Modern Manufacturing Magazine : December 2016

Page 1

Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

Needle Bearings Linear Way Mechatronics Series ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล

มอง ‘พลังงานโลก’... แลวยอนดู ‘พลังงานไทย’

อุตสาหกรรมไทยกับ High Strength Steel

p. 40

p. 45

p. 53

MTEC: คลังสมองของชาติ ดานเทคโนโลยีวัสดุ

70 baht





THIS IS RELIABILITY Automations Connectors Hydraulics Filtration Instrumentation Engineered Materials (Seal)

Leader of Motion and Control Technologies Provide the total solutions and service With high quality of 6 product groups Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000

Parker enables its partners to increase productivity and profitability, while protecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solve the world’s greatest engineering challenges. www.parker.com/th

P022_AD Parker 2016-All.indd 22

28-Oct-16 11:35:36 AM



MAb Series

High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.

MSR Series

Conveying Blowers Air Volume : 5 cmm – 60 cmm. Pressure : 500 Pa – 6,750 Pa.

MAb Bio-Gas

High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.





11

พพ. กระทรวงพลังงาน

สร้างวิทยากรตัวคูณรณรงค์ความปลอดภัย ในการผลิตและใช้พลังงานทดแทนทั่วประเทศ พลังงาน นับว่าเป็นความจ�าเป็นของมนุษย์ใน โลกปัจจุบันอย่างยิ่ง รวมถึงมีความส�าคัญต่อการ พัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งมีแนวโน้ม ทวีความต้องการพลังงานเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ สวนทาง กับปริมาณทรัพยากรด้านพลังงานทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ากัด ท�าให้ต้องแสวงหาแหล่งพลังงานอื่นมาทดแทน กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน องค์กรของรัฐ ที่ รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงด้ า นพลั ง งานทดแทน จึ ง มี นโยบายสนับสนุน ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วน หั น มาผลิ ต และใช้ พ ลั ง งานทดแทนเพิ่ ม มากขึ้ น ซึง่ เทคโนโลยีพลังงานทดแทนทีไ่ ด้รบั ความนิยมและ มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ก๊าซชีวมวล (Biomass) และพลังงานแสง อาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) แต่ ที่ผ่านมาผู้ผลิตและผู้ใช้พลังงานทดแทนดังกล่าว ยั ง ขาดความรู ้ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ ง ท� า ให้ เ กิ ด อุบัติเหตุอยู่เป็นระยะ สร้างความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน พพ. จึงริเริ่มจัดโครงการรณรงค์ความปลอดภัย จากการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน (Energy Safety) ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องการ ผลิตและใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งเน้นย�้าเรื่อง “ความปลอดภัย” ตั้งแต่ปี 2556 จนถึงปัจจุบัน โดย มีศนู ย์วจิ ยั เทคโนโลยีพลังงานเพือ่ สิง่ แวดล้อม (ETE) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นที่ ปรึกษาโครงการ ซึง่ ผลการด�าเนินงานทีผ่ า่ นมานับว่า ประสบความส�าเร็จอย่างมาก สถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุ ลดลง แต่อย่างไรก็ตาม พพ. ยังคงเดินหน้ารณรงค์ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความตระหนักให้ผเู้ กีย่ วข้อง มีการผลิตและใช้พลังงานทดแทนอย่างถูกต้องและ เกิดความปลอดภัย การด�าเนินงานโครงการฯ ของ พพ. ใช้กลยุทธ์ การมีสว่ นร่วมของประชาชนและการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยคัดเลือกอาสาสมัครพลังงาน (อส.พน.) ผู้ซึ่งมี ความรู้พื้นฐานเรื่องพลังงานที่อาศัยอยู่ในชุมชน แต่ละภูมภิ าคทัว่ ประเทศ จ�านวน 150 คน ซึง่ มีทงั้ ผูท้ ี่ เคยเข้าร่วมโครงการในปีที่ผ่านมาจ�านวน 100 คน และขยายเครือข่ายให้ อส.พน. ที่สนใจเข้าร่วม โครงการปีนเี้ พิม่ อีก 50 คน เข้ารับการอบรมเพิม่ พูน องค์ความรูท้ างวิชาการเรือ่ งความปลอดภัยจากการ ผลิตและใช้พลังงานทดแทนทั้ง 3 เทคโนโลยี ฝึก ปฏิบตั ทิ ดลอง การใช้พลังงานทดแทนอย่างปลอดภัย รวมถึงศึกษาดูงานระบบการผลิตและใช้พลังงาน ทดแทน เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเห็นระบบการผลิตและ ใช้งานจริง ท�าให้เกิดความรู้ ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

พร้ อ มทั้ ง ฝึ ก ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น ส� า หรั บ ผู ้ ที่ ได้รับบาดเจ็บกรณีเกิดอุบัติเหตุจากการผลิตและใช้ พลังงานทดแทน และฝึกทักษะ เพิ่มความมั่นใจใน การพูดในที่สาธารณะด้วย นอกจากนี้ โครงการฯ ยั ง ได้ จั ด ท� า สื่ อ ประชาสัมพันธ์ด้านความปลอดภัยในการผลิตและ ใช้พลังงานทดแทน ได้แก่ สารคดีแอนิเมชั่น คู่มือ แผ่นพับ ป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย พร้อมทั้ง จัดเตรียมชุดสาธิตอุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคล ส�าหรับปฏิบัติงานเกี่ยวกับการผลิตและใช้พลังงาน ทดแทน เพื่อให้ อส.พน. น�าไปใช้ประกอบการ เผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชน หลั ง จากเสร็ จ การอบรม อส.พน. จะท� า หน้าที่เ ป็นวิทยากรตัวคูณน�า องค์ความรู้แ ละสื่อ ประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยในการผลิตและ ใช้พลังงานทดแทนทั้ง 3 เทคโนโลยี ไปเผยแพร่ต่อ ให้กบั ชุมชน ฟาร์ม และสถานประกอบการต่างๆ ทีม่ ี ระบบผลิตพลังงานทดแทนทั้ง 3 เทคโนโลยี ตั้งเป้า ปีนี้จ�านวนอย่างน้อย 750 แห่งทั่วประเทศ เพื่อให้ เกิดการผลิตและใช้พลังงานทดแทนอย่างถูกต้อง ปลอดภัย สร้างความเชือ่ มัน่ ให้ประชาชนหันมาผลิต และใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น ช่วยเพิ่มปริมาณ การผลิตพลังงาน และสร้างความมั่นคงให้ประเทศ มีพลังงานใช้อย่างยั่งยืน

ผู้เข้าอบรมศึกษาดูงานระบบการผลิตและใช้พลังงานทดแทน

คู่มือและสารคดีแอนิเมชั่นความปลอดภัยในการผลิต และใช้พลังงานทดแทน

ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติทดลอง การใช้พลังงานทดแทนอย่างปลอดภัย

วิทยากรตัวคูณ

Energy Safety

ใช้พลังงานอย่างปลอดภัย มั่นใจกันทุกคน

วิทยากรตัวคูณเผยแพร่ความรู้ด้านความปลอดภัยในสถานประกอบการ

ผู้สนใจเรื่องการผลิตและใช้พลังงานทดแทน อย่างปลอดภัย สามารถเข้าไปศึกษาข้อมูล และดาวน์โหลดเอกสารได้ที่เว็บไซต์ http://energy-safety.ete.eng.cmu.ac.th issue 166 december 2016



บรษิทั ซพ ี เีอม็ เอน็จเินยีริ่ง เซน็เตอร จำกดั

559/26 หมู 7 ตำบลบางพลใีหญ อำเภอบางพลี จงัหวดัสมทุรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com

Scope of Work

àÃÒ໹š¼ãŒÙ˺ŒÃ¡ÔÒôҌ¹ Mechanical Work ·Ñé§Ãкºã¹ âç§Ò¹ÍµØÊÒË¡ÃÃÁ·¡Ø»ÃÐàÀ· હ‹ Utility Pipe, Process pipe, Sanitary pipe, Rack pipe, Dust pipe, Dust exhaust, §Ò¹ËÁŒØ©¹Ç¹à¤Ã×Íè §¨¡ÑÃã¹âç§Ò¹ÍµØÊÒË¡ÃÃÁ ·¡Ø»ÃÐàÀ· úѼŵԧҹ áÅе´ÔµÑé§àËÅ¡ç§Ò¹Êáµ¹àÅÊ Storage tank, Silo, Hopper, Mixing, Walk Way and Platform, Install Machine On site

• Storage Tank, Hopper, Silo, Mixing, Pressure Vessel • Tank Farm and External Storage Tank On Site • Installaiton Machine and Service Maintenance On Site • Fabrication and Installation Pipe Rack • Walkways and Platforms • Piping Work Utility System, Process Piping Work • Insulation Hot and Cool with Jacket Work • Fabrication and Installation Dust Pipe, Dust Exhaust • Structure Support • Screw Conveyor and Screw Feeder • Dust Collector Systems • Basket Strainer and Filter


14

copyright & trademark

2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th

COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

การสมัครสมาชิก

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.



contents vol.14 no.166 decEMber 2016

p.30

p.34

p.68

p.53

p.40

p.43

19

NEWS & UPDATE

30 COVER STORY

IKO ผลิตภัณฑ์คุณภาพ ตอบโจทย์หลากอุตสาหกรรม มุ่งเดินหน้าด้วยแนวคิด ‘นวัตกรรม เทคโนโลยี และริเริ่มสร้างสรรค์’ 34 SPECIAL REPORT

เดินหน้าเศรษฐกิจไทย 2017… สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 40 EXCLUSIVE TALK

ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล MTEC: คลังสมองของชาติด้านเทคโนโลยีวัสดุ 43 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

เปิดนโยบายพัฒนาและมาตรการขับเคลื่อน ภาคอุตสาหกรรม

49 SPECIAL REPORT

63 TECH FOCUS

‘คน’ กลไกขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยุค 4.0

การใช้เทคนิค Long Range ULTRASONIC (LRUT) ในการประเมินค่าท่อส่งก๊าซแอลพีจีในโรงกลั่นน�้ามัน ปิโตรเคมี

53 SPECIAL INTERVIEW

ผศ.ดร.วิทูร อุทัยแสงสุข อุตสาหกรรมไทยกับ High Strength Steel: ตบมือข้างเดียวไม่ดัง 56 TECH FOCUS

ปัญหา DDoS Attacks โจมตีเซิร์ฟเวอร์ รู้ทัน ก็ป้องกันได้ 58 TECHNOLOGY

68 ELECTRICAL & ELECTRICITY

เทคนิคการจัดการระบบไฟฟ้า เพื่อลดต้นทุนการใช้พลังงาน 71

PETROCHEMICAL

2016 Petrochemical Situation Review

MindSphere เทคโนโลยี Cloud ส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรม

Kill Step เรื่องต้องรู้ส�าหรับความปลอดภัยด้านอาหาร

60 RENEWABLE ENERGY

76 PRODUCTIVITY BOOSTER

RE 4.0 ยุคทองของพลังงานสีเขียว

ลดความสูญเปล่างานบ�ารุงรักษา... ได้อย่างไร?

74

FOOD PROCESSING

45 GREEN ZONE REPORT

80 PRODUCTIVITY BOOSTER

มอง ‘พลังงานโลก’... แล้วย้อนดู ‘พลังงานไทย’

การลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักร เพื่อเพิ่มก�าลังการผลิต 50% ขึ้นไป

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


p.71

p.83

83 RESEARCH & DEVELOPMENT

การเปรียบเทียบศักยภาพ ‘น�้ามันหล่อเย็นชีวภาพ’ เพื่อการขึ้นรูปโลหะ 86 RESEARCH & DEVELOPMENT

ลดต้นทุนการผลิต... ด้วยต้นแบบแชสซีที่มีลักษณะโค้งงอ 88 WHITE PAPER

ขึ้นรูปโลหะด้วยเครื่องพับแบบเซอร์โว ประสิทธิภาพและผลผลิตสูงขึ้น 90 MAINTENANCE

การสั่นสะเทือน บอกความผิดปกติของเครื่องจักรอย่างไร 92 MAINTENANCE

บ�ารุงรักษา ‘เพลา’ แก้ปัญหาถูกจุด บรรเทาความเสียหายของเครื่องจักร 94 SPECIAL FEATURE

Test-Xpert II ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุ หนึ่งเดียวของ Zwick ที่ตอบโจทย์งานประกันคุณภาพ 97 SPECIAL FEATURE

เทคโนโลยีทางการแพทย์ และการผลิต ที่เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด


editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com ISSN: 1685-7143

เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

หลังจากการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาสิน้ สุดลง เป็นทีแ่ น่ชดั แล้วว่า โดนัลด์ ทรัมป์ เป็นผูค้ ว้า ชัยชนะ และขึ้นสู่ต�าแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 45 นับได้ว่าปรากฏการณ์นี้ได้สร้างจุดเปลี่ยนให้กับ สังคมสหรัฐอเมริกา และกระเทือนไปถึงสังคมโลก ในภาคอุตสาหกรรมก็เช่นกันที่ต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น MODERN MANUFACTURING ฉบับนี้ ผศ.ดร.วิทูร อุทัยแสงสุข ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) มีเรื่องราวของวัสดุ High Strength Steel มาบอกกัน ในประเด็นที่ว่ามีปัจจัยใดบ้างที่น�าไปสู่การบรรลุเป้าหมายด้านการวิจัยเพื่อออกแบบเหล็ก ที่สามารถขึ้นรูปได้อย่างไม่มีข้อจ�ากัด ในเรื่องอุตสาหกรรมไทยกับ High Strength Steel: ตบมือข้างเดียวไม่ดัง หน้า 53 ส�าหรับ EXCLUSIVE TALK พบกับ ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อ�านวยการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แห่งชาติ เรือ่ ง MTEC: คลังสมองของชาติดา้ นเทคโนโลยีวสั ดุ โดยมีใจความตอนหนึง่ ที่ ดร.จุลเทพ ได้ฉายภาพ ให้เห็นถึงเป้าหมายส�าคัญของ MTEC คือ “…การออกแบบวิศวกรรมเป็นแกนเชื่อมแต่ละศูนย์ย่อยๆ ของเรา เข้าด้วยกัน ผมคิดว่างานวิจัยพื้นฐานก็ส�าคัญ แต่ไม่ใช่ท�าตีพิมพ์เพื่อลงวารสารวิชาการแล้วขึ้นหิ้ง แต่ต้อง ร้อยเรียงมากขึ้น เราต้องเป็นผู้เผยแพร่ ให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีวัสดุ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน และเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ภาคพลังงาน ภาคสิ่งแวดล้อม ภาคเกษตร…” ติดตามได้ที่หน้า 40 นะคะ ด้าน SPECIAL REPORT นั้น MODERN MANUFACTURING ได้หยิบยกใจความส�าคัญจากงานเสวนา ‘Thailand’s Economic Outlook 2017: Towards Sustainability’ ที่จัดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ในประเด็นทิศทางการ เติบโตของเศรษฐกิจไทยทีต่ อ้ งเผชิญความท้าทายร่วมกับประชาคมโลก โดยหนึง่ ในใจความส�าคัญ คือ ดร.สุวทิ ย์ เมษิณทรีย์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้กล่าวถึง 3 กับดักส�าคัญทีไ่ ทยเผชิญอยู่ คือ กับดักประเทศ ระดับปานกลาง กับดักของความเหลื่อมล�้า และกับดักของความไม่สมดุล ติดตามรายละเอียดได้ที่หน้า 34 ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่ม แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร

ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณำธิกำร: ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ กองบรรณำธิกำร: เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร, จีรพร ทิพย์เคลือบ บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัต เพ่งพินิจ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936

Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Staff: Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn, Jeeraporn Thipkhlueb Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


news & Update

19

Trump ชัยชนะและการตื่นตัวภาคธุรกิจ

ตลาดการส่งออกจีนยังคงซบเซา

ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีประเทศสหรัฐอเมริกานับเป็นอีกหนึ่งกระแส ที่น่าจับตามอง หลังจาก Brexit ด้วยแนวนโยบายทางการเมืองที่มีแนวโน้มเจรจา กับประเทศรัสเซีย รวมถึงเรียกกลับงานและแรงงานการผลิตจากต่างประเทศ คืนสู่มาตุภูมิ ผลการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการปลุกเหล่านักลงทุนและผู้ประกอบการให้ตื่น ขึ้นมาจากภาวะซบเซา เพื่อเตรียมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะตามมาหลังจากการ แต่งตั้ง โดย Bob Greifeld, Chief Executive จาก Nasdaq คาดการณ์ว่าตลาด จะมีการเคลื่อนไหวอย่างมากจากตลาดภายนอกในอนาคต โดย Brexit ถือเป็น จุดเริ่มต้น ซึ่งในแต่ละพื้นที่ก็มีกิจกรรมและกระแสแตกต่างกันไป แต่ที่แน่นอน อย่างหนึ่ง คือ ตอนนี้ก�าลังเกิดกระแส Anti-Trade และ Anti-Globalization ซึ่งจะ ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจอย่างแน่นอน

ยอดการส่งออกของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีตวั เลขตกลงติดต่อกันเป็นเดือน ที่ 7 แล้ว โดยการส่งออกโพ้นทะเลตกลงมา 7.3% จากช่วงเดือนเดียวกันในปี ค.ศ. 2016 ซึ่งการส่งออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาลดลง 5.6% และ 8.7% ส�าหรับ สหภาพยุโรปเมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา การน�าเข้าสินค้าจากสหรัฐอเมริกาลดลง 6.9% มูลค่าการส่งออกที่ลดลงนั้น เกิดความเสียหายลดลงเมื่อเทียบเป็นเงินหยวน การน�าเข้าน�้ามันดิบลดลงต�่า อย่างมาก การน�าเข้าถ่านหินลดลงเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน และการน�าเข้าทองแดง ลดลงต�า่ ทีส่ ดุ ตัง้ แต่ชว่ งเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015 ในขณะทีผ่ ลลัพธ์ภายในประเทศ กลับค่อยๆ ไต่ระดับขึ้น

Source: https://goo.gl/ry0kT9

Source: https://goo.gl/f43Nga

Brexit

กับโอกาสกลางวิกฤต ผู้ผลิตจากสหราชอาณาจักรก�าลังอยู่ท่ามกลางภาวะค่าเงินปอนด์สเตอร์ลิงอ่อนตัว เปิดโอกาสส�าหรับการท�าการค้าและธุรกิจกับต่างชาติ รายงานนี้เป็นผลงานของ BDO LLP โดยพบว่า กว่า 60% นั้น พยายามด�าเนินธุรกิจต่อไปโดยมุ่งเน้นที่งานวิจัยและพัฒนา นักลงทุนกว่า 45% ยังคงมีความกังวลและไม่มั่นใจต่อการเจรจาและ สถานภาพทางเศรษฐกิจจากภาครัฐ Tom Lawton ผู้อ�านวยการส่วนนักอุตสาหกรรมแห่ง BOD LLP กล่าวว่า “ภาคอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักรนั้นยังอยู่ในสถานการณ์ล่อแหลมส�าหรับการก้าว ไปสู่ความส�าเร็จในอนาคต แม้ว่าจะอยู่ท่ามกลางสภาวะเหล่านี้แต่การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์รวมถึงการวางยุทธศาสตร์อย่างเหมาะสม จะเป็นการเผยให้เห็นถึง ทุกความเป็นไปได้ที่มี” Source: https://goo.gl/1su0mp

issue 166 december 2016


20 SUPPLIER INDEX december 2016 หน้า

ชื่อบริษัท

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.

0-2637-5115

www.ikont.co.jp/eg

“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”

2

ก้าวหน้า อินดัสทรีส์ เอ็นจิเนียนิ่ง บจก.

0-2159-9861-4

www.kaowna.co.th

จ�าหน่าย Air compressor Air dryer เครื่องอัดลม ปั้มลม เครื่องท�าลมแห้ง อุปกรณ์ ปรับปรุงคุณภาพลม อะไหล่ปั๊มลม และงานบริการด้านต่างๆ

3

จีทีเอ็ม บจก.

0-2012-1800-4

www.gtm.co.th

จัดจ�าหน่ายและให้บริการหลังการขายสินค้าประเภทรถยกและอุปกรณ์ขนย้าย GT Mover, MIAG และ Master Mover

4

เจเอสอาร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม

5

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักร และเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก

6

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย

8

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์ วัดปริมาณฝุ่น, วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณ์นิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

10

ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE

12

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3

www.cpmflow.com

“ความสม�่าเสมอในการท�างาน ผลักดันให้งานมีคุณภาพ พร้อมกับมาตรฐานในความปลอดภัย “Good Team Change The Future””

15

กลอบอลซีล บจก.

0-2591-5256-7

www.globalseal.co.th

กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร

17

บีทีที ยูไนเต็ด บจก.

0-2586-8733

www.BTTunited.com

จ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�่าครบวงจร

21

อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.

0-2937-1190

www2.emersonprocess.com

EMERSON. CONSITION IT SOLVED.

22

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4

www.cgsreboardthai.com

"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board"

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

47

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71

www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ริททัล จ�ากัด

0-2704-6580-8

www.rittal.com/th-en/

Rittal – The System. Faster – better – everywhere.

105

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach

106

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

107

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบ และทุกกลุ่มอุตสาหกรรม

108

ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.

0-2379-1611-12

www.tvp.co.th

จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม

45

โฟร์ดี คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2681-2085

www.4dcorps.com

จ�าหน่ายซอฟแวร์ บริการติดตั้งคอมพิวเตอร์

46

โทเซอิ (ประเทศไทย) บจก.

0-3819-3282-3

www.tosei.co.th

บริการติดตั้งและโยกย้ายเครื่องจักรกล

47

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.

0-2682-6522

www.mitsubishifa.co.th

เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้า ผ่านเครือข่ายในการจ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล

49

อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.

0-2937-1190

www2.emersonprocess.com

EMERSON. CONSITION IT SOLVED.

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71

www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4

www.cgsreboardthai.com

"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board"

105

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima, Gas springs : Bansbach

106

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

107

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบ และทุกกลุ่มอุตสาหกรรม

108

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์ วัดปริมาณฝุ่น, วาล์วและหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

1, 28-33

7, 48

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป

เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign



24 news & Update

แนวคิดการออกแบบยานยนต์แบบใหม่

จาก MarchantCain

บริษทั ออกแบบทางวิศวกรรม Midlands และผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านอุตสาหกรรม การผลิต MarchantCain ได้เปิดเผยการออกแบบยานยนต์แห่งอนาคตที่งาน Advance Engineering Show เมื่อวันที่ 2 และ 3 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา โดย ภาพเบื้องต้นแสดงให้เห็นถึงกล้องถ่ายภาพที่มาแทนที่กระจกหูช้าง นอกจากนี้ การออกแบบอื่นๆ ยังมีการค�านึงประสิทธิภาพการใช้งานสูงสุดของผู้ใช้ รวมถึง การประหยัดพลังงานอีกด้วย Source: https://goo.gl/hMQ

Productivity

ของผู้ประกอบการ สหราชอาณาจักรเพิ่มขึ้น

Pods ไร้คนขับ พาหนะใหม่บนท้องถนน Productivity ในไตรมาส 3 ของผู้ประกอบการอุตสากรรมในสหราชอาณาจักร เพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบ 2 ปี ผลิตภาพที่ได้จากแรงงานเพิ่มขึ้นเป็น 3.1% นับเป็น โอกาสที่ดีท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงซึ่งก่อตัวขึ้นในทุกหย่อมหญ้าทั่วโลก ภายใน 5 ปี ที่ผ่านมานั้น อัตรา Productivity เฉลี่ยอยู่ที่ 0.6% ซึ่งนับว่าเป็น ช่วงที่อ่อนแอที่สุดนับตั้งแต่ปี ค.ศ.1978-1982 ถือว่าเป็นสัญญาณที่ดีของการ เปลี่ยนแปลงรวมไปถึงทิศทางการลงทุนที่มีความมั่นคงมากขึ้น ‘การเพิ่มผลลัพธ์ที่ออกมาและต้องไม่เพิ่มต้นทุนค่าใช้จ่าย’ แนวคิดส�าหรับ การแก้ปัญหาด้าน Productivity จาก David Slone ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจจาก 4CAST-RGE เมือง New York Source: https://goo.gl/C1kYns

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผู้เชี่ยวชาญด้านยานยนต์อัตโนมัติและ TE Connectivity (TE) ได้รว่ มพัฒนา Pod ไร้คนขับเปิดตัวเป็นครัง้ แรกในประเทศเยอรมนี ภายใต้ชอื่ ‘Pod Zero’ ซึง่ สามารถบรรทุกคนได้ 4 คน และใช้ความเร็ว สูงสุดได้ 15 ไมล์ต่อชั่วโมง David Keene ผู้บริหาร RDM Group นั้นกล่าวว่า พวกเขา ได้ร่วมมือกับ TE มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ด้วยการผสมผสาน เทคโนโลยี ความรู้ และผลิตภัณฑ์เข้าด้วยกันจนกลายมาเป็น Pod รุ่นต้นแบบ ในตอนนี้ Pod Zero นั้นได้เดินทางไปท�าการทดสอบ ในหลายๆ พื้นที่ เช่น Australia ถือเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ ของวงการยานยนต์อีกครั้งหนึ่ง Source: https://goo.gl/M0dvkx


news & Update 25

‘The Next Engineer Forum 2016’

จากพี่สู่น้อง... เตรียมความพร้อมวิศวกรก่อนเข้าสู่สนามอาชีพ เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จํากัด ในฐานะผู้ผลิตนิตยสารอุตสาหกรรมรายเดือนชั้นน�า MODERN MANUFACTURING และ MM MACHINE TOOLS & METALWORKING และผู้จัดงาน THAILAND INDUSTRIAL FORUM ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้จัดงาน ‘The Next Engineer Forum 2016’ ขึน้ เพือ่ ถ่ายทอดประสบการณ์จากรุน่ พีส่ รู่ นุ่ น้องกลุม่ ภาควิชาชีพวิศวกรรม เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสูก่ ารท�างานในชีวติ จริง โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อุดมเกียรติ นนทแก้ว คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นประธานเปิดงาน วัตถุประสงค์ส�าคัญในงานจัดงานนี้ เพื่อส่งเสริมนิสิต นักศึกษา ให้มีความพร้อมก่อนการเข้าสู่ชีวิตการท�างานจริง จุดประกายเป้าหมายและทิศทางการเลือกอาชีพ และยังเป็นเวทีพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้มีประสบการณ์ ซึ่งมีนิสิตนักศึกษาในกลุ่มภาควิชาวิศวกรรมจ�านวนมากให้ความสนใจเข้าร่วมงาน ภายในงานมีการบรรยายในหัวข้อ ‘ทําความรู้จกั กับอุตสาหกรรมไทย’ และ ‘เทรนด์การผลิต/เทคโนโลยีการผลิตที่ได้รบั ความนิยม สําหรับโรงงานยุคปัจจุบนั ’ ต่อด้วยการเสวนาในหัวข้อ ‘เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่สนามอาชีพ’ โดยผู้มีผู้ร่วมถ่ายทอดประสบการณ์ คือ อ.กมล นาคะสุวรรณ นายกกิตติมศักดิ์สมาคม อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย และประธานคณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.อศ.) เพื่อพัฒนาก�าลังคน อาชีวศึกษา กลุ่มอาชีพแม่พิมพ์ สังกัดคณะกรรมการ อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ อ.กมล ดุรงค์กนกพันธ์ ที่ปรึกษา ด้านบริหารจัดการองค์กรและบริหารการผลิต และผู้อา� นวยการฝ่ายองค์กร บริษัท เฟดเดอรัล อีเลคตริค จ�ากัด (SHARP) คุณสราวุธ จันทรนิภา กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยวอเตอร์สต๊อป จ�ากัด และด�าเนินรายการโดย คุณธีระ กิตติธีรพรชัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ากัด

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. จับมือ สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ จัดประชุมเทคโนโลยีวิศวกรรม ICET 2016 งานประชุมเทคโนโลยีวิศวกรรม International Conference on Engineering and Technology หรือ ICET 2016 เป็นความร่วมมือพัฒนาวิชาการไทย-ญี่ปุ่น โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และ สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ ผลัดกันเป็นเจ้าภาพ โดยในปีนี้ทาง สถาบันเทคโนโลยีแห่งชาติ โทยามะ เป็นเจ้าภาพจัดงาน ศาสตราจารย์ โซโตมิ อิชฮิ าระ (Prof.Sotomi Ishihara) อธิการบดี ให้การต้อนรับคณะจากวิศวลาดกระบัง สจล. ณ เมืองโทยามะ ประเทศญี่ปุ่น ในงานประชุม ICET 2016 ครัง้ นี้ ผูเ้ ชีย่ วชาญจากไทยและญีป่ นุ่ ได้แลกเปลีย่ นความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและประสบการณ์หลายด้าน นับเป็นโครงการความร่วมมือ เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าบุคลากร ระบบการเรียนการสอน ส่งเสริมงานวิจัยนวัตกรรม และพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีความสัมพันธ์อันดีและ ใกล้ชิดกันมายาวนาน ทั้งนี้ในปีหน้า ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. จะเป็นเจ้าภาพ จัดงานประชุม ICET 2017 ครั้งต่อไปในประเทศไทย

issue 166 december 2016


26 news & Update

อินเตอร์ โรล (ประเทศไทย)

คว้ารางวัล Silver Award จากงาน Thailand 5S Award 2016

อินเตอร์ลิ้งค์

คว้างานใหญ่ 500 ล้าน นายสมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) นายพิเชฐ ศรีสวัสดิ์ รองผู้ว่าการวิศวกรรม และ นายปิยะพจน์ รุธริ โก รองผูว้ า่ การก่อสร้างและบริหารโครงการ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ลงนามในสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างสถานีไฟฟ้าระบบ 115-22 เควี นิคมอุตสาหกรรม ภาคเหนือ 2, 3 และสถานีไฟฟ้าล�าปาง 3 รวมมูลค่างานกว่า 563 ล้านบาท ณ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ส�านักงานใหญ่

บริษทั อินเตอร์โรล (ประเทศไทย) จํากัด ได้รบั รางวัล Silver Award จากการเข้าร่วมประกวดในงาน Thailand 5S Award 2016 ทีจ่ ดั ขึน้ โดย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญีป่ นุ่ (สสท.) ที่ผ่านมา ทั้งนี้ การจัดงาน Thailand 5S Award ที่จัดโดย สมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น เป็นกิจกรรมที่มุ่งสร้างหน่วยงาน ให้เกิดความปลอดภัย มีมาตรฐาน ถูกสุขลักษณะ ก่อให้เกิดการ เพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อการท�างาน ส่งผลให้เกิด ความน่าเชื่อถือจากลูกค้าด้านคุณภาพ อีกทั้งเป็นการประหยัด ทรัพยากร ลดปัญหามลภาวะ และความสูญเปล่าของกระบวนการ ท�างานก่อให้เกิดผลดีต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งหน้าสู่การผลิตแบบ Skill Management และระบบบริหารระดับสูง เช่น TPM และ TQM

อีตั้น จับมือ เดอะแวลลูซิสเตมส์ บุกตลาดเครื่องส�ารองไฟฟ้า เพื่อเซิร์ฟเวอร์ ในไทย บริษทั อีตนั้ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จํากัด โดย คุณพิชยั สุทธิจินตทิพย์ (ที่ 2 จากขวา) ผู้อ�านวยการระดับภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกส่วนกลาง จับมือกับพันธมิตรใหม่ บริษัท เดอะแวลลู ซิสเตมส์ จํากัด โดย คุณสมศักดิ์ เพ็ชรทวีพรเดช (ตรงกลาง) ประธานกรรมการบริหาร บุกตลาดเครื่องส�ารองไฟฟ้าส�าหรับ เซิรฟ์ เวอร์ โดยมีการเซ็นสัญญาและรับมอบเอกสารแต่งตัง้ ตัวแทน อย่างเป็นทางการแล้ว พร้อมด้วยสักขีพยานจากทั้งสองบริษัท อันได้แก่ คุณศศิฉาย ฉายงาม (ที่ 2 จากซ้าย) ผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการ ฝ่ า ยขายและการตลาด บริ ษั ท เดอะแวลลู ซิ ส เตมส์ จ� า กั ด , คุณดุษฎี ทองไทย (ขวาสุด) ผู้จัดการฝ่ายขายภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกส่วนกลาง และ คุณปริญญา พงษ์รัตนกูล (ซ้ายสุด) ผูจ้ ดั การประจ�าประเทศไทย บริษทั อีตนั้ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จ�ากัด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


news & Update 27

‘YuMi’

อนาคตความร่วมมือระหว่างหุ่นยนต์กับมนุษย์ เอบีบี เปิดตัวหุน่ ยนต์ ‘YuMi’ นวัตกรรมแบบ 2 แขนทีเ่ ป็นมิตรกับมนุษย์ พร้อม ระบบการท�างานที่จะมาปลดล็อกสมรรถนะการใช้งานหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม ที่ยิ่งใหญ่ระดับโลก หุ่นยนต์ YuMi ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมยุคใหม่ เช่น การประกอบชิ้นส่วนขนาดเล็ก ซึ่งมนุษย์สามารถท�างานร่วมกับหุ่นยนต์แบบ มือต่อมือในงานชิน้ เดียวกันได้ แขนกลทีไ่ ด้รบั การบุและมีความอ่อนนุม่ ผสมผสาน เทคโนโลยี กั น นวั ต กรรมการสั ม ผั ส แรงกระแทก ท� า ให้ มั่ น ใจว่ า หุ ่ น ยนต์ ตั ว นี้ จะปลอดภัยส�าหรับมนุษย์ที่ต้องท�างานร่วมกัน YuMi สามารถท�างานด้วยความ แม่นย�าสูง และยังสามารถจัดการกับสิ่งที่มีความละเอียดอ่อนและมีขนาดเล็กได้ ทุกอย่าง ตั้งแต่กลไกของนาฬิกาข้อมือไปจนถึงชิ้นส่วนภายในโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ตง้ั โต๊ะ กระทัง่ สามารถสนเข็มได้เลยทีเดียว ทัง้ นี้ YuMi จะเป็นประดิษฐกรรมที่สื่อให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรที่ สามารถท�างานร่วมกันได้ในรูปแบบทีไ่ ม่มใี ครคิดฝันมาก่อนว่าจะเกิดขึน้ จริงบนโลกนี้

เติมความรู้เรื่องไฟฟ้าในโรงงาน กับงานสัมมนา FaiFa Forum 2016 เมื่อไม่นานมานี้ บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด ผู้ผลิต นิตยสาร Modern Manufacturing และ MM Machine Tools & Metalworking ได้จัดงานสัมมนา FaiFa Forum 2016 ขึ้น ณ โรงแรมสีมาธานี จ.นครราชสีมา เพือ่ เสริมสร้างและเติมเต็มความรู้ โดยเฉพาะด้านไฟฟ้าไปยังผู้ประกอบการในวงการอุตสาหกรรม และประเภทธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีหัวข้อสัมมนาที่น่าสนใจ อาทิ การทดสอบมาตรฐานไฟฟ้า การจัดการระบบไฟฟ้าเพื่อการ ลดต้นทุนการใช้พลังงาน ระบบไฟฟ้าในยุค Industry 4.0 และ แนวทางการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อรองรับ Industry 4.0 ทั้งนี้ การจัดงานดังกล่าว ยังถือเป็นอีกหนึ่งความตั้งใจ ที่ จะพัฒนาวงการอุตสาหกรรมไทย และยังเป็นเวทีส�าหรับพบปะ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล กั น ระหว่ า งผู ้ ซื้ อ ผู ้ ข ายสิ น ค้ า ในกลุ ่ ม ไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งยังก่อให้เกิดความรู้และแนวทางในการ พัฒนาการใช้พลังงานไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมอีกด้วย

ASIAMX จับมือ DAN น�าร่องเปิดใช้ ระบบซื้อขายแลกเปลี่ยนโฆษณาโทรทัศน์ครั้งแรกในไทย เอเชีย มีเดีย เอ็กซ์เชนจ์ (AsiaMX) เปิดตัวระบบซื้อขายแลกเปลี่ยนโฆษณา ทางโทรทัศน์ (Programmatic TV Exchange) เริม่ ท�าตลาดในประเทศไทยเมือ่ ต้นปี ทีผ่ า่ นมานี้ ผ่านดีลครัง้ ส�าคัญทีเ่ พิง่ ลงนามกับ เดนท์สุ อีจสี เน็ตเวิรค์ (DAN) และ ประสบความส�าเร็จอย่างงดงามโดยมีชอ่ งทีวจี ากประเทศไทยและประเทศอืน่ ๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากมายเข้าร่วมให้บริการผ่านระบบนี้ คุณนิค ชัวห์ ผู้ร่วมก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารงานพาณิชย์ AsiaMX กล่าวว่า “ประเทศไทยเป็นตลาดที่ไม่เคยหยุดนิ่ง มีความเคลื่อนไหวอยู่ ตลอดเวลา และพร้อมต้อนรับความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ เสมอ ธุรกิจการกระจายเสียง และโทรทัศน์ได้เติบโตอย่างเฟื่องฟู นับตั้งแต่การเปิดใช้งานระบบดิจิตอลทีวี (DTT) ดังนั้น จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการแนะน�าระบบ Programmatic TV ซึ่งจะช่วยเปลี่ยนผ่านและเพิ่มขีดความสามารถให้กับธุรกิจมีเดีย” ภายใต้ข้อตกลงครั้งส�าคัญนี้ ลูกค้าของ เดนท์สุ อีจิส เน็ตเวิร์ค ทั่วโลกจะ ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงโฆษณาระดับพรีเมี่ยมที่มีมูลค่าสูงก่อนใคร ผ่าน แพลทฟอร์ ม แบบอั ต โนมั ติ ประเทศไทยจะเป็ น ประเทศแรกในโลกที่ เริ่ ม ต้ น การเป็นพันธมิตรผ่านดีล ซึ่งได้รับการลงนามโดยแอมพลิฟาย (Amplifi) บริษัท ในกลุ่มเดนท์สุ อีจิส เน็ตเวิร์ค ที่เน้นการลงทุนทางด้านมีเดีย และหน่วยบริการ ทางด้าน Programmatic แอมเน็ท (Amnet) issue 166 december 2016


Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”

Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.

• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115

Fax: +66 (0)2-637-5116


Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.

C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.

Needle Bearings Machine elements essential to any industry

Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large

Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics


30 cover story

ผลิตภัณฑ์คุณภาพ ตอบโจทย์หลากอุตสาหกรรม มุ่งเดินหน้าด้วยแนวคิด

‘นวัตกรรม เทคโนโลยี

และริเริ่มสร้างสรรค์’

บริษัท ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย จ�ำกัด ผู้ผลิตสินค้าตลับลูกปืน (Needle Roller Bearing) ลูกปืนรางสไลด์ (Linear Motion Rolling Guide) และฐานก�าหนดต�าแหน่งความเที่ยงตรงสูง (Precision Positioning Table) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่มีบทบาทส�าคัญต่อการ ท�างานของเครื่องจักร สามารถตอบสนองการใช้งานในการผลิต จากหลากหลายอุตสาหกรรม ภายใต้แบรนด์สินค้า ‘IKO’ มีหน้าที่ รับผิดชอบให้บริการสินค้ากับตลาดอุตสาหกรรมในประเทศไทย รวมทัง้ ประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคอาเซียน และบางประเทศในทวีปเอเชีย อาทิ อินเดีย บังคลาเทศ เป็นต้น โดยด�าเนินงานภายใต้บริษัท นิปปอนทอมป์สนั จ�ากัด ซึง่ เป็นส�านักงานใหญ่ตงั้ อยูใ่ นประเทศญีป่ นุ่ ที่มีบริษัทในเครืออีกมากมายกระจายอยู่ในอีกหลายประเทศทั่วโลก

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


cover story

ผลิตภัณฑ์แบรนด์ IKO ได้รบั การพัฒนาขึน้ บนพืน้ ฐานความ ต้องการที่จะรองรับการผลิตให้กับหลากหลายอุตสาหกรรม ทั่วโลก โดยมีการพัฒนาและผลิตด้วยความใส่ใจ ทั้งการสร้าง นวั ต กรรมใหม่ ๆ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นเทคโนโลยี ขั้ น สู ง และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้ง 3 ค�านี้ อันได้แก่ นวัตกรรม (Innovation) องค์ความรู้ (Know-how) และความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ (Originality) ได้กลายมาเป็นต้นแบบและแรงบันดาลใจ ในการผลิตสินค้า ดังจะเห็นว่า ค�าว่า IKO ก็มาจากการรวมกัน ของอักษรภาษาอังกฤษตัวแรกของทั้ง 3 ค�าที่ว่านี้นี่เอง หลายหลากผลิตภัณฑ์ เพื่องานอุตสาหกรรมที่หลากหลาย คุณทาคาชิ คาทายาม่า Managing Director บริษทั ไอเคโอ ทอมป์ สั น เอเชี ย จ� า กั ด กล่ า วว่ า บริ ษั ท ของเราในฐานะ ผู้จ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรมแบรนด์ IKO ที่รับผิดชอบการให้ บริการลูกค้าในประเทศไทยรวมทั้งประเทศในภูมิภาคอาเซียน มี ค วามพร้ อ มในการส่ ง มอบสินค้าคุณภาพดีเ ยี่ย มให้ถึง มือ ผู้ผลิต และมั่นใจในความหลากหลายของชิ้นงานผลิตภัณฑ์ที่ เรามีอยู่ ว่าจะสามารถรองรับการผลิตของอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ครอบคลุมมากที่สุด ส�าหรับสินค้าของบริษทั ฯ สามารถแบ่งออกเป็นกลุม่ ใหญ่ๆ ได้ 3 กลุ่มด้วยกัน ประกอบไปด้วย Needle Roller Bearing, Linear Motion Rolling Guideและ Precision Positioning Table

31

1. ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Needle Roller Bearing ตลับลูกปืน (Bearing) ถือเป็นอุปกรณ์ทมี่ คี วามส�าคัญต่อเครือ่ งมือกลแทบทุกชนิด ซึ่งจะท�าหน้าที่เป็นอุปกรณ์ รองรับและประคองการหมุนของ เพลา ทั้งเพลางานและเพลาชุดเฟืองทดสอบ นอกจากนี้ ตลับ ลูกปืนยังท�าหน้าที่ลดความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัส ท�าให้ สามารถลดปริมาณพลังงานที่จ�าเป็นต้องใช้ในการขับเคลื่อน เครือ่ งจักร และเมือ่ ความเสียดทานลดลง จึงช่วยเพิม่ สมรรถนะ ในการท�างานของเครื่องลดการสึกหรอมีผลให้การดูแลรักษา ง่ายขึ้น Needle Roller Bearings (ตลับลูกปืนเม็ดเข็ม) เป็นตลับลูกปืนที่มีการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ ต่อเข้ากับ ลูกกลิง้ ขนาดเล็กคล้ายเข็มเข้าไปในรังลูกปืน ถูกน�าไปใช้เพือ่ ช่วย ให้การเคลือ่ นไหวของการกลิง้ เป็นไปได้งา่ ยขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบ กับตลับลูกปืนแบบทรงกลมและแบบอืน่ ๆ แล้ว ตลับลูกปืนเม็ด เข็มสามารถรับภาระการท�างานหนักๆ ได้ดีกว่า เนื่องจากตลับ ลูกปืนเม็ดเข็มช่วยให้เครื่องจักรกลและอุปกรณ์มีความแข็งแรง ทนทาน ทัง้ ยังช่วยประหยัดพืน้ ทีใ่ ช้สอยเนือ่ งจากมีขนาดเล็ก จึง ถูกน�าไปใช้งานในการผลิตชิน้ ส่วนรถยนต์ มอเตอร์ไซค์ หุน่ ยนต์ อุตสาหกรรม เครื่องจักรกลก่อสร้าง และงานอื่นๆ อีกมากมาย ส�าหรับสินค้าในกลุม่ Needle Roller Bearings ของ IKO นัน้ บริษทั นิปปอนทอมป์สนั จ�ากัด ได้พฒ ั นาขึน้ เป็นครัง้ แรกในญีป่ นุ่ โดยใช้เทคโนโลยีที่คิดค้นขึ้นเองและมีการต่อยอดพัฒนาอยู่ เสมอๆ ท�าให้ปจั จุบนั สินค้าในกลุม่ นี้ มีอยูด่ ว้ ยกันหลายประเภท หลายรุ ่ น ด้ ว ยกั น ซึ่ ง ต่ า งได้ รั บ การพั ฒ นาและออกแบบขึ้ น เพื่อตอบสนองและรองรับการใช้งานที่มีความหลากหลายของ ภาคอุตสาหกรรมทั้งสิ้น Shell Type Needle Roller Bearings

• ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Needle Roller Bearing

เป็นตลับลูกปืนที่มีน�้าหนักเบา มีกรอบวงแหวนชั้นนอกท�า จากแผ่นโลหะอย่างบางชนิดพิเศษ ซึง่ กลึงขึน้ รูปอย่างแม่นย�า จึง ท�าให้ได้ความสูงของลูกปืนน้อยทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับลูกปืนเม็ดเข็ม ทั่วๆ ไป สินค้าในประเภทนี้มีด้วยกัน 2 แบบ คือ แบบมีรัง และ แบบประกอบเสร็จ ซึง่ สามารถเลือกใช้งานได้ตามความเหมาะสม ของสภาพการท� า งาน โดยแบบมี รั ง จะมี โ ครงสร้ า งที่ ท� า ให้ ลูกปืนเม็ดเข็มเข้ารังและตัววงแหวนได้อย่างแม่นย�า ซึ่งเหมาะ กับการใช้งานทีม่ กี ารหมุนรอบด้วยความเร็วสูง ส่วนตลับลูกปืน แบบประกอบเสร็จ เหมาะส�าหรับงานหนักๆ ที่ใช้ความเร็วใน การหมุนรอบต�่า และเนื่องจากตลับลูกปืนทั้งสองแบบนี้ถูก ออกแบบมาโดยบีบอัดให้เข้ากันพอดีกับตัวรัง จึงไม่จ�าเป็นต้อง ใช้การชี้ต�าแหน่งแกน ถือเป็นสินค้าประเภทที่เหมาะกับการใช้ งานด้านการผลิตในปริมาณมากๆ ที่ต้องการความประหยัด และสามารถใช้งานได้หลากหลายนั่นเอง issue 166 december 2016


