Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0
www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com
check-in
client
Server
backup
versioning
documentation
download
automated backup
check-out
AUTOSAVE
AUTOMATION CHANGE improve
develop
security
tracking
MANAGEMENT SOLUTION
quality & Comply
by
ทำใหงานเปนกิจการพักผอน “จับใหมั่น คั้นใหสำเร็จ” ดร.สมเจตน ทิณพงษ p. 74
70 baht
‘กันไว... ดีกวาแก’ กรณีศึกษาอุบัติภัยโรงงาน ในตางประเทศ p. 86
T.V.P. Valve & Pneumatic Co., Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sales@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales
รว มยกระดบัอตุสาหกรรมไทย
booth no. ae01 / hall 98
Data log and visualize with Keysight’s BenchVue software. Learn more with our test challenge measurement briefs and videos at www.keysight.com/find/daqpromoWW IRC Technologies Limited
Authorized Distributor and Service Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th
A Keysight Authorized Distributor © Keysight Technologies, Inc. 2016.
The Power Management Software
14
copyright & trademark
2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า
การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร
ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th
COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.
การสมัครสมาชิก
THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th
การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร
THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th
ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th
ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป
Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.
booth no. 6j11 / hall 106
contents
vol.14 no.165 NOVEMber 2016
p.30
p.34
p.34
p.53
p.40
p.56
26 NEWS & MOVEMENT
53 FACTORY VISIT
68 GREEN ZONE REPORT
30 COVER STORY
แชฟฟ์เลอร์ ‘Mobility for Tomorrow’ มุ่งยกระดับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สู่นวัตกรรมในอนาคต
ENERGY STORAGE TECHNOLOGY เมื่อพลังงานที่ผลิตได้ ต้องกักเก็บส�ารอง
56 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC
71
เกาะติด…ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม
นิวเคลียร์ฟิวชั่น (Fusion) ความจริง หรือ ความฝันของมนุษยชาติ
‘AUTOSAVE’ ปกป้องระบบอัตโนมัติ กันไว้ดีกว่าแก้ 34 INTERVIEW
COMAU (Thailand) Co., Ltd. ร่วมยกระดับอุตสาหกรรมไทยด้วยออโตเมชั่น 40 INTERVIEW
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย ส่งสัญญาณรุกตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 50 ALL AROUND
พร้อมหรือยัง? อุตสาหกรรมไทยกับการก้าวสู่ IIoT 52 ALL AROUND
4th Medical Myanmar 2016
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
58 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY
สศอ. ทุ่มงบสนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต 59 SPECIAL REPORT
พาชม 3 งานแสดงเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมในต่างแดน ไต้หวันและอิตาลี 67 GREEN ZONE POLICY
กระทรวงพลังงาน ชูนโยบายขับเคลื่อน ‘Energy 4.0’ สร้างประสิทธิภาพพลังงานอย่างสมดุล
74
RENEWABLE ENERGY
REAL LIFE
ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ท�าให้งานเป็นกิจการพักผ่อน : จับให้มั่น คั้นให้ส�าเร็จ 77
LOGISTIC SMART
โมเดลเครือข่ายโลจิสติกส์… ออกแบบอย่างไร? สร้างผลก�าไรและความได้เปรียบทางธุรกิจ 80 SPECIAL REPORT
สัมผัสนวัตกรรมสินค้าเครื่องจักรอุตสาหกรรมในเมียนมาร์ ผ่านงาน INTERMACH & SUBCON MYANMAR 2016
p.58
p.50
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
83 QUALITY CONTROL
เตรียมความพร้อมรับ...ISO 9001:2015 พร้อมแนวทางปฎิบัติเพื่อขอการรับรอง (ตอนที่ 2) 86 FOOD PROCESSING
‘พินช์วาล์ว’ ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ข้อจ�ากัดและปัจจัยที่ต้องพิจารณา 88 MAINTENANCE
Condition Based Maintenance แนวทางการน�า CBM มาใช้ และการเตรียมความพร้อม 90 TECHNOLOGY
ภัยไซเบอร์ เรื่องใกล้โรงงานกว่าที่คิด
editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com ISSN: 1685-7143
เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com
จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th
MODERN MANUFACTURING…
พาชม 3 งานแสดงเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับโลก MODERN MANUFACTURING ฉบับนีม้ ภี าพบรรยากาศการจัดแสดงเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม ในงาน TiGiS: Taiwan International Green Industry Show และงานจัดแสดงนิทรรศการพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์ งาน 2016 Taiwan Int’l Photovoltaic Exhibition: PV Taiwan โดยทัง้ สองงาน จัดขึน้ ทีไ่ ทเป ประเทศไต้หวัน ตามค�าเชิญของ Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) อีกทั้งงานแสดง เทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรม 30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY ที่ศูนย์จัดแสดง Fieramilano เมือง มิลาน ประเทศอิตาลี ตามค�าเชิญของ ICE-Italian Trade Agency ในคอลัมน์ SPECIAL REPORT หน้า 59-64 ในคอลัมน์ INDUSTRIAL ECONOMIC หน้า 56-57 มีข้อมูลจากส�านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เรื่อง ‘สศอ. ทุ่มงบสนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต’ และเรื่อง ‘เกาะติด… ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม’ โดยข้อมูลหนึ่งที่น่าสนใจ คือ …นโยบายขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมไทย ในปี พ.ศ. 2560 สศอ.จัดสรรงบประมาณการใช้งบบูรณาการปีแรก โดยจะมุ่งเน้นภารกิจส�าคัญ คือ การเพิ่ม ผลิตภาพการผลิต (Productivity) ของภาคอุตสาหกรรมให้เพิ่มขึ้น 2% เพื่อยกระดับการแข่งขัน และผลักดันให้ GDP ภาคอุตสาหกรรมในปี พ.ศ. 2560 ให้ขยายตัว 3%... ด้าน คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ได้น�าเสนอเรื่อง ‘นิวเคลียร์ฟิวชั่น (Fusion) ความจริงหรือความฝันของมนุษยชาติ’ คุณพิชัย ได้เล่าเรื่องราวจากการที่ได้มีโอกาสศึกษาดูงานโรงงานต้นแบบของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ เมือง Saint-Paul-lez-Durance ประเทศฝรั่งเศส ติดตามในคอลัมน์ RENEWABLE ENERGY หน้า 71-73 ส�าหรับคอลัมน์ REAL LIFE ฉบับนี้ ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ประธานกรรมการ ส�านักงานนวัตกรรมแห่ง ชาติ มาบอกเล่าแง่คิดและสูตรแห่งความส�าเร็จ เรื่อง ‘ท�าให้งานเป็นกิจการพักผ่อน: จับให้มั่น คั้นให้ส�าเร็จ’ หน้า 74-76 โดยใจความตอนหนึ่งที่ ดร.สมเจตน์ ได้เอ่ยถึง คือ “ขณะนี้ เราจะสร้างนวัตกรรม ก็ต้องเริ่มจากนวัตกร คือ สร้างคน ปรับความคิดคน เราต้องการคนที่คิดแบบนวัตกรรมและสร้างสรรค์ ให้คน Up Start ใน Startup ถามว่า ทุกวันนี้ขาดแคลนไหม สร้างยากหรือไม่ ตอบว่าไม่มีค�าว่าขาดหรือเกิน ต้องท�าไป หลักคิดของค�าว่า ‘นวัตกรรม’ คือ ท�าความคิดสร้างสรรค์ให้สมั ฤทธิผ์ ลและมีคณ ุ ค่า ดังนัน้ ด้วยตัวมันเอง ก็เป็นกระบวนการที่ไปถึงจุดจบได้อยู่แล้ว แต่อย่าลืมว่าเราต้องน�าความคิดสร้างสรรค์ไปสู่ภาวะความ เป็นตัวตนเถ้าแก่ด้วย” ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่ม แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณำธิกำร: ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ กองบรรณำธิกำร: สำวิตรี สินปรุ, เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัต เพ่งพินิจ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936
Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket
àÃÒ໚¹¼ÙŒãËŒºÃÔ¡ÒôŒÒ¹ Mechanical Work ·Ñé§Ãкºã¹ âç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Ø¡»ÃÐàÀ· ઋ¹ Utility Pipe, Process pipe, Sanitary pipe, Rack pipe, Dust pipe, Dust exhaust, §Ò¹ËØŒÁ©¹Ç¹à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ãã¹âç§Ò¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ·Ø¡»ÃÐàÀ· ÃѺ¼ÅÔµ§Ò¹ áÅеԴµÑé§àËÅ硧ҹÊáµ¹àÅÊ Storage tank, Silo, Hopper, Mixing, Walk Way and Platform, Install Machine On site
Scope of Work
Dust Collector Systems and Bag Fillter
Fabrication and Installation Dust Pipe, Dust Exhaust Work
Fabrication and Installation Pipe Rack
Fabrication External Tank On Site
Fabrication Tank, Hopper, Silo
Fabrication Walk Way and Platforms
Insulation Hot and Cool with Jacket Work
Piping Work Utility System, Process piping work
• Storage Tank, Hopper, Silo, Mixing, pressure vessel • Tank Farm and External Storage Tank On Site • Installaiton Machine and Service Maintenance On site • Fabrication and Installation Pipe Rack • Walkways and Platforms • Piping Work Utility System, Process piping work • Insulation Hot and Cool with Jacket Work • Fabrication and Installation Dust Pipe, Dust Exhaust • Structure Support • Screw Conveyor and Screw Feeder • Dust Collector Systems • Basket Strainer and Filter
บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด
559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com Screw Conveyor Systems
Service and Maintenance On site
20 SUPPLIER INDEX november 2016 หน้า 1, 30-33
ชื่อบริษัท
โทรศัพท์
E-mail / Website
ข้อมูลบริษัท
ไซ-อาร์กัส บจก.
0-2319-9933
www.zi-argus.com
Everything Under Control
ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.
0-2379-1611-12
www.tvp.co.th
จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม
คอมาว (ประเทศไทย) บจก.
0-2231-8137
www.comau.com
A HISTORY OF EXCELLENCE. A FUTURE OF INNOVATION.
4
เจเอสอาร์กรุ๊ป
0-2327-0351-5
www.jsr.co.th
เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม
5
เอบีบี บจก.
0-2665-1000
www.abb.com
ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�่า
6
ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.
0-2717-1400
www.irct.co.th
Leader in Test and Measurement
7
ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2910-9728-29
www.tat.co.th
Technological Solutions For You
8
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
www.virtus.co.th
ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก
9
อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.
0-2721-1801-8
www.alphac.co.th
- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct. - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.
10
ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.
0-2632-9292
www.hitachi.co.th
SOCIAL INNOVATION , IT’S OUR FUTURE
11
ไทยโพลิเมอร์ ซัพพลาย บจก.
0-2750-4852-8
www.thaipolymer.co.th
ผู้น�าในด้านพลาสติกวิศวกรรม ผลิตชิ้นส่วนพลาสติก งานสั่งท�า ด้วยเครื่องจักร ที่ทันสมัย และ ประสบการณ์ด้านสินค้าและบริการ มากกว่า 30 ปี
12
แอมด้า บจก.
0-2105-0560
www.amda.co.th
Autonics Sensors & Controllers
13
จีทีเอ็ม บจก.
0-2012-1800-4
www.gtm.co.th
จัดจ�าหน่ายและให้บริการหลังการขายสินค้าประเภทรถยกและอุปกรณ์ขนย้าย GT Mover, MIAG และ Master Mover
15
กลอบอลซีล บจก.
0-2591-5256-7
www.globalseal.co.th
กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร
17
โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.
0-2150-7808-10
www.motology.co.th
ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF
19
ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.
0-2325-0321-3
www.cpmflow.com
“ความสม�่าเสมอในการท�างาน ผลักดันให้งานมีคุณภาพ พร้อมกับมาตรฐานในความปลอดภัย “Good Team Change The Future””
21
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
www.interlink.co.th
คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง
22
ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.
0-2186-7000
www.parker.com/thailand
ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักร และเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก
23
เพาเวอร์เรด บจก.
0-2322-0810-6
www.powerade.co.th
Electrical & Energy Solutions
25
อีพีเอ็มซี บจก.
0-2322-1678-87
www.epmc.co.th
จ�าหน่าย พร้อมให้ค�าปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�้า และวาล์วที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม
27, 48
ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.
0-2810-2000
www.tnmetalworks.com
ผูผ้ ลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปัม้ น�า้ , พัดลมอุตสาหกรรม ชัน้ น�าของประเทศไทย
29
คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2642-8762-4
www.kanitengineering.com
Process Instuments & Controls
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.
0-2637-5115
www.ikont.co.jp/eg
"IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”
44
คอมโพแม็ก บจก.
0-2105-0555
www.compomax.co.th
ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี
45
โฟร์ดี คอร์ปอเรชั่น บจก.
0-2681-2085
www.4dcorps.com
จ�าหน่ายซอฟแวร์ บริการติดตั้งคอมพิวเตอร์
46
โทเซอิ (ประเทศไทย) บจก.
0-3819-3282-3
www.tosei.co.th
บริการติดตั้งและโยกย้ายเครื่องจักรกล
47
มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.
0-2682-6522
www.mitsubishifa.co.th
เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้าผ่าน เครือข่ายในการจ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล
49
อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.
0-2937-1190
www2.emersonprocess.com
EMERSON. CONSITION IT SOLVED.
65
ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.
0-2613-9166-71
www.inb.co.th
ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย
66
ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.
0-2369-2990-4
www.cgsreboardthai.com
"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board"
105
แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2865-2501-8
sales@magna.co.th
Pressure Gauges : Nuovo Fima, Gas springs : Bansbach
106
การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.
0-2396-1134-6
www.gardnerdenver.com
Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.
107
เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.
083-207-8888
www.crm.co.th
ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบ และทุกกลุ่มอุตสาหกรรม
108
เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.
0-2721-1800
www.apscontrol.co.th
ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์ วัดปริมาณฝุ่น, วาล์วและหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น
2 3, 34-37
38-43
หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นำเขาและจัดจำหนายโดย
บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)
www.interlink.co.th
E-mail : info@interlink.co.th
THIS IS RELIABILITY Automations Connectors Hydraulics Filtration Instrumentation Engineered Materials (Seal)
Leader of Motion and Control Technologies Provide the total solutions and service With high quality of 6 product groups Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000
Parker enables its partners to increase productivity and profitability, while protecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solve the world’s greatest engineering challenges. www.parker.com/th
P022_AD Parker 2016-All.indd 22
28-Oct-16 11:35:36 AM
MAKE TENNANT CLEAN PART OF YOUR UNCOMPROMISING PROCESS
IN YOUR MANUFACTURING FACILITY
IN YOUR SHOWROOM
Keep operations running smoothly by providing a healthy and safe environment for employees
reputation—center stage.
•
Experience the power of a heavy-duty rider scrubber and the maneuverability of a compact footprint with the T12 Compact BatteryPowered Rider Scrubber
•
T300/T300e Walk-Behind Scrubber that eases indoor cleaning
VISIT I.C.E. INTERTRADE CO, LTD. AT METALEX 2016 BOOTH 6J16, HALL 106 23–26 November 2016 | Bitec Bangna, Bangkok
Phone: 0 2450 6055-6, 08 1721 3550
Email: info@iceintertrade.com
26 news & Update
สถาบันเทคโนโลยีคิวชู
ร่วมวิจัยหุ่นยนต์กับคณะวิศวลาดกระบัง
ส.อ.ท. จับมือ บจก.ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) ยกระดับผู้ประกอบการสู่อุตสาหกรรม 4.0
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ร่วมกับ บริษทั ทูฟ นอร์ด (ประเทศไทย) จ� า กั ด จั ด พิ ธี ล งนามความร่ ว มมื อ ด้ า นมาตรฐานสากลที่ จ ะน� า ไปประยุ ก ต์ ใช้ ใ นภาค อุตสาหกรรมยุคอุตสาหกรรม 4.0 และสัมมนา ‘อุตสาหกรรม 4.0 ดุลยภาพแห่งการพัฒนา สู่ความยั่งยืน’ เพื่อให้ผู้ประกอบการทราบประเด็นส�าคัญและผลกระทบจากวิวัฒนาการที่ ก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสมัยใหม่ทจี่ ะส่งผลกระทบโดยตรงต่อบริบทใหม่ๆ อาทิ เศรษฐกิจ (ธุรกิจ) การศึกษา กลไก & บริการภาครัฐ สังคม และวิถีชีวิตของผู้คน ทั้งยังสามารถเตรียม การวางแผนเพือ่ รับมือกับเงือ่ นไขใหม่ๆ (ความเสีย่ ง & โอกาส) เพือ่ สร้างความสามารถหลักๆ และสร้างความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันขององค์กร และสามารถเข้าใจแนวทางพัฒนาระบบ การจัดการ (ระบบปฏิบตั กิ าร & บริการ) และประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมและบริบท ทางธุรกิจที่เปลี่ยนไป
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี ต้อนรับ คณะอาจารย์และนักศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีคิวชูแห่งญี่ปุ่น (Kyushu Institute of Technology) เดินทางมาร่วมวิจัยนวัตกรรมด้าน หุ่นยนต์ในประเทศไทยตามโครงการ “International Workshop Exchange Program” ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนงานวิจัยและองค์ความรู้นวัตกรรมด้านหุ่นยนต์ที่ก�าลัง ทวี บ ทบาทความส� า คั ญ ในชี วิ ต ประจ� า วั น ของประชาชนและธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมทั่วโลก พร้อมกันนี้ คณบดีฯ ยังได้มอบประกาศนียบัตร แก่นักศึกษาที่เดินทางมาศึกษาวิจัยโครงการนี้อีกด้วย
สวทช. เชิญอบรมหลักสูตร
Basic/Advanced Engineering for Automotive Course
เฮเดล ตั้งศูนย์วิจัยกราฟีนแห่งแรกในเอเชีย ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ร่วมกับ บริษทั Haydale Graphene Industries จากประเทศอังกฤษ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง Haydale Technologies (Thailand): HTT ศูนย์วจิ ยั กราฟีนแห่งแรกในภูมภิ าคเอเชีย ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ภายในอาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 (INC2) ด้วยเชื่อมั่นในความพร้อมของ บุคลากรวิจัย เครื่องมือต่างๆ รวมถึงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการวิจัยและพัฒนา ทัง้ นี้ กราฟีน เป็นวัสดุมหัศจรรย์ มีคณ ุ สมบัตกิ ารน�าไฟฟ้าทีด่ ี สามารถน�าไปผสมเป็น วัสดุคอมโพสิตที่มีน�้าหนักเบาและมีความแข็งแรงสูง หรือคุณสมบัติการน�าความร้อน ที่ดีของกราฟีนสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและยืดอายุการใช้งานของหลอดไฟ ส่องสว่างแบบ LED ได้อย่างมาก ความบางและการโค้งงอได้ของกราฟีนก็มีการน�าไป ผลิตเป็นจอภาพโค้งแบบ OLED ในเชิงพาณิชย์ และยังมีงานวิจัยอื่นๆ อีกมาก ที่เป็นที่สนใจของแวดวงการวิจัยและพัฒนาทั่วโลก
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สถาบั น วิ ท ยาการส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ขอเรียนเชิญท่านเข้าร่วมอบรม หลักสูตร Basic/Advanced Engineering for Automotive Course ระหว่างวันที่ 15-18 พ.ย. 2559 เวลา 8.00-18.00 น. ณ อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย สวทช. จ.ปทุมธานี หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรทางด้านยานยนต์ที่ได้รับความนิยม มากที่สุด และด�าเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้ท�าการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความ ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา และเป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมการฝึก อบรมพนักงานของบริษัทที่ประกอบธุรกิจด้านยานยนต์ทั้งใน ประเทศญี่ปุ่นและในประเทศไทย ผู้เข้าอบรมจะได้ร่วมเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญจากอุตสาหกรรม ยานยนต์ชั้นน�าของประเทศญี่ปุ่นและนักวิจัย สวทช. ซึ่งการ จัดอบรมในครั้งนี้จะบรรยายเป็นภาษาอังกฤษและสรุปประเด็น เป็นภาษาไทยโดยผู้เชี่ยวชาญในทุกหัวข้อการอบรม ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและลงทะเบียน ได้ที่ www. NSTDAacademy.com/eac หรือ Call Center: 0 2644 8150 ต่อ 81890 (สรารี) FAX: 0 2644 8110 E-mail: bas@nstda.or.th
MAb Series
High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.
MSR Series
Conveying Blowers Air Volume : 5 cmm – 60 cmm. Pressure : 500 Pa – 6,750 Pa.
MAb Bio-Gas
High Pressure Blowers Air Volume : 2.5 cmm – 120 cmm. Pressure : 500 Pa – 9,800 Pa.
28 news & Update
สถาปนิกชาวดัตช์ น�ำเสนอสิ่งประดิษฐ์ใหม่มุ่งต่อยอดพัฒนำ เครื่องก�ำเนิดพลังงำนจำกแรงโน้มถ่วง
โรงงาน VR เป็นจริงแล้ว!
บริษัท Raytheon ผู้ด�าเนินธุรกิจเกี่ยวกับอากาศยานและยุทโธปกรณ์ป้องกันประเทศ ได้น�าเทคโนโลยี Virtual Reality (VR) เข้ามาประยุกต์ใช้กับการท�างานภายในห้องที่มีก�าแพง สีด�าที่ชื่อว่า Cave ซึ่งมีระบบการท�างานเหมือนกับ Blue Screen หรือ Green Screen ที่ใช้ ในวงการบันเทิง ท�างานร่วมกับเครือ่ ง Laser Scanner ทีจ่ ะท�าหน้าทีต่ รวจจับและสร้างพืน้ ที่ จ�าลองขึ้นมาจากต้นแบบ ซึ่งมีส่วนช่วยอย่างมากส�าหรับการประชุม การน�าเสนอแนวคิด ผลงาน รวมถึงผลักดันการท�างานให้เป็นรูปธรรมและราบเรียบมากขึ้น การใช้งานดังกล่าวเป็นการแสดงผลภายในพื้นที่ห้องและผู้ใช้งานนั้นต้องสวมอุปกรณ์ ที่มีชื่อว่า Oculus Rift และอุปกรณ์ตรวจจับการเคลื่อนไหว ซึ่งจะท�าให้ผู้สวมใส่สามารถ จ�าลองตัวเองเข้าไปอยู่ภายใต้องค์ประกอบ 3 มิติ ที่ถูกโปรแกรมขึ้นมา เป็นการจ�าลองผู้ใช้ ให้สามารถเข้าไปอยู่ในแผงวงจรหรือระบบต่างๆ เพื่อให้เห็นการท�างานภายใน สนับสนุน การออกแบบระบบและชิ้ น ส่ ว นให้ ส ามารถท� า งานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล นอกจากนี้ ยังใช้ในการฝึกความสามารถในการดูแลรักษาและซ่อมบ�ารุง การออกแบบและทดสอบ การจ�าลองการท�างานนั้นได้มีการทดสอบร่วมกับวิศวกรด้านเครื่องจักร ไฟฟ้า อุตสาหการ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านความร้อน รวมถึงการประกอบชิน้ ส่วนอีกด้วย ท�าให้การใช้งาน VR ส�าหรับ พัฒนา ฝึกฝน และออกแบบชิ้นส่วนนั้นสามารถท�าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น Source: https://goo.gl/3gg8FG
สถาปนิ ก และนั ก วิ ท ยาศาสตร์ ช าวดั ต ช์ พิ สู จ น์ ท ฤษฎี ที่ ว ่ า “เราสามารถน�าพลังงานจากแรงโน้มถ่วงมาใช้ได้หรือไม่?” โดยขณะนีส้ งิ่ ประดิษฐ์ทเี่ ป็นค�าตอบของค�าถามข้างต้นก�าลังน�าไปสู่ การพัฒนาเครื่องก�าเนิดพลังงานภายในบ้านอย่างยั่งยืน เมื่อเร็วๆ นี้ Janjaap Ruijssenaars สถาปนิกชาวดัตช์จาก Universe Architecture ในกรุงอัมสเตอร์ดัม และนักวิทยาศาสตร์ จาก VIRO เมืองเฮงเงโล ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้พจิ ารณาหลักฐาน ทางกายภาพ ซึ่งเป็นไปตามการคาดการณ์บนพื้นฐานของการ ค� า นวณก่ อ นหน้ า นี้ โดยเมื่ อ แรงโน้ ม ถ่ ว งผนวกเข้ า กั บ ความ ไม่แน่นอนเชิงกลไกจะก่อให้เกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพของ เทคนิคที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า เรียกว่า ‘เพียโซ อิเล็กทริก’ ซึ่งประสิทธิภาพที่เพิ่มสูงขึ้นนี้เองจะช่วยเปิดประตูสู่ การพัฒนาเครื่องก�าเนิดพลังงานรูปแบบใหม่ ในการให้สมั ภาษณ์กบั ส�านักข่าวรอยเตอร์ Ruijssenaars ระบุ ว่า “ผมพยายามคิดหาหนทางที่จะน�าหลักการเปลี่ยนแปลงของ แรงโน้มถ่วงมาใช้ เพราะการเปลีย่ นแปลงของแรงโน้มถ่วงสามารถ ท�าให้เกิดพลังงานไฟฟ้าได้” เมื่อบทสัมภาษณ์ดังกล่าวซึ่งถูกน�าไป ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ในหลายประเทศ ได้เรียกความสนใจ จากบรรดานักลงทุนด้านพลังงาน ซึ่งรวมถึง Jeroen Van Den Hamer โดยนักลงทุนอิสระ (Angel Investor) ผูน้ ไี้ ด้เข้าซือ้ หุน้ 10% ของบริษทั Gravity Energy ในกรุงอัมสเตอร์ดมั ทีจ่ ะออกใบอนุญาต ให้น�าสิ่งประดิษฐ์ที่จดสิทธิบัตรดังกล่าวไปพัฒนาต่อไป Jeroen Van Den Hamer กล่าวว่า “เมื่อเทียบกับพลังงานยั่งยืนที่มีอยู่ใน ปัจจุบนั อาทิ กังหันลม และแผงเซลล์แสงอาทิตย์แล้ว สิง่ ประดิษฐ์ ที่มีประสิทธิภาพสูงนี้สามารถเรียกความสนใจจากเรา เพราะสิ่งนี้ อาจถือเป็นตัวเปลี่ยนเกมได้เลย” Source : https://goo.gl/3G97HI
สถานการณ์ตลาดเหล็กโลกในระยะสั้น
สมาพันธ์โลหะโลก (World Steel Association) ได้เปิดเผยรายงานระยะสั้นเกี่ยวกับสถานการณ์ โลหะในตลาดโลกถึงความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นในตลาด ซึ่งเป็นผลมาจากการผลิตโลหะการปริมาณของ จีนและ Brexit ซึ่งท�าให้การลงทุนที่เกิดขึ้นนั้นอ่อนแรงลง ความต้องการโลหะของจีนลดลง -1.0% ในปี ค.ศ. 2016 และ -2.0% ในปี ค.ศ.2017 ในขณะทีอ่ าเซียน และอินเดียกลับมีการเติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในส่วนนีห้ ากไม่นบั จีนแล้ว ความต้องการโลหะจะเติบโต ถึง 2.0% ในปี ค.ศ. 2016 และ 4.0% ในปี ค.ศ. 2017 ส่วนสหภาพยุโรปยังคงฟืน้ ตัวได้อย่างเชือ่ งช้า อันเป็น ผลมาจากความไม่แน่นอนของ Brexit โดยเพิ่มขึ้น 0.2% ในปี ค.ศ.2016 และ 1.1% ในปี ค.ศ.2017 Source: https://goo.gl/yo7dwq
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Industrial Regulators: Air, Steam, Liquids, Process Gases, Fuel Gas Regulators for Natural Gas Solutions
Annunciator Fault Recorder Thermocouple for Gas Turbine
Pressure Reducing Regulators Relief / Back Reducing Regulators Hand / Air Operated Valves
Tail Gas Analyzer / Dew Point Monitor Moisture Analyzer / Gas Chromatograph
Position Feedbacks Hose Carrier / Industrial Brakes
Enclosure & Cabinet for : DCS & PLC Systems, Industrial and Telecommunication Applications
Fluidrive Variable Speed Coupling VORECON Variable-Speed Planetary Gear Variable-Speed Turbo Coupling Torque Converters
Electric Heaters / Heating Elements Heating Cables Controls
Point Level & Continuous Level Measurement : RF Admittance Vibration, Ultrasonic Hydrostatic and Radar
Dust Density Monitor
Kanit Engineering Corp., Ltd. 800/3-4 Asoke Dindaeng Road, Dindaeng, Bangkok 10400 Tel : 0-2245-4451, 0-2245-0419, 0-2245-8989, 0-2642-8762-4 Fax : 0-2246-3214, 0-2248-3006 E-mail : sales1@kanitengineering.com, sales2@kanitengineering.com http://www.kanitengineering.com
Pisanu Engineering Co., Ltd. 800/2 Asoke Dindaeng Road, Dindaeng, Bangkok 10400 Tel. 0-2245-9113, 0-2246-4673, 0-2248-2896-8 Fax. 0-2642-8614, 0-2248-3006 E-mail : Pisales@pisanu.co.th ECsales@pisanu.co.th http://www.pisanu.co.th
30 cover story
‘AutoSave’ ปกป้องระบบอัตโนมัติ กันไว้ดีกว่าแก้
เป็ น ที่ ถู ก พู ด ถึ ง และเป็ น ความหวั ง ของเศรษฐกิ จ ชาติ เ มื่ อ รั ฐ บาลได้ อ อกแนวนโยบายสนั บ สนุ น อุตสาหกรรมใหม่ที่อาจพลิกโฉมหน้าวงการอุตสาหกรรม เหตุการณ์นี้เองท�าให้เราอาจได้เห็นกลุ่ม ธุรกิจหน้าใหม่โดดลงมาเล่นในแวดวงอุตสาหกรรมมากขึน้ หรือไม่กอ็ าจเห็นกลุม่ ธุรกิจเดิมปรับเปลีย่ น รูปแบบกระบวนการผลิตที่ทันสมัยยิ่งขึ้นไปกว่าเดิม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
cover story
ทว่าไม่วา่ ภาคอุตสาหกรรมจะก้าวหน้าไปสูจ่ ดุ ใดหรือเปลีย่ น โฉมจนล�้าหน้าไปเป็นแบบไหนแต่ก็ยังคงมีพื้นฐานของสายการ ผลิตเป็น ‘ตัวระบบควบคุม’ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมในปัจจุบันที่เทรนด์ส่วนใหญ่ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน คือ มีความพยายามในการ เพิ่มเครื่องจักรเพื่อลดการใช้แรงงานมนุษย์เพราะทั้งเที่ยงตรง กว่าแม่นย�ากว่าและควบคุมคุณภาพได้ง่ายกว่า ด้วยชุดความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปนีเ้ องจึงท�าให้ภาคอุตสาหกรรม และสายการผลิตทัง้ หมดต้องพึง่ พิงระบบคอมพิวเตอร์มากขึน้ ทัง้ ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ออโตเมชัน่ รวมถึงโรโบติกส์นจี่ งึ ท�าให้ระบบ ควบคุมทีแ่ ต่ละโรงงานใช้กลายเป็นยิง่ กว่าหัวใจของอุตสาหกรรม ระบบควบคุมอัตโนมัติ คือหัวใจของอุตสาหกรรม ที่ผ่านมาโรงงานอุตสาหกรรมมีระบบควบคุมเป็นหัวใจ ส�าคัญในการท�างานและเดินเครื่องการผลิต โดยเฉพาะในยุค ปัจจุบนั ทีแ่ ทบทัง้ ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์หรือออโตเมชัน่ หากระบบควบคุมขัดข้องเพียงเล็กน้อยก็อาจสร้างความเสียหาย มหาศาลให้กับโรงงานได้ บริษัท ไซ-อาร์กัส จ�ากัด ซึ่งอยู่ในกลุ่มธุรกิจระบบควบคุม อัตโนมัติ ทีด่ แู ลและป้องกัน ‘ระบบควบคุม’ ในโรงงานอุตสาหกรรม ตั้งแต่ PLC, HMI, SCADA, CNC, โรบอติกส์, ไดรฟ์ หรือ กระทัง่ ไฟล์เอกสารทัว่ ไป ได้ให้ขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจว่าโดยทัว่ ไปแล้ว ในโรงงานขนาดเล็กใช้ระบบควบคุมประมาณ 300 โปรแกรม
31
ในยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ แ ทบทั้ ง ระบบ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ หรือออโตเมชัน่ หากระบบควบคุมขัดข้องเพียงเล็กน้อย ก็อาจสร้างความเสียหายมหาศาลให้กับ โรงงานได้ ไซ-อาร์กสั จึงเริม่ ต้นจากการ ตั้งค�าถามง่ายๆ ว่าท�าไมถึงต้องยอม ปล่อยให้ ‘ระบบควบคุม’ ซึ่งเป็นหัวใจ หลักของภาคอุตสาหกรรมต้องตกอยู่ ในความเสี่ ย ง จนเราได้ ม าท� า งาน ร่วมกับ MDT ที่เป็นผู้พัฒนาโปรแกรม AutoSave ซึง่ ตอบโจทย์เราได้ในทีส่ ดุ ” ส่วนโรงงานขนาดใหญ่ใช้ระบบควบคุมถึงกว่า 1,000 โปรแกรม โดยบริษัทฯ ตระหนักว่าจ�านวนและความซับซ้อนเหล่านี้น�ามา สู่ความเสี่ยงที่แต่ละโรงงานต้องเจอ เหตุนี้เอง ไซ-อาร์กัส จึงเริ่มต้นจากการตั้งค�าถามง่ายๆ ว่า ท�าไมถึงต้องยอมปล่อยให้ ‘ระบบควบคุม’ ซึง่ เป็นหัวใจหลักของ ภาคอุตสาหกรรมต้องตกอยู่ในความเสี่ยง จนเราได้มาท�างาน ร่วมกับ MDT ที่เป็นผู้พัฒนาโปรแกรม AutoSave ซึ่งตอบโจทย์ เราได้ในที่สุด
Autosave Automation Change Management Solution issue 165 november 2016
32 cover story
AutoSave คืออะไร? หากพูดถึงระบบ AutoSave หรือระบบการบริหารจัดการการเปลีย่ นแปลงระบบ ควบคุมอัตโนมัติ (Automation Change Management Solution) ความจริงแล้วเป็น ซอฟต์แวร์ทเี่ กิดขึน้ มานานถึง 25 ปี แต่ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาระบบได้ถูกพัฒนา อย่างไม่หยุดยั้ง จนปัจจุบันมีความน่าเชื่อถือถูกต้องแม่นย�าและสามารถพิสูจน์ ประสิทธิภาพของโปรแกรมได้ในเชิงรูปธรรมเป็นซอฟต์แวร์ตัวกลางที่จะเข้าไปดูแล ระบบควบคุมอัตโนมัติโดยสามารถหยุดความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพอาทิ...
