Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
เฉลิมพล ปุณโณทก ‘ความสำเร็จ’… ไมมีคำวา ‘บังเอิญ’ มีแตคำวา ‘วางแผน’
ผาปรากฎการณ POST-BREXIT ชี้ทิศธุรกิจอุตสาหกรรมไทย
COBOT นวัตกรรมหุนยนตอัจฉริยะ ที่ทำงานรวมกับมนุษย
p. 54
p. 40
p. 78
ที.เอ็น. เมตัลเว�ร ค จับเทคโนโลยี IoT
ป นโซลูชั่นตอบโจทย อุตสาหกรรมการผลิตยุค 4.0 คุณธีรพัฒน ทรงฤกษ Product Manager
บร�ษัท ที.เอ็น. เมตัลเว�ร ค จำกัด
VISITORS’ 1ST CHOICE MEET THE COMPLETE VALVE
SPECTRUM
10 t h B i e n n i a l V a l v e W o r l d C o n f e r e n c e & E x h i b i t i o n The experts meet in Düsseldorf at the most important international trade fair for valves and industrial valves. You can gather specifi c information here about innovations, new products and processes especially for your area of application at VALVE WORLD EXPO and the VALVE WORLD CONFERENCE in Düsseldorf, from November 29 to December 1, 2016. Turn it on, now !
www.valveworldexpo.com Sponsored by: Supported by:
Exposis Co., Ltd 1755/3 Cedar Park Soi Ladprao 94 (Town in Town 11) _ Plubpla Wangthonglang _ 10310 Bangkok _ Thailand Tel. + 66 2 559 0856 _ Fax + 66 2 559 2893 info@exposis.co.th
Truevolt DMMs for your next generation of insights As the industry leader in bench digital multimeters (DMMs), Keysight delivers more than numbers. We empower insights. Now we’re raising the standard again with two new Keysight Truevolt DMMs, the 6½ digit 34465A and 7½ digit 34470A. Both models build on Truevolt ’s graphical capabilities such as trend and histogram charts offering more insights quickly. They provide a data logging mode for easier trend analysis and a digitizing mode for capturing transients. Also, both offer auto calibration that allows you to maintain measurement accuracy throughout your workday. Our new 7½ digit DMM offers greater resolution and accuracy for your most challenging devices. Truevolt DMMs
34461A
34465A NEW
34470A NEW
Resolution
6½ digits
6½ digits
7½ digits
DCV accuracy
35 ppm
30 ppm
16 ppm
Linearity
2 ppm
1 ppm
0.5 ppm
1 k/s
5 k/s (opt 50 k/s)
5 k/s (opt 50 k/s)
Reading speed BenchVue software enabled
Control your DMM with other Keysight instruments via a PC or mobile device
IRC Technologies Limited
Authorized Distributor and Service Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th
A Keysight Authorized Distributor
Trend chart
Histogram
THIS IS RELIABILITY ZoomlockTM Braze-Free Tube Fitting Change Everything
Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000
www.parker.com/th
Specially designed to work without brazing, which makes your job simpler and faster when joining copper tubes. The fittings are leak-proof and more repeatable than brazed connections
© 2014 Siemens Product Lifecycle Management Software Inc. Siemens and the Siemens logo are registered trademarks of Siemens AG. All other trademarks, registered trademarks or service marks belong to their respective holders.
ขอเชิญเขารวมงานและเยี่ยมชมบูธ Hitachi Sunway ในงาน
Thailand SMARTECH Conference 2016 1-3 กันยายน 2559 นี้ ณ Hall 101-102 ไบเทค บางนา ตั้งแตเวลา 9.00 น. เปนตนไป สัมมนา “เทคโนโลยีอัจฉริยะแหงอนาคต” ที่ทุกธุรกิจ และอุตสาหกรรมในยุคดิจิตอล ไมควรพลาด !!! เจาะลึก มองอนาคต ชี้ทิศทางสูธุรกิจยุค 4.0 และยุคดิจิตอล ตดิตอสอบถามขอมลูเพิ่มเตมิไดที่ enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com 02 692 3090-4 ตอ 113 &114 www.hitachi-sunway-is.com
Momentum Siemens PLM Software A winning choice for more auto companies.
Today’s cars are more intelligent, more connected— and more challenging than ever to produce. Software and electronics have become as important as vehicle mechanics. The greatest opportunity for innovation is now at the systems level—where these technologies come together. How can you speed past your competition? In recent evaluations, leading automakers and OEMs concluded that Siemens PLM Software was key to the answer.
They chose our product lifecycle management solutions to manage collaboration, optimize processes and realize innovation—from planning and design through manufacturing and support. Find out why so many automotive companies selected Siemens PLM Software to gain a competitive edge. siemens.com/plm/leader
Realize Innovation.
บรษิทั ฮติาชิ ซนัเวย อนิฟอรเมชั่น ซสิเตม็ส (ประเทศไทย) จํากดั 252/21 ชั้น 17 เมอืงไทยภทัร ออฟฟศิ ทาวเวอร 1 ถนนรชัดาภเิษก แขวง/เขตหวยขวาง 10310 Tel. 02 693 2090-1 Fax. 02 693 2095 Email: enquiryplm-th@hitachi-sunway-is.com Website: www.hitachi-sunway-is.com
14
copyright & trademark
2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th
COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
การสมัครสมาชิก
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
ปกปอง ปองกัน
อุปกรณไฟฟาไมรวน เครื่องจักรไมปวน การผลิตลวนไมสะดุด เอวีรา ผูจัดจำหนายและเปนผูเชี่ยวชาญดาน • • • • •
อุปกรณไฟฟากำลังภายในตูสวิทชบอรด อุปกรณปองกันไฟฟากระชากภายในและภายนอก อุปกรณเครื่องมือตรวจจับพายุและฟาผา ระบบบริหารชองจอดรถ งานบริการหลังการขายและการบำรุงรักษา
บรษ ิ ท ั เอวรีา จำกด ั Tel : Fax : E-mail : Website :
+662-681-5050 +662-681-5995 marketing@avera.co.th www.avera.co.th
“ตว ั แทนจด ั จำหนายทไ่ีดรบ ั การแตงตง้ัอยางเปน ทางการรายเดย ี วในประเทศไทย”
avera.co.th
contents vol.14 no.162 august 2016
p.30
p.34
p.63
24 NEWS & UPDATE 30 COVER STORY
‘เอวีรา’ สง ‘CirPark’ สูศึกการตลาดบริหาร จัดการชองจอดรถ ครบวงจรทืี่สุด 34 EXCLUSIVE INTERVIEW
ที.เอ็น.เมตัลเวิรค จับเทคโนโลยี IoT ปนโซลูชั่นตอบโจทยอุตสาหกรรมการผลิตยุค 4.0 40 industrial economic report
ผาปรากฎการณ POST-BREXIT 42 industrial economic POLICY
พรบ. โรงงานใหม ปลดล็อคเครื่องจักรตํ่ากวา 50 แรงมา 44 productivity booster
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในวิถี WORKER ดวย LEAN 9 ขั้นตอน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
p.70
GREEN ZONE POLICY 46 ENERGY POINT สะสมแตมรับสิทธิประโยชน
ดานอนุรักษพลังงาน
49
กระทรวงพลังงานยํ้า ไทยยังมีศักยภาพ พรอมสงเสริมรอบดานตามแผน AEDP
p.74
60 RENEWABLE ENERGY
“ประเทศไทยวันนี้ อะไรๆ ก็ 4.0” 63 factory visit
SCI ECO ชูกระบวนการ Co-Processing กําจัดของเสียในเตาเผาปูนซีเมนต
50 green zone technology
70 QUALITY Control
SMART GRID ตอบโจทยอนาคตการผลิตไฟฟาอัจฉริยะ เมื่อผูใชพลิกบทเปนผูผลิต
เครื่องทดสอบการสั่นสะเทือนระบบ ‘ELECTRO DYNAMIC’
53 automation
74
SMART INDUSTRY กระบวนการผลิตตองตรวจสอบไดแบบเรียลไทม
VR TECHNOLOGY อนาคตสภาพแวดลอม 360 องศาในภาคธุรกิจ
56 real life
76 electronic & electrical
คุณเฉลิมพล ปุณโณทก Chief Executive Officer บริษัท CT ASIA ROBOTICS ‘ความสําเร็จ’ ไมมีคําวา ‘บังเอิญ’
เช็คสถานะเครื่องจักร ระบบไฟฟาและสภาพแวดลอม
TECH FOCUS
78 INDUSTRIAL ROBOTICS
COBOT นวัตกรรมหุนยนตอัจฉริยะที่ทํางานรวมกับมนุษย
p.78
EMX4e & EMX4i Soft Starters p.82
80 FOOD PROCESSING
ปจจัยเสี่ยงตอการปนเปอนของเชื้อโรคในอุตสาหกรรมอาหาร 82 SAFETY
Risk Management For Loss Control 84 LOGISTIC SMART
เทคนิค...ตั้งราคาสินคาเพื่อการสงออก 86 TECHNOLOGY COATING
CONFORMAL COATING TECHNOLOGY 82 LOGISTIC SMART
Smart Logistics กลยุทธบริหารจัดการโลจิสติกสอยางชาญฉลาด
EMX4e Range 17 Models (2 Frames) 24A ~ 580A (All Internal Bypassed) EMX4i Range 24 Models (4 Frames) 24A ~ 1600A (Internal Bypassed up to 1000A) Voltage Ranges 200 ~ 525VAC (V5) 380 ~ 690VAC (V7) EMX4i V7 is IT Mains compatible Protection IP20 EMX4-0023B ~ EMX4-0135B IP00 EMX4-0184B ~ EMX4-1600C* *Bypassed models up to 1000A: IP20 with finger guard kit
Certifications
Lloyds and ABS certifications apply to EMX4i only
บรษิทั บทีทีี ยไูนเตด็ จำกดั BTT UNITED COMPANY LIMITED Tel. 0-2586-8733 Fax. 0-2587-8852 Email : info@bttunited.com Website : www.BTTunited.com
editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com ISSN: 1685-7143
เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th
จับตา BREXIT…
แรงกระเพื่อมด้านเศรษฐกิจ ผลพวงต่อการลงประชามติของชาวสหราชอาณาจักรหรือชาวอังกฤษในกรณีการแยกตัวออกจากสหภาพ ยุโรป โดยมีข้อสรุปที่เสียงส่วนใหญ่สนับสนุนให้แยกตัวออกจากสภาพยุโรปนั้น หลายๆ ส�านักต่างคาดการณ์ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กันอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ ทัง้ ผลกระทบในระยะสัน้ และระยะยาวในหลาย แง่มุม อย่างไรก็ตาม ทางประเทศอังกฤษเองยังคงต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 ปีในการพิจารณาข้อตกลงการค้า ต่างๆ กับทางสภาพยุโรป ดังนัน้ ทางด้านผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมก็ยงั คงต้องติดตามความเคลือ่ นไหวของ เรื่องนี้อย่างต่อเนื่องเช่นกันนะคะ Modern Manufacturing ฉบับนี้น�าเสนออีกหนึ่งแง่มุมกับสถานการณ์ BREXIT ที่เกิดขึ้นในคอลัมน์ INDUSTRIAL ECONOMIC หน้า 40-41 ตามด้วยคอลัมน์ REAL LIFE พบกับแนวคิดและแง่มุมที่สร้างเสริม แรงบันดาลใจ คุณเฉลิมพล ปุณโณทก Chief Executive Officer บริษทั CT ASIA ROBOTICS CO., LTD. และ ผูพ้ ฒ ั นาหุน่ ยนต์ไทยสูต่ ลาดโลก เรือ่ ง ความส�าเร็จ… ไม่มคี า� ว่า ‘บังเอิญ’ มีแต่คา� ว่า ‘วางแผน’ คุณเฉลิมพล ได้แบ่งปันประสบการณ์ชวี ติ และเทคนิคทีจ่ ะน�าไปสูก่ ารประสบความส�าเร็จ โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถไป โลดแล่นอยู่ในประเทศญี่ปุ่นได้อย่างน่าสนใจ “…หลังจากประสบความส�าเร็จในการผลิตหุน่ ยนต์ดนิ สอดูแลคนชราแล้ว บริษทั ฯ ยังมีการพัฒนาหุน่ ยนต์ เพือ่ รองรับกับโลกอนาคตด้วย เพราะผมชอบคิดแบบขนาน ขนานในทีน่ ี้ คือ ต้องมีแผนส�ารอง ไม่ใช่แค่แผน 1 แผน 2 แต่ต้องมี 4 5 6 ด้วย จึงจะท�าให้เราเป็นผู้น�าได้…” มุมมองด้านความมุ่งมั่นในการเป็นผู้น�าค่ะ ติดตาม ต่อได้ที่หน้า 56-59 นะคะ คอลัมน์ FACTORY VISIT หน้า 63-64 จะพาชม บริษทั เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วสิ เซส จ�ากัด ซึง่ เป็นผูบ้ กุ เบิก ในการก�าจัดกากอุตสาหกรรม โดยน�าเทคโนโลยีจากยุโรปมาพัฒนาเพือ่ น�ากากอุตสาหกรรมเข้าไปเผาร่วมกับ การผลิตปูนซีเมนต์ เรื่อง SCI ECO ชูกระบวนการ Co - Processing ก�าจัดของเสียในเตาเผาปูนซีเมนต์นะคะ แล้วมาฟัง คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกิตติมศักดิก์ ลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ได้กล่าวถึง 4.0 ในคอลัมน์ RENEWABLE ENERGY เรื่อง ประเทศไทยวันนี้ อะไรๆ ก็ 4.0 หน้า 60-62 ทั้งเรื่องขององค์ประกอบส�าคัญที่ประเทศไทยต้องเปลี่ยนผ่านเพื่อเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 และ ช่วงพัฒนาการที่ส�าคัญของพลังงานทดแทนตั้งแต่อดีตจนมาถึงอุตสาหกรรม 4.0 นะคะ ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่มนะคะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณำธิกำร: ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ กองบรรณำธิกำร: สำวิตรี สินปรุ, เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัต เพ่งพินิจ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936
Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
Stage floor Silo, Hopper, Damper
Mixing Tank Elec. System
STOCK MATERIAL
ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด
เปนผูนำในการดำเนินธุรกิจดาน วิศวกรรม ที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพสินคา และบริการอยางตอเนื่อง รับผลิตและติดตั้งงานถัง ทออุตสาหกรรม และการขยายโรงงานผลิต เชน STAGE FLOOR, SILO, HOPPER, DAMPER, Mixing Tank ELEC. SYSTEM, STOCK MATERIAL บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด
559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com
20 SUPPLIER INDEX august 2016 หน้า 1, 15, 30-33
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
เอวีร่า จ�ากัด
0-2681-5050
www.avera.co.th
Offering The Best Alternative !
มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.
0-2682-6522
www.mitsubishifa.co.th
เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้าผ่าน เครือข่ายในการจ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของ ประเทศไทย
4
เจเอสอาร์กรุ๊ป
0-2327-0351-5
www.jsr.co.th
เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม
5
กลอบอลซีล บจก.
0-2591-5256-7
www.globalseal.co.th
กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร
6
เอ็กซโปซิส บจก.
0-2559-0856
info@exposis.co.th
บริหาร จัดด�าเนินงาน เป็นที่ปรึกษางานแสดงนิทรรศการ
7
ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.
0-2717-1400
www.irct.co.th
Leader in Test and Measurement
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของ ประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8
www.alphac.co.th
- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
10
ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.
0-2632-9292
www.hitachi.co.th
SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE
11
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานใน เครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
12
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
13
ฮิตาชิ ซันเวย์ อินฟอร์เมชั่น ซิสเต็มส์ บจก.
0-2693-2090-4
www.hitachi-sunway-is.com
Hitachi Sunway...End To End PLM Solutions Provider
17
บีทีที ยูไนเต็ด บจก.
0-2586-8733
www.BTTunited.com
จ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�่าครบวงจร
19
ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.
0-2325-0321-3
www.cpmflow.com
"ความสม�่าเสมอในการท�างานผลักดันให้งานมีคุณภาพพร้อมกับมาตรฐาน ในความปลอดภัย “Good Team Change The Future”
21
ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.
0-2369-2990-4
www.cgsreboardthai.com
"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board "
22
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศ เยอรมนี
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
25
อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.
0-2937-1190
www2.emersonprocess.com
EMERSON. CONSITION IT SOLVED.
27
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
www.interlink.co.th
คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.
0-2637-5115
www.ikont.co.jp/eg
“ IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”
47
ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2910-9728-29
www.tat.co.th
Technological Solutions For You
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71
www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
ริททัล จ�ากัด
0-2704-6580-8
www.rittal.com/th-en
Rittal – The System. Faster – better – everywhere.
105
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach
106
การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2396-1134-6
www.gardnerdenver.com
Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.
107
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูป แบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
108
เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.
0-2721-1800
www.apscontrol.co.th
ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และ อุปกรณ์วัดปริมาณฝุ่น , วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น
2 3, 29, 34-37, 48
38-39
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป
เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign
24 news & Update
Keysight Measurement Forum 2016 บริษัท ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ จ�ากัด, CSG Solution (Thailand) Co.,Ltd. และ Keysight Technology ร่วมจัดงาน Keysight Measurement Forum 2016 เรือ่ ง ‘แนวโน้มเทคโนโลยีในอนาคตทีช่ ว่ ยเปลีย่ นแปลงโลก (Believe You Can Change the World)’ ณ โรงแรมสวิส โฮเต็ล เลอ คองคอร์ด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและน�าเสนอโซลูชันที่น่าสนใจให้กับผู้ร่วมงาน ภายในงานทาง Keysight Technology ได้นา� เครือ่ งมือและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาจัดแสดงและสาธิตการใช้งานเบือ้ งต้น อาทิ Internet of Things, Signaling Test, Power Integrity Design Challenges, Energy Efficient Design และ Electronic Automotive เป็นต้น คุณเอกชัย เด่นวทัญญู กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ จ�ากัด กล่าวว่า “งาน Keysight Measurement Forum จัดขึ้นต่อเนื่องทุกปี เพื่อเป็นการ
ตอบแทนลูกค้า โดยน�าเทคโนโลยีใหม่ๆ มาจัดแสดงเพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้สัมผัส และได้รับความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ โดยในปีนี้ทางบริษัทฯ ได้น�าโซลูชันที่ หลากหลายส�าหรับรองรับ 5G และ Internet of Things มาร่วมจัดแสดง ทั้งนี้ แนวโน้มอุตสาหกรรมไทยในอนาคตมีสัญญาณที่ดีจากการที่ต่างชาติ ย้ายฐานการผลิตกลับมาที่เมืองไทย โดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่วนใหญ่ให้ความไว้วางใจผลิตภัณฑ์ของทางบริษัทฯ ส่งผลให้ในช่วงครึ่งปีแรก ของปี 2559 บริษัทฯ มีผลประกอบการเติบโตขึ้นประมาณเกือบ 30% เมื่อเทียบ กับปีที่ผ่านมา โดยในปีหน้าบริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นน�าเสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ส�าหรับ เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง คือ Wireless ทั้งนี้ เนื่องจากผู้ประกอบการต่างชาติได้ พัฒนาไปสู่ระบบ 5G แล้ว ต่อไปในอนาคตประเทศไทยก็ต้องพัฒนาให้ก้าวทัน เทรนด์นั้นด้วยเช่นกัน”
โครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ ประจ�าปี ’59
อินเตอร์ลิงค์ลงนามสนับสนุนทางการเงิน คุณสมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ.อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น และ คุณวิศาลศรี นิโลดม รองกรรมการ ผู้จัดการ ธุรกิจลูกค้ารายใหญ่ 2 บมจ.ธนาคารธนชาต ร่วมลงนามในสัญญา สนับสนุนทางการเงินเพือ่ พัฒนาธุรกิจ มูลค่า 600 ล้านบาท โดยมี คุณสุกญ ั ญา วิชิตชลชัย ผู้อ�านวยการ การตลาดและงานขายธุรกิจขนาดใหญ่ 2 บมจ. ธนาคารธนชาต และ คุณเพ็ญศรี จันต๊ะคาด ผู้อ�านวยการฝ่ายการเงิน บมจ.อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น เข้าร่วมด้วย ณ อาคารอินเตอร์ลิ้งค์ ส�านักงานใหญ่ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
รศ.ดร.ชูวงค์ พงศ์เจริญพาณิชย์ รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ร่วมในพิธีเปิดโครงการ พัฒนาผู้ประกอบการใหม่ (Start Up) ปี 2559 เพื่อยกระดับความรู้เบื้องต้นในการ ประกอบธุรกิจ โดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ และ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาความรูเ้ บือ้ งต้น ของการน�าองค์ความรู้มาใช้ในการประกอบธุรกิจ ตอบโจทย์สังคมและวิถีโลก ที่เปลี่ยนแปลง อีกทั้งเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการประกอบธุรกิจให้ประสบผล ส�าเร็จ
26 news & Update
RATCH-NNCL-GPSC จับมือขยายโรงไฟฟ้าเฟส 2
บริษัท ผลิตไฟฟ้านวนคร จ�ากัด (NNEG) แจ้งเดิน เครื่องผลิตและจ�ำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำเชิงพำณิชย์เมื่อต้น เดือนมิถุนำยน โดย NNEG เป็นผู้ผลิตไฟฟ้ำรำยเล็ก (SPP) ประเภทสัญญำ Firm ระบบโคเจนเนอเรชั่น มีก�ำลังกำรผลิต ไฟฟ้ำ 125 เมกะวัตต์ และก�ำลังผลิตไอน�้ำ 30 ตันต่อชั่วโมง ใช้ก๊ำซธรรมชำติเป็นเชื้อเพลิง NNEG เกิดจำกกำรร่วมทุนระหว่ำง 3 ฝ่ำย คือ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ากัด ถือหุน้ 40% บริษทั นวนคร จ�ากัด (มหาชน) และ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ากัด (มหาชน) ถือหุ้นฝ่ำยละ 30% โดยได้พัฒนำโครงกำรแล้ว เสร็จ จนสำมำรถเดินเครือ่ งเชิงพำณิชย์สำ� เร็จ ทัง้ นี้ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จะรับซื้อไฟฟ้ำจ�ำนวน 90 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลำ 25 ปี และ NNEG จะจ�ำหน่ำย กระแสไฟฟ้ำ 35 เมกะวัตต์และไอน�ำ้ 30 ตันต่อชัว่ โมง ให้กบั ลูกค้ำอุตสำหกรรมภำยในเขตส่งเสริมอุตสำหกรรมนวนคร ส�ำหรับ โครงกำรผลิตไฟฟ้ำนวนคร เฟส 2 จะมีก�ำลัง ผลิตไฟฟ้ำ 60 เมกะวัตต์ และก�ำลังผลิตไอน�้ำ 30 ตันต่อ ชั่วโมง โดยมุ่งเน้นรองรับควำมต้องกำรใช้ไฟฟ้ำและไอน�้ำ ของโรงงำนอุตสำหกรรมในเขตส่งเสริมอุตสำหกรรมนวนคร ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น โครงกำรระยะที่ 2 นี้ คำดว่ำจะแล้วเสร็จ ในปี 2562
โตชิบา เปิดตัวแผงวงจรขับ LED
อังกฤษจับมือเยอรมนีหนุนอุตสาหกรรมแอร์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในไทย
บริษทั สตอเรจ แอนด์ อิเล็กทรอนิกส์ ดีไวเซส โซลูชนั ส์ (Storage & Electronic Devices Solutions Company) ใน เครือของ โตชิบำ คอร์ปอเรชัน่ (Tokyo: 6502) ประกำศเปิดตัว ‘TB62D786FTG’ แผงวงจรขับ LED รุ่นใหม่ ที่มำพร้อม อินพุตแบบสำยเดีย่ วและเอำต์พตุ 9 ช่อง เพือ่ กำรใช้งำนกับ อุปกรณ์ควำมบันเทิงและกำรประดับไฟ LED ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ใช้อินเตอร์เฟซรหัสแมนเชสเตอร์แบบ สำยเดีย่ ว ทีม่ กั น�ำไปใช้สำ� หรับกำรสือ่ สำรแบบไร้สำย รวมถึง สัญญำณอินพุตที่ลดเหลือเพียงหนึ่งสัญญำณ นอกจำกนี้ พินแบบเดซี่เชนที่ติดตั้งในตัว รวมถึงแผงวงจรควบคุมเชิง เส้น (LDO, เอำต์พุต 5V) และอินพุตที่แรงดันสูงสุด 28V จะ ช่วยพัฒนำกำรขยำยไดร์เวอร์ LED
กระทรวงสิง่ แวดล้อม คุม้ ครองธรรมชาติ การก่อสร้าง และความปลอดภัยทางปรมาณูของ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMUB) ร่วมกับ กระทรวงพลังงาน และ การเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศของสหราชอาณาจักร (DECC) และ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) จัดพิธีเปิดตัวโครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้พลังงำนและกำรลดก๊ำซเรือนกระจกที่เหมำะสมของ ประเทศ ในอุตสำหกรรมระบบปรับอำกำศและท�ำควำมเย็น (RAC NAMA) เพือ่ สนับสนุนเทคโนโลยี ทีม่ ปี ระสิทธิภำพกำรใช้พลังงำนสูงและสำรท�ำควำมเย็นทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ตลอดจนเสริมสร้ำง ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของผูป้ ระกอบกำรในอุตสำหกรรมระบบปรับอำกำศและท�ำควำมเย็น ทัง้ นี้ โครงกำรดังกล่ำวได้รบั กำรสนับสนุนทำงกำรเงินจำกกองทุนต่ำงประเทศ คือ NAMA Facility โดย กระทรวงของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และ สหราชอาณาจักร ด้วยมูลค่ำ 14.7 ล้ำนยูโร (ประมำณ 560 ล้ำนบำท) ซึง่ โครงกำรฯ จะให้ควำมร่วมมือกับทัง้ หน่วยงำนภำครัฐและเอกชนในกำร ด�ำเนินงำน ด้วยควำมมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหำกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศและพัฒนำระบบ กำรท�ำงำนในตลำดพลังงำนให้มีประสิทธิภำพ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นำเขาและจัดจำหนายโดย
บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)
www.interlink.co.th
E-mail : info@interlink.co.th
28 news & Update
Tesla กับบทเรียนความผิดพลาด ของระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ
ผลงานวิจัยจาก Stanford ยืนยัน ความเชื่อมโยงระหว่าง อาหารกระป๋องและสารเคมี มีผลกระทบต่อผู้บริโภค
Tesla Motors Inc. ได้พัฒนาเทคโนโลยีที่ใช้ขับเคลื่อนรถยนต์โดยสารแบบ อัตโนมัติขึ้น เพื่อใช้งานจริงบนถนน โดยอุบัติเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นกับชายชาว Ohio อายุ 40 ปี เสียชีวิตด้วยการที่รถยนต์ Tesla รุ่น S ปี 2015 ขับชนท้ายรถ บรรทุก 18 ล้อบนทางด่วน ใกล้เมือง Williston รัฐ Florida กรณีดังกล่าวก่อให้เกิดการถกเถียงขึ้นมากมายในวงกว้างว่า รถขับเคลื่อน อัตโนมัตินั้นมีความพร้อมเพียงใดในการขับเคลื่อนบนโลกจริง จากการที่ระบบ ขับเคลื่อนอัตโนมัตินั้นไม่สามารถตรวจจับรถบรรทุกพ่วงได้ แม้ในขณะที่ท้องฟ้า ค่อนข้างปลอดโปร่ง นี่ถือเป็นอุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นครั้งแรกภายในระยะทาง การเดินทางกว่า 130 ล้านไมล์ของระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ หากข้อผิดพลาดเป็น เช่นนัน้ จริง บริษทั ต้องเรียกสินค้ากลับมาเพือ่ ปรับปรุงแก้ไข ซึง่ ระบบนีม้ คี วามจ�าเป็น ที่จะต้องจดจ�าการท�างานและสถานการณ์บนถนนทั้งหมดให้ได้อย่างครบถ้วน เหตุการณ์นที้ า� ให้หนุ้ ของ Tesla ตกลงมามากกว่า 10% เมือ่ วันที่ 22 มิถนุ ายน ทีผ่ า่ นมา ซึง่ หากความผิดพลาดนีย้ งั คงด�าเนินต่อไปหรือไม่ได้รบั การแก้ไขทีถ่ กู ต้อง และกระจ่างชัด เส้นทางส�าหรับรถยนต์อัจฉริยะนั้นคงต้องถูกเลื่อนออกไปก่อน
ผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัย Stanford พบว่าการถกเถียงที่มีกันมา นานระหว่างอาหารกระป๋องและสารเคมีที่รบกวนการท�างานของฮอร์โมน ที่ชื่อว่า Bisphenol A หรือ BPA ซึ่งน�าไปสู่อาการท้องเสีย หลอดเลือด อุดตัน รวมไปถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพอื่นๆ จากตัวอย่างที่ถูกส่งมานั้น ท�าให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างอาหารกระป๋องและ BPA โดยงานวิจัยนี้ ถูกตีพมิ พ์ใน Environmental Research นอกจากนี้ ยังแสดงให้เห็นว่าอาหาร ที่ต่างชนิดกันเมื่อถูกบรรจุอยู่ในกระป๋องแล้วจะมีปริมาณการปนเปื้อน ที่แตกต่างกันอีกด้วย โดยกลุ่มอาหารที่มีอัตราการปนเปื้อน BPA สูง คือ ซุปกระป๋อง พาสต้ากระป๋อง และ ผัก – ผลไม้กระป๋อง
Source: http://goo.gl/CI8hwb
Source: http://goo.gl/M3CpGU
สนใจลงทุนเทคโนโลยีหุ่นยนต์
ช่วงกลางเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา Google ได้เข้าครอบ ครองกิจการของบริษัท Boston Robot Dynamics และ ได้ประกาศเกี่ยวกับหุ่นยนต์รุ่นใหม่ที่มีแนวโน้มท�าก�าไรใน เชิงพาณิชย์ได้มากกว่าเดิม โดยในภาพเคลือ่ นไหวทีป่ รากฏนัน้ หุน่ ยนต์ได้เข้ามาช่วยด�าเนินงานในส่วนของงานบ้านพืน้ ฐาน เช่น จัดเรียงจานและอื่นๆ หรือแม้แต่การใช้งานในโกดัง เก็บวัสดุ SpotMini หุน่ ยนต์รนุ่ ใหม่ทเี่ ปิดตัว หลังจาก Google เข้า ครอบครองกิจการนั้นมีขนาดที่เล็กกว่าและน�้าหนักที่ไม่เกิน 25 กิโลกรัม สามารถใช้งานได้ต่อเนื่องกว่า 90 นาที การเข้า ถือครองบริษทั ครัง้ นีแ้ สดงให้เห็นถึงความตัง้ ใจทีจ่ ะลงทุนใน กิจการหุ่นยนต์ของบริษัทแม่ของ Google อย่าง Alphabet ซึ่งได้ลงทุนกับหุ่นยนต์ที่ถูกผลิตโดย Shaft ซึ่งในขณะนี้ยัง ไม่มคี วามชัดเจนในด้านการลงทุนเรือ่ งหุน่ ยนต์ของ Alphabet แต่แน่นอนว่าการลงทุนและพัฒนาในด้านหุ่นยนต์ครั้งนี้ จะน�ามาซึง่ การพัฒนาในวงการต่างๆ อย่างน่าสนใจแน่นอน Source: http://goo.gl/MbyJYi
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Induction Motors
Three Phase Motor Cast iron frame Three Phase Motor Aluminium frame Single Phase Motor Aluminium frame Brake Motor Forced Fan Kit
Power : 0.09 - 315 kW Totally Enclosed Fan Cooled Conform to IEC Standard S1 Continuous duty Insulation Class F with Temperature rise Class B Protection IP55 , suitable for dusty and damp surrounding
transmission@tnmetalworks.com
30 Cover story
N๐ 6002038
‘เอวีร่า’ ส่ง
‘CirPark’ สู้ศึกตลาดบริหาร
จัดการช่องจอดรถ ครบวงจรที่สุด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
หากพูดถึงบริษัท เอวีร่า จ�ากัด หลายๆ คนจะนึกถึง บริษทั ผูน้ า� ด้านอุปกรณ์ไฟฟ้าก�าลังนานาชนิด อาทิ Circutor Cirprotec CHINT ฯลฯ ที่มีความเหมาะสมทั้งด้านคุณภาพ และราคา จนเป็นที่ยอมรับจากกลุ่มผู้ใช้อย่างแพร่หลาย นอกจากการเป็ น ผู ้ น� า ด้ า นอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ก� า ลั ง แล้ ว ด้วยพันธกิจที่มุ่งมั่นพัฒนาและน�าเสนอสิ่งที่ดีที่สุดให้กับ กลุ่มผู้ใช้ ปัจจุบันเอวีร่ายังได้คัดสรรผลิตภัณฑ์ใหม่อย่าง Parking Guidance Systems เข้ามาดูแลกลุม่ ผูใ้ ช้ให้สามารถ บริหารจัดการช่องจอดรถได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ด้วย CirPark ระบบซอฟต์แวร์อัจฉริยะส�ำหรับ Parking Guidance Systems เพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำร ช่องจอดที่เหนือกว่ำ ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2559 เอวีร่าได้วางหมาก ส่งท้ายปีด้วยผลิตภัณฑ์หลัก Parking Guidance Systems หวั ง บุ ก กลุ ่ ม อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทั่ ว ไป เช่ น คอนโด ห้ า ง สรรพสินค้าขนาดใหญ่ และคอมมูนติ มี้ อลล์ โดยเอวีรา่ มิได้ กังวลกับตลาด Parking Guidance Systems แม้ว่าบริษัท จะเป็นผู้เล่นรายใหม่ที่เพิ่งเข้ามาบุกตลาดนี้ก็ตาม เกี่ยวกับ เรื่องนี้ คุณปณิธำน กัจฉปำนันท์ Marketing Director บริษทั เอวีรำ่ จ�ำกัด ได้เล่าให้ฟงั ถึงความได้เปรียบทางธุรกิจ Parking Guidance Systems ว่า “ขณะนีเ้ ราได้นา� เข้า Parking Guidance Systems ชือ่ CirPark จากบริษทั CIRCONTROL
Cover story
