Modern Manufacturing Magazine : February 2017

Page 1

Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

THE EASY WAY TO DEVELOP SOMETHING SPECIAL by

ทำใหหลายส��ง เปนเร�่องงาย สำหรับคุณ คุณวรินทร รอดโพธิ์ทอง รื้อ แงะ แกะ ซอม... เลนจนไดดี มีวันนี้เพราะดีเอ็นเอ ‘ชาง’

นวัตกรรมหุนยนต ทำความสะอาดแผงโซลารเซลล

ใหอุตสาหกรรมนำ อาจารยตาม รัฐสนับสนุน… สูตรความสำเร็จดานงานวิจัย

p. 36

p. 62

p. 72

70 baht


INVERTER NE-S1

WJ200

NJ600B

SJ700/SJ700D

Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW

Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW

Inverter Designed for Fans,Pumps and Conveyors 5.5-355kW

High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW

THE POWERFUL DRIVE SYSTEM

PLC

CONTACTOR & BREAKER

MOTOR & BLOWER


THIS IS RELIABILITY ZoomlockTM Braze-Free Tube Fitting Change Everything

Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000

www.parker.com/th

Specially designed to work without brazing, which makes your job simpler and faster when joining copper tubes. The fittings are leak-proof and more repeatable than brazed connections


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Stage floor Silo, Hopper, Damper

Mixing Tank Elec. System

STOCK MATERIAL

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด

เปนผูนำในการดำเนินธุรกิจดาน วิศวกรรม ที่มีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพสินคา และบริการอยางตอเนื่อง รับผลิตและติดตั้งงานถัง ทออุตสาหกรรม และการขยายโรงงานผลิต เชน STAGE FLOOR, SILO, HOPPER, DAMPER, Mixing Tank ELEC. SYSTEM, STOCK MATERIAL บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด

559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



12

news & UPDATE

ฟันธงเทรนด์อุตฯ ปี 60 สู่ ไทยแลนด์ 4.0 ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อเรือ่ ง ‘ฟันธงเทรนด์ อุตฯ ปีหน้า เสริมดวงชะตา Thailand 4.0’ เพื่อเดินหน้าขับเคลื่อน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ด้วยงบประมาณกว่า 150 ล้านบาท โดยมีส�านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนเป็นแกนกลาง ด�าเนินงาน เพือ่ ให้เกิดการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมศักยภาพ (New S-Curve) ให้มกี ารลงทุนและ สร้างรายได้กว่า 10,000 ล้านบาทในอนาคต โดยมี คุณภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี ผู้อ�านวยการ ส�านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (สพส.) ให้การต้อนรับ ณ อาคารอ�านวยการ ส�านัก พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน ซอยตรีมิตร กล้วยน�้าไท เมื่อเร็วๆ นี้

AVERA ท�ำบุญส�ำนักงำนใหม่ เพื่อเป็นสิริมงคลในชีวิตและการท�างาน คุณวิศษิ ฎ์ เจียรนัย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอวีรา่ จ�ากัด น�าทีมผูบ้ ริหารและพนักงานจัดงานท�าบุญ เนือ่ งใน โอกาสย้ายส�านักงานใหม่มายังอาคารศุภาลัยแกรนด์ ทาวเวอร์ เพื่อเสริมสร้างความเป็นสิริมงคลให้แก่องค์กร ผูบ้ ริหาร และเป็นขวัญก�าลังใจในการปฏิบตั งิ านของพนักงานส�าหรับการเริม่ ต้นการท�างานในปี 2560 โดยมีกจิ กรรม ท�าพิธีไหว้ศาลพระภูมิ ศาลตายาย และท�าบุญถวายเครื่องไทยธรรมภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ จ�านวน 9 รูป ณ อาคารศุภาลัยแกรนด์ ทาวเวอร์ ห้องเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 หลังจากนัน้ ร่วมรับประทานอาหารกลางวัน ร่วมกัน โดยมีพนักงานเข้าร่วมงานอย่างพร้อมเพรียงกัน ทัง้ นี้ บริษทั เอวีรา่ จ�ากัด ขอแจ้งเปลีย่ นทีอ่ ยูส่ า� นักงานใหญ่เป็น ‘อาคารศุภาลัยแกรนด์ ทาวเวอร์ ห้องเลขที่ 02, 03 ชั้นที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120’ และหมายเลขโทรสาร จากเดิม 0-2681-5995 เปลี่ยนเป็น ‘0-2074-4411’ จากนี้เป็นต้นไป

นวัตกรรมเพื่ออำหำร 4.0 หนุนแบรนด์ ไทยสู่ตลาดโลก วิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รวมพลังความร่วมมือภาคเอกชน ตอบโจทย์อาหาร 4.0 เปิดตัวเทคโนโลยี ไครโอ ‘ดี’ ฟรีซเซอร์ (Kryo ‘D’ Freezer) น�านวัตกรรมมาถนอมอาหารโดยท�าแห้งแช่เยือกแข็งสุญญากาศแบบใหม่ซงึ่ ไม่ทา� ลาย เนื้อเยื่อ เปลี่ยนอาหารจานเด็ดเป็น ‘ก้อนผลึกอาหารแห้งเบา’ ที่คงคุณค่าทางอาหารและสามารถที่ จะคืนรูป รส กลิ่น สีเหมือนต้นฉบับเพื่อการบริโภคภายในไม่กี่นาที ทุกที่ทุกเวลา สร้างมูลค่าเพิ่มและ โอกาสให้แบรนด์เชฟและอาหารไทยส่งขายและเติบโตได้ทั่วทุกมุมโลก ตอบสนองไลฟ์สไตล์คนเมือง ซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านสะดวกซื้อ นักท่องเที่ยว ผู้ป่วยและผู้รักสุขภาพ ประหยัดค่าขนส่งและประหยัด พลังงาน รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. กล่าวว่า “คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ได้ร่วมมือกับภาคเอกชน ทดสอบเทคโนโลยี ไครโอ ‘ดี’ ฟรีซเซอร์ (Kryo ‘D’ Freezer) ซึ่งเป็นผลงานของคนไทยได้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยกลุ่มบริษัท ไอ.ที.ซี และได้รับทุนสนับสนุนส่วนหนึ่งจากส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ นับเป็นนวัตกรรมเครื่องถนอมอาหารที่ก้าวไกลไปอีกขั้น จากการทดสอบทางวิศวกรรมอาหาร พบว่าในกระบวนการผลิตไครโอ ‘ดี’ ฟรีซเซอร์ หรือ Cryodesiscation ท�าให้อาหารยังคงสภาพเหมือนอาหารต้นฉบับ ทั้งรูป รสชาติอร่อย กลิ่นและสี รวมถึงคุณค่าทาง โภชนาการใกล้เคียงกับอาหารปรุงสดมาก ทั้งนี้ จะช่วยให้ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพอาหารของไทยสู่ตลาดโลก และต่อยอดไปตลาดอาหารเพื่อสุขภาพได้อีกด้วย” คุณอภิชัย ล�้าเลิศพงศ์พนา ผู้บริหารบริษัท ไอ.ที.ซี (1993) จ�ากัด กล่าวว่า “ที่มาของนวัตกรรมเครื่อง ไครโอ ‘ดี’ ฟรีซเซอร์ (Kryo ‘D’ Freezer) มาจากเดิม กระบวนการฟรีซดราย หรือการท�าแห้งแบบแช่เยือกแข็งจะเกิดผลึกน�้าแข็งขนาดใหญ่เสมือนเป็นใบมีดที่ท�าลายเนื้อเยื่อในอาหารและส่งผลให้คุณภาพอาหารด้อยลงไป ท�าอย่างไรให้เกิดผลึกน�้าแข็งที่เล็กมากๆ เพื่อให้มี ‘อาหาร 4.0’ คุณภาพสูง เก็บไว้ได้นาน คืนรูปได้ลักษณะกายภาพ รสชาติอร่อย กลิ่น สียังอยู่ดังเดิมเช่นอาหารปรุงสด ต้นฉบับ ตอบสนองวิถีชีวิตที่เร่งรีบและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตในยุคไทยแลนด์ 4.0 จึงได้ใช้เวลาในการคิดค้นวิจัยและพัฒนามา 2 ปีเต็ม นับเป็นนวัตกรรมใหม่ของการ ท�าแห้งแบบแช่เยือกแข็งสุญญากาศ ไครโอ ‘ดี’ จะเปลี่ยนโฉมหน้าใหม่ของอาหารในโลก” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


news & UPDATE

TN Group เตรียมพร้อม ลุยงานสถาปนิก’ 60 เตรียมพบกับ กลุม่ บริษทั ทีเอ็น ได้ทงี่ านสถาปนิก’60 งานแสดงนิทรรศการและเทคโนโลยีดา้ น การออกแบบสถาปัตยกรรม และวัสดุก่อสร้างใหญ่ที่สุดในอาเซียน น�าโดยบริษัท เอสแม็ค เอเชีย จ�ากัด (Esmac Asia) ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านระบบบ�าบัดอากาศภายในอาคาร อาทิ ระบบพัดลม HVLS ระบบพัดลม Jet Fans และอื่นๆ อีกมากมาย พร้อมผู้เชี่ยวชาญที่คอยให้ค�าปรึกษาแก่ ผู้เข้าชมงาน สามารถพบกันได้ที่บูธหมายเลข L301 (L51) ระหว่างวันที่ 2 -7 พฤษภาคม 2560 ณ อาคารชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1 – 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ITE เปิดบ้ำน จัดฝึกอบรมให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ PEA คุณณัษฐา ประโมจนีย์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ พร้อมด้วย คุณชรินทร์ กูลประดิษฐศิลป์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายผู้เชี่ยวชาญระบบไฟฟ้า บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ากัด ให้การ ต้อนรับผู้แทนเข้าอบรมจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในหัวข้อ ‘SIFANG & ITE Training for PEA-2016’ โดยมี คุณเหลียนฟาง หยิน ผู้จัดการผลิตภัณฑ์อาวุโส Beijing Sifang Automation CO., Ltd (Sifang) บริษัทชั้นน�าของจีนที่พัฒนาระบบ Power Automation และเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เซี่ยงไฮ้เป็นวิทยากร ณ อาคารอิตัลไทย ทาวเวอร์ เมื่อเร็วๆ นี้

13


14

copyright & trademark

2016 2017 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th

COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

การสมัครสมาชิก

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.


พพ. กระทรวงพลังงาน รณรงค์การผลิต

และใช้พลังงานทดแทนอย่างปลอดภัย

ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก พลังงานทดแทน มีความส�าคัญอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากทรัพยากรหลักด้านพลังงานนั้นมีจ�ากัด รวมทั้ง ปริมาณความต้องการใช้เพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ดังนัน้ หน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องทุกประเทศทัว่ โลก ต่างแสวงหาและส่งเสริมให้ มีการผลิตและใช้พลังงานทดแทนกันมากขึน้ แต่ยงั ไม่คอ่ ย ประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องความปลอดภัยอย่างจริงจัง ท� า ให้ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ อ ยู ่ เ ป็ น ระยะ สร้ า งความเสี ย หาย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งาน จึ ง ได้ จั ด โครงการรณรงค์ ความปลอดภัยจากการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน (Energy Safety) โดยมีศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อ สิง่ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ETE) เป็นทีป่ รึกษา คัดเลือกอาสาสมัครพลังงาน (อส.พน.) แต่ละภูมิภาค จ�านวน 150 คน เข้ารับการอบรมและฝึก ปฏิบัติทดลองการใช้พลังงานทดแทน 3 เทคโนโลยีอย่าง ปลอดภัย ได้แก่ ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ชีวมวล (Biomass) และพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) พร้อมทั้งจัดท�าสื่อประชาสัมพันธ์ด้านความ ปลอดภัย อาทิ คู่มือ แผ่นพับ สารคดีแอนิเมชัน เพื่อให้ อส.พน. น� า ไปใช้ ป ระกอบการเผยแพร่ ค วามรู ้ ใ ห้ กั บ ประชาชนทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เช่ น ประเทศเวี ย ดนาม ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ อิ น โดนี เซี ย และ มาเลเซีย ในปี 2559 ทีผ่ า่ นมา อส.พน. ได้ทา� หน้าทีเ่ ป็นวิทยากร ตัวคูณจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เรื่องความปลอดภัยฯ ในชุมชน ฟาร์ม สถานประกอบการ รวมทั้งสถานศึกษา และหน่วยงานต่างๆ จ�านวนหลายแห่งทัว่ ประเทศ โดยเมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2559 ทีมวิทยากรตัวคูณภาคกลาง จังหวัดกาญจนบุรี ประกอบด้วยนายเอกรัช รอดคล�้า นายศิวกร รอดคล�้า นางรัตนาพร สาลี และจิราภรณ์ บางเชย ได้ จัด กิ จ กรรมฯ ณ กองพั น ทหารราบ ที่ 9 ต.ลาดหญ้า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ซึ่งมีการผลิตก๊าซ ชีวภาพน�าไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงประกอบอาหาร โดยวิทยากร ตัวคูณได้เปิดสารคดีแอนิเมชันเรือ่ งความปลอดภัยในการ ผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพให้ผู้เข้าอบรมได้รับชม พร้อมทั้ง มอบสื่อประชาสัมพันธ์ที่โครงการจัดท�าขึ้นประกอบการ บรรยายให้ความรู้ด้วย นอกจากนี้ พพ. และศูนย์วิจัยฯ ETE ร่วมกับ องค์กร Green Innovation and Development Centre (GreenID) ประเทศเวียดนาม ได้จัดประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้ า นความปลอดภั ย จากการผลิ ต และการใช้ พ ลั ง งาน ทดแทน (Training and Experience transfer sessions on Renewable Energy Safety) ภายใต้โครงการ Renewable Energy Safety in APEC ระหว่างวันที่ 8-10 มกราคม 2560 ที่ผ่านมา

Energy Safety ใช้พลังงาน

อย่างปลอดภัย มั่นใจกันทุกคน

พิธีเปิด ได้รับเกียรติจาก Ms. Nguy Thi Khanh, Executive Director, GreenID เป็ น ประธานกล่ า ว เปิดงาน ในการประชุม คุณศักดา สิทธิเครือ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ น�าเสนอทีม่ า ของโครงการและร่วมให้ความรูเ้ ทคโนโลยีพลังงานทดแทน ที่มีการผลิตและใช้งานในประเทศไทย พร้อมยกตัวอย่าง เหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้นและชี้แนวทางการ ป้องกัน/แก้ไข ด้านตัวแทนจากประเทศเวียดนามก็ได้ แบ่ ง ปั น ความรู ้ เรื่ อ งความปลอดภั ย ในการใช้ พ ลั ง งาน ทดแทนระดับชุมชนของประเทศเวียดนามด้วยเช่นกัน ระหว่างจัดกิจกรรม ยังมีตัวแทนอาสาสมัครพลังงาน (อส.พน.) ของประเทศไทย ซึง่ เป็นวิทยากรตัวคูณโครงการ รณรงค์ความปลอดภัยจากการผลิตและการใช้พลังงาน ทดแทน ได้แก่ นายธนชัย จาระณะ และ นายจิรวัฒน์ พรมจีน ร่วมแบ่งปันประสบการณ์เกีย่ วกับภารกิจเผยแพร่ ความรู้เรื่องความปลอดภัยฯ รวมถึงสาธิตการใช้อุปกรณ์ ความปลอดภัยส่วนบุคคลและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับชม จากนั้น คณะผู้เข้าร่วมประชุมเดินทางไปศึกษาดูงาน ระบบผลิตก๊าซชีวภาพระดับฟาร์มและระบบแผงพลังงาน แสงอาทิตย์ส�าหรับบ�าบัดน�้า ณ หมู่บ้าน Nam Cuong จังหวัด Thai Binh ซึง่ เป็นแหล่งแจกจ่ายน�า้ ดืม่ ให้กบั ชุมชน ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร GreenID รวมทั้งศึกษา ดูงานระบบผลิตก๊าซชีวภาพและระบบน�้าร้อนพลังงาน แสงอาทิตย์ระดับชุมชน ณ หมู่บ้าน Bac Hai จังหวัด Thai Binh ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์กร GreenID และการ ระดมทุนกับชุมชน เป้าหมายของชุมชนในปีนี้ คือ สร้าง การใช้พลังงานทดแทนแบบยัง่ ยืนและสร้างความตระหนัก การใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ วิทยากรตัวคูณทั้ง 150 คน จะเดินหน้าจัด กิจกรรมเผยแพร่ความรู้เรื่องความปลอดภัยในการผลิต และใช้พลังงานอย่างต่อเนือ่ ง โดย พพ. เชือ่ มัน่ ว่า กิจกรรม ของโครงการฯ จะช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้กบั ผูเ้ กีย่ วข้องทุกคน สามารถน�าความรูไ้ ปปรับใช้ให้เกิด ประโยชน์คุ้มค่าและมีความปลอดภัยสูงสุด สร้างความ เชื่อมั่นให้ประชาชนหันมาผลิตและใช้พลังงานทดแทน มากขึ้น เพิ่มปริมาณการผลิตพลังงาน และสร้างความ มั่นคงให้ประเทศมีพลังงานใช้อย่างยั่งยืน

นายจิรวัฒน์ พรมจีน

นายธนชัย จาระณะ

ผู้สนใจเรื่องการผลิตและใช้พลังงานทดแทน อย่างปลอดภัย สามารถเข้าไปศึกษาข้อมูลและ ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่เว็บไซต์ http://energy-safety.ete.eng.cmu.ac.th issue 168 february 2017


contents vol.14 no.168 FebruaRY 2017

p.50

p.28

p.36

12

NEWS & UPDATE

26 Interview

AirAsia เสริมทัพงานหลังบ้าน ปักธงลุยต่อ ชูจุดขาย ‘บินคุ้ม คุณภาพครบ’ 28 COVER STORY

Lenze The Easy Way to Develop Something Special by Zi-Argus Lenze ท�าให้หลายสิ่ง เป็นเรื่องง่าย ส�าหรับคุณ

p.26

40 RENEWABLE ENERGY

56 ENERGY SAVING

Énergies Renouvelables en France มาชอปปิงเทคโนโลยีที่ฝรั่งเศสกันเถอะ

หนึ่ง ‘โรงงานควบคุม’… หนึ่ง ‘ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน’ ควบคุมการประหยัดพลังงานตามกฎกระทรวงพลังงาน

45 RENEWABLE TECHNOLOGY

60 FOOD PROCESSING

รู้จัก… เทคโนโลยีกังหันลม อีกหนึ่งทางเลือกพลังงานต้นทุนธรรมชาติ

SugarCreek สุดยอดโรงงานปี 2016 62 TECH FOCUS

50 PRODUCTIVITY BOOSTER

แนวทางปฏิบัติและอุปสรรค เมื่อใช้ ‘ลีน’ เป็นเครื่องมือในการเพิ่มผลผลิต

36 REAL LIFE

54 PRODUCTIVITY BOOSTER

รื้อ แงะ แกะ ซ่อม... เล่นจนได้ดี มีวันนี้เพราะดีเอ็นเอ ‘ช่าง’

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยการก�าหนด TAKT TIME

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

p.56

นวัตกรรมหุ่นยนต์ท�าความสะอาดแผงโซลาร์เซลล์ 69 TECH FOCUS

เตรียมทีมงานเพื่อการมี Facebook Page อย่างยั่งยืน 72

RESEARCH & DEVELOPMENT

ให้อุตสาหกรรมน�า อาจารย์ตาม รัฐสนับสนุน… สูตรความส�าเร็จด้านงานวิจัย


p.54 p.58

p.69


editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

ISSN: 1685-7143

เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านทุกท่าน วันที่ 9-10 กุมภาพันธ์นี้ มีงานครบรอบ 20 ปี สถาบันไทย-เยอรมัน ซึ่งจัด ณ สถาบันไทย-เยอรมัน อ.เมือง จ.ชลบุรี นะคะ โดยมีธีมงานที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งค่ะ นั่นคือ Evolving to Industry 4.0 ในงานนี้ คุณอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม จะกล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่องการพัฒนาประเทศไทยยุค 4.0 พร้อมด้วย คุณเจน น�าชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวปาฐกถาในเรื่องการพัฒนา อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสู่ยุค 4.0 พร้อมทั้ง กิจกรรมต่างๆ เช่น Automation & Robotics Park, Welcome to the Age of Evolution, Machinery Online Monitoring System และ โรงงานผลิต 4.0 Smart Factory แบบจ�าลอง เป็นต้น เมื่อกล่าวถึงสถาบันไทย-เยอรมัน ผู้รู้ท่านหนึ่งที่มากด้วยประสบการณ์ ซึ่งขับเคลื่อนและพัฒนาร่วมกัน กับสถาบันไทย-เยอรมัน เรียกได้ว่าตั้งแต่ยุคของการก่อตั้งสถาบันไทย-เยอรมัน เลยก็ว่าได้ นั่นคือ คุณวรินทร์ รอดโพธิ์ทอง ผู้อ�านวยการศูนย์เครื่องจักรกลและระบบอัตโนมัติ สถาบันไทย-เยอรมัน ค่ะ โดยใจความตอนหนึ่งที่คุณวรินทร์ได้กล่าวถึง คือ “…หลักพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา คนเราส่วนใหญ่ปฏิบตั ไิ ด้แค่ 2 ข้อแรก ส่วน 2 ข้อหลัง มุทติ าและอุเบกขา ยากหน่อย ต้องฝึกหนัก เราต้องแฮปปี้ กับการอยู่ร่วมกับคนที่แตกต่าง ต้องแฮปปี้กับลูกน้องที่เถียงเรา ต้องยินดีเมื่อคนอื่นได้ดี ยินดีที่คนอื่นเติบโต เช่น ลูกน้องจะลาออกไปท�างานเอกชนหรือเปิดบริษทั เอง เราต้องยินดี....” เป็นหลักยึดในการท�างานทีน่ า่ สนใจ อย่างยิ่ง ติดตามได้ในคอลัมน์ REAL LIFE หน้า 36-39 นอกจากนี้ ศ.ดร.นวดล เหล่าศิริพจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้พูดถึงปัจจัยที่จะ เกื้อหนุนให้การวิจัยและพัฒนาในประเทศไทยประสบความส�าเร็จนั้น ประกอบด้วยอะไรบ้าง ในคอลัมน์ RESEARCH & DEVELOPMENT หน้า 72-74 นะคะ ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่ม และพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร

WWW. FACTORYEASY.COM

หากคุณกำลังมองหาสินค าสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม WWW.FACTORYEASY.COM มีสินค าให เลือก มากกว า 10,000 ชิ�น

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ กองบรรณำธิกำร: เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร, จีรพร ทิพย์เคลือบ บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัติ เพ่งพินิจ ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936

Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Staff: Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn, Jeeraporn Thipkhlueb Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936

ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket


SETA 2017 Under the Theme of

“Towards A Low-Carbon Society”

Highlighting the Trend of Hybrid & Electric Vehicles

กระทรวงพลั ง งานร่ ว มกั บ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ร่ ว มด้ ว ย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงคมนาคม และกระทรวง อุตสาหกรรม เดินหน้าจัดงานใหญ่การจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการ นานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2560” หรือ “SETA 2017” ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 2 ภายใต้ธมี “Towards A Low-Carbon Society” ใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ นโยบายและการวางแผนด้านพลังงาน เทคโนโลยีระบบผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อปล่อยคาร์บอนต�่า พลังงาน เพื่อการคมนาคมขนส่งเพื่อปล่อยคาร์บอนต�่า และเมืองอัจฉริยะและ อุตสาหกรรมสีเขียว เพื่อผลักดันและพัฒนาองค์ความรู้ด้านพลังงาน และเทคโนโลยีอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปีนเี้ น้นเทรนด์อตุ สาหกรรมไฮบริด และรถยนต์พลังงานไฟฟ้า โดยผู้เข้าร่วมงานเป็นระดับผู้บริหารภาครัฐ และภาคเอกชน บริษทั ผูผ้ ลิตไฟฟ้า นักวิชาการ ผูเ้ ชีย่ วชาญ บริษทั ผูผ้ ลิต พลังงานทดแทน ธนาคาร นักลงทุน จากทุกภาคส่วน และผู้สนใจทั่วไป ทั้งในและต่างประเทศได้รู้จักเทคโนโลยีด้านพลังงานล�้าหน้า พร้อม รับค�าปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านวิชาการ และด้านธุรกิจ

รศ.ดร.ธัชชัย สุมิตร ประธานคณะกรรมการด�าเนินงานโครงการ พลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2560 กล่าวว่า “งาน SETA 2017 ถื อ เป็ น อี ก ก้ า วที่ ส� า คั ญ ในความร่ ว มมื อ ของหน่ ว ยงานหลั ก ของประเทศ โดยกระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งองค์กร รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ผู้มีส่วนร่วมต่อการสร้างบทบาทและความ ร่วมมือระหว่างหน่วยงานในการผลักดันประเทศไทยให้กา้ วสูค่ วามเป็น ผู้น�าด้านพลังงานในภูมิภาคอาเซียนอย่างแท้จริงโดยมีวัตถุประสงค์ใน การสร้างเวทีพดู คุย และหาค�าตอบตัง้ แต่การหาแหล่งพลังงาน ตลอดจน การใช้ระบบผลิตกระแสไฟฟ้า ภาคขนส่ง อุตสาหกรรม และครัวเรือน โดยในงานประชุมครั้งนี้จะมุ่งเน้นไปในประเด็นที่ทั้งเอเชียและทั่วโลก ล้วนให้ความส�าคัญ โดยเฉพาะประเด็นด้านแหล่งพลังงานคาร์บอนต�่า ในปีนมี้ กี ารเพิม่ พืน้ ทีน่ ทิ รรศการอีกเท่าตัว โดยมีความเป็นพิเศษ มุง่ เน้น ถึงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีไฮบริด และรถที่ใช้พลังงานไฟฟ้า และ กิจกรรมการจับคู่ธุรกิจ กว่า 200 บริษัท เพื่อส่งเสริมการลงทุนและการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านพลังงานให้กับประเทศ” ด้ า นกิ จ กรรมในงานประชุ ม วิ ช าการและนิ ท รรศการนานาชาติ “โครงการพลั ง งานและเทคโนโลยี ที่ ยั่ ง ยื น แห่ ง เอเชี ย 2560” หรื อ “SETA 2017” ได้รับเกียรติเป็นประธานเปิดงานโดย พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี และวิทยากรปาฐกถาหลัก ได้แก่ พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม ดอกเตอร์ แมกซิมัส จอนนิตี้ อองกิลิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน น�้า และ เทคโนโลยีเพือ่ สิง่ แวดล้อม ประเทศมาเลเซีย ฯพณฯ เฆซุส มิเกล ซันส์ เอกอัครราชทูตแห่งสหภาพยุโรปประจ�าประเทศไทย แอคเนตา ไรซิ่ง ผู้อ�านวยการใหญ่สมาคมนิวเคลียร์โลก และ ฯพณฯ ชิโร ซะโดะชิมะ เอกอัคราชทูตญี่ปุ่นประจ�าประเทศไทย นอกจากนี้ ยังมีการจัดให้มีการบรรยาย ประชุมสัมมนา และเวิร์ค ช็อปจากองค์กรระดับนานาชาติ และบริษัทที่เป็นผู้น�าในหัวข้อต่างๆ อาทิ “CEO Energy Forum”, “CLMVT Energy Forum”, “Financing in Energy”, โซนไฮบริดและเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้า โซนโซล่าเซลส์ และโซนระบบเมืองอัฉริยะ รวมไปถึงพาวิเลียนจากต่างประเทศอีก 11 ประเทศ พร้อมกิจกรรมการจับคู่ธุรกิจ อาทิ ประเทศแคนาดา เยอรมัน ไต้หวัน เกาหลี จีน ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซียสิงคโปร์ จะจัดขึ้นระหว่าง วันที่ 8-10 มีนาคม 2560 เวลา 8.30-17.30 น. ณ ฮอลล์ 103 -104 ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา ผูส้ นใจสามารถดูรายละเอียด เพิ่มเติมและลงทะเบียนร่วมงานได้ในเว็บไซต์ WWW.SETA.ASIA

issue 168 february 2017


20 SUPPLIER INDEX february 2017

หน้า

ชื่อบริษัท

1, 28-31, ไซ-อาร์กัส บจก. 47

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

0-2319-9933

www.zi-argus.com

Everything Under Control

ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION, IT’S OUR FUTURE

3

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบ การท�างานในเครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก

4

เจเอสอาร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม

5

เอบีบี บจก.

