี มีทั้งคนไทยและเวียดนามท�างานร่วมกัน เพื่อให้บริการรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมในประเทศเวียดนาม โดยมี พนักงาน และวิศวกรอยู่ประจ�า สามารถด�าเนินธุรกิจได้เหมือนกับส�านักธุรกิจที่ประเทศไทย ในเวียดนามพัฒน์กลฯ ได้ออกแบบผลิต ประกอบ และติดตั้งเครื่องจักรให้กับ “บริษัทหุ้นส่วนนมกู๋จี” (Cu Chi Milk Joint Stock Company Limited) ซึ่งเป็นโรงงานนมสดพาสเจอร์ไรส์ โยเกิร์ต เเละชานมบรรจุขวด นับว่าเป็นโรงงานขนาดกลางที่มีความทันสมัยแห่งหนึ่ง ในเมืองโฮจิมินห์” คุณแสงชัยกล่าวเสริม ด้านคุณเหงียน ถิ ทู เฮือง ผู้จัดการบริษัทหุ้นส่วนนมกู๋จี (Cu Chi Milk Joint Stock Ltd.) กล่าวว่า Cu Chi Milk Joint Stock Ltd. เป็นผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย สินค้าประเภทนมสดพาสเจอร์ไรส์ โยเกิร์ต เเละชานมบรรจุขวด โดยเราเริ่มท�าธุรกิจตั้งแต่ปี 2013 บนพื้นที่ส่วนโรงงาน 1,200 ตารางเมตร พื้นที่รวม 125 ไร่ เราให้ ความส�าคัญในการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการผลิตสินค้า ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต ซึ่งเครื่องจักรของเราสามารถผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ได้ถึง 2,000 ลิตร ต่อชั่วโมง โยเกิร์ต 2,000 ลิตรต่อวัน และชานมบรรจุขวด 2,000 ลิตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้ บมจ.พัฒน์กล เป็นส่วนส�าคัญในการออกแบบและผลิตติดตั้งระบบอัตโนมัติ ส�าหรับกระบวนการผลิตที่ทันสมัย ท�าให้ Cu Chi Milk Joint Stock Ltd. เป็นโรงงานนมสดพาสเจอร์ไรส์ โยเกิร์ต เเละชานมบรรจุขวด ที่ทันสมัยแห่งหนึ่งในโฮจิมินห์ โดย หลังจากทีไ่ ด้นา� ระบบอัตโนมัตสิ า� หรับกระบวนการผลิตอาหารมาใช้พบว่าปัญหาความยุง่ ยากต่างๆ ในกระบวนการผลิตลดน้อยลง ทีส่ า� คัญระบบควบคุมแบบอัตโนมัตนิ ี้ มีความแม่นย�าสูงท�าให้สินค้ามีคุณภาพและมาตรฐานตามที่ต้องการ” issue 170 april 2017
14
copyright & trademark
2016 2017 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th
COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
การสมัครสมาชิก
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
THIS IS RELIABILITY Automations Connectors Hydraulics Filtration Instrumentation Engineered Materials (Seal)
Leader of Motion and Control Technologies Provide the total solutions and service With high quality of 6 product groups Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000
Parker enables its partners to increase productivity and profitability, while protecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solve the world’s greatest engineering challenges. www.parker.com/th
P022_AD Parker 2016-All.indd 22
28-Oct-16 11:35:36 AM
contents vol.15 no.170 APRIL 2017
p.26
p.30
p.34
12
NEWS & UPDATE
26 cover story
‘คอมาว’ เปิดตัวโรบอทส์ความเร็วสูงสุด ชูจุดเด่นโมดูลาร์ดีไซน์ พร้อมลุย System Services
36 SPECIAL REPORT
46 PRODUCTIVITY BOOSTER
ความท้าทายและโอกาสทางเศรษฐกิจ ยุค THAILAND 4.0
ตีโจทย์ปัญหากระบวนการผลิตด้วย Cause and Effect Diagram
40 AUTO PARTS & AUTOMOTIVE
50 FOOD PROCESSING
ส่องสัญญาณตลาดโลก จับทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารในยุค 4.0
43 ELECTRICAL & ELECTRICITY
52 EXCLUSIVE INTERVIEW
อุตฯ วางโร้ดแมพ ‘สองหัวจักร สามประเด็น สี่ประสาน’ สถาบันไฟฟ้าฯ รับลูกดันไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0
คุณศิริรุจ จุลกะรัตน์ ปี 2560 คาดอุตฯ ไทยโตต่อเนื่อง แนะผู้ประกอบการสแตนด์บายพร้อมปรับตัวรับโลกดิจิทัล
30 INTERVIEW
ADVANTECH ผู้น�าด้านผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นอัจฉริยะ พร้อมส่งมอบผลิตภัณฑ์คุณภาพ เพื่อตอบทุกโจทย์ด้านอุตสาหกรรม 4.0 34 TECH FOCUS
FinTech เทคโนโลยีใหม่ทางด้านการเงินทีผ่ บู้ ริหารต้องรู้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
p.40
p.52
p.55
p.46
p.59 p.28
p.50 55 INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT
59 RENEWABLE ENERGY
ผ่า ‘เครื่องยนต์เศรษฐกิจไทย 4.0’ New Engines of Growth ประตูสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
วิกฤตพิชิตโอกาส พลังงานทดแทนไทย 62 RENEWABLE ENERGY TECHNOLOGY
58 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY
บีโอไอคลอดมาตรการส่งเสริมเทคโนโลยี เพิ่มสิทธิประโยชน์จูงใจลงทุนเทคโนโลยีเป้าหมาย
รู้ทัน…เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
issue 170 april 2017
editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
ISSN: 1685-7143
เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th
สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านทุกท่าน Aging Society, Policy Change, Climate Change, Made in China 2025, High Mix Low Volume ทั้ง 5 Keywords ถือเป็นส่วนหนึ่งของ External Factor ที่ส�ำคัญในยุค Industry 4.0 อย่ำงเช่น กำรที่ อีก 10 ปีขำ้ งหน้ำ ไทยจะเข้ำสูย่ ุคของ Aging Society อย่ำงเต็มรูปแบบ ดังนั้น สิง่ ทีจ่ ะส่งผลกระทบอย่ำงเด่นชัด ในภำคของอุตสำหกรรมกำรผลิต เห็นจะได้แก่เรือ่ งของ Labor Intensive หรือกำรขำดแคลนแรงงำนในวัยท�ำงำน หรือปรำกฏกำรณ์ที่ก�ำลังสร้ำงควำมตื่นตัวของโลกอย่ำง Made in China 2025 หรือกำรที่ประเทศจีนตั้งเป้ำว่ำ จะเป็นผู้น�ำในกำรผลิตสินค้ำในระดับ Hi-End ซึ่งนับเป็นกำรสร้ำงปรำกฏกำรณ์ที่ท�ำให้นักธุรกิจ ผู้ประกอบกำร ต้องจับตำมอง รวมทั้งปรับกลยุทธ์ทำงธุรกิจอย่ำงรวดเร็ว ส�ำหรับเรือ่ งของ High Mix Low Volume หรือควำมต้องกำรของลูกค้ำทีม่ มี ำกขึน้ ในกำรทีจ่ ะผสมผสำนชิน้ งำน ให้ได้ตำมที่ต้องกำร แต่ในขณะที่ค�ำสั่งต่อยอดกำรผลิตนั้นลดลงก็เป็นอีกหนึ่งโจทย์ ซึ่งนับว่ำเป็นควำมท้ำทำย ที่ผู้ประกอบกำรต้องพบเจอในยุคที่มีกำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ อำทิ โจทย์ในกำร Set Up ไลน์กำรผลิตให้เร็วขึ้น มีฟังก์ชั่นในกำรรองรับกระบวนกำรผลิตที่หลำกหลำยขึ้น เป็นต้น อย่ำงไรก็ตำม ยังมีอีกหลำยๆ Internal Factor ด้วยกันในกำรน�ำมำวิเครำะห์เพื่อปรับแก้โจทย์ของแต่ละ องค์กรผสำนไปกับกำรค�ำนึงถึงเรือ่ งรำวของ Economic, Environmental และ Social หรือแนวทำงทีค่ วรค�ำนึงถึง ในกำรพัฒนำองค์กรอย่ำงยั่งยืนนั่นเองค่ะ ส�ำหรับ MODERN MANUFACTURING ฉบับนี้ คุณศิริรุจ จุลกะรัตน์ ผู้อ�ำนวยกำร ส�ำนักงำนเศรษฐกิจ อุตสำหกรรม (สศอ.) มีกำรวิเครำะห์แนวโน้มของ 10 อุตสำหกรรมกลุ่มเป้ำหมำย ตลอดจนค�ำแนะน�ำถึง ผู้ประกอบกำรในเรื่องกำรปรับตัวให้สอดคล้องกับเทรนด์เศรษฐกิจดิจิทัล ในคอลัมน์ EXCLUSIVE INTERVIEW นะคะ อีกหนึง่ คอลัมน์ทไี่ ม่ควรพลำด คือ RENEWABLE ENERGY โดยคุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธำนกิตติมศักดิ์ กลุ่มอุตสำหกรรมพลังงำนทดแทน สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องวิกฤตพิชิตโอกำส พลังงำน ทดแทนไทย ซึง่ มีกำรวิเครำะห์ถงึ อะไรคือวิกฤต อะไรคือโอกำสของพลังงำนทดแทนไทยได้อย่ำงน่ำสนใจทีเดียวค่ะ ติดตำมเรื่องอื่นๆ ภำยในเล่ม และพบกันใหม่ฉบับหน้ำนะคะ
Strip Ad_FactoryEasy.pdf 1 12/13/2016 3:14:18 PM
C
M
Y
จิรภัทร ข�าญาติ บรรณำธิกำรบริหำร
WWW. FACTORYEASY.COM
ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ กองบรรณำธิกำร: ทศธิป สูนย์สำทร, จีรพร ทิพย์เคลือบ บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัติ เพ่งพินิจ ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, พรเลขำ ปั้นนำค ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936
Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Staff: Thossathip Soonsarthorn, Jeeraporn Thipkhlueb Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936
CM
MY
หากคุณกำลังมองหาสินค าสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม WWW.FACTORYEASY.COM มีสินค าให เลือก มากกว า 10,000 ชิ�น
CY
CMY
K
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
news & UPDATE
19
บริษัทผู้ผลิตสวีเดนใช้เทคโลยีจ�าลอง การออกแบบทางวิศวกรรม National Electric Vehicle Sweden (NEVS) ได้พยายามลดต้นทุนและเพิม่ ความคล่องตัวในการออกแบบ ให้กบั วิศวกรด้วยระบบจ�าลองการท�างานด้านวิศวกรรม ด้วยระบบทีช่ อื่ ว่า Virtual Desktop Infrastructure (eVDI) ซึง่ ช่วยลดต้นทุน เพิม่ ความคล่องตัวในการท�างานส�าหรับนักอุตสาหกรรมการผลิต โปรแกรมดังกล่าวสามารถจ�าลองชิ้นงานที่ท�างานได้ยาก หรือมีน�้าหนักที่มากออกมาเป็นข้อมูลภาพ เพือ่ จ�าลองสถานการณ์และการใช้งานขึน้ มา โดย NEVS นัน้ ได้ถอื ครองบริษทั SAAB ทีล่ ม้ ละลายในปี 2012 และท�าการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึน้ อีกมากมาย Source: https://goo.gl/K5myJi
Airbus ขายธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวกับอาวุธ Defense Electronics บริษัทในเครือ Airbus Group ได้ประกาศขายเทคโนโลยีของตน ซึ่งเป็นผู้ผลิต ระบบที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงและเซ็นเซอร์ตรวจจับต่างๆ ที่ใช้งานทางการทหาร ที่แม้ว่าจะตั้งอยู่ในประเทศ เยอรมนีแต่มีพนักงานอยู่ทั่วโลกด้วยแรงงานกว่า 4 พันชีวิต ภายหลังการถ่ายโอนบริษัทจะถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Hensoldt โดย Airbus ได้ให้เหตุผลในการขาย กิจการครั้งนี้ว่า ต้องการพุ่งเป้าไปที่การพัฒนาผลิตภัณฑ์อัจฉริยะซึ่งเป็นกระแสหลักมากกว่า ซึ่งความสนใจ ดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับเครื่องมือและระบบดิจิทัลที่เกี่ยวกับอากาศยานและยานอวกาศ Source: https://goo.gl/TfzMzg
นวัตกรรมยานยนต์เมืองน�้าชากับความนิยม ณ แดนมังกร
ด้วยความสัมพันธ์ทางด้านการค้าการลงทุนทีเ่ พิม่ มากขึน้ ระหว่างสหราชอาณาจักรกับจีน ท�าให้เกิดโอกาสทีน่ วัตกรรมจาก กลุม่ ธุรกิจของสหราชอาณาจักรแลกเปลีย่ นกับประเทศคูค่ า้ ทีม่ คี วามสนิทสนมกันมากขึน้ เ ซึง่ เป็นแนวคิดของ Kieron Salter, Managing Director บริษทั ผูใ้ ห้บริการทางวิศวกรรมระดับสูงอย่าง KWSP แนวโน้มส�าหรับประเด็นดังกล่าวเป็นผลมาจากการทีห่ น่วยการค้าระหว่างประเทศแห่งสถานทูตอังกฤษ ได้จดั โปรแกรม ส�าหรับบริษทั นวัตกรรมของอังกฤษและผูป้ ระกอบการชาวจีนให้ได้พบปะแลกเปลีย่ นประสบการณ์กนั โดยมีเป้าหมายอยูใ่ น พืน้ ทีข่ อง Beijing Tianjin และ Shanghai ส�าหรับภาคตะวันออกของจีน ซึง่ ท�าให้ผผู้ ลิตชิน้ ส่วน OEM และเหล่านวัตกรได้ แลกเปลีย่ นและเปิดโลกทัศน์ซงึ่ กันและกัน ส่งผลไปยังตลาดผูผ้ ลิตของจีนทีจ่ ะมีการพัฒนาต่อไปในระยะเวลาไม่นานนับจากนี้ Source: https://goo.gl/vNES5H
โปรคิวเมนต์จับมือ JinQiangLaser เปิดตัวเทคโนโลยี Laser ทรงพลังยกระดับงานโลหการ บริษทั โปรคิวเมนท์ เซนเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดงานเปิดตัวสินค้ารุน่ ใหม่จาก JinQiang Laser CNC Equipment Co., Ltd. รุน่ JQ 1530-C Fiber Laser 750W เครือ่ งเลเซอร์ตดั แผ่นเหล็กและท่อก�าลังสูง เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2560 ณ บริษทั โปรคิวเมนต์โดยคุณโอบสกุล วีนะกุล กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั โปรคิวเมนท์ และ Mr. Li Xinghua ผูจ้ ดั กำรฝ่ำยกำรตลำด บริษทั JinQuang ต่างแสดงให้เห็นถึงแนวคิดทีม่ ตี อ่ ตลาดอุตสาหกรรม ประเทศไทยได้อย่างน่าสนใจ “ด้วยประสบการณ์ความเชีย่ วชาญกว่า 15 ปี ของเราสามารถตอบโจทย์การเติบโตของแวดวงอุตสาหกรรมของ ประเทศไทยยุค 4.0 ได้เป็นอย่างดี ซึง่ จะตอบสนองต่อศักยภาพของบริษทั และแรงงานของประเทศไทย ซึง่ ใส่ใจใน ความละเอียดและเชีย่ วชาญในการสร้างผลิตภัณฑ์ โดยในประเทศไทยผูผ้ ลิตนัน้ ต่างมีเครือ่ งจักรชัน้ น�าของโลกอยูค่ รบครัน แสดงให้เห็นถึงการลงทุนและเม็ดเงิน ทีเ่ คลือ่ นตัวอยูม่ าก แต่กเ็ ป็นเฉพาะกลุม่ บริษทั รายใหญ่ ซึง่ ถือเป็นกลุม่ ทีม่ คี วามจ�ากัดยังไม่เข้าถึงกลุม่ ของ SME สักเท่าไหร่นกั หากภาครัฐผลักดันให้ผปู้ ระกอบการ SME ไปแสดงสินค้าในต่างประเทศได้ จะเกิดการเติบโตของเม็ดเงินมากกว่านีอ้ กี มากนัก” คุณโอบสกุลกล่าว “ประเทศไทยนัน้ ถือว่ามีแนวโน้มและโอกาสการลงทุนส�าหรับงานอุตสาหกรรมทีม่ พี ลัง ตลาดเมืองไทยถือเป็นทีแ่ รกของบริษทั เรา ซึง่ สามารถขายได้กว่า 400 เครือ่ ง ประเทศไทยถือเป็นพืน้ ทีส่ า� คัญของงานอุตสาหกรรมในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเหมือนฮับส�าหรับโปรโมทสินค้าเราในภูมภิ าคนี”้ Mr. Li กล่าวเสริม และส�าหรับงาน Metalex 2017 ทีจ่ ะจัดขึน้ ในวันที่ 22 – 25 พฤศจิกายน 2560 ทีศ่ นู ย์ประชุม BITEC นัน้ บริษทั ฯ ตัง้ ใจน�าเสนอ Fiber Laser ทีม่ กี า� ลังสูงถึง 8 kW ตอบสนองต่อการตัดแผ่นโลหะทีม่ คี วามหนามาก ซึง่ ถือเป็นตัวแรกของประเทศไทยอีกด้วย
issue 170 april 2017
20 SUPPLIER INDEX april 2017
หน้า
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
0-2231-8137
www.comau.com
A HISTORY OF EXCELLENCE. A FUTURE OF INNOVATION.
ไซ-อาร์กัส บจก.
0-2319-9933
www.zi-argus.com
Everything Under Control
เทค คอร์ปอเรชั่น 3, 30-33 แอดวานซ์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2248-3140
www.advantech.co.th
ผู้น�าด้านผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นอัจฉริยะ
1, 26-29 คอมาว (ประเทศไทย) บจก. 2
4
เจเอสอาร์กรุ๊ป
0-2327-0351-5
www.jsr.co.th
เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม
5
เอบีบี บจก.
0-2665-1000
www.abb.com
ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูง และไฟฟ้าแรงต�่า
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์ จากประเทศเยอรมนี
6, 21-22 คอมโพแม็ก บจก. 7
ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.
0-2717-1400
www.irct.co.th
Leader in Test and Measurement
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลัง หมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.
0-2379-1611-12 www.tvp.co.th
จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม
10
ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.
0-2632-9292
www.hitachi.co.th
SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE
11
ไทยโพลิเมอร์ ซัพพลาย บจก.
0-2750-4852-8
www.thaipolymer.co.th
ผู้น�าในด้านพลาสติกวิศวกรรม ผลิตชิ้นส่วนพลาสติก งานสั่งท�า ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย และ ประสบการณ์ด้าน สินค้าและบริการ มากกว่า 30 ปี
15
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการ ท�างานในเครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.
0-2637-5115
www.ikont.co.jp/eg
"IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”
47
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
www.interlink.co.th
คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง
48
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71 www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
81
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach
82
การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก. 0-2396-1134-6
www.gardnerdenver.com
Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.
83
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็น ทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
84
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8
www.alphac.co.th
- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
24-25
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”
•
Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.
• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115
Fax: +66 (0)2-637-5116
Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.
C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.
Needle Bearings Machine elements essential to any industry
Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large
Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics
26 cover story
‘คอมาว’ เปิดตัวโรบอทส์ความเร็วสูงสุด ชูจุดเด่นโมดูลาร์ดีไซน์ พร้อมลุย System Services
ชื่อของ ‘คอมาว’ ได้รับการกล่าวถึงในระดับโลกทั้งในฐานะผู้น�าด้านสินค้ากลุ่มโรบอทส์เพื่ออุตสาหกรรม รวมไปถึงในฐานะผู้ให้บริการออกแบบ ให้ค�าปรึกษา และติดตั้งระบบไลน์การผลิตแบบออโตเมชั่น เพียง 2 ปีที่เริ่มเปิดตลาดบ้านเรา วันนี้ คอมาว (ประเทศไทย) ก็สร้างชื่อจนได้รับความเชื่อมั่น ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนจนติดตลาดเช่นกัน เปิดศักราชใหม่ คอมาว (ประเทศไทย) ยังรุกหนักอย่างต่อเนื่อง โดยเปิดตัวโรบอทส์รุ่นล่าสุดอีก 2 รุ่น ทั้ง SCARA และ Articulate Robot ที่จะปฏิวัติวงการ ด้วยจุดแข็งโมดูลาร์ดีไซน์ พร้อมความเร็วในการท�างานที่น่าเหลือเชื่อ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรมไทยให้สู้กับตลาดโลกได้ ร่วมพูดคุยกับ คุณขจัดภัย อารีประเสริฐสุข Managing Director จาก คอมาว (ประเทศไทย) จ�ากัด ถึงการเปิดตลาดด้านบริการออกแบบและติดตั้ง ระบบไลน์การผลิต หลังจากสั่งสมประสบการณ์ องค์ความรู้ ความเชี่ยวชาญจนแน่นปึ้ก พร้อมลุย System Services เต็มรูปแบบได้ในฉบับนี้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
cover story 27
‘RebelS6’ น้องใหม่ในรูปแบบ SCARA ก่อกบฏด้วยโมดูลาร์ดีไซน์ คุณขจัดภัย อารีประเสริฐสุข Managing Director จาก คอมาว (ประเทศไทย) เริ่มจากการแนะน�าให้รู้จักกับโรบอทส์ รุ่นใหม่ในตระกูล SCARA ที่ชื่อ ‘RebelS6’ ซึ่งเคลื่อนไหวได้ 4 แกนหมุนอิสระ เน้นการใช้งานในอุตสาหกรรมที่ต้องการ ความเร็วสูง เหมาะกับชิน้ งานขนาดเล็ก และผลิตหรือบรรจุทลี ะ มากๆ โดยมีวงรอบ (Cycle) ในการท�างานน้อยกว่า ครึ่งวินาที ตามวิธีการทดสอบแบบมาตรฐานอุตสาหกรรม RebelS6 สามารถรับน�้าหนักที่ปลายแขนได้ถึง 6 กิโลกรัม และมีให้ลูกค้าเลือก 3 รุ่น ตามระยะเอื้อม (Reach) ของแขน ได้แก่ ระยะ 45, 60 และระยะ 75 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับความ ต้องการของแต่ละภาคอุตสาหกรรม การออกแบบระบบ และ ขนาดของไลน์การผลิตของลูกค้าแต่ละราย “เช่น อุตสาหกรรมการผลิตช็อคโกแลต เครือ่ งจักรผลิตทีละ 200 ชิน้ ต่อวินาที วิง่ ลงสายพาน แพ็คลงกล่อง หรืออุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อย่างการผลิตปลั๊กไฟ ซึ่งเป็นการผลิตที่ต้องการ ความรวดเร็วและแม่นย�าในการหยิบวางชิ้นส่วนเล็กๆ” คุณขจัดภัย ชูจุดเด่นว่า สินค้าของคอมาวใช้การออกแบบ แยกชิ้นส่วน หรือ Modular Design ซึ่งหมายความว่า ลูกค้า สามารถอัพเกรด หรือดัดแปลงเครื่องได้ตามความต้องการ เมื่อมีการปรับปรุงไลน์การผลิตโดยไม่ต้องลงทุนใหม่ทั้งระบบ
คุณขจัดภัย อารีประเสริฐสุข Managing Director คอมาว (ประเทศไทย)
• RebelS6
