Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
RAISE THE FLAG
'MADE IN THAILAND' AIR COMPRESSOR คอนซูมเมเบิล พาร ทส ป กธงป มลม ‘เมดอินไทยแลนด ’ ไทยแลนด 4.0 ตองเริ่มจาก ‘วิจัยและพัฒนา’ แลวออกไปแตะขอบฟา ‘อยากลัว’ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย
เศรษฐกิจไทยป ’60 ตระหนัก… แตอยาตระหนก
พลังงานทดแทนชวงเปลี่ยนผาน ใครจะอยู ใครจะไป
p. 34
p. 50
p. 54
70 baht
Effective Management of Your Automation Device Changes Has Never Been Easier or More Affordable ZI-ARGUS รวมกับ MDT ซึ่งเปนผูนำดาน Automation Change Management มานานกวา 25 ป ขอนำเสนอซอฟทแวร AutoSaveBasic เปนซอฟทแวร Change Management Solution สำหรับโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลางซึ่ง AutoSave Basic จะชวยในการบริหารและจัดการเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ของระบบควบคุมไมวาจะเปนเหตุการณที่ไมคาดคิด อยางเชนอุปกรณเสียหายเนื่องจากภัยธรรมชาติ หรือจะเปนการเปลี่ยนอุปกรณเนื่องจากตัวอุปกรณในระบบเสียหายยังครอบคลุมไปถึงเอกสารตางๆ ดวย
Undo Recovery
PLC, DCS, CNC, HMI, Drives Robot, SCADA, Document
Program Control
Access
MDT’s strategic partnerships with automation vendors
MDT AutoSave change management software supports any PC-based application and greatest breadth of automation devices in the industry Collaborative Automation by
Automation
AutoSave Solutions
Contact: ZI-ARGUS LTD. 278 B1, Fl.1-2 Raintree Office Garden Soi Soonvijai 4, Rama IX Road Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310, Thailand Tel : +66 (0)2 319 9933 Fax : +66 (0)2 319 9949 Email : bangkok@zi-argus.com
THIS IS RELIABILITY ZoomlockTM Braze-Free Tube Fitting Change Everything
Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000
www.parker.com/th
Specially designed to work without brazing, which makes your job simpler and faster when joining copper tubes. The fittings are leak-proof and more repeatable than brazed connections
No other oscilloscope can touch it But you can
Keysight’s next-generation oscilloscopes offer waveform update rates 20 times faster than the competition. With the latest capacitive touchscreen technology triggering, you haven’t really experienced an oscilloscope until now.
THE OSCILLOSCOPE EXPERIENCE REDEFINED.
Oscilloscope 30% off Coupon Promotion till Apr 2017 Simply Answer questionnaire, to get coupon discount for ordering though IRCT http://www.keysight.com/see/30offscope
Keysight 4000 X-Series Oscilloscopes
Keysight 3000 X-Series Oscilloscopes
200 MHz to 1.5 GHz
100 MHz to 1 GHz
Starting at $5,611*
Starting at $3,222*
12.1” capacitive touch display
8.5” display —
1M waveforms/sec update rate
1M waveforms/sec update rate
Fully upgradeable: bandwidth, Fully upgradeable: bandwidth, MSO, dual-channel WaveGen, MSO, WaveGen, DVM, DVM, serial analysis including USB and serial analysis
Experience the difference. Get time-saving app notes.
IRC Technologies Limited
Authorized Distributor and Service Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th
© Keysight Technologies, Inc. 2014. * Prices are in USD and are subject to change.
T.V.P. Valve & Pneumatic Co., Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sales@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales
11
วิทยากรตัวคูณในโครงการ
เอนเนอร์ยี่ เซฟตี้ กระทรวงพลังงาน ลงพื้นที่เผยแพร่ความรู้ รณรงค์การผลิต และการใช้พลังงานทดแทนอย่างปลอดภัยทั่วประเทศ พลังงานทดแทน มีความส�าคัญอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจาก ปริ ม าณทรั พ ยากรหลั ก ด้ า นพลั ง งานนั้ น มี จ� า กั ด และลดลงอย่ า ง ต่อเนือ่ ง สวนทางกับความต้องการใช้ทเี่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ เทคโนโลยี พลังงานทดแทนที่ได้รับความนิยม อาทิ ก๊าซชีวภาพ (Biogas) ก๊าซ ชีวมวล (Biomass) และพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ที่ ผ ่ า นมาผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ ใช้ พ ลั ง งานทดแทนดัง กล่าว ยังขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ท�าให้เกิดอุบัติเหตุอยู่เป็นระยะ สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน จึงได้จดั โครงการรณรงค์ความปลอดภัยจากการผลิตและการ ใช้พลังงานทดแทน (Energy Safety) โดยมีศนู ย์วจิ ยั เทคโนโลยีพลังงาน เพื่อสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ETE) เป็นที่ปรึกษา คัดเลือกอาสาสมัครพลังงาน (อส.พน.) แต่ละภูมิภาค จ�านวน 150 คน เข้ารับการอบรมและฝึกปฏิบตั ทิ ดลองการใช้พลังงาน ทดแทนทัง้ 3 เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย รวมถึงจัดท�าสือ่ ประชาสัมพันธ์ ด้านความปลอดภัย อาทิ สารคดีแอนิเมชั่น คู่มือ แผ่นพับ เพื่อให้ อส.พน. น�าไปใช้ประกอบการเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชน หลังเสร็จการอบรม อส.พน. ได้ท�าหน้าที่เป็นวิทยากรตัวคูณจัด กิจกรรมเผยแพร่ความรูใ้ นชุมชน ฟาร์ม และสถานประกอบการต่างๆ ทั่วประเทศ เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายน 2559 โดยเมื่อวันที่ 24 และ 29 พ.ย. 59 ทีมวิทยากรตัวคูณภาคเหนือ จังหวัดสุโขทัย น�าโดยนายธนวุฒิ บัวแฝง และนายบาร์ลอน เพ็งพิบาล ได้จดั กิจกรรม เผยแพร่ความรูเ้ รือ่ งความปลอดภัยในการผลิต-ใช้กา๊ ซชีวภาพและก๊าซ ชีวมวล ณ องค์การบริหารส่วนต�าบลบ้านตึก ต.บ้านตึก อ.ศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย และโรงแรมสุโขทัยพรเจริญ รีสอร์ท & สปา อ.กงไกรลาศ จ.สุโขทัย มีผู้สนใจเข้าร่วมอบรมกว่า 150 คน วิทยากรตัวคูณได้บรรยายพร้อมใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่โครงการ จัดท�าขึ้นประกอบการให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็น สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�าบล คนในชุมชนที่มีระบบผลิต-ใช้ก๊าซ ชีวภาพ และผู้ที่สนใจเรื่องพลังงานทดแทน นอกจากนี้ ยังได้แนะน�า สาธิ ต ชุ ด อุ ป กรณ์ ค วามปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คลที่ ต ้ อ งสวมใส่ ทุ ก ครั้ ง ขณะปฏิบัติงาน และตอบข้อซักถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ประสบการณ์ต่างๆ กับผู้เข้าอบรมด้วย พพ. เชื่อมั่นว่ากิจกรรมรณรงค์ความปลอดภัยของโครงการฯ จะช่วยสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับผู้เกี่ยวข้องทุกคน สามารถน�าความรู้ไปปรับใช้ในการผลิตและใช้พลังงานทดแทนให้ เกิดประโยชน์คุ้มค่าและมีความปลอดภัยสูงสุด สร้างความเชื่อมั่นให้ ประชาชนหันมาผลิตและใช้พลังงานทดแทนมากขึน้ เพิม่ ปริมาณการ ผลิตพลังงาน และสร้างความมัน่ คงให้ประเทศมีพลังงานใช้อย่างยัง่ ยืน
นายธนวุฒิ บัวแฝง (ซ้าย) และนายบาร์ลอน เพ็งพิบาล (ขวา)
Energy Safety ใช้พลังงาน
อย่างปลอดภัย มั่นใจกันทุกคน
ผู้สนใจเรื่องการผลิตและใช้พลังงานทดแทนอย่างปลอดภัย สามารถเข้าไปศึกษาข้อมูลและดาวน์โหลดเอกสารได้ที่เว็บไซต์ http://energy-safety.ete.eng.cmu.ac.th
issue 167 January 2017
12
news & UPDATE
INTERLINK Cabling Contest 2016 สุดยอดฝีมือสายสัญญาณ ปี 4 บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหำชน) ร่วมมือกับ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงศึกษำธิกำร และ กระทรวงแรงงำน จัดกำรแข่งขัน ‘สุดยอดฝีมือสำยสัญญำณ ปี 4 (Cabling Contest 2016)’ รอบชิงชนะเลิศ ณ โรงแรมชลพฤกษ์ รีสอร์ท จ.นครนำยก ชิงถ้วยรำงวัลพระรำชทำน สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี พร้อมเงินรำงวัลมูลค่ำกว่ำ 400,000 บำท และ มีโอกำสเป็นตัวแทนของประเทศไทยในกำรแข่งขันระดับโลก World Skills ณ เมืองอำบูดำบี สหรัฐอำหรับเอมิเรตส์ ในปี 2017 โดยในรอบชิงชนะเลิศ มีตวั แทนทีผ่ ำ่ นกำรคัดเลือกจำก 5 ภูมภิ ำค คือ ภำคเหนือ ภำคใต้ ภำคตะวันออก ภำคกลำงและกรุงเทพมหำนคร และภำคตะวันออกเฉียงเหนือ เข้ำร่วมแข่งขันรวมทั้งสิ้น 55 คน จำก 50 สถำบันกำรศึกษำ ซึ่งผลกำรแข่งขันมีดังนี้
รำงวัลชนะเลิศ ได้แก่ คุณกันตพิชญ์ ริยะสุ วิทยำลัยเทคโนโลยีสยำมบริหำรธุรกิจ วิทยำเขตสะพำนใหม่ ได้รับถ้วยรำงวัลพระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี พร้อมเงิน รำงวัลมูลค่ำ 100,000 บำท รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ คุณเจษฎา เดชหวังกลาง วิทยำลัยเทคโนโลยีสยำม บริหำรธุรกิจ วิทยำเขตสะพำนใหม่ ได้รับถ้วยเกียรติยศจำกนำยกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชำ พร้อมเงินรำงวัล 50,000 บำท รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ คุณธนชัย มีสมบัติ วิทยำลัยเทคโนโลยีสยำมบริหำรธุรกิจ วิทยำเขตสะพำนใหม่ ตัวแทนทีผ่ ำ่ นกำรคัดเลือก จะได้รบั ถ้วยเกียรติยศจำกรัฐมนตรีวำ่ กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พร้อมเงินรำงวัล 30,000บำท และรำงวัลชมเชย 3 รำงวัล ได้รบั เงินรำงวัล รำงวัลละ 10,000บำท ได้แก่ คุณศรศักดิ์ ไกรกลาง มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยำเขตสุพรรณบุรี คุณธนัชพงศ์ ตันติพนมศักดิ์ มหำวิทยำลัยนอร์ทกรุงเทพ และคุณธนพล วงศ์เขื่อนแก้ว มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล สุวรรณภูมิ วิทยำเขตนนทบุรี
SETA 2017 ชูเทรนด์อุตสาหกรรมไฮบริด รถพลังงานไฟฟ้า กระทรวงพลังงำน ร่วมกับ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ร่วมด้วย กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงคมนำคม และกระทรวงอุตสำหกรรม ประกำศควำมพร้อมเดินหน้ำกำรจัดประชุมวิชำกำรและ นิทรรศกำรนำนำชำติ ‘โครงกำรพลังงำนและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2560’ หรือ ‘SETA 2017’ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ภำยใต้ธีม ‘Towards A Low-Carbon Society’ ใน 4 หัวข้อหลัก ได้แก่ นโยบำย และกำรวำงแผนด้ำนพลังงำน เทคโนโลยีระบบผลิตกระแสไฟฟ้ำเพื่อปล่อยคำร์บอนต�่ำ พลังงำนเพื่อ กำรคมนำคมขนส่งเพื่อปล่อยคำร์บอนต�่ำ และเมืองอัจฉริยะและอุตสำหกรรมสีเขียว เพื่อผลักดันและ พัฒนำองค์ควำมรู้ด้ำนพลังงำนและเทคโนโลยีอย่ำงต่อเนื่อง โดยในปีนี้เน้นเทรนด์อุตสำหกรรมไฮบริด และรถยนต์พลังงำนไฟฟ้ำ นอกจำกนี้ ยังมีกำรจัดให้มีกำรบรรยำย ประชุมสัมมนำ และเวิร์คช็อปจำกองค์กรระดับนำนำชำติ และบริษัทที่เป็นผู้น�ำในหัวข้อต่ำงๆ อำทิ‘CEO Energy Forum’ ‘CLMVT Energy Forum’ ‘Financing in Energy โดย มูดีส์’ ‘Hybrid & EV Technology’ เป็นต้น ผู้สนใจสำมำรถดูรำยละเอียดเพิ่มเติม และ ลงทะเบียนร่วมงำนได้ในเว็บไซต์ www.SETA.Asia
ดับบลิวเอชเอ กรุ๊ป ลงนามบันทึกข้อตกลง บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหำชน) และบริษัท เหมรำชพัฒนำที่ดิน จ�ำกัด (มหำชน) ร่วมกับกระทรวง แรงงำน มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี และสถำบันไทย-เยอรมัน ลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือ กำรจัดตั้ง ‘ศูนย์ควำมร่วมมือฝึกอบรมทักษะอุตสำหกรรม’เดินหน้ำส่งเสริมกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์และยกระดับทักษะ ฝีมือแรงงำนในเขตเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวันออก ตำมยุทธศำสตร์ประเทศไทย 4.0 โดยศูนย์ดังกล่ำวจะเปิดด�ำเนินกำรที่ อำคำรอีซี่ พลำซ่ำ 1 นิคมอุตสำหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด จ.ระยอง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
news & UPDATE
13
ECOSEAL ยกทัพเครื่องจักรและผลิตภัณฑ์คุณภาพ ร่วมงาน The Grand Metalex 2016
บริษทั ECOSEAL Co., Ltd. น�ำโดย คุณสุวนุช จิรชาญชัย กรรมกำรผูจ้ ดั กำร คุณธนนท์ วงศ์ทองดี รองกรรมกำรผูจ้ ดั กำร คุณวิภาวดี โกว ผูอ้ ำ� นวยกำรฝ่ำย ธุรกิจระหว่ำงประเทศ และ คุณธนนท์ ธรรมบุตร ผู้จัดกำรฝ่ำยพัฒนำธุรกิจ ได้นำ� ผลิตภัณฑ์ ซีล พลำสติกอุตสำหกรรมและปะเก็นมำตรฐำนยุโรปมำแสดง ในงำน The Grand Metalex 2016 เป็นครั้งแรก ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำร ประชุมไบเทค เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกำยนปีที่ผ่ำนมำ โดยกำรร่วมงำนในครั้งนี้ มีผู้เข้ำร่วมชมผลิตภัณฑ์และสอบถำมรำยละเอียดเป็นจ�ำนวนมำก “กลุ่มผลิตภัณฑ์ซีล Hydraulic และ Pneumatic โอริง และออยล์ซีล ของ ECOSEAL รองรับกำรใช้งำนทั่วไป รวมถึงสำมำรถผลิตและออกแบบ ตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำได้ในทุกปริมำณแม้เพียงชิน้ เดียวก็สำมำรถผลิตได้ ซีลของเรำผ่ำนกำรรับรองคุณภำพมำตรฐำนยุโรป เช่น Din Certificate ซึ่ง ถือเป็นสิ่งที่ลูกค้ำสำมำรถไว้วำงใจได้ในด้ำนคุณภำพรวมถึงบริกำรของเรำ” คุณธนนท์ ธรรมบุตร กล่ำว “นอกจำกซีลมำตรฐำนยุโรปแล้ว เรำยังเป็นตัวแทนจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์ พลำสติกวิศวกรรมคุณภำพสูงรำคำย่อมเยำว์ สำมำรถตอบโจทย์ควำมต้องกำร ได้ครบถ้วน ทั้งพลำสติกวิศวกรรมแบบกึ่งส�ำเร็จและขึ้นรูปส�ำเร็จจ�ำหน่ำยตำม ควำมต้องกำรลูกค้ำ ซึง่ บริษทั ฯ มีควำมสำมำรถในกำรขึน้ รูปวัสดุได้ดว้ ยตัวเอง ด้วยเครื่อง CNC เครื่องพับ และเครื่องจักรอื่นๆ ที่ส�ำคัญ คือ ผลิตภัณฑ์ของ เรำมีหลำยเกรด ตอบสนองควำมต้องกำรส�ำหรับงำนทีม่ เี งือ่ นไขเฉพำะได้อย่ำง มีประสิทธิภำพ เช่น งำนอุตสำหกรรมแปรรูปอำหำร งำนอุตสำหกรรม ปิโตรเคมี” คุณธนนท์ วงศ์ทองดี กล่ำวเสริม
เต็ดตรา แพ้ค ตั้งเป้าใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทน 100% ภายใน 2030 เต็ดตรำ แพ้คบริษัทผู้น�ำด้ำนกระบวนกำรผลิตและบรรจุอำหำรด้วย โซลูชั่นครบวงจรระดับสำกลลงนำมเข้ำร่วม RE100 มุ่งมั่นเป็นส่วนหนึ่ง ในกำรน�ำพลังงำนไฟฟ้ำทดแทนมำใช้ในระบบกำรผลิตทั่วโลกให้ครบ 100% ภำยในปี 2030 จำก 20% ในปัจจุบัน โดยกำรประกำศครั้งส�ำคัญนี้ มีขึ้นที่กำรประชุม Clean Energy Ministerial ในวันที่ 2 มิถุนำยนที่ผ่ำนมำ ณ เมืองซำนฟรำนซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกำ มร. ชาร์ลส แบรนด์ รองประธำนบริหำรด้ำนกำรจัดกำรผลิตภัณฑ์ และกำรด�ำเนินงำนเชิงพำณิชย์ (Vice President, Product Management and Commercial Operations) ของกลุม่ บริษทั เต็ดตรำ แพ้ค กล่ำวว่ำ “กำร ลงนำมร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของ RE100 สะท้อนให้เห็นถึงควำมมุง่ มัน่ ในกำร ด�ำเนินธุรกิจแบบยั่งยืนอย่ำงต่อเนื่องของเรำ โดยหนึ่งในนั้น คือ กำรลด
ผลกระทบต่อกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพอำกำศโลก รวมถึงกำรหันมำใช้พลังงำนไฟฟ้ำทดแทนในระบบ กำรผลิตมำกขึ้น” RE100 เป็นกำรร่วมมือกันของภำคธุรกิจเอกชน ระดับสำกล ในกำรน�ำพลังงำนไฟฟ้ำทดแทน 100% มำใช้ ใ นระบบกำรท� ำ งำนและกำรผลิ ต เนื่ อ งจำก ปัจจุบันสัดส่วนกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำรวมของภำค เอกชนนัน้ คิดเป็นประมำณเกือบครึง่ หนึง่ ของปริมำณ กำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำทัง้ หมดของโลก ดังนัน้ หำกกลุม่ ผูป้ ระกอบกำรธุรกิจเอกชนชัน้ น�ำของ โลกหันมำรวมตัวกันเพื่อใช้พลังงำนไฟฟ้ำทดแทนแล้ว จะช่วยท�ำให้มีกำรสร้ำงวงจรกำรใช้ พลังงำนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่ำงมีนัยส�ำคัญ
ปตท.สผ. เป็นเจ้าภาพจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ คุณลาวัลย์ พรสกุลศักดิ์ ผูจ้ ดั กำรอำวุโส ฝ่ำยบริหำรงำนสิง่ แวดล้อม บริษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหำชน) หรือ ปตท.สผ. ต้อนรับคณะผูแ้ ทนจำกสมำคมอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมของอุตสำหกรรมปิโตรเลียมนำนำชำติ (IPIECA) สมำคมผู้ผลิตน�้ำมันและก๊ำซนำนำชำติ (IOGP) และศูนย์ติดตำมตรวจสอบกำรอนุรักษ์โลก โครงกำรสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชำชำติ (UNEP-WCMC) ในโอกำสที่ ปตท.สผ. เป็นเจ้ำภำพจัดอบรมเชิงปฏิบัติกำร ในหัวข้อ ‘กำรบริหำรจัดกำร ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและกำรให้บริกำรของระบบนิเวศในอุตสำหกรรมปิโตรเลียม’ เป็นครั้งแรกในประเทศไทย กำรอบรมดังกล่ำวพัฒนำขึน้ โดย IPIECAเพือ่ สร้ำงเครือข่ำยกำรเรียนรูร้ ะหว่ำงผูเ้ ชีย่ วชำญและบุคลำกรในอุตสำหกรรม น�้ำมันและก๊ำซที่มีหน้ำที่รับผิดชอบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศและควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ โดยจัดอบรม ณ โรงแรมเซ็นทำรำแกรนด์แอนด์บำงกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ issue 167 JANUARY 2017
14
copyright & trademark
2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th
COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
การสมัครสมาชิก
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
news & UPDATE
15
Hitachi กับนวัตกรรมรักษ์โลก
ในงาน The Grand Metalex 2016 ด้วยเทรนด์ของการอนุรักษ์โลกและพลังงานที่ก�าลังเป็นประเด็นส�าคัญ ส�าหรับตลาดโลก มร.มาซาโนริ ไนโต ผูจ้ ดั การทัว่ ไปส่วนงานอุตสาหกรรม Hitachi Asia (Thailand) Co., Ltd. จึงให้ความส�าคัญกับการด�าเนินงานอุตสาหกรรม ที่ค�านึงถึงสิ่งแวดล้อมและการประหยัดพลังงานมาเป็นอันดับแรก “เราได้พัฒนาอุปกรณ์และเครื่องมือส�าหรับงานอุตสาหกรรมโดยมีแนวคิด ดังกล่าวเป็นพืน้ ฐาน เช่น เครือ่ งปัม๊ ลมของเราทีม่ สี มรรถนะการท�างานทีโ่ ดดเด่น ไม่ว่าจะเป็น Inverter และชิ้นส่วนมอเตอร์เกรดพรีเมียม ระบบ ECOSEP ท�าให้ การประหยัดพลังงานของเรานั้น นอกจากจะช่วยลดต้นทุนแล้วแต่ยังคงความ สามารถในการด�าเนินการผลิตเอาไว้ได้เช่นเดิม ซึ่งสามารถประหยัดพลังงาน ลงได้กว่า 30%” มร.มาซาโนริ กล่าว นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ของ Hitachi ยังพร้อมส�าหรับการใช้งานในโรงงาน อุตสาหกรรมยุค 4.0 ด้วยระบบ COSMOSII ที่สร้างการเชื่อมต่อผ่านสาย Lan เพื่อควบคุมการท�างานผ่านระบบเครือข่ายได้อีกด้วย
ความร่วมมือในการพัฒนา อุตสาหกรรมการแพทย์ คุณภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี ผู้อ�านวยการส�านักพัฒนาอุตสาหกรรม สนับสนุน พร้อมบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ ส�านักงานมาตรฐาน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (สมอ.) ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มหาวิทยาลัยมหิดล และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เข้าเยี่ยมชม ศูนย์บริการสนับสนุนอุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ และ งาน Medical Fukushima Creation 2016 พร้อมหารือแนวทางความร่วมมือ ระหว่างกันเพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมฯในประเทศไทย โดยมีหน่วยงาน ต่างๆ ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น ณ จังหวัดฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่น
รับสมัครโรงงานอุตสาหกรรม เข้าร่วมโครงการเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมด�าเนินกิจกรรมเพิม่ ประสิทธิภาพห่วงโซ่อปุ ทานอุตสาหกรรม (Industrial Supply Chain Efficiency Improvement) ปีงบประมาณ 2560 เป้าหมายสถานประกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ จ�านวน 25 กิจการ วัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการห่วงโซ่อุปทานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของหน่วยงาน ท�าให้บุคลากรสามารถน�า ความรู้ความเข้าใจไปปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการ Supply Chain ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น การเพิ่มยอดขาย ลดต้นทุน การผลิต ลดของเสีย เพิ่มประสิทธิภาพการใช้เครื่องจักร มีกระบวนการทางานใหม่ๆ ลดต้นทุนการขนส่ง สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ส่วนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ส�านักพัฒนาการจัดการอุตสาหกรรม โทร 0 2202 4530 0 2202 4527 โทรสาร 0 2354 0380 คุณเทวนันทน์ ทองหยาด นักวิชาการอุตสาหกรรมปฏิบัติการ E-mail : nott_tt@hotmail.com issue 167 JANUARY 2017
contents vol.14 no.167 JANUARY 2017
p.30
p.34
p.46
p.50
p.34
12
NEWS & UPDATE
26 NEWS & UPDATE
THE GRAND METALEX 2016 ครบเครื่องเรื่องโลหการ… ขานรับอุตสาหกรรม 4.0 30 COVER STORY
คอนซูมเมเบิล พาร์ทส ปักธงปั๊มลม ‘เมดอินไทยแลนด์’ 34 EXCLUSIVE TALK
ไทยแลนด์ 4.0 ต้องเริ่มจาก ‘วิจัยและพัฒนา’ แล้วออกไปแตะขอบฟ้า ‘อย่ากลัว’
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
p.44
38 AUTOMATION
50 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC
อุตสาหกรรม 4.0 ความพร้อม กับดัก และวิธีลงทุนอย่างถูกที่ถูกเวลา
เศรษฐกิจไทยปี ’60 ตระหนัก… แต่อย่าตระหนก
41
GREEN ZONE TECHNOLOGY
52 ELECTRIC VEHICLES
โซเดียมไอออน อนาคตเทคโนโลยีแบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูง
โอกาสของ ELECTRIC VEHICLES ในมุมมองนายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย
44 GREEN ZONE POLICY
54 RENEWABLE ENERGY
กระทรวงพลังงาน พัฒนาเทคโนโลยี Energy Storage รองรับโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนช่วงเปลี่ยนผ่าน ใครจะอยู่ ใครจะไป
46 INDUSTRIAL ECONOMICS POLICY
60 SPECIAL REPORT
โมเดล ‘ประเทศไทย 4.0’ ขับเคลื่อนประเทศไทยด้วยนวัตกรรม
บรรจุภัณฑ์ไทย… ในยุค SMART PACKAGING
p.60 p.58
p.70
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
64 LOGISTICS SMART
เพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ขององค์กรอย่างไร ในยุคอุตสาหกรม 4.0 70 TECH FOCUS
วางรากฐานการบริการด้านไอทีด้วย ISO 20000
editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
ISSN: 1685-7143
เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th
สวัสดีปีใหม่ค่ะ ท่านผู้อ่านทุกท่าน ยิ้มรับปีระกาตั้งแต่ต้นปีกันแล้ว ก็มาติดตามข่าวสารทางด้านแวดวงอุตสาหกรรมกันต่อนะคะ เริ่มที่การ อัพเดทข้อมูลของ ส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง หรือ สศค. โดยคาดการณ์ถึงเศรษฐกิจไทยปี พ.ศ. 2560 ไว้ว่า จะมีการขยายตัว 3.4% เพิ่มขึ้นจาก 3.3% ในปี 2559 ติดตามรายละเอียดได้ที่หน้า 50-51 เรื่องเศรษฐกิจไทย ปี ’60 ตระหนัก… แต่อย่าตระหนก ด้าน คุณชัยรัตน์ บรรเทาทุกข์ รักษาการผู้ช่วยผู้จัดการ แผนกระบบควบคุมส่วนงานหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม สถาบันไทย-เยอรมัน ในคอลัมน์ AUTOMATION หน้า 38-40 เรื่องความพร้อมกับดักและวิธี ลงทุนอย่างถูกทีถ่ กู เวลา ได้ระบุวา่ “…ในการพัฒนากระบวนการเพือ่ เปลีย่ นระบบ สิง่ แรก คือ ต้องมีความเข้าใจ ผูป้ ระกอบการต้องเข้าใจระบบของตัวเองก่อนแล้วน�ามาบูรณาการ น�ามาพัฒนา และต้องพัฒนาให้พอดีแก่การ ใช้งาน ถ้ามากไปก็จะกลายเป็นการลงทุนทีส่ งู เกินจ�าเป็น ถ้าน้อยไปก็ไม่มคี วามสามารถอย่างทีต่ อ้ งการ นอกจากนี้ ต้องตระหนักด้วยว่าระบบทีจ่ ะลงทุนมันล้าสมัยได้ ฉะนัน้ ไม่มโี ซลูชนั่ ทีใ่ ช้ได้ยาวๆ แต่เหมาะสมแก่ชว่ งเวลาหนึง่ ๆ เท่านั้น...” อีกหนึ่งไฮไลท์ที่ไม่ควรพลาด คือ คอลัมน์ EXCLUTIVE TALK เรื่องไทยแลนด์ 4.0 ต้องเริ่มจาก ‘วิจัยและ พัฒนา’ แล้วออกไปแตะขอบฟ้า ‘อย่ากลัว’ โดย ‘ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์’ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อ การพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ ซึ่งยืนยันว่า “… การพัฒนาจากการผลิตในรูปแบบ OEM มาสู่ ODM จึงเป็นสิง่ ส�าคัญ เพราะขณะนีป้ ระเทศไทยก�าลังเผชิญกับปัญหาใหญ่ทางด้านความเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรม หากผู้ผลิตยังยืนยันที่จะรับจ้างผลิต หรือ OEM จะท�าให้ภาคอุตสาหกรรมไทยไม่ไปไหนอย่างแน่นอน…” พบกับรายละเอียดได้ที่ หน้า 34-37 นะคะ ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่ม และพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร
WWW. FACTORYEASY.COM
หากคุณกำลังมองหาสินค าสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม WWW.FACTORYEASY.COM มีสินค าให เลือก มากกว า 10,000 ชิ�น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ กองบรรณำธิกำร: เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร, จีรพร ทิพย์เคลือบ บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัติ เพ่งพินิจ ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936
Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editorial Staff: Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn, Jeeraporn Thipkhlueb Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936
ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
news & UPDATE
19
อุตสาหกรรมการแพทย์เฮ Pacemaker แบบไร้สาย
เทคโนโลยีใหม่ Pacemaker ไร้สาย อุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อป้องกันผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวกว่า 1.5 ล้านคน จาก EBR Systems, Inc. ที่ชื่อว่า Wise Technology ได้รับการรองรับจาก European CE Mark ท�าให้สามารถท�าการตลาดได้ในภาคพืน้ ยุโรป ถือเป็นความหวังใหม่สา� หรับผูป้ ว่ ยและยังเป็นความ ส�าเร็จของการวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีศักยภาพอย่างยิ่งยวดอีกด้วย อุปกรณ์ชิ้นนี้ท�าการติดตั้งอยู่ภายในหัวใจและท�างานผ่านระบบไร้สายที่มีตัวส่งสัญญาณและ แบตเตอรี่ติดตั้งไว้ใต้ผิวหนัง คอยส่งสัญญาณกระตุ้นการท�างานให้จังหวะการเต้นของหัวใจท�างาน พร้อมกันหรือกระบวนการ CRT นับเป็นนวัตกรรมที่มีคุณค่าเป็นอย่างมากส�าหรับวงการแพทย์และ อุตสาหกรรมการแพทย์ Source: https://goo.gl/KlZWNM
โครงการ FASTForge พันธมิตรผลิตไทเทเนียมเกรดสูงราคาต�่า โครงการ FASTForge เป็นการร่วมมือกันผลิตไทเทเนียมเกรดอุตสาหกรรมการ บินที่มีความทนทานและศักยภาพการใช้งานสูงด้วยราคาที่ต�่าลงมาถึง 1 ใน 3 ผลิต ขึ้นมาจากทรายรูไทล์ ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของไทเทเนียมไดออกไซด์ พบได้มาก ในประเทศออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ และอินเดีย โครงการนี้เป็นความร่วมมือกันระหว่าง Safran Landing System ซึ่งคอยดูแลควบคุมโครงการ Metalysis ผู้ผลิตทราย University of Strathclyde’s Advance Forming Research Centre (AFRC) และ University of Sheffield “ราคาไทเทเนียมทีถ่ กู กว่าจาก FASTForge จะช่วยปกป้องสถานะผูผ้ ลิตอากาศยานของสหราชอาณาจักรซึง่ อยูใ่ นล�าดับทีส่ องของตลาดโลก รวมทัง้ เพิม่ ศักยภาพของส่วนแบ่งตลาดที่ก�าลังเติบโตเพิ่มขึ้นในอีก 20 ปีข้างหน้า มันยังหมายถึงการรักษาซัพพลายเชนและขยายโอกาสต่างๆ ของสหราชอาณาจักร ได้อีกด้วย” Michael Ward, CTO ของ AFRC กล่าว Source: https://goo.gl/MK49U1
IIoT รุ่นใหม่จากยักษ์ ใหญ่แห่งอุตสาหกรรม ถือเป็นเทรนด์ยุคใหม่ที่ก�าลังมาแรงในยุคนี้ส�าหรับการร่วมมือกันของบริษัทยักษ์ใหญ่ โดย ANSYS และ GE ตกลงจับมือกันพัฒนา Industrial Internet of Things (IIoT) สร้างโมเดล Digital Twin Technology และโมเดลธุรกิจแบบ Disruptive Commercial Digital Twin Technology นั้น จะช่วยให้วิศวกรสามารถจ�าลองและออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่าง มีศักยภาพมากขึ้น โดยลดค่าใช้จ่ายส�าหรับการทดสอบจริงลง และด้วยการใช้เซนเซอร์จ�านวนมาก จะยิง่ ท�าให้การจ�าลองนัน้ มีผลลัพธ์ทมี่ คี วามใกล้เคียงสูง ซึง่ สามารถใช้งานได้ดกี บั ระบบ IIoT โดย ANSYS จะท�าหน้าทีเ่ ก็บข้อมูลทีไ่ ด้มาจากการปฏิบตั กิ ารของวิศวกร GE ทัว่ โลกและสนับสนุนการท�างานร่วมกัน อย่างมีประสิทธิภาพ Source: https://goo.gl/NxpIf7 issue 167 JANUARY 2017
20 SUPPLIER INDEX january 2017
หน้า
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
คอนซูมเมเบิล พาร์ทส (ประเทศไทย) บจก. 0-2942-0196
www.consumableparts.com
“World Class Technology & Innovative Products” ผู้น�าเข้า และเป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าอะไหล่ปั้มลมภายใต้ยี่ห้อ “CMP” แต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย
2
ไซ-อาร์กัส บจก.
