Modern Manufacturing Magazine : September 2016

Page 1

Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

COMPRESSED AIR SALES | SERVICE | PARTS | RENTALS

REDUCE ENERGY.

MAXIMIZE EFFICIENCY. SAVE MONEY.

25%

Variable Speed Compressor at 70% load Investment

Typical

Energy Saving 12

10% 8%

operating at 70% load

5

%

%

Fixed Speed Compressor Investment

Maintenance & Service Costs

82

58

%

Energy Cost

Energy Cost

Energy Cost

Energy Saving

%

Maintenance & Service Costs Energy Cost

Perfect response to your individual air demand – wide turndown range allows

Call today and start saving!

ประยูร เชี่ยววัฒนา ผูนำในการขับเคลื่อนองคกร แหงคำวา ‘มาตรฐาน’

ซี.เอ.เอส. เปเปอร ชูกระบวนการบริหารจัดการคลังสินคา ดวย WMS และเทคโนโลยี RFID

‘กันไว... ดีกวาแก’ กรณีศึกษาอุบัติภัยโรงงาน ในตางประเทศ

p. 70

p. 74

p. 86



GBS ชู ‘คน’ เป นข�มทรัพย

และประสบการณ การเร�ยนรู

คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู จัดการ

บร�ษัท กลอบอลซีล จำกัด (GBS)


booth no. ae01 / hall 98



VISITORS’ 1ST CHOICE MEET THE COMPLETE VALVE

SPECTRUM

10 t h B i e n n i a l V a l v e W o r l d C o n f e r e n c e & E x h i b i t i o n The experts meet in Düsseldorf at the most important international trade fair for valves and industrial valves. You can gather specifi c information here about innovations, new products and processes especially for your area of application at VALVE WORLD EXPO and the VALVE WORLD CONFERENCE in Düsseldorf, from November 29 to December 1, 2016. Turn it on, now !

www.valveworldexpo.com Sponsored by: Supported by:

Exposis Co., Ltd 1755/3 Cedar Park Soi Ladprao 94 (Town in Town 11) _ Plubpla Wangthonglang _ 10310 Bangkok _ Thailand Tel. + 66 2 559 0856 _ Fax + 66 2 559 2893 info@exposis.co.th


WORLDWIDE

UP TO 25 bar

ATEX

GAS TREATMENT

OIL FREE

GRID INJECTION

P.S.A

BIOGAS UPGRADING

MEMBRANES

BIOMETHANE

ADEKOM AIR / GAS COMPRESSOR Oil Free Rotary Screw Air Compressor (Motor Rating : 22-355kW) High Pressure Rotary Screw Air Compressor (Working Pressure Could Reach : 40bar.g) Portable Rotary Screw Air Compressor (Motor Rating : 55-185kW) Refrigerated And Desiccant Type Air Diyer (Pressure Dew Point : -70 °C to +3 °C) High Efficiency Inline Air Filter and Air/Oil Separator (Filtration Level : 0.003 ppm)

ADEKOM KOMPRESSOREN (THAILAND) CO.,LTD.

133 Kanchanapisek Rd, Samdam, Bangkhuntien, Bangkok 10150 Tel: 66 (02) 453 - 2374 - 5 Fax: 66 (02) 453 - 2349 Website: http://www.adekom-thailand.com Email: info@adekom-thailand.com





THIS IS RELIABILITY ZoomlockTM Braze-Free Tube Fitting Change Everything

Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000

www.parker.com/th

Specially designed to work without brazing, which makes your job simpler and faster when joining copper tubes. The fittings are leak-proof and more repeatable than brazed connections



¾ÅÒ´äÁ‹ ä´Œ!

กับนวัตกรรมรถยกและอุปกรณขนยาย พบกับ กิจกรรมและสินคาราคาพิเศษ ภายในงาน Tilog LogistiX 2016 สินคาแบรนดระดับสากล GT Mover, MIAG และ Master Mover ของ บริษัท จีทีเอ็ม จำกัด พบกันไดที่ ไบเทค บางนา, Hall 104, บูธ H20 ระหวางวันที่ 21-23 กันยายน 2559


14

copyright & trademark

2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th

COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

การสมัครสมาชิก

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.


booth no. 6j11 / hall 106


contents

vol.14 no.163 september 2016

p.30

p.58

p.34

p.70

p.50

24 NEWS & UPDATE

44 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC

58 RENEWABLE ENERGY

30 COVER STORY

จับสถานการณ์เศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ครึ่งแรกปี ’59 ขยายตัวดีขนึ้ จากการผลิตเครือ่ งจักร อุปกรณ์ และยานยนต์

DEEP SOUTH BETONG เมืองแห่งการท่องเที่ยวและพลังงานทดแทน

46 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

61

ครม. เห็นชอบ (ร่าง) พ.ร.บ. 4 ฉบับ ส่งสัญญาณหนุนการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน

การผลิตและการใช้ก๊าซชีวภาพอย่างปลอดภัย (BIOGAS SAFETY)

50 EXCLUSIVE TALK

Productivity Concept with PDCA

Gardner Denver Reduce Energy. Maximize Efficiency. Save Money. Efficiency across demand profile saves energy. 34 INTERVIEW

คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ GBS ชู ‘คน’ เป็นขุมทรัพย์ และประสบการณ์การเรียนรู้ 40 ALL AROUND

ดร.สมชาย หาญหิรัญ ชูแผนยุทธศาสตร์ New Engine of Growth ดันผู้ประกอบการไทยเดินหน้าให้ถูกทิศ 42 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

BOI ยกเว้นภาษี 8 ปี และลดหย่อนภาษีร้อยละ 50 มุ่งดึง CLUSTER ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผอ.สถาบันพลาสติกไทย ชี้ช่องทางตอบโจทย์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต GREEN ZONE POLICY 53 กกพ. เดินหน้ารับซื้อไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม 54

ย�้ามุ่งส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนของประเทศ ISO 14067 กระตุ้นผู้ประกอบการส่งออก ใช้ ‘ฉลากคาร์บอน’ ควบคุมปริมาณ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ENERGY

64 PRODUCTIVITY BOOSTER

68 measurement

Quantum X เครื่องวัดและวิเคราะห์ความเค้นด้วยสเตรนเกจ 70 REAL LIFE

คุณประยูร เชี่ยววัฒนา ผู้น�าในการขับเคลื่อนองค์กรแห่งค�าว่า ‘มาตรฐาน’


p.86

p.88

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

74

FACTORY VISIT

ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ ชูกระบวนการบริหารจัดการคลังสินค้า ด้วย WMS และเทคโนโลยี RFID 77

TECHNOLOGY

RFID: เทคโนโลยีติดตามกระบวนการผลิตแบบเรียลไทม์ ภายใต้กรอบแนวคิด IoT 79 LOGISTIC SMART

Logistics And Supply Chain Trends To Watch In 2016 82 TECH FOCUS

เตรียมพร้อมรับ Big Data อภิมหาข้อมูล 84 FOOD PROCESSING

CUT THE PACKAGING COST! 86 SAFETY

‘กันไว้ … ดีกว่าแก้’ กรณีศึกษาอุบัติภัยโรงงานในต่างประเทศ 88 MAINTENANCE

การบ�ารุงรักษาโซ่ส�าหรับเครื่องจักร


editor’s talk Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0 www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com ISSN: 1685-7143

เจ้ำของ: บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 โทรสำร: 0-2769-8043 เว็บไซต์: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com

จิรภัทร ข�ำญำติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

โอกาสของนักอุตสาหกรรมไทย

กับ Electric Vehicle

การขับเคลื่อนนโยบายของภาครัฐที่ส่งแรงกระเพื่อมมาถึงภาคอุตสาหกรรมอย่างเห็นได้ชัดในขณะนี้ ไม่พ้นเรื่องของรถยนต์ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า Electric Vehicle หรือ EV นั่นเองนะคะ ตามนโยบาย การผลักดันให้มีการใช้ Electric Vehicle ภายในปี พ.ศ. 2559 โดยรัฐบาลภายใต้การน�าของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ซึง่ หากไล่เลียงมาตรการการส่งเสริมทีเ่ ห็นได้ชดั เจนทีเ่ กิดขึน้ ในปีนี้ อาทิ กระทรวง พลังงานจัดท�าแผนขับเคลื่อนส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้เกิดการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าประเภท ไฮบริดปลั๊กอิน และยานยนต์ไฟฟ้าประเภทแบตเตอรี่ รวม 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2579 หรือ สวทช. มอบต้นแบบรถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลง EGAT EV ให้ กฟผ.น�าไปใช้งาน และเก็บผลทดสอบส�าหรับน�าไปปรับปรุง และพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าในอนาคต เป็นต้น อีกทัง้ นโยบายล่าสุดในเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ นมา ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี ได้มมี ติเห็นชอบแผนส่งเสริมลงทุน ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย โดยอนุมัติหลักการว่า บริษัทที่สนใจลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ ต้องยืน่ แผนการด�าเนินงานในลักษณะแผนรวม (แพคเกจ) ประกอบด้วย แผนการลงทุนประกอบรถยนต์ไฟฟ้า และผลิตชิ้นส่วนส�าคัญของรถยนต์ไฟฟ้า อาทิ แบตเตอรี่ มอเตอร์ ระบบการจ่ายไฟ พร้อมทั้งให้การส่งเสริมรถยนต์ไฟฟ้าเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอนาคตของยานยนต์ ความเคลื่อนไหวต่างๆ ถือเป็นโอกาสทั้งทางตรง และทางอ้อมส�าหรับผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม ขึ้นอยู่กับบริบทที่เกี่ยวเนื่องและการปรับตัวเพื่อ ก้าวเข้าสู่ตลาดของ EV ค่ะ MODERN MANUFACTURING ฉบับนี้ คุณประยูร เชีย่ ววัฒนา ผูอ้ า� นวยการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ จะมาแบ่งปันเรื่องราวการก้าวสู่ความส�าเร็จในการท�างานด้านมาตรวิทยา ในคอลัมน์ REAL LIFE เรื่อง คุณประยูร เชีย่ ววัฒนา ผูน้ า� ในการขับเคลือ่ นองค์กรแห่งค�าว่า ‘มาตรฐาน’ ตามดูบทบาทการเป็นผูน้ า� และ ผู้บุกเบิก ด้วยหลักที่ว่าซื่อตรงและลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังนะคะ นอกจากนั้น คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์ กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีเรื่องราวที่น่าสนใจของโครงการเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ของจังหวัดทางชายแดนใต้ เรื่อง DEEP SOUTH BETONG เมืองแห่งการท่องเที่ยวและพลังงานทดแทน ในคอลัมน์ RENEWABLE ENERGY และคอลัมน์ SAFETY จะได้พบกับกรณีศึกษาของเหตุการณ์โกดัง สารเคมีระเบิดในเขตอุตสาหกรรมท่าเรือ ในประเทศจีน เรื่อง ‘กันไว้... ดีกว่าแก้’ กรณีศึกษาอุบัติภัยโรงงาน ในต่างประเทศค่ะ ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่ม แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ จิรภัทร ข�าญาติ บรรณาธิการบริหาร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ที่ปรึกษำ: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมกำรผู้จัดกำร: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดกำรทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณำธิกำรบริหำร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณำธิกำร: ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ กองบรรณำธิกำร: สำวิตรี สินปรุ, เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร บรรณำธิกำรศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ำยศิลปกรรม: ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง, อำณัต เพ่งพินิจ, ปิยะพร คุ้มจั่น ผู้บริหำรฝ่ำยขำย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ำยโฆษณำ: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสำนงำนฝ่ำยโฆษณำ: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ำยบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดกำรฝ่ำยกำรตลำด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2731-1155-60 โทรสำร: 0-2731-0936

Owner: Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel: (+66) 2731-1191-4 Fax: (+66) 2769-8043 Website: www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Chutikarn Kritdasaengsawang, Arnat Pengpinij, Piyaporn Khumchan Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel: (+66) 2731-1155-60 Fax: (+66) 2731-0936 ฝำกหรือแจ้งข่ำวประชำสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณำธิกำร โทรศัพท์: 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์: 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket


บรษิทั ซพ ี เีอม็ เอน็จเินยีริ่ง เซน็เตอร จำกดั

559/26 หมู 7 ตำบลบางพลใีหญ อำเภอบางพลี จงัหวดัสมทุรปราการ 10540 Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111 E-mail : info@cpmflow.com

Scope of Work

àÃÒ໹š¼ãŒÙ˺ŒÃ¡ÔÒôҌ¹ Mechanical Work ·Ñé§Ãкºã¹ âç§Ò¹ÍµØÊÒË¡ÃÃÁ·¡Ø»ÃÐàÀ· હ‹ Utility Pipe, Process pipe, Sanitary pipe, Rack pipe, Dust pipe, Dust exhaust, §Ò¹ËÁŒØ©¹Ç¹à¤Ã×Íè §¨¡ÑÃã¹âç§Ò¹ÍµØÊÒË¡ÃÃÁ ·¡Ø»ÃÐàÀ· úѼŵԧҹ áÅе´ÔµÑé§àËÅ¡ç§Ò¹Êáµ¹àÅÊ Storage tank, Silo, Hopper, Mixing, Walk Way and Platform, Install Machine On site

• Storage Tank, Hopper, Silo, Mixing, Pressure Vessel • Tank Farm and External Storage Tank On Site • Installaiton Machine and Service Maintenance On Site • Fabrication and Installation Pipe Rack • Walkways and Platforms • Piping Work Utility System, Process Piping Work • Insulation Hot and Cool with Jacket Work • Fabrication and Installation Dust Pipe, Dust Exhaust • Structure Support • Screw Conveyor and Screw Feeder • Dust Collector Systems • Basket Strainer and Filter


20 SUPPLIER INDEX september 2016 หน้า

ชื่อบริษัท

โทรศัพท์

E-mail / Website

ข้อมูลบริษัท

1, 30-33, 106

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

2

ก้าวหน้า อินดัสทรีส์ เอ็นจิเนียนิ่ง บจก.

0-2159-9861-4

www.kaowna.co.th

จ�าหน่าย Air compressor Air dryer เครื่องอัดลม ปั้มลม เครื่องท�าลมแห้ง อุปกรณ์ ปรับปรุงคุณภาพลม อะไหล่ปั๊มลม และงานบริการด้านต่างๆ

กลอบอลซีล บจก.

0-2591-5256-7

www.globalseal.co.th

กลอบอลซีล ผู้ให้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร

4

เจเอสอาร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5

www.jsr.co.th

เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม

5

เอบีบี บจก.

0-2665-1000

www.abb.com

ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�่า

6

เอ็กซโปซิส บจก.

0-2559-0856

info@exposis.co.th

บริหาร จัดด�าเนินงาน เป็นที่ปรึกษางานแสดงนิทรรศการ

7

อเดคอม คอมเพรสโซเรน (ประเทศไทย) บจก.

0-2453-2374-5

www.adekom-thailand.com

“World class air compressor”

8

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

www.virtus.co.th

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่ง ของประเทศ สินค้าของบริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผู้จัดจ�าหน่ายและผู้เชี่ยวชาญเรื่อง วาล์วในระบบก�าจัดฝุ่น คอนโทรล และอุปกรณ์ วัดปริมาณฝุ่น, วาล์และหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�้า แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

10

ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION, IT’S OUR FUTURE

11

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักร และเครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก

12

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

จีทีเอ็ม บจก.

0-2012-1800-4

www.gtm.co.th

จัดจ�าหน่ายและให้บริการหลังการขายสินค้าประเภทรถยกและอุปกรณ์ขนย้าย GT Mover, MIAG และ Master Mover

17

โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.

0-2150-7808-10

www.motology.co.th

ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF

19

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3

www.cpmflow.com

ความสม�่าเสมอในการท�างาน ผลักดันให้งานมีคุณภาพพร้อมกับมาตรฐาน ในความปลอดภัย “Good Team Change The Future”

21

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

www.interlink.co.th

คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง

22

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6

www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

25

อิเมอร์สัน (ประเทศไทย) บจก.

0-2937-1190

www2.emersonprocess.com

EMERSON. CONSITION IT SOLVED.

27

อีพีเอ็มซี บจก.

0-2322-1678-87

www.epmc.co.th

จ�าหน่าย พร้อมให้ค�าปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�้า และวาล์วที่ใช้ในโรงงาน อุตสาหกรรม

29, 48

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของ ประเทศไทย

38-39

ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.

0-2637-5115

www.ikont.co.jp/eg

“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”

41

ซุ่นไถ่จั่น อิมปอร์ต บจก.

0-2234-9555-8

www.grouplst.com

L.S.T. Group Seeking For Fasteners? We are your answer! ทุกค�าตอบของ สกรูน๊อตคุณภาพสูง

43

แอโรฟลูอิด บจก.

0-2577-2999

www.aerofluid.com

HYAIR Hydraulic Specialist Brand แบรนด์มือหนึ่งของคนไทย

47

ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2910-9728-29

www.tat.co.th

Technological Solutions For You

49

เอวีร่า จ�ากัด

0-2681-5050

www.avera.co.th

Offering The Best Alternative !

57

ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.

0-2717-1400

www.irct.co.th

Leader in Test and Measurement

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71

www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4

www.cgsreboardthai.com

“New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการด้วยกระดาษ re board”

105

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8

sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima , Gas springs : Bansbach

106

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6

www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

107

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการ ทุกรูปแบบและทุกกลุ่มอุตสาหกรรม

108

ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.

0-2379-1611-12

www.tvp.co.th

จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และ ข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม

3, 15, 34-37

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาที่จัดท�าขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหารายชื่อบริษัทต่างๆ ที่ลงโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด หากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ทางผู้จัดท�าถือเป็นเหตุสุดวิสัยด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างที่สุดแล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


นำเขาและจัดจำหนายโดย

บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)

48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)

www.interlink.co.th

E-mail : info@interlink.co.th




24 news & Update

พบกับ GTM ได้

ในงาน Tilog LogistiX 2016 บริษัท จีทีเอ็ม จ�ำกัด ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ำย รวมถึงให้บริกำรหลังกำรขำยสินค้ำในกลุ่มรถยก รถลำก และอุ ป กรณ์ ข นย้ ำ ยในประเทศไทยที่ มี ประสบกำรณ์ในวงกำรอุตสำหกรรมมำยำวนำน ได้ เข้ำร่วมงำน Tilog LogistiX 2016 งำนอุตสำหกรรม โลจิสติกส์ ที่ศูนย์นิทรรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ โดยโอกำสนี้ ข อเรี ย นเชิ ญ ลู ก ค้ ำ ทุ ก ท่ ำ น เข้ำร่วมชมงำนในครั้งนี้ ภำยในงำนนอกจำกจะได้ พ บกั บ สิ น ค้ ำ ที่ ไ ด้ มำตรฐำนระดับสำกล และกำรบริกำรทีเ่ ข้ำใจถึงควำม ต้องกำรของลูกค้ำอย่ำงแท้จริงแล้ว ยังมีกิจกรรม ต่ำงๆ พร้อมทั้งแจกของที่ระลึก และสินค้ำรำคำ พิเศษส�ำหรับลูกค้ำที่เข้ำเยี่ยมชมบูธด้วย พบกับบูธของ บริษัท จีทีเอ็ม จ�ำกัด ได้ที่ บูธหมำยเลข H20 Hall 104 ในงำน Tilog LogistiX 2016 ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ ระหว่ำงวันที่ 21-23 กันยำยน 2559 ตัง้ แต่ เวลำ 10.00 – 18.00 น.

เอบีบีจัดสัมมนาทางวิชาการ

ให้กับลูกค้าสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

ที.เอ็น เปิดศูนย์บริการและฝึกอบรม จ.ระยอง (บ่อวิน) เน้นบริการหลังการขาย เพื่อรองรับควำมต้องกำรของลูกค้ำและเพื่อควำมสะดวกสบำยในกำร ติดต่อกับกลุ่มบริษัท ที.เอ็น หนึ่งในผู้น�ำทำงด้ำนกำรผลิตและจ�ำหน่ำยสินค้ำ ทำงด้ำนอุตสำหกรรม และ เกษตรกรรมทีเ่ ป็นทีย่ อมรับในด้ำนคุณภำพระดับ สำกลมำกว่ำ 50 ปี กลุ่มบริษัท ที.เอ็น จึงได้มีกำรเปิดศูนย์บริกำรและฝึกอบรมอย่ำงเป็น ทำงกำรที่ จังหวัดระยอง (บ่อวิน) โดยมุ่งเน้นกำรบริกำรหลังกำรขำยและกำร ฝึกอบรมให้ควำมรู้เรื่องเทคนิค กำรใช้สินค้ำอุตสำหกรรมอย่ำงเจำะลึกด้วย ทีมวิศวกรมืออำชีพ ส�ำหรับผู้ที่สนใจสินค้ำหรือกำรฝึกอบรมสำมำรถสอบถำม ได้ที่ บริษัท ที.เอ็น.เมตัลเวิรค์ จ�ำกัด 88-88/1 หมู่ 3 อ.บ่อวิน จ.ระยอง โทร. 038-109-111 MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บริษทั เอบีบี จ�ำกัด จัดงำนสัมมนำทำงวิชำกำรในหัวข้อ Energy Efficiency Solutions for Industries and Buildings เมือ่ วันที่ 27 กรกฎำคม 2559 ณ โรงแรม เซโดน่ำ และวันที่ 29 กรกฎำคม 2559 ณ โรงแรมมันดำเลย์ ฮิวล์ สำธำรณรัฐ แห่งสหภำพเมียนมำร์ ให้กบั ลูกค้ำและผูท้ สี่ นใจในสำธำรณรัฐแห่งสหภำพเมียนมำร์ เพื่อสร้ำงกำรรับรู้เรื่องกำรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ำให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด พร้อมสร้ำง กำรตระหนักรู้ในเรื่อง Total Cost of Ownership และกำรเสริมสร้ำงเสถียรภำพ ของระบบไฟฟ้ำเพื่อเพิ่มผลผลิต จำกทีมวิทยำกรผู้เชี่ยวชำญของเอบีบีประเทศ มำเลเซีย ประเทศไทย และสำธำรณรัฐแห่งสหภำพเมียนมำร์ พร้อมกันนี้ทีมงำน ได้น�ำเสนออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องมำช่วยเสริมกำรท�ำงำนให้กับลูกค้ำและผู้ที่สนใจ ภำยในงำน อำทิ VSD, motor and protection unit of Emax 2



26 news & Update

โตชิบา ประกาศผลิตสเต็ปปิง มอเตอร์

ไดร์ฟเวอร์ แบบ Bipolar ขับ 2 ช่อง

บริษัท สตอเรจ แอนด์ อิเล็กทรอนิกส์ ดีไวเซส โซลูชันส์ จ�ำกัด (Storage & Electronic Devices Solutions Company) ในเครือของโตชิบำ คอร์ปอเรชัน่ ประกำศถึงกำรผลิต ‘TC78S122FNG’ เป็นจ�ำนวนมำก โดย จะเริ่มผลิตในวันที่ 5 สิงหำคม 2559 ซึ่งผลิตภัณฑ์นี้เป็นสเต็ปปิง มอเตอร์ ไดร์ฟเวอร์แบบ Bipolar (อนุกรมขดลวด) ขับ 2 ช่อง สำมำรถป้อนกระแส ไฟสูงสุดได้ 40V และขับกระแสไฟ 2.0A นอกจำกนี้ ยังเพิ่ม ‘TC78S122FTG’ ในไลน์ของสเต็ปปิง มอเตอร์ ไดร์ฟเวอร์ ให้มแี พ็กเกจแบบใหม่ทเี่ ล็กลงในแบบ QFN ทัง้ นี้ มอเตอร์ไดร์ฟ ที่ต้องกำรควำมเร็วสูงและประสิทธิภำพสูงนั้นเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับเครื่อง ปริน้ เตอร์ กล้องวงจรปิด อุปกรณ์อตั โนมัตสิ ำ� หรับส�ำนักงำน อุปกรณ์เกีย่ วกับ ธนำคำรทั้งหลำย เช่น ATM อุปกรณ์ตรวจธนบัตร เครื่องเกมส์ตู้ต่ำงๆ เครื่องใช้ไฟฟ้ำในบ้ำน และกำรย่อขนำดของอุปกรณ์เหล่ำนี้ต่ำงก็เป็นสิ่งที่ ลูกค้ำต้องกำรเพื่อประหยัดพื้นที่ใช้สอย ควำมสำมำรถในกำรลดปริมำณ ควำมร้อนในอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้ำต่ำงๆ รวมไปถึงกำรใช้พลังงำน ที่ต�่ำก็เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ เป็นต้น