“Rebel แปลว่า กบฏ ซึ่งคือการปฏิวัติทางความคิด เราคิด นอกกรอบด้วยการออกแบบในมุมมองของผูใ้ ช้ Modular Design จึงเป็นค�าตอบ วันนี้ ลูกค้าซือ้ ที่ RebelS6 ทีร่ ะยะเอือ้ มแขน 45 ซม. เพราะ ไลน์การผลิตยังเล็ก สายพานยังแคบอยู่ ในอนาคต ลูกค้าขยาย กิจการ ต้องการโรบอทส์ทใี่ หญ่กว่านี้ ก็สามารถซือ้ เฉพาะโมดูล เพื่อเพิ่มระยะเอื้อมขยายเป็นขนาด 60 หรือ 75 ซม. ได้โดย ไม่ต้องลงทุนใหม่ทั้งระบบ หรือกระทั่งวิธีการติดตั้งก็เป็นแบบ Modular โรบอทส์ ของเราไม่จ�าเป็นต้องวางบนพื้น แต่ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยน เพื่อติดผนัง หรือแขวนบนฝ้าได้ จึงเหมาะกับการใช้งานในทุก รูปแบบและทุกอุตสาหกรรม” คุณขจัดภัยกล่าวถึงจุดเด่นของ RebelS6 Robots ติดสปีดให้ไลน์การผลิตด้วย ‘Racer 5L’ โรบอทส์สุดยอดนักแข่ง เบา อึด และเร็วที่สุด น�้าหนักเบา รับน�้าหนักได้มาก แขนยาว และท�างานได้เร็ว ที่สุด Racer 5L เป็นโรบอทส์ขนาดเล็กที่มีน�้าหนักเครื่องเพียง 22 กิโลกรัม เคลื่อนไหวได้ 6 แกนอิสระ และรับน�้าหนักที่ ปลายแขนได้ถงึ 5 กิโลกรัม และมีระยะเอือ้ มเพิม่ ขึน้ เป็น 80 ซม. เพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้า และทีส่ า� คัญ คือ เป็นโรบอทส์ ทีม่ คี วามเร็วในการท�างานมากทีส่ ดุ ในโลก เมือ่ เทียบกับโรบอทส์ คลาสเดียวกัน อีกจุดเด่น คือ วัสดุทที่ า� จาก ‘อะลูมเิ นียมแมกนีเซียมอัลลอยด์’ ซึ่งเป็นวัสดุเดียวกับที่ท�ากล้อง DSLR จึงมีความแข็งแรง ความ ทนทาน และการตอบสนองการใช้งานทีค่ วามเร็วสูง แต่มนี า�้ หนัก เบา “Shutter Speed ของกล้องดิจิทัลมีความเร็วสูงมาก ท�าให้ เกิดแรงสั่นสะเทือนมหาศาล ท�าให้เกิดการสั่นไม่หยุด ในทาง วิศวกรรมเรียกว่า การสั่นพ้อง หรือ Resonance ตัวอย่าง การสร้างสะพาน ต้องค�านวณเรื่องความถี่และการสั่นสะเทือน เพราะสะพานจะสะบัดด้วยความถี่ค่าหนึ่งจากลม จากพื้นดิน ที่คอสะพาน และจากรถยนต์ที่วิ่ง ถ้าปล่อยให้มีการสั่นพ้อง เพราะการเลือกใช้โครงสร้างและวัสดุที่ไม่เหมาะสม สะพาน จะสั่นจนขาด เช่น สะพาน Tacoma Narrows Bridge ใน สหรัฐอเมริกา ในทางวิศวกรรมคอมาวจึงใช้อลั ลอยด์แก้ปญ ั หานี้ ในโรบอทส์ก็เช่นกัน ความถี่และความสั่นสะเทือนจากการ ท�างานในความเร็วสูง จะท�าให้โรบอทส์สนั่ พ้องไม่หยุดเนือ่ งจาก ความถีธ่ รรมชาติของวัสดุทใี่ ช้ในการสร้าง อย่างเช่น อะลูมเิ นียม หรือพลาสติก ซึ่งเป็นที่นิยมเพื่อลดต้นทุนการผลิต คอมาวจึง เลือกอะลูมิเนียมแมกนีเซียมอัลลอยด์” คุณขจัดภัยให้ความรู้ เพิ่มเติม issue 170 april 2017
28 cover story
มีขอ้ มือ สามารถหยิบของพลิกไปมาได้ จึงท�างานด้วยความเร็ว ที่ช้ากว่าเล็กน้อย” คุณขจัดภัยยกตัวอย่างให้เห็นภาพ
• Racer 5L
เมือ่ เทียบ Rebel Robots กับ Racer 5L คุณขจัดภัยชีใ้ ห้เห็น ถึงความแตกต่าง โดยเปรียบเทียบง่ายๆ กับการท�างานของแขน มนุษย์ว่า... RebelS6 Robots คือ การหยิบวางของขึ้น-ลง และหมุนไป ซ้าย-ขวา โดยไม่มีการพลิกข้อมือ ส่วน Racer 5L สามารถท�าได้มากกว่านั้น เพราะมีข้อมือ ที่สามารถพลิก ตะแคง หรือหมุนตัวชิ้นงานได้ เหมือนเราเสียบ กุญแจไขประตูบ้าน “ถ้าเราเคลือ่ นชิน้ งานบนสายพานจากจุดหนึง่ ไปอีกจุดหนึง่ โดยไม่ตอ้ งพลิกชิน้ งานเลยตลอดไลน์การผลิต RebelS6 Robots คือค�าตอบ แต่ถา้ ต้องพลิก ต้องตะแคง ต้องเอียงชิน้ งาน Racer 5L เป็นตัวเลือกที่ตอบโจทย์หรือหากเปรียบกับการใช้แขนของคน คือ RebelS6 ไม่มกี ารใช้ขอ้ มือ จึงเคลือ่ นทีเ่ ร็วกว่า ส่วน Racer 5L
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ประสบการณ์แน่น พร้อมลุยงานบริการออกแบบและวางระบบ งาน System Services หรือ บริการออกแบบ วางแผน ให้ ค� า ปรึ ก ษา ตลอดจนติ ด ตั้ ง ระบบไลน์ ก ารผลิ ต นั บ เป็ น โปรดักส์หลักของคอมาวมาโดยตลอด ทว่า คอมาว (ประเทศไทย) กลับเพิง่ เริม่ ด�าเนินการบริการส่วนนีอ้ ย่างจริงจัง โดยคุณขจัดภัย ให้ เ หตุ ผ ลไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจว่ า ความรู ้ ค วามสามารถและ ประสบการณ์ ข องบุ ค ลากร รวมถึ ง การสร้ า งเครื อ ข่ า ยของ ผู้รับจ้างช่วง ตลอดจนความเชื่อถือและไว้วางใจในแบรนด์ เป็นสิ่งที่ต้องสร้างก่อน “2 ปีที่แล้ว เราตัดสินใจเปิดตัวด้วยสินค้าโรบอทส์รุ่นต่างๆ เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ในแบรนด์ส่วนงานด้านวิศวกรรม การออกแบบและสร้างไลน์การผลิตต้องใช้เวลาในการสร้าง ความแข็งแกร่งของทีมงาน ถ้าเรารับงานเลย ลูกค้าของเราอาจจะ ประสบกับความไม่สมบูรณ์แบบ อาจจะต้องน�าเข้าบุคลากรจาก ต่างประเทศ ซึ่งท�าให้ต้นทุนเราสูงเกินไป แถมยังไม่ยั่งยืนด้วย อย่างไรก็ตาม ในทีส่ ดุ ตลาดไทยเริม่ รูจ้ กั และเชือ่ มัน่ ในผลิตภัณฑ์ ของเรา ประกอบกับการมีบคุ ลากรทีม่ ปี ระสบการณ์ มีเครือข่าย ที่ดี และพื้นฐานที่แข็งแกร่งจากประสบการณ์ยาวนานของ คอมาวส�านักงานใหญ่ ตอนนี้เราจึงพร้อมที่จะรับงาน มั่นใจว่า ลูกค้าจะได้งานที่จบในเวลาและค่าใช้จ่ายที่คุ้มค่าเหมาะสม” คุณขจัดภัยกล่าว ทัง้ นี้ กลุม่ เป้าหมายของงานบริการแทบจะเป็นกลุม่ เดียวกับ กลุ่มเป้าหมายของสินค้าโรบอทส์ของคอมาว (ประเทศไทย) คือ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และอาหารและ เครื่องดื่ม นั่นเพราะทั้งหมดเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่ต้องการ โรบอทส์และระบบออโตเมชั่นความเร็วสูง แม่นย�า และท�าได้ ทีละมากๆ
cover story 29
โดยสิง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องตระหนักมีเพียง 3 ข้อเท่านัน้ คือ หนึง่ ตัวผูป้ ระกอบการมีใจทีพ่ ร้อมจะเปิดรับนวัตกรรมและ ลงทุนในระบบใหม่นี้หรือไม่ สอง บุคลากรมีความรู้ในการใช้งานและบ�ารุงรักษาระบบ หรือยัง และสาม เลือกซัพพลายเออร์ทมี่ คี วามรูค้ วามสามารถ และ ประสบการณ์ทมี่ ากพอจะออกแบบ วางแผน ให้คา� ปรึกษา และ ติดตั้งระบบให้ใช้งานได้จริง “ผมมองว่า ขณะนี้คือโอกาสอันดีมากๆ เพราะรัฐบาล สนับสนุนทั้งด้านองค์ความรู้ งานวิจัย การลงทุน และสิทธิ ประโยชน์ต่างๆ แต่ที่ส�าคัญกว่าปัญหาด้านการเงิน หรือการ ลงทุน คือ ความรู้และประสบการณ์ที่จะรับมือกับระบบใหม่ ทั้งบุคลากร และผู้บริหาร” คุณขจัดภัยวิเคราะห์
Internet of Things และอุตสาหกรรม 4.0 หัวใจคือการเชื่อมโยงและการสื่อสาร ขึน้ ชือ่ ว่าเป็นออโตเมชัน่ และโรบอทส์ ย่อมต้องเกีย่ วข้องกับ Internet of Things ซึง่ คุณขจัดภัยกล่าวว่า นีค่ อื พืน้ ฐานของสินค้า คอมาวทุกตัวเพราะระบบมีความพร้อมรองรับการเชือ่ มต่อและ สื่อสารกันได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยสินค้าทั้งหมดเลือกใช้ ชุดระบบประมวลผลของบริษัท B&R “สมัยก่อน หากโปรดักชัน่ สะดุด เช่น เกิดปัญหาในขัน้ ตอน C โดยกระบวนการข้างหน้าทั้ง A และ B ไม่มีปัญหาผู้คุมต้อง ไปสั่ ง งานผ่ า นตามขั้ น ตอนเพื่ อ ให้ ก ระบวนการ A และ B ลดความเร็วลง เพือ่ รอการแก้ไขทีก่ ระบวนการ C แต่ Internet of Things และ 4.0 เครื่องจักรเขาคุยกันเองได้ หาก C ขัดข้อง C จะบอก A และ B เองว่า ช่วยช้าลงหน่อยฉันมีปัญหาอยู่ โรบอทส์ของเราทุกรุ่น ใช้ชุดประมวลผลของบริษัท B&R จากประเทศออสเตรีย เพื่อให้โรบอทส์แต่ละตัวมีความพร้อม ในการเชื่อมโยงเป็นเน็ตเวิร์คได้ แต่ละตัวจะสามารถสื่อสารกัน ผ่านเครือข่าย อาจจะเป็น Wi-Fi หรือ Mobile Network เช่น 4G หรือ 5G โดยในงาน PROPACK ที่ก�าลังมาถึงในเดือนพฤษภาคมนี้ โรบอทส์ของคอมาวจะร่วมกับระบบควบคุมของ B&R แสดงให้ เห็นการพูดคุยและสือ่ สารระหว่างตัวเครือ่ งจักร ให้ลกู ค้าได้เห็น ภาพ 4.0 และ Internet of Things ที่แท้จริง” คุณขจัดภัยกล่าว และเมื่อกล่าวถึงเทรนด์ 4.0 ที่ก�าลังเป็นทั้งความหวังและ ความหวาดกลัวของผู้ประกอบการในประเทศ คุณขจัดภัย กล่าวว่า เป็นเทรนด์ใหม่ที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรมทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพ รวมถึงเพิม่ ความ สะดวกสบายและแม่นย�าได้มากขึ้น
COMAU Academy ปั้นนักบริหารยุค 4.0 เนื่ อ งจากคอมาวเข้ า มาเล่ น ในตลาดกลุ ่ ม โรบอทส์ แ ละ ออโตเมชัน่ เป็นกลุม่ แรกๆ ของโลก ประสบการณ์ทผี่ า่ นมา ท�าให้ ตระหนักว่า ปัญหาของวงการนี้ ไม่ใช่ตัวสินค้า ไม่ใช่การพัฒนา เทคโนโลยี ไม่ใช่ผจู้ ดั จ�าหน่าย แต่คอื ความรูข้ องคนหรือบุคลากร COMAU Academy ที่เริ่มต้นจากความต้องการปั้น Project Manager เชิงวิศวกรรม ปัจจุบัน เปิดหลักสูตรใหม่ส�าหรับ ผู้บริหารแล้ว “เมื่อก่อน ผู้บริหารดีลงานกับคน หากเครื่องจักรมีปัญหา ก็เรียกคนมาซ่อม แต่ยุคใหม่ เราต้องการผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์และความรู้ ต้องดีลกับเครื่องจักร ต้องใช้ความรู้ในการบริหารงานด้าน ออโตเมชั่น ซึ่งแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง คอมาวจึงเปิดหลักสูตร ส�าหรับผู้บริหารร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อิตาลี ฝรั่งเศส และ อังกฤษ มีทงั้ การอบรมแบบบรรยายและไปดูโรงงาน ดูระบบจริง ที่ต่างประเทศ ขณะนี้ผู้ประกอบการจีนซึ่งเป็นประเทศที่มี การเติบโตสูงในงานควบคุมแบบอัตโนมัติสนใจหลักสูตรนี้และ สมัครเข้ามาจ�านวนมาก หลักสูตรนี้ เน้นเรียนภาพกว้าง ไม่เจาะลึกทางด้านเทคนิค แต่ตอ้ งเข้าใจองค์รวม ต้องมองภาพใหญ่ให้ออก ไปอบรมให้รวู้ า่ โปรดักชั่นเปลี่ยน คุณจะบริหารและปรับเปลี่ยนระบบอัตโนมัติ อย่างเช่นหุ่นยนต์อย่างไรให้ได้งานจากเครื่องจักรที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และเต็มประสิทธิภาพ” คุณขจัดภัย ให้ภาพ ทั้งนี้ COMAU ยังเปิดรับสมัครนักศึกษาจบใหม่ทั่วโลก ซึ่ง นอกจากจะได้ท�างาน มีรายได้แล้ว ยังให้เรียนหลักสูตรชั้นสูง ฟรีด้วย อย่างทีค่ ณ ุ ขจัดภัยกล่าวว่า เทรนด์ 4.0 ทีก่ า� ลังปฏิวตั วิ งการ อุตสาหกรรมทั่วโลกในขณะนี้ หาใช่อุปสรรคและความน่ากลัว ในทางกลับกัน คือ โอกาสและความหวัง ซึ่งอุตสาหกรรมต้อง ปรับตัวให้ไว แน่นอนว่า ความเปลี่ยนแปลงมีราคาที่ต้องจ่าย แต่การ ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง อาจหมายถึงราคาที่มากกว่านั้นหลาย เท่านัก เพราะมันอาจหมายถึงการตกขบวน และสูญเสียความ สามารถในการแข่งขันไปโดยสิ้นเชิง “ไอน์สไตน์เคยบอกว่า มีแต่คนบ้าเท่านั้น ที่หวังว่าผล จะเปลี่ยนไป ทั้งๆ ที่ยังท�าแบบเดิม” คุณขจัดภัยทิ้งท้าย issue 170 april 2017
30 interview
ผู้น�ำด้ำนผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นอัจฉริยะ
พร้อมส่งมอบผลิตภัณฑ์คุณภำพ เพื่อตอบทุกโจทย์ด้ำนอุตสำหกรรม 4.0
หนึ่งในบริษัทชั้นน�ำที่มีควำมพร้อมต่อกำรรองรับควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีที่เป็นผลสืบเนื่องจำก อุตสำหกรรม 4.0 ที่เห็นได้อย่ำงชัดเจน นั่นคือ บริษัท แอดวานซ์เทค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ากัด โดย คุณ Chaney Ho ประธาน บริษัท แอดวานซ์เทค คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด ได้เล่ำว่ำ แอดวำนซ์เทค ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 เป็นผู้น�ำในกำรจัดหำผลิตภัณฑ์ โซลูชั่นนวัตกรรม และอัตโนมัติท่ีมีควำมน่ำเชื่อถือ แอดวำนซ์เทคน�ำเสนอบูรณกำรระบบที่ครอบคลุมฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บริกำรกำรออกแบบโดยให้ควำม ส�ำคัญกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ รวมทั้งกำรสนับสนุนด้ำนโลจิสติกส์ทั่วโลก ตลอดระยะเวลำที่ผ่ำนมำ แอดวำนซ์เทคเป็นผูบ้ กุ เบิกในกำรพัฒนำ และผลิตแพลตฟอร์มโปรแกรมทีม่ คี ณ ุ ภำพ และสมรรถนะสูงอยูเ่ สมอ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
interview
31
อีกทั้ง มีการร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจอย่างใกล้ชิด เพื่อน�าเสนอโซลูชั่นที่สมบูรณ์แบบส�าหรับแอปพลิเคชันที่มี ความหลากหลายเพือ่ ให้ตอบสนองการใช้งาน ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ ‘ท�ำให้โลกอัจฉริยะเกิดขึ้นได้จริง’ “บริษัท แอดวานซ์เทค จ�ากัด มีส�านักงานใหญ่ตั้งอยู่ท่ี ประเทศไต้หวัน ปัจจุบันมีส�านักงานขายตั้งอยู่ใน 23 ประเทศ ทั่วโลก และมีพนักงานรวมกันทั่วโลกกว่า 8,000 คน ทั้งนี้ ในกระบวนการผลิ ต จะใช้ โรงงานผลิ ต หลั ก อยู ่ 2 แห่ ง คื อ จีน และไต้หวัน ในปัจจุบันบริษัทก�าลังขับเคลื่อนนวัตกรรม เพือ่ ให้เหมาะสมกับการใช้งานในยุคแห่ง IoT เมืองอัจฉริยะ และ อุตสาหกรรม 4.0” คุณ Chaney กล่าวถึงการบุกเบิกเข้ามาท�าตลาดในเมืองไทย เริม่ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2547 โดยได้มองเห็นศักยภาพและการเติบโต ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยจากการทีม่ ปี ระชากรจ�านวนมาก รวมถึงโอกาสทีจ่ ะได้รบั จากนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ทีภ่ าครัฐ พยายามผลั ก ดั น ให้ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรมและเกิ ด สั ม ฤทธิ์ ผ ล อย่างเต็มรูปแบบ “จากการที่ รั ฐ บาลของประเทศไทยตั้ ง เป้ า จะก้ า วเข้ า สู ่ ยุคอุตสาหกรรม 4.0 อย่างสมบูรณ์ ภายใน 20 ปีต่อจากนี้ ประกอบกับการที่ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมหลักในด้านการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรม อาหาร จึงท�าให้แอดวานซ์เทคมองเห็นโอกาสมากมายที่จะ เกิดขึ้นในประเทศไทย” คุณ Chaney กล่าวเสริม เลือกใช้เทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ สร้ำงผลลัพธ์เกินคำด แรงขับเคลื่อนของเทคโนโลยีที่ส่งผลมาจากอุตสาหกรรม 4.0 มี เ พิ่ ม ขึ้ น องค์ ค วามรู ้ ทั้ ง หลายก็ จ ะถู ก บู ร ณาการและ ปรับเปลี่ยนกระบวนการให้แตกต่างไปจากเดิม มีประสิทธิภาพ มากกว่าเดิม มีผลิตภาพมากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่ หลากหลายและเพิม่ ขึน้ ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการควรมีความตืน่ ตัว พยายามปรับตัว และเลือกใช้เทคโนโลยีทด่ี เี ข้ามาช่วยในการปรับ กระบวนทัศน์ เพือ่ เตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลีย่ นแปลง ที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะเรื่องของแรงงานในอนาคต “จากการที่ ป ระชากรในวั ย ท� า งานลดลงเรื่ อ ยๆ รวมทั้ ง อัตราค่าจ้างแรงงานเพิม่ สูงขึน้ เทคโนโลยีทเี่ ป็นผลสืบเนือ่ งจาก อุตสาหกรรม 4.0 เข้ามามีบทบาทอย่างส�าคัญ เนื่องจาก อุ ต สาหกรรม 4.0 มี จุ ด มุ ่ ง หมายหลั ก ในการเพิ่ ม ผลผลิ ต ประสิ ท ธิ ภ าพ และคุ ณ ภาพ โดยที่ แ อดวานซ์ เ ทคเป็ น ผู ้ น� า ในด้านคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม และการเก็บข้อมูล จึงมี โอกาสทีด่ ใี นการสนับสนุนอุตสาหกรรม 4.0 เนือ่ งจากหากพูดถึง อุตสาหกรรม 4.0 จะเป็นเรื่องของการเก็บข้อมูล เกตเวย์ และการวิเ คราะห์ข ้อมูลขนาดใหญ่เป็นหลัก ซึ่งเป็นส่วนที่ แอดวานซ์เทคมีความเชี่ยวชาญเป็นอย่างดีอยู่แล้ว”
คุณ Chaney Ho ประธาน บริษัท แอดวานซ์เทค คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด
issue 170 april 2017
32 interview
“ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ไฮไลท์ของแอดวานซ์เทคที่สามารถสร้าง ชื่ อ เสี ย งและเป็ น ที่ ย อมรั บ ในวงกว้ า ง ได้ แ ก่ คอมพิ ว เตอร์ ในกลุม่ อุตสาหกรรม ซึง่ ในเรือ่ งนีแ้ อดวานซ์เทคสามารถขึน้ แท่น เป็นผู้น�าในระดับโลกได้อย่างเต็มภาคภูมิ ด้วยการมีส่วนแบ่ง ทางการตลาดทั่วโลกกว่า 30% โดยที่ระบบขนส่งมวลชนอย่าง โครงการรถไฟฟ้าใต้ดนิ และกลุม่ ธนาคารของประเทศไทยมีการ ใช้ผลิตภัณฑ์ของแอดวานซ์เทคกันอย่างแพร่หลาย” น�ำเสนอผลิตภัณฑ์คุณภำพสู่ภำคอุตสำหกรรม ล่าสุดแอดวานซ์เทคตอกย�้าความเป็นผู้น�าด้วยการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ประสิทธิภาพสูงสู่ท้องตลาด นั่นคือ APAX-5580 คอนโทรลไอพีซีประสิทธิภำพสูง ที่ใช้ชิพ ประมวลผล ซีพียู Intel Core i7/i3 และ Celeron ผลิตภัณฑ์นี้ เป็นแพลตฟอร์มควบคุมแบบเปิดทีเ่ หมาะส�าหรับน�าไปใช้รว่ มกับ โมดูล APAX I/O และมีคุณสมบัติส่วนขยาย I/O ที่ยืดหยุ่น ตัวควบคุม I/O แบบตามเวลาจริง ความสามารถด้านเครือข่าย ผ่านอินเทอร์เฟสที่หลากหลาย และสนับสนุนกระแสไฟอินพุท แบบคู่ เพื่อให้มีระบบพลังงานที่ทนทาน นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ยังมีอินเทอร์เฟส Mini PC Express ส� า หรั บ การติ ด ต่ อ แบบไร้ ส าย และเทคโนโลยี iDoor ของ แอดวานซ์เทค APAX-5580 เป็นโซลูชั่นที่ดีที่สุดส�าหรับดาต้า เกตเวย์ ตัวรวมช่องสัญญาณ และแอปพลิเคชันดาต้าเซิรฟ์ เวอร์ การรวมตัวกันอย่างไร้รอยต่อกับ I/O สามารถประหยัดต้นทุน และเติมเต็มขอบเขตที่หลากหลายของโปรเจกต์อัตโนมัติต่างๆ ไม่เพียงเท่านัน้ แอดวานซ์เทคได้พฒ ั นา SRP Solution เพือ่ เข้ามาช่วยในกระบวนการผลิตตัง้ แต่ตน้ กระบวนการจนเสร็จสิน้ การผลิต เพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ พร้อมทัง้ ช่วยอ�านวยความ สะดวกในการบริหารจัดการของสายการผลิต ซึ่งโซลูชั่นดังกล่าว ได้ถูกออกแบบมาเพื่อตอบโจทย์การผลิตให้ง่ายมากยิ่งขึ้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรายังต้องหาวิธีในการผลิตผลิตภัณฑ์ด้วยต้นทุน ที่ต�่าลง ในขณะที่คุณภาพของผลิตภัณฑ์ดียิ่งขึ้นไปเรื่อยๆ เพื่อ ท�าให้ลูกค้าของเราได้รับประโยชน์สูงสุด เพรำะหัวใจส�ำคัญ ของแอดวำนซ์เทคในกำรด�ำเนินธุรกิจ คือ จะต้องแก้ปัญหำของลูกค้ำให้ ได้ ต้องเข้ำใจในปัญหำของพวกเขำ และพยำยำมแก้ปัญหำเหล่ำนั้น ให้ส�ำเร็จ” - Chaney Ho -
“SRP Solution ถูกออกแบบมาให้ใช้ในงานกับแอปพลิเคชัน ที่เฉพาะเจาะจง เช่น เราต้องการติดตามสายการผลิตของ ผลิตภัณฑ์หนึ่ง สิ่งที่เราติดตาม ได้แก่ กระบวนการตั้งแต่การ เริ่มต้นของวัตถุดิบ จนเสร็จออกมาเป็นผลิตภัณฑ์น้ัน โดยจะ ติดตามว่ามีผลิตภัณฑ์ที่ถูกผลิตออกมาเป็นจ�านวนเท่าไหร่ อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ ใ นการผลิ ต ซึ่ ง เราจะดู ว ่ า มี อุ ป กรณ์ อ ะไรบ้ า ง ที่เกี่ยวข้อง เช่น เกตเวย์ หน้าจอแสดงผล ซอฟต์แวร์ เป็นต้น ซึง่ เราจะน�าองค์ประกอบเหล่านัน้ รวมเข้าไว้ดว้ ยกันเป็นแพ็คเกจ ซึ่ ง ผู ้ ใช้ ง านหากอยู ่ ใ นกลุ ่ ม งานเดี ย วกั น ก็ จ ะสามารถใช้ ง าน แพ็คเกจที่เราสร้างขึ้นมาได้ทันที เช่น SRP Solution ส�าหรับ โรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น” คุณ Chaney กล่าวเสริม
interview 33
นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม โซลูชั่น แพลตฟอร์ม โปรแกรมต่างๆ ที่เปี่ยมล้นไปด้วยคุณภาพ ตอบโจทย์ภาค อุตสาหกรรมได้อย่างดีเยี่ยม ได้แก่ - กำรติ ด ตำมสิ่ ง แวดล้ อ มโรงงำน เช่ น การติ ด ตาม คุณภาพสิ่งแวดล้อม การติดตามในด้านฝุ่นละออง และแก๊ส ที่ติดไฟง่าย การติดตามน�้าเสีย - ระบบบริหำรจัดกำรพลังงำนโรงงำน เช่น ระบบบริหาร จัดการพลังงาน ระบบอุปกรณ์อัดอากาศ ระบบระบายอากาศ ถ่ายเทความร้อน - เครื่ อ งจั ก รกลอัต โนมัติ เช่น โซลูชั่นหุ่นยนต์ต่างๆ เซลล์ หุ ่ น ยนต์ วิ ท ยาการหุ่นยนต์ที่น�า ทางด้วยภาพ ระบบ จัดต�าแหน่งด้วยภาพ การตรวจสอบด้วยแสงอัตโนมัติ อุปกรณ์ ทดสอบโดยอัตโนมัติ - กำรบูรณกำร MES และกำรสืบทวนกำรผลิต เช่น ป้ายแสดงอิเล็กทรอนิกส์การผลิตในสถานที่ ระบบการแจ้งเตือน ความผิดปกติ การวางแผนการผลิตอัจฉริยะ แพลตฟอร์มโต้ตอบ การท�างานในแผนก - กำรติดตำมเครือ่ งจักร และกำรบ�ำรุงรักษำตำมทีค่ ำด กำรณ์ไว้ เช่น การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันของวงจรชีวิตอุปกรณ์ การแจ้ ง เตื อ นการท� า งานที่ ผิ ด ปกติ การตรวจตราทางภาพ เคลื่อนไหวระยะไกล และตามเวลาจริง - กำรติดตำมอุปกรณ์ และกำรเพิ่มประสิทธิภำพ เช่น การติดตามตามเวลาจริง การบริหารจัดการสภาพพร้อมใช้งาน ของอุปกรณ์ แพลตฟอร์มการผลิตอัจฉริยะ การบริหารจัดการ อุปกรณ์ปั๊มกด
นึกถึงคอมพิวเตอร์อุตสำหกรรม ต้องนึกถึงแอดวำนซ์เทค ด้วยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยี และโซลูชั่นที่มี ประสิทธิภาพ รวมถึงการให้บริการทีย่ อดเยีย่ ม จึงท�าให้แบรนด์ แอดวานซ์เทคได้รับความไว้วางใจ และสามารถครองใจลูกค้า ได้เป็นอย่างดี เรียกได้วา่ ‘หำกนึกถึงคอมพิวเตอร์อตุ สำหกรรม ต้องนึกถึงแอดวำนซ์เทค’ “แอดวานซ์เทคมีส�านักงานตั้งอยู่ในประเทศไทย ท�าให้ สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างสะดวก รวดเร็ว นั่นคือเหตุผล ที่ลูกค้าเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ของแอดวานซ์เทค อย่ า งไรก็ ต าม พวกเราจ� า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งท� า ความเข้ า ใจ ตลาด เพราะประเทศต่างๆ มีความต้องการที่แตกต่างกัน ซึ่งเรามีพนักงานของเราคอยท�าความเข้าใจกับความต้องการ ต่างๆ เหล่านั้น และเรายังมีทีมวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญ ด้ า นเทคโนโลยี ท� า ให้ เราสามารถน� า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี เทคโนโลยีล�้าสมัยอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ เรายังต้องหาวิธี ในการผลิตผลิตภัณฑ์ด้วยต้นทุนที่ต�่าลง ในขณะที่คุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ดียิ่งขึ้นไปเรื่อยๆ เพื่อท�าให้ลูกค้าของเราได้รับ ประโยชน์สูงสุด เพราะหัวใจส�าคัญของแอดวานซ์เทคในการด�าเนินธุรกิจ คือ จะต้องแก้ปัญหาของลูกค้าให้ได้ ต้องเข้าใจในปัญหา ของพวกเขา และพยายามแก้ปัญหาเหล่านั้นให้ส�าเร็จ” คุณ Chaney กล่ำวทิ้งท้ำย
issue 170 april 2017
34 TECH FOCUS เรื่อง: นเรศ เดชผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
FINTECH
เทคโนโลยีใหม่ทางด้านการเงินที่ผู้บริหารต้องรู้
ตลอดหลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาท ต่อวิถชี วี ติ ของผูค้ นอย่างมาก และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก็เป็นถือเป็นสิง่ ส�าคัญ เพราะเมือ่ เทคโนโลยีมปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ นั่นก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ที่ได้น�ามาใช้ด้วย จากความเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดนิ่งนี้ แน่นอนว่ากลุ่มธุรกิจ ที่จะได้รับผลกระทบเป็นกลุ่มแรกๆ ย่อมไม่พ้นกลุ่มกิจการ อุ ต สาหกรรม ในบางครั้ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น อาจหมายถึงการปฏิวตั วิ งการ ซึง่ ถือได้วา่ เป็นการยกระดับทีร่ นุ แรง จนเทคโนโลยีเก่าที่เคยได้รับความนิยมสูงในอดีตอาจถึงขั้น ล้มหายไปจากวงการกันเลยทีเดียว Disruptive Technology ถูกน�ามากล่าวถึงกันหนาหูมากขึน้ ด้วยเพราะรูปแบบของเทคโนโลยีนี้เป็นรูปแบบใหม่ที่เข้ามา เพื่อสร้างตลาดและมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์หรือบริการให้เกิดขึ้น ที่ส�าคัญก็คือการมาในครั้งนี้คือเข้ามาทดแทนผลิตภัณฑ์หรือ บริการเดิมให้ล้มหายตายจากไป (Disrupt) โดยองค์กรหรือ นักธุรกิจยุคใหม่ที่เรียกธุรกิจของตนว่า ‘StartUp’ และกลุ่ม StartUp นั้น มักจะเน้นการสร้างผลิตภัณฑ์หรือระบบบริการ ทางด้านไอทีเป็นส�าคัญ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
FinTech เป็นเทคโนโลยีทมี่ งุ่ พัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละระบบบริ ก ารโดยมี เป้ า หมายไปที่ ก ลุ ่ ม ธุ ร กรรมการเงิ น 3 กลุ ่ ม หลั ก และมั ก จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ ผู้บริโภคทั่วไปโดยตรง คือ ธุรกรรม การช�าระเงิน การโอนเงินและการบริหาร การเงินส่วนบุคคล ที่น่าประหลาดใจ ก็คือผู้สร้างผลิตภัณฑ์และระบบบริการ หลายรายเป็ น เพี ย งบุ ค คล กลุ ่ ม คน หรือบริษทั ที่ไม่ได้อยูใ่ นวงการธุรกิจด้าน การเงิ น โดยตรง แต่ ก ลั บ สามารถ ตอบโจทย์ผู้บริโภคได้อย่างดีเยี่ยม
TECH FOCUS 35
อันที่จริงการ Disrupt เกิดขึ้นมาโดยตลอดและมีตัวอย่าง ทีพ่ อจะล�าดับให้เห็นถึงการเปลีย่ นแปลงได้ เช่น ยุคหนึง่ เราเคยใช้ รถม้าเป็นพาหนะในการเดินทาง ไม่นานก็ถูกแทนที่ด้วยรถ ที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องจักรน�้า ต่อมาก็เกิดรถยนต์ที่ใช้น�้ามัน เข้ามาทดแทนจนพาหนะสองแบบแรกหายไปจากท้องถนน ในที่สุด ในอนาคตก็ยังไม่แน่ว่ารถยนต์ที่ใช้น�้ามันเป็นเชื้อเพลิง จะยังคงมีให้เห็นบนถนนต่อไปได้อีกนานเท่าใด เพราะรถยนต์ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าก็เริ่มจะเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ การ Disrupt ดูจะเป็นเรือ่ งปกติมากในโลกของเทคโนโลยีไอที และการสื่อสาร ที่ผ่านมาหลายท่านคงได้เห็นการเปลี่ยนถ่าย จากระบบแอนะล็อกไปสู่ระบบดิจิทัลกันมากขึ้น เป็นต้นว่า การสือ่ สารด้วยโทรเลขถูกแทนทีด่ ว้ ยระบบแฟกซ์และถูกแทนที่ อีกครั้งด้วยการสื่อสารผ่านอีเมล กล้องถ่ายภาพแบบฟิล์ม ถูกแทนที่ด้วยกล้องดิจิทัล เพลงและภาพยนตร์ที่บันทึกใน เทปคาสเซ็ทก็กลายมาเป็นไฟล์ดิจิทัลที่สามารถถ่ายโอนและ ท�าส�าเนาได้โดยง่าย หรือโทรศัพท์มือถือแบบทัชสกรีนที่เป็น สมาร์ทโฟนได้รับความนิยมมากขึ้น จนโทรศัพท์มือถือแบบ ปุ่มกดเริ่มมีตัวเลือกลดลงเรื่อยๆ เมื่ อ เทคโนโลยี ไ อที แ ละการสื่ อ สารมี ก ารเปลี่ ย นแปลง ก็ย่อมจะส่งผลดีต่อการด�าเนินธุรกิจเป็นธรรมดา เพราะทุก ธุ ร กิ จ นั้ น ก็ ย ่ อ มต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี ไ อที แ ละการสื่ อ สารเป็ น เครือ่ งมือส�าหรับด�าเนินการอยูแ่ ล้ว ทว่าในทางกลับกันคูแ่ ข่งก็ยอ่ ม ได้รับประโยชน์จากเครื่องมือนี้ด้วย จึงเป็นธรรมดาที่ธุรกิจเดิม จะถูกท้าทายโดยธุรกิจใหม่ที่พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการได้ ดีกว่า ถูกใจผูใ้ ช้มากกว่า ทีส่ า� คัญถูกเงินมากกว่า และสิง่ นีไ้ ด้เกิดขึน้ ให้เห็นแล้วไม่วา่ จะเป็นระบบบริการแท็กซี่ Uber ทีเ่ ข้าแข่งขันกับ แท็กซีเ่ จ้าถิน่ หรือระบบบริการส�าหรับแชร์หอ้ งพักออนไลน์อย่าง Airbnb ก็ยังสู้กับโรงแรมยักษ์ใหญ่ได้อย่างสูสี เป็นต้น
อุตสาหกรรมการเงิน คือ อีกหนึง่ ธุรกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก Disruptive Technology ที่มาในรูปแบบของ FinTech (Financial Technology) ซึ่งเป็นธุรกิจที่ได้มีการน�าเทคโนโลยีไอทีและการ สื่อสารสมัยใหม่มาพัฒนาผลิตภัณฑ์และระบบบริการธุรกรรม ทางการเงินในรูปแบบต่างๆ เพือ่ เสนอบริการทีส่ ามารถตอบโจทย์ ผูบ้ ริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จา่ ย ในส่วนต้นทุนการใช้บริการให้ตา�่ ลงได้ ทัง้ ยังสามารถทีจ่ ะเรียกใช้ บริการผ่านคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารพกพาได้ตลอด 24 ชั่วโมงอีกด้วย แน่นอนว่า FinTech กลายมาเป็นเทคโนโลยีที่สร้างความ ครั่นคร้ามให้แก่ธนาคารและธุรกิจทางการเงินในบ้านเราอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ด้วยพิษสงของ FinTech ธนาคารหลายแห่ง พยายามลดจ� า นวนสาขาลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บางธนาคารก็ ปรับเปลี่ยนสถานะของธนาคารไปเป็นศูนย์บริการด้านการ ลงทุ น แทน และแม้ ธ นาคารหลายแห่ ง จะออกมายื น ยั น ว่ า ผลจากการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ไม่กระทบต่อพนักงานแต่ก็ ส่งผลทางอ้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปัจจุบันธนาคารและธุรกิจ การเงินเจ้าหลักหลายแห่ง เริม่ ทีจ่ ะปรับตัวหันมาสนใจลงทุนสร้าง หน่วยงาน FinTech ของตนขึน้ มาบ้าง ซึง่ ก็ตอ้ งมารอดูกนั ว่าจะมี ผลิตภัณฑ์หรือบริการดีๆ ออกมาให้สู่ผู้บริโภคมากน้อยเพียงไร คงเป็นการยากทีจ่ ะปฏิเสธ FinTech เพราะไม่ชา้ ก็เร็วกิจการ อุตสาหกรรมจ�าเป็นจะต้องหาทางใช้ประโยชน์จาก FinTech อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยเพราะในอนาคตเทคโนโลยีนี้จะเข้ามา ในบ้านเราอย่างเต็มรูปแบบอย่างแน่นอน ดังนั้น การเตรียมตัว เพื่อน�ามาปรับใช้จึงเป็นแนวทางที่ดีแนวทางเดียวที่เจ้าของ กิจการควรจะต้องตระเตรียมรับมือกันแต่เนิ่นๆ ทั้งนี้ ก็เพื่อ ทีจ่ ะช่วยลดค่าใช้จา่ ยอันเกิดจากการท�าธุรกรรมทางด้านการเงิน ขององค์กรนั่นเอง
ตัวอย่าง FinTech ที่ ได้รบั ความนิยมจากผูบ้ ริโภคมีอยูอ่ ย่างมากมายทัง้ ระดับโลกและในบ้านเรา ได้แก่ • Paypal ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการช�าระเงิน/โอนเงิน (Payment/ Transfers) • Wealthfront จัดอยู่ในกลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการบริหารการเงินส่วนบุคคล (Personal Financing) โดย จะให้บริการ ด้านการลงทุนและที่ปรึกษาทางการเงินผ่านระบบออนไลน์แบบอัตโนมัติ • Stock Radars ให้บริการในส่วนของผลิตภัณฑ์หุ้นในไทย ซึ่งได้รับค�าชมจากผู้บริโภคว่าเป็นระบบบริการ ผ่านแอปพลิเคชันที่มีความโดดเด่นในเรื่องการคัดกรองหุ้นอย่างมาก • iTAX เป็น FinTech ของไทย ส�าหรับระบบบริการด้านการจัดการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ประกัน และ การลงทุน • Omise ให้บริการระบบเพื่อเป็นตัวกลางในการช�าระเงินของผู้บริโภคไปสู่เจ้าของสินค้าหรือผู้ ให้บริการ (Payment Gateway)
EXECUTIVE SUMMARY FinTech is a technology that aims to develop product and service providing system in 3 main financial transaction groups that are directly related to general consumers as money payment, money transfer and personal financial management. There are several examples of FinTech that are so popular among consumers both in worldwide and Thailand including Paypal; offers money payment/transfer service, Wealthfront, offers investment service and financial consulting via automatic online system, Stock Radars; offers the service related to Thailand’s stock products, which receives good compliments from consumers for being application based service system with outstanding feature in term of stock screening, iTAX; is Thailand’s FinTech offering personal income tax management, insurance, and investment, and Omise; acts as the Payment Gateway that allows consumer to make direct payment to product owner or service provider. issue 170 april 2017
36 special report
ความท้าทายและ
โอกาสทางเศรษฐกิจ
ยุค THAILAND 4.0
MODERN MANUFACTURING ได้มีโอกาสเข้าร่วมฟังสัมมนา ‘The New Era of Digital for Business Solutions’ จัดโดยบริษทั บราเดอร์ คอมเมอร์เชีย่ ล (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึง่ มีผเู้ ชีย่ วชาญ จากหลายสาขามาร่วมถ่ายทอดมุมมองและแนวทางที่จะน�าองค์กรสู่ความส�าเร็จโดยอาศัย เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือมุ่งสู่เป้าหมายธุรกิจ ทางทีมงานจึงได้หยิบประเด็นที่น่าสนใจ จากงานสัมมนามาฝากท่านผู้อ่านอีกเช่นเคย ภายในงานสัมมนา คุณกรณ์ จาติกวณิช ประธานชมรมฟินเทคแห่งประเทศไทย ปาฐกถา พิเศษหัวข้อ ‘ความท้าทายและโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศ’ โดยได้เปรียบเทียบรายได้ของ คนไทยกับประชากรโลกว่า ปัจจุบนั ประชากรโลกมีรายได้เฉลีย่ ต่อหัวปีละ 13,500 เหรียญดอลลาร์ สหรัฐ ขณะที่คนไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อหัวปีละ 6,500 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ นั่นเท่ากับว่าคนไทย มีรายได้เฉลี่ยครึ่งหนึ่งของประชากรโลก “หากย้อนหลังไปเมื่อ 30 ปีก่อน ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเติบโต เร็วกว่าเศรษฐกิจโลกมาเกือบทุกปี แต่ในปัจจุบันแม้ว่าเราโตเร็วแต่ระดับรายได้เฉลี่ยของคนไทย ก็ยังอยู่แค่ประมาณครึ่งหนึ่งของรายได้เฉลี่ยประชากรโลก ดังนั้น การที่จะยกระดับให้คนไทย มีรายได้เฉลี่ยเท่ากับประชากรโลกได้ เศรษฐกิจของประเทศไทยต้องมีการขยายตัวประมาณ ปีละ 5% ต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณ 4 ปี ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการที่จะท�ารายได้เพิ่มขึ้น เป็นสองเท่า” คุณกรณ์กล่าว เมื่อปี 1986 คนไทยมีรายได้เฉลี่ยอยู่ท่ีประมาณ 800 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อปี จากนั้น ปี 1994 รายได้เพิ่มขึ้นมาเป็น 2,400 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า หรือ 300% ภายในระยะเวลาเพียงแค่ 8 ปี นับว่าเป็นการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งถือเป็นช่วงเปลี่ยนผ่าน ส�าคัญในประเทศไทยนัน่ คือไทยแลนด์ 3.0 เข้าสูก่ ารเน้นอุตสาหกรรม จากเดิมไทยนัน้ เป็นประเทศ ที่พึ่งพาภาคการเกษตรเป็นหลัก ซึ่งปี 1986 เป็นปีแรกที่สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมเติบโตกว่า ภาคการเกษตรในโครงสร้างเศรษฐกิจไทย ทั้งนี้ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในขณะนั้นเกิดจาก นักลงทุนต่างประเทศหรือญี่ปุ่นเลือกที่จะขยายฐานการผลิตมาสู่เมืองไทยมากยิ่งขึ้น
โอกาสทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ เปรียบเทียบรายได้ ของคนไทยกับประชากรโลก
THAILAND 4.0 ......????......
รายได้ต่อหัวประชากรโลก
รายได้ต่อหัวประชากรไทย
เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี
เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี
13,500 6,500 2017 (ปัจจุบัน)
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
special report 37
รายได้ต่อหัวประชากรไทย
2,400 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี
1994
รายได้ต่อหัวประชากรไทย
THAILAND 3.0
คนไทยมีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3 เท่า หรือ 300% ภายในระยะเวลาแค่ 8 ปี
800
เหรียญดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี
จากเดิมประเทศไทยนั้น เป็นประเทศที่พึ่งพา ภาคการเกษตรเป็นหลัก
เป็นปีแรกที่สัดส่วนภาคอุตสาหกรรม เติบโตกว่าภาคการเกษตร
1986 issue 170 april 2017
38 special report
เงื่อนไขในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทย หลักๆ ประกอบด้วย
การเปลี่ยนแปลงของการเมืองระดับโลก
โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา ในการเข้ารับต�าแหน่งประธานาธิบดีของ โดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งนโยบายแรกที่ได้ประกาศออกมา คือ การถอนตัว ออกจากข้อตกลงความเป็นหุน้ ส่วนข้ามมหาสมุทรแปซิฟกิ (ทีพพี )ี ทัง้ นี้ ไทยต้องมีการหารือถึงความได้เปรียบหรือเสียเปรียบของนโยบายในข้อนี้
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม
คือ สังคมผู้สูงอายุ ทั้งนี้ ไทยเองก็ก�าลังเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ ดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ส่งผลต่อทุกคน ไม่ว่าจะเป็นชีวิต ส่วนตัวในระดับครอบครัว ทั้งในเรื่องของการท�าธุรกิจ ในการประเมิน ความต้องการของกลุ่มลูกค้ากลุ่มนี้ ปัจจุบันสัดส่วนระหว่างคนไทยใน วัยท�างาน 4 คน ต่อ คนไทยในวัยเกษียณ 1 คน ภายใน 20 ปี สัดส่วน 4:1 จะปรับลดลงเหลือ 2:1 จะมีคนไทยวัยท�างาน 2 คนที่จะท�างานสร้าง รายได้เพื่อจะดูแลคนวัยเกษียณ 1 คน
“ในจังหวะนั้นประเทศไทยมีที่ดินจ�านวนมากที่ถูกเปลี่ยนแปลง มาเป็นนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก แรงงานล้นเหลือ จังหวะนัน้ มี ค ่ า แรงขั้ น ต�่ า ด้ ว ย เรามี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ท่ี ส� า คั ญ คื อ แก๊ ส ธรรมชาติในอ่าวไทยที่ท�าให้ภาคอุตสาหกรรมเติบโตได้มาก มีต้นทุน พลั ง งานที่ ต�่ า ลง นอกเหนื อ จากนั้ น คื อ ขณะนั้ น ประเทศไทย มีนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค 3.0 มีความต่อเนื่องและ มีความชัดเจน ปัจจัยเหล่านั้นท�าให้เราได้เปรียบทุกประเทศ และ เป็ น สาเหตุ ที่ ท� า ให้ ป ระเทศไทยมี อั ต ราการขยายตั ว สู ง กว่ า เกื อ บ ทุกประเทศในโลก” “อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันทางภาครัฐพยายามผลักดันนโยบาย Thailand 4.0 ให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ส่งผลให้องค์กรต่างๆ ใน ประเทศไทยตื่นตัวสร้างความพร้อมในทุกด้าน โดยเฉพาะเทคโนโลยี ที่ใช้ในการวางระบบการด�าเนินงานภายในองค์กร ซึ่งถือเป็นหนึ่งใน ปัจจัยหลักที่ทุกองค์กรให้ความส�าคัญ ซึ่งการวางระบบดังกล่าว ต้ อ งพึ่ ง นวั ต กรรมเทคโนโลยี ที่ พั ฒ นาจากผู ้ เชี่ ย วชาญเฉพาะทาง ในแต่ละด้าน เพื่อดึงเอาบริการในรูปแบบโซลูชั่นเข้ามาใช้อย่าง เหมาะสมกับโครงสร้างองค์กร” คุณกรณ์กล่าวไว้อย่างน่าสนใจ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การสร้างเมืองใหม่
คือ การโอนย้ายสถานะจากชนบทสู่เมืองมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน ส่งผลให้คนมีรายได้มากขึน้ เกิดการท่องเทีย่ ว ซึง่ ไทยเองก็ได้รบั อานิสงส์ ในส่วนนี้ จะสามารถเตรียมการรองรับการท่องเที่ยวที่จะเพิ่มมากยิ่งขึ้น ในอนาคตได้หรือไม่ โดยเฉพาะในกลุม่ โรงแรม สายการบิน และโลจิสติกส์
การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
มี ก ารพั ฒ นาแบบก้ า วกระโดด สิ น ค้ า ทุ ก กลุ ่ ม มี ก ารเปลี่ ย นแปลง อย่างไรก็ตาม ต้องกลับมาดูดา้ นผูก้ า� หนดนโยบายทัง้ ภาครัฐและเอกชน ว่าจะสามารถเตรียมแผนรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ซึ่ง ปัจจัยหลักที่จะสร้างความแข็งแกร่งด้านศักยภาพด้านการแข่งขัน คือ การน�านวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาวางรากฐานระบบการ ท�างาน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างมีศักยภาพ
special report 39
ปัจจุบันทางภาครัฐพยายามผลักดันนโยบาย Thailand 4.0 ให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ส่งผลให้องค์กรต่างๆ ในประเทศไทยตื่นตัวสร้างความพร้อมในทุกด้าน โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่ใช้ ในการวางระบบการด�าเนินงานภายในองค์กร ซึ่งถือเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ทุกองค์กรให้ความ ส�าคัญ ซึง่ การวางระบบดังกล่าวต้องพึง่ นวัตกรรมเทคโนโลยีทพ ี่ ฒ ั นาจากผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะทาง ในแต่ละด้าน เพื่อดึงเอาบริการในรูปแบบโซลูชั่นเข้ามาใช้อย่างเหมาะสมกับโครงสร้างองค์กร” กรณ์ จาติกวณิช ประธานชมรมฟินเทคแห่งประเทศไทย
อย่างไรก็ตาม การที่จะขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจขยายตัวและ เติบโตได้อย่างมั่นคงนั้น ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องมีความ พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อลดผลกระทบทั้งทางตรง และทางอ้อมอันจะเกิดขึ้นจากปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของการเมืองระดับโลก การเปลี่ยนแปลงทาง
ด้านสังคม การสร้างเมืองใหม่ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ทีม่ กี ารพัฒนาแบบก้าวกระโดด แต่ทา้ ยทีส่ ดุ การทีจ่ ะสร้างความ แข็งแกร่งด้านศักยภาพด้านการแข่งขันได้ คือ ต้องน�านวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาวางรากฐานระบบการท�างาน เพื่อ รองรับการเติบโตอย่างมีศักยภาพในอนาคต
EXECUTIVE SUMMARY Mr. Korn Jatikawanich, President of Thailand FinTech Club gave special speech under the topic ‘Thailand’s Challenge and Business Opportunity’ in ‘The New Era of Digital for Business Solutions Seminar’ that looked back to 30 years ago, Thailand had faster economic expansion rate than the world’s economy almost every year. However, currently even though Thailand has the fast growth rate, but the level of average income of Thai people is still considered a half of the world population’s average income. Therefore, in order for Thai people to earn average income in comparable to the world population, Thailand’s economy must have expansion rate approximately 5% per year for 4 consecutive years, which needs to take time to generate 2 times income. In addition, currently government sector has made efforts to push forward Thailand 4.0 policy for real, which has encouraged every sector in Thailand to get ready in all aspects especially for technology used in work practice system setting within organization considered as one of main factors every organization paying attention to. In addition, setting such system must count on technology innovation that is developed by specialists in each field in order to apply a proper service solution to suit the structure of organization.
S U B S C R I B E I I M O D E R N M A N U FACT U R I N G P001_Mo_Cover_March_2017 F.pdf
169
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
1
2/17/2560 BE
5:33 PM
Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
Leader in Test & Measurement Solutions IRC technologies Ltd. is Keysight’s authorized distributor in Thailand
Vo l .1 5 N o.1 6 9 m a r c h 2 0 1 7
สมัครสมาชิกนิตยสาร Modern Manufacturing ตั้งแต่ฉบับ .................. ถึงฉบับ ..................
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ข้อมูลผู้สมัครสมาชิก ชื่อ (Name).........................................................................นามสกุล (Surname) ................................................................................................ ต�าแหน่งงาน ..............................................................................E-mail ............................................................................................................. โทรศัพท์ (Telephone) ..........................................โทรสาร (Fax) ................................................ มือถือ (Mobile) ................................................
K
www.factoryeasy.com www.mmthailand.com
ที่อยู่ที่ใช้ในการจัดส่ง บริษัท................................................แผนก/หน่วยงาน................................................ประเภทอุตสาหกรรม ......................................................... เลขที่ .................. หมู่ ............ แขวง/ต�าบล ............................... เขต/อ�าเภอ ............................... จังหวัด ....................... รหัสไปรษณีย์ ..................
70.