0-2319-9933
www.zi-argus.com
Everything Under Control
3
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบ การท�างานในเครื่องจักรและเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
4
กลอบอลซีล บจก.
0-2591-5256-7
www.globalseal.co.th
กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร
5
ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.
0-2717-1400
www.irct.co.th
Leader in Test and Measurement
6
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จาก ประเทศเยอรมนี
7
อีพีเอ็มซี บจก.
0-2322-1678-87 www.epmc.co.th
จ�าหน่าย พร้อมให้ค�าปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�้า และวาล์วที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลัง หมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.
0-2379-1611-12 www.tvp.co.th
จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม
0-2632-9292
SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE
1, 30-33
ชื่อบริษัท
10, 47 ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.
โทรศัพท์
www.virtus.co.th
www.hitachi.co.th
17
โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.
0-2150-7808-10 www.motology.co.th
ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF
21
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
www.interlink.co.th
คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง
22
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.
0-2637-5115
www.ikont.co.jp/eg
“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”
48
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71 www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.
0-2369-2990-4
www.cgsreboardthai.com
“New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board”
81
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach
82
การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2396-1134-6
www.gardnerdenver.com
Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.
83
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้า ส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็น ทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
84
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8
www.alphac.co.th
- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
24-25
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นำเขาและจัดจำหนายโดย
บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)
www.interlink.co.th
E-mail : info@interlink.co.th
Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”
•
Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.
• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115
Fax: +66 (0)2-637-5116
Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.
C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.
Needle Bearings Machine elements essential to any industry
Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large
Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics
26 news & update
THE GRAND METALEX 2016 ครบเครื่องเรื่องโลหการ… ขานรับอุตสาหกรรม 4.0 ผ่ า นพ้ น ไปแล้ ว ส� า หรั บ งาน ‘THE GRAND METALEX 2016’ มหกรรมเครื่องจักรและเทคโนโลยีโลหการระดับภูมิภาค ภายใต้ ค อนเซ็ ป ต์ ‘แปลกใหม่ ใหญ่ ครบ’ จั ด ขึ้ น ระหว่ า ง วันที่ 23-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา ซึง่ ทางทีมงาน Modern Manufacturing ได้ประมวลภาพบรรยากาศงานมาให้ท่านผู้อ่านได้รับชมกัน อย่างเต็มอิ่ม เริ่ ม ต้ น กั น ที่ พิ ธี เ ปิ ด อย่ า งเป็ น ทางการ คณะผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง จาก 26 บริ ษั ท ที่ ร ่ ว มแสดงสิ น ค้ า และหน่ ว ยงานที่ ให้การสนับสนุนการจัดงาน พร้อมใจกันการยืนสงบนิ่งถวาย ความอาลัยและร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
มหาภูมิพลอดุลยเดช และการร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี การขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ ‘ความฝันอันสูงสุด’ จุดที่ได้รับความสนใจจากผู้เข้าชมงานได้เป็นอย่างดี คือ ‘ต้นโพธิ์แห่งความจงรักภักดี’ จุดที่สามารถดึงดูดผู้เข้าชมงานได้ เป็นอย่างดี เพราะบรรดานักอุตสาหกรรมโลหการได้สร้างสรรค์ ผลิตใบโพธิ์เงิน ใบโพธิ์ทอง เพื่อใช้เขียนค�าแสดงความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยผลิตจาก เครื่องตัดโลหะที่แสดงในงาน ซึ่งภายหลังจะน�าไปรังสรรค์เป็น พวงมาลา เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิต มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง
news & update 27
ที่แตกต่างแต่เชื่อมต่อกันได้อย่างสมบูรณ์แบบ สะท้อนถึงบทบาทของ ประเทศไทยในการหุน่ ยนต์อย่างกว้างขวาง พร้อมรองรับอุตสาหกรรม ยุค 4.0 ที่จะเกิดขึ้นนับว่าเป็นประวัติศาสตร์ครั้งส�าคัญให้กับวงการ หุ่นยนต์ไทย และงานแสดงสินค้า ซึ่งจะช่วยเปิดวิสัยทัศน์และจุด ประกายความคิดจากคนในวงการโลหการต่อไป
อีกหนึง่ ไฮไลท์สา� คัญทีฮ่ อลล์ 106 คือ ‘METALEX Robot Orchestra’ การรวมหุน่ ยนต์แขนกล 10 แบรนด์ชนั้ น�าระดับโลก มาประสานจังหวะ ประกอบบทเพลงพระราชนิพนธ์ ‘แผ่นดินของเรา’ เพือ่ เทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นับเป็นครั้งแรก ของโลกกับการผสานพลังความร่วมมืออย่างพร้อมเพรียงกันของ หุน่ ยนต์ 10 แบรนด์ ต่างค่าย ต่างภาษา ประกอบด้วย ABB, COMAU, DENSO, KAWASAKI, KUKA, MITSUBISHI ELECTRIC, NACHI, OTC, UNIVERSAL ROBOTS, และ YASKAWA ซึ่งเขียนโปรแกรม ควบคุมและเชื่อมต่อ โดย ROBOT SYSTEM แสดงวันละ 6 รอบ ในเวลา 10.30 / 12.00 / 14.00 / 16.00 / 17.00 และ 18.00 น. จากการแสดงรวมกั น ของหุ ่ น ยนต์ ใ นครั้ ง เป็ น การแสดงถึ ง สมรรถนะของการควบคุ ม หุ ่ น ยนต์ ที่ แ ม่ น ย� า จากที่ ใช้ โ ปรแกรม
นอกจากนี้ ยังมีการประชุมและสัมมนาที่ดึงดูดผู้บริหารและผู้น�า ของวงการมาร่วมรับฟังบุคคลส�าคัญของวงการและผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขา ต่างๆ มาให้ความรูแ้ ละเปลีย่ นมุมมองด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นแนวโน้ม อุตสาหกรรม ภาพรวมตลาด ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ที่จะช่วย เสริมศักยภาพให้กบั ภาคอุตสาหกรรม ซึง่ มีหวั ข้อทีน่ า่ สนใจ อาทิ ติดปีก ทักษะวิศวกรไทยทะยานส่ยุคยานยนต์สมัยใหม่ พลิกเส้นทางวิศวฯ สู่ยุคดิจิตอล 4.0 โอกาสหุ่นยนต์ทางรอดวิกฤตแรงงาน ฯลฯ
“ความสามารถของหุ่นยนต์ ในปัจจุบันไม่ได้อยู่ที่การเชื่อมต่อ เมื่อเข้าสู่ยุค Industry 4.0 นั่นหมายความว่า แต่ละส่วนประกอบในกระบวนการผลิตจะ สื่อสารกันได้ ซึ่งรัฐบาลได้โปรโมทเรื่องหุ่นยนต์เป็น 1 ใน Super Cluster เราก�าลังจะมีแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการน�าหุ่นยนต์เหล่านี้มาใช้งาน และสร้างแรง จูงใจให้กับดีไซเนอร์ของระบบการผลิตที่ต้องน�าหุ่นยนต์มาช่วยเพิ่มผลิตภาพของ อุตสาหกรรมไทยให้ ได้ เมื่อครั้ง Industry 3.0 หุ่นยนต์เป็นผู้น�าหลักในการ Automated ผลิตภัณฑ์ แต่ประเทศไทยช้า เพราะเรามองว่าหุ่นยนต์เป็นเรื่องไฮเทคแต่ปัจจุบันเรา หนีไม่ได้ที่จะน�าหุ่นยนต์เข้ามา เพราะหุ่นยนต์เป็นองค์ประกอบหลักในการน�าอุตสาหกรรมเข้าสู่ยุค 4.0 ซึ่งภายใน 3-4 ปีนี้ Consult เกี่ยวกับการใช้ระบบอัตโนมัติในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นถึง 2 แสนล้านบาทต่อปี” “ผู้ที่มีกิจการในประเทศไทยจะพบว่าหุ่นยนต์จะเป็นกลไกหลักในการเปลี่ยนความสามารถด้านการผลิต ของประเทศไทยสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ทัง้ นี้ ขอให้สนับสนุนคนไทยในการออกแบบ แม้วา่ ในระยะแรกเรายังไม่มี ความสามารถในการที่จะผลิตหุ่นยนต์ ในประเทศ แต่คนไทยมีความสามารถในการบูรณาการหุ่นยนต์เข้า สู่สายการผลิตได้ รัฐบาลจึงจับจุดนี้ให้เป็นแรงจูงใจส�าหรับผู้ประกอบการที่ใช้ระบบหุ่นยนต์ อย่างไรก็ตาม มั่นใจว่าภายใน 5-10 ปี เราจะมีผู้ออกแบบส่วนประกอบส�าคัญของหุน่ ยนต์ ซึง่ จะเป็นการเพิม่ ขีดความสามารถ ทางการแข่งขันให้ประเทศไทยในตลาดโลก”
ดร.ชิต เหล่าวัฒนา กรรมการคลัสเตอร์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์
issue 167 JANUARY 2017
28 news & update
ทั้งนี้ ยังได้มีการเปิดตัว 30 นวัตกรรม เครื่องจักรใหม่ที่จะพลิกโฉมการผลิตโลหการด้วยประสิทธิภาพสุดล�้า น�าเสนอทุกมิติเกี่ยวกับ โลหการ ทัง้ ตัด เจาะ กลึง พับ เชือ่ ม หรือตรวจวัด จากแบรนด์ชนั้ น�าระดับโลก ทีจ่ ะพลิกโฉมการผลิตโลหการด้วยประสิทธิภาพสุดล�า้ รองรับ อุตสาหกรรม 4.0
ในโอกาสนี้ บริษัท กรีนเวิลด์พับลิเคชั่น จ�ากัด ในฐานะผู้ผลิตนิตยสารอุตสาหกรรมรายเดือนชั้นน�า Modern Manufacturing และ MM Machine Tools & Metalworking และผู้จัดงาน Thailand Industrial Forum ได้มีโอกาสร่วมออกบูธและเปิดตัวเว็บไซต์ Factory Easy เฟส 2 ‘ตลาดออนไลน์ ซือ้ -ขายสินค้าอุตสาหกรรม’ ขึน้ เป็นครัง้ แรกในงานนีด้ ว้ ย โดยเว็บไซต์ใช้ชอื่ เดิมว่า www.factoryeasy.com แต่มกี ารปรับเปลีย่ น ฟังก์ชั่นการใช้งานให้ง่ายขึ้นกว่าเดิม พร้อมทั้งบริการค้นหาสินค้าที่ตรงใจคุณด้วยสินค้าที่หลากหลาย มีให้เลือกมากกว่า 1,000 รายการ ตอบทุกความต้องการของผู้ที่ก�าลังมองหาสินค้าส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั้ง ยังรองรับทุกการใช้งาน ผ่าน PC Tablet Mobile
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
news & update 29
ส�าหรับการจัดงาน THE GRAND METALEX 2016 จัดแสดงเต็มพื้นที่อาคารไบเทคใหม่ ทั้งหมด 10 ฮอลล์ มีการจัดแสดงเครือ่ งจักรและเทคโนโลยีโลหะการกว่า 3,300 แบรนด์ช้ันน�า จาก 50 ประเทศทั่วโลก ให้ผู้ประกอบการ สามารถเลือกใช้ให้สอดคล้องกับธุรกิจของตนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพิ่มมาตรฐานการผลิต ทั้งเทคโนโลยีการ ตัด พับโลหะแผ่น ระบบอัตโนมัติ เครื่องวัดความแม่นย�าใน การผลิต หุ่นยนต์และแขนกลขนาดเล็ก ส�าหรับผู้ประกอบ การธุรกิจขนาดกลางและย่อม SMEs ไปจนถึงเครื่องจักร เทคโนโลยี Hi Precision ส�าหรับผู้ผลิตชิ้นงานที่มีความ ละเอียดและแม่นย�าสูง
issue 167 JANUARY 2017
30 cover story
คอนซูมเมเบิล พาร์ท‘เมดสอิน ไทยแลนด์’ ปักธงปั๊มลม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
cover story
จากความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมระบบลม และกว่า 18 ปี ที่บริษัท คอนซูมเมเบิลพาร์ทส (ประเทศไทย) จ�ากัด น�าเข้า สินค้าปั๊มลมเกรดเอจากประเทศจีนภายใต้แบรนด์ DeHaHa สัง่ สมชือ่ เสียงจากการบริการซ่อมบ�ารุงและการดูแลหลังการขาย รวมถึงให้ค�าปรึกษาด้านการวางระบบลมครบวงจร มีผลงาน การันตีมากมาย อาทิ ระบบลมในโรงงานผลิตของ SCG ที่ จ.สระบุรี โรงงานเคมิคัลของบริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) โรงงานผลิตท่อพลาสติก TPC ศูนย์ให้บริการซ่อมรถยนต์นสิ สัน โตโยต้า ฮอนด้า BMW รวมถึงระบบลมในโรงพยาบาล และ คณะทันตแพทย์ของมหาวิทยาลัยหลายแห่ง มาอย่างยาวนาน นอกเหนือจากสร้างความแข็งแกร่งให้แบรนด์ DeHaHa แล้ว วันนี้คอนซูมเมเบิลพาร์ทสมีแผนใหญ่ขยับจากการเป็นตัวแทน จ�าหน่ายไปเป็นผู้ผลิตปั๊มลมคุณภาพเกรดเอ ‘เมดอินไทย แลนด์’ ฉบับนี้มาพูดคุยกับคีย์แมนคนส�าคัญที่ก�าลังสานฝันให้ เป็นจริง คุณอภิชาต ธิติลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอนซูมเมเบิลพาร์ทส (ประเทศไทย) จ�ากัด ไปพร้อมๆ กัน เปิดแผนกโปรดักชั่นคุณภาพต้องมาก่อน คุณอภิชาต กล่าวถึงความคืบหน้าของโปรเจกต์ใหญ่ว่า ขณะนี้ทางบริษัทเปิดแผนกโปรดักชั่นเพื่อเซ็ทอัพสายการผลิต และประกอบปัม๊ ลมและก�าลังอยูใ่ นช่วงการส่งบุคลากรรวมไปถึง ช่างเทคนิคของคอนซูมเมเบิลพาร์ทสไปเรียนรู้งานโดยตรงจาก โรงงานของ DeHaHa ซึ่งได้รับการต้อนรับพร้อมเรียนรู้เทคนิค ต่างๆ จากโรงงานที่ประเทศจีนอย่างเต็มที่ “เราเซ็ททีมโปรดักชั่นเรียบร้อยแล้ว มีหัวหน้าช่างพร้อม แล้ว ช่างเทคนิคมีแล้ว เราส่งทั้งหมดไปเรียนรู้งานและสั่งสม ประสบการณ์ทั้งการเซ็ทค่าเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ ต่างๆ การวางประกอบเครื่องการออกแบบการใช้เครื่องมือ การวางแผนให้ชุดสกรูและมอเตอร์ท�างานร่วมกัน สิ่งเหล่านี้ เป็นเรื่องทางเทคนิคที่เราต้องไปเรียนรู้และเก็บเกี่ยวจากเขามา ให้มากที่สุดในเมื่อเขาพร้อมให้เราต้องให้คนของเราเปิดรับ ให้มากที่สุด”
31
เราเซ็ททีมโปรดักชั่นเรียบร้อย แล้ว มีหัวหน้าช่างพร้อมแล้ว ช่างเทคนิค มี แ ล้ ว เราส่ ง ทั้ ง หมดไปเรี ย นรู ้ ง าน และ สัง่ สมประสบการณ์ ทัง้ การเซ็ทค่าเครือ่ งมือ เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ การวาง ประกอบเครื่องการออกแบบการใช้เครื่องมือ การวางแผนให้ชุดสกรูและมอเตอร์ท�างาน ร่วมกัน สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องทางเทคนิคที่เรา ต้องไปเรียนรู้และเก็บเกี่ยว จากเขามาให้มากที่สุด ในเมื่อเขาพร้อมให้เรา ต้องให้คนของเรา เปิดรับให้มากที่สุด”
คุณอภิชาต ธิติลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอนซูมเมเบิล พาร์ทส (ประเทศไทย) จ�ากัด
issue 167 january 2017
32 cover story
คอนซูมเมเบิลพาร์ทสบุกอาเซียน นอกจากคุณภาพของสินค้าแล้วคอนซูมเมเบิลพาร์ทสยัง คงเน้นการประชาสัมพันธ์ให้แบรนด์เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ผ่านกิจกรรมทางการตลาดมากมายไม่ว่าจะเป็นการออกบูท การสร้างความสัมพันธ์อย่างยัง่ ยืนกับลูกค้า การออกนิทรรศการ รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ ต่างๆ โดยต้องการน�าเสนอ ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับรู้ว่าแม้คอนซูมเมเบิลพาร์ทสจะหันมา ผลิตปั๊มลม ‘เมดอินไทยแลนด์’ เองแต่ก็ยังผลิตภายใต้แบรนด์ DeHaHa ซึง่ เป็นแบรนด์ทม่ี มี าตรฐานไม่เป็นสองรองใครแน่นอน “แม้ตอนนีเ้ ราจะหันมาผลิตปัม๊ ลมด้วยตนเองแต่เทคโนโลยี และความรูต้ า่ งๆ เราได้รบั การสนับสนุนจากโรงงานใหญ่ แม้วา่ ในอนาคตเราจะผลิตเองแต่เราก็ผลิตภายใต้แบรนด์ DeHaHa จากการโปรโมทท�าให้แบรนด์นี้เริ่มเป็นที่รู้จักในประเทศไทย มากขึ้นถึงจะเพิ่งเริ่มจ�าหน่ายได้เพียง 2 - 3 ปี แต่เชื่อว่าโอกาส ทางธุรกิจจะต้องเติบโตยิ่งขึ้น” นอกจากนี้ เทรนด์การผลิตในภาคอุตสาหกรรมทีม่ แี นวโน้ม เปลีย่ นไปใช้เครือ่ งจักรและออโตเมชัน่ มากขึน้ เป็นหนึง่ ในเหตุผล ที่ท�าให้คอนซูมเมเบิลพาร์ทสตัดสินใจลงทุนสร้างสายการผลิต และประกอบสินค้าปั๊มลมด้วยตัวเองนอกจากเพื่อจ�าหน่าย ในประเทศและลดการน�าเข้าแล้วยังเป็นโอกาสที่จะขยายฐาน ส่งออกไปสู่ประเทศอาเซียนด้วย
เกี่ยวกับสินค้าที่จะประเดิมตลาด คุณอภิชาต กล่าวว่า เบือ้ งต้นคอนซูมเมเบิลพาร์ทสจะผลิตเจเนอรัลสกรูคอมเพรสเซอร์ ซึ่งเป็นปั๊มลมที่ใช้ในงานอุตสาหกรรมทั่วไปขนาดไม่เกิน 100 แรงม้า ทั้งนี้ ไม่ได้ตั้งเป้าเรื่องปริมาณเพราะต้องการโฟกัสที่ คุณภาพก่อนเป็นล�าดับแรก “เราไม่ได้วางแผนเรื่องปริมาณการผลิตในสายการผลิต เรา ยังไม่รบี เรือ่ งปริมาณแต่หากใช้วดั กันจริงๆ ต่อปีในประเทศไทย เราขายได้ประมาณ 100 เครือ่ ง สายการผลิตจะค่อยๆ ทดแทน จากน�าเข้าเราโฟกัสเรื่องคุณภาพเป็นหลักจึงยังไม่ได้กังวลเรื่อง ยอดขายมากนัก เพราะการผลิตสินค้าที่ได้คุณภาพเป็นเรื่อง ที่เราให้ความส�าคัญเป็นล�าดับแรก หากเราผลิตออกมาแล้ว ได้คุณภาพไม่เท่าเดิมนั่นเป็นเรื่องใหญ่ ตอนนี้บริษัทก�าลังอยู่ ในช่วงเทรนนิ่งต้องไปเรียนรู้ เราจึงต้องส่งคนของเราไปเรียนรู้ ให้มีความช�านาญมากพอก่อนจะกลับมาโฟกัสกันที่เรื่องการ ท�าตลาด” นอกจากนี้ คุณอภิชาต ยังกล่าวถึงการรับรองมาตรฐานด้วย ว่า “นอกจากปั๊มลมแบรนด์ DeHaHa จะได้รับการรับรอง CE ส�าหรับส่งออกและ ISO มาตรฐานโรงงานแล้วยังมี ISO 1217 ซึ่งเป็นมาตรฐานส�าหรับปั๊มลมโดยเฉพาะซึ่งกว่าครึ่งหนึ่งของ แบรนด์ ป ั ๊ ม ลมที่ จ� า หน่ า ยอยู ่ ใ นไทยยั ง ไม่ ผ ่ า นมาตรฐานนี้ ” คุณอภิชาต ยืนยันในเรื่องคุณภาพสินค้า ที่บริษัทใส่ใจเป็น อันดับหนึ่ง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
cover story 33