Automation Change
Management Solution
ส�ำรองข้อมูลและจัดเก็บโปรแกรมก่อนท�ำกำรโปรแกรม เผื่อผิดพลำด ตรวจสอบกลับทุกกำรเปลี่ยนแปลงของระบบควบคุม ออโตเมชั่น เป็นเครื่องมือจัดเก็บทุกกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและ แจ้งกำรเปลี่ยนแปลงไปยังผู้ใช้ บันทึกข้อมูลของผู้ท�ำกำรเปลี่ยนแปลงว่ำเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไรและเปลี่ยนแปลงอย่ำงไรบ้ำง ป้ อ งกั น กำรเข้ ำ ถึ ง กำรใช้ ง ำนโปรแกรมออโตเมชั่ น รวมถึงเข้ำถึงเพื่อใช้งำนตำม Workstation ต่ำงๆ สำมำรถก�ำหนดสิทธิ์ผู้เข้ำใช้งำนเพื่อเป็นกำรควบคุม กำรแก้ ไขโปรแกรมโดยพลกำร สำมำรถกู้ข้อมูลและโปรแกรมคืนได้เมื่ออุปกรณ์เกิด ควำมเสียหำย
กล่าวคือ AutoSave จะจัดการกับทุกการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบควบคุม อัตโนมัติ ไม่วา่ จะเป็นการส�ารองข้อมูล การป้องกันการเปลีย่ นแปลงโดยผูท้ ไี่ ม่ได้รบั มอบหมาย การเปลีย่ นแปลงงานเอกสาร เก็บประวัตกิ ารใช้งาน สร้างความปลอดภัย ของผู้เข้าถึงระบบ การกู้คืนความเสียหาย และแจ้งเตือนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
แจ้งเตือนผู้ ใช้หำกมีกำรเปลี่ยนแปลงใดๆ เกิดขึ้นกับ ระบบควบคุมออโตเมชั่น
cover story 33
ถ้าป้องกันได้ ท�าไมต้องเสี่ยง จากประสบการณ์การท�างานด้านระบบควบคุมอัตโนมัติ มากว่า 20 ปี ท�าให้เราแบ่งแยกความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ต่อระบบควบคุมอัตโนมัติเป็นรูปแบบต่างๆ ดังนี้ 1. ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากความผิ ด พลาดของพนั ก งานหรื อ บุคลากร เช่น มีพนักงานบางคนพยายามเข้าไปเปลีย่ นแปลงค�าสัง่ ในระบบควบคุมส่งผลให้คุณภาพเครื่องจักรลดลงหรือท�าให้ ระบบล่มโปรแกรม AutoSave Solution ของเราจะเรียกโปรแกรม ก่อนหน้าขึ้นมาใช้งานได้อย่างทันท่วงที 2. อุ ป กรณ์ ไ ม่ ท� างานเช่นเกิดเหตุเ ครื่องจัก รในโรงงาน เสียหายสามารถซ่อมหรือเปลีย่ นอะไหล่ได้เลยโดยไม่เกิดความ เสียหายต่อทั้งระบบช่างซ่อมบ�ารุงสามารถดาวน์โหลดเวอร์ชั่น
ล่าสุดจาก AutoSave Solution ขึน้ มาใช้การต่อได้ กล่าวคือ สามารถ กู้คืนระบบให้กลับมาเดินเครื่องต่อได้ภายในเวลาไม่กี่นาที 3. การก่อความเสียหายต่อระบบ ซึง่ ไม่สามารถคาดการณ์ ล่วงหน้าได้โปรแกรม AutoSave Solution จะป้องกันคนนอก ไม่ให้เข้าถึงตัวระบบได้ เพื่อป้องกันกรณีที่มีคนนอกพยายาม เข้าถึงระบบ หรือพยายามแฮ็คระบบ นอกจากนี้ ยั ง สามารถเปรี ย บเที ย บและบั น ทึ ก การ เปลีย่ นแปลงค�าสัง่ ของระบบโดยตัง้ เวลาอัตโนมัตใิ นการท�างาน ได้จาก Processor โดยตรงและแจ้งไปยังผู้รับผิดชอบได้ทันที เมื่อเปรียบเทียบแล้วพบว่ามีความแตกต่างจากเดิมท�าให้ผู้ รับผิดชอบสามารถแก้ไขหรือตรวจสอบความผิดปกติได้ทนั ท่วงที 4. ปัญหาจากไฟตกไฟดับที่อาจท�า ให้เกิดการลัด วงจร จนระบบและอุปกรณ์เกิดความเสียหายหรือปิดการเชื่อมต่อ ก็สามารถดาวน์โหลดเวอร์ชั่นล่าสุดได้จาก AutoSave Solution เช่นกัน 5. ไฟไหม้เป็นปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดผลกระทบมหาศาล ทัง้ อุปกรณ์เดีย่ วหรืออาจทัง้ ระบบโปรแกรม AutoSave Solution จะเก็ บ ข้ อ มู ล ไว้ ใ นส่ ว นกลางซึ่ ง สามารถเรี ย กคื น ได้ โ ดยไม่ เสียเวลามากในการกลับสู่การผลิตได้อย่างเดิม การป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นหลายครั้งถูกตั้งค�าถาม ถึงความคุ้มค่าในการลงทุนแต่ ไซ-อาร์กัส มองว่าการป้องกัน ความเสี่ยงเปรียบไปแล้วก็เสมือนการท�าประกันสุขภาพและ ประกันชีวิต เพราะดังที่กล่าวข้างต้นว่าระบบควบคุมอัตโนมัติคือหัวใจ หลักของโรงงาน นั่นหมายถึงความผิดพลาดใดๆ ที่อาจเกิดขึ้น กับระบบแม้เพียงเล็กน้อยก็อาจก่อให้เกิดผลกระทบร้ายแรง มหาศาลได้ AutoSave Solution จึงเป็นส่วนหนึง่ ในการรักษาหัวใจส�าคัญ ของอุตสาหกรรม เพราะ... กันไว้ย่อมดีกว่าแก้
ทั้งนี้ AutoSave มีพันธมิตร ได้แก่ Schneider Electric, Wonderware, SIEMENS และ e-Factory Alliance นอกจากนี้ สามารถท�างานร่วมกับระบบควบคุมอัตโนมัติของหลากหลายแบรนด์ชั้นน�าระดับโลก อาทิ Schneider Electric, SIEMENS, KUKA, OMRON, Rexroth (Bosch group), Kawasaki, Mitsubishi Electric, Wonderware, FANUC, DENSO, MOTORMAN, ABB เป็นต้น Strategic Partnerships
Supported Devices
issue 165 november 2016
34 interview
COMAU (Thailand) Co., Ltd.
ร่วมยกระดับอุตสาหกรรมไทยด้วยออโตเมชั่น ไม่ว่าสถานการณ์ภาคอุตสาหกรรมจะขึ้นหรือลงทรงหรือทรุดสิ่งหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้คือเทรนด์ ความเปลี่ยนแปลงในทุกอุตสาหกรรมที่ต้องหันมาพึ่งพาเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติแขนกลหรือ กระทั่ง Internet of Things และยิ่งตอกย�้าเทรนด์ให้ชัดเจนขึ้นเมื่อรัฐบาลตั้งเป้าพา อุตสาหกรรมไทยสู่‘4.0’
คุณขจัดภัย อารีประเสริฐสุข Managing Director COMAU (Thailand) Co., Ltd.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
interview 35
หลายครัง้ ทีอ่ อโตเมชัน่ หรือโรบอติกส์ถกู มองเป็นของล�า้ สมัยไกลตัวต้อง ลงทุนสูง ต้องน�าเข้าในราคาแพงและยากต่อการท�าความเข้าใจฉบับนี้ MODERN MANUFACTURING ได้มีโอกาสพูดคุยแลกเปลี่ยน ทรรศนะกับ คุ ณ ขจั ด ภั ย อารี ป ระเสริ ฐ สุ ข Managing Director COMAU (Thailand) Co., Ltd. ผู้ให้บริการทั้งตัวสินค้าและการวางระบบเกี่ยวกับ ออโตเมชัน่ และโรบอติกส์แก่ผปู้ ระกอบการภาคอุตสาหกรรม ทีม่ าร่วมแบ่งปัน ประสบการณ์แลกเปลี่ยนความเห็นเพื่อให้เรารู้จักออโตเมชั่นและโรบอติกส์ อย่างเป็นรูปธรรมได้มากขึ้นกัน
เทรนด์เปลี่ยน : ไม่ขยับตามก็ตกขบวน
คุณขจัดภัย อารีประเสริฐสุข เปิดบทสนทนาด้วยการฉายภาพกว้าง ของสถานการณ์อุตสาหกรรมโดยทั่วไปในประเทศไทยว่าด้วยหลากหลาย ปัจจัยในประเทศ ณ ขณะนี้ท�าให้ธุรกิจอยู่ในภาวะทรงตัว คุ ณ ขจั ด ภั ย มองว่ า นโยบาย 4.0 สามารถส่ ง เสริ ม การแข่ ง ขั น ให้ ประเทศไทยได้อย่างยั่งยืนเพราะประเทศไทยไม่ใช่ประเทศแรงงานราคาถูก อีกต่อไปไทยจึงต้องแข่งขันด้านเทคโนโลยีการผลิตและพยายามท�าให้เป็น ซัพพลายเชนที่ครบสมบูรณ์ ฉะนั้นคุณค่าและมูลค่าของสินค้าจะมากขึ้น เพราะเริ่มกระบวนการตั้งแต่ต้นจนจบ “ผู้ผลิตและให้บริการด้านการผลิตแบบอัตโนมัติต้องปรับตัวตาม เพราะ ความต้องการของผู้บริโภคเปลี่ยนไปมีความต้องการเทคโนโลยีที่ล�้าขึ้นมี เงือ่ นไขมากขึน้ ทางรอดคือต้องเสนอนวัตกรรมทีแ่ ตกต่างให้ผบู้ ริโภคไม่ใช่ทา� อะไรออกมาเหมือนๆ กันแล้วแข่งกันโดยการขายตัดราคา นวัตกรรมจะเป็นทั้งโอกาสรอดและเป็นความยั่งยืนของธุรกิจเทรนด์ทั้ง โลกไปในทิศทางเดียวกัน คือ เปลี่ยนการผลิตให้เป็นออโตเมชั่นซึ่งจะเป็น ทางรอดของทุกธุรกิจและทุกพื้นที่ในโลก” นอกจากนี้ คุณขจัดภัยยังอธิบายให้เห็นภาพว่าเทรนด์ออโตเมชัน่ ท�าให้ ผูผ้ ลิตและผูใ้ ห้บริการออโตเมชัน่ อยูใ่ นช่วงขาขึน้ เพราะผูป้ ระกอบการหันมา ลงทุนและหลายอย่างพิสูจน์แล้วว่าระบบอัตโนมัติใช้งานได้มีประสิทธิภาพ มากกว่าการใช้แรงงานคนในแง่ของการเข้าท�างานอันตรายงานท�าซ�้างานใช้ แรงรวมถึงงานทีต่ อ้ งการความแม่นย�าสูงในขณะทีห่ ากเป็นแรงงานคนจะพบ ปัญหาหลากหลายทัง้ อารมณ์รว่ มในการท�างาน ความล้าหรือความผิดพลาด ที่สูงขึ้นเมื่อท�างานหนัก
ผู้ผลิตและให้บริการด้านการผลิต แบบอัตโนมัตต ิ ้องปรับตัวตาม เพราะความต้องการของผู้บริโภค เปลี่ยนไปมี
ความต้องการเทคโนโลยีที่ล�้าขึ้น มีเงื่อนไขมากขึ้น
การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม SCARA Robots ต้นทางสู่ออโตเมชั่น
เกีย่ วกับการปรับตัวเพือ่ ก้าวสูร่ ะบบอัตโนมัตอิ ย่างเต็มรูปแบบ คุณขจัดภัย ให้ ค วามเห็ น ว่ า เรื่ อ งแรกคื อ เทคโนโลยี ทั้ ง ทรั พ ยากรที่ ผู ้ ป ระกอบการ มีอยูเ่ ดิม ทัง้ ความพร้อมในการรับนวัตกรรมและตัวกระบวนการผลิตทีอ่ าจ ต้องมีการปรับปรุง “เช่นโรงงานมีงานที่ต้องหยิบชิ้นส่วนใส่ถาด สมัยก่อน อยากใส่ยังไงก็ได้เพราะแรงงานคนสามารถเลือกหยิบได้หมุนชิ้นส่วนหา มุมได้แต่ถ้าเราจะใช้หุ่นยนต์ท�าสิ่งที่มาป้อนหุ่นยนต์ต้องเป็นระบบมี รูปแบบเป็น Format ตายตัวกว่าก็ต้องไปปรับไปเปลี่ยนกันตั้งแต่ขั้นนั้น” คุณขจัดภัย ยกตัวอย่างให้เห็นภาพ จากแนวคิดนี้ COMAU จึงน�าเสนอแขนกลที่เรียกว่า SCARA Robots มีกลไกการท�างานแบบ ‘Pick and Place’ คือหยิบของขึน้ แนวตัง้ และวาง ลงซึ่งเป็นกลไกง่ายๆแต่เป็นพื้นฐานและเป็นต้นทางของทุกอุตสาหกรรม ในการจะปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบอัตโนมัติ นอกจากนี้ คุณขจัดภัยมองว่าอีกเรื่องที่ต้องปรับ คือ การบริหารที่ ต้องเปลี่ยนจากดีลกับคนเป็นดีลกับระบบและกับกระบวนการซึ่งมีตัวบท ที่ชัดเจนไม่หลากหลายผู้บริหารจ�าเป็นต้องมีความรู้ด้านการบริหารแบบ อัตโนมัติ เปลี่ยนวิธีคิดให้เข้ากับระบบใหม่ที่จะมา COMAU จึงเปิด หลักสูตรส�าหรับผูบ้ ริหารในงานออโตเมชัน่ ปัจจุบนั ในเอเชียและโดยเฉพาะ ในประเทศไทยยังไม่มีความรู้มากนักแต่เราพร้อมจะเรียนรู้ไปด้วยกัน ขณะเดียวกันแรงงานคนก็ตอ้ งปรับตัวไม่นอ้ ยแต่ดว้ ยศักยภาพเดิมของ แรงงานในไทยถือว่าดีกว่าหลายทีใ่ นโลก เนือ่ งจากมีตน้ ทุนความรูพ้ นื้ ฐาน ดีและพร้อมเปิดรับเทคโนโลยีใหม่ แรงงานส่วนใหญ่จึงควรอัพเกรดจาก การใช้แรงงานไปเป็นงานควบคุมเครื่องจักรแทน
issue 165 novermber 2016
36 interview
ผมมองว่าแรงงานไทยมีความรู้
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีดีกว่า หลายๆ ที่ ดังนั้นเขาไม่ต้องปรับตัวมาก
ด้วยศักยภาพเขาท�าได้แน่นอน
“หัวใจหลักของอุตสาหกรรม 4.0 คือความเร็วถ้าเราผลิตเร็วขึ้นต้นทุน ต�า่ ลงทัง้ เวลาทีล่ ดลงใช้พลังงานน้อยลงค่าแรงลดลงของเสียทีเ่ กิดจากความ ผิ ด พลาดของแรงงานหรื อ ความผิ ด พลาดจากกระบวนการผลิ ต เราไม่ สามารถปิดจุดอ่อนทั้งหมดของมนุษย์ได้ แต่มนุษย์มีจุดแข็ง งานทั้งหลายจะเปลี่ยนไปใช้ความคิดมากขึ้น งาน ท�าซ�้าที่ใช้แรงปล่อยหุ่นยนต์ท�า ความรู้พื้นฐานของแรงงานเราขยับขึ้นมา แล้ว ให้เขาใช้ความคิด เขามีพื้นฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีบางอย่างแล้ว สามารถเปลี่ยนตัวเองเป็นผู้คุมเครื่องจักร เครื่องจักรไม่ได้ใช้ยากเหมือน สมัยก่อน ไม่ต่างจากสมาร์ทโฟน เพราะแนวโน้มการออกแบบเครื่องจักร ก็เป็นแบบ Easy to Use User Interface แล้ว ผมมองว่าแรงงานไทยมีความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีดีกว่าหลายๆที่ ดังนั้นเขาไม่ต้องปรับตัวมากด้วยศักยภาพเขาท�าได้แน่นอน” คุณขจัดภัย ให้ความเห็น
COMAU : ออโตเมชั่นแบบ DIY
นอกจากน�าเสนอ SCARA Robots แล้วหัวใจในการออกแบบของ COMAU คือการเป็นระบบเปิด (Open System) ทีเ่ ปิดโอกาสให้ผปู้ ระกอบการ สามารถลงทุนเพิม่ ได้ตอ่ ขยายได้นา� ไปปรับประยุกต์ให้เข้ากับอุตสาหกรรม ของตัวเองได้และอัพเกรดได้ท�าให้ของเก่าไม่กลายเป็นขยะอุตสาหกรรม “จุดแข็งของเรา คือ ความเป็น Modular Design เราเป็นชิ้นส่วนที่ สามารถเอามาต่อเพิม่ หรือต่อกับระบบเดิมได้ อย่างทีบ่ อกว่าเรามีวสิ ยั ทัศน์ ในการท�า Open System เราไม่อยากให้ทิ้งของเดิมถ้ายังใช้ได้ก็ลงทุนเพิ่ม ในรูปแบบการต่อขยายไม่จา� เป็นต้องทิง้ เป็นขยะอุตสาหกรรมมหาศาล เรา อัพเกรดเขาได้เกิดขยะน้อยลงเหมือน DIY” คุณขจัดภัยกล่าวถึงงาน ออกแบบซึ่งเป็นหนึ่งในจุดแข็งของ COMAU
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นอกจากนี้ งานออกแบบแขนกลและระบบอัตโนมัติของ COMAU ยัง มีจดุ แข็งทีก่ ารสามารถน�าไปปรับใช้ได้กบั ทุกอุตสาหกรรมและทุกขนาดการ ใช้งาน “ระบบที่เรา Set Up ขึ้นมาเพื่อประเทศไทยจะมีความยืดหยุ่นสูงมาก เราไม่มีการก�าหนดอะไรที่ตายตัวมากเกินไป เพื่อให้มันพร้อมจะแปรและ ปรับไปตามแต่ละสภาพอุตสาหกรรม” กล่าวคือการลงทุนกับระบบอัตโนมัตถิ กู มองว่าเป็นเรือ่ งใหญ่ทตี่ อ้ งใช้ ทุนมากแต่ความเป็นจริงผู้ประกอบการสามารถค่อยๆ ปรับเปลี่ยนได้เริ่ม จากการลงทุนพืน้ ฐานแล้วค่อยขยายให้เต็มรูปแบบเมือ่ มีความพร้อมด้าน ต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ดังนั้นหากผู้ประกอบการลงทุนกับระบบปิดก็จะ เป็นการปิดตัวเองไปพร้อมกับค่าใช่จ่ายมหาศาลในการปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในอนาคต
interview 37
ทิศทาง COMAU 2017
3 - 60 KG. PAYLOAD SMALL PAYLOAD 6-AXIS
90 - 175 KG. PAYLOAD MEDIUM PAYLOAD 6-AXIS
เนื่องจาก COMAU ไม่ได้เป็นเพียงซัพพลายเออร์เท่านั้นแต่ เป็นผู้ให้บริการด้านการวางและออกแบบระบบไลน์การผลิตด้วย จึงถือว่า ‘งานให้ความรู้’ เป็นหนึ่งในพันธกิจขององค์กรที่จะช่วย ส่งเสริมการขายและช่วยยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยได้อย่าง ยั่งยืน “เราจะรุ ก เต็ ม ที่ เรื่ อ งการให้ ค วามรู ้ กั บ ภาคอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะโลจิสติกส์เพราะเราเห็นโอกาสในงานส่วนนี้ซึ่งถือเป็น ปลายน�้าของทุกอุตสาหกรรมตั้งแต่งานบรรจุสินค้างานขึ้น Pallet งานบรรทุก Shipping ยาวไปจนถึง Warehouse ประกอบกับประเทศไทยทีเ่ ป็นฮับโลจิสติกส์ของ AEC มันเป็น พืน้ ทีค่ วามหวังของเรา COMAU จึงมุง่ เน้นไปทีง่ านออโตเมชัน่ ทีอ่ ยู่ ในโลจิสติกส์ ปัจจุบันโลจิสติกส์ในไทยก็เริ่มใช้โรบอทกันมากแล้วแต่ยังไม่ ครบวงจร เช่น การแพ็คกิ้งสินค้าใช้แขนกลหยิบไข่ไก่ใส่ถาดหรือ การขนถ่ายกล่องสินค้าขึน้ รถคอนเทนเนอร์หรือ Warehouse หรือ การใช้ Automatic Guidance Vehicle มาประยุกต์และบูรณาการ เข้ากับ โรบอติกส์หรือแขนกลให้มันท�างานร่วมกันก็จะกลายเป็น รถยนต์ที่มีแขน” ได้ฟังคุณขจัดภัยพูดดังนี้เชื่อว่าไม่ไกลเกินไปที่เราจะได้เห็น ภาพล�้าๆของ Fully Automation เกิดขึ้นจริงในประเทศไทย ส�าหรับงานแกรนด์เมทัลเล็กซ์ 2016 ที่จะจัดในวันที่ 23-26 พฤศจิกายนนี้ COMAU (Thailand) ได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ งาน โดยตัง้ ใจจะโชว์ Open Robotics เพือ่ ให้เห็นการเชือ่ มต่อแบบ ระบบเปิดผ่าน Modular Design ด้วย “เราจะจ�าลองให้เห็นว่าทั้งหมดที่กล่าวมาถูกน�ามาใช้งานจริง ได้อย่างไรการท�างานร่วมกันการสือ่ สารการต่อขยายเพิม่ ได้งา่ ยๆ นั้นเขาท�ากันอย่างไรเป็นไอเดียแรงบันดาลใจให้ได้เห็นภาพก่อน จะตัดสินใจลงทุน” คุณขจัดภัยกล่าวทิ้งท้าย นอกจากนี้ COMAU(Thailand) ยังมีโปรโมชั่นงดเว้นค่า ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์บางตัวให้ผู้เข้าชมงานอีกด้วย...