ประเทศสเปนที่ มี ชื่ อ เสี ย งด้ า นการบริ ห ารจั ด การช่ อ ง จอดรถ แม้สนิ ค้าประเภทนีจ้ ะเกิดขึน้ ในประเทศไทยมาระยะ หนึ่งแล้ว แต่ CirPark จะเป็นการบริหารจัดการช่องจอด ที่มีประสิทธิภาพเหนือกว่าเพราะมีซอฟต์แวร์ช่วยบริหาร จั ด การช่ อ งจอดร่ ว มกั บ ป้ า ย LED อั จ ฉริ ย ะที่ ท� า ให้ ผู้เข้ามาใช้บริการสถานที่ทราบจ�านวนที่ว่าง และทิศทาง การเดินรถร่วมด้วย ธุรกิจที่ซื้อไปใช้ก็ได้ประโยชน์ในแง่การบริหารพื้นที่ อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถบริหารจัดการร่วมกับ ส่วนอื่นๆ เช่น บริหารการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในอาคาร ลดทรัพยากรบุคคล ซึง่ แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ของบริษทั อืน่ ที่มีเพียงไฟเขียว - ไฟแดง ป้ายบอกจ�านวนที่ว่าง ซึ่ง ส่วนใหญ่แล้วยังมีความคลาดเคลื่อนอยู่ กล่าวคือ บางครั้ง ขึ้นไฟเขียว แต่ปรากฏว่ามีรถจอดอยู่ในช่อง จึงท�าให้เกิด ความร�าคาญใจของผู้ใช้งาน” คุณภำพดี แตกต่ำง และหลำกหลำย กลยุทธ์สู่ผู้น�ำตลำดบริหำรจัดกำรช่องจอด เนื่องจากเอวีร่าตระหนักดีว่าผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการ บริหารจัดการช่องจอดนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งใหม่สา� หรับประเทศไทย ดังนัน้ การก้าวเข้าสูธ่ รุ กิจนีจ้ งึ ต้องอาศัยความได้เปรียบของ ตัวผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามแตกต่าง และยังตอบโจทย์การใช้งาน ที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง เอวี ร ่ า เชื่ อ ว่ า ด้ ว ยความแตกต่ า งและ หลากหลายนีเ่ อง จะช่วยผลักดันให้บริษทั ก้าวสูก่ ารเป็นผูน้ า� ตลาดบริหารจัดการช่องจอดได้ไม่ยาก “จริงๆ แล้ว Parking Guidance Systems มีรูปแบบ ไม่ ต ่ า งกั น มากนั ก แต่ สิ่ ง ที่ เ พิ่ ม เข้ า มาคื อ คุ ณ ภาพของ CirPark ทีม่ คี ณ ุ ภาพดี และยังมีการท�างานร่วมกับซอฟต์แวร์ ที่มีประสิทธิภาพสูงจึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการได้ โดยระบบช่องจอด CirPark จะมีการติดตั้งที่ละเอียด เช่น ความสูง ความกว้าง ขนาดพื้นที่จอด ด้วยเทคโนโลยี อัลตราโซนิกส์ ซึ่งคลื่นอัลตราโซนิกส์ในระบบส่งข้อมูล (Transmission) กับอุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver) ของ CirPark จะมีเทคโนโลยี FUD หรือ Fake Ultrasonic Detection เป็นตัวป้องกันความสับสนกรณีทเี่ ครือ่ งมือหรือ อุปกรณ์สง่ สัญญาณอัลตราโซนิกส์อนื่ ๆ ผ่านเข้ามา จึงท�าให้ CirPark บริหารจัดการช่องจอดได้เที่ยงตรงถึง 99.99% จากเทคโนโลยีข้างต้นร่วมกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และซอฟต์แวร์ CirPark แม้ราคาของเราจะสูงกว่า แต่เชือ่ ว่า ด้วยข้อดีที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยตอบโจทย์ความต้องการ ของผู้บริโภคได้มากกว่าแน่นอน” คุณปณิธำน กล่าว
31
จริงๆ แล้ว
Parking Guidance Systems มีรูปแบบไม่ต่างกันมากนัก แต่สิ่งที่เพิ่มเข้ามาคือคุณภาพ ของ CirPark ที่มีคุณภาพดี และยังมีการท�างานร่วมกับ ซอฟต์แวร์ที่มีประสิทธิภาพสูง จึงช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการได้
คุณปณิธาน กัจฉปานันท์ Marketing Director บริษัท เอวีรา่ จำากัด
issue 162 august 2016
32 Cover story
เป้ำหมำยถัดไป ช่วยบริหำรจัดกำร ค่ำกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำอย่ำงยั่งยืน นอกจาก CirPark จะช่วยบริหารจัดการช่องจอดแล้ว เอวีร่ายังวางแผนพัฒนาฟีเจอร์ใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับ โลกอนาคต และช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถบริหารจัดการ พลังงานไฟฟ้าได้ด้วย “เราวางกลยุทธ์ระยะยาวไว้ว่าจะให้ CirPark ท�างาน ร่วมกับซอฟต์แวร์อนื่ ๆ เช่น การบริหารจัดการธุรกิจค้าปลีก (RMS) หรือการบริหารอาคารก่อสร้าง (BMS) ในส่วน การบริหารจัดการค่าการใช้พลังงานไฟฟ้า ยกตั ว อย่ า งเช่ น สถานที่ ห นึ่ ง ต้ อ งการเปิ ด อี เว้ น ท์ ลักษณะเปิดท้ายขายของ แต่ละช่องจอดเราจะมีเอาท์เลท ไฟฟ้า จากนั้นจะน�า CirPark ไปร่วมเพื่อเชื่อมต่อกับ RMS ในการคิดค่าไฟ พอผู้เช่าขยับรถออก ระบบไฟฟ้าก็หยุด จากนัน้ ก็ออกบิลค่าไฟฟ้าให้ผเู้ ช่า เป็นต้น ซึง่ กระบวนการนี้ สามารถน�าไปปรับใช้กับเคาท์เตอร์ร้านค้าต่างๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการน�าระบบ RMS, BMS และ CirPark มาเชื่อม เข้าด้วยกัน หรือกรณีที่ต้องการใช้ CirPark ร่วมกับระบบควบคุม แสงสว่างก็ทา� ได้ ว่าต้องการให้พนื้ ทีต่ รงส่วนไหนไฟมีไฟฟ้า ส่องสว่างปิด หรือเปิดไฟสว่างกี่โมง ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้” นอกจากนี้ คุณปณิธำน ยังเล่าถึงเทคโนโลยีอนาคต ที่สามารถน�า CirPark เข้ามาร่วมตอบโจทย์การท�า Digital Marketing ไว้อย่างน่าสนใจว่า “คุณสมบัตหิ นึง่ ของ CirPark คือ สามารถส่งข้อมูลแบบเว็บได้ ในอนาคตเราจึงหวังว่า จะน�าเทคโนโลยีนมี้ าเชือ่ มโยงกับการท�า Digital Marketing ของผู้ใช้งาน ด้วยการสร้างแอพพลิเคชั่นส�าหรับผู้ใช้บริการ โดยเชื่ อ มต่ อ แอพพลิ เ คชั่ น กั บ IP Address ของห้ า ง สรรพสินค้า เมื่อผู้ใช้บริการเข้าแอพพลิเคชั่นก็จะเห็นว่า มี โ ฆษณาสิ น ค้ า อะไรที่ อ ยู ่ ใ นห้ า งสรรพสิ น ค้ า บ้ า ง ห้ า ง สรรพสินค้าก็สามารถท�าก�าไรจากผู้ลงโฆษณาได้อีกด้วย” เอวีร่ำ... ตอบโจทย์กำรอนุรักษ์พลังงำน เนือ่ งจากการอนุรกั ษ์พลังงานเป็นสิง่ ส�าคัญทีท่ งั้ ภาครัฐ และเอกชนให้ความส�าคัญ เอวีรา่ เองก็เป็นอีกหนึง่ ทางเลือก ทีค่ อยให้การสนับสนุนให้การอนุรกั ษ์พลังงานเกิดขึน้ ได้จริง และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คุณปณิธำน ยังได้กล่าวว่า “หากเรามองดูสภาพการณ์ ปัจจุบันจะเห็นได้ว่าเรื่องของการอนุรักษ์พลังงานนั้นมีการ พูดถึงกันอย่างมาก เอวีร่าเป็นบริษัทที่ช่วยส่งเสริมและ สนับสนุนให้องค์กรต่างๆ สามารถอนุรักษ์พลังงานได้จริง ยกตัวอย่างสินค้าของเราที่ชื่อว่า PowerStudio SCADA ซึ่ ง เป็ น ซอฟต์ แ วร์ ช ่ ว ยบริ ห ารจั ด การพลั ง งานไฟฟ้ า โดยเฉพาะระบบ RMS ก็สามารถช่วยให้เกิดการประหยัด ทั้งด้านทรัพยากรบุคคลและพลังงานไฟฟ้า ทั้งยังมี Digital Meter ทีต่ อบสนองในเรือ่ งรายงานการใช้พลังงานประจ�าปี ซึ่งอยู่ใน ISO 50001 ที่ว่าด้วยการบริหารจัดการพลังงาน
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เอวีร่า
จะเป็นศูนย์รวมพลังงานที่สามารถให้บริการด้านอนุรักษ์ พลังงานไฟฟ้าอย่างครบวงจร โดยเริ่มกระบวนการ จากการเป็นที่ปรึกษาแก่ลูกค้า การขาย การสนับสนุน การบริหารจัดการ และสุดท้ายการบริการหลังการขาย ซึ่งเอวีร่าเองมั่นใจอย่างมากว่าจะสามารถน�าส่วนผสม ต่างๆ นี้มาประกอบให้เป็นรูปเป็นร่างอย่างครบวงจร ได้ภายใน 5 ปีอย่างแน่นอน
Cover story 33
ซึง่ Digital Meter จะสนับสนุนในการเก็บข้อมูล และควบคุม พลังงานการใช้งานได้ด้วย นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ตัวใหญ่อย่าง CirPark ก็ยัง ตอบโจทย์ ใ นด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ในแง่ ก าร ลดใช้ พ ลั ง งานจากการสั่ ง การของซอฟต์ แวร์ ไ ด้ อี ก ด้ ว ย ดังนั้นหากจะบอกว่าผลิตภัณฑ์ของเรามีส่วนช่วยในการ สนับสนุนให้ประเทศไทยเข้าสู่ยุคกรีนก็คงไม่ผิด” สถำนกำรณ์กำรแข่งขันทำงธุรกิจ ไม่ง่ำย แต่ก็ไม่ยำกเกินควำมคำดหวัง ด้วยโปรดักส์หลักของเอวีร่า คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าโรงงาน ซึ่งมีการแข่งขันค่อนข้างสูง จึงท�าให้ปัญหาส่วนใหญ่เป็น เรื่องของการแข่งขันทางราคา อย่างไรก็ตาม ด้วยความ เชื่อมั่นในคุณภาพสินค้า เอวีร่าจึงมั่นใจว่าจะก้าวผ่าน ปัญหานี้ได้ไม่ยาก “ปั จ จุ บั น ต้ อ งยอมรั บ ว่ า อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ มี ม ากมาย หลายยี่ห้อ การผลิตก็มาจากหลายประเทศจึงท�าให้การ แข่งขันในตลาดมีอยู่สูง สินค้ามีตั้งแต่ระดับคุณภาพเยี่ยม ไปจนถึ ง พอใช้ ไ ด้ จึ ง ท� า ให้ ผู ้ เ ล่ น ในตลาดมี ห ลายเจ้ า สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือการแข่งขันทางราคา หรือ Price War ซึ่ง ตอบโจทย์ลกู ค้าบางกลุม่ ทีต่ อ้ งการของราคาถูก แค่พอใช้ได้ จึงท�าให้ตวั สินค้าของเอวีรา่ พบอุปสรรคอยูบ่ า้ ง เพราะอย่าง ที่กล่าวข้างต้น คือ สินค้าเรามีคุณภาพสูง ราคาจึงค่อนข้าง สูงตามไปด้วย แน่นอนว่าด้วยราคาทีส่ งู นีเ่ อง อาจท�าให้ลกู ค้าบางส่วน หายไป แต่ด้วยเรายึดมั่นว่าคุณภาพจะเป็นตัวพิสูจน์ทุกสิ่ง ดั ง นั้ น จึ ง มี ลู ก ค้ า หลายเจ้ า ที่ ไ ปลองของราคาถู ก แล้ ว หันกลับมาซื้อสินค้าของเรา นั่นก็เป็นเพราะคุณภาพสินค้า ดีจริง ฟีเจอร์ตอบโจทย์ มีความหลากหลาย ที่ส�าคัญคือ เรายังมีทีมบริการหลังการขายคอยรองรับความต้องการ ของลูกค้าอย่างเต็มที่และทั่วถึง ดังนั้น แม้สถานการณ์ การแข่งขันจะรุนแรงเพียงใด แต่เราก็มั่นใจว่าที่สุดแล้ว เราจะก้าวผ่านปัญหานี้ได้ไม่ยาก” นอกจากนี้ คุ ณ ปณิ ธ ำน ยั ง กล่ า วถึ ง เป้ า หมายใน อนาคตโดยเชือ่ ว่า เอวีรา่ จะเป็นศูนย์รวมพลังงานทีส่ ามารถ ให้บริการด้านอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าอย่างครบวงจร โดย เริ่มกระบวนการจากการเป็นที่ปรึกษาแก่ลูกค้า การขาย การสนับสนุน การบริหารจัดการ และสุดท้ายการบริการ หลังการขาย ซึ่งเอวีร่าเองมั่นใจอย่างมากว่าจะสามารถ น�าส่วนผสมต่างๆ นี้มาประกอบให้เป็นรูปเป็นร่างอย่าง ครบวงจรได้ภายใน 5 ปีอย่างแน่นอน จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า สิ่งส�าคัญที่เอวีร่าใช้ ในการก�าหนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ ก็คือ การมองเกมธุรกิจ แบบ 360 องศา มองสิ่งที่ผู้อื่นมี จากนั้นจึงเติมสิ่งที่ขาด ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์ที่เฉียบคมและยังช่วยให้ธุรกิจเติบโต ในยุคที่การแข่งขันรุนแรงดังเช่นทุกวันนี้ได้อย่างดี CirPark software
issue 162 august 2016
34 interview
ที.เอ็น. เมตัลเวิร์ค จับเทคโนโลยี IoT
ปั้นโซลูชั่นตอบโจทย์
อุตสาหกรรมการผลิตยุค 4.0 Internet of Things หรือที่หลายๆ คนเรียกว่า ‘IoT’ ได้กลาย มาเป็นเทคโนโลยีที่จะเข้ามามีบทบาทกับยุทธศาสตร์การ บริหารการลงทุนในด้านต่างๆ ของโลก เป็นเทคโนโลยีที่ถูก กล่าวว่าจะเข้ามาเปลีย่ นโลก เปลีย่ นวิถกี ารด�าเนินชีวติ เปลีย่ น วิถีการท�างาน เช่นเดียวกับการเกิดขึ้นของโทรศัพท์มือถือ ระบบอินเทอร์เน็ต โซเชียลมีเดีย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
คุณธีรพัฒน์ ทรงฤกษ์
Product Manager บริษัท ที.เอ็น. เมตัลเวิร์ค จ�ำกัด
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
exclusive interview 35
การดําเนินธุรกิจอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต ทามกลางการ ขับเคลื่อนของกระแสเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง ปฏิเสธไมได เลยวาเทคโนโลยี IoT ไดเขามามีบทบาทและความสําคัญตอกระบวนการผลิต อยางมาก บริษัท ที.เอ็น. เมตัลเวิรค จํากัด หนึ่งในผูนําการผลิตและนําเขา สินคาอุตสาหกรรมที่มีประสบการณกวา 40 ป ไดมุงมั่นนําเสนอผลิตภัณฑและ โซลูชั่นที่มีคุณภาพ ไดรับการยอมรับในระดับสากล ตระหนักดีถึงการกาวสู อุตสาหกรรมการผลิตยุค 4.0 ซึง่ ผูป ระกอบการจะตองรับมือการเปลีย่ นแปลงอยาง รวดเร็วของเทคโนโลยี IoT
สิ่งที่ผูประกอบการตองเตรียมความพรอม เมื่ออุตสาหกรรม การผลิตจะตองเขาสูยุค INDUSTRY 4.0
เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณธีรพัฒน ทรงฤกษ Product Manager บริษัท ที.เอ็น. เมตัลเวิรค จํากัด ไดกลาววา “เทคโนโลยี IoT เปนสิ่งที่ผูบริหาร ผูประกอบการ จําเปนที่จะตองทําการเรียนรูและทําความเขาใจสาระสําคัญ นอกเหนือจาก มุมมองดานวิศวกรรมหรือเทคนิค เพื่อจัดลําดับความสําคัญตอกระบวนการ ทํางานเพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว และกระทบกับตนทุนของผลิตภัณฑและบริการที่เกี่ยวของ รวมถึงการ ผลักดันนโยบายจากภาครัฐฯ ซึง่ เกิดจากเทคโนโลยี IoT ทีจ่ ะสรางความไดเปรียบ ในการแขงขันได” นอกจากนี้ คุณธีรพัฒน ยังไดกลาววา การพัฒนาบุคลากรใหพรอมรับมือ การเปลีย่ นแปลงในการทํางาน จัดเก็บความตองการจากหนวยงานในองคกร เพือ่ ประเมิ น และบริ ห ารให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น รวมไปถึ ง การวางแผนการ เตรี ย มความต อ งการด า นพื้ น ฐานของระบบ Automation System And Network Infrastructure เพือ่ รองรับการเชือ่ มตอของ IoT Device ตางๆ ทีเ่ หมาะ สมกับงาน ธุรกิจ และบริการที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ Cloud Computing ยังเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งในการเขาสู Industrial 4.0 เนื่องจากจะทําใหผูประกอบการมีความคลองตัว ลดความยุงยาก ซับซอนในงาน IT ไมวาจะเปนเรื่องการประมาณงบประมาณ การบริหารจัดการ การดูแลรักษา”
ชี้ผูประกอบการไทยตื่นตัว ขานรับ IoT Automation มาใชเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
หากจะกลาวถึงมุมมองทีม่ ตี อ โอกาสและความทาทายในการดําเนินธุรกิจของ อุตสาหกรรมการผลิตสมัยใหมในประเทศไทย คุณธีรพัฒน ไดกลาววา “ปจจุบนั ผูประกอบการในประเทศมีการตื่นตัว และตอบรับกับนโยบายของรัฐมากยิ่งขึ้น แตปญ หาเรือ่ งความซับซอนของระบบ คาใชจา ยในการลงทุนระบบ Automation และความเขาใจในเรือ่ งของการใชงานขอมูลระดับ Big-Data ทําใหผปู ระกอบการ ยังไมตัดสินใจเพราะยังไมมีความมั่นใจ เรื่องนี้เปนสิ่งที่ทาทายใหทีมงานตองเขามาทําความเขาใจ และใหความรูกับ ผูป ระกอบการ ซึง่ ถาสามารถทําไดจะเปนโอกาสทีเ่ ราสามารถเขาถึงลูกคาไดกอ นใคร” อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบความกาวหนาทางเทคโนโลยีใน อุตสาหกรรมการผลิตประเทศไทยกับประเทศคูแขงในภูมิภาคอาเซียน จะพบวา อุตสาหกรรมการผลิตในบานเราอาจจะแบงเปน 2 กลุมใหญ คือ กลุมที่มีความ พรอมและมีเทคโนโลยีการผลิตทันสมัย หรือเราเรียกวายุค Industry 3.0 และ อีกกลุมหนึ่ง คือ อุตสาหกรรมที่ยังรอปรับตัวใหเปนระบบอัตโนมัติ ซึ่งกลุมนี้ ยังคงตองพึ่งแรงงานเปนหลัก ซึ่งโดยรวมนั้นเทคโนโลยีการผลิตของเราถือวาได เปรียบหลายๆ ประเทศในภูมภิ าคนี้ หากเรานําเอา IoT Automation มาใชจะเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตใหเราไดอยางมาก”
สิ่งสําคัญ
ที่ผู บริหาร และผู ประกอบการควรจะต องเตรียม ความพร อม ในการเข าสู ยุค Industrial 4.0 คือ ความพร อมในการเข าใจด านธุรกิจหลักของตนเอง มุมมองในด านธุรกิจที่เหมาะสมเพื่อนําเทคโนโลยีเข า มาเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต และ กระบวนการทํางาน
issue 162 august 2016
36 exclusive interview
ที.เอ็น. เมตัลเวิรค พรอม รองรับ การปฏิวัติอุตสาหกรรมสู INDUSTRY 4.0 คุณธีรพัฒน ยังไดกลาวตอไปวา สําหรับกลุม ลูกคาเปาหมาย ที่ ที.เอ็น. เมตัลเวิรค มุง เนนและตองการทําการตลาดแบบเจาะจง คือ กลุม ลูกคาทีเ่ ปนโรงงานผูผ ลิต ซึง่ ผูบ ริหารตองการเขาถึงขอมูล การผลิตโดยตรงและขอมูลการบํารุงรักษาเครื่องจักร รวมทั้ง ปญหาตางๆ โดยกลยุทธการทําตลาดประการแรกที่ตองเรง ดําเนินการ คือ การเสริมสรางความรู ความเขาใจกับลูกคา โดย เฉพาะประโยชนของการกาวสูอุตสาหกรรมยุค 4.0 และการ ประยุกตใชเทคโนโลยี IoT ในอุตสาหกรรมการผลิต ทัง้ นี้ กลยุทธการดําเนินธุรกิจ แผนการตลาด และเปาหมาย ทางธุรกิจของบริษทั ฯ ครึง่ หลังป 2559 จะมุง เนนการจัดสัมมนา การใหความรู ความเขาใจในเรื่องของ IoT และนํามาใชกับ อุปกรณ และเครื่องจักรไดอยางเหมาะสมกับธุรกิจหลักของ ลูกคา เนนการใหความสําคัญในการตรวจสอบขอมูล และนํา ขอมูลที่ไดจากสายการผลิตมาทําการวิเคราะห ใหกับผูบริหาร และทีมงานในสายการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ” ทายนี้ คุณธีรพัฒน ยังไดกลาวเพิม่ เติมวา “ที.เอ็น. เมตัลเวิรค หวังเปนอยางยิง่ วาจะมีสว นชวยในการทําใหธรุ กิจอุตสาหกรรม ไทย ไดกาวเขาสูยุค Industrial 4.0 ไดอยางรวดเร็ว สามารถ แขงขันกับภาคธุรกิจในตลาดโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหม นีไ้ ดอยางยัง่ ยืน สามารถเขาถึงผูบ ริโภคไดอยางรวดเร็วตรงตาม ความตองการของผูบริโภค ชวยใหผูประกอบการสามารถลด ตนทุน เพิ่มโอกาสทางธุรกิจที่จะมีการแขงขัน เปลี่ยนรูปแบบ การใหบริการไดอยางมั่นคง”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ขณะนี้ ที.เอ็น. เมตัลเวิร ค มีความพร อมเรื่อง Industry 4.0 สูงมาก ทั้ง Hardware และ Software ส วนแรก คือ Hardware ในภาคกระบวนการผลิต ไม วา จะเป นกลุม ผลิตภัณฑ เพื่อรองรับระบบ อัตโนมัติ เช น Robot PLC HMI
Inverter Servo and I/O Link จนกระทั่งถึง Sensor ต างๆ และใน
ส วนของ Software ที่ข อมูลต างๆ จะถูกส ง ไปยัง Cloud เพื่อทําการสรุป วิเคราะห และ รายงานให แก ผู บริหาร
interview 37
ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อมูล อย่ ำ งไรก็ ต ำม แม้ ว ่ ำ กำรประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี IoT จะช่ ว ยยกระดั บ ประสิทธิภำพในอุตสำหกรรมกำรผลิต และช่วยเสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถ ทำงกำรแข่ ง ขั น ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบกำร แต่ ก็ ต ้ อ งยอมรั บ ว่ำ อุ ป สรรคหนึ่ ง ที่ ผู้ประกอบกำรเป็นกังวล และท�ำให้ยังไม่ตัดสินใจน�ำระบบ IT และ Cloud มำใช้ งำนอย่ำงจริงจังและเป็นรูปธรรม ก็คือ เรื่องควำมปลอดภัยของข้อมูล นั่นเอง ประเด็นดังกล่ำว คุณธีรพัฒน์ ได้กล่ำวว่ำ ล่ำสุด ที.เอ็น. เมตัลเวิร์ค ได้ใช้ระบบ IoT ของ Microsoft Azure ซึ่งเป็นผู้ ให้บริกำรอันดับ 1 ของโลกในกำรให้ บริกำรระบบ Cloud และมีมำตรฐำนเรื่องระบบรักษำควำมปลอดภัยของข้อมูล ที่แข็งแกร่ง กล่ำวคือ มีกำรรักษำควำมปลอดภัยในส่วนอุปกรณ์ ซึ่งจะต้อง มีกำรลงทะเบียนในระบบพร้อมกำรเข้ำรหัสเพื่อยืนยันตัวตนอุปกรณ์ อีกทั้ง มีกำรรักษำควำมปลอดภัยของกำรเชื่อมต่อในระบบ Internet รองรับกำรเข้ำ รหัสอุตสำหกรรม TLS, X.509 และ HTTPS ที่เป็นกำรเข้ำรหัสเช่นเดียวกับ กำรท�ำธุรกรรมทำง Internet (e-Payment) และส�ำหรับ Cloud Security นัน้ ผู้ประกอบกำรสำมำรถมั่นใจได้ว่ำ Data-center ของ Microsoft นัน้ มีมำตรฐำน ISO27001 ซึง่ เป็นมำตรฐำนด้ำน Cloud Security และมำตรฐำนอื่นๆ ยกตัวอย่ำง เช่น ถ้ำ Harddisk ของระบบช�ำรุด จะไม่มีกำรน�ำไปซ่อม แต่จะถูกท�ำลำยทิ้งทันที
issue 162 august 2016
Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”
•
Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.
• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115
Fax: +66 (0)2-637-5116
Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.
C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.
Needle Bearings Machine elements essential to any industry
Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large
Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics
40 INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT
เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
ผ่าปรากฎการณ์ POST-BREXIT ชี้ทิศธุรกิจอุตสาหกรรมไทย ภาวะเศรษฐกิจโลกในขณะนี้คงไม่มีปรากฎการณ์ใดร้อนแรงและได้รับ ความสนใจมากเท่ากับ BREXIT ที่สะท้อนแรงกระเพื่อมเชื่อมโยงภาวะ เศรษฐกิจในวงกว้าง ทั้งเศรษฐกิจภายในประเทศอังกฤษเอง ประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป ตลอดจนประเทศเศรษฐกิจใหม่อย่างจีน รวมถึงประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียด้วย อย่างไรก็ตาม เบือ้ งหลังการถอนตัวออกจาก EU ของอังกฤษในครัง้ นี้ หาก ไม่รวมถึงผลกระทบด้านความผันผวนทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นตามมาเป็น ลูกโซ่ นักวิเคราะห์ตา่ งมองว่าสาเหตุประการส�าคัญทีท่ า� ให้องั กฤษพลิกปากกา เซียนหลายๆ ส�านักก่อนหน้านี้ อาจมาจากประเด็นที่มีความละเอียดอ่อน หลายประการทีก่ ดดันให้องั กฤษต้องการมีอสิ รภาพ ปลดล็อกข้อจ�ากัดทางการค้า บางอย่าง ซึ่งอาจต้องแลกด้วยความเสี่ยงบางประการที่จะเกิดขึ้น ทั้งความ ผันผวนของค่าเงินปอนด์ การอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจเพื่อรองรับ ปัญหาการขาดสภาพคล่อง ความเสีย่ งต่อการถูกปรับลดอันดับเครดิต ผลกระทบ เกี่ยวกับค่าเงิน รวมถึงการเจรจาการค้า เป็นต้น เหล่านี้ถือเป็นบทพิสูจน์การ บริ ห ารความเสี่ ย งทางเศรษฐกิ จ ของอั ง กฤษที่ น ่ า จั บ ตามอง เนื่ อ งจาก นักเศรษฐศาสตร์และนักวิเคราะห์ตา่ งคาดการณ์วา่ ภาวะเศรษฐกิจของอังกฤษ หลังปรากฎการณ์ BREXIT อาจหดตัว 3-10% ภายในปี ค.ศ. 2030 หลังจากการพ้นสมาชิกภาพของสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการของ อังกฤษ ในระยะสัน้ อาจยังไม่เห็นความเปลีย่ นแปลงอย่างชัดเจนนัก เนือ่ งจาก ตามระเบียบข้อบังคับแล้วอังกฤษจะยังต้องใช้ระยะเวลาในการเจรจากับ สหภาพยุโรป โดยเฉพาะในส่วนของข้อตกลงทางเศรษฐกิจต่างๆ ซึ่งจะ ปรากฎชัดเจนในอีก 2 ปีข้างหน้าเป็นอย่างน้อย
BREXIT = BRITISH + EXIT คือ การที่สหราชอาณาจักร หรือ ‘อังกฤษ’ ลงมติออกจากการเป็นสมาชิกภาพ ของสหภาพยุโรป (EU) อย่างเป็นทางการ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
แม้ในเวลานีผ้ ลกระทบจากปรากฎการณ์ BREXIT จะยังไม่มีนัยส�าคัญต่อการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมในบ้านเรามากนัก
แต่การมีข้อมูลส�าคัญ
ไว้เพื่อประกอบการตัดสินใจในระยะยาว ถือเป็นความได้เปรียบและเป็นแต้มต่อ ในการมองโอกาส และความท้าทายในการ ด�าเนินธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ประกอบการในแวดวง อุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งเป็นภาคส่วนส�าคัญ ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนภาพรวม เศรษฐกิจของประเทศ เช่นดังค�าที่ว่า…
‘รู้เขา รู้เรา … รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง’
INDUSTRIAL ECONOMIC REPORT
ผลกระทบปรากฎการณ์ ‘POST-BREXIT’ เงินปอนด ของ อังกฤษมีแนวโน ม อ่อนค่าลง จากความ ไม่มั่นใจในตลาดการเงิน และ ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ระยะสั้น ราคาสินค านําเข า ในอังกฤษแพงขึ้น และบั่นทอนความต องการ บริโภคสินค า โดยเฉพาะ ในกลุ่มสินค าฟุ มเฟ อย
รถจักรยานยนต และส่วนประกอบ ตลาดอังกฤษคิดเป็นสัดส่วนถึง 9% ของมูลค่าส่งออกรถจักรยานยนต ทัง้ หมด ของไทย โดย Big Bike เป็นสินค าส่งออก สําคัญซึ่งถือเป็นสินค าฟุ มเฟ อยที่จะได รับ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน
41
ระยะยาว ภาวะเศรษฐกิจของอังกฤษมีแนวโน้มชะลอตัว จาก Brexit เนื่องจากคาดว่า จะมีภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยเฉพาะบริการทางการเงินย้ายฐาน ออกจากอังกฤษ ไปยังสหภาพยุโรป
ผู้ผลิตในอังกฤษจะสูญเสีย ความได้เปรียบในการส่งออกสินค้า ไปยังอังกฤษ เช่นเดียวกับผู้ผลิตใน อังกฤษก็จะสูญเสียความได้เปรียบใน การส่งออกไปสหภาพยุโรป เงินบาทจะอ่อนค่าลงเล็กน้อย จากการไหลออกของเงินทุนในระยะสัน้ ซึ่งจะมีค่อนข้างจ�ากัด เนื่องจากไทยมีเสถียรภาพทางการเงิน ที่ค่อนข้างมั่นคง เมื่อเทียบกับประเทศอื่นในภูมิภาค โดยมีดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลในระดับสูง และ เงินทุนส�ารองที่แข็งแกร่ง
รถยนต และส่วนประกอบ ส่วนใหญ่เป็นการ ส่งออกรถยนต สําเร็จรูป ที่คาดว่าจะได รับ ผลกระทบจากเงินปอนด ที่อ่อนค่า ทําให ราคา รถยนต นําเข าในอังกฤษปรับสูงขึ้น ผู ใช รถยนต จึงชะลอการซื้อรถยนต ใหม่ อย่างไรก็ตาม ตลาด อังกฤษคิดเป็นสัดส่วนเพียง 2% ของตลาด ส่งออกรถยนต ทั้งหมดของไทย ทําให ภาพรวม การส่งออกรถยนต ของไทยยังไม่ได รับ ผลกระทบมากนัก
*ข อ มู ล วิ เ คราะห โ ดย ดร.ชุ ติ ม า ตันตะราวงศา, กันทิมา วงศสถาปตย Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)
ทั้งนี้ แม้ว่าผลกระทบจากปรากฎการณ์ POST-BREXIT ทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาวอาจจะยังไม่ส่งแรงกระเพื่อมต่ออุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย อย่างชัดเจนนัก หากแต่ข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ การคาดการณ์ถึงผลกระทบ แนวโน้มตลอดจนนโยบายเชิงเศรษฐกิจในภาพรวม ถือเป็นกลยุทธ์ในการเตรียม ความพร้อมเชิงรุกที่ส�าคัญ เพราะไม่เพียงแต่จะเป็นการติดอาวุธให้แผนการ ด�าเนินธุรกิจมีความเฉียบคม หากยังเป็นการเสริมสร้างขีดความสามารถทางการ แข่งขันที่จะท�าให้ผู้ประกอบการไทยเท่าทันต่อสถานการณ์ และปรับตัวรองรับ ภาวะความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกบนพื้นฐานของความเปราะบางได้เป็น อย่างดี เมื่อผู้ประกอบการมีภูมิคุ้มกันที่ดี ย่อมก้าวผ่านวิกฤตในทุกรูปแบบไปได้ ด้วยดี ไม่บอบช�้าซ�้ารอยดังเช่นที่ผ่านมา… Source : - การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ UK Treasury, Ipsos MORI และกระทรวงพาณิชย์ - Economic Intelligence Center (EIC) ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด (มหาชน)
ปรากฎการณ BREXIT เป ดโอกาสให ไทยสามารถต่อรอง ทางการค ากับอังกฤษ โดยตรงได มากขึ้น แต่หากเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปและอังกฤษซบเซาเป็นเวลานาน อาจส่งผลกระทบ ต่อการส่งออกและการท่องเที่ยว EXECUTIVE SUMMARY England has leaving the membership status of European Union or the phenomenon ‘Post-Brexit’ which caused many risk factors, such as, Pound Sterling fluctuation, a risk to decrease credit rating, an effect on money value or money exchange and also business negotiation. This will prove the ability in risk management of England that should keep an eye on. The result can’t be clearly seen in short term because the rule specified that England must take time to negotiate with the European Union, particularly in various economic arrangement issues for 2 years. The economist and analyst forecast that the England economy will be shrink by 3 – 10 % from Brexit in 2030. For the manufacturer in Thailand, the impact of this phenomenon is insignificant to drive the industrials here. But the important information could be used for consideration in a long term which cause advantages and a handicap to envision the chance and challenge in business running, also improve the challenge capability that made Thai entrepreneur to catch up with the situation and adapted to the uncertain world economy based in fragile situation. When the entrepreneurs have good immunity, They could step over any crisis with fine condition and doesn’t repeat the same old failure. issue 162 august 2016
42 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
พ.ร.บ. โรงงานใหม่
ปลดล็อกเครื่องจักรต�่ากว่า 50 แรงม้า ที่ประชุม ครม.เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ…. หลังจากบังคับใช้มาแล้ว 24 ปี โดยแก้ไขสาระส�าคัญ เช่น การแก้ไขนิยามของโรงงานอุตสาหกรรม จากเดิมการ ประกอบกิจการโรงงานต้องมีเครื่องจักรขนาด 5 แรงม้า ขึ้ น ไป และมี แรงงาน 5 คน เปลี่ ย นเป็ น โรงงาน อุตสาหกรรมเข้าข่ายการขออนุญาตใบ รง.4 ต้องมี ขนาดเครื่องจักร 50 แรงม้าขึ้นไป มีแรงงาน 50 คน ขึ้นไป ดังนั้น กรมโรงงานอุตสาหกรรม จะควบคุมดูแล กิจการที่มีขนาดเครื่องจักรตั้งแต่ก�าลัง 50 แรงม้าขึ้นไป ส่วนต�่ากว่า 50 แรงม้า มอบหมายให้ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) ก�ากับดูแล เพื่อติดตามดูแลโรงงาน ในท้องถิ่น และจัดเก็บค่าธรรมเนียมและก�าหนดให้มี คณะกรรมการจากบุคคลภายนอกช่วยติดตามดูแลการ ประกอบกิจการโรงงาน อีกทั้งเพื่อให้เกิดความคล่องตัว ในการประกอบกิจการของผูป้ ระกอบการ SMEs รายย่อย เป็นการลดภาระการดูแลของกรมโรงงานฯ
7,455
โรงงานอุตสาหกรรม ภายใต้ ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. ..... ฉบับใหม่
48,621 71,189
โรงงานขนาด 50 - 75 แรงม้า โรงงานขนาดก�าลัง 76 - 100 แรงม้า โรงงานขนาดเครื่องจักร 100 แรงม้าขึ้นไป
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นอกจากนี้ ยังก�าหนดให้ปรับค่าธรรมเนียมการออก ใบอนุญาตจากเดิม 100,000 บาท เพิ่มเป็น 1 ล้านบาท เพื่อต้องการให้ผู้ประกอบการให้ความส�าคัญดูแลกิจการ ตามข้อก�าหนด และเมื่อต้องการต่อใบอนุญาต เมื่อจ่าย ค่าธรรมเนียมแล้วไม่ต้องท�าการตรวจสอบ แต่ด�าเนินการ ตามข้อก�าหนด รวมทั้งเพิ่มโทษส�าหรับโรงงานผู้กระท�า ผิดปล่อยน�้าเสีย ปล่อยมลภาวะ จากเดิมมีความผิดทาง แพ่งอายุความ 1 ปี ปรับ 200,000 บาท เพิ่มโทษเป็น มีความผิดทางอาญา ซึ่งต้องพิจาณาโทษหนักหลายชั้น ศาล โทษจ�าคุก 1 ปี ปรับ 200,000 บาท หรือทั้งจ�าและ ปรับ และแก้ไขการให้อ�านาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรมพิจารณาให้โรงงานผลิต วิจัย ของสถาบัน ของรัฐ องค์กรของรัฐ หรือกิจการขนาดเล็กไม่ต้องด�าเนิน การตาม พ.ร.บ.โรงงาน จากการแก้ไขกฎหมายหลายด้าน ท�าให้การขอใบอนุญาตใบ รง.4 รวดเร็วขึ้น จากเดิมต้อง ใช้เวลานับปีกว่าจะได้ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน อุตสาหกรรม
ครม.เห็นชอบ
ร่าง พ.ร.บ. โรงงานใหม่ ปลดล็อกเครื่องจักร ต�่ากว่า 50 แรงม้า มอบหมาย อปท. ก�ากับดูแล พร้อม ปรับเพิ่มค่าธรรมเนียม การออกใบอนุญาต เป็น 1 ล้านบาท และเพิ่มโทษโรงงาน ปล่อยน�้าเสีย เป็นคดีอาญา Source: http://goo.gl/B1Xjfw
นิยามใหม่ของ ‘โรงงานอุตสาหกรรม’ (ที่เข้าข่ายการขออนุญาตใบ รง.4)
ขนาดเครื่องจักร 50 แรงม้าขึ้นไป แรงงาน 50 คนขึ้นไป
EXECUTIVE SUMMARY The council of ministers meeting agreed to the act of factory year xxx after enforced for 24 years to improve the syllabus, such as, definition of manufacturing factory which manufacturing business must have the machinery with 5 horsepower or above and labor at least 5 persons formerly to pass the license for factory, now Rg.4 that must have the machinery with 50 horsepower or above and the labor more than 50 persons. The Department of Industrial Works will taking care of the factory which has 50 horsepower or above machinery and for the factory that has less than 50 horsepower, the Department of Local Administration will do. Besides, increased the license fee from 100,000 baht to 1 million baht and also increased the fine for allowing the waste water and pollution into environment from civil case with 200,000 baht fine to criminal case which have to judge by many courts with heavy punishment and also 1 year imprison plus 200,000 fine or imprison and fine together.
เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY 43
มาตรการพิเศษ เพื่อส่งเสริมการลงทุน NEW GR WTH ENGINES ปี 2559 ผ่านมาครึ่งปีแล้ว ทว่าเศรษฐกิจไทยก็ยังคงเผชิญกับแนวโน้ม ปัจจัยเสีย่ งจากภายนอก จากภาวะเศรษฐกิจและการเงินของโลกอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งเศรษฐกิจโลกที่อาจจะยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่และยังเปราะบาง ตลอดจนความ ผันผวนของตลาดการเงินโลก ซึ่งมีสาเหตุมาจากการด�าเนินนโยบายการเงิน ของประเทศมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่สอดคล้องกัน รวมถึงความผันผวน ของราคาสินค้าเกษตร สถานการณ์ที่เกิดขึ้น หากมองวิกฤตให้เป็นโอกาสจะพบว่า ปี 2559 เป็น เวลาที่เหมาะสมในการเร่งผลักดันให้เกิดการลงทุนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผล ให้เศรษฐกิจไทยลดการพึ่งพิงอุปสงค์ภายนอกประเทศ และเกิดความสมดุล ในโครงสร้างเศรษฐกิจมากขึ้น รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันให้กับประเทศไทย เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยให้เกิดการลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ให้สมดุล รัฐบาลไทยจึงได้ประกาศให้การส่งเสริมผูป้ ระกอบการในภาคเอกชน ใช้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุน วิจยั และพัฒนา และการจัดตัง้ อุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพในอนาคต หรือที่เรียกว่า ‘New Growth Engines’ โดยให้สิทธิ ประโยชน์หลากหลายรูปแบบเป็นกรณีพเิ ศษ ซึง่ ประกอบด้วย สิทธิประโยชน์ ทางด้านภาษี และสิทธิประโยชน์ทางด้านการเงิน ดังต่อไปนี้
สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ด้านการเงิน และด้านอื่นๆ ส�าหรับ New Growth Engines สิทธิประโยชน์ ด้านภาษี
ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 10-15 ปี ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดา ส� า หรั บ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญที่ ท� า งานใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย แรงจูงใจทางการเงินส�าหรับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายผ่านกองทุน เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย (Competitiveness Enhancement Fund)
การส่งเสริม การวิจัยและพัฒนา ในอุตสาหกรรม ยานยนต์
ปลอดภาษีทั้งกระบวนการ ส�าหรับการน�าเข้ายานพาหนะต้นแบบเพื่อ ใช้ในการวิจัยและพัฒนาในประเทศไทย (ภาษีสรรพสามิต อากรขาเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม การหักค่าเสื่อมได้เต็มจ�านวน) เพื่อส่งเสริมให้ ไทยเป็น ศูนย์กลางการวิจัยพัฒนา
หักค่าใช้จ่าย จากการวิจัยและ พัฒนาได้ 3 เท่า
หักค่าใช้จ่ายพิเศษ 3 เท่า ส�าหรับการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเป็นเวลา 5 ปี โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562
Thailand Future Fund
ลงทุนในกองทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย (Thailand Future Fund) มูลค่าการระดมทุนกว่า 100,000 ล้านบาท โดยมีกลไกประกัน ผลตอบแทนที่เหมาะสม
5 อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพต่อยอด S-Curve เดิม อุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรม แปรรูป อาหาร
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่ม รายได้ดี และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ
อุตสาหกรรม การเกษตรและเทคโนโลยี ชีวภาพ
5 อุตสาหกรรมแห่งอนาคตเสริมสร้าง S-Curve ใหม่ อุตสาหกรรม หุ่นยนต์ อุตสาหกรรม การแพทย์ ครบวงจร
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรม การบินและ โลจิสติกส์
อุตสาหกรรม ดิจิตอล
Source: กระทรวงการคลัง EXECUTIVE SUMMARY Thai government has been encouraging the investment to improve the balance of economic structure with private sector promotion to use Thailand as the base of investment, research and development, and also set the capability of future industrial or so called ‘New Growth Engines’ by providing the privileges in particular case which are taxes privilege, finance and various field with incentive and also encourage Thailand to be the hub of research and development with tax exemption for automotive prototype importing for research and development usage in Thailand. In addition, the privilege for research and development in technology and innovation for 5 years from 3 times special cost deducted, also investment in Thailand Future Fund with funding value 100 billion baht with proper repay mechanism. This is a measure that lead the situation of Thailand investment into brighter future and also improve Thailand’s future competitive ability together. issue 162 august 2016
44 PRODUCTIVITY BOOSTER เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ในวิถี WORKER ด้วย LEAN 9 ขั้นตอน
ในการด�าเนินธุรกิจที่มีประสิทธิภาพนั้น จ�าเป็นต้องมี เทคนิควิธีการที่น�ามาใช้บริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าในเรื่องของต้นทุนและผลผลิต ขั้นตอนกระบวนการรูปแบบผลิตต่างๆ ล้วนมีข้อเด่นและ ข้อด้อยแตกต่างกันไป ซึง่ การเฝ้าดูและใส่ใจในรายละเอียด แต่ละขั้นตอนจนพบเจอรายละเอียดปลีกย่อยที่ส่งผลต่อ การผลิตนั้น ท�าให้เกิดการแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นการแก้ไข ปัญหาพร้อมพัฒนาศักยภาพการผลิตไปพร้อมกันในตัว กระบวนการเหล่านี้มีชื่อว่า LEAN LEAN ส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรประกอบชิ้นส่วน ในกระบวนการประกอบชิ้ น ส่ ว นที่ ใช้ แรงงานคน เป็นหลัก ต้องอาศัยการด�าเนินงานและการตอบสนอง ที่ฉับไวต่อความต้องการของลูกค้า สามารถปรับเปลี่ยน องค์ประกอบต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งการใช้แรงงาน คนนั้นสามารถเกิดความผิดพลาดได้เป็นเรื่องปกติ การ ป้องกันแก้ไขเพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการท�างาน จึงเป็นสิ่งจ�าเป็น กระบวนการแก้ปัญหาและเพิ่มผลผลิต ที่มีประสิทธิผลจึงได้เกิดขึ้นมาจากการเก็บรวบรวมราย ละเอียดต่างๆ ที่ดีขึ้นและส่งผลกระทบต่อกระบวนการ ผลิต LEAN ถือเป็นหนึ่งในกระบวนการแก้ปัญหาที่ไม่ต้อง ใช้เงินทุนมากนัก ในส่วนของการประกอบชิ้นส่วนโดยใช้ แรงงานคน ความยืดหยุน่ ในการปฏิบตั งิ านและการบริหาร จัดการพืน้ ทีท่ า� งานถือเป็นปัจจัยส�าคัญ ใช้หลักการ ‘ยิง่ น้อย ยิ่งมีประสิทธิภำพ’ ซึ่งหมายถึง การด�าเนินการทุกอย่าง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ให้มีความเรียบง่าย ไม่เกิดภาวะติดขัดในระบบและสภาพ แวดล้อม มุ่งผลิตเฉพาะปริมาณที่ต้องการเท่านั้น ไม่มีการ ผลิตในอัตราที่เกินความต้องการ แม้ ว ่ า LEAN จะไม่ ใช่ ท างออกอั น สมบู ร ณ์ แ บบ ส�าหรับกระบวนการผลิตทั้งหลาย แต่สามารถปรับใช้กับ กระบวนการประกอบชิ้นส่วนที่มีความซับซ้อนได้ ซึ่งการ ใช้ LEAN ในกระบวนการประกอบชิน้ ส่วนหรือกระบวนการ ผลิตอืน่ ๆ ทีใ่ ช้แรงงานคนเป็นปัจจัยหลักต้องค�านึงถึงความ เหมาะสมส�าหรับพื้นที่ปฏิบัติงานและรูปแบบของสินค้า เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุดซึ่งส�าหรับการจัดการพื้นที่การ ผลิตรูปตัว U โดยใช้แรงงานคนเป็นหลักได้รับการแนะน�า โดย Bosch Rexroth Corporation ซึ่งมี 9 ขั้นตอน ดังนี้
ภาพ: Lean Manufacturing: Principles, Tools and Methods Version 2.5 by Rexroth Bosch Group หน้าที่ 3
PRODUCTIVITY BOOSTER 45
พื้นฐาน LEAN 9 ข้อ ส�าหรับงานประกอบชิ้นส่วน LEAN Machines / Simplicity ระบบการผลิ ต จ� า เป็ น ต้ อ ง มีเครือ่ งจักรขนาดเหมาะสมกับ พื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อจัดการ หน้ า ที่ ย ่ อ ยระหว่ า งเปลี่ ย น สถานีหลัก เสริมความต่อเนือ่ ง ของการท�างาน และประหยัด พื้ น ที่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ไม่ ท� า ให้ เ กิ ด การผลิ ต ที่ เ กิ น จ�าเป็น จึงสามารถปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิ ต ได้ ร วดเร็ ว อัตราการสูญเปล่าในระหว่าง กระบวนการผลิตลดลง
Continuous Flow ลักษณะพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารหรือรางทีใ่ ช้ลา� เลียงวัสดุรปู ตัว U มีการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการต่างๆ อย่างต่อเนื่องเป็นขั้นตอน ท�าให้ชิ้นส่วนเดินทางใน ระบบได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุด ล�าดับกระบวนการ ท�างาน(ล�าเลียง)เดินทางแบบย้อนเข็มนาฬิกา งาน ที่ไม่อยู่ในวงรอบระบบให้ด�าเนินการนอกหน่วยโดย บุคคลากรสนับสนุน จะช่วยลดการเคลื่อนไหวที่ไม่ จ�าเป็นในกระบวนการท�างานและการจัดเก็บ
Reconfigurability พืน้ ทีห่ รือระบบทีใ่ ช้ปฏิบตั งิ านต้องสามารถเปลีย่ นล�าดับ และแก้ ไขได้ง่าย รวดเร็ว โดยเครื่องมือที่ยึดอยู่กับระบบ ต้องสามารถเปลี่ยนได้อย่างง่ายดาย ความคล่องตัว และความลื่นไหลระหว่างพื้นที่ปฏิบัติงานต้องมีความ ต่อเนื่อง เพราะสามารถลดเวลา Downtime เปลี่ยน การท�างานได้อย่างว่องไว และไม่ส่งผลกระทบต่อ ความลื่นไหลของกระบวนการ
Workplace Organization
Ergonomics
ส�าหรับการท�างานที่ลื่นไหลไม่ติดขัด จ�าเป็นต้องมี การหยิบใช้เครื่องมือได้อย่างสะดวก ผังปฏิบัติงาน ถือเป็นค�าแนะน�าทีจ่ า� เป็นส�าหรับกระบวนการด�าเนิน งาน ให้ความส�าคัญกับการวางเครื่องมืออย่างถูก ต้อง มีเครื่องมือส�ารองพร้อมใช้ มีโครงสร้างที่มี ความยื ด หยุ่ น เปลี่ ย นแปลงได้ ช่ ว ยลดเวลา Downtime ลดการเคลื่อนไหวในการท�างานที่สูญ เปล่า เพิ่มความต่อเนื่องในการท�างาน
การจัดการกับสรีระพื้นฐานท�าได้โดยการวางต�าแหน่งของการ ปฏิบัติงานให้อยู่ในระดับความสูงที่เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน มี มาตรฐานการควบคุมความปลอดภัย ก�าหนดอัตราโหลดสูงสุดของ ลิฟท์ วางต�าแหน่งของเครื่องมือทั้งหมดให้อยู่ในขอบเขตที่ผู้ปฏิบัติ งานสามารถหยิบถึง มีแสงที่เพียงพอส�าหรับการปฏิบัติงาน เพื่อ ให้การบาดเจ็บจากการปฏิบัติงานน้อยลง ลดปริมาณการลาออก ของผูป้ ฏิบตั งิ าน มีสภาพแวดล้อมของการท�างานทีด่ ขี นึ้ ลดปัญหา สุขภาพที่อาจสะสมได้
Ease of Access การควบคุมอุปกรณ์ที่ติดตั้ง อยู่ในต�าแหน่งที่เหมาะสมกับ สรีระผู้ ใช้งาน ส่วนประกอบที่ ต้องการดูแลรักษาเป็นประจ�า อยู่ด้านข้างหรือด้านล่างของ เครือ่ งจักรหรือพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน เพื่อให้ง่ายต่อการดูแลรักษา มี ก ารจั ด เรี ย งและตรวจสอบ เครื่องมือ เพื่อให้สะดวกต่อ การใช้งาน อุปกรณ์ป้องกัน ต่างๆ ต้องสามารถถอดและ ติ ด ตั้ ง ได้ ง ่ า ยด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ทั่ ว ไป จึ ง จะเป็ น การลดเวลา Downtime และสามารถซ่อม บ�ารุงได้อย่างง่ายดาย
Maintainability
Parts Presentation
ต้องสามารถแก้ไข ซ่อมบ�ารุงได้อย่างสะดวก มีแผนปฏิบตั งิ านส�ารองทีด่ า� เนิน งานได้ดว้ ยมือ วางคูม่ อื แนะน�าการปฏิบตั งิ านไว้บนเครือ่ งจักร พยายามใช้วสั ดุ อุปกรณ์ ให้เป็นมาตรฐานกลางให้มากที่สุด ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ยึดจับ วัสดุที่สามารถหาได้ทั่วไป เน้นให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ และมีชิ้น ส่วนส�ารองเท่าที่จ�าเป็น จึงจะช่วยลดเวลา Downtime และสามารถบริหาร จัดการได้อย่างรวดเร็ว
การเตรียมความพร้อมของชิ้นส่วนเป็นเรื่องส�าคัญ ต้ อ งมี ก ารส� า รองชิ้ น ส่ ว นตามความต้ อ งการ ชิน้ ส่วนจะถูกโหลดเข้าจากภายนอกพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน ด้วยการป้อนตามแรงดึงดูดเป็นหลัก ท�าให้สามารถ จัดการรูปแบบต่างๆ ได้ง่าย ลดการเคลื่อนไหว สูญเปล่า สามารถเปลี่ยนถ่ายได้อย่างรวดเร็ว
Quality การตรวจสอบด้วยสายตา เป็นพื้นฐานการประกันคุณภาพ อุปกรณ์เครื่องมือที่ยึดกับฐานส�าหรับทดสอบ ต้องสามารถเปลี่ยนและ ตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว เมื่อกระบวนการมีการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนารูปแบบการท�างานได้อย่างต่อเนื่อง ลดการท�างาน ซ้�าซ้อน ปรับเปลี่ยนระบบเพื่อแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพที่ไม่ต้องการได้ มีการประกันคุณภาพผลงานที่ละเอียดกว่า โดยมอบหมาย ให้เป็นความรับผิดชอบของผู้ประกอบชิ้นส่วน
จะเห็ น ได้ ว ่ า ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ โ ดยมากนั้ น เป็ น การเพิ่ ม ความต่ อ เนื่ อ งในกระบวนการท� า งาน ลดเวลาหรื อ กระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ลง เพื่อเพิ่มผลิตผล ให้กบั กระบวนการได้อย่างชัดเจนและมีคณ ุ ภาพ นอกจากนี้ ยังเป็นการเอาใจใส่ต่อผู้ปฏิบัติงาน สร้างความต่อเนื่อง ในการด�าเนินงานระยะยาว สามารถแก้ไขปัญหาและจัดล�าดับ เปลี่ยนรูปแบบการผลิตใหม่ เพื่อตอบสนองต่อผลิตภัณฑ์ ได้อย่างง่ายดาย ถือเป็นข้อได้เปรียบอย่างยิ่งยวดส�าหรับ การด�าเนินสายการผลิตด้วยมนุษย์ที่มีการใช้งาน LEAN อย่างมีประสิทธิภาพหากเปรียบเทียบกับระบบอัตโนมัติ ที่โดยมากมักจะตายตัว
Source: - Lean Manufacturing: Principles, Tools and Methods version 2.5 by Rexroth Bosch Group - http://goo.gl/iqRVmb EXECUTIVE SUMMARY LEAN is a methodology that eliminate waste in working process, reduce unnecessary motion and procedure which improve working capability with full efficiency. The manufacturing process that operating with human resources mainly could have failure more than automatic system. LEAN can solve the this problem by prevent and reduce the problem from the root by 9 processes that is Continuous Flow, LEAN Machines/ Simplicity, Workplace Organization, Parts Presentation, Reconfigurability, Quality, Maintainability, Ease of Access and Ergonomics which are the methods that facilitate in human operation. issue 162 august 2016
46 GREEN ZONE POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
ENERGY POINT
แนวทางการสะสม Energy Point Point ที่ 1 ผู ้ ป ระกอบการหรื อ ผู ้ บ ริ ห าร ประกาศ นโยบายการอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน (Policy) และประชาสัมพันธ์ ให้ พนั ก งานทราบโดย ทั่วถึง
สะสมแต้มรับสิทธิประโยชน์ ด้านอนุรักษ์พลังงาน
Point ที่ 4
สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) โดยการสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ด�าเนิน “โครงการ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม Energy Point” เพือ่ ปลูกฝัง ให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นปัจจัยส�าคัญที่ภาคอุตสาหกรรมจะต้องตระหนักถึง อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืนในระยะยาว ส�าหรับกลุ่มเป้าหมายของการด�าเนินโครงการดังกล่าว จะครอบคลุมถึง โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมทั่วประเทศ ผ่านเครือข่ายสภา อุตสาหกรรมจังหวัด และศูนย์กลางการเผยแพร่ข้อมูล 18 กลุ่มจังหวัด และ กรุงเทพฯ โดยเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 - 17 ตุลาคม 2559 และสามารถน�า Energy Point แลกรับสิทธิประโยชน์ได้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2559 - 31 มกราคม 2560
Point ที่ 3 ผู ้ ป ระกอบการหรื อ Energy Man ด�าเนิน การวางแผนการ อ นุ รั ก ษ ์ พ ลั ง ง า น ประจ�าปี (Planning) เพื่ อ ด� า เนิ น การลด การใช้ พ ลั ง งานใน โรงงาน
สะสม POINTS
Energy Man Policy
การสะสมคะแนน Energy Point และสิทธิประโยชน์ (ผู้ประกอบการต้องสะสมอย่างน้อย 3 Points)
ENERGY REWARD SUPPORT 30%: เพื่อปรับปรุงเครื่องจักร อุปกรณ์ รับเงินทุนสนับสนุนสูงสูด 30% หรือ ไม่เกิน 300,000 บาท / แห่ง
ยื่นเอกสารขอรับเงินทุนสนับสนุน 30%
สะสม ครบ 3 POINT
Planning
01 01 POINT 01 POINT 01 POINT POINT
ผู ้ ป ระกอบการหรื อ ผู ้ บ ริ ห ารต้ อ งด� า เนิ น การ ทบทวนแผนการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (Review Plan) หลังจากได้รับความรู้ต่างๆ ด้านการ อนุรักษ์พลังงาน เช่น การอบรมให้ความรู้ด้าน พลังงาน (Training) เข้าเยี่ยมชม (Site Visit) โรงงานต้ น แบบหรื อ โรงงานอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ดีเด่น (Model Factory) และได้รบั ค�าปรึกษาจาก ผูเ้ ชีย่ วชาญ (One Day Audit) เป็นต้น เพือ่ ขอรับ การสนับสนุนเงินลงทุนในอัตราร้อยละ 30 แต่ไม่ เกิน 300,000 บาทต่อแห่ง ในการปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงเครื่องจักร Source: สถาบันพลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม
กลไกการแลกรับสิทธิประโยชน์ Review Plan
Point ที่ 2 ผู ้ ป ระกอบการหรื อ ผู ้ บ ริ ห าร ด� า เนิ น การแต่ ง ตั้ ง ผู้ประสานงานด้านการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Man) โดยคุณสมบัติในเบื้องต้น คือ เป็นพนักงาน ประจ� า ของบริ ษั ท เพศชายหรื อ หญิ ง และไม่ จ� า กั ด จ� า นวนคน เพื่ อ เป็ น ผู ้ ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งาน หน่ ว ยงานต่ า งๆ ภายนอก เพื่อด�าเนินการอนุรักษ์พลังงานได้
แลกรับ
ONE DAY AUDIT: 1 วันกับผู้เชี่ยวชาญเข้า ให้ค�าปรึกษา ตรวจวัดประสิทธิภาพ แนะน�า มาตรการอนุรักษ์พลังงาน SITE VISIT: เยี่ยมชมโรงงานติดดาวของ กลุ่มจังหวัด TRAINING: เลือกหัวข้ออบรมการอนุรักษ์ พลังงานในระบบต่างๆ ที่สนใจ
EXECUTIVE SUMMARY The Institute of Industrial Energy, Federation of Thai Industries (F.T.I.) foresee the opportunity to encourage industrial entrepreneur seriously by proceeding the promotion project ‘Energy Conservation for Industrial Sector: Energy Point’ to educate energy conservation continuously and long lasting with collecting the Energy Point activity for privileges exchange. This project covers medium and small size industrial factory all over the country through the Federation of Province Industries and information broadcast center of 18 province groups and also Bangkok which the entrepreneur must collect at least 3 points to exchange with energy privileges, such as, educating in energy knowledge, sending the counselor to give a support and advice to entrepreneur for 1 day, visit the outstanding energy conservation factory 1 time without cost and register for investment support by 30% but not more than 300 thousand baht per location. For the entrepreneur who’ve got interested in the project can register from July 28th – October 17th, 2016 and available for exchange the privilege from September 1st – January 31th, 2017. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
the energy management software เครื่องมือบริหารจัดการพลังงานไฟฟาที่ไดมากกวาเรื่องไฟฟา
Smart Monitoring
• Real-Time Monitoring • Demand Monitoring & Forecast • Alarm Setting for Energy Saving • Phasor Monitoring • Monitoring on Web Smart Reporter
• Historical Data • Billing by unit or time ability • Auto Report • Export data to Excel • Report on Web Smart Control
• Schedule Control / On demand Control
17th Anniversary I Servicing you since 2000 FREE UPDATE VERSION FOR LIFE TIME FREE FOR SmartEE One License DOWNLOAD : www.tat.co.th
TAT ENERGY AND ENGINEERING CO., LTD.
1083/37 Krungthep-Nontaburi Rd., Wongsawang, Bangsue, Bangkok THAILAND 10800 Phone: +66(2) 9109728-29 Fax: +66(2) 5879614 Mobile: +66(88) 6742156 E-mail: marketing@tat.co.th Website: www.tat.co.th
เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ GREEN ZONE POLICY 49
กระทรวงพลังงานย�้า ไทยยังมีศักยภาพพลังงานทดแทน
พร้อมส่งเสริมรอบด้านตามแผน AEDP
กระทรวงพลังงาน เผยข่าวดีภาคเอกชนสนใจลงทุน ผลิตไฟฟ้าจากกระแสน�้า ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนรูปแบบใหม่ ที่คาดว่าจะมีศักยภาพในหลายพื้นที่ ย�้าศักยภาพพลังงาน ทดแทนในไทยยั ง มี เ หลื อ และพร้ อ มส่ ง เสริ ม รอบด้ า น ตามแผน AEDP คุ ณ สราวุ ธ แก้ ว ตาทิ พ ย์ ผู ้ อ� า นวยการส� า นั ก นโยบายและยุทธศาสตร์ ในฐานะรองโฆษกกระทรวง พลังงาน กล่าวว่า นอกจากกลุ่มพลังงานทดแทนหลักๆ อาทิ แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ที่ประเทศไทย มีศักยภาพ และได้พัฒนาจนถือได้ว่าอยู่ล�าดับต้นๆ ของ กลุ ่ ม ประเทศในระดั บ อาเซี ย นแล้ ว กระทรวงพลั ง งาน พบว่า ขณะนี้มีผู้ประกอบการภาคเอกชนได้สนใจและ เริ่มลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากกระแสน�้า (Hydro Kinetic Electrical Generation System) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนที่ใช้กังหันน�้าสร้างพลังงานจากการเคลื่อนไหวของ น�้า โดยแรงดันของน�้าจะส่งผลให้ใบพัดกังหันหมุน ซึ่งหาก กระแสน�้าไหลแรงเท่าไร แรงหมุนของใบพัดก็จะแรงขึ้น โดยการหมุนของใบพัดดังกล่าวจะท�าให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ทั้งนี้ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากกระแสน�้านี้ เป็น เทคโนโลยี ที่ไม่มี ความซั บซ้อน ซึ่งขณะนี้มีภาคเอกชน ได้ประยุกต์และเริ่มทดลองลงทุนติดตั้งระบบไว้แล้ว 2 จุด
ประกอบด้วย ในบริเวณแพกลางแม่น�้า จ.หนองคาย และ ในทะเล ที่พัทยา จ.ชลบุรี เป็นโครงการน�าร่อง ขนาด ก�าลังผลิตประมาณ 330 กิโลวัตต์ โดยถือเป็นพลังงาน ทดแทนที่ ส ร้ า งขึ้ น จากการไหลของแม่ น�้ า ในธรรมชาติ ซึ่ ง โดยปกติ เ ทคโนโลยี นี้ ต้ อ งการการไหลของน�้ า อยู ่ ที่ 2.2 เมตรต่อวินาที และการผลิตพลังงานทดแทนจาก กระแสน�้านี้จะสามารถผลิตพลังงานได้คงที่ และอาจจะ ผลิตได้ตลอด 24 ชั่วโมงเพื่อลดข้อจ�ากัดของพลังงาน ทดแทน ซึง่ ปัจจุบนั ต่อ 1 เมกะวัตต์ จะต้องลงทุนประมาณ 300 - 350 ล้านบาท จึงจ�าเป็นต้องมีการศึกษาถึงความ คุ้มค่าในอนาคตต่อไป ปัจจุบันกระทรวงพลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) ได้ เร่ ง ส่ ง เสริ ม แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 หรือแผน AEDP ซึ่งเป็นหนึ่งใน 5 แผนหลัก ของการพั ฒ นาพลั ง งานของประเทศระยะยาวหรื อ Thailand Integrated Energy Blueprint : TIEB โดยกระทรวง พลังงานขอยืนยันถึงศักยภาพเชือ้ เพลิงจากพลังงานทดแทน ในประเทศว่าสามารถด�าเนินการได้ตามเป้าหมาย ที่จะ เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ พ ลั ง งานทดแทนในประเทศให้ ไ ด้ ร้อยละ 30 ภายในปี 2579 ทั้งในสัดส่วนการผลิตไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ
แผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ Thailand Integrated Energy Blueprint (TIEB) เสาหลักค�้ายันให้ประเทศไทยมุ่งไปสู่ทางเดินบนถนนพลังงานที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในอนาคต แผนพัฒนาก�าลัง การผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย (PDP) แผนบริหารจัดการ น�้ามันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
แผนบริหารจัดการก๊าซ ธรรมชาติระยะยาว (Gas Plan) แผนพัฒนา พลังงาน ทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (AEDP)
แผนอนุรักษ์ พลังงาน (EEP)
ประเทศไทย
ยังมีศักยภาพของ พลังงานทดแทน ที่แอบซ่อนอยู่หลายชนิด ซึ่งขณะนี้เป็นเรื่องน่ายินดี ที่นอกจากภาครัฐ จะผลักดันโครงการด้าน พลังงานทดแทนต่างๆ แล้ว ยังมีภาคเอกชนที่ ได้ ร่วมมือในการลงทุนและ ทดลองพลังงานทดแทน รูปแบบใหม่ โดยเฉพาะ การน�าพลังงานจาก กระแสน�้ามาใช้ ซึ่งถือเป็นโครงการที่ดี และคาดว่าในอนาคต หากมีการศึกษาและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง จะมาช่วยเสริมความมั่นคง ด้านพลังงาน ให้แก่ประเทศไทยได้
EXECUTIVE SUMMARY The Ministry of Energy reveals that the entrepreneur in private sector got interest and started to invest in Hydro Kinetic Electrical Generation System by applying and start to install the system by 2 stations which in the middle of the river at Nhongkai province and the ocean at Chonburi province as the pilot plans with 330 kW generating. These will insist the fuel capability of domestic alternative energy which could operate along with the target goal. The government want to raise proportion of alternative energy usage in the country by 30% in 2079 both in electricity generating, heating and biofuel under the Alternative Energy Development Project 2015 – 2079 or so called AEDP which is one of the 5 pillars of Thailand Integrated Energy Blueprint (TIEB) which support Thailand to move on the sustainable, wealth and long lasting path way of energy in the future. issue 162 august 2016
50 GREEN ZONE TECHNOLOGY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
MART GRID
ตอบโจทย์อนาคตการผลิตไฟฟ้าอัจฉริยะ เมื่อผู้ใช้พลิกบทเป็นผู้ผลิต กระทรวงพลั ง งาน ได้ ป ระกาศแผนแม่ บ ท การพั ฒ นาระบบโครงข่ า ย SMART GRID ของ ประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2579 เพื่อก�าหนดกรอบ การด�าเนินการพัฒนาระบบโครงข่าย SMART GRID ในภาพรวม ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน ในฐานะผูจ้ ดั ท�าแผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่าย SMART GRID ของไทย ได้ก�าหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ในการพัฒนาระบบ SMART GRID ที่มุ่งส่งเสริมให้ เกิดการจัดหาไฟฟ้าได้อย่างเพียงพอ มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน มีคุณภาพบริการที่ดี และเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อประเทศ ส� า หรั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการพั ฒ นาระบบ SMART GRID คือ การพัฒนาโดยมุ่งเน้น การยก ระดับความสามารถของระบบไฟฟ้า (SMART SYSTEM) การพั ฒ นาโดยเน้ น การยกระดั บ คุณภาพบริการที่มีต่อผู้ใช้ไฟฟ้า (SMART LIFE) และ การพัฒนาโดยเน้นการยกระดับโครงสร้าง ระบบไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (GREEN SOCIETY) ทั้ ง นี้ ระบบ SMART GRID มิ ไ ด้ ห มายถึ ง เทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ประกอบ ด้วยเทคโนโลยีหลากหลายประเภทซึ่งเข้ามาท�างาน ร่วมกัน โดยครอบคลุมตั้งแต่การประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยีเหล่านั้น ตลอดทั้งห่วงโซ่ของระบบไฟฟ้า
ตัง้ แต่การผลิตไฟฟ้า การส่งไฟฟ้าการจ�าหน่ายไฟฟ้า ไปจนถึงภาคส่วนของผูบ้ ริโภค นัน่ คือ ผูใ้ ช้ไฟฟ้าทัว่ ไป ตัง้ แต่ภาคบ้านเรือน ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจและ การพาณิชย์ เป็นต้น นอกจากนี้ บริบทของระบบ SMART GRID ยังครอบคลุมไปถึงภาคการขนส่งด้วย เพื่อให้สามารถรองรับการน�ารถยนต์ไฟฟ้าเข้ามา ใช้งาน เป็นต้น
SMART GRID คืออะไร SMART GRID (สมาร์ทกริด) คือ ระบบบริหารการใช้ ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพด้วย เทคโนโลยีดา้ นการสือ่ สาร (Information Technology) ความอัจฉริยะของ SMART GRID จะช่วยค�านวณก�าลังการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงฟอสซิลและพลังงานทดแทนให้เหมือน โรงไฟฟ้าโรงเดียวกันและสอดคล้องกับปริมาณการใช้งานจริง เนือ่ งจากไฟฟ้าผลิตแล้วต้อง ใช้ทนั ที หากจัดเก็บจะมีตน้ ทุนสูง สรุปแบบเข้าใจง่ายๆ ก็คอื ลดความสูญเปล่าของการส�ารอง การผลิตไฟฟ้าในช่วงที่ไม่มีการน�ามาใช้นั่นเอง
ท�ำไมต้องมี SMARTGRID? แหล่งเชื้อเพลิงอยู่ห่าง ไกลจากโรงไฟฟ้า เชือ้ เพลิง เริ่มเหลือน้อย หายากและ ราคาแพงขึ้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สภาพอากาศที่ แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะฤดู ก าล หรื อ การใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ แ ตกต่ า งกั น ในช่ ว งวั น ท� า งาน และวันหยุด
ความแตกต่างของการใช้ ไฟฟ้าช่วง เวลากลางวั น และกลางคื น ในประเทศ อุ ต สาหกรรมหรื อ ก� า ลั ง พั ฒ นาด้ า น อุตสาหกรรม อาจแตกต่างกันถึง ± 10%
GREEN ZONE TECHNOLOGY
51
ภำพของระบบไฟฟ้ำในอนำคต ประโยชน์ของระบบ SMART GRID การรวมพลังงานหมุนเวียนเข้าในระบบไฟฟ้า (Renewable Energy Integration)
การลดความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peak Reduction)
การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ระบบโครงข่ายไฟฟ้า