32 cover story

Crossed Roller Bearing เป็นตลับลูกปืนที่มีโครงสร้างที่แข็งแรงทนทาน ซึ่งลูกกลิ้งมี การวางตัวแบบไขว้กันอยู่ระหว่างวงแหวนภายในและวงแหวน รอบนอก เนื่องจากพื้นผิวการกลิ้งมีการเชื่อมต่อกันเป็นแนว เดียว มีการเคลื่อนที่ด้วยความยืดหยุ่นตามภาระงานของตลับ ลูกปืนน้อยมาก นอกจากนั้น ยังสามารถรองรับภาระงานที่มี ความซับซ้อนได้ อาทิ ภาระงานทีแ่ ผ่ออกจากศูนย์กลาง ภาระงาน บริเวณแกนหมุน และการเคลื่อนที่ต่างๆ ในเวลาเดียวกัน Needle Cages เป็นตลับลูกปืนที่มีประสิทธิภาพในการหมุนที่ดีเยี่ยมตลับ ลูกปืนขนาดเล็กทีม่ าพร้อมกับรังรูปทรงพิเศษ ทีม่ คี วามแข็งแกร่ง และความแม่นย�าสูง นอกจากนั้น เนื่องจากมีน�้าหนักเบา มี ความแข็งแรงสูง รวมทั้งสามารถรองรับการหล่อลื่นได้ปริมาณ มาก ส่งผลให้สามารถทนต่อสภาพการท�างานหนักๆ ได้ อาทิ ภาระงานที่มีการหมุนด้วยความเร็วสูงและมีความสั่นสะเทือน ซึ่งสินค้าประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลากหลาย

2. ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Linear Motion Rolling Guides ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Linear Motion Rolling Guide ถือเป็น ชิ้นส่วนที่ส�าคัญที่ขาดไม่ได้ของเครื่องจักร ที่ช่วยลดการเสียดสี จากการเคลื่ อ นที่ เชิ ง เส้ น ในกลไกการก� า หนดต� า แหน่ ง ของ เครื่องจักรกล บริษัทฯ มีสินค้าในกลุ่มนี้ไว้ให้บริการมากมาย หลายรูปแบบ ประกอบด้วย ระบบน�าทิศทางเชิงเส้นตลับลูกปืน รางเลื่อนด้วยร่อง ระบบน�าทิศทางรางเพลาสลักฐานแบบกลม เป็นต้น ที่มีตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุดที่กว้างเพียง 1 มม. ไปจนถึง ขนาดใหญ่มากๆ ทีส่ ามารถทนต่อการท�างานหนักๆ ได้ดี ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Linear Motion Rolling Guide มีการน�าไป ใช้งานอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่อุปกรณ์ในการผลิตสารกึ่งตัวน�า ไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ไปจนถึงเครื่องมือกลขนาดใหญ่ หรืออุปกรณ์การก่อสร้าง ซึ่งสินค้าในกลุ่มนี้มีมากมายหลายรุ่น หลายแบบ ยกตัวอย่างเช่น C-Lube Linear Roller Way Super MX เป็นระบบน�าทิศทางเชิงเส้นตลับลูกปืนรางเลื่อนด้วยร่อง ชนิดที่มีประสิทธิภาพการท�างานสูง มีความมั่นคงแข็งแรงสูง ทั้งยังให้ความแม่นย�าสูงด้วยการเคลื่อนไหวที่นุ่มนวล ซึ่งเป็น คุณสมบัตทิ จี่ า� เป็นต่อการท�างานของเครือ่ งจักรกล การผลิตสาร กึ่งตัวน�าไฟฟ้า รวมทั้งอุปกรณ์การผลิตผลึกของเหลว เป็นต้น จากการคิดค้นเทคโนโลยี C-Lube ของ IKO ท�าให้ผลิตภัณฑ์ มีประสิทธิภาพการท�างานที่แตกต่างจากแบรนด์อื่นๆ ช่วย เพิ่มประสิทธิภาพการท�างานของเครื่องจักร ลดปริมาณการ ใช้น�้ามันในการหล่อลื่นซึ่งจะช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมใน ทางหนึ่งด้วย C-Lube Ball Spline MAG

• ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Linear Motion Rolling Guides

นอกจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถลดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม IKO ยังส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น ISO14001 รวมถึงกฎระเบียบ ต่างๆ ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยยึดถือเป็นความ รับผิดชอบขององค์กรที่พึงมีต่อสภาวะแวดล้อมของโลกและ ความเป็นอยู่ของประชากรโลก” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

อีกหนึง่ ผลิตภัณฑ์ในกลุม่ ระบบน�าทิศทางเชิงเส้นตลับลูกปืน ด้วยร่อง ที่มีความแข็งแกร่ง ที่สามารถตอบสนองการท�างานที่ มีการเคลือ่ นทีใ่ นเชิงเส้นตลอดเวลาของเพลาทรงกระบอกทีอ่ ยู่ ภายใน และด้วยเทคโนโลยี C-Lube จึงสามารถช่วยลดปริมาณ การใช้น�้ามันในการหล่อลื่นด้วย มีการท�างานที่ให้ความแม่นย�า สูง และความแข็งแกร่งของผลิตภัณฑ์ท�าให้สามารถรองรับการ ท�างานที่มีความซับซ้อน แม้แต่การการปรับเปลี่ยนทิศทางการ เคลื่อนที่ รวมทั้งชิ้นงานขนาดใหญ่ เป็นต้น 3. ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Precision Positioning Tables ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Precision Positioning Table ได้รับการ พัฒนาขึ้นโดยอาศัยการร่วมกันของเทคโนโลยีเครื่องจักรกล ความแม่นย�าสูงและอิเล็กทรอนิกส์เข้าด้วยกัน ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ฐานก�าหนดต�าแหน่งความเที่ยงตรงสูง ที่ประกอบไปด้วย สินค้าหลากหลายรุ่น อาทิ รุ่นที่ท�างานโดยตรง รุ่นที่มาพร้อม กับบอลสกรูหรือมอเตอร์ เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม Precision Positioning Table Series จะถูกน�าไปใช้เป็นกลไกในการก�าหนด ต�าแหน่งส�าหรับการใช้งานในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่อุปกรณ์การ ผลิตสารกึง่ ตัวน�าไฟฟ้า อุปกรณ์การผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไปจนถึงอุปกรณ์ที่ต้องใช้ความแม่นย�าสูง ซึ่งการใช้งานฐาน ก� า หนดต� า แหน่ ง จะช่ ว ยลดระยะเวลาในการออกแบบและ ประกอบชิ้นส่วน


cover story 33

ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี้ มีมากมายหลายรุ่นด้วยกัน พอจะ ยกตัวอย่างได้ดังนี้ • TU Series เป็นฐานก�าหนดต�าแหน่งชนิดที่มีความบาง และแข็งแรง ประกอบด้วย รางเลื่อนรูปตัว U และฐาน สไลด์ ฐานสไลด์ทปี่ ระกอบขึน้ ภายในรางเลือ่ นรูปตัว U นัน้ เป็นส่วนส�าคัญที่จ�าเป็นต้องมีในกลไกน�าทิศทางเชิงเส้น ตลับลูกปืนรางเลื่อนด้วยร่องได้รับการออกแบบให้มี ความเที่ยงตรงและความทนทาน รองรับการท�างานที่ ซับซ้อน ในการเปลี่ยนทิศทาง TU Series มีทั้งหมด 6 ขนาด และรางเลื่อนที่มีความกว้างตั้งแต่ 25 มม. ถึง 130 มม. ซึ่งแต่ละชิ้นสามารถเลือกความกว้างของฐาน สไลด์ได้ นอกจากนั้น ยังสามารถเลือกใช้จากประเภท ต่างๆ ให้เหมาะกับการใช้งานได้ ไม่ว่าจะเป็น แบบสกรู บอล แบบมอเตอร์ แบบติดตั้งเซ็นเซอร์ เป็นต้น • Super Precision Positioning Table TX เป็นฐาน ก�าหนดต�าแหน่งที่มีความแม่นย�าสูง ออกแบบมาบน พื้นฐานของความเที่ยงตรง แข็งแรงและสามารถท�างาน ได้ดีกับ Precision Positioning Table LH ของ IKO ด้วย การใช้ลูกปืนทรงกระบอกเป็นองค์ประกอบของการกลิ้ง และสามารถท�างานร่วมกับ Linear Roller Way Super X ของ IKO ทีส่ ามารถท�างานเป็นระบบน�าทางการเคลือ่ นที่ เชิงเส้นได้อย่างยอดเยี่ยมที่สุด • Linear Motor Table LT เป็นฐานก�าหนดต�าแหน่ง ขับเคลื่อนโดยตรง ที่มีคุณสมบัติที่มีน�้าหนักเบามอเตอร์ ระบบเบรกเชิงเส้น AC และมาตรวัดเชิงเส้นที่มองเห็น ชัดเจนน�ามาติดกับฐานการเคลื่อนที่และแผ่นที่ท�าจาก อะลูมิเนียมอัลลอย มีทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่ Compact Series LT - CE, Long Stroke Series LT - LD, และ High Thrust Series LT – H ให้เลือกใช้งานตามความเหมาะสม Linear Motor Table LT เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมที่สุด ในการน�าไปใช้กบั งานทีต่ อ้ งใช้ความแม่นย�าสูงมากๆ เช่น การผลิตสารกึ่งตัวน�าไฟฟ้า อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับผลึก ของเหลว เครื่องมือวัด ระบบประกอบชิ้นงาน อุปกรณ์ เปลี่ยนถ่ายวัตถุดิบ เป็นต้น พัฒนาผลิตภัณฑ์บนพื้นฐานความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นว่า สินค้าแบรนด์ IKO นั้นมีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่เต็มเปี่ยมไปด้วยอุดมการณ์ของการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมนั้น ก็คือ การพัฒนาสินค้าประเภท C-Lube Maintenance Free Series ที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ที่สามารถ ผลิตขึ้นได้เป็นครั้งแรก

• ผลิตภัณฑ์กลุ่ม Precision Positioning Tables

ซึ่งสินค้าประเภทนี้มีวัตถุประสงค์ในการผลิตเพื่อลดการใช้น�้ามัน ในการหล่อลื่น โดยปกติแล้ว ตลับลูกปืน และลูกปืนรางสไลด์จ�าเป็น ต้องได้รับการบ�ารุงรักษาด้วยการหล่อลื่นด้วยน�้ามันเป็นจ�านวนมาก นวัตกรรม C-Lube จะช่วยแก้ปญ ั หาได้อย่างดียยี่ ม เนือ่ งจากสามารถ ลดปริมาณการใช้นา�้ มันได้ และยังสามารถยืดเวลาการตรวจซ่อมและ บ�ารุงรักษาหลังจากเครื่องจักรท�างานเป็นเวลานานได้อีกด้วย นอกจากการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ามารถลดผลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อม IKO ยังส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ ให้ เป็นไปตามมาตรฐานสากล เช่น ISO14001 รวมถึงกฎระเบียบต่างๆ ด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยยึดถือเป็นความรับผิดชอบ ขององค์กรที่พึงมีต่อสภาวะแวดล้อมของโลกและความเป็นอยู่ของ ประชากรโลก ด้วยการก�าหนดนโยบายและแผนงานในการลดปริมาณ การปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ แ ละการปล่ อ ยของเสี ย สู ่ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น จากความตั้งใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อให้สามารถอ�านวย ความสะดวกให้แก่กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ ก่อเกิดเป็น ตัวสินค้าจ�านวนมากมายที่ IKO สามารถป้อนสูต่ ลาดอุตสาหกรรมทีม่ ี ความหลากหลายเช่นในทุกวันนี้ ทัง้ อุตสาหกรรมรถยนต์ มอเตอร์ไซค์ และอุปกรณ์การขนส่งต่างๆ รวมทัง้ ยังถูกน�าไปใช้งานในเครือ่ งจักรกล ในการผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ อุปกรณ์ความแม่นย�าสูงอืน่ ๆ ซึง่ ถือว่าสามารถตอบสนองความต้องการของกลุม่ ลูกค้าได้ครอบคลุม มากที่สุด

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD.

3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115 Fax: +66 (0)2-637-5116

issue 166 december 2016


34 special report

เรื่อง : ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

เดินหน้าเศรษฐกิจไทย 2017 สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

ภายใต้ความท้าทายของเศรษฐกิจโลกทีย่ งั เปราะบาง รวมถึงปัจจัยการเมืองทีย่ งั ไม่ได้นิ่งสงบเสียทีเดียว ประกอบกับภาวะการลงทุนภายในประเทศ ตลอดจน นโยบายภาครัฐที่ได้วางรากฐานเพือ่ อนาคตเศรษฐกิจไทย ท�าให้เวทีการสัมมนา ‘Thailand’s Economic Outlook 2017: Towards Sustainability’ ที่จัดโดย หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ และสถานีโทรทัศน์ดิจิตอล NOW 26 มีสาระ เศรษฐกิจที่เข้มข้น เจาะลึกมุมมองของวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภาครัฐ นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ และนักลงทุน ที่ได้มาร่วมสะท้อนอนาคตเศรษฐกิจ ไทย ปี 2017 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

MODERN MANUFACTURING ได้มโี อกาสเข้าร่วมงาน สัมมนาดังกล่าว พร้อมทั้งเก็บประเด็นเศรษฐกิจที่น่าสนใจ มาตกผลึ ก เป็ น รายงานพิ เ ศษ ‘เดิ น หน้ า เศรษฐกิ จ ไทย 2017… สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน’ น�าเสนอทิศทางการ เติบโตของเศรษฐกิจไทยที่ต้องเผชิญความท้าทายร่วมกับ ประชาคมโลก ท่ า มกลางการเปลี่ ย นแปลงที่ ส� า คั ญ ในหลายๆ ด้าน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เติบโตได้อย่าง เข้มแข็งและมีความยั่งยืน


special report 35

การพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นความท้าทายร่วมกันของทุกประเทศในโลก ดร.วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ได้กล่าวว่า แนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเป็นประเด็นทีส่ �าคัญยิง่ ส�าหรับเศรษฐกิจและสังคม ไทย การพัฒนาอย่างยั่งยืนไม่ใช่เป็นความท้าทายของประเทศไทยเท่านั้น แต่ เป็นความท้าทายร่วมกันของทุกประเทศในโลก เราก�าลังอยู่ท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญหลายด้าน “ในสภาวะที่เศรษฐกิจโลกขยายตัวในระดับต�่า และผลิตภาพของแรงงาน เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยในแต่ละปี ประชาชนจะรู้สึกหวาดกลัวอนาคต และมอง ไม่ออกว่าจะยกระดับคุณภาพชีวิตของตนได้อย่างไร หรือจะสามารถยังชีพให้ มั่นคงในอนาคตได้อย่างไร” นอกจากนี้ โลกยังเผชิญกับปัญหาทางกายภาพที่ส�าคัญอีกหลายด้านที่จะ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ไม่วา่ จะเป็นผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาวะ ภูมอิ ากาศหรือสภาวะโลกร้อน การขยายตัวของประชากรโลกในกลุม่ ชนชัน้ กลาง ที่ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของเมือง การขาดแคลนน�้าสะอาด การลดพื้นที่ เพาะปลูกทางการเกษตร จนอาจท�าให้เกิดปัญหาความมัน่ คงด้านอาหาร ตลอดจน การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างไม่ระมัดระวังจนน�าไปสู่การท�าลายระบบนิเวศ มากขึ้น และวนกลับมาซ�้าเติมปัญหาโลกร้อนเป็นวงจรเสื่อมที่ไหลลงเรื่อย ๆ ส�าหรับประเทศไทยนอกจากทีต่ อ้ งเผชิญกับปัญหาของโลกร่วมกับประเทศอืน่ ๆ แล้ว ยังต้องเผชิญกับปัญหาและความท้าทายเฉพาะอีกหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาการกระจายรายได้ และการกระจายโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน ปัญหาการ พัฒนาเทคโนโลยีทไี่ ม่เท่าทันการเปลีย่ นแปลง ปัญหาการลงทุนในระดับต�า่ ต่อเนือ่ ง ปัญหาคุณภาพการศึกษา ปัญหาโครงสร้างประชากรผูส้ งู อายุ ปัญหาสิง่ แวดล้อม และการจัดการขยะ ตลอดจนปัญหาประสิทธิภาพของภาครัฐและการทุจริต คอร์ รั ป ชั น ปั ญ หาเหล่ า นี้ ก็ จ ะส่ ง ผลให้ ‘เศรษฐกิ จ ไทยเติ บ โตต�่ า เกิ น ไป ต่อเนื่องนานเกินไป และมีคนจ�านวนน้อยเกินไปที่ได้รับประโยชน์’ เช่นเดียวกับ ที่ก�าลังเกิดขึ้นในเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทยวันนี้ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป แต่ยังมีภูมิคุ้มกันที่ดีกว่าประเทศเกิดใหม่ ดร.วิรไท ยังได้กล่าวต่อไปว่า ภายใต้ปัญหาและความท้าทายของโลกที่จะ รุนแรงและซับซ้อนขึ้น หลายประเทศหันมาให้ความส�าคัญกับการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน เพราะตระหนักว่า หากไม่รีบปรับตัวโดยเร็วแล้ว การแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ในภายหลังจะยากขึ้นมาก หรือเป็นไปไม่ได้เลย

Christine Lagarde กรรมการจัดการของกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศได้กล่าวไว้ในการประชุมสภาผู้ว่าการของกองทุน การเงินระหว่างประเทศเมื่อสองอาทิตย์ที่แล้วว่า เศรษฐกิจโลกก�าลัง เผชิญภาวะที่เรียกว่า

‘Too Low, For Too Long, And Benefiting Too Few’

หรือเป็นสภาวะที่ ‘เศรษฐกิจโลกเติบโตต�่าเกินไป ต่อเนื่อง

นานเกินไป และมีคนจ�านวนน้อยเกินไปที่ ได้รับประโยชน์’ สภาวะเช่นนี้จะส่งผลให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นไปอย่าง เปราะบางไม่สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับคนส่วนใหญ่ของ โลกได้อย่างยั่งยืน

วงการวิชาการทั่วโลกก�าลังค้นหาองค์ความรู้และตัวอย่างของแนวทางการ พัฒนาอย่างยั่งยืนที่จะน�ามาใช้เป็นหลักคิดของการพัฒนาให้เกิดผลได้จริง ในระดับต่างๆ แม้ว่าเศรษฐกิจไทยในวันนี้ก�าลังฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่ ก็จดั ได้วา่ มีความมัน่ คงมากกว่าประเทศอุตสาหกรรมหลักและประเทศเศรษฐกิจ เกิดใหม่หลายประเทศ เพราะเศรษฐกิจไทยมีกันชน มีภูมิคุ้มกันที่ดี สามารถ รองรั บ แรงปะทะจากความผั น ผวนภายนอกได้ ระบบสถาบั น การเงิ น มีความเข้มแข็ง การว่างงานอยู่ในระดับต�่า รัฐบาลมีฐานะการคลังที่ดี และก�าลัง เดินหน้าปฏิรูปเศรษฐกิจหลายเรื่องซึ่งจะเป็นรากฐานส�าคัญของการยกระดับ ศักยภาพ และผลิตภาพของประเทศ อย่างไรก็ดี ปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐกิจและสังคมไทยจะต้องเผชิญกับความ ท้าทาย ความไม่แน่นอน และความผันผวนจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ประเทศอีกมาก จากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ ‘เติบโตต�่าเกินไป ต่อเนื่องนาน เกินไป และมีคนจ�านวนน้อยเกินไปที่ได้รับประโยชน์’ นั่นเอง

คน คือ ความท้าทายของโมเดล Thailand 4.0

ความท้าทายของการเดินหน้าสู่โมเดล Thailand 4.0 คือ การที่ประเทศไทยมีโครงสร้างประชากรและแรงงานที่อยู่ในกลุ่มวัยกลางคน อายุ 40-50 ปี ไปจนถึงอายุ 50-60 ปี เป็นสัดส่วน 40-50% รัฐบาลต้องมีกลุยทธ์การบริหารจัดการที่ชัดเจนเพื่อขับเคลื่อนให้คนกลุ่มนี้สามารถพึ่งพา ตนเองได้ อาจด้วยการด�าเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ การท�าเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ ฯลฯ ท�าให้เขามีความสุขในการด�าเนิน ชีวิตได้อย่างแท้จริง ส่วนกลุ่มคนที่เป็นครีม หรือกลุ่มคนที่มีศักยภาพ ต้องพยายามผลักดันให้เขาน�าพาเศรษฐกิจของประเทศไทยในภาพรวมเข้าสู่ กระบวนการ 4.0 เป็นคนไทย 4.0 ได้จริงๆ ซึ่งทั้งสองกลไกนี้ต้องขับเคลื่อนไปด้วยกัน ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อ�านวยการวิจัยด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

issue 166 december 2016


36 special report

หลั ก คิ ด เรื่ อ งการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ตามแนวทางที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานไว้จะเป็นแนวทางส�าคัญที่ ‘ท�าให้ชวี ติ ของแต่ละคน มีความปลอดภัย มีความเจริญ มีความสุข’ และเรือ่ งการ พัฒนาอย่างยั่งยืนนี้ไม่ใช่หน้าที่ของรัฐบาลแต่เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน ดัง พระบรมราโชวาทที่ว่า ‘ถ้าทุกคนยึดมั่นว่า เราต้องช่วยกันและต้องพยายามที่จะ ปฏิบตั งิ านของตน ด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริตด้วยความตัง้ ใจดี ด้วยความเอาใจใส่ดี ในหน้าที่ของตน เชื่อได้ว่า ส่วนรวมจะอยู่ได้ อย่างมั่นคงและถาวรแน่’

ประเทศไทยก�ำลังเผชิญ 3 กับดักส�ำคัญ ด้าน ดร.สุวทิ ย์ เมษิณทรีย์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ได้กล่าวถึง สถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทย ว่า ขณะนีป้ ระเทศไทยก�าลังเผชิญกับ 3 กับดัก ส�าคัญ คือ กับดักที่ (1) กับดักประเทศระดับปานกลาง ซึ่งเป็นกับดักที่ World Bank ได้บอกกับประเทศไทยมาเป็นเวลากว่า 10 ปีแล้ว กับดักที่ (2) กับดักของความเหลื่อมล�้า ซึ่งทราบกันดีว่าในเรื่องของความ เหลือ่ มล�า้ นัน้ คนรวย รวยขึน้ คนจน จนลง เราไม่แก้ไม่ได้นะ เพราะว่ามันไม่ตอบโจทย์ เรื่องของความยั่งยืนอย่างแน่นอน และความเหลื่อมล�้านี่เองที่น�ามาซึ่งความ ขัดแย้งรุนแรงในช่วงที่ผ่านมา

เศรษฐกิจไทย

ส่งสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่อง พื้นฐานเศรษฐกิจไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก ตลอดช่วง 3 ไตรมาสที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า เศรษฐกิจไทย ส่งสัญญาณการฟื้นตัวในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เครื่องยนต์ ที่ส�าคัญอย่างภาคการส่งออกนั้น ที่ผ่านมาก็ถือว่ายังไม่ดี ส่งผล ในเรือ่ งของรายได้ โดยเฉพาะรายได้นอกภาคเกษตรซึง่ อยูใ่ นระดับทีไ่ ม่ดนี กั ขณะเดียวกันภาคอุตสาหกรรมก็ขยับขึ้นช้ากว่าภาคบริการ ที่ได้ อานิสงส์จากภาคการท่องเที่ยวที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องได้ดี มาก อีกส่วนหนึ่ง ก็คือ แรงขับเคลื่อนจากภาครัฐ ซึ่งในแง่อัตราการ เบิกจ่ายต่างๆ ในปีงบประมาณที่ผ่านมาสูงกว่าที่คาดไว้ จึงถือเป็น ส่วนที่ขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจเดินไปได้ ประกอบกับมาตรการเยียวยา จากภาครัฐที่ออกมาช่วยประคองจุดที่เปราะบางในบางจุด เช่น เกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้ง รัฐบาลก็เข้าไปให้ความช่วยเหลือ เยียวยา ท�าให้การบริโภคไม่ได้ทรุดลงไปมาก และค่อยๆ ขยับตัวดีขึ้น ส่วนไตรมาสที่ 4 นั้น แม้ว่าบรรยากาศโดยรวมของประเทศจะมี ความโศกเศร้า แต่พนื้ ฐานของเศรษฐกิจนัน้ ไม่ได้มกี ารเปลีย่ นแปลงนัก เนื่องจากตลาดปรับตัวได้ค่อนข้างเร็ว สะท้อนให้เห็นว่าตลาด มีเสถียรภาพดี ท�าให้ทิศทางการฟื้นตัวมีความต่อเนื่อง ดร.รุ่ง มัลลิกะมาส ผู้อ�านวยการอาวุโส ฝ่านนโยบายเศรษฐกิจการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

กับดักที่ (3) กับดักของความไม่สมดุล โดยเฉพาะในสิ่งที่ได้เทใจมาตลอด ในเรื่องของโมเดลเศรษฐกิจ เพื่อมุ่งไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth) แต่ทว่าความอยู่ดีมีสุขทางสังคม (Social Well Being) รวมถึงเรื่องของ การรักษาสิ่งแวดล้อม (Environmental Wellness) การพัฒนาศักยภาพ ตลอดจน Human Wisdom ที่ขาดหายไปในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา

ถึงเวลำ…เปลี่ยนเครื่องยนต์ตัวใหม่ มำถึงตรงนี้ ดร.สุวทิ ย์ ได้ตอกย�ำ้ ว่ำ… โมเดล Thailand 4.0 ไม่ใช่เรือ่ งใหม่! จริงๆ ประเทศไทยมีการพัฒนาตลอดเวลา หากย้อนกลับไปตั้งแต่สมัย พลเอกเปรม ติณสูลำนนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในช่วงนั้นอาจเรียกได้ว่าเป็นยุค ‘ความโชติชว่ งชัชวาล’ หลังจากนัน้ สงครามเย็นเริม่ คลายตัวลง ก็มาสูย่ คุ ‘เปลีย่ น สนามรบ เป็นสนามการค้า’ ในสมัยของพลเอกชำติชำย ชุณหะวัณ ดังนัน้ วันนี้ ประเทศไทยอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน เช่นเดียวกันโลกก็อยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านด้วย สถานการณ์โลกไม่ค่อยดีนัก เพราะเป็นผลจากการเกิด Slow Growth แล้วก็ ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2008 สมัยต้มย�ากุ้ง จนกระทั่งถึงวันนี้ที่ยังไม่ฟื้นตัว ที่ส�าคัญ คือ มีความมั่งคั่งที่กระจุก คือ บางประเทศเท่านั้นที่ได้ผลพวงจากการเติบโต ในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งไม่เป็นผลดีกับประชาคมโลกโดยรวม เป็นที่มาที่ท�าให้ ประเทศไทยต้องคิดหาโมเดลขึ้นมาใหม่ หลังจากที่ได้เริ่มใช้โมเดล 3.0 มาเป็น เวลาหลายทศวรรษ ซึ่งเรียกได้ว่าทั้งปะผุ ซ่อมแซม แต่ก็ถึงเวลาแล้วที่จะต้อง เปลี่ยนเครื่องยนต์ตัวใหม่ขึ้นมา และนี่เองเป็นที่มาของการขับเคลื่อนนโยบาย Thailand 4.0 ที่รัฐบาล ได้ประกาศเดินหน้าอย่างชัดเจน 3 กับดัก ปลดล็อกอย่ำงไร ? ดร.สุวิทย์ ได้กล่าวต่อไปว่า การจะปลดล็อกกับดักของประเทศ จ�าเป็นต้อง ใช้ 3 เครื่ อ งยนต์ ใ หม่ เครื่ อ งยนต์ ตั ว ที่ (1) การสร้ า งความมั่ ง คั่ ง ผ่ า น Competitive Growth Engine เครื่องยนต์ตัวที่ (2) คือ ความมั่นคง เมื่อร�่ารวยขึ้น ต้องร�า่ รวยแบบกระจายขึน้ ก็ตอ้ งให้ความส�าคัญกับเรือ่ งความมัน่ คง แต่เป็นความ มั่นคงผ่าน Inclusive Growth Engine และ เครื่องยนต์สุดท้าย ก็คือ เรื่องความ ยั่งยืน ซึ่งหมายถึง Green Growth Engine นั่นเอง


special report 37

จริงๆ แล้วแนวคิด Thailand 4.0 มาจากแนวคิดง่ายๆ ถ้าถามว่าประเทศไทย พึ่งพาเศรษฐกิจโลกมากไปหรือไม่ ท�าไมจึงต้องหันมามุ่งเน้นเรื่องของเศรษฐกิจ ภายใน ซึง่ ไม่ได้หมายความว่า จะมุง่ เน้นการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน โดยที่ ตัดขาดจากเวทีโลก เพราะการน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ มีแก่น ส�าคัญ คือ ‘เมือ่ ไม่พอต้องรูจ้ กั เติม เมือ่ พอต้องรูจ้ กั หยุด เมือ่ เกินต้องรูจ้ กั ปัน’ ซึง่ ถือเป็นการถอดรหัสที่ส�าคัญ ทัง้ นี้ การพัฒนาเศรษฐกิจไปข้างหน้าจะต้องเป็นการพัฒนาทีส่ มดุล เป็นการ เติบโตอย่างมีคุณภาพที่สามารถสร้างสมดุลได้ ทั้ง Economic Wealth, Social Wealth, Well Being and Environmental Wellness และ Human Wisdom ไป พร้อมๆ กัน “ถ้าน�า 17 เป้าหมายของ Sustainable Development Goals มาทาบ จะเห็นว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เป็นปรัชญาในเชิงยุทธศาสตร์ มีการเปลี่ยนแปลง อย่างมีนยั ยะ และพร้อมกันนัน้ ก็เป็นปรัชญาทีส่ ามารถปฏิบตั ไิ ด้ ไม่ใช่ทฤษฎีเพียง อย่างเดียว” ดร.สุวิทย์ กล่าวในที่สุด

Keyword ของ Thailand 4.0 คือ การสร้างความเข้มแข็ง จากภายใน แต่เชื่อมโยงกับประชาคมโลก ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นการ น้อมน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้

มาฝังตัวเป็น DNA ส�าคัญ ใน Thailand 4.0 เพราะการสร้างความเข้มแข็งจาก ภายใน มันต้องสรุปบทเรียน เป็นบทเรียนราคาแพง ที่มีการ พัฒนาเศรษฐกิจแบบเทข้างไปที่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เพียงอย่างเดียว แต่ละเลยในส่วนที่เหลือ

โชติช่วงชัชวาล

ปี พ.ศ. 2524 ประเทศไทยสามารถน�าก๊าซ ธรรมชาติจากอ่าวไทยมาใช้ประโยชน์ทดแทน เชื้อเพลิง ซึ่งมีราคาแพงได้เป็นครั้งแรก และ นับเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมของประเทศสู่ยุคโชติช่วง ชัชวาลอย่างแท้จริง

‘คน’ ทรัพยากรส�าคัญ

ที่จะท�าให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาอย่างยั่งยืน ต้องพัฒนา 3 ด้าน คือ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ต้องสมดุลทั้ง 3 ด้าน ซึ่งรากฐานที่ลึกที่สุดของทั้ง 3 เสานี้ ก็คือ คน เพราะคนเป็นทรัพยากรส�าคัญที่สุด ที่จะท�าให้เกิดการ พัฒนาอย่างยั่งยืนได้ จะพัฒนาคนอย่างไรให้มีแนวคิด มีกรอบแนวคิด ให้พัฒนาไปได้อย่างยั่งยืน สิ่งที่อยากจะมุ่งเน้น ก็คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีปัจจัย ส�าคัญ 2 ส่วน คือ ความรู้และคุณธรรม ต้องเสริมสร้างความรู้ให้ ‘คน’ ให้มคี วามรูจ้ ริง รูร้ อบ และรูล้ กึ เพราะความรูเ้ ป็นปัจจัยส�าคัญมาก ที่ต้องปลูกฝังและสร้างให้กับ ‘คน’ เช่นเดียวกับการปลูกฝัง ‘คุณธรรม’ ต้องสร้างให้ ‘คน’ มีจิตส�านึกที่ถูกต้อง อะไร คือ ความซื่อสัตย์ อะไร คือ ความเหมาะสม เมื่อตระหนักถึงเช่นนี้แล้ว ก็จะสามารถช่วยกันสร้างสังคมที่มีการ พัฒนาอย่างยั่งยืนได้ แต่จะท�าอย่างไรนั้น เริ่มลงมือท�าด้วยตัวเองเลย น้อมน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ยึดเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติได้เลย ไม่ต้องรอคนอื่น

คุณสัญชัย อภิศักดิ์ศิริกุล กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงิน และสนับสนุนธุรกิจ ธนาคาร ยูโอบี (ไทย)

เปลี่ยนสนามรบ เป็นสนามการค้า

THAILAND 4.0

เป็นการทูตแนวใหม่ โดยท�าให้ประเทศ มีอุดมการณ์และระบบการปกครองต่างกัน หันมาร่วมมือกันในด้านไม่มีความขัดแย้งกันได้ นั่นคือ ทางด้านเศรษฐกิจ ท�าให้ทุกประเทศใน อินโดจีนหันมาเจรจาหารือกับไทยด้านการค้า การลงทุน นอกจากนี้ แนวคิดดังกล่าวยังน�าไปสู่ การสร้างสันติภาพในภูมิภาค โดยไทยได้ เข้าไปช่วยเหลือในการเจรจา น�าสันติภาพ มาสู่กัมพูชาเป็นผลส�าเร็จ

น�าพาประเทศไทยให้หลุดพ้นจากกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง กับดักความเหลือ่ มล�า้ และกับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา พร้อมกับปฏิรูปประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการ สร้างความเข้มแข็งจากภายในขับเคลื่อนตาม แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลไก ประชารัฐ จนสามารถเป็นประเทศโลก ที่หนึ่งในศตวรรษที่ 21

issue 166 december 2016


38 special report

ตั้งเป้า 5 ปีข้างหน้า มุ่งพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้เกิดความยั่งยืน เมื่อกล่าวถึงความยั่งยืน องค์กรจะมองถึงความสมดุลระหว่าง ธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง การจะขับเคลื่อนไปสู่ สังคม หรือเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4.0 ผู้ประกอบการธุรกิจ อุตสาหกรรมก็ต้องปรับตัวเช่นกัน ทุกท่านต้องมีวัฒนธรรมขององค์กรแน่นอน มีวัฒนธรรมของ บริษัท ของพนักงาน ถ้าเป็นองค์กร ก็คือ พัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ไปกับสิง่ แวดล้อม สังคม ถ้าเป็นตัวพนักงาน ก็คอื เป็นคนดี มีความรู้ เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ที่ผ่านมาในอดีต วิสัยทัศน์ขององค์กร คือ ‘Green Energy Excellent’ มุ่งท�าธุรกิจสีเขียว พร้อมกับการพัฒนาพลังงาน หมุนเวียน แต่จากวันนี้ต่อเนื่องไปอีก 5 ปีข้างหน้า บมจ. บางจากฯ จะมีวิสัยทัศน์ ‘Evolving Greenovation ซึ่งเป็นการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องให้เกิดความยั่งยืน ปรับเปลี่ยน Core Valve ต้องออกไปท�า ธุรกิจข้างนอกมากขึ้น และปฏิเสธไม่ได้ว่า ‘คน’ คือ ปัจจัยส�าคัญ จะท�าอย่างไรให้คนในองค์กร นอกจากจะดีแล้ว ยังต้องมองถึงความ ยัง่ ยืน Contribute ให้คนอืน่ ได้ มีความสามารถทีจ่ ะ Initiate สิง่ ใหม่ๆ เพื่อให้องค์กรอยู่ได้ด้วย คุณยอดพจน์ วงศ์รักมิตร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. บางจากปิโตรเลียม

ความต้องการสินเชื่อเอกชนลดลง แต่คาดปี 2017 ภาครัฐจะลงทุน ในโครงการขนาดใหญ่ ในช่วงปีที่ผ่านมา รัฐบาลได้ออกโครงการมากมายเพื่อที่จะ เพิม่ การลงทุนของภาครัฐ กระตุน้ เศรษฐกิจในด้านต่างๆ แต่หลายคน ก็สงสัยว่าเม็ดเงินการลงทุนของภาคเอกชน ท�าไมไม่เพิ่มขึ้น ตามไปด้วย ถ้าพิจารณาตัวเลขจากมุมของสินเชือ่ จากปีทแี่ ล้ว จะพบว่าสินเชือ่ โดยรวมมีการเติบโตประมาณ 4% เทียบกับปลายปี 2557 ขณะที่ ปี 2559 ตลอดระยะเวลา 8 เดือนแรก เทียบกับเดือนธันวาคมที่ ผ่านมาไม่มีการเติบโตเลย ชี้ให้เห็นว่าภาคเอกชน โดยรวมมีความ ต้องการใช้สินเชื่อในการขยายกิจการหรือด�าเนินกิจการลดลง อย่างเห็นได้ชัด หลายๆ องค์กรต้องทบทวนแผนการลงทุน แผนการใช้เงิน อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาธุรกิจทีม่ กี ารเติบโตทีด่ ี ในปีนี้ เช่น ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวหรือธุรกิจที่ต้องลงทุนอย่าง โทรคมนาคมก็มคี วามชัดเจนว่ามีความต้องการใช้สนิ เชือ่ ค่อนข้างมาก ซึ่งนอกเหนือจากสองธุรกิจดังกล่าวก็แทบจะมีการใช้สินเชื่อ เพื่อการลงทุนเลย ก็เรียกว่าเป็นภาวะดีกระจุกตัว เป็นบางส่วน ทั้งนี้ ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา การลงทุนภาครัฐส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนขนาดเล็ก เนื่องจากภาครัฐต้องกระตุ้นเศรษฐกิจ ค่อนข้างบ่อย การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานยังอยู่ระหว่างการ ด�าเนินการจัดท�าแผน แต่เม็ดเงินที่มีการเบิกจ่ายจริงจะเป็นเม็ดเงิน ขนาดเล็ก ที่ได้รับการอนุมัติเบิกจ่ายเพื่อซ่อม-สร้างถนน หรือ บริหารจัดการจัดการน�้า ฯลฯ ซึง่ คาดว่าภาครัฐน่าจะมีการลงทุนใน โครงการขนาดใหญ่ในปี 2017 ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ ผู้อ�านวยการเศรษฐกิจมหภาค Economic Intelligence Center ธนาคารไทยพาณิชย์

คาดกลางปี 2017 การซื้อขายวัสดุก่อสร้างจะเริ่มส่งสัญญาณชัดเจนขึ้น

หากพิจารณาตามแผนการด�าเนินงานของรัฐบาลที่ต้องการขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจด้วยการลงทุนในโครงการที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ต่างๆ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ภาครัฐต้องทุ่มเม็ดเงินเพิ่มเข้ามา แม้ว่าในปีนี้จะเห็นว่ามีการประมูลโครงการก่อสร้างหลายโครงการแล้ว แต่ก็ยังคงต้องมีการกระตุ้นเศรษฐกิจเช่นนี้อย่างต่อเนื่องด้วย นอกจากงานก่อสร้างของภาครัฐแล้ว โครงการก่อสร้างอื่นๆ ของภาคเอกชนก็เช่นกัน โดยเฉพาะภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยทั้งบ้านและคอนโดมิเนียม ซึ่งเป็นเรื่องของ Demand และ Supply ยังคงต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม อสังหาริมทรัพย์นั้นก็ต้องจับตาเฝ้าระวังภาวะการเกิด Over Supply ด้วยเช่นกัน ขณะนี้ส�าหรับอุตสาหกรรมก่อสร้าง หลายๆ โครงการถือเป็นช่วงของการเตรียมตัว เตรียมความพร้อม คาดว่าจะเริ่มด�าเนินงานก่อสร้างในปี 2017 ซึ่งจะได้เห็นการซื้อขายอุปกรณ์และวัสดุก่อสร้างอย่างชัดเจนมากขึ้นราวกลางปี 2017 นั่นเอง คุณสังวรณ์ ลิปตพัลลภ นายกสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


special report 39

มองโอกาสมุ่งเน้น

Productivity

ลงทุนเพื่อลดต้นทุนการผลิต ในปีนี้เป็นปีที่ราคาน�้ามันมีความผันผวนมาก ราคาน�า้ มันในตลาดโลกปรับลดลงมา แต่ขณะเดียวกัน ปริมาณการใช้น�้ามันก็เพิ่มมากขึ้นในทุกภาคส่วน ที่เห็นชัดเจนก็คือ แก๊สโซลีนเพิ่มขึ้นมากถึง 11-12% ดีเซลโตขึ้น 3-4% โดยในส่วนของ แก๊สโซลีนนั้นน่าจะเป็นผลมาจากภาคการ ท่องเที่ยว ที่ท�าให้เกิดการบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น การใช้ยานยนต์เพิม่ ขึน้ คนเริม่ ใช้รถยนต์เองมากขึน้ ใช้ Mass Transit น้อยลง ส่วนดีเซลนั้นสะท้อนถึง ภาคอุตสาหกรรม ภาวะที่เกิดขึ้นแม้จะมี ผลกระทบจากความผันผวนของราคาน�้ามัน โดย เฉพาะนักลงทุน แต่ในทางกลับกันนั้นถือเป็น ประโยชน์ของผู้บริโภคโดยตรง ตลอดระยะเวลา 8 เดือนที่ผ่านมา ต้อง ยอมรับว่า ปตท. ได้รับผลกระทบค่อนข้างมาก การด�าเนินธุรกิจต้องปรับตัวและด�าเนินการอย่าง ระมัดระวัง หลายโครงการมีความจ�าเป็นต้อง Suspend เพราะไม่สามารถลงทุนได้ในภาวะเช่นนี้ ขณะนี้หลายๆ โครงการของปตท. ก�าลังเผชิญ ภาวะลด ละ เลื่อน ซึ่งก็ยอมรับว่าหลายโครงการก็ ยกเลิกไปเลย โดยเฉพาะโครงการประเภท Unconventional Oil อย่างไรก็ตาม นี่ถือเป็นโอกาสที่จะมุ่งเน้นเรื่อง ของ Productivity เป็นโอกาสที่จะหันกลับมา พิจารณาเรื่องการลงทุนเพื่อลดต้นทุนการผลิต เป็นโอกาสในการปรับแผนการด�าเนินธุรกิจ หรือ Model Business ใหม่ๆ คุณศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ปตท.