220 - 650 KG. PAYLOAD HIGH PAYLOAD 6-AXIS
issue 165 novermber 2016
Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”
•
Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.
• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115
Fax: +66 (0)2-637-5116
Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.
C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.
Needle Bearings Machine elements essential to any industry
Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large
Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics
40 INTERVIEW
ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย
ส่งสัญญาณ
รุกตลาด
อุตสาหกรรม ยานยนต์ ไทย
บริษทั ไอเคโอ ทอมป์สนั เอเชีย จ�ำกัด (IKO) เริม่ ด�ำเนินกำร จดทะเบี ย นกำรค้ ำ ในประเทศไทย ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ปี ค.ศ 2014 ในฐำนะสำขำส�ำนักงำนขำย ภำยใต้กำรบริหำรงำนของบริษทั แม่ Nippon Thompson Co.,Ltd. ประเทศญี่ปุ่น โดยผลิตภัณฑ์หลัก ที่มุ่งเน้นท�ำกำรตลำดในประเทศไทย คือ ตลับลูกปืนเม็ดเข็ม รำงสไลด์ และ Precision Table รองรับควำมต้องกำรของลูกค้ำหลัก ในกลุ่มผู้ผลิตมอเตอร์ไซค์ ซึ่งมีควำมต้องกำรตลับลูกปืน เม็ดเข็ม และผลิตภัณฑ์ Linear รวมถึงสินค้ำที่จัดจ�ำหน่ำยส�ำหรับผู้ผลิต อุปกรณ์ยำนยนต์ ผู้ผลิตอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์
คุณทาคาชิ คาทายาม่า Managing Director บริษัท ไอเคโอ ทอมปสั์ น เอเชีย จำ�กัด
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
INTERVIEW
41
ปัจจุบัน IKO มีโรงงำนทั้งสิ้น 6 แห่ง โดยโรงงำนในประเทศ ญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่ Gifu Kamakura และพื้นที่ Himeji ส่วนโรงงำน อีก 3 แห่งตั้งอยู่ในประเทศเวียดนำม ภำยใต้กำรด�ำเนินงำนของ ผู้บริหำรคนญี่ปุ่น 3 คน และผู้บริหำรคนไทยอีกกว่ำ 12 คน ซึ่ง ครอบคลุมตลำดประเทศไทย และตลำดในภูมิภำคอำเซียนเและ ประเทศอินเดียด้วย แนะน�ำผลิตภัณฑ์เด่น ตอบโจทย์งำนออโตเมชั่น คุณทำคำชิ คำทำยำม่ำ Managing Director บริษทั ไอเคโอ ทอมป์สนั เอเชีย จ�ำกัด ได้กล่ำวว่ำ “นอกจำกผลิตภัณฑ์ Linear แล้ว ผลิตภัณฑ์ส�ำคัญอื่นๆ ได้แก่ Cam Followers/ Roller Followers and Crossed Roller Bearings โดย Cam Followers and Roller Followers นัน้ ใช้ในกำรน�ำอุปกรณ์อตุ สำหกรรมและเซมิคอนดักเตอร์ ซึง่ IKO ถือได้วำ่ มีผลิตภัณฑ์ทรี่ องรับอุตสำหกรรมผูผ้ ลิตยำนยนต์ และเซมิคอนดักเตอร์ครอบคลุมมำกทีส่ ดุ นับเป็นอันดับ 1 ของโลก ส�ำหรับ ‘ตลับลูกปืนแบบครอสโรลเลอร์’ หรือ Crossed Roller Bearings นิ ย มใช้ ใ นหุ ่ น ยนต์ ส� ำ หรั บ งำนออโตเมชั่ น เครือ่ งมือกล อุปกรณ์ทำงกำรแพทย์ มอเตอร์ กังหันลมและอืน่ ๆ โดยตลั บ ลู ก ปื น ชนิ ด นี้ ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง ด�ำเนินกำรผลิตโดยโรงงำน IKO เมือง Hai Phong ประเทศ เวียดนำม ซึ่งมีคุณภำพเทียบเท่ำชิ้นส่วนที่ผลิตที่ประเทศญี่ปุ่น
Crossed Roller Bearings
Cam Followers
IKO ถือได้ว่ามีผลิตภัณฑ์ที่ รองรับอุตสาหกรรมผู้ผลิตยานยนต์และ เซมิคอนดักเตอร์ครอบคลุมมากที่สุด นับเป็นอันดับ 1 ของโลก
issue 165 november 2016
42 INTERVIEW
C-Lube ไม่ต้องบ�ำรุงรักษำเลยตลอดอำยุกำรใช้งำน ควำมก้ ำ วหน้ ำ ทำงเทคโนโลยี ที่ ไ ม่ เ คยหยุ ด นิ่ ง ฉั น ใด กระบวนกำรผลิตในภำคอุตสำหกรรมก็ไม่เคยหยุดพัฒนำฉันนั้น IKO จึงเป็นผู้น�ำนวัตกรรมเพื่อกำรผลิตในภำคอุตสำหกรรมมำ อย่ำงต่อเนื่อง คุ ณ คำทำยำม่ ำ ได้ ก ล่ ำ วว่ ำ ตลอดระยะเวลำที่ ผ ่ ำ นมำ IKO ได้พัฒนำ C-Lube ขึ้น โดยมุ่งหวังให้มีคุณสมบัติพิเศษ โดดเด่นด้วยกำรไม่ตอ้ งบ�ำรุงรักษำเลยตลอดอำยุกำรใช้งำน (Free Maintenance) ทั้งยังช่วยลดปริมำณกำรใช้ทรัพยำกรเชื้อเพลิงให้ น้อยลงด้วย ทั้งนี้ คุณสมบัติที่โดดเด่นของ C-Lube ก็คือ สำรหล่อลื่นใน C-Lube ซึ่งได้รับกำรพัฒนำให้มีอำยุกำรใช้งำนยำวนำน โดยไม่ ต้องดูแลรักษำระยะยำว (รับประกันอำยุกำรใช้งำน 5 ปี หรือ 20,000 กิโลเมตร) อำจกล่ำวได้ว่ำ C-Lube เป็นเทคโนโลยีที่มีลักษณะเฉพำะ เป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับกำรพัฒนำขึ้นเพื่อให้เกิดกำรใช้งำนใน กระบวนกำรขึ้นรูปแบบ Sintering หรือกำรขึ้นรูปด้วยผงเรซิน เนื้อละเอียดชั้นดี ทั้งยังท�ำให้น�้ำมันไหลผ่ำนได้เป็นจ�ำนวนมำก มุ่งสร้ำงผลิตภัณฑ์ที่ ‘มีเพียงหนึ่งเดียว’ ตลอดระยะเวลำทีผ่ ำ่ นมำ IKO ยังคงมุง่ มัน่ สร้ำงสรรค์นวัตกรรม ทำงเทคโนโลยีเพื่อประสิทธิภำพสูงสุดในกระบวนกำรผลิตซึ่ง เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณคำทำยำม่ำ ได้กล่ำวแสดงควำมคิดเห็นว่ำ “เรำพยำยำมอย่ำงมำกทีจ่ ะสร้ำงผลิตภัณฑ์ที่ ‘มีเพียงหนึง่ เดียว’ ด้ ว ยลั ก ษณะเฉพำะตั ว รวมถึ ง เทคโนโลยี ที่ เ ป็ น ที่ 1 เช่นดัง ผลิตภัณฑ์กลุ่ม C-Lube ไม่เพียงเท่ำนี้ ยังได้วำงแผนที่จะขยำยกำรกระจำยสินค้ำไป ยังประเทศเวียดนำมด้วย โดยอำศัยศักยภำพของบุคลำกรกว่ำ 700 ชีวิต” ลดต้นทุนกำรผลิตได้ แต่ต้องคงไว้ซึ่งคุณภำพ ส�ำหรับโรงงำนที่ประเทศเวียดนำมนั้น คุณคำทำยำม่ำ ได้ กล่ำวเพิ่มเติมว่ำ “เรำสำมำรถรับประกันได้ว่ำคุณภำพของสินค้ำ นั้นจะเทียบเท่ำกับสินค้ำที่ท�ำกำรผลิตในประเทศญี่ปุ่นอย่ำง แน่นอน เนือ่ งจำกโรงงำนแห่งนีจ้ ะด�ำเนินกำรผลิตตำมมำตรฐำน ญีป่ นุ่ ไม่วำ่ จะเป็นเครือ่ งจักร วัสดุอปุ กรณ์ และเครือ่ งไม้เครือ่ งมือ ต่ำงๆ จะถูกน�ำเข้ำมำจำกประเทศญี่ปุ่น คนงำนทั้งหมดที่ท�ำงำน
C-Lube
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ในโรงงำนที่ประเทศเวียดนำมนั้น จะต้องผ่ำนกำรอบรมงำนใน ประเทศญีป่ นุ่ อย่ำงน้อย 3 ปี เพือ่ ให้เสริมสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในเทคนิค องค์ควำมรู้ และควำมสำมำรถ อย่ ำ งไรก็ ต ำม แม้ จ ะมี ค วำมพยำยำมในกำรลดต้ น ทุ น ค่ำใช้จ่ำยในกำรด�ำเนินงำนในขั้นตอนหรือกระบวนกำรต่ำงๆ แต่ยังต้องคงควำมมีคุณภำพไว้อย่ำงเคร่งครัด” มุ่งตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำ เพรำะลูกค้ำ คือ คนส�ำคัญ เพรำะกำรด�ำเนินธุรกิจนั้น ลูกค้ำ คือ คนส�ำคัญ IKO จึงมุ่ง ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำด้วยกำรให้บริกำรทีส่ ะดวก และ ฉับไว โดย คุณคำทำยำม่ำ ได้อธิบำยว่ำ “เรำสำมำรถตอบสนอง ควำมต้องกำรของลูกค้ำได้ ด้วยกำร ‘จัดส่งที่ฉับไว’ ส�ำหรับ ตลำดในประเทศไทยนั้น อำจกล่ำวได้ว่ำ ผลิตภัณฑ์ของ IKO สำมำรถน�ำไปใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้ โดยไร้ข้อกังวลใดๆ นอกจำกนี้ IKO ยังให้ควำมส�ำคัญกับกำรบริหำรจัดกำรคลัง สินค้ำ มีกำรแยกสต็อคเก็บสินค้ำอย่ำงเป็นระบบ ทั้งตัวสไลด์ และรำง เนื่องจำกประเทศไทยมีสภำพภูมิศำสตร์ที่เอื้อต่อกำร บริหำรจัดกำรระบบโลจิสติกส์ ดังนั้น ในประเทศไทยจึงมีระบบ โลจิสติกส์ทรี่ องรับกำรขนส่งสินค้ำโดยตรงจำกประเทศเวียดนำม ด้วย เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภำพในกำรขนส่ง สำมำรถลดระยะเวลำได้ อย่ำงมีนัยส�ำคัญ” จับทิศธุรกิจยำนยนต์ไทย คำดโตต่อเนื่องปี 2017-2018 อย่ำงไรก็ตำม กำรด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยนั้น IKO ได้ วำงแผนและกลยุทธ์กำรตลำดอย่ำงต่อเนื่อง ดังนั้น แผนกลยุทธ์ กำรขับเคลื่อนทำงธุรกิจส�ำหรับตลำดในประเทศไทยของ IKO จึงจ�ำเป็นต้องมีควำมต่อเนื่อง และแน่นอนว่ำขณะนี้ IKO ก็ได้ วำงแผนกลยุทธ์ทำงธุรกิจส�ำหรับปี ค.ศ. 2017 ไว้แล้วเช่นกัน ในเรื่องนี้ คุณคำทำยำม่ำ ได้เปิดเผยว่ำ “ส�ำหรับตลำด ในประเทศไทยปั จ จุ บั น อำจกล่ ำ วได้ ว ่ ำ 70% ของสั ด ส่ ว น ลูกค้ำทั้งหมดนั้นเป็นลูกค้ำชำวญี่ปุ่นที่เข้ำมำด�ำเนินธุรกิจใน ประเทศไทย ดังนั้น ในปี ค.ศ. 2017 นั้น IKO จึงมุ่งขับเคลื่อน กลยุทธ์ในเชิงรุก พร้อมทั้งวำงแผนที่จะขยำยตลำดมุ่งเน้นกลุ่ม ลูกค้ำคนไทยให้มำกขึ้น
INTERVIEW 43
IKO ได้พัฒนา C-Lube ขึ้น โดยมุ่งหวังให้มีคุณสมบัติพิเศษโดดเด่น ด้วยการไม่ต้องบ�ารุงรักษาเลยตลอดอายุ การใช้งาน (Free Maintenance) ทั้งยัง ช่วยลดปริมาณการใช้ทรัพยากรเชื้อเพลิง ให้น้อยลงด้วย เพื่อตอบโจทย์ทิศทำงและกลยุทธ์กำรด�ำเนินธุรกิจดังกล่ำว ขณะนี้ IKO อยู่ระหว่ำงกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อเข้ำร่วมจัด แสดงสินค้ำเทคโนโลยีในงำน The Grand Metalex 2016 ที่ก�ำลัง จะมำถึงอย่ำงเข้มข้น อย่ำงไรก็ตำม กำรเติบโตของภำคอุตสำหกรรมยำนยนต์ใน ประเทศไทยปีนี้ แม้จะมีอัตรำกำรเติบโตเพียงเล็กน้อย แต่ ก็สง่ สัญญำณทีด่ ี ซึง่ คำดว่ำอัตรำกำรเติบโตของอุตสำหกรรม ยำนยนต์ไทยในปี ค.ศ. 2017 จะมีอนำคต สดใสมำกขึ้นและน่ำ จะต่อเนื่องไปถึงปี ค.ศ.2018 ด้วย” คุณคำทำยำม่ำ ยังได้กล่ำว ทิ้งท้ำยในที่สุด
IKO THOMPSON ASIA CO., LTD.
3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115 Fax: +66 (0)2-637-5116
issue 165 november 2016
TOSEI (Thailand) Co., Ltd. NOV 23-26, 2016 (WED – SAT) 10.00-19.00 HRS.
BITEC, BANGKOK
ACCRETECH Hall 101 Booth no.BD09 ACCRETECH (Thailand) Co.,Ltd. TOSEI (Thailand) Co.,Ltd.
IN-PROCESS
● Machine Control gage ● Process monitoring systems
POST-PROCESS
● Electric / Air Micrometer ● Digital Measuring Instruments ● PC Based Measuring System (USB Gages)
SPECIAL MACHINE
● Automatic Measuring Machine ● Special Purpose Machine ● Matching Machine
OUR LATEST TECHNOLOGIES PC-based measuring system
PLC connectable amplifier
USB GAGES ● Up to 127 gages connect with only 1 computer ● Easy summary measuring data thru Excel ● Easy to make customize software
● Direct connection to PLC from multi sensors ● Easy customize measuring program by PLC
Save cost and Reduce operation with TOSEI USB gage
Many Fieldbus
ATC Run-out detection system
Micro size Digital Measuring Head
Reduce machining defect cost 99%*1
● Measurement in 0.3sec ● High accurate detection 5µm ● Short time return of investment
● Small & Compact design ● Repeatability 0.2 µm / 4σ ● Waterproof (IP67G) ● Optical digital scale system *1 : Defect from chip in tool chuck
Minimize measuring system area with High precision
booth no. BC01 / hall 101
50 all around
เรื่อง : เปมิกา สมพงษ์
พร้อมหรือยัง?
อุตสาหกรรมไทยกับการก้าวสู่ IIoT หากพูดถึงค�าว่า ‘Internet Of Thing (IoT)’ ในขณะนี้ เชื่อว่าหลายคนคงคุ้นหูกับค�านี้มาพอสมควรแล้ว กล่าวโดยรวม IoT ก็คือ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน โดยทั้งหมดจะสามารถเชื่อมโยงและสื่อสารกันได้ โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตนั่นเอง ในส่วนของภาคอุตสาหกรรมและโรงงานการผลิต เทรนด์เรื่องของ IoT ก็ได้เข้ามามีบทบาทด้วยเช่นกัน โดยกระบวนการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรมสมัยใหม่เริ่มมีการน�าแนวคิด IoT เข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น ผ่านคอนเซ็ปต์ที่เรียกว่า ‘Industrial Internet of Things (IIoT)’ สอดคล้องกับการประกาศนโยบาย ‘Thailand 4.0’ ของรัฐบาล ที่มุ่งชูโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของ ประเทศในทิศทางเดียวกับการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ซึง่ เป็นเมกะเทรนด์ของโลกอุตสาหกรรมในขณะนี้ ล่าสุดกองบรรณาธิการนิตยสาร MODERN MANUFACTURING ได้ มีโอกาสพูดคุยกับ 2 ผู้บริหารจากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ถึงความน่าสนใจ ของประเด็นดังกล่าว โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมของผูป้ ระกอบการไทย เมื่อต้องก้าวสู่อุตสาหกรรมยุคใหม่แบบ IIoT โดยมีใจความส�าคัญ ดังต่อไปนี้
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
นโยบายไทยแลนด์ 4.0 มาถูกทิศ ถูกเวลา มร.เดวิ ด ออกาซ รองประธานอาวุ โ ส ภาคพื้ น เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ค ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้ให้ความคิดเห็นในเรื่องนี้ไว้ว่า… ช่วงเวลานี้ คือ ช่วงเวลาที่เหมาะสมมากส�าหรับผู้ประกอบการไทย เพราะประเทศไทยก็ เพิ่งประกาศนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ไปเมื่อเร็วๆ นี้ ผู้ประกอบการไทย ไม่ได้ชา้ เกินไปส�าหรับเทคโนโลยี แต่สงิ่ ทีภ่ าคเอกชนท�าได้กค็ อื สร้าง Sense Of Urgency คือ ท�าให้ผู้ประกอบการไทยเข้าใจว่า นี่คือเวลาที่เหมาะสม แล้ว ที่ทุกคนจะต้องเริ่มปรับตัว ไม่ใช่คิดว่ายังไม่ถึงเวลา “เทคโนโลยีมีผลกระทบต่อแรงงานแน่นอน แต่ไม่ใช่อย่างที่คิดกัน มันไม่ได้สร้างผลกระทบทีท่ า� ให้คนไม่มงี าน แต่จะเป็นการสร้างงานใหม่ๆ ขึน้ มา เพราะถ้าเราปล่อยให้เครือ่ งจักรท�างานในระดับพืน้ ฐานได้มากเท่าไร คนก็สามารถจะเข้าไปท�าในระดับทีส่ งู ขึน้ ได้มากเท่านัน้ เทคโนโลยีทสี่ งู ขึน้
all around
จะท�ำให้เรำสำมำรถน�ำข้อมูลที่มีอยู่มำใช้ประโยชน์ได้มำกขึ้น อย่ำงข้อมูลเชิงลึก เชิงวิเครำะห์ อำจท�ำให้เรำมองเห็นจุดที่สำมำรถเอำไปสร้ำงบริกำร หรือสินค้ำ หรืองำนใหม่ๆ ได้อีก ก็จะเกิดเป็นลักษณะรูปแบบของงำนใหม่ๆ แทนที่จะเป็น งำนเดิมๆ ที่เป็นงำนพื้นฐำน ใช้แรงงำนปกติทั่วไป แล้ววิธีกำรท�ำงำนของคน ก็จะเปลี่ยนไปด้วย จำกเดิมที่ใช้แรงงำนคนกว่ำจะเสร็จ ต้องใช้ระยะเวลำนำน เมือ่ มีเทคโนโลยีเข้ำมำใช้ วิธกี ำรทีท่ ำ� งำนก็มปี ระสิทธิภำพมำกขึน้ งำนก็เสร็จเร็ว ขึ้นอีกด้วย” มร.เดวิด กล่ำว
51
การลงทุนเทคโนโลยี ไม่ใช่เพื่อจะเอาเทคโนโลยี อย่าตั้งค�าถามว่า ต้องใช้เครื่องมืออะไร แต่ควรตั้งค�าถามว่า จะปรับปรุงการท�างานได้ อย่างไร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มก�าไร แล้วถึงถามหาเครือ่ งมือ ทีจ่ ะเข้ามาช่วย พึงเริ่มจากเล็กๆ ค่อยๆ โตไป
เลือกพาร์ทเนอร์ ผู้เชี่ยวชาญที่ถูกต้อง จะเติบโตเร็ว ก้าวไปเร็ว ไม่เสียเวลา
Learning and Sharing เร่งหาความรู้ใส่ตัว สังคมทุกวันนี้เปิด มากกว่าเมื่อก่อน สามารถหาความรู้ และเรียนรู้จากจากสื่อ และ จากคนอื่นได้ง่ายขึ้น ชี้ไทยมีความได้เปรียบ การก้าวสู่ IIoT ไม่ใช่เรื่องยาก ขณะเดียวกัน มร.แมทธิว กอนซาเลซ รองประธำน หน่วยธุรกิจอุตสำหกรรม ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ก็ได้กล่ำวถึงข้อได้เปรียบทีจ่ ะท�ำให้อตุ สำหกรรม ไทย ก้ำวไปสู่ IIOT ว่ำประเทศไทยได้เปรียบ ว่ำ “พื้นฐำนของแหล่งอุตสำหกรรม หลักหลำยๆ ประเภท อย่ำงเช่น อุตสำหกรรมรถยนต์ อุตสำหกรรมอำหำร อุตสำหกรรมอิเล็คทรอนิกส์ และอุตสำหกรรมเกษตร ประเทศไทยมีแหล่ง อุตสำหกรรมดังกล่ำวเป็นพื้นฐำนที่ดีอยู่แล้ว ดังนั้น สเต็ปของกำรก้ำวต่อไป คือ กำรน�ำเอำเทคโนโลยีเข้ำมำใช้อย่ำงมีประโยชน์สูงสุด ถ้ำเทียบกับประเทศอื่นๆ ในแถบอำเซียน ประเทศไทยก้ำวไปได้อย่ำงสบำย แค่เพียงเรำก้ำวออกจำกควำม คิดทีว่ ำ่ เรำยังไม่พร้อม และเริม่ ลงมือปรับปรุงประสิทธิภำพกำรท�ำงำน เท่ำนัน้ เอง” จำกมุมมองของคนภำยนอก เห็นได้ชดั ว่ำ ผูป้ ระกอบกำรไทย มีศกั ยภำพและควำม สำมำรถเพียงพอที่จะพัฒนำและก้ำวต่อไป สู่กำรเป็นไทยแลนด์ 4.0 อย่ำงที่รัฐบำลได้ ประกำศไว้ เพียงแต่ต้องมีควำมมุ่งมั่นและ เตรียมควำมพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนและ ปรั บ ปรุ ง ระบบกำรท� ำ งำนให้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ ำ พ เ พิ่ ม ขึ้ น เ พื่ อ รองรับเทคโนโลยี ใหม่ ๆ เข้ ำ มำสู ่ ภำคอุตสำหกรรมไทย
ค�ำแนะน�ำดีๆ ส�ำหรับผูป้ ระกอบกำร จำก มร.เดวิด ออกำซ รองประธำนอำวุโส ภำคพื้น เอเชียแปซิฟิค ชไนเดอร์ อิเล็คทริค
EXECUTIVE SUMMARY Mr. David Orgaz D’Hollander, Senior Vice President Asia Pacific of Schneider Electric and Mr. Matthieu Gonzalez, Vice President of Schneider Electric’s Industry Business for Thailand told about Thailand readiness for industrial internet of Things (IIoT) under the vision of automation and energy system expert. They are aware that Thai entrepreneurs aren’t too late to bring in new technology into industrial sector. Thai entrepreneurs also have mobility to operate with the new trends which they must be realized to adapt and improve the work efficiency to support higher technology. The impact for laboring part isn’t as much scary as many people think but new technology will lead into produce the new measurement to replace common laboring.