วิธีการช�าระเงิน โอนเงินผ่านธนาคารไทยพาณิชย์ ชื่อบัญชี บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ากัด สาขาหัวหมาก ประเภทบัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 044-3-038214 เช็คขีดคร่อมสั่งจ่าย บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ากัด
www.irct.co.th/keysight-commonlanding รศ.ดร.พงศพันธ แกวตาทิพย ชาติมั่งคั่ง อุตสาหกรรมไทยเขมแข็ง ดวยการวิจัยและพัฒนา
Material Handling กับอุตสาหกรรมไทย ลงทุนเพื่อลดตนทุน เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ
อุตสาหกรรมยานยนต 4.0 ความทาทายที่ตองเผชิญ
p. 38
p. 32
p. 56
12 70 baht
ISSU Y
ES
EAR SUBSCRIBE NOW! 8 4 0 B A H T/ Y E A R
issue 170 april 2017
40 AUTO PARTS & AUTOMOTIVE เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ส่องสัญญาณตลาดโลก
จับทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์
ด้ ว ยสถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ โลกในปั จ จุ บั น ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การชะลอตัวในธุรกิจต่างๆ รวมถึงธุรกิจยานยนต์เองที่มีการ ชะลอตัวลงเช่นกัน แม้ว่าอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ยานยนต์นั้นจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นกว่า 18.8 ล้านเหรียญดอลลาร์ สหรัฐอเมริกาในช่วงระหว่างปี 2559 – 2566 จากรายงานของ PWC ผู้ให้บริการและการปรึกษาด�าเนิน ธุ ร กิ จ ระดั บ โลก ได้ น� า เสนอข้ อ มู ล และวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ม องไกล ไปถึงปี 2050 ภายใต้ชื่อ ‘The Long View: How will the global economic order change by 2050’ หรือวิสัยทัศน์ระยะยาว ส�าหรับการเปลี่ยนแปลงของล�าดับเศรษฐกิจโลกในปี 2050 ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงตลาดใหม่ที่เป็นกลุ่มผลักดันเศรษฐกิจเกือบทุก สาขาธุรกิจให้เกิดการเติบโต โดยคาดว่าประเทศจีนจะมีขนาด เศรษฐกิจทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ประมาณ 20% ของ GDP โลก และ ตามมาด้วยประเทศอินเดียที่มีสัดส่วน 15%
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การประกอบยานยนต์น�้าหนักเบาทั่วโลก 2016-2021F (ล้าน) 120 100 80 60 40 20
92.8 41.9
41.8
41.8
42.5
43.1
43.2
50.9
53.7
58.2
61.9
64.7
66.5
2016
2017F 2018F ตลาดที่มีความพร้อม
2019F 2020F กลุ่มตลาดใหม่
2021F
AUTO PARTS & AUTOMOTIVE
ตลาดยานยนต์อันกล้าแกร่งในจีน แม้สถานการณ์โดยรวมหลากหลายประเทศจะอยู่ในช่วง ชะลอตัว แต่ตลาดแดนมังกรกลับดีดตัวขึ้นเป็นสองเท่า ซึ่งเป็น ผลมาจากการสนับสนุนของภาครัฐบาล เช่น การสนับสนุน ด้านภาษี ยอดขายนั้นมีการเติบโตสูงถึง 15% ตลอดทั้งปี 2013 การ เติบโตส่วนมากนัน้ เป็นผลมาจากการสนับสนุนด้านภาษีทคี่ อ่ ยๆ ถูกลดลงสูร่ ะดับปกติอย่างช้าๆ ก่อให้เกิดความต้องการยานยนต์ ที่มีเครื่องยนต์ขนาดเล็กกว่าหรือเท่ากับ 1.6 ลิตร เติบโตกว่า 22.5% ในรูปแบบปีต่อปี ยอดขายสูงถึง 15.6 ล้านคัน ในระยะยาว นั ก ลงทุ น คาดหวั ง ว่ า ระดั บ การผลิ ต จะถู ก ยกขึ้นไปถึง 35 ล้านคัน ส�าหรับยานยนต์เบาในปี 2023 กับ อั ต ราเติ บ โตต่ อ ปี 3.8% โดยประเมิ น ภายใต้ เ งื่ อ นไขที่ ไร้ การเปลี่ยนแปลงส�าหรับการส่งออก
ปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง
เงินลงทุนที่ผลักดันการเติบโต ตลาดที่มี ความพร้อม 7.2%
ตลาด เกิดใหม่ 92.8% Source: Autofacts 2017 Q1 Forecast Release
แนวโน้มที่ดีขึ้นส�าหรับการพัฒนาตลาดในประเทศอินเดีย ความต้องการของตลาดภายในประเทศนัน้ ถือว่ามีแนวโน้ม ที่ดี โดยมียอดขายเพิ่มขึ้น 3 ล้านคันหรือคิดเป็น 8% นับตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ซึ่งตลาดการส่งออก 11 เดือนแรกของปี 2016 นั้นเพิ่มขึ้นถึง 15.6% ถึงอย่างนั้นปัญหาด้านค่าเงินรูปี ก็ได้สง่ ผลให้ยอดต่างๆ ลดลงอย่างมากตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน ด้ ว ยความต้ อ งการของตลาดที่ มี ม ากภายในประเทศ อินเดียท�าให้การลงทุนและตลาดในประเทศยังคงมีแนวโน้ม ที่ดี นอกจากนี้ ยังมีแนวโน้มีที่รัฐบาลจะออกกฎหมายและการ สนับสนุนด้านภาษีสา� หรับอุตสาหกรรมยานยนต์ชว่ งปี 2560 นี้ อีกเช่นกัน
ตลาดเกิดใหม่
ตลาดที่มีความพร้อม
+18.8 ล้าน
+1.5 ล้าน
41
42 AUTO PARTS & AUTOMOTIVE
การเติบโตของตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผูผ้ ลิตรายใหญ่ในภูมภิ าคนี้ คือ ประเทศไทยและอินโดนีเซีย ซึง่ มีสถานภาพทีก่ า� ลังฟืน้ ตัวอย่างช้าๆ แต่ในปี 2559 นับว่ายังคง ห่างไกลจากเป้าที่เคยท�าได้ในช่วงปีที่ก�าลังตื่นตัวอยู่มากนัก โดยประเทศไทยนั้นมุ่งเน้นไปที่การส่งออกไปยังทั่วโลก รวมถึง การใช้งานภายในประเทศ ขณะที่อินโดนีเซียเน้นการสนับสนุน ทางด้านการเงินเพือ่ ผลักดันเศรษฐกิจและกระตุน้ ผูบ้ ริโภคให้เกิด การใช้เงิน ทางด้านมาเลเซียยักษ์ใหญ่ลา� ดับที่ 3 แห่งตลาด SEA ก็ยงั คงอยูใ่ นขาลงเช่นกัน แต่สา� หรับประเทศทีม่ ตี ลาดขนาดเล็ก อย่ า งบรู ไ นหรื อ เวี ย ดนามกลั บ มี ตั ว เลขการเติ บ โตที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ถึงสองเท่าจากปีก่อนหน้า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น ถูกคาดหวังให้เป็น ตัวแปรส�าคัญส�าหรับตลาดรถกระบะขนาดกลางในบางประเทศ เช่ น ไทย อิ น โดนี เซี ย มาเลเซี ย ที่ มี ก ารสนั บ สนุ น ด้ า นการ ประกอบและการขายยานยนต์ขนาดเล็ก ท�าให้เกิดการเพิ่ม จ�านวนการผลิตอย่างมาก ซึ่งมีการพยากรณ์ไว้ว่าระหว่าง ปี 2559 – 2564 ตลาดการประกอบยานยนต์ ใ นเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้จะเพิ่มขึ้นกว่า 50% จาก 4.0 ล้านคัน ไปเป็น 5.9 ล้านคัน ส�าหรับทั้งตลาดภายในและการส่งออก การเติบโตของภูมิภาคแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือนั้นถือว่าเป็นเป้าหมายหลักในการลงทุน ทั้งหลายส�าหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งกลายเป็นจุดที่ดึงดูด การลงทุนที่น่าสนใจ มีการคาดการณ์ส�าหรับอัตราการเติบโต อยู่ที่ 7.4% หรือ 450,000 คันภายในปี 2023 วี่แววของเสถียรภาพที่ก�าลังเกิดขึ้นในยุโรปตะวันออก กระบวนการผลิตยานยนต์เบาส�าหรับภูมภิ าคยุโรปตะวันออก ถูกคาดหวังไว้ให้มีอัตราเพิ่มขึ้น เพื่อผลักดันตลาดล่างของ รัสเซียให้มีเสถียรภาพมากขึ้น แต่ตลาดรถใหม่กลับมียอดขาย ตกลงกว่า 12.1% ซึ่งเป็นสัญญาณที่เตือนให้ระวังกับการ เปลี่ยนแปลงที่ก�าลังเกิดขึ้น โอกาสเติบโตในรัสเซียนั้นมาจากยานยนต์ที่ใช้ส่วนใหญ่ใน ประเทศนั้น มีอายุเกินกว่า 10 ปี และนโยบายด้านราคาน�้ามัน ที่กลับมามีผลอีกครั้ง ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยน กันมากขึ้น โดยมีการคาดการณ์ว่าในปี 2560 รัสเซียจะมี ยอดขายที่โตขึ้นถึง 7.2% หรือกว่า 1.5 ล้านคัน สถานการณ์อเมริกาใต้ที่ก�าลังทรุดลง ตลาดการประกอบยานยนต์ในประเทศบราซิลไม่มสี ญ ั ญาณ การเติบโตหรือพัฒนาแต่อย่างใด ยานยนต์เบามียอดขายทีล่ ดลง กว่า 21% ความมั่นใจของผู้ซ้ือมีอยู่ค่อนข้างน้อย ขาดเครดิต และก�าลังซื้อมีไม่เพียงพอต่อราคาตลาดปัจจุบัน สถานการณ์อันน่าซับซ้อนของอเมริกาใต้ สถานการณ์ในแอฟริกาใต้นั้นนับเป็นช่วงปีที่ยากล�าบาก อี ก ปี โดยเฉพาะยอดขายที่ ย ากล� า บากภายใต้ แรงกดดั น ด้วยปัญหาของดอกเบี้ยที่สูงขึ้นรวมถึงอัตราเงินเฟ้อ จุดเด่น ส�าหรับภูมิภาคนี้ คือ ก�าลังการส่งออกที่แข็งแรง โดยก�าลัง การผลิตกว่า 62.3% ของปี 2016 ซึง่ ส่งออกไปกว่า 85 ประเทศ ทั่วโลก ซึ่งรวมถึงสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น และ ออสเตรเลีย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การเติบโตของตลาดเอเชีย-แปซิฟิก สถิติที่ส�าคัญ (YTD เริ่มต้นเดือนพฤศจิกายน)
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) (YoY)
ยอดขายยานยนต์เบาของจีน
+13.6
ยอดการผลิตยานยนต์เบาของจีน
+13.7
ยอดขายยานยนต์เบาของอินเดีย
+8.0
ยอดการผลิตยานยนต์เบาของอินเดีย
+9.7
Source: https://goo.gl/EtXMVx
EXECUTIVE SUMMARY From overall cool down situation of automotive demand globally which cause the economics of automotive, auto parts and related manufacturing to slow down. The report from PWC showed that emerging market is driving automotive sector more than mature market. The automotive market in China and India are getting stronger with high rate, Thailand and Indonesia are getting slow recovery and headed to a positive direction, for Eastern Europe that maintain its stability which driven from Russia while Africa and South America focus on exporting because of domestic problem.
ELECTRICAL & ELECTRICITY 43
อุตฯ วางโร้ดแมพ
‘สองหัวจักร สามประเด็น สี่ประสาน’ สถาบันไฟฟ้าฯ รับลูกดันไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0
เทรนด์ 4.0 ซึ่งว่าด้วยความเป็นดิจิทัล ก�าลังถาโถมเข้ามาในฐานะคลื่นแห่งความ เปลี่ยนแปลง กลายเป็นความท้าทายของ ทุกภาคส่วนรวมไปถึงอุตสาหกรรมไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ว่าจะตัง้ รับ หรือปรับตัว กันอย่างไร โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม ที่ ต ้ อ งเจอความเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ความ ต้องการของผู้บริโภค กระบวนการผลิต และวิธบี ริหารจัดการ ซึง่ ฉบับนีเ้ ราจะพามา หาค�าตอบผ่านมุมมองของผู้เกี่ยวข้องซึ่ง น�าเสนอในงานสัมมนาประจ�าปี 2560 ทีจ่ ดั โดยสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI)
สถาบันไฟฟ้าฯ จัดสัมมนาไทยแลนด์ 4.0 สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI) จัดงานสัมมนาประจ�าปี 2560 ขึ้น ภายใต้หัวข้อ ‘ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0’ โดยหวังเป็นเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น อัพเดท และวิเคราะห์ทศิ ทางเชิงกลยุทธ์ของสถาบัน ไฟฟ้าฯ นอกจากนี้ ยังถือเป็นเวทีในการจัดแสดงเทคโนโลยีต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงการวิจัยและ พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรม และการออกแบบเพื่ออนาคต รวมถึงการใช้ Internet of Things และเทรนด์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ อาทิ รถยนต์ไฟฟ้า ซิตคี้ าร์ไฟฟ้า หุน่ ยนต์ดนิ สอมินริ นุ่ ดูแล ผู้สูงอายุ อุปกรณ์ตรวจจับการล้มของผู้สูงอายุ เครื่องตรวจจับการหลับใน เป็นต้น คุณสมบูรณ์ หอตระกูล ผูอ้ า� นวยการสถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กล่าวให้เห็นถึง สภาพเศรษฐกิจและสถานการณ์ของภาคอุตสาหกรรมโดยรวมว่า ในปี 2559 ภาพรวมผลผลิต ภาคอุตสาหกรรมขยายตัว โดยด้านไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 13% ส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น 2% ซึ่ง สินค้าส่วนใหญ่ทขี่ ายดี คือ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เนือ่ งจากผูบ้ ริโภคมีความต้องการสินค้า ทีท่ นั สมัยและเป็นนวัตกรรมมากขึน้ ทว่าการส่งออกกลับหดตัว เพราะตลาดญีป่ นุ่ หดตัว 12% และจีนหดตัว 7% issue 170 april 2017
44 ELECTRICAL & ELECTRICITY
ก้าวพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่กลุ่มประเทศรายได้สูงได้ ภายในปี 2579” คุณพรชัย วิเคราะห์ นั่นจึงเป็นที่มาของการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจในนาม ‘ไทยแลนด์ 4.0’ เปลี่ยนผ่านสู่สังคมดิจิทัล “เราต้องเชื่อมโยงดิจิทัลเข้ากับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมไทย ต้องเก็บ เกี่ยวโอกาสที่จะเกิดขึ้น ปฏิรูปประเทศด้วยการร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยใช้โมเดลประเทศไทย 4.0 ก้าวไปสู่ประเทศมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ เดิมที่ขับเคลื่อนด้วยการพัฒนา ประสิทธิภาพการผลิตไปสู่ประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม” คุณพรชัยกล่าวถึงหัวใจของไทยแลนด์ 4.0
“ส่วนแนวโน้มภาคการผลิตในปี 2560 นั้น คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น 4% โดยอุตสาหกรรมไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ 2% ส่วนอิเล็กทรอนิกส์เพิม่ ขึน้ 5% และในภาค การส่งออกของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นั้น คาดว่าจะปรับตัว เพิ่มขึ้น 2% แบ่งเป็นสินค้าไฟฟ้ามูลค่า 23,318 ล้านเหรียญสหรัฐ และสินค้า อิเล็กทรอนิกส์อีก 31,602 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ เนื่องจากมีการผลิตสินค้า รุ่นใหม่ออกสู่ตลาด รวมถึงสถานการณ์ตลาดของประเทศคู่ค้า ทั้งสหรัฐฯ และ สหภาพยุโรปมีการฟื้นตัวในทิศทางที่ดีขึ้น” คุณสมบูรณ์วิเคราะห์เพิ่มเติม ขณะที่ทางด้านคุณพสุ โลหารชุน ประธานกรรมการสถาบันไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ ได้กล่าวถึงสถานการณ์ของภาคอุตสาหกรรมไทยว่า ทศวรรษ ที่ผ่านมา อุตสาหกรรมไฟฟ้าเป็นก�าลังหลักของเศรษฐกิจไทย ทว่าช่วง 4-5 ปี ทีผ่ า่ นมานี้ ได้รบั ผลกระทบจากเศรษฐกิจทัว่ โลกซบเซา และความต้องการของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป รวมถึงนโยบายการลงทุนของต่างชาติที่ไม่นิ่งนัก ท�าให้ อัตราการส่งออกลดลงอย่างเห็นได้ชัด “หลายปัจจัยทีก่ ล่าวมา ท�าให้ประเทศไทยติดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง โดยรัฐบาลต้องการพาประเทศหลุดจากกับดักนี้ จึงด�าเนินนโยบายประเทศไทย 4.0 ที่จะขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี จะเปลี่ยนจากอุตสาหกรรม ดั้งเดิม สู่อุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความสร้างสรรค์ และ นวัตกรรมเปลี่ยนจาก SMEs สู่ Startup สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มีส่วนส�าคัญและตระหนักในภารกิจของ สถาบันในการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ สนับสนุนนโยบายรัฐ โดยต้องอาศัยความ ร่วมมือจากทั้ง 3 ฝ่าย ได้แก่ ภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการจากสถาบันวิจัย หรือสถาบันการศึกษา” คุณพสุ กล่าว
‘ไทยแลนด์ 4.0’ พาไทยพ้นกับดักรายได้ปานกลาง ทีน่ า่ สนใจ คือ ปาฐกถาในหัวข้อ ‘อนาคตอุตสาหกรรมไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0’ โดย คุณพรชัย ตระกูลวรานนท์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวง อุตสาหกรรม ในฐานะตัวแทนจากภาครัฐ คุณพรชัยเริ่มต้นด้วยการเกริ่นถึงสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศว่า นอกจากการติดกับดักประเทศรายได้ปานกลางแล้ว ยังมีเรื่องความเหลื่อมล�้า ในการกระจายรายได้ ท� า ให้ ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของภาค อุตสาหกรรมต�า่ ลง โดยปัจจัยส�าคัญทีม่ ผี ลต่อการพัฒนาคือ การลงทุนเพือ่ การ วิ จั ย และพั ฒ นาที่ ยั ง น้ อ ยเกิ น ไป ศั ก ยภาพของโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยังไม่เอื้อนัก รวมถึงผลิตภาพการผลิตที่ยังไม่ได้ ประสิทธิภาพสูงสุด “การเติบโตของ GDP ภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ย 3% ต่อปี มูลค่าการส่งออก ขยายตัวเฉลี่ย 5.4% ส่วนประสิทธิภาพการผลิตขยายตัวเพียง 0.7% เมื่อ วิเคราะห์การเติบโตดังกล่าว จะพบว่า ไม่เพียงพอต่อการน�าพาประเทศไทย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สองหัวจักร สามประเด็น สี่ประสาน คุณพรชัย กล่าวต่อไปอย่างน่าสนใจว่า กระทรวงอุตสาหกรรมที่ต้องการ เห็นอุตสาหกรรม 4.0 เกิดขึ้นจริง ภายใต้โร้ดแมพ ‘สองหัวจักร สามประเด็น สี่ประสาน’ ‘สองหัวจักร’ ที่เกิดจากหลักคิดว่า อุตสาหกรรมเดิมที่เคยแข็งแกร่ง กลายเป็นอุตสาหกรรมเก่าและเริม่ อิม่ ตัว ไม่มศี กั ยภาพในการขยายตัว จึงต้อง คิดต่อยอดและลงทุนเพิ่มเติม โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ หัวจักรที่ 1: อุตสาหกรรมเดิม 5 กลุ่ม (S-Curve) ได้แก่ ยานยนต์สมัยใหม่ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ การท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ การแปรรูปอาหาร ให้ต่อยอดด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และสร้างมูลค่าเพิ่มในทางเศรษฐกิจ หัวจักรที่ 2: อุตสาหกรรมส�าหรับอนาคต 5 กลุ่ม (New S-Curve) ได้แก่ หุ่นยนต์ การบินและโลจิสติกส์ เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ดิจิทัล และ การแพทย์แบบครบวงจร เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามสามารถในการเติบโตสูง แต่ตอ้ งใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างเข้มข้น รัฐต้องสนับสนุนเพราะยังมีผปู้ ระกอบการ น้อยราย และยังไม่เข้มแข็ง คุณพรชัย กล่าวต่อไปถึงประเด็นทีก่ ระทรวงต้องการขับเคลือ่ นเพือ่ เปลีย่ น ผ่านไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 เป็น ‘สามประเด็น’ ได้แก่ 1. เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทั้งในแง่สินค้าและผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) กระบวนการผลิต (Process Innovation) และวิธีการบริหารจัดการ ธุรกิจ (Business Innovation) โดยใช้แรงขับเคลื่อนจากภาคอุตสาหกรรม ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพ ยกระดับการผลิตในโรงงานให้เป็นอัตโนมัติ และฉลาดมากขึ้น 2. ใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้ได้ผลิตภาพ (Productivity) สูงสุด
เราต้องเชื่อมโยงดิจิทัลเข้ากับการผลิต ในภาคอุตสาหกรรมไทย ต้องเก็บเกี่ยวโอกาส ที่จะเกิดขึ้น ปฏิรูปประเทศด้วยการร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน โดยใช้โมเดลประเทศไทย
4.0 ก้าวไปสู่ประเทศมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน คุณพรชัย ตระกูลวรานนท์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงอุตสำหกรรม
ELECTRICAL & ELECTRICITY 45
3. สร้างเครือข่ายคลัสเตอร์บุคลากรระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคสถาบันการศึกษา เพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสร้างระบบนิเวศ การพัฒนาที่เหมาะสม รวมถึงดูดซับเทคโนโลยีที่บริษัทข้ามชาติเข้ามาลงทุน เมื่ อ ก� า หนดหั ว จั ก ร และประเด็ น ที่ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมต้ อ งการ ขับเคลือ่ นแล้ว คุณพรชัย กล่าวว่า ทัง้ หมดจะส�าเร็จเป็นรูปธรรมได้กด็ ว้ ยความ ร่วมมือแบบ ‘สี่ประสาน’ ได้แก่ 1. ประสานความร่วมมือ บ่มเพาะ และพัฒนาผู้ประกอบการให้สร้าง เทคโนโลยีในรูปแบบ Startup 2. สถาบั น การศึ ก ษาต้ อ งผลิ ต บุ ค ลากรและยกระดั บ ฝี มื อ แรงงานให้ สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดยในยุค 4.0 จะมีความ ต้องการทักษะต่างๆ เช่น Electronics Design, Embbed System, PCB Design, Microelectronics Design, Internet of Things, Application Mechatronic เป็นต้น 3. ส่งเสริมเครือข่ายสามเหลีย่ มทองค�าด้านองค์ความรูใ้ นรูปแบบประชาคม วิจยั เพือ่ อุตสาหกรรม พัฒนาไปสูก่ ารจัดตัง้ กองทุนเพือ่ การวิจยั ร่วม โดยมีภาค เอกชนและภาคสถาบันการศึกษาเป็นตัวน�า นอกจากเพื่อสร้างนวัตกรรม ออกสู ่ ต ลาดในเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว ยั ง สามารถลดความเสี่ ย งและต้ น ทุ น ค่าเสียโอกาส เป็นพื้นที่ทดสอบผลิตภัณฑ์ และเป็นแหล่งการจ้างงานด้วย 4. จัดการและถ่ายทอดองค์ความรู้ภายในอุตสาหกรรมและข้ามสาขา อุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะระบบไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การผลิ ต แบบ ออโตเมชั่น การใช้หุ่นยนต์ และ BigDATA สู่ Smart Factory อย่างไรก็ตาม คลื่น 4.0 ซึ่งเป็นคลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลงลูกนี้ จะเป็น อุปสรรคหรือโอกาส ขึน้ อยูก่ บั ความร่วมมือของทัง้ ภาครัฐ เอกชน และสถาบัน การศึกษา ที่ต้องสร้างความเข้าใจร่วมกันถึงทิศทางและอนาคตของภาค อุตสาหกรรมไทย รวมถึงต้องท�าหน้าที่ในบทบาทของตัวเองอย่างเต็มที่ ต้อง ตีโจทย์ให้แตก และต้องหาค�าตอบที่ใช่ว่า เราจะลงทุนอย่างไร ภาครัฐจะ สนับสนุนส่วนใด ภาคการศึกษาจะสร้างคนและองค์ความรูใ้ ห้ตอบสนองความ ต้องการของตลาดแรงงานด้วยวิธีการใด จากข้อมูลดีๆ เหล่านี้ดูเหมือน ‘สองหัวจักร สามประเด็น สี่ประสาน’ จะ เป็นโร้ดแมพที่ชัดเจนแล้วว่า คือค�าตอบที่สามารถยกระดับเศรษฐกิจ และเป็น ความหวังในการน�าพาประเทศให้หลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางสูป่ ระเทศ รายได้สูงที่มั่งคั่งอย่างมั่นคงได้อย่างแท้จริง…
EXECUTIVE SUMMARY Electrical and Electronics Institute (EEI) arranged the annual seminar 2017 under the topic ‘Thailand’s Electrical and Electronics Industry Development Direction in Thailand 4.0 Era’. In addition, Mr. Somboon Hortrakul, Director of EEI had forecasted the trend in manufacturing sector 2017 that will be increased by 4% in overall as electrical industry shall be increased by 2% and electronics industry shall be increased by 5%, while exporting sector of electrical and electronics industry have been expecting to increase by 2% divided into electrical products worth US$23,318 million and electronics product worth US$31,602 million deriving from a great number of new products launched to the market as well as the better recovery trend in market circumstances of business partner countries as America and European Union (EU). Mr. Pornchai Trakulwaranon, Assistant to Minister of Industry said about the roadmap of Ministry of Industry that the key propeller is divided into 2 big groups as prior 5 industrial groups (S-Curve) and future 5 industrial groups (New S-Curve), while there are 3 main issues that Ministry of Industry wanted to drive them through the transit to Industry 4.0 Era for the following issues 1.) Technology and Innovation 2.) Consume personnel asset for the optimum beneficial and 3.) Create the network of personnel clusters between government, private and educational institute sectors, which all these determinations can be concretely accomplished with ‘4 integration collaboration’.