กลุ่มธนาคารโลก จับตาการปรับตัวของจีนต่อภาวะ เศรษฐกิจโลก เพื่อประเมินผลกระทบต่อผู้ประกอการไทย ปัจจัยบวกทางเศรษฐกิจในปี 2017 ที่ส่งสัญญาณอยู่ในขณะนี้ คือ การเบิกจ่าย งบประมาณของภาครัฐที่สามารถท�าได้มากกว่านี้ แม้ที่ผ่านมาภาครัฐท�าได้ดีกว่าที่คาด โดยเฉพาะโครงการใหญ่ๆ อีกทั้งโครงการก่อสร้างถนนจากบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ไป จ.นครราชสีมา ซึ่งมีการเบิกจ่ายและเริ่มด�าเนินการก่อสร้าง แล้ว นี่สะท้อนว่าประเทศไทยในแง่ของการด�าเนินนโยบายนั้นวางแผนได้ค่อนข้างดี แต่ เวลาจะลงมือท�าหรือ Implement ค่อนข้างช้า ดังนั้น หากต้องการให้เศรษฐกิจขับ เคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง ก็ต้องหาอะไรมาเป็นตัวจุดประกาย หรือเปลี่ยนมุมมองให้คน เข้าใจว่าเราสามารถลงทุนขนาดใหญ่แบบ Transformative คือ เปลี่ยนเศรษฐกิจได้ นอกจากนี้ ผลส�ารวจจาก Enterprise Survey ยังพบว่าต้นทุนการคมนาคมนั้น เป็นอีกหนึ่งปัจจัย หรือเป็นอุปสรรคประการหนึ่งที่ส�าคัญส�าหรับบริษัทเล็กๆ อย่าง SMEs และระดับกลางด้วย ดังนั้น การลงทุน Infrastructure จึงเป็นปัจจัยบวกในระยะ ยาว ส่วนภาวะเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศจีน ต้องจับตาว่าจีนจะสามารถปรับตัวได้ หรือไม่ จากเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการส่งออก ไปสู่เศรษฐกิจที่พึ่งพาการบริโภคภายใน ประเทศและภาคบริการ ซึง่ หากมีแนวโน้มค่อนข้างดี ก็จะเป็นปัจจัยบวกทีส่ ง่ เสริมให้การ ส่งออกของเศรษฐกิจไทยดีขน้ึ ดร.เกียรติพงศ์ อริยปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์อาวุโส ประจ�าประเทศไทย

ก�าจัดจุดอ่อนระบบการศึกษา ก่อนจะถึง Thailand 4.0

เมือ่ กล่าวถึง Thailand 4.0 ทีเ่ ป็นนโยบายของภาครัฐทีต่ า่ งก็ขานรับกันไปแล้วนัน้ ถือเป็น ยุทธศาสตร์ที่ดี แต่สิ่งที่ยังเป็นกังวล ก็คือ จริงๆ แล้วไม่ใช่ทุกอุตสาหกรรมที่จะต้องเป็น 4.0 เพราะยุทธศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นเป็นเพียงการให้ค�ามั่นสัญญา แต่สิ่งที่จะท�าให้เกิดผล ก็ คือ คน และกระบวนการ สิ่งหนึ่งที่จะต้องพัฒนามากๆ และท�าให้เป็น 4.0 ก็คือ การศึกษา เพราะต้องยอมรับว่า การศึกษาของบ้านเรานั้น ที่ตั้งเป้าจะเป็น Thailand 4.0 แต่หันกลับมามองระบบ การศึกษาบ้านเรายัง 0.4 อยู่เลย จุดอ่อนของประเทศไทย คือ การศึกษา ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า หากการศึกษายังไม่พฒ ั นา ยังไม่ได้รบั การยกระดับ การจะก้าวสู่ Thailand 4.0 ก็เป็นไปได้ยาก คุณฉัตรชัย ตวงรัตนพันธ์ ผู้อ�านวยการบริหาร สมาคมผู้ค้าปลีกไทย

EXECUTIVE SUMMARY We couldn’t deny that the competitive from global communities including Thailand are facing many important turning points. The world economics are facing ‘Too Low, For Too Long and Benefiting Too Few’ condition or it just a continuous low growth rate of world economy for a long time and too few people that got benefits from. The recovery rate of world economic is so fragile and couldn’t improve the most citizen’s life quality in a long term. Belong to the problem and challenge of the world that will be more complex and aggressive, many countries are focusing on sustainable development to use as core idea to take action possibility as many levels as it could. For now, Thailand’s economic condition are recovering gradually but we could say that Thailand has more stability than many industrial or new born economic country. For Thailand, to unlock the trap that we are struggling, we have to use entirely new 3 engines that is competitive growth engine, inclusive growth engine and green growth engine. issue 166 december 2016


40 EXECUTIVE TALK

ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล

MTEC: คลังสมองของชาติ

ด้านเทคโนโลยีวสั ดุ

เทคโนโลยี วั ส ดุ อ ยู ่ ร อบตั ว เราทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม การพัฒนาองค์ความรูค้ วามสามารถด้านเทคโนโลยีวสั ดุจงึ ส่งผล ต่ อ เราทุ ก คน ทั้ ง ภาคธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม และเกษตรกรรม เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ การเกษตรและอาหาร สุขภาพและ การแพทย์ ฯลฯ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) เป็นหนึ่ง ในศูนย์เทคโนโลยีภายใต้ สวทช. เช่นเดียวกับ NANOTEC, NECTEC และ BIOTEC มีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาและ สนับสนุนงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ ฉบับนี้ MODERN MANUFACTURING ขออาสาพาไป ท�าความรู้จักกับ MTEC ให้ลึกและกว้างขึ้น ผ่านปากค�าของ ‘ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล’ ผูอ้ า� นวยการ MTEC นักวิชาการหนุม่ ที่จับพลัดจับผลูย้ายสายงานจากงานท�าวิจัยมาท�างานใหญ่ เป็นผู้บริหารองค์กรที่มีแต่บุคลากรหัวกะทิ เรียกได้ว่าเป็น ‘ระดับมันสมองของชาติ’ เลยทีเดียว

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ตั้งโจทย์ โฟกัสเป้าหมาย แล้วเดินหน้า ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล เกริ่นให้เห็นภาพกว้างว่า MTEC ท�างานวิจยั พัฒนาเกีย่ วกับเทคโนโลยีวสั ดุ เช่น โลหะ พอลิเมอร์ เซรามิก วัสดุประกอบ (คอมโพสิท) รวมถึงเทคโนโลยีด้าน วิศวกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ระบบอัตโนมัติ หุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม ตลอดจนการใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม ดร.จุ ล เทพ อธิ บ ายอี ก ว่ า พื้ น ฐานอุ ต สาหกรรม ประเทศไทยมีรายได้หลักส่วนหนึ่งจากการผลิตและส่งออก ชิ้ น ส่ ว นอุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ เศรษฐกิ จ และการผลิ ต ของภาค อุ ต สาหกรรมจึ ง หมายถึ ง ปากท้ อ งและความเป็ น อยู ่ ข อง คนในชาติ และสิ่งเหล่านี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า โดยเฉพาะกับลูกค้าต่างชาติ ท�าให้ MTEC ต้องติดตาม อัพเดท และต้ อ งท� า หน้ า ที่ เ ป็ น คลั ง สมองของชาติ ใ นการให้ ค วามรู ้ ที่ ส� า คั ญ คื อ ต้ อ งมี โซลู ชั น เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี วั ส ดุ ต ่ า งๆ ให้ผู้ประกอบการได้ปรับตัวทันโลกด้วย


EXECUTIVE TALK

“การออกแบบวิศวกรรมเป็นแกนเชื่อมแต่ละหน่วยวิจัย ของเราเข้าด้วยกัน ขณะเดียวกันงานวิจัยพื้นฐานนั้นถือว่า มีความส�าคัญมาก แต่ไม่ใช่การตีพิมพ์เพื่อลงวารสารวิชาการ แล้ ว ขึ้ น หิ้ ง ต้ อ งร้ อ ยเรี ย งให้ เชื่ อ มโยงกั บ งานในมิ ติ ต ่ า งๆ ที่เกี่ยวข้องมากขึ้น เราต้องเป็นผู้เผยแพร่ ให้ความรู้ความเข้าใจ ด้านเทคโนโลยีวัสดุ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน และเพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของภาคธุ ร กิ จ ทั้งอุตสาหกรรม พลังงาน สิ่งแวดล้อม เกษตรกรรม” ดร.จุลเทพ สรุปให้ฟังว่า MTEC มีสิ่งส�าคัญที่ต้องค�านึงถึง 2 ข้อใหญ่ ข้อแรก คือ MTEC จะมีส่วนช่วยในการเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ เกษตร อุตสาหกรรม พลังงานได้อย่างไรบ้าง และข้ อ ที่ 2 คื อ MTEC จะมี ส ่ ว นช่ ว ยในการพั ฒ นา คุ ณ ภาพชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องคนได้ อ ย่ า งไร ไม่ ใช่ แ ค่ ช ่ ว ย ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมแล้วละเลยหรือส่งผลสร้างปัญหาไว้ให้กบั ประชาชน ด้ ว ยความที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานที่ มี พื้ น ฐานเป็ น ราชการ ต้องอาศัยทุนหลักจากส�านักงบประมาณแผ่นดิน และหน่วยงาน ภาคราชการต่างๆ ในการท�างานศึกษาวิจัย จึงยิ่งต้องพิสูจน์ ตัวเองว่าไม่ได้กินงบประมาณแผ่นดินเปล่าๆ แต่มีผลงาน ที่ น� า ไปใช้ ไ ด้ จ ริ ง หนึ่ ง ในตั ว ชี้ วั ด คื อ มี เ งิ น สนั บ สนุ น จาก ภาคธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมในลั ก ษณะความร่ ว มมื อ หรื อ การ รับจ้างวิจัย อย่างไรก็ตาม ในการท�างานนั้น ก็จะมีการจัดสรร งบประมาณเพือ่ ท�างานวิจยั เชิงลึกด้วย ถึงจะเป็นงานวิจยั ทีไ่ ม่มี ใครซือ้ แต่กต็ อ้ งท�าให้มพี นื้ ฐานทีด่ ไี ว้ เพราะเป็นเทรนด์อนาคต กล่าวคือ MTEC จะวิจัยเพื่อให้ได้องค์ความรู้ที่มีศักยภาพ หากผู้ประกอบการพร้อมจะลงทุนเมื่อไหร่ ก็สามารถท�างาน ต่อยอดให้น�าไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้ ‘ไทยแลนด์ 4.0’ ความหวังหลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง รัฐมีแนวนโยบายเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตั้งเป้าไว้ว่า ประเทศไทยต้องหลุดพ้นจากกลุ่มประเทศที่ติดกับดักรายได้ ปานกลาง โดยท�าให้การผลิตทุกอย่างฉลาดขึ้น ทั้งภาคเกษตร และอาหาร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาคท่ อ งเที่ ย วและบริ ก าร มุ่งหน้าสู่ ไทยแลนด์ 4.0 ดร.จุลเทพ ให้ความเห็นว่า หากต้องการหลุดกับดักนี้จริง เราต้องมีเทคโนโลยีและมีความสามารถในการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรที่เรามีอยู่ได้อย่างมีคุณค่าสูงสุดตั้งแต่ต้นน�้า ในขณะทีภ่ าคอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่เป็นเพียงผูใ้ ช้เทคโนโลยี ทีผ่ า่ นมา ไทยผลิตสินค้าทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ ค่อนข้างน้อย แต่อาศัยว่า ท� า การผลิ ต ในจ� า นวนมากๆ และประเทศไทยไม่ ป ระสบ ความส�าเร็จนักในการสร้างนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีของเราเอง “ส�าหรับประเทศไทย ด้วยพืน้ ฐานทีเ่ ป็นประเทศเกษตรกรรม ท� า ให้ เรามี ต ้ น ทุ น ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ห รื อ การเกษตร ที่ พ ร้ อ มกว่ า ส่ ว นอื่ น เรามี ศั ก ยภาพในด้ า นวั ส ดุ ชี ว ภาพ (Bio Materials) ทีเ่ ห็นได้ชดั คือ ยางพารา เราต้องใช้จดุ นีใ้ ห้เป็น ประโยชน์มากยิ่งขึ้น เราต้องท�างานเชิงรุกยิ่งขึ้น ต้องคิดเป็นผู้ชี้น�ากระแสให้ได้ มองหาวัสดุที่ยังไม่ถูกประเทศอื่นๆ ยึดครองตลาด จะพัฒนา อย่ า งไร แปรรู ป น� า มาใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งไร ถ้ า เราพั ฒ นา เทคโนโลยีเองได้ ตั้งแต่วัตถุดิบต้นน�้าจนออกมาเป็นนวัตกรรม

41

ที่นี่ ทุกคนอยากท�างาน ทุกคนกระหายใคร่รู้ หลายคน อยากสร้างนวัตกรรม จึงต้องท�าความเข้าใจร่วมกันว่า ท�างาน ออกมาแล้ว ไม่ ได้จบแค่ทตี่ วั เอง แต่ตอ้ งส่งต่อได้ ยิง่ คนทีม่ คี วามรูส้ งู ยิง่ มีความเป็นอาณาจักรทางวิชาการสูง หลายครัง้ จึงต้องลดอัตตา ต้องรู้จักใจเขา ใจเรา และใจองค์กร มูลค่าเพิ่มมันจะสูงมาก เพราะเราจะสามารถสร้างธุรกิจที่ใช้ ประโยชน์ได้พร้อมๆ กัน ทั้งวัตถุดิบ และเทคโนโลยีที่เราคิดค้น พัฒนาขึ้น หรือบางทีเราอาจต้องหันมาสนใจ Niche Market ให้มากขึ้น” ดร.จุลเทพ กล่าว วิจัยไม่ขึ้นหิ้ง ยกตั ว อย่ า งงานวิ จั ย พั ฒ นาที่ เ กี่ ย วกั บ โลหะซึ่ ง เป็ น วั ส ดุ วิ ศ วกรรมพื้ น ฐานที่ ส� า คั ญ ส� า หรั บ ประเทศไทย การพั ฒ นา ส่วนใหญ่ก็อยู่ในมือประเทศที่เป็นผู้น�าทางอุตสาหกรรมหรือ มี ท รั พ ยากรเหล่ า นี้ เ ป็ น ของตั ว เอง ประเทศไทยเป็ น ผู ้ ใช้ เป็นผู้น�าเข้ามาใช้ในการผลิต การวิจัยพัฒนาก็จะอยู่ท่ีกลาง น�้าและปลายน�้า เป็นการวิจัยพัฒนาที่เน้นด้านการแปรขึ้นรูป อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้งานที่มีประสิทธิผล และ MTEC ก็ยืนยันว่า “ทิ้งไม่ได้ และโลหะยังเป็นหนึ่งในงานหลัก MTEC จะช่วยผู้ประกอบการให้เกาะติดทิศทางการเปลี่ยนแปลงและ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีวัสดุระดับโลกไม่ให้ตกขบวน” ดร.จุลเทพ กล่าว อย่างไรก็ตาม โอกาสทางธุรกิจและการพัฒนาไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั สร้ า งนวั ต กรรมหวื อ หวาเท่ า นั้ น ดร.จุ ล เทพ ยกตั ว อย่ า ง ที่ท�าให้ต้องทึ่ง คือ การใช้ความรู้ด้านเทคโนโลยีวัสดุมาใช้กับ อุตสาหกรรมอาหาร ใครจะคาดคิดว่า การเรียงตัวของพอลิเมอร์ จะเกี่ยวข้องกับรสสัมผัสของไส้กรอก “หากมองอย่างผิวเผิน อาจคิดว่ามันข้ามสายกันเลยนะ กลุ่มอาหารและกลุ่มวัสดุไม่น่าจะเกี่ยวกัน แต่เรามองอาหาร ว่าจะอร่อยได้ไม่ใช่แค่วัตถุดิบดี แต่ขึ้นอยู่กับรสสัมผัสด้วย ซึง่ สิง่ เหล่านีเ้ ป็นเรื่องของโครงสร้างในระดับจุลภาค ไม่เพียงแต่ ส่วนผสมเท่านัน้ ทีส่ ง่ ผลให้รสสัมผัสต่างกัน ความอร่อยไม่เท่ากัน อย่างเทรนด์ปัจจุบันที่เน้นอาหารสุขภาพ ผู้ประกอบการ ก็ตอ้ งหาวิธี จะท�าอย่างไรให้ไขมันน้อยแต่อร่อยเท่าเดิม ศาสตร์ ด้านวัสดุจะมาช่วยหาว่า มีพอลิเมอร์หรือสารชีวภัณฑ์อะไรที่มี คุณสมบัติเหมือนไขมันในแง่รสสัมผัส แต่ไม่ท�าลายสุขภาพ ไม่อว้ น อาจจะไม่เหมือนแต่ใกล้เคียง กลายเป็นไส้กรอกไขมันต�า่ หรือไขมัน 0% นอกจากจะเพิ่มมูลค่าให้วัสดุนั้นๆ แล้ว ยังเพิ่ม มูลค่าให้ไส้กรอกที่เป็นผลิตภัณฑ์ปลายทาง กลายเป็นอาหาร ที่ดีต่อสุขภาพ” ดร.จุลเทพ อธิบายให้เห็นภาพ ในภาคเกษตร ดร.จุลเทพ อธิบายว่า เกษตรกรมีความรู้ พื้นฐาน เมล็ดแบบไหน ดินน�้าแบบไหน แสงแบบไหนที่จะดี ต่อผลผลิต และหากวิจัยและพัฒนาในหัวข้อที่เกี่ยวข้องให้มี ความเข้าใจถ่องแท้ลกึ ขึน้ แล้วน�าผลวิจยั เหล่านีม้ าพัฒนาต่อใน มิติของวิศวกรรมให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสม จะสามารถสร้าง Smart Farming ได้เลย

issue 166 december 2016


42 EXECUTIVE TALK

MTEC ต้องติดตาม อัพเดท และต้องท�าหน้าที่เป็น คลังสมองของชาติในการให้ ความรู้ ที่ส�าคัญ คือ ต้องหา โซลูชันเกี่ยวกับวัสดุต่างๆ มาบอกผู้ประกอบการให้ ปรับตัวทันโลกด้วย

“เราพัฒนาวัสดุฟิล์มกรองแสง ออกแบบพัฒนาว่าจะลด คลื่นย่านนี้ เพิ่มคลื่นย่านนี้ เพื่อก�าหนดคลื่นแสงที่จะส่องลงมา ที่ พื ช ผั ก ในแปลงเกษตร ซึ่ ง ความถี่ แ ต่ ล ะย่ า นสามารถเพิ่ ม ปริมาณหรือคุณภาพให้ผลผลิตทางการเกษตรได้ ที่ผ่านมาเรา ท�างานเรื่องนี้ร่วมกับโครงการหลวงอยู่” หลายๆ ตัวอย่างทีก่ ล่าวมา พิสจู น์ได้วา่ งานวิจยั ของ MTEC ไม่ใช่วิจัยขึ้นหิ้งอย่างแน่นอน

ภำยนอก พุดง่ำยๆ คือ ผู้อ�ำนวยกำรเป็นผู้รับใช้ทุกคน ในองค์กรครับ และในกำรท�ำงำน เรำก็ตอ้ งเรียนรูท้ จี่ ะไม่ไป เครียดกับกำรท�ำงำน ยิ้มได้ตลอดครับ” ดร.จุลเทพ พูดไป ยิ้มไป

บริหารหัวกะทิ เหมือนควบคุมวงออร์เคสตรา ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ มีบคุ ลากรทัง้ หมดกว่า 500 คน เป็นนักวิจัยเกือบ 400 คน และเจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุน เรามี 8 หน่วยวิจัยหลัก “นักวิจยั ทีน่ ส่ี ว่ นใหญ่เป็นดอกเตอร์ เป็นนักเรียนทุน จบจาก มหาวิทยาลัยชัน้ น�าระดับโลก การจะท�าให้คนเก่งท�างานด้วยกัน เป็นเรื่องยากที่มาก ทีน่ ี่ ทุกคนอยากท�างาน ทุกคนกระหายใคร่รู้ หลายคนอยาก สร้างนวัตกรรม จึงต้องท�าความเข้าใจร่วมกันว่า ท�างานออกมา แล้ว ไม่ได้จบแค่ที่ตัวเอง แต่ต้องส่งต่อได้ ยิ่งคนที่มีความรู้สูง ยิ่งมีแนวโน้มที่จะสร้างความเป็นอาณาจักรทางวิชาการสูง หลายครั้งจึงต้องลดอัตตา ต้องรู้จักใจเขา ใจเรา และใจองค์กร” ดร.จุลเทพ แบ่งปันประสบการณ์ กล่าวคือ นักวิจัยและเจ้าหน้าที่ท�าหน้าที่ของเขาไปได้อย่าง อิสระภายใต้บทบาทขององค์กร เพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายใหญ่รว่ มกัน โดยมี ‘ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล’ เป็นผูป้ ระสานวงดนตรีให้ราบรืน่ เป็ น ผู ้ อ� า นวยการบรรเลงให้ เ พลงลื่ น ไหล ให้ แ ต่ ล ะคนรู ้ ว ่ า จังหวะไหนต้องเร็ว ต้องช้า ต้องดัง หรือต้องเบา “ผมเป็ น คนอ� ำ นวยด้ ำ นทรั พ ยำกรเท่ ำ นั้ น เอง เช่ น แหล่งเงินทุน ควำมร่วมมือจำกฝ่ำยงำนภำยในและองค์กร

EXECUTIVE SUMMARY ‘Dr. Julathep Kajornchaiyakul’ the young scholar who change from researcher to catch high impact work as an executive of National Metal and Materials Technology Center (MTEC). He said that the duty of MTEC is to improve competitive capability of business sector likes auto part, agriculture, agroindustry or energy and the other purpose is to take a part in quality of life improvement because citizen living isn’t just industrial sector support and leave the rest to them. So, Dr. Julathep thinks that Thailand is a land of industrials which the main income is providing from the part manufacturing and export sector. These factors depend on demand of the customer, foreigner particularly. That is why MTEC must catch up, update and operate as national brain to provide knowledge. The most important issue is a solution for every material technology for the entrepreneur to adapt with the transforming world.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY 43

เปิดนโยบายพัฒนา

และมาตรการขับเคลือ่ น

ภาคอุตสาหกรรม

ระยะเร่งด่วน

ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว และปัญหาเชิงโครงสร้างที่ไม่สมดุล และไม่ยงั่ ยืนของประเทศทีพ่ งึ่ พาการส่งออกเป็นตัวขับเคลือ่ นระบบเศรษฐกิจหลัก ของประเทศ โดยไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ กั บ การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ภายใน ประเทศ (Local Economy) เพื่อก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจเท่าที่ควร ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมไทยได้รับผลกระทบจากภาวะการส่งออกที่ชะลอตัว อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ เมือ่ เผชิญกับความผันผวนทีเ่ กิดขึน้ จากสถานการณ์ภายนอก ประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปรวดเร็ว

ดร. อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้กา� หนด นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมและมาตรการขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรม ทีส่ า� คัญ บนพืน้ ฐานของการสร้างดุลยภาพเชิงพลวัตของการพัฒนาอุตสาหกรรม ทีเ่ ชือ่ มโยงทุกมิติ ของการพัฒนาอย่างบูรณาการกับทุกภาคส่วน ซึง่ มีรายละเอียด ในแต่ละนโยบายและมาตรการ ดังนี้

การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)

จัดท�ำมำตรกำรขับเคลือ่ นผูป้ ระกอบกำร SMEs ให้สำมำรถด�ำเนินธุกจิ ต่อไปได้ เช่น มำตรกำรด้ำนกำรเพิม่ รำยได้ให้กบั ผูป้ ระกอบกำร / มำตรกำรด้ำนกำรเข้ำถึงแหล่งเงินทุน มำตรกำรด้ำนภำษี และมำตรกำรด้ำนกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถ SMEs เป็นต้น

การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ของภาคอุตสาหกรรม

• ส่งเสริมกำรรวมกลุ่มอุตสำหกรรม (Cluster) ที่มีศักยภำพในแต่ละพื้นที่ เช่น อุตสำหกรรมยำนยนต์และชิ้นส่วน / อุตสำหกรรม ไฟฟ้ำและอิเล็กทรอนิกส์ / อุตสำหกรรมปิโตรเคมี / อุตสำหกรรมไอที ดิจิทัล และฟิล์ม / อุตสำหกรรมเกษตรแปรรูป / อุตสำหกรรม สิ่งทอ และเครื่องนุ่งห่ม รวมทั้งผลักดันกำรสร้ำงเขตเศรษฐกิจพิเศษเฉพำะสินค้ำ เช่น Rubber City / Halal เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขัน และสร้ำงเศรษฐกิจภำยในประเทศให้มีควำมเข้มแข็งเพื่อวำงรำกฐำนเศรษฐกิจของประเทศ • ปรับโครงสร้ำงอุตสำหกรรมอ้อยและน�้ำตำลทรำยทั้งระบบเพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันให้กับอุตสำหกรรมอ้อยและ น�้ำตำลทรำย

การพัฒนาปัจจัยสนับสนุน ให้เอื้อต่อการลงทุนและ การพัฒนาอุตสาหกรรม

• ส่งเสริมกำรพัฒนำเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพือ่ เป็นพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ทมี่ ศี กั ยภำพในกำรรองรับกำรขยำยตัวของภำคอุตสำหกรรมไทย โดยระยะแรกให้ควำมส�ำคัญด่ำนชำยแดนทีส่ ำ� คัญ 6 ด่ำน ได้แก่ ปำดังเบซำร์ สะเดำ อรัญประเทศ แม่สอด บ้ำนคลองลึก และบ้ำนคลองใหญ่ • ผลักดันกำรปรับปรุงแก้ ไขผังเมืองให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรของภำคอุตสำหกรรม และรองรับกำรขยำยตัวของภำค อุตสำหกรรมในอนำคต • ผลักดันกำรจัดตั้งศูนย์ทดสอบยำนยนต์และยำงล้อแห่งชำติ • เร่งรัดกำรเบิกจ่ำยงบประมำณในปีงบประมำณ พ.ศ. 2558 และ 2559 ของทุกหน่วยงำน ให้เป็นไปตำมเป้ำหมำย เพื่อลดผลกระทบ จำกกำรชะลอตัวทำงเศรษฐกิจ

issue 166 december 2016


44 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ของภาคอุตสาหกรรม

• สร้ำงผู้ประกอบกำรรุ่นใหม่ให้มีศักยภำพและสำมำรถแข่งขันได้ โดยให้ควำมส�ำคัญ กับกำรสร้ำงผู้ประกอบกำรที่เป็น Technology Based Start Up และ Design Based Start Up รวมทัง้ กำรสร้ำงผูป้ ระกอบกำรใหม่ดำ้ นดิจทิ ลั โดยบูรณำกำรร่วมกับหน่วยงำนทีเ่ กีย่ วข้อง • พัฒนำศักยภำพผู้ประกอบกำรวิสำหกิจชุมชน (OTOP) ให้มีควำมเข้มแข็งและเติบโตอย่ำงสมดุลตำมศักยภำพของพื้นที่ โดยกำร พัฒนำคุณภำพมำตรฐำนสินค้ำ รวมทั้ง กำรเพิ่มคุณค่ำ และสร้ำงมูลค่ำให้กับสินค้ำ ตลอดจนกำรยกระดับผู้ประกอบกำรให้สำมำรถ ขยำยลักษณะกำรประกอบธุรกิจไปสู่กำรเป็น SMEs ได้อย่ำงยั่งยืน

การสร้างและพัฒนา ผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และวิสาหกิจชุมชน (OTOP) ให้มีความเข้มแข็ง

• ปรับปรุงพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535 ให้มีควำมสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ ในปัจจุบัน • ปรับปรุงพระรำชบัญญัติอ้อยและน�้ำตำลทรำย พ.ศ. 2527 ให้มีควำมสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ ในปัจจุบัน • ปรับปรุงขั้นตอนกำรอนุมัติ อนุญำตต่ำง ๆ ให้รวดเร็วมำกยิ่งขึ้น เช่น กำรออกใบอนุญำตและกำรอนุญำตตำม พ.ร.บ. มำตรฐำน ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม และ พ.ร.บ. โรงงำน เป็นต้น เพื่ออ�ำนวยควำมสะดวกและลดขั้นตอนให้ผู้ประกอบกำรสำมำรถด�ำเนินธุรกิจได้ อย่ำงคล่องตัว • ปรับปรุงเอกสำรและคู่มือกำรอนุมัติ อนุญำตให้ผู้ประกอบกำรเข้ำใจได้ง่ำย • ปรับปรุงฐำนข้อมูลโรงงำนระหว่ำง กรอ. และ สอจ. ให้เป็นมำตรฐำนเดียวกัน

การพัฒนาปัจจัยสนับสนุน ให้เอื้อต่อการลงทุนและ การพัฒนาอุตสาหกรรม

• เพิ่มประสิทธิภำพกำรก�ำจัดขยะ/กำกอุตสำหกรรม และเร่งรัดกำรน�ำกำกอุตสำหกรรม เข้ำสู่ระบบให้ ได้ตำมเป้ำหมำยที่ก�ำหนด • ควบคุม ก�ำกับ ดูแลโรงงำนอุตสำหกรรมไม่ให้สร้ำงมลพิษสิ่งแวดล้อมทั้งทำงน�้ำ และทำงอำกำศต่อสังคมและชุมชน รวมถึงบังคับ ใช้กฎหมำยในกำรควบคุมผู้ประกอบกำรอย่ำงเข้มงวดเพื่อให้ภำคอุตสำหกรรมสำมำรถอยู่ร่วมกันกับชุมชน และสังคมได้อย่ำงยั่งยืน • ผลักดันกำรพัฒนำเมืองอุตสำหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) เพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน โดยระยะแรกให้ควำมส�ำคัญกับ เมืองอุตสำหกรรมเชิงนิเวศ 5 จังหวัดน�ำร่อง ได้แก่ จังหวัดระยอง สมุทรปรำกำร สมุทรสำคร ปรำจีนบุรี และฉะเชิงเทรำ • ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบกำรมุง่ สูอ่ ตุ สำหกรรมสีเขียว (Green Industry) เพือ่ ขับเคลือ่ นภำคอุตสำหกรรมไปสูก่ ำรเป็นสังคมคำร์บอนต�ำ่ โดยเป็นกำรประกอบกิจกำรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีควำมรับผิดชอบต่อสังคม

การก�ากับดูแลการประกอบ ธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม

• ปรับบทบำทสถำบันเครือข่ำยให้มีภำรกิจที่เหมำะสมสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ ในปัจจุบันและรองรับกำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ในอนำคต • ปรับทัศนคติกำรท�ำงำนของเจ้ำหน้ำที่ส�ำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัด โดยให้ควำมส�ำคัญกับกำรท�ำงำนที่ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส รวมทั้งกำรให้ควำมส�ำคัญในเรื่องกำรก�ำกับ ควบคุม ดูแล ควบคู่ไปกับกำรให้ค�ำปรึกษำ แนะน�ำ และส่งเสริมผู้ประกอบกำรให้สำมำรถ ด�ำเนินธุรกิจได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ • พัฒนำสมรรถนะบุคลำกรในองค์กรทุกระดับให้มีควำมรู้เท่ำทันต่อกำรเปลี่ยนแปลง โดยเฉพำะกำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน และ สำมำรถให้ค�ำปรึกษำ แนะน�ำแก่ผู้ประกอบกำรและนักลงทุนได้อย่ำงถูกต้อง

การพัฒนา สมรรถนะองค์กร

ทั้งนี้ นโยบายและมาตรการดังกล่าว มุ่งผลลัพธ์ในการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้ แก่ภาคอุตสาหกรรมไทย ให้สามารถด�ารงอยู่ และขยายตัวได้อย่างมีเสถียรภาพ เป็นพื้นฐานที่มั่นคงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจให้สามารถด� าเนินต่อเนื่องไป ได้ในระยะถัดไป อีกทั้งเป็นพื้นฐานที่ส�าคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่าง

ระยะกลางและระยะยาว

• ส่งเสริมและพัฒนำอุตสำหกรรมทีส่ อดคล้องกับศักยภำพพืน้ ฐำนของประเทศ โดยเน้นกำรใช้วทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลค่ำ และเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันให้กับภำคอุตสำหกรรม • จัดท�ำแผนปฏิบัติกำรภำยใต้แผนแม่บทกำรเพิ่มประสิทธิภำพและผลิตภำพของภำคอุตสำหกรรม พ.ศ. 2559 – 2564 เพื่อเพิ่ม ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันให้กับภำคอุตสำหกรรม และรองรับกับกำรเปลี่ยนแปลงในอนำคต • จัดท�ำยุทธศำสตร์กำรพัฒนำอุตสำหกรรมไทย พ.ศ. 2559 – 2564 และยุทธศำสตร์ กำรพัฒนำอุตสำหกรรมรำยสำขำที่ส�ำคัญ เพื่อก�ำหนดทิศทำงกำรพัฒนำอุตสำหกรรมไทยให้เหมำะสมและสอดคล้องกับบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป • จัดท�ำแผนแม่บทด้ำนกำรก�ำหนดมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม พ.ศ. 2559 – 2563 เพื่อเตรียมพร้อมรองรับกับมำตรฐำน ที่ส�ำคัญในอนำคต • กำรส่งเสริมบทบำทและกำรใช้โอกำสในประชำคมอำเซียน โดยเร่งด�ำเนินกำรจัดท�ำข้อตกลงกำรยอมรับร่วมกันของสินค้ำด้ำนกำร ตรวจสอบและรับรองมำตรฐำน และเชื่อมโยง National Single Window: NSW ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว • พัฒนำทักษะแรงงำนในภำคอุตสำหกรรม เพือ่ รองรับกำรเข้ำสูป่ ระชำคมอำเซียน และรองรับกำรลงทุนในอุตสำหกรรมทีม่ ศี กั ยภำพ ของประเทศ • จัดท�ำแผนพัฒนำแร่ที่มีควำมส�ำคัญ เช่น ทองค�ำ โพแทช ควอตซ์ ถ่ำนหิน และเหล็ก เป็นต้น

ยั่งยืน และมีความพร้อมต่อความผันผวนที่เกิดขึ้น เพื่อน�าพาภาคอุตสาหกรรม ของไทยให้สามารถขยายตัวได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน และสามารถแข่งขันได้บนเวที การค้าโลกต่อไป

EXECUTIVE SUMMARY Ministry of Energy had set the policy for industrial development and a measure to drive industrial sector that base on dynamic balance of industrial development which connect to every aspect of all integrate development. To drive this policy and measure under Dr. Atchaka Sibunruang, Minister of Industry, it’s focused to build proper immunity for Thailand industrial sector to survive and expanding with great stability. It will be a permanent base for economic recovery continuously for the next phase. It’s also an important base for industry development stability and ready for the fluctuation to lead the industrial sector to be expanded continuously, long-lasting and competitive on the global market. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง : ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

GREEN ZONE REPORT 45

มอง ‘พลังงานโลก’ แล้วย้อนดู ‘พลังงาน ‘พลังงาน’ เป็นเรื่องที่ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่ว่าโลกธุรกิจอุตสาหกรรมจะ หมุนเวียนเปลี่ยนผ่านไปอย่างไรก็ตาม ตราบใดที่กิจกรรมต่างๆ ในโลกธุรกิจยังมี ‘พลังงาน’ เป็นหนึ่งในปัจจัยการ ผลิต พลังงานจะยังคงเป็นกลไกทีท่ รงพลังในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ ให้ดา� เนินไปอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าแนวโน้มสถานการณ์พลังงานของ โลกนั้น มีผลกระทบเชื่อมโยงเป็นลูกโซ่ต่อประเทศในระบบเศรษฐกิจทุกขนาด หากแต่จะส่งแรงกระเพือ่ มในระดับทีแ่ ตกต่างกันออกไป มากบ้างน้อยบ้างขึน้ อยู่ กับเสถียรภาพความเข้มแข็งด้านพลังงานของประเทศนั้นๆ ต้องยอมรับว่าแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกนั้นเป็นหนึ่งในตัวแปร ทีจ่ ะสะท้อนสถานการณ์พลังงานได้เป็นอย่างดี ตัวเลขทีน่ า่ สนใจจาก BP Energy Outlook 2016 ระบุว่า เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตัว โดยคาดว่า GDP โลก จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ กว่า 2 เท่า ในอีก 20 ปีขา้ งหน้า เช่นเดียวกับจ�านวนประชากรโลก ที่เพิ่มขึ้น

Source: bp outlook 2016

Source: bp outlook 2016

ทย’

Source: bp outlook 2016

สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาเมื่อเศรษฐกิจโลกขยายตัว ก็คือ ความต้องการใช้พลังงาน จะเพิ่มสูงขึ้น โดยในช่วงปี พ.ศ. 2557-2578 คาดว่าการใช้พลังงานโลกจะเพิ่มขึ้น ถึง 34% โดยเฉพาะการใช้ในกลุ่มประเทศ OECD และประเทศจีน ซึ่งเป็นกลุ่ม ผูบ้ ริโภคพลังงานทีส่ า� คัญของโลก โดยการใช้เชือ้ เพลิงจะมีการเปลีย่ นแปลงอย่าง มีนัยส�าคัญ แม้ว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลจะยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักของโลก เช่นเดียว กับก๊าซธรรมชาติที่มีความต้องการใช้เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่การใช้ ถ่านหินและน�้ามันกลับมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้าม และพลังงาน หมุนเวียนมีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด นอกจากนี้ สัดส่วนการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้าต่อการใช้พลังงานทัง้ หมด คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจาก 42% ในปัจจุบันเป็น 45% ในปี พ.ศ. 2578 โดยพลังงาน ทดแทนจะเริม่ มีบทบาทในการผลิตไฟฟ้ามากขึน้ ทดแทนการถ่านหินทีม่ แี นวโน้ม ใช้ในการผลิตไฟฟ้าลดลง ส�าหรับความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะในภูมิภาค เอเชียขับเคลื่อนให้ความต้องการใช้น�้ามันของโลกเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดย ภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจส�าคัญที่ขับเคลื่อนความ ต้องการใช้เชือ้ เพลิงเหลวของโลก มีแนวโน้มความต้องการใช้เพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ขณะเดียวกันความต้องการใช้กา๊ ซธรรมชาติกเ็ พิม่ สูงขึน้ อย่างมากจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ โดยกลุ่ม OECD มีการใช้ก๊าซในภาคการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนสูง ทั้งนี้ พบว่า ความต้องการใช้ถ่านหินของโลกเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ โดยอินเดีย มีแนวโน้มการใช้ถา่ นหินเพิม่ ขึน้ ขณะทีจ่ นี มีแนวโน้มความต้องการใช้ถา่ นหินลดลง เนื่องจากราคาพลังงานหมุนเวียนที่ถูกลง ประกอบกับกฎระเบียบทางด้าน สิ่งแวดล้อมที่เข้มข้นขึ้น ท�าให้จีนมีแนวโน้มหันไปใช้เชื้อเพลิงอื่นแทน

issue 166 december 2016


46 GREEN ZONE REPORT

มองสถานการณ์ ‘พลังงานโลก’ แล้ว ย้อนกลับมาดูสถานการณ์ ‘พลังงานไทย’ กันบ้าง… ข้อมูลจาก BP Statistical Review of World Energy 2016, BP ระบุว่า การ ใช้พลังงานของไทยและประเทศกลุ่มอาเซียนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยไทยเป็นประเทศที่บริโภคพลังงานสูงในล�าดับต้นๆ ของอาเซียน โดยมีการ บริโภคพลังงานเพิ่มขึ้น 3.5% รองจากอินโดนิเซียที่เพิ่มสูงขึ้น 4.8%

Source: ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน

ส�าหรับแนวโน้มการผลิตพลังงานของไทยนั้นมีความใกล้เคียงกับประเทศ เวียดนามและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ส�านักงานโยบายและแผนพลังงาน ได้ระบุว่าการใช้พลังงาน ของไทยมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ทุกชนิดเชือ้ เพลิง โดยก๊าซธรรมชาติมอี ตั ราเพิม่ สูงขึน้ อย่างก้าวกระโดด ตัวเลขอัตราเพิม่ เฉลีย่ สูงถึง 7.9% การผลิตพลังงานในประเทศ ไม่เพียงพอต้องพึ่งพาการน�าเข้า

Source: BP statistical review of world energy 2016, BP

แนวโน้มราคาพลังงานแต่ละประเภทในปี พ.ศ. 2560 คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2559 โดยคาดว่าราคาน�้ามันดิบจะขยับ ตัวสูงขึน้ ไปอยูท่ รี่ ะดับ 52-53 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ซึง่ เป็นราคาที่ ปรับเพิม่ ขึน้ จากปีนซี้ งึ่ คาดว่าราคาเฉลีย่ จะอยูใ่ นระดับ 43-45 ดอลลาร์ สหรัฐต่อบาร์เรล

Source: EIA Short-Term Energy Outlook

ปัจจุบัน สถานการณ์พลังงานไทยมีมูลค่าการใช้พลังงาน คิดเป็น 2.08 ล้านล้านบาท โดยพึง่ พาการน�าเข้าพลังงาน ได้แก่ น�า้ มัน 75% รองมา คือ ถ่านหิน 59% และก๊าซธรรมชาติ 25% ในส่วนของการผลิตไฟฟ้ามีการพึ่งพาการน�าเข้า เชื้อเพลิงมากกว่า 30% ส่วนภาคขนส่งพึ่งพาการน�าเข้าเชื้อเพลิงมากกว่า 70% เนื่องจากใช้น�้ามันเป็นจ�านวนมาก ส�าหรับประเทศไทยมีแผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้า โดยได้ตั้งเป้าหมายในการ กระจายเชื้อเพลิงเพื่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ ปรับลดสัดส่วนการ ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ และเพิ่มในส่วนของเชื้อเพลิงถ่านหิน พลังงาน ทดแทน และพลังน�้าจากต่างประเทศ พร้อมกับมุ่งเน้นสร้างความมั่นคงในการ จัดส่งพลังงานไฟฟ้า โดยการเชือ่ มโยงสายส่งกับประเทศเพือ่ นบ้านเพือ่ รองรับการ น�าเข้าพลังงานทั้ง 4 ด้านของประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย และกัมพูชา ทัง้ หมดนี้ สะท้อนให้เห็นภาพรวมสถานการณ์พลังงานได้อย่างชัดเจน ซึง่ เชือ่ ว่า ตัวเลขข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนธุรกิจอุตสาหกรรมของ ประเทศได้ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม เพราะพลังงานเป็นปัจจัยในการผลิตทีส่ ะท้อนถึง ต้นทุนความได้เปรียบทางการแข่งขัน และวันนีส้ ถานการณ์พลังงานภายในประเทศ ที่อยู่ระหว่างการเร่งเสริมสร้างเสถียภาพด้านพลังงาน ความได้เปรียบเสียเปรียบ หาใช่ขึ้นอยู่กับนโยบายภาครัฐเพียงอย่างเดียวไม่ หากแต่ต้องพึ่งพาอาศัยการมี ส่วนร่วมของผู้ประกอบการด้วย ทั้งด้านการผลิต พัฒนาพลังงานทดแทน และ การอนุรักษ์พลังงานในทุกรูปแบบ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อันจะน�าไปสู่เสถียรภาพด้านพลังงานที่มั่นคงของประเทศต่อไป

EXECUTIVE SUMMARY BP Energy Outlook 2016 reported that world economy has a tendency to enlarge which GDP was forecasted to expand 2 times in 20 years. In 2014 – 2035, the world energy consumption was predicted to expand by 34% particularly in OECD country group and China which are the main energy consumer of the world. The fuel usage will be changed significantly meanwhile the fossil still the main fuel of the world. The natural gas’s demands are raising continuously while coal and petrol are changing in the opposite direction and the alternative energy’s demand is leaping high. For Thailand, EPPO revealed that nation’s energy usage is raising in every fuel type which natural gas usage rate is leaping the most. The domestic energy generating isn’t enough which made energy import is so necessary. The energy generating improvement plan were conducted in order to make a national’s energy security by expanding fuel usage type and adjust the proportion of energy that generate from natural gas lower while increasing coal, alternative energy and import water generating along with secure electricity supply by connect the cable with neighboring country to support energy import 4 direction. Those 4 countries are Myanmar, Lao, Malaysia and Cambodia. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


นำเขาและจัดจำหนายโดย

บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)

48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)

www.interlink.co.th

E-mail : info@interlink.co.th



เรียบเรียง : จีรพร ทิพย์เคลือบ

special report 49

'คน' กลไกขับเคลื่อน อุตสาหกรรมยุค 4.0 การพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมโดยเฉพาะสือ่ สิง่ พิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ ต่างๆ ก�าลังก้าวเข้าสูย่ คุ ‘Thailand 4.0’ หรือทีค่ นุ้ เคยกันได้ยนิ กัน บ่อยๆ คือ ‘Industry 4.0’ สิง่ ทีก่ า� ลังเผชิญอยูใ่ นสภาวะปัจจุบนั คือ วิกฤต กับ โอกาส ที่มีสัดส่วนสูงมากในปัจจุบัน ทั้งนี้ การเตรียม ความพร้อมจะช่วยให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ตลอดจนผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานได้ ตระหนักถึงทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้

MODERN MANUFACTURING ได้มโี อกาสเข้าร่วม งานสัมมนา FTPI Conference 2016 ‘Bright Future for Printing and Packaging with Thailand 4.0’ ซึ่ง ได้รบั เกียรติจากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒใิ นวงการการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ไทย มาร่วมแลกเปลีย่ นมุมมอง แนวคิด และประสบการณ์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการ ในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดและเติบโตอย่างยั่งยืน เมื่อต้องก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 ซึ่งเป็นความท้าทาย ครั้งใหญ่ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

issue 166 december 2016


50 special report

ก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ความท้าทายครัง้ ใหญ่ของอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ คุ ณ นพดล ไกรฤกษ์ ประธานสหพั น ธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ กล่าวว่า อุตสาหกรรมการ พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ข องไทยมี มู ล ค่ า ตลาดรวม กว่า 4 แสนล้านบาท ครอบคลุมผู้ประกอบการกว่า 2,000-3,000 ราย มีการจ้างแรงงานอีกหลายแสน คน ซึ่งโดยเฉลี่ยภาพรวมตลาดมีการขยายตัวอย่าง ต่อเนื่องจากนโยบายของภาครัฐที่สนับสนุน SMEs ตลอดจนโครงการประชารัฐต่างๆ แม้อุตสาหกรรม การพิมพ์จะได้รบั ผลกระทบจากสือ่ ดิจทิ ลั ทีแ่ พร่หลาย มากขึน้ ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา แต่โดยภาพรวมแล้ว ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดและ เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ควบคู ่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาบรรจุ ภัณฑ์ที่มีโอกาสเติบโตอย่างมากในหลายภาคส่วน ของอุตสาหกรรม การก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ถือ เป็นความท้าทายครัง้ ใหญ่ของอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ ทั้งในเรื่องของเทคโนโลยี และการ พัฒนาคนทีจ่ า� เป็นจะต้องก้าวไปข้างหน้าพร้อมๆ กัน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

‘คน’ ปัจจัยสร้างความสามารถด้านการแข่งขัน ดร.พสุ โลหารชุ น อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรม กล่าวถึงเทรนด์ของทุกอุตสาหกรรมว่า ขณะนี้ก�าลังมุ่งเข้าสู่การใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้น ซึ่ง เป็นรากฐานของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมเข้าสูย่ คุ 4.0 เพือ่ ทีจ่ ะเพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน เพือ่ ตอบโจทย์ เรื่องของการสร้าง Productivity และลดข้อผิดพลาด ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จาก Human Error อุตสาหกรรมการ พิมพ์และบรรจุภัณฑ์ก็เช่นเดียวกันที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ส�าหรับการปรับตัวของผู้ประกอบการรายใหญ่ก็คง ไม่มีปัญหาเท่าใดนัก แต่ส�าหรับ SMEs ยังมีการใช้ ระบบอัตโนมัติในโรงงานค่อนข้างน้อยและค่อนข้าง จ�ากัด จึงต้องเป็นบทบาทหน้าทีข่ องทางราชการทีจ่ ะ ต้องสร้างความตระหนักให้กับ SMEs เตรียมตัวที่จะ รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงโดยการน�าเอาเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในโรงงานให้มากขึน้ นอกจากนี้ ‘คน’ ยังเป็น อีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการสร้างความสามารถด้าน การแข่ ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมที่ จ ะส่ ง ผลต่ อ ความ ส�าเร็จขององค์กรก้าวผ่านวิกฤตและเจริญเติบโต


special feature

ต่อไปได้ให้กับองค์กรอย่างยั่งยืน ดังนั้น การพัฒนา คนทั้งในด้านของการเพิ่มทักษะการท�างาน การใช้ ชีวิตควบคู่กันไป หรือที่เรียกว่า ‘Work Life Happy Work Place’ จะน�ามาซึง่ ความสุขของพนักงาน สร้าง ความรักของพนักงานให้มีต่อองค์กร สร้างความ ผูกพันกับองค์กร และส่งผลบวกให้กบั องค์กรในทีส่ ดุ

Industry 4.0 ‘ภัย’ หรือ ‘โอกาส’ ดร.ขั ติ ย า ไกรกาญจน์ ประธานบริ ห าร สถาบันวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม กล่าวว่า แม้จะมีเครื่องจักร และเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ในการบริหารจัดการ หัวใจส�าคัญที่จะท�าให้ธุรกิจ เติบโตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน คือ การพัฒนาคน ให้ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถต่ อ การเปลี่ ย นแปลง เสริมสร้างให้คนท�างานมีความสุข เพราะการท�างาน อย่างมีความสุขจะช่วยให้งานประสบความส�าเร็จ และช่ ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต ลดกระบวนการผิ ด พลาด

special report

ให้น้อยลง ซึ่งในอดีตเรามองเพียงแค่เรื่องความเร็ว ปริมาณ ท�าให้ผลที่สะท้อนกลับมากลายเป็นติดลบ เพราะเรามองข้ามการให้ความส�าคัญกับคนมานาน หลายปีท�าให้เสียโอกาส ดังนั้น สิ่งที่ควรจะท�าเป็น อย่างมาก คือ การปลูกฝังให้คนเห็นคุณค่าในหน้าที่ ระเบียบวินยั ต่างๆ ให้ได้ และท้ายทีส่ ดุ ต้องย้อนกลับ มาถามตัวเองว่า Industry 4.0 เป็น ‘ภัย’ หรือ ‘โอกาส’ ค�าตอบที่ได้ คือ เป็นทั้งภัยและโอกาส ซึ่ง อาจจะได้งานหรืออาจจะถูกแย่งงานไปได้โดยง่าย เพราะมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญของโลก เข้ามากระทบต่อเรา

ผู ้ บ ริ ห ารต้ อ งมี ‘ศิ ล ปะการบริ ห ารคน’ นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารักษ์ ผู้อ�านวยการส�านัก สนับสนุนสุขภาวะองค์กร ได้กล่าวถึงองค์กรสร้างสุข 4.0 ไว้วา่ เรือ่ งของคนกับผลิตภัณฑ์เป็นเรือ่ งเดียวกัน ประเทศจะมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ได้