issue 165 november 2016
52 All Around เรื่อง: ทศธิป สูนย์สาทร
4 MEDICAL TH
MYANM R
2016
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
งานแสดงสินค้าเวชภัณฑ์และเครือ่ งมือส�าหรับสถานพยาบาล สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ครัง้ ที่ 4 จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 19 – 23 ตุลาคม พ.ศ.2559 ณ โรงแรม Shangri-La เมืองย่างกุ้ง ประเทศ เมียนมาร์ โดยภายในงานได้มกี ารจัดแสดงสินค้าเครือ่ งมือส�าหรับ การแพทย์ ไม่ว่าจะเป็นเตียงส�าหรับดูแลผู้ป่วย เครื่องมือส�าหรับ ทันตแพทย์ รวมถึงเครื่องมือตรวจรักษาอื่นๆ ซึ่งผู้ผลิตจาก ประเทศจีนได้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานแสดงสินค้าครั้งนี้เป็น จ�านวนมาก โดยได้รับการสนับสนุนจาก สมาคมผู้ผลิตยาและ เครื่องมือทางการแพทย์แห่งเมียนมาร์ สมาคมโรงพยาบาล เอกชนเมียนมาร์ สมาคมเครือ่ งมือทางการแพทย์ชาวอินเดีย สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์แห่งประเทศสิงคโปร์ และ Medical Automation ทีมงานกองบรรณาธิการ นิตยสาร Modern Manufacturing ได้เข้าชมงานดังกล่าว พร้อมทั้งเก็บประมวลภาพบรรยากาศ ภายในงานมาน�าเสนอด้วย
factory visit 53
แชฟฟ์เลอร์
Mobility
for Tomorrow
มุ่งยกระดับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สู่นวัตกรรมในอนาคต กลุม่ บริษทั แชฟฟ์เลอร์ เปิดตัวโรงงานแห่งแรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี 2 จังหวัดชลบุรี เพือ่ ใช้เป็นสถานทีส่ า� หรับ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ส�าหรับใช้ในเครื่องยนต์ และระบบส่งก�าลังในเฟส 1 โรงงานแห่งใหม่สะท้อนถึงศักยภาพในการขยายฐานการผลิตระดับท้องถิ่น อย่างชัดเจน โดยเฉพาะในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ซึง่ การขยายฐานการผลิตในระดับ ท้องถิ่น ไม่เพียงแต่ท�าให้บริษัทฯ ได้ใกล้ชิดกับลูกค้ามากขึ้น หากยังเป็นการเพิ่ม ช่องทางในการเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูงจาก แชฟฟ์เลอร์ ได้อย่างสะดวกมากขึน้
issue 165 november 2016
54 factory visit
มุ่งก้าวเป็นพันธมิตรด้านการพัฒนากับ ลูกค้าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ส�ำหรับสำยผลิตภัณฑ์ทเี่ ปิดตัวล่ำสุดในเฟสแรก ของโรงงำนแชฟฟ์เลอร์แห่งนี้ ได้เริ่มด�ำเนินงำนใน พื้นที่ส่วนหนึ่งจำกทั้งหมด 55,000 ตำรำงเมตร ซึ่ง ประกอบด้วย สำยกำรผลิตแผ่นผ้ำคลัทช์ จำนกดผ้ำ คลั ท ซ์ แ บบแห้ ง ระบบปรั บ ตั้ ง แรงดึ ง สำยพำน อัตโนมัตทิ ำงกลและทำงแรงดันน�ำ้ มัน ตัวปรับควำม ตึงสำยพำนแบบกลไกและแบบไฮดรอลิก วงแหวน ซิงโครไนเซอร์ ตลับลูกปืนจำนกดคลัทซ์และระบบ คลัทช์
ส�ำหรับโรงงำนแชฟฟ์เลอร์แห่งนี้ ถือเป็นส่วน หนึ่งในวิสัยทัศน์ที่จะก้ำวเป็นพันธมิตรชั้นน�ำด้ำน กำรพัฒนำให้กบั ลูกค้ำของในภูมภิ ำคเอเชียแปซิฟกิ ซึ่งนับเป็นหนึ่งในตลำดส�ำคัญที่มีอัตรำกำรเติบโต ของอุตสำหกรรมยำนยนต์มำกที่สุดในโลก ทัง้ นี้ กำรด�ำเนินงำนของแชฟฟ์เลอร์ตลอดระยะ เวลำที่ผ่ำนมำ ได้ตระหนักถึงควำมส�ำคัญ 4 ด้ำน ได้แก่ สภำพแวดล้อม สังคม เศรษฐศำสตร์ และ เทคโนโลยี
โรงงานผลิตแห่งนี้สร้างขึ้นภายใต้ แนวคิดแบบโมดูลที่สามารถเพิ่ม สายการผลิตใหม่ๆ ส�าหรับผลิตภัณฑ์ และโซลูชันของแชฟฟ์เลอร์ ให้ครอบคลุม ห่วงโซ่คุณค่า ด้านยานยนต์ ได้อย่าง ครบวงจร ส�าหรับแผนงานขั้นสุดท้าย ของผลิตภัณฑ์ ในเฟส 2 ก�าลังอยู่ระหว่างด�าเนินการ
แชฟฟ์เลอร์มุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ให้กบั เทคโนโลยีปจั จุบนั
และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ที่พร้อมพลิกโฉมโลกแห่งอนาคต ดังนั้น บริษัท แชฟฟ์เลอร์ จึงพร้อม เดินหน้าร่วมเป็นพันธมิตรกับลูกค้าเพื่อผลักดันให้เกิดการเติบโตก้าวต่อไป คุณแอนเดรียส ชิค ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร (ซีอีโอ) บริษัท แชฟฟ์เลอร์ ประจ�าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
โรงงานใหม่แห่งนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของ
แผนการลงทุนเชิงกลยุทธ์
ที่บริษัทแชฟฟ์เลอร์ต้องการขยาย ฐานการผลิต รวมทั้งงานด้านการวิจัย และพัฒนาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คุณนอร์เบิร์ต อินเดลโคเฟอร์ ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายบริหาร (ซีอีโอ) กลุ่มบริษัทแชฟฟ์เลอร์ ด้านยานยนต์
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การเปิดโรงงานแห่งใหม่นี้จะช่วยเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งให้กับความสามารถด้าน การด�าเนินงานและวิศวกรรมของแชฟฟ์เลอร์ ในภูมิภาคแห่งนี้ และยังช่วยให้สามารถ
ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในตลาด
ได้รวดเร็วขึ้นด้วย
คุณจูนิชิ ชิมาดะ กรรมการผู้จัดการบริษัท บริษัท แชฟฟ์เลอร์ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ากัด
factory visit 55
การด�าเนินงานของแชฟฟ์เลอร์ในเกาหลี ญี่ปุ่น และประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ แปซิฟกิ สะท้อนถึงความมุง่ มัน่ ในการบริหารงานใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (AP) ของส�านักงานใหญ่ ประจ�าภูมภิ าคในสิงคโปร์ ด้วยแหล่งการผลิต 7 แห่ง และสถาบันวิจัยและพัฒนาอีก 5 แห่ง ส� า หรั บ ส� า นั ก งานในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก สามารถตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านของ ลูกค้าในภาคยานยนต์และอุตสาหกรรมได้อย่าง รวดเร็ว บริษัท แชฟฟ์เลอร์ ก�าลังเดินหน้าพัฒนาฐาน การผลิตและวิศวกรรมในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มขึ้นในการ พัฒนาการประยุกต์ใช้งานและการปรับสินค้าให้เข้า กับภูมิภาค
วิสัยทัศน์สู่ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม ‘Mobility for Tomorrow’ นวัตกรรมเชื่อมโยงเมืองสู่เมือง เนื่องจากในอนาคตจะมีการน�าเทคโนโลยี ด้านระบบคมนาคม เช่น ยานยนต์ รถไฟฟ้า เพื่อติดต่อกันระหว่าง เมืองสู่เมืองมากขึ้น ดังนั้น แชฟฟ์เลอร์จึงร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการสนับสนุนการเชื่อมโยงเมืองสู่เมือง ด้วยเทคโนโลยีชิ้นส่วนยานยนต์ และอุตสาหกรรมที่ก้าวล�้าอย่างครบวงจร และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โรงงานแชฟฟ์เลอร์แห่งใหม่ที่นิคมอุตสาหกรรม เหมราชชลบุรี 2 จะช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ กับความสามารถด้านการด�าเนินงานและวิศวกรรม ของแชฟฟ์เลอร์ในภูมิภาคแห่งนี้ และยังช่วยให้ สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดได้ รวดเร็วขึน้ ด้วย กลุม่ ลูกค้าของแชฟฟ์เลอร์จากทัว่ โลก จ�านวนมากมีฐานการผลิตอยู่ที่ประเทศไทย และ บริษทั แชฟฟ์เลอร์ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�างานร่วมกับ พั น ธมิ ต รเพื่ อ ยกระดั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ น ภูมิภาคนี้ให้ดียิ่งขึ้น
พลิกโฉมการขับเคลื่อนสู่อนาคต ในเอเชียแปซิฟิก บริษัท แชฟฟ์เลอร์มุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ โซลูชั่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเทคโนโลยี ปัจจุบันและสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ที่พร้อม พลิกโฉมโลกแห่งอนาคต ตลาดยานยนต์ยังคงมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกก�าลังได้รับความสนใจมากขึ้น ดังนั้น บริษัท แชฟฟ์เลอร์ จึงพร้อมเดินหน้า ร่วมเป็นพันธมิตรกับลูกค้า เพื่อผลักดันให้เกิดการ เติบโตก้าวต่อไป
EXECUTIVE SUMMARY The Schaeffler Group had officially opened their first factory in South East Asia which located in 2nd Hemmarach Industrial Estate in Chonburi. The factory will provide auto part for engine and transmission for the 1st phase of manufacturing line. The factory already operated in some area of overall 55,000 square meters which has clutch, pressure plate, automatic tension adjustment for engine belt and oil pressure, automatic tension adjustment mechanism and hydraulic, synchronizer ring, pressure plate bearing and clutch system. This factory was built under modular concept which could add new manufacturing line for product and solution from Schaeffler to cover all value chain of automotive.
issue 165 november 2016
56 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
เกาะติด…
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม
จากข้อมูลสถานการณ์การผลิตอุตสาหกรรม ที่ ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) ได้จัด ท�าสรุปล่าสุดเมื่อเดือนสิงหาคม ปีพ.ศ. 2559 พบ ว่ า การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมในเดื อ นสิ ง หาคม ที่ ผ ่ า นมามี ก ารขยายตั ว หลั ง จากที่ ห ดตั ว เมื่ อ ช่ ว ง เดื อ นก่ อ นหน้ า เป็ น ผลจากการขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมการผลิตทีเ่ น้นการส่งออก เช่น การผลิต เครื่องปรับอากาศ การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ประกอบกับก�าลังซื้อในประเทศเริ่มกลับมา ฟื้นตัว อัตราการใช้ก�าลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 64.4 กำรผลิตภำคอุตสำหกรรมขยำยตัว การผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมขยายตั ว ในเดื อ น สิ ง หาคม 2559 โดยดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรม ขยายตัวร้อยละ 3.1 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของ ปีก่อน เนื่องจากอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศมี การขยายตัวดีข้ึน การส่งออกไปตลาดหลักทั้งหมด ปรับตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับอุตสาหกรรมการผลิต ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ก็มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น จากการผลิต Monolithic IC และ Other IC ซึ่ง เป็ นชิ้ นส่ว นส� าคัญ ในการพั ฒ นาสิน ค้ าที่ มีก ารใช้ เทคโนโลยีที่สูงขึ้น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อุตสาหกรรมการผลิต เครือ่ งปรับอากาศ เดือนสิงหาคม 2559
อุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เดือนสิงหาคม 2559
ขยายตัวอย่างมากเมื่อเทียบกับช่วง เดี ย วกั น ของปี ก ่ อ น โดยดั ช นี ผ ลผลิ ต ขยายตัวร้อยละ 50.9 เป็นผลมาจากการ ส่งออกที่เพิ่มมากขึ้น จากการที่ผู้ผลิต ยั ง ท� า ตลาดต่ า งประเทศมากขึ้ น โดยมี ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ สหภาพยุโรป เอเชีย และตะวันออกกลาง
ดั ช นี ผ ลผลิ ต ขยายตั ว ร้ อ ยละ 14.1 เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ก ่ อ น เนือ่ งจากแนวโน้มอุตสาหกรรมทีเ่ ติบโตได้ดี ในสินค้าที่เกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และชิ้นส่วนของอุปกรณ์สื่อสาร
INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC 57
ภาวะการผลิตอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เดือนสิงหาคม 2559 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อยู่ที่ระดับ 112.01 เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.55 เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีกอ่ น โดยอุตสาหกรรม ไฟฟ้ามีดัชนีผลผลิตอยู่ที่ระดับ 114.57 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.75 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปีกอ่ น
เครื่องปรับอำกำศ แบบแยกส่วน คอนเดนซิ่ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.09
เครื่องซักผ้ำ เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.86
เนือ่ งจากเครือ่ งปรับอากาศส่งออกไปตลาดหลัก ทั้งหมดปรับตัวเพิ่มขึ้น และเครื่องซักผ้าส่งออกไป ตลาดหลักเกือบทั้งหมดปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ สหรัฐอเมริกามีการขยายตัวอย่างมาก อีกทั้งผู้ผลิต บางรายมีการขยายก�าลังการผลิต โดยเริ่มผลิตและ ส่งออกแล้วในเดือนสิงหาคม ที่ผ่านมา
พัดลม เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.25
ตู้เย็น เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.31
เครื่องปรับอำกำศ แบบแยกส่วน แฟนคอยล์ยูนิต เพิ่มขึ้นร้อยละ 54.82
สถานภาพการประกอบกิจการ ของโรงงาน เดือนสิงหาคม 2559 (เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกรกฎำคม 2559) โรงงานเริ่มประกอบกิจการ 383 รำย เพิ่มขึ้น มำกกว่ำร้อยละ 18.9
ยอดเงินลงทุน รวม 30,467 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 51.6
การจ้างงาน จ�ำนวน 8,820 คน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 32.5
การผลิตในภาคอุตสาหกรรมไทย เมื่อพิจำรณำจำกดัชนีผลผลิตอุตสำหกรรม (Manufacturing Production Index : MPI) เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ขยำยตัว ร้อยละ 3.1 อุตสำหกรรมส�ำคัญทีส่ ง่ ผลในเชิงบวก ได้แก่ เครื่องปรับอำกำศ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย ำงอื่ น ๆ ที่ มิ ใ ช่ ย ำงรถยนต์ เหล็ ก และผลิตภัณฑ์เหล็ก เครื่องใช้ ไฟฟ้ำในครัวเรือน เป็นต้น
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของไทยเดือนสิงหาคม 2559 (เปรียบเทียบกับประเทศส�ำคัญในเอเชีย) EXECUTIVE SUMMARY The manufacturing situation from the Office of Industrial Economics (OIE) has been summarized latest in August 2016 and showed that the industrial sector in August had expanded by the manufacturing who focusing on export, particularly air conditioner and electronic part manufacturing along with the domestic purchasing power which is recovering and effected to manufacturing power usage rate by 64.4%. However, when considering on Manufacturing Production Index (MPI) of Thailand’s manufacturing sector compared to the same period of former year, it had expanded by 3.1%. The manufacturing sector that caused the benefits were air conditioner, electronic part, polymer product besides the tire, steel and steel product and consumer electronic for example. issue 165 november 2016
58 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
แผนการเพิ่มผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมไทย
สศอ.
ทุ่มงบ สนับสนุน โรงงานอุตสาหกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการผลิต คุณศิริรุจ จุลกะรัตน์ ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) กล่ำวว่ำ นโยบำยขับเคลื่อนภำคอุตสำหกรรมไทย ในปี พ.ศ. 2560 สศอ.จัดสรร งบประมำณกำรใช้งบบูรณำกำรปีแรก โดยมุ่งเน้นภำรกิจส�ำคัญ คือ กำรเพิ่มผลิต ภำพกำรผลิต (Productivity) ของภำคอุตสำหกรรมให้เพิ่มขึ้น 2% เพื่อยกระดับ กำรแข่งขันและผลักดันให้ GDP ภำคอุตสำหกรรมในปี พ.ศ. 2560 ขยำยตัว 3% สูงขึ้นจำกปี พ.ศ. 2559 ที่คำดว่ำจะขยำยตัว 2% จำกช่วง 2 - 3 ปีที่ผ่ำนมำ GDPภำคอุตสำหกรรมขยำยตัวไม่เกิน 1% เนือ่ งจำกเศรษฐกิจในประเทศชะลอตัว ตำมภำวะเศรษฐกิจโลกที่ตกต�่ำ ท�ำให้กำรใช้ก�ำลังกำรผลิตของภำคอุตสำหกรรม อยู่ในระดับต�่ำ 60% และที่ผ่ำนมำผลิตภำพกำรผลิตของไทยต�่ำ ส่งผลให้ภำค อุตสำหกรรมไทยไม่สำมำรถขับเคลื่อนได้อย่ำงเท่ำทันต่อ Global Supply Chain ดังนัน้ กำรเพิม่ ผลิตภำพกำรผลิตจะต้องสร้ำงนวัตกรรมใหม่ๆ มำเสริมกำรแข่งขัน เพื่อผลักดันกำรส่งออกสินค้ำให้เพิ่มขึ้น ซึ่งผลส�ำเร็จจะวัดจำกต้นทุนกำรผลิต สินค้ำที่ลดลง และยอดกำรส่งออกของแต่ละโรงงำนต้องเพิ่มขึ้น MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การเพิม่ ทักษะฝีมอื แรงงาน เพือ่ ยกระดับจากแรงงานฝีมอื ต�า่ ไปสู ่ แ รงงานทั ก ษะฝี มื อ ชั้ น สู ง ซึ่ ง จะเร่ ง พั ฒ นาแรงงาน ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (S-Curve) เป็นหลัก การปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อกระบวนการผลิตในโรงงาน อุ ต สาหกรรม โดยร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น เครื อ ข่ า ย ท� า แผน ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพเครื่ อ งจั ก รของแต่ ล ะโรงงานไปสู ่ การใช้เทคโนโลยีชั้นสูง การปรับปรุงกฎระเบียบ เพื่อขจัดอุปสรรคในการลงทุน เช่น เรื่องของกฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่ก�าหนดหลักเกณฑ์ ไว้สูง เกิ น ไป ต้ อ งหารื อ กั บ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม เพื่อหาแนวทางผ่อนปรนกฎระเบียบต่อไป
EXECUTIVE SUMMARY The Office of Industrial Economics (OIE) has been allocated the budget for integration usage for the first year. This integration is focusing on an important task to improve the productivity by 2% to raise the challenge capability and drive 2017 industrial sector’s GDP to be expanded by 3% which raised from 2016 by 2%. From the former years the GDP of industrial sector has been expanded less than 1% which is the resulted from slowdown activity of global economic. The manufacturing power of industrial sector lowered to 60% and Thai couldn’t catch the transforming of global supply chain by its late low productivity power. To improve Thai productivity, there must be new innovations to support the challenge capability and drive the exporting product.
เรื่อง: จิรภัทร ข�ำญำติ SPECIAL REPORT 59
พาชม
งานแสดงเทคโนโลยี
ด้านอุตสาหกรรม ในต่างแดน ไต้หวันและอิตาลี
เมื่อช่วงต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา MODERN MANUFACTURING ได้มีโอกาสเข้าชมงานแสดงนิทรรศการต่างประเทศถึง 3 งานด้วยกันค่ะ คือ งาน Taiwan International Green Industry Show: TiGiS และงาน 2016 Taiwan Int’l Photovoltaic Exhibition: PVTaiwan ซึ่งทั้งสองงาน
ได้รับค�าเชิญจาก Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) และงานแสดงเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรม 30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY ตามค�าเชิญของ ICE-Italian Trade Agency ร่วมสัมผัสบรรยากาศที่น�ามาฝากกันของทั้ง 3 งานไปพร้อมกันนะคะ
TiGiS Taiwan International Green Industry Show: TiGiS เป็นการ จัดแสดงเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม จัดขึ้นที่ Taipei Nangang Exhibition Center, Hall 1 ไทเป ประเทศไต้หวัน โดยแนวคิด ส�าคัญของงาน คือ การจัดแสดง Clean Energy, Green Environment, Water Technology, Green City & Green Living Product
issue 165 november 2016
60 SPECIAL REPORT
TiGiS จัดบนพื้นที่ 5,049 ตารางเมตร ซึ่งมีผู้จัดแสดงทั้งหมด 153 ราย โดยบูธจัดแสดงต่างประเทศ คือ ประเทศไทย ญี่ปุ่น เยอรมนี มาเลเซีย เนเธอร์แลนด์ สิงคโปร์ และจีน
3. Overseas Visitors by Top 10 Countries / Regions
โดยไฮไลต์เด่นของงานนี้ ประกอบด้วย • CSR Forum 2015 • Experts Forum for Water Industry • International Forum of Industry • Academic Cooperation and Technology Commercialization on Carbon Reduction and Clean Coal Technology • NEPII Press Conference • New Product Launch • Singapore - Taiwan Business Networking • Taiwan Smart Grid Technologies Symposium 2015 • Taiwan - Japan Business Talk • Taiwan - Japan Resources Technical Seminar • The Kick - off meeting of Heat Regenerative Combustion Industries Research & Application Alliance
Japan 16.32%
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
Mainland China 43.26% United States 5.96% Malaysia 4.40% Thailand 3.63% Philippines 3.11% Hong Kong 2.59% Bulgaria 2.07% India 2.07% France 2.07%
SPECIAL REPORT
61
ในงานนี้ มี ผู ้ เข้ า ร่ ว มจั ด แสดงเป็ น จ� า นวนมาก เช่ น CSC Group, FUSHENG Industrial Co., Ltd., SANWU BANDO INC., HT Green Technology Co., Ltd, Rhymebus Corporation, Environmental Technology Company, Rainbow Light Technology Co., LTD., Taipei Pack Industries Corporation รวมถึงผูเ้ ข้าร่วมจัดแสดงจาก Foundation of Taiwan Industry Service เป็นต้น
issue 165 november 2016
62 SPECIAL REPORT
งาน 2016 Taiwan Int’l Photovoltaic Exhibition: PV Taiwan เป็นการจัดแสดงนิทรรศการพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ จัดขึ้นที่ Taipei Nangang Exhibition Center, Hall 1 ไทเป ประเทศไต้หวัน โดยมีผู้เข้าร่วม จัดแสดงประกอบด้วย • PV Materials & Silicon Wafers / Ingots • Solar Cells / PV Modules / BIPV • PV Power Generator Systems / HCPV / DSSC • Processing Equipment • Evaluation / Testing / Analysis • Solar Application Products • Storage Batteries / Systems • Solar Thermal Products / Systems
Dedicated Theme Pavilions
PV Taiwan • PV System Pavilion • Equipment & Materials Pavilion • Testing & Certification Pavilion • Smart Energy & Storage Pavilion • HCPV Pavilion • Cross-Strait Pavilion
PV Taiwan Forum Executive Summit; Advanced Technology Symposium; Market Deployment Forum; PV System, Financing & Architecture Forum; Low Carbon, Energy Storage & Smart Grid Forum; Testing & Reliability Forum; PV Standard Seminar; PV Tech Forum
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
SPECIAL REPORT 63
30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY
ในเดือนเดียวกันนี้ Modern Manufacturing ในฐานะตัวแทนสือ่ มวลชน ของประเทศไทยได้เข้าร่วมอีกงานแสดงเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรม ระดับโลก 30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY ที่ศูนย์จัดแสดง Fieramilano เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ตามค�าเชิญของ ICE-Italian Trade Agency โดยงาน 30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY เป็นการจัดแสดง เครื่องจักรกล หุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องต่างๆ ภายใต้การสนับสนุนของ UCIMU-SISTEMI PER PRODURRE, the Ministry of the Economic Development ซึ่งจัดโดย EFIM-ENTE FIERE ITALIANE MACCHINE งานในครั้งนี้มีผู้ร่วมจัดแสดงทั้งหมด 1,072 ราย โดย 41% ของผู้จัด แสดงทัง้ หมดนัน้ มาจากต่างประเทศ โดยหนึง่ ในไฮไลต์สา� คัญ คือ มีตวั แทน ผูป้ ระกอบการและผูส้ อื่ ข่าวทัง้ หมด 20 ประเทศ ซึง่ ได้รบั เชิญจาก ICE-Italian Trade Agency ในการเข้าชมและร่วมกิจกรรมต่างๆ กับผูจ้ ดั โดยตัวแทนจาก ประเทศไทยที่เข้าร่วมงานในครั้งนี้มีทั้งหมด 9 คนด้วยกัน
issue 165 november 2016
64 SPECIAL REPORT
30.BI-MU and SFORTEC INDUSTRY
(9, 11, 13, 15) Square Meters of 1,072 Companies 4 Hall 90,000 Total Exhibition Area 33 3,000 450 1,020 of 41 % Companies Which from Abroad
Machines for a Value of Million Euros
Countries
Represented
Italian Machine Tool Industry in 2016: Forecast
Main Export Markets: January-June 2016
PRODUCTION
5,495 Millions Euro
+5.3%
Germany
173
+9.6%
CONSUMPTION
3,535 Millions Euro
+5.6%
United States
163
-7.9%
DELIVERIES
1,895 Millions Euro
+3.6%
China
142
-16.8%
France
112
+37.4%
Poland
69
+5.8%
Mexico
54
+57.1%
Spain
46
+6.7%
Turkey
45
+1.7%
Russia
44
-59.6%
EXPORT / PRODUCTION
65.5%
Source: UCIMU-SISTEMI PER PRODURRE
Value in Million Euros Source: UCIMU-SISTEMI PER PRODURRE on ISTAT data
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND
LM BUSH Used in combination with a LM shaft. Makes linear movements with a minimum of frictional resistance. Provide highly accurate movement. TYPE
ROUND
SQUARE
OVULAR
LMIF
LMIK
LMIH
LMIF-L
LMIK-L
LMIH-L
LMCF-L
LMCK-L
LMCH-L
Fitted Flanged Type
Fitted Flanged Type – Long
Center Flanged Type – Long
If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71
I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th
C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป
เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign
green zone policy 67
กระทรวงพลังงาน
ชูนโยบายขับเคลื่อน ‘Energy 4.0’ สร้างประสิทธิภาพพลังงานอย่างสมดุล
ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงพลังงานยังขับเคลื่อน ภาคพลังงานของประเทศ ตามแนวนโยบาย Energy 4.0 ซึ่งมีเป้าหมายที่สอดรับกับนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาลอีกด้วย EXECUTIVE SUMMARY The Ministry of Energy confirmed to drive Thailand energy sector by Energy 4.0 policy which answer to thecal of Thailand 4.0 policy of the government. These policies had a purpose to make income for its citizen and the country itself which drive the overview of the country to rise from middle income state. The other purpose is to drive an energy goal for the future within the aspect that consumer can provide energy by themselves with various type of fuels. These will encourage the investment in energy competitive with fair and free, also transform a city into Smart City or Smart Home that aiming for communities which is an eco-friendly by decreasing greenhouse gas by 20 – 25% in 2030.