ดับบลิวเอชเอ ประกาศแบรนด์ดิ้งใหม่ ชูแผนธุรกิจ 5 ปี ดับบลิวเอชเอ กรุ๊ป ประกำศแผนขยำยธุรกิจ 5 ปี ด้วยงบลงทุน 43,000 ล้ ำ นบำท รองรั บ เป้ ำ หมำยของบริ ษั ท ในกำรก้ ำ วขึ้ น เป็ น ผู ้ น� ำ ด้ ำ นโลจิ ส ติ ก ส์ อสังหำริมทรัพย์และนิคมอุตสำหกรรมแบบครบวงจรในประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน (AEC) หลังจำกที่ได้มีกำรควบรวมกิจกำรกับ บริษัท เหมรำชพัฒนำที่ดิน จ�ำกัด (มหำชน) ไปแล้ว ดับบลิวเอชเอ กรุ๊ป เริ่มเดินหน้ำขยำยกำรลงทุนธุรกิจทั้งใน และต่ำงประเทศ อำทิ อินโดนีเซีย เวียดนำม เมียนมำร์ กัมพูชำ และมำเลเซีย โดย ส�ำหรับในประเทศไทย ดับบลิวเอชเอมองเห็นโอกำสทีด่ แี ละส�ำคัญยิง่ จำกโครงกำร ของรัฐบำลทีจ่ ะพัฒนำพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวันออก (Eastern Economic Corridor – EEC) ในจังหวัดฉะเชิงเทรำ ชลบุรี และระยอง โดยธุรกิจทั้ง 4 กลุ่มของ ดับบลิวเอชเอ อันได้แก่ กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ กลุ่มธุรกิจนิคมอุตสำหกรรม กลุ่ม ธุรกิจสำธำรณูปโภคและไฟฟ้ำ และกลุ่มธุรกิจดิจิทัล ซึ่งล้วนสอดรับกับเป้ำหมำย และกำรพัฒนำของโครงกำร EEC ในกำรจัดหำแพลตฟอร์มดิจิทัลและโรงงำนหรือ คลังสินค้ำอัจฉริยะ เพื่อช่วยท�ำให้ซูเปอร์คลัสเตอร์ของอุตสำหกรรมใหม่เกิดขึ้นได้

ซีพีเอ็น น�าทัพธุรกิจกลุ่มเซ็นทรัลหนุน SME ไทย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ซีพีเอ็น น�ำทัพธุรกิจกลุ่มเซ็นทรัล น�ำโดย บริษัท เซ็นทรัลพัฒนำ จ�ำกัด (มหำชน) ได้น�ำกลุ่มธุรกิจ 5 กลุ่ม ของเซ็นทรัลกรุ๊ป ได้แก่ กลุ่มธุรกิจห้ำงสรรพสินค้ำ กลุ่ม ธุรกิจสินค้ำอุปโภคบริโภค กลุ่มธุรกิจวัสดุก่อสร้ำง สินค้ำ ตกแต่งบ้ำนและเครื่องใช้ไฟฟ้ำ และ กลุ่มธุรกิจอุปกรณ์ เครื่องเขียน ผนึกก�ำลัง เปิดอำณำจักรค้ำปลีกสมัยใหม่ จัดงำน ‘เอสเอ็มอี ธิงค์บกิ๊ คิดให้ใหญ่ ไปได้ไกล กับกลุม่ เซ็นทรัล’ เพือ่ ขำนรับนโยบำยประชำรัฐ ผลักดันเอสเอ็มอี ไทยเข้ำสูต่ ลำดค้ำปลีกอย่ำงเป็นรูปธรรม สร้ำงโอกำสในกำร เข้ำถึงช่องทำงกำรจ�ำหน่ำยกับกลุม่ เซ็นทรัล ชวนเอสเอ็มอี จับคู่ธุรกิจกับกลุ่มเซ็นทรัล (Business Matching) ชูควำม เชีย่ วชำญด้ำนค้ำปลีกกว่ำ 60 ปี ให้ผปู้ ระกอบกำรรำยย่อย ได้เข้ำถึงโอกำสกำรเติบโต และขยำยธุรกิจ ทั้งออฟไลน์ และออนไลน์ ทั้งนี้ กลุ่มเซ็นทรัลพร้อมสนับสนุนองค์ควำมรู้ต่ำงๆ ตลอดจน ระบบกำรบริหำรจัดกำร และกำรจัดจ�ำหน่ำยที่มี ประสิทธิภำพ พร้อมด้วยเครือข่ำยพันธมิตรทีแ่ ข็งแกร่ง เพือ่ ติดปีกเอสเอ็มอีไทยเข้ำสู่ตลำดค้ำปลีกอย่ำงเป็นรูปธรรม ทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภำค สร้ำงแบรนด์ไทย ให้ขำยได้จริง



28 news & Update

Asiamold 2016

Guangzhou International Mould & Die Exhibition

Asiamold – Guangzhou International Mould & Die Exhibition งำนแสดงสินค้ำและ เครือ่ งมือทีเ่ กีย่ วข้องกับกำรขึน้ รูปด้วยแม่พมิ พ์ งำนโลหกำร และเครือ่ งพิมพ์สำมมิติ ครัง้ ที่ 10 ที่จะจัดขึ้นระหว่ำงวันที่ 20 – 22 กันยำยน 2559 ณ เมืองกวำงโจว ประเทศจีน ซึ่งคำดว่ำ จะมีจ�ำนวนผู้เข้ำร่วมแสดงสินค้ำและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกว่ำ 360 รำย และผู้เข้ำชมงำน อีกกว่ำ 20,000 รำย ตั้งแต่ระดับผู้ผลิตชิ้นส่วนไปจนกระทั่งถึงผู้ใช้งำนระดับทั่วไป Asiamold – Guangzhou International Mould & Die Exhibition มุง่ เน้นกำรน�ำเสนอ นวัตกรรมต่ำงๆ ตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ CAD / CAM ไปจนถึงเทคโนโลยีล่ำสุดที่ใช้ ในเครื่องพิมพ์สำมมิติ ถือเป็นงำนที่เชื่อมโลกทั้งฝั่งตะวันออกและตะวันตกเข้ำด้วยกัน ทั้งในส่วนของผู้จัดงำน ผู้ร่วมแสดงสินค้ำและเทคโนโลยี ตลอดจนผู้เข้ำร่วมชมงำน งำนดังกล่ำวได้แบ่งงำนแสดงเป็น 2 ส่วน ได้แก่ Guangzhou International Mould และ Additive Manufacturing Technology Summit ที่ด�ำเนินไปพร้อมกัน ซึ่งเนื้อหำ ที่น่ำสนใจของงำนในครั้งนี้อยู่ที่กำรพูดคุยเกี่ยวกับควำมท้ำทำยที่ผู้ประกอบกำรต้องเผชิญ ในอุตสำหกรรมยำนยนต์ ส�ำหรับกิจกำรแม่พิมพ์ โดยไฮไลต์ในวันสุดท้ำยของงำนยังมีกำร แสดง Hot – Button 3D Printing Application ส�ำหรับกำรออกแบบแม่พิมพ์และกำรพิมพ์ วัสดุโลหะ เพื่อเป็นกำรให้ควำมรู้แก่ผู้เข้ำชมงำนอีกด้วย งำน Asiamold – Guangzhou International Mould & Die Exhibition จัดขึ้นโดย Guangzhou Guangya Messe Frankfurt ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงำน Intermold Japan ซึง่ จะมีกำรจัดงำนขึน้ ครัง้ ต่อไประหว่ำงวันที่ 15 – 18 พฤศจิกำยน 2559 ทีป่ ระเทศเยอรมนี และ วันที่ 12 – 15 เมษำยน 2560 ที่ประเทศญี่ปุ่น

อุปกรณ์ Multi-Connect ตัวใหม่ Turn-Key ที่ช่วยประหยัดเวลา บริษัท Shop Floor Automation (SFA) ประกำศเปิดตัว อุปกรณ์ตัวใหม่ Multi Connect ซึ่งเป็น Turn Key ที่สำมำรถ ตรวจสอบและเฝ้ำดูกำรท�ำงำนของระบบได้อย่ำงต่อเนื่อง รวมถึงข้อมูลอื่นๆ ที่ต้องกำรอีกด้วย ซึ่ง Multi Connect นี้ สำมำรถใช้งำนร่วมกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ตรวจดูระบบได้อย่ำง หลำกหลำย Multi Connect ถือเป็นเครื่องมือที่ ‘ตั้งค่ำและใช้งำนได้ ทันที’ ผ่ำนพอร์ทเชือ่ มต่อด้ำนหลังทีเ่ ป็น Digital I/O สนับสนุน สัญญำณ 10 – 30 VDC นอกจำกนี้ ยังสำมำรถตัง้ ค่ำให้ทำ� งำน ตอบสนองต่อสัญญำณที่ส่งค่ำเปิด-ปิด สัญญำณที่มำเป็น ช่วงจังหวะ สำมำรถเชื่อมต่อผ่ำนเครือข่ำยได้ด้วย Ethernet แบบสำย (100Base-TX) หรื อ WiFi ที่ ติ ด ตั้ ง มำในตั ว ด้วยขนำดที่เล็กกะทัดรัด ซึ่งได้รับกำรออกแบบมำเพื่อให้ สำมำรถติดตั้งเข้ำกับเครื่องจักรได้โดยตรง ทั้งยังมำพร้อมกับ วัสดุภำยนอกที่เป็นโลหะมีควำมแข็งแรง ทนทำน สำมำรถใช้ ไฟฟ้ำ 12 -48 VDC ได้ เหมำะส�ำหรับกำรใช้งำนหลำกหลำย รูปแบบ

Source: http://goo.gl/VgXU5m

FARO กับ Solution สามมิติครบวงจร Faro มุ่งหวังในกำรจัดกำรตอบสนองควำมต้องกำรต่อลูกค้ำหลักได้อย่ำงละเอียด ถี่ถ้วน โดยโซลูชันจะเป็นกำรผสำนกำรท�ำงำนระหว่ำงอุปกรณ์ตรวจจับวัดประเมิน และ เซนเซอร์จำกผู้ผลิตที่หลำกหลำย ปัจจุบันโซลูชันดังกล่ำวถูกใช้ในสำยกำรผลิตอุตสำหกรรมอำกำศยำนที่มีขนำดใหญ่ ที่สุด 5 จำก 10 สถำนที่และยังถูกใช้ในกิจกำรอุตสำหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน ประเทศอีกด้วย โดยซอฟต์แวร์ของ BuildIT นั้นไม่ต้องกำรฮำร์ดแวร์ในกำรใช้งำน โดยมุง่ ให้ลกู ค้ำสำมำรถใช้งำนได้งำ่ ย ไม่ตอ้ งยึดติดกับอุปกรณ์ และเชือ่ มัน่ ได้วำ่ ในอนำคต อันใกล้นี้จะต้องมีเทคโนโลยีที่ได้รับกำรพัฒนำมำจำกกำรควบรวมบริษัทอย่ำงแน่นอน ถือเป็นกำรเติมเต็มและขยำยประสิทธิภำพออกไปได้อย่ำงน่ำสนใจส�ำหรับกำรด�ำเนินธุรกิจ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Induction Motors

Three Phase Motor Cast iron frame Three Phase Motor Aluminium frame Single Phase Motor Aluminium frame Brake Motor Forced Fan Kit

Power : 0.09 - 315 kW Totally Enclosed Fan Cooled Conform to IEC Standard S1 Continuous duty Insulation Class F with Temperature rise Class B Protection IP55 , suitable for dusty and damp surrounding

transmission@tnmetalworks.com


Built for 24/7 use in demanding applications Take a proven technology and make it even better. Gardner Denver designed the oil-free EnviroAire T series compressors for continuous operation and for applications that require absolute reliability and performance efficiency. Precise engineering for clean results. The EnviroAire T series is characterised by its intelligent design, innovative functional principle and high quality workmanship. Its dependable quality and high efficiency ensures safe and cost effective generation of oil-free compressed air. Using a two stage airend ensures very low specific power consumption Each air-end element is carefully tested during manufacturing Each unit is test run simulating real life conditions


Why silicone-free? Silicone contamination in compressed air systems will cause problems across a wide range of industries, not least of all the automotive industry where a high quality finish is essential. The oil-free EnviroAire range from 15 – 315 kW provides high quality and energy efficient compressed air for use in a wide range of applications. The totally oil-free design eliminates the issue of contaminated air, reducing the risk and associated cost of product spoilage and rework.

The preferred choice for optimum performance Efficient Gardner Denver two stage air-end design Designed and manufactured by Gardner Denver to deliver highest outputs reliably and efficiently.


The GD rotary screw compressor range from 2.2 – 500 kW, available in both variable and fixed speed compression technologies, are designed to meet the highest requirements which the modern work environment and machine operators place on them. A modern production system and process demands increasing levels of air quality. Our complete Air Treatment Range ensures the highest product quality and efficient operation. Compressor systems are typically comprised of multiple compressors delivering air to a common header. The combined capacity of these machines is generally greater than the maximum site demand. To ensure the system is operated to the highest levels of efficiency, the GD Connect air management system is essential.

The TurnValve Advantage



34 INTERVIEW

คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ GBS ชู ‘คน’ เป็นขุมทรัพย์ และประสบการณ์การเรียนรู้

การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจโลกจนถึงปัจจุบัน หลายประเทศในเอเชียมีการเปลี่ยนแปลง ตั้งแต่ในยุค ของอดีตจนถึงปัจจุบนั สภาพสังคมและอุตสาหกรรมมีการ เปลี่ยนแปลง จากยุคการเกษตรโดยเฉพาะเอเชียเปลี่ยน ไปเป็นยุคอุตสาหกรรม จนมาถึงยุคเทคโนโลยีโลกาภิวตั น์ ซึ่ ง ยุ ค โลกาภิ วั ต น์ เ ป็ น ผลที่ ม าจากการพั ฒ นาด้ า นการ สื่อสาร เทคโนโลยี สารสนเทศ เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้น อย่างรวดเร็ว เพือ่ ตอบสนองภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม ของคนกลุ่มใหม่ ทั้งนี้ การท�าธุรกิจที่มีการแข่งขันทางด้านข้อมูล การ ใช้ข้อมูลวิเคราะห์เชิงลึก การสื่อสารที่รวดเร็วกลายเป็น ปัจจัยส�าคัญในการแข่งขันทางธุรกิจ การพัฒนาก้าวไป อย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ท�าให้หลายบริษทั ต้องปรับตัว เพื่อความอยู่รอด บริษัท กลอบอลซีล จ�ำกัด (GBS) ผู้จ�าหน่ายสินค้า ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ที่ครอบคลุมทั้งงานขาย และบริการด้านกระบอกไฮดรอลิกและปั๊มอุตสาหกรรม ทั้งยังมีศูนย์ให้บริการงานซ่อมปั๊ม กระบอกไฮดรอลิก และนิวเมติกส์อย่างครบวงจร ภายใต้การบริหารโดย ผูบ้ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล อย่าง คุณชำลิตติ กุลฐิตกิ จิ กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั กลอบอลซีล จ�ำกัด ซึง่ มีความ มุง่ มัน่ ในการพัฒนาองค์กรให้สอดคล้องความต้องการของ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ ควบคู่ไปกับ การพัฒนาบุคลากรขององค์กร ที่จะสร้างสรรค์พลังแห่ง การขับเคลื่อนทางธุรกิจให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

คุณชาลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กลอบอลซีล จำากัด


INTERVIEW 35

วิเครำะห์เจำะลึกภำวะเศรษฐกิจ และกำรตลำดก่อนตกผลึกแผนธุรกิจ คุณชำลิตติ กุลฐิติกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท กลอบอลซีล จ�ากัด (GBS) ได้กล่าวว่า ในสมัยก่อนตลาด เป็นไปในแนวทางเดียว ตลาดที่ประเทศพัฒนาแล้วเป็น ลักษณะ Homogeneous โดยมีกลุม่ วัยรุน่ เป็นผูค้ รอบครอง ตลาด แต่ นี้ ต ่ อ ไปในปั จ จุ บั น และอนาคตตลาดจะถู ก แบ่งออกอย่างชัดเจน คือ ตลาดของกลุม่ วัยรุน่ และตลาด ของกลุ่มผู้สูงวัย เพราะฉะนั้น นักธุรกิจในยุคนี้ต้องมีการ ตระหนัก และวิเคราะห์อย่างชัดเจนในเรื่องของตลาด สองกลุ่มนี้ ในส่วนของตลาดในกลุ่มของวัยรุ่นจะเป็นในเรื่องของ สินค้าฟุ่มเฟือย และการศึกษาต่อ ซึ่งธุรกิจในเรื่องการ ศึกษาต่อนีค้ อ่ นข้างมาแรงมากในกลุม่ วัยรุน่ ซึง่ มีเป้าหมาย ในการพัฒนากลุ่มวันรุ่นในเรื่องการศึกษา ส่วนในกลุ่ม ตลาดของผู้สูงวัยจะเป็นตลาดเพื่อสุขภาพ ความบันเทิง และเรื่องของการท่องเที่ยว ซึ่งจะเห็นได้อย่างชัดเจน ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้เป็นเพียงการยกตัวอย่างเรื่อง ของการมองตลาด เรื่องของภาวะเศรษฐกิจตลาด ความ เปลี่ ย นแปลงของโลกที่ ส ่ ง ผลมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น และ ในอนาคตอีก 10 ปี 20 ปี 30 ปีข้างหน้า ตลาดจะ เปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน นี่คือสิ่งที่จะฝากให้นักธุรกิจ นักบริหารได้วางแผนกันให้ถูกทาง ซึ่งทุกสิ่งทุกอย่างล้วน มีการเปลี่ยนแปลงตามภาวะปัจจัยของมันอยู่เสมอ ตัดสินใจรุกตลำดพลังงำนทดแทน ปรับตัวให้เท่ำทันตลำดอย่ำงต่อเนื่อง คุณชำลิตติ ยังได้กล่าวต่อไปว่า “ผมเองในฐานะที่ เป็นผู้บริหารของ GBS (Global Seal) ก็มีการวางแผน มี การปรับตัวตามสภาวการณ์ของตลาดอย่างต่อเนื่อง และ ไม่เคยประมาทหรือจะหยุดนิ่ง ยึดติดกับสินค้าหรือยึดติด กับตลาดเดิมๆ เป็นที่ทราบกันดีว่า GBS นั้นมีลูกค้าหลักส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มธุรกิจหลัก นั่นคือ Oil & Gas แต่ในวันนี้ใครจะ นึกว่ากลุ่มพลังงานหลักเหล่านี้จะมีวันซบเซาลง และ หยุดการลงทุนอย่างชัดเจน ดังนั้น GBS จึงตัดสินใจ เดินหน้าลุยตลาดในกลุ่มพลังงานทดแทน กลุ่มโรงไฟฟ้า กลุ่ม Bio-Gas โรงขยะ และกลุ่มพลังงานทดแทนต่างๆ โดยเฉพาะกลุ ่ ม โรงงานไฟฟ้ า จะมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตอยู ่ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากว่าเป็นกลุ่มที่ต้องมาตอบสนอง ผู้บริโภคในกลุ่มอุตสาหกรรมครัวเรือนค่อนข้างชัดเจน”

issue 163 september 2016


36 INTERVIEW

ผมเองในฐานะที่เป็นผู้บริหารของ GBS (Global Seal) ก็มีการวางแผน มีการปรับตัวตาม สภาวการณ์ของตลาดอย่างต่อเนื่อง และไม่เคยประมาท หรือจะหยุดนิ่ง ยึดติดกับสินค้าหรือยึดติดกับตลาดเดิมๆ”

เชื่อ … ‘คน’ เป็นขุมทรัพย์ และประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ในส่วนของปรัชญาในการด�าเนินชีวิตส่วนใหญ่ผม จะพยายามเรียนรู้สิ่งต่างๆ จากคน เรื่องราวทุกอย่าง ประสบการณ์ทุกอย่าง คนเป็นผู้สร้างขึ้นมา ดังนั้น หาก ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใด ต้องการมีประสบการณ์กับ สิ่งใด ให้เรียนรู้จาก ‘คน’ สิ่ง ที่ก ล่าวข้างต้นนั้น คุณชำลิตติ ได้ขยายความ ต่อไปว่า “โดยส่วนตัวแล้วมีความเชือ่ ว่า ‘คน’ เป็นขุมทรัพย์ และประสบการณ์การเรียนรู้เป็นอย่างดีให้กับตัวเราเอง คุณสมบัติประการหนึ่งที่ผู้บริหารหรือผู้น�าควรมี ก็ต้องไม่ หวงความรู้ หวงวิชา เพราะความรู้เป็นเหมือนดาบ ยิ่งใช้ ยิง่ คม ยิง่ ถ่ายทอดยิง่ เพิม่ คุณค่า มีความช�านาญกับความรู้ นั้นๆ เปรียบเสมือนกับดาบที่ยิ่งใช้ยิ่งช�านาญ ซึ่งอันนี้ ก็เป็นปรัชญาที่คนจีนได้กล่าวไว้นานแล้ว ซึ่งโดยส่วนตัว แล้ว มองว่าคนที่น�ามาใช้ก็จะมีบริวาร มีคนที่มีความรู้ มาช่วยเหลือการท�างาน ถ้าเราถ่ายทอดวิชาความรู้ให้กับ พวกเขา และสิ่งส�าคัญที่ได้ยึดถือไว้ นั่นก็คือ การทบทวน อดีต ศึกษาปัจจุบัน เพื่อจะวางแผนการในอนาคต การ ศึกษาเรื่องราวรอบตัว เรียนรู้จากประสบการณ์ทั้งของคน อื่นและของเรา ซึ่งจะท�าให้เรามีการวิเคราะห์เห็นภาพใน อดีต เห็นข้อผิดพลาดต่างๆ ในอดีต และก็สามารถที่จะ มาปรับปรุง เรียนรู้ เพื่อวางแผนในอนาคตได้อย่างมั่นคง ซึ่งอันนี้ส�าคัญมากส�าหรับคนที่ท�าธุรกิจ” เรียนลัดประสบกำรณ์จำกผู้ที่ประสบควำมส�ำเร็จ เป็นสิ่งที่มีค่ำมำก คุณชำลิตติ ยังได้กล่าวต่อไปอีกว่า “ในเวลาว่างผม ชอบหาหนังสือใหม่ๆ มาอ่าน ดูประวัติของบุคคลที่มี ความคิดเห็นที่แตกต่างกันออกไป ดูปรัชญาเชิงลึกของ ผู้ใหญ่บางท่านได้เขียนเอาไว้ มันท�าให้เราได้เหมือนกับ การเรียนลัดประสบการณ์ต่างๆ ที่ท่านทั้งหลายที่ประสบ ความส�าเร็จได้ถ่ายทอดเอาไว้นั้นมีค่ามาก และผมมักจะ ไปหาญาติผู้ใหญ่ที่ท่านมีประสบการณ์ ก็จะได้ความรู้ ประสบการณ์ของท่านในสมัยอดีต และได้ขอ้ คิด ข้อเตือน ใจอะไรบางอย่าง ที่บางทีเราก็คาดไม่ถึง สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เมื่อน�ามาประกอบกันท�าให้ได้คิด พิจารณาถึงสิง่ ทีเ่ ราท�าในปัจจุบนั ว่าเข้าข่ายหรือเป็นไปใน แนวทางทีท่ า่ นได้ทา� ไว้ในอดีตหรือเปล่า ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง ของความส�าเร็จหรือว่าความล้มเหลว หรือหากในการ เดิ น ทางได้ พ บเจอผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ท่ า นก็ ไ ด้ ถ ่ า ยทอด ประสบการณ์ต่างๆ เรื่องของการบริหาร เรื่องของการใช้ ข้อคิดหรือมุมมองต่างๆ ในการที่จะบริหารงานซึ่งก็เป็น เรือ่ งทีด่ ี ซึง่ การทีผ่ มได้ไปคุยกับท่านผูใ้ หญ่ทงั้ หลาย ได้ไป พักผ่อน ได้ไปเทีย่ วด้วยกัน บางอย่างก็ได้รบั การถ่ายทอด ไปโดยปริยายโดยที่เราไม่รู้ตัว”

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


INTERVIEW 37

ปักธงรุกตลำด ‘พม่ำ’ กำงแผนลงทุน เจำะกลุ่ม ‘ไฮโดรลิค’ อย่างไรก็ตาม ส่วนในเรือ่ งของทิศทางธุรกิจของ GBS นั้น คุณชำลิตติ ได้กล่าวว่า “การที่จะลงทุนวางแผนเพิ่ม เติม ก็จะมีในส่วนที่จะออกไปรุกตลาดในประเทศเพื่อน บ้าน เช่น พม่า หลังจากที่ก่อนหน้านี้คิดว่าจะรอนิคม อุตสาหกรรมทวายเกิดขึ้นในอีก 4-5 ปีข้างหน้า แต่เมื่อ ได้มีโอกาสเข้าไปดู เข้าไปสัมผัส เข้าไปส�ารวจแล้ว พบว่า ยังมีอีกหลายกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม เช่น ในเมืองย่างกุ้ง สนามบินมัณฑะเลย์ ที่ก�าลังจะเกิดการขยายตัวมาเฟส ที่ 2 เป็นต้น สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเป็นหนทาง เป็นอีกช่องทางหนึ่ง ที่ทาง GBS ได้วางแผนไว้ว่าจะเข้าไปศึกษาเรื่องการท�า ตลาด และท�าธุรกิจเชิงลึกในอนาคต ซึ่งคิดว่า ‘พม่า’ จะเป็นอีกตลาดหนึ่งที่จะตอบโจทย์กลุ่มอุตสาหกรรม ไฮโดรลิกของ GBS ซึ่งอยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมทั่วไปซึ่งมี ความเหมาะสมกับประเทศพม่า ทัง้ นี้ ก็เพือ่ ทีจ่ ะได้ดา� เนิน ธุรกิจเป็นคู่ค้ากับประเทศพม่าอย่างต่อเนื่องในอนาคต” คุณชำลิตติ กล่าวในที่สุด

โดยส่วนตัวแล้วมีความเชื่อว่า ‘คน’ เป็นขุมทรัพย์และประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นอย่างดีให้กับตัวเราเอง คุณสมบัติ ประการหนึ่งที่ผู้บริหารหรือผู้น�าควรมี ก็ต้องไม่หวงความรู้ หวงวิชา เพราะความรู้ เป็นเหมือนดาบ ยิ่งใช้ยิ่งคม ยิ่งถ่ายทอด ยิ่งเพิ่มคุณค่า มีความช�านาญกับความรู้นั้นๆ เปรียบเสมือนกับดาบ ที่ยิ่งใช้ ยิ่งช�านาญ”

issue 163 september 2016


Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”

Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.

• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115

Fax: +66 (0)2-637-5116


Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.

C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.

Needle Bearings Machine elements essential to any industry

Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large

Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics


40 all around

เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ

ดร.สมชาย หาญหิรัญ ชูแผนยุทธศาสตร

NEW ENGINE OF GROWTH

ดันผู ประกอบการไทยเดินหน าให ถูกทิศ

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรมไทย ตามแนวทางของ New Engine of Growth 10 อุตสาหกรรมเปา หมาย จะเปนกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ซึ่งสิ่งที่ภาค รัฐกําลังเรงผลักดันอยูในขณะนี้ คือ กระตุนผูประกอบการไทยให เดินหนา พรอมกําหนดแผนยุทธศาสตรเพือ่ ใหผปู ระกอบการเดิน ไปไดอยางถูกทิศทาง ทั้ ง นี้ ผู้ ป ระกอบการควรได้ ท ราบถึ ง ทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรมไทยครึ่งหลังปี พ.ศ. 2559 ตลอดจนปัจจัยที่ส่งผลก

ยานยนต สมัยใหม

ระทบต่อการดําเนินกิจการ ปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจ และการเตรียม ความพร้อมเพื่อรองรับปัจจัยที่ท้าทายที่อาจจะเกิดขึ้น เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ สายงานวิ ช าการ ร่ ว มกั บ สายงานเศรษฐกิ จ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงได้จัดงานสัมมนา ‘ถอดรหัส เศรษฐกิจไทยครึง่ หลังปี 2559’ ขึน้ โดยภายในงาน ดร.สมชาย หาญหิรญ ั ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ปาฐกถาพิเศษ เรือ่ ง ‘การขับเคลือ่ น เศรษฐกิจไทยด้วย 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย (New Growth Engines)’ โดยมีใจความสําคัญ ดังนี้

ต อยอดอุตสาหกรรมเดิม และ เติมอุตสาหกรรมใหม

การบินและโลจิสติกส

อิเล็กทรอนิกส อัจฉริยะ การท องเที่ยวกลุ มรายได ดี และการท องเที่ยวเชิงสุขภาพ

หุ นยนต

First S-Curve

New S-Curve

เกษตรกรและเทคโนโลยีชีวภาพ

เชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ ดิจิทัล

การแปรรูปอาหาร

การแพทย ครบวงจร

การต อยอด 5 อุตสาหกรรมเดิมที่ประเทศไทยมีศักยภาพอยู แล ว ให มีความ เข มแข็งมากยิง่ ขึน้ โดยการเพิม่ ประสิทธิภาพ การใช ปจ จัยการผลิต ซึง่ การลงทุน ชนิดนี้จะส งผลต อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะสั้น และระยะกลาง

การเติม 5 อุตสาหกรรมใหม เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให เติบโตแบบก าวกระโดด ต องมีการพัฒนา New S-Curve ควบคู ไปด วย เพื่อเปลี่ยนรูปแบบสินค าและ เทคโนโลยี โดยอุตสาหกรรมอนาคตเหล านี้จะเป นกลไกที่สําคัญในการขับ เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ

นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม และ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ยังไดรวมมือกําหนดยุทธศาสตรภายใตบริบท Thailand 4.0 ดวยการออกแบบอนาคต ใหแกสินคาและบริการไทย เพื่อใหเกิดความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางการแขงขัน โดยมีองคประกอบ ดังนี้

เติมเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค า (Hybrid Innovation) ได แก - เทคโนโลยีทางด านการผลิต - เทคโนโลยีทางด านการตลาด - เทคโนโลยีทางด านการออกแบบ

สร างวัฏจักร การเกิดใหม ของสินค า และบริการ

สร างอัตลักษณ ให สินค าและบริการ เพื่อให สอดคล องกับวัฒนธรรม และ พฤติกรรมของผู บริโภคในภูมิภาคนั้นๆ

EXECUTIVE SUMMARY To improve the competitive Potential of Thai industrial sector with the model of New Engine of Growth that is 10 targeted industries which is mechanism to drive the economic for future The government sector are pushing forward by encourage the entrepreneur to making a process and specify the strategic plan to lead entrepreneur into the right direction. The strategic are continuing from 5 former industries that Thailand has potential and improve it with more strength. To fill the former industries with new 5 industries for economic improvement, it’ll be growth like a frog leap and also added more value to the former product and service by added the technology to improve competition potential. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Concrete Anchor

Hand Tools Bolt

Other Parts & Accessories Nut

Stud Bolt Machine Screw & Tapping

Ring & Washer

มาลนีนท

โรงพ พ รงุเท ฟา าลก ทยีน ยาบ บาลเ พยา ธิโิรง มลูน

385/1 ถ.สขุสวสัดิ แขวงราษฎรบรูณะ เขตราษฎรบรูณะ กรงุเทพฯ 10140 Tel: (662)-818-2555 Fax: (662)-818-2598 Email: leesoonthai@gmail.com soonthai@loxinfo.co.th Website: http://www.grouplst.com


42 Industrial economic policy

เรียบเรียง: ภิญญาภรณ ชาติการุณ

BOI ยกเว นภาษี 8 ป และ

ลดหย อนภาษีร อยละ 50 มุ งดึง

CLUSTER ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

เพื่อสรางความเขมแข็งของหวงโซมูลคา (Value Chain) และนําไปสูการ สรางฐานอุตสาหกรรมแหงอนาคต เสริมสรางศักยภาพดานการลงทุนของ ประเทศ เพือ่ ดึงดูดการลงทุนทีม่ คี ณ ุ คาทัง้ จากนักลงทุนรายเดิมและรายใหม และเพื่อกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น ตลอดจนสรางโอกาส ทางธุรกิจใหกับผูประกอบการ SMEs

ลาสุด คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) จึงไดออกประกาศ นโยบายสงเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร ซึ่งกําหนดใหพื้นที่ทุกจังหวัดเปนเขตสงเสริมการลงทุน พรอมทั้งกําหนด ให สิ ท ธิ แ ละประโยชน สํ า หรั บ ในเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษในรู ป แบบ คลัสเตอร โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

SUPER CLUSTER กิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และอุตสาหกรรมแห่งอนาคต ยานยนต และชิ้นส วน

กิจการสาธารณูปโภคและบริการพื้นฐาน

เครื่องใช ไฟฟ า อิเล็กทรอนิกส และ อุปกรณ โทรคมนาคม

กิจการขนส งมวลชนและสินค าขนาดใหญ

ป โตรเคมีและ เคมีภณ ั ฑ ทเี่ ป นมิตรต อสิง่ แวดล อม

ดิจิทัล

คลัสเตอร เป าหมาย คลัสเตอร เกษตรแปรรูป

กิจการศูนย บริการโลจิสติกส กิจการการวิจยั และพัฒนา กิจการเทคโนโลยีชวี ภาพ กิจการออกแบบทางวิศวกรรม กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน

สิ่งทอและเครื่องนุ งห ม

• ได รับยกเว นภาษีเงินได นิติบุคคล 8 ป • ได รับลดหย อนภาษี เงินได นิติบุคคล สําหรับ กําไรสุทธิที่ได จากการ ลงทุนในอัตราร อยละ 50 ของอัตราปกติ เป นระยะ เวลา 5 ป นับแต วันที่ กําหนดระยะเวลา การยกเว นภาษีเงินได นิติบุคคลสิ้นสุดลง

กิจการสถานีฝก ฝนวิชาชีพ

อยางไรก็ตาม การใหการสงเสริมการลงทุนดังกลาวขางตน มีเงื่อนไข ประกอบการพิจารณาและรายละเอียดปลีกยอย ซึ่งเจาของกิจการ หรือผู ประกอบการตองศึกษาและพิจารณาอยางรอบคอบกอนการยื่นขอรับการ สนับสนุน ซึง่ ผูท สี่ นใจสามารถติดตอขอรายละเอียดเพิม่ เติม ไดที่ สํานักงาน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ทั้งนี้ เพื่อประโยชนสูงสุดในการ ลงทุนนั่นเอง EXECUTIVE SUMMARY Thailand Board of Investment (BOI) has announced the promotion in Special Economic Zone (SEZ) with cluster platform. The promotion specifies that the area in every provinces are investment promotion area. BOI has set the authority and benefit for investment promotional in SEZ with cluster platform to strengthen the value chain and lead to build the basement of future industry. By empowered the investment sector in Thailand, it will attract the value investment form the former investor and new comer and expand the civilization to provincial part and locality, also provide new chances in business for SMEs.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Head office

Factory & Service Center

Research & Development

System Integration

Service Sale

Aerofluid Training Center

ดวยประสบการณการทำงานกับกลุมลูกคาเปนเวลานาน พรอมทงัไดรบัการถายทอดจากเทคโนโลยี จากผผูลติโดย ตรงจากตางประเทศ ทำใหกลุมบริษัทแอโรฟลูอิดกรุป มคีวามชำนาญดานการออกแบบ และสรางระบบไฮดรอลกิส รวมถงึชดุควบคมุไฟฟาอยางครบวงจร เพอืทดแทนเครอืง จกัรเกาทเีสยีมสภาพ และสรางใหมตามความตองการของ ลูกคา ทำใหลูกคาประหยัดคาใชจายในการนำเขาจาก ตางประเทศ โดยมทีมีวศิวกรมากวา 30 คน พรอมเครอืง จกัรในกระบวนการผลติแบบอตัโนมตับินพนืทกีวา 1,600 ตร.ม. ภายใตมาตรฐาน ISO 9001-2008, ISO 140012004, OHSAS 18001:2007 และคณ ุ ภาพผลติภณ ั ฑ อตุสาหกรรม มอก. 975-2538

กลุมบริษัทแอโรฟลูอิดกรุป ไดเล็งเห็นความสำคัญของ การบำรุงรักษา จึงไดจัดตั้งศูนยซอมบำรุงมาตราฐาน (Service Center) ทไีดรบัการยอดรบัจากผผูลติ อาทิ Rexroth Bosch Group, Hydac, Sauer Danfoss Daikin และ Hawe บนพนืทกีวา 800 ตร.ม. ใหบรกิารตรวจสอบ ซอมบำรงุระบบไฮดรอลกิส ทงัในศนูย (In-House) และ นอกสถานที (On Site Service) อาทิ Hydraulic Piston Pump, Motor Proportional & Servo Valve Accumulator และ Cylinder ดวยระบบมาตรฐาน ISO 9001-2008 โดยเรมิจากการตรวจสนิคาจากลกูคาและ ตรวจสอบสภาพ เพอืประเมนิคาใชจายและใหคำแนะนำ ซงึมกีารทดสอบ พรอมรายงานผลการทดสอบ กอนสงมอบ ใหลูกคา เพื่อใหมั่นใจวาสินคามีประสิทธิภาพตรงตาม มาตราฐานของผผูลติ

ปจจบุนัในหลายบรษิทั ใหความสำคญ ั กบัการบำรงุรกัษา ทวผีลแบบทกุคนมสีวนรวมหรอื TPM (Total Productive Maintenance) ซงึเปนกจิกรรมเพอืการปรบัปรงุประสทิธภิาพ ในเรอืงของความสะอาด และการแกไขปญ  หาของเครอืง จกัรในระบบไฮดรอลกิส แอโรฟลอูดิจงึจดัตงัศนูยพฒ ั นา บำรงุรกัษาไฮดรอลกิส ขนึเพอืตองการจะพฒ ั นาขดีความ สามารถของบคุคลากรใหมคีวามรู ความสามารถในงาน ปฎบิตังิานรวมถงึการถายทอดความรไูปสคูนรนุหลงัตอไป บรหิารงานภายใตมลูนธิ​ิ เคยีงลง เพก็จู เพอืการศกึษา ในลกัษณะ Non Protfi able Organization

Training Center

169/4, 169/5 Moo 1 RangsitNakornnayok Rd., Lampakkud, Thanyaburi, Patumthanee 12110 Tel : +66 2577-2999 Fax : +66 2577 2700 Website : www.aerofluid.com E-mail : info@aerofluid.com


44 INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

จับสถานการณ์เศรษฐกิจ...

อุตสาหกรรมไทย ครึ่งแรกปี ‘59 ขยายตัวดีขึ้นจากการผลิตเครื่องจักร อุปกรณ์ และยานยนต์ ผ่านไปแล้ว 2 ไตรมาสส�าหรับปี พ.ศ. 2559 ภาพรวม เศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม ซึ่งถือเป็นหนึ่ง ในดัชนีชวี้ ดั อัตราการเติบโตของประเทศทีย่ งั คงต้องติดตาม อย่างใกล้ชิด บางภาคส่วนก็มีการขยายตัว ขณะเดียวกัน บางภาคส่วนก็มีการชะลอตัวตามภาวะเศรษฐกิจของคู่ค้า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ล่าสุด ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติ หรือ สภาพัฒน์ฯ ได้แถลงตัวเลข ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมในประเทศ (GDP) ในไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2559 และแนวโน้มภาพรวมเศรษฐกิจไทย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

เครื่องชี้ทำงเศรษฐกิจ สาขาอุตสาหกรรมกลับมาขยายตัว ตามการเพิ่มขึ้นของหมวดอุตสาหกรรมการผลิตที่ส�าคัญ 2558 ร้อยละ 0.9

Q1-58 2.2

Q2-58 -0.2

Q3-58 1.0

• สาขาอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 หลังจาก ลดลงร้อยละ 0.2 ใน Q1/59 • ดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรม เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 1.5 หลังจาก ลดลงร้อยละ 0.9 ใน Q1/59 • อัตราการใช้ก�าลังการผลิต เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 64.4 • อุตสาหกรรมการผลิตที่ขยายตัว ได้แก่ เครื่องจักร และอุ ป กรณ์ (+18.5%) ยาสูบ (+15.6%) และ ยานยนต์ (+12.1%) • อุตสาหกรรมการผลิตที่ลดลง ได้แก่ เครื่องแต่งกาย (-26.9%) ฮาร์ดดิสก์ ไดรฟ์ (-14.4%) และเครือ่ งจักร ส�านักงาน (-13.2%) • รวม H1/59 สาขาอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 0.9 อัตราการใช้ก�าลังการผลิตร้อยละ 66.6

ส� า หรั บ ตั ว เลขการลงทุ น รวม ยั ง พบว่ า มี ก ารขยาย ตัวร้อยละ 2.7 โดยที่ กำรลงทุนภำครัฐ ยังคงขยายตัว ได้ดีร้อยละ 10.4 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการลงทุนของ รัฐบาลที่ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 11.5 และการลงทุนของ รัฐวิสาหกิจทีข่ ยายตัวร้อยละ 8.2 ในขณะที่ กำรลงทุนภำค เอกชน ขยายตัวร้อยละ 0.1 ชะลอตัวลงจากการขยายตัว ร้อยละ 2.1 ในไตรมาสก่อนหน้า เป็นผลมาจากการลงทุน ในสิ่งก่อสร้างที่หดตัวร้อยละ 2.1 ในขณะที่ กำรลงทุน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ในเครื่องมือเครื่องจักรยังขยำยตัวต่อเนื่องร้อยละ 0.7 ดัชนีความเชือ่ มัน่ ทางธุรกิจอยูท่ รี่ ะดับ 50.0 เทียบกับระดับ 49.4 ในไตรมาสก่อนหน้า จับสถำนกำรณ์เศรษฐกิจไทยในไตรมำสที่ 2 ปี ‘59 เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2559 ขยายตัว ร้อยละ 3.5 เพิม่ ขึน้ จากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในไตรมาส แรก และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยใน

Q4-58 0.8

Q1-59 -0.2

Q2-59 2.0


INDUSTRIAL ECONOMIC STATISTIC 45

อัตราการขยายตัว (YoY) สาขาอุตสาหกรรม (ร้อยละ) 2558p1 อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรม วัตถุดิบ อุตสาหกรรม สินค้าทุน และเทคโนโลยี อุตสาหกรรมรวม

2558p1

2559p1

0.2

Q1 2.7

Q2 -2.6

Q3 0.4

Q4 -0.1

Q1 -3.3

Q2 0.3

2.8

2.5

4.8

1.7

2.1

3.1

-0.5

0.1

1.2

-2.3

1.0

0.4

0.5

6.7

0.9

2.2

-0.2

1.0

0.8

-0.2

2.0

อุตสาหกรรมเบา ขยายตัวร้อยละ 0.3

การเพิ่มขึ้นของการผลิตยาสูบ เพื่อรักษาระดับสินค้าคงคลังและการผลิตเบียร์ที่เพิ่มขึ้น

อุตสาหกรรมโรงกลั่นน�้ามันที่หดตัวลงเนื่องจากการ ปิดซ่อมบ�ารุงโรงกลั่นประจ�าปี ในขณะที่อุตสาหกรรมกระดาษ และผลิตภัณฑ์กระดาษ และอุตสาหกรรมเคมียังคงขยายตัว

อุตสาหกรรม สินค้าทุนและเทคโนโลยี ขยายตัวร้อยละ 6.7

อุตสาหกรรมวัตถุดิบ หดตัวร้อยละ 0.5

การขยายตัวของการผลิตรถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ขยายตัวสูงประกอบกับฐานการผลิตที่ต�่าในปีที่แล้ว ในขณะที่การผลิตรถจักรยานยนต์ ขยายตัวตามรายได้ ของภาคเกษตรกรที่ดีขึ้น และอุตสาหกรรมเครื่องจักรและ อุปกรณ์ โดยเฉพาะการผลิตเครื่องปรับอากาศและ ชิ้นส่วนขยายตัวสูงจากความต้องการใช้ ภายในประเทศที่ขยายตัวสูง และการส่งออก ไปยังประเทศในกลุ่มอาเซียน ขยายตัวได้ดี

ไตรมาสที่ 2 ของปี พ.ศ. 2559 ขยายตัวจากไตรมาสแรก ปี พ.ศ. 2559 ร้อยละ 0.8 (QoQ_SA) ดังนัน้ สรุปได้วา่ โดยรวม ครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2559 เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัว ร้อยละ 3.4 ทัง้ นี้ หากพิจารณาในส่วนของภาคอุตสาหกรรม พบว่า ตัวเลขการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมไทยกลับมาขยายตัว ร้อยละ 2.0 ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับการลดลงร้อยละ 0.2 ในไตรมาสแรก ตามการเพิ่มขึ้นของการผลิตอุตสาหกรรม ส�าคัญ โดย กลุ่มอุตสำหกรรมที่ขยำยตัว เช่น เครื่องจักร และอุปกรณ์ (โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ) ยาสูบ และ ยานยนต์ เป็นต้น ในขณะที่ กลุม่ อุตสำหกรรมทีล่ ดลง เช่น เครื่องแต่งกาย ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ และเครื่องจักรส�านักงาน เป็นต้น อัตรำกำรใช้ก�ำลังกำรผลิต เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 64.4 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 63.6 ในช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ไตรมำสที่ 2 ปี 2559 ภาคการผลิตขยายตัวร้อยละ 3.5 ปรับตัวดีขนึ้ จากร้อยละ 3.2 ในไตรมาสก่อน โดยในส่วนของภาคอุตสาหกรรม มีการ ขยายตัวร้อยละ 2.0 ปรับตัวดีขึ้นจากที่ติดลบร้อยละ 0.2 ในไตรมาสก่ อ น เนื่ อ งจากความต้ อ งการในประเทศที่ เพิม่ ขึน้ โดยอุตสาหกรรมทีส่ า� คัญทีเ่ พิม่ ขึน้ คือ อุตสาหกรรม ยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ SOURCE: ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ EXECUTIVE SUMMARY The Office of The National Economic and Social Development Board (NESDB) has been announced the summarize of the first half economic for 2016. NESDB mentioned that Thai economic sector has expand by 3.4% and if focus in industrial sector only, founded that the numbers of this sector growth was raised by 2.0%. The expansion of industrial sector was a fruitful from the increasing of machine and tools manufacturing sector (particularly air – condition), cigarette and automotive. The index number of industrial product raised by 1.5% and the average rate of production capacity is 64.4%.

issue 163 september 2016


46 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

ครม. เห็นชอบ (ร่าง) พ.ร.บ. 4 ฉบับ

ส่งสัญญาณหนุนการลงทุนและ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน เมื่อเร็วๆ นี้ คณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติเห็น ชอบ (ร่าง) กฎหมาย 4 ฉบับ เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยส่งเสริม การลงทุนในพื้นที่และอุตสาหกรรมเป้าหมายตาม นโยบายของรัฐบาล เพือ่ จูงใจนักลงทุนและอ�านวย ความสะดวกในการด�าเนินธุรกิจด้วยการลดขัน้ ตอน ของการอนุมัติและขอใบอนุญาต ทัง้ นี้ (ร่าง) กฎหมายทัง้ 4 ฉบับจะท�าให้นโยบาย ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ของรัฐบาล ขับเคลื่อนไปได้อย่างมีศักยภาพ นอกจากนี้ ยังมีมติส�าหรับสินค้าที่น�าเข้ามาใน พืน้ ทีเ่ สรีเพือ่ พาณิชยกรรม และเพือ่ ส่งออก ไม่ตอ้ ง ด�าเนินการตามกฎหมายเพือ่ การน�าเข้าและส่งออก ฉบับปกติอีกด้วย

พ.ร.บ. ส่งเสริมการลงทุน

สำระส�ำคัญในกำรแก้ ไข กฎหมำยของ BOI โดยขยำย ระยะเวลำกำรยกเว้นภำษีเงิน ได้นิติบุคคลเป็นสูงสุด 13 ปี ส� ำ ห รั บ กิ จ ก ำ ร ที่ ใ ช ้ เทคโนโลยีขั้นสูงในกำรผลิต และสำมำรถขอลดหย่อนภำษี เงิ น ได้ 50% เพิ่ ม เติ ม อี ก ไม่ เ กิ น 10 ปี นอกจำกนี้ ยังยกเว้นภำษีสินค้ำน�ำเข้ำ ที่ใช้ในกำรวิจัยและพัฒนำ

พ.ร.บ. เพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขัน

พ.ร.บ. เขตเศรษฐกิจ พิเศษในพื้นที่ 10 จังหวัด

พ.ร.บ. การนิคม อุตสาหกรรมแห่ง จั ด ตั้ ง ศู น ย ์ บ ริ ก ำ ร ประเทศไทย (กนอ.)