51

ก็ต่อเมื่อมีการดูแลคุณภาพชีวิตและดูแลสุขภาพให้ มีชวี ติ ทีด่ ดี ว้ ย ทุกคนในองค์กรจะต้องมีความสุข โดย เริ่มจากการรู้จักคน รู้จักพฤติกรรมการท�างานของ คนในองค์กร จากนั้นวิเคราะห์ออกแบบพฤติกรรม ใหม่ ซึง่ ผูบ้ ริหารต้องมี ‘ศิลปะการบริหารคน’ พร้อมทัง้ มี ‘Work Life Balance’ เพื่อเป็นเครื่องมือในการ บริหารคน Generation ต่างๆ และจะต้องมีระเบียบ เพือ่ สร้างระบบให้กบั องค์กร ทุกวันนีเ้ ราต้องการคน ท�างานเก่งและคิดบวก มีการแก้ไขปัญหาได้ดี และ ทีส่ า� คัญองค์กรจะต้อง ‘มองคนให้เป็นคน ไม่ใช่มองคน เป็นทรัพยากร’ เพราะทุกคนมีหน้าที่และมีส่วน ส�าคัญในการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยไปสู่ยุค 4.0

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญของโลก สังคมโลกที่แบ่งปันความรู้

โครงสร้างประชากร Industry 4.0 มีความรับผิดชอบต่อโลกร่วมกัน

ภูมิอากาศแปรปรวน

Manufacturing

การพัฒนาเทคโนโลยี อย่างรวดเร็ว เช่น ICT

Mass customization ปัญหาเศรษฐกิจโลก

การค้าเสรี

issue 166 december 2016


52 special report

Industry 4.0 Advanced Manufacturing Partnership Industry Revitalization Plan China Manufacturing 2025 Manufacturing Innovation 3.0 Productivity 4.0 Source: respective countries, complied by MIC, August 2015

อุตสาหกรรมการพิมพ์ ได่แก่ โรงพิมพ์ เยื่อกระดาษ สื่อหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ธุรกิจโฆษณาออกแบบ ธุรกิจการกระจายสื่อสิ่งพิมพ์ ระบบโลจิสติกส์ บรรจุภัณฑ์ ในภาคการผลิตสินค้าและครอบคลุมวัสดุ ได้แก่ แก้ว โลหะ กระดาษ

เชื่อมโยงไปยังอุตสาหกรรมต่างๆ ได้แก่ เครื่องส�าอาง สมุนไพร สิ่งทอ เฟอร์นิเจอร์ ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ อาหาร ความสุขของคน • สุขภาพดีดูแลตนเอง • มีหิริ โอตัปปะ คุณธรรม กตัญญู • รักและดูแลครอบครัวได้

• มีน�้าใจช่วยเหลือผู้อื่น • ไม่เครียด มองโลกแง่ดี • บริหารการเงินตนเองได้ • มีการเรียนรู้เป็นมืออาชีพในงานตนเอง • รักและดูแลสังคม/องค์กรได้ Source: เอกสารประกอบการสัมมนา FTPI Conference 2016 ‘Bright Future for Printing and Packaging with Thailand 4.0’

EXECUTIVE SUMMARY Industrial business nowadays is transforming into industry 4.0 which couldn’t deny that there’s a chance and critical. The printing and packaging entrepreneurs and involved business supply chain must prepare themselves for the transforming direction in near future. For Thailand printing and packaging industrial sector, it has value more than 400 billion U.S. dollar which cover the entrepreneur more than 2,000 – 3,000 cases and provide job position massively. The business must be adapted to survive and long - lasting together with the other industrial to get into Thailand 4.0. This is a new challenge of printing and packaging in the term of technology and human development that require each other. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


SPECIAL INTERVIEW 53

ผศ.ดร.วิทูร อุทัยแสงสุข

อุตสาหกรรมไทยกับ

HIGH STRENGTH

STEEL :

ตบมือข้างเดียวไม่ดัง

นับหลาย 10 ปีทภี่ าคอุตสาหกรรมของประเทศไทยเป็นฐานการผลิตชิน้ ส่วน ยานยนต์ระดับโลก ทว่าเราเป็นเพียงผูร้ บั จ้างผลิตบางชิน้ ส่วนตามค�าสัง่ และเน้นไป ที่เหล็กความแข็งแรงต�่าเท่านั้น วันนี้ตลาดก�าลังถูกท้าทายโดยเหล็กราคาถูกจาก ประเทศจีน ในขณะเดียวกัน วงการวัสดุเหล็กโลก ก�าลังโฟกัสไปที่ High Strength Steel ทั้งด้านงานวิจัยเชิงวิชาการและการน�ามาปรับใช้ได้จริงในภาคอุตสาหกรรม โดย เฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ นีจ่ งึ ถือเป็นโอกาสทีภ่ าคอุตสาหกรรมประเทศไทย จะขยับคุณภาพการผลิตให้สงู ขึน้ ตามเทรนด์โลก เพือ่ เพิม่ มูลค่าสินค้า และหันมา แข่งขันในตลาดระดับบนของซัพพลายเชนชิ้นส่วนยานยนต์ให้ได้ issue 166 december 2016


54 SPECIAL INTERVIEW

High Strength Steel ตอบโจทย์อุตสาหกรรมยานยนต์ ผศ.ดร.วิทรู อุทยั แสงสุข ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ผู้ที่คร�่าหวอดในวงการวิจัย วัสดุและโลหการ ได้กล่าวว่า โจทย์ยากของการท�าโครงสร้างหรือตัวถังรถยนต์ คือ ต้องการวัสดุที่เบาและแข็งแรง โดยมีแนวคิดหลักว่า ความเบาจะช่วยลดการใช้ น�้ามันและพลังงาน ขณะเดียวกัน ความแข็งแรงก็ช่วยตอบโจทย์มาตรฐานความ ปลอดภัยที่สูงขึ้น ในปีทผี่ า่ นๆ มา จะสังเกตได้วา่ เทรนด์ยานยนต์ทวั่ โลกต่างหันมาในทิศทางนี้ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์จากค่ายญี่ปุ่น ยุโรป หรือแม้แต่อเมริกาก็ตาม เมือ่ โจทย์เป็นเช่นนัน้ จึงส่งผลให้ภาคการผลิตของไทยต้องการเหล็กทีแ่ ข็งแรง ขึ้นแต่บางลง ซึ่งในทางวิศวกรรมสองสิ่งนี้สวนทางกัน เพราะตามปกติเหล็กที่มี ความเบาจะไม่ทนทาน แข็งแรง ในทางกลับกันเหล็กที่มีความคงทน แข็งแรงนั้น จะต้องมีน�้าหนักมาก แต่ ด ้ ว ยความต้ อ งการของตลาด จึ ง ส่ ง ผลให้ แวดวงวิ ช าการและภาค อุตสาหกรรมเกิดการพัฒนาวัสดุที่เป็นค�าตอบของตลาด ที่มีทั้งความเบาและ ความแข็งแรงรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งรู้จักกันในชื่อที่ว่า ‘High Strength Steel’ ชิ้นส่วนยานยนต์ไทยกับ High Strength Steel อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์มีความต้องการโลหะ 2 รูปแบบ คือ (1) เหล็กที่มีความแข็งแรงต�่า ซึ่งไทยมีศักยภาพอยู่แล้ว แต่ปัจจุบันก�าลังถูก ตีตลาดโดยประเทศจีน ซึ่งมีความสามารถในการผลิตบนต้นทุนที่ต�่ากว่า และ (2) เหล็กกล้า High Strength Steel ทีต่ อ้ งการเครือ่ งจักร และเทคโนโลยีขนั้ สูงกว่า ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ทีผ่ า่ นมาการผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์จากเหล็กกล้าโดยผูป้ ระกอบการ ไทยไม่ค่อยได้รับการยอมรับด้านมาตรฐานจากบริษัทแม่เท่าไรนัก โดยอ้างว่า กระบวนการผลิตเหล็กกล้าไทยยังไม่ได้มาตรฐาน อีกเหตุผล คือ บริษัทแม่จาก ญี่ปุ่นต้องการรักษาฐานการผลิตส่วนนี้เอาไว้ เพราะเป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูง เทรนด์ยานยนต์โลกต้องการวัสดุเหล็กกล้า ผู้ประกอบการต้องปรับตัว จากเทรนด์ยานยนต์โลกที่ต้องการวัสดุเหล็กกล้า อาจกล่าวได้ว่า หากไทย ไม่ ป รั บ ตั ว เข้ า กั บ วั ส ดุ ใ หม่ ๆ บริ ษั ท จากญี่ ปุ ่ น จะเข้ า มาช่ ว งชิ ง ตลาดจาก ผู้ประกอบการไทยไปหมด เช่น บริษัทรถยนต์ให้โจทย์มาว่า แชสซีรถยนต์ต้อง เบาลง ผู้ประกอบการไทยสามารถท�าได้หรือไม่ ถ้าท�าไม่ได้ก็จะให้บริษัทของ ญี่ปุ่นท�า นั่นหมายถึง ผู้ประกอบการไทยจะเสียลูกค้าทันที กอปรกับก่อนหน้านี้ เคยมีกฎหมายบังคับให้ใช้ Local Content คือ บริษัท ที่มาตั้งโรงงานในไทยถูกบังคับให้ใช้วัสดุจากผู้ประกอบการไทย แต่ตอนนี้ไม่มี แล้ว บริษัทรถญี่ปุ่นที่ผลิตจากประเทศไทยไม่ได้บังคับให้ใช้วัสดุหรือชิ้นส่วนจาก ผู้ประกอบการไทยอย่างเข้มงวดอีกต่อไปแล้ว ผศ.ดร.วิทูร ยังได้แสดงความเป็นห่วงว่า “อุตสาหกรรมบ้านเราที่เคยชินกับ การรับจ้างผลิต หรือท�าตามสั่ง เน้นแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และไม่ค่อยได้วางแผน ระยะยาว เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยน และมีความรู้ใหม่ด้านวัสดุเข้ามา เราจะปรับตัว ไม่ทันและเสียตลาดไปได้ในที่สุด”

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ทฤษฎี VS ปฏิบัติ ปัญหาการส่งผ่านความรู้ด้านเทคโนโลยีต้องมองสองมุม ทัง้ นี้ High Strength Steel ทัว่ โลกถูกพัฒนามาแล้ว 3 รุน่ ในภาคอุตสาหกรรม บ้านเราอยูท่ รี่ นุ่ หนึง่ แถมยังแพร่หลายเฉพาะในบริษทั ใหญ่ๆ เท่านัน้ ส่วนรุน่ ที่ 2 มีบ้างในบางยี่ห้อ และรุ่นล่าสุด อยู่ในขั้นวิจัยทดลองในห้องแล็บ ผศ.ดร.วิทูร กล่าวว่า “ปัจจุบันงานวิจัยทั่วโลกเกี่ยวกับ High Strength Steel ถูกพัฒนาไปไกลมาก มีเป้าหมายเพื่อออกแบบเหล็กที่สามารถขึ้นรูปตาม จินตนาการอย่างไม่มขี อ้ จ�ากัด ให้สามารถตอบโจทย์ทกุ งานดีไซน์ แม้การวิจยั จะ ไกลเกินความต้องการของภาคอุตสาหกรรมไทย แต่ในมิตวิ ชิ าการก็จา� เป็นต้องท�า เพื่อพัฒนาองค์ความรู้บ้านเราให้ทัดเทียมกับโลก” ส่วนในเชิงอุตสาหกรรมบ้านเรายังอยู่ที่การหล่อและการขึ้นรูป กล่าวคือ โรงงานไทยยังใช้เหล็กตัวนีไ้ ม่เป็น สิง่ ทีต่ อ้ งท�าตอนนี้ คือ ต้องท�าให้ผปู้ ระกอบการ ไทยมีศักยภาพในการผลิตชิ้นส่วนจากวัสดุ High Strength Steel ต้องท�าให้ บริษัทแม่จากญี่ปุ่นเชื่อมั่นในคุณภาพ ซึ่งจะประสบความส�าเร็จได้ก็ต่อเมื่อ เกิดความร่วมมืออย่างจริงจังจากฝ่ายวิชาการและภาคอุตสาหกรรม ถือเป็น งานหินที่ดึงสองส่วนนี้ให้มาท�างานร่วมกันได้ โดยปัญหาหลักๆ คือ การส่งผ่านความรู้ด้านเทคโนโลยี (Technology Transfer) จากทั้ง 2 มุม มุมวิชาการ นักวิชาการและองค์ความรูม้ ากมายอยูแ่ ค่ในมหาวิทยาลัย ไม่ได้ ถูกน�าปรับประยุกต์เพือ่ ใช้จริง กล่าวคือ โปรเจกต์ทไี่ ม่มสี ว่ นร่วมจากอุตสาหกรรม เลยนั้นจะล้มเหลว เสียเงิน และเสียเวลาเปล่า มุมอุตสาหกรรม อ่อนเรื่องวัสดุและไม่มีกระบวนทัศน์ในเชิงวิจัย กล่าวคือ ไม่เห็นความส�าคัญของการวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์ ดูเผินๆ เหมือนเป็นการลงทุนที่ สูญเปล่า เพราะในเชิงธุรกิจ บริษทั เองก็ตอ้ งเอาตัวรอด และงานวิจยั มันไม่ได้เงิน ทันที จะได้เงินก็ต่อเมื่อวิจัยส�าเร็จ และกว่าจะผลิตขายได้ก็อาจจะอีกเป็น 10 ปี


SPECIAL INTERVIEW 55

ปัจจุบันงานวิจัยทั่วโลกเกี่ยวกับ High Strength Steel ถูกพัฒนาไปไกลมาก มีเป้าหมายเพื่อออกแบบเหล็ก ที่สามารถขึ้นรูปตามจินตนาการอย่างไม่มีข้อจ�ากัด ให้สามารถตอบโจทย์ทุกงานดีไซน์ แม้การวิจัยจะไกลเกินความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมไทย แต่ในมิติวิชาการก็จ�าเป็น ต้องท�า เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ บ้านเราให้ทัดเทียมกับโลก

ตบมือข้างเดียวไม่ดัง ค�าถาม คือ... คุณจะเปลี่ยนไปใช้ High Strength Steel หรือไม่? สถานการณ์การแข่งขันในปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการไทยต้องต่อสูอ้ ย่างหลีกเลีย่ ง ไม่ได้ แต่ต้องเลือกว่าจะสู้กับตลาดไหนเท่านั้นเอง ตลาดล่าง ไม่ต้องเสี่ยง ผลิตชิ้นส่วนตามสั่งให้ได้ราคาถูกที่สุดเพื่อสู้กับเหล็ก ราคาถูกจากจีน ตลาดบน เสี่ยงลงทุนกับ High Strength Steel เพื่อเพิ่มมูลค่า สู้กับเหล็ก คุณภาพที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงจากญี่ปุ่น ผศ.ดร.วิทูร ได้กล่าวว่า หากต้องการเปลี่ยน อยากเพิ่มมูลค่าให้ตัวเอง นัก วิชาการกับผู้ประกอบการต้องจับมือสร้างองค์ความรู้ร่วมกันผ่านการวิจัยแบบ Problem-Based ต้องใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง เรียนรู้ไปด้วยกัน เรียนไปผลิตไป แล้ว จะรูป้ ญ ั หาแต่ละขัน้ ตอน จากนัน้ ก็รว่ มแก้ปญ ั หาไปด้วยกัน เพือ่ ให้ได้ความเสถียร ของกระบวนการผลิตในที่สุด สิ่งนี้เองจะกลายเป็นองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับ โรงงานหรือผู้ประกอบการนั้นๆ ทัง้ นี้ ได้มคี วามพยายามจากภาครัฐโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงศึกษาธิการ ท�าโครงการ Talent Mobility เป้าหมายหลัก คือ สนับสนุนให้อตุ สาหกรรมท�าวิจยั มากขึน้ ต้องมีพนื้ ฐานความคิดว่าการวิจยั จะช่วย พัฒนาตัวเขาเองได้ โดยมีมกี ลไกหลายแบบ เช่น อนุญาตให้อาจารย์มหาวิทยาลัย สามารถท�างานในภาคอุตสาหกรรมได้โดยไม่มคี วามผิด เช่น เป็นทีป่ รึกษาโรงงาน กลไกเหล่านี้จะเกื้อหนุนให้เกิดงานวิจัยที่ใช้ได้จริงในภาคอุตสาหกรรม ทีผ่ า่ นมา ผูป้ ระกอบการให้ความสนใจวัสดุ High Strength Steel จ�านวนมาก แต่มีจ�านวนน้อยเท่านั้น ที่สนใจอย่างจริงจัง โดยอุปสรรคใหญ่ คือ ไม่มีบุคลากร ว่างมาเรียนรู้งาน เพราะโรงงานต้องเดินเครื่องผลิต 24 ชั่วโมง อย่างทีก่ ล่าวข้างต้น อาจสรุปได้วา่ หากผูป้ ระกอบการต้องการจะเปลีย่ น ต้อง ลงทุน และโฟกัสกับเรื่อง High Strength Steel ให้มากยิ่งขึ้น ต้องลงทุนทีมวิจัย ที่เป็นอิสระจากงานประจ�าวัน (Routine) เพื่อมาเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ ต้องลงทุน จ้างบุคลากรเพิ่ม โดยเฉพาะวิศวกร ต้องลงทุนพัฒนาบุคลากรเดิม ยกระดับ และเพิ่มทักษะให้เท่าทันวัสดุใหม่ และสุดท้ายต้องลงทุนเครื่องจักรที่มีก�าลังและ ประสิทธิภาพสูงขึ้น เพื่อหล่อ ขึ้นรูป ดัดเหล็กกล้าได้ ถ้าจะปรับตัวเองให้พร้อมกับการใช้งาน High Strength Steel ต้องรู้จัก ต้อง เรียนรู้ร่วมกัน และต้องสร้างมันขึ้นเอง เรื่องนี้ไม่มีสูตรส�าเร็จ ไม่มีทางลัด และ ตบมือข้างเดียวไม่ได้

EXECUTIVE SUMMARY World steel community is focusing on High Strength Steel for its academic research and applying to industrial sector, automotive particularly. This is a chance that industrial sector of Thailand could improve its quality to catch the global trends and turn into higher market of automotive supply chain competition. Asst. Prof. Vitoon Uthaisangsuk, Ph.D., Mechanical Engineering Department of King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) who’s an expert in metallurgy’s research and development revealed his vision that many Thai domestic entrepreneurs are interesting in High Strength Steel massively but only a few that looking for it seriously. The main barrier that there is no free staff to train or learn this knowledge because the factory must operate 24 hours. If the entrepreneurs want to focus in High Strength Steel, they must invest in research team who’s free from the routine work to learn with full capacity. They must hire more staff, particularly the engineer and they must improve their old staff with advance technology. For the last one, they must invest in higher efficiency machine to form the steel. In order to prepare themselves for High Strength Steel, they must learn, understand and built it themselves. There is no fixed formula or any shortcut in this case. issue 166 december 2016


56 TECH FOCUS เรื่อง: นเรศ เดชผล

ปัญหา...

DDoS โจมตีเซิร์ฟเวอร์ Attacks รู้ทัน ก็ป้องกันได้ ส�ำหรับแวดวงอุตสำหกรรมแล้ว กำรลงทุนเพื่อยกระดับ Network ในองค์กรเป็นสิ่งส�ำคัญ เพรำะผลที่ได้ คือ ระบบที่ ตอบสนองกระบวนกำรด�ำเนินงำน เพือ่ ให้ผใู้ ช้สำมำรถปฏิบตั งิ ำน ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพ ทั้ ง ในเรื่ อ งของปฏิ สั ม พั น ธ์ ระหว่ ำ งผู ้ ใช้ ง ำนระบบและกำรเปิ ด ระบบเพื่ อ ให้ ผู ้ ใช้ เข้ ำ ถึ ง ทรัพยำกรต่ำงๆ ร่วมกัน ทั้งฐำนข้อมูล ไฟล์เอกสำร ไฟล์ภำพ ไฟล์วิดีโอ ฯลฯ โดยอำจเป็นได้ทั้งกำรใช้งำนผ่ำน Network Applications หรือกำรเข้ำใช้งำนไฟล์ขอ้ มูลได้โดยตรงในลักษณะ ของกำรแชร์ไฟล์ ซึ่งทรัพยำกรที่กล่ำวมำนี้ล้วนจ�ำเป็นต้องมี ‘เครื่องแม่ข่ำย’ หรือ ‘เซิร์ฟเวอร์’ (Server) ที่แข็งแรงพอที่จะ รองรับกำรท�ำงำนพร้อมๆ กันของผู้ใช้ได้อย่ำงมีเสถียรภำพ ซึ่ง รวมไปถึง Network Infrastructure อื่นๆ ไม่ว่ำจะเป็นอุปกรณ์ เชื่อมต่อระบบ Network หรือสำยเคเบิ้ลต่ำงๆ ที่จะช่วยให้เกิด กำรส่งถ่ำยข้อมูลระหว่ำงกันได้อย่ำงรวดเร็วยิ่งขึ้น กำรใช้งำนทรัพยำกรร่วมกันผ่ำนระบบ Network ไม่ได้ ถูกจ�ำกัดเฉพำะแต่ภำยในสถำนที่ขององค์กรเท่ำนั้น ในบำง องค์กรที่มีหลำยสำขำหรือมีส�ำนักงำนอยู่ต่ำงพื้นที่ก็สำมำรถ เชื่อมต่อกันผ่ำนระบบ Network ได้ โดยมำกมักจะเป็นกำรเช่ำ โครงข่ำย Network Infrastructure จำกผู้ให้บริกำร (Network Service Provider) ซึ่งจะรวมไปถึงกำรเชื่อมต่อเน็ตเวิร์กกับคู่ค้ำ หรือลูกค้ำด้วยเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ โครงข่ำยจะมีขนำดเล็กหรือ ใหญ่นั้น ย่อมขึ้นอยู่กับปริมำณคู่ค้ำหรือปริมำณลูกค้ำที่ได้ ต่อเชื่อมกันอยู่ ส�ำหรับลูกค้ำบำงรำยนั้นอำจมีจุดเชื่อมต่อ (Node) มำกกว่ำ 1 จุดได้ ดังนั้น ผู้ประกอบกำรก็ต้องเลือกใช้ ระบบ Network ทีป่ ระสิทธิภำพสูง ซึง่ ระบบทีม่ ปี ระสิทธิภำพสูง แต่มีค่ำใช้จ่ำยที่ต�่ำ ย่อมหนีไม่พ้นระบบเครือข่ำยที่ใหญ่ที่สุด ในโลกอย่ำง Internet นั่นเอง โดยปกติแล้วกำรท�ำธุรกรรมใดๆ ผ่ำนเครือข่ำย Internet นัน้ มักจะใช้ Website Application เป็นเครื่องมือหลัก โดย Website Application ก็จ�ำเป็นจะต้องพึ่งพำ ‘เซิร์ฟเวอร์’ และ Network Infrastructure ที่สำมำรถรองรับกำรเข้ำถึงทรัพยำกรระบบจำก ผูใ้ ช้งำนปริมำณมำกๆ ในช่วงเวลำนัน้ ๆ ได้ เพรำะหำกไม่มกี ำร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เตรี ย มกำรมำอย่ ำ งดี ก็ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย ต่ ำ งๆ ตำมมำ ซึ่ ง มี ก รณี ตั ว อย่ ำ งให้ เ ห็ น มำกมำย เช่ น เว็ บ ไซต์ ต รวจผล สลำกกินแบ่งรัฐบำลทีม่ กั จะช้ำและล่มในช่วงทีม่ กี ำรประกำศผล รำงวัล หรือกรณีทเี่ ว็บไซต์ประกำศผลคะแนน O-NET ล่มเนือ่ งจำก มีผู้ใช้งำนพร้อมกันกว่ำ 20,000 คนต่อนำที ล่ำสุดที่เป็นข่ำว โด่งดังมำก เมื่อสมำคมฟุตบอลฯ ได้เปิดจ�ำหน่ำยบัตรเข้ำชม ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 12 ทีมสุดท้ำย ที่มี ทีมชำติไทยร่วมแข่งขันด้วยกลับล่มอย่ำงไม่เป็นท่ำ เหตุกำรณ์ ครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ เ กิ ด กระแสวิ พ ำกษ์ วิ จ ำรณ์ จ ำกสั ง คมพอสมควร จนในทีส่ ดุ ทำงสมำคมฟุตบอลฯ ต้องรีบเปลีย่ นบริษทั ดูแลระบบ เว็บไซต์รำยใหม่มำดูแลระบบจ�ำหน่ำยบัตรแทน เห็นได้ชัดว่ำ ‘เซิร์ฟเวอร์’ นั้นเปรียบเสมือนหัวใจของระบบ หำกเกิ ด ปั ญ หำย่ อ มส่ ง ผลกระทบที่ ค ่ อ นข้ ำ งรุ น แรงอย่ ำ ง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ค�ำถำม คือ กรณีตัวอย่ำงดังที่ได้กล่ำวมำนั้น สำมำรถเกิ ด ขึ้ น กั บ ระบบบริ ก ำรผ่ ำ น Network ของท่ ำ น ผูป้ ระกอบกำรได้หรือไม่ ค�ำตอบ คือ หำกองค์กรของท่ำนมีนโยบำย เปิดให้ผใู้ ช้งำนสำมำรถเข้ำมำใช้ ‘เซิรฟ์ เวอร์’ ในปริมำณมำก อำจ เกิดปัญหำนี้ขึ้นมำได้เช่นกัน อย่ำงไรก็ตำม เรำยังสำมำรถ เตรียมกำรเพือ่ ป้องกันได้ เนือ่ งจำกกำรใช้งำนระบบเป็นกำรใช้งำน ที่เป็นไปตำมกฎเกณฑ์ทำงเทคนิค เพรำะเมื่อมีกำรเรียกใช้งำน โดยผูใ้ ช้มำปริมำณมำก ย่อมจะต้องท�ำให้ ‘เซิรฟ์ เวอร์’ ท�ำงำนหนัก ตำมไปด้วยเป็นธรรมดำ แต่หำกไม่เป็นไปตำมกฎเกณฑ์ทำง เทคนิคและกลับกลำยเป็นกำรถูกโจมตีจำกผู้ไม่ประสงค์ดี เพื่อ จุดประสงค์บำงอย่ำงแล้ว กำรเตรียมกำรเพื่อรับมือกับปัญหำ ดังกล่ำวควรที่จะต้องเป็นไปอย่ำงรัดกุมมำกยิ่งขึ้น ‘เซิ ร ์ ฟ เวอร์ ’ ล่ ม อั น มี ส ำเหตุ ม ำจำกผู ้ ไ ม่ ป ระสงค์ ดี นั้ น มีอยู่หลำยรูปแบบด้วยกัน แต่โดยรวมแล้วเป้ำหมำยของกำร โจมตี‘เซิร์ฟเวอร์’ ก็เพื่อที่จะท�ำให้ระบบบริกำรหยุดกำรท�ำงำน รูปแบบที่พบบ่อยที่สุดในปัจจุบัน คือ วิธีท่ีผู้ไม่ประสงค์ดีจะใช้ มัลแวร์ที่ตนสร้ำงขึน้ Hack เข้ำไปฝังตัวยังอุปกรณ์ IT ต่ำงๆ ทีม่ ี คุณสมบัติต่อเชื่อมระบบ Network ได้ และหำกอุปกรณ์ IT ชิน้ นัน้ สำมำรถสือ่ สำรผ่ำน Network มำยัง ‘เซิรฟ์ เวอร์’ ของเรำได้


TECH FOCUS 57

ผู้ไม่ประสงค์ดีก็จะสั่งกำรให้โจมตีมำยัง‘เซิร์ฟเวอร์’ ของเรำได้ ไม่ยำกนัก โดยอุปกรณ์ IT ที่ถูกฝังมัลแวร์เหล่ำนี้จะมีชื่อเรียก ในทำงเทคนิคว่ำ ‘ซอมบี้’ (Zombie) อุปกรณ์ IT ที่มักจะตกเป็นเป้ำหมำยในกำร Hack ได้แก่ คอมพิวเตอร์ สมำร์ทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ์ IoT (Internet of Things) ทีก่ ำ� ลังได้รบั ควำมนิยมมำกขึน้ เรือ่ ยๆ โดยผูไ้ ม่ประสงค์ดี จะท�ำกำร Hack อุปกรณ์ IT ให้ได้จ�ำนวนมำกที่สุด จำกนั้น จะสั่งกำรให้อุปกรณ์เหล่ำนั้นระดมยิงข้อมูลปริมำณมำกไปยัง ‘เซิร์ฟเวอร์’ ที่เป็นเป้ำหมำย จนท�ำให้ ‘เซิร์ฟเวอร์’ ท�ำงำนหนัก เนื่องจำกได้รับข้อมูลปริมำณมำกเกินไปจนเกิดกำรท่วมของ ข้อมูล (Data Flood) ท�ำให้ ‘เซิร์ฟเวอร์’ ท�ำงำนช้ำลงเรื่อยๆ จน หยุดกำรท�ำงำนไปในที่สุด ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งำนที่ก�ำลัง เชือ่ มต่อไปยัง ‘เซิรฟ์ เวอร์’ ในขณะนัน้ จนไม่สำมำรถท�ำธุรกรรม ใดๆ ต่อได้อีก กำรโจมตี ‘เซิร์ฟเวอร์’ ในลักษณะนี้ เป็นอีกหนึ่ง

รูปแบบของกำรโจมตีที่เรียกกันโดยทั่วไปว่ำ DDoS Attacks (DDos ย่อมาจาก Distributed Denial of Service) ผลกระทบทีส่ ำ� คัญ คือ เมือ่ ‘เซิรฟ์ เวอร์’ เกิดปัญหำจะท�ำให้ คู่ค้ำหรือลูกค้ำที่เป็นผู้ใช้งำนระบบไม่สำมำรถเข้ำไปท�ำธุรกรรม ผ่ำน Network Application หรือ Web Application ได้ ท�ำให้ องค์ก รต้องสูญเสีย รำยได้ และยังไม่ได้รับควำมน่ำเชื่อถือ อี ก ด้ ว ย ดั ง นั้ น ผู ้ ป ระกอบกำรจึ ง ควรเตรี ย มกำรป้ อ งกั น เพื่อรองรับ DDoS Attacks ไว้แต่เนิ่นๆ จำกนี้ต่อไป กำรรับมือกับปัญหำ DDoS Attacks จ�ำเป็น จะต้องพึ่งพำระบบป้องกันที่พร้อมรับมือได้จริงเท่ำนั้น ดังนั้น ผู้ประกอบกำรจึงไม่ควรน�ำกิจกำรไปเสี่ยงกับปัญหำดังกล่ำว และควรอย่ำงยิ่งที่จะต้องหำทำงป้องกันเอำไว้แต่เนิ่นๆ ไม่ให้ สำยจนเกินกว่ำจะแก้ไข

กรณี ผู้ ป ระกอบการที่ มี ก ารจั ด ตั้ ง ‘เซิ ร ์ ฟ เวอร์ ’ ไว้ ใ นองค์ ก รหรื อ ดูแล‘เซิร์ฟเวอร์’ ด้วยตนเอง ทีมงานฝ่ายเทคนิคขององค์กรจะต้องมีความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านอยู่พอสมควร ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถเข้าจัดการปัญหา ได้อย่างรวดเร็ว และในยามที่ ‘เซิร์ฟเวอร์’ ท�างานผิดปกติหรือตรวจพบ DDoS Attacks ก็ควรที่จะตั้งค่า Alert ให้แจ้งเตือนไปยังทีมงาน รวมไปถึงการเพิ่มรอบ ในการ Monitor และการตัง้ ค่าให้ระบบมีการบันทึกรายงานข้อมูลได้เพียงพอทีจ่ ะ น�ามาวิเคราะห์ ในยามที่เกิดปัญหาได้

แนวทางการป้องกัน การโจมตีเซิร์ฟเวอร์ ในรูปแบบ DDoS Attacks

จัดเตรียมความกว้างของการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธด์ (Bandwidth) ส�าหรับ ‘เซิรฟ์ เวอร์’ ให้มากเพียงพอทีจ่ ะรองรับการรับส่งข้อมูลในปริมาณมากได้ กรณีที่ ‘เซิร์ฟเวอร์’ มีระดับความส�าคัญสูง ผู้ประกอบการไม่ควรที่จะดูแล ‘เซิรฟ์ เวอร์’ นัน้ ด้วยตนเอง ควรมองหาผู้ให้บริการการดูแลระบบบริการทีส่ ามารถ รองรับ Network Application หรือ Web Application ได้ แน่นอนว่าผู้ให้บริการ ดังกล่าว ต้องเน้น DDoS Protection and Mitigation เป็นส�าคัญ

EXECUTIVE SUMMARY ‘Server’ is a heart of the system and if the problem occurred with it, the impact will be excessive unavoidably. The cause of server down has many possibilities and the purpose of these attacks are shutting down the server which Distributed Denial of Service or DDoS attack is one of the famous type of network attack. To encounter DDoS attack, technical department of the organization must be an expert in particular case to resolve the problem as soon as they can. When DDoS attack was founded, the system must be alert and notice the team to make a move and also add more cycle of system monitoring and set the system to record activity logs with enough information in order to analyze when the problem occurred. However, to face DDoS attack is somewhat rely on preventative system that readied for attack and also prepare the other preventive method ahead before it’s too late. ‘Server’ is a heart of the system and if the problem occurred with it, the impact will be excessive unavoidably. The cause of server down has many possibilities and the purpose of these attacks are shutting down the server which DDoS attack is one of the famous type of network attack. To encounter DDoS attack, technical department of the organization must be an expert in particular case to resolve the problem as soon as they can. When DDoS attack were founded, the system must be alert and notice the team to make a move and also add more cycle of system monitoring and set the system to record activity logs with enough information in order to analyze when the problem occurred. However, to face DDoS attack is somewhat rely on preventative system that readied for attack and also prepare the other prevent method ahead before it’s too late. issue 166 december 2016


58 TECHNOLOGY เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

MINDSPHERE

เทคโนโลยี Cloud

ส�ำหรับโรงงำนอุตสำหกรรม

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


TECHNOLOGY 59

ในฐานะที่ โ ลกได้ ก ้ า วเข้ า มาถึ ง ยุ ค ดิ จิ ทั ล ที่ มี ก าร ประยุกต์เทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการใช้ชีวิตและด�าเนิน ธุรกิจ ระบบเครือข่ายและการท�างานออนไลน์ได้กลาย มาเป็นสิ่งส�าคัญส�าหรับการช่วงชิงโอกาสทางด้านธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็นการยกระดับการผลิต การควบคุมต้นทุน การ วางระบบโลจิสติกส์ การบริหารคงคลังและรายละเอียด อื่นๆ อีกมากมาย ระบบคลาวด์ (Cloud) เป็นอีกระบบหนึ่งที่มีความ ส�าคัญกับ IoT เป็นอย่างมาก ด้วยบทบาทของพื้นที่ เก็ บ ข้ อ มู ล ออนไลน์ ร วมไปถึ ง การท� า งานผ่ า นระบบ ที่สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ซึ่ง Siemens นั้นได้ออกแบบ ระบบคลาวด์ที่ตอบสนองต่อการท�างานในระบบรูปแบบ อุตสาหกรรมที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้อย่าง ครบครันภายใต้ชื่อ ‘MindSphere’ MindSphere ระบบคลาวด์ที่น่าจับตามอง ภายใต้ยุคสมัยที่เทคโนโลยีต่างๆ เกิดความก้าวหน้า ขึ้ น มามากมาย ระบบคลาวด์ ก็ เช่ น กั น ที่ มี ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร มากมาย ไม่ว่าจะเป็น Google, Microsoft หรือ Project Fec เป็นต้น ซึง่ จุดเด่นของ Mindsphere นัน้ มีอยูม่ ากมาย และสามารถตอบโจทย์ระบบงานอุตสาหกรรมได้อย่าง ครบถ้วน ด้ ว ยการท� า งานระบบอุ ต สาหกรรมที่ ต ้ อ งการการ รองรับปริมาณข้อมูลจ�านวนมหาศาล ท�าให้เกิดความ ต้องการระบบทีส่ ามารถตอบสนองต่อการท�างานได้อย่าง มี เ สถี ย รภาพและยกระดั บ การท� า งานในอุ ต สาหกรรม ยุ ค ใหม่ ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ งการผลิ ต ในปริ ม าณมาก การบริหารพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถเพิ่ม ศักยภาพได้ครอบคลุมทัง้ ห่วงโซ่มลู ค่า รวมถึงการดูแลรักษา ความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล และระบบก็ ส ามารถท� า ได้ อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน

C A D E B A: MindSphere ช่วยตรวจสอบสถานะการด�าเนินงานของเครื่องจักรและโรงงานได้จากทั่วโลก ท�าให้สามารถบริหารจัดการและดูแลรักษาระบบ รวมถึงสร้างโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ได้อย่างง่ายดาย B: MindApps แอปพลิเคชันทีใ่ ช้คกู่ บั MindSphere สามารถใช้วางแผนการซ่อมบ�ารุงล่วงหน้า บริหาร จัดการพลังงานและใช้ประโยชน์ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด C: มีบริการฐานข้อมูลจาก Siemens เช่น การวิเคราะห์เครื่องมือกล การวิเคราะห์พลังงาน การวิเคราะห์ขั้นตอนกระบวนการ D: มีระบบ MindConnect Nano สามารถส่งข้อมูลเครื่องจักรและโรงงานของคุณเข้าสู่ระบบได้อย่าง ปลอดภัย ทั้งยังด�าเนินการเข้ารหัสข้อมูลในระบบด้วยเช่นกัน E: ระบบที่ใช้งานเป็นระบบมาตรฐานและเป็นระบบเปิด ที่สามารถรองรับผู้ผลิตชิ้นส่วนรายอื่นๆ ได้

Source: Siemens EXECUTIVE SUMMARY MindSphere is a cloud system for industrial works from Siemens which invented to meet the requirements of industrial works such as large volume of data. The hardware for MindSphere is an open platform which could operate with another brand in the system, besides it has encryption system that make user reliable and trust in the system’s safety. This cloud system provides support from Siemens database itself which make MindSphere to become an interesting choice for the entrepreneur who’s looking for cloud system. issue 166 december 2016


60 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

RE 4.0 ยุคทองของ พลังงานสีเขียว

พลังงานธรรมชาติ สายลมแสงแดดทัง้ พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมต่างก็เป็นภาพ เชิงสัญลักษณ์ของพลังงานทดแทน เนือ่ งจากใครที่ได้เห็นภาพกังหันลมหรือ แผงโซลาร์เซลล์ จะเข้าใจได้ทันทีว่านี่คือพลังงานทดแทน แต่จะมีสักกี่คนที่ จะเข้าใจพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์และกังหันลมผลิตไฟฟ้าได้อย่างแท้จริง สังเกตได้จากค�าถามของคนนอกวงการว่า ‘ท�าไมเราไม่ตดิ โซลาร์เซลล์ให้ ทั่วประเทศไทยจะได้ ไม่ต้องพึ่งพาโรงไฟฟ้าถ่านหิน ท�าเอากูรูทั้งหลายตอบ ไม่ถกู กันเลยทีเดียว...' พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์มกี ารปรับตัวรวดเร็วทีส่ ดุ ทั้ ง ด้ า นเทคโนโลยี แ ละราคา โดยเมื่ อ 10 ปี ที่ แ ล้ ว ราคาเมกะวั ต ต์ ล ะ 130 ล้านบาท แต่วันนี้ราคาเมกะวัตต์ละ 30 ล้านบาท ส่วนพลังงานลมนั้น ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงมากนัก เนื่องจากการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟ้า ต้องใช้เวลาค่อนข้างนานในการตรวจวัดความเร็วลม นอกจากนี้ ยังหา พื้นที่เหมาะสมค่อนข้างยาก กระแสลมในเมืองไทยโดยเฉลี่ยค่อนข้างต�่าเมื่อ เปรียบเทียบกับทางยุโรปและอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ผลิตกังหันลม อาจกล่าว ได้ว่าพลังงานลมในประเทศไทยมีข้อจ�ากัดค่อนข้างมากก็ได้ ต้องขอบคุณ นักลงทุนทีก่ ล้าเสีย่ งช่วยให้เราเห็นกังหันลมผลิตไฟฟ้าในเมืองไทยมากมาย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

RE: Renewable Energy พลังงานทดแทน คือ ธุรกิจ คือ การลงทุน คือ สัมปทาน คือ โครงสร้างพื้นฐาน คือ เกมการเงิน คือ สินค้าซื้อง่ายขายคล่อง ที่ท�าให้คนร�่ารวยเป็นเศรษฐีในแค่ข้ามปี มีคนสมหวัง ผิดหวัง และหมดหวังกับพลังงานทดแทน ไม่ว่าพลังงาน ทดแทนจะเป็นผีป่าซาตาน หรือนางฟ้า เทพธิดา แต่วันนี้พลังงาน ทดแทนไทยก�าลังถึงจุดเปลี่ยน ผู้คุมบังเหียนจึงต้องมีความรอบคอบ และกล้าตัดสินใจ ขอเหลียวหลังแลหน้า และก้าวข้ามวันนี้ไปสู่อนาคตที่ควรเป็น หรือจะเรียกตามยุคสมัยว่ายุค 4.0 จะได้เข้าใจง่ายดี ในยุคนีเ้ น้นความ มัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน จึงต้องมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีเป็นพืน้ ฐาน การพัฒนา ถ้าใช้ค�าวิชาการว่า ‘Value Based Economy’ ก็ดูเท่ดี เรามาลองย้อนอดีตว่าสิบกว่าปีมานี้ RE ว่ามีอะไรเปลี่ยนไปบ้าง...

น�้ามันชีวภาพ (BIOFUEL) ในที่นี้หมายถึง เอทานอลและไบโอดีเซล หลายปีที่ผ่านมานี้แทบจะไม่มี การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและราคา นอกจากปริมาณการผลิตที่รัฐ ส่งเสริมให้มกี ารใช้มากขึน้ น�า้ มันชีวภาพเป็นอุตสาหกรรมทีผ่ คู้ า้ รายใหม่เข้าสู่ ธุรกิจได้คอ่ นข้างยาก และมีผคู้ า้ น้อยราย เมือ่ ต้นทุนการผลิตสูง ราคาขายก็ สามารถปรับสูงตาม ข้อดีก็คือช่วยปรับสมดุลราคาพืชพลังงาน เช่น ปาล์มน�้ามัน อ้อย และมันส�าปะหลัง จากข้อมูลที่มีอยู่เอทานอล แต่ละลิตร มีต้นทุนการผลิตจากวัตถุดิบ เช่น อ้อย หรือ มันส�าปะหลัง 65-70% ส่วนไบโอดีเซลแต่ละลิตรจะมีต้นทุนการผลิตจากน�้ามันปาล์มดิบ (CPO) ราว 80% จึงมีแนวคิดว่าถ้าจะพัฒนาน�้ามันชีวภาพ ควรมีการพัฒนาการ ปลูกให้มีผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น จะช่วยให้ราคาน�้ามันชีวภาพถูกลงและชาวไร่ มีรายได้ดีขึ้น


RENEWABLE ENERGY

ชีวมวลและก๊าซชีวภาพ (BIOMASS & BIOGAS) จั ด ว่ า เป็ น พลั ง งงานชี ว ภาพ (BIOENERGY) ที่ เ ป็ น จุ ด แข็ ง ของ ประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยมีอุณหภูมิที่เหมาะสมและเป็นประเทศ เกษตรกรรม ประการส�าคัญทีล่ มื ไม่ได้เลยก็คอื เป็นพลังงานทดแทนทีช่ มุ ชน มีส่วนได้มากที่สุด ตั้งแต่การขายเชื้อเพลิงชีวภาพ เช่น ไม้สับ การปลูกพืช พลั ง งาน การน� า น�้ า จากโรงงานก๊ า ซชี ว ภาพไปใช้ เ ป็ น ปุ ๋ ย นอกจากนี้ การผลิตก๊าซชีวภาพยังสามารถผลิตได้ตั้งแต่โรงงานขนาดเล็ก น�าก๊าซ มาใช้หุงต้ม จนถึงโรงงานขนาดใหญ่สามารถผลิตไฟฟ้าจ�าหน่ายให้กับ ภาครัฐ

ก๊าซชีวภาพ เป็นเทคโนโลยีส�าหรับชุมชนโดยแท้ และประเทศไทยก็เป็นประเทศที่มี ความหลากหลายทางชีวภาพ จึงมีการน�าเทคโนโลยีการหมักก๊าซชีวภาพ มาใช้เป็นพลังงานโดยใช้กบั ระบบบ�าบัดน�า้ เสียของโรงงานอุตสาหกรรม และ สถานประกอบการต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทั้งการปลูกหญ้าเนเปียร์ เพื่อใช้หมักก๊าซผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้ โครงการพลังงานขยะก็ยังจ�าเป็น เพราะต้องน�าส่วนที่เป็นขยะอินทรีย์และน�้าชะล้างขยะมาหมักผลิตก๊าซ ชีวภาพ นอกจากได้พลังงานแล้วยังเป็นวิธีการบ�าบัดของเสียและน�้าเสีย ที่ประหยัดและคุ้มค่าที่สุดอีกด้วย

61

พลังงานชีวมวล ที่เราเห็นเป็นรูปธรรมเชิงพาณิชย์ ในปัจจุบันก็คือ การน�าเศษไม้เหลือใช้ จากภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงผลิตไฟฟ้าและการ ผลิต Wood Pellet จากเศษไม้นานาชนิด เพือ่ ใช้ในประเทศและเพือ่ การส่งออก ส่วนการปลูกพืชโตเร็วเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าปัจจุบันยังไม่คุ้มค่า การลงทุน แต่คาดว่าในอนาคตเมื่อรัฐส่งเสริมโรงไฟฟ้าชีวมวลให้เกิดขึ้น มาก ๆ ราคาเชือ้ เพลิงย่อมสูงขึน้ และอาจเป็นเวลาของการปลูกพืชพลังงาน อย่างกระถินยักษ์ เป็นต้น

พลังงานขยะ (Waste to Energy) เป็นวาระแห่งชาติแต่จัดอยู่ในพลังงานทดแทนที่ไม่มีอนาคต เนื่องจาก ปริมาณขยะมีจ�ากัดและเริ่มเพิ่มขึ้นในอัตราลดลง อันเนื่องจากนโยบาย 3R (R: Reduce, R: Reuse, R: Recycle) ของรัฐ ปัจจุบันนี้จึงมีการ คัดแยกขยะตัง้ แต่ตน้ ทางมากขึน้ ซึง่ คาดว่าขยะทีส่ ามารถจัดเก็บได้ในปัจจุบนั สามารถผลิตไฟฟ้าได้ 500 – 600 เมกะวัตต์ ดังนั้น โครงการผลิตไฟฟ้า จากขยะอาจจะสิ้นสุดลงภายใน 3 ปีนี้ และหลังจากนั้นการบริหารจัดการ ที่ดีรวมทั้ง พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ บ้านเมือง ที่ก�าลังจะผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จะช่วยให้ประเทศไทย สามารถเอาชนะขยะได้ ไม่แพ้ประเทศที่พัฒนาแล้วทีเดียว เรื่องนี้ต้องยกนิ้ว ให้กระทรวงมหาดไทย โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

issue 166 december 2016


62 RENEWABLE ENERGY

ประเทศไทยยังมีพลังงานสีเขียวหรือพลังงานทดแทนอีกมากมาย แต่อาจจะยังไม่คุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ เช่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ การผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้า พลังงานจากคลื่นในทะเล รวมทั้งการผลิต น�้ามันจากพืช เช่น สบู่ด�า ฯลฯ หากนับจากวันนี้มองไปข้างหน้าอีก 5 - 10 ปี ด้วยวิสัยทัศน์เชิง เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือทีร่ ัฐใช้ค�าว่า Value-Based Economy สู่ RE 4.0 หรือพลังงานทดแทน 4.0 ก็พอจะจินตนาการได้ดังนี้ • ไฟฟ้าชุมชนเสรี ผลิตเองขายเอง เปิดประตูสู่ Smart Grid • พลังงานขยะเฟื่องฟู สิ่งแวดล้อมยั่งยืน ฟื้นฟูหลัก 3R • Solar Cell ไม่ต้องพึ่งพารัฐทั้งแบบ Farm และ Roof Top • รับซื้อไฟฟ้าเชื้อเพลิงแบบ Hybrid, RE ขายไฟฟ้าแบบ Firm • ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า (Energy Storage) สู่เชิงพาณิชย์ • ยุคทองของน�้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพ: เอทานอล-ไบโอดีเซล • รถยนต์ไฟฟ้าแข่งขันกันเต็มรูปแบบ • นิวเคลียร์ฟิวชั่น (Fusion) เป็นที่สนใจและมีการพัฒนามากขึ้น ประเทศไทย 4.0 เน้นการพัฒนาประเทศด้วยนวัตกรรม และ เทคโนโลยี เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน พลังงานทดแทน ก็เช่นกัน การที่จะไปถึง 4.0 ได้นั้นก็ต้องอาศัยเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ส่วนปัจจัยสู่ความส�าเร็จนอกจากภาคเอกชนแล้ว ยังต้องอาศัยภาครัฐที่เข้มแข็ง จริงจัง กล้าตัดสินใจ ไม่ยึดเอา กฎระเบียบเป็นที่พึ่งพิงมากจนเกินไป ประเทศไทยจึงจะไปสู่ ยุคพลังงานทดแทน 4.0

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

EXECUTIVE SUMMARY Thailand’s Renewable Energy is coming to the turning point, the government should be considering carefully and confront to any barrier. To walk into the future or transform into 4.0 era that focus on stability, wealth and sustainable, technology and innovation are needed as a development foundation. If we develop renewable energy sector with the vision of technology and innovation, we’ll become Value-Based Economy or RE 4.0 or Renewable Energy 4.0. To reach 4.0 era, the innovation and technology should be in place. Besides strengthen private sector, the government should be strength, earnest and make a courage consideration while they should not stick to unnecessary rule or discipline. Therefore, Thailand will move forward to renewable energy 4.0 era as the bright future.