ก้าวสู่ปีที่ 15 กระทรวงพลังงานมุ่งขับเคลื่อนภาคพลังงานของ ประเทศ ตามแนวนโยบาย Energy 4.0 สอดรับนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล ภายใต้กรอบแผน 5 เสาหลัก มุง่ สร้างรายได้ให้กบั ประชาชน และประเทศชาติ ยกระดับพ้นกรอบประเทศรายได้ปานกลาง และ สร้างประสิทธิภาพพลังงานอย่างสมดุล ก้าวสูส่ งั คมสีเขียวด้วยพลังงาน สะอาด ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ได้กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2560 การขับเคลื่อนด้านพลังงานจะยังอยู่ใน กรอบแผนบูรณาการพลังงานระยะยาว โดยในแผนพัฒนาก�าลังการ ผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP) ด้านการสร้างความมัน่ คงของระบบไฟฟ้า จะมุง่ เน้นการกระจายเชือ้ เพลิงและก�าลังการผลิตไฟฟ้าส�ารองในระดับ ที่เหมาะสม โดยจะลดการใช้ก๊าซธรรมชาติลงเหลือ 59.4% ของก�าลัง การผลิตไฟฟ้าทั้งหมดจากเดิมในปี พ.ศ. 2559 ใช้อยู่ที่ 64.5% และ เพิ่มการใช้พลังงานทดแทนเป็น 9.6% ซึ่งเดิมในปี พ.ศ. 2559 ใช้เพียง 6.4% รวมถึงลดการใช้เชื้อเพลิงถ่านหินลงเหลือ 16.8% ซึ่งเดิมใน ปี พ.ศ. 2559 ใช้อยู่ที่ 18.6% ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงพลังงานยังขับเคลื่อนภาคพลังงานของ ประเทศตามแนวนโยบาย Energy 4.0 ซึ่งมีเป้าหมาย คือ การสร้าง รายได้ให้กับประชาชนและประเทศ เพื่อให้ประเทศชาติในภาพรวม หลุดพ้นจากการเป็นประเทศรายได้ระดับปานกลาง สอดรับกับนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล นอกเหนือจากการขับเคลื่อนเรื่อง Energy 4.0 แล้ว เป้าหมาย ด้ า นพลั ง งานในอนาคต กระทรวงพลั ง งานจะผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด มิ ติ ที่ ผู้บริโภคสามารถผลิตพลังงานใช้เองได้และมีความหลากหลายทางเชื้อ เพลิง พร้อมทั้งผลักดันให้เกิดการลงทุนการแข่งขันในธุรกิจพลังงาน อย่างเสรีและเป็นธรรม รวมถึงสร้างชุมชนเมือง ให้เป็น Smart City Smart Home มุ่งสู่สังคมสีเขียวด้วยพลังงานสะอาด ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมตามเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกลง 20-25% ในปี พ.ศ. 2573 issue 165 november 2016
68 GREEN ZONE TECHNOLOGY เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ
ENERGY STORAGE
TECHNOLOGY
เมื่อพลังงานที่ผลิตได้ ต้องกักเก็บส�ารอง
เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในประเทศไทยมีระดับ ความเข้มข้นมากขึ้น หลังจากที่รัฐบาลประกาศนโยบายชัดเจนเดินหน้าพัฒนา พลังงานทดแทนเต็มรูปแบบ ตัง้ เป้าปักธงให้มกี ารใช้พลังงานทดแทน 30% ภายใน ปี พ.ศ.2579 เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ สถานการณ์การพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศไทยปัจจุบันมีการเติบโต อย่างต่อเนื่อง พลังงานทดแทนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล พลังงานก๊าซชีวภาพ หรือพลังงานทดแทนขยะก็ดี ต่างก็มีความ ก้าวหน้าในการพัฒนาและผลิตอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
ทว่าปัญหาส�าคัญประการหนึ่งที่ต้องเร่งด�าเนินการขณะนี้ ก็คือ การพัฒนา ‘เทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน’ เนื่องจากระบบกักเก็บพลังงานที่มีอยู่ใน ปัจจุบันยังไม่มีศักยภาพเพียงพอ ท�าให้ไม่สามารถเก็บสะสมพลังงานส่วนเกิน จากที่ผลิตได้ แล้วน�ามากักเก็บส�ารองไว้ใช้ในยามขาดแคลนได้ เพื่อให้การขับเคลื่อนพลังงานทดแทนในประเทศไทยก้าวสู่เป้าหมายที่ได้ วางแผนไว้ ‘เทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน’ (Energy Storage Technology) จึงเป็นกุญแจส�าคัญอีกดอกหนึ่งที่จะไขความส�าเร็จของการพัฒนาพลังงาน ทดแทนไทยให้ขึ้นแท่นเป็นพระเอกเบอร์หนึ่ง ยกระดับขีดความสามารถทางการ
GREEN ZONE TECHNOLOGY 69
ตลอดจนการสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บ พลังงานตลอดห่วงโซ่คุณค่า เพื่อสร้างฐานการพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บ พลังงาน ให้มีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ในระยะยาว พร้อมทั้งมอบหมายให้ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นผู้บริหาร จัดการโครงการ ทัง้ นี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานของประเทศไทย ระยะ 20 ปีอยู่ระหว่างการด�าเนินงาน
เก็บและปล่อยพลังงานได้รวดเร็ว อายุการใช้งานสั้น (เฉลี่ย10 ปี) พกพาได้สะดวก ต้องบ�ารุงรักษาต่อเนื่อง มีความน่าเชื่อถือ ราคาแพง 30 ล้านบาทต่อเมกะวัตต์
ข้อจ�ำกัด Energy Storage ปัจจุบัน
คุณสมบัตขิ อง Energy Storage ทีด่ ี
แข่งขันของประเทศ ให้พร้อมต่อการเปิดประตูสู่โลกเศรษฐกิจการค้า ต่อยอด อุตสาหกรรมไทยให้มีความแข็งแกร่งทั้งในปัจจุบันและอนาคต จากความส�าคัญดังกล่าว คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน จึงมีมติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2559 อนุมัติเงินทุนโครงการ สนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานปีงบประมาณ 2559 จ�านวน 765,000,000 บาท เพือ่ สนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงานในด้านต่างๆ โดยน�าร่องการใช้งานในด้านความมัน่ คงและ ภัยพิบัติ นิคมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน พื้นที่ห่างไกล และยานยนต์
ส�ำหรับเทคโนโลยี Energy Storage ที่คุ้นเคยกันดีก็คือ ‘แบตเตอรี่’ ซึ่งปัจจุบันมีหลำกหลำยรูปแบบและเทคโนโลยี ดังนี้
แบตเตอร์รี่ที่สำมำรถอัดประจุซ�้ำได้ (Rechargeable Battery) ตั ว จั ด เก็ บ พลั ง งานที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า ง แพร่ ห ลาย มี ก ารน� า มาใช้ ใ นอุ ป กรณ์ ไฟฟ้ า หลายชนิด อาทิ โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์แบบ พกพา และไฟส�ารองในรถยนต์ เป็นต้น อายุการ ใช้งานและประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ แตกต่างกัน ตามราคาและการใช้งาน
แบตเตอรี่ลิเธียม-พอลิเมอร์ (Lithium Polymer Battery) อนาคตนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมยานยนต์ มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน แต่มีความยืดหยุ่น สามารถน�าไปท�าเป็นแผ่นบางที่มี ความทนทานต่อการแตกหัก การสูญเสียพลังงาน ในตัวเองต�่ากว่า 1% ต่อเดือน แต่ยังมีราคาสูง และ ยังต้องปรับปรุงให้เหมาะสมต่อการน�าไปใช้ในรถยนต์
ลีดแอซิดแบตเตอรี่ (Lead-Acid Battery)
แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน (Lithium Ion Battery; LIB)
นิ ย มใช้ ใ นระบบไฟส� า รองด้ า นการคมนาคม แต่มีอัตราส่วนค่าความจุพลังงานน้อยเมื่อเทียบกับ น�้ า หนั ก ของแบตเตอรี่ ต้ อ งอาศั ย นวั ต กรรม การผลิตแบตเตอรี่ เพื่อความสะดวกในการใช้สอย ด้านการคมนาคม
นิ ย มใช้ ใ นโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ คอมพิ ว เตอร์ พกพา จุ พ ลั ง งานได้ ม ากเมื่ อ เที ย บกั บ น�้ า หนั ก แบตเตอรี่ มีการสูญเสียพลังงานน้อย แต่มีอัตรา เสื่ อ มสภาพเร็ ว ในกรณี ช าร์ ต ไฟ ไม่ เ ต็ ม หรื อ ชาร์ตบ่อยครั้ง
แบตเตอรี่นิกเกิล-เมทัล ไฮไดรด์ (Nickel Metal Hydride Battery) พัฒนามาจากแบตเตอรี่นิกเกิล-แคดเมียม แต่มี ความจุไฟฟ้ามากกว่าประมาณ 2-3 เท่า สามารถใช้ งานได้ห ลากหลาย แต่ความต้านทานภายในต�่า จึงไม่สามารถน�าไปใช้กับเครื่องไฟฟ้าไร้สายได้
แบตเตอรี่ซิบร้ำ (Zebra Battery; Na-Nicl2) มีประสิทธิภาพด้านก�าลังไฟฟ้าน้อย แต่มีอายุ การใช้งานยาวนาน ยังไม่เป็นทีแ่ พร่หลายเท่าทีค่ วรมี ข้อจ�ากัดด้านสภาวะการใช้งาน
issue 165 november 2016
70 GREEN ZONE TECHNOLOGY
อาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยี Energy Storage เป็นเรื่องที่ต้องส่งเสริมผู้บริโภค ให้บริหารจัดการ Demand Side Management (DSM) เพราะเป็นเรื่องที่ส่งผลดี ในภาพรวมต่อระบบไฟฟ้าของประเทศ เนือ่ งจากถ้าส่งเสริมให้ผใู้ ช้ไฟซือ้ พลังงาน ไฟฟ้าในช่วงกลางคืนเก็บสะสมไว้ในปริมาณที่มากพอ แล้วน�ามาใช้ในช่วง กลางวันแทนการซื้อไฟ จะส่งผลให้ความต้องการไฟฟ้าในช่วงกลางคืนเพิ่มขึ้น และในช่วงกลางวันลดลงมาอยูท่ รี่ ะดับใกล้เคียงกันตลอดทัง้ วัน ซึง่ ในทางเทคนิค เรียกว่า “ท�าให้ Load Factor ของระบบดีขึ้น” คือ จากที่เป็นอยู่ประมาณ 0.7 สูงขึ้นเป็น 0.9 หรือเข้าใกล้ 1 นั่นเอง ปัจจุบันเทคโนโลยี Energy Storage ก�าลังได้รับความสนใจอย่างมาก ไม่เฉพาะการพัฒนาและผลิตพลังงานทดแทน หากในอุตสาหกรรมยานยนต์ เทคโนโลยีดังกล่าวก็ได้รับความสนใจเช่นเดียวกัน เนื่องจากการใช้แบตเตอรี่ใน รถยนต์นั้นจ�าเป็นต้องค�านึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย เพื่อความยั่งยืนใน อนาคต ซึง่ แน่นอนว่าผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากการก�าจัดแบตเตอรี่ ย่อม น้อยกว่าผลกระทบที่ได้รับจากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil Fuel) ที่มี การใช้งานอยู่ในปัจจุบัน แม้ว่าไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทดแทน ไม่ว่าจะเป็นแสงอาทิตย์ หรือลม จะมีเสถียรภาพต�่ากว่าไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานดั้งเดิม อย่างก๊าซธรรมชาติ หรือ ถ่านหิน เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานทดแทนจะแปรผันไปตาม สภาพอากาศ ซึ่งการมีเทคโนโลยี Energy Storage ที่ดีย่อมส่งผลให้ระบบไฟฟ้า ที่ผลิตจากพลังงานทดแทนสูงมีความเสถียรและยืดหยุ่นมากขึ้น ทั้งนี้ EIC (Economic Intelligence Center) ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้ระบุว่า โอกาสการลงทุนในเทคโนโลยี Energy Storage นั้นมีแนวโน้มการเติบโตสูง โดย จะได้รับการสนับสนุนจากนโยบายการเพิ่มสัดส่วนโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ราว 20% ภายในปี ค.ศ. 2036 ซึ่งจะมีการพัฒนาควบคู่ไปกับแผน Smart Grid หรือการพัฒนาให้ระบบไฟฟ้ามีการท�างานอย่างชาญฉลาด ที่จะต้องมี Energy Storage เป็นหนึ่งในองค์ประกอบส�าคัญ หากพิจารณาถึงการเติบโตของตลาด Energy Storage ในช่วงเวลาที่ผ่านมา จะพบว่ามีการปรับตัวดีขนึ้ มากในช่วงไม่กปี่ ที ผี่ า่ นมา และเป็นแนวโน้มทีน่ า่ จับตา มอง โดยบริษัทวิจัยตลาดหลายบริษัท อาทิ Navigant Research คาดการณ์ว่า ในช่วง 10 ปีข้างหน้า ตลาดนี้จะเติบโตเฉลี่ยราวปีละ 40% โดยมีปัจจัยส�าคัญที่ จะขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโต 3 ประการหลัก ได้แก่ (1) นโยบายภาครัฐ เช่น ในรัฐแคลิฟอร์เนียที่บังคับให้ผู้ผลิตไฟฟ้าลงทุนใน เทคโนโลยี Energy Storage หรือในอาเซียนเองก็มีสิงคโปร์ที่เพิ่งจัดตั้งกองทุน Energy Storage ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา (2) การปรับปรุงข้อจ�ากัดของเทคโนโลยี โดยเฉพาะในด้านการท�าราคา ให้ต�่าลง โดยข้อมูลจากกระทรวงพลังงานของสหรัฐฯ (DOE) ระบุว่าในช่วง 7 ปี ที่ผ่านมา ราคาแบตเตอรี่ได้ลดลงราว 20% ต่อปี อีกทั้ง Bloomberg ก็ได้ คาดการณ์ว่าในช่วง 5 ปีข้างหน้าราคาจะมีแนวโน้มลดลงอีกราว 30% ต่อปี (3) แนวโน้มการขยายตัวของโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน โดยคาดการณ์ ว่าการลงทุนใหม่ในโรงไฟฟ้าดังกล่าวทั่วโลกจะเติบโตเฉลี่ยราวปีละ 10% ทั้งนี้ จะต้องมีการลงทุนในเทคโนโลยี Energy Storage ควบคู่เพื่อเพิ่มเสถียรภาพ ของระบบไฟฟ้า ส�าหรับการลงทุนในเทคโนโลยี Energy Storage ในภูมภิ าคอาเซียน จะพบว่า มีแนวโน้มเติบโตดี จากการที่หลายประเทศตั้งเป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานทดแทนในสัดส่วนทีส่ งู ขึน้ โดยเฉพาะในประเทศฟิลปิ ปินส์ทตี่ งั้ เป้าหมาย ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนสูงถึง 40% ภายในปี ค.ศ. 2020 นอกจากนี้ ประเทศอืน่ ๆ อย่างเช่น อินโดนีเซีย และเมียนมาร์นนั้ ก็มเี ป้าหมายการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานทดแทนสูงราว 20%
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
อย่างไรตาม ยังคงต้องจับตามองว่าราคาเทคโนโลยีกลุ่มนี้จะสามารถลดลง ตามที่บริษัทวิจัยตลาดทั้งหลายคาดการณ์ไว้หรือไม่ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการไทยที่ สนใจในการจ�าหน่ายเทคโนโลยี Energy Storage ควรรีบท�าการค้นคว้าวิจยั หรือ หาพันธมิตรต่างชาติที่มีการพัฒนาและขายเทคโนโลยี Energy Storage เพื่อมา ท�าตลาดในกลุ่มประเทศอาเซียน เป็นการเสริมศักยภาพโครงสร้างพื้นฐานของ อุตสาหกรรมในประเทศไทยให้มคี วามเข้มแข็ง ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต เนือ่ งจาก เทคโนโลยี Energy Storage ดังกล่าวข้างต้นยังไม่ได้มีการวิจัยและพัฒนาอย่าง จริงจังในประเทศไทย และช่วงเวลานี้ คือ ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุด ดังเช่น ค�าสุภาษิตโบราณที่ว่า… ‘น�้ำขึ้นให้รีบตัก’
Source: https://goo.gl/BbHtSd https://goo.gl/ZqU0NI
EXECUTIVE SUMMARY Alternative energy development in Thailand has been growing continuously and also make a progress to be solid. But for now, the problem that must be take an action quickly is Energy Storage development because the present energy storage doesn’t meet the requirement yet. For now, it can’t store over produced energy to reserve for the time of insufficiency. Recently, the Energy Conservation Fund (ENCON FUND) had a decision on August 3rd, 2016 to approved the fund for supporting research and development in energy storage technology for 2016 budget year by 765,000,000 THB. It could be a benefit for applying any energy storage technology and also develop every value chain of energy storage to be a groundwork for energy storage technology in a long term. Due to the energy storage technology, it is an important key to unlock alternative energy success in Thailand and improve its challenge capability which also strengthen Thai industrial sector for nowadays and future.
เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย RENEWABLE ENERGY
71
นิวเคลียร์ฟิวชั่น (Fusion) ความจริง หรือ ความฝัน ของมนุษยชาติ ค�ำว่ำ ‘นิวเคลียร์’ ส�ำหรับคนไทยแล้วค่อนข้ำงละเอียดอ่อน เนือ่ งจำกทุกควำมรูส้ กึ จะมุง่ ไปสูโ่ รงไฟฟ้ำพลังงำนนิวเคลียร์ แต่ เรำต้องยอมรับว่ำเป็นเทคโนโลยีที่ท�ำปฏิกิริยำกับเชื้อเพลิงแล้ว ได้พลังงำนสูงที่สุด แต่วันนี้เรำจะไม่พูดถึงโรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ แบบเดิมๆ ที่เคยรั่วไหล สร้ำงควำมเสียหำยจนกลำยเป็นภำพ หลอน แต่เรำก�ำลังจะพำท่ำนไปท�ำควำมเข้ำใจกับนิวเคลียร์ ฟิวชั่น (Fusion) ที่ไม่ใช่โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์แบบเดิมที่เรำรู้จัก ใน ปัจจุบัน ฟิวชั่นไม่ได้ใช้ยูเรเนียมเป็นเชื้อเพลิง เข้ำใจง่ำยๆ ก็คือ หำกเกิดควำมผิดพลำดอะไร โรงไฟฟ้ำนิวเคลียร์ฟิวชั่นก็จะไม่มี สำรกัมมันตรังสีแพร่กระจำยออกไปเป็นร้อยๆ กิโลเมตรอย่ำง ที่พวกเรำวิตกกันอยู่ จำกกำรที่ได้มีโอกำสศึกษำดูงำนโรงงำนต้นแบบของโรง ไฟฟ้ำนิวเคลียร์ฟิวชั่น ณ เมือง Saint-Paul-lez-Durance ซึ่งอยู่ ทำงตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส จึงอยำกจะขอคัดลอกข้อเขียน ของนักวิจัยซึ่งเป็นหัวหน้ำฝ่ำยวิจัยและพัฒนำ 4 ของสถำบัน เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชำติ (องค์กรมหำชน) ดร.รพพน พิชา ในบำงตอนที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี ดังนี้ พลังงำนนิวเคลียร์ฟวิ ชัน่ เป็นทำงเลือกทีส่ ำ� คัญของพลังงำน ทดแทนส�ำหรับอนำคต กำรพัฒนำเพื่อที่จะน�ำเอำพลังงำน นิวเคลียร์ฟิวชั่นมำเป็นพลังงำนทดแทนได้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม ภำยใต้ชื่อว่ำ โครงกำร ITER (International Thermonuclear Experimental Reactor) ซึ่งประกอบด้วย 7 สมำชิก คือ สหภำพ ยุโรป จีน อินเดีย เกำหลีใต้ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกำ และรัสเซีย โดยมีเป้ำหมำยร่วมกัน คือ กำรพัฒนำน�ำเอำปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ ฟิวชั่นมำผลิตพลังงำนเพื่อเป็นพลังงำนทำงเลือกในอนำคต ชื่อโครงกำรต้นแบบของโรงไฟฟ้ำพลังนิวเคลียร์ฟิวชั่นมีชื่อว่ำ DEMO หำกโครงกำรนี้สำมำรถส�ำเร็จตำมวัตถุประสงค์ที่ได้ วำงไว้ องค์ควำมรู้ต่ำงๆ สำมำรถน�ำไปพัฒนำสร้ำงโรงไฟฟ้ำ พลังงำนนิวเคลียร์ฟิวชั่นที่สำมำรถผลิตพลังงำนไฟฟ้ำให้เพียง พอต่อมนุษยชำติในรำคำที่ยอมรับได้ และมีผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อมน้อย พลังงำนฟิวชั่นได้ถูกตั้งควำมหวังว่ำจะพลังงำนของโลกใน อนำคตด้วยข้อดีหลำยประกำร แต่กย็ งั มีควำมท้ำทำยในกำรจะ น�ำฟิวชั่นมำใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำอยู่ ฟิวชั่นเพิ่มคุณภาพชีวิต ปฏิกิริยำนิวเคลียร์เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ทั่วไปในธรรมชำติ โดยนิวเคลียร์หลำยพันชนิด มีกำรเปลี่ยนแปลงเป็นธรรมดำ ในรูปแบบของกำรสลำย (Decay) และสร้ำงรังสีออกมำตลอด เวลำ แต่ในกำรจะสร้ำงพลังงำนที่มำกเพียงพอส�ำหรับควำม ต้องกำรของมนุษย์น้ัน เรำได้เลือกใช้ปฏิกิริยำที่เรียกว่ำฟิชชั่น และฟิวชั่นในช่วงหลำยสิบปีที่ผ่ำนมำเป็นกำรมุ่งสร้ำงกระแส ไฟฟ้ำฟิชชั่น (Fission) ให้ส�ำเร็จก่อน เนื่องจำกมีหลักกำรทำง
พลังงานฟิวชั่น ข้อดี
สะอาด ปลอดภัย มีเชื้อเพลิงอยู่ มหาศาลบนโลก
สิ่งท้า ทาย
การควบคุม พลาสมาให้เสถียร การเลือกวัสดุทน ความร้อนสูง
วิทยำศำสตร์ทมี่ คี วำมต้องกำรน้อยกว่ำฟิวชัน่ มำก ดังนัน้ เครือ่ ง ปฏิกรณ์นวิ เคลียร์กำ� ลัง (Nuclear Power Reactors) ในปัจจุบนั ที่ ใช้งำนอยู่ในกว่ำ 30 ประเทศทั่วโลก จึงเป็นกำรอำศัยปฏิกิริยำ นิวเคลียร์ฟชิ ชัน่ แต่ในอนำคตเรำอำจประสบผลส�ำเร็จในกำรน�ำ เอำนิวเคลียร์ฟวิ ชัน่ ซึง่ ปัจจุบนั อยูใ่ นช่วงศึกษำวิจยั อย่ำงเข้มข้น ในหลำยประเทศทั่วโลกมำใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ำ ซึ่งจะมีผลดี ต่อโลกเรำในทุกด้ำน อำทิ ประสิทธิภำพของเชื้อเพลิง ควำม ปลอดภัยในกำรเดินเครื่อง และควำมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเหนือกว่ำนิวเคลียร์ฟิชชั่นมำกขึ้นไปอีก issue 165 november 2016
72 RENEWABLE ENERGY
Deuterium
Helium
Q = 17.6 MeV Neutron
Tritium
ปฏิกิริยาฟิวชั่นระหว่างดิวเทอเรียม และทริเทียม หรือ ฟิวชั่นแบบ DT โดยในที่นี้ ค่า Q คือ พลังงานที่ปฏิกิริยาสร้างขึ้น ซึ่งสามารถค�านวณได้จากสมการ E = mc2
ประสิทธิภำพของปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ฟวิ ชัน่ สำมำรถค�ำนวณ ได้จำกอัตรำส่วนของพลังงำนทีไ่ ด้จำกปฏิกริ ยิ ำนิวเคลียร์ฟวิ ชัน่ หำรด้วยพลังงำนทั้งหมดที่ใช้ ซึ่งหำกอัตรำส่วนนี้มำกกว่ำหนึ่ง ก็จะเรียกว่ำกำร เบรคอีเวน (Breakeven) สิ่งที่จะชี้ว่ำปฏิกิริยำ นิวเคลียร์ฟิวชั่นนั้นเกิดขึ้นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ จะขึ้นกับ สำมปัจจัย คือ อุณหภูมิ (Temperature) ควำมหนำแน่นของ พลำสมำ (Density) และเวลำในกำรควบคุม (Confinement Time) ที่ศูนย์กลำงของพลำสมำ ซึ่งประกอบเป็นสิ่งที่เรียกว่ำ เกณฑ์ ของลอว์สัน (Lawson’s Criteria) ความท้าทายของฟิวชั่น เนื่องจำกเชื้อเพลิงที่จะสร้ำงพลังงำนฟิวชั่นอยู่ในรูปของ ไอออน จึงมีแรงผลักทำงไฟฟ้ำสถิตย์อยู่ระหว่ำงกัน สภำวะที่ จะน�ำไปสู่กำรเกิดปฏิกิริยำฟิวชั่นนั้นจึงต้องใช้อุณหภูมิสูงมำก เชือ้ เพลิงทีใ่ ส่เข้ำไปในเครือ่ งปฏิกรณ์จะเปลีย่ นจำกแก๊สไปอยูใ่ น รูปของพลำสมำ ปัจจุบนั มีกำรใช้พลำสมำในกำรปรับคุณสมบัติ สสำร เช่น กำรท�ำให้ผ้ำไม่เปียกน�้ำ และกำรใช้รักษำแผลหรือ ร่องรอยบนผิวหนัง เป็นต้น เรำจึงต้องสร้ำงเครื่องมือควบคุม พลำสมำนีใ้ ห้ดี มิเช่นนัน้ พลำสมำก็จะไปท�ำให้เกิดควำมเสียหำย กับผนังของเครื่องปฏิกรณ์ได้ ควำมเข้ำใจในคุณสมบัติของ พลำสมำที่อุณหภูมิสูงจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นอย่ำงยิ่ง เพื่อกำรเดิน เครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่นได้อย่ำงรำบรื่น กำรเลือกวัสดุที่สำมำรถทนควำมร้อนและปริมำณรังสีที่ สูงมำกในเครื่องปฏิกรณ์ฟิวชั่น และกำรควบคุมพลำสมำให้ เสถียรเป็นเวลำต่อเนือ่ งทีน่ ำนพอ จึงยังเป็นสิง่ ทีน่ กั วิทยำศำสตร์ และวิศวกรก�ำลังพยำยำมศึกษำหำแนวทำงที่ดีเพียงพออยู่ใน ปัจจุบัน
เพื่อสนองความต้องการพลังงานของประชากร 1 ล้านคน ภายในเครื่องโทคาแมค Tore Supra ในฝรั่งเศส ซึ่งเป็นเครื่องควบคุมพลาสมาด้วยสนามไฟฟ้าแม่เหล็ก ที่จะด�าเนินงานวิจัยเพื่อสนับสนุนโครงการ ITER
วิธีการสร้างฟิวชั่น การใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าควบคุม (Magnetic Confinement Fusion หรือ MCF) ใช้พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า ท�าให้พลาสมามีพลังงาน สูงพอที่จะเอาชนะแรงผลักทางไฟฟ้าได้ และสร้างเส้นแรง สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ใช้แรงลอเรนซ์ควบคุม (ซึง่ ขนาดของ แรงจะแปรผันตรงกับประจุไฟฟ้าและความเร็วของอนุภาค และสนามแม่เหล็ก) ส่วนใหญ่วิธีการนี้จะใช้เครื่องที่มีรูปทรงคล้ายโดนัท ซึ่ ง เรี ย กว่ า โทคาแมค (Tokamak) หรื อ สเฟี ย โรแมค (Spheromak) หรืออาจจะเป็นขวดโดนัทเกลียวแบบ สเตลลาเรเตอร์ (Stellarator) เป็นตัวกักเก็บและควบคุม พลาสมา โดยเครือ่ ง MCF ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก มีชอื่ ว่า ITER ก�าลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้างที่ประเทศฝรั่งเศส
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
การใช้แรงเฉื่อยควบคุม (Inertial Confinement Fusion: ICF) เป็นการใช้แสงเลเซอร์จ�านวนหลาย ล�าแสงยิงไปที่เม็ดเชื้อเพลิง เพื่อให้เกิด การบีบอัด และน�าไปสู่การเกิดฟิวชั่นขึ้น ได้ โดยสถานปฏิบัติการทาง ICF ที่ใหญ่ ที่สุดของโลกอยู่ที่ National Ignition Facility ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารแห่ ง ชาติ Lawrence Livermore รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ต้องใช้น�้ามัน 250,000 ตัน ใช้เชื้อเพลิงฟิวชั่น 60 กก.
ต้องใช้ถา่ นหิน 400,000 ตัน (ข้อมูลอ้างอิง: Fusion for Energy)
RENEWABLE ENERGY 73
ส� ำ หรั บ ประเทศไทยหน่ ว ยงำนที่ น ่ ำ จะเป็ น เจ้ ำ ภำพ นิวเคลียร์ฟวิ ชัน่ (Fusion) ได้เป็นอย่ำงดีกค็ อื สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึง่ ได้มกี ำรลงนำมควำม ร่วมมือกับหน่วยงำนทีเ่ กีย่ วข้องมำกมำย หำกทำง สทน. เชือ่ ว่ำ ‘ฟิวชั่น’ คือ ฝันที่เป็นจริงได้ ก็ควรมีกำรเผยแพร่ควำมรู้ด้ำน ฟิวชัน่ ให้กว้ำงขวำงกว่ำในปัจจุบนั รวมทัง้ อำจมีกำรเปรียบเทียบ ข้อดีข้อเสียระหว่ำงฟิวชั่น (Fusion) และฟิชชั่น (Fission) ที่เรำ ใช้กันอยู่ปัจจุบัน
แสดงเทคโนโลยีที่จ�ำเป็นในกำรเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่น ซึ่งรวมถึงระบบให้ควำมร้อนต่ำง ๆ ระบบหล่อเย็น ระบบวัดคุณสมบัติของพลำสมำ กำรป้องกันรังสี ระบบไฟฟ้ำ ระบบสุญญำกำศ เป็นต้น (รูปประกอบ: JET, สหรำชอำณำจักร)
ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญด้านนิวเคลียร์ฟิวชั่น รศ.ดร.สัญชัย นิลสุวรรณโฆษิต หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมนิวเคลียร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในทำงฟิสิกส์และวิศวกรรมนั้น กำรพัฒนำ เทคโนโลยี ฟ ิ ว ชั่ น ถือว่ำ เป็นก�ำลังส�ำคัญ ในกำร พัฒนำด้ำนเทคโนโลยี ส�ำหรับประเทศไทย โดย พืน้ ฐำนเห็นว่ำมีศกั ยภำพในกำรเรียนรูแ้ ละติดตำม เทคโนโลยีฟิวชั่น แม้ว่ำก�ำลังทุนทรัพย์และจ�ำนวน บุคลำกรอำจจะไม่เพียงพอในกำรพัฒนำเทคโนโลยี ฟิ ว ชั่ น ของตนเอง แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ล ้ ำ หลั ง เกิ น กว่ ำ จะเข้ ำ ใจ และประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี นี้ ไ ด้ เมื่อเทคโนโลยีได้รับกำรพัฒนำถึงขั้นประกอบได้จริงในระยะเวลำในอีก 10 ปี ข้ำงหน้ำ น่ำจะ เป็นช่วงเวลำที่ไทยต้องติดตำมพิจำรณำในด้ำนนี้อย่ำงใกล้ชิด
ดร.จุลพงษ์ ทวีศรี รองอธิบดี กรมโรงงานอุตสาหกรรม นิวเคลียร์ฟิวชันก�ำลังจะก้ำวมำถึงจุดส�ำคัญ ภำยใน 4 – 5 ปีข้ำงหน้ำ ควำมส�ำเร็จของกำร ท�ำโรงงำนต้นแบบขนำด 500 เมกะวัตต์ ด้วยทุน มำกกว่ำ 2 หมื่นล้ำนยูโร สะท้อนให้เห็นโอกำส ของมนุษยชำติที่จะมีพลังงำนสะอำดใช้ ได้จำก เชื้อเพลิงต้นทำงที่มีอยู่ในธรรมชำติจ�ำนวนมำก โดยในมหำสมุทร มี Deuterium ประมำณ 1 ใน 6,000 อะตอมของไฮโดรเจนในน�ำ้ ทะเล สำมำรถน�ำมำใช้งำนทดแทนทัง้ เชือ้ เพลิงฟอสซิลและ เชื้อเพลิงนิวเคลียร์จำกยูเรเนียม พลูโตเนียม ที่มีอันตรำยมำกกว่ำ
ดร.รพพน พิชา หัวหน้าฝ่ายวิจัยและ พั ฒ นา 4 สถาบั น เทคโนโลยีนิวเคลียร์ แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) ฟิ ว ชั่ น เป็ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด ในธรรมชำติ เป็นแหล่ง พลัง งำน ที่สะอำดและปลอดภัย ที่ท�ำให้มนุษย์เรำมีชีวิตอยู่ได้ กำรจะน�ำ พลังงำนฟิวชั่นมำสร้ำงไฟฟ้ำให้ ได้บนโลกเป็นสิ่งที่ท้ำทำยมำก นั ก วิ ท ยำศำสตร์ วิ ศ วกร จำกหลำยสำขำต้ อ งน� ำ ควำมรู ้ ควำมสำมำรถของตนมำรวมกันเป็นหนึง่ เดียว จึงจะท�ำให้ควำม มุ่งหมำยนี้ส�ำเร็จได้
EXECUTIVE SUMMARY Nuclear fusion energy is an alternative choice for the future alternative energy. The writer went to see the Nuclear fusion project in Saint-Paul-lez-Durance in France. This project called ITER (International Thermonuclear Experimental Reactor). It is the collaborative project among 7 countries; Europian Union, China, India, South Korea, Japan, USA and Russia in order to develop the nuclear fusion energy, the shining future came through the prototype station called ‘DEMO’. If the project succeeds as its purpose, the knowledge from the project will answer many requirements of humanity under the acceptable price and less environmental effect. For Thailand, Thailand Institute of Nuclear Technology (Public Organization) should be a host to publicize the proper knowledges, understanding and acceptable information in nuclear if they do believe that ‘fusion’ is a dream that could be true.