ส� ำ ห รั บ ก ำ ร ล ง ทุ น ก� ำ หนดให้ ผู้ ว ่ ำ กนอ. ในอุ ต สำหกรรมที่ ป ระเทศ เบ็ ด เสร็ จ (One Stop ต้ อ งกำรส่ ง เสริ ม โดย Service) เพื่อให้สิทธิพิเศษ มี อ� ำ นำจเที ย บเท่ ำ ผู ้ ว ่ ำ จัดตัง้ กองทุนสนับสนุนวงเงิน และอ� ำ นวยควำมสะดวก รำชกำรจั ง หวั ด และมี ก ำร 10,000 ล้ำนบำท และยกเว้น ให้ กั บ นั ก ลงทุ น ตลอดจน จัดตั้ง One Stop Service ภำษี แ ก่ ก ลุ ่ ม อุ ต สำหกรรม ให้ อ� ำ นำจแก่ ผู้ ว ่ ำ รำชกำร ในนิคมฯ โดย กนอ. สำมำรถ เป้ำหมำยได้สูงสุด 15 ปี จั ง หวั ด ในกำรบริ ห ำรงำน ด�ำเนินธุรกิจเพิ่มได้ และบังคับใช้กฎหมำยพิเศษ 9 ฉบับ

SOURCE: ส�ำนักนำยกรัฐมนตรี www.thaigov.go.th EXECUTIVE SUMMARY Thailand Council of Ministers were agreed on 4 bills to improve competitive potential of the country. The council provides promotional policy for all area and every targeted industry in their plan to attract the investor and facilitate in business running by reduce the approval procedure and license request. The bills are Investment Promotion Bill (Act…) Year… which updated from 1977, Competitive Potential Improvement Bill Year…, SEZ Bill Year… and Industrial Estate Bill updated from 1979.These policies improvement will push New – S Curve industry form the government with high efficiency. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


the energy management software เครื่องมือบริหารจัดการพลังงานไฟฟาที่ไดมากกวาเรื่องไฟฟา

Smart Monitoring

• Real-Time Monitoring • Demand Monitoring & Forecast • Alarm Setting for Energy Saving • Phasor Monitoring • Monitoring on Web Smart Reporter

• Historical Data • Billing by unit or time ability • Auto Report • Export data to Excel • Report on Web Smart Control

• Schedule Control / On demand Control

17th Anniversary I Servicing you since 2000 FREE UPDATE VERSION FOR LIFE TIME FREE FOR SmartEE One License DOWNLOAD : www.tat.co.th

TAT ENERGY AND ENGINEERING CO., LTD.

1083/37 Krungthep-Nontaburi Rd., Wongsawang, Bangsue, Bangkok THAILAND 10800 Phone: +66(2) 9109728-29 Fax: +66(2) 5879614 Mobile: +66(88) 6742156 E-mail: marketing@tat.co.th Website: www.tat.co.th



CHINT ELECTRIC | Distributor By AVERA

Gym level 9

25000 / 50000

40 AVERA

MODULAR DIN RAIL CP

3600

Distributor By

Contact US

บริษัท เอวีรา จำกัด Tel : Fax : E-mail : Website :

+662-681-5050 +662-681-5995 marketing@avera.co.th www.avera.co.th


50 EXCLUSIVE TALK เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์

ผอ.สถาบันพลาสติกไทย ชี้ช่องทางตอบโจทย์ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต

อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก เป็ น อุ ต สาหกรรม สนับสนุนที่มีบทบาทส�าคัญเป็นเบื้องหลังในการ ขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมปลายทางต่ า งๆ ของ ประเทศ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ หรือแม้แต่อุตสาหกรรมทางการ แพทย์ เช่น การผลิตวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น ซึ่ง สถาบันพลาสติกไทย ถือเป็นหนึ่ง ในฟันเฟืองส�าคัญของกระบวนการพัฒนา จึงมุ่ง ผลั ก ดั น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก ไทย ทัง้ ด้านเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และ การตลาดเพื่อน�าไทยสู่การเป็นผู้น�าอุตสาหกรรม พลาสติกอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือจากภาคส่วน ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง

ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ ผู้อำ�นวยก�รสถ�บันพล�สติกไทย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

อุตสาหกรรมพลาสติก ทรงตัวในประเทศ เติบโตก้าวกระโดดใน AC ปัจจุบนั อุตสาหกรรมพลาสติกไทยต้องเผชิญกับ ภาวะการแข่งขันทีร่ นุ แรง เนือ่ งจากคูแ่ ข่งทางการค้า ในต่างประเทศมีความได้เปรียบทั้งด้านต้นทุนและ เทคโนโลยี ประกอบกั บ สภาพเศรษฐกิ จ ที่ ยั ง คง ชะลอตัวในปัจจุบัน ส่งสัญญาณให้เห็นเค้าลางถึง การชะงักงันของอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศ รวมถึงอุตสาหกรรมพลาสติกไทยด้วยเช่นกัน เกี่ยวกับเรื่องนี้ ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อม รัตน์ ผู้อ�านวยการสถาบันพลาสติกไทย ได้กล่าวว่า “ภาพรวมอุตสาหกรรมพลาสติกเป็นไปตามสภาพ เศรษฐกิจในปัจจุบัน หากเทียบกับปีที่ผ่านมาถือว่า มีการเจริญเติบโตไม่มากนัก ซึ่งได้คาดการณ์ไว้ว่า ปีนี้น่าจะมีการเติบโตราว 3% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่าน มา โดยสายการผลิตที่มีการเติบโตมากที่สุด คือ บรรจุภัณฑ์ รองลงมา คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า ส�าหรับ สายการผลิตบรรจุภัณฑ์นั้นมีการเติบโตจากการ ส่งออกสินค้าอย่างมาก ตลาดทีม่ อี ตั ราการเติบโตสูง คือ ตลาดภูมภิ าคอาเซียน แม้วา่ ภาพรวมการเติบโต ในประเทศอาจมีสัดส่วนแค่ 2 - 3% แต่ในกลุ่ม ประเทศ AC และ CLMV กลับมีอัตราการเติบโต สูงมาก บางปีพบว่ามีการเติบโตสูงถึง 20% ซึ่งถือ เป็นตลาดอนาคตที่นักลงทุนอุตสาหกรรมพลาสติก ไทยไม่ควรพลาด”


EXCLUSIVE TALK

นอกจากนี้ ดร.เกรียงศักดิ์ ยังกล่าวถึงปัจจัย ส�าคัญที่ท�าให้ภาคอุตสาหกรรมพลาสติกในกลุ่ม ประเทศ AC มีแนวโน้มการเติบโตสูงขึ้นไว้อย่างน่า สนใจว่า “ขณะนี้ปริมาณการใช้พลาสติกในประเทศ เริม่ เข้าสูภ่ าวะอิม่ ตัว ดังนัน้ จึงต้องหันไปพึง่ พาตลาด ส่งออก โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านที่กา� ลังมีการ เจริ ญ เติ บ โตอย่ า งก้ า วกระโดด แต่ ที่ ส� า คั ญ คื อ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติกไทยต้องสร้าง นวัตกรรมในอุตสาหกรรมให้มากขึ้นกว่าเดิม และ ครอบคลุมในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม หากสามารถ ท�าได้ อนาคตอุตสาหกรรมพลาสติกไทยจะต้อง เป็น Product Champion ที่ใครๆ ก็ต้องนึกถึงอย่าง แน่นอน” ปรับโครงสร้าง เพิ่มมูลค่า ใส่ใจสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ขับเคลื่อน อุตสาหกรรมพลาสติกให้รุ่งเรือง หากกล่าวถึง SME เชือ่ ว่าหลายๆ คนอาจนึกถึง อุ ต สาหกรรมขนาดเล็ ก และขนาดกลางที่ ก� า ลั ง เริ่ ม ตั้ ง ไข่ แต่ ส� า หรั บ สถาบั น พลาสติ ก ไทยแล้ ว การส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมขนาดเล็ ก (S) และ อุตสาหกรรมขนาดกลาง (M) ให้มีความแข็งแรง จะช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกไทยให้เติบโต อย่างก้าวกระโดด “จากนโยบายที่กระทรวงอุตสาหกรรมได้ระบุ ถึงยุทธศาสตร์ 5 ปีข้างหน้า ซึ่งจะต้องผลักดันให้ เกิดการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม การเพิ่มมูลค่า และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีใส่ใจสิ่งแวดล้อม โดย ล�าดับแรก คือ ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ต้อง มุ่งให้ SME เป็น S และ M ที่แข็งแรงขึ้น เนื่องจาก ต้ อ งการเห็ น การขยายตลาดไปยั ง เขตเศรษฐกิ จ พิเศษ ประเทศเพื่อนบ้าน แทนที่จะกระจุกตัวอยู่ แค่กรุงเทพฯ ปริมณฑล และ จ.ระยอง จ.ชลบุรี ดังนัน้ ต้องเพิม่ โครงสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การเติบโตที่มากขึ้น

ต่อมา คือ การส่งเสริมการเพิม่ มูลค่า ถือเป็นอีก ยุทธศาสตร์หนึง่ ทีส่ ถาบันฯ ได้เข้าไปช่วยเหลือสถาน ประกอบการ โดยสถาบันฯ มีแผนในการจัดตั้งศูนย์ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติก นอกจากนี้ ยังมีการอบรม การเทรนนิง่ ทัง้ นี้ ก็เพือ่ ช่วยยกระดับ คุณภาพสินค้าให้กับสถานประกอบการอีกด้วย สุ ด ท้ า ยซึ่ ง มี ค วามส� า คั ญ ไม่ น ้ อ ยไปกว่ า กั น คือ ยุทธศาสตร์การพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม เน้ น การจั ด การพลาสติ ก เช่ น การรีไซเคิล ซึ่งเป็นการลงทุนต่อยอดอีกแขนงหนึ่ง หรือการท�าไบโออินดัสตรี ต่อยอดการเกษตร และ ย่อยสลายได้” ดร.เกรียงศักดิ์ กล่าว ตอบรับ New S – Curve ด้วย 3 เทรนด์พลาสติกมาแรง การผลักดันความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดย เฉพาะอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันถือเป็นสิ่งจ�าเป็นอย่าง หลีกเลีย่ งไม่ได้ จากนโยบายภาครัฐทีต่ อ้ งการผลักดัน เศรษฐกิจไทยให้เป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ หรือ New S - Curve ด้วยเห็นว่าอุตสาหกรรมใหม่หรือ อุตสาหกรรมอนาคตนั้นจะเป็นกลไกส�าคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สถาบันพลาสติกไทยเอง ก็ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง สถาบั น ฯ ที่ มิ ไ ด้ นิ่ ง นอนใจและ คิดกลยุทธ์ในการผลักดันอุตสาหกรรมพลาสติกไทย ให้สอดรับกับนโยบายอุตสาหกรรมแห่งอนาคตด้วย “ขณะนี้ภาคอุตสาหกรรมก�าลังตื่นตัวกับ New S - Curve กันมาก ในความจริงแล้ว สถาบันฯ มอง ว่าอุตสาหกรรมพลาสติกก็จัดเป็นอุตสาหกรรมใหม่ ด้วย ส�าหรับผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์อุตสาหกรรม ใหม่ทางสถาบันมองว่าหลักๆ แล้วแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

51

ช่วงเวล�นี้เป็นช่วงเปลี่ยนผ่�น นักลงทุนต้องติดต�ม New S – Curve ไปด้วย จะยึด S – Curve แบบเดิมๆ ก็อ�จไป ไม่รอด ดังนั้น จะต้องมีก�รใส่ คว�มคิดสร้�งสรรค์ ในก�ร ออกแบบ พัฒน�คุณสมบัติพิเศษ เพื่อเพิ่มมูลค่�ให้กับสินค้�ร่วมด้วย เพื่อช่วงชิงตล�ดอุตส�หกรรม อน�คตให้เป็นของประเทศไทยให้ ได้” ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ ผู้อำ�นวยก�รสถ�บันพล�สติกไทย

กลุม่ ที่ (1) บรรจุภณ ั ฑ์ สถาบันฯ พยายามผลักดัน ให้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ เ ป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ Functional คื อ มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น เก็บอาหารนาน ป้องกันการ สูญเสียอาหาร บางชนิดเป็นดัชนี้ชี้วัดได้ว่าอาหาร ชนิดนั้นๆ เน่าเสียแล้วหรือยัง หรืออาจเป็น Smart Packaging ทีส่ ามารถเก็บกลิน่ ได้ เป็นต้น ดังนัน้ เมือ่ พูดถึงบรรจุภัณฑ์ ไม่ได้หมายความถึงถุงพลาสติก ทั่วไป แต่เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความพิเศษร่วมด้วย

ห�กพูดถึงปริม�ณก�รใช้พล�สติก ต่อคนแล้ว ประเทศไทยอยู่ที่ประม�ณ 50 - 60 กิโลกรัม/คน/ปี ขณะที่ ประเทศเมียนม�ร์ กัมพูช� ยังมีปริม�ณก�รใช้พล�สติกไม่ถึง 10 กิโลกรัม/คน/ปี ก�รที่ตัวเลข ปริม�ณก�รใช้มีน้อย สะท้อนถึงก�ร เติบโตจะต้องเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จ�กคว�มเปลี่ยนแปลงสภ�พสังคม และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป

issue 163 september 2016


52 EXCLUSIVE TALK

เทรนด์พลาสติกมาแรง

บรรจุภัณฑ์

วัสดุอุปกรณ์ ทางการแพทย์

ไบโอพลาสติก

กลุม่ ที่ (2) วัสดุอปุ กรณ์ทางการแพทย์ ซึง่ ตอบ โจทย์ New S – Curve เป็นตลาดทีม่ มี ลู ค่าสูง แต่กต็ อ้ ง รับผิดชอบชีวิตมนุษย์สูงเช่นกัน อาทิ สายน�้าเกลือ ขวดน�้าเกลือ เข็มพลาสติก ซึง่ ส่วนใหญ่ประเทศไทย อาศัยการน�าเข้ามาใช้ นีจ่ งึ เป็นโจทย์ใหญ่ทนี่ กั ลงทุน ไทยต้องคิด พัฒนา และผลิตเพื่อส่งออก กลุม่ สุดท้าย คือ กลุม่ ไบโอพลาสติก สอดคล้อง กับการทีร่ ฐั บาลก�าลังขับเคลือ่ น Bio Industry ทุกวันนี้ พลาสติ ก มาจากปิ โ ตรเลี ย ม แต่ ใ นอนาคตก๊ า ซ ธรรมชาติอาจหมด ท�าให้ต้องหันมามองจุดแข็ง ของประเทศ นั่นคือ วัสดุทางการเกษตร โดยเฉพาะ น�้าตาล ปาล์ม ข้าว ซึ่งน�ามาท�าพลาสติกได้ด้วย อย่างไรก็ตาม ดร.เกรียงศักดิ์ กล่าวว่า ช่วงเวลานี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่าน นักลงทุนต้องติดตาม New S – Curve ไปด้วย จะยึด S – Curve แบบเดิมๆ ก็อาจไปไม่รอด ดังนั้น จะต้องมีการใส่ความคิด สร้างสรรค์ในการออกแบบ พัฒนาคุณสมบัติพิเศษ เพือ่ เพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้าร่วมด้วย เพือ่ ช่วงชิงตลาด อุตสาหกรรมอนาคตให้เป็นของประเทศไทยให้ได้” เปิดยุทธศาสตร์ 5 ปี Go Inter คือ หนทางของผู้น�า จ า ก รู ป แ บ บ ก า ร ผ ลิ ต ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ที่ ดร.เกรียงศักดิ์ ได้กล่าวไว้ จะเห็นได้วา่ กระบวนการ ผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นรูปแบบเดิม ไม่ค่อยมีการน�า นวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามาใช้ อีกทัง้ ในบางอุตสาหกรรม เช่ น อุ ต สาหกรรมวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ประเทศไทยเน้ น การน� า เข้ า เพี ย งอย่ า งเดี ย ว

ดังนั้น เพื่อให้อุตสาหกรรมพลาสติกประเทศไทย เติบโตจนเป็นผู้น�าได้ จ�าเป็นต้องอาศัยการวาง ยุทธศาสตร์ทผี่ ลักดันนักลงทุนผลิตเพือ่ ส่งออกให้ได้ ส�าหรับยุทธศาสตร์ 5 ปีของสถาบันพลาสติกไทย ตั้งเป้าหมายไว้ว่าประเทศไทยจะต้องเป็นผู้ส่งออก ผลิตภัณฑ์พลาสติกมากที่สุดในอาเซียน ทุกวันนี้ สถาบั น ฯ พยายามสื่ อ สารกั บ ผู ้ ป ระกอบการ อย่างต่อเนื่องว่า ภาวะอุตสาหกรรมในประเทศ เริ่มอิ่มตัวแล้ว หากผู้ประกอบการต้องการไปรอด และไปได้ดีต้องหันไป Go Inter ต้องเปลี่ยนแนวคิด การขายในประเทศ ตลาดมีขนาดประชากร 60 ล้านคน แต่ถ้าส่งออกไปจ�าหน่ายทั่วโลกจะก้าวสู่ไปตลาด ที่มีขนาดประชากรมหาศาลเลยทีเดียว ทัง้ นี้ ปัจจุบนั มีผปู้ ระกอบการทีห่ นั มาพัฒนาและ ปรับปรุงอุตสาหกรรมพลาสติกให้มนี วัตกรรมใหม่ๆ เพิม่ ขึน้ แต่ยงั มีจา� นวนไม่มากนัก หากผูป้ ระกอบการ ท� า ความเข้ า ใจกั บ ความส� า คั ญ ในการพั ฒ นา นวั ต กรรมเพื่ อ อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก เชื่ อ ว่ า โอกาสทีป่ ระเทศไทยจะเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม พลาสติกของโลกอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมอย่างแน่นอน” ท ้ า ย นี้ ด ร . เ ก รี ย ง ศั ก ดิ์ ยั ง ไ ด ้ ฝ า ก ถึ ง ผู ้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก ไทย ว่ า “การคิดและท�าในสิ่งเดิม อาจท�าให้ธุรกิจอยู่รอด ในวั น นี้ แต่ ก ารพั ฒ นานวั ต กรรมที่ ส อดรั บ กั บ ความต้องการของโลก จะส่งผลให้เกิดการเติบโต อย่างไม่สิ้นสุดไปจนถึงอนาคต เช่นเดียวกับการ เริ่มต้นพัฒนานวัตกรรมของอุตสาหกรรมพลาสติก ในวันนี้ ย่อมส่งผลให้อุตสาหกรรมพลาสติกไทย ในวันข้างหน้าเติบโตได้อย่างยั่งยืน”

EXECUTIVE SUMMARY Dr. Kriengsak Wongprompat, Director of the Plastic Institute of Thailand revealed about overall image for plastic industrial that will be risen by 3% when compare to the former year. The production line that has the best growth rate is packaging and the next one is electric appliance. For packaging production line, it growth from the export with the high rate market that is AC market. Even the domestic growth rate has proportion only 2 – 3% but in AC and CLMV countries have very high growth rate. This is a future market which Thai plastic entrepreneur shouldn’t miss the opportunity at all. This is a time of changing, the entrepreneur must pay an attention to the movement of New S – Curve industry groups by improving the creativity in design and unique feature which will be the product’s value added to compete in future market for Thailand. To think and act in the same intimate way may make the business survive for today but to improve the innovation to matching with the world’s demand will make the business growth endlessly. As the starting of innovation for Thailand plastic innovative today, it’ll be effected to the growth rate in the future.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


เรียบเรียง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

GREEN ZONE POLICY 53

กกพ. เดินหน้ำรับซื้อไฟฟ้ำจำกขยะอุตสำหกรรม ย�้ำมุ่งส่งเสริมพลังงำนหมุนเวียนของประเทศ คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เดินหน้าออกประกาศ รับซือ้ ไฟฟ้าพิเศษจากขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ตั้งเป้ารับซื้อไม่เกิน 50 เมกะวัตต์ ขานรับนโยบายภาครัฐมุ่งเน้นการ ส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน และปฏิรปู ด้านพลังงานของประเทศ เพือ่ ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม คุณวีระพล จิรประดิษฐกุล กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน ใน ฐานะโฆษกของ กกพ. กล่าวถึงความคืบหน้าภายหลัง คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้มีมติให้มีการรับซื้อไฟฟ้าจาก ขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ว่า การประกาศรับซื้อ ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนปี 2558 - 2562 ในปริมาณไม่เกิน 50 เมกะวัตต์ ซึ่ง กพช. ได้มีมติเห็นชอบให้มีการรับซื้อไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง จากขยะ เฉพาะในพื้นที่ของนิคมอุตสาหกรรม โดยให้ด�าเนินการรับซื้อ ในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการแข่งขันด้าน ราคา (Competitive Bidding) ตั้งแต่เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2558 ขณะนี้ กกพ. ได้ออกประกาศและหลักเกณฑ์การรับซือ้ ไฟฟ้าโครงการดังกล่าวแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เป็นต้นมา

ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวเป็นโครงการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะอุตสาหกรรม ที่ต่อยอดจากเตาเผาขยะอุตสาหกรรมเดิมที่มีอยู่ (ก่อนวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558) หรือโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ที่ไม่ใช้เทคโนโลยีพลาสมา หรือโครงการโรงไฟฟ้าใหม่ที่ใช้ เทคโนโลยีพลาสมา ซึ่งเป็นไปตามอัตรารับซื้อไฟฟ้าพิเศษจากขยะอุตสาหกรรมใน รูปแบบ FiT ส�าหรับการประกาศรับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนปี 2558 – 2562 โดย ตัง้ เป้าสามารถจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (SCOD) ได้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2562

กกพ. ค�ำนึงถึงเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยได้ก�ำหนด

มำตรกำรป้องกัน แก้ ไข และติดตำมตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่ง ขณะนี้ อยู่ระหว่ำงกำรจัดท�ำประมวลหลักกำรปฏิบัติ หรือ Code of Practice (CoP) ส�ำหรับโครงกำรรับซือ้ ไฟฟ้ำจำกขยะอุตสำหกรรม คำดว่ำจะออก CoP ได้เสร็จ ภำยในเดือนกันยำยน 2559 นี้

ขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบ FiT ตรวจสอบจุดเชื่อมโยงโครงข่าย ระบบไฟฟ้า กับ กฟน.หรือ กฟภ. ลงนามในสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้ากับการไฟฟ้า ฝ่ายจ�าหน่าย

ขอรับแบบค�าขอผ่านทางเว็บไซต์ www.erc.or.th หรือ ส�านักงาน กกพ.