เพิ่มการรับรู้ข้อมูลที่เกิดขึ้น ในระบบไฟฟ้า
ในบริบทของระบบ SMART GRID นัน้ มีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ หลายประการในการผลิตไฟฟ้า ทัง้ ในเรือ่ งของ การใช้พลังงานหมุนเวียนที่มีความไม่แน่นอนในการผลิตมากขึ้น การผลิตไฟฟ้าที่มีลักษณะกระจายตัวไม่รวมศูนย์ (Decentralized Power System) และมีจ�านวนโรงไฟฟ้าที่มีก�าลังผลิตไม่สูง แต่มีเป็นจ�านวนมากและกระจายอยู่ ทั่วไป (Distributed Generation: DG) ระบบไฟฟ้ำในปัจจุบัน ถูกออกแบบมาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งพลังงานไฟฟ้าจาก โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ไปยังผู้ใช้ ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าจะมีทิศทางการไหล ของไฟฟ้าเพียง ทิศทำงเดียว ผู้ใช้ ไฟฟ้ายังมีบทบาทในการผลิต ไฟฟ้าที่จ�ากัด มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของระบบ ไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ในระดับน้อยมาก มีการท�างานร่วมกันระหว่าง อุปกรณ์แบบอัตโนมัติอย่างจ�ากัด
ระบบไฟฟ้ำในอนำคต มีการออกแบบให้รองรับแหล่งผลิตไฟฟ้าที่กระจายตัวอยู่ ทั่วไป (Distributed Generation) ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ของเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนบางประเภท เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม เป็นต้น การออกแบบให้ ไฟฟ้าสามารถไหลได้สองทิศทาง รวมถึงการ แลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศให้สามารถไหลในสองทิศทาง ผู้ใช้ ไฟฟ้ามีบทบาทในการผลิตไฟฟ้า (Prosumer) เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ ไฟฟ้าสามารถบริหารจัดการการใช้ พลังงานไฟฟ้าให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตและพฤติกรรมการใช้ ไฟฟ้าของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลจ�านวนมากระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ มีการท�างานร่วมกันอย่างสอดประสานระหว่างอุปกรณ์ ตรวจวัดประมวลผล ระบบอัตโนมัติและสื่อสารข้อมูล
โครงกำรน�ำร่องโครงกำร SMART GRID ปัจจุบันหลำยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยได้มีกำรด�ำเนินโครงกำรน�ำร่องด้ำน SMART GRID ในพื้นที่ต่ำง ๆ ดังนี้ โครงกำรน�ำร่องกำรพัฒนำระบบ SMART GRID โครงข่ำย อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ด้วยสภาพภูมิประเทศของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งมีลักษณะเป็นป่าเขา และมีการสงวนพื้นที่ ส่วนใหญ่ไว้เป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ดังนั้น จังหวัดแม่ฮ่องสอนจึงเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยที่ระบบ ส่งไฟฟ้าแรงดันสูงของ กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ยังไม่สามารถเข้าถึงได้ ปัจจุบนั ได้มกี ารผลิตไฟฟ้าขึน้ ภายในพืน้ ทีจ่ งั หวัดแม่ฮอ่ งสอน โดยอาศัยแหล่งพลังงานต่างๆ อย่างไรก็ตาม แหล่งพลังงานในพืน้ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ากัด ไฟฟ้าบางส่วนจึงต้องถูกจ่ายมาจากระบบจ�าหน่ายไฟฟ้าของ กำรไฟฟ้ำส่วนภูมภิ ำค (กฟภ.) ผ่านพืน้ ทีป่ า่ ซึง่ มีตน้ ไม้หนาแน่น ดังนัน้ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอนจึงมีปญ ั หา กระแสไฟฟ้าขัดข้องบ่อยครัง้ เนือ่ งจากต้นไม้ลม้ พาดสายไฟ ปัญหาความเชือ่ ถือได้และคุณภาพของ ไฟฟ้าถือเป็นประเด็นส�าคัญที่ต้องได้รับการปรับปรุงในพื้นที่นี้ ดังนั้น กฟผ. จึงได้พัฒนาโครงการน�าร่องระบบโครงข่าย SMART GRID ขึ้นในพื้นที่อ�าเภอ เมือง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ซึง่ จะสามารถท�าให้ระบบไฟฟ้าในเขตมีความมัน่ คงสูงขึน้ นอกจากนี้ พืน้ ที่ อ�าเภอเมืองจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนถือได้วา่ มีความเหมาะสมในการด�าเนินการโครงการน�าร่อง เนือ่ งจาก ต�าแหน่งที่ตั้งของโครงการ มีความเป็นไปได้ส�าหรับการควบคุมและปฏิบัติการระบบร่วมกับระบบ ไมโครกริดของ กฟภ. ที่ อ.แม่สะเรียง ได้ต่อไปอนาคต
issue 162 august 2016
52 GREEN ZONE TECHNOLOGY
โครงการพัฒนาระบบไฟฟ้าแบบโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (MICROGRID) อ�าเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปัจจุบนั ระบบไฟฟ้ำในพืน้ ที่ อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ได้รบั กำรจ่ำยไฟฟ้ำมำจำกสถำนี ไฟฟ้ำฮอด ซึ่งห่ำงออกไปเป็นระยะทำงประมำณ 110 กิโลเมตร ผ่ำนพื้นที่ป่ำเขำ โดยแม้ในพื้นที่จะมี กำรผลิตไฟฟ้ำจำกแหล่งต่ำงๆ เช่น โรงไฟฟ้ำเชื้อเพลิงดีเซลของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) โรงไฟฟ้ำพลังงำนน�้ำขนำดเล็กของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) โรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ของผู้ผลิตไฟฟ้ำขนำดเล็กมำก เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำเชื้อเพลิงดีเซล ส�ำรองฉุกเฉินของผู้ใช้ไฟรำยใหญ่ เป็นต้น อย่ำงไรก็ตำม แหล่งผลิตไฟฟ้ำเหล่ำนีม้ ขี นำดก�ำลังผลิตที่ ไม่แน่นอนและไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดปัญหำด้ำนคุณภำพไฟฟ้ำ ท�ำให้เกิดเหตุไฟฟ้ำขัดข้องบ่อยครัง้ กฟภ. ได้ด�ำเนินโครงกำรน�ำร่องในพื้นที่ดังกล่ำว เพื่อศึกษำและพัฒนำระบบควบคุมโครงข่ำย ไฟฟ้ำขนำดเล็กมำก (Microgrid Controller) เพือ่ กำรวำงแผนและปฏิบตั กิ ำรระบบไฟฟ้ำทีม่ แี หล่ง ผลิตไฟฟ้ำขนำดเล็กประเภทต่ำงๆ มีอัตรำส่วนกำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนหมุนเวียนที่มีควำม ไม่แน่นอนสูง ให้สำมำรถใช้ศักยภำพของระบบได้สูงสุด เป็นกำรเพิ่มควำมมั่นคง ควำมเชือ่ ถือได้และ คุณภำพของระบบไฟฟ้ำโดยรวม
โครงการพัฒนาโครงข่าย SMART GRID ในพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โครงกำรพัฒนำโครงข่ำย SMART GRID ในพื้นที่เมืองพัทยำ จังหวัดชลบุรี เป็นโครงกำรด้ำน SMART GRID แห่งแรกของ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) โดยพืน้ ทีเ่ มืองพัทยำได้รบั กำรคัดเลือก เนื่องจำกได้รับกำรพิจำรณำว่ำมีควำมเหมำะสมและควำมพร้อมในหลำยๆ ด้ำน อันได้แก่ เป็นเมือง ส�ำคัญทำงเศรษฐกิจจึงมีควำมต้องกำรไฟฟ้ำสูง มีกำรกระจำยของผู้ใช้ ไฟฟ้ำหลำยกลุ่ม (บ้ำนพัก อำศัย อำคำรส�ำนักงำนโรงแรม ภำคธุรกิจ และโรงงำนอุตสำหกรรม) ลักษณะชุมชนมีทั้งพื้นที่ หนำแน่น พื้นที่เบำบำง พื้นที่ชนบท รวมถึงพื้นที่เกำะ จึงเหมำะสมกับกำรทดสอบกำรผสมผสำนกัน ของเทคโนโลยีกำรสื่อสำรหลำยๆ รูปแบบ ซึ่งได้รับควำมร่วมมือจำกพื้นที่เป็นอย่ำงดี นอกจำกนี้ เมืองพัทยำยังมีนโยบำยที่จะพัฒนำเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) จึงมีควำม เหมำะสมในกำรสำธิตเทคโนโลยีใหม่ๆ และมีโครงสร้ำงพื้นฐำนของระบบสื่อสำรที่ค่อนข้ำงพร้อม อยู่แล้ว
Source: - http://thai-smartgrid.com/ - ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน EXECUTIVE SUMMARY Smart Grid Network Development Master Plan of Thailand 2015 – 2037 which Ministry of Energy has entrusted Energy Policy & Office, Thailand to organize under the vision ‘Encourage to supply suffice electric power with capacity, long lasting, good service provider and also the most benefit for the country’. The objective of this master plan is to improve electricity Smart System by improve service efficiency for electricity user with Smart Life and develop the electricity structure to be eco-friendly or Green Society because fuel sources are far from the plant, less fuel amount nowadays which found rarely and also raise the price for it. Also, the difference between day and night energy usage in manufacturing country could be ± 10% Today, many agencies which related in Thailand already operate the pilot scheme in Smart Grid in many locations that is Smart Grid Network System Development Pilot Scheme in the capital district of Mae Hong Son province, Microgrid Network System Development, Mae Sariang district, Mae Hong Son province and Smart Grid and Smart Grid Network Development in Pattaya City, Chonburi province. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรื่อง: ขวัญฤทัย พฤกษามหาลาภ Engineer, Machinery & Automation System Center, สถาบันไทย-เยอรมัน AUTOMATION 53
SMART
NDUSTRY
กระบวนการผลิต ต้องตรวจสอบได้ แบบเรียลไทม์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ มีความโปร่งใสและ ติดตามได้ (Transparent & Tracking)
ทุกระบบคุณภาพ สามารถถูก ตรวจสอบได้
SMART INDUSTRY มีการบันทึก ประวัติของ ทุกขั้นตอน ไว้อย่างละเอียด
ต้องยอมรับว่าในยุคนี้อินเตอร์เน็ตมีบทบาท และความส�าคัญต่อชีวิตประจ�าวันของเรามากขึ้น เรื่อยๆ เช่น ในด้านการศึกษาก็เป็นแหล่งข้อมูล ให้เราได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และยังสามารถ ท� า การเรี ย นการสอนผ่ า นระบบอิ น เตอร์ เ น็ ต ได้ อี ก ด้ ว ย หรื อ ในด้ า นความบั น เทิ ง เราก็ ส ามารถ พักผ่อนไปกับการดูหนัง ฟังเพลงผ่านอินเตอร์เน็ต ได้สะดวกสบายมากขึ้น และที่ขาดไม่ได้ คือ ด้าน การพาณิชย์ ที่หลายๆ คนหันมาซื้อขายผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต หรือหลายๆ บริษัทได้มีการท�าการ ตลาดประชาสัมพันธ์ โฆษณาผ่านสื่ออินเตอร์เน็ต มากขึน้ เรือ่ ยๆ ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั ทีน่ า� อินเตอร์เน็ต มาใช้เพื่อการบริการที่สะดวกสบาย คือ ไปรษณีย์ ไทย ในการขนส่งสิ่งของของลูกค้าสามารถตรวจ สอบสถานะได้ ว ่ า สิ่ ง ของที่ ส ่ ง ไปนั้ น ขณะนี้ อ ยู ่ ใ น ขัน้ ตอนไหนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้สะดวกมากขึน้ หรืออีกตัวอย่างก็คือ การซื้อขายสินค้าผ่านระบบ อินเตอร์เ น็ตที่ประสบความส�า เร็จก็คือ เว็บไซต์ ลาซาด้าที่เป็นที่รู้จักของทุกคน ปัจจุบันการที่ลูกค้าสามารถตรวจสอบสถานะ การขนส่งแบบออนไลน์ได้ หรือผู้ผลิตตรวจสอบ กระบวนการผลิตได้ (เช่น ระบบ ERP) ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของลูกค้าอีกต่อไป เมือ่ หันมามอง ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งก�าลังจะเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุค ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4 (Industrial 4.0) ลูกค้าจะ ต้องสามารถร่วมออกแบบ ตรวจสอบสถานะขัน้ ตอน การผลิ ต ได้ แ บบเรี ย ลไทม์ ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ อย่างสูงต่อการบริหารการผลิต และการติดตามของ ลูกค้า เนือ่ งจากสินค้าทุกชิน้ จะมีการก�าหนด Identity อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ผลิตที่ต้องการการอยู่รอดจะ ต้องตอบสนองให้รวดเร็ว ทันต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ เพื่อเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ยกตั ว อย่ า งเช่ น ลู ก ค้ า จะผลิ ต รถยนต์ เรา ได้ อ อกแบบชิ้ น ส่ ว นของรถยนต์ ไว้ ซึ่ ง ชิ้ น ส่ ว นนี้ จะถูกน�าไปใช้ในการประกอบรถยนต์หลายๆ รุ่น ขอเรียกชิ้นส่วนนี้ว่าเป็นคอมมอนพาร์ท (Common Part) ซึ่งจะถูกก�าหนด Identity ไว้และอยู่ในฐาน ข้อมูล เมื่อจะออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ลูกค้าก็จะ สามารถเข้าระบบออนไลน์ไปเลือกชิ้นส่วนในฐาน ข้อมูลมาใช้ในการออกแบบได้ ดังภาพที่ 4
สามารถ ตรวจสอบสถานะ กระบวนการผลิต ผ่านระบบออนไลน์ ได้
issue 162 august 2016
54 AUTOMATION
เมื่อตกลงแล้ว ข้อมูลทั้งหมดก็จะถูกส่งไปยัง โรงงานผู ้ ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว นต่ า งๆ และส่ ง เข้ า ไลน์ ก าร ประกอบ พร้ อ มทั้ ง ทุ ก ชิ้ น ส่ ว นจะต้ อ งมี ป ้ า ยชื่ อ ระบุ เพื่อท�าการประกอบให้ตรงรุ่น และมีการแจ้ง สถานะทุกๆ ขั้นตอนให้ลูกค้าทราบ เมื่อลูกค้าเข้า ระบบออนไลน์เพื่อตรวจสอบสถานะ หรือแม้แต่ เครื่องจัก รขัดข้อง ก็จ ะมีการแจ้งเตือ นเข้า ไปใน ระบบแบบออนไลน์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่มาซ่อมแซม หรือแม้แต่ลกู ค้าเกิดเปลีย่ นใจในชิน้ ส่วนบางชิน้ ทีย่ งั ไม่ ถึ ง ขั้ น ตอนการประกอบก็ ส ามารถเปลี่ ย นได้ ซึ่งทุกขั้นตอนที่กล่าวมานี้จะอยู่บนระบบออนไลน์ ซึ่งลูกค้าสามารถตรวจสอบได้แบบเรียลไทม์
ภาพที่ 1: ตัวอย่างการตรวจสอบสถานะการสั่งซื้อ ภาพ: http://goo.gl/AOsHX5
ภาพที่ 2: ตัวอย่างระบบ ERP ในอุตสาหกรรม ภาพ: http://goo.gl/HzDTIf MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
AUTOMATION 55
เลือกผลิตภัณฑ์
เลือกรุ่น
เลือกสี
เลือกชิ้นส่วน
ภาพที่ 3: ตัวอย่างลักษณะอุตสาหกรรม 4.0 ภาพ: https://goo.gl/C63SB2
โรงงานผลิตรับรู้
ดังนัน้ หากผูผ้ ลิตต้องการอยูร่ อดจะต้องเปลีย่ น แนวความคิดที่จะเป็นบริษัทเดี่ยว ต้องหันมาร่วม มือกันระหว่างผู้ผลิตด้วยกัน จากเดิมที่ผลิตสินค้า 1 อย่าง โดยผลิตชิ้นส่วนเอง ต่อไปต้องเปลี่ยน เป็นผลิตชิ้นส่วนเดียว (Supplier) ส่งให้ผู้ผลิตสินค้า หลากหลายยีห่ อ้ หรือจากทีผ่ ลิตเองทัง้ หมดก็ซอื้ จาก Supplier แทน ซึ่ ง การผลิ ต แบบนี้ จ ะผลิ ต เป็ น จ�านวนมากด้วยเวลาที่น้อย เนื่องจากแนวโน้มอายุ ผลิตภัณฑ์ทอี่ ยูใ่ นตลาดจะสัน้ ลง และด้วยการเปลีย่ น รุน่ สินค้า ลักษณะของชิน้ ส่วนไม่ได้เปลีย่ นแปลงจาก เดิมมาก ท�าให้สามารถปรับเปลี่ยนไลน์การผลิตได้ ง่ายและรวดเร็ว ตอบสนองทันต่อความต้องการของ ลูกค้า ซึ่งปัจจุบันก็มีผู้ผลิตท�าแบบนี้อยู่แล้วจ�านวน หนึ่ง แต่จะต้องเพิ่มการเชื่อมเอาระบบอัตโนมัติที่ ใช้ในไลน์การผลิตเข้ากับระบบไอที(อินเตอร์เนต) เพื่อให้ลูกค้าสามารถเลือกชิ้นส่วนเพื่อออกแบบ และตรวจสอบขั้นตอนการผลิตได้แบบออนไลน์ ถึง จะเรียกได้ว่าเป็นยุคอุตสาหกรรม 4.0 หรือ Smart Industry ตามที่ผู้เขียนกล่าวถึง สรุปแล้วระบบที่จะท�าให้เกิด Transparent and Tracking ตามที่ผู้เขียนได้อธิบายให้เห็นภาพเบื้อง ต้นไปแล้วนั้น ทางภาคอุตสาหกรรมจะต้องมีการ วิเคราะห์ว่าระบบในปัจจุบันของเราอยู่ที่ตรงไหน ความต้องการของลูกค้าเป็นอย่างไรในปัจจุบันและ อนาคต รวมทั้งเครือข่ายที่อยู่ใน Supply Chain จะร่ ว มมื อ กั น ท� า อย่ า งไร จึ ง จะได้ Technology Roadmap ที่ ชั ด เจนออกมา และจะต้ อ งพั ฒ นา บุคลากรให้สอดคล้องกับ Technology Roadmap เพื่อก้าวสู่ Smart Factory หรือ Industrial 4.0 ต่อไป
เริ่มประกอบชิ้นส่วน
ทุกขัน้ ตอนจะมีการแจ้งสถานะ
ลูกค้าขอเปลี่ยนแบบ
ชิ้นส่วนทั้งหมดจะมี Identity บอก
เครื่องจักรขัดข้องจะมีการแจ้งออนไลน์
เสร็จสมบูรณ์ ภาพที่ 4: ตัวอย่างขั้นตอนการผลิตรถยนต์ ภาพ: http://www.connected-automation.com/en/ EXECUTIVE SUMMARY Industrial sector are transforming into industry 4.0 which the customer need to participate in planning and investigating the process of production via online system. There is one another important topic that is Transparent & Tracking in production process, each quality process must be available to investigate, have logs for each procedure and available to check the data via online or so call ‘Smart Industry’. This system is very useful for production management and process tracking by customer. Every product must have clearly identity for tracking and examining easily which the manufacturer who want to survive must take an action as fast as they can to catch this trend and coming forth to industry 4.0. issue 162 august 2016
56 REAL LIFE
เฉลิมพล ปุณโณทก
‘ความส�าเร็จ’… ไม่มีค�าว่า ‘บังเอิญ’ มีแต่ค�าว่า ‘วางแผน’ มีคา� กล่าวทีว่ า่ … ท�าในสิง่ ทีร่ กั แล้วคุณจะไม่รสู้ กึ ว่า ท�างานไปตลอดชีวิต… คุณเฉลิมพล ปุณโณทก Chief Executive Officer บริษัท CT ASIA ROBOTICS CO., LTD. และผูพ ้ ฒ ั นาหุน่ ยนต์ ไทยสูต่ ลาดโลก เป็นอีก หนึ่งคนคุณภาพที่สะท้อนให้เห็นผลลัพธ์ของความสนุก กับงานทีท่ า� ซึง่ นอกจากช่วยเติมเต็มอุดมการณ์ในชีวติ แล้ว ยังสร้างความสุขให้กับชีวิตในระยะยาวด้วย
วิชาการและวิชาคน คือ ส่วนผสมส�าคัญในการเรียนรู้ เมือ่ ย้อนไปวัยเด็กเราทุกคนต่างมีความชอบและความ ฝันอยู่ในใจ บ้างฝันว่าโตไปจะเป็นวิศวกร เป็นนักเขียน เป็นจิตรกร หลายๆ คนสามารถท�าตามฝันได้ส�าเร็จ แต่ บางคนก็ไม่ คุณเฉลิมพล เป็นอีกหนึ่งคนที่ไม่สามารถ ประกอบอาชีพในแบบที่ฝันได้ แต่ด้วยอุดมการณ์แรงกล้า ทีต่ อ้ งการเป็นฟันเฟืองเล็กๆ ในการขับเคลือ่ นประเทศให้ มีชอื่ เสียงระดับสากล เขาจึงน�าวิชาการ และวิชาคนทีส่ งั่ สม มาพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่ เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณเฉลิมพล เล่าให้ฟังว่า “ผมเป็น ตัวแทนโรงเรียนไปประกวดวาดรูปมาตลอด จริงๆ ผม อยากเป็นศิลปินวาดรูป แต่บังเอิญคุณแม่ต้องการให้ เรี ย นบริ ห ารธุ ร กิ จ จึ ง เลื อ กสอบคณะพาณิ ช ยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเลือกเป็นอันดับหนึ่ง ส่วน สถาปัตยกรรม ศิลปกรรม เลือกรองลงมา เพราะคิดว่า อันดับแรกไม่มที างสอบติดแน่ๆ แต่คดีพลิกกลับกลายเป็น ว่าสอบติด จึงกัดฟันเรียนไปเรือ่ ยๆ ร่วมกับการท�ากิจกรรม ของคณะจนได้รับเลือกเป็นประธานเชียร์คณะ พอย้อนมองไปในอดีต ศิลปะท�าให้ผมฝึกสมองและ มีความคิดสร้างสรรค์ การเป็นประธานเชียร์ท�าให้ผมมี ทักษะผู้น�าติดตัว ในด้านศาสตร์วิชาการ ผมเลือกเรียน เอกการตลาด ซึ่งเป็นคณะบริหารธุรกิจที่มีการใช้ศิลปะ ด้านต่างๆ เยอะ ทั้ง 3 ทักษะนี้มารวมกันจึงท�าให้ผมมี วิชาในการจัดการมนุษย์
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
REAL LIFE 57
หลังจากเรียนจบค�าถามแรกที่ถามตัวเอง คือ เราจะ เป็นใคร ท�าอะไรต่อ มีความสงสัยว่าคณะอื่นช่วยเหลือ สังคม ช่วยเหลือประเทศได้ แต่คณะบริหารธุรกิจที่เรียน มาใช้ท�าเงินให้ตัวเองอย่างเดียว จึงรู้สึกว่าต้องท�าอะไรที่ สร้ า งประโยชน์ แ ละคุ ณ ค่ า ให้ สั ง คม ไม่ ใช่ แ ค่ ห าก� า ไร ผมใช้เวลาค้นหาค�าตอบอยูจ่ นกระทัง่ อายุ 25 ปี จึงตกผลึก ได้ว่าอยากสร้างอุตสาหกรรมอนาคตที่เป็นอุตสาหกรรม แห่งชาติ คิดแล้วต้องท�าให้ได้ ไม่ใช่คิดอย่างเดียว” เก็บเกี่ยวประสบการณ์ชาติตะวันตก เพื่อพัฒนานวัตกรรมไทย หลังจากตกผลึกความคิดได้ว่าตนเองต้องการอะไร คุณเฉลิมพล จึงตัดสินใจวางแผนการเรียนและการท�างาน เพื่อที่จะสามารถไปถึงเป้าหมายที่คิดไว้ ซึ่งก็คือการสร้าง อุตสาหกรรมแห่งอนาคตให้ได้ “หลังจากตกผลึกความคิดได้ ผมตัดสินใจเข้าเรียนต่อ ที่ University of Southern California หรือ USC แล้วตั้ง เป้าว่าจะไปหางานที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม เพื่อเรียนรู้ ว่ า ชาติ ต ะวั น ตกเขามี เ ทคโนโลยี อ ย่ า งไร ท� า แบบไหน กลับกลายเป็นว่าด้วยพืน้ ฐานการศึกษาทีเ่ ราจบการตลาด มาไม่เกี่ยวข้องกับงานที่สมัคร จึงไม่มีใครรับเข้าท�างาน แต่ก็ยังไม่ย่อท้อออกท่องยุทธจักรหางานไปเรื่อยๆ จน มาลงเอยที่ GE Capital ส�านักงานใหญ่ ซึ่งไม่ตรงกับเป้า หมายที่วางไว้ แต่ผมคิดว่าเมื่อเป็นส�านักงานใหญ่ก็ต้องมี การใช้ซอฟต์แวร์ในการท�างาน จึงไปสืบเสาะหาโปรเจกต์ ซอฟต์แวร์ในส�านักงานใหญ่ ขอเจ้านายท�า ซึ่งที่สุดก็ได้ รับหน้าที่ให้ดูแล ในส่วนการปรับปรุง Customer Service Department ด้วย Contact Center Technology หลังจาก เรี ย นรู ้ ง านด้ า นซอฟต์ แวร์ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจ ลาออกเพือ่ กลับมาท�าให้เป้าหมายทีว่ างไว้เป็นความจริง” คุณเฉลิมพล กล่าว ปัดฝุ่นอุดมการณ์ ก่อเกิด ‘ดินสอมินิ’ หุ่นยนต์ดูแลคนชราตีตลาดญี่ปุ่น เพราะภาพอุดมการณ์ที่วางแผนไว้ไม่ได้เลือนหายไป ไหน คุณเฉลิมพล จึงหอบประสบการณ์จากชาติตะวันตก กลับมาประเทศไทยอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย และเริ่มปัด ฝุ่นอุดมการณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งถือเป็นก้าวแรก ที่น�ามาสู่การพัฒนานวัตกรรมหุ่นยนต์ที่ยิ่งใหญ่ในวันนี้ “ทุกอย่างในชีวิตของผมเกิดขึ้นจากการวางแผน เมื่อ เห็นเป้าหมายทีช่ ดั เจน ผมจึงกลับมาเปิดบริษทั ซอฟต์แวร์ ด้าน Call Center โดยร่วมมือกับ คุณทศพล อภิกุลวณิช ซึ่งมีความช�านาญด้าน Computer Engineering โดยผลิต Call Center Software ที่ใช้ในองค์กรใหญ่ๆ รวมไปถึง ส่งออกไปยังต่างประเทศด้วย หลังจากธุรกิจด�าเนินไปด้วยดี จากนั้นผมก็นึกขึ้นได้ ว่า ตอนนีเ้ รายังไม่ได้สร้างอุตสาหกรรมแห่งอนาคตแบบที่ ปรารถนา จึงน�าอุดมการณ์มาปัดฝุ่น โดยหาแนวร่วมเป็น แชมป์หุ่นยนต์ คุยไอเดียว่าอุดมการณ์ของเราคืออะไร คิดแผนธุรกิจต่อยอด จากนั้นจึงตั้งบริษัทหุ่นยนต์ขึ้นมา และผลิตหุ่นยนต์ออกมาเป็นตัวแรก
ความเป็นไปได้ที่จะขายหุ่นยนต์ได้ในเวลานั้น คือ ศูนย์ เพราะขนาดประเทศญี่ปุ่นยังขายหุ่นยนต์ไม่ได้ แล้ว จะนับประสาอะไรกับหุ่นยนต์ฝีมือคนไทย ดังนั้น ในช่วง แรกผมจึงไม่ทา� หุน่ ยนต์ขาย แต่ใช้กศุ โลบายคิดนอกกรอบ ว่าท�าหุ่นยนต์ที่ขายโฆษณาบนหน้าหุ่นยนต์แทน ซึ่งผล ตอบรับกุศโลบายนี้ได้ผลดีเกินคาด ธุรกิจต่างๆ พากันมา เช่าไปออกอีเว้นท์ไม่เว้นวัน เพราะนั่นคือหุ่นยนต์ตัวแรก และตัวเดียวในประเทศไทยทีส่ ามารถขายโฆษณาบนหน้า ได้ หลังจากนั้น ก็มีบริษัทต่างๆ มาสั่งท�าหุ่นยนต์ เราจึง กล้าแกร่งขึ้น ความสามารถของหุ่นยนต์เริ่มพัฒนาขึ้น แผนขนานที่ต้องคิดต่อ คือ ท�าอย่างไรให้หุ่นยนต์ ช่วยมนุษยชาติได้ เราจึงคิดค้น ‘ดินสอมินิ’ ส�าหรับคนแก่ ติดเตียง ตัง้ เป้าว่าจะเข้าไปตีตลาดญีป่ นุ่ เราไม่ได้ทา� หุน่ ยนต์ แข่งกับญีป่ นุ่ แต่เราจะขายให้ญปี่ นุ่ เลย ถือเป็นความโชคดี ที่ ศ.นพ. ณรงค์ นิ่มสกุล ซึ่งเป็นอาจารย์แพทย์ที่สอน อยู่ในประเทศญี่ปุ่นมากว่า 40 ปี บังเอิญเห็นผมออก โทรทัศน์ ท่านจึงติดต่อมา จากนั้นก็พาดินสอมินิเข้าไป ทดสอบกับโรงพยาบาลญี่ปุ่น ระหว่างการทดสอบผม ก็อาศัยวิธีนักการตลาด คือ ดูความต้องการผู้บริโภค น�ากลับมาแก้ไข ปรึกษาหารือกับทีมวิศวกร จนสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรูปลักษณ์ที่ น่ารัก ฟังก์ชนั ภาษาญีป่ นุ่ เตือนทานยา ชวนออกก�าลังกาย แจ้งเตือนแพทย์ฉุกเฉิน จนสุดท้ายเขาชอบและตัดสินใจ ซื้อไปใช้งานในที่สุด” คุณเฉลิมพล กล่าว ตั้งเป้า… สร้างหุ่นยนต์เพื่อรองรับโลกอนาคต หลั ง จากประสบความส� า เร็ จ ในการผลิ ต หุ่นยนต์ดินสอดูแลคนชราแล้ว บริษัทยังมีการ พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ รองรั บ กั บ โลกอนาคตด้ ว ย เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ คุ ณ เฉลิ ม พล กล่ า วไว้ อ ย่ า ง น่าสนใจว่า “ผมมองว่าหากรถยนต์ใช้ขับกันทั่วโลก หุ่นยนต์ดินสอก็ต้องเป็นแบบนั้น ซึ่งในตอนนี้ผมก็มี พันธมิตรเก่งๆ ทีท่ า� งานร่วมกันกว่า 20 ชีวติ ซึง่ แต่ละคน ก็ยนิ ดีทไี่ ด้มาร่วมงานกันตรงนี้ เพราะจบมาไม่มโี อกาส ได้ใช้ศาสตร์ที่เรียนมา พอพวกเขาได้มาเจอกับผม ก็เหมือนเจอน�้ามันราดปุ๊บลุกโชนปั๊บ
ผมชอบคิดแบบขนาน
ขนานในที่นี้ คือ ต้องมีแผนส�ารอง ไม่ใช่แค่แผน 1 แผน 2 แต่ต้องมี 4 5 6 ด้วย จึงจะท�าให้ เราเป็นผู้น�าได้
issue 162 august 2016
58 REAL LIFE
หุ่นยนต์ ‘ดินสอมินิ’ หุ่นยนต์รุ่นเล็กขนาด ตั้งโต๊ะ ออกแบบมาเพื่อใช้ ส�าหรับดูแลผู้สูงอายุ แจ้ง เตือนเรียกแพทย์ฉุกเฉินได้ ทันท่วงที ผ่านจอสัมผัสและ กล้องสามมิติ ที่สามารถ แยกแยะมนุ ษ ย์ กั บ วั ต ถุ ได้อย่างชัดเจน สามารถจับ ท่วงท่า อากัปกิริยาเสี่ยง ต่างๆ เช่น การเซ การล้ม นอกจากนี้ ยังสามารถ เก็ บ ประวั ติ สุ ข ภาพแล้ ว ร า ย ง า น ข ้ อ มู ล ใ ห ้ กั บ แ พ ท ย ์ แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ทั้ ง ยั ง มี ร ะบบโทรศั พ ท์ แบบวิดีโอคอลเพื่อสื่อสาร กั บ บุ ต รหลานและแพทย์ โดยระบบเชื่อมต่ออัตโนมัติ ที่ ส� า คั ญ ยั ง เป็ น ช่ อ งทาง สั น ทนาการให้ กั บ คนชรา ทั้งด้านการดูทีวี ฟังเพลง ออกก�าลังกาย ได้อีกด้วย ลักษณะการท�างานก็จะเป็นแบบพี่สอนน้อง แลก เปลี่ยนพลังความรู้ ทดลองให้ท�าจริง ตอนนี้กระบวนการ ท�างานและพัฒนานวัตกรรมไม่ยากเหมือนวันแรกๆ ทีผ่ ม ต้องนั่งสเก็ตความฝันลงในกระดาษ แล้วเอาโฟมมาเหลา เป็นหุ่นยนต์เพื่อท�าความเข้าใจให้ตรงกัน เส้นทางการ ท�างานของวันนัน้ มาจนปัจจุบนั เป็นเส้นทางทีอ่ ภิรมย์ เมือ่ ทีมกระหายในสิง่ ทีผ่ มคิด ดังนัน้ ความฝันทีจ่ ะพลิกฟ้าพลิก แผ่นดินอย่างการท�าหุน่ ยนต์ขนาดนาโนสเกล หรือหุน่ ยนต์ ฆ่าเซลล์มะเร็งก็อาจจะเป็นไปได้ วันนี้ผมอยู่ในยุคแรกเริ่มหุ่นยนต์ ไม่ได้ล้าหลังใคร หุ่นยนต์ต้องเลือกว่าจะเป็นเลิศเรื่องอะไร เราทยอยท�า แต่ละส่วนของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เช่น การมองเห็น การได้ยนิ การได้กลิน่ ฯลฯ สิง่ ทีผ่ มชอบทีส่ ดุ ในการท�างาน คือ การรวมคนเก่งหลายๆ ศาสตร์มาไว้ดว้ ยกัน ไม่วา่ จะเป็น การแพทย์ โรบอติกส์ ซอฟต์โรบอติกส์ ฯลฯ ตอนนีผ้ มอายุ ยังไม่ถึงห้าสิบ แต่ผมคิดว่าแผนที่วางไว้น่าจะส�าเร็จก่อน ผมอายุหกสิบแน่ๆ นี่คือหลักคิดของผม คิดเพราะอยาก ช่วยคน คิดเพราะอยากพัฒนานวัตกรรมเพื่อมนุษยชาติ” ตั้งโจทย์ & วางเดดไลน์ กลยุทธ์บริหารคน เพราะมองว่ า สไตล์ ก ารท� า งานของคนไทยนั้ น ไม่ค่อยถนัดในการตั้งโจทย์ ซึ่งการตั้งโจทย์มีความส�าคัญ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ต่อการอ่านจินตนาการและอ่านอนาคต ด้วยเหตุนี้เอง คุณเฉลิมพล จึงน�ากลยุทธ์การตั้งโจทย์และวางเดดไลน์ ในงานมาใช้ เพือ่ ให้ความคิดของคนในทีมได้โลดแล่น และ ปลุกไฟในตัวให้ลุกโชนตลอดเวลา “ผมมองว่าคนไทยมีจุดอ่อนอยู่ 2 ข้อใหญ่ๆ คือ เรา ไม่ถนัดตั้งโจทย์ และไม่ตั้งเดดไลน์ให้ตัวเอง อาจเป็น เพราะเราเกิดในประเทศที่หย่อนอะไรก็งอก มีความอุดม สมบูรณ์ ไม่ต้องรีบเร่งอะไร จึงท�าให้เราถูกหล่อหลอมให้ เป็นผู้ตามที่เป็นเลิศ แทนที่จะเป็นผู้น�าที่เข้มแข็ง เรารอ รถรุ่นใหม่ สมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ โดยไม่กล้าแม้แต่จะคิดว่า สามารถท�าให้เจ๋งกว่าเขาก็ได้ ทั้งที่ความจริงแล้วคนไทย เก่งมากแต่ขาดโอกาส ขาดเวที ดังนั้น การวางแผนส�าคัญมาก แล้วไม่ใช่วางแผน ฟุ ้ ง ซ่ า นไปเรื่ อ ย ต้ อ งตั้ ง เป้ า ดี ๆ ย้ อ นกลั บ มาดู ใ ห้ ถ้ ว นถี่ ว ่ า ยุ ท ธวิ ธี เ พื่ อ ไปถึ ง เป้ า หมายคื อ อะไร” คุ ณ เฉลิมพล กล่าว สนุกกับงานที่ท�า คือ หัวใจส�าคัญของการสร้างความสุขในชีวิต การเป็นผูน้ า� ในนวัตกรรมด้านใดๆ ก็ตาม หลายๆ คน อาจนึกถึงภาพของความเคร่งขรึมจากการใช้ความคิดอยู่ ตลอดเวลา แต่ส�าหรับ คุณเฉลิมพล แล้วเขาไม่เคยรู้สึก เหนื่อยกับสิ่งที่ท�าเลยแม้แต่น้อย
REAL LIFE 59
ส�ำหรับผมแล้ว
การกล้าตัง้ โจทย์เป็นเรือ่ งดี และยิ่งกล้าตั้งโจทย์ กับคนที่กล้ารับโจทย์ ไม่มีหยุดหย่อนแล้ว ต่อจากนี้เราก็ ไม่ต้อง กลัวใครเลย นอกจากการตั้งโจทย์แล้ว เดดไลน์ก็เป็นสิ่งส�าคัญที่ กระตุ้นไฟในตัวคนท�างาน
“ทุกวันนีผ้ มใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขทุกๆ วัน เพราะผม สนุกกับสิ่งที่ท�า มีความสุขกับค�าชื่นชม และความศรัทธา ของคนที่เห็นคุณค่าในสิ่งที่เราท�า สิ่งต่างๆ เหล่านี้ช่วย เติมเต็มแรงใจ มากกว่ า ความสุ ข และความสนุ ก แล้ ว ผมมองว่ า นวั ต กรรมที่ ท� า นั้ น มั น มี ป ระโยชน์ ต ่ อ ผู ้ ค น ซึ่ ง สิ่ ง นี้ ก็ ตอบโจทย์ เ ป้ า หมายและอุ ด มการณ์ ข องผมไว้ อ ย่ า ง สมบูรณ์” คุณเฉลิมพล กล่าวทิ้งท้าย
จากอุ ด มการณ์ ช ่ ว งวั ย รุ ่ น ที่ ต ้ อ งการสร้ า ง อุ ต สาหกรรมแห่ ง อนาคต กลั บ กลายเป็ น แรงผลั ก ส�าคัญที่ท�าให้ คุณเฉลิมพล ฝึกลับคมสมองด้วยการ คิดโจทย์พร้อมวางแผนให้ทุกจังหวะของชีวิตค่อยๆ เปลี่ยนอุดมการณ์ให้เป็นความจริง หากคิดเหมือนคน ทัว่ ไปทีว่ า่ อุดมการณ์กนิ ไม่ได้… เราคงไม่ได้เห็นดินสอ มินิก้าวสู่สายตาชาวโลกเฉกเช่นทุกวันนี้
EXECUTIVE SUMMARY Mr.Chalermpol Punnotok, Chief Executive Officer of CT ASIA ROBOTICS CO., LTD. and also Thai’s robot developer into worldwide market. He’s the quality person which can crystallize his thought and decide about study and work planning on his own to drive him to the goal which is ‘building the futuristic industrial’. His ideology was derived from his teenager ages which he wanted to build the futuristic industrial. His ideology is an important motivation that drive Mr.Chalermpol to train his thought and mind with his life’s planning to change every little moment from his idea turn into real and take an action in research & development of ‘Dinsor’ a small size robot. This robot was designed to take care the elder which can call the doctor when emergency incident happens via touchscreen and 3d camera. After succeed in Dinsor robot development for taking care of the elder, the company also develop the robot to support an incoming future ages.