0-2665-1000

www.abb.com

ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูง และไฟฟ้าแรงต�่า

6

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์ จากประเทศเยอรมนี

7

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3

www.cpmflow.com

"ความสม�่าเสมอในการท�างาน ผลักดันให้งานมีคุณภาพพร้อมกับ มาตรฐานในความปลอดภัย “Good Team Change The Future”"

8

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลัง หมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.

0-2721-1801-8

www.alphac.co.th

- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.

11

จีทีเอ็ม บจก.

0-2012-1800-4

www.gtm.co.th

จัดจ�าหน่ายและให้บริการหลังการขายสินค้าประเภทรถยก และอุปกรณ์ขนย้าย GT Mover, MIAG และ Master Mover

17

บีทีที ยูไนเต็ด บจก.

0-2586-8733

www.BTTunited.com

จ�าหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระบบไฟฟ้าแรงสูง และแรงต�่าครบวงจร

21

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.

0-2682-6522

www.mitsubishifa.co.th

เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของ ลูกค้าผ่านเครือข่ายในการจ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล

22

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์ และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

24-25

ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.

0-2637-5115

www.ikont.co.jp/eg

"IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”

26-27

อีตั้น อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก.

0-2511-5300

www.eaton.com

ผู้ผลิตและจ�าหน่าย อุปกรณ์ระบบไฟฟ้า แบรนด์ "โมลเลอร์" อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าแบรนด์ "MOELLER" และ "EATON"

34-35

หอการค้าเยอรมัน-ไทย

0-2670-0600

www.thailand.ahk.de

ผู้จัดงานแสดงสินค้านานาชาติอันดับหนึ่งของโลกด้านโลหะ และเครื่องมือกลนานาชนิด

48

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรมชั้นน�า ของประเทศไทย

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71

www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

81

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach

82

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

83

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่าง เป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม

84

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์วัดปริมาณฝุ่น, วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับ งานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

2, 10

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

นำเขาและจดัจำหนายโดย



Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”

Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.

• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115

Fax: +66 (0)2-637-5116


Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.

C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.

Needle Bearings Machine elements essential to any industry

Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large

Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics


26 interview

AirAsia เสริมทัพงานหลังบ้าน ปักธงลุยต่อ ชูจุดขาย ‘บินคุ้ม คุณภาพครบ’ การถือก�าเนิดของสายการบินราคาประหยัดย่อโลกให้เล็กลง เปลี่ยนวิถีชีวิตผู้คน เปลี่ยนการเดินทางไกลให้เป็นเรื่องง่าย ด้วยราคาทีผ่ โู้ ดยสารเอือ้ มถึง หนึง่ ในผูน้ า� ธุรกิจสายการบินราคา ประหยัดของไทยนัน้ คือ ThaiAirAsia ทีด่ า� เนินธุรกิจมากว่า 10 ปี ให้บริการตั๋วเครื่องบินราคาประหยัดทั้งในและต่างประเทศ ที่มีระยะการบินไม่เกิน 4 ชั่วโมง และ ThaiAirAsia X ส�าหรับ ระยะทางบินที่เกิน 4 ชั่วโมง

คุณจิรัฎฐ์ ศรีอ�ำมะริน System Admin Specialist บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จ�ำกัด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ในธุรกิจสายการบิน นอกจากเครื่องบินต้องใหม่ บินให้ตรง เวลา นักบินมีความช�านิช�านาญในการบิน พนักงานต้อนรับ มีใจบริการแล้ว ยังมีอีกหลายปัจจัยที่จะท�าให้สายการบินนั้นๆ ประสบความส�าเร็จ หนึ่งในปัจจัยหลักของความส�าเร็จคือ ระบบไอที ซึ่งเป็น งานหลังบ้านทีน่ บั เป็นหัวใจขององค์กร ว่ากันตัง้ แต่ขนั้ ตอนการ จองตัว๋ เช็คอิน ตรวจความปลอดภัย โหลดกระเป๋า การควบคุม การบิน กล่าวคือ ตั้งแต่ต้นน�้ายันปลายน�้าของสายการบิน ล้วนต้องอาศัยระบบไอทีและระบบไฟฟ้าที่เสถียร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในยุคไซเบอร์อย่างปัจจุบัน ฉบับนีม้ าร่วมพูดคุยไปกับ คุณจิรฎั ฐ์ ศรีอำ� มะริน System Admin Specialist ของ ThaiAirAsia ถึงตัวตน ทิศทาง การด�าเนินงาน โดยเฉพาะการลงทุนติดตั้งระบบส�ารองไฟ ครัง้ ใหญ่เพือ่ คุณภาพและความเสถียรของระบบ รวมถึงอนาคต ของ AirAsia ในสายตาของนักไอทีกัน

AirAsia บินคุ้ม คุณภาพครบ

คุณจิรัฎฐ์ ศรีอ�ำมะริน อธิบายถึงนโยบายของ AirAsia ว่า หัวใจหลักและจุดขายของ AirAsia คือ ‘ใครๆ ก็บินได้’ ผู้โดยสารต้องได้บินในราคาประหยัด เราจึงพยายามลดต้นทุน ให้บินได้คุ้ม แต่คุณภาพยังครบ


interview 27

“เราไม่ได้ลดคุณภาพในการตรวจสอบความปลอดภัยของ เครื่องบิน เรามีมาตรฐานด้านความปลอดภัย การตรวจสอบ และวิศวกรรม ค�าว่า โลว์คอส คือ ใช้เท่าไร ก็จ่ายเท่านั้น ต้องการแค่ไหน ก็ซื้อแค่นั้น บินตัวเปล่า ไม่มีกระเป๋า ก็ไม่ต้องเสียค่าโหลด เรา ไปลดค่าใช้จ่ายด้านอื่นให้ผู้โดยสาร เช่น ค่าน�้าดื่ม ค่าอาหาร ค่าโหลดกระเป๋า” คุณจิรัฎฐ์ อธิบาย คุณจิรฎั ฐ์ กล่าวเพิม่ เติมว่า เครือ่ งบินของ AirAsia เป็นของ ใหม่ 100% ทุกล�า โดยปัจจุบัน ThaiAirAsia มีเครื่องบิน 51 ล�า (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2560) ซึง่ เป็นสายการบินราคาประหยัด ทีบ่ ริหารโดยคนไทยทีม่ เี ครือ่ งบินให้บริการมากทีส่ ดุ ในประเทศ ส่วนในเครือ AirAsia ทั้งหมด ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ภูมิภาคเอเชีย มีประมาณ 300 ล�า และมีฮับการบินอยู่ในประเทศไทยทั้งหมด 5 ที่ ได้แก่ เชียงใหม่ ภูเก็ต กระบี่ หาดใหญ่ และดอนเมือง เกีย่ วกับระบบไอทีและระบบไฟฟ้า ซึง่ ถือเป็น Infrastructure หลักของอุตสาหกรรมการบิน คุณจิรฎั ฐ์ เล่าว่า หลายสนามบิน ในประเทศไทย โดยเฉพาะสนามบินต่างจังหวัด ยังมีความ ไม่เสถียรของระบบไฟ ท�าให้หลายครั้งเกิดปัญหาจากไฟไม่นิ่ง ไฟตก หรือไฟดับ ท�าให้สายการบินพาณิชย์ทั้งหมดต้องติดตั้ง ระบบส�ารองไฟเพื่อความเสถียรของระบบการให้บริการ หรือ อาจกล่าวได้วา่ การส�ารองไฟ เป็นหนึง่ ในเกณฑ์ประเมินคุณภาพ สายการบินเลยด้วยซ�้า

ทุกนาทีมีค่า

“ทุกนาทีของเรามีคา่ มาก เครือ่ งบินจอดเกินเวลาไม่ได้แม้แต่ นาทีเดียว ถ้าไฟตกไป 5 นาที ทุกฝ่ายเสียหายมาก ไม่ใช่แค่ สายการบิน แต่ผู้โดยสารก็เสียหายด้วย เราจึงเน้นมากเรื่อง ตรงเวลา ฉะนั้น การลงทุนในระบบส�ารองไฟ คุ้มค่ากว่าจ่ายค่า ดีเลย์มาก ตามท่าอากาศยานไฟฟ้าไม่ได้เสถียรมาก เรายอมรับการ แล็คของไฟฟ้าไม่ได้ มันเสียหาย การเลือกใช้ระบบส�ารองไฟ จึงเป็นเรื่องส�าคัญมาก” คุณจิรัฎฐ์ ขยายความให้เห็นภาพ เพราะระบบไฟฟ้ามีความส�าคัญ AirAsia จึงเลือกใช้อปุ กรณ์ และระบบส�ารองไฟ (UPS) ของ EATON โดยเลือกจาก 1. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ UPS ของ EATON มี ข นาดที่ เ หมาะสม ตอบโจทย์ความต้องการของ AirAsia 2. บริการ AirAsia มีฮับอยู่ต่างจังหวัด การ Services on Site แบบ 24/7 อย่างครอบคลุมทุกพื้นที่ของ Eaton จึงมีความส�าคัญ 3. ราคา ในโซลูชั่นเดียวกันเมื่อเทียบกับแบรนด์อ่ืนแล้ว จัดว่า EATON มีราคาไม่สูงมากนัก เมือ่ ดูทงั้ 3 องค์ประกอบจึงถือว่าครบ คือ มีคณ ุ ภาพ บริการ ครอบคลุม และไม่แพง “ถึงเราจะพยายามคุมต้นทุน แต่เราไม่ได้เลือกของทีร่ าคาถูก เสมอไป นอกจากผลิตภัณฑ์ ขนาด น�้าหนัก สเป็คแล้ว เราเน้น บริการหลังการขายของแบรนด์นั้นๆ ด้วย เราต้องถามก่อนว่า มันตอบโจทย์เราไหม เพราะเราท�างานกัน 24 ชั่วโมง ท�าทุกวัน ไม่มีวันหยุด เขาต้องพร้อมท�างานตลอดเวลาเหมือนเรา ส่วนระดับของเทคโนโลยี เราเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไม่ต้องใหม่ที่สุด เพราะเราท�างานล้อกับนโยบาย AirAsia ใน ทุกๆ ประเทศ จึงต้องจูนให้อยู่ตรงกลาง ต้องใช้เทคโนโลยี เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน จะได้ไม่มีช่องว่างมากนัก” คุณจิรัฎฐ์ อธิบายถึงการเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับองค์กร

ถึงเราจะพยายามคุมต้นทุน แต่เราไม่ได้เลือกของที่ราคาถูกเสมอไป นอกจาก ผลิตภัณฑ์ ขนาด น�้าหนัก สเป็คแล้ว เราเน้นบริการหลังการขายของแบรนด์นั้นๆ ด้วย เราต้องถามก่อนว่ามันตอบโจทย์เราไหม เพราะเราท�างานกัน 24 ชั่วโมง ท�าทุกวัน ไม่มี วันหยุด เขาต้องพร้อมท�างานตลอดเวลาเหมือนเรา” เกี่ยวกับทิศทางระบบไอทีในอนาคต คุณจิรัฎฐ์ ตั้งเป้าว่า ต้องการมอนิเตอร์ระบบไฟฟ้าให้ได้มากขึ้นและใกล้ชิดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อหาสาเหตุของความขัดข้องได้อย่างถูกจุดและทันท่วงที

AirAsia เติบโตด้วยหัวใจ ‘ใครๆ ก็บินได้’

หลังจากยึดหัวหาดพืน้ ทีใ่ นประเทศ และประเทศเพือ่ นบ้าน ได้แล้ว สายการบินยังได้รับการตอบรับดีเยี่ยมจากผู้เดินทาง กับเส้นทางบินตรง ดอนเมือง - ญี่ปุ่น นอกจากนี้ AirAsia ยัง พยายามตีตลาดประเทศจีนร่วมด้วย ไม่ใช่แค่สโลแกนสวยหรู แต่ AirAsia ได้สะท้อนให้เห็นจริง ว่า ‘ใครๆ ก็บินได้’ ผ่านสถิติผลประกอบการเมื่อไตรมาส ที่ 3 ของปี 2559 มีจ�านวนผู้โดยสาร 4.3 ล้านคน เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนถึง 21% ซึ่งนอกจากจะแสดงให้ เห็นว่า ผู้โดยสารวางใจในสินค้าและบริการของ AirAsia แล้ว ยังสะท้อนว่า อุตสาหกรรมการบินของประเทศไทยเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง และมีทีท่าจะเติบโตขึ้นอย่างไม่หยุดยั้งอีกด้วย

มอบโซลูชั่นที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า คุณดุษฎี ทองไทย – Regional Sales Manager – East Asia Central Eaton Electric (Thailand) Ltd. ได้กล่าวถึงปัจจัยในการเลือกเสนองานให้ทาง ThaiAirAsia ว่า “เราต้องค�านึง ถึงความต้องการที่แท้จริงของลูกค้าและต้องตอบโจทย์ธุรกิจของลูกค้าให้ได้ ซึ่งถือเป็นหัวใจหลัก ในการน�าเสนอโซลูชั่นของอีตั้น ในธุรกิจสายการบิน จะเน้นความปลอดภัย ความรวดเร็วแม่นย�า ในการให้บริการแก่ลูกค้า สิ่งเหล่านี้ต้องมาพร้อมกับเทคโนโลยีที่ดีเป็นพื้นฐาน ซึ่งอีตั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการของ ThaiAirAsia ได้เป็นอย่างดี ขนาดของสินค้าที่มีเหมาะสมตรงความ ต้องการของลูกค้า อีกทั้ง บริการหลังการขายที่ครอบคลุมไม่เพียงแต่ในประเทศและรวมถึงประเทศ เพื่อนบ้านใกล้เคียง เราจึงมั่นใจว่า โซลูชั่นของอีตั้นจะช่วยให้ธุรกิจของลูกค้าด�าเนินไปได้อย่าง ต่อเนื่องไม่ติดขัด ตลอด 24 ชั่วโมง โซลูชั่นของอีตั้นได้น�าเสนอผ่านตัวแทนจ�าหน่ายอย่ า งเป็ น ทางการ บริษัท เมโทรอินโฟไดนามิกส์ จ�ากัด และได้รับการพิจารณาคัดเลือก เพื่อใช้กับระบบของ AirAsia ด้วยการที่เป็นคู่ค้าส�าคัญในการ สร้างความมัน่ ใจ พร้อมทีจ่ ะแก้ปญ ั หาและตอบโจทย์สา� คัญให้ลกู ค้า ตลอดมาและต่อๆ ไป Eaton มีความพร้อมในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจาก ตัวแทนจ�าหน่าย สินค้า เทคโนโลยี และบริการหลังการขาย ซึ่งล้วนสร้างความเชื่อมั่นให้กับโซลูชั่นขนาดเล็ก จนถึง ขนาดใหญ่ ดังปฏิณาณของอีตั้น “We Make What Matter Works”

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ กรุณำติดต่อ 0-2511-5300 หรือเยี่ยมชมเวปไซต์ www.eaton.co.th


28 cover story

ชื่อ หรือแบรนด์สินค้านี้ อาจะไม่คุ้นส�าหรับหลายๆ ท่าน แต่ถ้าหากได้สอบถามผู้ที่ใช้งานอยู่ หรือผู้ที่ลองใช้สินค้า รับรองได้เลยว่าคุณภาพของสินค้า และปรัชญาการออกแบบอย่างครบวงจร จะท�าผู้ใช้งานประทับใจอย่างสูง ภายใต้แบรนด์ ได้มุ่งเน้นพัฒนาด้าน Motion Control อย่างต่อเนื่อง ทั้งทางด้านเทคโนโลยี Geared เพราะประสบการณ์ กว่า 65 ปี ที่ทาง Motor, Inverter รวมไปถึงชุดควบคุมอัตโนมัติอย่าง PLC และ HMI

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


cover story 29

ขั้นตอนที่ 1: การระดมความคิด และแนวทางการท�างาน การรวบรวมแนวความคิด และประสบการณ์เพื่อหาแนวทางการท�างาน และวิธีการที่เหมาะสมที่สุด

ขั้นตอนที่ 2: ออกแบบ ภายหลังจากที่พบแนวทางที่ดีที่สุด ด้วยประสบการณ์ และเครื่องมือ ที่เรามี เราจะเริ่มเลือกอุปกรณ์ และวิธีการที่สอดคล้องและเหมาะสม กับหน้างาน เพื่อแก้ปัญหาหรือปรับปรุงคุณภาพให้ได้ศักยภาพ และ ประสิทธิผลที่สูงสุด ‘LENZE’ สามารถตอบโจทย์ของลูกค้าได้ทั้งในระดับการควบคุม อัตโนมัติ โดยใช้ PLC ร่วมกับ Inverter หรือถ้าไม่ต้องการใช้ PLC เรายังสามารถใช้ Inverter เพียงอย่างเดียวเข้าไปควบคุมการท�างาน ของ Geared Motor เพียงอย่างเดียวก็ได้ ขึ้นอยู่กับแนวทางที่เรา วางแผนไว้ Drive-based Automation

Controller-based Automation

issue 168 february 2017


30 cover story

ขั้นตอนที่ 4: การผลิตสินค้า หลายๆ ท่านที่ยังไม่รู้จักกับทาง ‘LENZE’ อาจจะยังมีความกังวล ในเรื่องของก�าลัง การผลิต การเก็บสินค้า และระยะเวลาในการสั่งสินค้า L-force Product เป็นการจัดแบ่งหมวดหมูข่ องสินค้า ซึง่ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ผลิต และจัดเก็บสินค้าได้ดียิ่งขึ้น เพื่อช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการออกแบบ และ ผลิตชิน้ ส่วนทีใ่ ช้รว่ มกันได้ ท�าให้สามารถเก็บสินค้าน้อยชิน้ ลง และผลิตได้ครัง้ ละมากๆ

ขั้นตอนที่ 2: ออกแบบ Inverter ของทาง ‘LENZE’ มีสินค้าที่สามารถใช้ได้ในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย แตกต่างกันไม่ว่าจะเป็น Normal Load หรือ Heavy Load อีกทั้ง ในส่วนของ Geared Motor เอง ก็มีสินค้าที่สามารถ ใช้ได้กับทุกรูปแบบ เช่นเดียวกัน เพื่อตอบสนอง การท�างาน และการเชื่อมต่อที่หลากหลายในปัจจุบัน ได้อย่างครบครัน

ขั้นตอนที่ 5: การรับประกัน และบริการหล้งการขาย ดังที่กล่าวมา จากการวางแผนการผลิตที่มีคุณภาพ และสามารถตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า ได้หลากหลายลักษณะงาน ท�าให้สินค้าของทาง ‘LENZE’ ผลิต ด้วยกระบวนการ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย ท�าให้เป็นสินค้าที่น่าเชื่อถือ อีกทั้ง ทาง ZI-ARGUS ซึ่งเป็นตัวแทนจ�าหน่ายในประเทศไทย ให้การสนับสนุนดูแล และให้บริการหลังการขายด้วยทีมงานทีม่ คี วามรู้ และมีประสิทธิภาพ พร้อมทัง้ สินค้า เองก็มีใบรับประกันให้ทุกผลิตภัณฑ์

ขั้นตอนที่ 3: ด�าเนินการแก้ปัญหา หลังจากที่เราเลือกวิธีการและอุปกรณ์ให้เหมาะกับลักษณะการท�างานแล้ว เราจะท�าการติดตั้ง และทดสอบการท�างาน เนื่องจากรูปแบบการท�างานของลูกค้านั้น มีหลากหลายประเภท ทาง ‘LENZE’ จึงมีการออกแบบ Software เพื่อมาช่วยเหลือลูกค้า ทั้งในด้านการ Setting, Configuration และ Programming ทั้ง HMI, PLC และ Inverter ให้ตรงตามลักษณะ การท�างานในแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


cover story

31

‘LENZE กับอุตสาหกรรมยานยนต์’ ด้วยประสบการณ์หลายปีทางด้าน Fast Handing System และ Robotics ท�าให้ ‘LENZE’ ได้รับความไว้วางใจจากโรงงาน ผลิตรถยนต์ชั้นน�าของโลก อาทิ BMW, Mercedes-Benz… etc. อีกหนึ่งความภาคภูมิใจที่ทางเราสามารถตอบสนองความ ต้องการของลักษณะงานทีต่ อ้ งการความทนทานสูง ความเร็วสูง ทั้งในด้านการท�างาน และทางด้านการซ่อม บ�ารุง ที่สามารถ ท�าได้อย่างรวดเร็ว จึงเป็นเหตุผลหลักที่เราประสบความส�าเร็จ กับกลุ่มลูกค้าด้านยานยนต์ ‘LENZE กับอุตสาหกรรมขนส่ง และคลังสินค้า’ ด้วยความรู้ และประสบการณ์ทางด้านการออกแบบ และ การควบคุมการท�างานของระบบสายพานล�าเลียง ซึ่งเราใช้ เทคโนโลยีของ PLC และ Communication Bus เข้ามามีส่วน ส�าคัญในการท�างานร่วมกับ Geared Motor เพือ่ ให้ได้การท�างาน ที่รวดเร็ว ถูกต้อง เชื่อถือได้ และยังสามารถต่อเข้ากับระบบอื่น ได้อย่างสะดวก ‘LENZE กับระบบสายพานล�าเลียง’ ด้วยเทคโนโลยีล่าสุดของทาง ‘LENZE’ สามารถรองรับ การท�างานของระบบสายพานล�าเลียงได้โดยค�านึงถึงหลักการ 3 ด้านด้วยกัน ดังนี้ • ราคาที่สมเหตุสมผล ไม่สูงจนเกินไป • คุณภาพ และปริมาณที่ดี • ยืดหยุ่นส�าหรับการต่อขยาย และปรับปรุง ทั้งนี้ เราสามารถออกแบบ และทดสอบได้โดยโปรแกรมที่ ท�ามาเพื่อระบบสายพานล�าเลียงโดยเฉพาะอีกด้วย นอกจากนี้ทาง ‘LENZE’ ยังมีระบบที่สามารถใช้งานกับ เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมโรงพิมพ์ และอื่นๆ อีกมาก ทางบริษัท ZI-ARGUS ที่เป็นตัวแทนอุปกรณ์ระบบไฟฟ้า ชั้นน�า และท�างานระบบแบบครบวงจร ไม่ว่าจะเป็น PLC, SCADA, Inverter, Safety, Robot และ Vision ได้เข้ามา เป็นตัวแทนจ�าหน่ายอย่างเป็นทางการ และทางเรายังให้บริการ หลังการขายแบบครบวงจร ทั้งการรับประกันสินค้า การให้ ค�าปรึกษา และงานออกแบบทั้งระบบอีกด้วย

issue 168 february 2017




34

CREATING VALUE: UPCOMING HANNOVER

MESSE TO HIGHLIGHT

THE BENEFITS OF

‘INDUSTRIE 4.0’ The last HANNOVER MESSE had a clear message: integrated industry has well and truly reached the mainstream. To prove its point, the show featured over 400 application examples of fully digitalized processes for the manufacturing and energy industries. The fourth industrial revolution, it seems, is well underway. However, to ensure that the factories of the future don’t remain castles in the air, it is necessary to shine a stronger spotlight on the benefits for industry, employees and society in general. And that is precisely what HANNOVER MESSE 2017 will do. Hannover. ‘Integrated Industry – Creating Value’ is the official lead theme for HANNOVER MESSE 2017. “Widespread uptake of digitalization MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

in the manufacturing and energy industries will only happen if integrated technology providers make a strong case for the associated benefits” said Deutsche Messe Managing Board member Dr. Jochen Köckler. “Manufacturers and energy companies need to fully understand the direct, l ong-term benefits they stand to gain from digitalization. They need to recognize that digitalization adds value – and not just in terms of new and better machines. Value is also created by the ability that digitalization gives companies to update or completely reinvent their business models and improve the working lives of individual employees”.