กกพ. ประกาศรายชื่อ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือก

จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิง พาณิชย์ (SCOD)

EXECUTIVE SUMMARY National Energy Policy Committee has a decision to buy the electricity that generated from industrial waste in Feed-in Tariff (FiT) format. The announcement policy for electricity from alternate energy is not more than 50 MW. The committee has agreed to buy electricity that generate from waste in the industrial estate area only. The process will proceed in the format of FiT which is no need to proceed thru the competitive bidding. This project was continuing from the former industrial incinerator project (before 16 Feb 2015) or the project of new electricity plant that use or didn’t use plasma technology. This policy is according to the special purchase rate from industrial waste in the format of FiT. This electricity policy are promoting from 2015 – 2019 which aim to provide the electricity into SCOD within 31 December 2019. issue 163 september 2016


54 GREEN ZONE POLICY

เรียบเรียง: ภิญญาภรณ ชาติการุณ

transport

gas

offsets

recycling

waste

fuel

ISO 14067 กระตุ นผู ประกอบการส งออก

ใช ‘ฉลากคาร บอน’ ควบคุม

ปริมาณปล อยก าซเรือนกระจก ประเทศไทยก� า ลั ง เผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายที่ ส�าคัญต่อการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน สืบเนือ่ งจากปัญหาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ เกิดขึ้นในระดับโลกอันมีสาเหตุมาจากการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแล้วในช่วงหลังปฏิวัติ อุตสาหกรรม เป็นตัวเร่งส�าคัญทีก่ อ่ ให้เกิดการสัง่ สม ของปริมาณก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ และ ท� า ให้ ป รากฏการณ์ ก ๊ า ซเรื อ นกระจก และการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทวีความรุนแรงขึ้น อย่างมีนัยส�าคัญ แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็น สถานการณ์ปญ ั หาทีส่ า� คัญระดับโลก แต่สง่ ผลกระทบ ต่อประเทศก�าลังพัฒนาเช่นประเทศไทยเป็นอย่าง มาก เนื่องจากเป็นประเทศเกษตรกรรม มีรูปแบบ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

การพั ฒ นา และวิ ถี ชี วิ ต ที่ ต ้ อ งพึ่ ง พิ ง ความอุ ด ม สมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศจึ ง นั บ เป็ น ภั ย คุกคามทีส่ า� คัญ ขณะเดียวกันก็ยงั ต้องเผชิญการเพิม่ ขึ้นของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จาก รูปแบบของการพัฒนาประเทศที่จ�าเป็นต้องพึ่งพา พลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลเป็นหลัก และจากการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วของพื้นที่เมือง ท�าให้มีความ ต้องการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การที่ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้ทวีความส�าคัญ ท�าให้นานาประเทศมีความร่วมมือ กันในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประเทศไทยจึงอาจ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความกดดั น ทั้ ง ในกรอบความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศในการแก้ ไขปั ญ หาการ

เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ให้ต้องมีภาระรับผิด ชอบเพิม่ ขึน้ ในการร่วมแก้ไขปัญหา และจากประเทศ คู่ค้าต่างๆ ที่มีศักยภาพ เทคโนโลยี และการจัดการ กระบวนการผลิตสินค้าและบริการทีด่ กี ว่า ซึง่ เริม่ น�า ประเด็นดังกล่าวมาเป็นข้อก�าหนดหรือข้อบังคับ ทางการค้าลักษณะต่างๆ เช่น การเก็บค่าธรรมเนียม การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเทีย่ วบินทีบ่ นิ เข้าน่าน ฟาของสหภาพยุโรปการบังคับให้ติดฉลากรอยเท้า คาร์บอน (Carbon Footprint) เป็นต้น ทั้งนี้ ประเทศไทย ซึ่งมีฐานเศรษฐกิจที่ต้อง พึ่งพาการส่งออก ย่อมได้รับผลกระทบหรือมีความ เสี่ยงสูงที่จะต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าวอย่างหลีก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ความพยายามที่ จ ะแก้ ไขปั ญ หาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจ�าเป็นต้องผลักดันให้ เกิดความร่วมมือกันในระดับโลก ซึง่ ประเทศไทยก็ได้ ตระหนักถึงความจ�าเป็นในการร่วมกับประชาคมโลก ในเรือ่ งดังกล่าวอย่างจริงจัง จึงได้ให้สตั ยาบันเข้าเป็น รัฐภาคี ภายใต้กรอบอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climage Change: UNFCCC) และพิธสี ารเกียวโต (The Kyoto Protocol: KP) เมื่อป พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2545 ตามล�าดับ และได้เข้าร่วมประชุมหารือกรอบความร่วมมือระดับ


GREEN ZONE POLICY 55

แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 โลกในการแก้ไขปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิ อากาศอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ประเทศไทยมีความจ�าเป็นต้องมี ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการจั ด การกั บ ปั ญ หาในส่ ว นที่ กระทบหรือเกีย่ วข้องกับประเทศไทย จึงได้มกี าร จัดท�ายุทธศาสตร์แห่งชาติวา่ ด้วยการจัดการการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ พ.ศ. 2551 - 2555 ขึ้นเป็นฉบับแรก ก่อนที่กระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้องน�าไปใช้เป็นกรอบนโยบายในการ แปลงแผนไปสู่การปฏิบัติต่อไป และเพื่อให้เกิด การด�าเนินงานที่ต่อเนื่อง จึงได้จัดท�า ‘แผน แม่ บ ทรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อากาศ พ.ศ. 2558 - 2593’ ขึ้น เพื่อใช้ส�าหรับ เป็นกรอบแนวทางในระยะยาวในการด�าเนินงาน ของภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ขับเคลือ่ นการแก้ไข ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อไป

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ ของผลิตภัณฑ์

เป้าหมายระยะสั้น พ.ศ. 2559

พั ฒ นากลไกและสร้ า งขี ด ความ สามารถในประเด็นหลักๆ ที่ต้อง ด�าเนินการอย่างเร่งด่วน

เป้าหมายระยะกลาง พ.ศ. 2563

เป้าหมายระยะยาว พ.ศ. 2593

พั ฒ นากลไกและสร้ า งขี ด ความ สามารถในส่วนทีต่ อ้ งใช้ระยะเวลาใน การด� า เนิ น งาน รวมถึ ง ก� า หนด เป้ า หมายที่ แ สดงถึ ง ผลลั พ ธ์ (Outcome) ของการด�าเนินงานใน ระยะกลาง

ก� า หนดเป้ า หมายที่ แ สดงถึ ง ผลลัพธ์ของการด�าเนินงานในระยะ ยาว รวมถึงเป้าหมายต่อเนื่อง ซึ่ง ระบุตัวชี้วัดของผลลัพธ์ที่ควรมี การติดตามข้อมูลเป็นระยะๆ อย่าง ต่อเนื่อง

จากความตื่ น ตั ว เกี่ ย วกั บ การแก้ ป ั ญ หาการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศข้างต้น ท�าให้ องค์ ก รธุ ร กิ จ ภาคอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมการผลิตต้องตระหนักต่อการแสดง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทั้ง ค� า นึ ง ถึ ง ปั ญ หาภาวะโลกร้ อ น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น อุ ต สาหกรรมของประเทศเข้ า สู ่ ร ะบบเศรษฐกิ จ คาร์บอนต�่า (Low Carbon Economy) ส่งผลให้ต้อง ด�าเนินการพัฒนาคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ (Carbon Footprint) ขึ้ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการประเมิ น

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคการผลิต โดย องค์ ก ารระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยการ มาตรฐาน (ISO) โดยคณะกรรมการวิชาการ ISO/ TC 207/SC7 ได้กา� หนดมาตรฐาน ISO/TS 14067: 2013 ขึ้น ขณะนี้ในหลายประเทศเริ่มมีการน�าคาร์บอน ฟุตพริ้นท์มาใช้แล้ว ทั้งในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา ญี่ปุ่น และเกาหลี ทั้งยังมี การเรียกร้องให้สินค้าที่น�าเข้าจากประเทศไทยต้อง ติดเครื่องหมายคาร์บอนฟุตพริ้นท์ด้วย

หมายถึง ปริมาณการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์โดย ตลอดวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Greenhouse Gas Emissions of Goods and Services) ครอบคลุม ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การแปรรูป วัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่ง ผลิตภัณฑ์มาถึงร้านค้าปลีก การใช้ และการจัดการขั้นสุดท้าย

issue 163 september 2016


56 GREEN ZONE POLICY

ส�าหรับประเทศไทย องค์การบริหารจัดการ กาซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) ร่วมกับ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ได้พัฒนาระบบการขึ้น ทะเบียนฉลากคาร์บอน “Carbon Reduction Label” เพื่อผลักดันกลไกทางการตลาดในการ กระตุ้นให้ผู้ผลิตสินค้าพัฒนากระบวนการผลิตให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการสร้าง ทางเลือกให้กบั ผูบ้ ริโภคให้มสี ว่ นร่วมในการลดการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยตัวฉลากจะแสดง ระดับการลดลงของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกออกสู่บรรยากาศจากกระบวนการผลิต อย่างใดอย่างหนึ่ง ทัง้ นี้ มาตรฐานคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของไทยนัน้ ก็พัฒนามาจาก ISO 14067 ซึ่งเป็นการเตรียม ความพร้อมให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทย รั บ มื อ กั บ มาตรฐานสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กี่ ย วกั บ การ ประเมินก๊าซเรือนกระจก รวมทัง้ มาตรฐานคาร์บอน ฟุตพริน้ ท์ ISO 14067 เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรม เตรียมปรับตัวให้ทนั กระแสความต้องการสินค้าลด โลกร้อนของผู้บริโภคในอนาคตด้วย เพื่อเสริม สร้างขีดความสามารถและความได้เปรียบทางการ แข่งขัน ผูป้ ระกอบการไทยจ�าเป็นต้องเตรียมความ พร้อม รับมือกับมาตรฐานภาวะโลกร้อนด้วยการ ออกนโยบายแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนที่ชัดเจน ซึ่ง ในส่วนของธุรกิจอุตสาหกรรมในภาคการผลิตนั้น กระทรวงอุตสาหกรรมควรมีข้อก�าหนดให้โรงงาน อุ ต สาหกรรมจั ด ท� า ‘รายงานการประเมิ น คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ต์ ป ระจํ า ป ใ นแต่ ล ะกลุ ่ ม อุตสาหกรรม’ เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมไทยมี ข้อมูลการปล่อยก๊าซคาร์บอนในระดับสากล และ ท�าให้ผู้ประกอบการตระหนักว่าควรปรับลดการ ปล่อยก๊าซคาร์บอน ด้วยการลดการใช้ไฟฟาและ พลังงานในการผลิตอย่างไร ทั้งยังเป็นการแสดง ความจริงจังและจริงใจในการให้ค�ามั่นสัญญาต่อ ตนเองและสังคมว่าจะพยายามลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก ส่งผลดีตอ่ ภาพลักษณ์ขององค์การ ไม่ ว่ า จะเป็ น ความเป็ น ผู ้ น� า ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental Leadership) การแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) ตลอดจนเป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้กบั แบรนด์ สินค้า (Brand Enhancement) ได้เป็นอย่างดี

ข อกําหนดสําคัญของมาตรฐาน ISO 14067

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์

ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ ผลิตภัณฑ์โดยตลอดวัฏจักรชีวิต (LIFE Cycle Greenhouse Gas Emissions of Goods and Services) ครอบคลุมตัง้ แต่การได้มาซึง่ วัตถุดบิ การแปรรูปวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การขนส่ง ผลิตภัณฑ์มาถึงร้านค้าปลีก การใช้ และการก�าจัด ขั้นสุดท้าย ป จจุบันคาร์บอนฟุตพริ้นท์ถูกน�ามาใช้เป็น เครื่องมือวิเคราะห์ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกตลอดวัฎจักรชีวิต 3 ระดับ คือ ระดับ ผลิตภัณฑ์ ระดับบริการ และระดับองค์การ

ฉลากคาร์บอน (Carbon Label)

ฉลากที่แสดงข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นต์ของผลิตภัณฑ์ บ่งชีข้ นาดคาร์บอนฟุตพริน้ ต์เป็นตัวเลข (Carbon Score) หรือระดับของขนาดคาร์บอนฟุตพริน้ ต์ (Carbon Rating Or Low-Carbon Seal) หรือการลดลงของการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก (Carbon Reduction) ในกรณีที่แสดงข้อมูล ขนาดคาร์บอนฟุตพริน้ ต์เป็นตัวเลข จะแสดงผลในรูปหน่วย น�า้ หนักของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (Kg Co2 Equivalent) ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ที่ผ่าน การรับรองผลการค�านวณคาร์บอนฟุตพริน้ ต์ ให้ตดิ ฉลาก คาร์ บ อน หมายความว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นั้ น ผลิ ต จาก กระบวนการผลิตทีค่ า� นึงถึงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและ มีความเป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ

ข อมูลอะไรบ าง? ที่อยู่ใน ‘ฉลากคาร์บอน’ ผลิตภัณฑ์ทมี่ รี ะดับการลดลงของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการจัดการพลังงาน (การใช้พลังงานไฟฟ้าและการใช้เชือ้ เพลิงในกระบวนการผลิต) และการจัดการของเสียระหว่าง ป พ.ศ.2545 ถึงป ล่าสุดที่ครบ 12 เดือน ว่าลดลงตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

ผลิตภัณฑ์ที่มีกระบวนการผลิตด้วยระบบผลิตไฟฟ้าจากวัสดุชีวมวลหรือกากของเสียเพื่อใช้ ภายในโรงงาน โดยอาจซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตภายนอกได้ แต่ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 5 ของปริมาณ ไฟฟ้าทั้งหมดที่ใช้ในการผลิตสินค้า ทั้งนี้จะไม่มีการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในกระบวนการผลิต (ยกเว้นเพือ่ การเริม่ ต้นเดินระบบผลิตไฟฟ้า และเพือ่ การเคลือ่ นย้ายสิง่ ของภายในพืน้ ทีส่ ถาน ประกอบการเท่านั้น) และไม่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากของเสีย (น�้าเสีย หรือกากของ เสีย/ขยะมูลฝอย) กรณีที่กระบวนการผลิตมีการใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงในภาคอุตสาหกรรมประเภท นั้น ๆ จะพิจารณาเป็นกรณีไป

Source : - ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ EXECUTIVE SUMMARY The awakening of problem – solving for climate change are pushing the industrial organization, particularly in manufacturing industry. They must take responsibilities for environment and community, also considering on global warming issue. The manufacturing entrepreneur must force into Low Carbon Economy which is the cause of Carbon Footprint development. The Carbon Footprint is a measurement tool for detect the amount of gas emissions in manufacturing process. The International Standard Organization (ISO) by the Technical Committee ISO / TC 207 / SC7 has been specify the standardize of ISO / TS 14607: 2013. For Thailand, Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) (TGO) cooperation with Thailand Environment Institute (TEI) to develop Carbon Reduction Label system. This system will push the demand and also encourage the manufacturer to improve their manufacturing process with higher efficiency. This trend will be a choice for consumer to take a part in greenhouse effect reduction. The label will present the number of reduced greenhouse gas emission from one of the manufacturing process of the product. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


Truevolt DMMs for your next generation of insights As the industry leader in bench digital multimeters (DMMs), Keysight delivers more than numbers. We empower insights. Now we’re raising the standard again with two new Keysight Truevolt DMMs, the 6½ digit 34465A and 7½ digit 34470A. Both models build on Truevolt ’s graphical capabilities such as trend and histogram charts offering more insights quickly. They provide a data logging mode for easier trend analysis and a digitizing mode for capturing transients. Also, both offer auto calibration that allows you to maintain measurement accuracy throughout your workday. Our new 7½ digit DMM offers greater resolution and accuracy for your most challenging devices. Truevolt DMMs

34461A

34465A NEW

34470A NEW

Resolution

6½ digits

6½ digits

7½ digits

DCV accuracy

35 ppm

30 ppm

16 ppm

Linearity

2 ppm

1 ppm

0.5 ppm

1 k/s

5 k/s (opt 50 k/s)

5 k/s (opt 50 k/s)

Reading speed BenchVue software enabled

Control your DMM with other Keysight instruments via a PC or mobile device

IRC Technologies Limited

Authorized Distributor and Service Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: 02-717-1400 Fax: 02-717-1422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th

A Keysight Authorized Distributor

Trend chart

Histogram


58 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

DEEP SOUTH

BETONG เมืองแห่งการท่องเที่ยวและพลังงานทดแทน

เรื่องของชายแดนใต้อาจจะไกลโพ้นจากความ สนใจของคนไทยบางคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งค�าว่า “Deep South” คนทัว่ ๆ ไปยังไม่คอ่ ยคุน้ แต่สา� หรับ ศอ.บต.(ศูนย์อ�านวยการบริหารจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ) และคนชายแดนใต้ เข้ า ใจความหมายดี ทุกๆ รัฐบาลและองค์กรต่างได้ทมุ่ เททัง้ งบประมาณ และบุคลากรเพื่อฟื้นคืนความสงบสุข และความ เข้าใจอันดี แต่เนื่องจากปัญหาชายแดนใต้ก่อเกิด จากหลายๆ ปั จ จั ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น ด้ า นการเมื อ ง เศรษฐกิจ ศาสนา สังคม และยาเสพติดรวมทั้ง ผลประโยชน์... จึงไม่สามารถแก้ไขได้ในเวลาอันสั้น ด้วยแนวคิดในการสร้างสันติสุขอย่างยั่งยืนจาก ฐานความมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง ศอ.บต. จึงได้น�ามิติเศรษฐกิจมาเป็นแนวทางหลัก ในการพัฒนา สร้างความเชือ่ มโยงด้วยเมืองต้นแบบ ของ 3 จั ง หวั ด ภาคใต้ ต ามศั ก ยภาพของแต่ ล ะ พื้นที่ ซึ่งเป็นที่มาของ “โครงการเมืองต้นแบบ สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” จะขอสรุปข้อมูล Deep South ในมุมมองของด้านเศรษฐกิจและชุมชน มีส่วนร่วม (Stakeholders) ดังนี้ ยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นความมั่ น คง เริ่ ม จากการ ควบคุ ม สถานการณ์ แ ละยุ ติ ส ภาพปั ญ หา มี ก าร ปฏิ บั ติ ก ารเชิ ง รุ ก ควบคู ่ กั บ การพั ฒ นาเสริ ม สร้ า ง สันติสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ดา้ นเศรษฐกิจ เชือ่ มโยงการพัฒนา ในมิติเศรษฐกิจเพือ่ เป็นแรงผลักดันการแก้ไขปัญหา ความเหลือ่ มล�า้ ความไม่เป็นธรรม และการยกระดับ คุณภาพชีวติ ของประชาชน และท้ายทีส่ ดุ ก็คอื สร้าง ความมั่นคงทางด้านรายได้ให้กับประชาชนเพื่อน�า ไปสู่การสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยใน พื้นที่โดยที่ประชาชนมีส่วนร่วม แนวคิ ด การสร้ า งเมื อ งต้ น แบบการพั ฒ นา เศรษฐกิจบนศักยภาพของต้นทุน ด้านห่วงโซ่มูลค่า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

และอั ต ลั ก ษณ์ บ นพื้ น ฐานการมี ส ่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่วน เพื่อให้เกิดการดูแลและปกป้องพื้นที่โดย ประชาชนมีสว่ นร่วม และขยายพืน้ ทีท่ มี่ คี วามมัน่ คง มีความปลอดภัยและประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ใี ห้ มาบรรจบกันภายใต้กรอบการพัฒนาสามเหลี่ยม เศรษฐกิจ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” โดยแนวทางการ พัฒนา อ�าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เป็นเมือง ต้นแบบอุตสาหกรรม อ�าเภอสุไหงโก-ลก จังหวัด นราธิวาส เป็นศูนย์กลางการค้าชายแดนระหว่าง ประเทศ และ อ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา เป็นเมือง ต้นแบบการพัฒนาที่พึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product: GPP)

37,982

46,864

39,477 ปัตตานี

ยะลา นราธิวาส

ภาพรวมเศรษฐกิจ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ หนองจิก เมืองต้นแบบอุตสาหกรรม และเมือง หน้ า ด่ า นของอุ ต สาหกรรมน�้ า มั น ปาล์ ม จั ง หวั ด ปัตตานีมีการปลูกปาล์มน�้ามันทั้งสิ้น 300,000 ไร่ โดยอ�าเภอหนองจิกปลูกปาล์มกว่า 60,000 ไร่ จึงมี อุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ งมากมาย สร้ า งรายได้ ใ ห้ ท้ อ งถิ่ น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี มี ก ารลงทุ น ไปแล้ ว กว่ า หนึ่ ง พั น ล้ า นบาท ประกอบด้ ว ย โรงงานสกั ด น�า้ มันปาล์มขนาด 45 ตันทลายปาล์มต่อชัว่ โมง และ โรงไฟฟ้าจากวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ก๊าซชีวภาพจากน�้าเสีย ซึ่งสามารถ จ�าหน่ายไฟฟ้าได้แล้ว 2 เมกะวัตต์ และยังมีโรงไฟฟ้า ชีวมวลจากทลายปาล์มเปล่า (EFB) ก�าลังก่อสร้าง ขนาด 6.5 เมกะวัตต์ และ 9.9 เมกะวัตต์ และยังมี การผลิตปุย๋ อินทรียจ์ ากของเหลือทิง้ ในกระบวนการ สกัดน�้ามันปาล์มอีกด้วย สุ ไ หงโก-ลก ศู น ย์ ก ลางการค้ า ชายแดน สุดแดนใต้ มีด่านตรวจคนเข้าเมืองถึง 2 จุด คือ จุดสุไหงโก-ลก และ จุดตากใบ ในปีพ.ศ. 2558 มีมูลค่าการค้ารวม 2,890 ล้านบาท สินค้าส่งออก คือ ปลาทะเล ผลไม้สด เศษยาง ผ้าผืน และโคกระบือมีชีวิต ส่วนสินค้าน�าเข้า ได้แก่ ไม้แปรรูป หนังโคหมักเกลือ และมะพร้าวผล ขณะนี้ก�าลังพัฒนาพื้นที่ Free Zone ด่านรัน เตาปันยังโดยเน้นการค้าสินค้าเกษตรและเครื่องใช้ ไฟฟ้า ขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนารถไฟฟ้าเชื่อม ต่อชายแดนไทย-มาเลเซีย เบตง Smart Green Cities เบตง จังหวัดยะลา เมืองปลายสุดด้ามขวาน ของประเทศไทย มีอัตลักษณ์เฉพาะตัว พื้นที่สูง เฉลี่ย 500 เมตรจากระดับน�้าทะเล จึงมีอากาศดี


RENEWABLE ENERGY 59

โครงสร้างเศรษฐกิจ นราธิวาส

ที่มา: คสช.

การค้า

บริการและอื่นๆ

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

อุตสาหกรรม

นี่คือเสียงสะท้อนจาก Deep South

ยะลา

ปัตตานี

เกษตร

“ขณะนี้ในพื้นที่หลายอ�าเภอ ในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ สถานการณ์ยังไม่ปกติ เกิดระเบิด และ เสียงดังคล้ายระเบิดในบางพื้นที่ รวมทั้งไฟฟ้า ดับเป็นบริเวณกว้างในหลายอ�าเภอ สิ่งที่เรา ช่วยกันได้ คือ ตรวจสอบหน้าบ้าน รอบบ้าน เตรียมอุปกรณ์ประเภทเทียนไข ไฟฉายให้พร้อม โทรศัพท์เตรียมส�ารองไว้ใช้ยามฉุกเฉิน หลายครอบครัวเมื่อไฟดับจึงมานั่งกันบริเวณ หน้าบ้าน ซึ่งเป็นเรื่องดี เพราะจะได้ช่วยเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบอีกทางหนึ่ง จดหมายเลขโทรศัพท์ ของเจ้าหน้าที่ไว้ และใช้เบอร์โทรศัพท์ของ ศูนย์ปฏิบัติการร่วมเป็นหลัก...!”