issue 170 april 2017
46 PRODUCTIVITY BOOSTER เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ตีโจทย์ปัญหากระบวนการผลิตด้วย
CAUSE AND EFFECT DIAGRAM
การวางแผนเพื่อเพิ่มผลิตภาพนั้น จ�าเป็นต้องระบุปัญหา ให้มีความถูกต้องและตรงกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ดังนั้น เครื่องมือ ทีม่ คี วามถูกต้องแม่นย�านัน้ มีความจ�าเป็นอย่างมาก เพือ่ ให้เกิด ประสิทธิผลในการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพ การสร้างแผนผังแสดงเหตุและผล ซึ่งมีลักษณะคล้ายก้างปลา ทีม่ ผี ลลัพธ์หรือปัญหาเป็นหัวและสาเหตุของปัญหาเป็นก้างปลา แยกย่อยเป็นองค์ประกอบของภาพรวม สามารถตอบโจทย์การ บริหารจัดการแก้ไขปัญหาได้อย่างชัดเจนและครอบคลุม
การใช้งาน
Cause and Effect Diagram ผังแสดงเหตุและผล คือ ผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คุณลักษณะของปัญหา (ผล) กับปัจจัยต่างๆ (สาเหตุ) ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยแบ่งเป็นผลลัพธ์ (ปัญหา) สาเหตุหลักหรือกลุ่มของปัญหา ปัจจัยรอง และปัจจัยย่อย
• ระบุ ป ั ญ หาอย่ า งถู ก ต้ อ งและแม่ น ย� า ตั ด สาเหตุ ที่ ไม่จ�าเป็นออก • กระจายปัญหาให้เห็นถึงองค์ประกอบที่ชัดเจน • ช่วยในการกระตุน้ แนวคิดและการระดมความคิดส�าหรับ แก้ปัญหา • ระบุความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุ (โดยทั่วไปมักถูก น�าเสนอแต่อยู่ในสภาวะแอบซ่อนแฝง) • ช่วยสนับสนุนในการเลือกตัดสินใจ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Main cause
Main cause A
Level 2 cause Level 1 cause Level 3 cause
Main cause
Main cause
Problem to be resolved (effect)
PIC.1 โครงสร้างตัวอย่างผังก้างปลา C&E (ที่มาภาพ: https://goo.gl/RUAfRx)
ขั้นตอนการสร้างผัง 1. ก�าหนดปัญหาหรือสิ่งที่ต้องแก้ ไข (หัวข้อ) อย่างชัดเจน 2. เขียนปัญหาในช่อง Effect แล้วลากลูกศรไปที่ผลลัพธ์ 3. ระบุสาเหตุและความเป็นไปได้ของปัญหา หากคิดไม่ออกให้ยึดหลักพิจารณาจาก 4 M คือ Man Machine Material และ Method โดยใส่ไว้ในช่องใดก็ได้ เน้นไปที่ค�าถาม ท�าไมจึงเกิดขึ้น 4. ระบุสาเหตุหลักที่คาดว่าจะเป็นไปได้และลากลงมายังเส้นหลักที่ชี้มุ่งไปยังผลลัพธ์ (เส้นกลาง) 5. ระบุสาเหตุรอง โดยลากเส้นต่อจากเส้นสาเหตุหลักโดยระบุปัญหาไว้ที่ปลายเส้น 6. ระบุสาเหตุย่อย โดยลากเส้นต่อจากเส้นสาเหตุรอง
นำเขาและจดัจำหนายโดย
PRODUCTIVITY BOOSTER 49
U
อ้อยไฟไหม้ U ก้อนหินปน
วิธีการท�างาน C
U ใบอ้อยมาก
ไม่มีค่ามาตรฐาน
ลงอ้อยหนา U เรียงอ้อยไม่ดี
C
มีคานขวางสะพาน
สตีมตก (ใบมีดหยุด) ก�าลังขับมอเตอร์ ชุดเกลี่ยอ้อยไม่พอ
ใบมีดงอ พนักงาน
วัตถุดิบ 1. อ้อยไฟไหม้ 2. ก้อนหินปนมากับอ้อย 3. โลหะปนมากับอ้อย 4. ทรายปนมากับอ้อย 5. ใบอ้อยปนมาจ�านวนมาก
มีโลหะติดแม่เหล็ก ขวางทางลงของอ้อย
กระโปรงสะพานฉีก
ไม่ปฏิบัติตาม มาตรฐาน การท�า PM
อ้อยติด มีด ค้อน ตะแกรง สึกหรอ
ผนังซองอ้อยฉีก
C
ก�าหนดช่วงเวลา ในการท�า PM ยังไม่เหมาะสม
จังหวะ การลงอ้อย
S
ทรายปน U
หัวหน้างาน C ดูแลไม่ทั่วถึง
C
สะพานเมนเดินเร็ว
อ้อยสกปรก โลหะปน U
รวม 6C-1S-7U
วัตถุดิบ
วิธีการท�างาน 1. ไม่มีการก�าหนดมาตรฐาน ค่าความเร็วของสะพานเมน 2. จังหวะของการลงอ้อยไม่เหมาะสม เนื่องจากใบอ้อยปนจ�านวนมาก 3. เรียงอ้อยไม่ดี 4. ก�าหนดช่วงเวลาท�า PM ไม่เหมาะสม
C
เครื่องจักร
เครื่องจักร 1. มีคานขวางสะพาน 2. ก�าลังขับมอเตอร์ชดุ เกลีย่ อ้อย ไม่เพียงพอ 3. สตีมตกท�าให้ใบมีดหมด
การแก้ ไขปัญหาจากผัง 1. ตัดสาเหตุที่ไม่จ�าเป็นออก 2. ล�าดับความส�าคัญและความเร่งด่วน 3. หากไม่สามารถระบุสาเหตุและยืนยันได้จ�าเป็นต้องเก็บข้อมูลอีกครั้งจนข้อมูลกระจ่างชัด 4. หารูปแบบวิธีการแก้ ไข 5. ก�าหนดรูปแบบวิธีการแก้ ไข ก�าหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาเริ่มต้นและระยะเวลาสิ้นสุดการแก้ ไข 6. ติดตามผลการแก้ ไขและจ�าเป็นต้องระบุเป็นค่าตัวเลขเพื่อให้สามารถประเมินผลได้อย่างชัดเจน Source: เอกสารประกอบการสัมมนา Modern Manufacturing Forum 25 มีนาคม 2560
U
PIC.2 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ผัง (ที่มาภาพ: เอกสารประกอบ การสัมมนา Modern Manufacturing Forum 25 มีนาคม 2560)
บุคลากร 1. หัวหน้างานดูแลไม่ทั่วถึง 2. ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน PM
จากรูปที่ 2 ซึ่งเป็นตัวอย่างการใช้งานผัง C&E จะเห็นได้ว่า มี ก ารจั ด หมวดหมู ่ ข องปั ญ หาจากการวิ เ คราะห์ เ พื่ อ สร้ า ง การจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยสามารถแบ่งได้เบื้องต้น ดังนี้ การแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพนั้น จ�าเป็นจะต้องเก็บ รวบรวมรายละเอียดข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อสร้างตัวเลือกหรือ วิธกี ารด�าเนินงานทีส่ อดคล้องกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ดังนัน้ แผนผัง ก้างปลาหรือ C&E Diagram จะสามารถตอบสนองต่อโจทย์ หรือปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยขยายปัญหาให้ปรากฏ ชัดขึ้น โดยขึ้นอยู่กับความสามารถในการพิจารณาปัญหาว่า ตรงเป้าหมายหรือไม่ จากนั้นจึงท�าการขยายความเพื่อระบุ ปัจจัยหลัก ปัจจัยรอง และปัจจัยย่อย เพือ่ พิจารณาวิธกี ารแก้ไข ที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมขึ้นมา
EXECUTIVE SUMMARY To identify the problem for resolve or preventive operation, overall knowledge and understanding for related factors must be provided. Cause and Effect Diagram method or Fish Bone Diagram could use to identify the problem entirely which will expand the cause to see clearly. This method is helpful for gathering the information before taking a proper action. The key for this operation is to make sure that focus on the true problem clearly and then identify the related factors. After identified factors, specify the major cause, subordinate cause and minor cause as follow. The major cause should be considerate from 4 M’s which are Man, Machine, Material and Method then prioritize and assign work to operator as the next step. To evaluate, the result must show with numeric value to make it clearly. issue 170 april 2017
50 food processing เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
อุตสาหกรรม
แปรรูปอาหาร ____ในยุค
ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเทคโนโลยีและการสื่อสารบนโลกออนไลน์ ได้เป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�าวัน ซึง่ อิทธิพลของเทคโนโลยีทสี่ ง่ ผล อย่างเห็นได้ชดั ต่อวงการแปรรูปอาหาร คือ Industry 4.0 และ IoT อีกเช่นกัน ซึ่งสร้างความสะดวกและพัฒนาประสิทธิภาพ ของการด�าเนินงานให้เกิดขึน้ ได้อย่างชัดเจน ทัง้ ทางด้านผลผลิต และกระบวนการปฏิบัติงาน
โรงงานแปรรูปอาหารหรืออุตสาหกรรมอาหาร แห่งอนาคตนัน้ ถือเป็นผลิตผลของการเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี เทคโนโลยีดา้ น IT ต่างเข้ามา สนั บ สนุ น กระบวนการท� า งานต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดย Industry Week ได้รายงานว่า กว่า 40% ของผู้ผลิตเชื่อว่ากระบวนการผลิตอัจฉริยะนั้น ได้มาถึงช่วงเวลาอันน่าสนใจที่จะเริ่มเข้ามามีบทบาท กั น อย่ า งจริ ง จั ง ซึ่ ง เหล่ า ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ นั ก ลงทุ น ต้ อ งท� า ความเข้ า ใจประเด็ น ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ ภาคส่วนของตนอย่างชัดเจน เพื่อท�าการพัฒนาและ ต่อยอดความส�าเร็จของกิจการทีต่ อ้ งก้าวไปท่ามกลาง ความเปลีย่ นแปลง โดยต้องท�าความเข้าใจถึงเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมทีเ่ ข้ามาเป็นตัวแปรในเรือ่ งเหล่านี้
5 เทคโนโลยี ทีผ่ ลักดันกระบวนการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ วงการอุตสาหกรรมยุคใหม่นนั้ เน้นการแข่งขันไปที่ การครอบครองนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทีต่ อบโจทย์การผลิตของตนและกลุม่ ลูกค้า ซึง่ โรงงาน ผลิตหรือแปรรูปอาหารโดยมากมักจะมีการจัดการกับ ปั ญ หาที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด การสู ญ เสี ย ของต้ น ทุ น อยู ่ แ ล้ ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ไม่วา่ จะเป็นแรงงานทีเ่ หมาะสมตามรูปแบบของ Lean จัดการกับขัน้ ตอนทีไ่ ม่จา� เป็น รวมถึงการควบคุมกลไก ราคาในตลาดพืน้ ฐานอีกด้วย ดังนัน้ เทคโนโลยีทจี่ ะ สนับสนุนศักยภาพการท�างานของโรงงานแปรรูปได้ หลักๆ มี 5 ชนิด ดังนี้ 1. Robotics หุ่นยนต์เริ่มมีบทบาทส�าคัญมากขึ้นส�าหรับการ ทดแทนแรงงาน ซึ่ ง สามารถช่ ว ยในการควบคุ ม งบประมาณได้เป็นอย่างดี เพิ่มความแม่นย�าของ การท� า งาน โดยเฉพาะงานที่ มี ค วามอั น ตรายสู ง ปัจจุบันหุ่นยนต์ได้มีการพัฒนาให้สามารถท�างาน ทดแทนมนุษย์ได้ในหลากหลายต�าแหน่ง เช่น Amazon ทีใ่ ช้ Kiva Systems มูลค่ากว่า 775 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่ ง เป็ น ระบบหุ ่ น ยนต์ ดู แ ลจั ด การคลั ง สิ น ค้ า ท� า ให้ สามารถประหยัดต้นทุนลงไปได้กว่า 900 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ หรือกว่า 40% นัน่ เอง 2. Product Innovation เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและ ตลาด ธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารนัน้ จ�าเป็นต้อง ใช้ PLM หรือ Product Life Cycle ซึง่ เป็นเครือ่ งมือ ทีช่ ว่ ยในการระบุความซับซ้อนทีเ่ กิดขึน้ ของอุตสาหกรรม
แปรรูปอาหาร พัฒนาและเปิดตัวสินค้าใหม่สตู่ ลาด ไม่วา่ จะเป็นธุรกิจแบบ B2B หรือ B2C ก็ลว้ นแต่ ต้องการนวัตกรรม ซึ่งเป็นหัวใจส�าคัญส�าหรับ ยุคสมัยใหม่ทกี่ า� ลังจะมาถึงนีท้ งั้ สิน้ ซึง่ นวัตกรรมนัน้ ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากเทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้า การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี อย่างเช่น 3D Printing เข้ากับ ทรัพยากรที่มี เช่น การสร้างบรรจุภัณฑ์ต้นแบบ จะสร้ า งเอกลั ก ษณ์ แ ละจุ ด ขายที่ ส� า คั ญ เพิ่ ม ศักยภาพการแข่งขัน
Huffington Post 82% มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 49% พบว่ามีปัญหาผลิต ของเสียน้อยลง
food processing
3. Closed Loop Quality Control โรงงานแปรรูปอาหารส่วนมากมักจะใช้การ ควบคุมคุณภาพแบบระบบอัตโนมัติเพื่อประมวล ข้อมูลทีไ่ ด้ การสร้างระบบทีม่ เี ซนเซอร์ตรวจจับอย่าง ใกล้ชดิ และละเอียดในทุกขัน้ ตอนถือเป็นสิง่ จ�าเป็น หากต้องการควบคุมคุณภาพ เพือ่ ตรวจสอบความ เปลีย่ นแปลงให้เจอเสียก่อนทีจ่ ะสายเกินไป 4. Planning and Scheduling เมื่อลูกค้ามีความต้องการสินค้า MTS หรือ Make-to-Stock มากขึน้ ผูผ้ ลิตอาหารแปรรูปมีความ จ�าเป็นที่จะต้องวางแผนและจัดการล่วงหน้า เพื่อ เตรียมตัวรับงานทีม่ คี วามท้าทาย โดยเฉพาะสินค้า ที่มีอายุจัดวางขายต�่า การใช้เครื่องมืออัจฉริยะ จะสามารถช่วยในการจัดการทรัพยากรทีต่ อ้ งใช้ได้ อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะความต่อเนือ่ งลืน่ ไหลของ วัตถุดิบในการแปรรูปเป็นสินค้า ด้วยการประเมิน ทรัพยากรเป็นประจ�าจะท�าให้สามารถพยากรณ์และ เตรียมพร้อมวัตถุดบิ ได้ตลอดทัง้ ห่วงโซ่มลู ค่า 5. IoT-Aided Logistics Supply Chain Management IoT นัน้ สร้างผลกระทบแก่อตุ สาหกรรมการผลิต ได้หลายแง่มมุ สามารถประยุกต์ได้กบั ห่วงโซ่มลู ค่า ทัง้ หมด ไม่วา่ จะเป็นโลจิสติกส์ การตรวจสอบสินค้า ในคลังสินค้า จากการส�ารวจครัง้ ล่าสุดพบว่า • กว่า 35% ของผูผ้ ลิต ปัจจุบนั ใช้เครือ่ งมือ อัจฉริยะเพื่อยกระดับกระบวนการท�างาน และ อีก 17% มีแผนด�าเนินการใช้งานในอีก 3 ปีขา้ งหน้า • ในปัจจุบนั สินค้ากว่า 38% นัน้ ได้มกี ารติดตัง้ เซนเซอร์เพือ่ เก็บข้อมูลและอีกกว่า 31% มีแผนทีจ่ ะ ปรับใช้ในอนาคต • 34% เชือ่ ว่าถึงเวลาแล้วทีอ่ เมริกนั ชนผูเ้ ป็น นักลงทุนด้านอุตสาหกรรมควรปรับเข้าหา IoT
ผลลัพธ์ 5 ประการ จากการสนับสนุนของเทคโนโลยี IT ส� า หรั บ กระบวนการแปรรู ป อาหารนั้ น เทคโนโลยี IT นับเป็นส่วนส�าคัญส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมแห่งอนาคต เช่น Cloud หรือ IoT ซึง่ ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่มูลค่าทั้งหมด ตั้งแต่ระดับ ออฟฟิศไปจนถึงระดับปฏิบตั กิ ารของโรงงาน การ ท�าความเข้าใจเทคโนโลยี IT ทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลง อยู่ตลอดเวลานั้นจึงนับเป็นเรื่องที่มีความส�าคัญ อย่างมาก หากจะก้าวเข้าสูโ่ ลกแห่งการเปลีย่ นแปลง ของงานอุตสาหกรรม
1. Value Chain Visibility เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลของห่วงโซ่มูลค่า ทัง้ หมด ผูผ้ ลิตจะต้องมีการจัดการยุง้ ฉางเก็บผลผลิต และระบบต่างๆ ให้สามารถท�าการสือ่ สารแลกเปลีย่ น ข้อมูลระหว่างกันได้ มันจะไม่มปี ระโยชน์อะไรเลย หากข้อมูลถูกเก็บไว้ในทีๆ ่ เดียวโดยไม่ได้แบ่งปันไป ใช้งานกับส่วนอืน่ นอกจากนี้ ยังต้องสามารถเข้าถึง ข้อมูลได้แบบ Real-Time และส�าหรับสายการผลิต อาหารและเครือ่ งดืม่ นัน้ ความสามารถในการตรวจสอบ ข้อมูลได้ตั้งแต่วัตถุดิบไปจนถึงจุดการจัดวางเพื่อ ซือ้ -ขายนับเป็นข้อมูลทีส่ า� คัญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ อายุขยั ของอาหารและวัตถุดบิ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อ ทั้ ง ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของแบรนด์ แ ละต้ น ทุ น ได้โดยตรง 2. Mobile and Social Connectivity ผูจ้ ดั การโรงงานไม่อาจนัง่ ประจ�าทีอ่ ยูต่ ลอดเวลาได้ อาจต้องออกตรวจตราและลงมือปฏิบัติงานเอง ในบางอย่าง ดังนัน้ อุปกรณ์ทรี่ องรับการเชือ่ มต่อ และท�างานผ่านระบบจึงเป็นสิง่ ส�าคัญเพือ่ ทีจ่ ะตอบสนอง การท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกสถานที่ ซึง่ สามารถสนับสนุนงานตั้งแต่การซ่อมบ�ารุง การ ส�ารองชิน้ ส่วน นอกจากนี้ การผสมผสานและสือ่ สารกัน ของเครื่องมือต่างๆ จะช่วยเพิ่มความคล่องตัว ในการท�างานมากขึน้ และการเชือ่ มต่อกับเครือข่าย สังคมจะท�าให้ทราบถึงผลตอบรับของสินค้า สามารถ น�ามาปรับปรุงและพัฒนาได้ตรงตามความต้องการได้ 3. Cloud-Enabled Agility ด้วยระบบ Cloud รูปแบบการท�างานและการ ค้าขายได้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น รูปแบบการ ท� า งานและการผลิ ต รู ป แบบใหม่ ส ามารถท� า ได้ ง่ายดาย รวมทั้งลงลึกในรายละเอียดได้มากขึ้น สามารถลดก�าลังการลงทุนลงได้ในหลายภาคส่วน โดยใช้ Cloud ทดแทนในการท�างาน เช่น ระบบ ERP ทีม่ คี วามยืดหยุน่ มากขึน้ จากการใช้งานร่วมกับระบบ Cloud ซึ่งมีข้อมูลทั้งหมดในระบบเอาไว้ให้ช่วย วางแบบแผนและตัดสินใจ 4. Data Ingenuity ด้ ว ยการใช้ ง าน Spreadsheet ร่ ว มกั บ ประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนานในการผลักดัน กระบวนการท�างานของโรงงานแปรรูป วันนี้เรา สามารถพบเจอข้อมูลที่มากมายกว่าที่เคย ท�าให้ กระบวนการผลิตมีความคุม้ ค่าทีม่ ากกว่าเดิม การใช้ ข้อมูลที่ได้มาอย่างชาญฉลาดนั้นจ�าเป็นจะต้อง วิเคราะห์ข้อมูล เทรนด์การซื้อขาย พฤติกรรม
51
ผูบ้ ริโภค และข้อมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอีกมากมาย ซึง่ IoT สามารถตอบโจทย์นไี้ ด้เป็นอย่างดี เพือ่ ใช้งาน ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต้องมีการวางแผนการจัดการ ข้อมูลให้ดี เพือ่ สร้างศักยภาพการท�างานกับข้อมูล จ�านวนมหาศาล 5. Customer Centricity ปัจจัยสุดท้ายส�าหรับโรงงานแปรรูปแห่งอนาคต คือ ‘ลูกค้าเป็นส�าคัญ’ ซึง่ เน้นไปทีค่ วามรวดเร็วของ การขนส่ง มูลค่าของสินค้า และประสบการณ์เชิงบวก ทีล่ กู ค้าจะได้รบั จากบริการและสินค้าของผูจ้ า� หน่ายเอง ซึง่ วัตถุดบิ ส�าหรับอุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ นัน้ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย หลั ก อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ จ ะต้ อ งตาม ความต้องการของลูกค้าหรือเทรนด์ตลาดให้ทัน ซึ่งตลาดผู้บริโภคนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงไปได้ อย่ า งรวดเร็ ว จ� า เป็ น จะต้ อ งมี CRM (Customer Relationship Management) และเครือ่ งมือออนไลน์ รวมถึงการปรับแต่งผลิตภัณฑ์ทชี่ ว่ ยให้ตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าได้อย่างตรงเป้า การพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารให้มี ศั ก ยภาพเพี ย งพอต่ อ การปรั บ เปลี่ ย นเข้ า สู ่ ยุ ค อุตสาหกรรม 4.0 นัน้ เป็นสิง่ ทีม่ แี นวโน้มทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ซึ่งเหล่าผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม แปรรูปอาหารจ�าเป็นต้องมีความเข้าใจถึง เทคโนโลยี ด้าน IT และนวัตกรรมที่ผลักดันและสนับสนุน รูปแบบของอุตสาหกรรมการแปรรูป เพื่อให้เกิด ศักยภาพในการปรับใช้ได้อย่างสูงสุดโดยไม่เกิด ปัญหาขึน้ ทัง้ ทางด้านบุคลากรและทรัพยากร เพือ่ สร้างการท�างานทีย่ งั่ ยืนมีศกั ยภาพ Source: How Process Manufacturers Can Prepare for the Factory of the Future (Process Manufacturing) (www.infor.com)
EXECUTIVE SUMMARY The 4th revolution of industrial circle or Industry 4.0 is happening with every fields of industrial, including food processing. For food processing industry, it must be focused on overall control system with smart technology. This revolution based on 5 technologies that are Robotics, Product Innovation, Closed Loop Quality Control, Planning and Schedule and IoT-Aided Logistics Supply Chain Management which also caused 5 results from IT which are Value Chain Visibility, Mobile and Social Connectivity, Cloud-Enabled Agility, Data Ingenuity and Customer Centricity. The manufacturers must be readied for the revolution in order to achieve the best outcome of their investment. issue 170 APRIL 2017
52 exclusive interview
คุณศิริรุจ จุลกะรัตน์
ปีคาดอุ 2560 ตฯ ไทย โตต่อเนื่อง
แนะผู้ประกอบการสแตนด์บาย พร้อมปรับตัวรับโลกดิจิทัล
หลังจากสภาวะเศรษฐกิจเมื่อปีที่ผ่านมาไม่สู้ดีนัก ทั้งด้วย ปัจจัยภายนอกอย่างสภาวะเศรษฐกิจโลกที่พร้อมใจกัน ถดถอยทุกภูมิภาค ตั้งแต่สหรัฐฯ ยุโรป และเอเชีย หรือ ปัจจัยภายในที่การเมืองในประเทศก็ ไม่นิ่งนัก รวมถึงการ เปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 แทบจะเต็มตัว ท�าให้ การลงทุนต่างๆ กลายเป็นรายจ่ายทีย่ งั ไม่คอ่ ยเห็นเนือ้ หนัง ของเม็ดเงินที่จะเข้ามามากนัก
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
exclusive interview 53
เปิดศักราชใหม่ 2560 ชวนพูดคุยถึงทิศทาง และความหวังของ อุ ต สาหกรรมไทยในปี นี้ กั บ ‘คุ ณ ศิ ริ รุ จ จุ ล กะรั ต น์ ’ ผู ้ อ� ำ นวยกำร ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) รวมถึงวิเคราะห์แนวโน้มของ ทั้งอุตสาหกรรมเดิม และอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ตลอดจนค�าแนะน�า ถึงผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยให้ปรับตัวตามเทรนด์เศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อเตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที
2560 คำดอุตสำหกรรมไทยโตต่อเนื่อง คุณศิรริ จุ จุลกะรัตน์ เกริน่ ถึงภาพกว้างในการท�างานของหน่วยงานว่า สศอ. จัดท�าแผนพัฒนาอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และ ท�าฐานข้อมูลเกีย่ วกับสภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยปีทผี่ า่ นมาเน้นไปที่ เรือ่ งเขตเศรษฐกิจพิเศษแบบคลัสเตอร์ คือ ก�าหนดเป้าหมายในการส่งเสริม การลงทุน วิเคราะห์ปัญหาของแต่ละคลัสเตอร์ รวมถึงหนทางในการแก้ไข ปัญหา โดยมีหัวใจในการท�างาน คือ ข้อมูลที่ได้ต้องทันสมัยและใช้ได้จริง “ส่วนในปี 2560 นี้ สศอ.ก�ำลังท�ำแผนพัฒนำอุตสำหกรรมให้สอดคล้อง กับยุทธศำสตร์ S-Curve และ New S-Curve โดยก�ำหนดเป็นแผนทีน่ ำ� ทำง ให้รัฐบำลทั้งระยะสั้น 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี และระยะยำว 5 ปีข้ำงหน้ำ 20 ปีข้ำงหน้ำ” คุณศิริรุจกล่าวถึงแผนงานของ สศอ. เกี่ยวกับแนวโน้มการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมไทยในปี 2560 นี้ คุณศิริรุจ วิเคราะห์ว่า อุตสาหกรรมดั้งเดิมยังโดดเด่นอยู่ ทั้งอุตสาหกรรม อาหารซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ส่งออกได้มาก และอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และชิน้ ส่วนยานยนต์มแี นวโน้มโตขึน้ เพราะเศรษฐกิจน่าจะ กระเตือ้ ง ประกอบกับราคาผลผลิตทางการเกษตรในปีหน้าก็มผี ลผลิตมากขึน้ ได้ราคาทีเ่ หมาะสม ก�าลังซือ้ ของคนในประเทศมีสว่ นกระตุน้ ยอดจ�าหน่ายได้ ทั้งนี้ คุณศิริรุจ มองว่า ปัจจัยส�าคัญที่ชี้เป็นชี้ตายว่าอุตสาหกรรมไทย จะรุ ่ ง หรื อ ร่ ว ง ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาวะเศรษฐกิ จ โลกเป็ น หลั ก เนื่ อ งจาก อุตสาหกรรมไทยมีรายได้จากการส่งออกถึง 70% ปีที่ผ่านมาตัวเลข การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยจึงไม่ดีนัก เพราะเศรษฐกิจโลกซบเซา แต่คาดว่าในปี 2560 นี้ สถานการณ์เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวขึ้นเล็กน้อย ส่งผลดีต่อการส่งออกของภาคอุตสาหกรรมไทย “เรำเลยจุดตกต�่ำสุดมำแล้ว ฉะนั้น คงไม่มีอุตสำหกรรมไหนที่จะเจ๊ง กล่ำวคือ คงไม่ทรุดไปกว่ำนีอ้ กี แล้ว โดยอัตรำกำรเติบโตน่ำจะพอมีให้เห็น แต่อำจไม่ชัดนัก เพรำะยุโรป สหรัฐฯ และเอเชียยังไม่ค่อยฟื้นเท่ำไร แต่ก็ มีปจั จัยอย่ำงกำรทีโ่ ดนัลด์ ทรัมพ์ อำจจะยกเลิกนโยบำย TPP กับคูแ่ ข่งส�ำคัญ ของเรำ อย่ำงเวียดนำมและมำเลเซีย ส่วนนี้จะเป็นผลดีกับเรำ เพรำะเขำ ไม่มแี ต้มต่อ ไม่มคี วำมได้เปรียบเรือ่ งมำตรกำรผ่อนปรนทำงภำษีอกี ต่อไป” จุดอ่อนจุดแข็งอุตสำหกรรมไทย แม้ดเู หมือนได้รบั บาดเจ็บจากพิษเศรษฐกิจ แต่ยงั นับว่า อุตสาหกรรมไทย เจ็บน้อยกว่าเพื่อนบ้านในภูมิภาค ส่วนหนึ่งเพราะสินค้าของไทยอยู่ใน ห่วงโซ่เศรษฐกิจโลก “เรำเข้ำไปอยูใ่ น Global Supply Chain สินค้ำจำกภำคอุตสำหกรรมไทย เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของห่ ว งโซ่ ไ ปแล้ ว ฉะนั้ น เรำมี โ อกำสมำกๆ ที่ จ ะโต จะต่อยอดถ้ำเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภำค เรำติดลบน้อย นั่นเพรำะ เรำแข็งแกร่งพืน้ ฐำนเรำดีกว่ำ จึงไม่ทรุดมำกนัก” คุณศิรริ จุ ชีใ้ ห้เห็นจุดแข็ง ทว่า จุดอ่อนของเราก็เป็นเรื่องที่ต้องแก้ไข โดยคุณศิริรุจ กล่าวว่า ผลิตภาพหรือ Productivity ของอุตสาหกรรมไทยยังไม่สงู เท่าทีค่ วร ทัง้ แรงงาน และเครื่ อ งมื อ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ภ าคเอกชนต้ อ งลงทุ น ทั้ ง เครื่ อ งจั ก รและ ทรัพยากรมนุษย์ แต่ด้วยสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวนี้เองที่ท�าให้เอกชน ยังไม่ตัดสินใจเสี่ยงจะลงทุนเพิ่ม
“เราเลยจุดตกต�่าสุดมาแล้ว ฉะนั้น
คงไม่มีอุตสาหกรรมไหนที่จะเจ๊ง
กล่าวคือ คงไม่ทรุดไปกว่านี้อีกแล้ว โดยอัตรา การเติบโตน่าจะพอมีให้เห็นแต่อาจไม่ชดั นัก เพราะ ยุโรป สหรัฐฯ และเอเชียยังไม่คอ่ ยฟืน้ เท่าไร แต่กม็ ี ปัจจัยอย่างการที่โดนัลด์ ทรัมพ์ อาจจะยกเลิก นโยบาย TPP กับคู่แข่งส�าคัญของเรา อย่าง เวียดนามและมาเลเซีย ส่วนนี้จะเป็นผลดีกับเรา เพราะเขาไม่มีแต้มต่อ ไม่มีความได้เปรียบเรื่อง มาตรการผ่อนปรนทางภาษีอีกต่อไป”
“สภำวะเศรษฐกิ จ โลกที่ ช ะลอตั ว ซึ่ ง ท� ำ ให้ แ ผนกำรปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภำพของภำคเอกชนก็ยังชะลออยู่ มีแนวโน้มที่ชัดเจนเมื่อไร เอกชนก็จะปรับตัว”
New S-Curve ควำมหวังใหม่ของเศรษฐกิจไทย อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร ที่ประเทศไทยสร้างฐานส่งออกได้อย่างเข้มแข็ง ท�าให้ผู้ประกอบการไทย สามารถต่อยอด หรือชิฟต์การผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าให้สินค้าตัวเองได้ โดยคุ ณ ศิ ริ รุ จ ยกตั ว อย่ า ง ชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ ว ่ า สามารถต่ อ ยอด ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ New S-Curve เช่น อุปกรณ์การแพทย์ และ ชิ้นส่วนอากาศยาน ส่วนอุตสาหกรรมสิ่งทอและเสื้อผ้าส�าเร็จรูป ต้องยอมรับว่า อาจจะ แข่งขันกับประเทศเพือ่ นบ้านไม่ได้แล้ว เพราะเขามีตน้ ทุนการผลิตต�า่ กว่าเรา ค่ า แรงต�่ า กว่ า โดยผู ้ ป ระกอบการไทยส่ ว นหนึ่ ง ย้ า ยฐานการผลิ ต ไป เมียนมา เวียดนาม และกัมพูชา แต่ที่คุณศิริรุจมองเห็นเป็นความหวัง คือ การต่อยอดอุตสาหกรรมสิ่งทอให้เฉพาะทางให้กลายเป็นสินค้า Functional มากขึ้น “เรำสนับสนุน Functional Textile ผู้ประกอบกำรไทยโดดเด่นเรื่อง เส้นใยสังเครำะห์ มีควำมสำมำรถในกำรท�ำเส้นใยผสมผสำน ทั้งแบบ สังเครำะห์และธรรมชำติ เรำท�ำได้หลำกหลำยมำก ถือว่ำโดดเด่นบนเวทีโลก เช่น ใช้เทคโนโลยี Silver Nano ท�ำเส้นใยปลอดเชือ้ ท�ำเสือ้ ผ่ำตัด กลำยเป็น Functional Textile เพรำะเส้นใยสำมำรถท�ำควำมสะอำดตัวเองได้หรือเบำะ รถยนต์ทนี่ งั่ แล้วไม่สกปรก ฝุน่ ไม่เกำะ หรือท�ำเสือ้ กีฬำ ระบำยควำมร้อนดี ระบำยเหงื่อดีใส่แล้วเย็น” คุณศิรริ จุ ยังมองว่า อีกกลุ่มอุตสาหกรรมไทยทีม่ ศี กั ยภาพแต่ยงั ไม่ถกู ผลักดันให้พัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ คือ อุตสาหกรรมกลุ่ม Non-Food “เรำมีสำรตัง้ ต้น มีวตั ถุดบิ ทีพ่ ร้อมมำก แต่ยงั ไม่ถกู พัฒนำให้เกิดมูลค่ำเพิม่ ยังไม่มีกำรพัฒนำและลงทุนอย่ำงเป็นรูปธรรมนัก เช่น มังคุด กล้วย ยำง ปำล์มน�้ำมัน เป็นต้น วัตถุดิบเหล่ำนี้สำมำรถน�ำมำพัฒนำเป็นผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอำง Bio-Chemical, Bio-Plastic, Bio-Energy หรืออย่ำงปำล์ม น�้ำมันที่สำมำรถสกัดเป็นกรดน�้ำมันได้
issue 170 APRIL 2017
54 exclusive interview
นอกเหนือจากอุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมหนักแล้ว เรามองว่า กลุ่ม Non-Food จะกลายเป็นสินค้าส่งออกที่โดดเด่นได้แถมยังเป็นการ สร้างรายได้ให้ชุมชน ยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม” ส่วนการตั้งเป้าผลิตยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ที่รัฐบาลทั้งให้ทุนวิจัยและ สนับสนุนสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนแก่ภาคอุตสาหกรรม คุณศิริรุจ มองว่า หัวใจหลักทีจ่ ะก่อให้เกิดการลงทุนผลิตได้จริง คือ ความต้องการซือ้ จากผู้บริโภค หากผู้บริโภคยังไม่ต้องการซื้อ หรือความต้องการซื้อ ยังไม่ชัดเจนพอ ย่อมไม่ก่อให้เกิดการลงทุน ฉะนั้น สิ่งแรกที่บริษัท ทั้งหลายท�าอยู่ คือ การให้ความรู้ ความเข้าใจต่อผู้บริโภค หากผู้บริโภค ต้องการ ผู้ประกอบการก็พร้อมผลิต เพราะไลน์การผลิต เทคโนโลยี และ เครื่องจักร มีความพร้อมอยู่แล้ว อีกเรือ่ งทีน่ า่ สนใจ คือ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC : Eastern Economic Corridor) ที่เห็นเป็นรูปธรรมมากกว่า เพราะ เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีท่าเรือน�้าลึกส�าหรับส่งออก มีนิคมอุตสาหกรรม เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ ปิโตรเคมี ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ท�าให้ศักยภาพพื้นที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เช่น ถนนไฮเวย์ รถไฟรางคู่ ท่าเรือน�้าลึก สนามบิน พัฒนาตัวเมือง พัฒนา สิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ ทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข เพิ่มโรงเรียน โรงพยาบาล ท�าให้เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ รองรับการลงทุนใหม่ รองรับ การขยายตัวของเศรษฐกิจเมือง
อุตสาหกรรม 4.0 ต้องปฏิวัติวิธีคิด หมดยุค Mass เข้าสู่ยุค Customize แม้ว่ากระแสอุตสาหกรรม 4.0 จะมาแรงและเป็นที่พูดถึง และต้อง ยอมรับว่าเป็นเทรนด์ที่ปฏิเสธไม่ได้ แต่คุณศิริรุจยืนยันว่า การประกาศ นโยบายประเทศไทย 4.0 และอุตสาหกรรม 4.0 ไม่ได้หมายความว่า ทุก อุตสาหกรรมต้องเป็น 4.0
อีกเรื่องที่น่าสนใจ คือ
โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวัน ออก (EEC : Eastern Economic Corridor)
ที่เห็นเป็นรูปธรรมมากกว่า เพราะเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีทา่ เรือน�า้ ลึกส�าหรับส่งออก มีนคิ มอุตสาหกรรม เป็นฐานการ ผลิตอุตสาหกรรมรถยนต์ ปิโตรเคมี ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ท�าให้ ศักยภาพพื้นที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เช่น ถนนไฮเวย์ รถไฟรางคู่ ท่าเรือน�้าลึก สนามบิน พัฒนา ตัวเมือง พัฒนาสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ ทั้งด้านการศึกษา สาธารณสุข เพิม่ โรงเรียน โรงพยาบาล ท�าให้พนื้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพ รองรับการลงทุนใหม่ รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจเมือง
“ต้องดูเรื่องความพร้อม ต้นทุนการผลิต พร้อมให้ผู้ประกอบการไป หรือไม่ บางอุตสาหกรรมยังไม่พร้อมจะปรับเปลีย่ นเป็นเครือ่ งจักร 100% เพราะถ้าเปลี่ยนแล้วอาจท�าให้ต้นทุนสูงจนไม่สามารถแข่งขันได้ ไม่ง่าย แต่ถา้ อุตสาหกรรมไหนไปได้ เราผลักดันให้ไป เช่น อุตสาหกรรมประกอบ รถยนต์ เขาใช้โรบอทส์เป็นส่วนใหญ่ หรือในขั้นตอนแพ็คเกจจิ้ง เริ่มใช้ โรบอทส์ได้ ไปสู่ 4.0 ไปไม่ง่าย ต้องค่อยๆ ไป สิ่ ง ส� า คั ญ กว่ า นั้ น คื อ ผู ้ ป ระกอบการไทยควรดู เรื่ อ งของความ เปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีในอนาคต การเปลีย่ นแปลงทีค่ อ่ นข้างรวดเร็วและ เฉียบพลัน ท�าให้รปู แบบการท�าธุรกิจก็เปลีย่ น กลายเป็น Digital Economy การผลิตทีจ่ ะเป็นล็อตใหญ่ๆ หรือ Mass อาจจะลดลง Customize มากขึน้ เฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มมากขึ้น ต้องพร้อมปรับตัวเพื่อรับความ เปลี่ยนแปลง” คุณศิริรุจกล่าวทิ้งท้าย ภาพรวมอุตสาหกรรมไทยในปีที่ผ่านมา แม้จะดูไม่สู้ดีนักทั้งด้วย ตัวเลขผลประกอบการ และเม็ดเงินลงทุน แต่ศักราชใหม่ 2560 นี้ ยังดูมี ความหวังเพราะเศรษฐกิจโลกฟืน้ ตัว ส่งผลให้เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ไทยกระเตื้องเป็นบวกขึ้นได้บ้าง ส่วนเทรนด์ 4.0 และยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล นั้น ถือว่ามาถูกทางและเป็นแสงแห่งความหวัง ทั้งนี้ อุตสาหกรรม 4.0 ไม่ได้อยู่ที่การก้าวทันเทคโนโลยี หรือสักแต่ว่าปฏิวัติเครื่องจักรเท่านั้น แต่หัวใจของมันอยู่ที่การปฏิวัติความคิดของผู้ประกอบการเอง ว่าต้อง เป็นนักเรียนรู้ นักปรับตัว ให้พร้อมรับทุกความเปลีย่ นแปลงด้วย 4.0 ไม่ใช่ เรื่องยาก แต่สิ่งที่ยาก คือ การปรับวิธีคิด...