เรื่อง: ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี TECH FOCUS 63

การใช้เทคนิค

LONG RANGE

ULTRASONIC (LRUT)

ในการประเมินค่าท่อส่งก๊าซแอลพีจี ในโรงกลั่นน�้ามันปิโตรเคมี

ขั้นตอนการด�าเนินการของอุตสาหกรรมที่ให้บริการ น�้ามันและก๊าซผ่านระบบท่อไฮโดรคาร์บอนได้รับการ ออกแบบใช้งานตามปกติในช่วงระยะเวลา 15 ปี ตาม มาตรฐาน API (American Petroleum Institute: สถาบัน ปิโตรเลียมแห่งอเมริกา) ซึ่งได้จัดท�ามาตรฐานสากลใน อุตสาหกรรมน�า้ มันและก๊าซ เพือ่ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อก�าหนดด้านกฎระเบียบ ป้องกันสุขภาพ รับประกัน ความปลอดภัยและปกป้องสิ่งแวดล้อม โดยหน่วยงาน อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีการให้บริการน�้ามันและก๊าซ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ใช้ ใ นการตรวจสอบและประเมิ น ความผิดปกติของท่อส่งน�า้ มันในระยะไกล (Teletest) ด้วย เทคนิคและวิธีการต่างๆ มากมาย หนึง่ ในวิธกี ารตรวจสอบทีม่ คี วามแม่นย�าสูงและต้นทุน ในการทดสอบต�่า ได้แก่ การตรวจสอบระยะไกลด้วย คลื่นเสียงความถี่สูง (Long Range Ultrasonic Testing: LRUT) ซึ่ ง เป็ น เทคโนโลยี ก ารทดสอบแบบไม่ ท�า ลาย (Non- Destructive Testing: NDT Inspection) ที่ใช้ส�าหรับ การตรวจสอบการสึกกร่อนของท่อส่งชั้นสูง ส�าหรับพื้นที่ ที่การทดสอบสามารถเข้าถึงได้ ภายใต้เงื่อนไขขั้นตอน การออกแบบท่อที่มีปัจจัยการก�าหนดขนาดท่อ (และ ความหนาของท่อ) เมือ่ ต้องพิจารณาเศรษฐศาสตร์ในด้าน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น การใช้งานของ Long Range Ultrasonic (LRUT) โดยปกติ การท�างานของชุดทดสอบความผิดปกติ ของท่อส่งน�้ามันในระยะไกล (Teletest) นี้จะส่งสัญญาณ คลื่ น ย่ า นความถี่ เ สี ย ง โดยมี จุ ด ส่ ง และจุ ด รั บ เป็ น จุ ด เดียวกัน การตรวจสอบจะอาศัยการเดินทางของคลื่น (Wave Propagation) ในท่อน�าทางระยะไกล การเกิดผล การสะท้อนกลับของคลื่น (Wave Reflection) เมื่อการ เดินทางของคลื่นไปกระทบกับสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นภายใน ท่อปลายทาง ซึ่งโดยปกติความผิดปกติจะมีรูปแบบที่ หลากหลายแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแรงเครียด ทางธรรมชาติหรือเกิดการเสียหายจากการกระท�าของ มนุษย์ เช่น กระบวนการกัดกร่อนทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณรอบๆ ท่อภายนอกหรือภายในท่อ การเพิ่มแรงกดดันทางกล (Mechanical Pressurization) และความเครียดจากการ ล้า (Fatigue Stress) ของท่อในช่วงระยะเวลาการใช้งาน เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น ชุ ด ทดสอบหรื อ เครื่ อ งมื อ ทดสอบที่ มี ประสิทธิภาพสูงจะประกอบไปด้วย โหมดการทดสอบ ความผิดปกติในรูปแบบที่หลากหลายเช่นกัน

issue 166 december 2016


64 TECH FOCUS

Long-Range Ultrasonic Testing (LRUT) คือ การทดสอบแบบไม่ท�าลายขั้นสูง (Advanced Non-Destructive Testing) หนึ่งในเครื่องมือที่มีการตรวจสอบอย่างรวดเร็ว ส�าหรับการด�าเนินการส�ารวจท่อส�าหรับการกัดกร่อน และการย่อยสลายอื่นๆ โดยใช้คลื่นอัลตราโซนิค (ในย่านความถี่ใช้งาน 20KHz – 100KHz)

โหมดการเดินทางของคลื่น เพื่อการประเมินคุณภาพด้วยเทคนิค LRUT กำรเดินทำง แบบตำมยำว (Longitudinal)

โหมดแบบ บิดเกลียว (Torsional)

รูปที่ 1: จ�ำลองกำรเดินทำงของคลืน่ สะท้อนภำยในท่อทีพ่ นื้ ผิวท่อมีควำมผิดปกติ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

แบบโค้งงอ (Flexural)

ส�าหรับการประเมินคุณภาพด้วยเทคนิคขั้นสูงด้วย เทคนิค LRUT นั้น ตลอดการเดินทางของคลื่นในท่อ สามารถติดต่อสื่อสารกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ แปลงข้อมูลที่ได้รับและวิเคราะห์ความเสียหายผ่านสาย สัญญาณความเร็วสูง (ความลึกและขนาดของท่อโดยรวม) ดังนั้น ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในทุกๆ ขนาดของท่อและ ทิศทางการเดินทางของคลืน่ สามารถตรวจพบด้วยเทคนิค นี้ การค�านวณอายุทเี่ หลือขึน้ อยูก่ บั มาตรฐานของ API570 Long-Range Ultrasonic Testing (LRUT) ได้รับ การพัฒนาในการตรวจสอบการสูญเสียในท่อโลหะ โดย ใช้ ก ารสะท้ อ นกลั บ ของสั ญ ญาณพั ล ส์ (Pulse-Echo System) กรณีทสี่ ามารถตรวจสอบความผิดปกติของพืน้ ทีผ่ วิ ของท่อโดยรวม (Cross Section) ที่มีจุดมุ่งหมายไปที่การ ทดสอบปริมาณมากๆ ของวัสดุจากจุดทดสอบเพียงจุด เดียวเท่านัน้ แสดงดังรูปที่ 1. ทีส่ ะท้อนค่าเวลาการเดินทาง (Arrival Time) และค่าขนาดสัญญาณ (Amplitude) ของ คลื่นอัลตราโซนิค ที่สะท้อนกลับมายังทรานสดิวเซอร์ ที่ ต ่ อ แบบอะเรย์ โดยเทคนิ ค นี้ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาใน ขัน้ ต้น ส�าหรับการใช้ตรวจสอบการกัดกร่อนภายใต้ฉนวน กันความร้อน (Corrosion Under Insulation: CUI) ส�าหรับ ท่อในโรงงานปิโตรเคมี ซึ่งต่อมาก็พบว่ามีการใช้อย่าง แพร่หลายในสถานการณ์อนื่ ๆ ทีต่ รวจสอบท่อทีไ่ ม่สามารถ เข้าถึงได้ ได้แก่ ท่อฝังอยูใ่ นดินหรืออยูใ่ นทีส่ งู และท่อเครือ่ ง ท�าน�้าอุ่น เป็นต้น จุดมุง่ หมายของการ LRUT คือ การทดสอบความยาว ของท่ออย่างรวดเร็วและแม่นย�า 100% ของผนังท่อ หรือมาตรฐานความแม่นย�าของการใช้งานในแถบยุโรป ที่ยอมรับได้ ±100nm ของความยาวท่อ และเพื่อระบุ ขอบเขตพื้นที่รูปทรงเรขาคณิต (Geometric Boundaries) ที่เกิดการกัดกร่อนหรือการพังทลายของท่อ ในบางอุตสาหกรรมได้ใช้เทคนิค NDT ร่วมกับเทคนิค อื่ น ๆ เช่ น การถ่ า ยภาพรั ง สี ห รื อ การตรวจสอบด้ ว ย อัลตราโซนิคขั้นพื้นฐาน ซึ่งเทคนิคดังกล่าวนี้มีความไว เท่าเทียมกันต่อการสูญเสียที่เกิดขึ้นในโลหะทั้งบนพื้นผิว ภายนอกและภายในของท่ออีกด้วยเช่นกัน หลักการท�างานพื้นฐานของเทคนิค Long Range Ultrasonic (LRUT) การตรวจสอบของท่อโดยใช้ ‘Ultrasonic (LRUT)’ ได้ถูกน�ามาใช้เป็นประจ�ามานานกว่าทศวรรษในความ หลากหลายของการใช้ ง านในอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี พลังงานและอุตสาหกรรมนิวเคลียร์ วิธีการที่การที่ใช้ สัญญาณอัลตราโซนิคในการตรวจสอบโครงสร้างท่อและ มีความเป็นไปได้อย่างมากในการคัดกรองอย่างรวดเร็ว ในช่วงความยาวของท่อ ส�าหรับการตรวจสอบของการ กัดกร่อนและข้อบกพร่องอื่นๆ อย่างไรก็ตาม วิธีการที่จะ น�าไปใช้ในท่อทีฝ่ งั อยูใ่ นดินช่วงทดสอบมีแนวโน้มทีจ่ ะลดลง อย่างมีนัยส�าคัญ เมื่อเทียบกับท่อเปลือยหรือไม่มีการ ปกคลุมด้วยสิ่งใดๆ และไม่สามารถคาดการณ์ได้ถึงการ เปลี่ยนแปลงการลดทอนในแต่ละกรณีไป ท่อฝังดินมี การทดสอบโดยการขุ ด หลุ ม เพื่ อ แสดงท่ อ ที่ ว งแหวน ทรานสดิวเซอร์ (Transducer Ring) ทีแ่ นบกับท่อเพือ่ ทดสอบ เท่าทีจ่ ะท�าได้ในแต่ละทิศทางจากต�าแหน่งใดต�าแหน่งหนึง่


WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND

GSR-R

Rail with rack

LM Guide Separate Type (Radial) Model Structure and Features

LM block

GSR-R : Full-ball LM Guide-LM rail and rack integrated type End plate Eliminates assembly and adjustment work End seal Self-driven mechanism Space saving structure

Applications Industrial robot Welding machine Conveyance system Palette changer

Pinion Rack teeth

Basic load rating (kN) Load capacity diagram

If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71

Basic dynamic load rating

Basic static load rating

15.5 to 37

15.2 to 39.1

I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th


Your Home4Energy Infrastucture solutions for energy storage systems


TECH FOCUS 67

(A)

(B)

รูปที่ 2: (A),(B) วงแหวนทรานสดิวเซอร์(Transducer Ring) ที่ติดตั้งกับท่อที่ฝังดินและระบบการเก็บข้อมูล (Data Acquisition) ตามล�าดับ

(A)

(B) รูปที่ 3: (A),(B) การรั่วไหลของคลื่นภายในฝังดินและการทดสอบท่อที่ฝังอยู่ในดินเพื่อหาสาเหตุการรั่วของท่อ ตามล�าดับ

โดยปกติส�ำหรับกำรปฏิบัติงำนวิศวกรรมที่ทันสมัย เกีย่ วกับท่อ วัสดุเคลือบผิวท่อ เช่น Fusion-Bonded Epoxy (FBE), Coal-Tar-Enamel และ High-Density Polyethylene (HDPE) มีโรงงำนอุตสำหกรรมในด้ำนนี้ที่ใช้ท่อที่ถูกฝังอยู่ ในพื้นดินและใช้ฉนวนกันควำมร้อนจำกสภำพแวดล้อม ที่รุนแรงและกำรป้องกันจำกกำรกัดกร่อน กำรลดทอน คลื่นที่เดินทำงภำยในท่อน�ำคลื่นเกิดจำกกำรรั่วไหลของ พลั ง งำนที่ แ ผ่ อ อกไปในวั ส ดุ ที่ ฝ ั ง ในดิ น และกำรดู ด ซั บ พลังงำนบำงส่วนด้วยวัสดุที่ดูดซับพลังงำนของระบบท่อ น�ำคลืน่ ทีม่ ผี ลต่อกำรลดควำมรุนแรงในช่วงทดสอบ แสดง ดังรูปที่ 3.(A) ขอบเขตของกำรรั่วไหลขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ของวัสดุทั้งท่อและวัสดุฝังเป็นส�ำคัญ กำรปฏิบัติกำรที่เกี่ยวกับท่อฝังเคลือบได้แสดงให้เห็น กำรลดทอนอะคู ส ติ ก ของคลื่ น ระหว่ ำ งท่ อ และดิ น นี้ ได้นำ� ไปสูก่ ำรพัฒนำของท่อฝังเคลือบทีไ่ ด้ทำ� กำรดีคปั ปลิง้ (Decoupling) ชุดอัลตรำโซนิคกับท่อฝังแยกออกจำกกัน เพื่อลดปริมำณกำรลดทอนของคลื่นในท่อน�ำสัญญำณ กำรลดปริมำณกำรลดทอนคลื่นในท่อน�ำสัญญำณเพิ่ม ประสิทธิภำพเป็นอย่ำงมำกของช่วงทดสอบรอยรั่วของ ท่อเคลือบดังกล่ำว กำรใช้เทคนิค Long-Range Ultrasonic Testing (LRUT) มีควำมเหมำะสมในกำรตรวจสอบที่ต้นทุนต�่ำ ระยะทำงกำรตรวจสอบสำมำรถคลอบคลุมประมำณ 350 เมตร และสำมำรถตรวจสอบขนำดของท่อทีม่ ขี นำดควำม หนำตั้งแต่ 1.5 นิ้ว ไปจนถึง 48 นิ้ว ในสภำพแวดล้อมที่ ท่อมีควำมร้อนสูงหลำยร้อยองศำ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ทำงเลือก

ส�ำหรับกำรตรวจสอบในพื้นที่ๆ กำรตรวจสอบแบบทั่วไป ไม่สำมำรถเข้ำถึงได้ดังที่กล่ำวมำข้ำงต้น แต่อย่ำงไรก็ตำม เทคนิคนี้ไม่สำมำรถจะทดสอบกับท่อเฉพำะงำน เช่น ท่อ ที่เคลือบบิทูมินัส เป็นต้น Source: • Leinov E, P Cawley and MJS Lowe. 2014 Investigation of guided waves propagation in pipe buried in sand. The 40th Annual Review of Progress in QNDE, Baltimore, USA. • Leinov E, P Cawley and MJS Lowe. 2014 Guided wave attenuation in pipes buried in sand. The 41st Annual Review of Progress in Quantitative Nondestructive Evaluation (QNDE). Boise, USA. • Leinov E, P Cawley and MJS Lowe. 2015 Guided wave attenuation in coated pipes buried in sand. The 42nd Annual Review of Progress in Quantitative Nondestructive Evaluation (QNDE). Minneapolis, USA. • Leinov E, MJS Lowe and P Cawley. 2015 Investigation of guided waves propagation and attenuation in pipes buried in sand. Journal of Sound & Vibration, Vol. 347, 96-114. (doi:10.1016/j.jsv.2015.02.036) • Leinov E, MJS Lowe and P Cawley. 2016 Ultrasonic isolation of buried pipes. Journal of Sound & Vibration. Vol. 363, 225-239. (doi:10.1016/j.jsv.2015.10.018) EXECUTIVE SUMMARY Long Range Ultrasonic Testing: LRUT is Non – Destructive Testing: NDT Inspection technology to investigate pipe line’s corrosion in specified area that the test can reach and operate. The conditions of pipe line’s design are pipe’s thickness size and the value in economic term. To use LRUT, it is a low-cost method that cover about 350 meters range and test the pipe’s thickness from 1.5 – 48 inches under high temperature environment. This could be an alternative choice for testing in the area that couldn’t operate common method. However, this method couldn’t use to test some specify jobs, such as, a pipe that coated with bituminous.

issue 166 december 2016


68 ELECTRICAL & ELECTRICTY เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

เทคนิคการจัดการ

ระบบไฟฟ้

เพื่อลดต้นทุนการใช้พลังงาน

การบริ ห ารโรงงานอุ ต สาหกรรมจ� า เป็ น ต้ อ ง ค�านึงถึงการผลิตที่มีค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนการผลิต ที่ ต�่ า ลง หนทางหนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยลดต้ น ทุ น การผลิ ต คือ การใช้พลังงานทุกประเภทอย่างประหยัดและ มีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานของโรงงาน หมายถึง การลดใช้พลังงานลงโดยการจัดการใช้ พลังงานให้เหมาะสมเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด โดย ไม่ทา� ให้กระบวนการผลิตลดลง และไม่ทา� ให้คณ ุ ภาพ ของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนแปลง

การส่งและจ�าหน่ายก�าลังไฟฟ้า

กฟผ. เป็นผู้ผลิตและจัดหา กฟภ. และ กฟน. เป็นผู้จ�าหน่าย ข้อสังเกต • ผู้ใช้รายย่อย การไฟฟ้าจ�าหน่ายไฟฟ้าแรงต�่าให้ • ผู้ใช้ขนาดกลางถึงใหญ่ การไฟฟ้าจ�าหน่ายไฟฟ้าแรงสูงให้

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


ELECTRICAL & ELECTRICTY 69

เปลี่ยนแปลงเวลา ท�างานของเครื่องจักร ขนาดใหญ่ ไม่ให้ ท�างาน พร้อม ๆ กัน

ความหมายของค�าศัพท์ ทางพลังงานที่ควรทราบ ก�ำลังไฟฟ้ำ: ความต้องการไฟฟ้าทีอ่ ปุ กรณ์หรือเครือ่ งจักรใช้ ในการท�างาน มีหน่วยเป็น ‘วัตต์’ (Watt; W) พลังงำนไฟฟ้ำ: พลังงานไฟฟ้าที่อุปกรณ์หรือเครื่องจักร ใช้ในการท�างานระยะเวลาหนึง่ มีหน่วยเป็น กิโลวัตต์ชวั่ โมง (kWh) หรือเรียกว่าหน่วย หรือ ยูนิต (Unit) หาได้จาก

เลือกใช้อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูง

ก�าลังไฟฟ้า (วัตต์) x เวลา (ชั่วโมง)

ลดปริมาณ การใช้ ไฟฟ้าของ เครื่องจักรลง ในเวลาที่มีการ ใช้งานพร้อมกัน

แนวทาง การลดต้นทุน ด้านพลังงาน ไฟฟ้า

ใช้ระบบเก็บ สะสมพลังงาน แทนระบบปกติ เช่น ระบบปรับอากาศ แบบ ICE STORAGE

1,000

ขั้นตอนในการ ด�าเนินการ ควบคุมพลัง ไฟฟ้าสูงสุด

รวบรวมข้อมูล ของอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆ

แบ่งกลุ่มอุปกรณ์ ไฟฟ้า - กลุ่มที่ไม่สามารถหยุดเดินได้ - กลุ่มที่หยุดเดินได้บางช่วงเวลา

บันทึกข้อมูลการใช้ ไฟฟ้ารายวัน (Daily Load Curve)

วิเคราะห์ช่วงเวลา ในการเปิด/ปิดอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆ

ด�าเนินการควบคุมและติดตามผล - ย้ายเวลาเปิดอุปกรณ์บางตัวในช่วง On Peak - ปลดอุปกรณ์บางตัว เมื่อปริมาณ การใช้เกินก�าหนด (โดยการใช้อุปกรณ์ ควบคุมอัตโนมัติ)

issue 166 december 2016


70 ELECTRICAL & ELECTRICTY

ข้อปฏิบัติเพื่อการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงาน

01

มอเตอร์ ไฟฟ้า • ลดการเดินเครื่องจักรที่ยัง ไม่ใช้งาน • ลดระยะเวลาการเดินตัวเปล่า ของมอเตอร์ ล�าเลียงสายพาน • ปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ด้วยคาปาซิเตอร์ • ใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูง

หม้อแปลงและระบบส่งจ่ายไฟฟ้า • ลดความต้องการพลังงาน ไฟฟ้าสูงสุดในช่วงเวลาการใช้ไฟฟ้า สูงสุดของระบบ โดยการลดการใช้ท่ี ไม่จ�าเป็น • ลดจ�านวนหม้อแปลงไฟฟ้า โดยการย้ายโหลด • ปรับ Tap ที่หม้อแปลงไฟฟ้า • บริ ห ารจั ด การการควบคุ ม คาปาซิเตอร์ที่ตู้ควบคุมไฟฟ้าหลัก • ติดตั้งคาปาซิเตอร์ที่เมนจ่าย ไฟฟ้าหลัก อย่างไรก็ตาม การประหยัดพลังงานไฟฟ้าใน โรงงานอุตสาหกรรมมีความจ�าเป็นมาก สามารถ ด�าเนินการได้โดยอาศัยวิธีการตรวจวิเคราะห์การ ใช้พลังงานหรือ Energy Audit ซึ่งจะช่วยลดต้นทุน

02

03

ระบบอัดอากาศ • ลดการรั่วไหลในระบบอากาศ อัด • ลดความดั น อากาศอั ด ให้ เหมาะสม • เปลี่ ย นระบบการระบายน�้ า ของเครื่องอัดอากาศที่ช�ารุด • ลดอุณหภูมิอากาศก่อนเข้า เครื่องอัดอากาศ • ลดการใช้ ล มอั ด โดยการ เปลี่ยนหัวฉีดเป็นแบบปืนลม

ระบบแสงสว่าง • ลดการเปิดไฟฟ้าแสงสว่าง พื้นที่ที่ใช้งาน บางช่วงเวลาของวัน • ปลดหลอดไฟ ในพื้ น ที่ ที่ แสงสว่างเกินความจ�าเป็น • แยกสวิ ต ช์ ห ลอดฟลู อ อเรสเซนต์ ให้ ส ามารถเปิ ด -ปิ ด ได้เฉพาะจุดที่ต้องการ • ลดก� า ลั ง ไฟฟ้ า ของหลอด เช่น จาก 13 วัตต์ เป็น 7 วัตต์ เป็นต้น โดยไม่กระทบต่อการมองเห็น

ในการผลิตของผูป้ ระกอบการลงได้ และเป็นผลดีตอ่ เศรษกิจของประเทศ รวมทั้งช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ด้วย

04

Source: - เอกสารประกอบการสัมมนา Faifa Forum โดย รศ.ดร.ธเนศ ธนิตย์ธีรพันธ์ ภาควิชาครุศาสตร์ ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - เอกสารโครงการช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าของกระทรวงอุตสาหกรรม - https://goo.gl/43jK8M

EXECUTIVE SUMMARY Electrical system management for energy cost reduction is an essential objective for industrial factory. It will give a support to reduce manufacturing cost. The way to take actions are - Change operating time schedule for each high - energy consumption machinery to work separately. - Reduce the energy consumption of machinery while every machine operating at the same time. - Choose high efficiency equipment. - Use energy storage system instead of normal system such as Ice Storage temperature system. Besides, it could operate through energy audit method which will reduce manufacturing cost and give a good value for national GDP and also save the environment.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร PETROCHEMICAL

2016

71

PETROCHEMICAL SITUATION REVIEW ต้องยอมรับว่าในปี 2016 นี้ เป็นปีที่เทคโนโลยีมากมายเกิดขึ้นและเข้า แทรกแซงกิจการต่างๆ ทุกแขนงรวมไปถึงชีวติ ประจ�าวัน อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเอง ก็ได้รบั ผลกระทบจากการเข้าแทรกแซงของเทคโนโลยีเช่นกัน ซึง่ เทรนด์ทเี่ กีย่ วข้อง กับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่โดดเด่นของปี 2016 ได้แก่ 1. การปรับรูปแบบโมเดลธุรกิจใหม่: ผู้ผลิตทั้งหลายเกิดการเปลี่ยนแปลง และปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีที่เข้ามาแทรกแซง แนวทางการท�าธุรกิจมีการ เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านการตลาดและการควบคุมการผลิต องค์กรธุรกิจจ�าเป็น ต้องปรับเป้าการขายสินค้าให้แก่กลุม่ ตลาดใหม่ทมี่ คี วามต้องการใช้งานปิโตรเคมี ดังนั้น ความท้าทายและโอกาสใหม่ๆ จะเกิดขึ้น เมื่อสามารถปรับตัวและมอง เป้าหมายที่ชัดเจนได้ โดยจะช่วยสนับสนุนธุรกิจให้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�าในช่วง แห่งการเปลี่ยนแปลงได้ issue 166 december 2016


72 PETROCHEMICAL

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Disclosed Deal Value

2Q16

1Q16

4Q15

3Q15

2Q15

1Q15

4Q14

3Q14

(Source รูป: PwC Deals Global Chemicals M&A Deals In Sight Q2 2016)

2Q14

ทั่วโลก

1Q14

ควบรวมกิจการ อุตสาหกรรมเคมี

Deal Volume (R-axis)

Deal Volume

จ�านวนการ

4Q13

มูลค่าและ

การฝึกฝน รวมถึงโปรแกรม ไฟร์วอลล์ ระบบควบคุมทีม่ คี ณ ุ ภาพ เข้ามามีบทบาท ในการป้องกันไม่ให้เกิดการรั่วไหลของข้อมูล หรือป้องกันระบบล่ม 7. Disruptive Technology: อีกหนึ่งกระแสเทคโนโลยีที่ต้องจับตามอง เนื่องจากเทคโนโลยีนี้เปิดทางให้ผู้ประกอบการสามารถสร้างก�าไรและเติบโตได้ อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่กส็ ามารถเสียท่าให้กบั เทคโนโลยีนี้ ได้เช่นกัน ซึ่งการวางแผนและวิเคราะห์ SWOT อย่างดีจะสามารถลดความเสี่ยง เหล่านี้ลงไปได้ 8. Green Chemistry: ด้วยกระแสและแนวทางรักษ์โลกที่ก�าลังเพิ่มขึ้น การ วางระบบหรือการด�าเนินการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะเป็นการจัดการกับ ผลเสียที่มาจากอิทธิพลของสารเคมี ซึ่งช่วยป้องกันหรือชะลอมลภาวะที่กระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมลงได้ ทัง้ นี้ จะเห็นได้วา่ หนึง่ ในเทรนด์เทคโนโลยีทสี่ ง่ ผลกระทบกับกิจการปิโตรเคมี คือ IoT และระบบทีเ่ กีย่ วข้องกับ Industry 4.0 ซึง่ กลายมาเป็นหนึง่ ในเทรนด์หลัก ของปี 2016 ที่จะเผยให้เห็นแนวทางหนึ่งของปี 2017 ได้ ส�าหรับธุรกิจด้านเคมีทั่วโลกนั้น ครึ่งปีแรกของปี 2016 มีมูลค่าการควบรวม กิจการอยู่ที่ 67.1 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่ แล้วถึง 642% และนับเป็น 12% จากไตรมาสแรกของปี 2016 ซึ่งการเจรจาที่มี ผลมากต่อตัวเลขเหล่านี้ คือ การเจรจาของ Bayer กับ Monsanto ที่มีมูลค่ากว่า 55.2 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ นับเป็น 83% ของมูลค่าการเจรจาที่เกิดขึ้น ในขณะที่ภาพรวมของการควบรวมกิจการเคมีทั่วโลกคงสถานะอยู่เพียง 3%

100.0 50 46 42 90.0 45 39 38 80.0 40 36 35 31 33 70.0 35 26 25 26 60.0 22 30 50.0 25 40.0 20 30.0 15 20.0 10 10.0 $5 $25 $12 $12 $23 $17 $16 $9 $27 $88 $60 $67 5 0.0 0 3Q13

กราฟแสดง

Disclosed Deal Value ($bn)

2. กลุม่ ตลาดทีเ่ กิดใหม่: ความต้องการปิโตรเคมีและสารเคมีเริม่ ปรับเปลีย่ น ไปสูก่ ลุม่ ตลาดใหม่ ซึง่ มีความต้องการใช้ ขยายตัวสูงขึน้ มาก โดยคาดว่าจะมีมลู ค่า สูงถึง 311.2 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐในปี 2020 แม้วา่ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ จะควบคุมกลไกของตลาดส่วนใหญ่อยูก่ ต็ าม ทว่ากลุม่ ตลาดใหม่ทเี่ กิดขึน้ ได้สร้าง โอกาสทางการแข่งขันที่มากขึ้นด้วยเช่นกัน 3. การใช้งานออโตเมชันและ IT: อุตสาหกรรมปิโตรเคมีได้มีการใช้งาน Process Automation Systems (PAS) เพื่อยกระดับการท�างานอย่างชัดเจน มากขึ้น โดยมุ่งเน้นไปที่การเก็บข้อมูลจากเซนเซอร์ในจุดต่างๆ เพื่อท�าการ วางแผนและตัดสินใจ 4. Internet of Things (IoT): การเข้ามาถึงของ IoT เป็นสิ่งที่เชื่อมต่อการ ท�างานของเครื่องจักรเข้าด้วยกัน เติมเต็มช่องว่างในกระบวนการ ทั้งยังเป็นส่วน ผลักดันให้เกิดระบบอัจฉริยะขึ้นมา แม้ว่าขณะนี้ยังมีโรงงานอุตสาหกรรมเคมี จ�านวนไม่มากนักที่น�า IoT เข้ามาประยุกต์ใช้ ทว่าหากเข้าใจถึงประสิทธิภาพ และข้อได้เปรียบที่จะได้รับตามมา อาจท�าให้ผู้ประกอบการหันมาให้ความสนใจ และน�ามาประยุกต์ใช้ทันที 5. Mobile Application: การใช้งานแอปพลิเคชันเคลื่อนที่เป็นสิ่งที่มาคู่กัน กับ IoT ซึง่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นเครือ่ งมือในการเชือ่ มต่อและท�าหน้าทีไ่ ด้อย่างครอบคลุม โดยสามารถท�างานได้ 24/7 และตอบสนองได้ทันท่วงทีแบบ Real-Time 6. ความปลอดภัยในระบบไซเบอร์: ด้วยการใช้งาน IoT และอุปกรณ์ อัจฉริยะทั้งหลายที่มีมากขึ้น ท�าให้เกิดความเสี่ยงและกลายเป็นจุดสนใจจาก ภัยคุกคามทางไซเบอร์ด้วยเช่นกัน นี่เองที่ท�าให้บทบาทของผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับ


PETROCHEMICAL 73

กราฟแสดง

สัดส่วน

การเจรจา

(Source รูป: PwC Deals Global Chemicals M&A Deals Insight Q2 2016)

Source: PwC Deals Global Chemicals M&A Deals Insight Q2 2016 https://goo.gl/YO92g3

1Q16 77%

4Q15 8%

3Q15 14%

2Q15 70%

29% 1Q15

4%

58% 2Q16

(Source รูป: PwC Deals Global Chemicals M&A Deals Insight Q2 2016)

2Q16

52% 1Q16

4Q15 67%

58%

67% 4Q14

3Q15

3Q14 17%

North America Europe ex-UK & Eurozone

จากทิ ศ ทางการควบรวมกิ จ การในอุ ต สาหกรรมเคมีแ สดงให้เ ห็นถึง การ ตื่นตัวในด้านการลงทุนทั่วโลก และนอกจากนี้ เทรนด์ที่ส่งผลต่อการด�าเนิน กิจการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอย่างมาก คือ IoT และ Industry 4.0 ซึง่ เป็นผล มาจาก Digital Disruptive ซึ่งผู้ประกอบการควรเรียนรู้และเตรียมตัวรับมือกับทิศทางตลาด ที่ก�าลังมาถึง โดยในอนาคตการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงมีแนวโน้มที่จะกลายมาเป็น บรรทัดฐานใหม่ส�าหรับการท�างานในโรงงานอุตสาหกรรมเคมีในไม่ช้า

ภูมิภาค

South America Africa/Undisclosed

4Q14 41%

46% 3Q14

2Q15 74%

39% 2Q14

Asia & Oceania UK & Eurozone

22%

ภูมิภาค

2Q14

แบ่งตาม

40%

การเจรจา

1Q14

มูลค่า

4Q13 11%

สัดส่วน

100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

34%

กราฟแสดง

North America Europe ex-UK & Eurozone

3Q13

Asia & Oceania UK & Eurozone

1Q15 71%

50% 1Q14

4Q13 39%

32%

แบ่งตาม 3Q13

100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

South America Africa/Undisclosed

EXECUTIVE SUMMARY The outlook of chemical industry in 2016 has been driven by technology from various sector, for example, IoT and Industry 4.0. The entrepreneurs should prepare themselves to understand and stay alive in this digital ages. The tendencies for M&A or profit driven of chemical industry were coming from the deal between Bayer and Monsanto which is the highlight of Q2. The information show that Asia regional has been awakening for chemical industry as the most proportion all over the globe.

issue 166 december 2016


74 Food processing

เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

Kill Step เรื่องต้องรู้ส�ำหรับ

ความปลอดภัย

ด้ำนอำหำร Kill Step หรื อ กระบวนกำร ฆ่ ำ เชื้ อ เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งรู ้ แ ละ ท�ำควำมเข้ำใจ เพรำะภัยส�ำหรับ อำหำรที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ กำร ปนเปื้อนและติดเชื้อ ซึ่งหลำยครั้ง ผู ้ ป ระกอบกำรใช้ ก ระบวนกำรที่ ‘ควรจะ’ หรือ ‘เชื่อว่ำ’ สำมำรถ จัดกำรฆ่ำเชื้อได้ โดยไม่ ได้มีกำร ยืนยันหรือติดตำมผล ซึ่งถือเป็น กำรละเลยอย่ำงร้ำยกำจ กำรประเมิ น คุ ณ ภำพของ กระบวนกำรฆ่ ำ เชื้ อ นั้ น ถื อ ว่ ำ มี ควำมส�ำคัญอย่ำงมำก โดยเฉพำะ อย่ำงยิ่งในขั้นตอนทั่วไปที่มั่นใจว่ำ สำมำรถฆ่ำเชือ้ ได้แล้ว เช่น กำรปรุง ต่ ำงๆ กำรทอด กำรใช้ ส ำรเคมี ซึง่ มักจะพบว่ำไม่ได้มกี ำรตรวจสอบ ภำยหลั ง กระบวนกำรฆ่ ำ เชื้ อ เหล่ำนั้นซ�้ำ จึงขำดหลักฐำนและ ข ้ อ มู ล ยื น ยั น ส� ำ ห รั บ ค ว ำ ม ปลอดภัยด้ำนอำหำร MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ประโยชน์ของการตรวจสอบขั้นตอนฆ่าเชื้อซ�้า

A

ก่อให้เกิดความปลอดภัยทางอาหารอย่างเต็มที่ ท�าให้สามารถปกป้อง ผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี

สามารถผ่านมาตรฐาน การประกันความปลอดภัยที่ก�าหนดขึ้น โดยหน่วยงานต่างๆ ได้

C

B

ท�าให้เรียนรู้ขั้นตอน การดูแลรักษาที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

ประหยัดทุนส�าหรับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเป็นอย่างมาก เช่น การ ไม่ก่อให้เกิดการเรียกคืนหรือการท�าผิดข้อตกลงทางกฎหมายต่างๆ ที่ ก่อให้เกิดปัญหาจากอาหาร

E

D

รักษาความมั่นใจส�าหรับลูกค้า

เป็นหนึ่งในตัวแปรที่ก่อให้เกิดความส�าเร็จของธุรกิจ

F


Food processing 75

การตรวจสอบการฆ่าเชื้อ สิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับกำรตรวจสอบ คือ กำร ออกแบบโมเดลที่ใส่ใจรำยละเอียด ซึ่งสำมำรถ ตอบรับกับรูปแบบของอำหำรที่ใช้ โดยต้องใช้ นักจุลชีววิทยำที่มีประสบกำรณ์ นักสถิติ และ พื้นที่ปฏิบัติกำรณ์แบบปิด เช่น Bio Safety Level (BSL) 2 หรือ 3 ส�ำหรับห้องทดลอง นอกจำกนี้ ยังต้องกำรกำรช่ำงสังเกตเนือ่ งจำกกระบวนกำรนัน้ สำมำรถเกิดขึ้นได้หลำกหลำย ขัน้ ตอนทัง้ หมดจ�ำเป็นต้องมีนกั จุลชีววิทยำที่ ผ่ำนกำรรับรองเพื่อท�ำกำรควบคุม เพรำะกำร ตรวจสอบกำรฆ่ำเชื้อนั้นเป็นเรื่องของจุลชีพหรือ เชือ้ โรค ซึง่ ต้องกำรกำรเฝ้ำระวังดูแลอย่ำงเอำใจใส่ กำรศึ ก ษำเชื้ อ โรคหรื อ กำรปนเปื ้ อ นหลั ง กำร ฆ่ ำ เชื้ อ นั้ น ต้ อ งด� ำ เนิ น กำรภำยในห้ อ งทดลอง ระดับ BSL 2 หรือ 3 ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อ ทีส่ ำ� คัญ คือ กระบวนกำรเหล่ำนีต้ อ้ งสำมำรถท�ำซ�ำ้ ได้ เช่นเดียวกับกระบวนกำรของอุตสำหกรรม เพือ่ ให้ เกิดมำตรฐำนที่สำมำรถควบคุมได้ กำรทดลอง ควรด�ำเนินกำรอย่ำงน้อย 3 ครัง้ โดยแบ่งออกเป็น 3 วัน ให้มีส่วนผสมหรือส่วนประกอบในปริมำณ ที่แตกต่ำงกันออกไป เพื่อสังเกตศักยภำพในกำร ด�ำเนินกำรที่แตกต่ำงออกไปของกระบวนกำร กำรคั ด เลื อ กเพำะเชื้ อ หรื อ ชนิ ด แบคที เรี ย ถือเป็นอีกปัจจัยส�ำคัญ ในกำรทดสอบนั้นจ�ำเป็น ต้ อ งเลื อ กชนิ ด เชื้ อ หรื อ กลุ ่ ม เชื้ อ ที่ มี ลั ก ษณะ ใกล้เคียงกับเชื้อหลักมำกที่สุด หำกต้องกำรใช้

ตัวทดสอบทีแ่ ตกต่ำงออกไป สำมำรถใช้เชือ้ ทีม่ ฤี ทธิ์ เท่ำกันหรือร้ำยแรงกว่ำได้ กำรทดสอบที่มีประสิทธิภำพนั้นสมควรที่จะ ด�ำเนินกำรภำยใต้กรอบสถำนกำรณ์ที่เลวร้ำยที่สุด เช่ น เตำอบมี อุ ณ หภู มิ ต�่ ำ มำก หรื อ สำยพำน ส่งของใช้ควำมเร็วสูงสุด หรือผ่ำนจุดที่มีควำมเย็น สูงทีส่ ดุ หรือกำรใช้ระยะเวลำต่ำงๆ ให้สนั้ ทีส่ ดุ เป็นต้น ทั้งนี้ เวลำและอุณหภูมิ ถือเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กัน สำมำรถจัดกำรข้อมูลเหล่ำนี้ได้ด้วย Log Kill เช่น Five Log Reduction ซึง่ อุณหภูมแิ ละเวลำในขัน้ ตอน

ทั้งหมดต้องถูกบันทึกเอำไว้ภำยใต้โมเดลทำง คณิตศำสตร์ ซี่งโมเดลทำงคณิตศำสตร์นี้เองที่ เป็นตัวแปรส�ำคัญในกำรประมวลและประเมินผล นอกจำกนี้ กำรเคลื่ อ นไหวของจุ ล ชี พ หรื อ Microbial Kinetics อย่ำงเช่น D-Value Z-Value และ TDT (Thermal Death Time) นั้นเป็นสิ่งที่ จ�ำเป็นจ�ำต้องรู้ โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ กำรทนทำน ต่อสภำวะอุณหภูมิ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญมำก ส�ำหรับอุตสำหกรรมอำหำร อย่ำงไรก็ตำม กระบวนกำรตรวจสอบควร ด�ำเนินกำรเป็นประจ�ำอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง ตำมมำตรฐำน HACCP เพื่อสร้ำงควำมมั่นใจ ให้กับสินค้ำและผลิตภัณฑ์อำหำร ผลรำยงำน ที่ได้จำกกำรส�ำรวจนี้สำมำรถน�ำมำใช้เสนอ ให้กับลูกค้ำ หรือหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อ รับประกันคุณภำพอำหำรได้ ซึ่งกระบวนกำร ตรวจสอบกำรฆ่ำเชื้อซ�้ำ มักเป็นกระบวนกำร ที่มักจะถูกละเลยไปไม่ว่ำจะด้วยเหตุผลอะไร ก็ตำม สำมำรถส่งผลให้คณ ุ ภำพและควำมมัน่ ใจ ในตัวอำหำรหรือกลุ่มสินค้ำนั้นๆ ลดลงไปได้ และส่งผลต่อภำพรวมของธุรกิจอย่ำงมำก

Source: Kill-Step Validation for Food Safety (Lakshmikantha Channaiah, AIB International) EXECUTIVE SUMMARY How can we ensure the kill-step for food processing? How can we trust that food is safe, cleansed or the microbes stay in the amount that body can accept? After the kill-step, the entrepreneur and many people rely on the process while overlooked the validation and follow its up. If the factor or process has been changed, how can we trust that it’s still safe as its usual. The kill-step validation is necessary because clear impact which including evidences could use in brand royalty making, food safety standard and also law. This validation must be operate under experienced microbiologist for the best result and safety. issue 166 december 2016


76 PRODUCTIVITY BOOSTER เรื่อง: โกศล ดีศีลธรรม ผู้เชี่ยวชาญด้านการเพิ่มผลผลิต

ลด ความสูญเปล่า

งานบ�ารุงรักษา... ได้อย่างไร? MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


PRODUCTIVITY BOOSTER

ปัญหาความผันผวนในกระบวนการผลิตมักเกิดจากปัญหา เครื่ องจั กรขัด ข้อ ง ซึ่ งส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือและ ความปลอดภัยในสายการผลิต ท�าให้งานบ�ารุงรักษาเป็นปัจจัย สนับสนุนความน่าเชื่อถือกระบวนการ โดยเฉพาะการด�าเนิน กิจกรรมบ�ารุงรักษาที่มุ่งป้องกันการเกิดปัญหาความขัดข้อง ของเครื่องจักรและการซ่อมแซมหากเกิดปัญหาขณะใช้งาน แต่ เป็นเรื่องน่าเสียดายที่ฝ่ายงานบ�ารุงรักษามักมองข้ามความ ส�าคัญของการขจัดความสูญเปล่า ซึง่ เป็นหัวใจหลักของการเพิม่ ผลิตภาพ

77

งานบ�ารุงรักษาทีด่ า� เนินตามแนวคิดลีน (Lean Maintenance) เป็นแนวทางบ�ารุงรักษาเชิงรุกที่มุ่งขจัดความสูญเปล่าในงาน บ�ารุงรักษา ซึ่งไม่เพียงแค่แก้ปัญหาที่เกิดประจ�าวันเท่านั้น แต่ จะมีการวิเคราะห์หาสาเหตุหลักของปัญหาอย่างเป็นระบบ เพือ่ ด�าเนินการแก้ไขและป้องกันไม่ให้ปญ ั หาเดิมเกิดซ�า้ ถือเป็นการ สร้างความน่าเชื่อถือให้กับระบบการผลิต แนวทางดังกล่าวจะเกิดประสิทธิผลก็ตอ่ เมือ่ องค์กรด�าเนิน ตามแนวคิดลีนและกิจกรรมบ�ารุงรักษาทวีผลทีท่ กุ คนมีสว่ นร่วม (TPM) อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ มอบหมายให้สมาชิกทีมงานทุกคน มีส่วนร่วมระบุสาเหตุหลักแห่งความสูญเปล่า