“ทุกอย่างที่ใช้ค�าว่าอัตโนมัติต้องใช้ลมในการขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่ไฟฟ้าความต้องการปัม๊ ลมมากขึน้ ตลาดกว้างขึน้ โอกาส มากขึน้ ดีกว่าเมือ่ 5-6 ปีทผี่ า่ นมา เราเลยมัน่ ใจทีจ่ ะเปิดสายการ ผลิตของตัวเองเราไม่ได้มุ่งหวังแค่จ�าหน่ายในไทยแต่เรายังมอง ไปที่ตลาดอาเซียนด้วยที่สนใจอยู่ตอนนี้ก็คือเวียดนาม ซึ่งเป็น ตลาดที่มีความพร้อมมากแล้ว” คุณอภิชาต วิเคราะห์ ทั้งนี้ คุณอภิชาตเชื่อว่า ผลกระกอบการของบริษัทฯ ปีนี้ จะสามารถท�าได้ตามเป้าที่ก�าหนดไว้ คือ โตปีละอย่างน้อย 15% ตามที่คาด ส่วนปีหน้า และปี 2561 คาดการณ์ว่ากิจการ จะยิ่งเติบโต โดยดูได้จากการท�าความตกลงกับหลายๆ กลุ่ม อุตสาหกรรม ทั้งภาครัฐและเอกชน ไม่มีทางลัดส�าหรับการสร้างความเชื่อมั่น เกี่ยวกับการตลาดของคอนซูมเมเบิลพาร์ทส คุณอภิชาต กล่าวว่า บริษทั มีการท�าการตลาดโดยมุง่ เน้นทีค่ วามต้องการของ กลุม่ เป้าหมายเป็นหลัก ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั การท�าการตลาดของทาง คู่แข่ง รวมทั้งให้ความส�าคัญกับสภาพเศรษฐกิจโดยรวมร่วม ด้วย ดังประโยคที่ คุณอภิชาต กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า “ด้านการ ท�าการตลาด เราสนใจแค่กลุม่ เป้าหมายของเรา เราพยายามจะ เข้าให้ถึงเขาเข้าไปด้วยการให้ความรู้ให้ค�าแนะน�าปรึกษาเรื่อง การวางระบบ” คุณอภิชาต เชื่อว่า การสร้างแบรนด์ต้องใช้เวลา และไม่มี ทางลัดส�าหรับการสร้างความเชื่อมั่นในแบรนด์ ฉะนั้น บริษัท ยังเน้นกลยุทธ์เดิม คือ การบริการหลังการขาย การให้คา� ปรึกษา และการให้ความรู้เรื่องระบบลม แม้ว่าแบรนด์จะไม่เป็นที่รู้จัก อย่างรวดเร็วทันใจ แต่เชือ่ ว่าผลจากการท�างานหนักด้านบริการ ด้วยหัวใจนี้ จะสะท้อนคุณภาพและสร้างความมั่นใจให้ลูกค้า ได้อย่างยั่งยืน “ผมเชื่อว่าต้องใช้เวลายุคนี้ใครจะติดแบรนด์อะไรเข้าไปใน สินค้าก็ได้ ฉะนั้น เราจะไม่พูดว่าเราจะสร้างให้แบรนด์เข้มแข็ง ใน 1 ปี 2 ปีหรือ 3 ปี เราไม่ตั้งเป้าแบบนั้น แต่เราจะตั้งเป้ามอบ ความจริงใจ ดูแลลูกค้าอย่างใกล้ชดิ มอบความรูใ้ ห้คา� ปรึกษาไป เรือ่ ยๆ ขายสินค้าคุณภาพของเรา เพราะเราเชือ่ ว่าในทีส่ ดุ เสียง จากลูกค้ามันจะสะท้อนคุณภาพและความมั่นใจในแบรนด์ด้วย ตัวเองว่าแบรนด์เราดีจริง” คุณอภิชาต กล่าวว่า บริษัทให้ความส�าคัญเรื่องบริการ หลังการขายมาก เปลีย่ นถ่ายน�า้ มันเครือ่ ง เปลีย่ นอะไหล่ เราการันตี ดูแลฟรี 5 ปี และใช้การดูแลเชิงพยากรณ์ เพื่อตรวจเช็กสภาพ ระบบปัม๊ ลมก่อนทีจ่ ะเกิดปัญหา ซึง่ บางเจ้าเอาแบรนด์ DeHaHa ไปขายแล้วทิ้งลูกค้า โดยที่ลูกค้าไม่รู้ว่าบริษัทไหนจ�าหน่าย แต่รบั รูว้ า่ เป็นแบรนด์ DHH เพือ่ ขจัดปัญหาทีเ่ กิดขึน้ บริษทั จึงเน้น จ�าหน่ายเองและเลือกดีลเลอร์ที่เชื่อมั่นและวางใจได้เท่านั้น การตลาดเชิง (ไม่) รุก อีกกลยุทธ์ที่บริษัทใช้ คือ Influencer Marketing โดย คุณอภิชาต เล่าว่า บริษัทก�าลังให้ความรู้กับคนที่คุยกับลูกค้า แต่ไม่ใช่แนวเทรดดิง้ เช่นผูร้ บั เหมา ซึง่ บุคคลเหล่านีต้ ดิ ต่อสือ่ สาร กั บ ลู ก ค้ า โดยตรงหากบริ ษั ท มี ก ารให้ ค วามรู ้ แ ก่ ค นเหล่ า นี้ ที่สุดแล้วเขาก็จะไปบอกความรู้ต่อให้ลูกค้าและบอกต่อแบรนด์ DeHaHa ไปด้วยในตัว จากข้ อ มู ล ข้ า งต้ น ดู เ หมื อ นคี ย ์ แ มนผู ้ นี้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ อย่างยิง่ กับเรือ่ ง ‘ความรู’้ นอกจากจะมุง่ มัน่ ในการให้ความรูแ้ ละ ค�าปรึกษาแก่ลูกค้าอย่างจริงใจแล้ว คุณอภิชาต ยืนยันว่า พนักงานขายของคอนซูมเมเบิลพาร์ทสก็ต้องพัฒนาความรู้
ตัวเองอยู่ตลอดเวลาไม่ใช่แค่รู้เรื่องปั๊มลมแต่ต้องรู้จักเครื่องจักรและ สินค้าที่ลูกค้าก�าลังผลิตอยู่ด้วย “เซลล์แมนของเราต้องรูจ้ กั สินค้าของลูกค้าด้วยไม่วา่ จะเครือ่ งกลึง ลิฟต์ยก หรืออื่นๆ ต้องรู้ว่าเครื่องจักรของลูกค้าต้องการลมเท่าไร ใช้ปม๊ั ลมขนาดไหนถ้าลูกค้าไม่รแู้ ละเราก็ไม่รกู้ ไ็ ม่ตอ้ งไปไหนกัน อย่าง เดนทัลเราก็ต้องศึกษาว่าเครื่องมือเขาใช้ลมเท่าไรต่อนาที หมอเขา ก็ไม่รวู้ า่ ต้องใช้ลมเท่าไรเป็นเราทีต่ อ้ งให้ความรูเ้ รือ่ งนีก้ บั หมอเราเป็น ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านระบบลมเราต้องรูน้ จี่ งึ เป็นเหตุผลทีว่ า่ ท�าไมเราจึงต้อง เรียนรู้สินค้าของลูกค้า” คุณอภิชาต กล่าว จากการพู ด คุ ย ท� า ให้ เ ห็ น ธงของ คอนซู ม เมเบิ ล พาร์ ท ส (ประเทศไทย) อย่างชัดเจนมากขึ้น ธงหนึ่งยืนยันว่า บริการหลังการขายและการให้ค�าปรึกษา เรื่องระบบลมแบบไม่หวงความรู้แก่ลูกค้า คือ หัวใจส�าคัญ กับอีกธง ที่ต้องการพิสูจน์ว่า ประเทศไทยเดินหน้าได้จริง ด้ ว ยการผลิ ต แบบ ODM นั่ น ก็ คื อ การมองไกลไปถึ ง อนาคต หวังสร้างปัม๊ ลมคุณภาพเมดอินไทยแลนด์สง่ ออกขายทัว่ อาเซียน วันนี้... เริ่มเป็นรูปเป็นร่างให้เห็นแล้ว issue 167 january 2017
34 EXClUsIVE TALK
ไทยแลนด์ 4.0 ต้องเริ่มจาก ‘วิจยั และพัฒนา’
แล้วออกไปแตะขอบฟ้า ‘อย่ากลัว’ การจัดท�ายุทธศาสตร์การสร้างโอกาสทางการค้าการ ลงทุนรายประเทศ โดยส�านักงานนโยบายและยุทธศาสตร์ การค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ ร่ ว มกั บ สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ ไอ) มีแนวนโยบายและ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ที่ รั ฐ บาลต้ อ งการน� า พาประเทศไทย หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลาง โดยผลักดัน แนวคิดประเทศไทย 4.0 วางอุตสาหกรรมให้เป็น S-Curve นั้น สะท้อนชัดว่า หากยังเดินทางเก่า เราอาจไปไม่รอด ความเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลกระทบหลากหลายมิติ แต่ไม่ว่า ดีหรือร้าย ไม่อาจมีใครหนีพ้นความเปลี่ยนแปลงนี้ เราจึง ต้องเปลี่ยนตัวเองก่อนจะมีคนมาเปลี่ยนเรา ฉบับนี้ พูดคุยกับ ‘ดร.สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์’ ประธาน สถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาประเทศไทย (ที ดี อ าร์ ไ อ) เกี่ ย วกั บ ไทยแลนด์ 4.0 ในมุ ม ของนั ก วิ จั ย รวมถึ ง การใช้ประโยชน์ AEC Connect ต่อภาคเศรษฐกิจไทย ให้ ได้มากที่สุด
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
EXClusIVE TALK 35
เช่นกัน ส�ำหรับประเทศไทยขณะนี้ บำงส่วนรู้ตัวเร็วและกล้ำเสี่ยงออกไป ฐำนพีระมิดแคบลง ตัง้ โรงงำนในประเทศเพือ่ นบ้ำนแล้ว ทัง้ ตำมตะเข็บชำยแดนเมียนมำ แม่สอด ควำมท้ำทำยใหม่ของภำคอุตสำหกรรม เมียวดี ด่ำนเจดีย์สำมองค์ หรือฝั่งกัมพูชำ ปอยเปต บันเดียน เวียดนำมใต้ เพรำะภำคอุ ต สำหกรรมเปรี ย บเสมื อ นเป็ น เส้ น เลื อ ดใหญ่ ที่ น� ำ พำ โฮจิมินห์ ส่วนลำวก็ข้ำมมุกดำหำรไปสะหวันเขต หรือเวียงจันทน์” รำยได้หลักมำสู่ประเทศ ดังนั้น กำรพัฒนำจำกกำรผลิตในรูปแบบ OEM มำสู่ ODM จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ ดร.สมเกียรติ คือหนึ่งคนที่ยืนยันอีกเสียง ค�ำตอบของไทยแลนด์ 4.0 ไม่ใช่หุ่นยนต์ หนึ่งว่ำ ขณะนี้ประเทศไทยก�ำลังเผชิญกับปัญหำใหญ่ทำงด้ำนควำมเจริญ แต่คือกำรวิจัยพัฒนำเพื่อเพิ่มมูลค่ำ และสร้ำงแบรนด์ เติบโตทำงอุตสำหกรรม หำกผู้ผลิตยังยืนยันที่จะรับจ้ำงผลิต หรือ OEM ใครๆ ก็สำมำรถพูดได้วำ่ หำกไม่อยำกติดกับดักตลำดล่ำง ไทยต้องผลิต จะท�ำให้ภำคอุตสำหกรรมไทยไม่ไปไหนอย่ำงแน่นอน “ต้ อ งยอมรั บ ว่ ำ ประเทศไทยมี ร ำยได้ ห ลั ก จำกภำคอุ ต สำหกรรม สินค้ำที่มีมูลค่ำ หันมำท�ำสินค้ำตลำดไม่ว่ำจะเป็น Niche Market หรือ โดยยั ง เน้ น กำรผลิ ต แบบ High-End แต่ในเมือ่ เรำเคย รั บ จ้ ำ งผลิ ต ซึ่ ง ท� ำ ให้ เรำ เป็ น ฐำนกำรรั บ จ้ ำ งผลิ ต มำตลอด เรำจะเคลื่ อ น เหนื่ อ ย และพบปั ญ หำ ไปสู่ ODM ได้อย่ำงไร นั่น มำกขึน้ ปัญหำแรกทีท่ กุ คน อุตสาหกรรมไทยต้องปรับตัว อย่างแรกคือ ย้ายฐาน ต่ำงหำกคือค�ำถำม ต่ ำ งเห็ น ด้ ว ยคื อ ปั ญ หำ ดร.สมเกียรติ กล่ำวถึง ขำดแคลนแรงงำนทุกระดับ การผลิ ต ที ่ ต ้ อ งใช้ แ รงงานเยอะๆ ออกไปลงทุ น ตั ้ ง โรงงานผลิ ต เรื่ อ ง นี้ ว ่ ำ “ เร ำ เ ค ย มี ตั้งแต่ผู้จัดกำร วิศวกร ช่ำง ควำมเชื่ อ ว่ ำ กำรจู ง ใจ เทคนิค และแรงงำนระดับ ในประเทศเพื่อนบ้าน เพราะเขามีแรงงาน และต้นทุนการผลิต ใ ห ้ ต ่ ำ ง ช ำ ติ ม ำ ล ง ทุ น ล่ำง นั่นเพรำะโครงสร้ำง ถู ก รวมถึ ง ยั ง มี ส ิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี (GSP) ที ่ ง ดเว้ น ภาษี ตั้งโรงงำนในไทยจะท�ำให้ ประชำกรของเรำเปลี่ ย น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ท ย เ ติ บ โ ต รูปร่ำง อัตรำกำรเกิดต�ำ่ และ น�าเข้าจากประเทศเหล่านีด้ ว้ ย ส่วนโรงงานในประเทศไทยทีเ่ ดิม สร้ำงงำน สร้ำงรำยได้ แต่ มีแนวโน้มจะต�่ำลงเรื่อยๆ ขณะนี้ เรำมีโจทย์ใหม่ เรำ เรำเข้ ำ สู ่ สั ง คมสู ง อำยุ เคยรับจ้างผลิตก็ต้องหันมาท�าวิจัยและพัฒนาเพื่อผลิตของ ขำดแคลนแรงงำนและ เต็มรูปแบบ ปีนี้เป็นปีแรก ที่ยากขึ้น จ�าเพาะเจาะจงขึ้น มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น” ต้ น ทุ น ค่ ำ จ้ ำ งแรงงำนสู ง ในประวัติศำสตร์เมืองไทย จึงต้องคิดใหม่ คิดกลับกัน ที่ ป ระชำกรวั ย แรงงำน อุ ต สำหกรรมไทยต้ อ ง ของเรำลดลง นอกจำกนี้ ปรั บ ตั ว อย่ ำ งแรก คื อ ยังมีปัจจัยภำยนอกเข้ำมำ ย้ำยฐำนกำรผลิตที่ต้องใช้ เรื่ อ ยๆ เช่ น เมี ย นมำมี แรงงำนเยอะๆ ออกไปลงทุนตัง้ โรงงำนผลิตในประเทศเพือ่ นบ้ำน เพรำะเขำ ประชำธิปไตย ท�ำให้อเมริกำเลิกคว�่ำบำตร เศรษฐกิจในประเทศเขำดีขึ้น มีแรงงำน และต้นทุนกำรผลิตถูก รวมถึงยังมีสทิ ธิประโยชน์ทำงภำษี (GSP) เขำก็ ก ลั บ ไปท� ำ งำนที่ บ ้ ำนเขำ เหตุ ก ำรณ์ นี้ จึ ง ท� ำ ให้ ป ระเทศไทยได้รับ ที่งดเว้นภำษีน�ำเข้ำจำกประเทศเหล่ำนี้ด้วย ส่วนโรงงำนในประเทศไทย ผลกระทบทั้งภำคอุตสำหกรรมและภำคครัวเรือน ปัญหำที่สอง เศรษฐกิจไทยจะเติบโตแค่ 3% ไปอีก 5-10 ปี ในขณะที่ ที่ เ ดิ ม เคยรั บ จ้ ำ งผลิ ต ก็ ต ้ อ งหั น มำท� ำ วิ จั ย และพั ฒ นำ เพื่ อ ผลิ ต ของ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์เติบโตได้ 6% ลำว กัมพูชำ เมียนมำ เติบโตได้ถึง ที่ยำกขึ้น จ�ำเพำะเจำะจงขึ้น มีมูลค่ำเพิ่มมำกขึ้น 8% ฉะนัน้ อุตสำหกรรมไทยทีโ่ ดยปกติจะหวังก�ำไร 10% เป็นไปได้ยำกมำก อย่ำงอุตสำหกรรมแฟชั่น ตัดเย็บเสื้อผ้ำใช้แรงงำนมำก ตอนนี้แรงงำน เพรำะขำยในประเทศได้แค่ 3% หรือหำกจะผลิตไปขำยให้อเมริกำ ยุโรป ระดับล่ำงขำดแคลน เรำต้องไปเปิดโรงงำนในประเทศเพื่อนบ้ำนแทน ทีนี้ หรือญี่ปุ่น ต้นทุนเรำก็สู้เพื่อนบ้ำนไม่ได้ ค่ำจ้ำงแรงงำนประเทศเพื่อนบ้ำน จะท�ำอย่ำงไรให้โรงงำนในไทยไม่หดตัว บริษทั หรือโรงงำนทีเ่ คยรับจ้ำงผลิต แบบ OEM ก็ตอ้ งหันมำสร้ำงแบรนด์ มำออกแบบเสือ้ ผ้ำเอง เรำต้องเปลีย่ น ถูกกว่ำ ถ้ำเรำยังผลิตแบบเดิม ใช้แรงงำนเยอะๆ เรำเสียเปรียบประเทศ ตัวเองให้เป็นชำติกำรค้ำ ต้องเป็น Trading Nation ต้องท�ำให้แบรนด์ไทย เพื่อนบ้ำนแน่นอน” ดร.สมเกียรติ ประธำนทีดีอำร์ไอวิเครำะห์ กลำยเป็นแบรนด์อำเซียน กลำยเป็นแบรนด์โลก และถ้ำคุณจะเอำของออกไป ดร.สมเกียรติ ยังกล่ำวถึงประเด็นนีเ้ พิม่ เติมว่ำ “ปัญหำทีไ่ ทยก�ำลังเจอ ขำยให้ได้ดี คุณต้องเข้ำใจตลำด ฉะนัน้ หำกยังตัง้ หน้ำตัง้ ตำผลิตอย่ำงเดียว คือ ปัญหำเดียวกับทีญ ่ ปี่ นุ่ เคยประสบเมือ่ 30-40 ปีทแี่ ล้ว ทัง้ กำรเป็นสังคม โดยไม่ท�ำตลำด จะเติบโตยำก อำจไม่ได้เจ๊งหมด แต่มันจะท�ำยำกขึ้นทุกที สูงอำยุ และขำดแคลนแรงงำน ท�ำให้อุตสำหกรรมในประเทศติดล็อก เห็น วันนีเ้ ขำแข่งกันทีอ่ ะไร ให้ดู iPhone กับ Samsung เขำแข่งอะไรกัน ไม่ใช่ ได้วำ่ คนญีป่ นุ่ ทีเ่ ข้ำมำอยูใ่ นบ้ำนเรำนัน้ มำท�ำงำนเป็นวิศวกร เป็นผูจ้ ดั กำร แข่งกันผลิตสินค้ำตัวเดิมให้ถูกลงๆ แต่ยิ่งผลิตต้องยิ่งล�้ำ สร้ำงนวัตกรรม โรงงำน มำควบคุมกำรผลิต เพรำะต้องหนีจำกประเทศตัวเองที่ติดล็อก
issue 167 January 2017
36 EXClUsIVE TALK
มีฟีเจอร์ใหม่ๆ จะชนะได้ต้องมีของใหม่ ซึ่งของใหม่ที่ว่ำจะเกิดขึ้นได้จำก กำรวิจัยและพัฒนำนั่นเอง” ดร.สมเกียรติ วิเครำะห์ นอกจำกนี้ ดร.สมเกียรติ ยังเล่ำเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นนี้อีกว่ำ กำร รับจ้ำงกำรผลิตนัน้ อำจท�ำให้ได้ Gross Margin อย่ำงมำก 10 - 15% ซึง่ ต้อง ถูกบริษทั แม่กดรำคำลงเรือ่ ยๆ ด้วยค�ำขูเ่ ดิมๆ ทีว่ ำ่ จ้ำงทีอ่ นื่ ผลิตถูกกว่ำ แต่ หำกมองกลับกัน คือ หันมำสร้ำงแบรนด์ของตนเองจะท�ำให้ Gross Margin เพิม่ ขึน้ เป็น 30% ได้ไม่ยำก และหำกมีหน้ำร้ำนทีต่ ำ่ งประเทศด้วยแล้ว อำจ ท�ำให้ขยับเป็น 50% ก็เป็นไปได้ “คุณต้องเพิ่มมูลค่ำสินค้ำ ไม่ใช่รับจ้ำงผลิต อย่ำง SCG เขำตั้งเป้ำเลย ว่ำ จะผลิตสินค้ำ HVA (High Value Added) ต้องเป็นสินค้ำที่มี Margin สูงกว่ำสินค้ำทั่วไป 10% เช่น สินค้ำในไลน์ปกติได้ก�ำไร 5% สินค้ำ HVA ต้องก�ำไรอย่ำงน้อย 15% ขึน้ ไป เช่น SCG Packaging เดิมคือ SCG Paper เขำเปลี่ยนจำกท�ำกระดำษเป็นท�ำบรรจุภัณฑ์ สินค้ำขำยดีคือ Flexible Packaging คือเป็นกล่องทีไ่ ม่มรี ปู ร่ำงตำยตัว ยืดหยุน่ ได้ ลูกค้ำก็ซอื้ บรรจุภณ ั ฑ์ ไปห่อมะพร้ำวน�้ำหอมเพื่อส่งออก เดิมอยู่ได้ 15 วัน พอใช้เทคโนโลยี และกำรวิจัยเข้ำมำพัฒนำผลิตภัณฑ์ ปรำกฏว่ำเก็บมะพร้ำวได้ 45 วัน ผลประโยชน์มหำศำล ต้นทุนถูกลง และก�ำไรดีขึ้น จะส่งไปขำยที่ไหนก็ได้ นอกจำกนี้ บรรจุภัณฑ์แบบนี้ ไม่ใช่ใครๆ ก็ท�ำได้ ต้องวิจัย ต้องทดลอง ต้องพัฒนำ พอได้แล้วมำจดสิทธิบัตร
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ปัญหาแรกที่ทุกคนต่างเห็นด้วย คือ ปัญหาขาดแคลนแรงงานทุกระดับ ตั้งแต่ผู้จัดการ วิศวกร ช่างเทคนิค และแรงงานระดับล่าง นัน่ เพราะ โครงสร้างประชากรของเราเปลีย่ นรูปร่าง อัตรา การเกิดต�า่ และมีแนวโน้มจะต�า่ ลงเรือ่ ยๆ เราเข้าสู่ สังคมสูงอายุเต็มรูปแบบ”
EXClusIVE TALK 37
นีแ่ หละคือ ไทยแลนด์ 4.0 ต้องไปด้วยวิจยั และพัฒนำเพือ่ ให้ได้ของใหม่ ที่มีมูลค่ำเพิ่ม” ดร.สมเกียรติ ยกตัวอย่ำง ออกไปแตะขอบฟ้ำ อย่ำกลัว ดร.สมเกี ย รติ ประธำนที ดี อ ำร์ ไ อยั ง วิ เ ครำะห์ ด ้ ว ยว่ ำ วิ สั ย ทั ศ น์ S-Curve และนโยบำยไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบำลมำถูกทำงแล้ว เพรำะท�ำให้ ผู้ประกอบกำรฉุกคิด ทว่ำตัวนโยบำยรัฐกลับยังขัดแย้งกันเองอยู่ “ทีส่ บั สน คือ รัฐบำลเอำไทยแลนด์ 4.0 ไปผสมกับนโยบำยเขตเศรษฐกิจ พิเศษ เช่น ที่แม่สอด รัฐบำลอยำกให้มีแรงงำนเมียนมำเดินทำงจำกเมียวดี มำท�ำงำนทีแ่ ม่สอด ถ้ำเป็นอย่ำงนัน้ เรำยังใช้แรงงำนต่ำงด้ำวรำคำถูกมำผลิต สินค้ำจ�ำนวนมำกขำยรำคำถูกๆ อยู่ นั่นแปลว่ำเรำไม่ได้หวังจะผลิตสินค้ำ เกรดดีๆ นี่คือสัญญำณที่สับสน สิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ คื อ ต้ อ งขนเงิ น ของคุ ณ ออกไปตั้ ง โรงงำนที่ ป ระเทศ เพื่อนบ้ำน ไม่ใช่เอำคนงำนจำกเพื่อนบ้ำนเข้ำมำ ส่วนโรงงำนในไทย คุณต้องต่อยอดให้โรงงำนเรำท�ำของที่ยำกขึ้น คุณต้องย้ำยโรงงำนไปอยู่ ประเทศเพือ่ นบ้ำน ไม่ใช่ไปอยูใ่ นเขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย เพรำะนัน่ หมำยควำมว่ำ คุณจะเจอค่ำแรงขั้นต�่ำ 300 บำทเหมือนเดิม และคุณจะ ไม่ได้สิทธิประโยชน์ทำงภำษี ตัวอย่ำงที่ผมยก คือ SCG เขำเอำของง่ำยๆ ออกไปลงทุนประเทศ เพื่อนบ้ำนหมดแล้ว ตอนนี้ฐำนกำรผลิต SCG อยู่ครบทุกประเทศอำเซียน แล้ว ขำดแค่บรูไนประเทศเดียว ในอินโดนีเซียไปซือ้ โรงงำนเขำเลย เพรำะถ้ำ จะไปขออนุญำตโรงงำนปูน น่ำจะใช้เวลำเป็น 10 ปี ซึง่ ไม่ทนั กิน ซือ้ โรงงำน เลยง่ำยกว่ำ แต่โรงงำนเหล่ำนั้น ยังมีคุณภำพกำรผลิตไม่ถึงขั้น SCG ก็น�ำ เทคโนโลยีกำรบริหำรจัดกำรโรงงำนเข้ำไปใส่ เข้ำไปบริหำร เขำไปปรับปรุง โรงงำน เพิ่มประสิทธิภำพ ส่วน SCG ในไทย ก็ท�ำ R&D ต่อไป เพื่อท�ำของ ที่ยำกขึ้น นี่คือ 4.0” หำกค�ำตอบคือ “ต้องออกไป” แล้วเรำรออะไรกันอยู่ เพรำะกำรเริ่มต้นอะไรใหม่ๆ เป็นเรื่องยำก ดร.สมเกียรติ เล่ำว่ำ ปัจจุบันหลำยกลุ่มยังลังเล และรู้ตัวช้ำกว่ำ เพรำะคิดว่ำอยู่เมืองไทย สบำยกว่ำ ทั้งด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำนและอำหำรกำรกิน หลำยบริษัทที่ ตั ด สิ น ใจออกไปลงทุ น แต่ เจอปั ญ หำว่ ำ พนั ก งำนไม่ ย อมตำมไปด้ ว ย เหมือนที่ยกตัวอย่ำงประเทศญี่ปุ่นซึ่งตอนนี้ประเทศไทยเข้ำสู่จุดนั้นแล้ว “เราต้องวิ่งออกไป ไม่งั้นเราโตไม่ได้...” ผู้จัดกำร หัวหน้ำคนงำน ทุกคนอยำกอยู่เมืองไทย คุณต้องออกไป บริษัทใหญ่อย่ำง SCG มีนโยบำยเลยว่ำ คุณจะได้เลื่อนขั้นก็ต่อเมื่อ เคยอยู่ต่ำงประเทศมำก่อน คุณกำนต์ ตระกูลฮุน CEO คนใหม่ เคยไปอยู่ อิ น โดนี เซี ย มำก่ อ น ไปท� ำ ควำมเข้ ำ ใจตลำดก่ อ น จะเข้ ำ ใจตลำดจริ ง ก็ต่อเมื่อไปอยู่เท่ำนั้น นี่คือยำกที่สุดส�ำหรับคนไทย เพรำะใจมันไม่ไป ไปอยู่กัมพูชำหรือ พนมเปญอำหำรไม่อร่อย ลูกเรียนที่ไหน เสำร์-อำทิตย์จะท�ำอะไร ตีกอล์ฟ ดูหนังฟังเพลงได้ทไ่ี หน แต่พวกนีโ้ ตขึน้ เร็วมำก เปลีย่ นไปทุกปี ตอนนีก้ มั พูชำ เวียดนำม มีหำ้ ง AEON มีรำ้ นอำหำรแบรนด์ไทยไปลงกันเต็มไปหมด FUJI, Black Canyon, MK, โรงหนัง Major Cineplex สิ่งแวดล้อมท�ำให้อยู่ง่ำยขึ้น เป็นจังหวะทีค่ วรออกไปได้แล้ว ค่ำแรง กระบวนกำรผลิต ภำษีทไี่ ด้ ถ้ำคุม้ ค่ำ บริษทั ต้องตัดสินใจออกไปตัง้ แต่ตอนนี้ ปรับทัศนคติให้เปิดกว้ำงและอินเตอร์ ต้องออกไปครับ ถ้ำยังไม่กล้ำไปลงทุนออกไปเที่ยวก่อน ไปเดินห้ำง ก่อน ไปเข้ำใจไลฟ์สไตล์ ไปอยูน่ ำนขึน้ ๆ ต้องไปอยูน่ ำนถึงจะเห็นแล้วเข้ำใจ เรำต้องออกไป ยิง่ ออกช้ำ โอกำสยิง่ น้อยลง” ดร.สมเกียรติ กล่ำวทิง้ ท้ำย
สิ่งที่ต้องท�าคือ ต้องขนเงิน ของคุ ณ ออกไปตั้ ง โรงงานที่ ป ระเทศ เพื่ อ นบ้ า น ไม่ ใ ช่ เ อาคนงานจาก เพื่ อ นบ้ า นเข้ า มา ส่ ว นโรงงานในไทย คุณต้องต่อยอดให้ โรงงานเราท�าของ ที่ ย ากขึ้ น คุ ณ ต้ อ งย้ า ยโรงงานไป อยู่ประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ ใช่ ไปอยู่ ใน เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษในประเทศไทย เพราะนั่นหมายความว่า คุณจะเจอ ค่าแรงขัน้ ต�า่ 300 บาทเหมือนเดิม และ คุณจะไม่ ได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี”
EXECUTIVE SUMMARY Dr. Somkiat Tangkitvanich, President of Thailand Development Research Institute (TDRI) analyzed the major strategy that would make Thailand industrial sector to adjust itself in accordance to Industry 4.0 by moving out manufacturing base that required the great number of labors and establishing manufacturing plants to neighboring countries because they have the lower cost labor and production as well as Generalized System of Preferences (GPS) that abstains import tax from these countries, while manufacturing plants in Thailand that used to be hired to produce the products needs to do the research and develop themselves in order to produce more complicated and specific products with higher value added.