issue 162 august 2016
60 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ประเทศไทยวันนี้ อะไรๆ ก็ แล้วอะไร คือ ตัวตนของ 4.0 (สี่จุดศูนย์) เทคโนโลยี นวัตกรรม การพึ่งพาตนเอง การพึ่งพากันเอง ประชารัฐ หรือการก้าวข้ามกับดักทางแนวคิดเดิมๆ สู่การเชื่อมโยง กับองค์ประกอบภายนอกสู่โลกของ Digital Platforms วันนี้ประเทศไทยต้องเปิดประตูสู่ 4.0 เพื่อการลดต้นทุน เพิ่มก�าไรสู่การท�าน้อยได้มาก...Less is More ประเทศไทย 4.0 เปลี่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Value Based Economy) โดยมีการล�าดับการพัฒนาเศรษฐกิจตั้งแต่ยุคที่ 1 ด้าน เกษตรกรรม สู่อุตสาหกรรมเบาในยุคที่ 2 ซึ่งต้องอาศัย ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงาน และเข้าสู่อุตสาหกรรม หนักในยุคที่ 3 อาศัยเทคโนโลยีจากต่างประเทศและ เน้นการส่งออกเป็นหลักอย่างที่ท่านเห็นในปัจจุบัน ซึ่ง ต้องท�างานมากแต่ได้ผลตอบแทนน้อย ประเทศไทยต้อง ขายทั้งทรัพยากรธรรมชาติและยอมรับผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมเพื่อแลกมาซึ่งการเพิ่ม GDP ของประเทศ จริงอยู่ในโลกนี้ไม่มีอะไรได้มาเปล่าๆ แต่เราก็มีสิทธิเลือก ที่ จ ะท� า อะไรหรื อ ไม่ ท� า อะไร และประเทศไทยเลื อ ก แนวทางประเทศไทย 4.0 วางพื้ น ฐานเศรษฐกิ จ เพื่ อ ก้าวข้ามจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางมากว่า 20 ปี แล้วไปสู่โลกของผู้ที่มีรายได้สูง ไม่รวยกระจุก จนกระจาย เหมือนในปัจจุบัน แล้วท่านพร้อมหรือยัง...! MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
RENEWABLE ENERGY
61
5 องค์ประกอบส�าคัญที่ประเทศไทยต้องเปลี่ยนผ่าน
01
02
เกษตรดั้งเดิม ไปสู่เกษตรสมัยใหม่ เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร สู่เกษตรอินทรีย์ สู่เกษตรอุตสาหกรรม
03 วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) ทีร่ ฐั ต้องให้ความช่วยเหลือ สู่วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมที่มี ศักยภาพสูง
04 การบริการที่สร้างมูลค่า ค่อนข้างต�่าไปสู่การ บริการที่สร้างมูลค่าสูง เพิ่มสัดส่วนรายได้ ด้านบริการให้สูงขึ้น
อุตสาหกรรม 4.0 (สี่จุดศูนย์) INDUSTRY 4.0 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ส� า หรั บ ประเทศไทยอุ ต สาหกรรมระดั บ 4.0 เต็ ม รูปแบบจะใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติในกระบวนการผลิต ซึ่ ง คงมี ไ ม่ กี่ โรงงาน และส่วนใหญ่เ ป็นบริษัทข้ามชาติ ดังนัน้ ทางสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยประธาน สภาอุตสาหกรรมจึงได้ประกาศนโยบายและความหมาย
05 พัฒนาแรงงาน ทักษะน้อย ไปสู่แรงงาน ที่มีทักษะสูง
มุ่งเน้นอุตสาหกรรม ที่ไทยมีจุดแข็ง ได้แก่ ความหลากหลาย ทางชีวภาพ และศิลป วัฒนธรรม เป็นต้น
ของอุตสาหกรรม 4.0 ที่สอดคล้องกับความพร้อมของ อุตสาหกรรมไทยว่า ‘อุตสาหกรรม 4.0 ฉบับ ส.อ.ท. หมายถึง อุตสาหกรรมที่ใช้ Digital Platforms ใช้ระบบ IT เชื่ อ มโยงอุ ต สาหกรรม เพื่ อ ลดต้ น ทุ น และเพิ่ ม ก� า ไร’ แน่นอนที่สุดเรื่องของ IoT: Internet of Things จะเข้ามาสู่ ภาคอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วและเป็นปัจจัยที่เสริมสร้าง ความสามารถทางการแข่งขันในทุกอุตสาหกรรม
พลังงานทดแทน 4.0 Renewable Energy 4.0 ในเมื่ออะไร ๆ ก็ 4.0 ดังนั้น พลังงานทดแทนไทยก็ขออินเทรนด์ ไปด้วย โดยขอเริ่มเป็นยุค ดังต่อไปนี้
2549 2552
2552 2555
2555 2558
2558 ปัจจุบัน
ยุคที่ 1.0
ยุคที่ 2.0
ยุคที่ 3.0
ยุคที่ 4.0
เป็นเรื่องสายลม แสงแดด คือ Solar Cell และ Wind Energy ซึ่งเป็นแหล่ง พลั ง งานจากธรรมชาติ ไ ม่ ต ้ อ ง มีเชื้อเพลิง (Feedstock)
พลังงานชีวมวลเริ่มรุ่งเรือง น�าร่องด้วย กลุ่มอ้อยและน�้าตาล โดยการน�าชานอ้อย มาผลิตไฟฟ้าใช้ เมื่อเหลือก็ขายไฟฟ้าให้ ภาครัฐ ส่วนน�า้ เสียจากอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อาหาร มันส�าปะหลัง ฟาร์มสุกร ฯลฯ น�ามาผลิตก๊าซชีวภาพ และเริม่ มีเตาเผาขยะ ที่ลงทุนโดยรัฐเกิดขึ้น
ยุ ค ของพลั ง งานเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ อีกครั้งหนึ่งเมื่อฝ่ายการเมืองใช้ Solar Cell เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ท างการเมื อ ง เนื่องจากซื้อง่ายขายคล่อง ในปลายยุคนี้ ได้มีการประกาศให้พลังงานขยะเป็นวาระ แห่งชาติ
เป็นการเก็บตกพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ ง ค้ า งท่ อ ของสหกรณ์ แ ละราชการ ในช่ ว งนี้ รั ฐ เริ่ ม เห็ น ความส� า คั ญ ของ Bioenergy ที่เป็นจุดแข็งของประเทศไทย และเร่งสานต่อพลังงานขยะ ทั้งจากภาค อุตสาหกรรมและขยะชุมชน
issue 162 august 2016
62 RENEWABLE ENERGY
เพื่อให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้นว่าพลังงานทดแทนปัจจุบัน ก�าลังเข้าสู่ 4.0 และเชือ่ มโยง Digital Platform น�า IT เข้ามา ใช้เกือบครบทั้งระบบ อย่างเช่น Waste to Energy 4.0 Waste to Energy 4.0 มีการส่งเสริมการคัดแยก ขยะจากต้นทางโดยอาศัยหลัก 3R ใช้น้อย (Reduce) ใช้ ซ�้า (Reuse) และน�ากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ซึ่งการแปลง ขยะเป็นเชื้อเพลิงพลังงาน RDF นั้น ต้องท�าเป็นระบบปิด และมีระบบก�าจัดกลิ่น เพื่อลดมลพิษและเพิ่มมูลค่าของ ขยะรีไซเคิล ส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะ ควรใช้ โรงไฟฟ้าทีม่ เี ทคโนโลยีสงู เพือ่ ให้ปลอดภัยจากมลพิษและ ใช้เชือ้ เพลิงอย่างคุม้ ค่า มีการจัดการน�า้ เสียด้วยเทคโนโลยี ชีวภาพ ด้วยการน�ามาผลิตเป็นพลังงาน สุดท้าย คือ การติดตั้งเครื่องตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้า แบบต่อเนื่องด้วยระบบ CEMS: Continuous Emission Monitoring Systems และระบบรายงานแบบ Real Time ค�าว่า สีจ่ ดุ ศูนย์ (4.0) อาจเป็นเพียงยุทธศาสตร์ของ รัฐที่ดึงเอาวลีใหม่ๆ มาจูงใจให้มีการพัฒนาเหมือน ในอดีตที่ผ่านๆ มา ตั้งแต่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ นวัตกรรม และ Start Up หรือสี่จุดศูนย์อาจเป็นยา สารพัดนึก ช่วยป้องกันอาการป่วยทางเศรษฐกิจที่เรา เรียกว่า “New Normal” ไม่วา่ ท่านจะยอมรับแนวคิดนี้ หรือไม่ก็ตาม แต่สี่จุดศูนย์ก็คือ แนวทางการพัฒนา เศรษฐกิจไปสู่ยุค Less is More นั่นคือ ท�าน้อยแต่ได้ มาก จากที่ปัจจุบันเราย�่าอยู่ที่ More is Less คือ ท�า มากแต่ได้ผลตอบแทนน้อย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
EXECUTIVE SUMMARY The Federation of Thai Industries announced the policy and definition for industry 4.0 conform to Thai industries readiness as follows ‘Industry 4.0 is industrial activity that use digital platform and IT system to associate in industry to reduce cost and raise benefit’. Of course, IoT: Internet of Things will participate in industrial section increasingly and also working as a factor to advance the competition potential in every categories of industry. Also, The renewable energy are stepping into 4.0 and digital platform connection by brought IT to operate in overall system, such as, Waste to Energy 4.0 which screen the waste from The begining with 3Rs (reduce, re-use and recycle). The procedure to turn waste into RDF fuel must be close system. It also has odor eliminated system to reduce pollution and increase the value of waste recycling. To generate electricity from waste, the high technology power plant is needed for pollution protection, fuel use worthily and wastewater management with biogas technology. The last process is the air pollution detector equipment . The power plant could be monitored by CEMS: Continuous Emission Monitoring System which is the real-time monitoring system to the desinated locations.
เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์ FACTORY VISIT 63
SCI ECO ชูกระบวนการ Co - Processing ก�าจัดของเสียในเตาเผาปูนซีเมนต์
บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด เป็นผู้บุกเบิกในการก�าจัดกากอุตสาหกรรมมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2537 ซึ่งถือเป็นเจ้าแรกที่น�าเทคโนโลยี จากยุโรปมาพัฒนาเพื่อน�ากากอุตสาหกรรมเข้าไป เผาร่วมกับการผลิตปูนซีเมนต์ หรือที่เรียกว่า Co Processing และได้รับใบอนุญาตประเภท 101 ในฐานะโรงงานปรั บ คุ ณ ภาพของเสี ย รวมโดยใช้ กระบวนการความร้ อ นด้ ว ยการเผาในเตาผลิ ต ปูนซีเมนต์เป็นแห่งแรกในประเทศไทย
2537
ก่อตั้งและเริ่มด�ำเนินธุรกิจ บริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม ภำยใต้ชื่อ บริษัท ซิต้ำ - ไทย เวสท์ แมเนจเม้นท์ เซอร์วิส จ�ำกัด และบุกเบิกกำรก�ำจัดกำกอุตสำหกรรม ด้วยกำรเผำในเตำผลิตปูนซีเมนต์ ร่วมกับ บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทย (แก่งคอย)
โรงงำนปูนซีเมนต์ ไทยในกลุ่ม บริษัท ปูนซิเมนต์ ไทยอุตสำหกรรม จ�ำกัด ได้รบั ใบอนุญำตประกอบ กิจกำรโรงงำนประเภท 101 ครบทุกโรงงำน
บริษทั ปูนซิเมนต์ ไทย (แก่งคอย) ได้รบั ใบอนุญำตประเภท 101 ใน ฐำนะโรงงำนปรับคุณภำพของ เสียรวม ด้วยกำรเผำในเตำเผำ ซีเมนต์แห่งแรกในประเทศไทย
2544
2545 2546
บริษัทฯ ได้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำร ประเภทโรงงำน 106 ที่ถังจัดเก็บ เพื่อ ด� ำ เนิ น กำรผสมน�้ ำ มั น และสำรละลำย ใช้แล้ว ก่อนน�ำไปใช้ในเตำผลิตปูนซีเมนต์
บริษทั ปูนซิเมนต์ ไทยอุตสำหกรรม จ�ำกัด เข้ำถือหุน้ และ เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ เป็นผู้ให้บริกำรที่มีควำมพร้อมในกำร บริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม อย่ำงครบวงจรที่สุด
2549
บริษทั ฯ อยูภ่ ำยใต้กำรบริหำรงำนของเครือ SCG ในกลุ่ม Cement - Building Materials ซึ่งเป็น องค์กรแห่งควำมยั่งยืน ที่จะมุ่งสร้ำงสรรค์ และ รับผิดชอบต่อสังคม ตำมหลักบรรษัทภิบำล
ปัจจุบนั
SCI ECO จากวันนัน้ ถึงวันนี้ issue 162 august 2016
64 FACTORY VISIT
มาตรฐานและรางวัล ISO 14001 ใบรับรองระบบ กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม
มอก. 18001 มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร อำชีวอนำมัย และควำมปลอดภัย
ก�าจัดของเสียในเตาเผาปูนซีเมนต์ อีกหนึ่งทางเลือกในการก�าจัดกากอุตสาหกรรม
1
2
3
อุณหภูมิกำรผลิต ปูนเม็ดที่สูงมำกกว่ำ 1,450 ๐C สำมำรถ เผำท�ำลำยกำก อุตสำหกรรมได้อย่ำง มีประสิทธิภำพ ขณะที่ เตำเผำทั่วไปมีอุณหภูมิ น้อยกว่ำ 1,450 ๐C
ก๊ำซจำกกำรเผำไหม้ ที่มีอุณหภูมิสูงมำกกว่ำ 1,200 ๐C มีระยะเวลำ นำนกว่ำ 5 วินำที ขณะที่ เตำเผำทั่วไปมีระยะเวลำ ประมำณ 2 วินำที
วัตถุดิบหลักใน กำรผลิตปูนซีเมนต์ คือ หินปูน ซึ่งนิยม ใช้เป็นสำรปรับเสถียร (Neutralizing agent) ในกระบวนกำรต่ำงๆ
4
5
6
สำรจ�ำพวกโลหะหนัก จะถูกดูดซับอยู่ใน ปูนเม็ด
ก�ำลังกำรผลิต ปูนซีเมนต์สูงมำก จึงสำมำรถรองรับ กำกอุตสำหกรรม จ�ำนวนมำกได้อย่ำง เพียงพอ
เถ้ำจำกกำรเผำก�ำจัด กำกอุตสำหกรรม สำมำรถใช้เป็นวัตถุดิบ ผลิตเม็ดปูนได้ ซึ่งต่ำงจำกเตำเผำทั่วไป ที่ต้องน�ำ เถ้ำไปก�ำจัดอีกครั้ง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
มำตรฐำนโรงงำนจัดกำรกำกอุตสำหกรรม ระดับเหรียญทอง ประเภท 101 105 และ 106 ในปี 2553 และปี 2554 จากที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น จะเห็ น ว่ า เตาเผา ปูนซีเมนต์เป็นทางเลือกหนึ่งที่มีความเหมาะสม มากในการก� า จั ด กากอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง สามารถ สร้างความมั่นใจต่อผู้ก�าเนิดกากอุตสาหกรรมว่า กากอุตสาหกรรมเหล่านั้นจะถูกก�าจัดอย่างถูกต้อง ตามหลักวิชาการ โดยไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม EXECUTIVE SUMMARY SCI ECO Services Co., Ltd. has established and started waste management business since 1994 which the first company who brought the technology from Europe for disposal the industrial waste with cement pyro-processing. So called co-processing. The company obtained the first 101 license for central disposal facility for industrial waste through cement process. The cement kiln is an alternative choice that suitable for disposal the industrial waste which could entrusted the waste creator that the waste will be disposal according to the right procedure and its provide no negative effect on environment and came along with high quality cement producing. By the high productivity of cement, it can take suitable respond to massive industrial waste.
WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND
US / USW Long Stroke up to 1,700 mm. Heavy Object Transport Long Service Life up to 20,000 km. Long-term Maintenance Free due to Caged Ball LM Guide and Lubricator QZ High Speed wide range of leads Smart Structure comes with standard sensors in the actuator
US
USW
If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71
I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 www.inb.co.th e-mail address : sales@inb.co.th
Your Home4Energy Infrastucture solutions for energy storage systems
เรื่อง: ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี TECH FOCUS
67
AI R BOT in Aging Society
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไม่เคยหยุดนิ่ง ท�าให้การพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อประยุกต์ใช้ในงานที่ หลากหลายโดยในเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการ ผลิตไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป หากแต่ทั่วโลกคุ้นเคย และมีการน�าหุน่ ยนต์ในรูปแบบต่างๆ มาประยุกต์ใช้ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนการผลิ ต อย่ า ง แพร่หลายแล้ว นอกเหนือหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรมการผลิต แล้ว การก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ของ หลายๆ ประเทศทั่วโลก ท�าให้เทคโนโลยีหุ่นยนต์ใน ภาคบริการเริ่มมีบทบาทส�าคัญมากขึ้น โดยเฉพาะ เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) ซึ่งถือเป็น รู ป แบบหนึ่ ง ของหุ ่ น ยนต์ ท่ี มี ค วามอั จ ฉริ ย ะ และ ถื อ เป็ น เทคโนโลยี หุ ่ น ยนต์ ล�้ า สมั ย ที่ ส ามารถ ตอบโจทย์การอยู่ร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ ในอนาคตได้อย่างใกล้เคียงและชัดเจนที่สุด เมื่อแต่ละประเทศได้เริ่มเข้าสู่ยุคสังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) เป็นจ�านวนมากขึน้ การใช้เทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในการช่วยดูแลและรักษาผู้สูงอายุ ที่ เ จ็ บ ป่ ว ยเป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามส� า คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง การใช้งานเทคโนโลยีดา้ นหุน่ ยนต์ จึงเป็นอีกช่องทางหนึง่ ที่ บ ริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต หุ ่ น ยนต์ ไ ด้ น� า มาใช้ แ ก้ ป ั ญ หาและ อ� า นวยความสะดวกในการด� า เนิ น ชี วิ ต ส� า หรั บ ผู้สูงอายุได้อย่างสมบูรณ์ หลายประเทศทั่ ว โลกต้ อ งเผชิ ญ กั บ ประเด็ น ปั ญ หาส� า คั ญ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สั ง คมที่ มี สั ด ส่ ว น ผู้สูงอายุเพิ่มจ�านวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง หากลอง ท�าการส�ารวจเทคโนโลยีอ�านวยความสะดวกเพื่อ รองรับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จะพบว่าเทคโนโลยี หุน่ ยนต์เป็นหนึง่ ในตัวเลือกทีไ่ ด้รบั ความนิยมในการ ท�าหน้าที่เป็นผู้ช่วยที่บ้าน ซึ่งหลายๆ คนเรียกว่า ‘ผู้ช่วยหุ่นยนต์’ เพราะนอกจากจะช่วยอ�านวยความ สะดวกสบายมากขึน้ แล้ว ยังสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในบ้านอีกด้วย นอกจากนี้ ส� า หรั บ คนที่ ท� า งานอย่ า งหนั ก นอกบ้าน ‘ผู้ช่วยหุ่นยนต์’ จะแบกภาระกิจกรรม ในสภาพแวดล้อมต่างๆ ภายในบ้านแทนเจ้าของบ้าน ดังจะเห็นได้ว่าหุ่นยนต์ที่มีโครงสร้างขนาดเดียวกับ มนุ ษ ย์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารท� า งานของระบบ ซอฟต์แวร์เป็นแบบบูรณาและผสมผสาน จะสามารถ สร้างแบบจ�าลองการรับรู้และทักษะในการจัดการ ภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ ในบทความนี้ ผู้เขียนจึงน�าเสนอหุ่นยนต์ส�าหรับ สนั บ สนุ น การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ สู ง อายุ ใ ห้ ด� า เนิ น ชี วิ ต ภายในบ้านได้อย่างสะดวกสบาย
รูปที่ 1: หุ่นยนต์ Vasteras Giraff ที่ใช้แนวคิดการออกแบบมาจากลักษณะท่าทางของยีราฟ
The Vasteras Giraff หุ่นยนต์ที่มีระบบสื่อสารแบบไร้สายแบบ 2 ทิศทาง ควบคุมการใช้งานด้วยรีโมท อาทิเช่น การควบคุม การเคลื่อนที่ด้วยล้อในหลายทิศทาง การใช้งานกล้องและจอแสดงผลด้วยภาพและเสียงผ่านล�าโพงที่ ติดตั้งที่ตัวหุ่นยนต์เช่นเดียวกับระบบ VDO Conference โดยผู้ดูแลหรือพยาบาลสามารถสื่อสารผ่าน จอคอมพิวเตอร์ ในสถานที่อื่นๆ ได้ เช่น ใช้อธิบายวิธีการรับประทานยาที่ถูกต้องผ่านหุ่นยนต์ ให้กับผู้ป่วย หรือการสอนผู้สูงอายุที่พักอาศัยภายในบ้านปฎิบัติตนอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ชีวิตประจ�าวัน เป็นต้น ส่วนผู้สูงอายุสามารถควบคุมหุ่นยนต์ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ด้วยรีโมทควบคุม ‘Vasteras Giraff Robot’ เป็นเทคโนโลยีที่ถูกสร้างขึ้นในประเทศสวีเดนในปี ค.ศ. 2009 และได้มี การน�ามาใช้ในปี 2011 ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศ โดย Giraff เป็นการค้นคว้าวิจัยในโครงการที่มีชื่อเรียกว่า ‘GiraffPlus’
issue 162 august 2016
68 TECH FOCUS
Aethon TUG ‘Aethon TUG’ เป็นหุน่ ยนต์ทนี่ า� มาใช้แก้ปญ ั หาของโลจิสติกส์ ในโรงพยาบาล ทีม่ ที รัพยากรและแรงงานจ�านวนน้อยมากๆ เช่น การท�าหน้าทีข่ องพยาบาลทีต่ อ้ ง เข็นหรือผลักดันรถขนของทีน่ า�้ หนักมาก โรงพยาบาลมีการจ้างการบริการจัดส่ง สินค้าที่จะส่งมอบรายการ เช่น ชุดยาและผ้า ชุดอาหาร ยารักษาโรคและวัสดุ สิ้นเปลือง หรือแม้กระทั่งกากของเสียจากสถานที่หนึ่งของโรงพยาบาลไปยัง อีกสถานทีห่ นึง่ โดยหุน่ ยนต์สามารถเคลือ่ นทีใ่ นโรงพยาบาลทีใ่ ช้ลฟิ ต์ในการขนส่ง สิง่ ของและเปิดประตูแบบอัตโนมัตผิ า่ นทางสัญญาณไร้สายด้วยระบบอีเธอร์เน็ตได้ นอกจากนี้ ผู้ใช้งานสามารถเพิ่มระบบโครงสร้างการยกหรือแบกสัมภาระ ต่างๆ ส�าหรับการใช้งานที่หลากหลายในการขนส่งวัสดุ โดยระบบจะมีส่วนช่วย ให้การขนส่งวัสดุได้จ�านวนครั้งที่เพิ่มมากขึ้นและใช้เวลาในการท�างานลดน้อยลง ซึ่งหุ่นยนต์จะมีการจัดตารางเวลาในการท�างานและผู้ ใช้สามารถที่จะควบคุม ระบบให้แยกประเภทการใช้งานในโรงพยาบาลที่มีการแลกเปลี่ยนก�าหนดการ อยู่ตลอดเวลา จากรูปที่ 2 ด้านซ้ายมือ ผู้ใช้สามารถวางแผนก�าหนดเส้นทางที่ดีท่ีสุดจาก ต�าแหน่งเริม่ ต้นในการเคลือ่ นทีข่ องหุน่ ยนต์ ให้ถงึ เป้าหมาย ด้วยการตรวจจับจาก เซนเซอร์ป้องกันการปะทะชนกับสิ่งต่างๆ โดยการใช้แผนที่เสมือนจริงของพื้นที่ ชั้นต่างๆ ของโรงพยาบาลที่จัดเก็บไว้ในหน่วยความจ�า โดยหุ่นยนต์จะพยายาม กระท�าตามแผนผังที่ก�าหนดให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ แต่ถ้าพบอุปสรรคที่ไม่ คาดคิดในเส้นทางทีต่ อ้ งการ หุน่ ยนต์สามารถปรับเปลีย่ นแผนและหาทางออกทีจ่ ะ น�ามันไปสู่ปลายทางที่ก�าหนด ด้วยการขับเคลื่อนมอเตอร์จ�านวน 2 ตัว เมื่อเกิด การสูญหายหรือติดปัญหาอุปสรรคอยูก่ ส็ ามารถโทรขอความช่วยเหลือผ่านทาง ล�าโพง เพื่อบอกเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบต่อไป การใช้งานในโรงพยาบาลจ�านวน ที่มากกว่า 150 โรงพยาบาลเป็นหลักฐานว่าลูกค้าเห็นคุณค่าและประสิทธิภาพ ในการใช้งาน ซึ่งเฉลี่ยรายจ่ายที่ทางโรงพยาบาลสามารถประหยัดได้ถึงเกือบ สองเท่าของเงินเดือนพนักงาน / ต่อปี ส่วนความน่าเชื่อถือและความปลอดภัย ของหุ่นยนต์น�าทางโรงพยาบาลในสภาพแวดล้อมที่ซับซ้อนด้วยความถูกต้อง 99.99% โดยไม่มีการแทรกแซงของมนุษย์ ด้วยการพัฒนาระบบตรวจสอบ ระยะไกล
IRobot Built an Emerging
รูปที่ 3: (A),(B) การใช้งานหุ่นยนต์ และรูปทรงในมิติต่างๆ ตามล�าดับ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
รูปที่ 2: (A) แสดงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการท�าหน้าที่ ของหุ่นยนต์ ให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งานที่หลากหลาย
รูปที่ 2: (A),(B) การก�าหนดแผนที่การใช้งาน แต่ละพื้นที่และชุดกลไก การขับเคลื่อนของหุ่นยนต์ ตามล�าดับ
ในปี ค.ศ. 2012 มีการสร้างหุ่นยนต์ของบริษัท Emerging Technologies Group และบริษัท InTouch Health เพื่อการออกแบบเทคโนโลยีที่เรียกว่า ‘AVA Telepresence Technology’ เพื่อใช้ส�าหรับการตรวจสอบสุขภาพของผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า โดยทั้ง 2 บริษัทได้พัฒนา รีโมทควบคุมและการสร้างภาพเสมือนจริงที่แยกการท�างานอย่างอิสระออกจากกัน หรือมีชื่อ เรียกว่า ‘RP-VITA’ มีโรงพยาบาลทีใ่ ช้งานหุน่ ยนต์ตวั นีม้ ากกว่า 500 แห่ง โดยเลือกใช้ผา่ นเทคโนโลยี การสื่อสารทางไกลเสมือนจริง จึงท�าให้ ไม่จ�าเป็นต้องขับรถไปที่โรงพยาบาลในเมืองใหญ่ ดังนั้น หุ่นยนต์ IRobot สามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารในระยะทางไกลส�าหรับการรักษาผู้ป่วย เพื่อให้ นักฟิสิกส์สามารถตรวจสอบสุขภาพของผู้ป่วยจากระยะทางไกลๆ การใช้งานระบบดังกล่าว คือ การสร้างเป็นแผนที่ เพือ่ หลบสิง่ กีดขวางและสามารถใช้ IPad ทีม่ หี น้าจอส�าหรับการควบคุมและแสดง ปฏิกิริยาในการโต้ตอบ นอกจากนี้ ยังถูกน�ามาใช้ในการสอนเสมือนจริงที่ซอฟต์แวร์สามารถแสดง ให้เห็นการซ้อนภาพของมือศัลยแพทย์ที่ให้ค�าปรึกษาผ่านมุมมองของการผ่าตัดที่เกิดขึ้นจริง เพื่อที่ จะสามารถเห็นและพูดคุยกัน โดยให้ค�าปรึกษากับนักศึกษาแพทย์ ในสถานที่ที่ห่างไกลกัน ซึ่งหุ่นยนต์ ยังสามารถที่จะจดจ�าหน้าและอุปกรณ์ ในการรักษา ซึ่งจะท�าการบันทึกลงในระบบ EMR การน�าเสนอ รูปแบบของระบบ RP-VITA โดย Chairman ซึ่งเป็น CEO ของ IRobot กล่าวว่า ในอนาคตอาจจะ ได้เห็น IRobot มากมายตามท้องตลาด การส�ารวจที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่ใช้หุ่นยนต์อินทัช แสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการรักษามีจ�านวนลดลง เนื่องจากไม่จ�าเป็นต้องเดินทางมาโรงพยาบาล
TECH FOCUS 69
Bestic Robot ‘Bestic Robot’ คือ หุ่นยนต์ขนาดเล็กที่สามารถหมุนได้รอบทิศทางและที่ปลาย ประกอบไปด้วยส่วนประกอบที่มีลักษณะคล้ายช้อน โดยที่แขนหุ่นยนต์สามารถหมุน ได้งา่ ยและผู้ใช้สามารถทีจ่ ะควบคุมการหมุนของปลายช้อนในถาดหรือจานรับประทาน อาหารได้อย่างอิสระ โดยจุดประสงค์ของการออกแบบหุ่นยนต์ ให้มีขนาดเท่ากับโต๊ะ เพื่อท�าให้ผู้ ใช้สามารถที่จะเพิ่มอุปกรณ์อ่ืนที่ใช้ ในการควบคุมได้ เช่น จอยสติกส์ ปุ่มควบคุมและสนับสนุนต่อการควบคุมด้วยเซนเซอร์ที่ติดตั้งบนศีรษะ เป็นต้น Sten Hemmingson เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอุปกรณ์ที่ใช้ส�าหรับ การรั บ ประทานได้ พั ฒ นาแขนกลที่ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการส� า หรั บ การรับประทานอาหาร โดยอุปกรณ์ Bestic Arm เป็นการสร้างโดยพี่น้องวิศวกร เครื่องกล คือ ‘Ann-Louise Noren’ ในพัฒนาโครงการหุ่นยนต์ Bestic ที่ช่วยเหลือ ทหารที่ก�าลังบาดเจ็บหรือออกใบสั่งยาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Nursing Assistant
รูปที่ 5: (A) และ (B) องค์ประกอบหลัก ของหุ่นยนต์โคดี้กับคุณลักษณะท่าทางต่างๆ ที่ใช้งาน ตามล�าดับ
รูปที่ 4: การใช้งานหุ่นยนต์ Bestic Robot
หุ่นยนต์ส�าหรับดูแลสุขภาวะ หรือ ‘Nursing Assistant’ โดยหุ่นยนต์ดังกล่าว มีชอื่ เรียกว่า ‘Cody’ ถูกสร้างตามหลักขนาดและสัดส่วนของร่างกายมนุษย์ (HumanScale) ทีใ่ ช้ระบบควบคุมการท�างานแบบ DPI (Direct Physical Interface) ซึง่ ผูด้ แู ล สามารถควบคุมหุ่นยนต์ ได้โดยตรงมีระบบ DPI ในการน�าทางและก�าหนดต�าแหน่งให้ ตรงกับร่างกายของผูร้ บั บริการ เมือ่ ผู้ใช้คว้าและมีการเคลือ่ นทีห่ รือมีการเชือ่ ม ‘Black Rubber Balls’ ที่ติดตั้งไว้กับหุ่นยนต์ ยกตัวอย่างเช่น การเคลื่อนที่ไปข้างหน้ากับ การที่ให้หุ่นยนต์หยุดเคลื่อนที่จะกระท�าคล้ายกัน เป็นต้น การเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ไป ทางขวาและเคลือ่ นที่ไปทางซ้ายจากการหมุนรอบทิศทาง ผู้ใช้งานสามารถทีจ่ ะเก็บแขน หรือกางแขนของ Cody ได้ เพราะว่า Cody สามารถเคลื่อนที่ได้ทุกรูปแบบ โครงสร้าง ส่วนประกอบของหุ่นยนต์จะประกอบด้วย Segway RMP 50, Omni Mobile Base แอคทูเอเตอร์เชิงเส้นในแนวตั้งขนาด 1-DoF และแขนคู่ของหุ่นยนต์ขนาด 7-DoF หุ่นยนต์ยังสามารถเปิดประตูลิ้นชักและตู้ควบคุม โดยใช้จุดสมดุลที่พัฒนาโดย ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ เชนและศาสตราจารย์ ชาร์ลีเคมพ์ รายละเอียดการใช้งานของหุ่นยนต์ สามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้ คือ • หุ่นยนต์สามารถดึงประตูเปิดและลิ้นชัก: การเคลื่อนที่ของล้อแบบ ‘OmniDirectional Base’ รอบทิศทางและการเคลื่อนที่ของแขนที่สอดคล้องกับการควบคุม ในแบบสมดุล (ICRA 2010) • ใช้ส�าหรับการประเมินผลของการเชื่อมต่อทางกายภาพโดยตรงส�าหรับหุ่นยนต์ ผู้ช่วยพยาบาล (HRI 2010)
EXECUTIVE SUMMARY Robot technologies are taking part in essential issues more than ever. The AI (Artificial Intelligence) technology which is sub category of smart robotic and also beyond technology for robot which answer the quest for human coexist with robot clearly in aspect of reality, particularly when many countries are heading to aging society. This article is about the robot in service sector or assistant robot which has the same size with human. It has a system that operating with software integration and apply which could simulate perception and skill to operate the task perfectly, For example, the Vasteras Giraff which is the robot that has 2 directions wireless communication that could operate via ‘Aethon TUG remote’, a robot that solve the problem in logistics for the hospital that has low resources and lacking of labor. IRobot Built an Emerging is a better quality check or analyze the health of patient, Bestic Robot which is small size robot that assist the wounded soldier or authorize the prescription with efficiency, Nursing Assistant robot that taking care of hygiene. issue 162 august 2016
70 QUALITY CONTROL เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ
เครื่องทดสอบการสั่นสะเทือนระบบ ELECTRO DYNA ICS เพื่อการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ชิ้นส่วนทางวิศวกรรมทั้งโครงสร้างขนาดใหญ่ และชิ้นส่วนเครื่องจักรกลขนาดเล็ก ต้องรับภาระ กรรม (Load) ทั้งน�้าหนักของโครงสร้างเอง (Dead Load) และภาระจร (Live Load) ที่ไม่คงที่ ขึ้นกับ สภาพการใช้งาน รวมทั้งภาระกรรมที่เกิดจากสภาพ แวดล้อม เช่น ผิวถนน แรงลม (Wind Load) ภาระเหล่านี้อาจมีลักษณะไม่คงที่ (Fluctuation) และกระท�าซ�้าๆ (Repeated Load) หรือเป็นการ สั่นสะเทือน (Vibration) ในประมาณน้อยๆ แต่เกิด ต่อเนื่องยาวนาน หรือการสั่นสะเทือนที่เกิดจาก
การสั่นพ้องกับความถี่ธรรมชาติ (Resonance) ของ ชิ้นส่วนนั้นๆ ซึ่งอาจท�าให้เกิดการท�างานผิดพลาด (Malfunction) หรืออาจเกิดการแตกหักเสียหายของ โครงสร้างได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนทางวิศวกรรมขนาดใหญ่ ที่ มั ก พบปั ญ หาการเสื่ อ มสภาพจากการใช้ ง าน อาทิ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลขนาดเล็ก เช่น ชิ้นส่วน เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนระบบส่งก�าลัง ระบบช่วงล่าง หม้อน�า้ รถยนต์ พวงมาลัย แผงหน้าปัดรถยนต์ ฯลฯ
เกิดความเสียหายเนื่องจากความล้า (Fatigue) ถึงจุดวิกฤตก็เกิดการวิบัติอย่างฉับพลัน
อุณหภูมิในระหว่างวัน (Daily Thermal Expansion) การขยายตัวไม่เท่ากัน ของชิ้นส่วนในโครงสร้าง
สาเหตุ การเสื่อมสภาพ เนือ่ งจากสภาวะ แวดล้อม
เกิดการเสื่อมสภาพเมื่อชิ้นส่วนโครงสร้าง วิศวกรรมผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลานาน โดยรับภาระกรรมอย่างต่อเนื่อง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เมื่อชิ้นส่วนวิศวกรรม รับภาระกรรมเป็นระยะเวลานานๆ
การกัดกร่อน (Corrosion) การกัดเซาะ (Erosion)
เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวง ต่อชีวิตและทรัพย์สิน ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับชิ้นส่วนอุปกรณ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของ สาธารณชนจ�านวนมาก ชิ้นส่วน จึงต้องถูกออกแบบให้ต้านทานการล้า ตลอดอายุการใช้งานและต้องผ่านมาตรการ ตรวจสอบคุณภาพซึ่งก�าหนดโดยหน่วยงาน มาตรฐาน ทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ อย่างเข้มงวด เพื่อประเมินความต้านทาน การล้าจากภาระกรรมใช้งาน (Service Load)
QUALITY CONTROL
เครื่องทดสอบการสั่นสะเทือน ระบบ Electro Dynamic ของ วว. สามารถให้บริการ ทดสอบการสั่นสะเทือน ได้หลากหลายรูปแบบ
การทดสอบการ สั่นสะเทือนแบบ Sine Sweep
การทดสอบการ สั่นสะเทือนที่จุด Resonance
การทดสอบการ สั่นสะเทือนแบบ Random
การทดสอบการ สั่นสะเทือนแบบ แรงกระแทก Classical Shock
เครื่องทดสอบการสั่นสะเทือนระบบ Electro Dynamic ของ วว. ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก คือ
ชุ ด ก� า เ นิ ด ก า ร สั่ น สะเทือน (Shaker) แบบ Electro Dynamic ใน แนวดิ่ ง และแนวนอน ซึ่งมักต้องมีแท่นขยาย (Head Expander) ในแนวดิ่ ง หรื อ Slip Table ในแนวนอนด้วย เพือ่ ให้สามารถทดสอบ ได้ทงั้ สองแนวแยกอิสระ กั น เพื่ อ ความหลาก หลายในการทดสอบ
ชุ ด ค ว บ คุ ม ก า ร สั่ น สะเทื อ นและโปรแกรม การทดสอบ
ชุ ด ขยายสั ญ ญาณ Power Amplifier
ชุ ด ระบายความร้ อ น ของเครื่องทดสอบ การทดสอบการ สั่นสะเทือนรูปแบบผสม Mixed Mode
Sensor ส�าหรับควบคุม และวัดการสั่นสะเทือน (Accelerometer หรือ หัววัดความเร่ง)
71
ความเสี ย หายของชิ้ น ส่ ว นวิ ศ วกรรมที่ ต ้ อ ง รับภาระกรรมที่เกิดจากการสั่นสะเทือนสามารถ หลีกเลีย่ งได้ ตัง้ แต่ในขัน้ ตอนของการออกแบบ โดย ค�านึงถึงความสามารถของผลิตภัณฑ์ในการต้านทาน การสั่นสะเทือนได้ตลอดระยะเวลาที่รับประกันการ ใช้งาน (Durability) และโดยการค�านึงถึงโอกาสที่จะ เกิดการสั่นพ้อง ซึ่งมักเป็นกรณีที่เกิดความเสียหาย ได้มากที่สุด และถึงแม้ผลิตภัณฑ์จะถูกออกแบบ มาอย่างดี ก็ยังต้องผ่านกระบวนการทดสอบการ สั่นสะเทือนของผลิตภัณฑ์ท้ังชิ้น เพื่อพิสูจน์ความ ปลอดภัยในการใช้งาน ระบบ Electro Dynamic การทดสอบการสั่ น สะเทื อ นโดยใช้ ห ลั ก การ พลวัตทางไฟฟ้า หรือ ที่เรียกว่า ระบบ Electro Dynamic ใช้กนั แพร่หลายในห้องปฏิบตั กิ ารทดสอบ ที่ทันสมัยขนาดใหญ่ ซึ่ง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ก็มีไว้เพื่อ ให้บริการทดสอบและพัฒนาคุณสมบัติด้านความ คงทนของผลิตภัณฑ์ในหลากหลายสาขา อาทิ ใน ด้านอาวุธยุธโทปกรณ์ทางการทหาร การบินและ อากาศยาน เครือ่ งมือแพทย์ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และการสื่อสารโทรคมนาคม อุตสาหกรรมเครื่อง ปรั บ อากาศ ระบบการขนส่ ง สิ น ค้ า ทางบกและ ระบบราง ชิ้นส่วนยานยนต์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ ในภาคอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง อุ ต สาหกรรมชิ้ น ส่ ว น ยานยนต์ ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ซงึ่ เป็นอุตสาหกรรม ทีม่ มี ลู ค่าการส่งออกสูงเป็นล�าดับต้นๆ ของประเทศ อุ ต สาหกรรมประเภทนี้ มี ค วามต้ อ งการทดสอบ การสั่นสะเทือนจ�านวนมาก เพื่อรับรองคุณภาพ มาตรฐานสินค้าที่ผลิต เพื่อใช้ในประเทศและเพื่อ การส่งออกในตลาดโลก ซึ่งต้องผ่านการทดสอบ ตามมาตรฐานสากล อาทิ UN/ECE, IEC, ISO, BS, JIS, ASTM, AASHTO ฯลฯ และข้อก�าหนดเฉพาะ (Specification) ของผู้ประกอบรถยนต์และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ แต่ละรายก็มมี าตรฐานและวิธกี าร ทดสอบของตนเอง เช่น Toyota, Nissan, Mazda, General Motors, Ford Motors, Sharp เป็นต้น Source: ดร.อาณัติ หาทรัพย์ รักษาการผู้อ�านวยการห้องปฎิบัติการพัฒนาคุณสมบัติวัสดุ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติวัสดุ (ศพว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
EXECUTIVE SUMMARY When the part in engineering whatever big or small structure and machine’s part which is small size must face theirs collapse time through long-period usability that caused the degenerate. To examine the vibration test with dynamic electrical measure which called Electro Dynamic system that Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR) provided service in test and development in product’s durability potential in various categories, such as, automotive part and industrial’s equipment. Even the product has been carefully designed, it must be pass the vibration test qualify for full piece product to prove the safety in operation and guarantee the product quality. issue 162 august 2016
72 material handling
เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ
เทคโนโลยีขนถ ายวัสดุอัตโนมัติ กับกระแสการเติบโตทางเศรษฐกิจ อุปกรณ ขนถ ายวัสดุอัตโนมัติพบว าถูกใช อย างแพร หลายในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยเฉพาะด านการเก็บรักษา ควบคุม และการเคลือ่ นทีข่ องสินค า การหาประสิทธิภาพใน ด านการผลิต และภาคส วนอุตสาหกรรมยังคงมีแนวโน มเติบโตอย างเข มแข็งแข งกับภาค ของการแข งขันที่เข มข นในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี จากรายงานการวิจยั หัวขอ ‘อุปกรณขนถายวัสดุ อั ต โนมั ติ : รายงานธุ ร กิ จ เชิ ง กลยุ ท ธ โ ลก’ ที่ ถู ก ประกาศโดย Global Industry Analysts Inc. โดยระบุวา ตลาดใหมในดานอุปกรณขนถายวัสดุ อัตโนมัติ ยุโรปครองตลาดใหญที่สุดทั่วโลก ในขณะ ที่เอเชียแปซิฟกครองระดับตัวเลขอัตราการเติบโต โดยเฉลี่ยตอป (CAGR) ที่เร็วที่สุดที่ 7.1% สืบเนื่อง มาจากการเติบโตของเศรษฐกิจเอเชีย การขยายตัว ภาคการผลิต การเพิม่ ขึน้ ในผลผลิตการผลิตอยางตอ เนื่อง และการลงทุนที่เพิ่มขึ้นในดานการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานทางการผลิต MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของภาคการ ผลิต และความตองการตัวเลือกผลิตภัณฑที่ หลากหลายมากขึ้นของผูบริโภค รวมไปถึงการ แขงขันทีเ่ ขมขน กําลังเปนแรงผลักดันใหผมู สี ว น เกี่ยวของในตลาดปรับใชเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อ ใหกระบวนการมีประสิทธิภาพสูงสุด แนวโนม เทคโนโลยี เชน การทํางานอัตโนมัติดวยหุน ยนต และโรงงานอัจฉริยะ Smart Factories/IoT กําลังเติมเชือ้ ไฟใหกบั จุดแข็งของเทคโนโลยีการ ขนถายอัตโนมัติ
ตลาดโลกวางเป าหมายการเติบโต ของอุปกรณ ขนถ ายวัสดุอัตโนมัติไว ที่ 3.4 ร อยล านดอลลาร สหรัฐ ภายในป พ.ศ. 2565 ซึ่งจะถูกขับเคลื่อนโดย
แรงกดดันจากการเติบโต เพ�่อปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการผลิต และยังผลให เกิด การขยายตัวในบทบาทของ เทคโนโลยีอัตโนมัติ
material handling 73
บทบาทสําคัญของเทคโนโลยีวัสดุขนถ ายอัตโนมัติในอนาคต การพัฒนาด านอุตสาหกรรมส งออกในตลาดที่กําลังพัฒนา กําลังพยายามเพิ่มแรงกดดันให ภาคส วนการผลิตรักษาความ สามารถในการแข งขันในการค าโลก ด วยการผลิตสินค าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงในต นทุนทีต่ าํ่ ลง ดังนัน้ ธุรกิจกําลังรับเทคโนโลยีหลายๆ ด าน เช น การขนถ ายวัสดุอัตโนมัติเพื่อทําให กระบวนการผลิตง ายขึ้น ปรับปรุงผลผลิต และลดต นทุน โดยการขนถ ายวัสดุ อัตโนมัตไิ ด โฟกัสไปทีแ่ ทนทีก่ ารใช แรงงานมนุษย โดยระบบดังกล าว เป นป จจัยเชิงบวกทีม่ อี ทิ ธิพลต อรูปแบบการปรับใช ในตลาด
การเคลื่อนย าย
การคัดเลือก
การจัดระเบียบ
การนําวัสดุ กลับมาที่เดิม
ลดต นทุนแรงงาน
เทคโนโลยีการ ขนถ ายวัสดุอัตโนมัติ
แรงงานคน
ปรับปรุงระบบ การทํางานให ดีขึ้น มีความปลอดภัย
ถูกแทนที่
การเติ บ โตของจํ า นวนโรงงานการผลิ ต ทั่ ว โลกอย า งต อ เนื่ อ ง การ เปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรแรงงาน รวมถึงการมุงเนนสภาพการ ทํางานที่เพิ่มความปลอดภัย ทําใหการขนถายวัสดุดวยแรงงานคนมีความ ซับซอนเพิ่มขึ้น กระตุนความตองการอุปกรณขนถายวัตถุอัตโนมัติสูงขึ้น นอกจากนี้ ความตองการยังเกิดจากความกาวหนาในดานอิเล็กทรอนิกส และเทคโนโลยีอนิ เตอรเน็ตไรสาย ในระยะยาว เทคโนโลยีทมี่ คี วามกาวหนา เชน ยานยนตไรคนขับ หุนยนต การควบคุมอยางอิสระ และอุปกรณ คอมพิวเตอรขนาดเล็กทีส่ ามารถติดตัง้ ไดตามสวนตางๆ ของรางกายมนุษย ถูกคาดวาจะเปนตัวขับเคลื่อนคุณคาทางการคาของระบบขนถายวัสดุ อัตโนมัติใหเติบโตพรอมกับเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาใหมีศักยภาพสูงยิ่งขึ้น
Source: http://goo.gl/KyvbUw EXECUTIVE SUMMARY
From the research of Global Industry Analysts Inc. reported that new market in automatic material transferring equipment was leading by European which owned the market mostly while Asia Pacific hold the fastest growth average per year (CAGAR) by 7.1%. The continuous growth of manufacturing factory all around the world, labor population change and also including safety improvement for operating area which make material transferring by human is more complicated and increasing the need of automatic material transferring equipment while the technology has been developing to operate with higher potential.