EXECUTIVE SUMMARY Mr. Siriruj Chulakaratana, Director of Office of Industrial Economics said about the direction and anticipation of Thai industry as well as analyzed the trend of both prior industries and new target industries. Mr. Siriruj gave advice to Thai industrial entrepreneurs to adjust themselves according to digital economic trend so that they could immediately take up any incurred change. A part of interesting substance was that the major factors to critically point out whether Thai industry would be promising or falling off should mainly depend on the world economy since Thai industry earned revenue from export as high as 70%. This also caused the previous year’s growth figure of Thai economy with not quite good, following the depression of the world economy. However, in 2017, the world’s economic circumstance would be expanded a bit, which shall benefit the export of Thai industrial sector. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT 55
ผ่า ‘เครื่องยนต์
เศรษฐกิจไทย 4.0’ NEW ENGINES ประตูสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
OF GROWTH
เป็นที่ทราบกันดีว่าโลกในวันนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและมีความผันผวนอย่างมาก ผลกระทบจากเหตุการณ์ ที่ เ หนื อ ความคาดหมายซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะประเทศทั่ ว โลก ไม่วา่ จะเป็นกรณีทอี่ งั กฤษโหวตขอแยกตัวจากสหภาพยุโรปหรือ Brexit ตามมาด้วยการประกาศนโยบายทีร่ อ้ นแรงของทรัมป์และ ความไม่แน่นอนทางการเมืองในฝั่งยุโรปที่ยังคงมีอยู่ส่งผลให้ แต่ละประเทศจะต้องคิดกลยุทธ์ เพือ่ รักษาระดับความมัน่ คงทาง เศรษฐกิจให้กับประเทศของตนเอง ซึ่งรวมถึงประเทศไทยที่จะ ต้องปรับตัวและสร้างความเข้มแข็งให้กับประเทศในทุกๆ ด้าน ตั้งแต่ฐานรากและวางอนาคตอย่างมีทิศทางที่ชัดเจน ต้องยอมรับว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจไทย ทั้งในด้านโอกาสที่เปิดกว้างมากขึ้น และด้ า นที่ เ ป็ น ความท้ า ทาย ซึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการโดยเฉพาะ ในภาคอุตสาหกรรม การค้าและการลงทุนต้องเตรียมความพร้อม ปรั บ ตั ว ทั้ ง ในเชิ ง รุ ก และรั บ อย่ า งเท่ า ทั น ซึ่ ง เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ได้จัดงานสัมมนา และนิทรรศการ ‘Opportunity Thailand’ ขึ้น โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ให้เกียรติเป็นประธาน เปิ ด การสั ม มนา พร้ อ มปาฐกถาพิ เ ศษเรื่ อ ง ‘โอกาสกั บ ประเทศไทย 4.0’ ดังมีใจความส�าคัญ ดังต่อไปนี้ issue 170 april 2017
56 INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT
ปรับเปลี่ยนโมเดลเศรษฐกิจ ก้าวข้ามกับดักการพัฒนาประเทศ ด้วย ‘Thailand 4.0’ ตัง้ แต่อดีตประเทศไทยได้มกี ารปรับเปลีย่ นโมเดลเศรษฐกิจ มาหลายครั้ ง เพื่ อ ให้ เ หมาะกั บ สถานการณ์ ท างเศรษฐกิ จ ในขณะนัน้ โดยเริม่ จาก ‘Thailand 1.0’ ทีเ่ น้นเกษตรกรรมแบบ ดั้ ง เดิ ม ไปสู ่ ‘Thailand 2.0’ ที่ เ น้ น อุ ต สาหกรรมเบาโดย ใช้ประโยชน์จากค่าจ้างแรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์มงุ่ เน้นการผลิตเพือ่ ทดแทนการน�าเข้าเป็นส�าคัญ จากนั้นประเทศไทยได้ก้าวสู่ ‘Thailand 3.0’ ในปัจจุบันที่เน้น อุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยดึงดูดการลงทุน จากต่างประเทศเพื่อให้มาใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต เพื่อส่งออกไปตลาดโลก อย่ า งไรก็ ดี ภายใต้ ‘Thailand 3.0’ นั้ น แม้ จ ะท� าให้ ประเทศไทยมีเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตเพิม่ ขึน้ แต่กต็ อ้ งเผชิญกับ ‘กับดัก ประเทศรายได้ ป านกลาง’ ‘กั บ ดั ก ความเหลื่ อ มล�้ า ของ ความมัง่ คัง่ ’ และ ‘กับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา’ ดังนัน้ รัฐบาลภายใต้การน�าโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี จึงให้ความส�าคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาที่จะสร้าง ความเข้มแข็งให้กบั ภาคส่วนต่างๆ ของประเทศอย่างครอบคลุม สมดุลและยั่งยืนด้วยโมเดลเศรษฐกิจ ‘ประเทศไทย 4.0’ ที่จะ ก้าวข้ามกับดักต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศและ เสริมสร้างเศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งน�าพาประเทศไทยให้ไปสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน วางเครื่องยนต์เศรษฐกิจชุดใหม่ พร้อมปรับปรุงกฎหมายด้านการลงทุน ในด้านเศรษฐกิจประเทศไทยจ�าเป็นต้องปฏิรูปโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจครั้งใหม่ เพื่อก้าวข้ามไปสู่โมเดลใหม่ของประเทศ ที่เรียกว่า ‘ประเทศไทย 4.0’ ซึ่งเป็นโมเดลของเศรษฐกิจที่เน้น คุณค่า (Value-Based Economy) และเน้นการขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม (Innovation-Driven Economy) ดั ง นั้ น รั ฐ บาลจึ ง ได้ ว างแนวทางการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เพือ่ สร้าง ‘เครือ่ งยนต์เพือ่ ขับเคลือ่ นการเติบโตทางเศรษฐกิจ ชุดใหม่’ (New Engines of Growth) โดยน�า ‘วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี น วั ต กรรมและความคิ ด สร้ า งสรรค์ ’ มาเป็ น ตัวขับเคลื่อนที่ส�าคัญในการยกระดับภาคเศรษฐกิจเดิมที่เรา มีพื้นฐานดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งการสร้างอุตสาหกรรมและ บริการใหม่ๆ ที่มีศักยภาพให้เกิดขึ้นเพิ่มเติมเพื่อเป็นฐานการ พัฒนาประเทศในระยะยาว โดยมุ่งหวังว่าจะช่วยสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจและน�าไปสู่ความยั่งยืนของประเทศในอนาคตได้ ล่าสุดรัฐบาลได้ด�าเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง กฎหมายด้านการลงทุนที่ส�าคัญ 2 ฉบับ คือ การปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการลงทุน และพระราชบัญญัตกิ ารเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศส�าหรับอุตสาหกรรม เป้าหมาย ซึ่งมีผลบังคับใช้แล้ว ดังนั้น นับจากนี้ไปการลงทุน ของภาคเอกชนจะมีบทบาทส�าคัญอย่างยิ่งต่อการปรับเปลี่ยน ประเทศสู ่ ‘ประเทศไทย 4.0’ ตลอดจนช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง เศรษฐกิจไทยให้เข้มแข็งต่อไปในอนาคต เร่งพัฒนาความพร้อมรองรับการลงทุน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่ EEC นอกจากการที่รัฐบาลจะมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยค�านึงถึงอุตสาหกรรมเป้าหมายและเทคโนโลยีในแต่ละ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
นวัตกรรม
ความคิด สร้างสรรค์
New Engines of Growth สาขาแล้วรัฐบาลยังค�านึงถึงการพัฒนาเชิงพืน้ ที่ (Area-based Development Policy) เพื่อกระจายความเจริญไปยังพื้นที่ ต่างๆ ในประเทศอย่างทั่วถึง และท�าให้ประเทศไทยซึ่งมีสภาพ ภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค ต่างๆ ในเอเชียนั้น เกิดกิจกรรมความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ อย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเสริมสร้างความ เข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศผ่านกลไกของ ‘18 กลุ่ม จังหวัด และ 76 จังหวัด’ การพัฒนาพื้นที่ชายแดนติดกับ ประเทศเพื่อนบ้านในรูปของ ‘เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ’ ทั้ง 10 จังหวัด ซึ่งมีการบูรณาการการท�างานร่วมกันระหว่าง หลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงประชาชน ในพืน้ ทีก่ ารพัฒนาพืน้ ทีต่ อนในโดยค�านึงถึงความเชือ่ มโยงของ ห่วงโซ่มูลค่าในภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษาในพื้นที่ ในรูปแบบ ‘คลัสเตอร์’ รวมถึงการพัฒนาพืน้ ทีท่ สี่ ามารถยกระดับ โครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมเชื่อมโยงทั้งทางบกทางน�้า และทางอากาศให้สามารถขับเคลือ่ นเศรษฐกิจให้ดยี งิ่ ๆ ขึน้ ไปได้ ประเทศไทยจะได้เป็นศูนย์กลางด้านการค้าและการลงทุนของ ภูมิภาคที่แท้จริง ส�าหรับพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกของไทย ซึง่ ถือว่ามีความโดดเด่น ในด้ า นภู มิ ป ระเทศและมี ศั ก ยภาพที่ จ ะรองรั บ การพั ฒ นา โครงสร้ า งพื้ น ฐานเพื่ อ ต่ อ ยอดการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ได้เป็นอย่างดี รัฐบาลจึงได้ก�าหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ซึ่งประกอบไปด้วยจังหวัดระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทราเป็นพื้นที่น�าร่อง ทั้งนี้ ในพื้นที่ EEC รัฐบาลมีนโยบายที่จะเร่งการพัฒนา ความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับการลงทุนและการขยายตัว ทางเศรษฐกิจในพืน้ ที่ ทัง้ ด้านสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมขนส่ง และโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการอ�านวย ความสะดวกในรูปแบบ One Stop Service เพื่อสนับสนุน การประกอบธุรกิจให้มีความสะดวกรวดเร็วที่สุด โดยรัฐบาล ตั้งเป้าหมายให้พื้นที่ EEC เป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่ดีที่สุดและ ทันสมัยที่สุดในภูมิภาคอาเซียน
INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT 57
มุ่งส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชน ใน 5 มิติส�าคัญ อย่างไรก็ตาม การปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ Thailand 4.0 นั้น การลงทุนของภาคเอกชนมีบทบาทส�าคัญ อย่างยิง่ นโยบายด้านการลงทุนในอนาคตจะเน้นส่งเสริมการลงทุน เพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งจะ ให้ความส�าคัญกับการส่งเสริมการลงทุนใน 5 มิตทิ สี่ า� คัญ ได้แก่ 1) มิติด้านเทคโนโลยี โดยให้ความส�าคัญกับการสร้าง ขีดความสามารถของเทคโนโลยีหลัก (Core Technologies) ที่ประเทศไทยมีศักยภาพ ยกตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ซึ่ ง จะเป็ น ฐานส� า คั ญ ของการพั ฒ นา อุตสาหกรรมและบริการที่หลากหลาย ทั้งภาคเกษตร อาหาร พลังงาน สุขภาพและการแพทย์ รวมทั้งการกระตุ้นให้เกิดการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัทต่างชาติมาสู่ผู้ประกอบการและ บุคลากรไทยอย่างเป็นระบบ 2) มิ ติ ด ้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ทั้ ง การพั ฒ นาศั ก ยภาพ บุคลากรในประเทศเพือ่ สร้าง ‘คนไทย 4.0’ ซึง่ จะเป็นก�าลังส�าคัญ ของการพัฒนาประเทศในอนาคต รวมถึงการดึงดูดบุคลากรทีม่ ี ความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นและมี ทั ก ษะสู ง (Talents) จาก ต่างประเทศในสาขาที่ขาดแคลนมาช่วยกันพัฒนาประเทศด้วย 3) มิติด้านโครงสร้างพื้นฐานจะให้ความส�าคัญกับการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐานทาง กายภาพ (Physical Infrastructure) โครงสร้างพืน้ ฐานรองรับการ เชื่อมต่อ (Connectivity Infrastructure) โครงสร้างพื้นฐานทาง ปัญญา (Intellectual Infrastructure) และโครงสร้างพื้นฐานทาง สังคม (Social Infrastructure) 4) มิตดิ า้ น Enterprise เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาผูป้ ระกอบการ ในระดั บ ต่ า งๆ ให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ทั้ ง การส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด Startup ในธุ ร กิ จ ต่ า งๆ และการยกระดั บ และปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพของ SMEs เช่น การปรับเปลี่ยนจากผู้รับจ้างผลิต (OEM) ไปสู่การออกแบบและสร้างแบรนด์ของตนเองมากขึ้น (ODM & OBM) การส่งเสริมให้มีการน�าเครื่องจักรอัตโนมัติ (Automation) มาใช้ในกระบวนการผลิตให้มากขึน้ เพือ่ เพิม่ มูลค่า ของสินค้าและบริการรวมถึงการส่งเสริมให้บริษัทใหญ่มาช่วย พัฒนา Local Supplier ด้วย 5) มิติด้านอุตสาหกรรมเป้าหมายโดยเน้นการส่งเสริม ให้เกิดการลงทุนและการพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายทีเ่ ป็น ฐานอุตสาหกรรมอนาคต โดยเฉพาะในพื้นที่ EEC ซึ่งเป็นพื้นที่ เป้าหมายของรัฐบาล ขับเคลื่อนการลงทุน ที่สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี การปรับเปลี่ยนแนวทางการส่งเสริมการลงทุนดังกล่าว จะเป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปประเทศ
และยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) ซึ่ ง เป็ น ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศระยะยาว เพื่อให้เกิดการ ผลักดันและขับเคลื่อนประเทศอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ เพือ่ ให้การขับเคลือ่ นนโยบายส่งเสริมการลงทุน มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ประเทศไทยจ�าเป็นทีจ่ ะต้องมีเครือ่ งมือ ใหม่ๆ ส�าหรับใช้ในการแข่งขัน เพือ่ ดึงดูดการลงทุนทีม่ คี ณ ุ ค่าสูง โดยเฉพาะการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมขั้นสูงหรือมีการวิจัยและพัฒนา ซึ่งอุตสาหกรรม เหล่านี้จะช่วยเสริมรากฐานทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งให้กับ ประเทศและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในระยะยาว ทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่านโยบาย Thailand 4.0 นั้นเป็น หัวใจส�าคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้ขยายตัวได้อย่าง ต่อเนือ่ งลดความเหลือ่ มล�า้ ในสังคมสามารถสร้างรายได้ทงั้ จาก ภายในและภายนอกประเทศช่วยเสริมสร้างเศรษฐกิจไทยให้ เข้มแข็งและเติบโตได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ท�าให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค (Gateway of ASEAN) อย่างแท้จริงต่อไป
การลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจของประเทศ เทคโนโลยี ทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้างพื้นฐาน ENTER PRISE อุตสาหกรรมเป้าหมาย
Source: งานสัมมนาและนิทรรศการ Opportunity Thailand จัดโดย คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ)
EXECUTIVE SUMMARY Thai Government under the lead by Prime Minister General Prayuth Chan-Ocha has paid attention to the country development with economic model, ‘Thailand 4.0’ by creating ‘New Set of Engines of Growth’ comprised of science, innovative technology and creative thinking, which is the key to elevate economic sector that has already had good foundation to achieve better level of competency as well as create potential industries and new services as the long term country development base by aiming to create economic value that will lead to the country’s sustainability in the future. In addition to investment policy in the future, the government will promote investment for adjusting the country’s economic structure in 5 dimensions. issue 170 april 2017
58 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
บีโอไอ คลอดมาตรการ
ส่งเสริมเทคโนโลยี
เพิ่มสิทธิประโยชน์
จูงใจลงทุน
เทคโนโลยีเป้าหมาย
ผูป้ ระกอบการภาคอุตสาหกรรมเฮ บอร์ดบีโอไอเห็นชอบ มาตรการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีอนุมัติ ให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เ พิ่ ม เติ ม ส� า หรั บ การลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นา เทคโนโลยี เ ป้ า หมายและกลุ ่ ม บริ ก าร หนุ น การพั ฒ นา เทคโนโลยีเป้าหมาย ยกเว้นอากรน�าเข้าเพื่อใช้ในการวิจัย และพัฒนา เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ประเทศไทยก้าวสู่ ‘Thailand 4.0’ และส่งเสริมให้เกิดการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บอร์ดบีโอไอ) ซึ่งมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน จึงได้เห็นชอบให้บีโอไอออกมาตรการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านเทคโนโลยี (Technology-Based Incentives) ซึง่ คุณหิรญ ั ญา สุจินัย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอ ได้กล่าวถึงรายละเอียดว่า มาตรการดังกล่าวประกอบด้วย มาตรการย่อย คือ
การส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย (Core Technologies) ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 10 ขอรับสิทธิประโยชน์ เพิ่มเติมตามคุณค่าของโครงการ 1-3 ปี สูงสุดไม่เกิน 13 ปี ถ่ายทอดเทคโนโลยีร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือสถาบันวิจัย
1. การส่งเสริมการลงทุนเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย (Core Technologies) 2. การยกเว้นอากรน�าเข้าเพื่อน�ามาใช้ในการวิจัยและ พัฒนา เช่น วัสดุต้นแบบ สารเคมี พืชหรือสัตว์ เป็นต้น และ 3. ปรั บ เกณฑ์ ก ารให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ต ามคุ ณ ค่ า ของ โครงการ (Merit-Based Incentives) ส� า หรั บ กิ จ การผลิ ต ทั่ ว ไปที่ ไ ด้ สิ ท ธิ ต ามหลั ก เกณฑ์ ป กติ ซึ่งหากเป็นการลงทุนเพิ่มด้านพัฒนาเทคโนโลยีหรือพัฒนา บุคลากรจะให้เพิ่มค่าใช้จ่ายดังกล่าว เพื่อน�ามารวมเป็นมูลค่า ภาษีที่ได้ยกเว้น จากเดิม 100% เป็น 200% และหากเป็น ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยพัฒนาให้เพิ่มเป็น 300% นอกจากนี้ ที่ประชุมยังเห็นชอบให้บีโอไอออกมาตรการ ช่วยเหลือกิจการทีไ่ ด้รบั ส่งเสริมการลงทุนและได้รบั ผลกระทบจาก อุทกภัยในพืน้ ทีภ่ าคใต้ โดยให้ได้รบั ยกเว้นอากรขาเข้าเครือ่ งจักร ที่น�าเข้ามาทดแทนเครื่องจักรที่เสียหายจากอุทกภัยโดยต้อง ยื่นขอสิทธิน�าเข้าเครื่องจักรภายในวันที่ 29 ธันวาคม 2560
1
กลุ่มพัฒนา เทคโนโลยีเป้าหมาย
• ไบโอเทคโนโลยี • นาโนเทคโนโลยี • ดิจิทัลเทคโนโลยี • Advanced Materials Technology
2
กลุ่มบริการสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีเป้าหมาย กิจการบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูงที่จะช่วย สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย • การวิจัยพัฒนา • บริการสอบเทียบมาตรฐาน • สถานฝึกฝนวิชาชีพ
• การออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ • บริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ • บริการออกแบบทางวิศวกรรม
EXECUTIVE SUMMARY The meeting of the Board of Investment of Thailand (BOI) agreed with Technology Competency Development Scheme for granting additional advantages for investment in order to develop targeted technology and service providing group. This scheme will omit the import tax for the elements used for research and development as well as income tax 10%, while entrepreneur can earn additional advantage based on the value of project 1 – 3 years, but not exceeding 13 years. In addition, the government had issued supporting scheme to help business that received investment support and got the impact from the flood in the southern region to get the exemption on import tax of machineries which have been ordered as the replacement for the damaged ones caused by the flood. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย RENEWABLE ENERGY 59
วิกฤตพิชิตโอกาส
พลัง งานทดแทนไทย
จะว่าถึงยุคเงียบของพลังงานทดแทนไทยก็คงไม่ถกู ต้องนัก ถึงแม้จะไม่มใี ครออกมาแสดงความคิดเห็นกับแนวทางการท�างาน หรือนโยบายใหม่ๆ ของรัฐบาลด้านพลังงานทดแทนก็ตาม ท่านที่อยู่ในวงการก็คงจะเข้าใจดี ดังนั้น วันนี้จึงมีแต่การแถลง นโยบายของภาครั ฐ และข่ า วการต่ อ ต้ า นพลั ง งานทดแทน แม้กระทัง่ โรงไฟฟ้าชีวมวลหัวใจของพลังงานทดแทนไทยก็ยงั ถูก ต่อต้าน ยิ่งถ้าก้าวไปถึงพลังงานจากฟอสซิล หมายถึงโรงไฟฟ้า ถ่านหินกระบี่แล้ว ฝ่าย No Coal ออกมาแถลงทุกวัน ส่วนฝ่าย Go Coal กลับเงียบหรือแทบจะไม่ออกมาแสดงตัว เรามาช่วยกัน เปิดประเด็นว่า อะไรคือวิกฤต อะไรคือโอกาสของพลังงาน ทดแทนไทย ซึง่ วิกฤตของฝ่ายหนึง่ อาจเป็นโอกาสของอีกฝ่ายหนึง่ ก็ได้ 1. การรับซื้อไฟฟ้า VSPP เชื้อเพลิงชีวมวลและก๊าซ ชีวภาพแบบ Semi-Firm และยกเลิกแบบ Non-Firm งานนี้ SME อาจต้องเปลี่ยนอาชีพสู่ธุรกิจอื่น ส่วนบริษัทใหญ่ๆ และ บริ ษั ท ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ พร้ อ มกรี ฑ าทั พ เข้ า ยึ ด หั ว หาด ขานรับนโยบาย Semi-Firm ทันที 2. นโยบายดีมีนวัตกรรมรับซื้อไฟฟ้าระบบ Hybrid คื อ น� า เชื้ อ เพลิ ง ไม่ น ้ อ ยกว่ า 2 ชนิ ด มาใช้ ร ่ ว มกั น เช่ น โซลาร์เซลล์ทา� งานร่วมกับชีวมวลในรูปแบบหนึง่ เป้าหมายก็คอื
จะช่วยให้ปริมาณไฟฟ้าของประเทศมั่นคงขึ้น และสม�่าเสมอ มากขึน้ เป็นบันไดไปสูก่ ารขายไฟฟ้าแบบ Firm หรือ Semi-Firm คงต้องมีการก�าหนดกติกาที่เป็นธรรมกันทั้งฝ่ายรับซื้อและ ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเพือ่ จ�าหน่าย กระทรวงพลังงานอาจทดลองโยนหิน ถามทางสัก 100 เมกะวัตต์ โดยไม่ต้อง Bidding เหมือนอย่าง ที่ใช้กับโซลาร์รูฟเสรีอยู่ในขณะนี้ 3. การรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Farm) ระยะที่ 2 รวมกว่า 500 เมกะวัตต์ เป็นข่าวดีของ ผู้มีธุรกิจนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักพัฒนาโครงการ (Developer) แต่อาจไม่สามารถสร้างก�าไรได้เป็นกอบเป็นก�าเหมือนในอดีต แม้ว่า Solar Farm ถ้าเปรียบเทียบด้านผลกระทบต่อ เศรษฐกิจแล้วยังเป็นรองเชื้อเพลิงอื่นๆ แต่เป็นของซื้อง่าย ขายคล่องเหมือน Fast Food ช่วยเศรษฐกิจได้ในระยะสัน้ ๆ ได้ดี ทีเดียว ขอเพียงแต่อย่าน�าแผงเซลล์แสงอาทิตย์เก่ามาใช้ใน ประเทศไทยก็แล้วกัน 4. การส่งเสริมให้มกี ารปลูกไม้โตเร็ว เพือ่ ใช้เป็นเชือ้ เพลิง ชีวมวล ต้องขอชมทุกองค์กรที่คิดริเริ่มเรื่องนี้ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง เนือ่ งจากการใช้เศษเหลือทิง้ จากภาคเกษตรกรรมมีขอ้ จ�ากัดด้าน ปริมาณและฤดูกาล และในอนาคตก็จะมีการแย่งชิงเชือ้ เพลิงกัน เมื่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลเพิ่มขึ้น การส่งเสริมให้ปลูกไม้โตเร็ว
issue 170 april 2017
60 RENEWABLE ENERGY
คือ การเสริมความยั่งยืนให้กับการใช้พืชผลิตพลังงานทดแทน หรือพลังงานหมุนเวียนซึง่ แล้วแต่จะเรียกกันไป ผลพลอยได้ของ การปลูกไม้โตเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งพันธุ์ไม้ยืนต้นทั้งหลาย อาทิ กระถินหลากหลายสายพันธุ์ และยูคาลิปตัส เปรียบ เหมือนการส่งเสริมให้มีการปลูกป่าอย่างถาวรแบบรัฐ ไม่ต้องลงทุน สร้างทั้งเศรษฐกิจชุมชน สิ่งแวดล้อม และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ขอเสนอ แนวคิดสู่ความส�าเร็จ ดังนี้ 1) รัฐพึงเชื่อมั่นองค์กรของรัฐว่ามีศักยภาพ ในการบริหารจัดการ 2) ยอมรั บ ในสภาพพื้ น ที่ แ ละเอกสารสิ ท ธิ์ การครอบครองและการใช้ประโยชน์ว่าปัจจุบันไม่ได้ อยู่ในมือของชุมชน 3) ฟั น ธงให้ เ ป็ น ประชารั ฐ (ประชาชนคนจน + ภาครัฐที่มีศักยภาพ + นักลงทุน) 4) การก�าหนดเงือ่ นไขหลักเกณฑ์ตอ้ งให้คนยากจน มีสิทธิและหลีกเลี่ยงการให้เอกสารสิทธิ์ที่ถูกต้องหรือที่ดิน ส.ป.ก. เป็นเงื่อนไขจนกลายเป็นโครงการของนักลงทุน 5) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต้องคิดบวก พืช คือ อาหารและเป็นพลังงานที่ยั่งยืนด้วย 6) ตลาดสัญญาขายไฟระยะยาว (PPA) และโรงงานผลิต (การส่งเสริมการปลูก) ต้องเริ่มพร้อมกัน มิฉะนั้น เกษตรกร ก็จะตกที่นั่งล�าบากเหมือนที่ผ่านมา
เปรียบเทียบแผนการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. ตามแผน PDP 2015 และที่เสนอเพิ่ม RE 2,000 MW (หน่วย: MW)
PDP 2015 ก�าลังผลิต % ติดตั้ง กฟผ.