issue 167 January 2017
38 automation
4.0 อุตสาหกรรม
ความพร้อม กับดัก และวิธีลงทุนอย่างถูกที่ถูกเวลา ย้อนกลับไปยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนระบบการผลิตทั้งโลกให้เข้าสู่ยุคเครื่องจักรไอน�้า และขับเคลื่อน ด้วยเหล็ก วันนี้ก็ ไม่ต่างกันเนื่องจากโลกก�าลังเกิดการเปลี่ยนผ่านและปฏิวัติอุตสาหกรรมกันขนานใหญ่ อีกครัง้ ค�าถามคือ... คุณจะเปลีย่ นไหม? คุณจ�าเป็นต้องเปลีย่ นหรือไม่? และถ้าไม่เปลีย่ น คุณจะอยูอ่ ย่างไร? ฉบับนี้เราจะพามาคุยกับ คุณชัยรัตน์ บรรเทาทุกข์ รักษาการผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การแผนก ระบบควบคุมส่วนงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม สถาบั น ไทย-เยอรมั น เกี่ ย วกั บ อนาคต อุตสาหกรรมไทย ความพร้อม อุปสรรค กับดัก และวิธีลงทุนอย่างถูกที่ถูกเวลา
อุตสาหกรรม 4.0 ถ้าไม่ไป ก็ตกขบวน ความเหมาะสมและปัจจัยหลายอย่าง ท�าให้เกิดการปฏิวัติ ในโลกอุตสาหกรรม
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ระบบออโตเมชั น ความ ต้องการของผู้บริโภค เทคโนโลยีด้านวัสดุ และองค์ประกอบอืน่ ๆ อีกมากมาย บ่มเพาะ จนเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ขึ้นมา และในเมื่อ เราเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรม เมื่อเกิด การปฏิวตั ิ เราย่อมต้องได้รบั ผลกระทบอย่าง แน่นอน เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ คุณชัยรัตน์ บรรเทาทุกข์ ไม่ อ ยากให้ ม องเรื่ อ งนี้ เ ป็ น อุ ป สรรคหรื อ ปั ญ หา เพราะการเปลี่ ย นแปลงหมายถึ ง โอกาสเช่นกัน
คุณชัยรัตน์ เพิ่มเติมว่า ทุกองค์กรไม่ได้ อยากเปลี่ยนแปลง เพราะทุกการเปลี่ยน หมายถึงการลงทุนและความเสีย่ ง ฉะนัน้ เขา ไม่ได้อยากเปลี่ยน แต่ต้องถามตัวเองว่า จ�าเป็นต้องเปลีย่ นไหม จะไปกับอุตสาหกรรม 4.0 ไหม ถ้าไม่เปลีย่ นจะเสียอะไรบ้าง องค์กร ต้องตอบให้ได้ ส่วนความพร้อมหรือไม่พร้อม เป็นค�าถามตามมา ถ้าพร้อมก็โชคดี แต่ถ้า ไม่ พ ร้ อ ม ก็ แ สวงหาความช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง รัฐบาลก็พร้อมให้ความช่วยเหลือตลอดเวลา
automation 39
“ผูป้ ระกอบการจะชอบคิดว่าไม่พร้อมเรือ่ งเงินทุน แต่เรามองว่าเรือ่ งนีแ้ ก้งา่ ย เจรจากับสถาบันการเงิน หรือเข้าหาความช่วยเหลือด้านสถาบันการเงิน เรือ่ งนี้ จบง่าย แต่ที่ผมมองว่าไม่พร้อม คือ ความคิดที่จะ เปลี่ยนแปลงมากกว่า ถ้าเราเริ่มก่อนเราเป็นผู้น�า เริ่มทีหลังก็เป็นผู้ตาม ในการแข่งขันถ้าไม่อยากเป็น ผู้น�าหรือผู้ตามก็ต้องฉีกให้แตกต่าง ปัญหาคือเรา มองหาความแตกต่างจากคู่แข่งไม่ได้ มันจึงกลับมาที่ค�าถามที่ต้องตอบให้ได้ จ�าเป็น ไหม เขาไป 4.0 กัน เราไม่เปลี่ยน เราจะเป็นอย่างไร ในขณะทีเ่ ขาเปลีย่ นระบบเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 กันหมด เปลี่ ย นวิ ธี ก ารท� า ธุ ร กิ จ เขาไม่ รั บ ออร์ เ ดอร์ ท าง โทรศัพท์แล้ว ไม่วางบิลด้วยกระดาษแล้ว เรามีระบบ ที่จะต่อกับเขาติดไหม หากเราไม่คิดเปลี่ยนแปลง” คุณชัยรัตน์ ชี้ให้เห็นภาพ
ฉีกกรอบด้วยแนวคิด ‘พอดีแก่การใช้ + เหมาะสมแก่เวลา’ เพื่อปรับเปลี่ยนสู่อุตสาหกรรม 4.0 เกี่ยวกับ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นัน้ คุณชัยรัตน์ ได้มกี ารพูดถึง ความเข้าอกเข้าใจใน ‘ระบบ’ ซึ่งเป็นหัวใจส�าคัญใน การเปลี่ยนแปลง คุณชัยรัตน์ อธิบายว่า ในการพัฒนากระบวนการ เพื่อเปลี่ยนระบบ สิ่งแรก คือ ต้องมีความเข้าใจ ผู้ประกอบการต้องเข้าใจระบบของตัวเองก่อน แล้ว น�ามาบูรณาการ น�ามาพัฒนา และต้องพัฒนาให้ พอดีแก่การใช้งาน ถ้ามากไปก็จะกลายเป็นการลงทุนที่ สูงเกินจ�าเป็น ถ้าน้อยไปก็ไม่มีความสามารถอย่าง ที่ต้องการ นอกจากนี้ ต้องตระหนักด้วยว่า ระบบที่ จะลงทุนมันล้าสมัยได้ ฉะนั้น ไม่มีโซลูชั่นที่ใช้ได้ ยาวๆ แต่เหมาะสมแก่ช่วงเวลาหนึ่งๆ เท่านั้น
“ลงทุนสูง เทคนิคการผลิตสูง แต่พอใช้งานจริง ไม่เต็มประสิทธิภาพก็สูญเสีย หรือบางทีคิดระบบ ได้ดี แต่ อ อกแบบเสร็ จ ลงทุ น เสร็ จ ช้ า เกิ น ไป เขาไม่ใช้กันแล้ว” กล่าวคือ ‘พอดีแก่การใช้’ และ ‘เหมาะสมแก่ เวลา’ คื อ คี ย ์ เ วิ ร ์ ด ของการเปลี่ ย นผ่ า นเข้ า สู ่ อุตสาหกรรม 4.0 นั่นเอง คุณชัยรัตน์ กล่าวเพิม่ เติมถึงประเด็นการลงทุน ในระบบอัตโนมัติ และกับดักทีผ่ ปู้ ระกอบการไทยยัง ไม่หลุดพ้นโดยยกกรณีตวั อย่างว่า ในปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการ ไทยมีทักษะด้านการท�างานสูง แต่ยังมีข้อด้อยทาง ด้านแนวคิด คือ ยังคงมีความช�านาญในการท�า สิง่ เดิม และมักคิดว่าการมีระบบจะท�าให้องค์กรของตน แข่ ง ขั น กั บ คนอื่ น ได้ จึ ง พยายามลอกเลี ย น กระบวนการของคู่แข่งขันทางธุรกิจว่าใช้ระบบอะไร เครื่องจักรรุ่นไหน แล้วจึงใช้ตามๆ กัน พยายามใช้ ระบบอัตโนมัตทิ สี่ า� เร็จรูป โดยมีแนวคิดว่าหากใช้มนั มากกว่า นานกว่า ใช้จนเก่งกว่าแล้วจะได้เปรียบ ซึ่งถือเป็นความคิดที่ผิด ดังนั้น ผู้ประกอบการแต่ละ โรงงาน แต่ละองค์กรต้องรู้จักตัวเอง เพื่อวางแผน ออกแบบระบบโดยมองอย่างรอบด้าน เพือ่ หาวิธกี าร ที่เหมาะสมกับตัวเองที่สุดจึงเป็นสิ่งส�าคัญ “ผู้ประกอบการต้องคิด วางแผน ออกแบบให้ เหมาะสม ต้องเป็น Tailor Made ต้องเป็นเสื้อผ้า สั่งตัดไม่ใช่เสื้อผ้าส�าเร็จรูป” คุณชัยรัตน์ กล่าว
หุ่นยนต์ VS แรงงาน ดูเหมือนกลายเป็นค�าถามและประเด็นปัญหา หลักของการเปลีย่ นผ่านทีห่ ลายฝ่ายกังวลว่า หุน่ ยนต์ และระบบออโตเมชั น ที่ ทั้ ง รวดเร็ ว แม่ น ย� า และ อดทนกว่า จะมาแย่งงานมนุษย์ไปจนอาจเกิดปัญหา การว่างงานได้ เกีย่ วกับประเด็นนี้ คุณชัยรัตน์ อธิบายให้เห็นภาพว่า การคิดและออกแบบระบบอัตโนมัตถิ กู คิดจากหลาย ปัจจัย หากคิดเพื่อทดแทนคนก็ย่อมกระทบคน แต่ ระบบอัตโนมัติส่วนใหญ่ถูกออกแบบเพื่อเพิ่มก�าลัง การผลิต ช่วยเบาแรง เพิม่ ความรวดเร็ว ขณะเดียวกัน ก็มีความแม่นย�าสูง ซึ่งไม่กระทบกับการจ้างแรงงาน คน เพราะต้องยอมรับว่าท้ายที่สุดระบบต้องการคน ดูแล มีแต่คนเท่านัน้ ทีร่ ทู้ งั้ กระบวนการ หุน่ ยนต์มาเพือ่ เพิ่มก�าลังการผลิตเท่านั้น ส่วนแรงงานจะถูกสลับ สับเปลี่ยนไปท�าหน้าที่อื่น เช่น ด้านการสนับสนุน กระบวนการผลิตแทน
ทุกระบบต้องการผู้ใช้ ระบบเปลี่ยนก็ต้องการคนที่มีความรู้เกี่ยวกับ
ระบบมาดูแล แต่ส่วนใหญ่ชอบออกแบบระบบให้เสร็จเรียบร้อยจึงมาหา คนดูแล แต่พอถึงตอนนั้นมันไม่ทันแล้ว เพราะคนดูแลหรือผู้ใช้ ไม่ได้ ถูกออกแบบหรือเติบโตไปพร้อมๆ กับกระบวนการ ท�าให้ขาดความลึก ในการดูแลระบบ ฉะนั้น ต้องออกแบบระบบไปพร้อมๆ กับ
การเตรียมคน
คุณชัยรัตน์ บรรเทาทุกข์ รักษาการผู้ช่วยผู้จัดการแผนกระบบควบคุมส่วนงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม สถาบันไทย-เยอรมัน
issue 167 JANUARY 2017
40 automation
บางโรงงานมีคนแค่ 50 คน แต่ผลิตได้ 24 ชั่วโมง มอนิเตอร์งาน
ที่ไหนก็ ได้ และมีของเสียเป็น 0 ฟังดูเหมือนอุดมคติ แต่มีอยู่จริงในประเทศไทย เป็นโรงงานขนาดเล็ก เขาไม่ได้มองหาระบบอัตโนมัติส�าเร็จรูป ไม่ต้องไปลอกใคร แต่ออกแบบให้เหมาะกับโรงงานตัวเอง พอมันเข้าทีป่ ระสิทธิภาพเขา 100% ทันที
ดังนั้น นี่จึงเป็นยุคแห่งการขี่ตั๊กแตนจับช้างอย่างแท้จริง
“ทุกระบบต้องการผู้ใช้ ระบบเปลี่ยนก็ต้องการ คนที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบมาดูแล แต่ส่วนใหญ่ ชอบออกแบบระบบให้เสร็จเรียบร้อยจึงมาหาคน ดูแล แต่พอถึงตอนนั้นมันไม่ทันแล้ว เพราะคนดูแล หรือผูใ้ ช้ไม่ได้ถกู ออกแบบหรือเติบโตไปพร้อมๆ กับ กระบวนการท�าให้ขาดความลึกในการดูแลระบบ ฉะนัน้ ต้องออกแบบระบบไปพร้อมๆ กับการเตรียม คน” คุณชัยรัตน์ ให้ค�าแนะน�า
ขี่ตั๊กแตนจับช้าง หมดยุคสู้กันด้วยขนาดแล้ว คุณชัยรัตน์ ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการลดขนาด โรงงานและการเติ บ โตของผู ้ เ ล่ น รายใหม่ ห รื อ ผู ้ ป ระกอบการรายย่ อ ยเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิต ซึ่งถือเป็นการยืนยันว่า ทรัพยากรมนุษย์ คือสิ่งส�าคัญที่สุดของทุกองค์กร “ทรัพยากรมนุษย์ยังมีค่าเสมอ เพราะถ้าเรามี พนั ก งานที่ มี ขี ด ความสามารถในการเรี ย นรู ้ เขา สามารถสร้างอะไรก็ได้ข้ึนมาเพื่อแข่งกับชาวบ้าน ได้ตลอด คนที่จะสร้างอะไรได้เหมาะกับตัวที่สุดคือ ตัวเอง ต้องสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และปรับตัว” คุณชัยรัตน์ ชี้ให้เห็นอีกว่า โรงงานส่วนใหญ่ พยายามลดขนาดตัวเองลง จากโรงงานขนาดกลาง ซอยย่อยเป็นขนาดเล็กหลายๆ โรงงาน นั่นก็เพื่อ เพิ่มความคล่องตัว ความปราดเปรียว และลดความ อุย้ อ้ายขององค์กร ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า ขณะนีธ้ รุ กิจ ไม่ได้แข่งขันกันที่ขนาดอีกต่อไป “เราเข้ า สู ่ ยุ ค ขี่ ตั๊ ก แตนจั บ ช้ า ง องค์ ก รเล็ ก ขับเคลื่อนง่าย แต่ท�าการใหญ่ได้ ปัจจัยที่จะท�าให้ ชนะในการแข่งขันคือการปรับตัว และตัวแปรส�าคัญ ในการปรับตัว คือ ความต้องการของผู้บริโภคมัน เปลี่ยนเร็วมาก และสิ่งนี้คือตัวกดดันให้ผู้ผลิตต้อง เปลี่ยน อย่างสมาร์ทโฟนผลิตออกมาแล้วขายไม่ดี ไม่ติดตลาดก็ต้องหยุดผลิต คิดใหม่ ผลิตใหม่ วงจร การผลิตถูกเปลี่ยนให้เร็วขึ้นเรื่อยๆ ถ้าผู้บริโภค ต้องการให้ผลิตภัณฑ์เปลี่ยน การผลิตก็ต้องเปลี่ยน ฉะนั้น สิ่งส�าคัญในการออกแบบกระบวนการผลิต ที่ต้องค�านึง คือ ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง และองค์ ก รเล็ ก ๆ ก็ ค ล่ อ งตั ว กว่ า พร้ อ มรั บ การ เปลี่ยนแปลงได้เร็วกว่า” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
คุณชัยรัตน์ ยังยกตัวอย่างให้เห็นว่า ผูป้ ระกอบการ รายเล็กทีส่ ดู้ ว้ ยความคิดและความเร็ว มีกระบวนการ อย่างเป็นระบบเพื่อลดความฟุ่มเฟือย ท�าให้องค์กร เปลี่ยนแปลงได้อย่างก้าวกระโดดได้ “บางโรงงานมีคนแค่ 50 คน แต่ผลิตได้ 24 ชั่วโมง มอนิเตอร์งานที่ไหนก็ได้ และมีของเสียเป็น 0 ฟังดูเหมือนอุดมคติ แต่มีอยู่จริงในประเทศไทย เป็นโรงงานขนาดเล็ก เขาไม่ได้มองหาระบบอัตโนมัติ ส�าเร็จรูป ไม่ตอ้ งไปลอกใคร แต่ออกแบบให้เหมาะกับ โรงงานตัวเอง พอมันเข้าที่ประสิทธิภาพเขา 100% ทันที ดังนั้น นี่จึงเป็นยุคแห่งการขี่ตั๊กแตนจับช้าง อย่างแท้จริง” คุณชัยรัตน์ กล่าวทิ้งท้าย หากพิจารณาจากข้อมูลที่ คุณชัยรัตน์ ได้ให้ความรูน้ ี้ ท�าให้คา� ตอบของการท�าธุรกิจในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ได้ชัดขึ้น กล่าวคือ การพัฒนาวงการอุตสาหกรรม ไทยไปสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ไม่ใช่อุปสรรคแต่เป็น โอกาส และทัง้ หมดนีน้ า� มาสูค่ า� ตอบทีเ่ ลยไกลไปกว่า อุตสาหกรรมไทยต้องขยับปรับเปลีย่ นตนเองหรือไม่ ไปสู่ค�าตอบว่านักอุตสาหกรรมจะเปลี่ยนอย่างไร ให้คุ้มค่า เปลี่ยนแบบไหนให้ถูกที่ถูกเวลา
และทีส่ า� คัญคือ... เปลีย่ นอย่างไรให้ขแี่ ค่ ตัก๊ แตนก็ออกไปไล่จบั ช้างได้
EXECUTIVE SUMMARY Mr. Chairat Bantaotuk, Assistant to Industrial Robot Control System Manager, Thai – German Institute revealed his point of view about the adjustment of Thai entrepreneurs upon the growth and expansion of Industry 4.0 that it is all about thinking and designing automation system derived from several factors. If it is thought to replace human, this will definitely affect people, but most of automation systems are designed to add production capacity, relieve workload, and increase speed, and in the same time it has high precision which this should not affect labor employment because at the end, the system still needs the supervision from human and only human knows the whole process. Therefore, robots are brought to add production capacity only, while labors will be transferred to in charge of other duties instead such as production process support. Additionally, developing process for system change also needs to make preparation as entrepreneurs must understand their own systems first, then integrate and develop them, while the system should be developed just enough to suit overall usability, which in case of overwhelming development, it will become an over-cost investment, but in case of least development, the system will not have capability as expected. Besides, entrepreneurs must realize that any system can be obsolete someday. Therefore, no solution can be used in the long run, but suits the certain period of time only.
เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ GREEN ZONE TECHNOLOGY
โซเดียมไอออน
อนาคตเทคโนโลยีแบตเตอรี่
ประสิทธิภาพ
อนาคตรถไฟฟ้าส่งสัญญาณความชัดเจนมากขึ้นทุกขณะ ผู้ผลิต รถยนต์แทบทุกค่ายต่างทุม่ เม็ดเงินเพือ่ ลงทุนทัง้ ในส่วนของกระบวนการ ผลิต การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่า ‘แบตเตอรี่’ คือ หนึง่ ในเทคโนโลยีทยี่ งั คงต้องได้รบั การคิดค้น พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ประสิทธิภาพสูงสุด เนือ่ งจากแบตเตอรีถ่ อื เป็นหัวใจส�าคัญของการ ขับเคลื่อนรถไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีของแบตเตอรี่ในปัจจุบันยังคงได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง แม้วา่ มาตรฐานด้านความสามารถในการอัดประจุ ของแบตเตอรี่ จะขึ้นอยู่กับระบบการกักเก็บพลังงาน ซึ่งประกอบด้วย ลิเธียมไอออน ที่มีสถานะเป็นทั้งบวกและลบ เนื่องจากประจุอะตอม มีการเคลื่อนที่จากอิเล็กตรอนบวกไปยังอิเล็กตรอนลบ ซึ่งเป็นการ ประจุแบตเตอรี่ ทั้ ง นี้ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นเคมี ไ ด้ แ นะน� า ว่ า องค์ประกอบใหม่ของแบตเตอรีใ่ นอนาคตทีค่ วรน�ามาใช้ทดแทนลิเธียม คือ ‘โซเดียม’ ซึ่งเรี่ยกว่า ‘โซเดียมไอออน (sodium-ion)’ เบื้องต้นได้มี การน�าแบตเตอรี่แบบโซเดียมไอออนไปใช้งานจริงแล้ว แม้จะเป็นเพียง รถจั ก รยานไฟฟ้ า หรื อ ‘e-Bike’ ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบและผลิ ต เพื่อใช้งานจริงในประเทศอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 2015 แล้วก็ตาม ประเด็นความน่าสนใจของเทคโนโลยีแบตเตอรี่โซเดียมไอออน คื อ โซเดี ย มไอออนนั้ น สามารถสร้ า งขึ้ น ได้ จ ากเกลื อ ที่ ใช้ ใ นการ ปรุงอาหาร ซึ่งโซเดียมไอออนนั้นนอกจากจะเอื้อให้การผลิตแบตเตอรี่ มีความสะดวกมากขึ้นแล้ว ยังมีความได้เปรี่ยบด้านต้นทุนการผลิต อีกด้วย เนื่องจากต้นทุนการผลิตโซเดียมไอออนนั้นต�่ากว่าการผลิต ลิเธียมไอออน อีกทั้ง แบตเตอรี่โซเดียมไอออนยังมีความปลอดภัย สูงกว่า เมื่อพิจารณาตามหลักการทางเคมี ล่าสุด นักวิจยั และนักวิทยาศาสตร์ยงั คงให้ความสนใจกับการพัฒนา ‘โซเดียมไอออน’ อย่างต่อเนือ่ ง โดยพบว่าทีมค้นคว้าในประเทศฝรัง่ เศส ได้ก้าวสู่การพัฒนาแบตเตอรี่แบบ Rechargeable ที่ต้นทุนต�่ากว่า แบตเตอรี่ลิเธียม ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่มีการพัฒนาแบตเตอรี่ ‘โซเดียม ไอออน’ ด้วยการใช้เกลือหรือ Sodium ในรูปแบบที่เรี่ยกว่า ‘แบตเตอรี่ 18650’ ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ที่ใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลาย ไม่ว่า จะเป็นแบตเตอรีโ่ น้ตบุก๊ ไฟฉาย LED หรือแม้กระทัง่ รถยนต์ไฟฟ้า อย่าง Tesla Model S ฯลฯ โดยคาดว่าในอนาคตแบตเตอรี่โซเดียมไอออนนี้ จะได้รบั การพัฒนามากขึน้ สามารถน�าไปใช้กบั อุปกรณ์ตา่ งๆ ในรูปแบบ ที่หลากหลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีการพัฒนาแบตเตอรี่ ‘โซเดียมไอออน’ ยังคงได้รับความสนใจในแง่ของวัตถุดิบที่น�ามาใช้เป็นองค์ประกอบ
41
สูง
ในการผลิตเป็นแบตเตอรี่ ซึง่ จะเห็นได้วา่ เมือ่ เร็วๆ นี้ ทีมนักวิทยาศาสตร์ ประจ�ามหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์โตเกียว (Tokyo University of Science: TUS) ประเทศญีป่ นุ่ ได้พฒ ั นาแบตเตอรีท่ ใี่ ช้ ‘น�า้ ตาล’ เป็นแหล่งพลังงาน ไฟฟ้า โดยทีมนักวิทยาศาสตร์ได้ยืนยันว่าสามารถใช้คาร์บอนเป็นหนึ่ง ในองค์ประกอบหลักของน�้าตาลเป็นแหล่งพลังงานในแบตเตอรี่ เพื่อ ทดแทนที่การใช้แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จ�ากัด อีกทั้ง กระบวนการได้มาซึ่งแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนนั้นก็ไม่ได้ มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนัก ดังนั้น นักวิจัยจึงได้พยายาม แก้ปญ ั หาดังกล่าวโดยหันมาใช้แบตเตอรีแ่ บบโซเดียมไอออนทีเ่ ป็นวัสดุ จ่ายกระแสไฟแบบใหม่ โดยทีมนักวิจัยสามารถใช้น้�าตาลเป็นวัตถุดิบ ผลิตแบตเตอรี่โซเดียมไอออน และเริ่มประสบความส�าเร็จบางอย่าง ในการทดลองไปบ้างแล้ว
issue 167 January 2017
42 GREEN ZONE TECHNOLOGY
Credit: Vincent GUILLY/CEA
ส�าหรับการพัฒนาแบตเตอรี่ที่ใช้ ‘น�้าตาล’ เป็นแหล่งพลังงานนั้น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ จ ากมหาวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาศาสตร์ โ ตเกี ย วได้ ร ะบุ ว ่ า สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ได้ด้วยการใช้คาร์บอนที่ได้ จากน�้าตาล ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเก็บไฟฟ้าได้ดีกว่าแบตเตอรี่แบบ ลิเธียมไอออนมากถึง 20% พร้อมกันนี้ ยังได้เผยว่าแบตเตอรี่แบบ โซเดี ย มไอออนที่ ผ ลิ ต ได้ จ ากน�้ า ตาลยั ง คงอยู ่ ใ นช่ ว งการพั ฒ นา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ การค้นคว้าวิจัยของนักวิทยาศาสตร์ในโตเกียวยังได้ บริ ห ารจั ด การให้ ตั ว โซเดี ย มแบตเตอรี่ มี ก ารคายประจุ อ อกมาและ สามารถชาร์จได้ความสามารถใกล้เคียงกับลิเธียมแบตเตอรี่แบบเดิม โดยท�าการทดลองบีบอัดส่วนผสม 3 อย่าง ได้แก่ ออกไซด์ของเหล็ก แมงกานีส และโซเดียม เข้าไปในกระสุนขนาดเล็ก อบในอุณหภูมิสูง ประมาณ 12 ชัว่ โมง ซึง่ ท�าให้คน้ พบประจุแบบใหม่ ซึง่ เมือ่ วิเคราะห์แล้ว พบว่า สารดังกล่าวมีคุณสมบัติเป็นขั้วบวกในแบตเตอรี่ แต่สามารถ น�าไปชาร์จซ�้าเพื่อใช้ใหม่ได้ไม่เกิน 30 ครั้ง จึงยังคงเป็นข้อจ�ากัด เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
นอกเหนือจาก ‘เกลือ’ ที่น�ามาใช้เป็น องค์ประกอบใหม่ ทดแทนแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออนแล้ว ยังพบว่า ‘น�้าตาล’ ก็เป็นอีกหนึ่งตัวเลือก ขององค์ประกอบใหม่ ที่สามารถน�ามาใช้เพื่อผลิต เป็นแบตเตอรี่โซเดียมไอออนได้เช่นกัน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อย่างไรก็ตาม การทดลองดังกล่าวมีประเด็นความน่าสนใจ เพราะ วัสดุที่ใช้เป็นองค์ประกอบของธาตุเหล็ก ซึ่งเหล็กสามารถหาได้ทั่วไป และมีราคาถูก ไม่เพียงเท่านีแ้ นวคิดการพัฒนาแบตเตอรีโ่ ซเดียมไอออนยังคงได้รบั การพัฒนาในวัสดุต่างชนิดกัน ซึ่งนอกเหนือจาก ‘เกลือ’ และ ‘น�้าตาล’ เมื่อพบว่ามีงานวิจัยที่เพิ่งเผยแพร่เมื่อปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นความร่วมมือ ระหว่าง University of Maryland ในประเทศสหรัฐอเมริกา และ National Center for Nanoscience and Technology ประเทศจีน เกี่ยวกับการ น�าใบโอ๊คมาเป็นส่วนหนึ่งของแบตเตอรี่โซเดียมไอออน ผลงานวิจัยดังกล่าวเกิดขึ้นจากการที่ทีมนักวิจัยได้คิดค้นเทคนิค การใช้เถ้าของใบโอ๊คทีผ่ า่ นความร้อนสูงร่วมกับสารละลายโซเดียม เพือ่ น�ามาพัฒนาเป็นแบตเตอรี่ โดยอาศัยหลักวิชาการเรื่องโครงสร้าง พื้นฐานของแบตเตอรี่ท่ีมีขั้วไฟฟ้าบวกและลบ ซึ่งแต่ละขั้วจะถูกแช่อยู่ ในสารละลายอิเล็กโตรไลต์ โดยมีวัสดุกั้นกลางระหว่างขั้วไฟฟ้าทั้งสอง เพือ่ ป้องกันมิให้ประจุลบจากขัว้ ลบไหลลัดวงจรไปหาขัว้ บวกได้โดยตรง ดังนัน้ เมือ่ มีการต่อขัว้ ไฟฟ้าทัง้ สองผ่านโหลดไฟฟ้า ประจุลบจากขัว้ ลบ จะไหลผ่านโหลดไฟฟ้านั้นไปยังขั้วบวกท�าให้มันสามารถท�างานได้ อย่างไรก็ตาม เมื่อประจุไหลผ่านไปจนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าของขั้ว ทั้งสองแทบไม่ต่างกัน นั่นหมายความว่า เมื่อแบตเตอรี่ที่ไฟหมด หาก เป็นแบตเตอรี่ประเภทที่สามารถชาร์จไฟใหม่ได้ ก็จะใช้พลังงานไฟฟ้า ขับประจุลบจากขั้วบวกให้ย้อนผ่านวัสดุกั้นกลางไปยังขั้วลบดังเดิม นั่นเอง แนวคิดดังกล่าว จึงเป็นการตอกย�้าถึงเทคโนโลยีแบตเตอรี่ท่ียังคง มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ ซึ่ง ความหลากหลายของวัสดุทเี่ ลือกใช้ ถือเป็นอนาคตของการมีแบตเตอรี่ ประสิทธิภาพสูงในอนาคต เพื่อรองรับความต้องการใช้ในหลากหลาย รูปแบบ
GREEN ZONE TECHNOLOGY 43
ส�ำหรับกำรวิจัยที่น�ำใบโอ๊คมำเป็นส่วนหนึ่งของแบตเตอรี่โซเดียม ไอออนนั้น มีกรรมวิธีโดยสังเขป คือ น�ำใบโอ๊คไปผ่ำนควำมร้อน ที่อุณหภูมิประมำณ 1,000 องศำเซลเซียส ซำกเผำไหม้ที่ได้ คือ องค์ประกอบคำร์บอนที่เกำะกลุ่มจัดตัวกันตำมสภำพเซลล์ของใบไม้ จำกนั้นทีมวิจัยท�ำกำรเติมสำรละลำยโซเดียมลงที่ด้ำนท้องใบ ท�ำให้ ใบโอ๊คมีสภำพเป็นขั้วแอโนด หรือมีสถำนภำพเป็นขั้วลบของแบตเตอรี่ จึงสำมำรถกักเก็บประจุลบได้ 360 mAh ต่อน�้ำหนัก 1 กรัมของเถ้ำ ใบโอ๊ค แม้วำ่ ขนำดควำมจุประจุไฟฟ้ำของแบตเตอรีจ่ ำกใบโอ๊คในงำนวิจยั นี้ จะยังไม่มำกพอส�ำหรับกำรใช้งำนจริงก็ตำม แต่สงิ่ ส�ำคัญ คือ กำรเกิดขึน้ ของแนวทำงกำรพัฒนำที่เป็นทำงเลือกใหม่ส�ำหรับกำรสร้ำงแบตเตอรี่ โซเดียมไอออน ซึ่งเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่แบบลิเทียมไอออนที่ใช้กัน อย่ำงแพร่หลำยในปัจจุบนั แล้ว แบตเตอรีโ่ ซเดียมไอออนสำมำรถกักเก็บ ประจุได้มำกกว่ำ แต่ประสบปัญหำส�ำคัญเรื่องเซลล์ไฟฟ้ำเสื่อมสภำพ อย่ำงรวดเร็วหลังกำรใช้งำนไม่นำน ซึง่ เป็นปัญหำส�ำคัญทีต่ อ้ งยังศึกษำ ค้นคว้ำ วิจัยและพัฒนำเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพแบตเตอรี่ให้สำมำรถ ใช้งำนได้จริง ภำยใต้เงือ่ นไขของต้นทุนกำรผลิตต�ำ่ และสำมำรถหำวัสดุ เป็นวัตถุดิบได้อย่ำงยั่งยืน อำจกล่ำวได้ว่ำ เทคโนโลยีกำรพัฒนำแบตเตอรี่โซเดียมไอออน จะเป็นอนำคตของแบตเตอรี่ประสิทธิภำพสูง ที่จะตอบโจทย์ควำม ต้องกำรใช้ในวันข้ำงหน้ำได้ดี โดยเฉพำะเมื่อเทคโนโลยีที่ได้รับกำร พัฒนำนั้นมีเสถียรภำพต่อกำรใช้งำนที่มำกพอ และเท่ำทันกับกำร ขับเคลือ่ นของกระแสเทคโนโลยีอนื่ ๆ โดยเฉพำะรถไฟฟ้ำ หรือแม้กระทัง่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีกำรพัฒนำในหลำกหลำยรูปแบบ และมีกำร เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่ำงรวดเร็ว
นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย วิทยาศาสตร์โตเกียวได้ระบุว่า สามารถ เพิ่มประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ ได้ด้วย การใช้คาร์บอนที่ ได้จากน�้าตาล ซึ่งมีประสิทธิภาพในการเก็บไฟฟ้าได้ ดีกว่าแบตเตอรี่แบบลิเธียมไอออน มากถึง 20% Source: https://goo.gl/XPbHyl https://goo.gl/ce6lXf https://goo.gl/5t3Irp
` Credit: Cyril FRESILLON/CSE/CNRS Phototheque
EXECUTIVE SUMMARY ‘Battery’ is one of technologies that still need constant research and development to achieve highest efficiency since battery is considered as the key to drive electric vehicle. In addition, battery technology has still been developing nowadays which scientists and specialists in chemical field have given some advices that the new element of battery in the future being brought in to replace Lithium is ‘Sodium’ as called ‘Sodium-ion’. Currently, development of Sodium-ion battery gains huge interest as several countries have been developing it with various materials including ‘salt’, ‘sugar’ or even ‘oak leaf’. In addition, the goal of research and development is to enhance battery performance so that it can store energy for longer time length under the condition of potentiality in commercial production. This means battery must be able to achieve low production cost, capability to find material to sustainably serve battery production, and more importantly, it must be conform to the need of versatile use. issue 167 January 2017
44 GREEN ZONE POLICY
เรียบเรียง : ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
กระทรวงพลังงาน พัฒนาเทคโนโลยี
ENERGY
STORAGE รองรับโรงไฟฟ้า พลังงานทดแทน การขับเคลือ่ นภาคพลังงานของประเทศตามแนวนโยบาย Energy 4.0 โดยกระทรวงพลังงานได้ส่งสัญญาณชัดเจนมากขึ้นแล้ว จะเห็นได้วา่ นโยบายและมาตรการต่างๆ ได้มกี ารด�าเนินงานอย่างเป็น รู ป ธรรมในหลายๆ ด้ า น โดยยั ง คงมุ ่ ง เน้ น การผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด นวัตกรรมด้านพลังงานใหม่ๆ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการวิจยั และ พัฒนาเกี่ยวกับด้านพลังงาน เพื่อต่อยอดธุรกิจเกี่ยวกับพลังงาน ของประเทศให้เติบโตและก้าวหน้า ทั้งนี้ สิ่งที่ภาคพลังงานของประเทศไทยจะต้องเตรียมพร้อมในการก�าหนดนโยบาย และการก�ากับดูแลในอนาคต ได้แก่ การบริหารจัดการพลังงานทดแทนให้มีความเสถียร (Firm Renewable Energy) จากการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) ซึ่ง ถือเป็นนโยบายส�าคัญทีก่ ระทรวงพลังงานจะได้เตรียมความพร้อม เพือ่ สร้างความมัน่ คง ด้านพลังงานในอนาคตยิ่งขึ้น จากการศึกษาระบบกักเก็บพลังงานทีป่ จั จุบนั มีความน่าสนใจ และคาดว่าจะเป็นต้นแบบ การศึกษาให้แก่ประเทศไทยได้ คือ ระบบกักเก็บพลังงานขนาดใหญ่ ซึ่งได้ถูกพัฒนาและ ติดตั้งที่รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา โดยหน่วยงานที่ท�าหน้าที่ก�ากับกิจการพลังงาน หรือเรกูเลเตอร์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ได้สงั่ การให้เซาท์เทิรน์ แคลิฟอร์เนีย เอดิสนั (Southern California Edison) ซึ่ ง มี ลั ก ษณะการด� า เนิ น งานคล้ า ยกั บ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย ได้ตดิ ตัง้ ระบบดังกล่าว ซึง่ เบือ้ งต้นระบบกักเก็บไฟฟ้าขนาดใหญ่นี้ สามารถ เก็บไฟฟ้าได้สงู ถึง 260 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น ในส่วนของสถานีหลัก เก็บไฟฟ้าได้สงู ถึง 100 เมกะวัตต์ และในส่วนของสถานีย่อยๆ อีกประมาณ 160 เมกะวัตต์ เป็นต้น คุณสราวุธ แก้วตาทิพย์ ผูอ้ า� นวยการส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ และรองโฆษก กระทรวงพลังงาน ได้กล่าวว่าแนวทางการส่งเสริมระบบกักเก็บพลังงานดังกล่าว ปัจจุบนั กระทรวงพลังงาน โดยคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ได้มีมติ อนุมัติงบประมาณ 765 ล้านบาท เพื่อน�าไปจัดท�าโครงการสนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ภายในระยะเวลา 2 ปี ซึง่ จะเป็นงบประมาณเพือ่ ปูทางสนับสนนุให้สถาบันการศึกษา หน่วยงานทีส่ นใจ สร้าง งานวิจัยเพื่อต่อยอดการศึกษาในเรื่องดังกล่าวต่อไปในอนาคต MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