ความสูญเปล่าที่เกิดในงานบ�ารุงรักษา

จ�าแนกได้เช่นเดียวกับในสายการผลิต ได้แก่ การรอคอย (Waiting)

เป็นเวลาทีส่ ญ ู เสียโดยไม่ได้เกิดงานหรือสร้างคุณค่า เช่น ปัญหาเครือ่ งจักรขัดข้อง ส่งผลให้ตอ้ งหยุดการผลิต ท�าให้เกิดการรอคอยเพือ่ ด�าเนินการแก้ ไข

การผลิตมากเกินไป (Overproduction)

ด�าเนินการบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันและคาดการณ์บ่อยครั้งเกินความจ�าเป็น (Over-Maintenance) ท�าให้เกิดค่าใช้จ่ายสูงแต่ไม่สร้างคุณค่าเพิ่ม

การเกิดของเสีย (Defects)

บ่อยครัง้ ทีง่ านบ�ารุงรักษามีการด�าเนินการแก้ไขซ�า้ จากปัญหาเดิมทีเ่ คยเกิดขึน้ เนือ่ งจากการด�าเนินการแก้ไขไม่เหมาะสมหรือขาดการวิเคราะห์สาเหตุหลัก ของปัญหาอย่างเป็นระบบ หรืออาจเกิดจากการฝึกอบรมพัฒนาทักษะไม่เพียงพอและก�าหนดรายละเอียดมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานไม่เหมาะสม

ความสูญเปล่าทางกระบวนการ (Process Waste)

เกิดจากกระบวนการท�างานไม่เหมาะสม ในส่วนงาน Breakdown Maintenance จ�าเป็นต้องด�าเนินการแก้ ไขอย่างรวดเร็ว แต่บางครั้งช่างใช้เวลามาก เกินไป เนื่องจากมุ่งแก้ ไขหรือปรับแต่งเครื่องเกินความจ�าเป็น

การขนส่ง (Transportation)

เครื่องมือและอะไหล่ที่จ�าเป็นหรือที่ใช้เป็นประจ�า เช่น แบบเครื่องจักร ประวัติการซ่อม มักถูกจัดเก็บไม่เป็นระบบ จึงท�าให้ต้องเสียเวลาค้นหาเครื่องมือ และอะไหล่ที่จ�าเป็นต้องใช้หรือใช้ประจ�า ถูกจัดเก็บไม่เป็นระบบจึงท�าให้ต้องเสียเวลาในการค้นหา

การเคลื่อนไหว (Motion)

ความสูญเปล่าจากการเคลือ่ นไหวมักเกิดในงานบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน เช่น ตรวจสอบระบบปัม๊ ทุกเดือนทัง้ ทีย่ งั มีสภาพปกติและอยูใ่ นช่วงรับประกัน ถือเป็น กิจกรรมที่ไม่มีผลต่อการปรับปรุงสมรรถนะการเดินเครื่องจักร ควรตรวจสอบจากประวัติที่บันทึกและด�าเนินการปรับแผนรอบระยะเวลาให้เหมาะสม

ความสูญเสียจากการสต็อก (Inventory)

ห้องสโตร์ส�าหรับงานบ�ารุงรักษาส่วนใหญ่ จะมีอุปกรณ์และอะไหล่ที่จ�าเป็นประมาณ 65% และอีก 35% เป็นอะไหล่ที่ไม่ค่อยถูกเบิกใช้งานและมัก เสื่อมสภาพ ทั้งยังอาจมีสต็อกที่ไม่ได้ถูกบันทึกหรือจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ ซึ่งส่งผลต่อความพร้อมใช้งาน

issue 166 december 2016


78 PRODUCTIVITY BOOSTER

การด� า เนิ น กิ จ กรรมเพื่ อ ลดความสูญเปล่าตามแนวทาง Lean Maintenance จะใช้แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping) เพือ่ วิเคราะห์ความสูญเปล่าทีเ่ กิดในงานบ�ารุงรักษา ท�าให้ทมี งาน สามารถมองเห็ น ภาพรวมกระบวนการ โดยมี ก ารท� า งาน ร่วมกันระหว่างทีมงานบ�ารุงรักษากับผูเ้ กีย่ วข้องเพือ่ ร่างแผนภูมิ กระบวนการโดยรวมของกิจกรรมบ�ารุงรักษาที่ด�าเนินการใน ปัจจุบัน (Current State) ผลการวิเคราะห์ด้วยสายธารแห่งคุณค่าจะแสดงข้อมูลที่ จ�าเป็นส�าหรับกิจกรรมไคเซ็น ได้แก่ • ขัน้ ตอนกระบวนการไหลของงานตัง้ เริม่ ต้นจนถึงเสร็จสิน้ • กิจกรรมซ่อนเร้นที่ไม่สร้างคุณค่าให้กับกระบวนการ • ขั้นตอนการท�างานที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดความ สูญเปล่า • กิจกรรมที่ถูกเพิ่มเข้าไปในการท�างานแต่ไม่สร้างคุณค่า เพิ่มและขจัดออกได้ทันที ซึ่งการเชื่อมโยงการไหลทรัพยากรกับข้อมูล หลังจากที่ ด�าเนินการวิเคราะห์เพือ่ จ�าแนกสาเหตุหลักความสูญเปล่าเสร็จสิน้ ก็ จ ะมี ก ารระบุ แ นวทางปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายการ บ�ารุงรักษาแบบลีน ซึง่ รากฐานส�าคัญของการบ�ารุงรักษาแบบลีน คือ ประสิทธิผลโครงการบ�ารุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance) หรือ TPM

Safety, Health and Enviroment

Office TPM

Training

Quality Maintenance

Planned Maintenance

Kobetsu Kaizen

Autonomous Maintenance Jishu Hozen)

PILLARS OF TPM

5S เสาหลักสนับสนุน TPM

เสาหลักสนับสนุน TPM TPM เป็นการบ�ารุงรักษาที่มุ่งเป้าหมายให้พนักงานทุกคน มีส่วนร่วม ท�าให้การด�าเนินการทั่วทั้งองค์กรมักเกิดอุปสรรค และผลกระทบต่ อ นโยบายระดั บ บริ ห ารตลอดจนบุ ค ลากร ทุกระดับ ดังนัน้ การด�าเนินโครงการ TPM ควรมีคณะกรรมการ ได้แก่ หัวหน้าช่างบ�ารุงรักษา ผู้ควบคุมงาน และผู้ปฏิบัติงาน แต่ละพื้นที่ เพื่อประสานความร่วมมือกับทีมงาน TPM ในการ ก�าหนดกิจกรรมปรับปรุงเครื่องจักรและจ�าแนกงานบ�ารุงรักษา เชิงป้องกัน ที่สามารถถ่ายโอนให้กับผู้ควบคุมเครื่องจักรที่ พิจารณาระดับทักษะ รวมถึงฝึกอบรมการบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน ระดับพืน้ ฐาน อาทิ ระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ าน การบ�ารุงรักษาประจ�าวัน และการจั ด ท� า แผนงานตามรอบเวลาให้ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านระดั บ สายการผลิตซึ่งเป็นการแบ่งเบาภาระงานให้กับฝ่ายบ�ารุงรักษา MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บทบาทความรับผิดชอบพนักงานโครงการ TPM

พนักงานบ�ารุงรักษา

บทบาท • ป้องกันการเกิดเครื่องจักร ขัดข้อง • ให้บริการการซ่อมบ�ารุง ความรับผิดชอบ • ให้การอบรมต่อพนักงาน ปฏิบัติการ • ด�าเนินการแก้ปัญหา • ประเมินผลการปฏิบัติงาน

พนักงานปฏิบัติการ

บทบาท • ให้การดูแลเครื่องจักรและ ระบบสนับสนุน ความรับผิดชอบ • ปฏิบัติการอย่างถูกวิธีและ เหมาะสม • ตรวจจับปัญหาที่เกิดขึ้น • ด�าเนินกิจกรรมดูแล เครื่องจักร

ส่วนขัน้ ตอนด�าเนินการบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง ได้แก่ การจัด เตรี ย มบุ ค ลากร การท� า ความสะอาดเครื่ อ งจั ก รเบื้ อ งต้ น ด�าเนินการแก้ปัญหา มาตรฐานบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง การ ตรวจสอบทั่วไป การตรวจสอบด้วยตนเอง การจัดท�าเป็น มาตรฐาน การบริหารจัดการด้วยตนเอง โดยทั่วไปกิจกรรม ไคเซ็นจะด�าเนินการตามวงจร PDCA แต่กิจกรรมบ�ารุงรักษา ด้วยตนเองจะมีการหมุนตามวงจร CAPD เพื่อมุ่งการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง ดังนี้ • Check (C) การตรวจสอบสถานะปัจจุบนั และค้นหาปัญหา ที่เกิดขึ้น • Act (A) ด�าเนินการแก้ไขปัญหา • Plan (P) วางแผนป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นซ�้าอีก • ด�าเนินการตามข้อก�าหนดมาตรฐาน (D) เพื่อป้องกัน ความผิ ด พลาดไม่ ใ ห้ ป ั ญ หาเดิ ม เกิ ด ขึ้ น อี ก จึ ง มี ก าร ย้อนกลับไปยังการ Check โดยมีการด�าเนินตามวงจร CAPD อย่างต่อเนื่องจนได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย • สร้างระบบควบคุมด้วยการมองเห็น (Visual Control) เพือ่ ให้ ผู้ปฏิบัติงานสะดวกต่อการตรวจจับปัญหาและสามารถเข้าถึง จุดที่ยากต่อการตรวจสอบ • ก�าหนดความถี่และวิธีการด�าเนินกิจกรรม อาทิ การท�าความ สะอาด การหล่อลื่น การขันแน่น รวมถึงการให้ค�าแนะน�ากับ ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปัญหาการท�างาน • จัดเตรียมเครื่องมือที่จ�าเป็นไว้ในพื้นที่ท�างานเพื่อให้สามารถ หยิบใช้งานได้สะดวก • เตรียมใบงานแสดงการขัดข้องเพือ่ ใช้วเิ คราะห์ปญ ั หาและแก้ไข ความผิดปกติที่ตรวจพบ • ท�าการสาธิต แนวทางด�าเนินการบ�ารุงรักษาเชิงป้องกันและ การบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง • ก� า หนดมาตรฐานการหล่ อ ลื่ น และด�า เนิ น การตรวจสอบ แรงดัน อุณหภูมิ มาตรฐานการท�าความสะอาด


PRODUCTIVITY BOOSTER 79

จุดตรวจสอบ

ใคร

การด�าเนินการ

ความถี่

ความดันน�้ามัน

ผู้ควบคุมเครื่อง

อ่านค่า

รายวัน

ระดับน�้ามัน

ผู้ควบคุมเครื่อง

เติมน�้ามัน

รายวัน

ตัวกรองน�้ามัน

ช่างเทคนิค

ท�าความสะอาด

รายเดือน

สายพาน

ช่างเทคนิค

ปรับความตึง สายพาน

รายเดือน

การก�าหนดรายละเอียดกิจกรรมบ�ารุงรักษา ส�าหรับประเด็นเครื่องจักรเกิดปัญหาขัดข้องจะเกิดการ รอคอยชิ้นส่วนอะไหล่ ท�าให้เกิดความสูญเสียเวลารอคอยและ ส่งผลกระทบต่อสายการผลิต ดังนัน้ จึงจ�าเป็นต้องบริหารจัดการ คลังอะไหล่ ปัจจัยที่สามารถลดผลกระทบต่อการตอบสนอง การให้บริการ อาทิ - อายุเครื่องจักร - อัตราการใช้อะไหล่ - แหล่งจัดหาจัดซื้อ - ระยะเวลาการส่งมอบและความพร้อมอะไหล่ในตลาด โดยห้องจัดเก็บอะไหล่ตามแนวคิดลีน ควรมีสโตร์ย่อย เพื่อจัดเก็บชิ้นส่วนอะไหล่ไว้หลายแห่งภายในโรงงาน แทนการ จัดเก็บเฉพาะในสโตร์กลาง สโตร์ย่อยจะจัดเก็บเฉพาะอะไหล่ ที่ ถู ก เบิ ก ใช้ ป ระจ� า ไว้ บ ริ เวณใกล้ จุ ด ใช้ ง าน เพื่ อ สะดวกต่ อ การหยิบหรือเบิกใช้งาน เพื่อประหยัดเวลาในการค้นหาและ ลดเวลารอคอย รวมถึงลดปริมาณการสต็อกส�ารองอะไหล่ ที่ ห ลากหลายประเภท ท� า ให้ ต ้ น ทุ น การจั ด หาจั ด ซื้ อ และ เก็บรักษาลดลง

วงจรบ�ารุงรักษาด้วยตนเอง (CAPD) กับวงจร PDCA

C

Action

A p

D

check

plan

a

p

C

d do

การจัดเก็บอะไหล่ตามมาตรฐาน

ปัจจัยสนับสนุนความส�าเร็จในการลดความสูญเปล่างาน บ�ารุงรักษา ตามแนวคิดลีน คือ การมุ่งมั่นพัฒนาวิธีการท�างาน โดยให้ความส�าคัญกับเนือ้ งาน วิธกี าร ล�าดับขัน้ ตอน เป้าหมาย ที่คาดหวังและความร่วมมือของพนักงานทุกระดับ ทั้งยังให้ ความส�าคัญกับพนักงานทุกคนเสมือนเป็นสินทรัพย์ที่มีคุณค่า ต่อองค์กร บทบาทหัวหน้างานและผู้บริหารจึงต้องเปลี่ยนจาก ผู้สั่งการและควบคุมเป็นผู้สนับสนุน ให้สมาชิกทุกคนมีอิสระ ต่อการแลกเปลี่ยนหรือเสนอความคิดเห็น ซึ่งก่อให้เกิดการ ถ่ายทอดข้อมูลและเกิดการพัฒนาสร้างทักษะแก้ปัญหาที่เกิด จากการท�างาน

EXECUTIVE SUMMARY Maintenance procedure that operate through lean maintenance method is focusing to eliminate waste from maintenance process. This method will analyze the main cause of the problem with systematic logic to resolve and prevent the problem that might be repeat. This method proves reliability of manufacturing system. This method will take an effect when the organization act with lean idea and TPM continuously and also assign a duty for every staff to identify the cause of waste. The role of manager and executive must be changed from commander into supervisor and supporter in order to make every member have freedom and feel free to exchange or recommendation which will lead to information exchange and cause skill development to solve the problem that occurred from work. issue 166 december 2016


80 PRODUCTIVITY BOOSTER เรื่อง: กมล ดุรงค์กนกพันธ์ วิทยากรที่ปรึกษาอิสระในด้านการบริหารคุณภาพและการวางกลยุทธ์องค์กร

การลดเวลา

การปรับตัง้ เครือ่ งจักร

เพื่อเพิ่ม ก�ำลังกำรผลิต

5

% ขึ้นไป

ยุคที่ 4 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 จนถึงปัจจุบัน เราเรียกยุคนี้ว่า ‘Industrial 4.0’ เป็นยุคที่ต่อยอด จากยุคที่ 3 เป็นการผสมผสาน พลังงานกล พลังงาน ไฟฟ้า โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และท�าการเชื่อมต่อ เครือข่าย Internet of Things (IoT) เพื่อยกระดับ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ต้องติดตั้งใน เครื่องจักร มาเป็นการเขียนโปรแกรมลง Application Android เพื่อควบคุมการท�างานของเครื่องจักร และท�าการเชื่อมต่อเครื่องจักรโดยติดตั้งสัญญาณ รับ-ส่ง WIFI เข้าสู่ระบบ Intranet ในองค์กร และ เมื่อพบว่าเครื่องจักรเสียกะทันหัน หรือ หยุดชะงักงัน สามารถปรับโหมดเครื่องจักร กลับสู่สภาวะ การท�างานแบบการตั้งค่าเริ่มต้นจาก โรงงาน (Back to Factory setting) ตามสภาวการณ์ดังกล่าว มีความ สลับซับซ้อนที่สูงมาก ทั้งระบบ การผลิต การซ่อมบ�ารุงตาม คาบเวลา รวมถึงการปรับตั้ง ปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อเปลี่ยนรุ่นการผลิต

การปฏิวัติ

โลกอุตสาหกรรมทั้ง

4 ยุค

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จากทีผ่ เู้ ขียนมีประสบการณ์ในด้านการเป็นวิทยากรทีป่ รึกษาอิสระ ซึง่ แต่เดิม สั ง กั ด สถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่ ง ชาติ ด้ า นการเพิ่ ม ผลิ ต ภาพและปั จ จุ บั น ได้ ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการฝ่ายคุณภาพในบริษัทท�าการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึง่ ด้วยต�าแหน่งหน้าทีน่ ี้ ได้เป็นทีป่ รึกษากลุม่ การปรับปรุง โดยใช้เทคนิคการลดเวลาในการปรับตั้งเครื่องจักร โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคนี้ เป็นการลดเวลาเพื่อน�าไปสู่ก�าลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 50% ขึ้นไป ตามที่ได้เกริ่นมา เมื่อน�ามาเชื่อมโยงหลักการ การลดเวลาการปรับตั้ง เครื่องจักรตามหลักการลีน เพื่อเพิ่มเวลาในการผลิต ลดความสูญเปล่าใน สายการผลิต ท้ายที่สุดน�าไปสู่การยกระดับผลิตภาพให้สูงขึ้น อาจจะเป็นวิชาที่ ล้าสมัยภายในอีก 2-3 ปีข้างหน้า

ยุคที่ 1 ในช่วง สงครามโลกถึงช่วงศตวรรษที่ 18 เราเรียกยุคนี้ว่า ‘Industrial 1.0’ คือ เป็นการ เปลี่ยนแปลงจากระบบการผลิตภายในครอบครัว เมื่อผลิตแล้ว น�าออกจ�าหน่ายในสถานที่ก�าหนด เช่น การตัดเย็บเสื้อผ้าแล้วน�าเสื้อผ้าไปจ�าหน่ายในตลาด เมือ่ ความต้องการมากขึน้ ท�าให้การผลิตแบบครอบครัวไม่สามารถรองรับการผลิตจ�านวนมากได้ จึงต้องใช้เครื่องจักรเข้าช่วย เช่น เครื่องทอผ้า จักรเย็บผ้า ซึ่งเครื่องจักรในยุคนี้เป็นแบบ ใช้พลังงานกลเป็นหลักแต่เป็นการผลิตที่ไม่สามารถรองรับการผลิตแบบมากๆ ได้ เครื่องจักรในยุคนี้เป็นแบบ Single Station เรียกว่า สถานีเดี่ยว

ยุคที่ 2 ในช่วง ศตวรรษที่ 18 ถึงช่วงต้นศตวรรษ ที่ 19 เราเรียกยุคนี้ว่า ‘Industrial 2.0’ คือ เป็นการ ยกระดับจากยุค Industrial 1.0 โดยการท�า การผลิตแบบมากๆ และการไหลจากกระบวนการหนึ่ง ไปสู่อีกกระบวนการหนึ่งใช้สายพานที่ขับเคลื่อนด้วย พลังงานไฟฟ้าเป็นหลัก การประยุกต์เครื่องจักรจะใช้ พลังงานไฟฟ้าร่วมกับพลังงานกล

ยุคที่ 3 ปลายศตวรรษที่ 19 เข้าสู่ศตวรรษที่ 20 เราเรียกยุคนี้ว่า ‘Industrial 3.0’ เป็นยุคที่ต้องการความสม�่าเสมอในการผลิต สามารถจับเวลาการผลิตของเครื่องจักรเพื่อการวางแผนการผลิตในแต่ละวันได้ โดยการประยุกต์ ใช้ Programmable Logic Controller (PLC) ควบคุม กล่าวคือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ไม่สลับซับซ้อนจนถึงระดับสูงหรือระบบอัตโนมัติ มาใช้ในการควบคุมเครื่องจักร เพื่อให้เครื่องจักรท�างานสม�่าเสมอตลอดช่วงเวลา และประยุกต์ ใช้พลังงานกล พลังงานไฟฟ้า และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประยุกต์และท�างานร่วมกัน ดังนั้น ผู้ที่ควบคุมเครื่องจักร ไม่ว่าจะเป็นช่างซ่อมบ�ารุง ช่างเทคนิค ช่างปรับตั้งเครื่องจักร วิศวกร จ�าเป็นต้องมีความรู้ ความช�านาญ ในด้านระบบเครื่องกล ระบบไฟฟ้า และระบบการควบคุมเครื่องจักร โดยใช้คอมพิวเตอร์ และท�างานร่วมกันเป็นทีมงาน ในการซ่อมบ�ารุง การปรับตั้งเครื่องตอนเช้า เพื่อท�าการผลิต และการปรับเปลี่ยนรุ่นในการผลิต เป็นต้น


PRODUCTIVITY BOOSTER

จากการพิจารณาหลักการลดเวลา ในการปรับตั้งเครื่องจักรพบว่า… • ควรเริม่ จากการพิจารณาเครือ่ งจักรหลักในการผลิต กล่าวคือ ท�าการเลือกเครื่องจักรที่มียอดการผลิตสูงสุด มีมูลค่าของ ราคาซึ้อที่สูงด้วย เนื่องจากการที่เครื่องจักร ราคาสูงย่อมต้อง ถู ก คาดหวั ง ว่ า จะต้ อ งท� า การผลิ ต หรื อ การเดิ น เครื่ อ งอย่ า ง

A

อัตราการเดินเครื่อง (Availability: A) มาจากอั ต ราส่ ว นของเวลาเดิ น เครื่ อ ง ต่อเวลาการรับภาระงาน โดยมีสาเหตุจากเวลา ที่หายไปจากการหยุดพักเที่ยงกับพักระหว่างกะ ให้ เ วลาพนั ก งานท� า ความสะอาดพื้ น ที่ แ ละ เครื่องจักรเพื่อการต่อกะ การประชุมเช้า เพื่อ การสื่อสารให้กับพนักงานในฝ่ายผลิตในเรื่อง ของเป้ า หมายการผลิ ต ยอดการผลิ ต เมื่ อ เทียบกับเป้าหมาย ปัญหาคุณภาพผลิตภัณฑ์ ปั ญ หาเครื่ อ งจั ก รและปั ญ หาความปลอดภั ย ในสถานที่ปฏิบัติงาน รวมถึง เวลาการปรับตั้ง เครื่องจักรเมื่อเริ่มเดินเครื่องในช่วงเช้า และเวลา ในการเปลี่ยนรุ่นตามความต้องการของลูกค้า

81

ต่อเนื่อง เช่น เดินเครื่อง 22 ชั่วโมงต่อวัน ต่อเนื่องกัน 24 วัน ต่อเดือน ไร้การหยุดชะงักงันหรือซ่อมบ�ารุงให้น้อยที่สุด • จากนั้นจึงใช้แนวทางการวัดประสิทธิภาพเครื่องจักร ผ่านการวัดผลแบบ OEE (Overall Equipment Effectiveness) มาวัดผลลัพธ์จากการใช้ประสิทธิภาพเครือ่ งจักรอย่างสูงสุด โดย พิจารณาจากค่า 3 ค่า ดังต่อไปนี้

P

ประสิทธิภาพในการเดินเครื่อง (Performance: P) มาจากอัตราส่วนของเวลา อัตราเดินเครือ่ ง สุ ท ธิ กั บ เวลาเดิ น เครื่ อ งซึ่ ง มี ส าเหตุ ม าจาก เครื่ อ งจั ก รเสี ย กั บ ความเร็ ว ลดลงจากความ เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานของเครื่องจักร เช่ น เดิ น เครื่ อ งด้ ว ยความเร็ ว ที่ ล ดลงจาก ความเสื่อมของเฟือง ระบบการหล่อลื่น เป็นต้น

การลดเวลาในการปรับตั้งเครื่องจักรนั้นเริ่มจาก: • การเลือกเครื่องจักร แล้ววัดประสิทธิภาพเครื่องจักร ผ่านการวัดค่า OEE • จัดตั้งทีมงานเพื่อการปรับปรุง โดยควรมาจากฝ่ายซ่อม บ� า รุ ง ฝ่ า ยการผลิ ต ฝ่ า ยวิ ศ วกรรม ฝ่ า ยคุ ณ ภาพ รวมถึ ง ผู้จัดจ�าหน่ายเครื่องจักร • ขัน้ ตอนถัดไปควรท�าการประชุมร่วมกันเพือ่ เขียนขัน้ ตอน ในการปรับตั้งเครื่องจักรโดยทั่วไป ควรเริ่มจาก 1. การหยุดเครื่อง แล้วจึงไปพิจารณาแผนการผลิต

Q

อัตราคุณภาพ (Quality: Q) ซึ่ ง มาจากอั ต ราส่ ว นของชิ้ น งานดี กั บ ชิ้นงานเสียและซ่อมแซมให้ดี (Rework) โดย การวัดประสิทธิภาพดังกล่าว จะท�าให้ทราบว่า การที่เราลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักรจะส่งผล ท�าให้เครื่องจักรเดินอย่างต่อเนื่อง เพื่อท�าการ ผลิตให้มากขึน้ แล้วนัน้ ยังสามารถท�าการวางแผน การผลิตอย่างแม่นย�าเพือ่ การให้พนั ธสัญญาต่อ ลูกค้าในการส่งมอบสินค้าให้ตรงเวลาอีกด้วย

2. น�าวัตถุดิบใหม่เข้าสายการผลิต จัดเตรียมชุด Tooling 3. น�างานระหว่างผลิตรุ่นเดิมออก 4. น�าชุด Tooling ของสินค้ารุ่นก่อนออก 5. ติดตั้ง Tooling เข้าเครื่อง 6. Load วัตถุดิบใหม่เข้าเครื่อง 7. ปรับตั้งเครื่องจักร 8. และเริ่มการเดินเครื่อง เพื่อทดลองและวัดผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เป็นไปตามข้อก�าหนดของลูกค้า จนกระทั่ง ได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีชิ้นแรกออกมา

issue 166 december 2016


82 PRODUCTIVITY BOOSTER

จากการหยุดเครื่องจักรดังกล่าว งานทุกอย่างจะถูกมองว่าเป็นกิจกรรมภายใน (คือกิจกรรมที่กระท�าได้ต่อเมื่อ เครื่องจักรหยุดท�างานไม่สามารถผลิตงานได้) ดังนั้น ล�ำดับแรก ในการปรับปรุง ควรจะแยกกิจกรรมภายนอก (คือกิจกรรมที่สามารถ กระท�าได้ แม้ว่าเครื่องจักรจะท�างานอยู่ในระดับก�าลังการผลิตที่สูงที่สุด) ออกจาก กิจกรรมภายใน เพือ่ ท�าให้เวลาการปรับตัง้ ลดลง โดยการยึดเวลาการผลิตงานก่อนหยุด เครื่องจักรและเริ่มการผลิตงานหลังการหยุดเครื่องจักรให้เร็วขึ้น ล�ำดับสอง คือ ปรับปรุงอุปกรณ์ เครื่องมือ ให้สะดวกต่อการปรับตั้ง เช่น ประแจ รูปตัว L ซึ่งมีขนาดสั้นและยากในการไข เข้า-ออก ในการปรับเปลี่ยนแม่พิมพ์ ให้ยาวขึ้น เพื่อสะดวกในการด�าเนินงาน หรือการปรับ Guild Pins เพื่อไม่จ�าเป็นต้องเล็งให้ตรงกับ แท่นเครื่องจักร เป็นต้น ล�ำดับสุดท้ำย ในการปรับปรุง คือ การใช้เทคโนโลยี เพื่อการปรับเปลี่ยน เช่น การ ออกแบบแม่พิมพ์ การฉีดพลาสติกให้เป็นรูปแบบเดียวกัน และการน�าเข้า-ออกแม่พิมพ์ การฉีดพลาสติกจากด้านบน ปรับเปลี่ยนมาเป็นด้านข้างเพื่อลดขั้นตอนที่ไม่จ�าเป็นลง โดยในการปรับปรุงแบบนี้ จ�าเป็นต้องใช้งบประมาณเป็นจ�านวนมาก

จากประสบการณ์ที่เข้าให้ค�าปรึกษาในโรงงานระดับกลาง และขนาดย่อมที่มีงบประมาณจ�ากัด จึงจ�าเป็นต้องปรับปรุง เครือ่ งจักร โดยการจัดการปรับปรุงล�าดับขัน้ แรกและขัน้ ทีส่ องก่อน เมื่อเครื่องจักรถูกใช้งานมาเป็นเวลานาน ความเสื่อม ความเก่า และความล้าหลังทางเทคโนโลยีในการผลิต ท�าให้เกิดการผลิต ที่ ล ้ า หลั ง คู ่ แข่ ง ไม่ ต อบสนองต่ อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า จึ ง จ� า เป็ น ต้ อ งจั ด หาแหล่ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ สั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งจั ก รใหม่ หรือยกระดับเครื่องจักรโดยออกแบบส่วนการเข้า-ออกของ ชุดเครื่องมือ (Tooling) และท�าให้ชุดเครื่องมือเป็นมาตรฐาน ร่วมกัน เพื่อลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักรให้ลดลง ในขั้ น ตอนการสั่ ง เครื่ อ งจั ก รใหม่ นั้ น ควรศึ ก ษาและน� า ประสบการณ์ที่พบจากเครื่องจักรปัจจุบัน น�าไปเป็นข้อมูล ในการออกแบบเพื่อลดเวลาการปรับตั้ง โดยการออกแบบนี้ จะรวมถึ ง การออกแบบแม่ พิ ม พ์ แ บบเดี ย วกั น ทั้ ง หมดและ ออกแบบให้การเปลีย่ นรุน่ ดังกล่าว ใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ ราว 1 นาที ด้วยวิธีการกดปุ่ม เพียงปุ่มเดียว เมื่ อ โลกอุ ต สาหกรรมที่ เ ราเผชิ ญ อยู ่ ก ลายเป็ น โลก อุตสาหกรรมแบบ Industry 4.0 นี้ ท�าให้การออบแบบชุด

Hardware พร้อมกับ การพัฒนา Software โดยการเขียน โปรแกรมผ่าน Application ดังกล่าว ท�าให้ไม่จ�าเป็นต้อง พึ่ ง พาหลั ก การการลดเวลาการปรั บ ตั้ ง เครื่ อ งจั ก รอี ก ต่ อ ไป โลกอุตสาหกรรมจะเปลี่ยนโฉมหน้าไปเป็นการตวัดนิ้วเพียง ครั้งเดียวเพื่อปรับเปลี่ยนดังกล่าว โดยที่เวลาจะลดลงต�่ากว่า 1 นาที เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม หลักการลดเวลาการปรับตั้งนี้ อาจจะเป็นวิชาที่ล้าสมัยซึ่งคาดว่าอีกภายใน 2-3 ปีข้างหน้า ก็เป็นได้ ท้ายที่สุด หลักการนี้จะใช้ได้กับเครื่องจักรในยุค Industrial 1.0, 2.0 และ 3.0 เท่านั้น ซึ่งจะใช้ได้กับธุรกิจแบบ SMEs แต่ อาจจะไม่ตอบโจทย์ของเครือ่ งจักรในยุค Industry 4.0 อีกต่อไป

หากมีขอ้ สงสัยเพิม่ เติม สามารถสอบถามได้ที่

Email : kamold2208@gmail.com

EXECUTIVE SUMMARY To reduce machine setup time for industrial’s support with 50% more productivity, it should start with considering on main manufacturing machinery. First, choose the most productivity machine and then evaluate the machine capability through Overall Equipment Effectiveness (OEE) method to investigate the best performance of the machine. The factors that should be considering are operating rate, operating efficiency.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร RESEARCH & DEVELOPMENT 83

การเปรียบเทียบ ศักยภาพ

‘น�้ำมันหล่อเย็น ชีวภำพ’ เพื่อการขึ้นรูปโลหะ

สารหล่อเย็นหรือน�้ามันหล่อเย็น (Cutting Fluid) ในงาน ขึ้นรูปโลหะ มีหน้าที่หลักในการระบายความร้อน หล่อลื่น ลดแรงเสี ย ดทาน และปกป้ อ งไม่ ใ ห้ เ กิ ด สนิ ม นอกจากนี้ สารหล่อเย็นยังเป็นทรัพยากรในกระบวนการผลิตทีม่ นี ยั ส�าคัญ ของการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� า งานของเครื่ อ งจั ก ร ในกระบวนการผลิตอีกด้วย ท่ามกลางการขับเคลื่อนของโลกอุตสาหกรรมการผลิตที่มี การใช้ทรัพยากรหลากหลายในปริมาณทีเ่ พิม่ สูงขึน้ และบางครัง้ ยังเกิดภาวะการขาดแคลนทรัพยากร การปนเปื้อนสารเคมี ตลอดจนภาวะโลกร้ อ นที่ เข้ า มามี ผ ลกระทบมากขึ้ น อย่ า ง เห็นได้ชัด ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานเชื้อเพลิงเพิ่มสูงขึ้น รวมไปถึงนโยบายภาครัฐและแผนยุทธศาสตร์ที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสารหล่อลื่นที่ได้จากพลังงานทางเลือก โดยน�า ส่วนประกอบจากสารชีวภาพมาเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ใน การประยุกต์ใช้ เนื่องจากสารชีวภาพมีผลกระทบต่อร่างกาย ผู้ปฏิบัติงานน้อยกว่า และนี่เองเป็นเหตุผลส�าคัญที่ท�าให้มี การน�าเมล็ดพืชมาพัฒนาเพื่อประยุกต์ใช้เป็นน�้ามันหล่อเย็น issue 166 december 2016


84 RESEARCH & DEVELOPMENT

กราฟแสดงผลการทดสอบความเรียบของผิววัสดุ ที่ความเร็วละสัดส่วนน�้ามันต่างๆ

ปัจจัยและขั้นตอนการทดสอบ ในกระบวนการท�างานของน�้ามันหล่อเย็น ปัจจัยที่ต้องค�านึงถึง ได้แก่ ความแร็วในการตัด อัตราการป้อน ความลึกของการตัด มุมของการตัด และวัตถุดิบ ซึ่งถือเป็นเป้าหมายและผลที่คาดหวังของการใช้งานน�้ามัน หล่อเย็นชีวภาพ เมล็ดแตงโมและเมล็ดสะเดาที่ได้นั้น จ�าเป็นต้องตากแดดให้สารที่ เคลือบเมล็ดหายไปเสียก่อน จากนั้นจึงน�ามาบดให้มีสภาพเหมือนครีม ก่อนทีจ่ ะน�าไปใส่ถงั ทีม่ นี า�้ เดือดและน�าเข้าเตาอบในห้องทดลองทีม่ อี ณ ุ หภูมิ ระหว่าง 120 – 140 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 นาที โดยประมาณ จากนั้นน�าไปห่อผ้าเพื่อกรองและใช้เครื่องจักรอัดแรงลงไปจนกระทั่งไม่มี น�้ามันออกมา จึงส�าเร็จขั้นตอนการสกัดน�้ามัน ส�าหรับการทดสอบสถานะของน�้ามันนั้น ใช้การทดสอบมาตรฐาน ASTM D 97, ASTM D 1298, ASTM D 93, ASTM D445, SLFA2800 ด้วยเครื่อง SN40B จาก TEX TRENCIN Lathe Machine สถานะที่ท�าการวิเคราะห์

น�้ามันเมล็ดสะเดา

น�้ามันเมล็ดแตงโม

ภายใต้แรงโน้มถ่วงจ�าเพาะ 15/40 ๐C

0.9304

0.9324

Flash Point ๐C

157

117

Pour Point ๐C

+8

-8

Kinematic Viscosity (100๐)

8.08

8.56

% Wt Sulphur

0.0293

PH

5.6

100%

> Surface roughness at 250 rpm, 100% oil Neem

0.323

Water melon

0.173

Cutting oil

0.002

Dry cutting

1.311

> Surface roughness at 710 rpm, 100% oil Neem

0.002

Water melon

0.003

Nil

Cutting oil

0.002

5.5

Dry cutting

0.003

ตารางที่ 1: ตารางแสดงสถานะของน�้ามันพืชที่ทดสอบ > Surface roughness at 180 rpm, 100% oil

การทดสอบภายใต้อุณหภูมิสภาพแวดล้อมคงที่ 34 องศาเซลเซียส แบ่งการทดสอบออกเป็น 3 ชุด แต่ละชุดแบ่งอัตราส่วนผสมของน�้ามัน กับน�้าเป็น 3 แบบ คือ อัตราส่วน 50 : 50 อัตราส่วน 25 : 75 และ 100% ผลการทดสอบ มีดังนี้ 1. ความเร็วรอบการหมุนอยู่ที่ 250 รอบ / นาที และความลึกของการตัดอยู่ที่ 1 มม. หมายเลข

น�้ามัน

ค่าเฉลี่ยที่เครื่องตรวจจับอ่านได้ 100%

50%

25%

1

น�้ามันทั่วไป

53

40.33

38.33

2

ตัวอย่างแห้ง

50

50

50

3

น�้ามันสะเดา

45

39.66

37.33

4

น�้ามันแตงโม

54.66

42.66

41.33

2. ความเร็วรอบการหมุนอยู่ที่ 710 รอบ / นาที และความลึกของการตัดอยู่ที่ 0.50 มม. หมายเลข

น�้ามัน

1

ค่าเฉลี่ยที่เครื่องตรวจจับอ่านได้

Neem

0.002

Water melon

0.003

Cutting oil

0.002

Dry cutting

0.002

3. ความเร็วรอบการหมุนอยู่ที่ 180 รอบ / นาที และความลึกของการตัดอยู่ที่ 0.75 มม. หมายเลข

น�้ามัน

1

ค่าเฉลี่ยที่เครื่องตรวจจับอ่านได้ 100%

50%

25%

น�้ามันทั่วไป

50

44.33

43.66

2

ตัวอย่างแห้ง

54.66

54.66

54.66

100%

50%

25%

3

น�้ามันสะเดา

45.33

45

42.66

น�้ามันทั่วไป

52.66

44.33

41.33

4

น�้ามันแตงโม

54.66

47.66

43.66

2

ตัวอย่างแห้ง

57.33

57.33

57.33

3

น�้ามันสะเดา

45

45.66

43

4

น�้ามันแตงโม

52

47.66

41

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผลการทดลอง เมื่อส�ารวจค่าความหนืดของสารหล่อลื่นที่อุณหภูมิ 100 �C พบว่า น�า้ มันจากเมล็ดสะเดามีคา่ อยูท่ ี่ 8.08 และน�า้ มันจากเมล็ดแตงโมอยูท่ ี่ 8.56


RESEARCH & DEVELOPMENT 85

50%

25%

> Surface roughness at 250 rpm, 25% oil

> Surface roughness at 250 rpm, 50% oil Neem

1.427

Neem

0.488

Water melon

0.662

Water melon

0.002

Cutting oil

0.725

Cutting oil

0.682

Dry cutting

1.311

Dry cutting

1.311

> Surface roughness at 710 rpm, 25% oil

> Surface roughness at 710 rpm, 50% oil Neem

0.003

Neem

0.003

Water melon

0.305

Water melon

0.002

Cutting oil

0.003

Cutting oil

0.003

Dry cutting

0.003

Dry cutting

0.003

> Surface roughness at 180 rpm, 25% oil

> Surface roughness at 180 rpm, 50% oil Neem

0.416

Neem

0.002

Water melon

0.265

Water melon

0.002

Cutting oil

0.003

Cutting oil

0.002

Dry cutting

0.002

Dry cutting

0.002

จากผลการทดสอบ พบว่า น�้ามันที่มาจากเมล็ดพืชสามารถใช้ ทดแทนน�้ามันหล่อเย็นที่มีปิโตรเลียมเป็นพื้นฐานได้อย่างสมบูรณ์ โดยมีการปรับแต่งเพียงเล็กน้อยส�าหรับสูตรและส่วนผสม ซึ่งการใช้ น�า้ มันหล่อเย็นเหล่านีจ้ ะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งพื้นที่ผิวที่ท�าการขึ้นรูปวัสดุที่ใช้น�้ามันหล่อเย็นจากเมล็ดพืช นั้น มีคุณภาพใกล้เคียงกับน�้ามันปิโตรเลียมที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ซึ่งถือว่า เป็นการทดลองที่ประสบผลส�าเร็จ ช่วยลดความเสี่ยงและสารพิษใน การท�างาน รวมถึงรักษาคุณภาพของชิ้นงานที่เกิดขึ้นไว้ได้อย่างดี Source:

Comperative Performance of Neem Seed, Water Melon Seed and Soluble Oils as Metal Cutting Fluids (American Journal of Mechanical Engineering, 2016, Vol. 4, No.4, 142-152)

EXECUTIVE SUMMARY Soluble oil which has petroleum as its base are causing toxic and risk to the health of operator and also cost with valuable resources. The research and development for metal cutting fluids has been provided alternative resources to reduce that harmful risk while maintain the quality as the standard soluble. The oils which made from neem seed and water melon seed have potential that could replace standard soluble oil for metal cutting fluids, particularly the water melon seed that has an interesting quality.

issue 166 december 2016


86 research & development เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

ลดต้นทุนการผลิต...