หน่วย : ล้านบาท / ร้อยละ

issue 163 september 2016


60 RENEWABLE ENERGY

ศักยภาพด้านพลังงานของเบตง เบตงเสมื อ นนครลั บ แลแห่ ง ชายแดนใต้ อันเนือ่ งจากการคมนาคมไม่สะดวกมากนัก จึงอุดม สมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านชีวมวล อีกทั้งยังมีการปลูกยางพาราจ�านวน มาก มีเนินเขาตลอดแนว จึงเหมาะสมกับการเป็น เมืองพลังงานทดแทนแห่งชายแดนใต้ ไม่ว่าจะเป็น พลังงานชีวมวลและพลังงานลม ซึ่ง ศอ.บต.ร่วม กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ส่งเสริมให้ภาคเอกชน เข้าส�ารวจพื้นที่ หรือลงทุนด้านพลังงานทดแทน ซึ่งปัจจุบันเบตงมีการลงทุนด้านชีวมวลอยู่บ้างแล้ว และในอนาคตหากมีการพัฒนาด้านสายส่งไฟฟ้าให้ เพียงพอ เราอาจจะเห็นกังหันลมผลิตไฟฟ้าเรียงราย อยู่บนเนินเขา สร้างทัศนียภาพเป็นเมืองท่องเที่ยว และศูนย์การเรียนรูด้ า้ นพลังงานทดแทน นอกจากนี้ ยังมีอีกธุรกิจหนึ่งที่สร้างรายได้ให้ชุมชนในระยะสั้น ก็คือ การน�าเอาเศษเหลือใช้จากภาคเกษตรมาย่อย และผลิตเป็น Wood Pellet และ Wood Chip เพื่อ จ�าหน่ายทั้งในประเทศหรือส่งออกก็จะได้ราคาดีขึ้น Deep South Betong ชื่ อ นี้ อ าจจะฟั ง ดู วังเวง และซ่อนความกังวลให้กับบางท่าน เบตง คือ เมืองสุดปลายขวานทองอาจไม่โด่งดังเท่า “เหนือสุดยอดในสยาม” ทีอ่ า� เภอแม่สาย จังหวัด เชียงราย แต่มีอัตลักษณ์ของตนเอง เบตงอาจ เป็นจุดเปลี่ยนของแนวคิดความขัดแย้งในอดีต สู่การพัฒนาร่วมกันเป็น Betong Smart Green City ในเร็ววันนี้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผลไม้

นราธิวาส

100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%

ยะลา

เหมาะสมที่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยว เส้นทางจากตัว จังหวัดยะลาไปอ�าเภอเบตงค่อนข้างคดเคี้ยว จึงมี ค�าเปรียบเปรยว่า “ร้อยโค้ง พันเลี้ยว รักเดียวที่ เบตง” เบตงมีความสวยงามตามแบบฉบับธรรมชาติ แวดล้อมด้วยธรรมชาติ ขุนเขา สายหมอก มีความ ร่มเย็นเป็นเป้าหมายของนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ เบตงมีความปลอดภัยและมี เหตุการณ์ไม่สงบน้อยที่สุดแห่งหนึ่ง การเดินทางไป สู่เบตงนอกจากทางรถยนต์แล้วในปี พ.ศ. 2561 จะ มีสนามบินเบตง แต่ปัจจุบันนิยมเดินทางโดยเครื่อง บินสู่สนามบินปีนัง และนั่งรถตู้เข้าเมืองเบตงจาก ด้านประเทศมาเลเซียได้อย่างสะดวกและปลอดภัย เบตง เป็ น เมื อ งชายแดนเพี ย งเมื อ งเดี ย ว ก็ว่าได้ที่พื้นที่ติดต่อกับเมืองที่มีการพัฒนาสูงกว่า ชายแดนไทยอย่างเช่นเมืองใหญ่เป็นอันดับสอง และ เป็นเมืองอุตสาหกรรมของมาเลเซีย คือ เมืองอิโป (Ipoh) รัฐเปรัค (Perak) รวมทั้งเมืองท่าส�าคัญของ มาเลเซีย คือ ปีนัง มี GDP (อ�านาจก�าลังซื้อ) สูงกว่า 20,000 USD ต่อหัวต่อปี ซึง่ ชาวไทยรูจ้ กั ดีในชือ่ ของ เกาะหมาก จึงท�าให้เบตงมีเศรษฐกิจที่ดีเมืองหนึ่ง และในอนาคตอันใกล้เมื่อสนามบินเบตงเปิดใช้งาน เบตงจะกลายเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� า คั ญ ของ ชายแดนใต้ทีเดียว

ปัตตานี

พื้นที่ผลผลิตการเกษตร ปาล์ม ยาง

ที่มา: ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

หน่วย :ไร่

EXECUTIVE SUMMARY According to the Southern Border Provinces Administrative Centre (SBPAC) has set up a program called ‘The triangle of Prosperity, Security, and Sustainability’. This project involves local communities and other stakeholders to boost up the economy in the areas and increase the better quality of life for communities.The cities in the project are Nong Chik in Pattani Province, Su-ngai Kolok in Narathiwat Province and Betong, Yala Province as each of them has own, uniqueness; Nong Chik - the integrate agri-industrial city, Su-ngai Kolok – The center of boarder trading, and Betong – The self-sustainable and renewable energy city. The City of Betong locates in the south of Thailand has its unique characteristics. The neighbouring cities are Ipoh, Perak State and Penang, Negeri Pulau Pinang State in Malaysia. The city of Ipoh is the second largest and the industrial city of Malaysia. Penang is the port priority. Today, Betong already has high opportunity in biomass as it is foresty city. if they have developed in electricity trasmission line, we may sooner see the wind turbines spread widely along the hills. This could turn the city into the tourist destinations and renewable energy learning center. For the community agricultural waste, they could chip them into woodchip or pelletize into wood pellets. These could be export to other countries for the better price. ‘Deep South Betong’ the name may sound depressing and offended to some people. However, it has its own identity that might turn the conflict from the past into cooperative development as ‘Betong Smart Green City’ in a few years from now.


เรียบเรียง: รณชัย เอกฉัตร , ดร. รุ งฤดี บุญสู สํานักวิจัย ค นคว าพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.)

BIOGAS SAFETY การผลิตและการใช ก าซชีวภาพ อย างปลอดภัย

energy

61

จากนโยบายและแผนส่งเสริมให้มีการผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพ เพือ่ ทดแทนการใช้พลังงานฟอสซิลของกระทรวงพลังงาน ท�าให้เกิด การตื่นตัว มีการจัดสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพขึ้นจ�านวนมากใน โรงงานภาคอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรและปศุสตั ว์ วัตถุประสงค์ เพือ่ ผลิตก๊าซชีวภาพน�าไปใช้ทดแทนแหล่งพลังงานเดิม ลดต้นทุนใน กระบวนการผลิ ต และบางแห่ ง ยั ง น� า ไปผลิ ต กระแสไฟฟ า เพื่ อ จ�าหน่าย ซึง่ ยังไม่รวมถึงสามารถลดต้นทุนในการจัดการของเสีย และ ยังได้สารปรับปรุงคุณภาพดิน สามารถน�ามาปรับปรุงเป็นปุย อินทรียไ์ ด้ จากประโยชน์ทก่ี ล่าวมา ส่งผลให้มรี ะบบผลิตก๊าซชีวภาพจ�านวน มากถูกสร้างขึน้ ซึง่ การสร้างระบบก๊าซชีวภาพนัน้ ผูป้ ระกอบการส่วน ใหญ่มีความคิดเพียงเพื่อสร้างระบบที่มีราคาค่าก่อสร้างต�่า ท�าให้มี ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจ�านวนหนึ่งถูกสร้างขึ้นอย่างไม่มีมาตรฐาน ขาดการติดตั้งอุปกรณ์ความปลอดภัยเพื่อปองกันอันตราย ส่งผล ให้เกิดอุบัติเหตุ เสียชีวิตและทรัพย์สินจ�านวนหลายแห่ง ดังนั้น เพื่อให้การผลิตและใช้ก๊าซชีวภาพมีมาตรฐานและความ ปลอดภัย ผู้ประกอบการที่จะสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพจะต้อง ปรับแนวคิดใหม่วา่ การก่อสร้างระบบจะต้องค�านึงถึงปจจัยทีจ่ ะท�าให้ ระบบมีความปลอดภัย มิใช่จะคิดเพียงให้ระบบสามารถผลิตก๊าซ ชีวภาพได้ และมีราคาค่าก่อสร้างถูกเท่านั้น เพราะการสูญเสียที่จะ เกิดจากอุบัติเหตุ จะมีมูลค่ามากกว่าการลงทุนก่อสร้างระบบที่มี มาตรฐาน issue 163 september 2016


62 energy

ในที่นี้จะขอกล่าวถึงความปลอดภัยในระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากน�้าเสียอุตสาหกรรม เนื่องจากอุบัติเหตุที่ผ่านมา หลายครั้ง มีความรุนแรงและความเสียหายมาก และเพื่อให้ระบบผลิตก๊าซชีวภาพมีความปลอดภัย จะต้องค�านึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้

ต้องมีการออกแบบและการเลือกสถานที่ ติดตั้งระบบ โดยผู้ที่มีประสบการณ์

มีการอบรม ให้ความรู้แก่ผู้ ใช้ และสามารถ เป็นที่ปรึกษาได้อย่างต่อเนื่อง

ระบบผลิตก๊าซชีวภาพต้องไม่ขวางทิศทางลม หากมีข้อจ�ากัดของพื้นที่ต้องมีวิธีการ ลดแรงลมปะทะ เช่น การปลูกแนวต้นไม้ หรือสร้างอาคารเพื่อช่วยต้านแรงลมปะทะ

วัสดุเก็บกักก๊าซชีวภาพ โครงสร้างต้องแข็งแรง และมีการเคลือบสารป้องกันการกัดกร่อน (ถ้าเป็นโครงสร้างอ่อน มักใช้ PVC, HDPE หรือ Membrane) และไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไป เพราะจะเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ควรผลิต ก๊าซชีวภาพและเก็บไว้ ใช้เท่าที่จ�าเป็น หรือมีการ ระบายออก ผ่านระบบเผาไหม้ก๊าซทิ้ง

มีระบบป้องกันฟ้าผ่าและติดตั้งสายดิน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

มีการติดตั้งอุปกรณ์ความปลอดภัย ในต�าแหน่งส�าคัญ เพื่อเป็นการควบคุม ตรวจเช็ค และเตือนภัย

การควบคุมการก่อสร้างต้องรัดกุม และค�านึงถึงระยะห่างจากชุมชน

ต้องป้องกันไม่ให้เกิดประกายไฟใกล้ถังหมัก (ห้ามสูบบุหรี่)

เลือกใช้อปุ กรณ์กอ่ สร้าง (วัสดุทา� บ่อหมัก (Digester) หรือปูพื้นบ่อ (Lining) ต้องมี โครงสร้างที่ใช้เหล็กป้องกันการกัดกร่อน และใช้พลาสติก HDPE ปูพื้นป้องกันการ รั่วซึม ในกรณีที่เป็นบ่อแบบ Cover Lagoon


energy 63

A

การติดตั้งอุปกรณ์ความปลอดภัยในระบบก๊าซชีวภาพ อุปกรณ์ควบคุมและระบายแรงดัน (Pressure Relief Device)

เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส�าหรับป้องกันความดันในเส้นท่อ หรือถังสูงเกินกว่าค่าที่ก�าหนด เพื่อระบายก๊าซออกก่อนที่จะเกิดความเสียหาย

อุปกรณ์วัดความดัน (Pressure Gauge)

อุปกรณ์นี้อาจจะอยู่ในระบบเดียวกันกับอุปกรณ์ควบคุม และระบายแรงดัน ใช้ส�าหรับตรวจวัดแรงดันตามจุดต่างๆ

B

ระบบดักละอองน้�าและระบายน้�าออกจากท่อ (Mist Trap / Knock Out Drum / Cyclone) เมื่อละอองน้�าท�าปฏิกิริยากับก๊าซไข่เน่า จะมีฤทธิ์เป็นกรดกัดกร่อน ท�าความเสียหายแก่เครื่องจักรยนต์ จึงต้องมีอุปกรณ์ดักละอองน้�า เช่น Knock Out Drum หรือไซโคลน และ อุปกรณ์ระบายน้�า เช่น อุปกรณ์ระบายน้�าแบบตัว T หรือตัว U วาล์วระบายอัตโนมัติ

D

E

วาล์วความดันด้านกลับ (Back Pressure Valve) เป็นอุปกรณ์ที่สร้างความดันด้านกลับในระบบท่อของไหล เพื่อควบคุมแรงดัน

ภายในท่อให้เป็นไปตามต้องการ หรือเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการไหลย้อนกลับของของไหลที่บริเวณปั๊ม หรือเพื่อควบคุมแรงดันด้านนอก ของของไหลให้มีแรงดันตามต้องการ

อุปกรณ์ป้องกันการย้อนของเปลวไฟ (Flame Arrester) เป็นอุปกรณ์ที่ป้องกันเปลวไฟไม่ให้ย้อนกลับเข้าไปในท่อ โดยการลด

อุณหภูมิให้ต�่ากว่าค่าอุณหภูมิติดไฟของก๊าซ การติดตั้งอุปกรณ์นี้ควรปฏิบัติตามมาตรฐาน ATEX; EN 12874:2001 ซึ่งต้องป้องกัน เปลวไฟย้อนกลับได้ ไม่น้อยกว่า 30 นาที ส่วนใหญ่ที่ติดตั้งจะใช้แบบอยู่ในท่อ (In-Line) อยู่ระหว่างถังก๊าซชีวภาพกับจุดที่ท่อก๊าซออก สู่บรรยากาศหรือไปยังจุดที่มีการเผาไหม้

ระบบเผาก๊าซทิ้ง (Flare System) เป็นอุปกรณ์เพื่อควบคุมแรงดันและระบายก๊าซชีวภาพส่วนเกินทิ้งโดยการเผา

G

C

F

อุปกรณ์วัดอัตราการไหลของก๊าซ (Gas Flow Meter) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบอัตราการไหลของก๊าซ โดยใช้ควบคู่กับอุปกรณ์ ความดันของก๊าซ สามารถเป็นตัวบ่งชี้ปริมาณก๊าซที่สะสมตัวอยู่ในบ่อเก็บก๊าซชีวภาพได้ ถ้ามีอัตราการไหลมาก โดยไม่มีการใช้ปั๊มแสดง ว่ามีก๊าซสะสมมากนั่นเอง

H

อุปกรณ์ตรวจวัดคุณสมบัติและองค์ประกอบของก๊าซชีวภาพ (Gas Composition Analyzer) เป็น

อุปกรณ์ตรวจวัดความเข้มข้นขององค์ประกอบก๊าซชีวภาพ เพื่อน�าไปค�านวณค่าพลังงานที่ได้หรือเพื่อใช้ตรวจสอบ องค์ประกอบก๊าซ หากบางตัวเกินมาตรฐานที่ก�าหนด เช่น ก๊าซไข่เน่าเกิน 500 ppm หรือก๊าซออกซิเจนเกิน 4%v/v อุปกรณ์นี้จะส่งเสียงเตือน พลังงานที่ได้หรือเพื่อใช้ตรวจสอบองค์ประกอบก๊าซ หากบางตัวเกินมาตรฐานที่ก�าหนด เช่น ก๊าซไข่เน่าเกิน 500 ppm หรือก๊าซออกซิเจนเกิน 4% v/v อุปกรณ์นี้จะส่งเสียงเตือน

EXECUTIVE SUMMARY

อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการผลิตและใช้ก๊าซ ชีวภาพที่กล่าวมาเป็นบางส่วนเท่านั้น หากต้องการศึกษาหรือ หาความรูเ้ พิม่ เติมสามารถดูได้จาก ‘คูม่ อื การปฏิบตั งิ านการผลิต และใช้กา๊ ซชีวภาพอย่างปลอดภัยส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรม และขยะชุมชน’ และ ‘คูม่ อื การประเมินความเสีย่ งอันตรายจาก ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ’ ของ พพ. ผู้ประกอบการเจ้าของระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพและเจ้าหน้าที่ดูแลระบบจะต้องตระหนักและ คิดอยู่เสมอว่า แม้ระบบที่ก่อสร้างจะมีมาตรฐานแล้ว การตรวจ สอบดูแล บ�ารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ อย่างสม�่าเสมอ จะเป็นการ สร้างความมัน่ ใจในการท�างานของอุปกรณ์แต่ละชิน้ เพือ่ เกิดความ ปลอดภัย สามารถใช้งานได้เป็นระยะเวลายาวนาน

From the policy and encouragement for biogas produced and usage of the Ministry of Energy which they want to lead to fossil fuel usage reduction. It has been alert widely and lead to the trend of biogas production system to replace the old energy resource and reduce cost in generating process, while some company brought it to generate the electricity for sell. The most entrepreneur think about low cost system only which make the biogas production system was built without standard, lacking of safety component and equipment to prevent the accident and the hazard. These are causing death, accident and damage the asset widely. To make the biogas production system operating with safety, the entrepreneur who own the biogas production system must considering and focus that even their systems have been built with certified standard but don’t forget about maintenance procedure schdule. The maintenance process will provide reliance to each tools and equipment with safety and longer life. issue 163 september 2016


64 productivity booster

เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ

Productivity Concept with

PDCA

P

Plan : วางแผน

A

โครงสร าง PDCA

Act : แก ไข

D

PDCA เปนแนวคิดที่ไมไดใหความสําคัญเพียง แคการวางแผน หากยังเนนใหมีการดําเนินงานภาย ใตระบบเงื่อนไขที่ชัดเจน โดยมีเปาหมายเพื่อใหเกิด การพัฒนาอยางตอเนื่อง แนวคิดของกระบวนการ วางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ และลงมือแกไข หรือ PDCA ไดรับการพัฒนาขึ้นเปนครั้งแรกโดย Walter Shewhart ซึ่งถือเปนผูบุกเบิกการใชสถิติสําหรับ วงการอุตสาหกรรม และตอมาระบบ PDCA ไดเปน ที่รูจักอยางแพรหลายมากขึ้น เมื่อปรมาจารยดาน การบริหารคุณภาพ อยาง W.Edwards Deming ได นํามาเผยแพร ใหเปนเครื่องมือสําหรับการปรับปรุง กระบวนการทํ า งาน วงจรนี้ จึ ง มี อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว า ‘Deming Cycle’

Do : ปฏิบัติ

C

Check : ตรวจสอบ

าน

มาตรฐ าน

มาตรฐ าน

มาตรฐ

ขึ้น

ิมให สูง

ฐานเด บั มาตร

ยกระด

ระบบ PDCA กับการปรับปรุงอย างต อเนื่อง

วงจร PDCA กับกระบวนการแก ป ญหา วงจร DEMING

ขั้นตอนการแก ป ญหา 7 ขั้นตอน

PLAN

1. การค นหาป ญหาและกําหนดประเด็นป ญหา 2. การทําความเข าใจกับป ญหาและตั้งเป าหมาย 3. การวางแผนการดําเนินงาน 4. การวิเคราะห สาเหตุของป ญหา

DO CHECK ACTION

5. ดําเนินงานตามแผนที่วางไว 6. การประเมินผลของการดําเนินโครงการ 7. การกําเนิดเป นมาตรฐาน (Standardization)


WE ARE AN AUTHORIZED DISTRIBUTOR OF THK PRODUCTS IN THAILAND

CCR : Multimotion actuator Multi-motion = LM and Rotation

Applications

Hallow Shaft used as an air flow path

Position detecting system Position detecting system RLT (rotation)

CCM (LM)

Hollow shaft Forcer

If you are interested in THK products, please feel free to contact our product consultants. For more information, please visit our website at www.inb.co.th or 02-613-9166-71

I.N.B. ENTERPRISE CO., LTD. 479/17-19 Trok Salakhin, Rama IV Rd., Rongmuang Pratoomwan Bangkok 10330 Tel. 02-613-9166-71, 02-215-1262, 02-216-8260-1 Fax. 02-215-8494 Website : www.inb.co.th E-mail address : sales@inb.co.th, marketing@inb.co.th


C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป

เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign


productivity booster 67

ขั้นตอนการแก ไขป ญหาและปรับปรุงการทํางาน

C

ศึกษาสภาพป จจุบันและกําหนดหัวข อป ญหา ตั้งเป าหมายการปรับปรุงและจัดทําแผน วิเคราะห สาเหตุของป ญหา กําหนดวิธีการแก ไข

D C A

ลงมือปฏิบัติ (ตามแผนการที่วางไว ) ตรวจสอบผลลัพธ แก ไขปรับปรุงวิธีการ จัดทํามาตรฐานและการปรับปรุงอย างต อเนื่อง

การประยุกตใช PDCAเขากับกระบวนการผลิตนั้นเปนสิ่งที่สามารถดําเนิน การไดอยางงายดาย มุงเนนการแกไขปญหาอยางเปนระบบ ดวยการวางแผน และประเมินผล รวมถึงการพัฒนาศักยภาพเพิ่มผลผลิตในการผลิตไดอยางมี ศักยภาพและเห็นผล ดังนั้น จึงตองตั้งประเด็นปญหาที่สงสัยใหชัดเจน พรอม ทั้งยืนยันระดับความสําคัญของปญหาเพื่อคนหาแนวทางสําหรับวางแผนและ ปรับปรุงวิธีการตอไป Source : เอกสารประกอบงานสัมมนา Modern Manufacturing Forum 2016 โดย อ.ณัฏฐ ทยากร ศโรเวฐน วิทยากรที่ปรึกษาส วนบริหารการผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห งชาติ

เทคนิคเครื่องมือพื้นฐานใน การดําเนินการปรับปรุงแบบ PDCA Tool 1: แผ นข อมูลตรวจสอบ (Check Sheet) • แบบบันทึกที่ถูกออกแบบมาเพื่อเก็บรวบรวมข อมูลต างๆ (เช น ข อมูลป ญหาใน การทํางาน, ข อมูลความต องการลูกค า, ข อมูลผลการประกอบการ ฯลฯ) แล ว นําข อมูลที่ได มาน ันไปใช ในการวิเคราะห ต อไป • แผ นตรวจสอบเป นเครื่องมือเริ่มต นที่สําคัญอย างมากสําหรับการดําเนินงาน ตามระบบ PDCA เนื่องจากการออกแบบแผ นตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ ทําให สามารถเก็บข อมูลได ตรงตามวัตถุประสงค ส งผลให ได ข อมูลที่มีประโยชน ต อ การดําเนินงาน Tool 2: แผนภูมิพาเรโต (Pareto Chart) • สามารถบ งชี้ให เห็นว าหัวข อใดเป นป ญหามากที่สุด • สามารถเข าใจลําดับความสําคัญมากน อยของป ญหาได ทันที • สามารถเข าใจว าแต ละหัวข อมีอัตราส วนเป นเท าใดจากอัตราส วนทั้งหมด • เนื่องจากใช กราฟแท งบ งชี้ขนาดของป ญหา ทําให โน มน าวจิตใจได ดี • ไม ต องใช การคํานวณที่ยุ งยากก็สามารถจัดทําได • สามารถใช เพื่อเปรียบเทียบผลได • ใช สําหรับตั้งเป าหมาย ทั้งตัวเลขและป ญหา Tool 3: ผังก างปลา หรือ Why Why Analysis ใช ในการตรวจสอบสาเหตุของป ญหา • แสดงความสัมพันธ ระหว างคุณลักษณะของป ญหา (ผล) กับป จจัยต างๆ (สาเหตุ) ที่เกี่ยวข อง • เป นกระบวนการต อเนื่องจาก การค นหาและกําหนดหัวข อป ญหา • สามารถใช แผนภูมิก างปลา C&E Diagram หรือ Why Why Tree ในการระบุ หาสาเหตุของป ญหาได และวางแผนการปรับปรุงในขั้นตอนถัดไป Tool 4: กราฟ ใช เพื่อตรวจ ติดตามและนําเสนอข อปรับปรุง • ใช ในการนําเสนอข อมูลให ออกมาในรูปแบบของรูปภาพเพื่อให เกิด ความเข าใจได ง าย • ใช แสดงให เห็นความชัดเจนของป ญหามากขึ้น • เป นวิธีในการนําเสนอข อมูลที่ดีกว าการใช ตารางหรือข อความ

EXECUTIVE SUMMARY PDCA is a business process management that compose of P = Plan, the plan was made of the objective and goal. D = Do, an action that perform continuously through the systematic plan. C = Check, a process to examine the result of each process to define the occurred problem and also give an advice to solve the problematic process. A = Action, this is a process for take an action to solve the problematic process. If there is no problem, considered that is a successful method and use it for the other process. PDCA is a concept that could be applied to the manufacturing process easily. It doesn’t focus on strategy process only but also emphasize to take action under the clearly systematic strategy. This method also aiming to produce continuous improvement, solve the problem with systematic thinking by planning and evaluate, also improve the productivity efficiency and noticeable.