GREEN ZONE POLICY 45
การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานนั้น มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานในด้านต่างๆ โดยน�าร่องการใช้งานด้านความมั่นคง เช่น การมีไฟฟ้าและแสงสว่าง ที่เพียงพอในกิจกรรมภาคสนามส�าหรับทหาร ต�ารวจ และการเตรียมความ พร้อมเพื่อรับมือภัยพิบัติ ด้านนิคมอุตสาหกรรม เช่น การลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด (Peak Load) ในเวลากลางวัน ด้านพลังงานทดแทน เพื่อให้มีความเสถียรของพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจาก พลังงานทดแทน เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ ด้านพื้นที่ห่างไกล ที่ขาดแคลนพลังงานไฟฟ้าใช้ เช่น เกาะ ดอย ที่มีแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้า ปริมาณเพียงพอส�าหรับการใช้งานชีวิตประจ�าวันขั้นพื้นฐานได้ เช่น แสงสว่าง ด้านยานยนต์ เช่น การมีแบตเตอรีท่ มี่ ปี ระสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งาน ตลอดจนการสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงานตลอดห่วงโซ่คุณค่า เพื่อสร้างฐานการพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงานให้มคี วามเข้มแข็งและแข่งขันได้ในระยะยาว โดยได้มอบหมาย ให้ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นผูบ้ ริหาร จัดการโครงการ
ต้นแบบระบบกักเก็บไฟฟ้าขนาดใหญ่ ที่รั ฐแคลิฟ อร์ เนี ย สหรัฐอเมริกา ถือเป็นตัวอย่างการสร้างระบบสำารองไฟฟ้า ที่สอดคล้องกับการพัฒนาระบบพลังงานทดแทนของประเทศ เนื่องจากการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงพลังงานทดแทนของ ประเทศไทยปัจจุบัน มี อุ ป สรรคสำ � คั ญ คื อ คว�ม
มีเสถียรภ�พของก�รผลิต
คุณสร�วุธ แก้วต�ทิพย์ ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์ รองโฆษกกระทรวงพลังงำน
หากพิจารณาถึงภาพรวมของความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานในต่างประเทศ จะพบว่า ตล�ด Energy Storage มีก�ร เติบโตอย่�งรวดเร็วในช่วงไม่กป่ี ที ผี่ �่ นม� และยังเป็นตลาดทีม่ แี นวโน้มการเติบโตทีน่ า่ จับตามอง โดยผลการวิจยั ตลาดจากหลายบริษทั ชัน้ นำา อาทิ Navigant Research ค�ดก�รณ์ว่�ในช่วง 10 ปีข้�งหน้� ตล�ด Energy Storage จะมีอัตร�ก�รเติบโตเฉลี่ยร�ว ปีละ 40% ทางด้านข้อมูลจากกระทรวงพลังงานของสหรัฐฯ (DOE) ระบุว่าในช่วง 7 ปีที่ผ่านมา ราคาแบตเตอรี่ ได้ลดลงราว 20% ต่อปี เช่นเดียวกัน Bloomberg เองก็ ได้คาดการณ์ว่าในช่วง 5 ปีข้างหน้า ราคาจะมีแนวโน้มลดลงอีกราว 30% ต่อปี ตอกยำ้าว่าการลงทุนในเทคโนโลยี Energy Storage นั้น เป็นความจำาเป็นอย่างยิ่งในการเพิม่ เสถียรภาพของระบบไฟฟ้าในอนาคต ซึง่ คาดการณ์วา่ การลงทุนใหม่ในโรงไฟฟ้าพลังงาน ทดแทนทัว่ โลกจะมีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ ต่อปีประมาณ 10%
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อก�รเติบโตของตล�ด Energy Storage แนวโน้มการขยายตัว ของโรงไฟฟ้า พลังงานทดแทน
การปรับปรุง ข้อจำากัดของ เทคโนโลยีทที่ าำ ให้ ราคาตำา่ ลง
การเติบโตของตลาด Energy Storage
ความชัดเจนในการ ขับเคลือ่ นนโยบาย จากภาครัฐ
ส�าหรับเป้าหมายของโครงการดังกล่าว มุง่ ให้เกิดผลงานประยุกต์ใช้ให้เห็น อย่างเป็นรูปธรรมภายในปี พ.ศ. 2560 เพื่อสร้างโอกาสด้านการตลาด กระตุ้นการลงทุนของอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ของประเทศ และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการ ผลิตด้วยนวัตกรรมใหม่ที่ดีกว่า หรือเทียบเท่าต่างประเทศ เพื่อสนับสนุน ภาคการผลิ ต ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละทดแทนการน� า เข้ า จาก ต่างประเทศ ส�าหรับประเทศไทย หากในอนาคตนโยบายการส่งเสริมระบบกักเก็บ พลังงานของภาครัฐมีความเป็นรูปธรรม จะช่วยให้ระบบการผลิตไฟฟ้าของ ประเทศมีความมัน่ คงมากยิง่ ขึน้ ลดปัญหาอุบตั เิ หตุทไี่ ม่คาดฝันจากไฟฟ้าดับ หรือระบบสายส่งไฟฟ้าต้นทาง ซึ่งเมื่อเกิดเหตุแต่ละครั้งจะกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจอย่างมหาศาล
EXECUTIVE SUMMARY Ministry of Energy has given the green light to propel Energy Policy 4.0 which pointed out Energy Storage system development as the important step to reduce the risk and stabilize renewable energy power plant, and demonstrated the large size energy storage system in California, the United States of America developed and set up through Southern California Edison which has similar management to Electricity Authority of Thailand (EGAT) for setting up such system. At preliminary stage, the system can store electricity up to 250 megawatts which this can be used as the model study for Thailand in the future. Recently, Energy Conservation Promotion Fund Commission has approved 765 million baht of budget to conduct study support project in order to do the research and develop energy storage system technology within 2 years for supporting educational institutes and interested agencies to further extend the education for this issue in the future. issue 167 JANUARY 2017
46 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY
เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
โมเดล ‘ประเทศไทย 4.0’ ขับเคลื่อนประเทศไทยด้วยนวัตกรรม
‘ประเทศไทย 4.0’ โมเดลใหม่ของการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจประเทศไทย ที่ มุ ่ ง ปรั บ เปลี่ ย นโครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ไปสู ่ ‘เศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย นวัตกรรม’ (Value–Based Economy) เพื่อก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ ปานกลาง เมือ่ บริบททางเศรษฐกิจเกิดการเปลีย่ นแปลง ท�าให้ผปู้ ระกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการผลิตต้องปรับตัว เพื่อให้ ธุรกิจอุตสาหกรรมสามารถเติบโตท่ามกลางบริบทใหม่ทางเศรษฐกิจได้อย่าง เข้มแข็งและยั่งยืน ส�าหรับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อก้าวสู่การเป็น ‘ประเทศไทย 4.0’ นั้น จะต้องเปลี่ยนจากความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศทีม่ อี ยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลาย เชิงวัฒนธรรมไปสูค่ วามได้เปรียบทางการแข่งขัน ขณะเดียวกันยังต้องเปลีย่ น โครงสร้างเศรษฐกิจอุตสาหกรรมทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม มุง่ เน้นการเพิม่ มูลค่า (Value Added) ไปสู่การสร้างมูลค่า (High Value) หรือการสร้าง ผลิตภาพ (Productivity) นั่นเอง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
INVERTER NE-S1
WJ200
NJ600B
SJ700/SJ700D
Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW
Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW
Inverter Designed for Fans,Pumps and Conveyors 5.5-355kW
High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW
THE POWERFUL DRIVE SYSTEM
PLC
CONTACTOR & BREAKER
MOTOR & BLOWER
MAb Series
High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.
MSR Series
Conveying Blowers Air Volume : 5 cmm – 60 cmm. Pressure : 500 Pa – 6,750 Pa.
MAb Bio-Gas
High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.
49 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY
INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY 49
ทั้งนี้ การขับเคลื่อนโครงสร้างเศรษฐกิจแบบใหม่ดังกล่าว ต้องเติมเต็ม ด้วยวิทยาการความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา โดยมุ่งเน้น 5 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ดังนี้ กลุม่ ที ่ 1 กลุม่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชวี ภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech) กลุ่มที ่ 2 กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness & Bio-Med) กลุม่ ที ่ 3 กลุม่ เครือ่ งมืออุปกรณ์อจั ฉริยะ หุน่ ยนต์ และระบบเครือ่ งกล ทีใ่ ช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) กลุม่ ที ่ 4 กลุม่ ดิจติ อล เทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตทีเ่ ชือ่ มต่อการท�างาน ของอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, Internet of Things, Artificial Intelligence & Embedded Technology) กลุม่ ที ่ 5 กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มี มูลค่าสูง (Creative, Culture & High Value Services) โดยทัง้ 5 กลุม่ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมเป้าหมายนี้ เป็นส่วนหนึง่ ของ ‘10 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต’ หรือ S-Curve และ New S-Curve การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ และภาคธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม ภายใต้ โ มเดล ‘ประเทศไทย 4.0’ นั้น จะต้องเริ่มจากสร้างความเข้มแข็งจากภายใน คือ การ ยกระดับนวัตกรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการ ชุมชน และ เครือข่ายในทุกภาคส่วนของประเทศ เมือ่ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมภายใน ประเทศเข้มแข็งแล้ว สิ่งที่ต้องด�าเนินการควบคู่กันไป คือ การเชื่อมโยงกับ ภายนอก ทั้งในรูปแบบภูมิภาค เช่น กลุ่มประเทศอาเซียน และการเชื่อมโยง กับเศรษฐกิจโลกต่อไป ทัง้ นี้ เป้าหมายการขับเคลือ่ น ‘ประเทศไทย 4.0’ คือ การก้าวไปสูก่ ารเป็น ‘ประเทศที่มีรายได้สูง’ ด้วยนวัตกรรมที่มีการน�าเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ ซึง่ หากประเทศไทยสามารถขับเคลือ่ นไปได้จริง จะท�าให้ภาพรวมเศรษฐกิจไทย หลุดพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และสามารถลดการพึ่งพา ต่างชาติ เพือ่ ลดความเหลือ่ มล�า้ ต่างๆ เป็นการสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจ และสังคมให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนได้อย่างแท้จริง
เปลี่ยนจากเกษตรแบบดั้งเดิม สู่เกษตร สมัยใหม่ เน้นการบริหารจัดการ เทคโนโลยี มุ่งยกระดับเกษตรกร เป็นผู้ประกอบการ
เปลี่ยนจาก Traditional SME สู่การเป็น Smart Enterprises ที่มีศักยภาพสูง
เปลี่ยนจาก Traditional Services ที่มีมูลค่าต�่า สู่ High Value Services
เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต�่า สู่แรงงาน ที่มีความรู้ ความช�านาญ และทักษะสูง
PRODUCTIVE GROWTH ENGINE
INCLUSIVE GROWTH ENGINE
GREEN GROWTH ENGINE
กลไกขับเคลื่อนผ่านการสร้างและยกระดับ ผลิตภาพ มุ่งเน้นองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และปัญญา อย่างแท้จริง ตลอดจนแนวทาง ให้ ไทยเติบโตอย่างกระจาย ไม่กระจุก
กลไกขับเคลื่อนที่คนส่วนใหญ่ มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียม และทั่วถึง ด้วยการจัดสรร ทรัพยากรชุดใหม่
กลไกการขับเคลื่อน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน เน้นความตระหนัก และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Source: https://goo.gl/QBGZIU https://goo.gl/4AlOlZ https://goo.gl/6jyju6 EXECUTIVE SUMMARY ‘Thailand 4.0’ is a new model of Thailand’s economic propulsion that aims to adjust economic structure toward ‘Value-Based Economy’ in order to step over middle class country trap by transforming from traditional agriculture to new era agriculture which emphasizes on technology management in order to turn Traditional SME to Smart Enterprises with high capacity, low value Traditional Services to achieve high value, and low skilled labor to knowledgeable, specialized and highly skilled labor. In addition, if this can really be achieved, it will make the overall of Thailand economy set free from the middle class country trap and reduce the dependence of foreign countries in order to lessen several differences which will create economic and social balance to achieve true stability, prosperity and sustainability MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
issue 167 JANUARY 2017
50 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTICS เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
เศรษฐกิจไทยปี ’60
ตระหนัก… แต่อย่าตระหนก
เศรษฐกิจไทยปี พ.ศ. 2560 ยังคงต้องขับเคลือ่ นและก้าวผ่าน ปัจจัยทั้งบวกและลบ ล่าสุด ส�ำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง (สศค.) ได้คาดการณ์ถึงเศรษฐกิจไทยปี พ.ศ. 2560 โดยระบุว่า จะมีการขยายตัว 3.4% เพิ่มขึ้นจาก 3.3% ในปี พ.ศ. 2559 โดยมีปัจจัยสนับสนุนส�าคัญ ดังนี้
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ
ประมาณการ ปี 2559
ประมาณการ ปี 2560
GDP
3.3%
3.4%
มูลค่าส่งออก
-0.5%
1.8%
การบริโภคภาคเอกชน
2.1%
3.2%
การลงทุนภาคเอกชน
1.6%
1.7%
การลงทุนภาครัฐ
10.7%
6.2%
อัตราแลกเปลี่ยน
35.3 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
35.5 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ที่มา: สศค., EIU
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จากตารางข้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ว ่ า การลงทุ น ในโครงการ เมกะโปรเจกต์ของภาครัฐยังคงเป็น Key Driver ส�าคัญที่จะ กระตุ้นให้ภาคเอกชนลงทุนตามการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ของภาครัฐ โดยหลายโครงการเริ่มด�าเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ.2560 อาทิ มอเตอร์เวย์ รถไฟฟ้าในเขตเมือง รถไฟฟ้ารางคู่ เป็นต้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวส่งผลเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจโดย รวม โดยในระยะสั้น เพราะช่วยให้เกิดการจ้างงาน และส่งผลดี ต่อกลุ่มธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง อาทิ รับเหมาก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักรและอุปกรณ์ เป็นต้น ขณะที่ในระยะถัดไปการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานจะช่วยลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ และช่วย หนุนความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้กลับมาลงทุนมากขึ้น นอกจากนี้ ภาคการท่องเที่ยวก็ยังมีความส�าคัญต่อการ กระตุน้ เศรษฐกิจในภาพรวม โดยล่าสุดหลายฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับ ธุรกิจการท่องเทีย่ วคาดว่าในปี พ.ศ. 2560 นักท่องเทีย่ วต่างชาติ จะเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในไทยกว่า 37 ล้านคน เพิ่มขึ้น จาก 33 ล้านคนในปีที่ผ่านมา โดยนักท่องเที่ยวจีนยังเป็น นักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่มีการขยายตัวสูง แม้จะชะลอลงบ้าง ในระยะสั้นจากการปราบปรามทัวร์ศูนย์เหรียญ ส�าหรับตลาดสินเชื่อเอื้อต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ พบว่า สภาพคล่องในระบบยังมีอยู่อีกมาก สะท้อนจาก L/D Ratio ใน ไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2559 อยู่ที่ 96.9% ซึ่งเป็นระดับที่เพียงพอ ในการสนับสนุนการฟืน้ ตัวของสินเชือ่ ธุรกิจและสินเชือ่ ครัวเรือน ในระยะถัดไป และสุดท้าย คือ เรื่องของโครงการรถคันแรก ครบอายุถอื ครอง ซึง่ คงจ�ากันได้โครงการรถยนต์คนั แรกทีเ่ ริม่ ต้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งก�าหนดให้ผู้ซื้อต้องถือครองรถยนต์ 5 ปี นับจากวันรับรถจึงจะได้สิทธิคืนภาษี ได้ทยอยหมดอายุลง
INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTICS
เมื่อมี ‘โอกาส’
ย่อมมี ‘ความท้าทาย’
นโยบายกีดกันทางการค้า ของประธานาธิบดีคนใหม่สหรัฐฯ อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออก ของไทยทั้งแง่บวกและแง่ลบ
การยกเลิกข้อตกลง TPP ช่วยปิดจุดอ่อน ข้อเสียเปรียบของไทย จากการได้แต้มต่อทางภาษี ของหลายประเทศคู่แข่งส�าคัญที่อยู่ใน TPP โดยเฉพาะเวียดนามที่เป็นคู่แข่งของไทย ในหลายสินค้า อาทิ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องนุ่งห่ม รองเท้า อาหารทะเลกระป๋อง เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น
ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2559 ท�าให้ผู้ซื้อรถสามารถขายเปลี่ยนมือ หรือซื้อรถยนต์คันใหม่ได้ ปัจจัยดังกล่าวท�าให้เงินจ�านวนหนึ่ง ทีผ่ ซู้ อื้ เคยใช้ผอ่ นรถ ถูกน�ามาใช้จา่ ยเพือ่ อุปโภคบริโภคด้านอืน่ ๆ มากขึ้น ซึ่งจะช่วยกระตุ้นการบริโภคภาคเอกชนได้อีกทางหนึ่ง หากพิ จ ารณาอย่ า งรอบด้ า น จะพบว่ า การขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจไทยยังคงต้องให้ความส�าคัญกับการส่งออกเป็นหัวใจ ส�าคัญ ซึ่งการส่งออกปี พ.ศ. 2560 นั้น โดยภาพรวมน่าจะดีขึ้น จากปี พ.ศ. 2559 และมีความเป็นไปได้สูงที่จะกลับมาขยายตัว ได้ครั้งแรกในรอบ 5 ปี โดยมี 3 ปัจจัยสนับสนุนหลัก คือ ราคาน�า้ มันมีการฟืน้ ตัวจากจุดต�า่ สุด หลังจากปี พ.ศ. 2559 ต้องเผชิญกับปัญหาอุปทานส่วนเกินอย่างมาก ภายหลังหลาย ประเทศกลับมาเพิ่มก�าลังการผลิต โดยเฉพาะอิหร่านและอิรัก อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2560 สถานการณ์ดังกล่าวมีแนวโน้ม คลี่คลายลงมากหลังจากการผลิต Shale Oil ในสหรัฐอเมริกา ชะลอตัวลง ประกอบกับเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวอย่างค่อยเป็น ค่อยไป จะส่งผลให้ความต้องการใช้นา�้ มันในระยะถัดไปเพิม่ ขึน้ ประกอบกับล่าสุด IMF คาดการณ์ราคาน�า้ มันในตลาดโลกเฉลีย่ ปี พ.ศ. 2560 อยู่ที่ 50.6 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ปรับเพิ่มขึ้น จากระดับ 43 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรลในปี พ.ศ. 2559 ซึ่ง ปัจจัยดังกล่าวส่งผลดีตอ่ การส่งออกสินค้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับน�า้ มัน อาทิ น�า้ มันส�าเร็จรูป เม็ดพลาสติก เคมีภณ ั ฑ์และยางพารา ซึง่ มี สัดส่วนรวมกันกว่า 13% ของมูลค่าส่งออกรวมของไทย ปัจจัยต่อมา คือ การส่งออกไปตลาดเศรษฐกิจการค้าใหม่ๆ โดยเฉพาะ CLMV และ New Frontiers ยังมีการเติบโตอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง โดยอานิ ส งส์ จ าก CLMV ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ประเทศที่ เศรษฐกิจขยายตัวสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลกราว 7-8% ขณะที่ สัดส่วนการส่งออกของไทยไปยังตลาด CLMV อยู่ที่ประมาณ 10% ของมูลค่าส่งออกรวม ซึง่ เป็นสัดส่วนทีม่ ากกว่าหน้าตลาด ของ EU และญี่ปุ่นแล้ว โดยสินค้าส่งออกของไทยที่มีศักยภาพ ในตลาด CLMV อาทิ สินค้าอุปโภคบริโภค และวัสดุก่อสร้าง เช่นเดียวกัน New Frontiers ก็ถือเป็นตลาดที่มีศักยภาพ โดย มูลค่าส่งออกของไทยไป New Frontiers ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มีการขยายตัวเฉลี่ยราว 10.5% ต่อปี สูงกว่าการส่งออกรวมที่ ขยายตัวเฉลี่ย 6.8% ต่อปี อีกหนึง่ ปัจจัยสนับสนุนทีส่ า� คัญ ก็คอื ฐานมูลค่าการส่งออก ปี พ.ศ. 2559 อยู่ในระดับต�่า นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 มูลค่า ส่งออกของไทยหดตัวอย่างต่อเนื่อง แม้ว่ามูลค่าการส่งออกปี พ.ศ. 2559 มีแนวโน้มขยายตัว 0% หรืออาจพลิกกลับมาเป็น บวกเล็กน้อย แต่ถือว่ายังอยู่ในระดับต�่า ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�าคัญ ที่ช่วยหนุนให้การส่งออกในปี พ.ศ. 2560 กลับมาขยายตัว ได้มากขึ้นนั่นเอง
การขึ้นภาษีน�าเข้าสินค้าจากจีน จะเป็นโอกาส โดยสินค้าส่งออกของไทยที่เคยเป็นคู่แข่งกับจีน ในตลาดสหรัฐฯ อาจแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดกลับมา ได้บางส่วน อาทิ ยางล้อรถยนต์ เครื่องปรับอากาศ ในทางกลับกันก็อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า วัตถุดิบและกึ่งวัตถุดิบของไทยไปจีนเพื่อผลิตและส่งออก ไปตลาดสหรัฐฯ อาทิ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ สมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
การส่งออกปี ‘60 ตระหนัก แต่อย่าตระหนก ปัญหาหนี้ ภาคเอกชน และภาคการผลิต ส่วนเกินในจีน
51
กระแส Nationalism ว่าจะส่งผลต่อการ เลือกตั้งในเยอรมนี และฝรั่งเศส
อัตรา แลกเปลี่ยนมีความ ผันผวนมากขึ้น
Brexit ยังมีความ ไม่แน่นอน
Source: ฝ่ายวิจัยธุรกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและ น�าเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM BANK)
EXECUTIVE SUMMARY The Fiscal Policy Office (FPO) has forecasted Thailand economy in 2017 to expand by 3.4% considered increasing by 3.3% from 2016 deriving from supporting factor as the investment in government’s several mega projects including motorway, sky train in metropolitan area, dual track train, etc. which all of them will start the construction in 2017, while tourism business has been expected the number of 37 million foreign tourists traveling to Thailand considered increasing from 33 million tourists in the previous year, and in the same time, credit market positively promote economic recovery deriving from good system liquidity. Moreover, the First Car project has already been completed its term which allows car buyers to sell their cars or by a new one which will definitely stimulate the consumption of private sector as well, and in addition to export market considered as the key propulsion sector, in 2017 it is expected to expand once again in the last 5 years period deriving from the recovery in gasoline price from the lowest point, while the export to CLMV market and New Frontiers has continually grown even though it still needs to keep an eye on the commerce obstruction scheme of the new president of the United States of America may give some impacts to Thailand’s export in both positive and negative ways. issue 167 January 2017
52 ELECTRIC VEHICLES
E LECTRIC VEHICLES ในมุมมองนายกสมาคมยานยนต์ ไฟฟ้าไทย โอกาสของ
ดร.ยศพงษ์ ลออนวล นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย และ อาจารย์ ป ระจ� า คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ได้บรรยายพิเศษในหัวข้อ ‘เทคโนโลยียานยนต์ สมัยใหม่: ปรับกลยุทธ์ พัฒนาทักษะมองหาโอกาส พร้อมทะยานสู่ ประเทศไทย 4.0’ ภายในงาน The Grand Metalex 2016 โดยหยิบยก เรื่องราวของยานยนต์ไฟฟ้ามาบอกเล่าให้เกิดความเข้าใจ รวมถึง
โอกาสส� า หรั บ เมื อ งไทยให้ ผู ้ ป ระกอบการได้ เ ตรี ย มตั ว รั บ ความ เปลี่ยนแปลง ดร.ยศพงษ์ ได้ให้คา� จ�ากัดความของยานยนต์ไฟฟ้า คือ ‘ยานยนต์ ที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์’ โดยสามารถแบ่งชนิดตามรูปแบบการ ท�างานหลักๆ ได้ 5 ประเภท ดังนี้ Fuel = Gasoline
01
Engine
Hybrid มีเครื่องยนต์ มอเตอร์ ถังน�้ำมัน และแบตเตอรี่ ระบบทั้งหมดท�ำงำนพร้อมกัน Electric Motor Battery
** Fuel = Gas (Gasoline) / Desel Gas
Fuel = Gasoline and/or Electricity from Grid Engine
Gas
Electric Motor
Plug-in Hybrid มีเครื่องยนต์ มอเตอร์ และแบตเตอรี่ที่มีขนำดใหญ่กว่ำ Hybrid รวมถึง สำมำรถเสียบปลั๊กเพื่อเติมพลังงำนได้
Battery
02 Engine
03
Range Extender มีแบตเตอรี่และมอเตอร์ใหญ่ เครื่องยนต์มีขนำดเล็ก
Battery
Electric Motor
Electric Motor
BEV ไม่มีเครื่องยนต์ จะมีเพียงมอเตอร์ ใช้แบตเตอรี่กับที่ชำร์จภำยนอก Battery
04
Plug In
Power Control Unit
05
Electric Motor
FCEV คล้ำยกับระบบ Hybrid แต่เปลี่ยนจำกเครื่องยนต์เป็นมอเตอร์ไฟฟ้ำและถังเก็บไฮโดรเจน Battery Hydrogen Storage Tank
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ELECTRIC VEHICLES 53
ยานยนต์ ไฟฟ้านั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ นวัตกรรมนี้
เกิดขึ้นแล้วมานานกว่า 100 ปี ในกลุ่มประเทศยุโรป ช่วงประมาณรัชกาลที่ 5 ซึ่งปัญหาที่เกิดขึ้นตั้งแต่