HANNOVER MESSE – Get new technology first! The world’s leading trade fair for industrial technology will next be staged from 24 to 28 April 2017 in Hannover, Germany. With its core focus on ‘Integrated Industry – Creating Value’, HANNOVER MESSE is the world’s leading showcase for the digitalization of production (Industry 4.0) and energy systems (Integrated Energy). The upcoming HANNOVER MESSE will feature seven parallel shows: Industrial Automation, MDA – Motion, Drive & Automation, Digital Factory, Energy, ComVac, Industrial Supply and Research & Technology. Poland will star as the Partner Country of HANNOVER MESSE 2017.


35

HANNOVER MESSE 2017 eTicket registration

https://www.hannovermesse.de/en/applikation/secure/registration/tickets/?code =u37yb&open=registerTicket&=emsrc=coop&refID=hm/17/b/en/greenw/sm/none The link takes the guests straight to the eTicket registration/activation website. Each eTicket is valid for the entire duration of HANNOVER MESSE 2017. After registration, each guest receives a personalized ticket by e-mail for printing in A4 (German standard paper size) and showing at the entrance. Please be sure to inform your guests that their ticket is only valid upon registration/activation, and that this is most conveniently done online, before the show. For full details on mandatory ticket registration and eTickets, see www.hannovermesse.de/ticketregistration www.hannovermesse.de/complimentarytickets.

With Industrie 4.0, integrated energy, digital twins, predictive maintenance, digital energy, and networked and collaborative robots (cobots), companies of all sizes today have a multitude of high-tech solutions to choose from. But often they find it difficult to predict what value these sorts of solutions might add. Many understandably balk at committing to major capital investments without concrete prospects of measurable benefits. Which is where HANNOVER MESSE 2017 comes in. Next year, the world’s biggest industrial technology show will demonstrate how even companies with limited resources can pinpoint and harness the power of digitalization. Köckler: “Industrie 4.0 is not about replacing all manufacturing plant all at once; it is a gradual process. For example, companies can begin by fitting sophisticated

sensors to existing plant to capture and evaluate data that will help them make improvements to their production processes or develop new business models”. Next year’s HANNOVER MESSE will provide much-needed guidance to visitors from the manufacturing industries who are looking to leverage the benefits of digitalization for their companies and transform their plants into Industrie 4.0 factories, step by step. Digitalization will completely transform the energy industry, too. In fact, it is the key to the energy transition most countries are striving towards. In the energy systems of the future, smart grids will control and regulate all parts of the energy supply chain, from generation right through to consumption. Without digitalization, it will not be possible to make the switch from

today’s outmoded centralized power plants to modern, highly efficient energy systems that are based on renewables and distributed generation structures. Under the ‘Integrated Energy’ banner at the upcoming HANNOVER MESSE, the world’s leading providers will highlight the changes the energy industry will undergo as well as the individual technologies that will play a critical role in this transformation. “HANNOVER MESSE will showcase integrated solutions all along the energy value chain – from generation, transmission, distribution and storage, right through to alternative mobility solutions,” explained Köckler.

Highlights of 2017! The German Thai Chamber of Commerce (GTCC) as the official representative of Deutsche Messe AG, cordially invites you to join: GTCC Business & Study Trip to Germany ‘Integrated Industry/Industrial Automation/Smart Factory’ by visiting HANNOVER MESSE 2017 and Exclusive Site Visits 22 - 30 April 2017 (9 Days, 6 Nights) To register for the delegation trip or additional information, please do not hesitate to contact Ms. Kamolchanok at Tel: 02 670 0600 ext. 4004 or Email: kamolchanok@gtcc.org by Friday 10 March 2017. *Registration is on a first come, first served basis and SPACE IS LIMITED*

issue 168 february 2017


36 REAL LIFE

คุณวรินทร์ รอดโพธิ์ทอง

รือ้ แงะ แกะ ซ่อม...

เล่นจนได้ดี มีวันนี้เพราะ ดีเอ็นเอ

‘ช่าง’

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


REAL LIFE 37

กว่า 20 ปี ทีส่ ถาบันไทย - เยอรมัน เป็นคลังสมองด้านองค์ความรู้ให้ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตของ ไทย เรียกได้วา่ เป็นสถาบันทัง้ ด้าน วิชาการและภาคปฏิบัติที่ท�างาน เป็ น แกนหลั ก แนวนอนให้ ภ าค อุตสาหกรรมที่เติบโตในแนวตั้ง คุณวรินทร์ รอดโพธิ์ทอง ผู้มีงานอดิเรก ที่สร้างความสุขในวัยเด็ก คือ การประดิษฐ์ ของเล่นเองซึ่งมาสู่การกุมบังเหียนต�าแหน่ง ผู ้ อ� า นวยการศู น ย์ เ ครื่ อ งจั ก รกลและระบบ อัตโนมัติ สถาบันไทย-เยอรมัน ผู้ที่เป็นลูกหม้อของสถาบันเพราะท�างาน ที่ นี่ ม าเกื อ บ 20 ปี ซึ่ ง มี ค วามเหมาะสมทั้ ง คุณวุฒิ วัยวุฒิ และประสบการณ์ แต่เมื่อยิ่งได้ พูดคุย ยิ่งพบว่า เป็นผู้ที่มีทัศนคติ ตัวตน และ แพสชั่นที่ไม่ธรรมดา

ความเป็น ‘ช่าง’มันอยู่ในดีเอ็นเอ คุณวรินทร์ รอดโพธิ์ทอง ผู้อ�านวยการ ศู น ย์ เ ครื่ อ งจั ก รกลและระบบอั ต โนมั ติ สถาบันไทย-เยอรมัน เล่าถึงวัยเด็กว่า ตนเป็น เด็กต่างจังหวัด พ่อแม่เป็นคุณครูประชาบาลที่ จังหวัดอุบลราชธานี ครอบครัวมีโรงสี และด้วย ความที่มีนิสัย ‘ช่าง’ อยู่ในดีเอ็นเอ มักชอบรื้อ แงะ แกะ ซ่อม อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ท�าให้โรงสีของครอบครัวเป็นทั้งโรงเรียนและ สนามเด็กเล่น

“ที่บ้านมีโรงสี ชอบคิด ชอบออกแบบ ของเล่นเอง คิดเอง ท�าเอง ชอบอะไรใหม่ๆ ชอบความเสี่ยง ชอบใช้ความคิด บางทีก็ ซ่อมมอเตอร์ไซค์ ท�าเสียบ้าง พังบ้าง สนุก” คุณวรินทร์ เล่าย้อน เมื่อเชื่อมั่นอย่างหนักแน่นและชัดเจน ในนิ สั ย ช่ า งของตั ว เอง จึ ง ตั ด สิ น ใจเข้ า กรุงเทพฯ ตั้งเป้าสอบเข้าเรียนสายอาชีพ เพราะต้องการลงมือและคลุกคลีกบั ของจริง คุ ณ วริ น ทร์ ไ ด้ เข้ า เรี ย นช่ า งกลปทุ ม วั น ในระดับอาชีวศึกษา (ปวส.) สาขาเครื่องกล “ใช่เลย นีแ่ หละชีวติ เรา มันตรงกับความ ชอบของเราทุกอย่าง เราชอบสังคมเพือ่ นฝูง ชอบท�ากิจกรรม ได้ท�าค่าย ท�าโครงการ อาสา งานช่างมันสนุกมาก เราอยากเป็น ช่าง แต่พ่อแม่เป็นครู ก็อยากให้เราเป็นครู อยากให้รับราชการ เพราะเป็นอาชีพมั่นคง มีเกียรติ” คุณวรินทร์ ฉายภาพให้คิดตาม แม้ว่าไม่เคยคิดฝันถึงอาชีพครูอาจารย์ เลย แต่ตามประสาคนไทย ไม่ว่าอย่างไร งานรับราชการถูกมองว่าเป็นงานมัน่ คง และ

ยัง่ ยืน ประกอบกับพ่อแม่เป็นครู จึงตัดสินใจสอบเข้า สถาบั น พระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ ในคณะ ครุศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

พระนครเหนือ ปลูกฝังฐานรากออโตเมชั่น การเรียนการสอนเกี่ยวกับวิศวกรรมสมัยก่อน แม้ยังไม่มีค�าว่า ‘ระบบอัตโนมัติ’ หรือ ‘โรโบติกส์’ แต่ที่พระนครเหนือนั้น นับเป็นสถาบันแรกๆ ของ ประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี พืน้ ฐานเหล่านีจ้ ากประเทศเยอรมัน ท�าให้พนื้ ฐาน ความคิดด้านออโตเมชั่นและโรโบติกส์ถูกปลูกฝัง มาตั้งแต่ตอนนั้น “ตั้งแต่สมัยเรียนปี 3 ปี 4 เราท�าโปรเจกต์เรื่อง เมคคาทรอนิกส์ นิวแมติกส์ ระบบไฟฟ้า ไฮดรอลิก ซึ่งนับว่าล�้าสมัยมากๆ ส�าหรับการเรียนวิศวกรรม ในประเทศไทย” คุณวรินทร์กล่าว หลังเรียนจบมหาวิทยาลัยเริ่มบรรจุเข้าเป็น อาจารย์ประจ�าสาขาเครื่องกล วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี แต่กระนั้น แม้ตัวอยู่ในสาขาเครื่องกล แต่ อีกขาหนึ่งก้าวเข้าไปสอนสาขาเมคคาทรอนิกส์ ด้วย นอกจากนี้ มีงานจากภาคเอกชนเข้ามาให้ฝกึ ฝีมอื ด้านการพัฒนาเครือ่ งจักรและระบบอยูเ่ รือ่ ยๆ

ที่บ้านมีโรงสี ชอบคิด ชอบออกแบบของเล่นเอง คิดเอง ท�าเอง ชอบอะไรใหม่ๆ ชอบความเสี่ยง ชอบใช้ความคิด บางทีก็ซ่อม มอเตอร์ ไซค์ ท�าเสียบ้าง พังบ้าง สนุก…

issue 168 FEBRUARY 2017


38 REAL LIFE

ด้วยความทุ่มเทและวิธีการท�างานที่เน้นการ ท�างานเชิงรุก ไม่ขี้กลัว ไม่ท้อถอย รวมถึงบุคลิกที่ ตรงไปตรงมา กล้าพูดกล้าเถียงในที่ประชุม ท�าให้ ต�าแหน่งหน้าที่การงานก้าวหน้าขึ้นตามล�าดับ จาก อาจารย์ได้ขึ้นเป็นหัวหน้าแผนก และหัวหน้าคณะ จนปี 2536 ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการ วิทยาลัยฝ่ายวิชาการ คุณวรินทร์มองว่าเป็นโอกาส ที่ ดี ม ากของชี วิ ต เพราะต� า แหน่ ง บริ ห ารท� า ให้ ได้คิดใหม่ ท�าใหม่ คิดแบบวิชาการ และที่ส�าคัญ คือ ได้ฝึกคิดแบบนักบริหาร

ออกจากพื้นที่ปลอดภัย สู่ก้าวใหม่ที่สถาบันไทย - เยอรมัน ปี 2540 สถาบันไทย-เยอรมันเปิดรับบุคลากรใหม่ ในต� า แหน่ ง ผู ้ จั ด การแผนกระบบอั ต โนมั ติ ศู น ย์ เครื่องจักรกลและระบบอัตโนมัติ คุณวรินทร์เข้าไป สัมภาษณ์ และได้รับการคัดเลือก แต่... เขากลับลังเล ใช้เวลาเกือบครึ่งปีในการ ตัดสินใจ “เราไม่ชอบย้ายงาน และงานรับราชการก็มนั่ คงดี มีแนวโน้มทีด่ มี ากๆ ในการเติบโตตาม Career Path นอกจากนี้ ญาติพนี่ อ้ งเรารับราชการกันหมด บางคน เป็นถึงรองอธิบดี พูดง่ายๆ คือ ทุกคนทัดทานการ เปลี่ยนงานของเรา เรายื้ออยู่ 1 เทอมการศึกษา...

“ในที่สุด... สถาบันยื่นค�าขาดมา ถามว่า สรุป จะเอาหรือไม่เอา ถ้าไม่เอา จะไม่รอแล้วนะ” งานรั บ ราชการนั บ เป็ น พื้ น ที่ ป ลอดภั ย หรื อ Comfort Zone ทีด่ มี าก แต่กระนัน้ เมือ่ ถามใจตัวเอง เป็นครั้งสุดท้าย คุณวรินทร์ได้ค�าตอบว่า “เราเป็น ช่ า ง” ยั ง ต้ อ งการกลั บ ไปคลุ ก คลี กั บ เครื่ อ งมื อ เครื่องจักร และ ‘ของจริง’ “ตอนนั้นเราถามตัวเอง เรามาอยู่ตรงนี้เพราะ อะไร เพราะเรามีนิสัยช่าง เราเป็นช่าง อยากลงมือ ปฏิบัติ อยากคลุกคลีกับเทคโนโลยี พอมาท�างาน ในสายบริหารนานเข้า ก็หา่ งจากเครือ่ งมือเครือ่ งจักร ไม่ได้ลงมือท�า เราทบทวนตัวเองว่า เรารู้สึกหลวมๆ ฉะนั้น เราจะกลับไปเป็นช่าง” คุณวรินทร์กล่าวถึง การตัดสินใจครั้งส�าคัญ ออกผจญภั ย ในพื้ น ที่ ใ หม่ ได้ ต� า แหน่ ง ใหม่ ย่อมมีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบมากขึ้น เป็ น เงาตามตั ว เกื อ บ 20 ปี ที่ ท� า งานอยู ่ ใ น สถาบันไทย-เยอรมัน เรียกว่า เป็นลูกหม้อก็คง ไม่ผิดนัก แต่ก็ด้วยบุคลิกตรงไปตรงมา เสมอต้น เสมอปลาย รวมถึ ง ความทุ ่ ม เทในการท� า งาน ต้ น ปี 2559 คุณ วริน ทร์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผูอ้ า� นวยการศูนย์เครือ่ งจักรกลและระบบอัตโนมัติ ความท้าทายทีแ่ ท้จริงของสถาบันไทย-เยอรมัน คือ การส่งผ่านความรู้และเทคนิคต่างๆ ที่สถาบันมี ออกสูผ่ ปู้ ระกอบการผ่านการเปิดหลักสูตรมาตรฐาน ต่างๆ ที่บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมไทยต้องรู้

หลั ก พรหมวิ ห าร 4 เมตตา กรุณา มุทติ า และอุเบกขา คนเรา ส่วนใหญ่ปฏิบัติได้แค่ 2 ข้อแรก ส่ ว น 2 ข้ อ หลั ง มุ ทิ ต าและ อุเบกขา ยากหน่อย ต้องฝึก หนั ก เราต้ อ งแฮปปี ้ กั บ การ อยู่ร่วมกับคนที่แตกต่าง ต้อง แฮปปี ้ กั บ ลู ก น้ อ งที่ เ ถี ย งเรา ต้องยินดีเมื่อคนอื่นได้ดี ยินดี ที่คนอื่นเติบโต เช่น ลูกน้องจะ ลาออกไปท�างานเอกชนหรือ เปิดบริษทั เอง เราต้องยินดี....

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

กว่า 140 หลักสูตร (ผู้สนใจสามารถติดตามได้ที่ www.tgi.or.th) แต่ยงิ่ ไปกว่าการให้ความรู้ คุณวรินทร์ กล่าวว่า อีกพันธกิจของสถาบัน ซึ่งก�าลังขับเคลื่อน อยูก่ ค็ อื การท�าให้อตุ สาหกรรมไทยยอมปลดล็อกตัวเอง ทั้งระดับช่างเทคนิคและระดับผู้บริหาร “ต่างชาติเข้ามาลงทุน น�าเข้าเทคโนโลยีเข้ามา บุคลากรไทยในโรงงานพวกนี้แทบไม่ได้แตะต้อง เทคโนโลยี นอกจากหลั ก สู ต รมาตรฐานแล้ ว สถาบั น ฯ จึ ง จั ด ให้ มี ก ารจั ด อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ต่อเนือ่ งกัน 2-3 ปี เพือ่ ปลูกฝังการคิดและแก้ปญ ั หา เป็นระบบ เปิดไอเดียผู้บริหารให้หันมาพัฒนาคน ต้องให้ความส�าคัญและเพิ่มมูลค่าให้คน...” “เราต้อง Break Down ตรงนี้ให้ได้ ปลดล็อก อย่าไปมองว่ามันขึน้ หิง้ ” คุณวรินทร์ ย�า้ อีกครัง้

Feedback Control คุมใจให้อยู่ด้วยการรู้เท่าทัน ผู้อ�านวยการศูนย์ฯ มีบุคลากรในความดูแล ทั้งหมด 58 คน ใครๆ ก็รู้ว่า ยิ่งสูง ยิ่งหนาว ใครๆ ก็รู้ว่า ความ ท้าทายของการบริหารอยูท่ กี่ ารดูแลคน คุณวรินทร์ แบ่งปันแนวคิดดีๆ ในการบริหารคน ว่า ข้อแรก มีสุขร่วมเสพ มีทุกข์ร่วมต้าน... คน ท�างาน ต้องเหนื่อยด้วยกัน สบายด้วยกัน ข้อสอง พรหมวิหาร 4 ... เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ข้อสาม เป็นผู้ฟังที่ดี... ทุกคนเป็นครู เราต้อง เป็นนักเรียนรู้ตลอดเวลา ข้อสุดท้าย หลักกาลามสูตร... ท�าหูให้หนักเข้าไว้ อย่าผลีผลามเชื่อ


REAL LIFE 39

มนุ ษ ย์ ทุ ก คนเป็ น ปุ ถุ ช น มี คิ ด อกุ ศ ล มี อ ารมณ์ เ ป็ น ธรรมดา เราต้ อ งมี Feedback Control ที่เร็ว โกรธได้

โมโหได้ แต่ต้องก�าจัดมัน ต้องรู้ เท่าทันอารมณ์ตัวเอง

“หลักพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา และ อุเบกขา คนเราส่วนใหญ่ปฏิบตั ไิ ด้แค่ 2 ข้อแรก ส่วน 2 ข้อหลัง มุทิตา และอุเบกขา ยากหน่อย ต้องฝึก หนัก เราต้องแฮปปี้กับการอยู่ร่วมกับคนที่แตกต่าง ต้องแฮปปีก้ บั ลูกน้องทีเ่ ถียงเรา ต้องยินดีเมือ่ คนอืน่ ได้ดี ยินดีที่คนอื่นเติบโต เช่น ลูกน้องจะลาออกไป ท�างานเอกชนหรือเปิดบริษัทเอง เราต้องยินดี... เราต้องหัดเป็นผู้ฟัง เพราะทุกคนในชีวิตคือครู มีบางเรือ่ งทีค่ นอืน่ รูม้ ากกว่าเรา เราต้องเป็นนักเรียนรู้ ไม่ยึดติดรูปแบบ แต่สนใจสาระ ส�าหรับผม Idea ส�าคัญกว่า Template นอกจากนี้ ผูฟ้ งั ทีด่ ี ไม่ใช่แค่เปิดโอกาสให้คนอืน่ พูด ไม่ใช่แค่รับฟังความเห็นต่าง แต่ต้องเป็นผู้ฟังที่ หูหนัก ต้องยึดหลักกาลามสูตร อย่าผลีผลามเชื่อ

ใน 10 ประการ เช่น เชื่อเพราะฟังตามกันมา ลือกันมา เวลาท�างาน ลูกน้องเราก็มีท�าดี ท�าเลว ย่อมจะมีเสียงมาเข้าหูเรา เราต้องฟังไว้แต่อย่า เชื่อและอย่าตัดสิน หรือแม้กระทั่งเห็นกับตาก็ อย่าด่วนตัดสิน... เข้าหลักโยนิโสมนสิการ ต้องพิจารณาอย่าง แยบคาย พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ไม่เชือ่ แต่ตอ้ ง เชื่อผ่านการวิเคราะห์อย่างแยบคาย บางทีมันมี วาระซ่อนเร้นในการกระท�าของคน ต้องวิเคราะห์ อย่างแยบคาย”

จากเด็กต่างจังหวัด มาเป็นนักเรียนอาชีวศึกษา สู่การรับราชการเป็นอาจารย์ และผู้บริหารฝ่าย วิชาการ จนถึงผู้อ�านวยการศูนย์ฯ แม้ต่างเวลา ต่ า งสถานที่ และต่ า งบทบาท แต่ ตั ว ตนของ คุ ณ วริ น ทร์ ยั ง คงมี ตั ว ตนเดี ย ว ซึ่ ง เป็ น ตั ว ตนที่ เขาเชื่ อ มั่ น และแน่ ว แน่ ม าโดยตลอด นั่ น คื อ ‘ความเป็นช่าง’ ที่อยู่ในดีเอ็นเอและในหัวใจ

คุ ณ วริ น ทร์ เ คยบอกว่ า หั ว ใจของระบบ อัตโนมัติ คือ การบูรณาการให้แต่ละศาสตร์ ท�างานสอดคล้องกัน ตั้งแต่เครื่องมือเครื่องจักร เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์ และระบบอินเทอร์เน็ต ความยากอยู่ที่การออกแบบสิ่งเหล่านี้ให้ท�างาน ร่วมกันได้อย่างเป็นระบบที่แม่นย�าและไหลลื่น นี่ อ าจเชื่ อ มโยงได้ ถึ ง การใช้ ชี วิ ต และการ ท�างาน ระบบอัตโนมัตทิ ดี่ นี อกจากต้องท�างานได้ แม่นย�าแล้ว ยังต้องรับมือกับความผิดพลาด ได้ดีด้วย “มนุ ษ ย์ ทุ ก คนเป็ น ปุ ถุ ช น มี คิ ด อกุ ศ ล มี อารมณ์เป็นธรรมดา เราต้องมี Feedback Control ที่เร็ว โกรธได้ โมโหได้ แต่ต้องก�าจัดมัน ต้องรู้ เท่าทันอารมณ์ตัวเอง” คุณวรินทร์เชื่อมโยง ให้เห็นภาพ

EXECUTIVE SUMMARY Mr. Warin Rodpothong, Director of Machinery and Automation System Center, Thai – German Institute has the straight forward and consistent character who dedicates himself to work and emphasizes on offensive operation. His key principle in work and personnel management includes 1.) ‘Share Happiness and Face Misery Together’ 2.) Four Sublime States of Mind as loving-kindness, compassion, s y m p at h e t ic j o y a n d eq u a n i m i ty 3.) Be good listener as everyone can be the instructor and we need to be a learner at all times and 4.) Doubtful matters as do not believe in what we heard too fast.

issue 168 FEBRUARY 2017


40 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ÉNERGIES

RENOUVELABLES

EN FRANCE มาชอปปิงเทคโนโลยีที่ฝรั่งเศสกันเถอะ

ทันทีทกี่ ระทรวงพลังงานประกาศเดินหน้า Energy Storage หรือ การกักเก็บพลังงาน ทั้งงบประมาณ นโยบาย มาตรการ และการขานรับจากภาคธุรกิจต่างก็มงุ่ ตรงมาที่ Energy Storage อย่างไม่ตอ้ งนัดหมาย อาจกล่าวได้วา่ จุดเริม่ ต้นพลังงานทดแทน ไทย 4.0 เริ่มต้นที่นี่ นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนในรูปแบบ FIRM และแบบ HYBRID (การใช้เชื้อเพลิง มากกว่า 1 ชนิด) รวมทั้ง งบประมาณการวิจัยพัฒนาส�าหรับภาครัฐก้อนโต ส่ ว นภาคเอกชนโดยแผนกโปรโมซาลงส์ (Promosalons) หอการค้าฝรัง่ เศส-ไทย (Franco-Thai Chamber of Commerce) จับมือกับกลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ยกทีมผู้บริหารบินลัดฟ้าไปประเทศฝรั่งเศส

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เพื่อตามหาสุดยอดเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน ในงาน Pollutec 2016 ณ เมืองลียง ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้า เทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนและสิ่งแวดล้อมอันยิ่งใหญ่ อันดับต้นๆ ของทวีปยุโรป ประเทศฝรั่งเศสมีประชากรราว 64.4 ล้านคน มีพ้ืนที่ 643,801 ตารางเมตร GDP 29,400 ยูโร อัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ 0.2% และมีอัตราการว่างงานถึง 10.3% ส�าหรับ ไฮไลท์ของการดูงานในครั้งนี้ต้องยกให้ 1. บริษัท Atawey (ระบบกักเก็บพลังงานในรูปแบบของ ไฮโดรเจน) 2. สถาบันวิจัยด้านพลังงาน INES 3. การจัดคลัสเตอร์พลังงาน Tenerrdis


RENEWABLE ENERGY

41

http://www.atawey.com บริษัท Atawey ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดหาพลังงานและ Hydrogen Charging Station ทัง้ ในส่วนของการส�ารองพลังงาน และการก�าเนิดพลังงานมีลูกค้าอยู่ทั่วโลก ซึ่งสามารถกักเก็บ พลังงานได้เป็นวัน (ระยะสั้น) ด้วยแบตเตอรี่ และเป็นปี (ระยะ ยาว) ด้วย Hydrogen Chain จึงได้รับรางวัลธุรกิจนวัตกรรม สีเขียวในแคว้นโรน-แอลป์ เมื่อปี ค.ศ. 2013 เทคโนโลยีนี้ประกอบด้วย TWO-PHASE OPERATION : 1- High Energy Production ระบบจะกักเก็บพลังงานทดแทน ทัง้ หมดในแบตเตอรี่ เมือ่ แบตเตอรีเ่ ต็มระบบจะเปลีย่ นพลังงาน ส่วนเกินให้อยู่ในรูปของไฮโดรเจนด้วยไฟฟ้า และจะกักเก็บ พลั ง งานไว้ อ ย่ า งปลอดภั ย ในความดั น ต�่ าได้ ใ นปริมาณมาก