issue 163 september 2016


68 measurement

เรื่อง: สราวุธ สุขสวัสดิ์ ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

QUANTUM เครื่องวัดและวิเคราะห์ความเค้นด้วยสเตรนเกจ

สเตรนเกจ (Strain Gauges) เป็นเครื่องมือที่ ส�ำคัญที่น�ำเทคนิคกำรวัดทำงไฟฟ้ำมำวัดหำข้อมูล ทำงกล โดยใช้ส�ำหรับกำรวัดควำมเครียด (Strain) ซึง่ แบ่งออกเป็นควำมเครียดแบบดึงและควำมเครียด แบบอัด แสดงได้โดยแทนด้วยเครือ่ งหมำยบวกหรือ ลบตำมล�ำดับ สเตรนเกจสำมำรถใช้ในกำรวัดได้ทั้ง กำรขยำยตัวและกำรหดตัว ควำมเครียดของวัตถุเกิดขึ้นเนื่องจำกอิทธิพล ภำยนอกหรือผลกระทบภำยใน โดยอำจเกิดจำกแรง ควำมดัน โมเมนต์ ควำมร้อน กำรเปลี่ยนโครงสร้ำง ของวัสดุ และอืน่ ๆ ปริมำณหรือขนำดของผลกระทบ สำมำรถค�ำนวณได้จำกค่ำควำมเครียดที่วัดได้ กำรทดลองวิเครำะห์ควำมเค้น (Experimental Stress Analysis) ท�ำโดยกำรวัดควำมเครียดบนผิว ของชิ้นงำน แล้วน�ำมำค�ำนวณหำสถำนะควำมเค้น ในวัสดุรวมทั้งประเมินควำมปลอดภัยและอำยุกำร ใช้งำน นอกจำกนี้ ยังสำมำรถออกแบบทรำนดิวเซอร์ จำกสเตรนเกจส�ำหรับวัดแรง โมเมนต์ ควำมดัน กำรขจัด กำรสั่นสะเทือนและปริมำณอื่นๆ จำกประโยชน์ของสเตรนเกจดังกล่ำวข้ำงต้น ท� ำ ให้ มี ก ำรพั ฒ นำสเตรนเกจมำอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ ง ในหลำยปีทผี่ ำ่ นมำ มีกำรออกแบบสเตรนเกจเพือ่ ให้ มี ค วำมเหมำะสมกั บ กำรใช้ ง ำนหลำยประเภท สำมำรถประยุกต์ใช้กบั งำนวัดควำมเครียดในสภำวะ สิ่งแวดล้อมต่ำงๆ แม้แต่ในสภำวะที่รุนแรงก็ตำม กำรใช้งำนสเตรนเกจจึงมีข้อได้เปรียบกว่ำกำรใช้ เครื่องมือวัดควำมเครียดอื่นๆ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ข้อได้เปรียบของสเตรนเกจ

การใช้สเตรนเกจ เป็นการวัดค่าทางไฟฟ้า

สามารถแยกวัดความเค้น แต่ละประเภทที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน โดยใช้วงจรที่เหมาะสม

สามารถชดเชยผลกระทบที่จะท�าให้ เกิดความผิดพลาดในการวัดได้ เช่น ความผิดพลาดจากการขยายตัว เนื่องจากความร้อน

วัดค่าความเครียดได้ ในช่วงกว้าง ±10×10-2 m/m ±10

ค่าที่วัดได้มีความละเอียดสูง โดยใช้เครื่องขยาย และเครื่องแสดงผลช่วย

ไม่มี ระดับการกระตุ้น

วัดได้ ในช่วงอุณหภูมิกว้าง จาก –273 C ถึง +1,000 C

มีขนาดเล็ก น�้าหนักเบา ท�าให้ ไม่มีผลกระทบต่อการวัด ถึงแม้ชิ้นงานจะมีขนาดเล็ก

วัดเหตุการณ์พลวัติ ได้เป็นอย่างดี

มีอายุการล้ายาวนาน


measurement 69

ส�ำหรับเครื่องมือที่ใช้ในกำรวัดและบันทึกผลที่ จะกล่ำวต่อไปนี้ คือ เครื่อง Quantum X โดยเครื่อง รุ่นนี้จะมีช่องต่อสัญญำณจ�ำนวน 8 ช่องสัญญำณ สำมำรถต่อเข้ำกับสเตรนเกจเพื่อใช้ในกำรวัดได้ พร้อมกัน 8 ชุด แต่ถ้ำมีกำรวัดที่มำกกว่ำนี้สำมำรถ ต่อพ่วงกับเครื่อง Quantum X ตำมวิธีกำรในคู่มือ ของเครื่องได้

ขั้นตอนการเชื่อมต่อเครื่อง Quantum X กับอุปกรณ์ต่อพ่วง เพื่อใช้ ในการวัดค่าความเครียด เชื่อมต่อเครื่อง Quantum X กับอุปกรณ์ต่อพ่วงเพื่อใช้ในการวัดค่าความเครียด

ต่อสาย Net Connect (สายแลน) ระหว่าง Quantum X Unit ต่างๆ

ต่ออุปกรณ์เครื่องรับสัญญาณ Quantum X กับคอมพิวเตอร์ด้วยสาย Net Connect (สายแลน)

เปิดโปรแกรม CatmanAP เพื่อเก็บข้อมูลการวัดความเครียดสเตรนเกจ ภาพที่ 1 ตัวอย่างภาพสเตรนเกจและการติดสเตรนเกจ

เครือ่ ง Quantum X สำมำรถวัดและบันทึกค่ำพำรำมิเตอร์ตำ่ งๆ ภำยใต้สภำวะแวดล้อมทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ และ ใช้ร่วมกับโปรแกรม CatmanAP ในกำรประมวลผล และน�ำผลลัพธ์ที่ได้วิเครำะห์ต่อไป

Strain Gauges

ภาพที่ 2 การเชื่อมต่อเครื่อง Quantum X กับ สเตรนเกจ

Source: An Introduction to Measurements using Strain Gauges, Karl Hoffman, Publisher by Hottinger Baldwin Messtechnik GmbH, Darmstadt, Germany

ภาพที่ 3 ตัวอย่างการเชื่อมต่อเครื่อง Quantum X กับ สเตรนเกจ และบันทึกผลด้วยโปรแกรม CatmanAP

EXECUTIVE SUMMARY ‘Strain Gauges’ has been developing continuously for many years. It has been designed to be fit with various usage and it could be applied with strain measurement in many environments, even in a harsh situation. Strain Gauges usage has an advantage over the other measurement tools. The primary component that use to measure and record the strain value is Quantum X. The Quantum X has 8 channels which could connected to the strain gauges 8 units at the same time. The Quantum X machine could measure and record the parameter under specified circumstance, also cooperating with CatmanAP software to process the data and bring that information to analyze for planning the procedure. issue 163 september 2016


70 REAL LIFE

ว่ากันว่า … ความสุขนั้นหาได้ง่าย มีอยู่ในทุกที่ แต่มันก็ขึ้นอยู่ที่ตัวคุณ ว่าจะหามันเจอหรือเปล่า”

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


REAL LIFE

71

คุณประยูร เชี่ยววัฒนา ผู้น�ำในกำรขับเคลื่อนองค์กรแห่งค�ำว่ำ ‘มาตรฐาน’ กว่า 18 ปี ทีส่ ถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ ในฐานะองค์กรที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือทางด้าน มาตรวิทยาแก่ภาคอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และ สาธารณสุขของไทย ตลอดระยะเวลายาวนาน เบื้ อ งหลั ง ที่ เ ปรี ย บ เสมือนเป็นฟันเฟืองแห่งความส�าเร็จของสถาบันมาตร วิทยาฯ ก็คือ คุณประยูร เชี่ยววัฒนา ผู้อ�านวยการ สถาบั น มาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ บุ ค ลากรผู ้ มี ค วาม เชีย่ วชาญและมากด้วยประสบการณ์ในสายงานมาตร วิทยา ซึ่งได้รับการยอมรับในวงการมาตรวิทยา เป็น ทัพหน้าทีม่ วี สิ ยั ทัศน์กว้างและไกล ทัง้ หลักคิดและหลัก บริหาร ทัง้ ยังเป็นบุคคลผูซ้ งึ่ บุกเบิกให้มาตรวิทยาของ ประเทศไทยเป็นมาตรวิทยาที่มีมาตรฐาน ได้รับการ ยอมรับและเชื่อถือในระดับสากล เก็บเกี่ยวประสบการณ์ครบรส ปูทางก่อนก้าวรับต�าแหน่ง ผอ.สถาบันมาตรวิทยาฯ คุ ณ ประยู ร ได้ ก ล่ า วถึ ง พื้ น เพก่ อ นจะก้ า วสู ่ เส้ น ทางสายมาตรวิ ท ยาว่ า “ผมเป็ น คนจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช เข้ามาศึกษาระดับมัธยมปลายที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร หลัง จากจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ก็ได้รับทุนจากรัฐบาลญี่ปุ่น ‘มอนบูโช (Monbusho)’ ไปศึกษาต่อระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ทาง ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นระยะเวลากว่า 7 ปี ณ ประเทศญี่ปุ่น เส้นทางชีวติ หลังจากทีม่ งุ่ มัน่ และเพียรพยายาม จนคว้าปริญญาทั้งสองมาแล้ว ก็เลือกที่จะเดินทาง กลับมาประเทศไทย และเริ่มต้นชีวิตการท�างาน ครั้ ง แรกด้ ว ยการเป็ น อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย เริ่ ม สอนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นแห่งแรก จาก นั้นก็ย้ายมาสอนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อน ที่จะจับพลัดจับผลูเข้ามาท�างานที่สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น และ TT&T กรุงไทยธนกิจ ซึง่ ตลอดเส้นทางการท�างานนัน้ ก็เรียกได้วา่ เก็บเกีย่ ว ประสบการณ์การท�างานอย่างครบรส ทั้งงานภาค รัฐบาลและภาคเอกชนเลยทีเดียว” ส่วนการเริ่มต้นก้าวสู่งานด้านมาตรวิทยาใน ประเทศไทยนั้น คุณประยูร ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้น

ของการท�างานด้านมาตรวิทยา ซึ่งถือเป็นงานที่ มีความคุ้นเคย และมีความถนัดมาตั้งแต่สมัยที่ยัง ศึกษาเล่าเรียนอยูท่ ปี่ ระเทศญีป่ นุ่ ว่า… “ผมตัดสินใจ สมัครเข้าท�างานด้านมาตรวิทยา เมื่อได้ทราบข่าว ประกาศจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวา่ เปิดรับสมัครผูอ้ า� นวยการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

“ด้วยบทบาทของสถาบันมาตรวิทยาฯ ที่ได้ด�าเนินการมายาวนานนั้น สถาบันมาตรวิทยาฯ ของไทย มีการเติบโตและก้าวกระโดด ไปในทิศทางที่ดี สามารถเรียกได้ว่าเป็นการสถาปนา มาตรฐานด้านมาตรวิทยา จากสมัยก่อนประเทศไทย อยู่ในล�าดับท้ายของอาเซียน ตามหลังประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ เสียอีก แต่วันนี้ผมกล้าการันตีว่า เราพัฒนาจนมีศักยภาพ ขึ้นไปติดอันดับต้นๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียนได้แล้ว”

ในปี พ.ศ.2541 ซึ่ ง การตั ด สิ น ใจครั้ ง นั้ น ไม่ ไ ด้ คาดหวังมากนัก เนื่องจากมีผู้สมัครค่อนข้างเยอะ แต่สดุ ท้ายผมสอบผ่านและเริม่ ต้นท�างานในต�าแหน่ง ผู้อ�านวยการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเป็นคน แรกของประเทศไทย การรับต�าแหน่งผู้อ�านวยการ สถาบันมาตรวิทยาฯ ในขณะนั้น เรียกได้ว่าเป็น งานหินพอสมควร เพราะต้องเริ่มภารกิจส�าคัญใน การบุกเบิกก่อตัง้ ‘สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ’ ของ ประเทศไทยให้ส�าเร็จ เป็นรูปเป็นร่างให้ได้”

‘มาตรวิทยา’ เติบโตอย่างก้าวกระโดด มั่นใจเป็นที่ยอมรับอันดับต้นๆ ของอาเซียน หลังจากที่ คุณประยูร ได้เริ่มเข้าท�างานเมื่อปี พ.ศ.2541 ก็ตอ้ งพบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ‘ต้มย�า กุ้ง’ เส้นทางการท�างานจึงไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ การด�าเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาฯ ในช่วง เวลานั้นก็ไม่ได้ราบรื่นนัก ส่วนหนึ่งก็เป็นผลมาจาก งบประมาณที่มีอยู่อย่างจ�ากัด จึงไม่สามารถตอบ สนองต่อความต้องการในการด�าเนินภารกิจที่มุ่ง พัฒนาและยกระดับมาตรฐานสถาบันมาตรวิทยาฯ ให้เป็นทีย่ อมรับของประเทศ เนือ่ งจากจ�าเป็นต้องมี เครื่ อ งมื อ และห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ทั น สมั ย และมี คุณภาพสูง นอกจากนี้ ยังต้องเผชิญปัญหาอื่นๆ ที่เข้ามา ผสมโรงในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งปัญหาด้านแรงงาน รวมถึงการจัดหางบประมาณ แต่ด้วยความมุ่งมั่น ของ คุณประยูร ผู้ซึ่งมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ประกอบ กับการตัดสินใจที่เฉียบขาดในหลายๆ เรื่อง จึง สามารถด� า เนิ น การเจรจาขอความร่ ว มมื อ จาก ธนาคารความช่วยเหลือระหว่างประเทศ (JBIC) ของญี่ปุ่น ในการกู้เงิน เพื่อน�ามาลงทุนสร้างอาคาร พืน้ ทีใ่ ช้สอยกว่า 12,000 ตารางเมตร พร้อมทัง้ จัดหา เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้การด�าเนินงาน ด้านมาตรวิทยาของสถาบันฯ สามารถขับเคลื่อน ไปได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตลอดจน สรรหาและสร้างเสริมบุคลากร ที่มีความรู้ ความ สามารถ เพื่อพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืน เนือ่ งจากตระหนักดีวา่ คนท�างานด้านมาตรวิทยานัน้ ต้องมีความรู้ ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริง ไม่ทันที่การก่อตั้งสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ที่เทคโนธานี ต.คลองห้า จ.ปทุมธานี จะแล้วเสร็จ คุณประยูร ได้หมดวาระการด�ารงต�าแหน่งเสียก่อน และกลับเข้ามารับต�าแหน่งผู้อ�านวยการสถาบัน มาตรวิทยาแห่งชาติอีกครั้งในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม คุณประยูร ยังย�้าอย่างหนักแน่น ถึงบทบาทของสถาบันมาตรวิทยาฯ ว่า สถาบันมาตร วิทยาฯ เป็นองค์กรที่มีบทบาทส�าคัญในการช่วย เหลือด้านมาตรวิทยาแก่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ในประเทศไทย เพื่อให้สินค้าไทยมีคุณภาพ เป็นไป ตามคุณสมบัติและความต้องการเพื่อการส่งออก สินค้าไปแข่งขันยังนานาประเทศมากที่สุด ทั้งยังมี issue 163 september 2016


72 REAL LIFE

บทบาทในการสนับสนุนหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม และสาธารณสุข โดยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนการ ตรวจสอบเครือ่ งมือ อุปกรณ์ และห้องแล็บต่างๆ ให้ มีประสิทธิภาพ เที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับอีกด้วย พัฒนาบุคลากร ภาคอุตสาหกรรม และสังคม ยุทธศาสตร์ส�าคัญ เพื่อพัฒนามาตรวิทยาไทย ทัง้ นี้ เมือ่ พูดถึงค�าว่า ‘มาตรวิทยา’ คนส่วนใหญ่ อาจไม่มคี วามเข้าใจว่าเป็นการท�างานเกีย่ วกับเรือ่ งใด ด้ ว ยเหตุ นี้ เ อง คุ ณ ประยู ร จึ ง ตระหนั ก เสมอว่ า เพื่อที่จะน�ามาซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ของ สถาบันมาตรวิทยาฯ การพัฒนาบุคลากรด้วยการ ให้ความรู้เชิงลึก ร่วมกับการพัฒนาคุณภาพสังคม ให้คนในสังคมไทยได้เข้าใจและเข้าถึงสินค้าคุณภาพ เป็นสิ่งส�าคัญที่จะช่วยพัฒนาวงการมาตรวิทยาใน ประเทศได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณประยูร ยังได้กล่าวว่า “ผม มองว่าการเปลี่ยนแปลงส�าคัญในวงการมาตรวิทยา ในไทย ที่ผ่านมาความรู้ในเรื่องดังกล่าวอาจยังไม่ กว้างพอ ดังนั้น ประการแรกที่จะช่วยพัฒนาวงการ มาตรวิทยา คือ การสร้างบุคลากรในด้านมาตร วิทยาให้เพิ่มขึ้น ฝึกสอนคนที่แทบไม่รู้จักว่ามาตรวิทยาคืออะไร หรือสนับสนุนคนที่มีความรู้ด้านนี้อยู่แล้ว ให้กลาย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

มาเป็นคนที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและสามารถ สร้างมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับของทั่วโลก ขณะเดียวกัน ประการที่ 2 คือ การพัฒนามาตร วิทยาในไทยมีข้อดีและประโยชน์มากต่อสังคมและ ภาคอุตสาหกรรมของประเทศ กล่าวคือ ช่วยให้ มาตรฐานการผลิตของอุตสาหกรรมไทยได้รับการ ยอมรับทัว่ โลก และประหยัดค่าใช้จา่ ยในการด�าเนิน การด้านการตรวจสอบมาตรฐาน ซึง่ นอกจากจะช่วย อ�านวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศมาก ขึ้นแล้ว ยังควรต้องมีนโยบายอนาคตในการพัฒนา คนรุ่นใหม่ให้มีการลงพื้นที่เพื่อช่วยเหลือแต่ละภาค ส่วนมากขึ้น เปลี่ยนมุมมองจากเดิมที่เน้น Supply Push ก็เปลี่ยนมาเน้น Demand Pull มองความ ต้องการของตลาดเป็นเกณฑ์หลัก แล้วพิจารณา ว่าภาคอุตสาหกรรมต้องการความสนับสนุนอะไร ก็ เข้ าไปให้ความสนับสนุน ให้ค�าปรึก ษาในเรื่อง ดังกล่าว ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ ไม่รีรอให้ภาค อุตสาหกรรมเดินเข้ามาขอความช่วยเหลือ ประการสุดท้ายที่พยายามผลักดัน คือ การ พัฒนาคุณภาพสังคม เมื่อประเทศไทยเป็นประเทศ ที่ผลิตสินค้าที่ดีที่สุดในโลก มีคุณภาพไม่แพ้ใคร แต่ สินค้าส่วนใหญ่มกั ถูกส่งออกไปต่างประเทศมากกว่า ที่จะน�ามาขายภายในประเทศ ซึ่งตรงนี้อยากให้มี การสนับสนุนมากขึน้ หากเชือ่ ว่าสินค้าเรามีคณ ุ ภาพ

คนในประเทศก็ ต ้ อ งมี โ อกาสได้ ซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริโภคสินค้าคุณภาพได้มาตรฐานเหล่านั้นเช่นกัน” คุณประยูร กล่าว บริหารองค์กรด้วยหลักหลายแนวคิด เข้าใจพื้นฐานของ ‘คน’ และรู้จักเรียนรู้ ‘ความผิดพลาด’ นอกจาก คุ ณ ประยู ร จะยกระดั บ สถาบั น มาตรวิทยาฯ ให้เป็นที่ยอมรับในวงกว้างแล้ว ยังมี หลักคิดในการบริหารงานและจัดการภายในองค์กร ให้มีความเข้มแข็งจนเป็นที่ยอมรับนับถืออีกด้วย คุณประยูร เล่าว่า “โดยส่วนตัวผมไม่ได้บริหาร งานแบบเจ้านายลูกน้อง ในแบบที่เห็นทั่วไป ด้วย ความที่ผ่านประสบการณ์การท�างานมาหลายแห่ง ได้มโี อกาสเรียนรู้ รูจ้ กั วิธกี ารท�างานมาพอสมควร จึง ท�าให้รู้จักตัวตน รู้จักเขา รู้จักเรา เมื่อมีโอกาสด�ารง ต�าแหน่งผู้อ�านวยการสถาบันมาตรวิทยาฯ สิ่งหนึ่ง ที่ผมยึดเป็นหลักในการบริหารงานของผมมาโดย ตลอด นั่นคือ พยายามเข้าใจพื้นฐานของคน รู้จัก เรียนรู้ความผิดพลาด ข้อบกพร่องของตนเองและ ผู้อื่น แล้วน�ามาปรับใช้กับตัวเอง จากประสบการณ์สมัยเรียนที่ประเทศญี่ปุ่น ผมเองได้น�าข้อดีของวัฒนธรรมญี่ปุ่นมาใช้ในการ ท�างานและชีวิตประจ�าวัน ทั้งในเรื่องของการมีวินัย


REAL LIFE 73

ตรงต่อเวลา ความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน แม้ กระทั่งการไม่ย้อท้อต่ออุปสรรค และที่ส�าคัญต้อง เป็นคนที่ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา ซึ่งสิ่งเหล่านี้ผมน�า มาใช้ในการบริหารงาน และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เพื่อคนรุ่นใหม่ที่เข้ามาท�างานมีความพร้อมและมี ศักยภาพที่สมบูรณ์ไม่แพ้ใคร วันนี้ความภาคภูมิใจของผม คือ การได้เห็น ความมุง่ มัน่ ของทีมงาน ทีต่ งั้ ปณิธานจะเป็นนักมาตร วิทยาที่ดีที่สุดในอาเซียนอย่างมีนัยยะส�าคัญ นั่นก็ คือ เพื่อประโยชน์สูงสุดของสังคมไทย ซึ่งผมก็รู้สึก ดีใจที่บุคลากรของผม ล้วนมีแนวปฏิบัติในทิศทาง เดียวกัน และมีความสุขที่ได้ท�างานในสถาบันมาตร วิทยาแห่งนี้”

ความสุขเล็กๆ กับกิจกรรมถ่ายภาพ ในฐานะของผู้น�าทัพสถาบันมาตรวิทยาแห่ง ชาติ ภาพของการท�างานที่ฉายเด่นชัดมาจากตัว ตน คุณประยูร คือ การเป็นคนเอาจริงเอาจัง ตรง ไปตรงมา และลงมือปฏิบัติหน้าที่อย่างเห็นผลใน ทุกๆ เรื่อง ทั้งนี้ เมื่อว่างเว้นจากการปฏิบัติหน้าที่ แล้ว คุณประยูร ยังมีความรักและชื่นชอบการถ่าย ภาพมากเป็นพิเศษ มาถึงตรงนี้ คุณประยูร เล่าให้ฟังว่า “เมื่อผม อายุประมาณ 8 ขวบ คุณพ่อได้มอบกล้องถ่ายภาพ ให้ 1 ตัว นับจากนั้นผมก็ขันอาสาเป็นช่างภาพ ประจ�าครอบครัวและยังคงถ่ายภาพบันทึกเรื่องราว ต่างๆ เรื่อยมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน การถ่ายภาพ

ช่วยเปิดมุมมองรอบข้างให้ผมเป็นคนช่างสังเกต มองสิ่งต่างๆ รอบตัวได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน และ รู้สึกผ่อนคลาย” เชื่อว่าอ่านถึงตรงนี้ หลายๆ ท่านคงได้รู้จักกับ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติไม่มากก็นอ้ ย แต่สงิ่ หนึง่ ทีเ่ ราสัมผัสได้ไม่ตา่ งกัน คือ หลักคิดจากความแน่วแน่ ตั้งใจที่จะท�าประโยชน์สูงสุดให้แก่สังคมส่วนรวม โดยยึดหลักการของความซื่อตรง ลงมือท�าอย่าง จริงจัง จนท�าให้สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติค่อยๆ เติบโตขึ้นเป็นองค์กรแห่งค�าว่า ‘มาตรฐาน’ ด้วย วิสัยทัศน์กว้างไกลของทัพหน้าอย่าง คุณประยูร เชี่ยววัฒนา นั่นเอง

EXECUTIVE SUMMARY Mr.Prayoon Shiowattana, Director of National Institute of Metrology (Thailand) (NIMT) which is an expert and plentiful of experiences in metrology occupation. He is a pioneer who make National Institute of Metrology (Thailand) got acceptance and trust from international level. From the experience which completely coverage every aspect of work, this leads him to the Director of National Institute of Metrology (Thailand) position with the heart of volunteer. He would love to share his idea to his cooperative to make it useful for the social and community. He takes an action for each sector with the faithful heart and doing with focus which resulted into National Institute of Metrology (Thailand) improvement and become a model of standardize organization. issue 163 september 2016