ยุคสมัยนั้น ยังคงเป็นเรื่องเดิม คือ เรื่อง ระยะทางที่สามารถใช้งานได้
ดร.ยศพงษ์ ลออนวล นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย และอาจารย์ประจ�าคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ส�าหรับสิง่ ทีห่ ลายคนคาดหวังในด้านการลดมลภาวะโลกนัน้ ดร.ยศพงษ์ ได้ ตอบค�าถามเอาไว้ดังนี้ “EV หรือ FEV นั้น เป็นการลดการใช้พลังงานจากฟอสซิลซึ่งก่อให้เกิด คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งยานยนต์ไฟฟ้าเป็นเพียงฟันเฟืองหนึ่งเท่านั้น ไม่ได้เป็น สัดส่วนที่มากมายอย่างที่คิดกัน” “การท�างานของ EV หรือ FEV นั้น เน้นไปที่การท�างานของระบบแบบ องค์รวมอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการใช้งานทุกส่วนอย่างคุ้มค่า”
การท�างานแบบองค์รวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบที่มีประสิทธิภาพ (System Efficiency) การเดินทางอย่างมีประสิทธิภาพ (Travel Efficiency) ยานยนต์ที่มีศักยภาพ (Vehicle Efficiency)
ค่าความเข้มข้นของเชื้อเพลิงยานยนต์ ทีม่ าภาพ: https://connect.innovateuk.org/web/low-carbon/battery-electric-vehicles
สิง่ ทีต่ อ้ งพิจารณาส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้า คือ ระยะทางทีส่ ามารถใช้งาน ได้ จากข้อมูลพบว่าภายในพืน้ ทีเ่ ก็บเชือ้ เพลิงทีเ่ ท่ากัน Fuel Cell นัน้ สามารถ เดินทางได้น้อยกว่าเชื้อเพลิงน�้ามัน ซึ่งการเดินทางโดยเฉลี่ยของผู้ขับขี่นั้น อยูท่ ไี่ ม่เกิน 160 กิโลเมตรต่อวัน เพือ่ ความรูส้ กึ ปลอดภัยของผูข้ บั ขีย่ านยนต์ ไฟฟ้า การประจุพลังงานไฟฟ้าจนเต็มหนึ่งครั้งควรที่จะเดินทางได้ 300 กิโลเมตรเป็นอย่างน้อย
ระบบไฟฟ้าของการชาร์จ EV นั้น มีทั้ง AC DC และ ไร้สาย รวมถึงรูปแบบเสาชาร์จก็แตกต่างกันไปตาม กลุ่มประเทศที่ใช้งาน เช่น จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา
ซึ่งประเทศไทยต้องจับตาสถานการณ์ ตลาดของแต่ละกลุ่มเพื่อเลือกระบบให้เกิด ความเหมาะสมในหลากหลายมิติ
กฎข้อบังคับของหน่วยงาน (Regulation) ดร.ยศพงษ์ กล่าวต่อว่า ยานยนต์ไฟฟ้ากลับฟื้นมีความหวังอีกครั้งจาก Tesla Phenomena ซึง่ ท�าให้การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าสามารถเป็นจริงขึน้ มาได้ใน หลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ ระยะทางการใช้งาน รวมถึงราคาที่ สามารถจับต้องได้ ส�าหรับประเทศไทยระบบ Hybrid และ Plugin-Hybrid ได้มี การเริ่มจ�าหน่ายและใช้กันบ้างแล้วในชีวิตประจ�าวัน แต่รุ่นที่ใช้พลังงานไฟฟ้า เพียงอย่างเดียวนัน้ ไม่ได้มกี ารน�าเข้าหรือใช้งานภายในประเทศ เนือ่ งจากยังไม่มี ความพร้อมและข้อมูลไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจนโยบาย
หนทางของยานยนต์ไฟฟ้าส�าหรับประเทศไทยนัน้ ถือว่าอยูไ่ ม่ใกล้ไม่ไกลนัก เนือ่ งจากประเทศไทยนัน้ มีศกั ยภาพเป็นทุนเดิม เพียงแต่วา่ การเปลีย่ นแปลง ของสายการผลิตที่ก�าลังจะมาถึงต้องมีการเตรียมตัวและเตรียมพร้อม ส�าหรับความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ประเทศไทยยังคงสถานะ ผู้น�าในด้านการผลิตและประกอบชิ้นส่วนยานยนต์
EXECUTIVE SUMMARY Dr. Yossapong Laornuan, President of Electric Vehicle Association of Thailand and instructors of Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) revealed his perspectives upon electric vehicles in Thailand that the hope of electric vehicle has brought back to life once gain by Tesla Phenomena that made the dream of using electric vehicle come through in various dimensions including design, driving distance and tangible price. For Thailand, Hybrid and Plug-in Hybrid system has started selling and using in regular basis, but the model using only electrical energy has not been importing or using within the country since the country was not ready and had not enough data for determining the policy. issue 167 JANUARY 2017
54 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
พลังงานทดแทนช่วงเปลี่ยนผ่าน
ใครจะอยู่ ใครจะไป
ต้องขอบคุณคณะกรรมการในส่วนของพลังงานทดแทน ทั้ง สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ (สนช.) และ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ซึ่งต่างก็ใช้ ความพยายามกันสุดความสามารถในช่วงกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมา ตั้งแต่การผลักดัน ‘พ.ร.บ.พลังงานทดแทน’ ไปจนถึงระบบไฟฟ้าเสรี การจัดล�าดับความส�าคัญของ พลังงานทดแทนแต่ละประเภท รวมทัง้ ต้นทุนทีแ่ ท้จริงของราคาพลังงานทดแทน ทัง้ ระบบ แต่ยงั คงมีประเด็นทีห่ น่วยงานของรัฐเองยังตกลงกันไม่ได้ คือ การผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ซึ่งจะใช้ตัวเลขก�าลังการผลิตติดตั้งหรือใช้ตัวเลขที่ ผลิตได้จริงๆ ฟังดูไม่ยากแต่กม็ คี นคิดให้ยากไปเองจึงใช้กา� ลังการผลิตติดตัง้ เป็นเป้าหมาย ซึ่งได้ไม่เต็มปริมาณที่ใช้จริง อีกทั้ง แนวคิดการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ที่ต้องใช้เชื้อเพลิงและใช้พลังงานจากธรรมชาติที่ใช้วิธีเดียวกัน การรับซื้อไฟฟ้า แบบ Firm กับ Non-Firm ควรมีข้อก�าหนดที่แตกต่างกัน อีกทั้ง VSPP และ SPP ก็ควรมีกติกาทีแ่ ตกต่างกัน และประการสุดท้าย ความพร้อมของนักปัน่ ไฟทีพ่ ร้อม จริงๆ ทั้งเทคโนโลยีสะอาด และการเงิน เชื้อเพลิง ควรเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณา เป็นอันดับแรกและให้ความส�าคัญ พลังงานทดแทนช่วงเปลี่ยนผ่านใครจะอยู่ ใครจะไปเป็นเหมือนลูกไก่ในก�ามือของผู้มีอ�านาจก�าหนดนโยบาย ‘จะบีบก็ตาย จะคลายก็รอด’
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เมืองไทยวันนี้มีผู้เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทนมากมาย นอกจากภาครัฐ ท�าหน้าที่ทั้งส่งเสริมและควบคุมดูแลผู้เล่นที่ส�าคัญที่สุดที่จะกล่าวถึงในฉบับนี้ ก็คือ ภาคเอกชน ซึ่งเป็นตั้งแต่นายหน้า นักพัฒนาโครงการ เจ้าของโครงการ ผูจ้ ดั หาเทคโนโลยี เจ้าของเทคโนโลยี รับเหมาก่อสร้างโครงการ ทีป่ รึกษา นักลงทุน นักฉวยโอกาส และสถาบันการเงิน ปัจจัยซึ่งเป็นตัวแปรในช่วงเปลี่ยนผ่านก็มี มากมาย อาทิ พ.ร.บ.พลังงานทดแทน การเมืองในประเทศ สภาวะเศรษฐกิจไทย ในยุคเงินฝืด กระแสปั่นหุ้นของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ รถยนต์ไฟฟ้าที่พัฒนา อย่างรวดเร็ว ระบบ Bidding ปัญหาสายส่งไม่เพียงพอ... และตัวแปรทีท่ า� ให้วงการ พลังงานทดแทนเข้าสูย่ คุ เปลีย่ นผ่านก็คอื นักธุรกิจหน้าใหม่จากนอกวงการ (New Comer) ซึ่งโฉบเข้ามาฉกฉวยโอกาส โดยมองผลระยะสั้น เพื่อเตือนความจ�าแผนพัฒนาพลังงานทดแทนที่ตั้งเป้าหมายไว้ให้วิ่งตาม คือ 30% จากก�าลังการผลิตติดตั้ง จึงขอแสดงแผนผังเป้าหมายแผนพัฒนา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) ในปี พ.ศ. 2579 ในรูปแบบของ Infographics ดังนี้
RENEWABLE ENERGY 55
Biofuel เป็นพลังงานทดแทนที่อมตะนิรันดร์กาลของประเทศไทย อันได้แก่ เอทานอล และไบโอดีเซล นอกจากชาวสวนชาวไร่ได้ประโยชน์กันทั่วหน้าแล้ว ยั ง สอดคล้ อ งกั บ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งและเป็ น การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ ้ ม ค่ า โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เอทานอล ซึ่ ง ประเทศไทยผลิ ต จากกากน�้ า ตาล และ มันส�าปะหลัง หลายๆ ท่านอาจคิดว่า เมืองหนาวผลิตเอทานอลได้ยาก เนือ่ งจาก ขาดวัตถุดิบ แต่ท่านทราบไหมว่า ภาคพื้นยุโรปให้ความส�าคัญกับเอทานอล หรือแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 99.5% เป็นอย่างมาก โดยยุโรปผลิตจากข้าวโพด และข้าวสาลี ปีละ 7,000 ล้านลิตร สหรัฐอเมริกาผลิตจากข้าวโพด ปีละ 56,000 ล้านลิตร บราซิล ปีละ 28,000 ล้านลิตร จีน ปีละ 2,700 ล้านลิตร แคนาดา ปีละ 2,100 ล้านลิตร ส่วนประเทศไทยใช้อยู่ปีละประมาณ 1,400 ล้านลิตร ส�าหรับไบโอดีเซลของไทยที่ท�าหน้าที่ปรับสมดุลราคาปาล์มดิบ (CPO) คือ เมื่อปาล์มน�้ามันล้นตลาดก็ผสมไบโอดีเซล B100 มากหน่อย เป็นแบบนี้มา โดยตลอด และยิ่งถ้าน�้ามันปาล์มดิบ (CPO) ล้นมากๆ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ก็จะ ใช้ CPO แทนน�้ามันดีเซลผลิตไฟฟ้า เพื่อช่วยพยุงราคาเป็นการอุดหนุนจากรัฐ วิ ธี ห นึ่ ง ที่ จ ะบรรเทาความเดื อ ดร้ อ นของเกษตรกร หลายท่ า นคงได้ อ ่ า น บทวิเคราะห์วา่ ในปี ค.ศ. 2030 หรืออีกสิบกว่าปีขา้ งหน้านี้ ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว ในยุโรปจะมีการใช้รถดีเซลลดลงจากสัดส่วนการใช้จาก 55% เหลือเพียง 9% แน่นอนที่สุดว่าจะต้องส่งผลมาถึงไทยไม่มากก็น้อย เหตุผลการลดลงของ รถยนต์ดีเซลอันเนื่องมาจากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยช่วงที่ผ่านมา มีปริมาณการใช้ไบโอดีเซลในประเทศไทยแกว่งมาก สรุปได้ว่าหากมีการผสม B1007% จะใช้ไบโอดีเซล 4.0-4.2 ล้านลิตรต่อวัน แต่ถ้าผสม B100 ในอัตรา 3% หรือ 5% อัตราการใช้ต่อวันก็จะลดลงตามส่วน ซึ่งคาดว่าเฉลี่ยทั้งปีในปีน้ี ประเทศไทยจะใช้น�้ามันไบโอดีเซล 3.3 ล้านลิตรต่อวัน โรงไฟฟ้ า ชี ว มวลและเชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลจากเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสู ่ ค วามไม่ เพียงพอ ต้องยอมรับว่าถ้าเราย้อนหลังไป 10 ปี ชีวมวลไทยได้รับการส่งเสริม จากภาครัฐให้น�าเศษเหลือทิ้งเหลือใช้มาผลิตพลังงานไฟฟ้าใช้เอง ส่วนที่เหลือ ก็ขายไฟฟ้าให้ภาครัฐซึ่งได้มีการอุดหนุนการรับซื้อไฟฟ้า เพื่อเพิ่มแรงจูงใจ ในระบบ Adder
ดังนัน้ โรงไฟฟ้าชีวมวลรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงจึงได้เกิดขึน้ และกระจายตัว ไปทั่วประเทศ อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สร้างเสริมรายได้ให้ชุมชน แต่วันนี้ ชีวมวลไทยไม่สามารถต้านทานกระแสโลกยุคดิจิตอลได้อีกต่อไป ได้กลายเป็น อาหารจานโปรดของบริษัทใหญ่ๆ และบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ทิ้ง SME และ ชุมชนไว้เบื้องหลัง น่าชื่นชม หน่วยงานภาครัฐที่พยายามช่วย SME และชุมชน เหล่านี้ โดยการส่งเสริมให้น�าเศษเหลือทิ้ง (จริงๆ) มาผลิตเป็น Biomass Pellets หรือเรียกว่า ชีวมวลอัดแท่ง และส่งเสริมให้ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อ ไม่ตอ้ งพึง่ พาสายส่ง ไม่พงึ่ พิงการปัน่ หุน้ หรือปัน่ ไฟ แต่รสู้ กึ เหมือนเข็นครกขึน้ ภูเขา
issue 167 January 2017
56 RENEWABLE ENERGY
คงต้องวัดใจผู้มีอ�านาจให้ก�าหนดนโยบายลงมาดูแล SME กันต่อไป นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาพลังงานทดแทนจากพืชที่เหมาะสมในประเทศไทย โดยคณะ กรรมาธิการการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งพยายามมองหาช่องทาง ช่วยชุมชนภาคเกษตรให้มรี ายได้เพิม่ ขึน้ แบบยัง่ ยืน โดยการปลูกพืชพลังงาน เช่น พืชตระกูลกระถิน ยูคาลิปตัส และหญ้าเนเปียร์ ขอพาผู้อ่านสู่เวทีเดือดของโรงไฟฟ้าชีวมวลที่เริ่มจะเปิด Bidding ในภาคใต้ ก่อน ซึ่งจะท�าให้มีอาชีพใหม่ในการจัดหาเอกสารรับรองปริมาณของเชื้อเพลิง ชีวมวล ซึ่งส่วนใหญ่ในภาคใต้ก็คงไม่พ้นยางพารา จากข้อมูลอยู่ที่การยางแห่ง ประเทศไทย (กยท.) พื้นที่ปลูกจริงมีมากกว่าตัวเลขที่ปรากฏ อยู่ที่ใครจะเชื่อว่า จริงๆ แล้วมีมากน้อยแค่ไหน จากการศึกษาปริมาณชีวมวลในหลายๆ ส�านักของ ปี 2556 ได้รวบรวมชีวมวลทัง้ ทีจ่ ดั เก็บได้และจัดเก็บได้ยากว่ามีปริมาณประมาณ 130 ล้านตัน และน�าไปใช้ประโยชน์แล้วราว 70 ล้านตัน ปริมาณคงเหลือถึง 60 ล้านตัน และสามารถผลิตไฟฟ้าได้ถึง 3,700 เมกะวัตต์ ราคาชีวมวลที่เป็นไม้สับในประเทศไทยชนิดพร้อมใช้มีราคาตั้งแต่ 300 บาท ไปจนถึงตันละ 1,000 บาท ขึ้นอยู่กับพื้นที่และคุณภาพชีวมวล ส�าหรับภาคใต้ ซึง่ มีโรงไฟฟ้าจากเศษต้นยางพาราไปจนถึงรากยางพาราค่อนข้างมาก คงไม่มใี คร พยากรณ์ราคาเชื้อเพลิงชีวมวลได้ถูกต้องในอีก 10 ปีข้างหน้า แต่ที่แน่นอนที่สุด ก็คอื เมือ่ มีแนวโน้มสูงขึน้ ไปเรือ่ ยๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ กกพ. เปิดรับซือ้ ไฟฟ้า อีกจ�านวนมากจากชีวมวล ผูร้ ใู้ นวงการพยากรณ์วา่ จากนีอ้ กี 3-5 ปีจะได้รวู้ า่ ใคร จะอยูใ่ ครจะไป ด้วยปัจจัยด้านราคาเชือ้ เพลิงและการเลือกใช้เทคโนโลยีราคาถูก ยิง่ สิน้ เปลืองเชือ้ เพลิงท�าให้ตน้ ทุนการผลิตสูง และเป็นการใช้ทรัพยากรทีไ่ ม่คมุ้ ค่า เมือ่ Bidding ได้ราคาต�า่ ปัญหาทีจ่ ะตามมายังมีอกี มาก อาทิ ด้านสิง่ แวดล้อม และการขาดสภาพคล่องของโรงไฟฟ้า และท้ายที่สุดก็คงมาเรียกร้องให้รัฐช่วย อีกเช่นเคย เนื่องจากปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าที่ได้รับอัตรา FiT ราคาเต็มๆ ไม่ต้อง Bidding กว่า 180 โรง ก�าลังการผลิตกว่า 1,100 เมกะวัตต์ โดย 1 เมกะวัตต์ ต้องใช้ไม้สับ 30 ตันต่อวัน ถ้าจะถามหาความรับผิดชอบก็ควรถามกันตั้งแต่วันนี้ Biogas หรือก๊าซชีวภาพในประเทศไทยต้องขอชื่นชมกับทีมงานส�านักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ทีท่ งั้ ผลักและดันให้ภาคอุตสาหกรรมน�าน�า้ เสีย จากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น แป้งมันส�าปะหลัง ปาล์ม เอทานอล อาหาร น�้ายางข้น เข้าร่วมโครงการกว่า 235 โครงการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุน ทั้งสิ้น 3,962 ล้านบาท ใช้เวลากว่า 5 ปี ก๊าซชีวภาพส่วนหนึ่งใช้ผลิตความร้อน ส�าหรับใช้ในโรงงาน และอีกส่วนหนึง่ ผลิตเป็นไฟฟ้าเพือ่ ขายให้กบั การไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค แต่เนื่องจากโครงการนี้ยาวมาก ท�าให้โครงการท้ายๆ ขาดแคลนสายส่ง ท�าให้ขายไฟฟ้าไม่ได้ถึงปัจจุบัน ซึ่งบางโรงงานก็จ�าเป็นต้องเผาทิ้งเพื่อลดมลพิษ ในอากาศ ภาครัฐเองก็ไม่ได้นิ่งนอนใจ พยายามส่งเสริมให้น�าก๊าซชีวภาพ ดังกล่าวมาอัดใส่ถงั หรือทีเ่ ราเรียกว่า ก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) แต่เนือ่ งจากอัตรา อุดหนุนจากภาครัฐไม่คุ้มค่าการลงทุน และนโยบายรัฐเปลี่ยนแปลง โครงการ ดังกล่าวจึงเงียบหายไป อีกโครงการหนึ่งที่น่าจะไปได้ แต่เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาล นโยบายก็เปลี่ยน ไปด้วย ก็คือ การผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงานอย่างหญ้าเนเปียร์ เริ่มต้นจาก การน�าหญ้าเนเปียร์ที่กรมปศุสัตว์ใช้เลี้ยงสัตว์มาลองหมักแก๊ส ซึ่งปรากฏได้ว่า ได้ผลดี รัฐบาลสมัยนั้นจึงได้ส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูกกันแทบจะทั่วประเทศ แต่เมื่อนโยบายรัฐเปลี่ยนไป ผู้รับเคราะห์ก็คือเกษตรกรเช่นเคย น่าเสียดายที่โครงการไบโอแก๊สในประเทศไทยไม่ประสบความส�าเร็จเท่าที่ ควร ทั้งๆ ที่คนไทยมีเทคโนโลยีเองจากภูมิปัญญาคนไทย และความพร้อมด้าน วัตถุดิบ และสภาพภูมิอากาศที่เอื้อต่อการหมักก๊าซชีวภาพ อาจะเป็นเพราะ ไบโอแก๊สไม่ใช่พลังงานทดแทนที่ซื้อง่ายขายคล่อง และย้ายสถานที่ผลิตไฟฟ้า ไม่ได้ จึงได้รับความสนใจจากนักลงทุนน้อย ภาครัฐเองก็ยังไม่ชัดเจนด้านการ ส่งเสริม แล้ว Biogas ไทยจะอยู่หรือไปในภาวะเช่นนี้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
RENEWABLE ENERGY 57
ส�าหรับกลุม่ พลังงานธรรมชาติ ไม่ตอ้ งใช้เชือ้ เพลิง ต้องยอมรับว่าพลังงานลม ในประเทศไทยโดยเฉลี่ยค่อนข้างต�่า ถึงแม้จะมีเทคโนโลยีแบบ Low Speed – Wind Turbine แต่ก็ท�าท่าจะคืนทุนยาก ในอนาคตเทคโนโลยีคงจะมีการพัฒนา สูงขึ้นไปอีก ส�าหรับพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ หรือ Solar Cell พระเอกของ พลังงานทดแทนที่ไม่ต้องพึ่งพาเชื้อเพลิงและเป็นพลังงานทดแทนชนิดแรกที่เข้า WIN ก่อนใคร คือไม่ง้อการอุดหนุนจากภาครัฐอันเนื่องจากราคาต้นทุนการผลิต ไฟฟ้าต่อหน่วยใกล้เคียงกับไฟฟ้าที่ผลิตจากฟอสซิล ส่วนโครงการโซลาร์เซลล์ ค้างท่อต่างๆ อีกหลายร้อยเมกะวัตต์ รัฐคงต้องแสดงความจริงใจยกเลิกโครงการ ที่ยังไม่ได้เซ็นสัญญา เพื่อประหยัดงบอุดหนุนนับหมื่นล้านบาท หรือหากจะ เดินหน้าต่อก็ใช้วิธี Bidding ซึ่งไม่ซับซ้อนอะไรบอกใบ้ได้เลยว่าราคาต�่ากว่าเลข 4 ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ก็จะยังคงอยู่คู่ฟ้าเมืองไทยและ อยู่คู่โลกของเรา แต่จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีไปสู่รูปแบบหลากหลายที่ไม่ใช่ Solar Farm ซึ่งใช้พื้นที่มากอย่างในปัจจุบัน พลังงานขยะ จะขอก้าวข้ามขยะอุตสาหกรรม ซึง่ มีการจัดสรรให้กบั นักลงทุน ไปแล้ ว ถึ ง แม้ ว ่ า บ่ อ ฝั ง กลบกว่ า 500,000 ตั น ต่ อ ปี ยั ง จะอยู ่ กั น เกื อ บครบ ขยะอันตรายไม่สามารถก�าจัดได้จงึ พลาดเป้าหมาย Zero Landfill ของกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมก็ตาม ขอกลับไปที่ขยะชุมชนซึ่งทางกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เป็นเจ้าภาพในการคัดเลือกโครงการที่เหมาะสม ส่งให้ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดหาสายส่ง นับว่า โครงการขยะชุมชนเป็นแม่แบบของการบริหารจัดการพลังงานทดแทนที่ต้องใช้ เชือ้ เพลิงและเป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) และก็ขายไฟฟ้าแบบ Non-Firm ซึ่งมีจุดเด่นของการด�าเนินการ ดังนี้ 1. อัตราราคาส่งเสริมเหมาะสมไม่สูงเกินไปจนนักปั่นหุ้นวิ่งกรูกันเข้ามา 2. เน้นการก�าจัดขยะที่มีจริงๆ ไม่ต้องจัดหาหรือคาดว่าในอนาคตจะมี 3. มีการคัดเลือกนักลงทุนจาก อปท. ที่รับผิดชอบขยะนั้นๆ 4. ให้ความส�าคัญกับชุมชน เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ส่วนการผลิตไฟฟ้าเป็น ผลพลอยได้ เพียงเท่านีก้ ค็ งต้องให้ 5 ดาวแล้ว น่าเสียดายทีพ ่ ลังงานขยะเป็นพลังงาน ที่ไม่มีอนาคตยาวนัก ซึ่งคาดว่าอีกไม่เกิน 5 ปี ก็คงไม่มีโครงการใหม่ ๆ อีก แล้ว และก็คงไม่มีรัฐบาลไหนจะออกมาส่งเสริมให้ผลิตขยะเพิ่มเพื่อผลิต ไฟฟ้าเป็นแน่ issue 167 January 2017
58 RENEWABLE ENERGY
นานาทัศนะ คุณสมโภชน์ อำหุนัย ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำร บริษัท พลังงำนบริสุทธิ์ จ�ำกัด (มหำชน) อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าก�าลังจะถึงจุดเปลีย่ นแปลงทีส่ า� คัญจากการทีเ่ ราพึง่ พิงพลังงาน ฟอสซิลเป็นหลัก มาเข้าสูย่ คุ ทีพ่ ลังงานทดแทนจะกลายเป็นแหล่งพลังงานทีส่ า� คัญ ดังจะเห็นได้วา่ ต้นทุนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนโดยเฉพาะจากพลังงานแสงอาทิตย์มีราคา ลดลงอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง รัฐบาลเองก็มีการปรับราคารับซื้อไฟฟ้าลงมาตามล�าดับเพื่อให้ สอดคล้องกับต้นทุนการผลิตที่แท้จริง ขณะเดียวกันต้นทุนของระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) ก็ลดลงอย่างมาก จนท�าให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเป็นแหล่งพลังงานที่พึ่งพิงได้ การจ่ายในช่วง Peak Demand เริ่มมีต้นทุนที่ถูกกว่าการผลิตกระแสไฟฟ้าจากฟอสซิลในหลายประเทศ แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้ จะมีผลถึงโครงสร้างพื้นฐานระบบไฟฟ้าโดยรวมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนัน้ เราจึงควรทีจ่ ะเร่งปรับตัว เริม่ คิดต่าง และเปลีย่ นวิกฤตนีใ้ ห้เป็นโอกาส เพือ่ ให้ประเทศไทยยังคงเป็นผูน้ า� ในธุรกิจพลังงานทดแทน ของภูมิภาคนี้ต่อไป แทนที่เราจะรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในลักษณะ Non-Firm การรับซื้อในรูปแบบ Firm น่าจะเป็นสิ่งที่ต้องเร่ง ให้เกิดเป็นรูปธรรม เพื่อให้พลังงานทดแทนเลิกเป็นภาระต่อผู้บริโภค ค่าไฟฟ้าโดยรวมก็จะถูกลงจากการใช้โรงไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันให้ ได้ ประโยชน์สูงสุด
ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี ผู้อ�ำนวยกำร สถำบันวิจัยและพัฒนำพลังงำนนครพิงค์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ พลังงานทดแทนจะเป็นส่วนหนึง่ ของแนวโน้มการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของโลกเสมอ ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว พลังงานจากก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทนในรูปแบบที่สอดคล้องเชื่อมโยง และ มีศักยภาพในการเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่การผลิตในภาคเกษตรกรรมอย่างชัดเจน ทั้งในด้านการ เปลีย่ นน�า้ เสีย ของเสียจากกระบวนการผลิตเป็นเชือ้ เพลิง ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จาก กระบวนการผลิตผลิตผลหลักของประเทศ เช่น แป้งมัน น�้าตาล น�้ามันปาล์มลงอย่างมีนัยส�าคัญ ก๊าซชีวภาพยังเป็นระบบทีส่ ามารถเป็นศูนย์กลางการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนของชุมชนของประเทศไทย และอาเซียน ทั้งด้านการจัดการขยะอินทรีย์ชุมชน การส่งเสริมพืชพลังงาน และการผลิตไฟฟ้า และความร้อนป้อนสูช่ มุ ชนแบบชุมชนเป็นเจ้าของผลิตเองใช้เองแบบมัน่ คง (Firm RE Pro-Sumer) สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา ระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ในอนาคต ความสามารถอีกประการหนึ่งของก๊าซชีวภาพ คือ การเป็นระบบสะสมพลังงาน (Energy Storage) โดยธรรมชาติ โดยสะสม เชื้อเพลิงมีเทนเก็บไว้ผลิตไฟฟ้าได้ในช่วงเวลาที่ต้องการอย่างปัจจุบันทันที (Real Time Power Supply) ซึ่งจะเป็นระบบผลิตพลังงาน ที่จ�าเป็นอย่างยิ่งในการบริหารจัดการระบบไฟฟ้าในอนาคต นอกจากนี้ ยังมีเทคโนโลยีการปรับปรุงเปลีย่ นก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้เป็นผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ นอกจากพลังงานไฟฟ้า เช่น ก๊าซมีเทนชีวภาพ อัดส�าหรับยานยนต์ (CBG) ก๊าซมีเทนชีวภาพเพื่อทดแทนความร้อนในภาคครัวเรือนและอุตสาหกรรม เป็นต้น คงเป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งถ้าประเทศไทย ซึ่งมีศักยภาพในการผลิตพลังงานสะอาดอย่างมากมาย จะต้องสูญเสียโอกาสในการ พัฒนาด้วยข้อจ�ากัดต่างๆ ที่สามารถจัดการด้วยนโยบายรัฐ เช่น ระบบโครงข่ายไฟฟ้า ตลาดการจ�าหน่ายก๊าซ CBG ในภาคขนส่ง และ ความร้อน ฯลฯ ทั้งที่ประเทศไทยมีต้นทุนการพัฒนาเทคโนโลยีระบบก๊าซชีวภาพให้ใช้วัสดุหลักในประเทศ (Local Content) ได้ทั้งหมด ก้าวหน้ามากที่สุดในภูมิภาคอาเซียนและอีกหลายๆ ประเทศทั่วโลก
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
RENEWABLE ENERGY 59
คุณพิพัฒน์ สุทธิวิเศษศักดิ์ รองประธำนกลุ่มอุตสำหกรรมพลังงำนทดแทน สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย รองเลขำธิกำร และประธำนฝ่ำยวิชำกำร สมำคมกำรค้ำผู้ผลิตเอทำนอลไทย ประธำนเจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติกำร บริษัท เอกรัฐพัฒนำ จ�ำกัด หากเราไม่ช่วยกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้มากขึ้นในวันนี้ เราคงไม่สามารถยับยั้ง การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกเทียบกับก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมให้ต�่ากว่า 2 องศาเซลเซียสได้ หายนะภัยร้ายแรงจะเกิดขึน้ บ่อยครัง้ และรุนแรงมากขึน้ ประชาคมโลกล้วนตระหนักในปัญหาส�าคัญนี้ ร่วมกัน จนน�าไปสู่ข้อตกลงกันของกว่า 150 ประเทศที่กรุงปารีส (COP21) ประเทศไทยก็มีส่วนร่วมในภารกิจนี้เช่นกัน ท่านนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ ให้ค�ามั่นสัญญาที่ COP21 ว่า ไทยจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20 – 25 ภายในปี พ.ศ. 2573 จนเป็นทีม่ าของการสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน พลังงานหมุนเวียน และเชือ้ เพลิง ชีวภาพส�าหรับภาคขนส่งให้เต็มศักยภาพที่เรามีอยู่ เชือ้ เพลิงชีวภาพไบโอเอทานอล (Bio-Ethanol) เป็นพลังงานหมุนเวียนทีส่ ามารถผลิตขึน้ จากพืชผลการเกษตรและชีวมวลทีเ่ ป็นวัสดุ เหลือใช้ทางการเกษตร (Biomass) ทีป่ ระเทศไทยมีอยูอ่ ย่างเหลือเฟือ อย่างไรก็ดี ประเด็นเรือ่ งความขัดแย้งระหว่างอาหารของมนุษย์และ เชือ้ เพลิงได้ถกู น�ามาพิจารณาด้วย ในแต่ละปีเรามีออ้ ย 100 ล้านตัน กากน�า้ ตาล 4.5 ล้านตัน มันส�าปะหลัง 30 ล้านตัน ชีวมวล 30 ล้านตัน ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่เรามีอยู่อย่างเหลือเฟือ เราผลิตเอทานอลจากกากน�้าตาลปีละ 3.3 ล้านตัน จากอ้อย 3 แสนตัน และจากมันส�าปะหลัง เพียง 2.5 ล้านตัน ซึ่งเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณที่เรามี ปัจจุบันประเทศไทยมาถึงจุดที่พัฒนาการใช้เอทานอลในรูปแบบของเชื้อเพลิงผสม เอทานอลเป็นส่วนหนึ่งของน�้ามันแก๊สโซฮอล์ ในปริมาณมากน้อยแล้วแต่ชนิด น�้ามันแก๊สโซฮอล์ 91 และ 95 หรือ E10 จะมีเอทานอลผสมอยู่ร้อยละ 10 น�้ามันแก๊สโซฮอล์ E20 และ E85 มีร้อยละ 20 และ 85 ตามล�าดับ เอทานอลที่มีค่า RON (Research Octane Number) สูงถึง 129 ช่วยให้การเผาไหม้สะอาดขึ้น และเมื่อใช้กับเครื่องยนต์ที่มีอัตราส่วนก�าลังอัดสูงจะได้ประสิทธิภาพรวมสูงขึ้นไปอีก ผูผ้ ลิตรถยนต์ทกุ รายตอบสนองนโยบายรัฐด้วยการผลิตและจ�าหน่ายรถยนต์ทสี่ ามารถใช้เชือ้ เพลิงทีม่ สี ว่ นผสมเอทานอลสูง สามารถ ใช้น�้ามัน E20 แทบทุกรุ่น และเกือบ 20 รุ่น สามารถใช้น�้ามัน E85 ได้ บริษัทน�้ามันทุกรายทุ่มเทด้วยการเปิดสถานีบริการน�้ามันจ�าหน่าย น�้ามัน E10 เป็นพื้นฐาน มีน�้ามัน E20 มากกว่า 3,000 สถานี และน�้ามัน E85 มากกว่า 800 สถานี กระจายอยู่ทั่วประเทศ ปัจจุบันราคาน�้ามันดิบที่อ่อนตัวลงกว่าในอดีตมาก ส่งผลให้น�้ามันเบนซินหรือแก๊สโซลีนมีราคาถูก ท�าให้เอทานอลที่ใช้วัตถุดิบ การเกษตรในประเทศกว่าร้อยละ 75 มีต้นทุนผลิตที่สูงกว่าชัดเจน แต่ถ้าพิจารณาให้รอบด้าน ครบถ้วนทุกแง่มุม ตั้งแต่ปัญหาภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของโลกซึ่งมีความส�าคัญสูงสุด เอทานอลช่วยเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงาน (Energy Security) เนื่องจากผลิตขึ้น ได้เองในประเทศ และอุตสาหกรรมเอทานอลมีสว่ นช่วยเศรษฐกิจของประเทศในด้านการลงทุน การจ้างงาน ใช้ปรับสมดุลภาคพลังงานและ ภาคเกษตร ในโอกาสที่เชื้อเพลิงฟอสซิลมีราคาถูก ควรใช้กลไกภาษีน้�ามันและสิ่งแวดล้อมสนับสนุนเชื้อเพลิงชีวภาพที่มีต้นทุนสูงกว่าให้ อยู่รอดได้ และไม่ท�าให้ผู้บริโภคสุดท้ายเดือดร้อน ผมคาดหวังให้ประเทศไทยแน่วแน่กับการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพเอทานอล และพลังงานทดแทนอื่นๆ ตามแผน AEDP ที่มีอยู่แล้ว ปัญหาและอุปสรรคเฉพาะหน้าทีอ่ าจเกิดขึน้ ในแต่ละช่วงเวลา สามารถร่วมกันแก้ไขและก้าวข้ามไปได้ ด้วยศักยภาพด้านต่างๆ ทีป่ ระเทศไทย มีอยู่พร้อม ผมเชื่อมั่นว่า เราจะบรรลุถึงเป้าหมายระยะยาวด้วยกันในที่สุด