ซึ่งสามารถกักเก็บพลังงานได้เป็นเวลาหลายเดือน 2- Low Energy Production คือ ช่วงที่มีความต้องการใช้พลังงาน มากที่สุด ซึ่งทรัพยากรที่ใช้ก�าเนิดพลังงานมีปริมาณน้อยที่สุด พลังงานจะมีการเรียกคืนมาใช้ในรูปแบบเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) จึงท�าให้ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลจากชุดเครื่องก�าเนิด ไฟฟ้าได้ด้วยก�าลังไฟฟ้าตั้งแต่ 0.5 - 50 กิโลวัตต์ ส�าหรับ พลังงาน 1-30 MWh ต่อปี นอกจากนี้ คณะยังได้ทดลองขับ จักรยานที่ใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงอีกด้วย ตู้กักเก็บพลังงาน ด้วยไฮโดรเจนนี้สามารถชาร์จได้ทั้งรถยนต์ที่ใช้ไฮโดรเจน และ รถยนต์ทใี่ ช้แบตเตอรี่ รวมทัง้ รถจักรยานไฮโดรเจนซึง่ ทางบริษทั ได้คิดค้นขึ้นมา

The National Solar Energy Institute (INES) สถาบันพลังงานแสงอาทิตย์แห่งชาติ เป็นหน่วยงาน ด้านวิจัยพัฒนานวัตกรรมและฝึกอบรมที่เกี่ยวกับแสงอาทิตย์ ของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งมีนักวิจัยและช่างเทคนิคกว่า 400 คน บนพื้นที่กว่า 22,000 ตารางเมตร โจทย์การวิจัยเน้นไปในด้าน ของโซลาร์ PV โซลาร์ Thermal และการใช้พลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพในอาคาร

คลัสเตอร์พลังงาน Tenerrdis Energy Cluster เป็น คลั ส เตอร์ ที่ ส นั บ สนุ น เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมเกี่ ย วกั บ พลั ง งานทดแทนที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแคว้ น โรน-แอลป์ ใ ห้ ส ามารถ ออกสู่เชิงพาณิชย์ได้ด้วยการสนับสนุนด้านวิจัยและพัฒนา จากทั้งภาครัฐและเอกชน โดยบริษัทในเครือข่ายจะอยู่ในธุรกิจ เกีย่ วเนือ่ งกัน (Value Chain) ซึง่ นอกจากจะสร้างผูเ้ ชีย่ วชาญแล้ว ยั ง สร้ า งโอกาสทางธุ ร กิ จ ได้ อี ก ด้ ว ย ปั จ จุ บั น มี ส มาชิ ก กว่ า 170 บริษทั โดย 58% เป็นบริษทั ขนาดเอสเอ็มอี และมีโครงการ ที่ให้การสนับสนุนไปแล้วกว่า 234 โครงการ issue 168 february 2017


42 RENEWABLE ENERGY

ในส่วนของงานแสดงสินค้า Pollutec ที่เราได้เห็นความ ล�้าหน้าของเทคโนโลยีจากฝรั่งเศสและประเทศอื่นๆ ในยุโรป ซึ่งในปีนี้ผู้จัดงานได้เลือกประเทศเวียดนามเป็น Country of Honor และได้จัดงาน ASEAN Day โดยเชิญเอกอัครราชทูต จากประเทศในอาเซียนเข้าร่วมงานในครัง้ นีด้ ว้ ย ไฮไลท์อกี อย่าง นั่นคือ การเข้าชมเขตเชิงนิเวศ Confluence (ก็องฟรียอง) พื้นที่ เดิมเป็นทะเลทราย และแหล่งเสื่อมโทรม พื้นที่เกือบหนึ่งล้าน ตารางเมตรให้กลายเป็นพื้นที่เชิงพาณิชย์และที่อยู่อาศัย ด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ค�านึงถึงการประหยัดพลังงานและ ภูมทิ ศั น์อนั สวยงาม โดยแบ่งพืน้ ทีด่ า� เนินการออกเป็น เฟสแรก (พ.ศ. 2551- 2561) พื้นที่ 400,000 ตร.ม. เฟสที่ 2 (พ.ศ. 2555 – 2568) พื้นที่ 420,000 ตร.ม. พื้นที่ที่เหลือจะเป็นพื้นที่บริเวณ สถานี Perrache โครงการนี้ได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุนเพื่อ การพัฒนา (Public Under Development Fund) 10%, กองทุน เพื่อสาธารณูปโภค (Public Under Facilities Fund) 25% และ จากเอกชน (Private Fund) 65% ด้วยแนวคิด ‘City for All’ เป้าหมายเพือ่ ลดปริมาณคาร์บอน (Zero extra carbon emission) และเป็น Smart Community โดยจะรักษาระดับคาร์บอนทีป่ ล่อย ในปี ค.ศ. 2020 ให้ใกล้เคียงกับเมื่อปี ค.ศ. 2000 โดยอาคาร พาณิชย์และที่อยู่อาศัยได้รับการออกแบบให้มีความสูงต่างกัน เพือ่ ได้รบั แสงจากภายนอก และมีพนื้ ทีโ่ ล่งเพือ่ ให้อากาศถ่ายเท ได้ดี ซึง่ โครงการนีค้ าดว่าจะสร้างงานกว่า 25,000 ต�าแหน่ง และ ลงทุนในเฟสแรกไปแล้วกว่า 12,000 ล้านบาท นอกจากนี้ ยังได้ทดลองนั่งรถ NAVYA ARMA รถรับ-ส่ง ไร้คนขับ (Intelligent Driverless Electric Shuttle) ซึ่งขับเคลื่อน ด้วยระบบไฟฟ้า 100% สามารถรองรับผู้โดยสารได้ 15 ท่าน และสามารถขับด้วยความเร็วสูงสุด 45 กม./ชั่วโมง พัฒนาโดย บริษัท KEOLIS โดยรถดังกล่าวมีระบบเซ็นเซอร์ 3D ซึ่งช่วย ในการหลบสิ่งกีดขวาง ระบบ GPS ในการน�าทางและระบบ ค�านวณระยะทางเพือ่ ก�าหนดจุดจอดรถ และกล้องเพือ่ ค�านวณ ต�าแหน่งและข้อมูลบนถนน อาทิ ป้ายบอกทางและสัญญาณไฟ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการหยุดรถ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ภาพ: รถโดยสารไร้คนขับ


RENEWABLE ENERGY 43

หลากหลายความเห็น จากผู้บริหารด้านพลังงานทดแทนที่ร่วมคณะในครั้งนี้ คุณสุวัฒน์ กมลพนัส ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อีเมล์: suwatk@mitrphol.com “การคาดการณ์ (Predictable) หน่วยผลิตของพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Farm ที่ INES สถาบันวิจัยด้าน Energy Efficiency และพลังงานแสงอาทิตย์ โดยศึกษาการคาดการณ์ผลผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์ฟาร์มด้วยการใช้ Big Data ค�านวณล่วงหน้า เพือ่ เป็นข้อมูลในการสัง่ ให้โรงไฟฟ้าอืน่ ๆ เช่น น�า้ หรือ ก๊าซ สามารถเพิม่ หรือลดโหลดล่วงหน้าได้ โดยมีวิธีที่ใช้ประกอบกันหลายอย่าง ได้แก่ 1. การท�า Integration ของ Solar Farm หลายๆ แห่งเข้าด้วยกัน เพือ่ ลดความผันผวนจากผลผลิตทีเ่ กิดจากมีเมฆ หรือฝนบดบัง ด้วยเหตุนี้การมี Solar Farm อยู่ห่างๆ กัน ในระยะ 5-10 กม. หลายๆ แห่งท�าให้โอกาสที่เมฆบังแสง พร้อมกันน้อย ผลผลิตรวมจากหลายๆ ฟาร์ม จะมีความเบี่ยงเบน (Variation) น้อยลง 2. การท�านายระยะสั้น (Short Term Prediction) ในช่วงเวลาเป็นนาที โดยใช้ระบบ Image Analyzer ของกล้อง ที่จับภาพบนท้องฟ้า เพื่อวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของเมฆ แบบ Real-time ท�าให้ทราบล่วงหน้าว่าโซลาร์ฟาร์มที่ใดจะมีผลผลิตลดลงจากเมฆหรือฝน 3. การท�านายระยะกลาง (Medium Term Prediction) ในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงถึงวัน โดยใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมและการพยากรณ์อากาศที่จะรู้ล่วงหน้า ได้ว่าจะเกิดเมฆหรือฝนในส่วนใด ท�าให้ทราบล่วงหน้าว่า Solar Farm ที่ใดจะมีผลผลิตลดลงจากเมฆ หรือฝนในระดับชั่วโมงหรือวันได้ 4. การท�านายระยะยาว (Long Term Prediction) ในช่วงเวลาเป็นเดือน โดยใช้ข้อมูลพยากรณ์อากาศที่เป็นฤดู และข้อมูลสถิติจากปีที่ผ่านมา สามารถรู้ล่วง หน้าได้ว่าในแต่ละเดือนของปี จะมีผลผลิตรวมเฉลี่ยประมาณเท่าไร ข้อมูลทัง้ หมด คือ Big Data ทีส่ ง่ เข้ามาในระบบทีจ่ ะท�าการประมวลผล และท�านายผลผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์ฟาร์มได้อย่างแม่นย�าเพียงพอทีจ่ ะปรับเปลีย่ นการผลิต ไฟฟ้าจากแหล่งอื่นมาชดเชย ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์กับประเทศไทยที่จะมีการพึ่งพาพลังงานแสงอาทิตย์เป็นจ�านวนมากในอนาคต”

คุณณรงค์ชัย วิสูตรชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายรัฐสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ บริษัท โกลว์ พลังงาน จ�ากัด (มหาชน) อีเมล์: narongchai@glow.co.th “เทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนมีการพัฒนาไปอย่างมาก เราพูดถึงการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานหรือ Energy Storage ที่ได้พัฒนาปรับปรุงมาอย่างมาก และช่วยเพิ่มความมั่นคงในด้านการจัดส่งพลังงานได้เป็นอย่างดี นอกจากระบบกักเก็บพลังงานแล้ว ยังมีนวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนอีกหลากหลายที่น่าสนใจ เช่น การได้ ไปชม การพัฒนาระบบพลังงานสะอาดจากไฮโดรเจน ซึ่งสามารถน�าไปประยุกต์ ใช้ในพื้นที่ที่ยังไม่มีระบบไฟฟ้า (Off-Grid) หรือใช้ในระบบการคมนาคมขนส่ง (Mobility) เราเคยได้ยินมาในเรื่องเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากไฮโดรเจนมาบ้าง พอสมควร แต่เมื่อได้ ไปเห็นการพัฒนาที่ทาง Atawey ได้ด�าเนินการอยู่ ท�าให้เห็นถึงการน�าเอานวัตกรรมด้านพลังงาน ไปใช้ในชีวิตจริง และเป็นทางเลือกของพลังงานทดแทนอีกด้านหนึ่ง โดยทางบริษัทฯ ได้พัฒนาระบบ Hydrogen Recharging Station ซึ่งเป็นสถานีเติมไฮโดรเจนโดยใช้ระบบ Water Electrolysis ในขนาดที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ และสถานีเติมไฮโดรเจนนี้ ได้พัฒนาเพิ่มเติมให้สามารถชาร์จได้ทั้งแบตเตอรี่ และไฮโดรเจน ท�าให้เรามองเห็นโอกาสในการน�าไปประยุกต์ ใช้ ได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการน�าไปใช้ในระบบผลิตไฟฟ้าส�าหรับพื้นที่ที่ไฟฟ้าจากระบบสายส่งไม่สามารถเข้าถึงได้ หรือระบบคมนาคมทางรถยนต์ ไฟฟ้า รถจักรยานยนต์ ไฟฟ้า และรถจักรยานไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ยังคงต้องมีการพัฒนาต่อยอดให้สามารถใช้ ได้จริงในเชิงพาณิชย์ ทั้งในเรื่องต้นทุนการผลิตของทั้ง Charging Station และยานพาหนะ ทีน่ า� มาใช้กบั พลังงานประเภทนี้ รวมถึงต้องตอบโจทย์ขอ้ กังวลในด้านความปลอดภัยของการเก็บไฮโดรเจนทีม่ แี รงดันสูง (ซึง่ ผูพ้ ฒ ั นาได้บอกว่าระบบนีม้ คี วามปลอดภัย สูงอยู่แล้ว) ผมเชื่อว่าในอนาคตคงมีการพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น และหากสามารถท�าให้ต้นทุนต�่าลง และมีความปลอดภัยสูงมากขึ้น และน่าจะท�าให้เทคโนโลยีเป็นคู่แข่ง และทางเลือกทางด้านพลังงานทดแทนที่ส�าคัญไม่น้อยไปกว่าการพัฒนาระบบ Energy Storage อื่นๆ ” issue 168 february 2017


44 RENEWABLE ENERGY

คุณคมกฤช ตันตระวาณิชย์ ผู้ช่วยเลขาธิการ ส�านักงานก�ากับกิจการพลังงาน อีเมล์: khomgrich@erc.or.th “ฝรัง่ เศสดูจะเป็นประเทศทีม่ คี วามมัน่ คงด้านพลังงานและระบบโครงข่ายพลังงานโดยมีการใช้ประโยชน์จาก การเชือ่ มต่อกับประเทศเพือ่ นบ้านมานานแล้ว ปัจจุบนั จึงเน้นไปทีก่ ารใช้พลังงานทดแทนให้เกิดประโยชน์สงู สุด เช่น การพยากรณ์การผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ การใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนยานยนต์โดยการ แปรรูปไฟฟ้าเป็นไฮโดรเจน การออกแบบระบบการจัดการสาธารณูปโภคในเมืองให้สอดคล้องกับการผลิต และการใช้พลังงาน การออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน อันจะน�าไปสู่ Smart Energy City ในระยะเวลาอันใกล้ ประเทศไทยยังมีโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่สมบูรณ์เท่าฝรั่งเศส จึงจ�าเป็นต้องวิเคราะห์ ความพร้อมและความคุ้มค่าก่อนที่จะน�าระบบต่างๆ มาประยุกต์ ใช้ โดยจะต้องมีการวางแผนการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภค ทั้งในด้านการผลิตและการใช้พลังงานควบคู่ไปกับการพัฒนาเมือง เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด”

ต่อไปนี้ประเทศฝรั่งเศสคงไม่ใช่แค่เมืองน�้าหอม ไวน์รสดี และสินค้าฟุ่มเฟือยที่แพงลิบลิ่ว แต่ฝรั่งเศสจะกลายเป็นห้าง สรรพสินค้าให้กบั คนไทยได้เลือกชอปปิงเทคโนโลยีดา้ นพลังงาน ทดแทนอีกด้วย ซึง่ หวังว่าราคาไม่แพงเหมือนสินค้าแบรนด์เนม ชื่อดัง ส�าหรับประเทศไทยภาครัฐได้ทุ่มงบประมาณมากมาย ให้กบั อาจารย์มหาวิทยาลัยเพือ่ ศึกษาและวิจยั อย่างน้อยทีก่ ส็ ดุ จะได้ช่วยให้ความรู้นักชอปเทคโนโลยีเลือกของดีมาใช้ในเมือง ไทยและเป็นที่ปรึกษาให้กับภาคเอกชนก่อนตัดสินใจลงทุน

MODERN MANUFACTURING แก้ ไขภาพและข้อความก�ากับภาพ ในคอลัมน์ RENEWABLE ENERGY หน้า 58-59 กุมภาพันธ์ 2560 ให้ถกู ต้อง ดังนี้ ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี ผู้อ�านวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คุณพิพัฒน์ สุทธิวิเศษศักดิ์ รองประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองเลขาธิการ และประธานฝ่ายวิชาการ สมาคมการค้าผูผ้ ลิตเอทานอลไทย ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท เอกรัฐพัฒนา จ�ากัด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

EXECUTIVE SUMMARY Renewable Energy Industry Club, the Federation of Thai Industries cooperate with Promosalons, Franco-Thai Chamber of Commerce (FTCC) brought executives in search of the advance environmental and renewable energy in Lyon, France. The highlight for the trip was 1) Atawey (Hydrogen Charging Station) 2) The National Solar Energy Institute (INES) and 3) Tenerrdis Energy Cluster. Besides, the group had a chance to visit Confluence, the ecosphere zone which develop from desert and slum into residence and commercial area by technology and innovation that focus on energy saving and great view of landscape.


เรื่อง : ภิญญาภรณ ชาติการุณ

renewable energy TECHNOLOGY 45

รู จัก… เทคโนโลยีกังหันลม

อีกหนึ่งทางเลือกพลังงานต นทุนธรรมชาติ

ลมเปนแหลงพลังงานสะอาดชนิดหนึ่งที่มีอยูเองตามธรรมชาติ สามารถใชไดอยางไมมีวันหมดสิ้น ในปจจุบันไดมีการใชประโยชนจาก พลังงานลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟามากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในแถบ ประเทศยุโรปไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาในเชิง พาณิชยใหมขี นาดใหญขนึ้ และมีประสิทธิภาพสูงขึน้ สําหรับประเทศไทย การใชประโยชนจากพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟายังมีคอนขางนอยมาก อาจเปนเพราะศักยภาพพลังงานลมในประเทศเราไมสงู มากนักเมือ่ เทียบกับ

ประเทศอื่นๆ และความรูทางดานเทคโนโลยีกังหันลมสมัยใหม ยังเปนสิ่งที่ใหมอยูสําหรับการนํามาใชงาน สําหรับประเทศไทยลมเปนอีกหนึง่ พลังงานทางเลือกทีส่ ามารถนํามา ประยุกตใชรว มกับแหลงพลังงานอืน่ ๆ ได เพือ่ เสริมสรางศักยภาพดาน ความมั่นคงในการผลิตไฟฟา ลดการพึ่งพาพลังงานจากฟอสซิล เปนการลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ ทัง้ ยังชวยลดปรากฏการณ ภาวะโลกรอนไดอีกทางหนึ่งดวย

issue 168 february 2017


46 renewable energy TECHNOLOGY

ปัจจุบนั เทคโนโลยีกงั หันลมได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง หลายประเทศทัว่ โลก ได้ให้ความสนใจ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป เช่น ประเทศเดนมาร์ก กังหันลมที่ได้ มีการพัฒนาขึ้น จะมีลักษณะและรูปร่างแตกต่างกันออกไป สามารถจ�าแนกตาม ลักษณะแนวแกนหมุนของกังหันจะได้ 2 แบบ คือ กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) และ กังหันลมแนวแกนตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine)

กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่สามารถรับ

พลังงานจลน์จากการเคลือ่ นทีข่ องลม ให้เป็นพลังงานกลได้ จากนัน้ น�าพลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรง เช่น การบดสี เมล็ดพืช การสูบน�้า หรือในปัจจุบันใช้ผลิตเป็นพลังงาน ไฟฟ้า

การพัฒนากังหันลมเพือ่ ใช้ประโยชน์มมี าตัง้ แต่ ชนชาวอียิปต์ โบราณ และมีความต่อเนื่องถึงปัจจุบัน

โดยการออกแบบกังหันลมจะต้องอาศัยความรู้ทางด้าน พลศาสตร์ของลมและหลักวิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆ เพื่อให้ได้ก�าลังงาน พลังงาน และประสิทธิภาพสูงสุด

C

กังหันลมแนวแกนนอน

กังหันลมที่มีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั้งฉาก รับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุมกังหันให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม เรียกว่า ‘หางเสือ’ มีอุปกรณ์ป้องกันกังหันช�ารุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง และตั้งอยู่ บนเสาที่แข็งแรง เช่น กังหันลมวินด์มิลล์ (Windmills)

กังหันลมแนวแกนตั้ง

กังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ สามารถรับลมในแนวราบได้ทกุ ทิศทาง ไม่วา่ ลมจะเข้ามาทิศไหนก็ยงั หมุนได้ โดย ไม่ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมให้กังหันหันหน้าเข้าหาลม สามารถวางเครื่องก�าเนิด ไฟฟ้าและระบบการส่งก�าลังไว้ใกล้พื้นดินได้มากกว่าแบบแกนนอน จึงบ�ารุง รักษาได้ง่ายกว่ากังหันลมแบบแกนนอนที่ติดอยู่บนหอคอยสูง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

M

Y

CM

MY

ความเร็วลม ปัจจัยหลักพิจารณาติดตั้งกังหันลม การติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า ต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ นอกเหนือจากความเร็วของลมด้วย เช่น ลักษณะภูมปิ ระเทศควรเป็นทีร่ าบ ไม่มี สิ่งกีดขวาง และมีความเร็วลมโดยสม�่าเสมอ ความยาวของใบพัด และสถานที่ ติดตั้งกังหันลม เป็นต้น ส�าหรับปัญหาความไม่สม�่าเสมอของความเร็วลมที่แปรผันตามธรรมชาติ อาจสามารถใช้ตวั กักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เข้ามาช่วยกักเก็บพลังงาน เพือ่ ส�ารองใช้ตามความต้องการได้อย่างเหมาะสมมากขึน้ เช่น กรณีทเี่ ป็นกังหันลม ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก มักนิยมใช้แบตเตอรี่เป็นกักเก็บพลังงาน เป็นต้น การใช้พลังงานลมเพื่อการผลิตไฟฟ้าความเร็วลมจะต้องสม�่าเสมอ หรือ ก�าลังลมเฉลี่ยทั้งปีควรไม่น้อยกว่าระดับ 6.4–7.0 เมตรต่อวินาที ที่ความสูง 50 เมตร จึงจะสามารถผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมได้ดี ภูมิประเทศที่มีความเร็วลม เหมาะสม ได้แก่ บริเวณฝั่งทะเลแถบยุโรป เหนือ หรือช่องเขาในสหรัฐอเมริกา การพัฒนาพลังงานลมในประเทศไทยยังมีข้อจ�ากัด ส�าหรับการใช้พลังงานลมในประเทศไทย ในการติดตัง้ กังหันลมหรือก�าลังลม เฉลี่ยทั้งปี ควรไม่น้อยกว่าระดับ 3 (Class 3) คือ 6.4-7.0 เมตร/วินาที หรือ 300-400 กิโลวัตต์/ตารางเมตร ทีค่ วามสูง 50 เมตร เพือ่ สามารถพัฒนากังหันลม ผลิตไฟฟ้าได้ จากการส�ารวจแหล่งที่มีความเร็วลมดังกล่าวอยู่ที่ภาคใต้บริเวณ ชายฝั่งทะเลตะวันออก เริ่มตั้งแต่ จ.นครศรีธรรมราช สงขลา และปัตตานี และ ที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนมีนาคม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หากค�านึงถึงความไม่สม�่าเสมอของไฟฟ้าจากพลังงานลม ท�าให้การลงทุนในกังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยในขณะนี้ จึงไม่มีความคุ้มทุนทางการเงิน การลงทุนจะเกิดขึ้นได้เฉพาะกรณีที่ภาครัฐ ให้การสนับสนุนเป็นพิเศษด้วยเหตุผลด้านสิ่งแวดล้อม issue 168 february 2017

CY

CMY

K


VIBRATION & TEMPERATURE SENSOR

·ÓäÁ!