issue 162 august 2016
74 TECH FOCUS เรื่อง: นเรศ เดชผล
VR TECHNOLOGY อนาคตสภาพแวดล้อม 360 องศาในภาคธุรกิจ ต้องยอมรับว่าปีนี้เป็นปีทองของ เทคโนโลยี VR (Virtural Reality Technology) แม้ในช่วงแรก ของการน�าเทคโนโลยีนี้ไปใช้จะมุ่งไปในเรื่องของ ความบันเทิงส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ เกมคอมพิวเตอร์ เกมคอนโซล หรือวิดีโอออนไลน์ แต่อกี ไม่นานเชือ่ แน่วา่ เทคโนโลยี VR จะถูกน�าไปใช้ ในเชิงธุรกิจอย่างแน่นอน ซึ่งปัจจุบันก็เริ่มมีให้เห็น กันมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งการน�าเทคโนโลยี VR ไปใช้ใน ธุรกิจก่อสร้าง ตกแต่งบ้าน การคมนาคม ทางการ แพทย์ หรือใช้ในงานส�าคัญทางการทหาร เป็นต้น และในส่วนของการน�ามาใช้ในวงการอุตสาหกรรม นั้นก็ได้มีการน�ามาใช้กันมากขึ้นและเชื่อว่าจะได้รับ ความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาอันใกล้นี้ เทคโนโลยี VR คืออะไร ก่อนที่จะเข้าสู่หลักใหญ่ใจความของเทคโนโลยี VR ผู้อ่านหลายท่านที่ยังไม่คุ้นเคยกับเทคโนโลยีนี้ ก็อาจจะสงสัยกันว่าแท้จริงแล้วเทคโนโลยี VR คือ อะไรกันแน่ ? ในบางกรณีผู้ใช้ยังสามารถที่จะมีปฏิสัมพันธ์ เนื้อหาหรือสภาพแวดล้อม VR นั้นได้ เช่น ในเกม คอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนเทคโนโลยี VR นอกจาก MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ผู้ใช้จะมองเห็นสภาพแวดล้อมได้รอบทิศทางแล้ว ยังสามารถที่จะกดเล่นและต่อสู้กับศัตรูในเกมได้ เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องผู ้ ส ร้ า ง เนื้อหาหรือผู้สร้างสภาพแวดล้อม VR (Publisher) ว่าจะก�าหนดให้ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์เนื้อหา หรือสภาพแวดล้อม VR นั้นได้ด้วยหรือไม่ อย่างไร VR is the Next Platform อนาคตของเทคโนโลยี VR ยิ่งชัดเจนมากขึ้น เมื่อ Mark Zuckerberg เจ้าของ Facebook.com ผู้ ให้บริการ Social Media อันดับหนึ่งของโลกได้ออก มากล่าวถึงเทคโนโลยี VR ในเวทีงานแถลงข่าวของ Samsung ในงาน MWC 2016 เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ว่า “VR is the Next Platform” ซึ่งเห็นได้ ชัดว่าเทคโนโลยี VR ก�าลังจะเข้ามามีบทบาทต่อชีวติ ประจ�าวันของผู้ใช้ (User) และจะยิ่งมีบทบาทอย่าง มากกับผู้สร้างเนื้อหาหรือผู้สร้างสภาพแวดล้อม VR (Publisher) ในที่นี้ ก็คือ ผู้ให้บริการหรือเจ้าของ กิจการนั่นเอง อันทีจ่ ริงแล้วก่อนหน้านัน้ ทาง Facebook ได้จดั ตั้งทีม Social VR พร้อมทั้งทุ่มงบประมาณมุ่งเป้า ไปกั บ โปรเจกต์ เ ทคโนโลยี VR กั น อย่ า งเต็ ม ที่
VR หรือ
Virtural Reality เป็นเทคโนโลยีที่จะท�ำให้ผู้ใช้ สำมำรถเข้ำไปอยู่ในสภำพแวดล้อม ในแบบ 360 องศำ ที่ถูกสร้ำงขึ้นได้ ซึ่งสภำพแวดล้อม ดังกล่ำวจะเป็นเรื่องของมุมมอง ที่ผู้ใช้ (User) สำมำรถมองเห็นได้ รอบด้ำนในแบบ 360 องศำนั่นเอง
TECH FOCUS 75
ณ ปัจจุบันผู้ใช้งาน Facebook หลายคนก็คงจะได้ เห็นบริการภาพถ่ายสถานที่แบบ 360 องศาปรากฏ อยู่ใน Timeline กันไปบ้างแล้ว ซึ่งนั่นเป็นเพียงจุด เริ่มต้นของโปรเจกต์ VR เท่านั้น การประยุกต์ใช้ VR ในเชิงธุรกิจ การน�าเทคโนโลยี VR มาประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจ ปัจจุบันมีตัวอย่างของการน�าไปใช้ค่อนข้างมาก ซึ่ง รูปแบบของการน�าเสนอเนื้อหาหรือสภาพแวดล้อม ในแบบ VR นั้นแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของ ธุรกิจนั้นๆ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี VR จะไม่สัมฤทธิ์ผล เลย หากขาดซึ่งอุปกรณ์ที่เป็นหัวใจส�าคัญของการ เข้าถึงเทคโนโลยีนี้ ซึง่ เป็นอุปกรณ์ทจี่ ะน�าพาผูใ้ ช้เปิด ประตูเข้าไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมแบบ VR ได้ และสิ่งนี้ ก็คือ ‘VR Headset’ หรือที่ผู้ใช้งานชาวไทยมักเรียก กันติดปากว่า ‘แว่น VR’ นั่นเอง
VR Headset หัวใจส�ำคัญในกำร เข้ำถึงเทคโนโลยี VR Headset แบบ Tethered VR Headset ประเภทนี้จะท�ำงำนร่วมกันกับ คอมพิวเตอร์หรือเครื่องเกมคอนโซลเป็นหลัก และจะเป็น VR Headset ที่น่ำจะถูกน�ำไปใช้ ในงำนเชิงธุรกิจ ตัวอย่ำงของ VR Headset แบบ Tethered ได้แก่ Oculus Rift ของค่ำย Facebook , Vive ของค่ำย HTC หรือ Sony PlayStation VR เป็นต้น
VR Headset แบบ Mobile VR Headset ที่ท�ำงำนร่วมกันกับสมำร์ทโฟน ที่รองรับกำรแสดงภำพแบบ VR เมื่อเทียบกัน กับ Tethered แล้ว VR Headset ประเภทนี้มี รำคำถูกกว่ำมำก โดยมีรำคำเริม่ ต้นตัง้ แต่หลัก ร้อยบำทขึ้นไป
ธุรกิจเกม ในช่วงปีนี้ถือได้ว่ำเทคโนโลยี VR ได้ท�ำให้เกิด กำรเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญขึ้นในวงกำรธุรกิจเกม คอมพิวเตอร์และเกมคอนโซล โดยเทคโนโลยี VR ได้ ช่วยให้เกมมีสภำพแวดล้อมแบบสำมมิติ ที่มีมุมมอง แบบ 360 องศำที่สมจริงมำกขึ้นกว่ำเดิม สำมำรถ สร้ำงอรรถรสให้แก่ผเู้ ล่นได้อย่ำงประทับใจ ประหนึง่ ว่ำ ตัวผูเ้ ล่นได้เข้ำไปอยูใ่ นเนือ้ หำของเกมหรือเป็นส่วนหนึง่ หรือตัวละครเกมนั้นๆ เลยทีเดียว สำมำรถดูตัวอย่ำง ของกำรน�ำเทคโนโลยี VR จำกในลิงค์ https://goo. gl/2t3K8F
ธุรกิจกำรเรียนกำรสอน มีกำรน�ำเทคโนโลยี VR ไปใช้ ในระบบกำรเรียน กำรสอนกั น มำกขึ้ น เรื่ อ ยๆ แน่ น อนว่ ำ รู ป แบบ ของสื่ อ แบบ VR จะท� ำ ให้ ผู้ เ รี ย นเข้ ำ ใจในบทเรี ย น มำกยิ่ ง ขึ้ น กู รู ด ้ ำ นไอที ห ลำยส� ำ นั ก ฟั น ธงว่ ำ ใน อนำคตอั น ใกล้ นี้ รู ป แบบกำรเรี ย นกำรสอนจะ เปลี่ยนไปแบบก้ำวกระโดด เมื่อน�ำเทคโนโลยี VR เข้ำมำใช้ ที่ส�ำคัญ คือ จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีควำม สนใจมำกขึ้ น และเข้ ำ ใจในบทเรี ย นลึ ก ซึ้ ง กว่ ำ เดิ ม ท่ำนผูอ้ ำ่ นสำมำรถเข้ำดูตวั อย่ำงของกำรน�ำเทคโนโลยี VR ไปใช้ในระบบกำรเรียนกำรสอน ได้ที่นี่ https:// goo.gl/Tfyhd
ส�าหรับผู้ใช้ง านที่ต้องการทดลองเทคโนโลยี VR ก็ ส ามารถหามาทดลองกั น ก่ อ นได้ ค ่ อ นข้ า ง ง่าย ตัวอย่างของ VR Headset แบบ Mobile ได้แก่ Google Cardboard, LG 360VR หรือ Gear VR ของ ค่าย Samsung เป็นต้น
ธุรกิจตกแต่งบ้ำน IKEA เป็นตัวอย่ำงของกำรน�ำเทคโนโลยี VR มำช่วยในธุรกิจได้ประสบผลส�ำเร็จมำกที่สุด จำก ตัวอย่ำงในวิดีโอ https://goo.gl/jVE8fw เมื่อเข้ำสู่ สภำพแวดล้อมแบบ VR ก็จะสำมำรถมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งต่ำงๆ ในนั้นได้ โดยในวิดีโอลูกค้ำสำมำรถ ที่ จ ะจั ด วำงสิ่ งของเครื่ อ งใช้ ต ่ ำ งๆ ในครั ว ได้ ต ำม ต้องกำร ซึ่งจะช่วยให้นึกภำพออกว่ำจะเป็นอย่ำงไร หำกสิ่งของเครื่องใช้ ได้ถูกจัดวำงในต�ำแหน่งต่ำงๆ ตำมที่ต้องกำร ก่อนที่จะซื้อสินค้ำจำกทำงร้ำนไป บ้ำน และแน่นอนว่ำสิ่งนี้จะช่วยลดข้อผิดพลำดลงไป ได้มำกเลยทีเดียว
ธุรกิจสำยกำรบิน อันทีจ่ ริงแล้วธุรกิจสำยกำรบินถือเป็นธุรกิจกลุม่ แรก ๆ ที่ได้น�ำเทคโนโลยี VR เข้ำมำใช้ โดยมุ่งไปที่ กำรฝึกอบรมกำรบินส�ำหรับนักบินเป็นหลัก ปัจจุบัน ได้มีน�ำเทคโนโลยี VR มำช่วยฝึกแอร์โฮสเตสเพื่อ ศึกษำและวำงแผนในกำรให้บริกำรผู้โดยสำรอีกด้วย ดังตัวอย่ำง https://goo.gl/LHNcPN
VR เชื่อแน่ว่าในอนาคตเทคโนโลยี VR จะถูกน�ามา ใช้ในด้านอุตสาหกรรมอย่างแน่นอน หากบุคลากรใน องค์กรได้ทดสอบทดลองใช้งานก่อนก็ยอ่ มจะเห็นถึง ข้อแตกต่างในอุปกรณ์ ซึ่งสามารถที่จะน�าข้อมูลมา ช่วยเตรียมการหรือเลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับ เป้าหมายขององค์กรได้
EXECUTIVE SUMMARY Virtual Reality (VR) is a technology that allow user to get into 360o environment which was created by the user. Besides the availability of all direction perceive in created environment, it could be interactive with the subject or environmental in that VR which depend on the objective and requirement for usability’s requirement. But the VR technology won’t be achieved anything without VR headset. In the near future, VR will be applied to the industrial unavoidably, particular in gaming business, decoration business, academic or study business and aviation. If the staff could try the tools or the examine it first, they could understand the tools and their difference which lead to data preparation or choose the right tool to be suitable with organization’s target. issue 162 august 2016
76 electronic & electrical
เรียบเรียง : ภิญญาภรณ ชาติการุณ
เช็คสถานะเครื่องจักร ระบบไฟฟ า และสภาพแวดล้อมพร้อมรับ 4.0
โลกการผลิตจริงในทางอุตสาหกรรมถูกเชื่อมต่อ Cyber Space ผ่านเครือข่ายออนไลน์และอินเทอร์เน็ตทั้งไร้ สายและมีสาย จนได้ชื่อว่าเป็นยุค Internet of Things (IoT) ที่ไม่ใช่เพียงแค่สมองกลฝ งตัวที่มีแต่ความสามารถ ในการคิดค�านวณ ประมวลผล และหาทางออกของป ญหาได้เองเท่านั้น หากแต่ยังมีความสามารถในการเชื่อม ต่อตัวเองเข้ากับโครงข่ายการสื่อสารต่างๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา (Anywhere Anytime)
9
องค ประกอบ เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ก้าวสู ‘INDUSTRY 4.0’
BIG DATA
SIMULATION
มีระบบ ICT ที่สามารถวิเคราะห์ ข้อมูลที่มีความซับซ้อน ซึ่งมาจากหลายๆ แหล่งได้อย่างถูกต้องแม่นย�า ซึ่งเป็นการ ช่วยเพิ่มความสามารถในการตัดสินใจ และลดการผลิตที่ผิดพลาดลงได้
มีระบบการจ�าลองกระบวนการผลิต ทุกขั้นตอนเพื่อพยากรณ์การผลิตได้อย่าง แม่นย�า เป็นการลดต้นทุน และลดเวลา ในการผลิตจริงได้
AUTONOMOUS
ROBOTS
ระบบอัตโนมัติจะสามารถส่งผ่านข้อมูลกัน เสมือนหนึ่งสามารถคุยกันได้ผ่านระบบ โครงข่าย (Network) ซึ่งอาจสามารถลด ขั้นตอนการท�างานที่ซับซ้อนลง ช่วยให้ลดต้นทุนการผลิตลงได้
SYSTEM INTEGRATION
INTERNET OF THINGS
ทุกๆ ระบบภายใต้ระบบ Industry 4.0 จะถูกเชื่อมโยงกันด้วยอินเตอร์เน็ต ที่ถูก ออกแบบให้เหมาะกับการท�างานเฉพาะจุด และการรวมข้อมูลการท�างาน เข้าสู่ศูนย์กลาง
กระบวนการเริ่มผลิตจนกระทั่งสินค้า ถึงลูกค้า ทั้งในและนอกองค์กร จะถูก Link ด้วยระบบ IT อย่างเต็มศักยภาพ เสมือนหนึ่งรวมทุกๆ ระบบเข้าด้วยกัน
ดังนั้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่ทุกวันนี้ เครื่องมือ เครื่องจักรต่างๆ ในโรงงาน อุตสาหกรรม จะเชื่อมต่อและสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ ตาม มาตรฐานการส่งข้อมูลของประเภทอุปกรณ์นนั้ ๆ และแน่นอนอนาคตทีล่ า�้ สมัย ของหุ่นยนต์ในแนวทางของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - AI) ก็อาจ จะเข้ามามีบทบาทในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตในไม่ชา้ เมื่ อ สภาพแวดล้ อ มในการท� า งานของกระบวนการผลิ ต ในโรงงาน อุตสาหกรรมเปลีย่ นไป เครือ่ งจักร ระบบไฟฟ้าและสภาพแวดล้อมต้องมีความ พร้อม เพือ่ รองรับการเปนโรงงานอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคอุตสาหกรรม 4.0 อย่างเต็มรูปแบบ ระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมก็ต้องได้รับการยกระดับ ให้มีความพร้อม สามารถที่จะรองรับเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการผลิตได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นิยาม ‘INDUSTRY 4.0’ การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4 สินค าจะคิดหาแนวทางการผลิตของตัว สินค าเองโดยอิสระ เครือ่ งจักรและวัตถุดบิ จะมีระบบการตรวจจับ ระบบการ สื่อสารจะติดอยู กับตัวสินค า โดยมีจุดสําคัญคือ ทั้งเครื่องจักรและสินค า สามารถสือ่ สารกันเองและควบคุมซึง่ กันและกันได โดยใช ระบบคอมพิวเตอร และไอทีเป นหัวใจหลักในการควบคุมกระบวนการผลิต
electronic & electrical
THE CLOUD
CYBERSECURITY มีการเชื่อมโยงของข้อมูลต่างๆ ทั้งภายใน และออกสู่ภายนอกองค์กร ดังนั้น ความจ�าเป็นของระบบป้องกันข้อมูล ด้านระบบ ICT จึงมีความส�าคัญ เป็นอย่างสูง
AUGMENTED REALITY
77
ADDITIVE
มีการใช้ข้อมูลเป็นจ�านวนมาก ที่ต้องใช้ ร่วมกันทั้งในองค์กรเดียวกัน หรือเชื่อม โยงข้อมูลไปยังองค์กรภายนอก จึงมี ความจ�าเป็นต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล ด้าน ICT ที่ดี
MANUFACTURING เป็นระบบที่ต้องการสร้างผลผลิตตาม ความต้องการของลูกค้าเป็นส�าคัญ จึงต้องมีการใช้ออกแบบระบบการผลิต เพิ่มเติม เพื่อตอบสนองลูกค้า ได้ทุกกลุ่ม
สามารถแสดงข้อมูลได้อย่างหลากหลาย ผ่านอุปกรณ์แสดงผลแบบพกพา เช่น ข้อมูลเครื่องจักร ข้อมูลคู่มือการท�างาน ข้อมูลขั้นตอนการซ่อมบ�ารุง ฯลฯ
ภายใต้ ‘INDUSTRY 4.0’ Uninterrupting Power Supply (UPS)
ทั้งนี้ โรงงานอุตสาหกรรมยุค Industry 4.0 มีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า Smart Device จ�านวนมาก อาจส่งผลให้มีปัญหาด้าน Power Quality (Harmonics) เกิด ขึ้นได้ ดังนั้น ในแง่ของผู้ดูแลรับผิดชอบระบบไฟฟ้าควรมีความรู้ความเข้าใจใน การเลือกใช้อุปกรณ์และแนวทางป้องกันอุปกรณ์เหล่านี้ เพื่อป้องกันปัญหาการ เดินสะดุดของระบบไฟฟ้าเมื่อใช้งาน Source: เอกสารประกอบการบรรยาย โดย รศ.ดร.ธเนศ ธนิตย์ธีรพันธ์, D.Eng. in Electrical Engineering, NIT, Japan ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี EXECUTIVE SUMMARY In present days, the machinery in industrial factory can be linked and transfer the information between the unit according to the transferring standard of that equipment and it’s leading to robot advance in artificial intelligence or so called AI which could take a part in manufacturing sector soon. When the operation environment in manufacturing process has changed into industry 4.0 completely, the electrical system for industrial factory must be prepared for supporting new equipment, machinery and also various tools that operating in manufacturing process with safe and capability. Thus, the person who are in charge for electricity system should understand about equipment selection and maintenance procedure for its to prevent the unstable state of electricity system while operating.
Variable Speed Drive (VSD) Personal Computer VSD based Air Compressor Personal Computer Inverter Based Air Conditioner PLC Robots
issue 162 august 2016
78 INDUSTRIAL ROBOTICS เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์
CO bot นวัตกรรมหุ่นยนต์อัจฉริยะ ที่ท�ำงำนร่วมกับมนุษย์
ปัจจุบันนวัตกรรมหุ่นยนต์ได้เข้ามามีบทบาทกับวงการอุตสาหกรรมมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จากรายงานของสหพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ (International Federation of Robotics) เกีย่ วกับหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมในปี พ.ศ. 2558 ทีผ่ า่ นมา ปรากฏว่ายอดขายหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมทัว่ โลกเติบโตขึน้ ราวๆ 15% เมือ่ เทียบกับ ปี พ.ศ. 2557 ซึ่งยอดขายส่วนใหญ่เกิดมาจากความต้องการทางฝั่งอุตสาหกรรมยานยนต์ ในส่วนของอุตสาหกรรมขนาดเล็กและกลาง (SMEs) ทีน่ า่ สนใจ ก็คอื นอกจากแขนกลหุน่ ยนต์ทใี่ ช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์แล้ว เริม่ มีหนุ่ ยนต์ชนิดทีส่ ามารถท�างานร่วมกับมนุษย์ได้ ทีเ่ รียกว่า Cobot (Collaborative Robots) เข้ามาในงานอุตสาหกรรม ซึง่ Cobot มีความปลอดภัยต่อมนุษย์ มีนา�้ หนักเบาขึน้ สามารถท�างานร่วมกับมนุษย์ได้อย่างปลอดภัย ระบบเซนเซอร์ทลี่ า�้ สมัย ท�าให้หุ่นยนต์เคลื่อนไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังสามารถท�างานเสี่ยงอันตรายและงานอื่นที่มนุษย์ไม่เต็มใจท�าได้อีกด้วย KUKA LBR İİwa
www.rethinkrobotics.com
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Sawyer นวัตกรรมแขนกลทีส่ ามารถช่วยงานมนุษย์ ในหลายๆ รูปแบบ เสมือนกับเป็นมือไม้ของเราเอง ถูก สร้างและพัฒนามาอย่างยาวนานโดยบริษัท Rethink Robotics ซึ่ ง สามารถน�า มาใช้งานได้จริงในโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ความสามารถของมันนั้นเรียกได้ว่าชาญฉลาดเข้า ขั้นอัจฉริยะ มันสามารถบรรจุแพคเกจ น�าสิ่งของรูปทรง ต่างๆ ตั้งแต่ชิ้นเล็กๆ ไปจนชิ้นใหญ่ๆ เพื่อน�ามาจัดวางลง ในกล่องได้อย่างแม่นย�า และเป็นระเบียบเรียบร้อย พร้อม ทัง้ ยังสามารถป้อนค�าสัง่ เพือ่ ควบคุมการใช้งานในรูปแบบ อื่นๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นการสั่งให้ช่วยเลื่อนเปิด-ปิดประตู ยก-วาง เคลือ่ นย้ายสิง่ ของต่างๆ หรือจะสัง่ ให้รนิ น�า้ ชงชา กาแฟก็สามารถท�าได้ นอกจากนี้ ยั ง ได้ ถู ก น� า ไปทดลองใช้ ใ นวงการ อุตสาหกรรมขนส่งยักษ์ ใหญ่อย่าง DHL อีกด้วย
www.kuka-robotics.com
Rethink Robotics
LBR ย่อมาจาก ‘Leichtbauroboter’ (ภาษาเยอรมันแปลว่า หุ่นยนต์น�้าหนัก เบา) และ iiwa ย่อมาจาก ‘ผู้ช่วยงานอุตสาหกรรมอัจฉริยะ (Intelligent Industrial Work Assistant)’ LWR iiwa พลิกโฉมความเป็นไปได้ของหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม เป็นครัง้ แรกทีม่ นุษย์ และหุน่ ยนต์จะท�างานร่วมกันอย่างใกล้ชดิ ส�าหรับงานทีต่ อ้ งการความไวในการตรวจจับ สูง ไม่จา� เป็นต้องใช้รวั้ นิรภัย ด้วยรูปแบบการใช้งานใหม่ทคี่ ดิ ค้นขึน้ พร้อมด้วยแนวทาง ใหม่ที่คุ้มค่าต่อการลงทุนมากยิ่งขึ้น และมีประสิทธิภาพสูงสุด หุน่ ยนต์ประสานงาน LBR iiwa มีวางจ�าหน่ายสองรุน่ โดยมีความสามารถในการ รับน�้าหนักบรรทุก 7 และ 14 กก.