EGAT’s RE 2,000 MW ก�าลังผลิต % ติดตั้ง กฟผ.
เพิ่มขึ้น
เป้าหมาย PDP
COD แล้ว
(ลดลง)
ณ 2579
ณ 2557
คงเหลือรวม
โดย กฟผ.
คงเหลือ โดยเอกชน
ชีวมวล (1)
8
1.55%
1,032.5
51.60%
1,024.5
5,570
2,541.8
3,028
1,032.5
1,995.70
แสงอาทิตย์ ลม พลังน�้าขนาด เล็ก ขยะ ก๊าซชีวภาพ (2) พลังงานใต้ พิภพ พืชพลังงาน รวม
169.3 142
32.87% 27.57%
486.25 307
24.30% 15.34%
317.0 165.0
6,000 3,002
1,298.5 224.5
4,702 2,778
486.25 307.0
4,215.25 2,470.50
150.7
29.26%
125.15
6.25%
(25.6)
3,282
3,048.0
234
125.15
108.85
0
0.00%
43
2.15%
43.0
500
65.7
434
43.0
391.30
45
8.74%
5
0.25%
(40.0)
600
311.5
289
5.0
283.50
0
0.00%
2
0.10%
2.0
-
0
-
2.0
(2.00)
0 515
0.00% 100%
0 2,000.9
0.00% 100%
0.0 1,485.9
680 19,634
0 7,490
680 12,144
2,000.9
680.00 10,143
หมายเหตุ: 1. ชีวมวล กฟผ. จากพืชพลังงาน 2. ก๊าซชีวภาพ กฟผ. จากพืชพลังงาน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
RENEWABLE ENERGY
นอกจากนี้ ยังมีข้อเสนอแนะจากสมาคมธุรกิจไม้โตเร็ว ที่น่าสนใจ ดังนี้ 1. ควรส่งเสริมการสร้างสวนไม้เศรษฐกิจนอกพืน้ ทีป่ า่ (Tree Outside Forest : TOF) 2. ควรบั ง คั บ ใช้ ร ะเบีย บอย่างเคร่ง ครัดในพื้นที่ ส.ป.ก. ที่ ผู ้ ค รอบครองต้ อ งมี ก ารปลู ก ไม้ ยื น ต้ น 20% ของพื้ น ที่ ซึง่ พืน้ ที่ ส.ป.ก. ปัจจุบนั ด�าเนินการปฏิรปู ทีด่ นิ ไปแล้วประมาณ 38 ล้านไร่ทั่วประเทศ ซึ่งจะท�าให้ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น อย่างน้อย 7 ล้านไร่ 3. ควรหามาตรการส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นที่ ไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว จากการจัดเขตเศรษฐกิจปลูกข้าว (โซนนิ่งข้าว) 4. เขตที่ดินป่าสงวนแห่งชาติที่มีสภาพเสื่อมโทรมสิ้นสภาพ ความเป็นป่าที่อยู่นอกเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ (โซน E) โดยจัด จ�าแนกป่าเสื่อมโทรมในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ สามารถเปิด โอกาสให้ประชาชนและภาคเอกชนเช่าพื้นที่เหล่านั้น เพื่อ ปลูกป่าเศรษฐกิจ 5. พิจารณาการน�าพื้นที่ดินซึ่งมีปัญหา (Problem soil) อันได้แก่ พื้นที่ดินเปรี้ยว พื้นที่ดินเค็ม ที่มีปัญหาไม่สามารถ ท�าการเกษตรได้ มาใช้สา� หรับการปลูกป่า โดยเฉพาะในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 6. พื้นที่ซึ่งเอกชนขออนุญาตใช้พื้นที่จากกรมป่าไม้เพื่อ ด�าเนินกิจกรรมบางอย่าง เช่น เหมืองแร่ บ่อขยะฯ เมื่อหมด สัญญาการเช่าพื้นที่ไปแล้ว มักมีความเสื่อมโทรม ไม่สามารถ ท�ากิจกรรมอื่นได้ หากมีการอนุญาตหรือก�าหนดให้บริษัทที่ ได้ รั บ อนุ ญ าตนั้ น ไปด� า เนิ น กิ จ กรรม CSR เชิ ง การปลู ก ป่ า เศรษฐกิจร่วมกับชุมชนโดยรอบพื้นที่ 7. ควรให้มีการพัฒนากฎหมายป่าไม้โดยแยกออกเป็น 2 กลุม่ ทีช่ ดั เจน คือ กฎหมายบริหารจัดการป่าไม้สาธารณะ (Public Forest Act) เพื่อควบคุมดูแลเรื่องการอนุรักษ์ และ กฎหมาย บริหารจัดการป่าไม้เอกชนเพื่อเศรษฐกิจ (Private Forest Act) 8. ควรมี ‘พระราชบัญญัติส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ นอกพื้นที่ป่า’ เพื่อเป็นกลไกส�าคัญในการส่งเสริม ผลักดันให้ กิจการสวนป่าของประเทศก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน
61
5. แผนการผลิตพลังงานทดแทน 2,000 เมกะวัตต์ ของ กฟผ. วิสัยทัศน์ที่เหลือเชื่อของท่านผู้บริหาร กฟผ. สร้างความ ระทึกใจให้กบั ชาว RE ทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่ตน้ น�า้ ไปถึงสุดปลายน�า้ โดยเฉพาะบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งค�าถามมากมาย ว่า กฟผ.สามารถท�าการค้าแข่งกับเอกชนจะไม่ขดั ต่อรัฐธรรมนูญ หรือ...! ข่าวดังกล่าวท�าเอากองเชียร์โรงไฟฟ้าถ่านหินแทบจะต้อง หลบหน้าหลบตาไปชัว่ ขณะ อันทีจ่ ริงการสร้างพลังงานทดแทน ใครๆ ก็ควรมีสิทธิ์ช่วยกันคิด ช่วยกันสร้าง แต่วิสัยทัศน์หรือ แผนการผลิตพลังงานทดแทน 2,000 เมกะวัตต์ ไม่วา่ จะเป็นแผน ระยะยาวแค่ไหนก็ตาม ในแผนดังกล่าวอาจมีการผลิตโรงไฟฟ้า ชีวมวลถึงพันกว่าเมกะวัตต์ ก็เลยถูกน�าไปรวมกับเรื่องของ โรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งๆ ที่เป้าหมาย และวัตถุประสงค์อาจไม่เหมือนกัน วันนี้ กฟผ. หรือการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จึงตกที่นั่งล�าบากเพิ่มโจทย์มาอีก กลุ่มหนึ่งทั้งๆ ที่เรื่องของโรงไฟฟ้าถ่านหินก็ยังหนักอยู่ ‘ในวิกฤตย่อมมีโอกาสเสมอ’ อมตะวาจานี้ยังทันสมัย อยู่เสมอ ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับพลังงานทดแทนในเมือง ไทย แต่ค�าตอบสุดท้ายของทุกวิกฤต คือ การเพิ่มขึ้นของ การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน จึงเป็นโอกาสที่ชาว RE: Renewable Energy จะแสดงฝีมือไขว่คว้าร่วมแบ่งเค้ก ชิ้นโตขึ้นชิ้นนี้ จะห่วงอยู่ก็แต่ชาว SME ตัวจริงอาจต้อง แหงนหน้าคอยโครงการ ‘ประชารัฐ’ กันต่อไป
EXECUTIVE SUMMARY Upon the crisis of Renewable Energy occurred in Thailand, it is always concealed with opportunities in the following 1) Buying VSPP with Semi-Firm contract in Biomass and Biogas, and revoke Non-Firm contract 2) Hybrid fuel to electricity policy, meant to combine at least two feedstocks to produce electricity 3) The 2nd phase Solar Farm for 500 megawatts 4) Promoting the fast growing trees plantation for Biofuel 5) the Electricity Generating Authority of Thailand’s Plan to generate 2,000 megawatts from renewable energy. Therefore, it might be the opportunity to the big Renewable Energy players, while SMEs may still waiting for more government support programs. issue 170 april 2017
62 renewable energy technology เรื่อง : ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
รู้ทัน....
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
‘เทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาด’เป็ น หนึ่ ง ใน เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง หากขณะเดี ย วกั น ก็ เ ป็ น เทคโนโลยี ท่ี ถู ก ต่อต้านมาอย่างต่อเนือ่ ง จากความไม่มนั่ ใจใน เทคโนโลยีทสี่ ง่ ผลให้เกิดความวิตกกังวลถึง ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และคุณภาพชีวติ ของผู้คนในชุมชนบริเวณใกล้เคียง แม้จะมี ตัวอย่างของโรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาดหลายๆ แห่ง ในต่างประเทศทีป่ ระสบความส�าเร็จ สามารถ ผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และไม่มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชน ก็ตาม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทว่า วันนี้ความต้องการใช้พลังงานในประเทศ มีแ นวโน้มสูง ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสถีย รภาพด้าน พลังงานมีความส�าคัญยิง่ ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมของประเทศให้มขี ดี ความสามารถ ทัดเทียมกับนานาประเทศ ดังนั้น ‘โรงไฟฟ้าถ่านหิน สะอาด’ จึงถูกหยิบยกขึน้ มาเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ในการเสริ ม สร้ า งความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานของ ประเทศ เพื่อรองรับพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด วิกฤตพลังงาน ทั้งนี้ ความรู้เท่าทันและความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด จะเป็นกลไก ส�าคัญทีท่ า� ให้เกิดการยอมรับ และท�าให้ประเทศไทย มีโรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาด เป็นแหล่งผลิตพลังงาน ทีไ่ ม่เพียงแค่มปี ระสิทธิภาพ หากยังท�าให้ประเทศชาติ มีความมั่นคงด้านพลังงานมากขึ้นด้วย
รู้จัก ‘เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด’ ‘เทคโนโลยีถา่ นหินสะอาด’ เป็นการพัฒนาด้าน เทคโนโลยีการก�าจัดหรือลดมลพิษ เพื่อน�าถ่านหิน มาใช้เป็นเชือ้ เพลิงให้เกิดประโยชน์สงู สุด แต่มผี ลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ ปัจจุบนั เทคโนโลยีถา่ นหิน สะอาดได้รับการพัฒนาและสามารถก�าจัดปัญหา มลพิษที่เกิดจากการเผาไหม้ของถ่านหินได้อย่าง มีประสิทธิภาพ จะเห็นได้ว่า ประเทศญี่ปุ่นในฐานะ ประเทศผูน้ า� ในการพัฒนาเทคโนโลยีถา่ นหินสะอาด ในภูมภิ าคเอเชีย ได้ดา� เนินการพัฒนาการใช้เชือ้ เพลิง ถ่ า นหิ น ควบคู ่ ไ ปกั บ เทคโนโลยี ถ ่ า นหิ น สะอาด เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเฉพาะในภาค การผลิตไฟฟ้า
renewable energy technology 63
โรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาดที่ใช้ระบบ Ultra Super Critical (USC) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูง และมีมาตรฐานระดับโลก
ทัง้ นี้ เทคโนโลยีถา่ นหินสะอาด ถือเป็นเชือ้ เพลิง ที่ จ ะช่ ว ยลดต้ น ทุ น การผลิ ต ไฟฟ้ า ในประเทศ เนื่องจากมีราคาที่ไม่ผันผวน และยังมีราคาถูกกว่า เมือ่ เทียบกับเชือ้ เพลิงจากก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) ซึ่งจะช่วยเสริมให้ภาคธุรกิจสามารถลดต้นทุนจาก ค่าไฟฟ้า เสริมความเข้มแข็งในการแข่งขันในระดับ ภูมิภาคได้เพิ่มขึ้น
กพช. เห็นชอบเดินหน้า โรงไฟฟ้าถ่านหิน จ.กระบี่ ล่าสุด ที่ประชุม กพช. มีมติเห็นชอบเดินหน้า โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน จ.กระบี่ 800 เมกะวัตต์ โดยพิ จ ารณาแล้ ว ว่ า ชุ ม ชนให้ ก ารยอมรั บ และ ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เป็นอันตรายต่อชุมชนแล้ว
เนื่องจากโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่ จะเป็นโรงไฟฟ้า ถ่านหินสะอาดทีใ่ ช้ระบบ Ultra Super Critical (USC) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูง และมีมาตรฐานระดับโลก ทั้งนี้ จะต้องมีการท�า รายงานผลกระทบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (EHIA) ให้เสร็จก่อน และคาดว่าจะเริ่มต่อสร้างได้ประมาณ ปี 2561 และผลิตไฟฟ้าเข้าระบบได้อย่างช้าสุด ประมาณปลายปี 2564 หรือต้นปี 2565 ทั้งนี้ จะต้องมีการท�ารายงานผลกระทบสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม (EHIA) ให้เสร็จก่อน และคาดว่า จะเริ่มก่อสร้างได้ประมาณปี 2561 และผลิตไฟฟ้า เข้าระบบได้อย่างช้าสุดประมาณปลายปี 2564 หรือ ต้นปี 2565
ประเภทของเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ก่อนการเผาไหม้ (Pre-Combustion Technology)
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ขณะการเผาไหม้ (Combustion Technology)
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดหลังการเผาไหม้ (Post-Combustion Technology)
เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด โดยการแปรสภาพถ่านหิน (Coal Conversion)
ก�าจัดสิ่งเจือปนต่างๆ ออกจากถ่านหิน เช่น ฝุ่นละออง เศษดิน เศษหิน และสารประกอบอนินทรีย์ เช่น Pyritic Sulfur เพื่อลดปริมาณเถ้าและก�ามะถัน ซึ่งจะช่วยเพิ่มค่าความร้อนของถ่านหินก่อนน�าไปเผาไหม้ เป็นเชื้อเพลิงต่อไป ปรับปรุงเตาเผาและหม้อไอน�้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไหม้ถ่านหินและลดมลพิษที่เกิดระหว่างการเผาไหม้ ซึ่งจะควบคุม ไม่ให้มีการปล่อยก๊าซมลพิษ (Zero Emission) Pulverized Fuel Combustion (PFC)
Fluidized Bed Combustion (FBC)
Integrated Gasification Combined Cycle (IGCC)
Ultra Super Critical (USC)
ก�าจัดมลพิษจากการเผาไหม้และป้องกันผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการที่เกิดขึ้นหลังจาก ถ่านหินเผาไหม้แล้ว
Coal Gasification Technology
Coal Liquefaction Technology
Electrostatic Precipitator Flue Gas Desulfurization (FGD) Flue Gas Denitrifurizer
Dimethyl Ether (Dme)
issue 170 april 2017
64 renewable energy technology
รู้ทัน USC เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ประสิทธิภาพสูง ปัจจุบันเทคโนโลยี Ultra Super Critical (USC) ถือเป็นเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูง และได้รับการยอมรับจากสถาบันการเงินเพื่อการ พัฒนาระหว่างประเทศ อาทิ ธนาคารเพือ่ การพัฒนา แห่ ง เอเชี ย (ADB) รวมทั้ ง ยั ง มี ก ารจั ด การด้ า น สิง่ แวดล้อมทีม่ มี าตรฐานระดับสากล ไม่เกิดผลกระทบ ต่อภาพรวมการท่องเที่ยวและวิถีชีวิตของชุมชน สามารถอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น คื อ การใช้ หม้ อ ก� า เนิ ด ไฟฟ้ า แรงดั น สู ง เพื่ อ ก� า จั ด ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ดังกล่าวอยู่ระหว่างการพัฒนา ประสิทธิภาพการใช้งาน ทั้งนี้ การใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดจะช่วย สร้างสมดุลของการกระจายเชือ้ เพลิงเพือ่ สร้างความ มั่นคงพลังงานในระยะยาว ตามแผนพัฒนาก�าลัง ผลิตไฟฟ้า (PDP 2015) ทีต่ อ้ งเพิม่ ทางเลือกเชือ้ เพลิง จากก๊าซธรรมชาติที่มีการพึ่งพาสูงถึง 70% และลด ความเสีย่ งจากการปิดซ่อมบ�ารุงแหล่งก๊าซธรรมชาติ อีกทั้ง ปัจจุบันจ�าเป็นต้องส่งไฟฟ้าจากภาคกลาง ลงไปเพิม่ ซึง่ มีระยะทางไกลและอาจเกิดความเสีย่ ง ต่ออุบัติเหตุที่ไม่คาดฝัน การพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ในประเทศไทย โรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทยใช้เทคโนโลยี ถ่ า นหิ น สะอาดมาก� า จั ด มลภาวะที่ เ กิ ด จากการ เผาไหม้ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าที่สร้างใหม่ นอกจาก มีการก�าจัดมลภาวะแล้ว ยังมีการน�าเทคโนโลยีการ เพิม่ ประสิทธิภาพการเผาไหม้มาใช้ รวมถึงการเลือกใช้ ถ่ า นหิ น คุ ณ ภาพดี ท่ี มี ค ่ า ความร้ อ นสู ง ประมาณ 6,000 แคลอรี/กรัม ปริมาณเถ้าน้อยกว่าร้อยละ 10 และปริ ม าณก� า มะถั น น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 1 ท� า ให้ สามารถควบคุมมลภาวะที่ปล่อยออกสู่บรรยากาศ ให้ อ ยู ่ ใ นเกณฑ์ ห รื อ ต�่ า กว่ า ที่ ม าตรฐานด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มของไทยก� า หนดโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น ใน ประเทศไทย ได้แก่ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ทีจ่ งั หวัดล�าปาง โรงไฟฟ้าโกลว์ เอสพีที 3 และโรงไฟฟ้า BLCP ที่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง
ถ่านหิน: ความท้าทายของพลังงานทางเลือก เมื่อพิจารณาสัดส่วนการใช้พลังงานหลักของ ประเทศไทย จะเห็นว่ามีการใช้ถ่านหินเพียงร้อยละ 15 และใช้ก๊าซธรรมชาติร้อยละ 37 ในขณะที่การใช้ พลังงานหลักของโลกมีสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ใกล้เคียงกันร้อยละ 23 และ 28 ตามล�าดับ มีการกระจายการใช้เชื้อเพลิง เกิดความสมดุลของ อุปสงค์และอุปทาน เนื่องจากถ่านหินมีปริมาณ ส� า รองมากที่ สุ ด ควบคู ่ กั บ ความก้ า วหน้ า ของ เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด เกิดความเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ถ่านหินจึงเป็นเชือ้ เพลิงทีส่ ามารถรองรับ อุปสงค์ดา้ นพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ประเทศไทยพึง่ พาก๊าซธรรมชาติเป็นหลักในการ ผลิตกระแสไฟฟ้า ซึง่ เสีย่ งต่อระบบไฟฟ้าในประเทศมาก ถ้ า เกิ ด ปั ญ หากั บ ท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ การเพิ่ ม สัดส่วนการใช้ถ่านหินจึงเป็นสิ่งที่จ�าเป็นในอนาคต เพื่อให้สามารถพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน มี ต้นทุนพลังงานต�า่ สามารถแข่งขันกับประเทศต่างๆ ได้ ในขณะเดียวกันสามารถรักษาสภาพแวดล้อมและ ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องชุ ม ชน เนื่ อ งจากถ่ า นหิ น มีคุณสมบัติที่เด่นมากกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น ในด้าน ปริมาณและความเสถียรภาพในการจัดหาพลังงาน ความปลอดภัยในการขนส่ง มีการแข่งขันด้านราคา และการกระจายตัวของแหล่งพลังงาน นอกจากนี้ ในทวี ป เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก มี ป ริ ม าณส� า รองถ่ า นหิ น ประมาณ 1 ใน 3 ของโลก และผูผ้ ลิตถ่านหินรายใหญ่ ในเอเชี ย คื อ จี น อิ น เดี ย ออสเตรเลี ย และ อินโดนีเซีย ประเทศไทยจึงมีความได้เปรียบในการ จัดหาถ่านหินจากประเทศเพื่อนบ้าน การเลือกใช้ ถ่ า นหิ น คุ ณ ภาพดี ค วบคู ่ กั บ การใช้ เ ทคโนโลยี ถ่ า นหิ น สะอาด ถ่ า นหิ น เป็ น พลั ง งานทางเลื อ ก ที่ส�าคัญของประเทศไทย ประเทศไทยใช้ถา่ นหินเพียงร้อยละ 0.7 ของการ ใช้ถ่านหินในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก การเพิ่มสัดส่วน การใช้ ถ ่ า นหิ น จึ ง เป็ น ทางเลื อ กที่ ท ้ า ทายเพื่ อ ให้ การใช้พลังงานของประเทศมีความมัน่ คงยัง่ ยืน สมดุล ทัง้ ด้านอุปสงค์ อุปทาน และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
ทั้งนี้ สาธารณชนต้องเข้าใจถึงความจ�าเป็น ในการ เลือกใช้ถา่ นหินและประโยชน์ของการน�าเทคโนโลยี ถ่านหินสะอาดมาใช้ควบคุมมลภาวะ รวมถึงชุมชน ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจรับรู้ ความเป็ น จริ ง และตรวจสอบก� า กั บ การดู แ ล การด�าเนินการแทนการต่อต้านเพียงอย่างเดียว
มาตรฐานควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ล่าสุดส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้ร่วมมือกับสถาบันวิจัยทางเศรษฐกิจ เพื่ออาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) และ สถาบันเศรษฐศาสตร์พลังงานของประเทศญีป่ นุ่ (IEEJ) ท�าการศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานการจัดการ ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะมาตรฐาน การตรวจสอบการปลดปล่อยมลพิษจากโรงไฟฟ้า ถ่านหิน ศึกษาในประเทศหลัก 8 ประเทศ ประกอบด้วย กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ญี่ปุ่น และอินเดีย มาตรฐานดังกล่าว แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ มาตรฐานการปลดปล่อยไอเสีย และมาตรฐานด้าน กระบวนการตรวจสอบและติดตามประเมิน โดย มาตรฐานการปล่ อ ยไอเสี ย นั้ น ขึ้ น อยู ่ กั บ ปั จ จั ย หลายอย่าง คุณสมบัตขิ องถ่านหินทีใ่ ช้ เทคโนโลยีทใี่ ช้ ของโรงไฟฟ้า เม็ดเงินการลงทุน เมื่อมีการลงทุนสูง ก็คาดว่าจะมีการควบคุมมลพิษที่ดีขึ้น และความ สามารถในการก�ากับให้การด�าเนินงานเป็นไปตาม มาตรฐาน ส�าหรับมาตรฐานการปล่อยมลพิษของโรงไฟฟ้า ถ่ า นหิ น ในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ โรงไฟฟ้ า แม่เมาะ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นในอาเซียนอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน และนับว่าดีกว่าทั้งหมด เนื่องจาก ที่ผ่านมามีการปรับปรุงมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง แต่ ในส่วนของกระบวนการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยยังสามารถปรับปรุงให้ดีกว่าที่เป็นอยู่ ในปัจจุบันได้
Source https://goo.gl/GhjPlM https://goo.gl/eWLCZo
EXECUTIVE SUMMARY The demand for domestic energy consuming tends to continually increase. The energy stability is considered so important for driving the country’s economy and industrial sector to achieve the certain competency in comparable to international countries. Therefore, clean coal technology; the technology development for pollution elimination or reduction in order to use them as the fuel for the most beneficial, while give least impact to environment. The clean coal is brought to use in electricity generating to create fuel dissemination balance and build up energy stability in the long run following by electricity generating capacity development plan (PDP 2015) that requires to add the option for natural gas fuel with high dependency rate up to 70%. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Applications by Industry : Visual Inspection Apparatus ES is used for the visual inspection apparatus equipped with a CCD camera. Low costs can be achieved by combining the apparatus with a Linear Bushing.