àÃÒµŒÍ§Ê¹ã¨ÇÑ´¤ÇÒÁÊÑè¹ÊÐà·×͹ áÅÐÍسËÀÙÁԢͧÁÍàµÍà 俿‡Ò 㹺ҧ¤ÃÑ駡ÒÃÁͧ¢ŒÒÁºÒ§ÊÔ觺ҧÍ‹ҧÍÒ¨¡‹ÍãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒẺäÁ‹¤Ò´¤Ô´ ËÃ×Í ·ÓäÁàÃÒµŒÍ§ÃÍãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒ¢Öé¹ÁÒ¡‹Í¹áŌǤ‹Í¡ÅѺÁÒá¡Œä¢áÅл‡Í§¡Ñ¹ ´Õ¡Ç‹ÒäËÁ¶ŒÒËѹÁÒãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޡѺÊÔ觷ÕèÁͧ¢ŒÒÁ â´Â㪌à¤Ã×èͧÁ×ÍࢌÒÁÒª‹Ç»‡Í§¡Ñ¹ ¡‹Í¹·Õ軘ÞËÒ¨Ðà¡Ô´ áÅÐÊ‹§¼ÅãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕÂËÒµÒÁÁÒ «Ö觷ÓãËŒàÊÕÂàÇÅÒ㹡Òë‹ÍÁá«Á áÅзÕèÊÓ¤ÑÞÊ‹§¼Å¡Ãзºµ‹Í¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔµ«Öè§à»š¹»˜¨¨ÑÂÊÓ¤ÑÞÍ‹ҧÂÔè§ÂÇ´

¢ÍàʹͷҧÍÍ¡¢Í§»˜ÞËÒâ´Â㪌 VIBRATION & TEMPERATURE MONITORING SOLUTION

â´Â㪌¡ÒõԴµÑé§ Sensor äÇŒº¹µÑÇÁÍàµÍà 俿‡Ò à¾×è͵ÃǨÇÑ´¤ÇÒÁÊÑè¹ÊÐà·×͹áÅÐÍسËÀÙÁÔ à¾×è͹Óä»ÇÔà¤ÃÒÐË ¡Ò÷ӧҹ¢Í§ÁÍàµÍà 俿‡ÒÇ‹Ò»¡µÔËÃ×ÍàÃÔèÁ·Õè¨ÐÁÕ»˜ÞËÒáÅŒÇ ´ŒÇÂËÅÑ¡¡Òç‹ÒÂæ ᤋ¹ÕéàÃÒ¡ç¨ÐÊÒÁÒöÇҧἹ¡Òë‹ÍÁá«ÁºÓÃاÃÑ¡ÉÒÁÍàµÍà 俿‡Òä´Œ¡‹Í¹·Õè¨Ðà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ¨¹µŒÍ§ËÂØ´¡Ò÷ӧҹ¢Í§à¤Ã×èͧ¨Ñ¡ÃËÃ×ÍÃкº áÅÐÊÒÁÒö ·Õè¨ÐµÃǨÇÑ´ã¹ËÅÒÂÅѡɳРઋ¹ ÊÁ´ØŢͧÁÍàµÍà 俿‡Ò ¡ÒÃËÅØ´ÍÍ¡¢Í§ªÔé¹Ê‹Ç¹ÀÒÂã¹ ËÃ×ͪÔé¹Ê‹Ç¹ºÒ§Í‹ҧ¢Í§ÁÍàµÍà 俿‡Ò·ÕèàÃÔèÁËÅÇÁáÅСÒ÷ӧҹ·Õè¼Ô´»¡µÔ «Ö觡ÒõԴµÑ駡çÂѧÊÒÁÒöʋ§¢ŒÍÁÙż‹Ò¹ÃкºÊ×èÍÊÒ÷Ñé§áººà´Ô¹ÊÒÂáÅÐäÃŒÊÒ Âѧʋ§¼Å件֧à¾ÔèÁ¤ÇÒÁÊдǡ áÅЧ‹Òµ‹Í¼ÙŒãªŒ§Ò¹ÁÒ¡ÂÔ觢Öé¹

Contact: ZI-ARGUS LTD. 278 B1, Fl.1-2 Raintree Office Garden Soi Soonvijai 4, Rama IX Road Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310, Thailand Tel : +66 (0)2 319 9933 Fax : +66 (0)2 319 9949 Email : bangkok@zi-argus.com



renewable energy TECHNOLOGY 49

ขั้นตอนที่ 1 เลือกสถานที่ในการติดตั้ง ควรติดตั้งบนที่ราบหรือที่สูง และอยู่ห่างจากสิ่งต่างๆ ที่กีดขวางหรือบัง ทิศทางลม เช่น สิ่งก่อสร้างหรือต้นไม้ เพื่อกังหันลมจะสามารถรับกระแสลม ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด พื้นดินในบริเวณที่ท�าการติดตั้งควรมั่นคงและไม่ เป็นบริเวณทีน่ า�้ ท่วมถึง น�า้ ไม่สามารถไหลพัดพาหน้าดินไปได้โดยง่าย หากมีความ จ�าเป็นควรเทคอนกรีตในบริเวณฐานของเสากังหันลมและจุดที่ใช้ในการจับยึด สลิงทุกจุด สิง่ ส�าคัญอีกประการหนึง่ คือ ต�าแหน่งของกังหันลม และชุดควบคุมพลังงาน ไฟฟ้าควรจะอยู่ใกล้กันมากที่สุด เพื่อลดการสญเสียของพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ในสายส่ง หากจ�าเป็นอาจควรเลือกใช้สายไฟฟ้าทีม่ ขี นาดใหญ่กว่ามาตรฐาน เพือ่ ลดการสูญเสียของพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในสายส่งให้น้อยที่สุด ขั้นตอนที่ 2 เตรียมสถานที่ในการติดตั้ง ก�าหนดต�าแหน่งจุดยึดสลิง โดยการร่างรัศมีวงกลมบนพืน้ ตามค�าแนะน�า ตอก เหล็กฉากจับ ยึด (ส�าหรับกังหันลมขนาดเล็ก) สร้างฐานคอนกรีตเพื่อฝังสมอบก (ส�าหรับกังหันลมขนาดใหญ่) ขั้นตอนที่ 3 เตรียมฐานคอนกรีต และติดตั้งแผ่นเหล็กฐานเสากังหันลม ตามต�าแหน่งทีก่ า� หนดไว้ และการติดตัง้ แผ่นเหล็กฐานเสากังหันลม และสมอบก ส�าหรับจับยึดสลิงท�ามุม 60-80 องศากับพื้นราบ ขั้นตอนที่ 4 ติดตั้งเสากังหันลมบนแผ่นเหล็กฐาน และใบพัด การประกอบใบพัดกังหันลม (Blade) เข้ากับเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า (Generator) เป็นขั้นตอนที่ส�าคัญมาก ดังนั้น การเลือกใช้กังหันลมผลิตไฟฟ้าควรเลือกให้ เหมาะกับความเร็วของลมในแต่ละพื้นที่ หากเลือกใช้กังหันลมความเร็วลมสูง (High-Wind-Speed) ไปใช้ในพื้นที่ความเร็วลมต�่า ก�าลังไฟฟ้าที่ได้ก็จะน้อยกว่า ที่ควรจะเป็น ขณะที่หากเลือกใช้กังหันลมความเร็วลมต�่า (Low-Wind-Speed) ในพื้นที่ที่มี ความเร็วลมสูง กังหันลมจะหมุนรอบสูงและท�างานหนักเกินไป การสึกหรอก็จะ เกิดขึน้ มากกว่าปกติ ดังนัน้ ในกรณีทเี่ ลือกใช้กงั หันลมความเร็วลมต�า่ หากความเร็วลม สูงเกินกว่า 16 m/s ก็ควรที่จะพับเก็บ หรือวางกังหันลมนอนในแนวราบ หากใช้ กังหันลมความเร็วลมต�่า ในพื้นที่ที่มีความเร็วลมสูงมากเกินไป อาจท�าให้ใบพัด ของกังหันลมแตกหักเนื่องจากแรงลมที่เข้าปะทะได้โดยง่าย ขั้นตอนที่ 5 ตั้งเสากังหันลม • วางกังหันลมบนอุปกรณ์คา�้ ยึดชัว่ คราว ยึดสลิง 3 เส้น (2 เส้นกรณีกงั หันลม ขนาดเล็ก) • จับยึดปลายสลิง 3 เส้น (2 เส้นกรณีกงั หันลมขนาดเล็ก) กับจุดยึดสลิงให้แน่น

สิ่งที่ต้องตรวจเช็กทุก 4 เดือน

• สายไฟหลวมหรือแน่นมากเกินไปหรือไม่ หรือหลังจาก มีลมพายุ • ตรวจเช็กน็อตทุกตัวว่ามีการคลายตัวหรือไม่ ขันให้แน่น ทุกครั้งหลังตรวจเช็ก • บํารุงรักษาแบตเตอรี่ตามคู่มือ • เมื่อทราบว่าจะมีพายุที่รุนแรงเข้า ควรวางนอนกังหันลม ลงกับพื้น เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหายของอุปกรณ์

• ดึงปลายสลิงด้านที่เหลือผ่าน ไม้ค�้ายันหรือเหล็กค�้ายันช่วยแรง ซึ่งควร มีความยาวมากกว่าครึ่งหนึ่งของความสูงของเสากังหันลม • ดึงสลิงเพื่อตั้งเสากังหันลมขึ้น โดยรอกช่วยแรง (Chain Block) หรือดึงโดย รถยนต์ • ตรวจเช็กและปรับแต่งเสากังหันลมให้ได้ฉากโดยระดับน�้า ก่อนยึดให้แน่น ทุกด้าน

ขั้นตอนที่ 6 การเชื่อมต่อระบบไฟฟ้า ควรระวังตรวจสอบขั้วบวก (สีแดง) ขั้วลบ (สีด�า) ก่อนการเชื่อมต่อทุกครั้ง การต่อผิดอาจท�าอุปกรณ์เสียหายได้

ข้อดีและข้อจ�ำกัดของกำรพัฒนำพลังงำนลม ข้อดี • เป็นแหล่งพลังงานที่ได้จาก ธรรมชาติ ไม่มตี น้ ทุน • เป็นแหล่งพลังงานที่ไม่มวี นั หมดสิน้ • เป็นพลังงานสะอาด • ไม่กนิ เนือ้ ที่ ด้านล่างยังใช้พนื้ ที่ได้อยู่ • มีแค่การลงทุนครั้งแรก ไม่มีค่าเชื้อเพลิง • สามารถใช้ระบบไฮบริดเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด คือ กลางคืน ใช้พลังงานลมกลางวันใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ • มาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม

ข้อจ�ำกัด • ลมในประเทศไทยมี ค วามเร็ ว ค่อนข้างต�่า • พื้นที่ที่เหมาะสมมีจ�ากัด • ขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ บางฤดู อาจไม่มีลม • ต้องใช้แบตเตอรี่ราคาแพงเป็น แหล่งเก็บพลังงาน • ขาดเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมกั บ ศักยภาพลมในประเทศ และขาด บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ

EXECUTIVE SUMMARY Currently, wind turbine technology has consistently been developing which can be divided based on 2 types of turbine’s revolving axis as Horizontal Axis Wind Turbine and Vertical Axis Wind Turbine. In addition, factors needed to take consideration before installing wind turbine for electricity generating are the topography condition which should be the lowland without any barricade and has consistent wind velocity as well as the length of propellers, and location to setup wind turbine for example. In order to use wind energy to generate electricity with stability, such area must have consistent wind velocity or average wind power throughout the year no less than 6.4 – 7.0 meters per second at 50 meters in height so that they will be able to generate good quantity of electricity. However, installation and maintenance processes are so important as well in order to generate good wind energy with stability, promote the electricity generating integrity, reduce fossil energy dependency and oversea energy import as well as reduce down the global warming phenomena. issue 168 february 2017


50 PRODUCTIVITY BOOSTER เรื่อง: กมล ดุรงค์กนกพันธ์ วิทยำกรที่ปรึกษำอิสระในด้ำนกำรบริหำรคุณภำพและกำรวำงกลยุทธ์องค์กร

แนวทางปฏิบัติและอุปสรรค

เมื่อใช้ ‘ลีน’ เป็นเครื่องมือในการเพิ่มผลผลิต MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ปั จ จุ บั น ผู ้ เ ขี ย นได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยกำร ฝ่ ำ ยคุ ณ ภำพในบริ ษั ท ท� ำ กำรผลิ ต อุ ป กรณ์ ไฟฟ้ ำ และอิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่ง ด้วยต�ำแหน่งหน้ำที่ในอีก บทบำทหนึ่ ง รั บ หน้ ำ ที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษำในองค์ ก ร ในกำร ปรับปรุงกระบวนกำรภำยในโดยน�ำเทคนิคลีน (Lean) เข้ ำ มำประยุ ก ต์ ใ นองค์ ก ร กำรปรั บ ปรุ ง กระบวนกำร ภำยในซึ่งประกอบไปด้วย กระบวนกำรรับ-จ่ำยวัตถุดิบ กระบวนกำรผลิ ต กระบวนกำรควบคุ ม คุ ณ ภำพ กระบวนกำรจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ กระบวนกำรจั ด ส่ ง สิ น ค้ ำ กระบวนกำรทำงกำรเงิน เป็นต้น ในบทควำมนี้ จะกล่ ำ วถึ ง กระบวนกำรหลั ก เช่ น กระบวนกำรผลิ ต กระบวนกำรควบคุ ม คุ ณ ภำพ และ กระบวนกำรสนับสนุน เช่น กำรรับ-จ่ำยวัตถุดิบ กำรจัด ซื้อจัดจ้ำง กิจกรรมกำรออกใบสั่งซื้อ สั่งขำย กำรออกใบ ส่งของ กิจกรรมกำรเรียกเก็บเงินจำกลูกค้ำ เป็นต้น


PRODUCTIVITY BOOSTER

โดยทั่วไป ทางผู้บริหารพยายามเน้นการปรับปรุงกระบวนการภายใน ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหลัก เช่น กระบวนการผลิตและกระบวนการ ควบคุมคุณภาพ เนื่องจากกระบวนการหลักดังกล่าว มีขั้นตอนในการ ด�าเนินงานมากมายเมื่อเทียบกับกระบวนการสนับสนุน ดังนั้น ผู้บริหารจึงมองและท�าการปรับปรุงในส่วนกระบวนการหลัก เสี ย มากกว่ า จึ ง ท� า ให้ ล ะเลยในจุ ด ส� า คั ญ คื อ กระบวนการสนั บ สนุ น ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการผลิตจะไม่สามารถท�าการผลิตได้เลยถ้าขาด วัตถุดิบหรือวัตถุดิบเข้าไม่ทันตามก�าหนด อาจเป็นเพราะการจัดส่งล่าช้า กระบวนการออกเอกสารล่าช้า หรือขัน้ ตอนการอนุมตั เิ อกสาร มีขนั้ ตอนมาก เกินความจ�าเป็น ดังนัน้ เราจึงควรให้ความส�าคัญต่อกระบวนการสนับสนุน ไปพร้อมๆ กันกับกระบวนการหลักเช่นกัน ในขั้นต้นส�ำหรับกำรปรับปรุงองค์กรสู่แนวทำงลีน ในภำคปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ควรเริ่มจากการปรึกษาหารือกับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งตาม ข้อก�าหนดมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9001 ก�าหนดไว้วา่ ผูบ้ ริหารจะต้อง ประเมินสมรรถนะขององค์กรผ่านตัวชีว้ ดั (KPI: Key Performance Indicator)

51

โดยซึ่งแนวทางแรกที่สามารถพิจารณาว่าควรปรับปรุงในจุดใด จึงต้อง พิจารณาจากตัวชี้วัดที่ไม่ได้เป้าหมาย เช่น พิจารณาตัวชี้วัดจากของเสียใน กระบวนการที่มีเป้าหมายอยู่ที่ 1% ของยอดการผลิตทั้งหมด ปรากฏว่า ค่าเฉลี่ยของเสียเนื่องจากกระบวนการผลิตอยู่ที่ 3% นั่นหมายถึงทีมงาน ควรค�านึงถึงโครงการลดของเสียเพื่อให้ได้เป้าหมายที่ก�าหนด อีกหนึ่งตัวอย่างจากกระบวนการสนับสนุน เช่น การจัดส่งของวัตถุดิบ สารเคมี อัตราการส่งมอบอยู่ที่ 90% จากที่ก�าหนดค่าเป้าหมายอยู่ที่ 98% จึงควรพิจารณาน�าทีมงานทีเ่ กีย่ วข้องจัดกลุม่ สูก่ จิ กรรมในการปรับปรุงตาม แนวทางลีน และควรจัดกลุม่ อีกหลายๆ กลุม่ กิจกรรม ตามปัญหาหรือความ คาดหวังของผู้บริหารเป็นหลัก ขั้นตอนที่ 2 ควรวางแผนงานว่าจะอบรมให้ความรู้ การปรับปรุงตาม แนวทางลีนคืออะไร แนะน�าว่าควรจัดอบรมให้ความรู้ประมาณครึ่งวัน และท�ากิจกรรมกลุ่มในส่วนครึ่งวันที่เหลือ ในการวางแผนงานแต่ละครั้ง ควรมีหลัก ดังนี้

01

02

03

04

05

• ประธาน ควรกล่าว เปิดงาน กล่าวถึงที่มาและ ความจ�าเป็นในกิจกรรมนี้

• การอบรมการเขียน แผนผังสายธาร แห่งคุณค่า (Value Stream Mapping)

• กิจกรรมกลุ่ม ให้น�า แผนผังสายธารแห่ง คุณค่า ต�าแหน่งความ สูญเปล่า พร้อมข้อมูล ทั้งหมด โดยให้แต่ละกลุ่ม อธิบายว่าการค้นหา ปัญหาทั้งหมด อยู่ต�าแหน่งใด ของแผนผัง ระบุว่าควรปรับปรุงเรื่องใด ก่อน-หลัง โดยพิจารณา จากแผนผังสายธาร แห่งคุณค่าว่า ถ้าปรับปรุง เรื่องนี้แล้ว จะได้อะไรที่ เพิ่มขึ้น จากมุมมอง ของลูกค้า ค�านวณจาก ผลลัพธ์ที่ลูกค้าจะได้รับ โดยภาพรวม

• อบรมภาคทฤษฎี เทคนิค การปฏิบัติการลีน เช่น การปรับปรุงแบบไคเซ็น เทคนิค 5ส การบริหาร งานประจ�าวัน การลด เวลารอคอย เทคนิค ทาง IT เทคนิคการสร้าง ความเป็นมาตรฐาน การปฏิบัติงาน ถ้ามี เครื่องจักร เครื่องมือ มาเกี่ยวข้อง จะต้องมี เทคนิคการลดเวลา ในการปรับตั้งเครื่อง การบ�ารุงรักษาเครื่องจักร แบบทวิผลโดยทุกคน มีส่วนร่วม ระบบการผลิต แบบดึง เป็นต้น

• กิจกรรมกลุ่ม ให้น�า แผนผังสายธาร แห่งคุณค่า พร้อมกับ ก�าหนดแนวทางการปฏิบัติ เพื่อค้นหาสาเหตุ แนวทาง แก้ ไข การวางแผนแก้ ไขว่า กิจกรรมนั้นจะด�าเนินการ เสร็จลงเมื่อใด ใครเป็น ผู้กระท�าให้มารายงาน ความคืบหน้าพร้อมระบุ ปัญหาและอุปสรรค ให้ทีมงาน ได้ท�าการแก้ ไข ร่วมกัน • อบรมภาคทฤษฎี เทคนิค การปฏิบัติการลีนต่อจาก ครั้งที่แล้ว

• ก�าหนดแนวทางการ ปฏิบัติเพื่อค้นหาสาเหตุ แนวทางแก้ ไข การวางแผน แก้ ไขว่ากิจกรรมนั้นจะ ด�าเนินการเสร็จลงเมื่อใด ใครเป็นผู้กระท�า

• กิจกรรมการเก็บข้อมูล ตามที่กลุ่มได้อบรม ภาคทฤษฎีในช่วงเช้า พร้อมการบ้าน เพื่อเก็บข้อมูลต่อไป

• กิจกรรมการเก็บข้อมูล ตามที่กลุ่มได้อบรม ภาคทฤษฎี พร้อม การบ้านเพื่อเก็บข้อมูล ต่อไป

วันที่

• การอบรมการปรับปรุง แนวทางลีนคืออะไร มีเครื่องมืออะไรบ้าง กล่าวถึงความสูญเปล่า คืออะไร • กิจกรรมภาคปฏิบัติ ในการค้นหาความ สูญเปล่าในกระบวนการ ที่สนใจ

วันที่

• กิจกรรมภาคปฏิบัติ การเขียนแผนผังสายธาร แห่งคุณค่าของ กระบวนการในกลุ่ม • สรุปผลผังสายธาร แห่งคุณค่า • การบ้าน ให้ทุกกลุ่ม สรุปความสูญเปล่าของ กระบวนการที่สนใจ พร้อมระบุต�าแหน่งที่เกิด ความสูญเปล่านั้นลงใน แผนผังสายธาร แห่งคุณค่า พร้อมทั้ง เก็บข้อมูลที่จ�าเป็นในการ วิเคราะห์ ในครั้งต่อไป

วันที่

วันที่

วันที่

issue 168 february 2017


52 PRODUCTIVITY BOOSTER

ทั้ ง นี้ ควรด� ำ เนิ น กิ จ กรรมในลั ก ษณะเดี ย วกั น อย่ำงต่อเนื่อง ไปอีก 5 ครั้ง เพื่อติดตำมผลกำรลด ปัญหำ โดยก�ำหนดให้ทีมงำนต้องน�ำผลกำรแก้ปัญหำ หรือแนวทำงปฏิบัติ ใหม่ กลับมำสะท้อนลงในแผนผัง สำยธำรแห่งคุณค่ำ พร้ อ มค� า นวณภาพรวมว่ า เมื่ อ ด� า เนิ น การตาม แนวทางใหม่ พ บว่ า จะลดเวลารวมลงได้ เ ท่ า ใด และ โครงการถัดไปจะปรับปรุงเรื่องใดบ้าง เมื่อปฏิบัติแล้ว จะลดเวลาลงเท่าใดในภาพรวมของแผนผังสายธาร แห่งคุณค่าอย่างต่อเนื่อง

จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่า ในองค์กรที่มีขนาดเล็กหรือ SMEs เมื่อท�ากิจกรรมลีน ทีมงานจะพยายามหลีกเลี่ยงการจัดท�าแผนผังสายธาร แห่งคุณค่า เพราะเนื่องจากข้อมูลในบางรายการไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ เช่น การจับเวลา Cycle Time (เวลาทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านของแต่ละสถานีงาน ตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ) จะเป็นสิ่งที่หาได้ยากในทางปฏิบัติ เนื่องจาก ไม่เข้าใจในการจับเวลา ในจุดนี้ควรมีวิศวกรหรือนักเทคนิคอุตสาหกรรม เข้าช่วยในการเก็บข้อมูล เมื่อทีมงานพยายามหลีกเลี่ยงแผนผังสายธาร แห่งคุณค่าจึงถูกละเลยและมีข้อมูลไม่ครบถ้วน ส่งผลให้แผนผังสายธารแห่งคุณค่าไม่สมบูรณ์และไม่สามารถน�าไป ใช้งานหรือวิเคราะห์ภาพรวมได้เลย และยังผลกระทบต่อโครงงานหรือ โครงการเป็นเพียงการปรับปรุงทีละเล็กละน้อยที่ทุกคนมีส่วนร่วม โดยที่ เราเรียกว่าโครงการปรับปรุงแบบไคเซ็นนัน่ เอง ซึง่ ในโครงการปรับปรุงแบบ ไคเซ็นนี้ มีการจัดท�าอย่างไม่มที ศิ ทางว่าจัดท�าโครงการไปแล้ว ลูกค้าได้อะไร แก้ปญ ั หาแบบถูกจุดตามมุมมองของลูกค้าหรือไม่ จึงจัดท�าโครงการไปแบบ ขอให้จบในแต่ละกิจกรรมตามที่ผู้บริหารต้องการเท่านั้น โดยอีกจุดหนึ่งที่ถูกละเลย คือ กระบวนการสนับสนุน ซึ่งแนวทางการ ด�าเนินโครงการลีนไม่แตกต่างจากที่กล่าวไป แต่ในรายละเอียดจะมีจุดที่ แตกต่างกัน คือ ลักษณะสายงานสนับสนุน เช่น การที่ลูกค้าโทรเข้าสู่สาย Call Center เพื่อร้องเรียนหรือชมเชยในการใช้บริการโทรศัพท์มือถือ ร้านอาหาร โรงแรม การออกเอกสารของแผนกบัญชี แผนกจัดซื้อ เป็นต้น ควรเริม่ การเชือ่ มโยงคุณค่าของกิจกรรมในมุมมองของผูใ้ ช้บริการหรือลูกค้า

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


PRODUCTIVITY BOOSTER 53

เมื่อกล่ำวถึงกำรปรับปรุงตำมแนวทำงลีน

จะต้องเริ่มจำกกำรขจัด ความสูญเปล่า

ออกจำกกระบวนกำรในกิจกรรมสนับสนุนให้เหลือน้อยที่สุด

ซึ่งประกอบด้วย

1 2 3 4 5 6 7

Defects or Reworks

Over Processing

การท�างานซ�้าเพื่อ แก้ ไขข้อบกพร่อง ให้กลับสู่สภาพเดิม

ขั้นตอนบริการ ที่มากเกินความ จ�าเป็นหรือเกินกว่า ที่ตกลงไว้

Waiting

Transportation

Inventory

Motion

การรอคอย รอค�าสั่ง รอการ ขนย้าย รอการ ตรวจสอบ รอการ ตัดสินใจ

การขนย้าย ที่มากเกินไป เช่น ย้ายกล่องเอกสาร จากชั้น 3 ไปสู่ชั้น 5

สต๊อกสินค้าหรือ วัสดุส�านักงาน ที่เกินความจ�าเป็น

การเคลื่อนไหว ร่างกายที่ มากเกินไป

ขั้นตอนที่ 3 ควรจัดท�าแผนผังสายธารแห่งคุณค่าในรูปแบบที่ง่ายๆ ต่อความเข้าใจ ไม่ควรใช้แผนผังสายธารแห่งคุณค่าในกิจกรรมการผลิตที่มี ความซับซ้อน ควรเขียนเป็นรูปสี่เหลี่ยม และเชื่อมโยงแต่ละกิจกรรมด้วย ลูกศร แบบง่ายๆ พร้อมทัง้ เก็บข้อมูลเท่าทีจ่ า� เป็น เช่น เวลาการด�าเนินการ ในแต่ละกิจกรรม จ�านวนคน จ�านวนสต๊อกสินค้าหรือวัสดุส�านักงานที่เกิน ความจ�าเป็น ซึง่ ง่ายต่อความเข้าใจและสามารถด�าเนินกิจกรรมได้อย่างราบรืน่ อีกอุปสรรคอย่างหนึ่งที่พบ คือ ความไม่เข้าใจในเนื้อหาการปรับปรุง แบบลี น เนื่ อ งจากสายสนั บ สนุ น คิ ด ไปเองว่าเนื้อหาและแนวทางการ ปรับปรุงเป็นของวิศวกรฝ่ายผลิต โดยคิดว่าจะมีการค�านวณอย่างมากมาย ตนเองมิใช่วิศวกรจึงท�าให้เกิดอุปสรรคในการเก็บข้อมูล จึงขอให้ทีมงาน ท�าความเข้าใจในเนือ้ หาและพยายามหลีกเลีย่ งจุดทีย่ งุ่ ยากและช่วยทีมงาน เก็บข้อมูลให้ถกู ต้องเพือ่ ค้นหาสาเหตุของปัญหาหรือความสูญเปล่าทีท่ า� ให้ เกิดความล่าช้าของผลลัพธ์ที่ต้องการ ท้ายนี้ ผู้เขียนหวังว่า บทความดังกล่าวจะช่วยท�าให้ผู้บริหารระดับสูง และระดับกลางด�าเนินการกิจกรรมในการปรับปรุงตามแนวทางลีนอย่าง ราบรื่นและพร้อมที่จะยกระดับการจัดการกระบวนการสู่ความเป็นเลิศ และเตรียมความพร้อมในการยกระดับระบบการจัดการเข้าสู่ระดับสากล ในอนาคตต่อไป

Over Production

ผลิตหรือบริการ ที่เกินความจ�าเป็น เช่น จัดท�าส�าเนา ข้อมูลเกินกว่า จ�านวน ผู้เข้าร่วมประชุม