INDUSTRIAL ROBOTICS 79
Universal Robot แขนกล UR5 และ UR10 สามารถยกน�้าหนักได้ 5 กิโลกรัมและ 10 กิโลกรัม ตามล�าดับ จะไม่สร้างอันตรายให้แก่พนักงานทีท่ า� งานอยูใ่ กล้ชดิ และไม่จา� เป็นต้องติดตัง้ แผ่นป้องกัน เพราะ ทันทีที่ตัวพนักงานกระทบกับแขนหุ่นด้วยความแรงเกิน 150 นิวตัน แขนหุ่นจะหยุดท�างานโดย อัตโนมัติ นอกจากนี้ ยังสามารถเคลือ่ นย้ายเปลีย่ นต�าแหน่งไปตามจุดต่างๆ ของพืน้ ทีก่ ารผลิตได้ สะดวกง่ายดาย แค่เสียบเชื่อมต่อแล้วท�างาน รวมทั้งมีหน้าจอควบคุมการใช้งานแบบกราฟิก ที่ส่ังงานใช้สะดวก ท�าให้พนักงานที่ไม่มีประสบการณ์ด้านโปรแกรมมิ่งมาก่อนสามารถติดตั้ง และสั่งงานแขนหุ่นยนต์ ได้สะดวก UR5 และ UR10 สามารถน�าไปใช้งานได้หลายกลุม่ อุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมโลหะ ยางและพลาสติก ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ อาหารและเครื่องดื่ม ยา และเภสัชกรรม www.universal-robots.com
Fanuc CR-35İA
www.fanuc.eu
ABB Yumi
Source : Financial Times, https://www.blognone.com http://blog.robotiq.com/ what-are-the-best-collaborative-robots
YuMi มีความหมายถึง การท�างานร่วมกันของ ‘คุณและฉัน’ เป็นหุ่นยนต์ที่สามารถท�างานร่วมกันกับมนุษย์ มีความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกและการเห็น ตัวแขนหุ่นยนต์หุ้มด้วยวัสดุกันกระแทกมีความนุ่ม และมาพร้อมกับเทคโนโลยีการตรวจจับแรง เพื่อเพิ่ม ความปลอดภัยในการท�างานร่วมกันของมนุษย์กับ YuMi ความปลอดภัยที่ถูกออกแบบและสร้างขึ้นใน YuMi จะท�าให้หุ่นยนต์รุ่นนี้สามารถท�างานร่วมกับมนุษย์โดยไม่มีรั้วกัน YuMi ได้รับการพัฒนาเพื่อตอบสนองความยืดหยุ่นและคล่องตัวต่อการผลิตของอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ในเบื้องต้น จากนั้นจะถูกพัฒนาเพื่อให้ครอบคลุมถึงภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม อื่นๆ หุ่นยนต์ YuMi จะเหมาะกับอุตสาหกรรมการผลินชิ้นส่วนพลาสติก และอิเล็กทรอนิกส์ และจะเข้าไป ให้บริการลูกค้าทดลองใช้งานตามความต้องการของลูกค้า
www.abb.com
FANUC Robot CR-35iA แขนกล Cobot ขนาดใหญ่ ทีส่ ามารถยกของหนักได้ ถึง 35 กก. ซึง่ นับเป็นครัง้ แรกในวงการอุตสาหกรรมทีห่ นุ่ ยนต์ขนาดใหญ่ สามารถ ท�างานร่วมกับมนุษย์ ในพื้นที่เดียวกันได้โดยไม่ต้องใช้รั้วกั้น ผิวยางนุ่มสีเขียว ทีห่ มุ้ แขนของหุน่ ยนต์ ท�าให้เกิดความปลอดภัย ได้รบั การออกแบบทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือ สูงเช่นเดียวกับหุ่นยนต์ของ Fanuc รุ่นอื่นๆ และแขนกลขนาดใหญ่จะหยุดการ ท�างานทันทีเมื่อสัมผัสกับมนุษย์ ทั้งยังได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 10218-1
EXECUTIVE SUMMARY Cobot (Collaborative robots) is a robot that can cooperate safely and steady with human. The up to date sensor has improved the robot movement and stop the operation by itself when touch or detected the force from human. Cobot is the innovation that draws attention from many industrial sectors extremely. It’s famous because it can cooperate with human to do a job together without fence which is different from former generation robotics and synchronize with human safely in working, also do some insecure job instead of human. In present, many corporations are starting to produce Cobot for industrial use, for example, Sawyer by Rethink Robotics, KUKA LBR iiwa, Universal Robot, ABB Yumi and FANUC Robot CR-35iA. issue 162 august 2016
80 FOOD PROCESSING เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ปัจจัย!สีย่ ง
ต่อการปนเปื้อนของเชื้อโรค ในอุตสาหกรรมอาหาร
ปัญหาที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์หรือจุลชีพนั้นถือ เป็นปัญหาทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ของความเจ็บป่วยทีเ่ กิดจาก อาหารหรือที่เรียกกันว่า ‘อาหารเป็นพิษ’ ปัญหา เหล่านี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้โดยทั่วไป แต่ส�าหรับ อุตสาหกรรมอาหารแล้วถือเป็นเรื่องที่มีความเสี่ยง สูงและมีความร้ายแรงอย่างมาก สร้างความเสียหาย ทางธุรกิจได้ทั้งชื่อเสียงและการลงทุน การจัดการความปลอดภัยทางอาหารนั้น ส่วน ใหญ่จะเป็นการใช้ HACCP ซึ่งเน้นไปที่การตรวจ สอบและระบุขอบเขตของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จากปัญหาการปนเปือ้ นหรือการเกิดขึน้ ของจุลนิ ทรีย์ ที่เป็นภัยได้ ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องระบุรายละเอียด ของความเสี่ยงให้ได้มากที่สุด ซึ่งบางครั้งเป็นเรื่องที่ ยากล� า บากหากจะลงรายละเอี ย ดให้ ไ ด้ ภ ายใต้ ขอบเขตที่กว้างขวาง การสร้างความเข้าใจพื้นฐานที่ เกีย่ วข้องกับจุลนิ ทรียท์ เี่ ป็นภัยต่ออาหารนัน้ ถือเป็น เรือ่ งส�าคัญทีต่ อ้ งใช้ควบคูไ่ ปกับกระบวนการ HACCP จุลชีววิทยาและความปลอดภัยทางอาหาร จุลชีววิทยานั้นเป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาสิง่ มีชวี ติ ขนาดเล็กทีไ่ ม่อาจมองเห็นได้ดว้ ย ตาเปล่า ซึ่งสิ่งมีชีวิตพวกนี้ล้วนมีผลกระทบต่อการ ด�ารงชีวิตของมนุษย์ทั้งในด้านสุขภาพ และการผลิต อาหาร พวกมันสามารถสร้างปัญหาและโรคต่างๆ ให้ เกิดขึน้ ได้ ไม่วา่ จะเป็นจุลชีพทีม่ ปี ระโยชน์หรือผลเสีย ต่อร่างกาย พวกมันต้องการสภาวะและองค์ประกอบ ที่เหมาะสมในการเติบโต ซึ่งจะแตกต่างออกไปตาม แต่ละประเภทของจุลินทรีย์ นอกจากนี้ เหล่าจุลชีพยังสามารถแบ่งออกได้ เป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส และยีสต์ หรือโมลด์ โดยสามารถเคลื่อนย้ายผ่านอาหารและ น�้า รวมถึงมีระยะเวลาการด�ารงชีวิตที่หลากหลาย ตัง้ แต่เป็นชัว่ โมงไปจนถึงเป็นปีในบางกรณี ซึง่ ไม่อาจ มีการรับประกันใดๆ ทีแ่ ม่นย�าและยืนยันได้วา่ อาหาร ทีก่ นิ นัน้ ปลอดการปนเปือ้ นได้ 100% ซึง่ ในส่วนนีส้ งิ่ ที่สามารถท�าได้ คือ การระบุระดับ ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและ หาทางลดความเสี่ยงลง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
องค์ประกอบหลักที่มีผลต่อการเติบโตของจุลินทรีย์ ในอาหาร อุณหภูมิ
pH (ค่าความ เป็นกรดเป็นด่าง)
อาหาร
ความชืน้
ออกซิเจน (ส�าหรับแบคทีเรีย บางชนิด)
ปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิดการปนเปือ้ น ในอุตสาหกรรมอาหาร ดิน, น�้า
อากาศ และฝุ่นผง
สิ่งที่มาจากทางเดิน อาหารของมนุษย์ หรือสัตว์
อาหารสัตว์ หนังสัตว์
อุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร เช่น จาน ชาม หม้อ
ผู้จัดหาจัดส่งอาหาร
อัตราการเจริญเติบโตของสิง่ มีชวี ติ จ�าพวกจุลชีพ สามารถแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ Lag Phase: ช่วงที่จุลชีพปรับตัวเข้ากับสภาพ แวดล้อมใหม่ๆ ยังไม่ได้สร้างเอนไซม์ที่ส่งผลเสียต่อ Exponential Phase: ช่วงที่พบการเพิ่มจ�านวน อาหาร หนึ่งในกระบวนวิธีการป้องกันอาหารนั้น ของจุลชีพมากที่สุด ขึ้นกับรูปแบบของอาหาร สามารถยืดช่วงระยะเวลานี้ออก และเงื่อนไขอื่นๆ จุลชีพส่วนใหญ่ เพื่อถนอมอาหารก็ได้ จะมีช่วงเวลาการเติบโต ประมาณ 20 นาที Death Phase: ช่วงที่พบจ�านวนของ Stationary Phase: ช่วงที่อาหารนั้นๆ จุ ล ชี พ น้ อ ยลง แปรผั น ตามอาหารที่ ค งเหลื อ อยู ่ เริ่มเสีย หรือสารเคมที่ใช้ ในการยับยั้งการเติบโต เป็นการแข่งขันในการเอาชีวิตรอดกันเอง ถูกสร้างขึ้นมา
FOOD PROCESSING
Stationary phase Number of cells (log)
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเติบโต ของจุลินชีพในอาหาร ในที่นี้แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ Intrinsic Factors หรือปัจจัยที่มาจากตัวอาหารเอง เช่น กายภาพ สารเคมี และลักษณะโครงสร้างพื้น ฐานอาหารนั้นๆ และ Extrinsic Factors หรือปัจจัย ภายนอก เช่ น อิ ท ธิ พ ลขององค์ ป ระกอบสภาพ แวดล้อม ซึ่งโดยมากมักจะสามารถควบคุมได้ โดย จะแสดงข้อมูลปัจัยที่สามารถควบคุมได้ดังต่อไปนี้ 1. อุณหภูมิที่ใช้ในการจัดเก็บอาหาร ส�าหรับ อาหารที่เสียได้ง่ายควรเก็บรักษาภายใต้อุณหภูมิที่ ต�่ากว่า 5oc และแบคทีเรียบางชนิดนั้นสามารถทน ต่ออุณหภูมิต�่าได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังสามารถ ปรับตัวเพื่ออยู่รอดภายใต้อุณหภูมิที่น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 0oc ได้อีกด้วยในกรณีที่เลวร้ายที่สุด หาก จัดเก็บอาหารภายใต้อุณหภูมิต�่าเป็นเวลาต่อเนื่อง ยาวนานอาจท� า ให้ เ กิ ด การปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สภาพ แวดล้อม 2. ค่ า ความชื้ น สมพั ท ธ์ (R.H.) ของสิ่ ง แวดล้อมที่ใช้จัดเก็บ โดยมากอุณหภูมิยิ่งต�่ายิ่งมี ค่าความชื้นสัมพัทธ์สูง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรง กับความชื้นในอาหาร นอกจากนี้ยังมีการซึมผ่าน วัสดุที่จัดเก็บได้อีกทางหนึ่งด้วย 3. ก๊าซที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อม ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และ โอโซน มีผลแตกต่างกัน ไปส�าหรับการอยู่รอดของเหล่าจุลินชีพ โดยโอโซน สามารถใช้ในกระบวนการท�าลายหรือยับยั้งจุลิน ชีพได้ แต่จะมีปัญหาในการด�าเนินการกับอาหารที่ มีไขมันสูง 4. ความชื้นที่อยู่ในอาหาร (Water Activity, aw) ปริมาณน�้าในอาหาร (aw) คือ ปริมาณน�้าที่ จุลชีพสามารถใช้ในการเจริญเติบโต ซึ่งการขาดน�า้ นั้นไม่ท�าให้จุลชีพถูกก�าจัด แต่เป็นการท�าให้ไม่เกิด การเจริญเติบโตเท่านัน้ การลดค่า aw สามารถท�าได้ โดยการเพิ่มปริมาณเกลือหรือน�้าตาล นอกจากนี้ การลดความชื้ น ในอาหารอาจหมายถึ ง การเพิ่ ม ความร้อนให้กับอาหารได้อีกทางหนึ่ง 5. ค่า pH ของอาหาร ค่า pH นั้นมีผลต่อ อัตราการเติบโตและการด�ารงอยู่ของจุลชีพ โดย มีค่าที่ต้องการแตกต่างกันไปส�าหรับจุลชีพแต่ละ ชนิด โดยอาหารที่มีความเป็นกรดต�่าจะมีค่า pH ที่ สู ง อาหารที่ มี ค วามเป็ น กรดนั้ น มั ก ประกอบ ไปด้วย ยีสต์และโมลด์ รวมถึงแบคทีเรียบางชนิด นอกจากนี้อาหารบางชนิดยังมีความต้านทานใน การเปลี่ยนแปลงค่า pH เช่น อาหารจ�าพวกโปรตีน
81
Death phase
Log (exponential) phase Lag phase
ภาพ: Basic Microbiology for Food Safety Managers (Safefood 360o’s Whitepaper)
และอาหารทีม่ คี า่ pH ต�า่ จะลดความต้านทานความ ร้อนของจุลชีพลง 6. ออกซิเดชัน (Oxidation) ปัจจัยนี้อาจเรียก ได้ด้วยตัวย่อหรือชื่อที่หลากหลาย เช่น O/R, Eh, Redox Potential หรือ Oxygen Potential ซึ่งจะเป็น มาตรวัดได้ว่าอาหารเกิดการออกซิไดซ์แค่ไหน โดย จุลชีพนั้นมีความต้องการออกซิเจนเพื่อก่อให้เกิด การออกซิไดซ์ สามารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุม่ ทีต่ อ้ งการออกซิเจน กลุม่ ทีไ่ ม่ตอ้ งการออกซิเจน และกลุ่มที่ต้องการออกซิเจนเพียงเล็กน้อย การที่ จุลินชีพสามารถเติบโตได้นั้นจะเป็นการลดค่า Eh 7. สารอาหารในอาหาร สารอาหารนั้นถือ เป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับการเติบโตของจุลินชีพ ได้แก่ คาร์บอนซึ่งมีมากในพวกน�้าตาล แอลกอฮอล์ กรด อะมิโน ไขมัน ต่อมาคือไนโตรเจน พบมากในกรด อะมิโน โปรตตีน และไนโตรเจนที่เป็นอนินทรีย์ และสุดท้ายคือปัจจัยการเติบโตอื่นๆ เช่น วิตามิน B บางครัง้ พบว่าจุลชีพนัน้ ต้องการสารอาหารทีไ่ ม่มี ความซับซ้อนมาก 8. สสารต่อต้านจุลนิ ชีพในอาหาร สามารถพบ ได้ทั่วไปในอาหาร รวมถึงสารอาหารที่จ�าเป็นอย่าง เช่น น�้ามัน บัคเตรีโอซิน ไลโซไซม์ เบนโซอิก และ พวกกรดที่มีความเข้มข้นอื่นๆ สารพวกนี้สามารถ เกิดขึน้ ได้จากกระบวนการของจุลชีพหรือผลิตโดยจุล ชีพอื่นๆ (ผลผลิตเป็นจ�าพวกกรดและแอลกอฮอล์)
9. โครงสร้างทางกายภาพและชีววิทยาของ อาหาร อาหารบางชนิดมีการป้องกันที่ผิวภายนอก อยู่แล้วโดยธรรมชาติ เช่น ผิวหนัง เปลือกผลไม้ การที่ผิวชั้นนอกถูกเคลือบด้วยไข และเปลือกแข็งที่ ห่อหุ้ม ส�าหรับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่าง กระบวนการแปรรู ป หรื อ ผลิ ต อาหารนั้ น จะเพิ่ ม พื้นที่ผิวในการสัมผัสกับความเสี่ยงในการปนเปื้อน กับอาหารขึ้นเป็นอย่างมาก และยังมีค่า Eh ที่เพิ่ม ขึ้น เช่น กระบวนการตัด การฝานบาง การเจาะ และอื่นๆ ส�าหรับการบริหารจัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ใน กระบวนการอุตสาหกรรมอาหารนั้น ถือเป็นเรื่องที่ ต้องใส่ใจและระมัดระวังเป็นพิเศษเนือ่ งจากสามารถ เกิดการปนเปื้อนหรือความสูญเสียได้ในทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบหลัก การขนส่ง จนกระทั่ง การวางขาย โดยความเสีย่ งทีเ่ ป็นปัญหาหลักส�าหรับ กิจการที่เกี่ยวข้องกับอาหาร คือ การปนเปื้อนและ การเน่าเสีย ซึง่ จุลชีพถือเป็นตัวแปรหลัก การควบคุม และจัดการกับปัจจัยเหล่านีต้ อ้ งด�าเนินการในทุกขัน้ ตอนเพือ่ ลดทอนการสูญเสียคุณภาพของผลผลิต ไม่ ว่าจะเป็นการหลีกเลี่ยง การยับยั้ง การก�าจัดปัจจัย เสี่ยง โดยพิจารณาจากปัจจัยที่ได้น�าเสนอไปร่วม กับกระบวนการ HACCP เพือ่ ให้เกิดผลลัพธ์ทดี่ ที สี่ ดุ
Source: Basic Microbiology for Food Safety Managers, Whitepaper from Safefood 360o EXECUTIVE SUMMARY In food manufacturing processes, there are many risks with various factors that effected to food contamination and product loss such as insects, logistics, manufacturing process, warehousing and containing environment. All of the factors are depending on one essential issue, microorganism which cause the contamination, expiration, rotten and infestation. To understanding the physical and biological of each food which could manage concerned risk of microorganism is to reduce and eliminate waste in every food processing procedure with HACCP method. issue 162 august 2016
82 safety
เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาสที่
จะทําให เกิดความสูญเสีย โดยพิจารณาจากผล เสียหายหรือความรุนแรงของเหตุการณ ที่อาจเกิด ขึ้นกับโอกาสที่จะทําให เกิดความเสียหายได (Possibility of Loss ; J.R. Taylor, 1994)
Risk Management for Loss Control หลายๆ ครั้งที่พบว ากระบวนการทํางานในภาคอุตสาหกรรมนั้น มีการเกิดอุบัติเหตุร ายแรงขึ้นในสถานประกอบการ เช น กรณี โรงงานทําตุ กตาเคเดอร ที่เกิดอัคคีภัยร ายแรงทําให มีผู ปฏิบัติงาน บาดเจ็บนับร อยและยังส งผลต อการความเสียหายของธุรกิจ หรือ กรณีโรงงานลําใยแห งระเบิดจากสารโปแตสเซียมคลอเรต ซึง่ ก อให เกิดความเสียหายร ายแรงทัง้ ต อชีวติ ทรัพย สนิ ตลอดจนประชาชน ที่อยู ในบริเวณรอบข าง เหตุการณดงั กลาวทีเ่ กิดขึน้ สะทอนใหเห็นวาการปฏิบตั งิ านใดๆ ลวนมีความ เสี่ยงที่พรอมจะยกระดับกลายเปนอุบัติเหตุ และกอใหเกิดความสูญเสียอยาง รายแรง ดังนัน้ หากองคกรทีม่ คี วามเสีย่ งในการทํางาน มีการประเมินความเสีย่ ง อยางมีระบบ อีกทั้งผูปฏิบัติงานทุกระดับไดมีสวนรวมในกระบวนการประเมิน ความเสี่ยงแลว การบริหารความเสี่ยงนั้นหากมีประสิทธิภาพมากพอ ยอมให ประโยชนมากกวาแคการเปนเพียงเกราะปองกัน หรือเปนมากกวามาตรการ ‘วัว หายลอมคอก’ อยางแนนอน แนวคิดและหลักการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสีย่ ง เปนการตัดสินใจทีเ่ กีย่ วกับความเสีย่ งและดําเนินการ ภายหลังการตัดสินใจนั้น ระบบการบริหารชวยใหเกิดการธํารงรักษาอยางตอ เนื่อง เมื่อผูบริหารเปลี่ยนไป ระบบยังคงดําเนินอยูตอไปไดถึงแมจะมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ระบบบริหารความเสี่ยง จึงถือเปนเสนทางของโครงสรางที่ เอื้อใหเกิด • การปรับปรุงการติดตอสาร • การบรรลุจุดหมายขององคกร • พัฒนาบุคลากร • ปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ • ระบบที่มีประสิทธิภาพจะทําใหความรับผิดชอบมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
กระบวนการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Process) การประเมินความเสี่ยงจะชวยใหผูบริหารหรือนายจางจัดลําดับกิจกรรมใน การควบคุมตามความสําคัญ (วิกฤต) และชวยในการตัดสินใจวา ความเสี่ยงใดที่ สามารถยอมรับได และความเสี่ยงใดที่ตองมีการควบคุม หรือขจัดออก ทีมบริหารความเสี่ยงและพนักงานขององคกร สามารถระบุชี้บง สิ่งที่สัมผัส กับความเสี่ยง ทราบอันตรายและความเสี่ยงอยางแทจริงที่เกิดขึ้นในแตละวัน สามารถประเมินความเสี่ยงที่สัมพันธกับความเสี่ยงอื่นๆ ได พัฒนาแผนงานที่ จะควบคุมความเสีย่ งทีม่ นี ยั สําคัญ ลงมือปฏิบตั เิ ปลีย่ นแปลงในสิง่ ทีต่ อ งการ และ เฝาระวังตรวจตรา ติดตามระบบนั้นไดเปนอยางดี
RISK PRINCIPLES
หลักการสําคัญที่เกี่ยวข องกับความเสี่ยง หากการสัมผัสกับอันตรายมีผลโดยตรงทําให เกิด ความเสี่ยง ความเสี่ยง = ความรุนแรง X โอกาส หากโอกาสในการเกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ อยูก บั ความถีบ่ อ ยของการ สัมผัส ความเสีย่ ง = ความรุนแรง X โอกาส X การสัมผัส มิใช ความผิดพลาด/ความล มเหลวทั้งหมด จะก อให เกิด ความสูญเสีย ความสูญเสียที่เกิดขึ้นน าจะมิได เกิดในช วงเวลาเดียวกัน ความน าจะเป นของเหตุการณ ที่จะก อให เกิดความสูญเสีย ร วมกัน จะน อยกว าความน าจะเป นของการเกิดความ สูญเสียของเหตุการณ เดียว สาเหตุ และ ผลของความสูญเสีย มีความสัมพันธ กับ สาเหตุพื้นฐาน และ ความผิดพลาดของการบริหารจัดการ การควบคุมที่สาเหตุขั้นกลาง (Immediate Cause) ไม สามารถควบคุมความเสี่ยงได อย างสมบูรณ แต การ ควบคุมที่สาเหตุพื้นฐาน (Basic Cause) และเป นการ ควบคุมความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ มีความสําคัญอย างยิ่งที่จะต องบ งชี้กิจกรรมที่มีความ เสี่ยงสูง การสัมผัส และผลความสูญเสียที่เกิดขึ้น เช น • กิจกรรมที่มีความเสี่ยง • การ Start Up Plant • การสัมผัสที่มีความเสี่ยงสูง • ก าซไซยาไนต • ผลความสูญเสียหลัก • การเกิดอัคคีภัยและก าซรั่วไหล สู ประชาชน
safety 83
1
2
3
4
5
ต้องมั่นใจว่า กระบวนการ ในการประเมินความเสี่ยงที่ ก�าลังด�าเนินการอยู่ สามารถปฏิบัติได้ (Practical) และอยู่บนพื้น ฐานของความเป็นจริง (Realistic)
การด�าเนินการ ควรให้บุคคล ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วน ร่วมในกระบวนการประเมิน ความเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บุคลากรที่เป็นผู้ที่ปฏิบัติงาน เกีย่ วข้องกับความเสีย่ งโดยตรง โดยในการด�าเนินการควรมี การรวบรวมข้อมูลให้ ได้มาก ที่สุดก่อนที่จะเข้าสู่ขั้นตอนการ ประเมินความเสี่ยงต่อไป
วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อ ให้มั่นใจได้ว่า ในการประเมินได้ ครอบคลุมถึงอันตรายที่ แฝงเร้น และความเสี่ยงของ กระบวนการที่ก�าลังด�าเนิน การประเมินอยู่
ให้ความสนใจกับประเด็น ส�าคัญที่มีผลต่อความเสี่ยง อย่าเสียเวลาในประเด็น เล็กน้อย
เริ่มต้นด้วยการ ชี้บ่งอันตราย
10 ขั้นตอน การประเมินความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ
ท�าการประเมินความเสี่ยง จากอันตรายที่ท�าการชี้บ่ง และพิจารณา
6
ในการประเมินความเสี่ยงให้ยึด หลักความเป็นจริง มิใช่ประเมิน โดยขาดพื้นฐานแห่งความเป็นไป ได้ของเหตุการณ์ ซึ่งในการ ประเมินจะมองจากข้อมูลใน สภาพความเป็นจริง ในสถาน ประกอบการปัจจุบันและควร พิจารณาทั้งลักษณะงานประจ�า และงานที่ไม่ได้มีการปฏิบัติ เป็นประจ�าด้วย (Non - Routine Operations)
7
ชี้บ่งให้ ได้ว่า ใครคือ ผู้สัมผัสกับความเสี่ยงนั้น โดยพิจารณารวมไปถึง ผู้ปฏิบัติงานโดยตรง ผู้ที่มาเยี่ยมชมหน่วยงาน ผู้รับเหมารวมไปถึง สาธารณชนด้วย
ในการประเมินควรใช้วิธีการ / เครื่องมืออย่างง่ายก่อน และ อาจจ�าเป็นต้องใช้เครือ่ งมือทีม่ ี ความยุ่งยากสลับซับซ้อน มากขึ้นในลักษณะการประเมิน เชิงลึก
8
9
การประเมินต้องมี การบันทึกเป็น ลายลักษณ์อักษร
10
Source: สวินทร์ พงษ์เก่า: สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�างาน (ประเทศไทย)
EXECUTIVE SUMMARY
The industrial sector of Thailand has been met with serious accident many times which cause injury to the operator and damage to the business. This issue point that we are stand still among the risk and when the risk turns into reality like accident which will cause seriously loss. Thus, the organization that has a risk in operation should made a decision in risk evaluation with systematic and also every levels of the operator take their part in evaluation, the administration and risk management will be extremely effective and has efficiency.
issue 162 august 2016
84 logistic smart
เทคนิค... ตั้งราคาสินค าเพื่อการส งออก ด วยเหตุที่ธุรกิจส งออกเป นธุรกิจที่มีการตลาดในต างประเทศ จึงมีความสลับซับซ อน มากกว าตลาดภายในประเทศ โดยเฉพาะอย างยิ่งใน เงื่อนไขที่เกี่ยวกับสังคม หรือความ เป นอยูข องผูค นในประเทศทีจ่ ะส งสินค าไปจําหน าย เราจึงควรแยกตลาดต างประเทศออก จากกระบวนการของตลาดภายในประเทศ
B
โดยธรรมชาติการทําธุรกิจส งออกจะอาศัยปริมาณเป น ตัวกําหนด ยอดรวมตัวเลขกําไรและผลกําไรต อหน วย เมือ่ เปรี ย บเที ย บกั บ ผลกํ า ไรต อ หน ว ยกั บ การจํ า หน า ยใน ประเทศแล วแตกต างกันมาก
ตัวอย าง
จําหน ายในประเทศต อเดือน กําไรหน วยละ 5 บาท = จําหน ายในต างประเทศต อเดือน กําไรหน วยละ 3 บาท =
40,000 หน วย กําไร 20,000 บาท 100,000 หน วย กําไร 30,000 บาท
เมื่อเป นดังนี้ จึงมีการกล าวแนะว า ธุรกิจส งออกที่ดีควรเป นการส งออกที่อาศัย กําลังการผลิตส วนเกินที่เหลือจากการจําหน ายในประเทศ ตัวอย างเช น กําลัง การผลิตของโรงงานมี 100,000 หน วยต อเดือน แต ยอดจําหน ายในประเทศมี อยู เพียง 40,000 หน วยต อเดือน กําลังการผลิตที่เหลืออีก 60,000 หน วย ถือ เป นกําลังผลิตส วนเกิน ในสภาวะเช นนี้ จึงเกิดกระบวนการที่เรียกว า Marginal Costing หรือการคํานวณต นทุนส วนเกิน
วิธีจัดการกําลังการผลิตสวนเกิน
คงไมมีใครแยงวา การทําธุรกิจสงออกมีความยุงยากมากกวาการทําธุรกิจ ภายในประเทศ อีกทัง้ ผลกําไรตอหนวยจะนอยกวาผลกําไรทีไ่ ดจากการจําหนาย ภายในประเทศ เพราะฉะนั้น ถาใหเลือกระหวาง การสงออกในอัตรากําไรที่ตํ่า หรือไมมีกําไรเลย กับการจําหนายภายในประเทศ ทําใหคนยอมเลือกประการ หลังมากกวา อยางไรก็ดี โดยแทจริงแลว ยังมีอีกหลายปจจัยที่ควรคํานึงถึงมากกวาการ คิดถึงแตผลกําไรเบื้องตน โดยเฉพาะอยางยิ่งถาธุรกิจหรือโรงงานมีกําลังการ ผลิตสวนเกินอยู ดังไดอธิบายมาแลว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทัง้ นี้ โดยการวิเคราะหจดุ คุม ทุน และแยกตลาดภายในประเทศกับตลาดตาง ประเทศออกจากกัน โดยถือวาการสงสินคาออกไปจําหนายในตางประเทศนั้น เปนการจําหนายสวนเพิ่ม (Extra Sales) ดังนั้น ถากิจการสามารถชดเชยคาใช จายประจําคงที่ (Fixed Cost) ไดดวยการจําหนายภายในประเทศแลว กิจการก็ จะสามารถคํานวณคาใชจายของสินคาสวนเกินที่ผลิตขึ้นมาเพื่อการสงออกได โดยมีคาใชจายผันแปรเทานั้น หมายความวา จุดคุมทุนเพื่อการสงออกนั้น ตํ่า กวา จุดตนทุนที่คํานวณจากตนทุนคงที่ และตนทุนผันแปรรวมกัน เสมือนกับ เราใชเวลาที่เหลือจากการทํางานประจําไปรับงานเสริม รายไดที่เขามาจึงเปน รายไดสวนกําไรที่มีคาบริหารตนทุนนอยมาก
logistic smart 85
อย่างไรก็ตาม ต้นทุนการผลิตส่วนเกินนั้น จะยังคงมีผลอยู่ก็ต่อเมื่อไม่มี การลงทุนระยะยาวในทรัพย์สินถาวรที่ใช้ในการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก หมายความว่า ถ้าเราเห็นว่าตลาดส่งออกมีอนาคต เปิดบริการท�าอย่างจริงจัง ก็มีจะมีต้นทุนประจ�าเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นต้นทุนเครื่องจักร ต้นทุนแรงงาน ต้นทุนการตลาด ฯลฯ ซึ่งการจะน�ารายได้มาชดเชยต้นทุนที่สูญเสียไปก็คือ การเพิ่มปริมาณการส่งออกให้มากขึ้น
เทคนิคการตั้งราคา
การตัง้ ราคาสูงสุด หรือการจ�าหน่ายสินค้าให้ได้มากทีส่ ดุ ไม่ได้หมายความ ว่าจะท�าให้ได้รับก�าไรสูงสุด เพราะปัญหาส�าคัญในการพยายามท�าก�าไรให้ เพิ่มขึ้น ด้วยการตั้งราคาสินค้าให้สูงขึ้นนั้น อาจเป็นราคาที่สูงเกินไป ท�าให้ จ�าหน่ายได้นอ้ ยลง หรือในทางตรงกันข้าม การตัง้ ราคาสินค้าให้ตา�่ เกินไปเพือ่ ต้องการให้สินค้าจ�าหน่ายได้มาก อาจท�าให้รายได้จากการจ�าหน่ายน้อยลงก็ เป็นได้
กลยุทธ์การตั้งราคาสินค้า และสิ่งที่ ต้องค�านึงถึง คือ การส่งสินค้าไปจ�าหน่ายใน
ต่างประเทศนัน้ มีตน้ ทุนแอบแฝงมากมาย ไม่วา่ จะเป็น ต้นทุนการขนส่ง ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างสูงทั้งทาง บก ทางเรือ ทางอากาศ ต้นทุนการประกันสินค้า เสียหาย (หากในสัญญาระบุว่าเราต้องเป็นฝ่าย ชดใช้ค่าเสียหายหาก มีความเสียหายเกิดขึ้น)
ต้นทุนการซื้อประกันความเสี่ยงค่าเงิน
ต้นทุนด้านการตลาด ต้นทุนค่านายหน้า ฯลฯ
นักการตลาดทีป่ ระสบความส�าเร็จ จ�าเป็นจะต้องเป็นบุคคลทีส่ ามารถตัง้ ราคาสินค้าในระดับทีร่ ายรับจากการจ�าหน่าย มากกว่า ต้นทุนทั้งหมด โดยมีช่วงก�าไร (Profit Margin) มากที่สุด ซึ่งนโยบายการตั้งราคา คือ การหาจุดที่มีก�าไรมากที่สุดนั่นเอง
ทางเลือกที่ 1
ทางเลือกที่ 2
ทางเลือกที่ 3
ราคาต่อหน่วย 3.00 บาท
ราคาต่อหน่วย 2.50 บาท
ราคาต่อหน่วย 2.00 บาท
จ�านวนที่คิดว่าจะจ�าหน่ายได้ 100 หน่วย
จ�านวนที่คิดว่าจะจ�าหน่ายได้ 200 หน่วย
จ�านวนที่คิดว่าจะจ�าหน่ายได้ 250 หน่วย
ราคาที่คิดว่าจะได้รับ 300 บาท โดยมีต้นทุนทั้งสิ้น 200 บาท เท่ากับว่าได้ก�าไร 100 บาท
ราคาที่คิดว่าจะได้รับ 500 บาท โดยมีต้นทุนทั้งสิ้น 300 บาท เท่ากับว่าได้ก�าไร 200 บาท
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า การเลือกทางเลือกที่ 1 โดยการตั้งราคา จ�าหน่ายที่สูงหน่วยละ 3.00 หรือ ทางเลือกที่ 3 โดยการ ตั้งราคาจ�าหน่ายที่ต�่า หน่วยละ 2.00 ต่างก็มิได้ให้ผลตอบแทนก�าไรที่มากที่สุด หากแต่เป็นทางเลือกที่ 2 ที่สามารถให้ผลตอบแทนก�าไรที่มากที่สุด เพราะฉะนั้น การตั้งราคาสินค้าต้องบวกต้นทุนเหล่านี้เข้าไปด้วย แต่ในขณะ เดียวกันก็ต้องปรึกษาตัวแทนจัดจ�าหน่ายในต่างประเทศด้วยว่า สินค้าของคู่แข่ง ที่ผลิตแบบเดียวกับเราหรือใกล้เคียงกับเราเขาจ�าหน่ายอยู่ที่เท่าไหร่ ถ้าเขา จ�าหน่ายชิ้นละ 500 บาท เราจ�าหน่ายชิ้นละ 700 บาท แบบนี้ก็คงจ�าหน่ายยาก ยกเว้นแต่ว่าสินค้าของเราจะมีจุดเด่นด้านความทนทาน การดีไซน์ หรือมี แบรนด์เนมเป็นที่ยอมรับในตลาดนั้นๆ แต่ถ้าสินค้าของคู่แข่งจ�าหน่าย 15,000 บาท ของเราจ�าหน่าย 12,000 บาท หรือจ�าหน่ายราคาเดียวกันแต่ฟรี อุปกรณ์ เสริม แถมคุณภาพดีกว่า อย่างนี้มีเท่าไหร่ก็หมด Source: http://www.logisticscorner.com
ราคาที่คิดว่าจะได้รับ 500 บาท โดยมีต้นทุนทั้งสิ้น 350 บาท เท่ากับว่าได้ก�าไร 150 บาท
EXECUTIVE SUMMARY An exporting business has more complicated than the domestic one. The exporting business contained more hidden cost, such as, logistics, product insurance, forward contract or option contract, marketing cost, broker and etc. The price setting must be included these cost while consulting the domestic dealer of that country to compare and check the price or distribute with promotion strategy likes free accessory that has a better quality, you won’t have any stock left for sure. issue 162 august 2016
86 TECHNOLOGY COATING เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ในโลกแห่งเทคโนโลยีเช่นทุกวันนี้ อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็น คอมพิวเตอร์ หรือแผงวงจรทั้งหลายล้วนมีความส�าคัญอย่างยิ่ง มีการใช้งานตัง้ แต่ในชีวติ ประจ�าวันไปจนถึงเครือ่ งจักรขนาดใหญ่ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ หุ่นยนต์โรงงาน แผงควบคุม ยานยนต์ เครื่องบิน หลายครั้งพบว่าต�าแหน่งที่ติดตั้งแผงวงจร อยู่ในพื้นที่ซึ่งมีความเสี่ยง ต้องเผชิญกับฝุ่นผงหรือความชื้น บางพืน้ ทีต่ อ้ งอยูใ่ กล้ความร้อนหรือการเสียดสี การเคลือบผิววัสดุ อย่างถูกต้องตามการใช้งานจึงเป็นการยืดอายุการใช้งานของ วัสดุอุปกรณ์ออกไป ไม่ว่าจะเป็นการเลือกสารเคมี และรูปแบบ การเคลื อ บที่ ส ามารถตอบสนองได้ ต ่ อ ปริ ม าณการผลิ ต และ คุณสมบัติเงื่อนไขของวัตถุท่ีต้องเคลือบเอง ส�าหรับการผลิต จ�านวนมากหรือการผลิตในรูปแบบอุตสาหกรรม ระบบการ เคลือบแบบอัตโนมัติสามารถตอบสนองต่อการผลิตได้มากกว่า ทั้งในเรื่องปริมาณ ระยะเวลา และความแม่นย�าที่ต้องการ การเคลือบแบบคอนฟอร์มอลล์ (Conformal Coating) การเคลือบแบบคอนฟอร์มอลล์น้ันเป็นที่นิยมส�าหรับการ ใช้งานกับแผงวงจรไฟฟ้า ซึ่งใช้งานในพื้นที่ที่มีสภาพแวดล้อม ไม่ เ หมาะสม มี ค วามชื้ น มี ฝุ ่ น ผง หรื อ สารเคมี เช่ น ใน อุ ต สาหกรรมยานยนต์ แ ละอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ทางทหาร ส่วนใหญ่การเคลือบวัสดุเช่นนีม้ กั จะถูกน�าไปประยุกต์ ใช้ร่วมกับเทคนิคหลากหลาย เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง ครอบคลุม รวมถึงการฉีดพ่นในระดับอะตอม การเคลือบฟิล์ม แบบบาง Non - Atomized Film Coating และ Non - Atomized Swirl Pattern ซึ่ ง แต่ ล ะรู ป แบบนั้ น จะมี ค วามแตกต่ า งกั น ไม่วา่ จะเป็นข้อจ�ากัดของการใช้งานจากเทคโนโลยี ความถูกต้อง แม่นย�าที่เกิดขึ้นกับวัตถุดิบ เป็นต้น ส� า หรั บ การเคลื อ บแบบคอนฟอร์ ม อลล์ นั้ น มี ค วาม โดดเด่นที่แ ตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ วิธีการเคลือ บที่ถูกต้อ ง จะต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง ความเหมาะสมของวั ส ดุ และพื้ น ที่ ส� า หรั บ ใช้งานด้วย ประเภทของคอนฟอร์มอลล์ โดยพื้ น ฐานแล้ ว คอนฟอร์ ม อลล์ นั้ น จะมี เ รซิ น เป็ น ส่วนประกอบหลัก ซึ่งสามารถจ�าแนกได้ 5 ชนิดหลัก ได้แก่ อะคริลิก (Acrylic (AR)) โพลียูรีเทน (Polyurethane (UR)) อี พ อกซี (Epoxy (ER)) ซิ ลิ โ คน (Silicone (SR)) และ โพลีพาร์ไซลีลีน (Poly - Parxylylyen (XY)) นอกจากนี้ ยั ง สามารถน� า เอาข้ อ ดี ข องแต่ ล ะรู ป แบบมาผสมผสานกั น โดยมีรายละเอียดแต่ละชนิดดังต่อไปนี้
CONFORMAL COATING
TECHNOLOGY