issue 165 november 2016
74 real life
ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ ท�ำให้งำนเป็นกิจกำรพักผ่อน “จับให้มั่น คั้นให้ส�ำเร็จ”
คุ้นหน้ำคุ้นหูผู้คนในแวดวงอุตสำหกรรมเป็นอย่ำงดีส�ำหรับชื่อ ของ ‘ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์’ ที่คร�่ำหวอดในงำนทั้งภำคเอกชน รำชกำร และรัฐวิสำหกิจ ผ่ำนงำนช้ำงมำแล้วนับไม่ถ้วน เป็นที่จับตำ มองตั้ ง แต่ ไ ด้ นั่ ง ต� ำ แหน่ ง ผู ้ ว ่ ำ กำรกำรนิ ค มอุ ต สำหกรรมแห่ ง ประเทศไทยตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ.2532 ด้วยวัยเพียง 41 ปี วันนี้ ด้วยวัยกว่ำ 60 ปี ดร.สมเจตน์ ยังคงท�ำงำนหนักและรับ บทบำทประธำนกรรมกำร ส�ำนักงำนนวัตกรรมแห่งชำติ รวมถึง อีกหลำยต�ำแหน่งทั้งภำครัฐและเอกชนด้วยปรัชญำกำรใช้ชีวิต ที่ว่ำ “ ท�ำให้งำนเป็นกิจกำรพักผ่อน”
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
real life 75
จับให้มั่นคั้นให้ส�ำเร็จ ดร.สมเจตน์ ทิณพงษ์ เริ่มงานจากสาย วิ ช าการ เป็ น รองศาสตราจารย์ ค ณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ และรองอธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น จากนั้นผ่านงานใน ระดับบริหารมาหลากหลาย และสร้างชื่อไว้ใน หลายโครงการ อาทิ ผู ้ ว ่ า การการนิ ค ม อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งใหม่ จ�ากัด (สนามบินสุวรรณภูม)ิ และทีค่ นุ้ หูเมือ่ ไม่นานมานีค้ อื กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทวายดี เวลล็ อ ปเม้ น ต์ ที่ ล งทุ น พั ฒ นาพื้ น ที่ เศรษฐกิจพิเศษทวาย ดร.สมเจตน์ เล่าคร่าวๆ ถึงแนวคิดในการ ท�างานให้สา� เร็จไม่วา่ อยูต่ า� แหน่งหรือภาคส่วนใด ว่า ต้องวิเคราะห์ให้ขาดถึงตัวตนขององค์กร ตั้งค�าถามแล้วตอบให้ได้ว่า หนึ่ง องค์กรมี เป้าหมายอย่างไร สอง องค์กรมีวิสัยทัศน์และ คุณค่าอะไรต่อสังคม และสุดท้าย จะน�าพา องค์กรไปที่ไหน อย่างไร หลังจากนั้นจึงวาง ยุ ท ธศาสตร์ ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวให้ สอดคล้องกับโครงสร้างขององค์กรเพื่อเดินไป สู่เป้าหมาย ปั จ จุ บั น ในฐานะประธานกรรมการ นวั ต กรรมแห่ ง ชาติ ดร.สมเจตน์ มองว่ า นอกจากจะก�าหนดบทบาทตัวเองว่า ต้องการ เสริมพลังชาติด้วยนวัตกรรมอย่างยั่งยืนแล้ว งานใหญ่ คือ ต้องจับงานวิชาการมาเจอกับ ผู ้ ป ระกอบการให้ ไ ด้ กล่ า วคื อ คิ ด อย่ า งมี นวัตกรรมแล้วพัฒนาให้ส�าเร็จนั่นเอง
ทิศทางและพันธกิจขององค์กร ต้องท�าให้สอดรับกับนโยบายหรือพิมพ์เขียวของชาติ ให้มนั ตอบโจทย์กนั อย่างทีร่ ฐั ก�าหนดยุทธศาสตร์ขนึ้ มา ตาม S-curve ก็ ไม่ใช่เรือ่ งทีเ่ ข้าใจยาก
เรายังเป็นฐานการผลิตชิน้ ส่วน ฯ และขายอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว โจทย์ของเรา คือ ใส่นวัตกรรมเข้าไป ในภาคการผลิตสินค้าและบริการให้เต็มที่ เท่านัน้ เอง
Innovation of things แม้ ไ ด้ ยิ น กั น จนชิ น หู แ ล้ ว แต่ ค� า ว่ า ‘นวัตกรรม’และ‘อุตสำหกรรม 4.0’ก็ยังดูจับ ต้องไม่ได้และเป็นเรื่องนามธรรมทุกคนต่าง บอกว่ า ยุ ค นี้ ต ้ อ ง Internet Of Things ใช้ คอมพิวเตอร์ควบคุมสั่งงานผ่านการเชื่อมโยง ผ่านหุ่นยนต์หรือแขนกล ดูเหมือนจะเป็นภาพ ใหญ่เกินทีค่ นธรรมดาหรือผูป้ ระกอบการขนาด กลางลงไปจะจินตนาการออก ทว่า ดร.สมเจตน์ ชี้ให้เห็นว่าไม่ใช่ Internet Of Things แต่ต้อง เป็น ‘Innovation of things’ ใส่เข้ำไปทุกสิ่ง ทุกที่ ทุกกำรกระท�ำ ถำมเสมอว่ำ สิง่ ทีท่ ำ� อยู่ นวั ต กรรมอยู ่ ต รงไหน คื อ ใส่ ค วามคิ ด ใส่ความสร้างสรรค์ ใส่ความเป็นนวัตกรรม เข้าไปตลอดกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ
issue 165 november 2016
76 real life
สร้าง ‘นวัตกร’ ท�าสตาร์ทอัพ เริ่มที่ อัพสตาร์ท ขณะนี้ เราจะสร้างนวัตกรรม ก็ต้องเริ่มจากนวัตกร คือ สร้าง คน ปรับความคิดคน เราต้องการคนที่คิดแบบนวัตกรรมและ สร้างสรรค์ ให้คน Upstart ใน Startup ถามว่า ทุกวันนี้ขาดแคลน ไหม สร้างยากหรือไม่ ตอบว่าไม่มีค�าว่าขาดหรือเกิน ต้องท�าไป หลักคิดของค�าว่านวัตกรรมคือ ท�าความคิดสร้างสรรค์ให้สัมฤทธิ์ ผลและคุณค่า ฉะนั้น ด้วยตัวมันเองก็เป็นกระบวนการที่ไปถึง จุดจบได้อยู่แล้ว แต่อย่าลืมว่าเราต้องน�าความคิดสร้างสรรค์ไปสู่ภาวะความ เป็นตัวตนเถ้าแก่ด้วย
ทัศนคติของคนท�ำนวัตกรรม คือ สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ
นวัตกร คือ ทางเดียว ทีจ่ ะสร้างนวัตกรรมได้
ดร.สมเจตน์ พยายามเชือ่ มโยงให้เห็นว่า “นวัตกรรมไม่มขี ดี จ�ากัด ไม่มีทิศทางจ�ากัด คุณจะท�าอย่างไรให้สินค้าที่คุณผลิต มีอิมแพ็ค มีคุณค่า มีมูลค่าและสินค้าไปรอด คิดตกผลึก สร้างสรรค์และท�าให้เต็มที่ จุดแข็งของนวัตกรรมมันไปทุก ทิศทาง ไปได้ 360 องศา”
ท�างานให้มีความสุข สนุก จนถือเป็นการพักผ่อน แม้ หั ว ข้ อ การสนทนาในวั น นี้ เราจะพยายามโฟกั ส ไปที่ ไลฟ์สไตล์ แต่เห็นได้ว่า ดร.สมเจตน์ ยังคิดแต่เรื่องงานด้วยการ ใช้ชวี ติ ทีค่ ดิ เสมอว่า งานให้ความสุข ให้การพักผ่อน ในวัยกว่า 60 ปี ปัจจุบันเขายังคงท�างานหนักโดยนั่งต�าแหน่งประธานกรรมการ ส� า นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (NIA) และประธานกรรมการ บริหารส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) เมื่อยิงค�าถามไปว่า “มีวิธีการพักผ่อนอย่างไรหรือมีงาน อดิเรกอะไร” ดร.สมเจตน์ ตอบกลับทันควันว่า “ไม่มี” “ผมไม่มงี านอดิเรกเพราะงาน คือ กิจการ เสมือนการพักผ่อน ทุกงานก็คืองานอดิเรกทั้งหมด ท�างานอยู่หลายหน่วยงาน หลาย บริษัท หลังเรียนจบมาก็เริ่มต้นที่เป็นอาจารย์วิศวะ เป็นรอง อธิการบดี ม.ขอนแก่น ก็คือ เป็นอาจารย์อยู่ 17 ปี จากนั้นก็มา เป็นผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีงานตลอด จนปัจจุบนั อย่างทีเ่ ห็น นอกจากโครงการทีท่ วาย ผลงานอืน่ ๆ ทีเ่ คยมี ก็คือ ทางด่วนขั้นที่สองบางโคล่-แจ้งวัฒนะ รถไฟฟ้าสายสีน�้าเงิน สนามบินสุวรรณภูมิ เป็นที่ปรึกษาและกรรมการบริษัทเอกชนอีก หลายแห่ง ผมสนุกกับงานไปเรื่อยๆ สุดสัปดาห์จะไม่อยู่กรุงเทพฯ ถ้าไม่ไปเที่ยวหรือไปดูงานต่าง ประเทศ ก็จะไปอยู่ที่รีสอร์ตที่ผมออกแบบเองที่บางคล้า น่าจะ เป็ น แหล่ ง ที่ มี ค วามเป็ น นวั ต กรรมสู ง ที่ สุ ด ในประเทศไทย แห่งหนึ่ง...ห้องสมุดมีเอกลักษณ์มากนะ ลองมาเที่ยวดูสิ” อย่างที่เขาว่ากัน หากได้ท�างานที่รักที่ชอบ งานไหนๆ ก็ กลายเป็นงานอดิเรกทั้งนั้น ดร.สมเจตน์ คือ ผู้พิสูจน์ให้เรา เห็นภาพชัดในเรื่องนี้แล้ว...
EXECUTIVE SUMMARY Dr.Somchet Thinaphong, senior executive who has plenty of experiences in public sector, private sector as well as state enterprises. He had gone through a number of mega projects from the year 1989 awards as Industrial Estate Authority of Thailand’s Governor. Today, Dr.Somchet who is still active as the chairman of the National Innovation Board (NIA) and the chairman of Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (GISTDA) at the same time. He has been driven by the philosophy of action economy ‘Do a job as relaxation activity’. To take leadership in any organizations ‘You must analyze the identity of that organization precisely right into its roots; those include (1) What is the organization purpose and values? (2) What’s its future picture or vision? and (3) Where and how to undertake mission to lead the organization to? Then it’s time to make the strategic plan for short and long term with designing an organization structure to achieve its purpose.
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
โมเดลเครือข่ายโลจิสติกส์…
ออกแบบอย่างไร
สร้างผลก�าไรและความได้เปรียบทางธุรกิจ
logistic smart
77
การออกแบบระบบโลจิสติกส์ที่เหมาะสม ไม่เพียงจะท�าให้ การบริหารจัดการองค์กรธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึน้ หากยังเป็นการ เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพในการบริ ห ารจั ด การต้ น ทุ น ให้ มี ขี ด ความ สามารถทางการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ ทัง้ ยังเป็นการอุดช่องโหว่ของค่าใช้ จ่ายที่รั่วไหลโดยสิ้นเปลืองได้อีกช่องทางหนึ่งด้วย เนื่องจากการ ออกแบบและบริหารภาพรวมของเครือข่ายโลจิสติกส์ทงั้ หมดอย่าง รัดกุม จะช่วยลดกระบวนการที่ไม่จ�าเป็น ท�าให้สามารถสร้าง ผลก�าไรที่เพิ่มมากขึ้น และยังมีความเหมาะสมกับรูปแบบของ องค์กรธุรกิจอีกด้วย ทั้งนี้ การออกแบบเครือข่ายโลจิสติกส์นั้น ขั้นตอนแรกจ�าเป็น จะต้องเข้าใจถึงธรรมชาติของสินค้าและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง เสียก่อน เพือ่ ประเมินปัจจัย รวมถึงความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยเฉพาะความเสี่ยงที่เกิดจากรูปแบบเฉพาะของธุรกิจนั่นเอง
issue 165 november 2016
78 logistic smart
ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการออกแบบโมเดลเครือข่ายโลจิสติกส์ ระยะเวลาที่ชัดเจน การออกแบบโมเดลที่เหมาะสม จะต้องค�านึงถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ภายใต้เงื่อนไขของเวลา ที่จ�าเป็นต้อง มีการก�าหนดช่วงระยะเวลาที่แน่นอน พร้อมข้อมูลรองรับที่หลากหลาย เช่น ก�าหนดให้มีการส่งสินค้า 28 หน่วย โดยแบ่งช่วง เวลาในการจัดส่งเดือนละ 1 ครั้ง 12 ครั้ง และทุกๆ 4 เดือน ครั้งละจ�านวน 4 หน่วย เป็นเวลา 1 ปี
$
อัตราแลกเปลีย่ นและค่าเงินของพืน้ ที่ การทีใ่ ช้เงินสกุลเดียวในการท�าธุรกิจ อาจเป็นเรือ่ งทีท่ า� ได้ยาก เนือ่ งจากระบบโลจิสติกส์ นัน้ มีโอกาสพบเจออัตราแลกเปลีย่ นได้บอ่ ยครัง้ การออกแบบระบบหรือโมเดลโดยไม่ได้คา� นึงถึงปัญหาสกุลเงินทีแ่ ตกต่างหรือ อัตราแลกเปลี่ยน อาจท�าให้เกิดความสูญเสียได้อย่างมากโดยไม่รู้ตัว รูปแบบการขนย้าย การระบุรูปแบบการขนย้ายที่เหมาะสม รวมถึงรายละเอียดที่ครบถ้วน ท�าให้สามารถค�านวณค่าใช้จ่ายได้ อย่างแม่นย�ามากขึน้ เช่น การระบุถงึ รถกระบะทีส่ ามารถบรรทุกได้ 50 ลิตร ขนาดเครือ่ งยนต์ 2,500 CC มีอตั ราการเผาผลาญ น�้ามันอยู่ที่ 10 กิโลเมตร / ลิตร เป็นต้น การระบุรายละเอียดดังกล่าว ท�าให้ผู้ประกอบการสามารถวางแผนประเภทสินค้า การ จัดวาง ปริมาณได้อย่างเหมาะสม ปริมาณการส่งและระยะทาง ปริมาณสินค้าทีต่ อ้ งขนส่งกับระยะทาง ต้องจ�าแนกผลสรุปให้ดวี า่ ปริมาณสินค้าทีบ่ รรทุกนัน้ จะมี ความคุ้มค่าหรือไม่ เมื่อเปรียบเทียบน�้าหนักที่พาหนะต้องแบกรับกับระยะทางที่เกิดขึ้น การก�าหนดราคาโอนและภาษี การด�าเนินการภายในองค์กรจะยึดอยูบ่ นราคาค่าขนส่งภายในทีม่ กี ารก�าหนดราคาโอนทีช่ ดั เจน ซึง่ ครอบคลุมถึงความยืดหยุน่ ได้ โดยไม่ทา� ให้เกิดค่าใช้จา่ ยทีน่ อกเหนือการประมาณการขึน้ เนือ่ งจากจะส่งผลกระทบต่อภาษีที่ เกิดขึ้นกับโมเดลอีกด้วย
หลักการ 4 ขั้นตอน เพิ่มศักยภาพ ลดต้นทุน
การออกแบบโมเดลเครือข่ายโลจิสติกส์ โดยมุ่งเน้นศักยภาพในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จะต้องค�านึงถึงความยืดหยุ่นและการด�าเนินงาน อย่างครอบคลุม ซึ่งเมื่อทราบข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่จ�าเป็นต่อการออกแบบโมเดลเครือข่ายโลจิสติกส์แล้ว ผู้ประกอบการ หรือเจ้าของโรงงานสามารถ ด�าเนินการได้ตามหลักการ ดังนี้
ประเมิน รวบรวมข้อมูลและโมเดลทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ น�ามาวิเคราะห์หาความเสีย่ งและ ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบโมเดลโลจิสติกส์ โดยใช้ KPI ขององค์กรมา ช่วยประเมินและจัดการ เพื่อให้สามารถด�าเนินการได้ตามเป้าประสงค์
วิเคราะห์ วิเคราะห์ตัวอย่างการจ�าลอง เพื่อทดสอบการออกแบบโมเดลของ ระบบที่ ได้วางไว้ โดยทดสอบความสามารถในการรองรับความ เปลี่ยนแปลง เช่น การย้ายต�าแหน่งคลังสินค้า หรือการเปลี่ยนระดับ ความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
จัดล�าดับความส�าคัญ น�าข้อมูลที่ได้จากการประเมินมาจัดล�าดับความส�าคัญเพื่อทดสอบ ด้วยเทคโนโลยีที่ใช้จ�าลองการท�างาน เพื่อเสริมประสิทธิภาพ
วางแผน วางแผนยุทธศาสตร์ให้สามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลง บนพืน้ ฐานของการวิเคราะห์จากสถานการณ์จา� ลอง หรือ พัฒนาแผนทีต่ อบ สนองต่อเหตุการณ์อันไม่คาดคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
logistic smart 79
ติดตาม วิเคราะห์ผลรวม เพื่อกระจายความเสี่ยง ลดทอนความสูญเสีย
หลังจากการวางแผนโมเดลระบบเครือข่ายโลจิสติกส์แล้ว การติดตามผลรวม และขยายขอบเขตเพี่อลดความเสี่ยง รวมถึงการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ถือเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยส�าคัญทีไ่ ม่อาจละเลยได้เช่นกัน เนือ่ งจากการวิเคราะห์ความ เสีย่ งจากข้อมูลและรายงานอย่างสม�า่ เสมอ จะท�าให้สามารถติดตามผลและจัดการ ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะการแสดงผลข้อมูลที่เป็นภาพ ท�าให้ง่ายต่อความ เข้าใจ หรือการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ ทั้งยังง่ายต่อการเข้าถึงรายละเอียดที่ ครบถ้วน ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ส่วนหนึ่งมาจากการรวมผลของข้อมูลที่นับเป็นต้นทุน ทั้งมีค่าใช้จ่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น ระยะทางเฉลี่ยในการส่งสินค้าถึงมือลูกค้า นอกจากนี้ การจ�าลองทางเลือกการด�าเนินงานที่เพิ่มขึ้น นอกจากจะช่วย กระจายความเสี่ยงแล้ว ยังลดทอนความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาดอัน ไม่ตั้งใจ เช่น การที่ระบบล่ม หรือเกิดอุบัติเหตุท�าให้ไม่สามารถด�าเนินงานได้นั้น ถือเป็นปัญหาส�าคัญ การจ�าลองสถานการณ์และหาเส้นทางแก้ไขเป็นทางเลือก เพิ่มเติม เป็นสิ่งที่จะรักษามาตรฐานและคุณภาพการท�างานไว้ได้เป็นอย่างดี ซึ่ง ระบบการท�างานที่เชื่อถือได้ ต้องเปิดเผยให้เห็นถึงจุดซ่อนเร้นที่ถูกซ่อนเอาไว้ใน การออกแบบระบบ ส่ ว นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� า งานด้ ว ยการวางเป้ า หมายที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ถือเป็นการด�าเนินงานเพื่อรองรับข้อมูลของความเสี่ยง การรวบรวมข้อมูล ประสิทธิภาพการท�างาน ความน่าเชือ่ ถือของระบบปฏิบตั งิ าน รวมถึงปัจจัยอืน่ ๆ เข้าไปในระบบเพื่อให้เห็นภาพของความเสี่ยงได้ชัดที่สุด อีกทั้งการแสดงผลเป็น กราฟหรือตารางที่ชัดเจน จะช่วยให้สามารถท�าความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายยิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่า การวางแผนโมเดลโครงข่ายระบบโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องยาก หาก มีการติดตามผลที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ไม่ จ�าเป็น ซึ่งเกิดขึ้นมาจากปัจจัยทั้งหลายได้อย่างกระชับแล้ว ยังสามารถเพิ่ม ศักยภาพการท�างานให้คมุ้ ค่ากับเม็ดเงินทีล่ งทุนไปได้อย่างชัดเจนอีกด้วย ประกอบ กับการด�าเนินงานและการเก็บข้อมูลในปัจจุบันมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เข้ามา สนับสนุนการติดตามข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง จึงสามารถประมวลผลให้เห็นถึง สถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ได้ เป็นการสนับสนุนการด�าเนินงานด้านของระบบโลจิสติกส์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าที่เคยอย่างแน่นอน Source: https://goo.gl/9jLnUR https://goo.gl/fIOkCT
EXECUTIVE SUMMARY To plan an efficient logistics network model, it must be bear to various alteration and responsive to particular business and industrial platform properly. It must be understood in the information of time, exchange rate and currency accurately, also specify shipment, amount and distance. Besides, transfer pricing and taxes must be included. With the help from simulation software, gathered information will be analyze, evaluate and give priority to. The possibility and opportunity will be seen through the situation where its simulated by software. An efficient model for logistics network must be readied and could operate under changes and unattended plan wisely, also reveal every risk that would be occurred in the future in order to provided stable logistics system.
issue 165 november 2016
80 special report
เรื่อง: ทศธิป สูนย์สาทร
สัมผัสนวัตกรรมสินค้าเครื่องจักรอุตสาหกรรมในเมียนมาร์ ผ่านงาน
INTERMACH & SUBCON
MYANMAR 2016
งานมหกรรมแสดงสินค้าเครื่องจักรอุตสาหกรรมครั้งยิ่งใหญ่ของ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ Intermach & Subcon Myanmar 2016 จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 20 – 22 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ที่ Tatmadaw Hall เมืองย่างกุ้ง โดยภายในงานมีผู้เข้าร่วมแสดงสินค้าจ�านวนมากจาก หลากหลายประเทศ ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการจากประเทศไทย จีน เป็นต้น ซึ่งได้น�าเสนอเครื่องจักรและเครื่องไม้เครื่องมืออุตสาหกรรม มากมาย รวมถึงการออกบูธของผู้ประกอบการที่ต้องการพบปะคู่ค้า และพันธมิตรทางการค้า โดยได้รับการสนับสนุนจาก คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) โอกาสนีท้ มี งานกองบรรณาธิการนิตยสาร MODERN MANUFACTURING ได้เก็บบรรยากาศกิจกรรมทีน่ า่ สนใจ มาฝากท่านผูอ้ า่ น
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เมียนมาร์ ยังเป็นตลาดที่มีแนวโน้มน่าสนใจ Mr. Zin Ko Naing, Managing Director บริษัท Myanmar Sheet Metal Co., Ltd. ตัวแทน น�ำเข้ำเครือ่ งพับและเครือ่ งตัดรำคำย่อมเยำว์แต่ คุณภำพคับแก้ว เป็นหนึ่งในบูธแสดงสินค้ำที่ ใหญ่ที่สุดของงำน Intermach ได้น�ำเครื่องตัด เลเซอร์ พลำสมำ และเครื่องพับโลหะจำก LFK มำแสดงภำยในงำน “Intermach ในปีนถี้ อื ว่ำยังได้รบั ควำมสนใจในระดับหนึง่ อยู่ แม้วำ่ ใน ภำพรวมแล้วจ�ำนวนผู้เข้ำชมงำนจะน้อยกว่ำปีที่แล้ว ซึ่งผมมองว่ำส่วน หนึง่ อำจเป็นเพรำะหลำยๆ คนยังรอมำตรกำรทีช่ ดั เจนจำกทำงภำครัฐอยู่ แต่ควำมเป็นไปได้และอนำคตของภำคอุตสำหกรรมนั้นมีแนวโน้มที่ น่ำสนใจทีเดียว” Mr. Zin กล่ำว
special report
81
“ส�าหรับผู้ประกอบการที่ต้องการมาลงทุนหรือ หาพาร์ ท เนอร์ ที่ เ มี ย นมาร์ สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ ต้ อ ง ท�าความรู้จักกับดีมานด์และซัพพลายของเขาก่อน รวมถึงความเชื่อใจที่จะน�าไปสู่การลงทุนด้วย ซึ่ง ขณะนี้เมียนมาร์เนื้อหอมมากใน CLMV ซึ่งเราต้อง ศึกษาลูกค้าและคูค่ า้ อย่างละเอียด ถ้าจะต้องเข้ามา จ�าหน่ายจะต้องเป็นสินค้าแบบใด ผลิตที่นี่หรือที่ ประเทศไทย หาคู่ค้าอย่างไร ท�าอย่างไรจึงจะไว้ใจ กันได้ เพราะธุรกิจนั้นต้องเกิดจากความไว้วางใจ ก่อน จึงจะสามารถร่วมค้ากันได้ ทัง้ นี้ ศักยภาพของ ตลาดเมียนมาร์นั้นสูง โดยเฉพาะในภาค SME อย่างไรก็ตาม ยังจ�าเป็นที่จะต้องมาศึกษา เรียนรู้ ด้วยตนเอง ดูตลาดและความเป็นไปได้ในความ สามารถที่จะจัดการได้” ผอ.วิรัตน์ กล่าว
เร่งวางกลยุทธ์ หาพาร์ทเนอร์ มัน่ ใจตลาดเมียนมาร์เติบโตก้าวกระโดด ภายใน 5 ปี คุณศิลป์รัฐ สุขวัฒนศิริ ประธานบริ ษั ท Siam Seimitsu Co., Ltd. ผู้น�า เข้ า เครื่ อ งท� า ลมแห้ ง เครื่ อ งปั ๊ ม สุ ญ ญากาศ แอร์ แ ทงค์ จากประเทศ ญี่ปุ่น ซึ่งเครื่องท�าลมแห้ง ทีน่ า� มาแสดงภายในงานนัน้ เป็นเครือ่ งท�าลมแห้งจาก ญีป่ นุ่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง มาพร้อมกับเทคโลยีเฉพาะ อย่าง ‘Heat Exchange’ ที่โดดเด่นแตกต่างจาก คู่แข่ง คุณศิลป์รัฐ ได้เล่าถึงการเข้าร่วมแสดงสินค้าใน งาน Intermach ครั้งนี้ว่า “ในงาน Intermach ครั้งนี้ ได้รับความสนใจจากหลายฝ่าย รวมถึงมีผู้ที่ต้องการ จะเป็นตัวแทนของเราในประเทศเมียนมาร์ ผมคิด ว่าการเติบโตของเมียนมาร์ที่ก�าลังจะเกิดขึ้นนั้นจะ เป็นไปแบบก้าวกระโดด หลังจากการเปิดประเทศ และได้รับการลงทุนจากประเทศอื่นๆ มากมาย ซึ่ง ภายใน 5 ปี นับจากนีเ้ มียนมาร์จะเปลีย่ นไปจากหน้า มือเป็นหลังมือ ซึ่งทางบริษัทฯ เองอยู่ระหว่างการ วางแผนหาพาร์ทเนอร์ที่ไว้ใจได้ เพื่อเป็นตัวแทน สินค้าและบริการเข้าไปท�าการตลาดและจัดจ�าหน่าย โดยต้องการตัวแทนที่ใส่ใจในรายละเอียด เพื่อที่จะ ท�าธุรกิจได้อย่างมั่นคงในระยะยาว”
ต้องเข้าใจผู้บริโภคและตลาดเสียก่อน ธุรกิจต้องเกิดจากความไว้วางใจ ส�าหรับทางด้านคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน หรือ BOI ที่เข้าร่วมออกบูธภายในงาน Subcon นั้น คุณวิรัตน์ ธัชศฤงคารสกุล ผู้อ�านวย การหน่วยพัฒนาการเชือ่ มโยงอุตสาหกรรม (BUILD) ได้แสดงทรรศนะว่า “ในฐานะของ BUILD ซึง่ มีหน้าที่ ในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมให้มคี วามเชือ่ ม โยงภายในประเทศ ตลอดจนขยายไปในต่ า ง ประเทศด้วย จะมุ่งเน้นการสนับสนุนให้ SME ซึ่ง เป็นผู้ผลิตได้ร่วมออกบูธและติดต่อกับผู้ผลิตอื่นๆ ในต่างประเทศให้มากขึ้น” “ถ้าผู้ประกอบการจะก้าวไปท�าธุรกิจในต่าง ประเทศ เบื้องต้นผู้ประกอบการต้องมีความพร้อม ทางด้านภาษาก่อน อันดับต่อมา คือ รูปแบบของ สินค้า ต้องมีความรู้และท�าความเข้าใจเสียก่อนว่า คนในพื้นที่ต้องการอะไร ไม่ใช่เพียงแค่น�าสินค้าที่มี อยู่เข้ามาท�าการตลาด เปิดการขายได้ทันที ต้อง สร้ า งให้ เ กิ ด การยอมรั บ ในตั ว สิ น ค้ า ต้ อ งเข้ า ใจ ผู้บริโภคเสียก่อน อันดับที่ 3 คือ มาตรฐานของ สินค้าและบริษทั ถ้าผูป้ ระกอบการจะส่งออกสินค้า แต่สนิ ค้าไม่ผา่ นมาตรฐาน หรือไม่ได้รบั การยอมรับ ในระดับสากล เช่น ISO ก็จะล�าบาก เพราะไม่ สามารถสร้างความเชือ่ ถือได้ เพือ่ เป็นการรับประกัน ว่าสินค้าทุกชิน้ จะมีคณ ุ ภาพมาตรฐานเดียวกัน โดย เฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า จ�าเป็นต้องได้ รับมาตรฐานสากล หรืออาหารก็ต้องได้รับรอง มาตรฐานสากลเช่นกัน”
เมียนมาร์ ตลาดที่มีทั้งโอกาสและความท้าทาย คุ ณ อภิ ช าติ ธิ ติ ลั ก ษณ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท คอนซู ม เมเบิ ล พาร์ ท ส (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้เข้า ร่ ว มชมงาน Intermach ด้วยความสนใจในตลาด ของเมียนมาร์ ได้กล่าวว่า “หากเปรียบเทียบตลาดกับประเทศไทยแล้ว เมีย นมาร์นั้นมีขนาดตลาดที่เล็กกว่ามาก แต่สามารถ สัมผัสได้ถึงความหลากหลายจากสิ่งที่เห็น ซึ่งใน อนาคตคาดว่าจะมีแนวโน้มการเติบโตทีร่ วดเร็ว เมีย นมาร์ถือเป็นตลาดที่ยังมีโอกาสอีกมาก ในขณะ เดียวกันความท้าทายของตลาดก็มีไม่น้อย จึงควร เริ่มต้นในช่วงเวลาอันใกล้นี้ ไม่เช่นนั้นอาจต้องใช้ เวลานานในการเรียนรู้และจับทิศทางของตลาด”
issue 165 november 2016
82 special report
“ประมวลภาพบรรยากาศ ภายในงาน ‘Intermach & Subcon Myanmar 2016’
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
เรื่อง : กมล ดุรงค์กนกพันธ์ วิทยากรที่ปรึกษาอิสระในด้านการบริหารคุณภาพและการปรับปรุงองค์กร
quality control 83
เตรียมความพร้อมรับ...