issue 167 January 2017
60 Special Report เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
บรรจุภัณฑ์ ไทย… ในยุค
SMART
PACKAGING MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Special Report
ภายในงาน FTPI Conference 2016 ‘Bright Future for Printing and Packaging 4.0’ ซึ่งจัดโดยสหพันธ์อุตสาหกรรม การพิมพ์ไทย ได้มีการพูดกันถึงทิศทางและความอยู่รอดของ บรรจุภัณฑ์ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 จากนักวิชาการและ ผูป้ ระกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคส่วนอุตสาหกรรมอาหาร และยา ซึง่ มีความเกีย่ วข้องกับบรรจุภณ ั ฑ์อย่างใกล้ชดิ ชีใ้ ห้เห็น ความเป็นไปได้และการยืนหยัดท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง ของผู้ประกอบการบรรจุภัณฑ์อันเต็มไปด้วยแง่คิดและมุมมอง คุณภาพที่จ�าเป็นต้องใคร่ครวญ บรรจุภัณฑ์ไทย 4.0 จากมุมมองสถาบันไทย-เยอรมัน คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ ผู้อ�านวยการสถาบันไทยเยอรมัน มองว่าบรรจุภัณฑ์เป็นส่วนที่ส�าคัญในการแข่งขันของ สินค้า ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบและมาตรฐานความสะอาด ซึ่งการด�าเนินกิจการเหล่านี้ต้องด�าเนินไปควบคู่กับโครงการ Thailand 4.0 ซึ่งจะเป็นตัวผลักดันประเทศให้ก้าวไปข้างหน้า อย่างยั่งยืน คุณสมหวัง กล่าวว่า “ความก้าวหน้าและพัฒนาการของ เศรษฐกิจไทยนั้นเป็นผลมาจากความแข็งแรงของภาคเอกชน ที่มีอยู่ ซึ่งประเทศไทยก�าลังมุ่งหน้าไปยังยุคแห่ง Smart ไม่ว่า จะเป็น Smart Technology, Smart Manufacturing, Smart City และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ Smart People ซึง่ เป็นส่วนจ�าเป็นทีจ่ ะขาด เสียไม่ได้ ในส่วนของ Packaging ก็ได้เกิด Smart Packaging ขึ้นเช่นกัน ได้แก่ Active Packaging, Interactive Packaging และ Intelligent Packaging ซึง่ สามารถตอบสนองต่อการใช้งาน ได้อย่างหลากหลายและครอบคลุมมากขึ้น”
2015
61
Packaging 4.0 คือ การเปลี่ยนจากการผลิต แบบ Mass ไปเป็ น Mass Customize ซึ่ ง อาจไม่ ไ ด้ ผลิตจ�านวนมากมายเท่าเดิม แต่สามารถปรับเปลี่ยน รายละเอียดได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้นตามความต้องการ ซึ่งเครื่องจักรสามารถรายงานสถานะการท�างาน รวมถึง การใช้ Preventive และ Predictive Maintenance ได้ คุณสมหวัง บุญรักษ์เจริญ
คุณสมหวัง ได้กล่าวถึงความสามารถที่จ�าเป็นต่อยุคสมัย 4.0 โดยแบ่งความต้องการออกเป็น 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงปี 2015 และช่วงปี 2020 เพื่อชี้ให้เห็นสถานการณ์และทิศทางความ ต้องการส�าหรับความสามารถแรงงาน ดังนี้
ความสามารถในการแก้ ไขปัญหาที่ซับซ้อน
การแก้ ไขปัญหาที่ซับซ้อน
การท�างานร่วมกับคนอื่น
ความคิดเชิงวิพากษ์
ความสามารถในการจัดการบุคลากร
ความคิดสร้างสรรค์
การคิดเชิงวิพากษ์
การจัดการบุคลากร
การเจรจาต่อรอง
การท�างานร่วมกับผู้อื่น
การควบคุมคุณภาพ
ความฉลาดทางอารมณ์
จัดเสนอการบริการที่ตรงกับความต้องการ
การตัดสินใจที่เฉียบขาด
การตัดสินใจและความเฉียบขาด การเป็นผูฟ้ งั ทีด่ ี ความคิดสร้างสรรค์
2020
การให้บริการได้ตรงความต้องการ การเจรจาต่อรอง ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาวะเงื่อนไขที่ไม่เคยเจอ issue 167 January 2017
62 Special Report
ในการผลั ก ดั น และพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ ท� า งานในระบบ 4.0 จ�าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงแรงงาน เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพแรงงานให้ เ กิ ด และก้าวไปสู่ยุคบรรจุภัณฑ์ 4.0 ได้
รูปแบบวิธีคิด • ความคิดสร้างสรรค์ • การตัดสินใจ • การคิดเชิงวิพากษ์ • การเรียนรู้ • การแก้ ไขปัญหา
02
01
วิธีท�างาน • การสื่อสาร • การร่วมมือร่วมใจ
แผนภาพแสดง
กลุ่มความสามารถ ที่จ�าเป็นของยุค 4.0 เครื่องมือส�าหรับท�างาน • เทคโนโลยีข้อมูลและการสื่อสาร (ICT) • ความสามารถในการอ่านและเขียนข้อมูล
04
มุมมองจากวงเสวนา
‘สิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
กับโอกาสที่ท้าทายในยุค 4.0’
นอกจาก คุณสมหวัง ในฐานะผูเ้ ชีย่ วชาญด้านอุตสาหกรรม แล้ว ยังมีผู้ประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์โดยตรง มาพูดคุยแบ่งปันแนวคิดและประสบการณ์ภายในวงสัมมนา ภายใต้ หั ว ข้ อ ‘สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ กั บ โอกาสที่ ท ้ า ทาย ในยุ ค 4.0’ โดยผู ้ เชี่ ย วชาญและนั ก ประกอบการได้ แ สดง ความคิดเห็นเอาไว้ ดังนี้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
03 ความสามารถในการด�ารงชีพ • สถานะพลเมือง • ชีวิตและการงาน • ความรับผิดชอบส่วนตัวและส่วนรวม
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นโยบาย Thailand 4.0 ถือเป็นการผลักดันประเทศผ่าน นวั ต กรรม เพื่ อ ก้ า วเข้ า สู ่ ก ลุ ่ ม ประเทศผู ้ มี ร ายได้ ร ะดั บ สู ง ซึ่ ง ส� า หรั บ บรรจุภัณฑ์แล้วกลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพ คือ กลุ่มอาหาร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกลุ่มอาหารเพื่อสุขภาพ เนื่องจากเป็นกระแสตลาดที่ก�าลังมา ควรให้ ค วามใส่ ใ จเป็ น พิ เ ศษ ควรด� า เนิ น การควบคู ่ ไ ปกั บ การพั ฒ นา บุคลากรเพือ่ ให้กา้ วทันต่อยุค 4.0 ทีใ่ ช้เทคโนโลยีเข้ามาผสมผสานการท�างาน ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการขาย การเข้าถึงสินค้าและตรวจสอบข้อมูลได้อย่าง สะดวกสบาย
Special Report 63
คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท คอนติเนนตัลบรรจุภัณฑ์ฯ ประเทศไทยถือว่าขาดแคลนนวัตกรรมส�าหรับบรรจุภัณฑ์ ส่วนหนึ่งเพราะผู้ประกอบการยังขาดความรู้ ซึ่งไม่สามารถตอบโจทย์ลูกค้า ได้อย่างเหมาะสม ยึดเอาคุณภาพและความปลอดภัยเป็นที่ตั้ง จ�าเป็นต้อง มีการบูรณาการความรู้ โดยเริ่มที่การลงทุนซื้อเทคโนโลยีเพื่อใช้งาน และ แรงงานต้องมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนพื้นฐานอย่างแท้จริง ไม่เช่นนั้น จะไม่สามารถต่อยอดได้หากเกิดความต้องการแปลกใหม่จากลูกค้า และ จ�าเป็นต้องใช้เครือ่ งจักรราคาแพงขอแค่ใช้ประโยชน์ ได้ตามเป้าหมายเป็นหลัก
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม กรรมการผู้จัดการ บริษัท Fusion Technology ท�าความรูจ้ กั อุตสาหกรรมตัวเองเสียก่อนว่าอยูใ่ นระดับไหนของ 1–4 เพื่อออกแบบและวางแผนการท�างานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม SMEs จะต้ อ งใช้ ICT หรื อ IoT เข้ า มาช่ ว ย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การท� า ธุ ร กิ จ ในรูปแบบ Startup ซึง่ ต้องมีการท�างานและรูปแบบทีท่ นั สมัย เช่น Interactive Packaging จะต้องท�า Innovation Service เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ถู ก ต้ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตามกลุ ่ ม เป้ า หมาย หลายคน อาจมองว่ามันเป็นวิกฤตการณ์ 4.0 แต่ผมมองว่าแท้จริงแล้วมันเป็นโอกาส ที่สามารถฉกฉวยได้เสียมากกว่า
คุณวรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา Chief Packaging Specialist บริษัท SCG Packaging ปรากฏการณ์ปลาใหญ่กินปลาเล็กจะไม่เป็นความจริงเสมอไป ด้วยอิทธิพลของ Startup ที่ส่งผลให้ปลาเล็กมีความปราดเปรียวคล่องตัว ฉกฉวยโอกาสทางธุรกิจได้มากกว่า ซึ่งทรัพยากรบุคคลจะเป็นตัวแปร ส�าคัญในการสร้างและผลักดันสิ่งเหล่านี้อยู่เช่นเคยแม้จะเป็นยุค 4.0 ที่มี การใช้ระบบออโตเมชันกันอย่างแพร่หลาย ส�าหรับทาง SCG เองเพื่อที่ จะก้าวสู่ตลาดโลกจึงได้ ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาบุคลากร รวมถึง การท�างาน R&D และหากต้องด�าเนินการในขอบเขตที่ไม่สันทัดนั้น SCG จะหาหน่วยงานอื่นร่วมกันด�าเนินการต่อไป การร่วมมือกันท�างานจะเป็น เทรนด์ ใหม่ส�าหรับการด�าเนินธุรกิจ
คุณมยุรี ภาคล�าเจียก ที่ปรึกษาสมาคมบรรจุภัณฑ์ ไทย บรรจุ ภั ณ ฑ์ ส� า หรั บ อาหาร เป็นเรื่อ งซับซ้อ นจ�า เป็ น ต้ องได้ รับ ความ ใส่ใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SMEs ซึ่ ง หลายครั้ ง พบว่ า ขาดความเข้ า ใจ ค� า นึ ง ถึ ง เฉพาะรายได้ เน้ น ของถู ก แต่ ขาดคุ ณ ภาพท� า ให้ เ กิ ด การใช้ ง านที่ ไ ม่ ถูกต้องขาดความปลอดภัย นอกจากนี้ การออกแบบการใช้ ง านยั ง ขาดการ ค� า นึ ง ถึ ง Universal Design (UD) ซึ่ ง เป็นสิ่งอ�านวยความสะดวกให้แก่ผู้ ใช้ เช่น UD ส�าหรับผู้สูงอายุที่มองเห็นชัด ไม่ต้อง ออกแรงมากในการใช้งาน รวมถึง Active Packaging และ Interactive Packaging ที่ จ ะเข้ า มามี บ ทบาทในชี วิ ต ประจ� า วั น มากขึ้ น เป็ น ผลให้ เ กิ ด การตอบสนอง ระหว่างบรรจุภัณฑ์และผู้ ใช้
EXECUTIVE SUMMARY Thus, Thailand has been driven into Industry 4.0 through Thailand 4.0 policy which focus on smart operation whether manufacturing process, logistics and etc. It looks like technology are becoming more important than anything else but in fact, human resource is still the most important factor as it used to be. The quality of operator is the most essential factor while the entrepreneurs must adapt themselves with this advance technology ages. They must choose to invest in essential matter such as skill development, machinery and technology. Besides, the manufacturers must be reconsidering in ‘What does matter for packaging?’ The entrepreneurs should focus on food safety as the 1st issue while decoration or beauty design are considering later. issue 167 January 2017
64 LOGISTICS SMART เรื่อง: บูรณะศักดิ์ มาดหมาย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์
ขององค์กรอย่างไรในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Goods & Service Flow
Origin Sources
Material Requirment Flow
Information
Logistics
Fund Flow
Mean Place Flow
Time Flow
Storage Flow
Consumption Sources
เมื่อโลจิสติกส์เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนการสร้างคุณค่า ให้กับภาคอุตสาหกรรม และช่วยในการปรับปรุงความสามารถ ในการสร้างผลก�าไร แนวคิดของระบบโลจิสติกส์จงึ ไม่ใช่เพียงการ ขนส่งหรือการจัดการคลังสินค้าดั่งที่เราคิดกันเท่านั้น โดยที่ขอบเขตของแนวคิดได้ขยายผลออกไปทั่วทั้งวงจร ชีวิตของผลิตภัณฑ์อีกด้วย Council of Logistics Management (CLM) ได้กล่าวไว้ว่าโลจิสติกส์ คือ ส่วนหนึ่งของกระบวนการ โซ่ อุ ป ทานโดยวางแผนเพื่ อ น� า ไปปฏิ บั ติ แ ละควบคุ ม การ ไหลเวี ย นของสิ น ค้ า การบริ ก ารและข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า ง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากจุดเริม่ ต้นไปจนถึงจุดทีม่ กี าร บริโภคเพื่อที่จะบรรลุถึงความต้องการของลูกค้า ทั้งนี้ แนวคิดได้ถูกเปลี่ยนไปและถูกขยายผลในเชิงความ สัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออกระหว่าง ‘โลจิสติกส์’และ ‘โซ่ อุปทาน’ โดย CLM ได้นิยามความหมายของ ‘โลจิสติกส์’ ว่า ‘โลจิสติกส์เป็นส่วนหนึ่งของโซ่อุปทานที่วางแผนปฏิบัติและ ควบคุมการไหลและการจัดเก็บของสินค้า บริการและข้อมูล ที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลจาก จุดเริ่มต้นไปสู่จุดบริโภคขึ้น เพื่อที่จะบรรลุถึงความต้องการ ของลูกค้า โลจิสติกส์จึงมีความหมายมากกว่าการขนส่ง ซึ่งเป็นเรื่อง ของการเคลื่อนย้าย หรือการไหลของวัตถุดิบ ข้อมูลตั้งแต่ เป็นวัตถุดิบจนเป็นสินค้าส�าเร็จรูปจากต้นทางจนถึงปลายทาง ผู้บริโภค โดยมีการประสานแต่ละขั้นตอนการด�าเนินงานและ มีความสัมพันธ์กันโดยตรงกับโซ่อุปทานโดยที่ทั้ง ‘โลจิสติกส์’ และ ‘โซ่อุปทาน’ จะมีขอบข่ายและขยายผลไปทั้งโซ่อุปทาน และมี ลั ก ษณะเป็ น แนวคิ ด เชิ ง กระบวนการไม่ ใช่ ใ นลั ก ษณะ แนวคิดเชิงหน้าที่
WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND
HCR
LM Guide R Guide Model
LM block End plate
LM rail
Grease nipple
End seal
If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71
I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th
C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป
เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign
LOGISTICS SMART 67
ความท้าทายของยุคอุตสาหกรม 4.0 อุตสาหกรรม 4.0 หรือการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 เป็นการน�าสารสนเทศมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยี อุตสาหกรรม โดยประกอบด้วย Cyber-Physical System, Internet of Things และ Could Computing โดยอุตสาหกรรม 4.0 เป็ น รู ป แบบของการท� า งานอย่ า งชาญฉลาด เป็ น การ น�าข้อมูลที่หลากหลายมาผสมผสานเพื่อให้เกิดการตัดสินใจ ในการท�างานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นย�า และทันเวลา ทั้งในรูปแบบการจัดการด้วยมนุษย์และการจัดการด้วยระบบ หุน่ ยนต์อตั โนมัติ ตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่าโดยการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ของประเทศไทยนั้น มีการพัฒนาการของรูปแบบมาตามแต่ละ ยุคแต่ละสมัย ดังนี้
อุตสาหกรรม 1.0 Mechanization, Water Power, Steam Power ระบบอุตสำหกรรมหนักเกิดขึ้นใน ปี ค.ศ. 1784 คือ ยุคของกำรใช้พลังงำน จำกน�้ ำ แทนกำรใช้ แ รงงำนคน หรื อ สัตว์ หรือพลังงำนธรรมชำติ เป็นยุคที่ เริ่ ม ต้ น กำรปฏิ วั ติ อุ ต สำหกรรม ซึ่งมีกำรใช้พลังงำนไอน�้ำจำกถ่ำนหิน ในกลุ่มอุตสำหกรรมทอผ้ำ กังหันน�้ำที่ สร้ำงพลังงำนส�ำหรับใช้ในอุตสำหกรรม ต่ำงๆ หรือกำรใช้ ไอน�้ำในรถไฟหัวจักร ไอน�้ำ เป็นต้น
อุตสาหกรรม 3.0 Computer and Automation ระบบที่ มี ก ำรน� ำ ระบบอั ต โนมั ติ ทั้ ง หุ ่ น ยนต์ แ ละแขนกลเข้ ำ มำใช้ ต ำม โรงงำนแทนที่ แ รงงำนมนุ ษ ย์ เ กิ ด ขึ้ น ในปี ค.ศ. 1969 เป็ น ยุ ค ของกำรใช้ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละเทคโนโลยี ไ อที ในกำรผลิต มีกำรปรับปรุงกระบวนกำร ผลิ ต และระบบบริ ห ำรจั ด กำรด้ ำ น คุณภำพ มีกำรใช้เครื่องจักรอัตโนมัติ หรือหุ่นยนต์ ในกำรผลิตแทนที่แรงงำน คน เพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตให้สูงขึ้น อีกระดับหนึ่ง
อุตสาหกรรม 4.0 Cyber Physical Systems
อุตสาหกรรม 2.0 Mass Production, Assembly Line, Electricity ระบบอุ ต สำหกรรมที่ มี ก ำรผลิ ต สิ น ค้ ำ เป็ น จ� ำ นวนมำกตำมโรงงำน เกิ ด ขึ้ น ในปี ค.ศ. 1870 เป็ น กำร เปลี่ ย นจำกกำรใช้ เ ครื่ อ งจั ก รไอน�้ ำ มำใช้พลังงำนไฟฟ้ำ ส่งผลให้สำมำรถ ปลดปล่อยพลังกำรผลิตอย่ำงที่ไม่เคย เกิ ด ขึ้ น มำก่ อ น เปลี่ ย นแปลงระบบ กำรผลิตมำเป็นระบบโรงงำน ท�ำให้เกิด กำรผลิ ต สิ น ค้ ำ ครำวละมำกๆ และมี คุ ณ ภำพที่ เ ที ย บเท่ ำ งำนหั ต ถกรรม ที่ ส� ำ คั ญ คื อ สิ น ค้ ำ รำคำไม่ แ พง ทุ ก คนสำมำรถบริ โ ภคได้ ท� ำ ให้ เ กิ ด กระแสบริโภคนิยมไปทั่วโลก
ระบบที่ น� ำ กำรติ ด ต่ อ สื่ อ สำร ของข้อมูลมำประยุกต์ ใช้ คือ กำรน�ำ เทคโนโลยี ดิ จิ ต อลและอิ น เทอร์ เ น็ ต มำใช้ในกระบวนกำรผลิตสินค้ำ จุดเด่น ที่ ส� ำ คั ญ อย่ ำ งหนึ่ ง ก็ คื อ สำมำรถ เชื่ อ มควำมต้ อ งกำรของผู ้ บ ริ โ ภค แต่ละรำยเข้ำกับกระบวนกำรผลิตสินค้ำ ได้โดยตรง พูดง่ำยๆ ก็คอื โรงงำนอุตสำหกรรม ยุค 4.0 จะสำมำรถผลิตของหลำกหลำย รูปแบบแตกต่ำงกันตำมควำมต้องกำร เ ฉ พ ำ ะ ข อ ง ผู ้ บ ริ โ ภ ค แ ต ่ ล ะ ร ำ ย เป็ น จ� ำ นวนมำกในเวลำพริ บ ตำเดี ย ว โดยใช้กระบวนกำรผลิตที่ประหยัดและ มีประสิทธิภำพด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล ครบวงจร แบบ ‘Smart Factory’
issue 167 January 2017
68 LOGISTICS SMART
แนวทางการบริหารระบบโลจิสติกส์ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 จะต้องพิจารณาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ผสมผสานกับ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมในปัจจุบันครอบคลุมไปด้วย 1. Global Positioning System (GPS) เป็นการส่งข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ และสามารถส่งข้อมูล ผ่าน Link กับวิดีโอได้ ซึ่งผู้ประกอบการนิยมใช้ในการขนส่ง ทางถนนมากกว่าการขนส่งทางน�้าและทางราง ส่วนใหญ่จะมี การติดตั้งระบบ GPS Tracking เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการขนส่ง เพราะจะช่วยลดต้นทุนในการเดินทาง โดย มีการวางแผนการเดินทางที่จะท�าให้ประหยัดค่าน�้ามัน ใช้ใน การวิเคราะห์ระบบการท�างาน และน�ามาปรับปรุงวิธีการขนส่ง 2. Transportation Management System (TMS) ระบบบริหารจัดการการขนส่งสินค้า เป็นเครื่องมือในการ วางแผนการขนส่ง การเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง การ ตัดสินใจในเรื่องการบรรทุกสินค้า และการจัดวางเส้นทางให้มี ประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้ข้อจ�ากัดต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความรวดเร็วและต้นทุนที่ประหยัด ที่สุด ครอบคลุมตั้งแต่การจัดการใบส่งสินค้า การเลือกเส้นทาง ที่ประหยัดที่สุด การใช้รถอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดตาราง เดินรถ การจัดสินค้าขึ้นรถแต่ละคัน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถน�าข้อมูลของ WMS มาใช้ร่วมกับ TMS รวมทัง้ ยังสามารถก�าหนดสายส่ง ร้านค้า หรือแบ่งโซนตาม ระยะทางได้อีกด้วย ปัจจุบันมี Free Program ในโลกออนไลน์ เป็นจ�านวนมากธุรกิจที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนักสามารถโหลด น�ามาประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งสามารถก�าหนดพิกัดได้เพียงใส่พิกัด ที่ต้องการก�าหนด 3. Electronic Data Interchange (EDI) เป็ น เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ เ ชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ระหว่าง 2 ฝ่าย EDI จะเปรียบเสมือนเป็น ตูไ้ ปรษณียแ์ ละบุรษุ ไปรษณียไ์ ปสูอ่ กี ฝ่าย EDI สามารถเชือ่ มโยง ข้อมูล 2 ฝ่ายที่มีฐานข้อมูลต่างกันให้ติดต่อสื่อสารกันได้ 4. Warehouse Management System (WMS) เป็ น ซอฟต์ แวร์ ร ะบบการจั ด การคลั ง สิ น ค้ า มี ลั ก ษณะ เหมือนกับระบบบริหารการขนส่งที่ระบบบริหารคลังสินค้า บริหารแผนการจัดเก็บสินค้าคงคลังและประมวลผลการท�างาน ต่อวันของคลังสินค้า นอกจากนี้ ระบบ WMS ยังช่วยตรวจและ ติดตามสินค้าคงคลังในคลังสินค้าด้วย WMS เป็นศูนย์กลางในการจัดการด�าเนินการค�าสั่งซื้อของ ลูกค้า และการจัดการคลังสินค้าที่สามารถรวบรวมข้อมูลจาก การจัดการค�าสัง่ ซือ้ ลูกค้า การรับสินค้า การจัดท�าสต๊อก การเติม สินค้า การจัดเก็บ การเลือกหรือหยิบสินค้าตามค�าสัง่ การจัดส่ง และการจ่ายสินค้าออกจากคลัง และกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. Radio Frequency Identification (RFID) ปัจจุบันการน�าเทคโนโลยี RFID เริ่มถูกน�ามาใช้ โดยเฉพาะ การติดตามสัตว์เลี้ยงในธุรกิจปศุสัตว์ การจ่ายค่าผ่านทางด่วน และในโรงงานผลิตสินค้าพรีเมี่ยม เป็นต้น สามารถตรวจสแกน สินค้าบนชั้นวางได้เลยทันทีที่ลูกค้าเลือกหยิบสินค้าเสร็จและ เดินผ่านเครื่องสแกนแผ่น RFID ตรงทางออกห้างสรรพสินค้า เครื่องจะค�านวณจ�านวนเงินที่ลูกค้าจะต้องจ่ายทั้งหมดแบบ อัตโนมัติลูกค้าไม่จ�าเป็นต้องเข้าแถวคอยจ่ายเงินกับพนักงาน ที่ยิงบาร์โค้ดสินค้าแต่ละชิ้นๆ อีกต่อไป
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ควำมท้ำท้ำยของโรงงำนอุตสำหกรรมยุค 4.0 นั้น ต้องน�ำสำรสนเทศ มำประยุกต์ผสมผสำนกับเทคโนโลยีอุตสำหกรรมซึ่งเป็นเรื่องที่ ปัจจุบันโดยเฉพำะองค์กรที่มีขนำดใหญ่และมีศักยภำพเพียงพอ ด้ำนทุน บุคลำกร เป็นต้น สำมำรถด�ำเนินกำรต่อได้เลย ในบริบทของกำรปฏิวัติอุตสำหกรรม 4.0 โดยใช้กระบวนกำรผลิตที่ประหยัดและมีประสิทธิภำพด้วยเทคโนโลยี ดิจิตอลครบวงจรมำใช้ แต่มีอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม อยู่ ไม่น้อยที่ยังมีศักยภาพเพียงพอในการน�าระบบสารสนเทศ มาประยุกต์ ใช้ ได้อย่างเต็มรูปแบบในการบริหารโลจิสติกส์ขององค์กร
LOGISTICS SMART 69
6. Barcode System ในปัจจุบันระบบบาร์โค้ดกลายเป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับธุรกิจ ค้าปลีกเป็นอย่างมาก เพราะช่วยอ�านวยความสะดวกตัง้ แต่การ บริหารสินค้าคงคลัง ไปจนถึงระบบการเก็บเงินที่รวดเร็วท�าให้ เกิดความสะดวกแก่ลูกค้าที่มาซื้อสินค้าไม่ต้องเสียเวลารอคอย นาน ประโยชน์หลักของบาร์โค้ด คือ ช่วยท�าให้การรวบรวม ข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรเป็นไปได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง 7. Enterprise Resource Planning (ERP) ERP หมายถึง หลักในการวางแผนบริหารจัดการทรัพยากร ในองค์กร โดยอาศัยระบบสารสนเทศสนับสนุนการด�าเนินงาน มีลกั ษณะการติดต่อสือ่ สาร การท�างานแบบเชือ่ มโยงถึงกันหมด ทุกกระบวนการทางธุรกิจ (ทุกฝ่าย ทุกแผนก) ไม่ว่าจะเป็นฝ่าย การเงิน ฝ่ายบัญชี ฝ่ายการผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายกระจายสินค้า ฝ่ายขายฝ่ายการตลาด รวมทั้งฝ่ายทรัพยากรบุคคล โดยการน� า ระบบทุ ก อย่ า งในองค์ ก รมาเชื่ อ มประสาน เข้าด้วยกัน ใช้งานบนฐานข้อมูลเดียวกัน ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการน�ามาสนับสนุนการด�าเนินงานของ องค์กรในโซ่อุปทานและการจัดการโลจิสติกส์ท�าให้ได้ข้อมูล และสารสนเทศส�าหรับการวางแผนในอนาคต และยังสามารถ วิเคราะห์แนวโน้มการเปลีย่ นแปลง เพือ่ น�าผลลัพธ์มาใช้ปรับปรุง ผลการปฏิบัติงานขององค์กรโดยรวมได้ 8. Electronic Commerce เป็นการท�าธุรกรรมทางเศรษฐกิจที่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซือ้ ขายสินค้าและบริหาร การโฆษณาสินค้า การโอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น จุดเด่นของ E-Commerce คือ ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพในการด�าเนินธุรกิจ โดยลดความส� า คั ญ ขององค์ ป ระกอบของธุ ร กิ จ ที่ ม องเห็ น จับต้องได้ เช่น อาคารที่ท�าการ ห้องจัดแสดงสินค้า คลังสินค้า
การเพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ ใน 4.0 เมื่อกำรจัดกำรโลจิสติกส์เป็นเครื่องมือ ส�ำคัญในกำรแข่งขันธุรกิจ • โดยสำมำรถเปลี่ยนกำรท�ำงำนจำกหน้ำที่ ที่เกี่ยวข้องกันเป็นขบวนกำรที่สำมำรถ ประสำนงำนให้บรรลุเป้ำหมำยและนโยบำย องค์กร • ท�ำให้งำนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ำยอื่นที่ต้นทุนสูง สำมำรถลดต้นทุนได้เพิ่มประสิทธิภำพในกำร บริกำรลูกค้ำ • สร้ำงสัมพันธ์ลูกค้ำภำยในและภำยนอก องค์กร • สำมำรถลดต้นทุนและสร้ำงก�ำไรทำงธุรกิจ • เป็นพื้นฐำนของกำรเจริญเติบโตของธุรกิจ
พนักงานขายและพนักงานให้บริการต้อนรับลูกค้า เป็นต้น ดังนัน้ ข้อจ�ากัดทางภูมศิ าสตร์ คือ ระยะทางและเวลาท�าการแตกต่างกัน จึงไม่เป็นอุปสรรคต่อการท�าธุรกิจอีกต่อไป การเพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ขององค์กรในยุค อุตสาหกรรม 4.0 ต้องมีการน�าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการโลจิสติกส์ที่กล่าวข้างต้นมาประยุกต์ผสมผสาน กับเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในระบบการท�างานของธุรกิจใน ปัจจุบันมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อธุรกิจ เพราะโลจิสติกส์ต้องการ ความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นย�ามีการแลกเปลีย่ น ข้อมูลกันตลอดเวลา และสารสนเทศที่ถูกต้องและทันเวลา จะช่วยกิจการลดระดับสินค้าคงคลังเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์ จากปริ ม าตรในคลั ง สิ น ค้ า ได้ ล ดค่ า แรงงานในการบริ ห าร โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ด้ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า เพิ่มความสามารถทางการแข่งขันขององค์กรได้
หากมีขอ้ สงสัยเพิม่ เติม สามารถสอบถามได้ที่
Email : buranasakm@gmail.com
EXECUTIVE SUMMARY The industrial factory’s challenge in 4.0 era nowadays is the way of applied themselves together with industrial technology which is the issue that big company with suffice potential in cost and human resources could proceed to the industrial 4.0 context instantly. They could use manufacturing process that save more cost and also have better efficiency by overall coverage digital technology while many medium and small size business have not enough potential to adapt with its full functional to manage the organization’s logistics.