หากมีขอ้ สงสัยเพิม่ เติม สามารถสอบถามได้ที่

Email : kamold2208@gmail.com

EXECUTIVE SUMMARY For organization wanting to bring in Lean which is one type of the tools used to add productivity in organization, there are 3 main steps to observe in the following 1.) Start by discussing with chief executive which in accordance to ISO 9001 quality system standard, it indicates that executive needs to assess performance of organization through Key Performance Indicator (KPI) 2.) Set the work plan to conduct training for giving knowledge on what the advantages of Lean technique are. It is recommended to arrange training to give knowledge for the first half of the day and do the group workshop for work plan setting each time for the second half of the day and 3.) Create simple Value-Added Flowchart that is easy to understand for everyone. issue 168 february 2017


54 PRODUCTIVITY BOOSTER เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

ด้วยการก�าหนด

TAKT TIM

การค�านวณค่า Takt Time

Takt Time (แท็คไทม; T/T) หมายถึง ความเร็วในการผลิต มีที่มาจากภาษาเยอรมัน แปลว่า จังหวะดนตรี ซึ่งเราใช้ Takt Time ในการก�าหนดจังหวะการผลิตสินค้าต่อชิ้นให้เป็นไปตาม จังหวะที่ลูกค้าต้องการ นั่นคือ พนักงานทุกคนต้องควบคุม จังหวะการผลิตสิ่งของในหนึ่งสถานีการผลิตให้นานไม่เกินเวลา ที่ก�าหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทแห่งหนึ่ง ก�าหนดเวลาท�างานปกติ ไว้ที่ 8 ชั่วโมง เวลาพัก 15 นาที 2 ครั้ง โดย ในหนึ่งวันต้องการ ชิ้นงานจ�านวน 600 ชิ้น ดังนั้น Takt time จะเท่ากับ 45 วินาที ต่อชิ้น Takt Time = 0.75 นาทีตอ่ ชิน้ = 0.75 x 60 = 45 วินาทีตอ่ ชิน้

Takt Time

=

เวลาทํางานปกติสุทธิในหนึ่งวัน จํานวนชิ้นงานที่ต้องการต่อวัน

หน่วยของ T/T คือ หน่วยของเวลาต่อชิ้นงาน 1 ชิ้น (วินาที/ชิ้น นาที/ชิ้น หรือชั่วโมง/ชิ้น)

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

จากตัวอย่างข้างตนสามารถอธิบายได้ว่า พนักงานจะต้อง ใช้เวลาในการผลิตชิ้นงาน 1 ชิ้น ให้เสร็จภายใน 45 วินาที โดย จะน�าค่า Takt Time ไปเปรียบเทียบรอบเวลาการท�างานของ พนักงานแต่ละคนว่าเวลาที่พนักงานใช้เกินกว่า T/T หรือไม่ ถ้าพนักงานใช้เวลาเกินกว่าเวลาที่ก�าหนด จะท�าให้บริษัท ไม่ ส ามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการลู ก ค้ า ในวั น นั้ น ได้ โดยวิธีในการแก้ไขปัญหานี้ เราจ�าเป็นต้องท�าการปรับลดเวลา ท�างานของพนักงานแต่ละคนให้อยู่ภายใต้เวลาการท�างานของ Takt Time หรืออีกวิธหี นึง่ ถ้าไม่สามารถปรับลดเวลาท�างานของ พนักงานได้บริษทั จ�าเป็นต้องเพิม่ เวลาการท�างานให้แก่พนักงาน ในช่วงเวลา O.T. ซึ่งเราจ�าเป็นต้องค�านวณ Takt Time ใหม่ ซึ่งค่า Takt Time นี้จะเรียกว่า Actual Takt Time


PRODUCTIVITY BOOSTER 55

ความแตกต่างระหว่าง Takt Time และ Cycle Time Takt Time

Cycle Time

1. อั ต ราความต้ อ งการของลู ก ค้ า จะมีค่าคงที่เสมอ ยกเว้นแต่ความต้องการ ของลูกค้า/แผนผลิต เพิ่มขึ้นหรือลดลง

1. เวลาที่ใช้ ในการผลิตหรือประกอบ งานหนึ่งรอบกระบวนการ ตัวอย่างเช่น การประกอบปากกาหนึ่ง ชิ้นมีทั้งหมด 3 สถานีงาน ความต้องการ ลูกค้า 960 ด้ามต่อวัน (8 ชม.)

2. เวลาที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต / ความ ต้ อ งการลู ก ค้ า = 480/960 = 0.5 นาที / ชิ้ น หมายความว่ า ทุ ก ๆ 30 วิ น าที จะต้ อ งมี ป ากกาประกอบเสร็ จ หนึ่ ง ชิ้ น ในทุกๆ 30 วินาที

2. เวลาที่ใช้ ในการประกอบงานของ แต่ละสถานีงาน เช่น สถานีงานที่ 1 ใช้เวลา 20 วินาที สถานีงานที่ 2 ใช้เวลา 30 วินาที สถานีงานที่ 3 ใช้เวลา 28 วินาที หาก Cycle Time ของแต่ละสถานี อยู่ภายใต้ Takt Time แสดงว่าสามารถ ผลิ ต งานได้ ต ามเป้ า หมาย/เกิ ด การไหล อย่างต่อเนื่อง (Continuous Flow) แต่ถ้า เมื่อไหร่ Cycle Time ของสถานีงานใดๆ สถานี ง านหนึ่ ง ใช้ เ วลาเกิ น 30 วิ น าที ก็จะเกิดคอขวด (Bottleneck)

Takt Time ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยในการรักษาสมดุล สายการผลิต (Line Balancing) ซึ่งผู้ประกอบการสามารถน�าไป ประยุกต์ใช้ร่วมกับการจัดการเวลาในแต่ละสถานี เพื่อให้เกิด ความสัมพันธ์กัน หรือใกล้เคียงกัน เพื่อลดเวลาสูญเปล่าอัน เกิดจากความล่าช้าของงาน ซึ่งจะท�าให้สามารถเพิ่มผลผลิตได้ มากขึ้นตามความต้องการ ลดปัญหาคอขวด และสามารถใช้ ควบคุมการผลิตที่มากเกินไปอีกด้วย

Takt Time จะส่งผลต่อการผลิตได้อย่างไร • ช่วยให้อตั ราการไหลในการผลิตเป็นไป อย่างคงที่และต่อเนื่องตามความต้องการ • กํ า จั ด ของเสี ย หรื อ สิ่ ง ที่ ผ ลิ ต เกิ น ตามความต้องการของลูกค้า • ส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานในการ ทํางานเพื่อให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ • สามารถแสดงให้ เ ห็ น Real-Time Targets ในการผลิต

Source: - http://www.thaidisplay.com/content-6.html - http://www.thaicostreduction.com/DocFile/news/takttime.pdf (สถาบันยานยนต์) - http://www.tpa.or.th/tpawbs/viewtopic.php?id=4092 - http://www.dms.eng.su.ac.th/filebox/FileData/POME024.pdf

EXECUTIVE SUMMARY Takt Time could defines as the speed in manufacturing process which is one of line balancing tools. Takt Time could control the flow of manufacturing process in each station with the proper time that customer recommended. That means every operator must control the product in each station within assigned period of time. If the operator consumes time more than its estimate, the whole process couldn’t respond to the customer demanding for that day. To solves this problem, we need to reduce period of time for each operator under Takt Time to reduce time waste from slow down operation, bottleneck and also control over produced product.

issue 168 february 2017


56 ENERGY SAVING เรียบเรียง: จีรพร ทิพย์เคลือบ

หนึง่

‘โรงงานควบคุม’…

‘ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน’

ควบคุมการประหยัด

ตามกฎกระทรวง

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

พลังงาน


ENERGY SAVING 57

ลักษณะของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ปัจจุบันประเทศไทยมีความต้องการใช้พลังงานในอัตราที่สูงตามการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภาคอุตสาหกรรมมีการ ขยายตัวเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการใช้พลังงานในประเทศ สูงขึน้ เช่นกัน ดังนัน้ จึงมีความจ�าเป็นทีจ่ ะต้องควบคุมการใช้พลังงานตามที่ กฎหมายก�าหนด ตามพระราชบัญญัตกิ ารส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ซึ่งได้มีการใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 เป็นต้นมา แต่การก�าหนดหลักเกณฑ์การเข้าเป็นโรงงานควบคุมก�าหนด ตามพระราชกฤษฎีกาจะต้องมี ‘ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน’ เพิ่มอีก 1 คน ตามคุณสมบัติที่ก�าหนดในกฎกระทรวง การเก็บข้อมูลการใช้พลังงาน เพื่อจัดท�าเป็นรายงานส่งปีละครั้ง โดยต้องได้รับการตรวจสอบรับรองจาก ผู้ตรวจสอบพลังงานที่ได้รับอนุญาตจาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ซึ่งผู้รับผิดชอบด้านพลังงานจะต้องเป็นผู้ที่ผ่าน การสอบตามเกณฑ์ ห ลั ก สู ต รผู ้ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นพลั ง งาน ซึ่ ง จั ด โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) โดยมีหน่วยงาน ภายใต้สังกัดเป็นผู้ดูแลหลักสูตรการฝึกอบรมทั้งหมด นั่นคือ ส�านักพัฒนา ทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน

ผู้ที่มีหน้าที่ต้องด�าเนินการอนุรักษ์พลังงานตามพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ ไขเพิ่มเติม) นั้น จะถูกเรียกว่า ‘โรงงานควบคุม’ หรือ ‘อาคารควบคุม’ แล้วแต่กรณี โดยจะเน้ น ไปที่ โ รงงานและอาคารที่ มี ก ารใช้ พ ลั ง งานในปริ ม าณ มากและมีศักยภาพพร้อมที่จะด�าเนินการอนุรักษ์พลังงานได้ทันที ทั้งนี้ ลักษณะของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมย่อมเป็นไปตาม ที่พระราชกฤษฎีกาก�าหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540 และพระราช กฤษฎีกาก�าหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 ได้ก�าหนดไว้ ดังนี้ 1. เป็นโรงงานหรืออาคารที่ได้รับอนุมัติจากผู้จ�าหน่ายพลังงาน ให้ ใ ช้ เ ครื่ อ งวั ด ไฟฟ้ า หรื อ ให้ ติ ด ตั้ ง หม้ อ แปลงไฟฟ้ า ชุ ด เดี ย วหรื อ หลายชุดรวมกันมีขนาดตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ หรือ 1,175 กิโลโวลท์ แอมแปร์ขึ้นไป หรือ 2. เป็นโรงงานหรืออาคารที่ใช้ ไฟฟ้าจากระบบของผู้จ�าหน่าย พลังงาน ความร้อนจากไอน�้าจากผู้จ�าหน่ายพลังงาน หรือพลังงาน สิ้ น เปลื อ งอื่ น จากผู ้ จ� า หน่ า ยพลั ง งานหรื อ ของตนเองอย่ า งใด อย่างหนึง่ หรือรวมกันตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง วันที่ 31 ธันวาคมของ ปีที่ผ่านมา มีปริมาณพลังงานทั้งหมดเทียบเท่าพลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูลขึ้นไป

โรงงานควบคุมต้องมีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอย่าง 1 คน หน้าทีต่ ามมาตรา 9 และ 21 แล้วตามมาตรา 11 และมาตรา 22 ยังได้กา� หนดให้เจ้าของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมต้อง ด�าเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. จัดให้มผี รู้ บั ผิดชอบด้านพลังงานอย่างน้อย 1 คน ประจ�า ที่โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมแต่ละแห่ง 2. ส่งข้อมูลเกีย่ วกับการผลิตการใช้พลังงานและการอนุรกั ษ์ พลังงานให้แก่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามแบบและระยะเวลาที่ก�าหนดในกฎกระทรวง 3. จัดให้มีการบันทึกข้อมูลการใช้พลังงานการติดตั้งหรือ เปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์ทมี่ ผี ลต่อการใช้พลังงานและ การอนุรักษ์พลังงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�าหนด ในกฎกระทรวง 4. ก�าหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมและส่งให้แก่กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และ ระยะเวลาที่ก�าหนดในกฎกระทรวง 5. ตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผน อนุรักษ์พลังงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา ที่ก�าหนดในกฎกระทรวง

issue 168 february 2017


58 ENERGY SAVING

คุณสมบัติของผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน 1. เป็นผู้ ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงและมีประสบการณ์ การท�างานในโรงงานหรืออาคารอย่างน้อย 3 ปี โดยมีผลงานด้าน การอนุรกั ษ์พลังงานตามการรับรองของเจ้าของโรงงานควบคุมหรือ เจ้าของอาคารควบคุม 2. เป็ น ผู ้ ไ ด้ รั บ ปริ ญ ญาทางวิ ศ วกรรมศาสตร์ ห รื อ ทาง วิทยาศาสตร์ โดยมีผลงานด้านการอนุรกั ษ์พลังงานตามการรับรอง ของเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม 3. เป็นผูส้ า� เร็จการฝึกอบรมด้านการอนุรกั ษ์พลังงานหรือการ ฝึกอบรมที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกับที่อธิบดี (พพ.) ให้ความ เห็นชอบ 4. เป็ น ผู ้ ที่ ส� า เร็ จ การฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รผู ้ รั บ ผิ ด ชอบด้ า น พลังงานอาวุโสหรือการฝึกอบรมที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกับที่ อธิบดี (พพ.) ให้ความเห็นชอบ 5. เป็ น ผู ้ ที่ ผ่ า นการสอบตามเกณฑ์ ห ลั ก สู ต รผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ด้านพลังงาน ซึ่งจัดโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.)

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

คุณพงค์พฒ ั น์ มัง่ คัง่ ผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักพัฒนำทรัพยำกรบุคคลด้ำน พลังงำน กล่าวว่า “ส�านักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน เป็นหน่วยงาน ภายใต้ สั ง กั ด กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ปัจจุบันโรงงานและอาคารขนาดใหญ่ทั่วประเทศต้องมี การควบคุมการประหยัดพลังงานตามทีก่ ฎหมายก�าหนด ต้องมี ‘ผูร้ บั ผิดชอบ ด้านพลังงาน’ ซึง่ ทางโรงงานเป็นผูแ้ ต่งตัง้ ไม่วา่ จะเป็นวิศวกรหรือช่างเทคนิค แต่บุคคลที่ได้รับมอบหมายไม่มีความรู้เรื่องของข้อกฎหมาย กฎระเบียบ หรือแม้แต่หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ” “ดังนัน้ จึงเป็นหน้าทีข่ องส�านักพัฒนาทรัพยากรบุคลด้านพลังงานในการ ท�าหลักสูตร เพือ่ อบรมการอนุรกั ษ์พลังงานตามกฎหมายให้กบั บุคลากรของ โรงงานให้มีคุณสมบัติ มีความรู้ตามกฎหมาย เพื่อน�าไปปฏิบัติให้ประหยัด พลังงานในโรงงานและอาคารขนาดใหญ่ที่ถูกบังคับตามกฎหมายเรียกว่า โรงงานและอาคารควบคุม ซึ่งมีจ�านวนกว่า 8,500 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งใช้ พลังงานไปกว่า 70% ของกลุ่มอุตสาหกรรมและอาคารทั้งหมด” “ทั้งนี้ หลักสูตรในการฝึกอบรมใช้กรณีตัวอย่างองค์กรที่ประสบความ ส�าเร็จ เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านพลังงาน โดย แบ่งแยกประเภทหลักสูตร ได้แก่ กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มอาคาร โรงแรม และกลุ่มโรงพยาบาล ในการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญได้น�าองค์ความรู้ และประสบการณ์จากการปฏิบัติจริงมาถ่ายทอดให้กับผู้เข้ารับการอบรม เพื่อให้บุคคลเหล่านี้พร้อมที่จะไปปฏิบัติงานตามกฎหมาย อบรมเพื่อ สนับสนุนให้สามารถคิด ท�า มีความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ อีกทั้ง ต้อง พัฒนาหลักสูตรด้านพลังงานและปรับเปลีย่ นหลักสูตรเพือ่ รองรับเทคโนโลยี ใหม่ๆ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา ซึง่ จะต้องท�าหลักสูตรทีส่ ามารถ น�าไปใช้งานได้จริง เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง ทั้งนี้ กฎของการฝึกอบรมมี 4 ข้อ คือ 1. ไม่บังคับ 2. สิ่งที่สอนต้องไม่ลดคุณภาพชีวิต ไม่ลดมาตรฐาน เชิงวิชาชีพ 3.การมีส่วนร่วม 4.เปลี่ยนบทบาทจากผู้รับเป็นผู้ให้”


ENERGY SAVING 59

หน้าที่ของผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน บ�ารุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานเป็นระยะๆ

หลักสูตรการฝึกอบรม ส�านักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน ได้จดั แบ่งหลักสูตร การฝึกอบรมด้านพลังงานออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ • การฝึ ก อบรมด้ า นการจั ด การพลั ง งานเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พลังงานโรงงานและอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ • การฝึกอบรมเทคโนโลยีพลังงานของเครื่องจักร อุปกรณ์ และ วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงานแต่ละประเภท • การฝึ ก อบรมด้ า นระบบการใช้ พ ลั ง งานตามประเภทของ โรงงานควบคุม • การฝึกอบรมด้านระบบการใช้พลังงานตามประเภทของอาคาร ควบคุม • การฝึกอบรมในสถาบันการศึกษา

ปรับปรุงวิธีการใช้พลังงานให้เป็นไปตามหลัก การอนุรักษ์พลังงาน

ช่วยเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม ในการจัดการพลังงาน

ช่วยเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม ปฏิบัติตามค�าสั่งของอธิบดี (พพ.) ตามมาตรา 10 Source: - http://www2.dede.go.th/bhrd/old/courseappthai.html - http://www2.dede.go.th/bhrd/old/Download/file_handbook/Pre_Build/Build_2.pdf - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน - ส�านักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน

“ในอนาคตหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมจะขยายผลไปยั ง กลุ ่ ม โรงงาน อุตสาหกรรมเจาะลึกลงไปในรายละเอียดปลีกย่อยของอุปกรณ์หลักที่ใช้ พลังงานจ�านวนมาก มุ่งพัฒนา 2 ส่วน คือ วิธีการ Operate ลดเวลาการ ผลิต ลดขั้นตอน ลดการสูญเสียจากการท�าซ�้า และเพิ่มคุณภาพชีวิตของ พนักงาน ส่วนโรงแรมจะมีหลักสูตรเกี่ยวกับอาหารเพราะอาหารคือต้นทุน หลัก ซึ่งโรงแรมมีการใช้พลังงานครึ่งหนึ่งมาจากลูกค้า กลยุทธ์ของเรา คือ ต้องให้ความรู้กับลูกค้าในแบบที่ลูกค้าท�าด้วยความสมัครใจ ภายใต้วิธีการ คิด ได้แก่ ประหยัดพลังงาน ลดขั้นตอน ลดของเสียจากการท�าซ�้า และเพิ่ม คุณภาพชีวิต นี่คือกฎ 4:4 ของทุกหลักสูตร ซึ่งเป็นหลักในการคิดของที่นี่ เราน�ามาเพื่อใช้เป็นรูปแบบ” อย่างไรก็ตาม โรงงานควบคุมทุกแห่งในประเทศจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงานอย่างน้อย 1 คน โดยได้รับการแต่งตั้งจากเจ้าของโรงงาน ซึ่ง จะต้องผ่านการฝึกอบรมได้รับการรับรองตามเกณฑ์หลักสูตรที่หน่วยงาน ภายใต้สังกัดกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) เป็นผู้ ดูแล เพือ่ ให้สามารถน�าไปคิด มีความมัน่ ใจในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้สอดคล้อง กับข้อกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ท้ายทีส่ ดุ หากเจ้าของโรงงาน ควบคุม ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน รวมถึงบุคลากรของโรงงานร่วมด้วย ช่วยกันควบคุมพลังงานให้ได้ตามที่กฎหมาย เชื่อว่า ในอนาคตแนวโน้ม ปริมาณการใช้พลังงานภายในประเทศจะลดต�่าลงอย่างเป็นรูปธรรม

EXECUTIVE SUMMARY The Royal Decree indicates that the controlled factory requires to have at least one ‘Energy Responsible Officer’ appointed by the owner of factory following designated qualification in ministerial regulation which is in charge of periodically maintenance and checking the performance of machineries and devices that consume energy, improve energy consuming method following energy conservative principle to help the owner of factory controlling energy management and observing the order of director general of the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation following section 10. Besides, this person needs to collect energy consuming data for making the annual report and must be approved by energy inspector who is granted the permission by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation. In addition, energy responsible officer must pass the exam following the criterion of energy responsible officer course arranged by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation. issue 168 february 2017


60 Food processing เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

Sugar Creek สุดยอดโรงงานปี

2016 จากการจั ด อั น ดั บ จากนิ ต ยสาร Food Engineering Magazine ประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า SugarCreek โรงงานแปรรูปเบคอนในประเทศสหรัฐอเมริกาได้รับการ จั ด อั น ดั บ เป็ น โรงงานยอดเยี่ ย มประจ� า ปี 2016 ด้ ว ย ประสบการณ์การด�าเนินธุรกิจมาเป็นเวลากว่า 50 ปี โดยมุง่ เน้น ไปที่ระบบการบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ การ พัฒนาบุคลากร การใช้เทคโนโลยีร่วมในการท�างานและการ ประหยัดพลังงาน ซึง่ เป็นเทรนด์การบริหารจัดการในขณะนี้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

SugarCreek มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 600 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อปี โดย ตั้งเป้าหมายที่จะมีรายได้ระดับพันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกาภายในปี 2020 หัวใจของการเติบโตครั้งนี้อยู่ที่กระบวนการผลิตที่ได้รับการประเมินในระดับ SQF Level 3 จาก Cambridge Conservation Initiative (CCI) โดยมีเทคโนโลยีที่สามารถ ยืดหยุน่ ปรับเปลีย่ นในการท�างานได้หลากหลายรูปแบบตามยุคสมัย ยกระดับคุณภาพ ของอาหารแปรรูปด้วยกระบวนการและมาตรฐานความปลอดภัยทางอาหารทีโ่ ดดเด่น

คุณสมบัติโดดเด่นของการท�างานแบบ SugarCreek โรงงาน SugarCreek นั้น ได้รับการออกแบบร่วมกันกับวิศวกรอย่างใกล้ชิด โดยมี ระบบ Pretreatment System เป็นทีต่ งั้ รวมถึงการระบุเงือ่ นไขและข้อจ�ากัดของโรงงาน เพื่อสร้างความเข้าใจส�าหรับทั้งผู้ใช้และผู้ออกแบบอีกด้วย


Food processing

61

Safety

• พื้นที่จัดเก็บสารเคมีอันตราย เช่น แอมโมเนีย อยู่ใต้ลมเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายและความเสี่ยง • มีการใช้ Process Hazard Analysis (PHA) ในการวิเคราะห์ส�าหรับระบบท�าความเย็น • สนับสนุนระบบการท�างานด้วย Hazard and Operability Study (HAZOP) เพื่อตรวจสอบและป้องกัน การรั่วไหลของสารเคมีอันตราย • สนับสนุนผู้ปฏิบัติงานด้วย Real Time Location Systems (RTLSs) เพื่อติดต่อและระบุต�าแหน่งผู้ปฏิบัติงาน ผ่านเครือข่ายไร้สาย

Productivity

• วางแผนการใช้พื้นที่ให้เกิด Work Flow เช่น พื้นที่ปฏิบัติงานรูปตัว C • ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยตอบโจทย์การท�างาน เช่น เครื่องจักรของ Armor Inox ที่สามารถผสมอหารเข้ากับน�้าได้ ด้วยอุณหภูมิที่แตกต่างกันถึง 4 ระดับ • มีการใช้ระบบ ERP เป็นพื้นฐานของการท�างาน

INtegrate Technology

• ใช้เทคโนโลยีร่วมปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ระบบรักษาความปลอดภัยด้วยวิดีโอความละเอียดสูง • พัฒนาระบบเครือข่ายร่วมกับ Cisco ด้วย VM Ware และ Cisco ACI • กล้องวิดีโอความละเอียดสูงใช้เพื่อการวิเคราะห์ขั้นตอนการท�างานนอกเหนือจากรักษาความปลอดภัย • มีการใช้ HMI และ SCADA ในกระบวนการผลิต

Human Resources

• มีการท�างานร่วมกันเป็นทีมเพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม โดยให้ความส�าคัญกับทรัพยากรมนุษย์ • ปรับใช้หลักการ Workforce Development Engagement Model ของ PMMI OpX Leadership

ความใส่ใจกับรายละเอียดปลีกย่อยเพื่อลดรายจ่ายในระยะยาว เช่น การใช้หลอดไฟ LED ร่วมกับแสง Energy Saving • ให้ธรรมชาติ หรือระบบระบายอากาศที่มีคอมพิวเตอร์ช่วยบริหารและควบคุม

Flexible System

• โรงงานถูกสร้างอยู่บนพื้นฐาน Modular Control Structure ท�าให้สามารถปรับเปลี่ยนตอบสนอง ต่อความต้องการของลูกค้าในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความส�าเร็จของการประกอบธุรกิจโรงงานอาหารแปรรูปนั้นขึ้นอยู่กับมาตรฐานความสะอาด ปลอดภัย และการด�าเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง SugarCreek นั้น ได้ด�าเนินการโดยค�านึงถึงภาพรวมของทั้งระบบ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานอุปกรณ์ของทั้งสองระบบ และมองไปถึงการด�าเนินการของ โรงงานในระยะยาวด้วยการวางแผนและโครงสร้างเพือ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงทีส่ ามารถเกิดขึ้นได้ในอนาคต ท�าให้สามารถคว้ารางวัลโรงงานยอดเยีย่ ม ประจ�าปี 2016 จากนิตยสาร Food Engineering Magazine ไปครอง Source: https://goo.gl/mvVvF2