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
TECHNOLOGY COATING 87
รูปแบบ การใช้งาน
จุดเด่น
จุดด้อย
อะคริลิก (AR)
ไม่แพง สะดวกสบาย ง่ายดายส�าหรับการใช้งาน แห้งไว มีความ ชุ่มชื้นที่เหมาะ มีสารต้านการกัดกร่อน สามารถแก้ไขงานได้ง่าย
ความสามารถในการเป็นตัวท�าละลายและความต้านทาน อุณหภูมิต�่า มีความแข็งแรงเชิงกลระดับปานกลาง
โพลียูริเทน (UR)
มีความต้านทานความชื้นได้เป็นอย่างดี มีความแข็งแรง เชิงกลค่อนข้างสูง มีความสามารถในการเป็นตัว ท�าละลายที่ดีกว่าอะคริลิก
แก้ไขและเอาออกยาก หลายกรณีเกิดความอ่อนไหว ต่อความชื้น อาจจะแข็งจนงอได้
อีพอกซี (ER)
มีความแข็งแรงเชิงกลที่ยอดเยี่ยม มีการต้านทานความชื้น และการกัดกร่อนที่ดี
ต้องการความแม่นย�าสูงในการผสมสัดส่วน อายุการใช้งานสั้น ไม่สามารถแก้ไขงานหรือท�าซ�้าได้
ซิลิโคน (SR)
สามารถต้านทานความชื้นและอุณหภูมิได้อย่างยอดเยี่ยม มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
มีความแข็งแรงเชิงกลและความต้านทานการสึกหรอต�่า เสาหรือส่วนที่เกินมาเอาออกยาก สามารถเกิดการ ปนเปื้อนส�าหรับวัตถุหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารอินทรีย์
โพลีพาไซลีลีน (XY)
บางมาก มีความแข็งแรง ทนทาน ใช้งานได้อย่างครอบคลุม
ต้องการห้องสุญญากาศ มีราคาแพงมาก เอาออกยาก เป็นรูปแบบที่สามารถท�าได้เพียงครั้งเดียว
รูปแบบกรรมวิธีการเคลือบ
รูปที่ 2: รูปแบบการฉีดเคลือบแบบ Bead, Monofilament และ Swirl ตามล�าดับ
การเคลือบด้วยมือทีละขั้นตอน เป็นวิธพี นื้ ฐานซึง่ ใช้การพ่นสารเคลือบ บนผิววัตถุ การจุ่ม การแปรงสารเคลือบ ซึ่งการทา / แปรงสารเคลือบเป็นวิธีที่มี ค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดและต้องด�าเนินการซ�้า น้อยที่สุดเช่นกัน ขึ้นอยู่กับความสามารถ ของผูด้ า� เนินงาน ซึง่ ขัน้ ตอนเหล่านีต้ อ้ งการ ความใส่ใจและพิถีพิถันในการท�างาน
การเคลือบแบบอัตโนมัติ หรือการเคลือบแบบเฉพาะ เหมาะกับการผลิตชิ้นงานที่ต้องการ ปริมาณมาก หรืองานทีต่ อ้ งท�าซ�า้ ไปซ�า้ มา ต้องการความรวดเร็ว และคุณภาพในการ ด�าเนินงานเป็นหัวใจส�าคัญ โดยเป็นการ เขียนโปรแกรมขึ้นมาส�าหรับหุ่นยนต์ที่มี การท�างาน 3 ระนาบ X-Y-Z ให้มีความ แม่นย�า และปรับใช้งานได้ครอบคุลมวัสดุที่ ต้องการเคลือบ รูปที่ 1: ตัวอย่างหัวฉีด 3 ระบบ
issue 162 august 2016
88 TECHNOLOGY COATING
เทคโนโลยีสา� หรับการเคลือบแบบอัตโนมัติ Selective Needle Dispensing หรือรู้จักในชื่อ Flow Coating สามารถใช้งานได้กับการท�างานซ�้าๆ โดยจุดที่ ปล่อยสารจากปลายเข็มนัน้ จะมีระยะห่างจากวัตถุเล็กน้อย ซึง่ หากเกิดความผิดพลาด วัตถุ อาจชนกับหัวเข็มและก่อให้เกิดฟองอากาศได้ การกระทบกระทั่งเพียงเล็กน้อยสามารถ ท�าให้การพ่นเคลือบเปลี่ยนทิศทาง ส่วนใหญ่วิธีการเคลือบแบบนี้เหมาะสมกับการ ใช้งานในพื้นที่ที่สามารถเข้าถึงได้ยาก Ultrasonic Coating เป็นการใช้ตัวแปลงสัญญาณไฟฟ้าที่เป็น Piezo เพื่อเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นการ สัน่ สะเทือนทางกล โดยแปลงเป็นการสัน่ สะเทือนเทียบเท่าคลืน่ อัลตราโซนิค กระตุน้ สาร เคลือบจนกลายเป็นระดับอะตอม จากนัน้ จะถูกส่งผ่านไปยังวัตถุดว้ ยอากาศ ใช้กบั วัตถุที่ มีความเหนียวต�่า กระบวนการนี้สามารถสร้างไอสารเคลือบที่มีความละเอียดมากๆ ได้ ท�าให้เกิดการเคลือบที่บางเป็นพิเศษ แต่การเคลือบแบบนี้อ่อนไหวต่ออากาศแวดล้อม ในขณะด�าเนินการ รวมถึงการสั่นสะเทือนของเครื่องจักรด้วยเช่นกัน Selective Film Coating วิธีนี้สามารถแก้ปัญหาที่มากับการฉีดสารเคลือบแบบหัวเข็ม หัวฉีดรูปแบบนี้จะเป็น แบบใบพัด ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าหัวเข็ม ท�าการเคลือบแบบ Non – Atomized การ ท�างานจะขึ้นอยู่กับเวลา แรงดัน ร่วมกับเทคโนโลยีวาล์วที่ดี หัวฉีดขวางแบบใบพัดนี้ยัง ง่ายต่อการท�าความสะอาด โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายได้อีกด้วย การเคลือบแบบนี้ ส่วนใหญ่ถูกน�าไปใช้กับวัตถุที่มีความเหนียวน้อยกว่า 100 เซนติพอยซ์ Selective Tri - Mode Coating การเคลือบชิ้นงานหลายประเภทต้องการรูปแบบการเคลือบที่หลากหลาย เพื่อ ครอบคลุมขอบเขตการท�างานทั้งหมด เทคโนโลยีรูปแบบนี้เป็นการรวมความสามารถ กว้างๆ ของการฉีดพ่นแบบระดับอะตอม ร่วมกับแบบ Non - Atomize ให้อยู่ภายใต้ การท�างานอุปกรณ์ชิ้นเดียว ท�าให้สามารถท�างานได้ 3 รูปแบบ คือ Non – Atomized Bead, Non – Atomized Monofilament และ Atomized Swirl หรือ Spray การเคลือบ รูปแบบนี้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในด้านอุปกรณ์ เพิ่มความคล่องตัวในการท�างานของ ระบบฉีดพ่นโดยไม่ท�าให้สูญเสียขอบเขตพื้นที่ในการท�างาน โดยทั้ง 3 รูปแบบจะมี การท�างานที่แตกต่างกัน ดังนี้ Atomized Spray นั้นมีอัตราการปล่อยของเหลวที่ต�่า แต่อัตราการปล่อยอากาศที่สูง Monofilament มีอัตราการปล่อยของเหลวที่สูง แต่ อัตราการปล่อยอากาศต�่า และสุดท้าย Bead มีเพียงการปล่อยของเหลวในอัตราสูง เพียงอย่างเดียวเท่านั้น Precision Jet Coating ด้วยวัสดุและวัตถุดิบ รวมถึงพื้นที่การท�างานในทุกวันนี้มีความแออัดเป็นอย่างมาก เช่น แผงวงจรทีม่ ตี วั ต้านทาน หรือชิป ทีอ่ ดั แน่นกันอยูภ่ ายใต้พนื้ ทีข่ นาดเล็ก ซึง่ นอกจาก ต้องการเรือ่ งคุณภาพของการผลิตแล้วยังต้องตอบรับต่อปริมาณการผลิตจ�านวนมากอีก ด้วย ซึง่ วัสดุพวกนีม้ กั พบในโมดูลทีม่ ชี ปิ หลายตัว อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือเซนเซอร์ใน รถยนต์ที่ยากจะท�าการเคลือบด้วยมือ
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
กระบวนการเคลือบแบบ คอนฟอร์มอลล์ นัน้ ถือได้วา่ มีบทบาทในโลกสมัยใหม่เป็นอย่างมาก เนือ่ งจากโลกแห่ง เทคโนโลยี ต ้ อ งการอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ม ากมาย ปัจจุบันการเคลือบและการดูแลแผงวงจรซึ่งเป็นหนึ่งใน หัวใจหลักของอุปกรณ์ไฟฟ้า จึงถือเป็นเรื่องที่ต้องได้รับ ความใส่ใจ ด้วยการเลือกวิธีที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์จะ ท�าให้เพิ่มคุณภาพของวัสดุ รวมถึงเพิ่มความสามารถ ในการผลิต ลดกระบวนการท�างานซ�้าซ้อนและความ ผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ ได้ ด้วยเทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้าอย่างรวดเร็ว ในโลกทุกวันนี้ ท�าให้แผงวงจรมีความซับซ้อนมากขึ้น รูปแบบวิธกี ารเคลือบ รวมถึงสารเคมีทใี่ ช้ตอ้ งมีการเลือกใช้ และวางแผนให้เหมาะสม สามารถรับมือกับความท้าทาย ใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมข้อจ�ากัดต่างๆ ดังนัน้ องค์ความรูพ้ นื้ ฐานทีเ่ หมาะกับรูปแบบของการผลิต จึงไม่อาจเป็นสิ่งที่ละเลยได้เช่นกัน
Source: New Coating Technologies and Advanced Techniques in Conformal Coating
EXECUTIVE SUMMARY Conformal coating is an important technic for modernized age. With technology advancing, the circuit board became more complex which the coating technology, coating method and also chemical for coating must be choose and planning properly to deal with the new challenges which increasing continuously together with the limitations. The basic knowledges which suit for manufacturing format couldn’t be neglect. Conformal coating is a famous technic that use with electrical circuit board which operating in harsh environment likes humidity, dust or chemicals, such as, automotive industries and military - related industries. This coating technic often applied with various technic to coverage various usability including atomized injection, thin film coating, non-atomized film coating and non - atomized swirl pattern which each pattern are difference with its unique feature and also limitation from technology usability, accurate and precision that effect to the material for example.
Supported By:
Ministry of Industry
Ministry Of Energy
Petroleum Institute of Thailand (PTIT)
Singapore Industrial Automation Association (SIAA)
Malaysia External Trade Development Corporation (MATRADE)
Design & Engineering Consulting Service Center
Thai Machinery Association
Technology Promotion Association
Welding Institute of Thailand
Technical Petroleum Training Institute (TPTI)
Premium Exhibitors :
Technip Engineering (Thailand) Ltd.
The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University
Official Media :
PAE Technical Service Company Limited
Oil & Gas Today Magazine
Juz Talk (Thailand)
Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group
เขFree าชมงานฟร� ! To Attend!
Ministry of Industry
Thai Machinery Association
The Petroleum and Petrochemical College, Chulalongkorn University
INTERPLAS THAILAND 2016 EDITION ROUNDS OFF TO A PERFECT ENDING อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2559 ปิดฉากลงอย่างสวยงาม The active participation has led to yet another successful edition of InterPlas Thailand. We are pleased to share that the show attracted a total of 15,427 buyers and 1,341 conference delegates this year. InterPlas Thailand’s reputation as a preferred innovation-led platform for technology providers to launch their new products has also seen steady growth in recent years. Each year, our team endeavors to present a better experience for all participants. We are on a constant lookout for innovative ideas to keep InterPlas Thailand fresh and relevant. The show would not have made it so far without your ardent support! If you have any feedback on the show, we’d love to hear from you. InterPlas Thailand will return to Bangkok, Thailand in 2017, from 21 to 24 June at BITEC. More information about the event, conference programme, and other on-site activities will be released at a later date. Do keep an eye out for them! In the meantime, stay connected with InterPlas Thailand on our website www.interplasthailand.com or social media – either “Like” us on Facebook or “Tweet” us on Twitter. We look forward to seeing you again at InterPlas Thailand 2017!
อีกหนึง่ ความส�าเร็จในงาน อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2559 ด้วยจ�านวน ผูเ้ ข้าร่วมงานมากถึง 15,427 ราย และผูเ้ ข้าร่วมการสัมมนากว่า 1,341 คน ในปีนี้ โดยชื่อเสียงของงาน อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ ได้มีการเติบโต อย่างต่อเนือ่ งในหลายปีทผี่ า่ นมา ในฐานะเวทีนวัตกรรมชัน้ แนวหน้าส�าหรับ ผูใ้ ห้บริการด้านเทคโนโลยีในการเปิดตัวสินค้าใหม่ ในแต่ละปี ทางคณะผู้จัดพยายามเป็นอย่างยิ่งที่จะมอบประสบการณ์ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ให้แก่ผรู้ ว่ มชมงานทุกท่าน เราเดินหน้ามองหาไอเดียนวัตกรรมเพือ่ รักษามาตรฐานของงานอินเตอร์พลาสต่อไป งานในปีนจี้ ะไม่ประสบความ ส�าเร็จหากขาดการสนับสนุนจากทุกท่าน ทางเรายินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะรับ ฟังข้อเสนอแนะ และเสียงตอบรับจากทุกท่าน งานอินเตอร์พลาส ไทยแลนด์จะกลับมาจัดอีกครั้งในวันที่ 21 - 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560 ทีไ่ บเทค บางนา โปรดติดตามอย่างใกล้ชดิ ส�าหรับ ข้อมูลเพิม่ เติมทีเ่ กีย่ วกับงาน โปรแกรมสัมมนา และทัพกิจกรรมภายในงาน ในขณะเดียวกันท่านสามารถรับข่าวสารของงานได้ทเี่ ว็บไซต์ www.interplas thailand.com หรือทางโซเซียลมีเดียต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการกดถูกใจเราได้ที่ เฟสบุค๊ หรือทวีตข้อความผ่านทวิตเตอร์ได้ หวัง ว่าจะมีโอกาสได้ต้อนรับทุก ท่านอีกครั้งในงานอินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2017
issue 162 august 2016
BMAM & GBR EXPO ASIA 2016 สุดยอดงานแสดงสินค้านานาชาติ ชูนวัตกรรมด้านการ บริหารจัดการอาคารและอาคารเขียวใหญ่ที่สุดในอาเซียน อิมแพ็ค เอ็กซิบิช่ัน ออกาไนเซอร์ บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท์ จ�ากัด ร่วมกับ บริษัท Sphere Exhibits Pte Ltd (สิงคโปร์) ประกาศจัดสองงานแสดงสินค้า ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ แห่งเอเชีย BMAM Expo Asia 2016 งานแสดง สินค้าและการประชุมสัมมนาด้านการบ�ารุงรักษาอาคารและ การบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร และงาน GBR Expo Asia 2016 งานแสดงสินค้าและการประชุมสัมมนาด้าน การก่อสร้างและต่อเติมอาคารสีเขียว BMAM Expo Asia 2016 เวทีแสดงนวัตกรรมชัน้ น�า ด้านการบ�ารุงรักษาและการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร โรงงาน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เต็ ม อิ่ ม กั บ สิ น ค้ า และบริ ก าร หลากหลายครอบคลุมด้านอาคารและการก่อสร้างครบวงจร GBR Expo Asia 2016 เวทีแสดงเทคโนโลยีดา้ นการ ก่อสร้างและต่อเติมอาคารเขียว พร้อมอัพเดตประเด็น ร้อนผ่านการสัมมนาจากผู้เชี่ยวชาญในวงการอาคารเขียว เป็นการเพิ่มแรงดึงดูดให้กับนักลงทุนเเละเจ้าของธุรกิจใน อุตสาหกรรมการก่อสร้าง คุ ณ พรพรรณ บุ ล เนอร์ ผู ้ อ� ำ นวยกำร อิ ม เเพ็ ค เอ็กซิบิชั่น ออกำไนเซอร์ บริษัท อิมเเพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท์ จ�ำกัด กล่าวว่า ทางคณะผูจ้ ดั งานฯ ตระหนักถึง ความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นด้านการบริหารจัดการอาคาร และเทคโนโลยีอาคารเขียวในภูมิภาคอาเซียน ท�าให้งาน BMAM & GBR Expo Asia 2016 ตอบโจทย์ความต้องการ ของนั กลงทุนจากทั้ งในเเละต่างประเทศ ในการค้ นหา นวัตกรรมเเละเทคโนโลยีทเ่ี ป็นประโยชน์ในการพัฒนาธุรกิจ ในอนาคต BMAM & GBR Expo Asia 2016 งานแสดงสินค้าชัน้ น�า ทีพ่ ลาดไม่ได้สา� หรับผูท้ อี่ ยูใ่ นวงการด้านอาคารและโรงงาน คาดว่างานนี้จะมีผู้เข้าร่วมชมงานมากกว่า 10,000 ราย ผูซ้ อื้ ทีม่ ศี กั ยภาพจากต่างประเทศกว่า 100 ราย มาร่วมชม เทคโนโลยีจากกว่า 150 บริษัทและแบรนด์ชั้นน�าทั่วโลก อีกทัง้ ยังมีไฮไลท์ในงานมากมายรอให้คณ ุ ได้ชม อาทิ โซน โชว์นวัตกรรมสุดล�า้ Smart Building to Smart Showcase โปรแกรมจั บ คู ่ ธุ ร กิ จ โปรแกรมเรี ย นเชิ ญ ผู ้ ซื้ อ จากทั้ ง ในประเทศไทยและต่ า งประเทศ สั ม มนา Facilities Management Conference สัมมนา Green Building Conference และอีกหลากหลายหัวข้อสัมมนา
BMAM & GBR Expo Asia 2016 มีบริษทั และแบรนด์ ชัน้ น�าทางด้านบริหารจัดการอาคารและการก่อสร้างอาคาร เขียวเข้าร่วมแสดงนวัตกรรมมากมาย อาทิ Makita, HIP Global, Viglacera, Philips, Hobart, Sodexo Thailand เป็นต้น นอกจากนี้เรายังได้รับการสนับสนุนจากบริษัท ต่างๆ อาทิ PCS, ISS, Plus Property, People Space และ CP Land ส�าหรับการสัมมนา Facilities Management Conference อีกด้วย BMAM & GBR Expo Asia 2016 จัดพร้อมกับงาน CONCRETE Asia 2016 ภายใต้งาน Asian Construction Week 2016 ซึง่ เป็นการรวมสามงานใหญ่ทรี่ วบรวมนวัตกรรม และผลิตภัณฑ์ ครอบคลุมคอนกรีต ซีเมนต์ เทคโนโลยี พลังงานทดแทน การจัดการน�้า การจัดการของเสียและ ขยะพิษ ระบบและอุปกรณ์ภายในอาคาร การจัดการอาคาร แบบครบวงจร การจัดการสิ่งอ�านวยความสะดวก ระบบ รักษาความปลอดภัย และระงับเหตุอัคคีภัย ระบบการวัด และตรวจสอบ อุปกรณ์การบ�ารุงรักษา งานระบบ การ ก�าจัดของเสีย และอืน่ ๆ ดูรายละเอียดเพิม่ เติม คลิก๊ www. maintenance-asia.com และ www.greenbuilding-asia.com
สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ
คุณชานนท์ เอกรัตนากุล โทร: +66 (0) 2833 5208 แฟกซ์: +66 (0) 2833 5127-9 อีเมล์: chanone@impact.co.th
issue 162 august 2016
Asia’s Largest Specialized Sugar and Bioethanol Technology Event!
World
UGAR S 2016 Conference
7-8 September 2016
Co-Located With :
BITEC, Bangkok, Thailand www.sugar-conference.com
An
Special Rate
20% Off
(Register and pay on or before)
Mr.Kitti Choonhawong, President of Thailand Society of Sugar Cane Technologist (TSSCT) Mr.Somsak Jantararoungtong Secretary-General of The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)
1 August 2016
Mr.Rangsit Hiangrat, Director General of Thai Sugar Millers Corporation Limited (TSMC) Mr.Pipat Suttiwisedsak, Chief Operating Officer / Managing Director at Ekarat Pattana Co., Ltd. (EPC Ethanol) Dr.Pipat Weerathaworn, Member of Agriculture and Biology Committee, National Research Council of Thailand (NRCT) Mr.Achmad Widjaja, Secretary General of Indonesian Sugar Association (AGI) Mr.U.San Thein, Vice President of Myanmar Sugar and Sugar Related Products Merchants and Manufacturer's Association (MSMA) Mr.Ahmad Farid Kamarudin, Head of MSM Trading International DMCC, Malaysia Mr.Tsai Tung Sheng, Vice President of Tai&Chyun Associates Industries, Inc Mr.Bernd Langhans, Siemens Co.,Ltd.
Supported By:
Ministry of Industry
The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)
Platinum Exhibitor By :
FTI, Agricultural Machinery Manufactures Industry Club
Thai Sugar And Bio-Energy Producers Association-TSEA
Co-Located With :
Thailand Society of Sugar Cane Technologists
Official Media :
Thai Sugar Millers Corporation Limited
Conference By :
Thai Machinery Association
Energy Research and Development Institute - Nakornping
Organized By :
World
SUGAR
Conference 2016
Samart Kaset-Yon Co.,Ltd.
World Sugar Conference 2016
Sugar Asia Magazine
JuzTalk Thailand
Fireworks Media (Thailand) Co. Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group
KTIS Group
Ekarat Pattana Company Limited
Khonburi Sugar Public Company Limited
Siemens Thailand
Thai-Japan Technology Promotion Assn
Bridging You To The Heart Of Thailand's Manufacturing Industry!
THAILAND MANUFACTURING AND AUTOMATION TECHNOLOGY FAIR
w w w. t m a t f a ir.c o m
28-29 SEPTEMBER 2016
The Thai-German Institute (TGI) Amata Nakorn Industrial Estate Chonburi, Thailand
Featuring 3 Major Segments For The Manufacturing Industry: - Industrial Machineries - Industrial Automation - Power and Electric
BOOK NOW!
Endorsed By:
More Information Please Contact: Tel: (+66) 2 513 1418 Ext. 118 Email: thai@quikfairs.com
Ministry of Industry
Organized By:
QuikFairs Thailand
Thai - German Institute
Technology Promotion Association (Thailand-Japan)
Design And Engineering Consulting Service Center
NO.162 8/2559
ลุนรับรางวัลงายๆ
เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ
ไออารซี เทคโนโลยีส บจก. บีทีที ยูไนเต็ด บจก. จ.ศรีรุงเรืองอิมเปกซ บจก. Tel: 0-2731-1191#131
ปารคเกอร ฮันนิฟน (ไทยแลนด) บจก. มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก. Fax: 0-2769-8043
ชื่อ :
บริษัท :
อีเมล :
เบอรโทรศัพทมือถือ :
Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :
THE NEXT STEP IN
METALWORKING PRODUCTION
Taking metalworking production to the next level involves in exploring new machining and tooling technologies to earn long-term competitive advantages in the era of AEC. Manufacturers who act now will strive, while those who fail to shift will rapidly fall behind. It is time for you and 500 brands from 25 countries, to once again provide technology they need, and build partnerships in the international trade fair of 10,000 machinery and technology buyers.
2 0 1 6
6-8 OCT SECC (TT Trien lam Saigon)
HCMC Vietnam Vietnam’s International Exhibition on Machine Tools & Metalworking Solutions for Production Upgrade
Exhibit space is open for reservation. Vietnam +84 8 3520 7756/57/58 Thailand +66 2 686 7299 metalexvietnam@reedtradex.co.th www.metalexvietnam.com www.facebook.com/metalexvietnampage
Organized by :
Local Partner:
102 Editor’s Pick
วิธีแก้ปัญหำอันชำญฉลำดส�ำหรับทุกระดับ ในโรงไฟฟ้ำเซลล์แสงอำทิตย์-ตรงตำม ควำมต้องกำรเฉพำะของเจ้ำของ Installation Accessories (4) Combiner Boxes (level 2)
Conceptpower DPA 500 : โซลูชั่นใหม่ส�ำหรับ กำรส�ำรองไฟฟ้ำของศูนย์ข้อมูล (Data Center) Conceptpower DPA 500 รุ ่ น ใหม่ ล ่ า สุ ด จากเอบี บี มี ร ะดั บ การกิ น ไฟต�่า และความไว้วางใจได้ในระดับสูง จึงเป็นอีกหนึ่งทางออกของ UPS ที่ทุกคนปรารถนาส�าหรับศูนย์ข้อมูลทุกรูปแบบและครอบคลุมการใช้งาน ที่หลากหลายตั้งแต่ 100 กิโลวัตต์ ไปจนถึง 3 เมกะวัตต์ โครงสร้างเอบีบี UPS ได้รับการออกแบบให้แต่ละโมดูลประกอบไปด้วยอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ที่มีความส�าคัญในการท�างานของ UPS แบบแยกส่วน ท�าให้ ปัญหาการท�างานล้มเหลวทั้งระบบหมดไป Conceptpower DPA 500 เป็น UPS แบบแยกโมดูลเครือ่ งเดียวในตลาดทีส่ ามารถเพิม่ โมดูลได้งา่ ย ประหยัด การใช้พลังงาน มีอายุการใช้งานยาวนาน ข้อดีอีกประการหนึ่งของโมดูล แบบแยกจะท�าให้การเก็บชุดส�ารองโมดูลท�าได้ง่ายขึ้นและเพิ่มความพร้อม ในการใช้งานที่วางใจได้ โมดูลทุกตัวของ Conceptpower DPA 500 สามารถ สับเปลี่ยนในขณะที่ใช้งานอยู่ได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่ออุปกรณ์ให้เกิดการ เสียหาย และไม่จ�าเป็นต้องปิดเครื่องหรือย้ายไปใช้โมดูลหลัก หลั ก การที่ ต รงไปตรงมาของ Conceptpower DPA 500 ท� า ให้ ทุกกระบวนการง่ายขึ้น ตั้งแต่การวางแผน ติดตั้ง ไปจนถึงการเริ่มด�าเนินการ ใช้งานอย่างเต็มรูปแบบ ตลอดจนเทคโนโลยีการสับเปลี่ยนขณะใช้งานและ การลดระยะเวลาในการซ่อมแซมน�าไปสูส่ ภาพพร้อมใช้งาน 99.9999% ทัง้ ยัง สามารถช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในการใช้งานจากการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์นมี้ ตี น้ ทุนค่าใช้จา่ ยทีต่ า�่ ทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับระบบ UPS อื่น ยิ่งไปกว่านั้นยังสามารถช่วยลดต้นทุนส�าหรับระบบ ระบายความร้อนของศูนย์ข้อมูลด้วยเช่นกัน เนื่องจาก Conceptpower DPA 500 มีการระบายความร้อนออกมาในระดับทีต่ า�่ ท�าให้ระบบควบคุมอุณหภูมิ ภายในศูนย์ข้อมูลมีการใช้พลังงานน้อยลง ประหยัดมากขึ้นและยังใช้พื้นที่ ติดตั้งน้อย เหมาะส�าหรับศูนย์ข้อมูลที่มีพื้นที่จ�ากัดและราคาแพง
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Combiner Boxes (level 1)
Communication Boxes (level 3)
ในโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ (Photovoltaic Park หรือ Photovoltaic Power Station หรือ Solar farm) พลังงานไฟฟ้าที่ได้ทั้งหมดจะมาจากเซลล์ แสงอาทิตย์ชิ้นเล็กๆ จ�านวนมากที่ท�าหน้าที่แปลงแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้า โดยตรง และถูกต่อเข้าด้วยกันทางไฟฟ้าในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ได้แรงดัน และกระแสไฟฟ้าตามที่เราต้องการ เซลล์แสงอาทิตย์จ�านวนไม่มากนักเมื่อ น�ามาต่อเข้าด้วยกันจะได้แผงเซลล์ขนาดย่อมที่เรียกว่า Solar module หลายๆ Modules ต่อเข้าด้วยกันเป็นชุดเรียกว่า String หลายๆ Strings ต่อเข้าด้วยกันเรียกว่า Array และเมื่อรวมกับอุปกรณ์ที่จ�าเป็นอื่นๆ อีกหลาย อย่างก็จะกลายเป็นระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (Photovoltaic System) ในระบบเซลล์แสงอาทิตย์นอกจากจะมีเซลล์แสงอาทิตย์จ�านวนมากแล้ว ยังจะต้องมีระบบและอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ อีกหลายอย่างรวมอยู่ด้วย เช่น Electricity Meter, Inverter, Battery, Charge Control, Fuse Box, AC Isolator, DC Isolator, Tracking System หรือระบบติดตามแสงอาทิตย์ เป็นต้น ซึ่งจะต้องน�าเข้ามาท�างานร่วมกันอย่างเหมาะสม Weidmuller มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างที่จะช่วยให้งานด้านนี้เป็นงานง่าย มีความปลอดภัย และเป็นระเบียบเรียบร้อยยิ่งขึ้น Weidmuller ได้พัฒนาและสร้าง Combiner Boxes ที่เหมาะส�าหรับใช้กับ ทุกระดับของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ หน้าที่ทุกๆ ด้าน นับตั้งแต่การส่งก�าลัง ไฟฟ้าและการป้องกันด้วย Fuse ไปจนถึงการเฝ้าตรวจจับหรือ Monitoring ได้ถูกน�ามารวมเข้าด้วยกันอย่างลงตัวตามลักษณะของงานแต่ละชนิด และ ด้วยผลิตภัณฑ์คุณภาพของ Weidmuller สิ่งนี้จะท�าให้เจ้าของงานได้ระบบ ที่เชื่อถือได้อย่างแน่นอน การตรวจสอบหาความผิดพลาดรวมทั้งการแก้ไข สามารถที่จะท�าได้อย่างรวดเร็วและแม่นย�าเมื่อมีกรณีฉุกเฉินเกิดขึ้น
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด Tel: 0-2642-8762-4 Fax: 0-2248-3006 E-mail: sales1@kanitengineering.com Website: www.kanitengineering.com
Editor’s Pick 103
GERMAN RACK กับเทคโนโลยีที่ตอบทุกโจทย์ของ DATA CENTER ในยุคนีก้ ลายเป็นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารอย่างแท้จริง การรับส่งข้อมูล ต้องรวดเร็ว หรือการ Download และ Upload ต้องสามารถรองรับกับความ ต้องการของผู้ใช้งานที่นับวันยิ่งมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่จะมา ตอบโจทย์พวกนี้ก็คือ Data Center นั่นเอง และการท�าศูนย์ Data Center เพื่อท�าเป็นพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลก็ไม่ได้ยุ่งยากอย่างที่คิด INTERLINK ขอน�าเสนอตู้ Rack ที่เอามาแก้ปัญหาใหญ่ของ Data Center สองเรื่องคือ พื้นที่การจัดวางตู้ Rack และการแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในตู้เดียวกันส�าหรับ ผู้เช่าต่างบริษัทกัน 1. ลดพืน้ ทีก่ ารใช้งาน เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ตู ้ นี้ อ อกแบบเป็ น ตู ้ เ จาะรู ร ะบาย อากาศทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง เพื่ อ ให้ สามารถระบายความร้ อ นที่ ส ะสมภายใน ตู ้ ไ ด้ ดี และมี จุ ด เด่ น ที่ ป ระตู ตู ้ อ อกแบบให้ สามารถเปิดออกเป็นบานซ้ายและขวา โดย เปิดจากตรงกลางเพื่อลดพื้นที่การใช้งานตู้ Rack เหลือ 30 เซนติเมตร (ปกติจะกินพื้นที่ 60 เซนติเมตร) 2. แบ่งพื้นที่ส่วนตัวให้เหมาะสมและลงตัว ตู้นี้ออกแบบมาให้เหมาะสมกับ Data center ที่มีผู้มาเช่าตู้ใช้งานแต่ ไม่ได้เช่าพื้นที่ทั้งตู้ มีให้เลือก 2 รุ่นคือ รุ่น Haft Rack (ตู้เปิด 2 ตอน) และ Quad Rack (ตู้เปิด 4 ตอน) ผู้มาเช่าพื้นที่จะมีทั้งความปลอดภัย และความ เป็นส่วนตัว ออกแบบให้ประตูหน้าและประตูหลัง มีความเป็นอิสระแยกจาก ผูเ้ ช่าในส่วนอืน่ ๆ ทัง้ กุญแจล็อกทีส่ ามารถเปิดได้เฉพาะส่วนเท่านัน้ (เลือกได้ ทั้งแบบ Master Key และแบบ Swing Handle Lock)
Medium Voltage Soft Starters MVS Range • 50A ~ 600A (Nominal) Voltage Ranges • 2300 ~ 13800VAC (Mains Voltage L1, L2, L3) Panel (Customer-specified) • With mains / isolation switch / Earth switch, fuses, main & bypass contactors and RTD relay
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) Tel: 0-2693-1222 Expressway: 0-2276-0340 Fax: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ BTT UNITED Co.,Ltd. Tel: 0-2586-8733 (AUTO) Fax: 0-2587-8852 E-mail: info@bttunited.com Website: www.bttunited.com issue 159 May 2016
P001_Mo_Cover_August_2016.pdf 1 7/27/2016 4:07:30 PM
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อมลูผส ูมคัรสมาชกิ
ำแหนง งาน
ชื่อ (Name) บอร โทรศพัท (Telephone) ตำแหนง งาน
นามสกลุ (Surname) E-mail เบอร โทรสาร (Fax)
ร�ษทั
ลขที่
หม ู
บร�ษทั
แขวง/ตำบล
Y
CY
K
เบอร โทรสาถร งึ(Fฉaบx)บั
สมคัรสมาชกิ นติยสาร Modern Manufacturing ทอ ียท ู ีใช ในการจดัสง
M
MY
มอืถอื (Mobile)
ตั้งแตฉ บบั
แผนก/หนว ยงาน
www.mmthailand.com
อยท ู ีใช ในการจดัสง
ตั้งแตฉ บบั
C
CM
CMY
www.factoryeasy.com
มคัรสมาชกิ นติยสาร Mเบoอdรe โrทnรศMพัaทn u(Tfealcetpuhroinnge)
นามสกลุ (Surname) มอืถอื (Mobile) E-mail
ถงึ ฉบบั ประเภทอตุสาหกรรม
เขต/อำเภอ แผนก/หนว ยงาน
ธกีารชำระเง�น
จงัหวดั
70.
เฉลิมพล ปุณโณทก ‘ความสำเร็จ’… ไมมีคำวา ‘บังเอิญ’ มีแตคำวา ‘วางแผน’
SMART INDUSTRY กระบวนการผลิต ตองตรวจสอบไดแบบเรียลไทม
SMART GRID ตอบโจทยอนาคตการผลิตไฟฟาอัจฉริยะ เมื่อผูใชพลิกบทเปนผูผลิต
p. 54
p. 49
p. 62
รหสัไปรษณยี ประเภทอตุสาหกรรม
เลขที่ หม ู แขวง/ตำบล เขต/อำเภอ จงัหวดั โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชอ ืบญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214
ว�ธกีารชำระเง�น
Vo l .1 4 N o.1 6 2 au g u st 2 0 1 6
ขอ มลูผส ูมคัรสมาชกิ
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
162
อ (Name)
Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
รหสัไปรษณยี
subscribe now! subscribe 840 now! บาท
เชค็ขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชอ ืบญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214 เชค็ขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั
สมคัรสมาชกิ 1 ป 12 ฉบบั แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพรีเมี่ยม 1 ตวั สมคัรสมาชกิ 1 ป 12 ฉบบั แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพรีเมี่ยม 1 ตวั
840 บาท