ด้วยต้นแบบแชสซี ที่มีลักษณะโค้งงอ

ภาพ: http://truckitusa.com/latest-55-chevy-truck-frame/

งานวิ จั ย โครงการประยุ ก ต์ เ ทคนิ ค การขึ้ น รู ป Rail Frame เพื่ อ ใช้ กั บ กระบวนการผลิตแชสซียานยนต์ ภายใต้การสนับสนุนของ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ (MTEC) การทดสอบนีจ้ ะท�าควบคูไ่ ปกับการใช้ซอฟต์แวร์จา� ลองการขึน้ รูปเชิงพาณิชย์ ไปพร้อมกัน ซึ่งผลที่ได้จากการวิจัยนี้ นอกจากจะน�าไปเป็นตัวคูณปรับค่า พยากรณ์ของซอฟต์แวร์แล้ว ยังสามารถน�ามาสร้างสูตรการใช้งานอย่างง่าย ส�าหรับผูป้ ระกอบการทัว่ ไปทีไ่ ม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์การจ�าลองผลได้อกี ด้วย หลังจากนัน้ จึงทดลองขึน้ รูปแชสซีเชิงพาณิชย์โดยใช้ขอ้ มูลทีพ่ สิ จู น์แล้วอีกครัง้ หนึง่ นอกจากจะท�าให้เกิดการใช้เครื่องมือในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ของไทยได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพแล้ ว ยั ง ช่ ว ยให้ เ กิ ด การพั ฒ นาเทคโนโลยี อย่างยั่งยืน เพื่อการแข่งขันในระดับสากลอีกด้วย ผลที่ได้จากการวิจัย ยังสามารถน�ามาสร้างสูตรการใช้งานอย่างง่ายส�าหรับ ผู้ประกอบการทั่วไปที่ไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์การจ�าลองผลได้อีกด้วย รายละเอียดผลงาน งานวิจัยนี้มีแนวคิดในการด�าเนินการศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการขึ้นรูป แชสซี ซึง่ ขึน้ รูปจากโลหะแผ่นความแข็งแรงสูง เพือ่ ผลิตในเชิงพาณิชย์ โดยเริม่ จาก การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการขึ้ น รู ป และสร้ า งฐานข้ อ มู ล การขึ้ น รู ป ของชิ้ น ส่ ว น รางเหล็ก โครงสร้างต้นแบบ (Rail Frame) มาตรฐาน ทั้งแบบรางตรง รางคด สองมิติ และรางคดสามมิติ (Jog Rail) แบบมีปีก (Flanged Jog Rail) ที่ท�าจาก เหล็กแผ่นรีดร้อน โดยปกติยงั คงขาดข้อมูลการวิจยั เพือ่ ปรับปรุงกระบวนการ และ การควบคุมค่าดีดตัวกลับของชิ้นงานอย่างแม่นย�า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

แชสซี (Chassis) Chassis เป็นชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีความส�าคัญมาก เนือ่ งจากแชสซีของยานยนต์ทกุ คัน คือ โครงสร้างทีร่ องรับ ภาระการบรรทุกของรถทั้งคัน จึงต้องเป็นโครงสร้างที่มี ประสิทธิภาพสูง แต่เนื่องจากตัวแชสซีมีรูปร่างซับซ้อน จึงมีข้อจ�ากัดทางด้านการผลิตเพื่อให้ ได้ชิ้นงาน คุณภาพสูงเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากข้อบกพร่อง ใดๆ ที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน ก็จะส่งผลโดยตรง ต่ อ ขี ด จ� า กั ด การรั บ ภาระต่ า งๆ และ ยั ง บั่ น ทอนอายุ ก ารใช้ ง านของ แชสซีนั้นไปด้วย เช่น ขีดจ�ากัด การบิดตัว การดีดตัวกลับ และต�าหนิรอยขีดข่วน


research & development 87

ข้อมูลการขึ้นรูปและการดีดตัวกลับจากชิ้นงานดังกล่าว ได้จากการออกแบบ การทดลองพับขึ้นรูปชิ้นส่วนอย่างง่าย ได้แก่ หน้าชิ้นงานตัดรูปตัว L รูปตัว U และรูปตัว S ซึ่งสามารถให้ค่าดีดกลับของเหล็กไปพร้อมๆ กัน ทั้ง 3 มิติ (Jog) และยังสามารถพยากรณ์ค่าการดีดตัวกลับ และการค�านวณขนาดแผ่นเปล่า (Blank Size) อย่างถูกต้องอีกด้วย การทดสอบนี้จะท�าควบคู่กันไปกับการใช้ซอฟต์แวร์จ�าลองการขึ้นรูปเชิง พาณิชย์ไปพร้อมกัน หลังจากนั้นจึงทดลองขึ้นรูปแชสซีเชิงพาณิชย์ โดยใช้ เครื่องมือที่พิสูจน์แล้วอีกครั้งหนึ่ง ควบคู่ไปกับการพิจารณากลไกและเงื่อนไข การเปลี่ยนรูป อาทิ การฉีกขาด รอยย่น และการดีดตัวกลับ ตลอดจนแรงขึ้นรูป หลังจากทดลองขึน้ รูปด้วยคอมพิวเตอร์จนได้ผลลัพธ์ทดี่ ที สี่ ดุ แล้ว จึงน�าข้อมูล ทีไ่ ด้ไปสร้างแม่พมิ พ์แล้วท�าการทดลอง แล้วเปรียบเทียบผล ซึง่ ให้ผลการท�านาย ที่แม่นย�าเป็นที่น่าพอใจ การน�าไปใช้ ปัจจุบัน สวทช. ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการขึ้น Rail Frame เพื่อใช้กับ กระบวนการผลิตแชสซีให้กับ บริษัท สามมิตรมอเตอร์ แมนนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทผลิตแม่พิมพ์ขึ้นรูปชิ้นส่วนยานยนต์ของคนไทยให้กับ บริษัทรถยนต์ เช่น TOYOTA NISSON และบริษัทที่ผลิตรถยนต์บรรทุกขนาด เล็ก 4 ล้อด้วย ประโยชน์ที่ได้รับ 1.ลดต้นทุนการผลิตแชสซีที่มีลักษณะโค้งงอ โรงงานมีการผลิตแม่พิมพ์ที่ใช้ขึ้นรูปแม่พิมพ์ 2 ขนาด คือ • ขนาดใหญ่ส�าหรับท�าแชสซีรถบรรทุกขนาดเล็ก • ขนาดกลางและเล็ก ชุดส�าหรับชิน้ ส่วนอืน่ ๆ ทีผ่ ลิตให้ OEM ซึง่ เป็นชิน้ ส่วน ขนาดกลางและเล็ก โดยโรงงานมีก�าลังผลิตเต็มพิกัดได้ 18 ชุดต่อเดือน โดยแบ่งเป็น 3 ชุด ขนาดใหญ่ ขนาดกลางและเล็กจ�านวน 15 ชุด ซึ่งในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันใช้ Capacity ประมาณ 60% ของทั้งหมด จึงใช้แม่พิมพ์จริงๆ 11 ชุด ต่อเดือน โดย แบ่งเป็นชุดใหญ่ 2 ชุด และชุดเล็ก 9 ชุด เทคโนโลยีการขึน้ รูปเฟรมของโครงการฯ จะช่วยลดต้นทุนการลองผิดลองถูกไปประมาณ 20% และลดเวลาที่ใช้ไป 30% ท�าให้ผลิตได้รวดเร็วขึน้ โดยรวมท�าให้ลดต้นทุนทัง้ หมดไปได้ประมาณ 25% ต่อชุด 2. ลดต้นทุนวัสดุของชิ้นงานที่ใช้ในการทดสอบ โดยปกติทุกๆ เดือน การขึ้นรูปแม่พิมพ์ 1 ครั้ง ต้องท�าการทดสอบ 10 ครั้ง การน�าเทคโนโลยีขึ้นรูป Rail Frame ของโครงการฯ ไปใช้นั้น สามารถลด การทดสอบเหลือเพียง 6 ครั้ง หรือลดไป 4 ครั้ง ซึ่งการทดสอบใช้ต้นทุนเฉลี่ย 10,000 บาทต่อครั้ง

STRATEGY Quality Efficiency Costs เทคโนโลยีการขึ้นรูปเฟรมของโครงการฯ

จะช่วยลดต้นทุน

การลองผิดลองถูกไปประมาณ และลดเวลา

ที่ใช้ ไป

20% ท�าให้ผลิต

30% % 25 ได้รวดเร็วขึ้น

โดยรวมท�าให้ลดต้นทุน

ทั้งหมด ไปได้ประมาณ

ต่อชุด

Source: โปรแกรมเทคโนโลยียานยนต์เพื่อการแข่งขันที่ยั่งยืน โทร. 02 564 6700ต่อ 3423 (บวร) e-mail : bworn@nstda.or.th ฝ่ายบริหารจัดการคลัสเตอร์และโปรแกรมวิจัย ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)

EXECUTIVE SUMMARY The research project in Rail Frame Forming Technic Apply for Automotive Chassis Production is a research to study and analyze chassis’ forming process which use strong iron plate to produce in the commercial term. This research start with forming’s behavior investigation and Rail Frame’s prototype database built up. The standard testing will be operating together along with simulation software that simulate in commercial term. The outcome of this research could use with forecast data from software and also make fix formula for the general entrepreneur who couldn’t manage to find simulation software to use easily. After all, the prototype chassis will be forming in commercial term with proven data. Besides, it will be drive the auto part manufacturing sector with efficiency tool and also provide long-lasting technology improvement for international competition. issue 166 december 2016


88 WHITE PAPER เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

ขึน้ รูปโลหะ

ด้วยเครื่องพับ

แบบเซอร์โว

ประสิทธิภาพและผลผลิตสูงขึ้น การขึน้ รูปโลหะเป็นกระบวนการเปลีย่ นสภาพวัตถุดบิ ให้เป็นรูปร่างตามความ ต้องการ โดยมีรูปแบบวิธีหลากหลาย และได้รับความนิยมใช้ในงานประกอบ ชิ้นส่วนยานยนต์ รวมถึงการผลิตชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้ บางครั้งเรียกว่า ‘การพับโลหะ’ หรือ ‘การขึ้นรูปโดยการปั๊ม’ การขึ้นรูปโลหะด้วยเครื่องแบบเซอร์โว เป็นหนึ่งในวิธีการขึ้นรูปที่ได้รับความ นิยมใช้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะเมือ่ เปรียบเทียบกับรูปแบบดัง้ เดิมทีใ่ ช้มอื หมุน วงล้อ เนือ่ งจากท�าให้กระบวนการขึน้ รูปมีประสิทธิภาพและผลผลิตสูงขึน้ สามารถ รองรับตลาดชิ้นส่วนยานยนต์ในภูมิภาคเอเชีย ที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับตลาดใหญ่อย่างสหรัฐอเมริกา และยุโรปทีก่ า� ลังหดตัวลดลงในปัจจุบนั MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รูปที่ 1: ส่วนประกอบยานยนต์ที่สามารถใช้การปั๊มขึ้นรูปได้


WHITE PAPER 89

การพับโลหะหรือการขึน้ รูปโดยการปัม๊ เป็นการใช้แม่พมิ พ์เพือ่ สร้างรูปทรงที่ ต้องการ สามารถแบ่งตามลักษณะการใช้แรงปั๊มได้ 3 แบบ

ส่วนประกอบของเครื่องจักรส�าหรับพับโลหะ

รูปแบบการพับโลหะ

ล้อตุนก�าลัง (Flywheel)

การพับใช้แรงเชิงกล การพับโดยใช้ ไฮดรอลิก

มอเตอร์ (Motor) ระบบถ่วงสมดุล (Counterbalance System)

คลัทช์หรือ ระบบเบรค (Clutch / Brake System) เฟืองเฉียง (Helical Gears)

การพับโดยใช้ระบบเซอร์โว แผ่นยึด อินเสิร์ต (Bolster Plate)

ส่วนหัวคอก (Slide, Ram)

ก้านสูบ (Connecting Rods)

การควบคุมโดยระบบออโตเมชันจ�าเป็นต้องมีหน่วยควบคุม ที่หลากหลาย เพื่อสามารถท�างานได้อย่างละเอียด รวมถึงซอฟต์แวร์ที่สามารถตอบสนองต่อรูปแบบการท�างานและ ความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้สามารถมองเห็น ข้อมูลการท�างานและตั้งค่าการตัดสินใจในขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างละเอียดในรูปแบบเรียลไทม์ รูปที่ 2: โครงสร้างเครื่องพับโลหะ

ส�าหรับเจ้าของโรงงานหรือผู้ลงทุน ปัจจัยส�าคัญที่ต้องพิจารณาในการใช้ เครื่องพับโลหะ คือ การติดตั้งและซ่อมบ�ารุงได้อย่างรวดเร็ว ง่ายดาย รวมถึง สามารถท�างานร่วมกับเครื่องจักรอื่นๆ ได้ โดยสามารถท�างานได้หลากหลาย ก่อให้เกิดเศษเหลือและพื้นที่การพับที่ไม่สมประกอบได้น้อยที่สุด คุณภาพของ สินค้าทีผ่ ลิตได้ รวมถึงการสนับสนุนลูกค้าอย่างทัว่ ถึง ภายใต้ความปลอดภัยของ การปฏิบัติงาน ฯลฯ จะเห็นได้วา่ มีปจั จัยมากมายทีจ่ า� เป็นต้องค�านึงถึง ดังนัน้ การน�าออโตเมชัน มาใช้ เพื่อตอบสนองต่อปัจจัยดังกล่าวจึงเป็นเรื่องส�าคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุค IoT ที่เครื่องจักรทั้งหลายต้องสามารถสื่อสาร และส่งต่อข้อมูลให้กันได้ ระบบควบคุมที่สามารถตอบสนองได้อย่างฉับไวผ่าน เครือข่ายจึงมีความส�าคัญเป็นอย่างมาก รวมถึงการสนับสนุนจากผู้ผลิตในการ อัพเดทเฟิร์มแวร์ เพื่อท�าให้การท�างานมีความทันสมัย และมีรายละเอียดที่ เพิม่ มากขึน้ ซึง่ การมองเห็นกระบวนการทัง้ หมดจะสามารถท�าให้ประมาณต้นทุน ที่เกิดขึ้น รวมถึงประเมินสภาพอุปกรณ์และกระบวนการต่างๆ ได้อย่างละเอียด สะดวกต่อการบ�ารุงรักษา ท�าให้สายการผลิตเดินหน้าได้อย่างต่อเนื่อง บริษัท Rockwell Automation หนึ่งในบริษัทที่ให้บริการเครื่องพับโลหะ ครบวงจร ซึ่งการใช้งานสามารถท�าได้รอบด้าน มีความยืดหยุ่น การผลิต OEM จึงสามารถสินค้าและบริการถึงมือลูกค้าได้อย่างฉับไว รวมถึงลดค่าใช้จ่ายด้าน การดูแลรักษา ด้วยประสบการณ์ด้านโลหะการอันยาวนาน ท�าให้ Rockwell

Automation มีความเข้าใจในความต้องการของผู้ผลิตได้เป็นอย่างดี จึงได้ท�าการ พัฒนาเครือ่ งมือและเครือ่ งจักรส�าหรับการพับโลหะทีต่ อบสนองได้เป็นอย่างดีขนึ้ มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ควบคุมที่มีความสามารถในการท�างานสูง สามารถตอบ สนองความต้องการได้อย่างมีคุณภาพ Source: Metal Forming and Stamping Presses (Rockwell Automation White Paper)

EXECUTIVE SUMMARY Stamping presses are part of the metal forming process, especially automobile part which is the biggest industrial sector in Thailand. The procedures and factors to forming the steel have many conditions to worry, particularly in safety and cost. The automation system for stamping presses could support by control and decide with a better logic and work flow. Rockwell Automation is one of long experienced corporate with knowledge and capability that cover every requirement of stamping presses by their advance technologies and great after sales service. issue 166 december 2016


90 MAINTENANCE เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

การสัน่ สะเทือน

บอกความผิดปกติของเครื่องจักรอย่างไร ความสั่นสะเทือน (Vibration) คือ การแกว่งหรือการสั่นของวัตถุรอบๆ จุด สมดุล เช่น การแกว่งของลูกตุ้ม การสั่นสะเทือนของปั๊มน�้า หรือการสั่นสะเทือน ของล�าโพง เป็นต้น เครือ่ งจักรหรือมอเตอร์ในอุตสาหกรรมทุกชนิด จะมีความสัน่ ที่ บ่งบอกถึงสภาพของเครือ่ งจักร ถ้าค่าความสัน่ ทีว่ ดั ได้มคี า่ สูง อาจมีสาเหตุมาจาก

รูปแบบของการสั่นสะเทือน (Vibration Type) การสั่นสะเทือนโดยอิสระ (Free Body Vibration) การสั่ น สะเทื อ นที่ ทิ ศ ทางของการสั่ น สะเทื อ นเป็ น ไปได้ โ ดยอิ ส ระ ตามทิศทางของแรงที่เกิดขึ้นจากการสั่นสะเทือน โดยไม่มีส่วนที่เป็นวัตถุ แข็งแกร่งมาขัดขวางทิศทางของชิ้นส่วนที่สั่นสะเทือนนั้นๆ

เครื่องจักรเกิดความไม่สมดุล หรือมีชิ้นส่วนใดเคลื่อนหรือหลุดไปจากต�าแหน่ง ปกติ ซึ่งจ�าเป็นต้องท�าการบ�ารุงรักษา หากปล่อยให้เกิดการสั่นสะเทือนอย่าง ต่อเนื่องหรือรุนแรง อาจท�าให้เครื่องจักรเกิดความเสียหายได้

สาเหตุที่ท�าให้เกิดการสั่นสะเทือน ประสิทธิภาพของ เครื่องจักรหมุนลดลง ท�าให้สิ้นเปลือง พลังงานเพิ่มขึ้น

การสั่นสะเทือนแบบขบกันหรือเคลื่อนที่ผ่าน (Meshing or Passing Vibration) การสั่นสะเทือนของชิ้นส่วนของเครื่องจักรที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับจุดอ้างอิงจุดใดจุดหนึ่งที่ชิ้นส่วน ที่ท�าการวิเคราะห์ การสั่นสะเทือน หมุนหรือเคลื่อนที่ผ่าน การสั่นสะเทือนจากแรงเสียดทาน (Frictional Vibration) การสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากแรงเสียดทานในการหมุน หรือเคลื่อนที่ ของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จุดรองรับ เช่น ลูกปืน บูชเพลา เสื้อลูกปืน ฯลฯ สึกหรอ มีอายุ งานสั้นลง

ปัญหาที่ พบบ่อย โครงสร้างของ เครื่องจักรกลจะ สึกหรอเร็วหรือ แตกร้าวในที่สุด

เสียค่าใช้จ่ายในการ ซ่อมบ�ารุงเพิ่มขึ้น เสียเวลาในการผลิต และการซ่อมแซม


MAINTENANCE

91

การวัดการสั่นสะเทือน

การวัดระยะทาง (Displacement)

การวัดความเร็ว (Velocity)

• การวัดระยะทางการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มี การสั่นสะเทือนว่า มีการเคลื่อนที่ไปจากจุด อ้างอิงเท่าใดในการสั่นสะเทือนแต่ละรอบ • นิยมวัดเป็นมิลลิเมตร (mm) หรือนิ้ว • วัดแบบเต็มคลื่น (Peak to Peak) • ใช้กับการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วรอบ ที่ไม่เกิน 1200 rpm หรือ 20Hz

• เป็นการวัดความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุที่ สัน่ สะเทือนว่า มีความเร็วเท่าไหร่ในแต่ละรอบ ของการสั่นสะเทือน • โดยปกติ นิ ย มวั ด เป็ น มิ ล ลิ เ มตร/วิ น าที (mm/s) และนิ้ว/วินาที (inch/sec) ในการ วัดความเร็วเรามักจะวัดแบบ RMS • วัดการสั่นสะเทือนที่มีความถี่ระหว่าง 20Hz -1,000Hz

เทคนิคการตรวจสอบการสั่นสะเทือน Proximity Monitoring • วัด 1 จุด หรือมากกว่าในระบบ • ติดตั้งตัววัดในแต่ละแบริ่ง เพื่อวัดระยะห่างระหว่างแกนหมุนกับแบริ่ง • ตรวจสอบค่าสั่นสะเทือนรวมตลอดเวลาว่าปลอดภัยหรือไม่ • วัดเฟสได้ • ทราบว่ามวลกระจายที่ท�าให้ ไม่สมดุลอยู่ต�าแหน่งใด • เหมาะกับเครื่องจักรขนาดใหญ่และความส�าคัญสูง

Seismic Monitoring • ติดตั้งเซนเซอร์ที่ผิวด้านนอกของแบริ่งส่วนที่อยู่กับที่ • วัด absolute vibration • ใช้ในทางปฏิบัติมากที่สุด Source: - เอกสารงานสัมมนา เรื่องการบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ สถาบันไทย-เยอรมัน -https://goo.gl/hclBbZ -https://goo.gl/eHpxw6

การวัดอัตราเร่ง (Acceleration) • การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนของความเร็ว ในการเคลื่อนที่ต่อหน่วยเวลาของวัตถุที่มี การสั่นสะเทือน • วั ด การสั่ น สะเทื อ นที่ ค วามถี่ สู ง คื อ ตั้ ง แต่ 10,000 Hz ขึ้นไป • การสั่นสะเทือนที่ความถี่สูงนั้นระยะทางการ เคลื่อนที่จะน้อยและในขณะเดียวกันความเร็ว ในการเคลื่อนที่จะสูงมาก

จะเห็นได้วา่ การตรวจสอบค่าความสัน่ สะเทือนของเครือ่ งจักร มีความจ�าเป็น ต่อการวางแผนบ�ารุงรักษาเครื่องจักร เนื่องจากเป็นการซ่อมบ�ารุงตามการ เสื่อมสภาพของเครื่องจักร เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้ ยาวนานขึ้น มีความคุ้มค่าต่อการผลิตมากขึ้น ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากการท�างาน ของเครื่องจักรที่ประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ การตรวจสอบสภาพการท�างาน ของเครื่องจักร ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ารุง และการจัดเก็บ-รักษาวัสดุ คงคลัง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในกระบวนการบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ อีกด้วย

EXECUTIVE SUMMARY The machine or motor in every industrial sector have their own vibration that could notice its status. If the vibration value is high measure, it could mean the machine’s unbalanced status or some part were loose from its usual position. This problem must be operated the maintenance procedure. If the entrepreneur let the vibration continue or getting more aggressive, the machine could be damaged. Thus, vibration measurement is an important to operate forecast maintenance method which is a maintenance that maintain by the machine’s state. The maintenance process made the machine operate with full efficiency, reduce maintenance cost and store or warehouse management which will improve the productivity too. issue 166 december 2016


92 MAINTENANCE เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

‘เพลา’ แก้ปัญหาถูกจุด บ�ำรุง รักษำ

บรรเทำควำมเสียหำย

ของเครื่องจักร

สาเหตุการขัดข้องของเครือ่ งจักร เครื่องจักรกลในกระบวนการผลิต ไม่ว่าจะเป็นเครื่องกลึง เครื่องกัด เครื่องไส ฯลฯ ส่วนใหญ่จะมีการท�างานโดยอาศัย การส่งก�าลังจากมอเตอร์ผ่านมูเล่ย์และสายพานก่อนที่จะส่ง มายังเพลาขับ ซึ่งการส่งก�าลังของเครื่องจักรเหล่านี้ส่วนใหญ่ กว่า 75% - 90 % ใช้การส่งก�าลังด้วยเพลาที่รองรับด้วยลูกปืน (Bearing) โดยมีเฟืองเป็นตัวส่งก�าลัง จากเพลาหนึ่งไปยังอีก เพลาหนึ่ง ดังนั้น การท�างานของเครื่องจักรจึงมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กันกับชิ้นส่วนหลักๆ คือ เฟือง (Gear) ลูกปืน (Bearing) และเพลา (Shaft) ปัจจุบันในโรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งมีการวางแผน การบ�ารุงรักษาตามช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม (Preventive Maintenance) แต่ก็ยังคงพบว่ามีปัญหาการขัดข้องเกิดขึ้น ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์พบว่าการความขัดข้องที่เกิดขึ้น อาจมีสาเหตุ ได้หลายประการ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ชิ้นส่วนที่ท�ำกำรซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่ ไม่ได้ มำตรฐำนตำมที่ก�ำหนด อันเนื่องมำจำกกำรซ่อม ชิ้นส่วนเดิมไม่ได้ขนำดและ รูปทรงเดิม เช่น กำรซ่อม ฟันเฟืองที่แตกหักเป็นบำง ฟัน (เป็นเหตุให้ชิ้นอื่นช�ำรุด ไปด้วย) อะไหล่ที่เปลี่ยนใหม่ ไม่ใช่เบอร์เดิม อะไหล่แท้ๆ

วัสดุที่ใช้ใน กำรผลิตใหม่ ไม่ได้ค่ำทำงด้ำนโลหะ วิทยำตำมต้องกำร

กรรมวิธี กำรผลิต ไม่ได้ มำตรฐำนพอ

ผู้ท�ำกำรซ่อมขำดควำม ช�ำนำญในงำนซ่อมจริง ไม่ผ่ำนกำรอบรมซ่อม แต่ได้มำจำกกำรสังเกต และจดจ�ำมำกกว่ำ ผู้ท�ำกำรซ่อมขำดควำมเข้ำใจ ในกำรท�ำงำนของเครื่องโดย แท้จริง บำงครั้งใช้วิธีลองผิด ลองถูก ท�ำให้ควำมเสียหำย จำกเล็กน้อยขยำยเป็นวงกว้ำง


MAINTENANCE 93

รูปแบบของเพลา

ทัง้ นี้ สาเหตุทเี่ ครือ่ งจักรเกิดการขัดข้องอาจมีสาเหตุมาจาก สิ่งที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งบางครั้งก็อาจจะเกิดจากสาเหตุเดียว บางครั้งอาจเป็น 2 สาเหตุ หรือบางครั้งอาจจะมากกว่านั้น ประกอบกั น ดั ง นั้ น ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การบ� า รุ ง รั ก ษา จึงจ�าเป็นต้องพิจารณาสภาพความเสียหายอย่างรอบคอบ เพื่อหาสาเหตุให้พบแล้วด�าเนินการแก้ไขให้ถูกจุด ส�าหรับ เพลา (Shafts) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ กับการท�างานของเฟือง การออกแบบเครื่องจักรส่วนใหญ่จะ ออกแบบให้เพลามีความแข็งแรงกว่าเฟือง หรือส่วนอืน่ ๆ อยูแ่ ล้ว ความเสียหายของเพลาส่วนใหญ่จึงเกิดที่ร่องลิ่ม เนื่องจาก เกิดช่องว่างระหว่างตัวลิ่มกับร่องลิ่ม และเพลากับรูของตัว ส่งก�าลังหลวมคลอน ท�าให้เกิดแรงกระแทกขณะทีเ่ พลาเริม่ หมุน ส่งผลให้เกิดความเสียหายเร็วยิ่งขึ้น ถ้าเพลาดังกล่าวมีการ ท�างานแบบสลับทิศทางการหมุน การใส่ลม่ิ ทีอ่ ดั เกินไปก็ไม่ใช่วา่ จะมีผลดี เพราะจะไปดันเฟืองฯ ให้เกิดการเยื้องศูนย์ ส่งผล ต่อการขบของฟันเฟืองเช่นกัน และบางครั้งเพลาอาจถูกอัด ด้วยฟันเฟืองหรือชิ้นส่วนส่งก�าลัง จนท�าให้เพลาเกิดการโก่งงอ

ซึ่งเมื่อเกิดการโก่งงอแล้ว ไม่ควรน�าไปดัด แล้วน�ากลับมาใช้ต่อ เพราะอาจส่งผลกับชิ้นส่วนอื่นๆ ต่อไป ท�าให้ความเสียหาย ขยายวงกว้างมากขึ้น นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้ว การบ�ารุงรักษาเพลาเพื่อให้ สามารถใช้งานเครื่องจักรได้เต็มประสิทธิภาพ ต้องไม่ละเลย เรื่องของการเกิดการรั่วของน�้ามันด้วย เนื่องจากการท�างาน ของเฟือง จ�าเป็นต้องมีนา�้ มันหล่อลืน่ อยูต่ ลอด ปลายเพลาเหล่านี้ สวมอยู่บนตลับลูกปืนที่ใช้เสื้อของเฟืองทดหรือ Cast ของ เครื่องเป็นตัวรองรับ ดัง นั้น จึงต้อ งป้อ งกันน�้า มันไม่ให้รั่ว ออกมาด้วย ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ทั้งนี้ หากสามารถหาสาเหตุการขัดข้องของเพลาได้อย่าง ชัดเจน ย่อมท�าให้การซ่อมบ�ารุงเครื่องจักรมีคุณภาพ ไม่เกิด ปัญหาซ�้าเดิมตามมา หรืออย่างน้อยให้เกิดปัญหาขึ้นน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม การวางแผนการบ�ารุงรักษาเพลาตามช่วงระยะ เวลาที่เหมาะสม (Preventive Maintenance) จะยังเป็นแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาการขัดข้องหรือความเสียหายที่เกิดขึ้น เพื่อ ให้การใช้งานเครื่องจักรมีประสิทธิภาพสูงสุดด้วย

ปลายเพลาอยู่ใน Cast เพลาที่ปลายอยู่ภายใน เพื่อควำมสะดวกมักนิยมคว้ำนทะลุ แล้วใช้ฝำปิด คุณภำพผิวของหน้ำสัมผัส เป็นตัวแปรที่ท�ำให้น�้ำมันรั่ว กำรแก้ ไข นอกจำกแก้ ไขผิวสัมผัสแล้ว อำจใช้แผ่นปะเก็นหรือปะเก็นเหลว หรือใช้แผ่นกั้น (Skirt) ซึ่งเป็นวิธีป้องกันที่มีประสิทธิภำพ

กรณีที่ปลายเพลา ต้องยื่นออกมาภายนอก Cast จะใช้ซีลเป็นตัวกั้น ถ้ำแรงจำกแรงอัดซีล ลดลง เนื่องจำกกำรขัดสีระหว่ำง หน้ำสัมผัสของเพลำกับซีล กำรเปลีย่ นซีล เป็นดีที่สุด แต่หำกกำรท�ำงำนในสภำพ ที่มีควำมชื้นหรือฝุ่นผง ท�ำให้ตัวเพลำ กัดกร่อน จ�ำเป็นต้องใช้ซีลกันฝุ่น (Dust Seal) หรือซีลน�้ำมัน 2 ทิศทำง (TwoDirection Oil Seal) แต่ถ้ำหำกเพลำ มีกำรสึกหรอสูง ควรเชื่อมพอกและกลึงให้ ขนำดเพลำเท่ำเดิมก่อน

Source: - https://goo.gl/IvsvRE

EXECUTIVE SUMMARY Shaft is an equipment that related with gear. The most damage that occurred for shaft usually happen around its wedge and loose transmission. That will cause hit and collide while it swing and the damage rate will be raising. If the shaft operates with switching direction, too much tight wedge may be push the gear to misalignment and shaft could hit with the gear or transmission part which causing its bent. The bent part shouldn’t modify and bring it back to work because it will be affected to the other part and amplify damage widely. Besides, oil leak’s over look is something terrible by its sensitive. Preventive maintenance’s strategy is a way to solve problem or damaged which cause the machinery to work with its full efficiency. issue 166 december 2016


94 special feature

เรื่อง: Peter Stipp

Test Xpert II

แปล/เรียบเรียง : อิทธิเทพ อมาตยกุล

ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุ หนึ่งเดียวของ Zwick ตอบโจทย์งานประกันคุณภาพ

ความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของการใช้วัสดุชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติสูงขึ้น ท�าให้ข้อก�าหนดต่างๆ เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุ มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยเฉพาะการประกันคุณภาพ ส่งผลต่อเนื่องมาถึงซอฟต์แวร์ส�าหรับงานทดสอบที่น�ามาใช้ จ�าเป็นต้องรองรับ การทดสอบต่างๆ ทีใ่ ช้ขอ้ ก�าหนดตามมาตรฐานการทดสอบ และรองรับข้อก�าหนดทีใ่ ช้สา� หรับการทดสอบรูปแบบต่างๆ ไปจนกระทัง่ ถึง การปรับปรุงซอฟต์แวร์ให้เป็นไปตามความต้องการเฉพาะของผู้ใช้งาน การพัฒนาใหม่ๆ ในสาขาโลหะวิทยานั้นเป็นความมุ่งมั่นเพื่อการ รองรับการสร้าง ‘โครงสร้างเบา’ ส�าหรับภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ทีท่ า� ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของทัง้ กระบวนการผลิต และศูนย์กลางของ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Center) บริษัทผู้ผลิตวัสดุโลหะที่ต้องการ ความได้ เ ปรี ย บจากคู ่ แข่ ง ขั น ที่ มี เ พิ่ ม มากขึ้ น ในตลาดโลกนั้ น ท� า ให้ ผลิตภัณฑ์ต้องมีความแตกต่างจากคู่แข่ง ซึ่งหากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ข้อก�าหนดด้านสมรรถนะของผลิตภัณฑ์ บทบาทของคุณสมบัติทาง กายภาพ และความเป็นไปได้ในการใช้งานรูปแบบใหม่ ซึง่ เหล่านีล้ ว้ นเป็น ปัจจัยทีส่ ง่ ผลให้กลายเป็นข้อก�าหนดต่างๆ ทีต่ ามมาส�าหรับการทดสอบ วัสดุ Mr. Manfred Goblirsch ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ส�าหรับงาน ทดสอบวัสดุ Test-Xpert บริษัทผู้ผลิตเครื่องมือทดสอบวัสดุ Zwick จาก เมือง Ulm ได้กล่าวว่า “การแสดงคุณสมบัติของวัสดุได้อย่างครบถ้วน นับว่าเป็นส่วนส�าคัญ ทั้งช่วงวงรอบพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการประกัน คุณภาพ ทั้งนี้ พวกเราเข้าใจดีว่าทั้งหมดนี้ กระบวนการทดสอบต้อง ไม่ส่งผลเสียต่อสมรรถนะของการผลิต ส�าหรับการแก้ไขปัญหาทีท่ า้ ทายเช่นนี้ ผูใ้ ช้งานจะได้รบั การสนับสนุน การท�างานด้วยการพัฒนาซอฟต์แวร์ทอี่ อกแบบขึน้ มาโดยเฉพาะส�าหรับ การทดสอบวัสดุ และตอบโจทย์ของงานประกันคุณภาพ ดังนัน้ ซอฟต์แวร์ จึงสามารถที่ควบคุม เช่น ควบคุมแต่ละขั้นตอนที่ระบบทดสอบกระท�า และยังเอื้อต่อการท�างานร่วมกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระนาบ การท�างานที่สูงกว่า” นอกจากนี้ Zwick ยังเสนอการสัมมนาพิเศษเพือ่ สนับสนุนการใช้งาน ของผู้ที่ใช้งานใหม่ เช่นเดียวกับการอธิบายข้อซักถามต่างๆ ของช่าง เทคนิคที่มีประสบการณ์ในการใช้งานมาแล้ว เช่น ค�าถามเกี่ยวกับ แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพในการท�างาน ทั้งนี้ ซอฟต์แวร์เวอร์ชั่นใหม่ได้ถูกจัดท�าขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้งานเริ่มการ ท�างานทดสอบที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว เมื่อเปิดระบบทดสอบ อีกทั้ง ยังสามารถจัดการกับสิทธิ์ของผู้ใช้งานในระดับต่างๆ จึงเป็นการรองรับ ให้กบั ผูบ้ ริหารโดยเฉพาะหัวหน้าห้องทดสอบ ซึง่ จะต้องมีการปรับเปลีย่ น การจัดสรรการใช้ทรัพยากรของห้องทดสอบหลายครั้งในแต่ละวัน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จากการเปิดเผยของลูกค้าเกี่ยวกับฟังก์ชัน Corporate License นั้นพบว่ามีส่วนช่วยในการท�างานอย่างมาก โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งกับการประสานการท�างานเพื่อการทดสอบด้วยวิธีวนรอบ (Round Robin Test) ด้วยฟังก์ชัน Corporate License ท�าให้ห้องแล็บทดสอบกลางสามารถก�าหนด เช่น รูปแบบของ User Interface บนจอตามที่ต้องการ รวมทั้งสามารถที่จะปรับ เพิ่มลดให้เหมาะสมกับแต่ละแห่งตามสถานที่ต่างๆ กันได้ทั่วโลก Mr. Manfred Goblirsch ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์

กว่า 600 โปรแกรม รองรับการทดสอบมากกว่า 900 มาตรฐาน ในขณะทีก่ ารเปลีย่ นแปลงความต้องการตามระดับของผูใ้ ช้เป็นเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ บ่อยครั้ง เป็นเหตุให้ User Interface ต้องใช้งานง่าย ส่วนปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อ การออกแบบซอฟต์แวร์ Test-Xpert II คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการทดสอบ ที่ท�าโดย Storage ของ Test Station ผู้ใช้งานเพียงแต่ต้องท�าการเลือก ข้อก�าหนดการทดสอบทีจ่ ะใช้งานขึน้ มา ตัวซอฟต์แวร์จะด�าเนินการก�าหนดสิง่ ที่ เกีย่ วข้องส�าหรับการท�างานทดสอบ ได้แก่ เซ็นเซอร์วดั แรง ตัวจับชิน้ งานทดสอบ หรือแผ่น Plate ทิศทางของการทดสอบ และ Testing Room โดยอัตโนมัติ เนื่องด้วยซอฟต์แวร์ Test-Xpert ได้รวมโปรแกรมการทดสอบไว้มากกว่า 600 โปรแกรม ผู้ใช้งานจึงสามารถใช้โปรแกรมทดสอบที่มีอยู่ท�าการทดสอบต่างๆ ได้มากกว่า 900 มาตรฐาน อีกทั้งมีการเปลี่ยนชื่อเรียกต่างๆ โดยอัตโนมัติ ท�าให้ซอฟต์แวร์จะเลือกใช้ค�าเรียกที่ตรงกับการใช้งานของผู้ใช้งานใช้ได้อย่าง ถูกต้อง การแสดงหน่วยวัดจะเป็นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ใช้


special feature 95

Test-Xpert ได้รวมโปรแกรม การทดสอบไว้มากกว่า 600 โปรแกรม ผู้ใช้งานจึงสามารถ

ใช้โปรแกรมทดสอบที่มีอยู่ท�าการ ทดสอบต่างๆ ได้มากกว่า 900 มาตรฐาน

สิง่ ทีจ่ า� เป็นและพบบ่อยเป็นพิเศษส�าหรับงานวิจยั คือ ความสามารถ ในการโปรแกรมขั้นตอนการทดสอบได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ Test-Xpert II ก็ได้จดั เตรียม Graphical Sequence Editor ไว้สา� หรับการปรับแก้ขนั้ ตอน การทดสอบ ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่ Test-Xpert II ใช้ส�าหรับปรับแก้ โปรแกรมให้เป็นตามความต้องการเฉพาะของผู้ใช้ เพื่อให้ลงตัวกับ ลักษณะงานทดสอบที่จะถูกใช้งาน การใช้งานกับเซ็นเซอร์ชนิดต่างๆ ตัวอย่างเช่น เครื่องมือวัด ตาชั่ง เซ็นเซอร์วัดแรง เซ็นเซอร์วัดระยะทาง โหลดเซล สามารถทีจ่ ะน�ามาร่วมใช้งานได้อย่างสะดวกและง่ายดาย ด้วย หลักการของการใช้เซ็นเซอร์ภายนอก (External Sensors) การวัด ผ่านทาง Measurement Channel ของ Measurement Amplifier ภายนอกทีม่ ใี ช้กนั อย่างแพร่หลายส�าหรับงานวิจยั และพัฒนา ซอฟต์แวร์ Test-Xpert II สามารถที่จะท�าการอ่านค่าการวัดได้อย่างสอดคล้องกับ เวลา (Synchronisation) ส�าหรับการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการวัดนัน้ ตัวซอฟต์แวร์ได้มกี าร สนธิอัลกอริธึมเพื่อท�าการประมวลเอาไว้แล้ว ด้วยภาษาโปรแกรม “ZIMT” (Zwick Interpreter of Material Testing) ท�าให้การค�านวณที่ ซับซ้อน และวิธีการประเมินสามารถก�าหนดได้ตามความต้องการ

ทั้งนี้ ส�าหรับผู้ใช้งานที่มีปริมาณงานทดสอบจ�านวนมาก จะได้ ประโยชน์มากขึ้นจากการจัดเตรียมโปรแกรมทดสอบมาตรฐานเอาไว้ เนื่องด้วยรายงานผลการทดสอบจะถูกก�าหนดไว้จากมาตรฐานที่ใช้งาน ไปด้วยพร้อมกัน

Test-Xpert II ซอฟต์แวร์ทดสอบวัสดุ หนึ่งเดียวของ Zwick ส�าหรับห้องทดสอบที่ท�างานกับมาตรฐานที่มีอยู่อย่างหลากหลาย นั้น จะมี Master Test Program ส�าหรับการทดสอบต่างๆ รองรับการ ใช้งาน ซึง่ ประกอบด้วยมาตรฐานทีห่ ลากหลายจ�านวนมาก ไม่วา่ จะเป็น การทดสอบ แรงดึง แรงกด แรงบิด และแรงเฉือน การทดสอบแบบเป็น วงรอบ และแบบต่อเนือ่ ง เช่นเดียวกับการทดสอบด้วย Pendulum Swing 002 !(#% และทดสอบความแข็ง ซอฟต์แวร์ Test-Xpert II เป็นซอฟต์แวร์ส�าหรับงานทดสอบวัสดุ ซึ่ง เป็ น หนึ่ ง เดี ย วส� า หรั บ ตอบโจทย์ #ด ้ า / นงานทดสอบวั ส ดุ ข อง Zwick

*03( # 0 / / 30 )/ /3( ( 3(2 /" นัน่ หมายความว่าผูใ้ ช้งานสามารถจะเปลี ย่ นระบบเครื อ่ งมื0+ 8# && อทดสอบจาก 02428 ( ( (6 ( / # 4/ 2 /# &+/4" / 3 &#2 200# ! /3( ระบบหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่งได้ 3( อย่า3( งไม่ 3 ( มีปัญหา#(ผลลั พธ์ที่ได้จากการ %)(8#" +# /2 ( ) 26 / (26# %&3( (, ) 02 3 /2 #0+# &0" ค�านวณตามอัลกอริธมึ ของ Test-Xpert II สามารถที จ่ ะท�$ าการยื นยั 0 นความ 6 #0 #( /4 0) 26 / %2#)( /4 0702 '0 /'* &# !2 830 '' ( '#2 / & %2/)(#% #( ถูกต้องได้จากฟังก์ชันพิเศษอย่า3( ง “Tenstand” !)! 3(%2#)( &#2 2, การเปลี่ยนชื่อเรียก (Terminology Swapping) ที่ได้ถูกรวมเอาไว้ ท�าให้ Master Test Program สามารถปรับให้เข้า

กับลั กษณะงานของ (2 /( !' ( '#2 6 &26 #2 ( 2 ( )/2 ( 02/ ( อุตสาหกรรมแต่ละด้านได้อย่างสะดวก ทั ง ้ ค� า นิ ย าม ค� า ย่ อ และสั ญญลักษณ์ ( ! #( / 2 ( / #0# /3( 5)( /4 5 / !/ ( 3( ของสูตร หน่วยวัด และตัวพารามิ" & 3 (, เตอร์ตา่ งๆ จึง # 2 2 ถูกแสดงได้ อย่ /) 3%2 างเฉพาะ83/ +2#" 6# % 0! & / /')(#0# /3( 5)( /4 +/)8 00 ( ( เจาะจงกับลักษณะงานนั้นๆ ส�'# /3( า หรั บ ผู ใ ้ ช้ ง านแล้ ว สิ ง ่ ต่ า ง ๆ ที ่มองเห็น 0 03&2 2 #02 #( 32&# ! 38# /3( '* &#" ก็ คื อ ข้ อ มู ล ที่ ส� า คั ญ เฉพาะของงานด้ นนั้ น #( ๆ 5 / 00 /2 เท่ า นั้ น )! / (8, ส� า หรั บ - 3/ ! ! / !& /า0)6# 3(0 / ( 3 (26# % &2 ( ) 26 / +/) / '' อุตสาหกรรมบางสาขา เช่น งานโลหะ จะแสดง Layouts ที ม ่ เ ี พิ ่มขึ้นมา )/+)" / 2 # (0 0#( 6 &26 #2 2 2# )(8 /( #( / " บนหน้าจออย่างอัตโนมัติ และขั ้น # ตอนทดสอบจะถู ขยายออกไปตาม /4 5)/0 !/# 2 (ก8 (2/ & 83 %))/ #(# / ( 3( (0 !&# ( ( 5 /0 !# ( ฟังก์ชนั การทดสอบ ทัง้ หมดนีท้ า� ให้การท�างานกับ Test-Xpert เป็ 2 ( )/2 นไปได้งา่ #(( /! & ย 0 #/' (( 28 0 83 5 /2 #& (. 2)(2 ) &#/0 !, และข้อก�าหนดการทดสอบตามมาตรฐานต่ า งๆ ก็ ม ี ช ่ ื อ เรี ย กที ่ ถ ู ก ปรั บ

! 300 ( / 3( ( ! 2 0# ! # 0 3(%2#)( " 5)/ && ' า # 5)(ว #( 5 /03" ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของอุ&#2 2 ตสาหกรรมด้ นนั / น้ ๆ ))/ #(# /3( มาเรียบร้อยแล้

! ( &0 0 !/ !#& / # ! /6# 0 (, ) % (( 0 (2/ &" & )/ '#2 / 3(%2#)( )/+)/ 2 # (0 #0+# &0" 6 #0 0 300 ! ( / (328 /) / & ! 02& ( 3( # 0 0 6 &26 #2 0% &# / (, 83 6 / ( 5)( 6# % 0+ 8# && '#( / ( )2 (, # 0 0#( 0)6)!& 83/ (2 /024283( 5)( ( 3 ( # ( /( &0 3 ! 3 #

ซอฟต์แวร์ส�ำหรับงำนทดสอบวัสดุ จะควบคุมแต่ละ ขั้นตอนที่ระบบทดสอบกระท� ำ และยังเอื้อต่อกำรท�ำ งำน ร่วมกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ในระนำบ กำรท�ำงำนที่สูงกว่ำ

, + $ %' ' ' # - $ (. % $ $) *$ , $ $ $* % ', $ %' $' # % % $ $) % , $ - , $ $* % ', $ % ' $ - ' $ % ' - # ) -) $) %' %' ' ! (. )$ "# $

$ %' ') ' % - $' '#

### $#

! ! " $ !# "

< ,;?' )*<,# , '+ 6 ' % 6 ; **<6#' A<6 ,; 67;=;A<,# 6 ' %; <& ,';' ;'> , '+ <;-+- '* 6 ' % !=%6 , A< , 6<,# , ' 67; **<,#706-A 77 , <, <00*@& % ',& ,& ; 6,3 ; **% 67; ** 6 ' '%6 , ;; ? 6 7& >-6; '* ', ', + A<, %+ , >-, -,)<66 ,A # 06 #& ; , *;+ 6); 7< % , * # , + %6 6; <! ', 6- <); '!! 6 ,A' 6<,#3 ,, 7 <+ '7;<,#7 & 7 %6 ' <,# , >-, 6- <); , # %; 70' * , 70 A' ** 63 ; 6 ;'00 '7; %(-<6, *'7; ', ,7% '+8 ? '; 6 ,!-6+ ;'-& , , -*!# ,# .67 % ?' ) + -3 *3 1B9 B"2 / BB ?-*!# ,#3+- 67 % A?' )3

0%@7') *'7 % '# ,7 % !; , <, +.#*' % , < ,& ? , <,# , ', '++ 6 #6.$ 6 -** 3 <7 ** ' 7 , );-6 , 6 7<*;' 6 , ,;706 % , ,!-6 6<,# , , ' ; 6' *06=!<,#3 4 ', >-**7; , '# ; 6' * % 6 ); 6'7' 6<,# '7; ', ,-;? , '# 6 7; , ; '* 7-?-%* 6 6- <); ,;& ?' )*<,#7A@)* , *7 < % 6 < *'; ;77' % 6<,#5 6)* 6; ,!6 - *'67 % 6- <);+ , # 6 6=!7-!;& ? 6 7;& 0 6; '+ 6=!+ 7 %', ,% 67; ** 6 ?' ) ', *+3 4 '6 7', <,7 6 < % 6= 6 '+ * 6 , 77 6=!06-A 77 ' 6- <);'>'; ; ,' %; , # ;'> & ',!*<77 , =6! ,35

User Interface ของซอฟต์แวร์ส�ำหรับงำนทดสอบนี้ / 02 &&3( ( จะติดตั้ง Touchpanel เป็นอุป / !/ ( / กรณ์เผื่อ !(#% / เลือกส� 30 & 2 ำหรับ # #0+# &06 #0 ( ! #( / / 00 /3( / 2/# " ป้อนค่ำผ่&# ! ( ำนทำง Touchdisplay #8# (8 03 ! (,

# ( 3 02 /0#)( / ) 26 / #02 0) 3 32 00 / 3( # 64(0 !2 /4 3( #(( /! & 6 (# / %3( ( ( ! ' #(0 ! &2 ( 0 /4 " 0702 '0 02 /2 ( % ((, 3 / ' #( / (6 (" issue 166 0#( december 2016 /5 /6 &23( #(0 !/ (%3( ( / (328 // !2


,2 % )%7 %* ) 2 %7 * . '728) :,* ,2$ 92 ,2 % )%7 %* ) 92 2 %7 * . '728) :,* ,2$ 2 %7 * :,23 #2% 37 #7 %* 37 2$ 29 :,23 #2% 7 =82 ) * 2 %7 * 37 #7 %* ) * 37 2$ 29 7 =82 2 9!8*!/ % 8*7 23797=7 %* % (= #( :,* ,2) * 2 9!8*!/ % 8*7 23797=7 %* % (= #( :,* ,2) * 337 #*%' 92 8!$ 28 '$ % ! $ 8* %": 238 # =<'(%3 # 92 8!$ 28 '$ % ! $ 8* %": 238 # =<'(%3 # 8* (% ".29 8*! * 8* (% ".29 8*! * 3,;% * (3 #( !$ 8* 3,;% 27 $ * (3 #( !$ 8* 27 $ 3 #2% 7 8 : 238 # / 28 * 8* % , 37$ . 27 7; 2 2% #7 7 87,) 7%3 # : 238 # / 37$ . 27 %37 7$ % %*# %7(% # 29 3, 7$ %37 % %*# %7(% # 29 3, * 2 7 8 * #) 2 * 2, *# (7 2 , 2 % ( 7$ ; 2 92 (( 29 (-38*! * :,* ;% ' 3, 33 8* * ; 2 92 (( 29 (-38*! * :,* ;% ' 3, 33 8* * 7 * % 29 2% #78*! 8* * 29 2 8) %*/ 8 !28*

! 29 !!# 2 9 2 .2, ( )(,3 4>> %*7 !2% 27 * 29 :,23 #2% 7 * : 23 7=7 .2, ( )(,3 :,* 3<37 ) =8) * 2 * :,* %* ) 29 3<37 ) =8) %* ) * 2 * 37$ . 27 % *; * 2 %* % ! 29 8*! * ; #3 (* '-** */ % ,* 2 8*'7%,* 0 *37 * 1 ; #3 (* '-** */ % ,* 2 8*'7%,* 0 *37 * 1 * # ) #2 (3 +>> ,2) * 82 #=8 9#2 */ %*=8 ',))7 % 87,) 7%3 # 2)%*,(,!% 8)3 # (78*!/

! 2)-!(% #7 % (% % 28*! 2 2! *%3$ 2 #$ ! 2)-!(% #7 % (% % 28*! 2 2! *%3$ 2 #$ % 3,2!7 92 33 % , 7; 2 8 # % 2% #7%! *8*!3 (!,2%7#) * :,* 37$ . 27 / *8*!3 (!,2%7#) * :,* 37$ . 27 / 8* *3.2 # 3.2% #7/ % 237 ((8*! 2 " %*$ # %7 * *73.2% #7 % *%*7 !2% 27 * & ; %(%! * * 8372% *,2$ %7 2 %*7 !2% 27 * 2)%*,(,!% 8)3 # (78*! %7 2 2)%*,(,!% 8)3 # (78*! 8 : 23 #% * * * * )-!(% #/ 3 8*7 23797=7 ) */ 8* * % %* * #,# * 82 #3 7= *-7%! * '-** * % 37 2$ 29 :,23 #2% 7 * * 8*7 23 #% $ % :,* 37 2$ 29 :,23 #2% 7 * ) * ! 8*7 23 #% $ .2, %7% 2 *'-** * 29 2 #%* 83 2 2 9! 2' %7 %* 2 3. =% (( % ,2( %7 2 % ) #2) (3 % $ 7 * 2 $ 29 :,23 #2% 7 %* 2 2,7,',(( ! ) " %$ (% # 2 * # * *! . 337 ; 2 */ 82 # ; 2 * 8 )-!(% #/ : 23 #% * * * * )-!(% #/ 3 8*7 23797=7 (% # 2 * # * *! . 337 ; 2 */ 82 # ; 2 * * * * * 3 8*7 23797=7 ,22 33,82 * * 8%*% 27 =8,2 * * )933 */ * 2 37%))7 * ,2) :,2 3%* / !2% 82=$ 8* ,2) (= % # * %*# %7 * 3,;% 3. =% (( % ,2( %7 2 !2% 82=$ 8* ,2) (= % # * %*# %7 * 3,;%

,2( %7 2 % ) #2) (3 ) ! % %

$) #2) (3 ) ! % $ ,22 33,82 * 2 ) 7 2 2 * # *3. =% %3 # 2! 37 ((7/ 2 *87$ * * 8 =8,2 * * )933 */ * 8 =8,2 * * )933 */ 2 ) 7 2 2 * # *3. =% %3 # 2! 37 ((7/ 2 *87$

= 2 % %*! % 92 % & ; %(%! 2 * # = 2 *82 % . '728) %*! :,* % 92 % *82 & ; %(%! 2 * # 92 ,2 % 3% #7 )%7 %* ) 2 %7 *

,2$3% #7

) * 2 %7 * 37 #7 %* 37 2$ 29 :,23 #2%2 ( : *7 7 =82 2 * # * 3%* / % 2 ( : *7 3%* / % ) * # * ;% ) * # * 7 (( 2 * # * ;% 7 (( 2 9!8*!/ % 8*7 23797=7 %* % (= #( :,* ,2) *

; 2 * 87,) 7%3 # =83 7=(% #

<,873 *! = %!7 #2 * 2 3% # # 8 %! * 2* 2 $

; 2 * 87,) 7%3 # =83 7=(% #

<,873* # *! = %!7 92 8!$ 28 '$ % ! $ 8* %": 238 # =<'(%3 # 8* (% ".29 * (3 #( !$ 8* 27 $ 3% # # 8 * 2* 2 * # $ *87= 2 * * 8* 2 29 ( 8 8) ; %7 2 8*'7%,* * (,!%3 # 2 3% # # 8 %! #2 * * 2* 2 2 * #%! $ 8* 8*! * 23,;% 29 ( 8 8) ; %7 2 8*'7%,* * (,!%3 # % !29* 8*! 92 %* %* # 2$ : 238 # / 37$ . 27 %37 % %*# %7(% # 29 3, 7$ *87= 2 * * % # !29* 8*! 2; %7 27/ )%7 ;%2 3 2 %7 * )%7 37$ . 27 * % !29* 8*! 92 %* %* 2$ 92 %* %* # 2$ ( # 2; %7 27/ )%7 ;%2 3 2 %7 * )%7 37$ . 27 ; 2 92 (( 29 (-38*! * ;% ' 3, 33 8* * ; 2 ! 3:,* * 2 '7,2 * % 3 3%!* 2 .2, ( )(,3 :,* %* ) 298* 3<37 ) =8) 7 * 2 .29 * 2 * ( # ; 2 % ! 3 3 * 2 % 3 3%!* 2 , : 2 %* #7 8* (( 7 * 2 .29 :,23 #2% 7 * 3%* ! 3 * 2 '7,2 * 3%!* '7,2 * 2 : 2 %* #7 (( :,23 #2% 7 * 3%* 37$ . 27 %* 7; 2 (8337 * % ;% #7%!37 ; #3 (* '-** */ % ,* 2 8*'7%,* 0 *37 * 1 , 7; 2 37$ . 27 %* (8337 * ;% #7%!37 2)-!(% #7 2 %73 2 %73 * % 2)%*,(,!% 2 2 * # *! . 337/ % % ;% #7%!37 37$ . 27 %* (8337 * * % 2 2)%*,(,!% 2 * # *! . 337/

! % (% % 28*! 2! *%3$ 2 #$

; 2 % 7 %! 28*! 2 29 2 %=% *=/ % 3 ;82 *8*!3 (!,2%7#) * :,* 37$ . 27 / ; 2 % 7 %! 28*! 2 29 %=% *=/ % 3 ;82 . =% (( %* 2 ,23 #8*! %37 3 # 8 %! 2 %! 28*! 2 29 %=% *=/ % 3 ;82 . =% (( %* 2 ,23 #8*! %37 3 # 8 %! 2 ,2 2(% # ,2 2(% # %7 2 %*7 !2% 27 * 2)%*,(,!% 8)3 # (78*! 82 # % . % # 28*! 3 29 22 % #7/ 2 82 # . % # 28*! * .( 7= 3 29 ( 8 2 % .2,!2 ))% 2 * =8 '-** */ %7 . % # 28*! 3 29 % .( 7= 3 22 % #7/ 3 2 29 .( 7= 3 22 % #7/ 2 '-** * % * 29 ( 8 2 % =8 '-** */ %7 37 2$ 29 :,23 #2% 7 * * .2,!2 ))% 2 * 8*7 23 #% $ )833 *82 ( 8 % : 2; * * 29# :,2$ (% # 2 * # * *! . 337 ; 2 */ 82 # ; 2 * 8 *; * 2 : 23 #% * * * * 3 8*7 23797=7 (# !!& !# =8 !# ) !2 ( 8 %7,2 )833)-!(% #/ *82 =8 : 2; * * 29 :,2$ *; * 2 ) !2 %3 # * %7,2 :,* %3 # * 37$ . 27 37 #7 :,* 37$ . 27 37 #7 )833 *82 % =8 : 2; * * 29 % :,2$ !2% 82=$ ! 8* ,2) (= % # * %*# %7 * 3,;% 3. =% (( % ,2( %7 2 % ) #2) (3 ) ! % $ !) ! # ! ' % ,22 33,82 * * 8 =8,2 * * )933 */ 2 ) 7 2 2 * # *3. =% %3 # 2! 37 ((7/ 2 *87$ * *87= 2* 92 3 * *87= 2* 92 3 )! 92 !! # ! #* !# # # = 2 3% #7 *82 % %*! % % & ; %(%! 2 * # *73.2 # * 2'= 8! *73.2 # * 2'= 8!