EXECUTIVE SUMMARY SugarCreek isn’t just a bacon or food processing factory, it has been designed and operate with great infrastructure that collaborate with a far vision of engineering. The factory considering on overall process and factor, use lean in every process even combine the labor force with technology. SugarCreek cares about every little detail such as cleanness, security, work force or technology. The factory was designed with modular control structure and backbone network architect that will response to demanding or new trend easily, an interesting flexible factory model. issue 168 FEBRUARY 2017


62 tech focus

เรือ่ ง : ปัญญา มัฆะศร สาขาวิชาเทคโนโลยีมเี ดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

นวัตกรรม หุ่นยนต์

ท�ำควำมสะอำด แผงโซลำร์เซลล์

แผงโซลาร์เซลล์นนั้ ต้องการการดูแลทีถ่ กู ต้องเพือ่ ให้สามารถท�างานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การดูแลภายใต้ พื้นที่พิเศษ เช่น ทะเลทรายที่มีฝุ่นผงเป็นจ�านวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยมีวิธี การท�าความสะอาดและบ�ารุงดูแลรักษาแตกต่างกันออกไป ตามพืน้ ทีแ่ นวราบหรือในแนวระดับและแนวตัง้ เช่น การท�าความสะอาด เซลล์ในแนวตั้งของอาคารสูง ซึ่งท�าให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและต้นทุน โดยการสูญเสียประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์นจี้ ากสิง่ สกปรกทีม่ ขี อ้ มูลอ้างอิง ในช่วง 3-6% ในยุโรป (รายปี) และมากถึง 35% ใน แถบตะวันออกกลาง (รายเดือน) มีประสิทธิภาพลดลง เนื่ อ งจากแสงอาทิ ต ย์ นั้ น ไม่ ไ ด้ สั ม ผั ส กั บ ตั ว เซลล์ ก�าเนิดพลังงานโดยตรง ซึ่งมีมาตรการด�าเนินการ หลากหลายวิธี แต่วธิ ที มี่ ปี ระสิทธิภาพเหมาะสมทีส่ ดุ ทั้งด้านต้นทุนและประสิทธิภาพ คือ หุ่นยนต์

โดยใช้แปรงขัดเฉพาะงานทีม่ รี ะดับความสูงแตกต่าง กันออกไป บางครั้งรวมถึงการใช้ลิฟท์บนรถเครน เพื่อใช้น�้าประปาท�าความสะอาด หากใช้วิธีดังกล่าว ควรพิจารณาค่าใช้จา่ ยสาธารณูปโภคและค่าแรงเป็น ส�าคัญ โดยรูปที่ 1 เป็นตารางแสดงผลประสิทธิภาพ และค่าใช้จ่ายในการใช้งานรูปแบบนี้

วิธีพื้นฐานการท�าความสะอาดแผงเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ ส� า หรั บ แนวราบและแนวตั้ ง ที่นิยมใช้งานในกระบวนการอุตสาหกรรม Manual Cleaning วิธีท�าความสะอาดเซลล์แสงอาทิตย์อย่างง่าย ทีไ่ ด้รบั ความนิยม คือ การท�าความสะอาดด้วยตัวเอง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

รูปที่ 1 การแก้ปัญหาการท�าความสะอาดเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยวิธีพื้นฐาน ตามล�าดับ ที่มาภาพ: http://www.aerialpower.com/solarbrush และ http://www.solarbrush.co/insight


tech focus 63

SPRINKLERS & SPRINKLER CARS วิธีท�าความสะอาดโดยการติดตั้งระบบฉีดน�้า เพื่อช�าระล้างสิ่งสกปรก โดยน�าน�้าที่ถูกใช้แล้ว น�า กลับมาใช้ใหม่พร้อมกับความดันที่สูงมากพอ เพื่อ สร้างผลลัพธ์การท�าความสะอาดที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น การใช้งานด้วยเทคโนโลยีดังกล่าวนี้ จะมี ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์การฉีดน�้าและการใช้ น�้าเป็นหลัก ข้อได้เปรียบของวิธีนี้ คือ ใช้แรงงานในการ ด� า เนิ น การต�่ า มาก เพราะเป็ น การน� า น�้ า ที่ ผ ่ า น กระบวนการกลับมาใช้อีกครั้งด้วยการออกแบบ โครงสร้างการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ในการถ่ายเทน�า้ ดังรูปที่ 2 นอกจากนี้ ยังสามารถดัดแปลงรถยนต์ ดับเพลิงเพื่อใช้ในการตรวจสอบสภาพการใช้งานได้ ดังตารางที่ 2

นอกจากนี้ การใช้งานอุปกรณ์ที่ติดตั้งสนับสนุน การใช้งาน เช่น แปรงหัวฉีดและฟองน�้าที่มีการ เคลื่อนย้ายไปบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งอุปกรณ์ เหล่านีม้ กั จะต้องใช้โซ่และชุดขับก�าลังกลให้กบั เซลล์ แสงอาทิตย์เพื่อเคลื่อนที่ ขณะที่ความพยายามใน การบ�ารุงรักษาทีย่ ากและค่าใช้จา่ ยในการบ�ารุงรักษา ที่สูงขึ้น โดยโซลูชั่นเหล่านี้อาจมีความยากล�าบาก ในการเคลื่อนย้าย ส�าหรับกรณีที่เซลล์แผงอาทิตย์ ต่อแบบอาเรย์ (Array)

NANO COATINGS แสงอาทิตย์จา� นวนน้อยทีส่ อ่ งผ่านไปยังแผงจาก การเคลือบสารนาโน เพือ่ ป้องกันผลกระทบจากการ เกาะของฝุ่นละอองและการเสียดสีของกระแสลมที่ น�าเศษหิน เศษดิน และเม็ดทรายขนาดเล็กทีพ่ ดั ผ่าน ดังนั้น การเคลือบสารนาโนจึงเป็นอุปสรรคต่อการ รับปริมาณแสงอาทิตย์ที่ไม่เ พีย งพอต่อการผลิต ก�าลังไฟฟ้าในสภาพแวดล้อมกลางแจ้ง

โดยหุ่นยนต์สามารถวางบนเซลล์แสงอาทิตย์ที่ แยกต่างหากออกจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งแบบ อาร์เรย์ที่สามารถเคลื่อนย้ายจากแผงหนึ่งไปยังอีก แผงหนึง่ ได้ ‘SOLARBRUSH’ ได้รบั การออกแบบมา เพือ่ ตอบสนองความต้องการทัง้ ของลูกค้าทีต่ อ้ งการ ระบบการท� า ความสะอาดแผงเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ในภูมิภาคที่แห้งแล้งทั่วทุกมุมโลก ซึ่งเป็นเรื่องง่าย ทีส่ ดุ ทีใ่ ช้ระบบท�าความสะอาดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ด้วยหุน่ ยนต์ทคี่ วบคุมด้วยสวิตช์เพียงตัวเดียวเท่านัน้ มี ร ะบบกลไกป้ อ งกั น การท� า งานที่ ผิ ด พลาดและ มีค่าใช้จ่ายต�่า โดยมีการประมาณค่าการลงทุนของหุ่นยนต์ ‘SOLARBRUSH’ ทีป่ ระหยัดกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ เมือ่ เทียบกับการซ่อมบ�ารุงรักษาแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ด้วยตนเอง การใช้งานหุ่นยนต์ท�าความสะอาดแผง เซลล์แสงอาทิตย์จะใช้ในช่วงเวลากลางคืนเท่านั้น เพือ่ ป้องกันการสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ จากเงาของหุน่ ยนต์ ที่ส่งผลกระทบต่อการผลิตก�าลังไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ การใช้งานหุน่ ยนต์ทา� ความสะอาด เพือ่ รองรับการใช้งานในสภาพแวดล้อมทีม่ คี วามร้อนสูงมาก เป็นพิเศษทัง้ นี้ รวมถึงการประหยัดน�า้ เพราะน�า้ เป็น ทรัพยากรที่มีค่าในภูมิภาคแห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย เป็นต้น

รูปที่ 3. แสดงหยดน�้าที่ตกกระทบพื้นผิวเซลล์แสงอาทิตย์ที่เคลือบสารนาโน เอกสารอ้างอิง: Sami Al-Ghannam and Saudi Aramco (2012), Comparison Analysis on Different Cleaning Technologies for Photovoltaic Panels of Utility Scale Application, Saudi Arabia-Jeddah.

รูปที่ 2 การแก้ปัญหาการท�าความสะอาดเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยวิธีการติดตั้งหัว ฉีดน�้าสปริงเคอร์

เอกสารอ้างอิง: Sami Al-Ghannamand Saudi Aramco (2012), Comparison Analysis on Different Cleaning Technologies for Photovoltaic Panels of Utility Scale Application,Saudi Arabia-Jeddah.

ROBOT CLEAN SOLAR การแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น โดยใช้หุ่นยนต์ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ช่วยประหยัดงบประมาณ และค่าใช้จา่ ยในการจัดซือ้ เครือ่ งจักรขนาดใหญ่และ การใช้แรงงานคนที่ช�านาญงานที่มีค่าจ้างสูง ใน บทความนี้ ผู้เขียนจึงแนะน�าหุ่นยนต์จ�านวน 2 รุ่น ที่ใช้แก้ปัญหาข้างต้น คือ หุ่นยนต์ ‘SOLABRUSH’ และหุ่นยนต์ ‘E4’ มีรายละเอียดของเนื้อหา ดังนี้ หุ่นยนต์ ‘SOLABRUSH’ สามารถเดินบนแผง โซลาร์เซลล์ที่มีความลาดเอียงได้มากถึง 35 องศา หุ่นยนต์มีน�้าหนักเบาและควบคุมแบบไร้สายโดย ไม่ต้องปรับแต่งฮาร์ดแวร์ของแปรงท�าความสะอาด ที่ติดตั้งอยู่ด้านหน้าของหุ่นยนต์ โดยสามารถถอด เปลี่ยนชิ้นส่วนท�าความสะอาดได้ง่ายและสามารถ ประจุพลังงานแบตเตอรี่ซ�้าได้

รูปที่ 4. แสดงโครงสร้างภายนอก การท�างาน และกลุ่มลูกค้าของหุ่นยนต์ SOLARBRUSH ตามล�าดับ ที่มาภาพ: http://en.vorweggehen.de/energy-research/an-idea-bears-fruit/

issue 168 february 2017


64 tech focus

ส่วนหุ่นยนต์ E4 คือ การใช้หุ่นยนต์ท�าความสะอาดที่ยึดหลัก การท�าความสะอาดที่มีชื่อเรียกว่า ‘Water-Free E4’ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�างานของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยยึดแนวทาง การตัดค่าใช้จา่ ยในการด�าเนินงาน การใช้ไมโครไฟเบอร์และระบบ การไหลของอากาศในการท�าความสะอาดแทนการใช้น�้า การ แก้ปัญหาด้วยหลัก E4 ที่มีประสิทธิภาพมากถึง 99 เปอร์เซ็นต์ ส�าหรับการก�าจัดฝุ่นละอองที่เกาะติดอยู่บนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ในสภาพที่เลวร้าย เช่น ทะเลทราย เป็นต้น หลักการของ E4 ส�าหรับอุตสาหกรรมของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยใช้หุ่นยนต์ท�าความสะอาดในแต่ละแถวของแผงเซลล์แสง อาทิตย์ทใี่ ช้งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วยไมโครไฟเบอร์กบั การควบคุม การไหลของอากาศ การใช้ประโยชน์จากแรงโน้มถ่วงที่จะขจัดฝุ่น ละอองให้มีปริมาณลดลง หุ่นยนต์ดังกล่าวสามารถเคลื่อนย้าย ไปตามโครงสร้างของกรอบอะลูมิเนียมแข็งโดยใช้ล้อของหุ่นยนต์ จะเคลือบด้วยสารยูรีเทน เพื่อให้แน่ใจว่าการเคลื่อนไหวราบรื่น ไม่เป็นปัญหาต่อพื้นผิวของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยหุ่นยนต์ท�าความสะอาดใช้พลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้า จ�านวน 5 ตัว ซึ่งมอเตอร์ไฟฟ้าจ�านวน 2 ตัว ท�าหน้าที่ส�าหรับการ ขับเคลือ่ นในแนวนอนตามระดับแถวของแผงเซลล์แสงอาทิตย์สว่ น มอเตอร์ไฟฟ้าอีกจ�านวน 2 ตัว ท�าหน้าทีใ่ นการขับเคลือ่ นในแนวตัง้ (การเคลื่อนที่ขึ้นและลง) และมอเตอร์ส่วนที่เหลือท�าหน้าที่หมุน ส่วนประกอบของไมโครไฟเบอร์ในการท�าความสะอาดเพื่อรักษา ความเสถียรภาพในการเคลือ่ นไหวขึน้ และลงของหุน่ ยนต์ได้อย่าง ราบรื่นการท�าความสะอาดมีศักยภาพโดยเฉลี่ยในพื้นที่ขนาด 54 ตารางฟุต ณ เวลาการด�าเนินการเท่ากับ 30 วินาที และเริ่มต้น ท� า งานในช่ ว งเวลาที่ ด วงตะวั น ลั บ ขอบฟ้ า ของความมื ด เพื่ อ หลีกเลี่ยงเงาของหุ่นยนต์ที่ส่งผลต่อการผลิตกระแสไฟฟ้า

หุ่ น ยนต์ ดั ง กล่ า วสามารถ เคลื่อนย้ายไปตามโครงสร้าง ของกรอบอะลูมิเนียมแข็ง โดย

ใช้ลอ้ ของหุน่ ยนต์จะเคลือบด้วยสาร ยูรเี ทน เพือ่ ให้แน่ใจว่าการเคลือ่ นไหว ราบรื่นไม่เป็นปัญหาต่อพื้นผิวของ แผงเซลล์แสงอาทิตย์

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Applications by Industry :

Horizontal Press-fitting Device WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND

By performing the simultaneous injection in the horizontal, man-hours of work inversion is reduced and productivity is improved

PC (Servo Press) Compact structure incorporating a ball screw nut and ball spline shaft to reduce the product length. High load capacity and rigidity

If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71

KRF (Actuator) Fully enclosed actuator Designed for dedicated controller.

I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th



tech focus 67

Energy Independent and Ecological การลดจ�านวนการใช้พลังงาน ระบบการท�าความ สะอาด E4 จะใช้พลังงานจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ของ ตัวเองโดยเฉพาะ เมือ่ ไม่ได้ทา� ความสะอาดหุน่ ยนต์จะถูก ล็อกอย่างปลอดภัยไปยังแท่นวางนอกแถวเซลล์แสงอาทิตย์ เพื่อให้แน่ใจว่าหุ่นยนต์จะไม่ได้รับผลกระทบจากกระแส ลมแรง ในขณะแบตเตอรี่หุ่นยนต์จะถูกประจุด้วยเซลล์ แสงอาทิตย์ เมือ่ แบตเตอรีป่ ระจุเต็มประสิทธิภาพหุน่ ยนต์ จะมีจ�านวนรอบการท�าความสะอาด 3 รอบ ตามล�าดับ การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานแบบ ’Eco-Hybrid’ ของ Ecoppia ซึ่งใช้ในหุ่นยนต์ที่สามารถกู้คืนพลังงาน ในขณะที่ระดับแรงดันไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์มีค่า ต�่าลง ส่งผลให้ช่วงเวลาการท�างานของหุ่นยนต์มากขึ้น และถนอมการประจุพลังงานของแบตเตอรี่ เมือ่ เสร็จสิน้ การท�าความสะอาดในแต่ละครัง้ หุน่ ยนต์ E4 จะท�าความสะอาดส่วนประกอบทีเ่ ป็นไมโครไฟเบอร์ อย่างรวดเร็วแบบอัตโนมัติก่อนที่ปฏิบัติการท�าความ สะอาดในครัง้ ต่อไป และจะท�าความสะอาดตัวหุน่ ยนต์เอง เป็นประจ�าทุกครั้งหลังเสร็จสิ้นการท�าความสะอาดก่อน ทีห่ นุ่ ยนต์กลับไปอยู่ ณ ต�าแหน่งแท่นวางหุน่ ยนต์หนุ่ ยนต์ E4 ถูกสร้างขึ้น โดยผ่านการทดสอบความเครียดอย่าง เข้ ม งวดในอุ ณ หภู มิ ที่ สู ง มากกว่ า 150 °F ในสภาพ แวดล้อมที่เป็นทะเลทราย เพื่อให้มั่นใจถึงเสถียรภาพ การท�างานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

Efficient Management ขั้นตอนการท�าความสะอาดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ ง หมดจะถู ก จั ด การผ่ า นแอปพลิ เ คชั น ที่ ช ่ ว ยให้ ผู ้ ป ระกอบการก� า หนดเวลาการท� า ความสะอาดทั้ ง ปิด/เปิดการใช้งานหุน่ ยนต์ได้อย่างอิสระ หรือแม้กระทัง่ ส่ ง หุ ่ น ยนต์ ก ลั บ ไปยั ง ต� า แหน่ ง ฐาน อี ก ทั้ ง ข้ อ มู ล ที่เ กี่ย วข้องทั้ง หมดจะถูก คาดการณ์ในเวลาจริงและ น�าเสนอผ่าน ‘Web Based Application’ ที่ช่วยให้ ผู ้ มี อ� า นาจในการควบคุ ม สามารถตรวจสอบและ วิเคราะห์กระบวนการท�าความสะอาดและสถานะของ แบตเตอรี่ได้ นอกจากนี้ ยังสามารถควบคุมการท�างานจากระยะ ทางไกลโดยใช้งานผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยการใช้ ค�าสั่งควบคุมจาก ‘SMS-Based’ การจัดการระยะไกลของหุน่ ยนต์ โดย ใช้โปรแกรมได้ควบคุม ‘Programmable Logic Controllers’ (PLC) ซึง่ เก็บสถานการณ์ทา� ความสะอาดและการติดต่อ สื่อสารกับส่วนการประยุกต์ใช้หลัก โดยมีเซ็นเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์จ�านวน 4 ตัว ติดตั้งในหุ่นยนต์ E4 เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการท�าความสะอาดที่มีการตรวจจับ ทีถ่ กู ต้องและการตรวจสอบของการเคลือ่ นไหวในแนวตัง้ และแนวนอนจากเซ็นเซอร์หุ่นยนต์ E4 มีการท�าความ สะอาดอย่างรวดเร็วและลดค่าใช้จ่ายในขณะที่ผลลัพธ์ จุดคุ้มค่าการลงทุนภายในเวลา 1.5-4 ปี

issue 168 february 2017


68 tech focus

รูปที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบการใช้งานนวัตกรรมในการท�าความสะอาดเซลล์แสงอาทิตย์ตามล�าดับ Resources: Sami Al-Ghannam and Saudi Aramco (2012), Comparison Analysis on Different Cleaning Technologies for Photovoltaic Panels of Utility Scale Application, Saudi Arabia-Jeddah.

สรุปข้อดีของหุ่นยนต์ E4 คือ หุ่นยนต์ที่ท�าความสะอาดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ทีไ่ ม่จา� เป็นต้องใช้นา�้ ท�าความสะอาด แต่จะใช้สว่ นประกอบของไมโครไฟเบอร์ทคี่ วบคุม การไหลของอากาศในการท�าความสะอาดฝุ่นละอองได้ถึง 99% นอกจากนี้ หุ่นยนต์ สามารถประจุพลังงานและสามารถกูค้ นื พลังงานด้วยระบบ ‘Eco-Hybrid’ และยังสามารถ ท�าความสะอาดตัวหุ่นยนต์เองได้อย่างอัตโนมัติ นอกจากนี้ การจัดการและการใช้งานทีง่ า่ ยต่อผูใ้ ช้ทสี่ ามารถควบคุมได้จากระยะทาง ไกลด้วยการตรวจสอบการขับเคลื่อนที่ถูกต้องด้วยเซ็นเซอร์ในแต่ละแถวของแผงเซลล์ แสงอาทิตย์และการประมวลผลการท�าความสะอาดแบบเรียลไทม์ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ แสดงการเปรียบเทียบการใช้งานนวัตกรรมในการท�าความสะอาดเซลล์แสงอาทิตย์ ส�าหรับผูป้ ระกอบการทีน่ า� นวัตกรรมและเทคโนโลยีดงั กล่าวนีไ้ ปใช้ในช่วงปี 2012 เป็นต้นมา แสดงได้ดังรูปที่ 6 รูปที่ 5 แสดงโครงสร้างภายนอก การท�างานและระบบกลไกของหุ่นยนต์ E4 ตามล�าดับ ที่มาภาพ: http://www.ecoppia.com/ecoppia-e4

EXECUTIVE SUMMARY Cleaning solar cell panel is considered important because it will distinctively affect electricity generating capacity of solar cell panel, while controlling the cost of cleaning is considered important as well because there are several factors to take into account particularly under the dried and dusty condition. In addition to several cleaning methods, using robot for cleaning can directly response to cost and work performance propositions. Interesting series of robots include SOLARBRUSH and E4. In addition, E4 Series Robot can perform the cleaning task with no need of water, but use only microfiber and control air ventilation which has efficiency as high as 99%.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรื่อง: นเรศ เดชผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ TECH FOCUS 69

เตรียมทีมงานเพื่อการมี

FACEBOOK PAGE

อย่างยั่งยืน

issue 168 february 2017


70 TECH FOCUS

ในยุคที่อินเทอร์เน็ตได้เริ่มเข้ามามีบทบาทส�าคัญต่อการ ขับเคลื่อนโลกในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�ามาใช้ใน เชิงธุรกิจ ซึง่ ในช่วงแรกนัน้ วงการธุรกิจต่างก็ทราบกันดีวา่ องค์กร จ�าเป็นจะต้องมีเว็บไซต์เพื่อน�าเสนอข้อมูลสินค้าและบริการ ของตนเองอยู่บนอินเทอร์เน็ต แน่นอนกิจการอุตสาหกรรม ก็เป็นหนึ่งในกลุ่มธุรกิจอันดับต้นๆ ที่ได้น�าเอาศักยภาพของ เทคโนโลยีเว็บไซต์มาปรับใช้กันอย่างเต็มประสิทธิภาพ เจ้าของ กิจการยอมจัดสรรงบประมาณเพื่อการนี้กันอย่างเต็มที่ ไม่ว่า จะเป็นการลงทุนในเรื่องของการออกแบบเว็บไซต์ให้มีความ สวยงามทันสมัยและดูน่าเชื่อถือ รวมทั้งกลไกของเว็บไซต์นั้นก็ต้องสนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถ ใช้งานได้โดยง่าย จนเมื่อเว็บไซต์พร้อมให้บริการก็ยังต้องยอม จัดสรรเม็ดเงินส�าหรับประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ของตนให้ออกไปสู่ สายตาผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งก็มุ่งไปที่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นลูกค้า ของตนเป็นส�าคัญ ประเด็นเรื่องการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์นั้น ถือเป็นเรื่อง ที่ส�าคัญอย่างมากจนอาจเรียกได้ว่าเป็นเรื่องที่ส�าคัญที่สุดของ การมีเว็บไซต์ในเชิงธุรกิจเลยก็วา่ ได้ เพราะต่อให้มกี ารออกแบบ เว็บไซต์ให้หน้าตาน่าใช้หรือมีเนือ้ หาดีเพียงใดก็คงจะไร้ประโยชน์ หากกลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้าไม่ได้เข้ามาเห็น ด้วยเหตุนี้จึงได้มี ศาสตร์หรือกลยุทธ์เพื่อการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์เกิดขึ้นมา มากมาย ทั้งการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบ Offline และแบบ Online กระทัง่ จุดเปลีย่ นส�าคัญได้เดินทางมาถึง เมือ่ Social Network เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของอินเทอร์เน็ตและท�าให้พฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตของผู้ใช้เปลี่ยนไปจากเมื่อก่อนเป็นอย่างมาก ซึ่งก็รวมไปถึงพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่อยู่ในวงการ อุตสาหกรรมด้วยเช่นกัน เพราะสิ่งที่ก�าลังเกิดขึ้นก็คือผู้คน ชอบที่จะสื่อสารผ่านช่องทาง Social Network มากกว่าการ เข้าเว็บไซต์โดยตรง ด้วยจุดเด่นของระบบ Social Network ที่ได้ ออกแบบให้เข้าถึงความต้องการในเรื่องของการมีตัวตนได้ อย่างถูกจริต ผู้ใช้สามารถโพสต์ข้อมูลของตนไปสู่สาธารณะได้ และยังได้รับข่าวสารหรือเห็นข้อมูลของคนอื่นผ่านระบบ Feed ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อยู่เรื่อยๆ ทั้งยังสามารถแสดง ความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้รับได้ง่ายๆ และที่ส�าคัญ ก็คือบริการ Social Network โดดเด่นมากในเรื่องของแบ่งปัน ข้อมูล (Share) ท�าให้เนือ้ หาต่างๆ กระจายออกสูส่ าธารณะเป็น วงกว้างอย่างรวดเร็ว ต้องยอมรับว่า Facebook คือบริการ Social Network ทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากที่สุดในโลกในเวลานี้ แน่นอนว่าหลายองค์กร พยายามทีจ่ ะน�า Facebook มาปรับใช้กบั ธุรกิจของตน นัน่ ก็รวม ไปถึงกิจการอุตสาหกรรมด้วยเช่นกัน โดยในช่วงแรกๆ นั้น ค่อนข้างจะติดๆ ขัดๆ อยูม่ าก เนือ่ งจากระบบของ Facebook นัน้ ไม่ได้ออกแบบมาให้ใช้ในเชิงธุรกิจ จนเมื่อ Facebook มีบริการ Fan Page เพื่อสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ของบรรดาเซเลบ กลุ่มคน หน่วยงาน หรือองค์กรธุรกิจ นับจากวันนั้นความนิยม ในการใช้งาน Facebook ในแบบองค์กรก็เริ่มขยายตัวมากขึ้น

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Offline โดยในแบบ Offline นั้น ก็จะเป็นไปในลักษณะของการซื้อ พื้นที่โฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ อาทิ นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ รวมไปถึงป้ายบิลบอร์ดและแบนเนอร์ เป็นต้น ซึง่ ก็เริม่ จะลดน้อย ถอยลงไปเรื่อยๆ ในปัจจุบัน