ISO 9001:2015 พร้อมแนวทางปฎิบัติเพื่อขอการรับรอง (ตอนที่ 2)
จากตอนที่แล้ว ซึ่งกล่าวถึงกระบวนการขอการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001ที่ออก Version ใหม่เมื่อปี 2015 เพื่อ ทดแทน Version 2008 ผู้เขียนสรุปใจความส�าคัญของข้อก�าหนดใหม่ที่ต่างจากเดิม และตีความเพื่อน�าไปปฎิบัติ ดังนี้ ข้อควรพิจำรณำ เพื่อกำรระบุควำมเสี่ยง และโอกำส ข้อก�ำหนดที่ 6 กำรวำงแผน การดําเนินการเพื่อระบุความเสี่ยง และโอกาส เมื่อมีการวางแผนสําหรับระบบการจัดการ คุณภาพ องค์กรต้องพิจารณาประเด็นเรือ่ งความ เข้าใจองค์กร บริบทขององค์กร และข้อกําหนด ต่างๆ ที่อ้างอิงจากข้อกําหนดที่ 4 ซึ่งกล่าวไป เมื่อตอนที่แล้ว
มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพจะ สามารถบรรลุตามผลลัพธ์ของ องค์กรได้ บรรลุผลการปรับปรุง ป้องกันหรือลดผลกระทบ ที่ไม่ต้องการ เพิ่มผลกระทบที่ต้องการ
องค์กรต้องวางแผนสําหรับ : • การดําเนินการเพือ่ ระบุความเสีย่ งและโอกาส เหล่านี้ • วิธีการที่จะควบรวมและประยุกต์ใช้กิจกรรม ในกระบวนการของระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ และ ประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมเหล่านี้ ทัง้ นี้ กิจกรรมทีใ่ ช้ระบุความเสีย่ งและโอกาส ควร อยูบ่ นความสมเหตุสมผลต่อแนวโน้มของผลกระทบ ต่อความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการ
issue 165 november 2016
84 quality control
วัตถุประสงค์คุณภาพ และการวางแผน เพื่อให้บรรลุ องค์กรต้องจัดทําวัตถุประสงค์คุณภาพ ขยาย ผลลงไปในทุกส่วนงาน ทุกระดับ และกระบวนการ ที่ จํ า เป็ น ในระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ วั ต ถุ ป ระสงค์ คุณภาพจะต้อง • มีความสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ • สามารถวัดได้ • มีความเกี่ยวข้องกับข้อกําหนดที่ประยุกต์ใช้ • มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความสอดคล้ อ งข้ อ กําหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ และเพื่อเพิ่ม ระดับความพึงพอใจลูกค้า • มีการติดตาม • มีการสื่อสาร • มีการปรับปรุงตามความเหมาะสม • องค์ ก รต้ อ งคงรั ก ษาเอกสารข้ อ มู ล ของ วัตถุประสงค์คุณภาพ
การวางแผนเปลี่ยนแปลง
เมื่อองค์กรต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการ เปลีย่ นแปลงระบบบริหารคุณภาพ การเปลีย่ นแปลง จะต้องดําเนินการภายในแผนงานอย่างสมํ่าเสมอ
แนวทางปฎิบัติ
องค์กรต้องจัดทํา ตารางวิเคราะห์ความเสี่ยง เรื่องปัจจัยภายใน และโอกาสจากปัจจัยภายนอก (ข้อกําหนดที่ 4) วิเคราะห์ความเสี่ยงในผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในองค์กร และวิเคราะห์ความเสี่ยงกรอบ ข้อกําหนดทางคุณภาพ หากมีความเสี่ยงสูงจะต้อง มี Action Plans
ข้อก�ำหนดที่ 7 กำรสนับสนุน ทรัพยากร
ข้อกําหนดทัว่ ไป : องค์กรต้องพิจารณากําหนด และจัดให้มีทรัพยากรที่จําเป็นสําหรับการนําไป ปฏิบัติ คงรักษาไว้และปรับปรุงอย่างต่อเนื่องใน ระบบบริหารคุณภาพ องค์กรต้องพิจารณา • ความสามารถและข้อจํากัดของทรัพยากร ภายในองค์กรที่มีอยู่ • ความจํ า เป็ น ในการเลื อ กใช้ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร ภายนอก
อย่ า งเพี ย งพอ เมื่ อ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงความ ต้องการและแนวโน้ม องค์กรจะต้องทบทวนความรู้ ในปัจจุบนั และพิจารณาวิธกี ารทําให้ได้มา หรือเข้า ถึงความรู้ส่วนเพิ่มเติม ให้มีความทันสมัย
หมายเหตุ: 1. ความรู้ขององค์กร คือ ความรู้เฉพาะของ องค์กร ได้มาจากประสบการณ์ เป็นข้อมูลที่นํามา ใช้และเผยแพร่เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2. ความรู ้ อ งค์ ก รอยู ่ บ นพื้ น ฐานของแหล่ ง ภายในองค์กร (เช่น ทรัพย์สนิ ทางปัญญา การเรียนรู้ จากประสบการณ์ การเรียนรู้จากข้อผิดพลาดและ ความสําเร็จจากโครงการ การรวบรวมและการแลก เปลี่ยนความรู้ที่ไม่อยู่ในตําราและประสบการณ์ ผลจากการพัฒนากระบวนการ ผลิตภัณฑ์และบริการ)
แนวทางปฎิบัติ
องค์กรต้องจัดการอบรม นั่งพูดคุย ในส่วนของ จุดทีส่ าํ คัญในองค์กรแล้วจัดทําเอกสารหรือสารสนเทศ อื่นๆ แล้วสร้างช่องทางความรู้ในองค์กร เช่นอยู่ใน เว็บไซต์ในองค์กร ทุกคนเข้าถึงได้โดยเฉพาะพนัก งานใหม่ๆ
การสื่อสาร
สิ่งที่องค์กรต้องพิจารณาในการสื่อสารภายใน และสื่อสารภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหาร งานคุณภาพ
การควบคุมเอกสารข้อมูล
1.เอกสารข้อมูลทีจ่ าํ เป็นในระบบบริหารจัดการ คุณภาพ และมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้ ต้องได้รับ การควบคุม เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีเพียงพอและเหมาะสม ในการใช้งานตามความจําเป็นในแต่ละกระบวนการ และ ขั้นตอนได้รับการป้องกันอย่างเหมาะสม (เช่น เสี่ยงต่อการถูกเปิดเผย นําไปใช้อย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน)
สื่อสำรอะไร สื่อสำรโดยใคร
สื่อสำรเมื่อใด
ความรู้ขององค์กร
องค์กรต้องพิจารณากําหนดความรู้ที่จําเป็น สําหรับการดําเนินกระบวนการและเพื่อให้บรรลุถึง ข้อกําหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ ความรูเ้ หล่านี้ ต้องได้รับการจัดเก็บและมีครบถ้วนตามขอบเขต
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
สื่อสำรอย่ำงไร
สื่อสำรกับใคร
quality control 85
ข้อก�ำหนดที่ 9 กำรประเมินสมรรถนะ สําหรับการควบคุมเอกสารข้อมูล องค์กรต้อง ดําเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ตามความเหมาะสม โดยมี การแจกจ่าย การเข้าถึง การค้นหา และการนําไปใช้ มีการจัดเก็บและการป้องกัน รวมถึงการดูแลรักษา ให้เนื้อหาอ่านได้ง่าย ตลอดทั้งมีการควบคุมการ เปลีย่ นแปลง (เช่น การระบุฉบับทีข่ องการแก้ไข) รวม ถึงการกําหนดเวลาจัดเก็บ และการทําลาย 2. เอกสารข้อมูลภายนอกทีอ่ งค์กรเห็นว่าจําเป็น สําหรับการวางแผนและการปฏิบตั ขิ องระบบบริหาร คุณภาพ ต้องได้รับการชี้บ่งและควบคุมตามความ เหมาะสม 3. เอกสารข้อมูลใช้เป็นหลักฐานทีแ่ สดงถึงความ สอดคล้องต้องได้รบั การป้องกันจากการแก้ไขโดยไม่ ตั้งใจ
แนวทางปฎิบัติ
องค์กรต้องสร้างระเบียบปฎิบัติ โดยการจัดการ เอกสารทั้ ง ที่ ไ ด้ จ ากภายนอก การเปลี่ ย นแปลง เอกสารภายใน รวมถึงการแจกจ่ายเอกสารให้ผู้ที่ เกี่ยวข้อง โดยส่งผ่านจดหมายอิเล็กโทรนิค (e-Mail) และทํ า การแปลงเอกสารควบคุ ม นั้ น ทํ า ให้ ไ ม่ สามารถแก้ไขได้ ยกเว้นผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงและ ทําการตั้งรหัสผ่านในการเข้าถึงข้อมูลในระบบ
หมายเหตุ: การเข้าใช้ หมายถึง การกําหนดสิทธิ์ ในการเข้าดูเอกสาร รวมถึงสิทธิใ์ นการอ่าน และแก้ไข เอกสารข้อมูล เป็นต้น
การติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์และ ประเมินทั่วไป
องค์กรต้องพิจารณา: • อะไรทีส่ าํ คัญในการตรวจติดตามและตรวจวัด • วิธกี ารในการตรวจติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์ และประเมินที่จําเป็น เพื่อให้มั่นใจถึงผลที่ถูกต้อง • จะทําการติดตามและตรวจวัดเมื่อใด • จะทํ า การวิ เ คราะห์ แ ละประเมิ น ผลการ ติดตามและตรวจวัดเมื่อใด องค์กรต้องทําการประเมินสมรรถนะคุณภาพ และประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ และเก็บ รักษาเอกสารข้อมูลที่จําเป็น ในฐานะหลักฐานของ ผลจากการดําเนินการ
ความพึงพอใจลูกค้า
องค์กรจะต้องเฝ้าติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ระดับการรับรู้ของลูกค้าที่ลูกค้าต้องการ และความ คาดหวังของลูกค้าได้รับการเติมเต็ม องค์กรจะต้อง กําหนดวิธกี ารเพือ่ ทีจ่ ะให้ได้ขอ้ มูลเหล่านีม้ าติดตาม และทบทวน
หมายเหตุ: ยกตัวอย่างการเฝ้าติดตามความ พึงพอใจของลูกค้า เช่น การสํารวจ การตอบกลับ ของลูกค้าหลังการส่งมอบสินค้า และ บริการ การ ประชุมกับลูกค้า การวิเคราะห์สว่ นแบ่งทางการตลาด ของสมนาคุณ คืนสินค้าในช่วงการรับประกัน และ รายงานจากผู้จําหน่าย
การตรวจติดตามภายใน
องค์กรต้องดําเนินการตรวจติดตามภายใน ตาม ช่ ว งเวลาที่ ว างแผนไว้ เ พื่ อ ให้ มี ข ้ อ มู ล ของระบบ บริหารคุณภาพ
แนวทางปฎิบัติ
องค์กรจะต้องจัดทําการตรวจติดตามภายใน ซึง่ ต้องครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของ Version ใหม่นี้ และทําการตรวจสอบในหัวข้อของ Version เดิม ควบคู่กันไป จากการที่ผู้เขียนมีความเข้าใจว่าองค์กรมีความ พร้อมทั้งบุคลากร การเตรียมการตรวจสอบภายใน รวมถึงการจัดการประชุมประเมินสมรรถนะของ องค์กรโดยผู้แทนฝ่ายบริหารแล้วนั้น อาจไม่เพียง พอที่จะรองรับการตรวจสอบใน Version ใหม่นี้ จึง ต้องการนําประสบการณ์ทมี่ คี า่ นี้ มาแบ่งปันให้ผอู้ า่ น ซึ่งอาจจะเป็นตัวแทนระดับบริหารและกําลังเตรียม ตัวรับการเข้าตรวจประเมินรวมถึงต่ออายุระบบการ บริหารคุณภาพในองค์กรตนเอง เพื่อเป็นประโยชน์ และเพือ่ การเตรียมตัวทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ต่อไปในอนาคตและ ไม่หลงทางเหมือนกับที่ผู้เขียนประสบมา ท้ายที่สุดนี้ ขอทิ้งสุภาษิตจีนว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้ อ ยครั้ ง ชนะร้ อ ยครั้ ง ” ยั ง ใช้ ไ ด้ ใ น ทุกสถานการณ์อย่างไม่มีวันเก่าแต่อย่างใด
หากมีขอ้ สงสัยเพิม่ เติม สามารถสอบถามได้ที่
Email : kamold2208@gmail.com
ข้อก�ำหนดที่ 8 กำรผลิตและบริกำร ทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้ บริการภายนอก องค์กรต้องดูแลทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือ ผู้ให้บริการภายนอก ในขณะที่อยู่ภายใต้การจัดเก็บ ในองค์กร องค์กรต้องระบุทวนสอบ ป้องกัน และ ดูแลรักษาทรัพย์สนิ ของลูกค้าหรือผูส้ ง่ มอบภายนอก เพือ่ ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์และการบริการ ถ้าทรัพย์ สินใดๆ ของลูกค้าหรือผู้ส่งมอบภายนอกเกิดการ สูญหาย เสียหาย หรือพบว่าไม่เหมาะสมในการ ใช้งาน องค์กรต้องดําเนินการแจ้งลูกค้าหรือผู้ให้ บริการภายนอกให้ทราบ และจัดทําเป็นเอกสาร ข้อมูลไว้
หมายเหตุ : ทรัพย์สินของลูกค้าหรือของผู้ให้ บริการภายนอก อาจรวมถึงวัตถุดิบ ชิ้นส่วนย่อย เครือ่ งมือและอุปกรณ์ สถานที่ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา และข้อมูลส่วนบุคคล
EXECUTIVE SUMMARY The process to get new certificate ISO 9001 version 2015 has been changed regulation and usage definition, for example, a strategy for KPIs should base on the impact of product and service’s consistency with the proper knowledges to operate and achieved the regulation goal of product and services. When the demand and tendency has been changed, the corporate must review its present knowledges and considering on the method to achieve or reach the additional knowledge while keeping it modernize all the time for example. Due to the readiness of corporation’s human resources, internal audit and even hold the meeting to evaluate the capability of corporate by the executives won’t be enough for this new investigation. This article will prepare the entrepreneurs with better opportunities of readiness and keep them on a right track. issue 165 november 2016
90 FOOD PROCESSING เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
PINCH VALVES
ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ข้อจ�ากัดและปัจจัยที่ต้องพิจารณา MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
หัวใจส�ำคัญของอุตสำหกรรมอำหำรและเครือ่ งดืม่ คือ กำรส่งมอบ อำหำรและเครื่องดื่มให้ถึงมือผู้บริโภคด้วยควำมสะอำด ปลอดภัย ถูกสุขอนำมัย ซึ่งสิ่งเหล่ำนี้ล้วนแต่เป็นปัจจัยที่มีผลต่อกำรตัดสินใจ ซื้ อ ของผู ้ บ ริ โ ภค นอกเหนื อ จำกควำมจงรั ก ภั ก ดี ที่ ผู ้ บ ริ โ ภคมี ต ่ อ แบรนด์นั้นๆ อย่ำงไรก็ตำม ในกระบวนกำรผลิตของอุตสำหกรรมอำหำรและ เครื่องดื่ม ร่ำงกำยมนุษย์ถือเป็นสิ่งที่มีควำมเสี่ยงและไวต่อกำรปน เปื้อนของเชื้อโรค ซึ่งอำจส่งผลต่อคุณภำพของกระบวนกำรผลิต เนื่องจำกทุกขั้นตอนของกระบวนกำรผลิต รวมถึงอุปกรณ์ทุกชิ้นที่ใช้ ในกระบวนกำรผลิตต้องมีคุณภำพ ได้มำตรฐำนตำมหลักสำกล ส�ำหรับกระบวนกำรผลิตในอุตสำหกรรมอำหำรและเครื่องดื่ม สมัยใหม่ที่มีกำรประยุกต์ใช้กระบวนกำรผลิตอำหำรแบบอัตโนมัติ (Automated Food) ที่จ�ำเป็นต้องใช้ Handling Equipment ซึ่ง ‘พินช์วำล์ว’ (Pinch Valves) ถือเป็นส่วนประกอบส�ำคัญอย่ำงหนึง่ ของ ระบบกำรผลิตในอุตสำหกรรมอำหำรและเครือ่ งดืม่ ทีม่ กี ำรใช้งำนกันอย่ำง แพร่หลำย ทว่ำกำรใช้งำน ‘พินช์วำล์ว’ อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุดนัน้ มีปจั จัยส�ำคัญทีผ่ ปู้ ระกอบกำร หรือเจ้ำของกิจกำรต้องพิจำรณำ ดังนี้
FOOD PROCESSING
ปลอดการปนเปื้อน (Non – Contamination)
ป้องกันการเจริญเติบโต ของแบคทีเรียอันไม่พึงประสงค์ (Prevention of Undesired Bacteria)
91
ติดตั้ง บ�ารุงรักษา และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้ง่าย (Easy Installation, Maintenance and Replacement)
ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการใช้งานพินช์วาล์ว ของอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม การตอบสนองที่ ไวต่อสิ่งปนเปื้อน ของร่ายกายมนุษย์ เป็นปัจจัยทีต่ อ้ งได้รบั พิจารณาถึงอย่างส�าคัญที่สุด เนื่องจาก มี ผลต่ อ สุ ข ภาพของผู ้ บ ริ โ ภคและอาจ ท�าลายภาพลักษณ์ของสินค้า หากเกิด การปนเปื้อนในระบบการล�าเลียง ท่อ ปั๊ม หรือวาล์ว รวมถึงสารหล่อลืน่ ในระบบ ซึง่ อาหารอาจจะต้องสัมผัสโดยตรง จะเห็นได้ ว่าวงการอาหารและเครือ่ งดืม่ ส่วนใหญ่จะ ติดฉลากไว้บนบรรจุภัณฑ์ว่า ‘ปลอดสาร ไนเตรท’ เพื่อหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิด ที่อาจเกิดขึ้นเกี่ยวกับสารปนเปื้อน หรือ แม้แต่การใช้ Bleach เพีอ่ ท�าความสะอาด ระบบท่อเพื่อก�าจัดกับ Salmonella ที่ เป็นปัญหากับเนื้อสดและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในกระบวนการผลิตก็ตาม
การเจริญเติบโตและการแพร่ขยาย ของเชื้อแบคทีเรียอันไม่พึงประสงค์ เช่น E.Colli หรือ Salmonella ถือเป็นปัญหา อย่างมากในระบบการผลิตและแปรรูป อาหาร ซึ่งโอกาสที่เครื่องไม้ เครื่องมือ จะเป็นต้นเหตุในการเพาะเชื้อและสัมผัส อาหารโดยตรงนั้ น ก็ มี เ ช่ น กั น ดั ง นั้ น ปัจจุบันอุปกรณ์ส�าหรับ Automated เหล่านั้นมักถูกบรรจุมาในถุงที่ผ่านการ สเตอริไลซ์เพื่อลดการปนเปื้อน และการ ใช้งานจะมีการใช้วัสดุที่ 3 เช่น ท่อส่ง ท�าหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางทีท่ า� ให้วาล์วไม่ตอ้ ง สัมผัสกับอาหารโดยตรง
ข้อจ�ำกัดของ ‘พินช์วำล์ว’ ‘พินช์วำล์ว’ มีกำรใช้งำนที่เฉพำะเจำะจง ตัวโซลินอยด์นั้นเป็น ระบบไฟฟ้ำ และวำล์วเป็นแบบ Pneumatic ซึ่งได้รับกำรออกแบบมำ ให้รองรับกับแรงดันอำกำศแบบแปรผัน โดยกำรส่งต่อวัตถุดิบนั้นจะ เป็นกำรส่งต่อหรือผ่ำนตัวกรอง แต่จะไม่ให้สมั ผัสโดยตรงกับผลิตภัณฑ์ ปลำยทำง แรงดันทั่วไปอยู่ที่ 20 - 30 psi ส�ำหรับขนำด 65 - A และสำมำรถใช้ได้ถึง 80 psi ส�ำหรับขนำด 75 – A ต้องหมั่นสังเกต กำรท�ำงำนควบคู่กัน ระหว่ำงแรงดันวำล์วและขนำดท่อ เพื่อสังเกต ดูผลกำรเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะน�ำมำปรับปรุงกำรใช้งำนให้เหมำะสม รวมถึงกำรซ่อมบ�ำรุงรักษำอย่ำงถูกต้องและทันท่วงที นอกจำกนี้ ยังมีกระบวนกำรผลิตและแปรรูปอำหำรอีกมำกมำยที่ เครื่องมือนั้นสัมผัสกับวัตถุดิบหรืออำหำรโดยตรง ซึ่งก่อให้เกิดควำม เสี่ยงทั้งทำงด้ำนกำรปนเปื้อนและเป็นแหล่งเพำะเชื้อแบคทีเรียได้ เป็นอย่ำงดี ‘พินช์วำล์ว’ จึงถือเป็นอีกหนึ่งทำงเลือกในกำรใช้งำน ในกระบวนกำรผลิตและแปรรูปอำหำร ซึ่งมุ่งเน้นควำมปลอดภัย โดยปัจจุบันนิยมใช้ในงำนกำรผลิตทำงด้ำนเภสัชกรรม ซึ่งกำรใช้ ‘พินช์วำล์ว’ ในกำรผลิต ถือเป็นส่วนประกอบที่ดีส�ำหรับมำตรฐำน กำรผลิตและแปรรูปอำหำรในอนำคต
การบ�ารุงรักษาถือเป็นเรือ่ งจ�าเป็นและ ต้องด�าเนินการตามระยะเวลาที่ก�าหนด เป็นมาตรฐาน ซึ่งอุปกรณ์อย่าง ‘พินช์ วาล์ว’ ไม่จ�าเป็นต้องสัมผัสกับอาหาร โดยตรง สามารถด�าเนินการผ่านท่อหรือ แผ่นกรอง การซ่อมบ�ารุงจึงสามารถท�าได้ ง่ายและสม�่าเสมอ โดยไม่จ�าเป็นต้องปิด ระบบการท�างานทั้งหมด ท�าให้ประหยัด เวลาและทรัพยากรเมือ่ เทียบกับระบบการ ผลิตแบบเดิม
Source: The Use of Pinch Valves in Food and Beverage (BIMBA Whitepaper)
EXECUTIVE SUMMARY In food processing or food production line, the consumer’s safety is the most important issue. Pinch valve is one of the factors in production line that reduce the contamination in manufacturing process through its physical use. Pinch valve will send the material through tube or membrane layer to the targeted object. The operation of pinch valve has been avoiding to touch the product directly. It is electric - solenoid and air - pneumatic valves that operate with 20 - 80 psi pressure which depends on the specification of valve and tube.