2 ( : *7 3%* / $!' % ) * # * 2 * # * # # ;% *$ 7 ((

% $ =82 2 9!8*!/ * 83,=82 2 9!8*!/ * 83,

; 2 * 87,) 7%3 # =83 7=(% #

<,873 *! = %!7 ! # # !# $ #2 * 2 3% # # 8 %! * 2* 2 * # $ 8* 2 29 ( 8 8) ; %7 2 8*'7%,* * (,!%3 #'-** * )%7 37$ . 27 '-** * )%7 37$ . 27 $ ! $ $!' # & *87= 2 * * % !29* 8*! 92 %* %* # 2$ 2; %7 27/ )%7 ;%2 3 ( 2 %7 * )%7 37$ . 27 ,*$'8* *3. =% %3 # ,*$ (( 7 * 2 .29 :,23 #2% 7 * 3%* '8* *3. =% %3 # ( # ; 2 ! 3 * 2 '7,2 * % 3 3%!* 2 : 2 %* #7 8* , 7; 2 37$ . 27 %* (8337 * % ;% #7%!37 2 %73 * % 2)%*,(,!% 2 2 * # *! . 337/ 2 *. 338*! * % ! $ 2 *. 338*! * % ! $ ; 2 % 7 %! 28*! 2 29 %=% *=/ % 3 ;82 . =% (( %* 2 ,23 #8*! %37 3 # 8 %! 2 ,2 2(% # =% (7 8 % & ; %(%! * =% (7 8 % & ; %(%! * 82 # % . % # 28*! 3 29 .( 7= 3 22 % #7/ 2 * 29 ( 8 2 % .2,!2 ))% 2 * =8 '-** */ %7 ) !2 %3 # * ( 8 %7,2 :,* 37$ . 27 37 #7 *; * 2 )833 *82 % =8 : 2; * * 29 :,2$ 29 *; * 8*! * ! $ 29 *; * 8*! * ! $ * *87= 2* 92 3

*73.2 # * 2'= 8!37%))7 3%* 237 ((7 ; 2$37%))7 3%* 237 ((7 ; 2$ =82 2 9!8*!/ * 83, */ */ '-** * )%7 37$ . 27

*7 23 #% (% # *$ '8* *3. =% %3 # ,*$ *7 23 #% (% # *$ 2 *. 338*! * % ! $ 3,2%' %3.% (3; %3 2,$ 3,2%' %3.% (3; %3 2,$ =% (7 8 % & ; %(%! *

#- !! -* 0- *) 33! 2 7 ! * 29 *; * 8*! * ! $ *) 33! 2 7 ! * , , ) 2 - ) .! 3%* 237 ((7 ; 2$ ! # # , 37%))7 " ) 2 7$5 !$ 8 * #) 2 2 7$5 !$ 8 * #) 2 */ $ # # $) )-# # *$3,;% $ 33 29$3,;% $ 33 29$ # ) 2 * $# *7 23 #% (% # -# 3,2%' %3.% (3; %3 2,$ )$2 *** ) ,' ' * '-** * )%7 %( ' * '-** * )%7 %( *) 33! 2 7 ! * # %*-# 2-" 2 7$5 !$ 8 * #) 2 %* 3 2 ) 3 *3,2 *$ %* 3 2 ) 3 *3,2 *$ -,$" , * ), # -*0- , # /$# ) 2 - # -# 3,;% $ 33 29$ ) 2 - - # " # *, !!, /$# # $, ',*= .73 %* # %*7 !$ ' * '-** * )%7 %( ',*= .73 %* # %*7 !$ - )

# ! # /$) *, !!, ), ! -* %* 3 2 ) 3 *3,2 *$2% 27 ; 2 */ % 33$2% 27 ; 2 */ % 33$ 0- , #! *, ,$$! )' ',*= .73 %* # %*7 !$ ' * ( 2 %) $ $ 2% 27 ; 2 */ % 33$' * ( 2 %) $ $ ' * ( 2 %) $ $2 % # ; %7 : 2 2 %7 7 *2 % # ; %7 : 2 2 %7 7 *

ภารบริญารŕ¸ˆูดภาร๠ละควบคุลภารทดสอบ ŕ¸ˆาภสŕšˆวนภ฼าง ŕ¸”ŕš‰วยภารŕšƒŕ¸Šŕš‰ Corporate License

2 % # ; %7 : 2 2 %7 7 * 500 ŕ¸‚ŕš‰อภ�าญนดภารทดสอบ

# - $ -! # , ) , , ๠ููลาตรŕ¸?าน # % ! , ! ,)$ # ) (- ! , , #$)" รายงาŕ¸™ŕ¸œ฼ภารทดสอบ

) , 2- " ** # -# )* # .) -# )0.#* , ) # ** " ,)$"# ,2 2- )" ,, !#' *$# )* *,%) # * # ,2). 0 ) -# # -) # 2-# " # # #* ,2 /$# ! *,-# * ! ,)$# * # #! # )/$) )- # 0 ) #'

EXECUTIVE SUMMARY Zwick is proudly present the software ‘Test-Xtert II’ which could operate the testing procedure harmoniously for the best result. It could reduce the error and keep the system flow in order that user could start the test soon as they can when the system start. as

, # -!, ! 1 ) $! # This system could be authorized user access level which support the executive or laboratory’s chief who must manage resource in lab -* " ) )$ so many times each day. ) "" ! ** # * " # * )- ! *,-# This software has been collected the testing program more than 600 methods. The user could use this program to operate the test # * # !! -# -# $" more than 900 standards. If user uses it with massive quantity, it will provide great &! 2 ), usability. The software will be considering related *, "" #' # 0 # ) # $#*,)- , $# factor that is force sensor, material handling or plate and testing room automatically. - ! , ,** )-# $ )

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ภารสŕ¸™ŕ¸˜ิŕš€ŕ¸‚ŕš‰าภูบระบบ IT ของ฼บภŕ¸„ŕš‰า สาลารถท�าŕš„ŕ¸”ŕš‰อยŕšˆางสลบบรŕ¸“ŕšŒ

ภารŕš€ŕ¸Šมŕšˆอลŕ¸•ŕšˆอภูบŕ¸?าŕ¸™ŕ¸‚ŕš‰อลบ฼ลาตรŕ¸?าน

96 special feature

#*, # !,-# %## # * " , ! * ) # # **" , $ # -** * ! /$# ) *,/ ), !-# - ! # ) # -# * -# $#, ,*, !! # / )* #'

½½½ Ì¢

E 0ÂŽn Q

? ‚

Q

Q

2 9

nÓ

䀽 A—

n ¢

!A 2n—½ ÂŽ¢{§ ĂŽĂŽ


เรื่อง: Peter Stipp

แปล/เรียบเรียง : อิทธิเทพ อมาตยกุล

special feature 97

การปรับใช้: การทีจ่ ะปรับใช้เพือ่ ให้ เหมาะสมกับแต่ละบุคคลนั้น นับ ว่าเป็นความพยายามอย่างสูง ของเทคโนโลยีทางการแพทย์ (ในรูป : แสดงถึงการทดลองเพื่อ ค้นหาเสถียรภาพเบื้องต้นของ เบ้าสะโพกเทียมที่ถูกกระท�ากับ แรงกระแทกต่าง ๆ)

เทคโนโลยีทางการแพทย์ และการผลิต ที่เชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด นวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพสู ง ส� า หรั บ แต่ ล ะปั จ เจกบุ ค คล ถื อ เป็ น ความต้ อ งการ ที่ ส� า คั ญ ของเทคโนโลยี ก ารแพทย์ ผู ้ ป ระกอบการจะสามารถจั ด การประสานความ ต้องการดังกล่าวกับเทคโนโลยีการผลิตที่ใช้และเป็นที่ยอมรับกันอยู่ในเวลานี้ ได้อย่างไร นั้น ? ค�าตอบเหล่านี้ ได้ถูกน�ามาจัดแสดงไว้ ในสาขาการแพทย์ (Medical Area) ด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขนาดผลิตภัณฑ์ที่เล็กลง การเปลี่ยนจากการตอบโจทย์ด้วยผลิตภัณฑ์เพียง อย่างเดียว (Pure Product Solutions) เป็นการ แก้ปัญหาเชิงระบบและกระบวนการ (System and Process Solutions) การสนธิเทคโนโลยีสารสนเทศ สมัยใหม่เข้ากับเทคโนโลยีการสือ่ สาร ความเป็นส่วนตัว และเป็นเอกเทศ ทั้งหมดนี้เป็นแนวโน้มที่ก�าหนดถึง งานด้ า นเทคโนโลยี ท างการแพทย์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน แต่ละวัน การเชื่อมโยงที่ใกล้ชิดของเทคโนโลยีทางการ แพทย์และเทคโนโลยีทางการผลิต เป็นหัวข้อของ สาขาการแพทย์ ที่ จั ด ขึ้ น ภายในงานนิ ท รรศการ International Exhibition for Metalworking (Metav) เมือง Duesseldorf ด้วยอัตราการเติบโตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ของเทคโนโลยีทางการแพทย์ ซึ่งเป็นกลุ่มของลูกค้า

ทีใ่ ห้ความส�าคัญอย่างมากในด้านของคุณภาพ ความ ปลอดภัย และความน่าเชื่อถือได้ สิ่งเหล่านี้ต้องการ เทคโนโลยีของกระบวนการ (Process Technologies) ที่ ส ามารถจะให้ ค วามแม่ น ย� า และความถู ก ต้ อ ง สมบู ร ณ์ ส� า หรั บ แต่ ล ะขั้ น ตอนของการผลิ ต ได้ ไม่ว่าจะเป็นการผลิตแบบชิ้นเดียวหรือแบบการผลิต เป็นจ�านวนมาก Mr. Lothar Horn ซึ่งเป็น CEO ของบริษัท Hartmetall-Werkzeugfabrik Paul Horn จากเมือง Tuebingen และประธานกลุ่มของ VDMA Specialist Group Precision Toolsเขาได้กล่าวว่า “ส�าหรับเครือ่ งบิน นัน้ งานขึน้ รูปส่วนใหญ่ คือ งานเจาะ ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบ กั บ ธุ ร กิ จ ด้ า นเทคโนโลยี ท างการแพทย์ แ ล้ ว งานขึ้นรูปส่วนใหญ่จะเป็นงานกลึงและงานกัด แต่ หากพิจารณาในแง่ของมูลค่านัน้ ประมาณ 50% จาก

เมื่อพิจารณาถึงความต้องการ ต่างๆ แล้ว จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยี ทางการแพทย์ มีลักษณะร่วมที่ เหมือนกับภาคอุตสาหกรรมการบิน อยู่หลายประการ กล่าวคือ มีความ ต้องการเครื่องมือ (Tools) เพิ่มสูงขึ้น ส�าหรับการน�ามาใช้กับ งานตัดขึ้นรูปแบบมีเศษ กับวัสดุที่ ท�างานได้ยาก และมีราคาสูงมากขึ้น

ยอดขายรวมของบริษัทจาก Tuebingen จะมาจาก อุตสาหกรรมยานยนต์และประมาณ 15% มาจาก ธุรกิจด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จะมาจากความต้องการจากทัว่ โลกในการใช้อปุ กรณ์ ที่ฝังในร่างกาย (Implant) และการใส่อวัยวะเทียม ท�าให้งานด้านการขึน้ รูปเติบโตสูงขึน้ ถึงประมาณ 5% ต่อปีต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995” ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านหนึ่งของบริษัท จาก Tuebingen คือ การพัฒนา ‘Tailor-made Tools’ ตามข้อก�าหนดของลูกค้า issue 166 december 2016


98 special feature

Mr. Horn ได้กล่าวเพิม่ เติมว่า “ส�าหรับลูกค้ารายหนึง่ ซึง่ ยึดมัน่ อย่างมากกับความส�าคัญของความสามารถ ในการผลิต เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้ท�าการพัฒนา Milling Tools ขึน้ มาโดย เฉพาะ เพื่ อ ใช้ ส� า หรั บ งานท� า ข้ อ สะโพกเที ย ม โดยได้ทา� การพัฒนาจากเครือ่ งมือตัดระบบสามคมตัด (Three – Cutting – Edge System) ให้เพิ่มเป็นระบบ หกคมตัด (Six – Cutting – Edge System) ท�าให้ ความสามารถในการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 30% ซึ่งโดย ทั่วไปแล้วความส�าเร็จของการปรับปรุงกระบวนการ ที่ให้ผลตอบรับมากอย่างนี้จะเกิดขึ้นได้ ก็เฉพาะเมือ่ มีความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ กับเจ้าของงาน” ทัง้ นี้ การเลือกเครือ่ งมือทีน่ า� มาใช้งานส�าหรับงาน ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์จากแค็ตตาล็อกนัน้ จะ เกิดขึน้ น้อยมาก Mr. Horn อธิบายเพิม่ เติมว่า “เกือบ จะตลอดเวลาทีเ่ ราต้องท�าการปรับผลิตภัณฑ์ของเรา ให้ตรงกับลักษณะการน�าไปใช้งาน และนั่นเป็นสิ่งที่ ยืนยันว่าเราเป็น German Engineering Artistry ส�าหรับตลาดในประเทศ”

ประมาณ 30-40% ของความต้องการ จะเป็นของเครื่องมือพิเศษ ทว่าสิ่งที่ส�าคัญ เป็นอย่างยิ่ง คือ ความแม่นย�าในการ ท�าซ�้า มีผลิตภัณฑ์พร้อมอยู่เสมอ และ กระบวนการผลิต ที่ได้รับการยืนยัน ความถูกต้อง ท้าทายของผูป้ ระกอบการ ในการสร้างเครือ่ งมือ เช่น เพื่ อ ใช้ ส� า หรั บ ท� า การผลิ ต เครื่ อ งมื อ ผ่ า ตั ด จาก เหล็ กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel, High-alloy Austenitic Steel เช่น EN1.4301 (ASTM 304)) ส�าหรับการผลิตอุปกรณ์ที่ฝังในร่างกายมนุษย์ ซึ่งท�า จาก Titanium หรือ Cobalt Chromium (CoCr) Alloy และอุปกรณ์ที่ท�าจาก Carbon Fibre Composite Materials (CFRP)

เกือบจะตลอดเวลาที่เราต้องท�าการปรับผลิตภัณฑ์ของเราให้ตรงกับ ลักษณะการน�าไปใช้งาน และนั่นเป็นสิ่งที่ยืนยันว่าเราเป็น German Engineering Artistry ส�าหรับตลาดในประเทศ Mr. Lothar Horn CEO ของ Hartmetall-Werkzeugfabrik Paul Horn GmbH อย่างไรก็ตาม ผูใ้ ดทีม่ คี วามส�าเร็จในการท�าเช่นนีไ้ ด้ ก็สามารถจะรักษาสถานภาพทางตลาดของตนใน ระดับโลกไว้ได้ Mr. Horn ได้เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุน ค�ากล่าวอ้างดังกล่าวด้วยประสบการณ์ทไี่ ด้จากตลาด ในตะวั น ออกไกล: ลู ก ค้ า จากบริ เวณพื้ น ที่ ป ่ า ด� า (Black Forest) ของบริษัท Horn รายหนึ่ง เป็น ตัวอย่างที่ประสบความส�าเร็จจากการที่ได้ยอดการ ผลิตที่เสียให้ไปกับผู้ประกอบการจากจีนกลับคืนมา โดยการเพิ่มความสามารถในการผลิตของตนขึ้น: ปัจจุบันนี้ลูกค้ารายนี้สามารถผลิตสกรูขันกระดูก (Bone Screw) ได้ถึงเกือบ 500 ล้านชิ้นต่อปี โดย มีราคาต�่ากว่าที่ผลิตจากจีน ความลับของความ ส�าเร็จนีอ้ ยูท่ กี่ ารจับคูก่ นั อย่างแม่นย�าของเครือ่ งมือกล ตัวจับเครื่องมือ (Tool-Holder) และเครื่องมือ ซึ่งน�า ไปสู่คุณภาพและผลผลิตที่สูงขึ้นอย่างมีนัยยะ เป็น เรื่องที่เราได้รับการเปิดเผย ความต้องการของเครื่องมือได้ถูกก�าหนดให้มี ความเข้มงวดมากขึ้นจากลูกค้าของบริษัท Fraisa GmbH จากเมือง Willich โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่ เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการแพทย์นั้นถือเป็นความ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ข้อก�ำหนดทีส่ ำ� คัญ คือ ควำมแม่นย�ำในกำรท�ำซ�ำ้ และกระบวนกำรได้รับยืนยันควำมถูกต้อง Mr. Michael Ohlig ผู้จัดการฝ่ายขายและการ ตลาดได้อธิบายไว้ “กลุ่มลูกค้ายังยึดมั่นอย่างมาก ที่จะให้ความส�าคัญกับอัตราการก�าจัดเนื้อวัสดุที่สูง และมีอายุการใช้งานนาน ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากส่วนมากแล้ว ตามขั้นตอนจะต้องมีการตามเก็บงานที่ตัวชิ้นงาน ส่งผลให้ความส�าคัญด้านคุณภาพผิวของชิน้ งานเป็น เรื่องรองลงไป” Mr. Ohlig กล่าวต่อไปว่า “ผู้ผลิตบางรายนิยมที่ จะไม่ท�าผิวของอุปกรณ์ที่ฝังในร่างกายมนุษย์ให้มี ความเรียบมัน หากแต่ตงั้ ใจจะให้ผวิ มีความหยาบอยูบ่ า้ ง แนวโน้มอย่างหนึ่งส�าหรับสาขานี้ในปัจจุบัน คือ เทคโนโลยีทางการแพทย์สว่ นบุคคลซึง่ มีโจทย์วา่ เรา สามารถจะผลิตอุปกรณ์ทฝี่ งั ในร่างกายมนุษย์ให้เป็น เอกเทศเฉพาะตัวบุคคลได้อย่างไร? ค�าถามนี้เป็น ค�าถามซึง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญทัง้ นักวิจยั และนักอุตสาหกรรม พยายามที่จะให้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมสาขา การแพทย์ โดยมีเจตนาทีจ่ ะแสดงให้เห็นตัวอย่างว่า สามารถจะท�าการผลิตเพียงชิ้นเดียว (Batch size 1)

ได้อย่างไรในด้านของเทคโนโลยีทางการแพทย์ กับ กระบวนการผลิตแบบดั้งเดิม ส�าหรับความเป็นส่วน บุคคลนั้นเป็นเรื่องที่กระทบโดยตรงของห้องทดลอง งานวิจัย Research Laboratory for Biomechanics And Implant Technology (Forschungslabor für Biomechanik und Implantattechnologie [FORBIOMIT]) ที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ROSTOCK” Prof. Dr. Med. Habil. Dipl. -Ing. Rainer Bader หัวหน้าห้องทดลองได้อธิบายว่า “เงื่อนไขขอบเขตมี การเปลี่ยนแปลงอย่างมากส�าหรับผู้ป่วยแต่ละราย เมื่อพิจารณาถึงการฝังอุปกรณ์ทางด้านศัลยกรรม กระดูก ก่อนทีจ่ ะมีการผลิตอุปกรณ์ให้กบั ผูป้ ว่ ยแต่ละ รายนัน้ จะต้องมีการจ�าลองทางดิจติ ลั ก่อน เพือ่ ตรวจสอบ ว่าอุปกรณ์ที่จะถูกฝังนี้จะรับความเครียดที่เกิดขึ้น อย่างใด” ปัจจุบนั ยังขาดแบบจ�าลองมาตรฐานส�าหรับใช้กบั มนุษย์ที่ครอบคลุมคุณลักษณะอันเป็นเอกเทศของ ผู ้ ป ่ ว ยแต่ ล ะราย พร้ อ มกั บ มี ค วามเหมาะสมกั บ เทคโนโลยี ท างการแพทย์ ส ่ ว นบุ ค คล ซึ่ ง นี่ ก็ คื อ ทิศทางงานวิจัยของนักวิจัยที่เมือง Rostock โดยใช้ การจ� า ลองที่ ค ล้ า ยกั บ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นภาค อุตสาหกรรมซึ่งเรียกว่า ‘Hardware-In-The-Loop (Hil)-Simulations’ ท�าการจ�าลองส�าหรับข้อสะโพก เทียม และข้อเข่าเทียม (Hip And Knee Endoprostheses) อย่ า งมี ก ารปฏิ สั ม พั น ธ์ (In-The-Loop) ระหว่างหุ่นยนต์ (Hardware) กับแบบจ�าลอง Digital Multi-Body Model ของโครงกระดู ก รยางค์ ล ่ า ง (Lower Extremity)

กำรรวมกันของวัสดุโครงสร้ำง และคุณสมบัติตรงกับกำรใช้งำนเข้ำด้วยกัน ด้วยระยะเวลาถึง 4 ปีที่ “Fraunhofer Institute for Machine Tools and Forming Technology (Fraunhofer Institut für Werkzeugmachinen und Umformtechnik; IWU) ทีเ่ มือง Chemnitz และ Dresden ได้ พ ยายามที่ จ ะค้ น คว้ า วิ จั ย และพั ฒ นาในด้ า น เทคโนโลยีทางการแพทย์ นอกเหนือไปจากกระบวนการ แบบเยเนอเรทิฟ (Generative Process) เช่น การ หลอมด้วยล�าแสงเลเซอร์ (Laser Beam Melting)

วัสดุแต่ละชนิด ต้องการกระบวนการขึน้ รูป ที่แตกต่างกัน และเครื่องมือ ที่ต้องใช้ส�าหรับขึ้นรูป ก็แตกต่างกันด้วย อีกทั้งยังมีปัจจัยเสริม คือ เครื่องจักร ส�าหรับงานทันตกรรมถูกน�าไปประยุกต์ ส�าหรับงานอื่นเพิ่มมากขึ้น


special feature 99

ภาพสเก็ตช์เสมือน : เครือ่ งมือกล ส�าหรับงานด้านทันตกรรม แสดง ความโดดเด่นของการออกแบบที่ เหมาะสมกับลักษณะงาน

เป้าหมายของสถาบันแห่งนี้บางส่วนจะเกี่ยวข้องกับ ‘การผลิตเพียงชิ้นเดียว’ อีกทั้งยังมีส่วนที่เรียกว่า Unconventional Material Compounds ซึ่งจะรวมถึงวัสดุที่ได้ท�าการสนธิวัสดุที่คุณสมบัติ เหมาะสมกั บ ลั ก ษณะการใช้ ง าน (Integrated Functional Materials)” Prof. Dr. -Ing. Welf-Guntram Drossel ซึ่งเป็น ผู้อ�านวยการของงานวิจัยด้าน Mechatronics And Functional Lightweight Construction ได้กล่าวว่า “เราได้ท�าการสนธิ เช่น Shape-Memory Element เข้ากับชิ้นส่วนที่จะถูกฝังในร่างกายมนุษย์ เพื่อที่จะ รักษาให้แรงกดที่ผิวสัมผัสกับกระดูกเกิดขึ้นอย่าง สม�่าเสมอเป็นลักษณะเดียวกัน ท�าให้เกิดการปรับ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขต่างๆ ได้อย่างโดยตรงและเป็นอิสระ ดังนัน้ จึงเป็นการรวมกัน ของวั ส ดุ โ ครงสร้ า งและมี ค วามเหมาะสมกั บ การ ใช้งานเข้าด้วยกัน นัน่ ก็คอื การน�าเทคโนโลยีและวัสดุ มาประสานกันอย่างสอดคล้อง” บริษทั Datron Ag เมือง Muehtal ได้มกี ารพัฒนา Processing Centre พิเศษเฉพาะทาง (Specially Tailored Processing Centre) ส�าหรับช่างทันตกรรม และทันตแพทย์ ถูกสร้างขึ้นมาโดยเฉพาะส�าหรับ งานด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ส่วนบุคคล ทั้งนี้ Mr. Frank Fuchs ซึ่งเป็นผู้จัดการด้าน ผลิตภัณฑ์ Dental CAD/CAM System ได้กล่าวว่า “ความท้าทายอยู่ที่การพัฒนาเครื่องจักรที่สามารถ ปรับให้เข้ากับวัสดุหลากหลายชนิดทีถ่ กู น�ามาใช้งาน และให้เข้ากับลูกค้าในกลุ่มงานทันตกรรม ซึ่งทั่วไป แล้ ว ไม่ มี ค วามรู ้ ที่ เ กี่ ย วกั บ การโปรแกรมและการ ขึ้นรูป เนื่องด้วยงานการผลิตในด้านทันตกรรมนั้น จะต้องท�างานกับวัสดุที่หลากหลาย เช่น พลาสติก Zirconium Oxide หรือ Titanium”

Mr. Fuchs ได้กล่าวต่อไปว่า “เรามีลูกค้าซื้อ เครื่องจักรส�าหรับงานทันตกรรม เพื่อน�าไปใช้ในการ สร้าง เช่น อุปกรณ์กระดูกส�าหรับฝังในร่างกาย และ นีก่ เ็ ป็นอีกครัง้ หนึง่ ทีเ่ ราจะต้องท�างานกับวัสดุทแี่ ตกต่าง ออกไปอย่างสิ้นเชิง”

สาขาในงานนิทรรศการ Metav โอกาสที่จะได้พบกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ผู้ร่วมด�าเนินงานรายหนึ่งของ Medical Area ก็ คือ VDMA working group Medical Technology ตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ มา กลุม่ งานนีว้ างต�าแหน่งของตนเอง ไว้ ใ ห้ เ ป็ น เวที ส� า หรั บ การค้ น หาปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิตด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ Mr. Juergen Lindenberg, CEO บริษัท Citizen Machinery Europe GmbH จากเมือง Essinglen และ เป็นสมาชิกของกลุม่ งาน ได้กล่าวถึงเรือ่ งนีว้ า่ “สาขาใหม่ ที่งานนิทรรศการ Metav เป็นโอกาสที่ดีในการที่จะ ได้แลกเปลีย่ นความคิดเห็นได้อย่างตรงเป้าหมายกับ ลูกค้าจากกลุม่ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกัน เราต้องการทีจ่ ะ ท� าความเข้าใจกับความต้องการต่างๆ ทางด้าน เทคโนโลยีการแพทย์ให้ลึกซึ้งมากขึ้น และต้องการที่ จะเสนอขีดความสามารถที่ส�าคัญของเราทางด้าน การขึ้นรูประดับไมโคร (Micro Machining)ให้กับกลุ่ม ลูกค้าเหล่านี้ งานนิทรรศการ Metav นีจ้ งึ เป็นการเปิด โอกาสที่ดี” สาขาเทคโนโลยีทางการแพทย์ส�าหรับภูมิภาคนี้ ได้รับการสนับสนุนจาก Cluster Medizin–Technik. NRW ที่ตั้งอยู่ที่เมือง Duesseldorf ทั้งนี้ CEO คือ Dr. Oliver Lehmkuehler ได้ให้ความเห็นว่า “สาขา การแพทย์ (Medical Area) ของงานนิทรรศการ Metav ได้ท�าการรวมภาคอุตสาหกรรมหลักของรัฐ North Rhine-Westphalia ได้แก่ เทคโนโลยีการขึน้ รูป

โลหะ และเทคโนโลยี ท างการแพทย์ เข้ า ด้ ว ยกั น แนวทางนี้เป็นการเน้นถึงเทคโนโลยีคุณภาพสูงจาก North Rhine-Westphalia (NRW) และผลิตภัณฑ์ ทางด้านการแพทย์ซึ่งผลิตจากเทคโนโลยีนี้ ในฐานะ ที่เป็นผู้ร่วมมือกับ Medical Area เราจึงมีความยินดี ทีจ่ ะสามารถท�าให้ผปู้ ระกอบการทีม่ นี วัตกรรมระดับสูง จากรัฐ North Rhine-Westphalia ซึง่ มีบทบาทส�าคัญ ในการเชื่อมประสานนี้ ได้มีวิสัยทัศน์ที่ดีขึ้น” เป็นทีช่ ดั เจนว่า Mr. Ulrich Krenzer ซึง่ เป็น CEO ของบริษัท Mapal Competence Center VHM, Miller จากเมือง Altenstadt มีความมั่นใจกับกรอบ ความคิดใหม่นี้ และได้กล่าวเพิ่มเติมว่า “เทคโนโลยี ทางการแพทย์แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่มีอยู่อย่าง มากมาย แต่ทั้งนี้ก็เรียกร้องถึงการพัฒนาแนวทาง แก้ปัญหาของตัวเอง ตัวอย่างเช่น ในงานทันตกรรม ที่ต้องพิจารณาถึงการปรับปรุงรูปทรงและวัสดุที่จะ น�ามาใช้เป็นคมตัด เรารูส้ กึ ยินดีมากทีก่ ลุม่ อุตสาหกรรมนี้ ได้ถูกน�าเสนอในสาขาของตัวเองในงานนิทรรศการ Metav 2016 ครั้งนี้”

สาขาการแพทย์ (Medical Area) ของงานนิทรรศการ Metav ได้ท�ำกำรรวม

ภำคอุตสำหกรรม หลักของรัฐ North Rhine-Westphalia

ได้แก่ เทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะ และ เทคโนโลยีทางการแพทย์เข้าด้วยกัน Dr. Oliver Lehmkuehler CEO ของ Cluster – Medizin Technik. NRW

EXECUTIVE SUMMARY Medical technology development rate is climbing up which this sector’s customer gives priority to quality, security and reliability. These factors are needed process technologies that could drive each procedure of manufacturing process with precision and perfection. As you can see, the medical technology is sharing many specification with aviation industry. For example, it’s needed more tools to forming material with some bit and hard to control material which the cost is raising. By 30-40% of the demand is special tool requirement. The most important feature is a precision for repeat, stock must be readied all the time and manufacturing process could identify the product’s correctness. Every factors are going to be a trend for technology development to support manufacturing industry and medical industry, particularly the advance medical device. issue 166 december 2016



NO.166 12/2559

ลุนรับรางวัลงายๆ

เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ

บริษัท ที.วี.พี. วาลว แอนด นิวแมติค จำกัด บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด บริษัท กาวหนา อินดัสทรีส แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด Tel: 0-2731-1191#131

Fax: 0-2769-8043

ชื่อ :

บริษัท :

อีเมล :

เบอรโทรศัพทมือถือ :

บริษัท ฮิตาชิ เอเซีย (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จำกัด Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :


102 Editor’s Pick

“ YuMi ” อนาคตความร่วมมือระหว่าง หุ่นยนต์กับมนุษย์

GERMAN RACK กับเทคโนโลยีที่ตอบทุกโจทย์ของ DATA CENTER ในยุคนีก้ ลายเป็นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารอย่างแท้จริง การรับส่งข้อมูล ต้องรวดเร็ว หรือการ Download และ Upload ต้องสามารถรองรับกับความ ต้องการของผู้ใช้งานที่นับวันยิ่งมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่จะมา ตอบโจทย์พวกนี้ก็คือ Data Center นั่นเอง และการท�าศูนย์ Data Center เพื่อท�าเป็นพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลก็ไม่ได้ยุ่งยากอย่างที่คิด INTERLINK ขอน�าเสนอตู้ Rack ที่เอามาแก้ปัญหาใหญ่ของ Data Center สองเรื่องคือ พื้นที่การจัดวางตู้ Rack และการแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในตู้เดียวกันส�าหรับ ผู้เช่าต่างบริษัทกัน

เอบีบีได้สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ให้กับวงการหุ่นยนต์ด้วยการ เปิดตัวหุ่นยนต์นวัตกรรมแบบ 2 แขน ที่เป็นมิตรกับมนุษย์ พร้อมระบบการ ท�างานทีจ่ ะมาปลดล็อกสมรรถนะการใช้งานหุน่ ยนต์ในอุตสาหกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ ระดับโลก โดยหุ่นยนต์ตัวดังกล่าวมีชื่อว่า “ YuMi ” ย่อมาจากค�าว่า “ You and Me ” ที่ท�างานร่วมกัน YuMi เป็นหุ่นยนต์แบบ 2 แขนกล ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งาน หุน่ ยนต์ในอุตสาหกรรมยุคใหม่ เช่น การประกอบชิน้ ส่วนขนาดเล็ก ซึง่ มนุษย์ สามารถท�างานร่วมกับหุ่นยนต์แบบมือต่อมือในงานชิ้นเดียวกันได้ โดยใน ระยะแรก YuMi ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการด้าน การผลิต ทีต่ อ้ งอาศัยความยืดหยุน่ และความรวดเร็วของอุตสาหกรรมการผลิต ชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ในอนาคตจะขยายวงครอบคลุมตลาดในภาคส่วนอืน่ ๆ ต่อไป และ YuMi ก็เป็นค�าตอบของการประกอบชิ้นส่วนด้วยแขนกล 2 แขน ที่ให้ความรู้สึกจับต้องได้ แขนกลที่ได้รับการบุและมีความอ่อนนุ่มของ YuMi ผสมผสานเทคโนโลยีกันนวัตกรรมการสัมผัสแรงกระแทก ท�าให้มั่นใจว่าหุ่น ยนต์ตัวนี้จะปลอดภัยส�าหรับมนุษย์ที่ต้องท�างานร่วมกันและเป็นระบบการ ท�างานเพื่อความปลอดภัยที่ติดตั้งมาในตัวหุ่นยนต์ ท�าให้สามารถท�างานได้ โดยไม่ต้องจ�ากัดอยู่แต่เฉพาะในกรอบ YuMi สามารถท� า งานด้ ว ยความแม่ น ย� า สู ง และยั ง สามารถ จัดการกับสิ่งที่มีความละเอียดอ่อนและมีขนาดเล็กได้ทุกอย่าง ตั้งแต่กลไก ของนาฬิกาข้อมือไปจนถึงชิ้นส่วนภายในโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ กระทั่งสามารถสนเข็มได้เลยทีเดียว ทั้งนี้ YuMi จะเป็น ประดิษฐกรรมที่สื่อให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรที่ สามารถท�างานร่วมกันได้ในรูปแบบที่ไม่มีใครคิดฝันมาก่อนว่าจะเกิดขึ้นจริง บนโลกนี้

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

1. ลดพืน้ ทีก่ ารใช้งาน เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ตู ้ นี้ อ อกแบบเป็ น ตู ้ เ จาะรู ร ะบาย อากาศทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง เพื่ อ ให้ สามารถระบายความร้ อ นที่ ส ะสมภายใน ตู ้ ไ ด้ ดี และมี จุ ด เด่ น ที่ ป ระตู ตู ้ อ อกแบบให้ สามารถเปิดออกเป็นบานซ้ายและขวา โดย เปิดจากตรงกลางเพื่อลดพื้นที่การใช้งานตู้ Rack เหลือ 30 เซนติเมตร (ปกติจะกินพื้นที่ 60 เซนติเมตร) 2. แบ่งพื้นที่ส่วนตัวให้เหมาะสมและลงตัว ตู้นี้ออกแบบมาให้เหมาะสมกับ Data center ที่มีผู้มาเช่าตู้ใช้งานแต่ ไม่ได้เช่าพื้นที่ทั้งตู้ มีให้เลือก 2 รุ่นคือ รุ่น Haft Rack (ตู้เปิด 2 ตอน) และ Quad Rack (ตู้เปิด 4 ตอน) ผู้มาเช่าพื้นที่จะมีทั้งความปลอดภัย และความ เป็นส่วนตัว ออกแบบให้ประตูหน้าและประตูหลัง มีความเป็นอิสระแยกจาก ผูเ้ ช่าในส่วนอืน่ ๆ ทัง้ กุญแจล็อกทีส่ ามารถเปิดได้เฉพาะส่วนเท่านัน้ (เลือกได้ ทั้งแบบ Master Key และแบบ Swing Handle Lock)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ INTERLINK COMMUNICATION PUBLIC CO., LTD. Tel: 0-2693-1222 Expressway: 0-2276-0340 Fax: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th


Editor’s Pick 103

Website Guide

http://www.ikont.co.jp/eg/ Product information Products can be searched by product series names and by a bearing’s directional motion. On each page, product features are detailed in a user friendly format Download <CAD Data> CAD data can be downloaded for each product. 2D and 3D CAD data is provided. <Product Catalog> The product catalogs can be downloaded in PDF format. Exhibition/trade show information Worldwide trade show/exhibition schedules are available so you can find out where will be showcasing our products near you. We encourage you to come view our products in person at any of our booths. Introducing the Technical Service Site The Technical Service Site can be accessed from the website. We offer various tools to help you make an appropriate Linear Way and Linear Roller Way selection. Please use them to aid with your selection. You can also use the site to download Instruction Manuals for the mechatro series. Login Screen

Menu Screen

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้าระดับโลก RS Components RS Components คือศูนย์รวมผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์ทางด้านอุตสาหกรรม และอิเล็คทรอนิกส์ที่คอยให้บริการและตอบโจทย์ความต้องการของวิศวกร และฝ่ายจัดซื้อมานานกว่า 75 ปี ..ที่นี่ คุณสามารถเลือกซื้อทุกสินค้าได้ในที่เดียว และมีให้เลือกมากกว่า 500,000 รายการ ..ทีน่ ี่ คุณสามารถเลือกซือ้ โดยไม่จา� กัดจ�านวน ไม่วา่ จะเพียงชิน้ เดียวหรือ หลายพันชิ้น ..ที่นี่ คุณสามารถค้นหาสินค้าได้อย่างรวดเร็วผ่านเว็บไซด์และโซลูชั่น ต่างๆ ที่คอยอ�านวยความสะดวกแก่คุณ ..ที่นี่ คุณมั่นใจได้ถึงคุณภาพของสินค้า เพราะเราคัดสรรมาจาก 2,500 แบรน์ดชั้นน�า ..ที่นี่ คุณเชื่อมันได้ถึง ราคาที่คุ้มค่า โดยไม่ต้องเสียเวลาเปรียบเทียบ กับที่อื่นอีกต่อไป

Same High-Quality Own Label Products เลือกคุณภาพสูงสุด ด้วยราคาคุ้มค่าเหนือความความหมาย ทุกผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ RS Pro ล้วนผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน อุตสาหกรรม และเป็นที่ยอมรับในกลุ่มผู้ใช้งานด้าน วิศกวกรรมเป็นอย่างดี ครบครันด้วยผลิตภัณฑ์มากมายมากว่า 40,000 รายการ ซึ่งคุณสามารถ มั่นใจได้ถึงคุณภาพที่ไม่เป็นรองใครด้วยตรา RS Seal of Approval พร้อม กับการรับประกันการใช้งานถึง 3 ปี และที่ส�าคัญที่สุดด้วยราคาที่คุ้มค่า จะช่วยให้คุณประหยัดได้มากถึง 30% เมื่อเทียบกับแบรนด์ชั้นน�าทั่วไป พิสูจน์ด้วยตัวคุณเองที่ th.rs-online/rspro ผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดจาก RS Pro

ATEX ทรานสมิตเตอร์วัด แรงดัน รุ่น IPS & IPSs ซีรีย์

พาวเวอร์ซัพพลายแบบ Single Output Switching รุ่น DRA ซีรีย์

ปุ่มกดแบบ DPDTMomentary ขนาด 19 mm ท�าจากแสตนเลทสตีล สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. Tel: 0-2637-5115 Fax: 0-2637-5116

Multi Timer แบบ NO/NC Contacts

หัวปลั๊กคอนเน็คเตอร์ รุ่น ZC Series, 8 Pole Cable Mount Minature Connector Plug

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ RS COMPONENTS CO., LTD. Tel: 0-2648-6868 Email: onlinehelp.TH@rs-components.com Website: th.rs-online.com issue 166 december 2016


ขอ มลูผส ูมคัรสมาชกิ ชื่อ (Name)

นามสกลุ (Surname)

ตำแหนง งาน

E-mail

เบอร โทรศพัท (Telephone)

เบอร โทรสาร (Fax)

สมคัรสมาชกิ นติยสาร Modern Manufacturing

มอืถอื (Mobile)

ตั้งแตฉ บบั

ถงึ ฉบบั

ทีอ่ ยที ู ่ใช ในการจดัสง บร�ษทั

แผนก/หนว ยงาน

เลขที่

หม ู

แขวง/ตำบล

ประเภทอตุสาหกรรม เขต/อำเภอ

จงัหวดั

รหสัไปรษณยี

ว�ธกีารชำระเง�น โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชือ่ บญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214 เชค็ขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั

subscribe now!

840 บาท





T.V.P. Valve & Pneumatic Co., Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sales@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.