LM Bushing
ES (Actuator)
LM Bushing THK has several models to match your applications
If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71
Lightweight, Compact Incorporating an LM Guide within its rectilinear guide Reasonably priced The use of LM Guides reduces the number of components required.
I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th
International Trade Exhibition and conference for Surface Treatment, Paints & Coating Technology Co-located with:
ACHIEVE EFFICIENCY & OUTPUT FASTER
QUALITY OF MACHINE & PRODUCTION
UPGRADE TO SMART MANUFACTURING
“Surface and Coatings 2017” is a platform that brings together the new technologies of the fast growing surface processing market and the industrial implementers, creating new opportunities for the sector. This highly diverse trade exhibition specializing in surface finishes, treatments and coatings for broad class of materials capable of altering the surface finish, form or function to enhance appearance, bond strength, corrosion resistance or any design feature. This show boasts a wide range of must-see features like the innovation updates, in-depth presentations, special product focus features, live demonstrations, and networking opportunities.
Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 surfaceandcoatings@reedtradex.co.th www.facebook.com/surfaceandcoatings www.surfaceandcoatings.com
2124 Supported by:
JUNE 2017 BITEC • BANGKOK THAILAND Organized by:
Thailand’s Largest Manufacturing and Supporting Industries Event
Co-located with:
ACHIEVE EFFICIENCY & OUTPUT FASTER
QUALITY OF MACHINE & PRODUCTION
UPGRADE TO SMART MANUFACTURING Part makers and assemblers are in constant need of solutions to achieve their targets with efficiency. These solutions need to encompass speed, strong quality and style. Manufacturing Expo 2017 will serve as the gateway to these solutions with a growing list of 2,425 brands of technologies from 46 countries, as well as enhanced partnership networks through specially organized activities and seminars. Join us toward this evolution of technologies that will answer every manufacturing requirement together!
Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 manufacturing-expo@reedtradex.co.th www.facebook.com/manufacturingexpopage www.manufacturing-expo.com
2124 Officially Supported by:
JUNE 2017 BITEC • BANGKOK THAILAND Organized by:
70 Interview
‘แสงเจริญ’ ผู้น�ำอุตสำหกรรมชุบโลหะ
เชื่อมั่นไทยเติบโตอย่ำงยั่งยืนในยุค 4.0
ท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว ถือเป็นบทพิสจู น์ ความแข็ ง แกร่ ง ของอุ ต สาหกรรมการชุ บ โลหะในการ ยืนหยัดอยูบ่ นความท้าทายนี้ ‘แสงเจริญ’ เป็นอีกหนึง่ บริษทั ที่สามารถอยู่รอดและเติบโตได้ด้วยคุณภาพและบริการ ทีย่ อดเยีย่ ม ท�าให้ได้รบั ความไว้วางใจจากภาครัฐและเอกชน ให้รับหน้าที่ท�างานชุบโลหะโครงสร้างระดับประเทศ พูดคุยกับ คุณวัฒนา สุจิตรานุรักษ์ กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท แสงเจริ ญ กั ล วาไนซ์ จ� า กั ด และนายกสมาคม ชุบสังกะสีไทย ถึงทิศทาง และแนวโน้มของอุตสาหกรรม การชุบไทย รวมถึงวิเคราะห์โอกาส และคู่แข่ง ท่ามกลาง ความท้าทายด้านเทคโนโลยีระดับสูงของจีน และค่าแรง ราคาถูกของประเทศเพือ่ นบ้านอย่างเจาะลึกไปพร้อมๆ กัน ‘แสงเจริญ’ ผู้น�าวงการอุตสาหกรรมการชุบ คุ ณ วั ฒ นา เริ่ ม เกริ่ น ถึ ง สิ น ค้ า และบริ ก ารของบริ ษั ท แสงเจริญ กัลวาไนซ์ จ�ากัด ว่า เนื่องจากได้รับความไว้วางใจ ในคุณภาพ ท�าให้แสงเจริญได้งานหลากหลาย ทั้งจากภาครัฐ เช่น โครงสร้างเสาไฟฟ้า เสาสือ่ สาร หรืองานของกรมทางหลวง อย่างเสาไฟ การ์ดเรล และป้ายบอกทาง รวมถึงโครงสร้าง พืน้ ฐานต่างๆ ทีร่ ฐั บาลก�าลังลงทุน อาทิ สะพานรถไฟ การขนส่ง ระบบราง ท่ า เรื อ หรื อ สนามบิ น ตลอดจนโครงการจาก ภาคเอกชน อย่างโครงสร้างเหล็กของโรงกลั่น และโรงแยกก๊าซ ของ ปตท. “งานของเราเป็นฐานรากของเศรษฐกิจประเทศ เพราะเป็น ตัวโครงสร้าง การชุบโลหะจะท�าให้โครงสร้างสามารถใช้งานได้ 50 ปีข้ึนไป โดยไม่ต้องบ�ารุงรักษา ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้ลูกค้า ด้านการซ่อมแซมดูแล ไม่ตอ้ งกลัวการกัดกร่อน หรือสนิมต่างๆ อุตสาหกรรมการชุบอาจจะไม่หวือหวา แต่มีอยู่เรื่อยๆ คือ ในเมื่อประเทศต้องพัฒนา โครงสร้างต่างๆ และการลงทุน ขยายตั ว ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน แม้ ภ าครั ฐ จะไม่ มี น โยบาย สนับสนุนเราโดยตรง แต่การตัดสินใจลงทุนต่างๆ เช่น เสาสือ่ สาร รถไฟระบบราง ท่าเรือ สนามบิน ถือเป็นปัจจัยส�าคัญในการ ขยายตัวของอุตสาหกรรมการชุบเช่นกัน” คุณวัฒนา วิเคราะห์เพิ่มเติมถึงสถานการณ์ปีที่ผ่านมาว่า ช่วงไตรมาส 2-3 ของปีค่อนข้างเงียบ แต่ในไตรมาสสุดท้าย ถือว่าเติบโตมาก เพราะงานทัง้ จากรัฐและเอกชนทีอ่ นั้ มาตลอด 6 เดือน มาปิดและอนุมัติกันปลายปีค่อนข้างมาก โดยในฐานะนายกสมาคมชุบสังกะสีไทย คาดการณ์ว่า ใน 1-2 ปีข้างหน้า จะโตอีกมาก เนื่องจากการลงทุนโครงสร้าง ขนาดใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุณวัฒนา สุจิตรานุรักษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แสงเจริญ กัลวาไนซ์ จำากัด
Interview
71
มาตรฐานไทยทัดเทียมระดับสากล “ปัจจุบัน ระบบของเราได้มาตรฐานเดียวกับยุโรป ทั้งด้วย เครื่องมือ เครื่องจักร และเทคโนโลยี กล่าวคือ เราสามารถ ท�าได้ในมาตรฐานเดียวกันในราคาถูกกว่า โดยลูกค้าหลักๆ คือ ลูกค้าภายในประเทศ มีส่งออกบางส่วน แต่ก็มีบางโปรเจกต์ มาไกลจากออสเตรเลีย พวกเหมืองถ่านหิน โรงไฟฟ้า และ โรงแยกก๊าซ เพราะค่าแรงเขาแพง จึงต้องมาชุบทีน่ ี่ ท�างานเหล็ก ที่นี่ แล้ว Knocked Down กลับไป” เมื่อกล่าวถึงคู่แข่งที่ก�าลังมาแรงอย่างกลุ่มประเทศ CLMV ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม คุณวัฒนาวิเคราะห์ว่า ไม่ใช่คู่แข่งน่ากลัวแต่อย่างใด เพราะแม้ค่าแรงประเทศเหล่านั้น จะถูกกว่าแต่ไทยยังเป็นผู้น�า แม้แต่งานโครงสร้างในประเทศ เหล่านั้น ยังต้องส่งโลหะมาชุบในประเทศไทย “คู่แข่งที่น่ากลัวกว่าประเทศ CLMV คือ จีน เพราะราคา ถูกมาก เขาสามารถลดราคาได้ตา�่ แต่กอ็ ย่างทีเ่ ห็นว่า หลายโรงงาน ไม่ได้มาตรฐานสิ่งแวดล้อม ไม่บ�าบัด ปล่อยมลพิษมากจน สิ่งแวดล้อมพัง นั่นเพราะระบบบ�าบัดแพงกว่าเครื่องจักรหลัก บางโรงงานก็เลยไม่ลงทุน แต่ความน่ากลัวของจีนเริ่มลดลงแล้ว เพราะรัฐบาลเริ่ม เข้มงวดเรือ่ งมาตรฐานสิง่ แวดล้อม ราคาค่าบริการชุบโลหะของจีน ทีเ่ คยถูกมากๆ อาจจะต้องลงทุนเรือ่ งระบบบ�าบัดเพิม่ ต้นทุน เขาย่อมสูงขึ้น การลดราคาอาจจะลดลง” คุณวัฒนาวิเคราะห์ รักษามาตรฐาน และก้าวให้ทันความเปลี่ยนแปลง อีกปัจจัยที่ท�าให้ไทยยังแข็งแกร่ง คือ การที่ผู้ประกอบการ รวมตัวกันตัง้ สมาคมชุบสังกะสีไทย เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น วิเคราะห์ และอัพเดทเทคโนโลยีร่วมกัน “ที่ส�าคัญคือ เราจะไม่ตัดราคาแข่งกัน มีมาตรฐานราคา ร่วมกัน ท�าให้ไม่เสียกลไกด้านราคา หากเราดั๊มพ์ราคาแข่งกัน ในที่สุด ทุกคนจะตายหมด ไม่มีใครอยู่ได้” คุณวัฒนากล่าวถึง บทบาทส�าคัญของสมาคมฯ อย่างเทรนด์อุตสาหกรรม 4.0 ที่ก�าลังมาแรง คุณวัฒนา กล่าวว่า ในแวดวงอุตสาหกรรมการชุบก็ก�าลังศึกษาและเรียนรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะช่วยประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น “นอกจากการแลกเปลี่ยนความรู้และอัพเดทเทคโนโลยี กันในสมาคมฯ แล้ว ยังมีงานจัดแสดงที่จัดขึ้นทุกปี อย่างงาน Manufacturing Expo ปีทแี่ ล้วได้ไปเดินดูโซน Surface ส่วนใหญ่ เป็นอิเล็กโตรกัลวาไนซ์ คือเป็นระบบพ่น งานเอ็กซ์โปแบบนี้ ถื อ เป็ น เวที ที่ ดี เป็ น ช่ อ งทางให้ ผู ้ ป ระกอบการได้ อั พ เดท เทคโนโลยี และ องค์ความรู้ต่างๆ ส�าหรับงาน Manufacturing Expo 2017 ปีนี้ เรามองหาเทคโนโลยี กัลวาไนซ์ระบบเตา อุปกรณ์ กัลวาไนซ์ เบิร์นเนอร์ เตาชุบ กระทะ ระบบเครื่องก�าจัดควัน เป็นต้น ซึ่งคาดว่าจะมีการจัดแสดงให้ชมภายใน Surface and Coating 2017 นี้” เห็ น ได้ ว ่ า อุ ต สาหกรรมการชุ บ ของไทยไม่ ไ ด้ นั่ ง รอ นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐเพียงอย่างเดียว ในทางกลับกัน อุ ต สาหกรรมนี้ พ ยายามพั ฒ นาตั ว เอง ไม่ ว ่ า เครื่ อ งมื อ เครื่องจักร เทคโนโลยี บุคลากร รวมถึงรักษามาตรฐาน ตลอดจนการมีทัศนคติท่ีพร้อมเปิดรับนวัตกรรมใหม่ และ ไม่หวาดกลัวต่อความเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นหัวใจส�าคัญ ของการด�าเนินธุรกิจในยุค 4.0 ที่หลายๆ อุตสาหกรรม สามารถน�าไปปรับใช้เพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืนได้ไม่ยาก… issue 170 april 2017
74
INTERMACH 2017
ADVANCED TECHNOLOGY – THE SMART WAY TO SUCCESS 17-20 MAY 2017 AT BITEC, BANGKOK, THAILAND หัวใจของโรงงานอัจฉริยะ (SMART Factory) ทุกวันนี้ ประกอบด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่สามารถตั้งค่าได้อัตโนมัติ และการวางแผน / ควบคุมการผลิตที่ประสานเป็นหนึ่งเดียวกัน โดยเพิ่มเทคโนโลยีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตของสิ่งของและ บริการต่างๆ เข้าสู่กระบวนการผลิต โดยใช้เครือข่ายอัจฉริยะ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีต่างๆ เข้าด้วยกัน อาทิ การใช้ข้อมูล ขนาดใหญ่ การวิเคราะห์ขนั้ สูง เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรม และระบบอั ต โนมั ติ และปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ เข้ า มามี อิ ท ธิ พ ล ในโรงงานผลิตในยุคนี้ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และเปิดช่องทางสู่นวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตมากขึ้น งาน อินเตอร์แมค 2017 รวบรวมไว้ทั้งเครื่องจักรอุตสาหกรรม เครือ่ งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีอตั โนมัตลิ า่ สุดทีพ่ ร้อมส�าหรับ ปฏิวัติการผลิตในยุคนี้ ผลงานกว่า 30 ปีทผี่ า่ นมา ได้พสิ จู น์แล้วว่างานอินเตอร์แมค คือ เวทีของผูป้ ระกอบการทีม่ งุ่ หานวัตกรรมทีเ่ พิม่ ประสิทธิภาพ ในการผลิต น�าเสนอเทคโนโลยีล่าสุดเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันทางธุรกิจ งานแสดงสินค้างานเดียวในประเทศไทยทีเ่ น้น จัดแสดงเครื่องจักรกลอุตสาหกรรม… ให้คุณพร้อมก้าวสู่ความ เป็นเลิศด้านธุรกิจ “เพื่อให้ความรู้ผู้ประกอบการในการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน จึงจ�าเป็นต้องหาโอกาสทางธุรกิจ และลงทุน เสริมสร้างศักยภาพใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ทั้ ง ด้ า นค่ า ครองชี พ วั ต ถุ ดิ บ และค่ า จ้ า ง เป็ น ปั จ จั ย เสริ ม ที่ ท� า ให้ ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งลงทุ น ในเทคโนโลยี แสวงหา กระบวนการผลิตที่สิ้นเปลืองน้อยลง มีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ ห ลากหลายในโรงงานแห่ ง เดิ ม หรื อ ที่ เรี ย กกั น ว่ า “โรงงานอั จ ฉริ ย ะ” (SMART Factory) ที่สามารถผลิตตามค�าสั่งแต่ยังมีก�าไรแม้จะผลิตในปริมาณน้อย จนถึงสินค้าเพียงชิ้นเดียวก็ได้ ด้วยการตั้งค่าเครื่องจักรให้ ตอบรับกับความต้องการของลูกค้าและการเปลีย่ นแปลงในค�าสัง่ ผลิตอย่างรวดเร็ว” คุณสุกัญญา อมรนุรัตน์กุล ผู้จัดการ โครงการ บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) ผูจ้ ดั งานกล่าว “ธุรกิจต้องสามารถผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนได้มากขึ้น เพื่อจะแข่งขันกับผู้ผลิตทั้งในภูมิภาคและทั่วโลก ผลิตภัณฑ์ ในอนาคตจึงต้องมีมูลค่ามากขึ้น โดยเฉพาะสินค้าที่มีความ ละเอียดและคุณภาพสูง งานอินเตอร์แมคในปีนี้มีเทคโนโลยี ใหม่ๆ มากมาย คุณจึงไม่ควรพลาด” ผู้จัดการโครงการกล่าว
ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.intermachshow.com หรือติดต่อ intermach@intermachshow.com โทรศัพท์ : +662 642 6911 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
หัวใจของธุรกิจที่ดีปี 2560
PUMPS & VALVES ASIA
และ THAI WATER EXPO 2017
กฎระเบี ย บที่ เข้ ม งวดด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มในการ ก่อสร้างทั้งเพื่ออุตสาหกรรมและบ้านพักอาศัย ไป จนถึ ง พื้ น ฐานการครองชี พ ที่ ป รั บ ระดั บ สู ง ขึ้ น ใน ประเทศไทย และประเทศอืน่ ๆ ในอาเซียนเป็นแรงขับ ให้ เ กิ ด ความต้ อ งการเทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้นด้านปั๊ม วาล์ว และน�้า นอกจากนี้ ปัจจัยด้าน ประชากรยังมีส่วนผลักดันความต้องการ ทั้งในด้าน การเติบโตของจ�านวนประชากร และการเกิดอย่าง รวดเร็วของชุมชนเมือง ความจ�าเป็นในกระบวนการ ผลิตน�้าดื่มให้มากขึ้นส�าหรับการบริโภคน�าไปสู่การ สร้างโรงงานผลิตน�า้ จืดจากน�า้ ทะเล และความต้องการ
งานในปีนี้จะมีจัดขึ้นระหว่างวันที่
ปัม๊ วาล์ว การจัดการน�า้ ดีและน�า้ เสียทีด่ ขี นึ้ งานแสดง สินค้าในปี 2017 จะมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ล่าสุดมาจัดแสดง เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการเหล่านี้ ปี 2560 ชีใ้ ห้เห็นถึงความส�าคัญของงาน PUMPS & VALVES ASIA และ THAI WATER EXPO 2017 เพราะนี่คืองานแสดงสินค้าที่ใหญ่และครบครันที่สุด ด้านผลิตภัณฑ์ปั๊ม วาล์ว ท่อ การบริหารจัดการน�้าดี และน�้าเสียระดับภูมิภาค งานเดียวในประเทศไทย PUMPS & VALVES ASIA 2017 จัดขึ้นเป็น ครั้งที่ 18 นับเป็นงานแสดงเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านปัม๊ อุตสาหกรรมวาล์วซีล และอุปกรณ์ อื่นๆ มีผู้ผลิตปั๊มจ่ายของเหลวและสารเคมี ปั๊มสูบน�้า ดับเพลิง เครื่องสูบน�้าเสียและของเสีย ปั๊มสูบตะกอน และปัม๊ สุญญากาศ รวมถึงผูผ้ ลิตปัม้ วาล์วท่อ ข้อต่อน�า้ และเครื่องควบคุมความดันด้วย อีกไฮไลท์หนึง่ ของงานได้แก่ THAI WATER EXPO ครั้งที่ 4 ซึ่งจะจัดแสดงเทคโนโลยีและอุปกรณ์ล่าสุด ด้านการบริหารจัดการน�้าดีและน�้าเสีย ส�าหรับชุมชน และอุตสาหกรรมทั่วไป พบกับระบบจัดการน�้าเสีย กักเก็บน�า้ ฝน แยกองค์ประกอบ เทคโนโลยีการคัดแยก และบ�าบัดสิง่ ปฏิกลู การท�าข้นสลัดจ์ (sludge thickening) และอื่นๆ อีกมากมายที่จะมาจัดแสดงกันอย่างเต็มที่ สิ่งที่คุณจะได้พบในงานปี 2560 นี้… 1,500 แบรนด์ชั้นน�าจาก 35 ประเทศ กว่า 1,000 รายการของผลิตภัณฑ์ปั๊ม วาล์ว ท่อและอุปกรณ์ตดิ ตัง้ พร้อมเทคโนโลยีจดั การน�า้ และ น�้าเสียล่าสุด
7-10 มิถุนายน ที่ไบเทคกรุงเทพฯ
งานที่คนในอุตสาหกรรมไม่ควรพลาด!!!
คาดว่าจะมีกว่า 27,000 ผู้เข้าชมจากทั่วเอเชีย มาร่วมงาน 12 พาวิเลี่ยนเข้าร่วมงาน อาทิ อิสราเอล อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เยอรมัน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน และเกาหลีใต้ พื้นที่จัดแสดงในปี 2560 นี้จะใหญ่ขึ้นอีก 25% หลากหลายแบรนด์ชั้นน�าเข้าร่วมงาน นอกจากนี้ ในงานยังมีสัมมนาวิชาการและหัวข้อ บรรยายกว่า 80 หัวข้อ จากผู้เชี่ยวชาญระดับโลกและ บริษัทชั้นน�า นักวิชาการและนักวิจัยในแวดวงจะมา ให้มุมมองเกี่ยวกับสถานการณ์น�้าของโลก เทคโนโลยี ทีจ่ ะน�ามาใช้ในอุตสาหกรรมปัม๊ วาล์ว และการบริหาร จัดการน�้าดีและน�้าเสีย PUMPS & VALVES ASIA และTHAI WATER EXPO 2017 จัดแสดงในสถานที่เดียวกับ ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK (ASE) งานแสดง เทคโนโลยีและการประชุมนานาชาติด้านพลังงาน ทดแทน การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใหญ่ที่สุดในอาเซียน
ข้อมูลเพิ่มเติม
www.pumpsandvalves-asia.com
www.thai-water.com E-mail
pumpsandvalves-th@ubm.com
thaiwater-th@ubm.com โทรศัพท์ +662 642 6911ต่อ 314
78 Editor’s Pick
Website Guide
ABB Softstarters
http://www.ikont.co.jp/eg/ Product information Products can be searched by product series names and by a bearing’s directional motion. On each page, product features are detailed in a user friendly format Download <CAD Data> CAD data can be downloaded for each product. 2D and 3D CAD data is provided. <Product Catalog> The product catalogs can be downloaded in PDF format. Exhibition/trade show information Worldwide trade show/exhibition schedules are available so you can find out where will be showcasing our products near you. We encourage you to come view our products in person at any of our booths. Introducing the Technical Service Site The Technical Service Site can be accessed from the website. We offer various tools to help you make an appropriate Linear Way and Linear Roller Way selection. Please use them to aid with your selection. You can also use the site to download Instruction Manuals for the mechatro series. ปัญหาที่มักพบได้บ่อยในการใช้งานมอเตอร์กระแสสลับ ซึ่งเป็นต้นก�าลัง ขับเคลื่อนเครื่องจักรต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม นั่นคือ ปัญหาแรงบิด ออกตัวของมอเตอร์ทสี่ งู มากเกินความต้องการของเครือ่ งจักร ซึง่ ส่งผลต่ออายุ การใช้งานของอุปกรณ์สง่ ก�าลัง รวมถึงปัญหาในระบบท่อและแรงดันย้อนกลับ ขณะหยุดการท�างานของปั๊ม เป็นต้น แต่ด้วยการติดตั้ง ABB Softstarter ในรุ่น PSR, PSE หรือ PST(B) จะช่วยให้การ Start และ Stop มอเตอร์ เป็นไปอย่างนุ่มนวล ใช้กระแส ในการสตาร์ทอย่างเหมาะสม ช่วยลดปัญหาแรงดันตกในขณะสตาร์ทออกตัว มอเตอร์ และที่ส�าคัญช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้มีอายุการใช้งาน ได้ยาวนานขึ้น
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Login Screen
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. Tel: 0-2637-5115 Fax: 0-2637-5116
Menu Screen
Editor’s Pick 79
GERMAN RACK กับเทคโนโลยีที่ตอบทุกโจทย์ของ DATA CENTER
CVM-C5 Basic & affordable multifunction Multimeter
ในยุคนีก้ ลายเป็นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารอย่างแท้จริง การรับส่งข้อมูล ต้องรวดเร็ว หรือการ Download และ Upload ต้องสามารถรองรับกับความ ต้องการของผู้ใช้งานที่นับวันยิ่งมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่จะมา ตอบโจทย์พวกนี้ก็คือ Data Center นั่นเอง และการท�าศูนย์ Data Center เพื่อท�าเป็นพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลก็ไม่ได้ยุ่งยากอย่างที่คิด INTERLINK ขอน�าเสนอตู้ Rack ที่เอามาแก้ปัญหาใหญ่ของ Data Center สองเรื่อง คือ พื้นที่การจัดวางตู้ Rack และการแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในตู้เดียวกันส�าหรับ ผู้เช่าต่างบริษัทกัน 1. ลดพืน้ ทีก่ ารใช้งาน เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ตู้นี้ออกแบบเป็นตู้เจาะรูระบายอากาศ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อให้สามารถ ระบายความร้อนที่สะสมภายในตู้ได้ดี และ มี จุ ด เด่ น ที่ ป ระตู ตู ้ อ อกแบบให้ ส ามารถ เปิดออกเป็นบานซ้ายและขวา โดยเปิดจาก ตรงกลางเพื่ อ ลดพื้ น ที่ ก ารใช้ ง านตู ้ Rack เหลือ 30 เซนติเมตร (ปกติจะกินพื้นที่ 60 เซนติเมตร) 2. แบ่งพื้นที่ส่วนตัวให้เหมาะสมและลงตัว ตูน้ อ้ี อกแบบมาให้เหมาะสมกับ Data center ทีม่ ผี มู้ าเช่าตูใ้ ช้งานแต่ไม่ได้ เช่าพื้นที่ทั้งตู้ มีให้เลือก 2 รุ่น คือ รุ่น Haft Rack (ตู้เปิด 2 ตอน) และ Quad Rack (ตู้เปิด 4 ตอน) ผู้มาเช่าพื้นที่จะมีทั้งความปลอดภัย และความเป็น ส่วนตัว ออกแบบให้ประตูหน้าและประตูหลัง มีความเป็นอิสระแยกจาก ผูเ้ ช่าในส่วนอืน่ ๆ ทัง้ กุญแจล็อกทีส่ ามารถเปิดได้เฉพาะส่วนเท่านัน้ (เลือกได้ ทั้งแบบ Master Key และแบบ Swing Handle Lock)
• Suitable for Low Voltage installations • Measures in Single-phase, Bi-phase (2-3 wires) and Three-phase (3 or 4 wires) networks • 4 Quadrant measurement • Measurements taken with /5 A or /1 A transformers or the efficient transformers of CIRCUTOR’s MC range • 1 built-in digital output (S0 Interface) • 1 built-in digital inputs (tariff selection) or load type • Maximum, Minimum and Maximum demand. Displays energy consumption value in cost by configuring the kWh cost ratio.
Displays KgCO2 indicator in consumption/generation according the energy nature, using the ratio established of the energy mix in the country.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ INTERLINK COMMUNICATION PUBLIC CO., LTD. Tel: 0-2693-1222 Expressway: 0-2276-0340 Fax: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ AVERA CO., LTD. Tel: 088-001-0416 E-mail: marketing@avera.co.th Website: www.avera.co.th issue 170 april 2017