issue 165 november 2016
88 MAINTENANCE เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์
Condition Based Maintenance แนวทางการน�า CBM มาใช้ และการเตรียมความพร้อม การซ่อมบ�ารุงตามสภาพ (Condition Based Maintenance: CBM) คือ การซ่อมบ�ารุงเครือ่ งจักรตามแนวความ คิดการซ่อมบ�ารุงเชิงคาดการณ์ (Predictive Maintenance Concept) เป็นการคาดคะเนอัตราการเสื่อมสภาพของ เครื่องจักร โดยใช้เครื่องมือหรือวิธีการให้ได้มาซึ่งข้อมูล ที่สามารถน�าไปวิเคราะห์และคาดการณ์สภาพที่แท้จริง ของเครื่องจักรได้ ซึ่งจะช่วยให้การวางแผนซ่อมบ�ารุง เครื่องจักรเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
PROACTIVE MAINTENANCE (PaM) คือ ระบบเชิงรุก บ�ารุงรักษา หยัง่ รู้ ขจัดปัญหา หาสาเหตุ ผิดปกติ แก้ไข-ปรับสภาพเครื่องจักรก่อนการใช้งาน ในกระบวนการผลิต ท�าให้เกิดการเสียหายและความ ขัดข้องต�่าลง อายุการใช้งานยาวนาน เพิ่มผลผลิต และ ลดค่าใช้จ่าย
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
> จะหยั่งรู้ หาสาเหตุ ต้นตอของปัญหา เพื่อขจัดปัญหาได้อย่างไร ต้องรู้ว่าเครื่องจักรขัดข้อง อุปกรณ์ เสียบ่อยเพราะอะไร (โรคประจ�าตัว)
โรคประจ�าตัวของ MOTOR Bearing ขดลวดไฟฟ้า พัดลม ขั้วต่อไฟฟ้า
50% 25% 15% 10%
โรคประจ�าตัวของ PUMP Misalignment 50-60% Bearing 30% Seal 15% Impeller 5%
MAINTENANCE 89
โรคประจ�าตัวของ GEAR
Bearing Tooth Gear Other
โรคประจ�าตัวของ BEARING
49% 41% 10%
การหล่อลื่นไม่เพียงพอ การปนเปื้อน / สกปรก การติดตั้ง ภาระโหลด การจัดเก็บ อื่นๆ
> ท�าให้เครื่องจักรไร้ปัญหา ท�าอย่างไร ค�ำถำมที่ต้องตอบ
แหล่งข้อมูล
• • • • •
• • • • • • •
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรคืออะไร ต้องใช้เวลาเท่าไรในการคืนสภาพเครื่องจักร ปัญหาที่เกิดมีระดับความรุนแรงเท่าใด ปัญหาที่เกิดมีต้นเหตุหลักจากอะไร ถ้าไม่สามารถหยุดบ�ารุงรักษา เครื่องจักรสามารถอยู่ได้ อีกนานเท่าไร • ท�าอย่างไรจึงจะไม่เสียหายซ�้าอีก
สารหล่อลื่น
54%
ประวัติข้อมูลการเสีย การขัดข้องของเครื่องจักร (History) สถิติ ความถี่ ของการเบิกใช้ วัสดุ อะไหล่ (Spare Part) ตัวแทนจ�าหน่าย (Maker) ฝ่ายซ่อมบ�ารุง (Maintenance) พนักงานผลิต ควบคุมเครื่องจักร (Operator) การเปรียบเทียบเครื่องจักรขนาดเท่ากัน ท�างานเหมือนกัน ผู้ช�านาญการเฉพาะด้าน
คือ การคาดคะเนอัตราเสื่อมของเครื่องจักร จาก ผลการวัดโดยใช้เครื่องมือ จะท�าให้ได้ข้อมูลที่ สามารถคาดคะเน ท�านาย พยากรณ์อาการช�ารุด ในปัจจุบนั เพื่อสามารถวางแผน เพื่อท�าการบ�ารุง รักษาเครื่องจักรในอนาคต
การท�า Predictive (CBM) นี้ ต้องใช้เครือ่ งมือวัด ทีท่ นั สมัย ใช้ทกั ษะของผูต้ รวจสอบและผูช้ า� นาญการ ในการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง ซึ่งท�าให้มีการตรวจวัด และวิเคราะห์สูง ด้วยเหตุผลนี้ การบ�ารุงรักษาแบบ พยากรณ์ลว่ งหน้านี้ จึงเหมาะกับโรงงานทีม่ เี ครือ่ งจักร ซับซ้อน ต้องการความเชื่อถือในกระบวนการผลิต สูง ในแง่การผลิตทันเวลา หรือเครื่องจักรนั้น เป็น เครื่องจักรที่ต้องท�างานอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการ หยุดพัก
Source: จากเอกสารงานสัมมนา แนวทางการน�า CBM มาใช้ และการเตรียมความพร้อม โดย สุเมธ อัศวศิลาวสุกุล ผู้จัดการแผนกบ�ารุงรักษาเชิงคาดการณ์ สถาบันไทย-เยอรมัน
จะเห็นได้ว่า วิธีการซ่อมบ�ารุงตามการเสื่อม สภาพของเครื่องจักร (CBM) ทั้งในเชิงรุกและ เชิงพยากรณ์ สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในการ วางแผนการซ่อมบ�ารุงของแต่ละโรงงานได้ตาม ความเหมาะสม ซึ่งจะท�าให้เครื่องจักร อุปกรณ์ การผลิต ใช้งานอย่างคุ้มค่า เพิ่มผลผลิต และ ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ารุงและการจัดเก็บ รักษา และส่งผลในการสร้างผลก�าไรตามมา
PREDICTIVE MAINTENANCE
34.4% 19.6% 17.7% 6.9% 2.8% 18.6%
EXECUTIVE SUMMARY Condition Based Maintenance: CBM is a maintenance method that use predictive maintenance concept to predict degeneration rate of the machinery by using specific tools or a method to gain information that could use to analyze and predict the real condition of the machine. To predict or forecast the machinery’s condition, you must gather enough information in order to understand the circumstance or the cause of that machinery problem and understand how long does the machine can operate under continuously maintenance proceed, included preventative method to prevent repeated-accident. This predictive concept could support in machinery maintenance strategy to be efficiency and properly. issue 165 november 2016
90 TECHNOLOGY
เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร
ภัยไซเบ ร์ เรื่องใกล้โรงงานกว่าที่คิด เมื่อโลกได้ก้าวย่างเข้าสู่ยุคสมัยแห่งดิจิทัล การเชื่อมต่อและระบบเครือข่ายเอื้อให้สามารถ ด�าเนินการผลิตในขัน้ ตอนต่างๆ ได้อย่างสะดวกสบายและมีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ที่เริ่มมีการใช้ระบบ M2M (Machine to Machine) เข้ามาเกี่ยวข้องในระดับของพื้นที่ปฏิบัติการ แม้กระทั่งระบบ Cloud ที่เข้ามาช่วยใน การสนับสนุนการท�างาน การเก็บข้อมูล และการสั่งงานผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย ก็สามารถท�าได้ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
TEChnology
เมื่อศักยภาพและผลประโยชน์ได้เกิดขึ้นอย่าง มากมายจากเทคโนโลยี รวมถึงการปฏิบตั งิ านภายใต้ ระบบเครือข่ายที่มีความส�าคัญเพิ่มขึ้นตามล�าดับ ท�าให้ภยั ไซเบอร์จากกลุม่ มิจฉาชีพทีม่ งุ่ ผลประโยชน์ ในทางมิชอบฉวยโอกาสท�าลายระบบเครือข่าย และ มุ่งสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับเครือข่ายการ ท� า งานของภาคอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะ ICS (Industrial Control System) ซึง่ กลายเป็นหนึง่ ในเป้า หมายที่ถูกโจมตี เนื่องจากเป็นภาคธุรกิจที่มีการ เชือ่ มต่ออุปกรณ์อจั ฉริยะ ผ่านระบบ IT ขององค์กร ธุรกิจ ทั้งรูปแบบของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือ กระบวนการผลิตต่างๆ ทีม่ รี ะบบเครือข่ายเกีย่ วข้อง มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ทั้งนี้ การโจมตีองค์กรธุรกิจที่เป็นผู้ผลิตในภาค อุตสาหกรรมนัน้ มีจา� นวนเพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง รองจากอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องด้านสุขภาพ ซึ่งใน ปีที่ผ่านมา พบว่า ผู้ผลิตยานยนต์ตกเป็นเป้าหมาย การโจมตี ม ากถึ ง 30% ของการโจมตี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทัง้ หมด ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมเพือ่ รับมือกับ การโจมตีทางไซเบอร์นน้ั ถือเป็นอีกหนึง่ ปัจจัยส�าคัญ ที่ต้ององค์กรธุรกิจสมัยใหม่ต้องเผชิญ
ICS ทัง้ หมด รวมถึงการตรวจตราผูเ้ ข้าถึงและใช้งาน ผ่านการบันทึกข้อมูลอย่างละเอียด จะเป็นหนทาง หนึ่งในการปกป้องระบบนี้ รวมถึงการเข้าถึงผ่าน เครือข่ายภายนอกและการเข้าถึงทีต่ วั เครือ่ งโดยตรง เช่นกัน
91
ภัยคุกคาม ICS อาจไม่สามารถ มองเห็นหรือเข้าถึงได้ง่ายดาย เช่นดังเครือข่าย IT ทั่วไป เนื่องจากอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆ มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ดังนั้น กระบวนการท�างานอัตโนมัติ ของอุตสาหกรรมและเครื่องมือที่ใช้ ในการควบคุมการท�างาน (I/Os) จึงถือว่ามีความส�าคัญมาก ในการด�าเนินงาน
CS ภัยคุกคาม ที่องค์กรธุรกิจมองไม่เห็น
จากข้อมูลพบว่าบริษทั ผูผ้ ลิตหลายแห่งนัน้ ไม่ได้ มีการตรวจสอบระบบป้องกัน รวมถึงท�าการจ�าลอง การโจมตีทอี่ าจเกิดขึน้ ได้ แม้กระทัง่ ฝ่าย IT ทีม่ หี น้าที่ รับผิดชอบโดยตรงก็ตาม ซึ่งเมื่อเป็น ICS กลับยิ่ง กลายเป็นปัญหาที่ถูกละเลยมากขึ้นยิ่งกว่าเดิม นับ เป็นปัญหาด้านความเข้าใจทีผ่ ดิ และถูกละเลย ทัง้ ที่ มีความเสี่ยงและความสูญเสียอยู่ในระดับใกล้เคียง กันกับภัยคุกคามไซเบอร์อื่นๆ ทั้งนี้ ชิ้นส่วนควบคุมอย่าง PLCs RTUs และ DCS มีระบบการท�างานทีร่ องรับระบบการผลิตของ อุตสาหกรรม ท�างานภายใต้สภาวะแวดล้อมต่างๆ และยั ง มี บ ทบาทส� า คั ญ ในกระบวนการซั บ ซ้ อ น ละเอียดอ่อนอีกด้วย เช่น การจัดการระบบพลังงาน ซึง่ การโจมตี ICS ไม่จา� เป็นต้องมีโปรแกรมทีซ่ บั ซ้อน ยุ่งยาก แต่หากถูกเข้าถึงแล้วจะสามารถท�าการ ควบคุมเครือ่ งมือต่างๆ ได้ทงั้ หมด รวมถึงการตัง้ ค่า เงือ่ นไขพืน้ ฐานโลจิสติกส์ของระบบใหม่ ดังนัน้ การ ท�าความเข้าใจช่องทางและระบบการท�างานของ
issue 165 november 2016
92 TECHNOLOGY
และ Industry 4.0 ปราการด่านนี้ถูกท�าลายลงไป ก่อให้เกิดการเชื่อมต่ออันทรงพลังจากทุกทิศทาง ซึ่งท�าให้ง่ายต่อการโจมตีมากยิ่งขึ้น
การสื่อสารผ่าน Protocol บนเครือข่าย ช่องว่างของการถูกโจมตี อย่างไรก็ตาม หนึ่งในปัจจัยที่ก่อให้เกิดความ เสี่ยงสูงส�าหรับการควบคุมปัจจัยเหล่านี้ คือ การ สื่อสารผ่าน Protocol ที่มีมากมายหลากหลายบน เครือข่าย ICS ซึง่ Data Plane Protocol มาตรฐานอย่าง Modbus และ DNP3 นั้นมักถูกใช้โดยแอปพลิเคชัน HMI SCADA DCS เพือ่ สือ่ สารส่งข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เช่น สถานะการท�างาน อุณหภูมิ โดย Control Plane Protocol ใช้ในการตัง้ ค่าตัวควบคุมออโตเมชัน เปลี่ยนค่าการท�างานต่างๆ การอัพเกรด ฯลฯ เหล่า นี้จะแตกต่างไปตามผู้ให้บริการ ซึ่งแต่ละรายจะใช้ มาตรฐาน IEC-61131 ของตัวเองแตกต่างกันออก ไปส�าหรับ Programmable Controller ท�าให้ยากที่ จะเรียนรู้และตรวจสอบพฤติกรรมที่เป็นภัยคุกคาม ในสมัยก่อน Air Gaps หรือช่องว่างในอากาศ จะเป็นปราการป้องกันภัยทีม่ ปี ระสิทธิภาพอย่างมาก ท�าการแยกเครือข่ายอุตสาหกรรมออกจากเครือข่าย ทั่วไปและเครือข่ายธุรกิจ แต่เมื่อมาถึงยุคของ IoT
ทางเลือกหรือทางรอด ในการปกป้อง ICS
ส�าหรับแนวทางในการปกป้อง ICS ที่สามารถ ด�าเนินการได้ ประการแรก คือ ท�าให้ระบบ ICS นั้น สามารถเข้าถึงและปรากฏแสดงผลได้อย่างชัดเจน เพือ่ ทีจ่ ะสามารถวางแผนและด�าเนินการป้องกันจาก ภัยคุกคามทางไซเบอร์ สามารถสอดส่องและจับตา ดูการท�างานและสถานะของทุกอย่าง โดยเฉพาะ อุปกรณ์ควบคุมสั่งงานถือเป็นหัวใจส�าคัญ รวมถึง การมีชุดค�าสั่งส�ารอง Logic รหัส Code ส�ารองและ Firmware ส�าหรับอุปกรณ์เครื่องมือทั้งหมดเตรียม พร้อมส�าหรับการด�าเนินการ เมื่อสามารถจัดการขั้นพื้นฐานได้แล้ว ขั้นตอน ต่อไป คือ การเฝ้าติดตามสอดส่องการท�างานของ ตัวควบคุมอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้า ถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต เนื่องจากตัวควบคุมนั้นมักถูก ปรับแต่งโดยบุคคลหรือซอฟต์แวร์ที่ 3 (Third Parties) ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ มี ห น้ า ที่ ใ นการจั ด การโดยตรง ท� า ให้ ไ ม่ สามารถติดตามและแก้ไขได้ทันท่วงที ดังนั้น การ จั ด การติ ด ตามข้ อ มู ล อย่ า งสม�่ า เสมอ รวมถึ ง ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการควบคุม ดูแลระบบเครือ ข่ายจะสามารถช่วยให้เห็นช่องโหว่และป้องกันการ
การโจมตีทาง ICS นั้นจะเป็นการ ก่อกวนการตั้งค่า เปลี่ยนกระบวนการ ท�างาน โดยด�าเนินการผ่านตัวควบคุม จะเป็นเรื่องง่ายที่สุด ผู้โจมตีสามารถ ดาวน์โหลด Control Logic เพือ่ ติดตัง้ ทับลงไปในตัวควบคุม ท�าให้ ไม่มีวิธี มาตรฐานกลางในการควบคุมและ จัดการปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้เมื่อถูกเข้าถึง
ถูกโจมตีได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจ�ากัดสิทธิ์และระดับของผู้ใช้ในการเข้าถึงระบบ
Source: https://goo.gl/fV1cwR
EXECUTIVE SUMMARY This is an cyberage, the era that everything became digitalize and cyber, even on the factory floor. The threat from hacker could cause harm and loss extremely to a business which many factories always overlook on this issue. The cyber threat would be affected the data, information, documents and cost. We are moving into advance technology era where the machineries could communicate between themselves and exchange the data via autonomous program which no need of human to operate the whole system anymore. The risk of cyber threat for ICS (Industrial Control System) for the machinery in cyber era are causing excessive impact and damage the business directly. When the ICS has been attacked and the hacker reached it, that would be an easy task to control all over the system that link together. The ICS system wouldn’t show on the network clearly seen as the other types of network. To fix and prevent the threat, ICS must be showed and clearly seen on the network and prepared code, firmware, logic and sources in order to make a move immediately when an unattended threat occurred. The process need to follow up and investigate the authorization of access continuously, particular for unauthorized access
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
CONFERENCE HIGHLIGHTS
@ METALEX 2016
MODERN MANUFACTURING MAGAZINE
พลาดไม่ได้! ส่งท้ายปลายปีนี้ กับงานแสดงเครื่องจักรกลและเทคโนโลยี โลหการที่อลังการที่สุดอย่าง The Grand METALEX 2016 ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 - 26 พฤศจิกายน ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา นอกจาก เทคโนโลยีล่าสุดจากทั่วโลกที่จะมาน�าเสนอสู่สายตาผู้เข้าร่วมชมแล้ว ยังมีการ สัมมนาในหัวข้อทีน่ า่ สนใจหลายหัวข้อ ดังเช่น METALEX Engineer Forum 2016 ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมรอบด้านเพื่อวิศวกรโดยเฉพาะ
ในทุกหัวข้อเปี่ยมด้วยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขามาร่วม ให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนมุมมอง อีกทั้ง ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับ Certificate เมื่อลงทะเบียนล่วงหน้าและเข้าฟังสัมมนา METALEX Engineer Forum 2016 ตัง้ แต่ 2 หัวข้อเป็นต้นไป (โดยหนึง่ ในหัวข้อทีต่ อ้ งเข้าร่วมคือ “สร้างวิศวกรยุค 4.0 ด้วยเทคนิคการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์”)
ไฮไลท์หัวข้อสัมมนาที่ ไม่ควรพลาด! วันพุธ 23 พฤศจิกายน 2559
วันพฤหัสบดี 24 พฤศจิกายน 2559
“ติดปีกทักษะวิศวกรไทย ทะยานสู่ยุคยานยนต์สมัยใหม่"
“พลิกเส้นทางวิศวฯ สู่ยุคดิจิตอล 4.0 โอกาสหุ่นยนต์ ทางรอดวิกฤติแรงงาน”
เวลา 12.30 – 15.30 น. ณ ห้องสัมมนาแกรนด์ฮอลล์ 201 - 202
เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้องสัมมนาแกรนด์ฮอลล์ 201 - 202
Highlight Speaker : 1. นายถาวร ชลัษเฐียร รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. ผศ.ดร. ยศพงษ์ ลออนวล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี และ นายกสมาคมยานยนต์ ไทย
Highlight Speaker : รศ.ดร. ชิต เหล่าวัฒนา ที่ปรึกษาสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ ภาคสนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วันเสาร์ 26 พฤศจิกายน 2559 วันศุกร์ 25 พฤศจิกายน 2559 “นวัตกรรมก่อสร้างใหม่ สร้างโลกอนาคตในไทย ด้วยโฉมใหม่แห่งเทคโนโลยี” เวลา 09.30 – 11.15 น. ณ ห้องสัมมนาแกรนด์ฮอลล์ 201 - 202
“สร้างวิศวกรยุค 4.0 ด้วยเทคนิคการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์” เวลา 13.00 – 15.30 น. ณ ห้องสัมมนาแกรนด์ฮอลล์ 201 - 203 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ Highlight Speaker : ดร. ทอง พุทธรอด กรรมการผู้จัดการ NTP Consultant Group
Highlight Speaker : รศ.ดร. คมสัน มาลีสี คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
“ธุรกิจครอบครัวกับการขับเคลื่อนด้วยนวัตรกรรม”
The 5th Metallurgy Forum (บรรยายภาษาอังกฤษ)
เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุม MR 224 - 225
“Shaping a bright future of aluminium with fundamental and technology”
Japanese Management Style #5 (บรรยายภาษาไทย)
เวลา 08.30 – 16.00 น. ณ ห้องสัมมนาแกรนด์ฮอลล์ 203 สัมมนาที่จะพาทุกท่านร่วมอัพเดตเทคโนโลยีด้านวัสดุศาสตร์และเทรนด์ อุตสาหกรรมอนาคต รวมถึงแนวโน้มอนาคตของอลูมิเนียมในอุตสาหกรรม
นอกจากนี้ ยังมีสัมมนาอื่นๆ อีกหลายหัวข้อ รอท่านอยู่ในงานนี้ ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู ้ แ ละทั ก ษะที่ ส อดคล้ อ งกั บ การพัฒนาอุตสาหกรรม อีกทั้ง ยังเพิ่มโอกาสในการสานเครือข่าย พันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจน ปูทางสู่อนาคตทางธุรกิจให้ก้าวไกลยิ่งขึ้น
Family Business Innovation Forum 2016 (บรรยายภาษาไทย)
การบริหารสไตล์ญี่ปุ่น เคล็ดไม่ลับส�าหรับนักอุตสาหกรรมไทย ครั้งที่ 5 “เคล็ดลับการท�างานสไตล์ญี่ปุ่น ให้ประสบความส�าเร็จ ในบริษัทญี่ปุ่นยุคใหม่” เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม MR 224 - 225
ท่านสามารถติดตามสัมมนา ที่น่าสนใจอื่นๆ อีกมากมายได้ที่ http://www.metalex.co.th/en/Conferences/# ส�ำรองที่นั่ง หรือสอบถำมข้อมูลเพิ่มเติม กรุณำติดต่อ Contact Center Tel: 0 2686-7222 Fax: 0 2686-7266 E-mail: contactcenter@reedtradex.co.th Website: http://www.metalex.co.th issue 165 november 2016
NO.165 11/2559
ลุนรับรางวัลงายๆ
เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ
ที.เอ็น.เมตัลเวิรค บจก. เพาเวอรเรด บจก. จีทีเอ็ม บจก. Tel: 0-2731-1191#131
การดเนอร เดนเวอร (ประเทศไทย) บจก. ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอรไพรซ บจก. Fax: 0-2769-8043
ชื่อ :
บริษัท :
อีเมล :
เบอรโทรศัพทมือถือ :
Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :
the comprehensive guide book for building and construction industry ครบครันทุกข อมูลก อสร าง วัสดุอุปกรณ และงานบร�การ
www. Thailand Builders .in.th สำหรับผู ที่ต องการรับไดเรกทอร�่ฟร� กรุณากรอกข อมูลใบแบบฟอร มด านล าง
และส งกลับมาที่ฝ ายการตลาด - เบอร แฟกซ 0-2769-8043 หร�อ info@greenworldmedia.co.th สอบถามข อมูลเพ��มเติมที่ โทร 0-2731-1191 ถึง 4 ต อ 102
ชื่อ-นามสกุล
ตำแหน ง
บร�ษัท
ประเภทธุรกิจ
ที่อยู รหัสไปรษณีย เบอร โทร
เบอร แฟกซ
เวบไซต
อีเมล * สงวนสิทธิ์สำหรับผู ที่กรอกข อมูลครบถ วนเท านั้น
Editor’s Pick 103
อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับอุตสำหกรรม เกี่ยวกับน�้ำ/น�้ำเสีย จำก AMETEX Model 575 และ 575P Submersible Level Transmitters • ได้รบั การรับรองส�าหรับใช้ในพืน้ ทีอ่ นั ตรายระดับ Class I, Div 1 • Diaphragm เป็นแบบ Standard (316 Stainless Steel) หรือแบบ Flush เพื่อง่ายต่อการท�าความ สะอาด • มีช่วงการวัด (Measuring Ranges) สูงจนถึง 690 ฟุตของน�้า • มี Diaphragm แบบ Flush ที่มีการป้องกันให้ เลือกพร้อม Hastelloy C Diaphragm ส�าหรับใช้กับน�้าเสีย • ใช้ได้กับของเหลวชนิดต่างๆ และน�้ากากตะกอนข้น (Sludge Slurries) • มีทั้งแบบแช่ในของเหลว (Submersible) หรือติดตั้งภายนอก งานที่ ใช้ : ถั ง ผสมสารเคมี , ถั ง เก็ บ สารเคมี เ หลว, สถานี สู บ น�้ า , กระบวนการท�าให้ตะกอนลอยตัวด้วยอากาศที่ละลายในน�้า (Dissolved Air Floatation), การบ�าบัดน�้าเสียด้วยวิธีทางเคมี Model 675 Submersible Level Transmitters • ได้รบั การรับรองส�าหรับใช้ในพืน้ ทีอ่ นั ตรายระดับ Class I, Div 1 • Cage Assembly เป็นแบบ Heavy Duty เพื่อ ใช้วางไว้ที่ก้นบ่อเปียกส�าหรับเก็บน�้าเสีย (Wet Well) • โครงสร้างเป็น 316 SST เพื่อความทนทาน • ใช้ Flush Diaphragm ขนาด 3.5” เพื่อป้องกัน การจับพอกของของเสียบน Sensor • มีช่วงการวัดสูงจนถึง 690 ฟุตของน�้า • เหมาะส�าหรับใช้กบั น�า้ กากตะกอนข้น (Sludge Slurries) เป็นอย่างมาก งานที่ใช้: สถานีสูบน�้าเสียขึ้นจากบ่อรวบรวมน�้าเสีย (Lift Stations) Model SST Slimline Submersible Level Transmitters • มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 0.69 นิ้ว เพื่อใช้ กับระบบที่เป็นรูขนาดเล็ก • มีช่วงการวัดสูงจนถึง 345 ฟุต ของน�้า • น�้าหนักเบา (8 oz. โดยไม่รวมสาย Cable) ส�าหรับใช้กับบ่อน�้าลึก (Deep Wells) • Output เป็นแบบ 2 Wire 4-20 mA • หล่อหุ้มภายในและปลายสาย Cable ไว้ด้วย Silicone เพื่อป้องกันความชื้น • Snub Nose แบบถอดได้เพื่อให้ง่ายต่อการ ท�าความสะอาด งานทีใ่ ช้: การควบคุมปัม๊ หรืองานอืน่ ทีต่ อ้ งการการวัดระดับแบบต่อเนือ่ ง ในระบบที่เป็นรูขนาดเล็ก สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ KANIT ENGINEERING CO., LTD. Tel: 0-2642-8762-4 Fax: 0-2248-3006 E-mail: sales1@kanitengineering.com Website: www.kanitengineering.com
ผู้แทนจ�ำหน่ำยสินค้ำระดับโลก RS Components RS Components คือศูนย์รวมผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์ทางด้านอุตสาหกรรม และอิเล็คทรอนิกส์ที่คอยให้บริการและตอบโจทย์ความต้องการของวิศวกร และฝ่ายจัดซื้อมานานกว่า 75 ปี ..ที่นี่ คุณสามารถเลือกซื้อทุกสินค้าได้ในที่เดียว และมีให้เลือกมากกว่า 500,000 รายการ ..ทีน่ ี่ คุณสามารถเลือกซือ้ โดยไม่จา� กัดจ�านวน ไม่วา่ จะเพียงชิน้ เดียวหรือ หลายพันชิ้น ..ที่นี่ คุณสามารถค้นหาสินค้าได้อย่างรวดเร็วผ่านเว็บไซด์และโซลูชั่น ต่างๆ ที่คอยอ�านวยความสะดวกแก่คุณ ..ที่นี่ คุณมั่นใจได้ถึงคุณภาพของสินค้า เพราะเราคัดสรรมาจาก 2,500 แบรน์ดชั้นน�า ..ที่นี่ คุณเชื่อมันได้ถึง ราคาที่คุ้มค่า โดยไม่ต้องเสียเวลาเปรียบเทียบ กับที่อื่นอีกต่อไป
Same High-Quality Own Label Products เลือกคุณภาพสูงสุด ด้วยราคาคุ้มค่าเหนือความความหมาย ทุกผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ RS Pro ล้วนผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน อุตสาหกรรม และเป็นที่ยอมรับในกลุ่มผู้ใช้งานด้าน วิศกวกรรมเป็นอย่างดี ครบครันด้วยผลิตภัณฑ์มากมายมากว่า 40,000 รายการ ซึ่งคุณสามารถ มั่นใจได้ถึงคุณภาพที่ไม่เป็นรองใครด้วยตรา RS Seal of Approval พร้อม กับการรับประกันการใช้งานถึง 3 ปี และที่ส�าคัญที่สุดด้วยราคาที่คุ้มค่า จะช่วยให้คุณประหยัดได้มากถึง 30% เมื่อเทียบกับแบรนด์ชั้นน�าทั่วไป พิสูจน์ด้วยตัวคุณเองที่ th.rs-online/rspro ผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดจาก RS Pro
ATEX ทรานสมิตเตอร์วัด แรงดัน รุ่น IPS & IPSs ซีรีย์
พาวเวอร์ซัพพลายแบบ Single Output Switching รุ่น DRA ซีรีย์
ปุ่มกดแบบ DPDTMomentary ขนาด 19 mm ท�าจากแสตนเลทสตีล
Multi Timer แบบ NO/NC Contacts
หัวปลั๊กคอนเน็คเตอร์ รุ่น ZC Series, 8 Pole Cable Mount Minature Connector Plug
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ RS COMPONENTS CO., LTD. Tel: 0-2648-6868 Email: onlinehelp.TH@rs-components.com Website: th.rs-online.com issue 165 November 2016
ขอ มลูผส ูมคัรสมาชกิ ชื่อ (Name)
นามสกลุ (Surname)
ตำแหนง งาน
เบอร โทรศพัท (Telephone)
เบอร โทรสาร (Fax)
สมคัรสมาชกิ นติยสาร Modern Manufacturing
มอืถอื (Mobile)
ตั้งแตฉ บบั
ถงึ ฉบบั
ทอ ียท ู ีใช ในการจดัสง บร�ษทั
แผนก/หนว ยงาน
เลขที่
หม ู
แขวง/ตำบล
ประเภทอตุสาหกรรม เขต/อำเภอ
จงัหวดั
รหสัไปรษณยี
ว�ธกีารชำระเง�น โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชอ ืบญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214 เชค็ขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั
subscribe now!
840 บาท