Online ส�าหรับการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ ในแบบ Online นั้น จะด�าเนินการผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก อันที่จริงแล้ว การประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ ในแบบ Online มีอยูม่ ากมายหลาย วิธี แต่วิธีที่มักจะได้รับความนิยมก็คือการซื้อพื้นที่สา� หรับวาง ป้ายโฆษณา (Web Banner) บนหน้าเว็บเพจของเว็บไซต์ที่มี จ�านวนผู้เข้าชมปริมาณมาก นอกจากนี้ ยังมีอีกวิธีที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กันก็คือการ ซื้อพื้นที่โฆษณาในแบบ Pay Per Click ผ่านบริการ Google AdWords ของ Google.com ซึง่ ป้ายโฆษณาจะแสดงบนหน้า Google Search ตามการสืบค้นข้อมูลบน Google.com ด้วย ค�าหลัก (Keyword) ทีต่ รงกับสินค้าหรือบริการทีผ่ ซู้ อื้ โฆษณา ได้กา� หนดไว้ และด้วยความทีผ่ ู้ใช้งานส่วนใหญ่นยิ มสืบค้นข้อมูล ผ่าน Google Search ดังนั้น การว่าจ้างให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน Search Engine Optimization หรือ SEO มาบริหารจัดการเว็บไซต์ ให้ขึ้นไปอยู่ ในล�าดับต้นๆ ของการสืบค้นก็เป็นวิธที ี่ได้รบั ความนิยมไม่แพ้กนั


TECH FOCUS

71

ต�ำแหน่งผู้ปฏิบัติงำนในทีม 1. Insights Analyst เป็นผูด้ แู ลข้อมูลสถิตติ วั เลขของการท�าประชาสัมพันธ์ผา่ น Facebook Page ทีน่ อกจากจะท�าการวิเคราะห์ ข้อมูลแล้ว ยังต้องสรุปรายงานให้ทีมงานสามารถน�าไปใช้ต่อได้ 2. Advertiser ผู้ปฏิบัติงานในส่วนนี้ต้องท�างานร่วมกันกับ Insights Analyst อยู่มาก เนื่องจากต้องน�าข้อมูลที่ได้จากการ วิเคราะห์ ไปใช้ในการวางแผนประชาสัมพันธ์ ให้คุ้มค่ากับต้นทุนที่ได้จ่ายไปกับการซื้อโฆษณา Facebook Ad ในแต่ละครั้ง 3. Moderator ในส่วนงานระดับนี้ นอกจากผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันกับ Advertiser แล้วยังต้องมีความ สามารถทีจ่ ะส่งข้อความโต้ตอบกับลูกค้าทีเ่ ข้ามาแสดงความคิดเห็นใน Facebook Page ด้วย และหากพบเห็นการแสดงความคิดเห็น ที่ไม่เหมาะสมก็สามารถที่จะลบความคิดเห็นนั้นได้เช่นกัน 4. Content Creator ผูท้ ดี่ แู ลในระดับนีจ้ ะท�าหน้าทีโ่ พสต์ขอ้ มูลสินค้าและบริการออกสูส่ าธารณะ แน่นอนว่าข้อมูลนัน้ ต้องได้รบั การตรวจทานอย่างดีจากทีมงาน และ Manager ทั้งนี้ ก็เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นภายหลังได้ 5. Manager เป็นต�าแหน่งที่อยู่ในระดับสูงสุด เป็นผู้ที่ท�าหน้าที่ได้ทั้งหมด ตั้งแต่ระดับที่ 1 - 4 ที่ส�าคัญก็คือเป็น Admin ที่มี อ�านาจลบหรือเพิ่มผู้ปฏิบัติงานในแต่ละระดับได้ ต�าแหน่งนี้ควรเป็นเจ้าหน้าที่ระดับหัวหน้างานขึ้นไป และต้องสามารถไว้เนื้อเชื่อใจได้ หรือหากท่านเจ้าของกิจการไม่แน่ใจก็ควรท�าหน้าที่นี้ด้วยตนเอง

เป็นเวลาไม่นานนักจาก Fan Page ก็ได้ถกู เปลีย่ นชือ่ บริการ มาเป็น Facebook Page ซึง่ ได้เพิม่ ประสิทธิภาพในการสนับสนุน การใช้งานในเชิงธุรกิจมากยิ่งขึ้น โดยจุดเด่นของ Facebook Page คือ ความสามารถในการจะประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลไปสูก่ ลุม่ เป้าหมายที่เป็นผู้ใช้ Facebook ซึ่งตรงกับความต้องการของ เจ้าของกิจการอย่างมาก ทั้งยังมีระบบการจัดการเพื่อวางแผน งานประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพสูง และที่น่าสนใจก็คือ มีระบบรายงานที่สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น แต่การที่จะขับเคลื่อน Facebook Page ให้ไปถึงจุดหมาย ได้นั้นจ�าเป็นที่จะต้องมีทีมงานที่มีศักยภาพ ดังนั้น การคัดสรร บุคลากรที่จะมาท�าหน้าที่ดูแล Facebook Page จึงเป็นเรื่อง ที่ต้องใส่ใจให้มาก เพราะหากผู้ปฏิบัติงานท�าหน้าที่ได้ไม่ดีพอ ก็อาจกระทบต่อภาพลักษณ์ขององค์กรและส่งผลต่อมาถึงธุรกิจ ได้ โดยปกติแล้ว Facebook จะแบ่งต�าแหน่งผู้ปฏิบัติงานในทีม ไว้ 5 ระดับ ทัง้ นี้ จ�านวนผูป้ ฏิบตั งิ านในแต่ละระดับนัน้ สามารถมีเท่าใด ก็ได้ หรือบุคลากร 1 คน อาจจะปฏิบตั งิ านควบทัง้ สองระดับเลย ก็ได้ อย่างไรก็ตามสิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ ของการคัดสรรบุคลากรมาร่วม

ทีมจัดการ Facebook Page นัน้ นอกจากจะต้องมีความสามารถ เฉพาะด้านแล้วคุณสมบัตทิ มี่ คี วามส�าคัญไม่แพ้กนั ก็คอื ความรัก ความเข้าใจในสินค้าและบริการอย่างลึกซึง้ เพราะเมือ่ บุคลากรมี สองสิง่ นีก้ จ็ ะส่งเสริมให้การประชาสัมพันธ์สนิ ค้าและบริการผ่าน Facebook Page ประสบความส�าเร็จอย่างแน่นอน

EXECUTIVE SUMMARY To choose the person to look after Facebook Page is the thing to pay serious attention because if operator cannot perform good operation enough, it may impact organization image and derive bad consequence to business which normally, Facebook will divide operator position in the team in 5 levels as Insight Analyst, Advertiser, Moderator, Content Creator and Manager, which this position is in the top level and can perform all tasks from level 1 – 4.

issue 168 february 2017


72 RESEARCH & DEVELOPMENT

ให้อตุ สาหกรรมน�า

อาจารย์ตาม

รัฐสนับสนุน…

สูตรความส�าเร็จด้านงานวิจัย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

นอกจากการประกาศยุทธศาสตร์ชาติ มุ่งหน้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 ทุกภาคส่วน ทั้งเกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวและบริการ รวมถึงการก�าหนดกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ในนาม New S-curve แล้ว อีกเรือ่ งทีน่ า่ จับตามอง และถือเป็นมิตใิ หม่ คิดใหม่ ท� า แบบใหม่ ๆ ใช้ ง านได้ จ ริ ง จากภาครั ฐ ในเชิ ง ปฏิ บั ติ คื อ การออกตัวสนับสนุนให้เกิดการท�างานร่วมกันระหว่างภาค วิชาการและภาคอุตสาหกรรม ผ่านการให้ทุนวิจัยจ�านวนมาก อย่างมีนัยส�าคัญ พูดคุยกับ ศ.ดร.นวดล เหล่าศิริพจน์ จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผู้คร�่าหวอดและฝากชื่อเสียง ผ่านงานวิจยั ด้านกระบวนการผลิตเชือ้ เพลิงทางเลือก ถึงประเด็น ความก้าวหน้าของแวดวงวิชาการ และความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการกับภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรม บนโจทย์ใหม่ ที่ใช้ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมน�าหน้า อุตสาหกรรมน�า อาจารย์ตาม ภาครัฐสนับสนุน กลายเป็นความหวังและก้าวย่างส�าคัญในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของชาติ เมื่อภาคการศึกษาหันมา จับมือกับภาคอุตสาหกรรม ผ่านการสนับสนุนอย่างจริงจัง จากภาครัฐ ศ.ดร.นวดล เล่าว่า สิ่งส�าคัญที่สุดของเรื่องนี้ คือ ‘โจทย์ วิ จั ย ’ โจทย์ ต ้ อ งมาจากภาคอุ ต สาหกรรม หั ว ข้ อ วิ จั ย ต้ อ ง ถูกพัฒนาร่วมกัน เกิดจากการพูดคุยและตกผลึกร่วมกัน เพื่อ จะได้โจทย์ที่ถูกต้อง “ในอดีต โจทย์วิจัยถูกคิดขึ้นจากฝ่ายอาจารย์ เพราะเชื่อ เอาเองว่านี่คือโจทย์ที่ถูกต้อง อาจจะได้หัวข้อมาจากการอ่าน งานวิจัยต่างประเทศ ซึ่งไม่ตอบโจทย์อุตสาหกรรมไทย เพราะ บริบทเมืองไทยต่างจากบริบทของต่างประเทศ จึงไม่เชือ่ มโยงกัน ไม่เกิดประโยชน์ ต่างคนต่างท�า ฉะนั้น วิธีแก้ คือ ต้องถาม คนที่รู้ดีที่สุด ซึ่งก็คือคนท�างานจริงในภาคอุตสาหกรรม ถ้า พูดคุยกันตัง้ แต่แรกและพูดคุยให้ตอ่ เนือ่ ง มันจะมีความเชือ่ มโยง ต้องมีเวทีที่อาจารย์และภาคอุตสาหกรรมมาเจอกัน มา แลกเปลี่ยนความคิดกัน อาจารย์มีองค์ความรู้อะไรอยู่ในมือ ภาคอุตสาหกรรมจะน�าองค์ความรู้เหล่านี้ไปใช้เป็นประโยชน์ ได้อย่างไร อุตสาหกรรมมีปัญหาอะไร อาจารย์จะแก้ปัญหา เหล่านั้นด้วยองค์ความรู้ที่มีได้อย่างไร” ศ.ดร.นวดล ฉายภาพ ให้เห็นสถานการณ์ พร้อมกันนี้ยังกล่าวถึงทุนวิจัยจ�านวนมากจากภาครัฐเอง พร้อมอัดฉีดอาจารย์ให้ท�างานวิจัยเต็มที่ ทั้งนี้ บนเงื่อนไข ทีว่ า่ ต้องเป็นงานวิจยั ทวิภาคีทเี่ กิดจากการร่วมมือและตัง้ โจทย์ ร่วมกันระหว่างอาจารย์หรือสถาบันการศึกษากับอุตสาหกรรม โดยให้ ภ าคอุ ต สาหกรรมหรื อ ผู ้ ป ระกอบการออกทุ น วิ จั ย อย่างน้อย 10% “ภาครัฐมีแคมเปญ และทุนวิจัยแบบบูรณาการเยอะมาก การได้มาซึ่งทุนต้องมีอุตสาหกรรมมาร่วมลงทุน 10-20% จึง น�ามาสู่การสนับสนุนและผลักดันให้กลุ่มอุตสาหกรรมเข้ามา ร่วมท�างานกับภาคสถาบันการศึกษา ภาครัฐก็สนับสุนน กลุ่ม อุ ต สาหกรรมก็ พ ยายามเข้ า มา เทรนด์ ค วามร่ ว มมื อ ก็ จ ะมี มากยิ่งขึ้นไป” ศ.ดร.นวดล กล่าว


RESEARCH & DEVELOPMENT 73

จุดอ่อนงานวิจัยไทย ศ.ดร.นวดล กล่าวถึงจุดอ่อนของงานวิจัยในประเทศไทย ว่า งานวิจยั ในอดีต ไม่เชือ่ มโยงกับอุตสาหกรรมและไม่สามารถ น�าไปใช้ได้จริงในเชิงพาณิชย์ นัน่ เกิดขึน้ เพราะอาจารย์สว่ นใหญ่ เน้นงานวิจัยเชิงพื้นฐาน ต้องการสร้างองค์ความรู้ใหม่ แต่งาน เหล่านี้ไม่ตอบโจทย์ เพราะติดปัญหาเชิงเศรษฐศาสตร์ และ สังคม “ที่ผ่านมา อาจารย์ในมหาวิทยาลัยมักท�างานเชิงเทคนิค กระบวนการที่เขาคิดและวิจัยขึ้นมา มักใช้งานจริงไม่ได้ เพราะ เกิ ด ปั ญ หาด้ า นความคุ ้ ม ค่ า ในการลงทุ น ฉะนั้ น ต้ อ งปรั บ กระบวนการที่ใช้ สารเคมีที่ใช้ สารตั้งต้นที่ใช้ ให้มีราคาถูกลง หรือกระบวนการที่เขาคิดอาจจะไปส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมหรือ สังคม เขาไม่ได้ตระหนักตรงนี้ เขาจึงท�างานวิจัยไปโดยไม่ได้ ตระหนักว่ามีปัญหาตรงนี้อยู่ ถ้าเขาทราบราคา ต้นทุน สังคม สิ่งแวดล้อม เขาจะสามารถที่จะคิดกระบวนการไปได้อย่าง ถูกต้องมากขึ้น เพราะเหตุนี้จึงต้องคุยกับอุตสาหกรรมให้เกิด ความเชื่อมโยง แล้วงานวิจัยเชิงพื้นฐานจะน�าไปต่อยอดใช้งาน ได้จริง” ศ.ดร.นวดล ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ ทั้งนี้ การก�าหนดเงื่อนไขการให้ทุนวิจัย จะเป็นหนึ่งในตัว รับประกันว่า วิจัยแล้วไม่ขึ้นหิ้ง และเกิดประโยชน์จริงในเชิง พาณิชย์ กล่าวคือ ท�าแล้วต้องขายได้ เทรนด์งานวิจัยสะท้อนเทรนด์อุตสาหกรรม เมื่อยึดจากความถนัดและความสนใจแล้ว ศ.ดร.นวดล ซึ่ง คลุกคลีอยู่กับงานวิจัยด้านเชื้อเพลิงทางเลือก เห็นว่า เทรนด์ งานวิจัยที่ก�าลังเป็นที่จับตามอง ทั้งจากภาควิชาการและภาค อุตสาหกรรม รวมถึงสอดคล้องกับบริบทประเทศไทยในปัจจุบนั คือ งานเกี่ยวกับ Bio - Economy ซึ่งหมายถึงการวิจัยและ พัฒนาเพื่อใช้วัตถุดิบหรือของเสียทางการเกษตรของประเทศ อย่างชีวมวล เช่น ชานอ้อย กากมัน ฟางข้าว มาต่อยอดให้เกิด ผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มได้ “กลุม่ ใหญ่อย่าง ปตท. และ SCG เขามีวตั ถุดบิ หลักเป็นก๊าซ ธรรมชาติและน�า้ มันดิบ ซึง่ ไม่ใช่วตั ถุดบิ พืน้ ฐานทีป่ ระเทศไทยมี เขาจึงตั้งโจทย์ว่า เป็นไปได้หรือไม่ ที่จะสามารถเปลี่ยนวัตถุดิบ เป็นชีวมวลทีเ่ รามีอยูจ่ า� นวนมาก ถ้าเขาพัฒนาให้วตั ถุดบิ เหล่านี้ เป็นสารตั้งต้นได้ ก็จะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้” “ไม่ได้เป็นโครงการเดี่ยวๆ แต่ท�าร่วมกันเป็นโปรแกรม มี หลายโจทย์ กลุ่มวิจัยเราเข้าไปตอบโจทย์หนึ่ง และมีกลุ่มวิจัย จากมหาวิทยาลัยอื่นเข้ามาท�าโจทย์วิจัยอื่นๆ ที่เชื่อมโยงกัน ในโปรแกรมเดี ย วกั น จะบู ร ณาการขึ้่ น เชื่ อ มโยงขึ้ น เกิ ด ประโยชน์ขึ้น น�าไปสู่การใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์” ศ.ดร.นวดล ยกตัวอย่าง ศ.ดร.นวดล ย้อนความให้ฟังว่า กลุ่มวิจัยของอาจารย์ ท�าเรื่องการแปรรูปชีวมวลมาเกือบ 10 ปี ภาคอุตสาหกรรม ได้อ่านงานตีพิมพ์จึงได้รู้จักกัน เขามีโจทย์ของเขาอยู่แล้ว เขา ต้องการพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์มลู ค่าเพิม่ เช่น สารเคมีมลู ค่าสูง พลาสติกชีวภาพ เป็นต้น

ระดับของงานวิจัย 5 ระดับ

Basic Research: การวิจัยพื้นฐาน

Industrialization: การผลิตจริง ในอุตสาหกรรม

Prototype: การท�าต้นแบบ

Industrial Demonstration: การทดสอบ ในอุตสาหกรรม

Market Entry: การเข้าสู่ตลาด

ศ.ดร.นวดล เหล่าศิริพจน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

issue 168 february 2017


74 RESEARCH & DEVELOPMENT

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

“เราท�าร่วมกับ กลุ่ม ปตท. และ SCG เพื่อพยายามแปรรูป ผลผลิ ต ทางการเกษตรของประเทศไปเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เขา ต้องการ คือ วัตถุดิบชีวมวลในประเทศไทย ชานอ้อย ฟางข้าว เศษมัน มีการใช้ประโยชน์เชิงพลังงานราคาถูก เช่น เผาเพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า แต่ความจริงแล้ววัตถุดิบเหล่านี้ สามารถ น�าไปแปรรูปให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงนั้นได้ “ชีวมวลเป็นของผสม แต่ละองค์ประกอบสามารถน�าไป ใช้ ป ระโยชน์ แ ตกต่ า งกั น เราต้ อ งหากระบวนการที่ แ ยก องค์ประกอบเหล่านีใ้ ห้บริสทุ ธิท์ สี่ ดุ เพือ่ ไปพัฒนาต่อยอดให้เกิด เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เอทานอล น�้าตาล สารเคมีราคาสูง เป็นต้น” ศ.ดร.นวดล เล่ารายละเอียด ทั้งนี้ โครงการดังกล่าว ด�าเนินการมาแล้ว 2-3 ปี ปัจจุบัน อยูใ่ นขัน้ ตอนตัดสินใจเลือกว่า จะใช้โมเดลใดเพือ่ น�าไปยกระดับ ให้ตอบโจทย์อุตสาหกรรม คือ น�าโมเดลจากห้องทดลองไป ขยายขนาด และวิจัยพัฒนากันต่อไป โดยองค์ความรู้พื้นฐาน ที่ได้มานั้น เป็นสิทธิบัตรร่วมกันระหว่างสถาบันการศึกษากับ ภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ เกี่ยวกับความร่วมมือกับ MTEC และ BIOTEC จาก สวทช. ศ.ดร.นวดล เล่าว่า ได้ทา� งานร่วมกันมานานเพราะ มีโจทย์ที่สนใจร่วมกัน ประกอบกับทาง มจธ.เองก็มีนักศึกษา ระดั บ ปริ ญ ญาโทและปริ ญ ญาเอก ในขณะที่ ทาง สวทช. เป็นหน่วยงานรัฐที่มีเครื่องไม้เครื่องมือ ห้องปฏิบัติการ และ โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ มบูรณ์แบบมาก เพียงแต่ยงั ขาดบุคลากรอยู่ ดังนั้น การได้ท�างานร่วมกันจึง Win-Win ทั้งสองฝ่าย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ความร่วมมือเช่นนี้ถือเป็นมิติใหม่และความหวัง เพราะ ไม่ใช่แค่ได้โจทย์และได้ค�าตอบเฉพาะหน้าเท่านั้น แต่ความ ร่วมมือนี้ ยังเป็นการก่อร่างสร้างเครือข่ายระหว่างภาควิชาการ และภาคอุตสาหกรรม ลดก�าแพงระหว่างทั้งสองฝ่าย ซึ่งอาจ ท�าให้เกิดความร่วมมืออื่นๆ ตามมาอีกมากในอนาคต หากโจทย์ผิด ไม่เคยให้ค�าตอบที่ถูก... EXECUTIVE SUMMARY Prof. Dr. Nawadol Laosiripojana, Instructor from King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) said about the current research work that there was the initiation of collaboration among academic, government, and industrial sectors. Thus, by using research work for commercial extension, research proposition must come from industrial sector and research topic must be developed from the discussion and crystallization together in order to get the correct proposition, while government sector has fully supported research works by funding under the condition that research work must be the bilateralness system, therefore it requires to join hands and set the proposition together between instructor team or educational institute and industry by having industrial sector or entrepreneurs to fund the research at least 10 – 20%. Trend of research work to keep an eye on by academic and industrial sectors is related with Bio – Economy work, which is the research and development for using material or country’s agricultural wastes to further initiate value added products.

K





78 Editor’s Pick

Website Guide

http://www.ikont.co.jp/eg/

ACS580 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ ที่ติดตั้งง่ายและสามารถใช้งานได้ทันที ACS580 อุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ที่ติดตั้งง่ายและสามารถ ใช้งานได้ทันที ช่วยให้ประหยัดเวลา ออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญระดับโลก เพื่อ สร้างสรรค์นวัตกรรมโดยค�านึงถึงผู้ใช้งานเป็นหลัก สะดวกรวดเร็วด้วยฟังค์ชัน การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แบบ USB และที่เหนือกว่า ยังสามารถควบคุมแบบ ไร้สายผ่าน Bluetooth จากสมาร์ทโฟนได้ด้วยแอปพลิเคชั่น Drivetune ง่าย และสะดวก

Product information Products can be searched by product series names and by a bearing’s directional motion. On each page, product features are detailed in a user friendly format Download <CAD Data> CAD data can be downloaded for each product. 2D and 3D CAD data is provided. <Product Catalog> The product catalogs can be downloaded in PDF format. Exhibition/trade show information Worldwide trade show/exhibition schedules are available so you can find out where will be showcasing our products near you. We encourage you to come view our products in person at any of our booths. Introducing the Technical Service Site The Technical Service Site can be accessed from the website. We offer various tools to help you make an appropriate Linear Way and Linear Roller Way selection. Please use them to aid with your selection. You can also use the site to download Instruction Manuals for the mechatro series. Login Screen

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. Tel: 0-2637-5115 Fax: 0-2637-5116

Menu Screen


Editor’s Pick 79

GERMAN RACK กับเทคโนโลยีที่ตอบทุกโจทย์ของ DATA CENTER ในยุคนีก้ ลายเป็นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารอย่างแท้จริง การรับส่งข้อมูล ต้องรวดเร็ว หรือการ Download และ Upload ต้องสามารถรองรับกับความ ต้องการของผู้ใช้งานที่นับวันยิ่งมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่จะมา ตอบโจทย์พวกนี้ก็คือ Data Center นั่นเอง และการท�าศูนย์ Data Center เพื่อท�าเป็นพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลก็ไม่ได้ยุ่งยากอย่างที่คิด INTERLINK ขอน�าเสนอตู้ Rack ที่เอามาแก้ปัญหาใหญ่ของ Data Center สองเรื่องคือ พื้นที่การจัดวางตู้ Rack และการแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในตู้เดียวกันส�าหรับ ผู้เช่าต่างบริษัทกัน

Medium Voltage Soft Starters

1. ลดพืน้ ทีก่ ารใช้งาน เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ตู ้ นี้ อ อกแบบเป็ น ตู ้ เ จาะรู ร ะบาย อากาศทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง เพื่ อ ให้ สามารถระบายความร้ อ นที่ ส ะสมภายใน ตู ้ ไ ด้ ดี และมี จุ ด เด่ น ที่ ป ระตู ตู ้ อ อกแบบให้ สามารถเปิดออกเป็นบานซ้ายและขวา โดย เปิดจากตรงกลางเพื่อลดพื้นที่การใช้งานตู้ Rack เหลือ 30 เซนติเมตร (ปกติจะกินพื้นที่ 60 เซนติเมตร) 2. แบ่งพื้นที่ส่วนตัวให้เหมาะสมและลงตัว ตู้นี้ออกแบบมาให้เหมาะสมกับ Data center ที่มีผู้มาเช่าตู้ใช้งานแต่ ไม่ได้เช่าพื้นที่ทั้งตู้ มีให้เลือก 2 รุ่นคือ รุ่น Haft Rack (ตู้เปิด 2 ตอน) และ Quad Rack (ตู้เปิด 4 ตอน) ผู้มาเช่าพื้นที่จะมีทั้งความปลอดภัย และความ เป็นส่วนตัว ออกแบบให้ประตูหน้าและประตูหลัง มีความเป็นอิสระแยกจาก ผูเ้ ช่าในส่วนอืน่ ๆ ทัง้ กุญแจล็อกทีส่ ามารถเปิดได้เฉพาะส่วนเท่านัน้ (เลือกได้ ทั้งแบบ Master Key และแบบ Swing Handle Lock)

MVS Range • 50A ~ 600A (Nominal) Voltage Ranges • 2300 ~ 13800VAC (Mains Voltage L1, L2, L3) Panel (Customer-specified) • With mains / isolation switch / Earth switch, fuses, main & bypass contactors and RTD relay

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ BTT UNITED CO., LTD. Tel: 0-2586-8733 (AUTO) Fax: 0-2587-8852 E-mail: info@bttunited.com Website: www.bttunited.com

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ INTERLINK COMMUNICATION PUBLIC CO., LTD. Tel: 0-2693-1222 Expressway: 0-2276-0340 Fax: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th issue 168 FEBRUARY 2017


C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



115_AD_.pdf 1 2/20/2014 5:02:36 PM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.