issue 167 January 2017
70 TECH FOCUS เรื่อง: นเรศ เดชผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
วางรากฐาน การบริการด้านไอทีดว้ ย
ISO 20000 อย่ า งที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า ในกิ จ การอุ ต สาหกรรมได้ มี ก ารน� า ระบบไอที เข้ามาช่วยในทุกกระบวนการของการด�าเนินงานมาเป็นเวลานานแล้ว ซึง่ ย่อมทีจ่ ะต้องมีบคุ ลากรหรือทีมงานด้านไอทีไว้คอยก�ากับดูแลให้มรี ะบบ มีความราบรื่น ที่ ผ ่ า นมาหลายๆ องค์ ก รเลื อ กที่ จ ะมอบหมายภาระหน้ า ที่ ใ นการ บริ ห ารงานหน่ ว ยงานไอที ใ ห้ กั บ หั ว หน้ า ที ม งานหรื อ ผู ้ จั ด การเป็ น ผู ้ ด� า เนิ น การ ด้ ว ยเพราะเชื่ อ ว่ า เป็ น ผู ้ ช� า นาญการและน่ า จะสามารถ น�าประสบการณ์ที่มีมาใช้ในการบริหารจัดการระบบไอทีได้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
TECH FOCUS
หากองค์กรใดมีระบบบริการไอทีที่ดี ก็จะท�าให้บุคลากรในทีมงานหรือ ทั้งองค์กรสามารถปฏิบัติงานกัน ได้อย่างราบรื่น ทั้งยังช่วยเสริมสร้าง บรรยากาศในการท�างานที่ดีให้กับ ผู้ใช้บริการไอทีอีกด้วย ซึ่งนั่นรวมไปถึง ลูกค้าหรือคู่ค้าที่มาใช้สินค้าหรือ บริการของเราด้วยเช่นกัน”
แต่ในความเป็นจริงนัน้ การบริหารงานไอทีโดยการยึดบุคคล เป็นหลักยังมีความเสี่ยงอยู่มาก เนื่องจากการน�าประสบการณ์ มาใช้ อ าจไม่ ไ ด้ ผ ลและมี ค วามคลาดเคลื่ อ นสู ง จนในที่ สุ ด จะกลายเป็นการลองผิดลองถูกท�าให้องค์กรต้องประสบปัญหา ซ�้าซาก ซึ่งนอกจากจะต้องมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นแล้วยังต้อง ใช้จ่ายงบประมาณในการบริหารงานมากขึ้นอีกด้วย การบริหารงานระบบไอทีที่ผิดพลาดไม่ได้ส่งผลกระทบ ต่อการใช้งานไอทีของผู้ปฏิบัติงานแต่เพียงอย่างเดียว เพราะ ยังส่งผลในเรื่องของการให้บริการไอที (IT Service) อีกด้วย แน่นอนว่านี่เป็นเรื่องส�าคัญที่ทุกองค์กรจะต้องใส่ใจเพราะการ ให้บริการไอทีนั้น เป็นอีกหนึ่งเรื่องส�าคัญที่จะถูกหยิบยกมาไว้ ในกระบวนการด�าเนินงานเพื่อสนับสนุนธุรกิจให้เป็นไปตาม เป้าหมายอย่างแท้จริง หากองค์กรใดมีระบบบริการไอทีที่ดีก็จะท�าให้บุคลากรใน ทีมงานหรือทั้งองค์กรสามารถปฏิบัติงานกันได้อย่างราบรื่น ทั้ง ยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการท�างานที่ดีให้กับผู้ใช้บริการ ไอทีอีกด้วย ซึ่งนั่นรวมไปถึงลูกค้าหรือคู่ค้าที่มาใช้สินค้าหรือ
71
บริการของเราด้วยเช่นกัน ดังนั้น ทุกองค์กรจึงจ�าเป็นจะต้อง วางรากฐานการบริหารบริการไอทีให้เป็นไปตามมาตรฐาน ทัง้ นี้ เพื่อที่จะได้เป็นหลักยึดเพื่อน�าไปปฏิบัติสืบต่อกันไปในอนาคต ทั้งยังสามารถยกระดับการให้บริการไอทีขององค์กรให้มีความ น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับในระดับสากล ไอทีกับ ISO 20000 มาตรฐาน ISO 20000 เป็นมาตรฐานสากลด้านการบริหาร บริการไอทีโดยเฉพาะ ในรายละเอียดจะเน้นไปในเรือ่ งของการ สร้างกระบวนการที่มีเป้าหมายก็เพื่อที่จะบริหารจัดการการให้ บริการไอทีให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลักความต้องการของ ผู้ให้บริการที่จะส่งมอบบริการที่ดีมีคุณภาพไปยังผู้ใช้บริการ ทั้งบุคลากรในองค์กรและลูกค้าหรือคู่ค้า เดิมทีมาตรฐาน ISO 20000 นัน้ ได้ถกู น�ามาใช้เป็นรากฐาน ในการปฏิบัติส�าหรับกลุ่มกิจการอุตสาหกรรมผู้ให้บริการด้าน ไอที (IT Outsourcing Service) แต่ปัจจุบันกลุ่มธุรกิจอื่นที่มี การน�าระบบไอทีมาช่วยในการบริหารงานก็สามารถใช้มาตรฐาน ISO 20000 มาช่วยผลักดันระบบบริการไอทีของตนได้ด้วย เช่นกัน อย่างที่เรียนให้ทราบไปตั้งแต่ต้นว่ามาตรฐาน ISO 20000 นั้น จะเน้นในเรื่องของกระบวนการบริหารจัดการบริการไอที (IT Service Management Processes) ซึ่งประกอบไปด้วย 5 กระบวนการหลัก คือ 1. กระบวนการส่งมอบการให้บริการ (Service Delivery Processes) 2. กระบวนการควบคุม (Control Processes) 3. การบวนการน�ามาใช้จริง (Release Processes) 4. กระบวนการจัดการปัญหา (Resolution Processes) 5. กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ (Relationship Processes)
issue 167 January 2017
72 TECH FOCUS
กระบวนการส่งมอบการให้บริการ (Service Delivery Processes)
5 กระบวนการหลักของ ISO 20000
• Service Level Management กระบวนการนีจ้ ะให้ความส�าคัญในเรือ่ งของการท�าข้อสัญญาทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษร มักจะเรียกกันว่า Service Level Agreement หรือ SLA ระหว่าง ผู้ให้บริการกับผู้ใช้บริการเกี่ยวกับระดับการให้บริการ และการรับประกันคุณภาพของบริการ • Service Reporting การจัดท�ารายงานการให้บริการไอที เพื่อให้สอดคล้องกับ SLA ทั้งในเรื่องของสถานะการท�างานของระบบไอที, รายงานประสิทธิภาพการให้บริการ หรือ รายงานปัญหาข้อผิดพลาดในการให้บริการไอที เป็นต้น • Service Continuity and Availability Management การจัดการความพร้อมของแผนส�ารองในกรณีเกิดปัญหาฉุกเฉินกับระบบไอทีและความสามารถที่จะท�างานต่อไปได้ อย่างราบรื่น ไม่ว่าระบบจะต้องเจอกับสถานการณ์ ใดก็ตาม • Budgeting and Accounting for IT Services การจัดท�าบัญชีงบประมาณเพื่อให้ระบบบริการไอทีด�ารงต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งค่าใช้จ่ายในด้าน อุปกรณ์ซอฟต์แวร์ ค่าบ�ารุงระบบ หรือค่าจ้างบุคลากร เป็นต้น • Capacity Management เป็นการวางแผนการจัดการระบบไอทีให้สามารถบริการผู้ใช้ ได้อย่างเพียงพอ อีกทั้ง ยังต้องสามารถประเมินปริมาณการใช้ทรัพยากรระบบไว้ล่วงหน้า ได้อีกด้วย • Information Security Management กระบวนการนี้มีขึ้นเพื่อบริหารความปลอดภัยให้กับระบบบริการไอที ซึ่งจะต้องได้รับการทบทวนและประเมินความเสี่ยงกันอย่างสม�่าเสมอ กระบวนการควบคุม (Control Processes) • Configuration Management อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ ไอทีใดๆ ที่เกี่ยวข้องจะถูกจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดไว้เป็นฐานข้อมูล หากมีการตั้งค่า แก้ ไข หรือลบทิ้ง จะต้อง ได้รับการบันทึกรายงานลงในระบบ (Log) • Change Management หากมีความจ�าเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบไอที จะต้องได้รับการเห็นชอบจากผู้ที่เกี่ยวข้องและต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีอ�านาจทุกครั้ง การบวนการน�ามาใช้จริง (Release Processes) ในการน�าอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง หรือโซลูชั่นใดๆ มาใช้งานจริง จ�าเป็นจะต้องได้รับการวางแผนงานให้เหมาะสม เพื่อน�ามาซึ่งประสิทธิภาพและสามารถควบคุมจัดการได้ ในภายหลัง สิ่งส�าคัญก็คือก่อนที่จะน�ามาใช้ในระบบจริงจะต้องได้รับการทดสอบในระบบจ�าลองเสียก่อน ทั้งนี้ ก็เพื่อที่จะได้ลดข้อผิดพลาดและหาทางป้องกันไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ กระบวนการจัดการปัญหา (Resolution Processes) • Incident Management หากมีเหตุที่ท�าให้การบริการด้านไอทีไม่เป็นไปตามข้อก�าหนด SLA ผู้รับผิดชอบจะต้องเร่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นนั้นโดยเร็วที่สุดเพื่อให้ผู้ใช้สามารถ จะใช้งานระบบต่อไปได้ • Problem Management เป็นกระบวนการแก้ปัญหาระยะยาวให้หายขาดโดยเน้นไปที่การจัดการที่สาเหตุ ทั้งนี้ ก็เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต กระบวนการสร้างความสัมพันธ์ (Relationship Processes) • Business Relationship Management การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการถือเป็นเรื่องที่ต้องใส่ใจเช่นกัน เพราะนอกจากจะเป็นการสร้างบรรยากาศ อันดีแล้วยังถือเป็นการส�ารวจความพึงพอใจในบริการอีกด้วย • Supplier Management ส�าหรับผู้ให้บริการ ไม่ว่าจะเป็น Supplier, Third Party หรือเครือข่ายภาคี ที่เป็นผู้ร่วมสร้างระบบบริการไอทีก็ควรที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างกันด้วยเช่นกัน
การวางรากฐานระบบบริ ก ารไอที ด ้ ว ยมาตรฐาน ISO 20000 ให้กบั องค์กรนัน้ เป็นความท้าทายทีค่ วรค่าต่อการลงทุน และลงแรงด�าเนินการเป็นอย่างยิ่ง ท่านผู้ประกอบการต้องลง ไปคลุกคลีกับทีมงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายไอทีขององค์กร หรืออาจจ�าเป็นต้องมีผู้ช่วยที่เป็น Certification Body ที่มี ประสบการณ์มาเป็นพี่เลี้ยงคอย Consult เพื่อให้ได้มาซึ่ง ISO Certificate หากองค์กรท�าส�าเร็จก็จะสามารถยืดอกและบอก กับลูกค้าได้อย่างมั่นใจว่า สินค้าและบริการของเราผ่านการ ดูแลจัดการด้วยระบบบริหารบริการไอทีที่ได้รับการรับรองจาก องค์กรมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับระดับโลก MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
EXECUTIVE SUMMARY ISO 20000 Standard is an IT management international standard which specially emphasizes on conducting targeted procedure in order to provide IT providing efficiency by holding on the principle of service providers who need to deliver quality service to users including corporate clients and customers or business partners. Earlier ISO 20000 Standard had been using as the practice foundation for the group of industrial business in the field of IT Outsourcing Service, however the other business groups that bring in IT system to aid work management can use ISO 20000 Standard to propel their own IT service providing system as well.
The Grand
METALEX 2016 เมทัลเล็กซ์สร้างอีกหนึ่งบทพิสูจน์ ในฐานะเวทีศนู ย์กลางด้านโลหการของ อาเซียนได้น�าเสนอโอกาสทางธุรกิจ ชั้ น เยี่ ย มที่ ก ้ า วข้ า ม ทุ ก พรมแดนสู ่ นักอุตสาหกรรมในภูมภิ าค หลากหลาย นวัตกรรมล�า้ สมัยจากทัว่ โลกมารวมตัวกัน ในศูนย์รวมด้านโลหการอันครบวงจร สะท้ อ นถึ ง อนาคตสดใสของวงการ โลหการและการผลิตทีเ่ หล่าผูป้ ระกอบการ ต่างเตรียมความพร้อมสู่การเป็นฐาน การผลิ ต ชั้ น น� า ของโลก ด้ ว ยจ� า นวน ผู้ชมงานมากถึง 90,516 คน ย�้าชัด ศู น ย์ ก ลางโลหการอาเซี ย น พร้ อ ม เทคโนโลยีและโซลูชั่นล่าสุด ส�าหรับ ทุกกระบวนการโลหการโดยแบรนด์ดัง ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ จ� า หน่ า ยของ 3,300 แบรนด์จาก 50 ประเทศ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารเปิ ด ตั ว นวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ในหัวข้อ การประชุ ม ต่ า งๆ ที่ จะยกระดั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และความ สามารถทางการแข่งขัน พบแรงบันดาลใจ ใหม่และเผยโฉมศักยภาพใหม่โลหการ ไปกับกิจกรรมพิเศษ อาทิ METALEX Engineer Forum, METALEX Robot Orchestra และ Metal Design Zone ซึง่ พร้อมช่วยหนุนธุรกิจของคุณให้ไกลกว่า ที่เคยสู่ความส�าเร็จอีกระดับ
เปิดตัว 30 นวัตกรรม เครื่องจักรล่าสุด พลิกโฉมการผลิต โลหการ อาทิ เครือ่ ง Bending Center เครื่องตัด พับ เจาะโลหะแผ่นอัตโนมัติ ในเครือ่ งเดียวกัน, เครือ่ งมิลลิง่ แมชชีน ส� า หรั บ งานที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นและ ต้ อ งการผิ ว งานที่ มี ค วามละเอี ย ดสู ง และเครือ่ งเลเซอร์ 5 แกน เพือ่ ผลิตงาน ทีม่ คี วามละเอียดสูง ทัง้ แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ เป็นต้น
ต้นโพธิ์แห่งความจงรักภักดี งานเมทัลเล็กซ์ ขอเชิญผู้ประกอบการ และนักอุตสาหกรรมในวงการโลหการไทย ร่วมน้อมร�าลึกใน พระมหากรุณาธิคณ ุ ด้วยการเขียนค�าไว้อาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บนใบโพธิ์ เงิน-ทอง ซึ่งบรรจงผลิตจากเครื่องตัดโลหะที่จัดแสดงภายในงาน เพื่อแขวนไว้บนต้นโพธิ์แห่งความจงรัก ภักดี โดยทุกวันช่วงเย็นเหล่านักโลหการจะรวมตัวร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ซึ่งภายหลังจากงานแล้ว ใบโพธิโ์ ลหะจะถูกรวบรวมเพือ่ รังสรรค์ให้เป็นพวงมาลาในนามของนักอุตสาหกรรมโลหการไทย น้อมเกล้าฯ ถวายพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังต่อไป
ครั้งแรกในโลก “METALEX Robot Orchestra” ซึ่งเป็นการแสดงประสานจังหวะ ระหว่างแขนกล 10 แบรนด์ ชั้นน�าของโลก ประกอบบทเพลง พระราชนิพนธ์ “แผ่นดินของเรา” ร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระประมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช นับเป็นครั้งแรกของโลกกับการผสานพลังความร่วมมือของหุ่นยนต์ 10 แบรนด์ ต่างค่าย ต่างภาษา อันประกอบด้วย ABB, COMAU, DENSO, KAWASAKI, KUKA, MITSUBISHI ELECTRIC, NACHI, OTC, UNIVERSAL ROBOTS และ YASKAWA การเขียนโปรแกรมควบคุมและเชือ่ มต่อ โดย ROBOT SYSTEM .
การมาชมงาน เดอะ แกรนด์ เมทั ล เล็ ก ซ์ 2016 ช่ ว ยให้ นั ก ลงทุ น และ นักอุตสาหกรรมค้นพบและสร้างเครือข่ายกับแบรนด์หลัก พร้อมก้าวทันแนวโน้มด้าน อุตสาหกรรมและการตลาด เพือ่ เตรียมพร้อมส�าหรับความท้าทายทีจ่ ะเกิดขึน้ ผูจ้ ดั แสดง นานาชาติมากมายจะเปิดตัว เทคโนโลยีลา่ สุดครัง้ แรกในเอเชีย เตรียมตัวมาเปิดโลกทัศน์ ไปกับความแม่นย�าระดับสูง ประสิทธิภาพการผลิตอันเป็นเลิศ และศักยภาพของ เทคโนโลยีที่จะผลักดันให้ ธุรกิจก้าวล�้าไปอีกระดับตลอดการจัดงาน และครั้งต่อไป METALEX 2017 จะจัดขึน้ ในวันที่ 22-25 พฤศจิกายน 2560 พร้อมน�าเสนอเทคโนโลยี และโอกาสทางธุรกิจให้กับผู้เข้าชมงานได้สัมผัสเต็มพื้นที่ ไบเทค อีกครั้ง สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติม www.metalex.co.th หรือ โทร +66 2686 7299
www.metalex .co.th
78 Editor’s Pick
Website Guide
GERMAN RACK กับเทคโนโลยีที่ตอบทุกโจทย์ของ DATA CENTER ในยุคนีก้ ลายเป็นยุคแห่งข้อมูลและข่าวสารอย่างแท้จริง การรับส่งข้อมูล ต้องรวดเร็ว หรือการ Download และ Upload ต้องสามารถรองรับกับความ ต้องการของผู้ใช้งานที่นับวันยิ่งมีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งที่จะมา ตอบโจทย์พวกนี้ก็คือ Data Center นั่นเอง และการท�าศูนย์ Data Center เพื่อท�าเป็นพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลก็ไม่ได้ยุ่งยากอย่างที่คิด INTERLINK ขอน�าเสนอตู้ Rack ที่เอามาแก้ปัญหาใหญ่ของ Data Center สองเรื่องคือ พื้นที่การจัดวางตู้ Rack และการแบ่งพื้นที่ใช้งานภายในตู้เดียวกันส�าหรับ ผู้เช่าต่างบริษัทกัน 1. ลดพืน้ ทีก่ ารใช้งาน เพิม่ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ตู ้ นี้ อ อกแบบเป็ น ตู ้ เ จาะรู ร ะบาย อากาศทั้ ง ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง เพื่ อ ให้ สามารถระบายความร้ อ นที่ ส ะสมภายใน ตู ้ ไ ด้ ดี และมี จุ ด เด่ น ที่ ป ระตู ตู ้ อ อกแบบให้ สามารถเปิดออกเป็นบานซ้ายและขวา โดย เปิดจากตรงกลางเพื่อลดพื้นที่การใช้งานตู้ Rack เหลือ 30 เซนติเมตร (ปกติจะกินพื้นที่ 60 เซนติเมตร) 2. แบ่งพื้นที่ส่วนตัวให้เหมาะสมและลงตัว ตู้นี้ออกแบบมาให้เหมาะสมกับ Data center ที่มีผู้มาเช่าตู้ใช้งานแต่ ไม่ได้เช่าพื้นที่ทั้งตู้ มีให้เลือก 2 รุ่นคือ รุ่น Haft Rack (ตู้เปิด 2 ตอน) และ Quad Rack (ตู้เปิด 4 ตอน) ผู้มาเช่าพื้นที่จะมีทั้งความปลอดภัย และความ เป็นส่วนตัว ออกแบบให้ประตูหน้าและประตูหลัง มีความเป็นอิสระแยกจาก ผูเ้ ช่าในส่วนอืน่ ๆ ทัง้ กุญแจล็อกทีส่ ามารถเปิดได้เฉพาะส่วนเท่านัน้ (เลือกได้ ทั้งแบบ Master Key และแบบ Swing Handle Lock)
http://www.ikont.co.jp/eg/ Product information Products can be searched by product series names and by a bearing’s directional motion. On each page, product features are detailed in a user friendly format Download <CAD Data> CAD data can be downloaded for each product. 2D and 3D CAD data is provided. <Product Catalog> The product catalogs can be downloaded in PDF format. Exhibition/trade show information Worldwide trade show/exhibition schedules are available so you can find out where will be showcasing our products near you. We encourage you to come view our products in person at any of our booths. Introducing the Technical Service Site The Technical Service Site can be accessed from the website. We offer various tools to help you make an appropriate Linear Way and Linear Roller Way selection. Please use them to aid with your selection. You can also use the site to download Instruction Manuals for the mechatro series. Login Screen
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ INTERLINK COMMUNICATION PUBLIC CO., LTD. Tel: 0-2693-1222 Expressway: 0-2276-0340 Fax: 0-2693-1399 Website: www.interlink.co.th MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. Tel: 0-2637-5115 Fax: 0-2637-5116
Menu Screen
Editor’s Pick 79
Baumann™ 51000 High-Pressure Low-Flow Control Valve ใช้ ได้ดีกับโรงงานน�าร่อง (Pilot Plants) ของสถาบันวิจัยและของมหาวิทยาลัย
คุณสมบัติพิเศษของ IRB1520ID : หุ่นยนต์แขนกลส�าหรับ งานเชื่อมโดยเฉพาะ
โรงงานน�าร่อง (Pilot plant) หมายถึง ระบบอุ ต สาหกรรมขนาดเล็ ก ซึ่ ง ออกแบบและด� า เนิ น การเพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของระบบ นั้นๆ เพื่อน�าไปใช้ในการออกแบบ โรงงานทีม่ ขี นาดใหญ่ขนึ้ ข้อมูลเหล่านี้ จะถู ก น� า ไปใช้ เ พื่ อ การประเมิ น และ ลดความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ การ ก่อสร้างโรงงานขนาดใหญ่ นอกจากนี้ ข้อมูลเหล่านี้ยังสามารถน�าไปใช้เพื่อ การฝึกอบรมบุคลากรส�าหรับโรงงานขนาดใหญ่ได้อีกด้วย การน�าไปใช้งาน • Baumann™ 51000 สามารถน�าไปใช้กับงานลักษณะคล้ายๆ กันกับที่ ใช้ในโรงงานจริงที่ Pressure และ Temperature เดียวกัน แต่ที่อัตราการไหล ที่น้อยกว่ามากเนื่องจากโรงงานน�าร่องมีขนาดเล็กกว่า • Baumann™ 51000 มีให้เลือกทั้งแบบที่ไม่มี Positioner ส�าหรับงาน ที่ต้องการ Fail-open หรือ Fail-close หรือแบบที่มาพร้อมกับ TA6000 Electropneumatic Transducer (I/P), Fisher™ 3660 Pneumatic Positioner หรือ FIELDVUE™ DVC2000 Digital Valve Controller จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ 1. ขนาดเล็กกระทัดรัด สูงน้อยกว่า 10 นิ้ว 2. เหมาะกับของไหลที่มีลักษณะเหนียวและบรรยากาศที่มีการกัดกร่อน 3. เปลี่ยน Trim ได้รวดเร็ว สามารถเปลี่ยนให้เป็น Rated Cv ได้โดยการ เปลี่ยนเพียง Plug เท่านั้น 4. มีแบบ Class VI shutoff ซึ่งเป็นแบบ Soft seat ให้เลือกใช้กับ Pressure ได้สูงจนถึง 207 barg (3000 psig) ที่ 37 °C (100 °F) 5. ใช้ “V-Notched” Plug เพื่อให้ท�าหน้าที่ควบคุมได้อย่างแม่นย�า จนกระทั่งเคลื่อนลงถึง Seat-1000 : 1 Rangeability ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ต้องการเนื้อที่น้อย ช่วยแก้ปัญหา ข้อจ�ากัดในเรื่องเนื้อที่ติดตั้ง 2. ใช้กับงานที่ยุ่งยากที่มักพบในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ 3. ท�าให้สามารถรับกับการเปลี่ยนแปลงความต้องการต่างๆ ของ Process ได้ 4. สนองความต้องการในการปิดสนิทได้ แม้ที่ Pressure สูงๆ 5. เพื่อสนองความต้องการอัตราการไหลที่ต�่า ที่มักพบในห้อง ปฏิบัติการและโรงงานน�าร่อง
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ KANIT ENGINEERING CO., LTD. Tel: 0-2642-8762-4 Fax: 0-2248-3006 E-mail: sales1@kanitengineering.com Website: www.kanitengineering.com
• หุ่นยนต์สามารถท�างานเชื่อมโลหะให้มีคุณภาพที่ สม�่าเสมอ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง • หุ่นยนต์สามารถท�างานเชื่อมแทนที่มนุษย์ใน สภาพแวดล้อมทีอ่ นั ตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ านได้ และในพืน้ ที่ ที่ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถเข้าถึงได้ • ช่วยลดต้นทุนและภาระในการใช้แรงงานในระยะ กลางถึงระยะยาว • ลดต้นทุนการผลิตจากความผิดพลาดของแรงงาน และช่วยเพิ่มจ�านวนของผลิตภัณฑ์ให้มากขึ้น • หุ่นยนต์สามารถประยุกต์กับการท�างานแทนที่ มนุษย์ได้หลายรูปแบบ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th issue 167 january 2017
8 - 10 มนีาคม 2560
Energy Policy & Planning Electrical Vehicle Power Generaion
Green Building SOLAR PV Waste-to-Energy Smart Cities
Biomass & Biogas
Smart Grid
www.seta.asia