74 FACTORY VISIT เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์

C.A.S. PAPER

ชูกระบวนการบริหารจัดการคลังสินค้า ด้วย WMS และเทคโนโลยี RFID MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร เปิดบ้านต้อนรับ คณะผู้บริหารสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และคณะสื่อมวลชน ภายใต้การด�าเนินกิจกรรม F.T.I Media Trip 2016 โดยพาเยี่ยมชมพื้นที่นิคม อุตสาหกรรมสินสาคร จ.สมุทรสาคร ซึ่งเป็นนิคม อุตสาหกรรมที่มีการน�าแนวความคิดการรวมกลุ่ม อุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอร์สิ่งพิมพ์เข้าไว้ด้วย กันเป็นครั้งแรกของประเทศ และเยี่ยมชม บริษัท ซี . เอ.เอส. เปเปอร์ จ� า กั ด โรงงานที่ มี ก ารน� า เทคโนโลยีระบบ WMS (Warehouse Management System) และระบบ RFID มาบริ ห ารจั ด การ Warehouse ของบริ ษั ท เพื่ อ ลดความสู ญ เสี ย ที่ ไ ม่ จ� า เป็ น ในการประกอบกิ จ การ ซึ่ ง ถื อ เป็ น อีกหนึ่งต้นแบบของโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่มขีด ความสามารถของภาคอุตสาหกรรมไทย ด้วยการ น�าเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้


FACTORY VISIT 75

เพิ่มศักยภาพการจัดการคลังสินค้า ด้วยระบบ WMS และ RFID บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จ�ำกัด ใช้เทคโนโลยี ในกำรบริหำรจัดกำรคลังสินค้ำในระบบ Software ERT ส�ำหรับบริหำรจัดกำร เนื่องจำกบริษัทฯ มี สินค้ำทีจ่ ดั เก็บภำยในคลังมำกถึง 40,000 ตัน จ�ำเป็น ที่ จ ะต้ อ งหำเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ เข้ ำ มำช่ ว ยใน กำรบริ ห ำรจั ด กำร จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น กำรติ ด ตั้ ง ระบบ Warehouse Management System (WMS) และ เทคโนโลยี RFID มำช่วยในกำรบริหำรจัดกำรสินค้ำ คงคลัง ระบบ WMS มีรูปแบบกำรท�ำงำนคล้ำยกับห้ำง สรรพสินค้ำ โดยใช้ระบบกำรอ่ำนค่ำ RFID สินค้ำ ทุกชิ้นที่จะผ่ำนเข้ำไปในคลังสินค้ำจะถูกติดฉลำก RFID ซึ่งภำยในฉลำกจะมีข้อมูลรำยละเอียดสินค้ำ ครบถ้วน สำมำรถตรวจย้อนกลับได้ทกุ ขัน้ ตอน และ เพื่อป้องกันควำมผิดพลำดในกำรจ่ำยสินค้ำ กำรน�ำเทคโนโลยีดังกล่ำวมำประยุกต์ใช้ ส่งผล ให้ ส ำมำรถเพิ่ ม ศั ก ยภำพในกำรด� ำ เนิ น งำนของ บริษัทฯ ได้เป็นอย่ำงดี โดยสำมำรถชี้วัดได้จำก ควำมแม่นย�ำในกำรตรวจสินค้ำคงเหลือที่มีควำม ถูกต้อง 100% อีกทั้งระบบดังกล่ำวยังช่วยในกำร ตรวจสอบควำมแม่นย�ำ ในกำรปฏิบัติของพนักงำน คลังสินค้ำ ตลอดจนช่วยลดระยะเวลำในกำรปฏิบัติ งำน ทั้งด้ำนกำรขนย้ำย และค้นหำสินค้ำได้เป็น อย่ำงดีอีกด้วย

รู้จักระบบ WMS

หลักการบริหารของซี.เอ.เอส. เปเปอร์ Management Excellence บริการงานทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง แบบพันธมิตรทางการค้าร่วมกัน เน้นความซื่อสัตย์และจริงใจ และสร้างความโปร่งใสในธุรกิจ

Customer Services ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก เน้นความหลากหลายของสินค้าและบริการครบวงจร พร้อมเพิ่มช่องทางการบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเป็นเลิศในการบริการ

Employee Engagement การสร้างพลังความสุขในการ ท�างาน ให้โอกาสกับความก้าวหน้า ให้ความรู้ต่อยอดความคิด

Supplier Relationship Management (SRM) สร้างความสัมพันธ์กับพันธมิตรการค้า ให้เข้มแข็งและร่วมพัฒนาตลาดสินค้าอย่างต่อเนื่อง

Warehouse Management System หรือ โปรแกรมบริหารคลังสินค้า คือ โปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยให้กระบวนการท�างานในคลังสินค้า มีประสิทธิภาพมากขึ้น ฟังก์ชันการท�างานของโปรแกรม WMS จะรองรับการท�างานพื้นฐาน ของคลังสินค้า ตั้งแต่ขั้นตอน การรับสินค้า จัดเก็บสินค้า ย้ายสินค้า นับสินค้า จ่ายสินค้า และมีรายงานจ�านวน สินค้าคงคลัง รายงานความเคลื่อนไหว ของสินค้า (Stock Card) จึงท�าให้ สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ได้อย่างรวดเร็ว

issue 163 september 2016


76 FACTORY VISIT

รู้จัก ซี.เอ.เอส. เปเปอร์

ปัจจุบัน

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2530

พ.ศ. 2514

ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ เป็นบริษัทน�าเข้าส่งออกกระดาษเพื่องานพิมพ์รายใหญ่ ของเมื อ งไทย มี ค ลั ง กระดาษขนาด ใหญ่ที่สุดในประเทศ ด้วยพื้นที่บริหาร จัดการมากถึง 40,000 ตารางเมตร ซึ่งได้คัดสรรกระดาษและอุปกรณ์ต่างๆ ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ ที่มีคุณภาพสูงจาก ผูผ้ ลิตทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดย เป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าเพือ่ งานพิมพ์ ทุกประเภท

มี ก ารขยายกิ จ การ โดยซื้ อ กิ จ การ บริ ษั ท นอร์ ส เก้ (ประเทศไทย) จ� า กั ด ผู ้ ผลิ ต กระดาษหนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ห่ ง เดี ย ว ในประเทศไทย และเปลี่ ย นชื่ อ มาป็ น บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ มิล เป็นอีกหนึ่ง บริษัทในเครือ

ปรั บ แผนกลยุ ท ธ์ ก ารตลาดให้ มี ค วาม สอดคล้องกับพัฒนาการด้านเทคโนโลยี การพิมพ์โดยยึดหลัก ‘ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ สูงแบบครบวงจร’ เป็นทีม่ าของนโยบายการ สรรหา คัดเลือกและน�าเข้าจากผลิตภัณฑ์ จากทั่วทุกมุมโลก

บริษทั ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จ�ากัดถือก�าเนิดขึน้ โดยคุ ณ จุ ่ ย ม๋ ว ย แซ่ สื อ ธุ ร กิ จ แรก คื อ การผลิตตัวพิมพ์ ไทย จีน อังกฤษ และ อุปกรณ์การพิมพ์ จ�าหน่ายให้กับโรงพิมพ์ ทั่วประเทศ

อำจกล่ำวได้ว่ำ โปรแกรม WMS นั้นสำมำรถ น� ำ มำประยุ ก ต์ ใช้ ใ นกำรท� ำ งำนได้ กั บ คลั ง สิ น ค้ ำ ทุกประเภทธุรกิจ เช่น ธุรกิจอำหำร ธุรกิจอะไหล่ รถยนต์ ธุ ร กิ จ ซื้ อ มำขำยไป ธุ ร กิ จ อุ ต สำหกรรม เหล็ ก เป็ น ต้ น และยั ง สำมำรถท� ำ งำนกั บ คลังทุกประเภท เช่น คลังวัตถุดิบ (Raw Material) คลังอะไหล่ (Spare Part) คลังสินค้ำพร้อมขำย (Finish Goods) ซึ่ ง ถื อ เป็ น อี ก เทคโนโลยี ห นึ่ ง ที่มำช่วยเพิ่มศักยภำพในกำรด�ำเนินงำน และยัง ช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด ควำมสำมำรถของภำคอุ ต สำหกรรม ไทยได้อีกด้วย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

EXECUTIVE SUMMARY C.A.S. Paper Co., LTD. is a factory that use Warehouse Management System (WMS) and RFID system to manage company’s warehouse for waste reduction in manufacturing process. WMS system has the working model familiar to department store. It uses a system to read RFID value, each product which come into warehouse will be attached with RFID label. The label contains complete product detail, also provided trace back for every process and prevent failure in goods distribution. This technology improve the efficiency for company’s performance greatly. It could be indicated by the precision from merchandise inventory with 100% accuracy and this system also give a support to the examination of warehouse staff, also reduce operating time in transportation and product searching extremely.


เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

technology

77

RFID : เทคโนโลยีติดตามกระบวนการผลิตแบบเรียลไทม์ ภายใต้กรอบแนวคิด Internet of Things (IoT)

เทคโนโลยีส�ำหรับติดตำม (Tracking) สินค้ำ วัสดุ หรือผลิตภัณฑ์นั้นมีควำม ส�ำคัญอย่ำงมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในโลกยุคปัจจุบันที่เครื่องมือและอุปกรณ์ ทุกอย่ำงล้วนเชื่อมต่อและสื่อสำรระหว่ำงกัน ภำยใต้กรอบของแนวคิด ‘Internet of Things: IoT’ ซึง่ กำรท�ำงำนของเทคโนโลยีอย่ำง Radio Frequency Identification หรือที่หลำยๆ คนคุ้นเคยในชื่อ ‘RFID’ นั้นถือเป็นแขนขำของ IoT ที่มีบทบำท ส�ำคัญในกำรตรวจจับและรับ - ส่งข้อมูลแบบเรียลไทม์ได้เป็นอย่ำงดี นับเป็นส่วน กำรท�ำงำนของระบบเซ็นเซอร์ทรี่ บั - ส่งข้อมูลอันเป็นพืน้ ฐำนหรือข้อมูลเบือ้ งต้น ภำยใต้แนวคิด IoT ที่จ�ำเป็นที่สุดส�ำหรับกำรเฝ้ำติดตำมและตรวจสอบ ด้วยกำร ประยุกต์ใช้กับระบบกำรท�ำงำนอัตโนมัติและ IoT ซึ่งท�ำให้สำมำรถยกระดับ กำรท�ำงำนให้มีประสิทธิภำพและควำมปลอดภัยมำกขึ้น

RFID กับการเสริมประสิทธิภาพก�าลังการผลิต เทคโนโลยี RFID ทีถ่ กู น�ำมำใช้ในภำคอุตสำหกรรมอย่ำงเป็นรูปธรรม เป็นกำร

ใช้เพือ่ ยืนยันตัวตนหรือใช้ในกำรติดตำมระบุตำ� แหน่ง มีบทบำทเป็นเครือ่ งมือ สนับสนุนกำรท�ำงำนของกระบวนกำรผลิตในโรงงำนอุตสำหกรรม โดย RFID สำมำรถบรรจุข้อมูลส�ำหรับกำรท�ำงำนได้ดีกว่ำ Barcode จึงสำมำรถลดกำร เกิดควำมผิดพลำดจำกกำรปฏิบัติงำนของมนุษย์ เพิ่มควำมรวดเร็วและ ประสิทธิภำพในกำรท�ำงำน ทัง้ ยังช่วยในกำรป้อนข้อมูลเพือ่ ยืนยันสถำนะและ ต�ำแหน่งของสินค้ำหรือวัตถุดิบ เสริมสร้ำงควำมปลอดภัยในกำรท�ำงำน และ ที่ส�ำคัญที่สุด คือ ไม่จ�ำเป็นต้องเชื่อมต่อเครือข่ำยตลอดเวลำเพื่อท�ำงำน อำจกล่ำวได้ว่ำ RFID เป็นเทคโนโลยีเพื่ออุตสำหกรรมกำรผลิตที่สำมำรถ จัดเก็บข้อมูลต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรผลิตได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ สำมำรถตรวจสอบข้อมูลกำรผลิตและส่วนที่เกี่ยวข้อ งย้อ นหลังได้ เป็น ประโยชน์ในกำรด�ำเนินกระบวนกำรตรวจสอบ รวมถึงลดระยะเวลำในกำร ท�ำงำนได้อย่ำงมำก

RFID คืออะไร? RFID คือ เทคโนโลยีรปู แบบหนึง่ ทีใ่ ช้ระบุขอ้ มูลหรือยืนยันสินค้า (Tag) ส�าหรับกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม ซึง่ ถือเป็นเทคโนโลยีทมี่ กี ารน�ามาประยุกต์ ใช้งานมากที่สุดประเภทหนึ่ง นอกเหนือจากเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น Barcode, QR code หรือ NFC ซึ่งแต่ละรูปแบบมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกันไป หน้าที่ของ RFID คือ การระบุตัวตนอัตโนมัติและการจัดเก็บข้อมูล หรือ Automatic Identification and Data Capture (AIDC) และป้อนข้อมูลเหล่า นั้นเข้าสู่ระบบ ซึ่งการใช้งานประกอบด้วย RFID Tag หรือ Smart Label, RFID Reader และตัวรับสัญญาณ RFID Tag การใช้งาน RFID ที่สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้งในการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ได้แก่ RFID ที่ติดไว้กับเสื้อผ้าในร้าน ซึ่งหากน�าออกไปโดยไม่มีการจัดการที่ ถูกต้อง เมื่อตัวปล่อยสัญญาณเดินทางผ่านระยะเซนเซอร์ที่ก�าหนดจะเกิดเสียงดังขึ้นมา หรือการใช้งานกับกุญแจรถยนต์ ในการล็อครถก็เช่นกัน

issue 163 september 2016


78 technology

การตรวจสอบความเกี่ยวข้องสินค้า

ด้วยข้อมูลขั้นตอนที่ถูกบรรจุลงไปใน RFID ของวัสดุนั้นๆ ท�าให้สามารถเชื่อมโยงและระบุความสูญเปล่า (Waste) ที่เกิดขึ้นได้ ในระหว่างด�าเนินการ รวมทั้งลดความเสี่ยงใน การท�างานและเพิ่มประสิทธิภาพอีกด้วย

การตรวจรับสินค้า

ช่วยในการยืนยันและบันทึกข้อมูลสินค้าผ่านระบบ WMS และ ERP ได้อย่างฉับไว มีการแสดงผลจ�านวนสินค้าได้อย่างแม่นย�า

การจัดเก็บสินค้า

ยืนยันต�าแหน่งที่แน่นอนของสินค้าในคลัง แยกจัดเก็บสินค้า ได้ฉบั ไวและถูกต้อง ลดความผิดพลาดจากการด�าเนินงานของ มนุษย์ ลดปัญหาการจัดส่งที่ล่าช้า ท�าให้เกิดความพึงพอใจ จากลูกค้ามากขึ้นเมื่อเกิดการด�าเนินการที่ดีและฉับไว

การค้นหาและตรวจแยกสินค้า

สามารถยืนยันต�าแหน่งและสถานะสินค้า ตรวจสอบความ ถูกต้องของสินค้าได้

การจัดการคงคลัง

มีดีอย่างไร ? ใช้กับระบบป้ายค�าสั่ง (Kanban) ในการเติมวัสดุหรือสินค้า มี ก ารเติ ม วั ส ดุ ห รื อ สิ น ค้ า ได้ พ อดี กั บ ความต้ อ งการ ช่วยลดระยะเวลา Downtime สร้างการท�างานที่ตรงต่อตา รางเวลาที่วางแผนไว้

การขนส่ง

สร้างวงรอบการส่งสินค้าที่ชัดเจน รวมถึงปริมาณสินค้าตาม ความต้องการต่อรอบ ลดปัญหาระยะเวลาคลาดเคลื่อน เพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน ให้ครอบคลุมด้วย IoT + RFID กำรด�ำเนินงำนอุตสำหกรรมเพือ่ รองรับกำรก้ำวสูย่ คุ อุตสำหกรรม 4.0 จ�ำเป็น ต้องมีควำมฉับไวและแม่นย�ำ รวมถึงลดทอนควำมผิดพลำดที่อำจเกิดขึ้นใน กระบวนกำรผลิต ซึ่ง RFID สำมำรถเป็นเครื่องมือในกำรเก็บข้อมูลและช่วยใน กำรแสดงผลแบบเรียลไทม์ สำมำรถส่งข้อมูลกำรท�ำงำน สถำนะ รวมถึงรำย ละเอียดอื่นๆ เข้ำสู่ฐำนข้อมูลหรือระบบ Cloud ได้ทันที ซึ่งเมื่อสำมำรถเชื่อมต่อ เข้ำกับระบบเครือข่ำยแล้วยังสำมำรถใช้ฐำนข้อมูลออนไลน์หรือระบบประมวล ผลออนไลน์ ก่อนทีจ่ ะท�ำกำรคัดกรองข้อมูลเพือ่ ส�ำรวจ รวมถึงป้องกันควำมเสีย่ ง ที่อำจเกิดขึ้นได้อย่ำงทันท่วงที โดยไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ที่หน้ำงำน ชี้ให้เห็นถึงควำม ส�ำคัญของเซ็นเซอร์ทมี่ ตี อ่ กำรด�ำเนินงำนของ IoT อันส่งผลต่อกำรรำยงำนข้อมูล ได้อย่ำงแม่นย�ำและทันท่วงที

RFID เป็นกระบวนการสื่อสารแบบไร้สายที่มีตัวส่งสัญญาณ

ขนาดเล็กฝังไว้บนวัสดุ โดยท�างานร่วมกับเครื่องตรวจจับ สัญญาณในการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ เพื่อท�าการประเมินผล และตัดสินใจด�าเนินการ ซึ่งความสามารถในการเชื่อมต่อและ ส่งข้อมูลแบบไร้สายนี่เอง ที่ก่อให้เกิดการท�างานอย่างสอดรับ กับรูปแบบของ IoT

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

สร้างวงรอบการท�างานที่แน่นอน มีการจัดเรียงวัสดุอัตโนมัติ และลดกระบวนการที่ท�าให้เกิดความสูญเปล่า รวมถึงบริหาร จัดการพื้นที่และค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี

ติดตามการท�างานในระบบ

สร้างตัวเลือกในการด�าเนินการทีแ่ ม่นย�าด้วยข้อมูลทีเ่ ทีย่ งตรง และทั น สมั ย สามารถรั บ มื อ กั บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ เ ปลี่ ย นไปได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที ด ้ ว ยความสามารถในการ ปรับเปลี่ยนยืดหยุ่น

ดูแลรักษาความปลอดภัย

เพิม่ ความปลอดภัยจากการตรวจสอบเจ้าหน้าทีใ่ นพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน ลดความเสี่ยง และยังสามารถช่วยตรวจสอบสมรรถนะการ ท�างานของเจ้าหน้าที่ได้ในเบื้องต้น อำจกล่ำวได้วำ่ กำรน�ำเทคโนโลยี RFID มำประยุกต์ใช้จะช่วยเสริมสมรรถนะ ในกำรด�ำเนินงำนทุกขั้นตอนจำกกำรรำยงำนข้อมูลแบบเรียลไทม์ และศักยภำพ ของ IoT ที่สอดรับกันได้อย่ำงดี ท�ำให้สำมำรถรับรู้ข้อมูลที่ส�ำคัญและด�ำเนินกำร ได้ทันที หรือสำมำรถตั้งค่ำกำรตอบสนองต่อรูปแบบของสภำวะกำรณ์แบบ อั ต โนมั ติ เพื่ อ สร้ ำ งควำมต่ อ เนื่ อ งในกำรท� ำ งำน รวมถึ ง ลดควำม สูญเปล่ำที่จะเกิดขึ้นได้ด้วยกำรตรวจสอบข้อมูลอย่ำงเป็นระบบ Source: - http://goo.gl/Nh3sHQ , - http://goo.gl/lMJf3p , - http://goo.gl/RVDqck - RFID or IoT (Research of ChainLink Research) - Practical Uses for RFID Technology in Manufacturing and Distribution Applications (White Paper of Danby Group)

EXECUTIVE SUMMARY While we are coming forth to the industry 4.0, the Internet of Things (Iot) has grown more importantly. The key to operate IoT for industry 4.0 activity is the sensor which will detect the operation behavior in real – time. One of the most efficiency tag system which will enabling the IoT for manufacturing is the Radio Frequency Identification (RFID) which detected radio signal that contained information and report status to the system. RFID technology will improve the efficiency of the manufacturing operation through the monitoring system. The cooperation of RFID and IoT will represent the true power of industry 4.0 which will drive overall operation into success.


เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ LOGISTIC SMART

79

LOGISTICS AND SUPPLY CHAIN

TRENDS T WATCH IN 2016 Amazon.com ชูแผน ‘Operation Dragon Boat’ ตอกย�้ำกำรเป็นเจ้ำของซัพพลำยเชน แผนลับของ Amazon.com ภำยใต้ชอื่ ‘Operation Dragon Boat’ เป็นกำรตอกย�ำ้ เป้ำหมำยในกำรเป็น บริษัทจัดส่งสินค้ำที่มีกำรเติบโตอย่ำงมีนัยส�ำคัญ หลำยคนสันนิษฐำนว่ำ Amazon.com ก�ำลังวำงแผน ก้ำวเดินต่อไปข้ำงหน้ำในสำยงำนเดียวกับ UPS และ FedEx ซึ่งเห็นได้ชัดว่ำ Amazon.com ก�ำลังก้ำวเดิน ไปในทิศทำงนั้น ด้วยกำรซื้อกิจกำรบริษัทโลจิสติกส์ สั ญ ชำติ ฝ รั่ ง เศส Colis Prive รวมไปถึ ง ข่ ำ วลื อ ของกำรเข้ำถือครองสนำมบินในประเทศเยอรมนี และกำรซื้อฝูงบิน 747s และรุ่นอื่นๆ ถึงแม้ว่ำ Amazon.com ยังคงปฏิเสธในเรื่องนี้ แต่ค่อนข้ำง มั่นใจว่ำจะเห็น Amazon.com เริ่มต้นเป็นเจ้ำของ ซัพพลำยเชนเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆ รวมไปถึงวงจร สือ่ สำรส�ำหรับกำรเข้ำถึงโครงข่ำยระยะสุดท้ำย หรือ ที่เรียกว่ำ Last Mile

อีคอมเมิร์ซจะเปลี่ยน โลจิสติกส์และซัพพลายเชนไปตลอดกาล อีคอมเมิรซ์ เปลี่ยนแปลงรูปแบบเดิมของ

เมื่ อ โลกยั ง คงหมุ น ย่ อ มน� ำ พำมำซึ่ ง กำร เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ และแน่นอนกำรเปลีย่ นแปลง ก�ำลังเกิดขึ้นกับระบบโลจิสติกส์และซัพพลำยเชน อย่ำงหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อก้ำวทันกระแสแห่งกำร เปลีย่ นแปลง ผูป้ ระกอบกำรจึงจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องจับตำ แนวโน้มหรือเทรนด์โลจิสติกส์และซัพพลำยเชน ทั้งในปีค.ศ. 2016 และในอนำคตปีต่อๆ ไป ทั้งนี้ กำรเท่ ำ ทั น เทรนด์ ที่ ก� ำ ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ไม่ เ พี ย งแต่ จะเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงสถำนกำรณ์ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น หำกยังเป็นกำรกระตุน้ เตือนให้ผปู้ ระกอบกำรเตรียม ควำมพร้อม เพื่อรับมือกับสิ่งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น โดย เฉพำะในระบบโลจิสติกส์และซัพพลำยเชน ซึ่งเป็น หัวใจส�ำคัญประกำรหนึ่งในกำรเสริมสร้ำงศักยภำพ และขีดควำมสำมำรถทำงกำรแข่งขันในโลกธุรกิจ อุตสำหกรรมปัจจุบัน

โลจิสติกส์

ซัพพลายเชน

issue 163 september 2016


80 LOGISTIC SMART

ควำมสำมำรถที่เห็นเป็นรูปธรรม จะขับเคลื่อนนวัตกรรมโลจิสติกส์ ประเด็นส�ำคัญโดยทั่วไปของแนวโน้มเหล่ำนี้ ทัง้ หมด คือ นวัตกรรม ซึง่ มีบทบำทส�ำคัญในกำรขับ เคลือ่ นให้เศรษฐกิจมีควำมเจริญก้ำวหน้ำหรือตกต�ำ่ และท�ำให้ธุรกิจด�ำเนินไปอย่ำงมีประสิทธิภำพหรือ อำจพ่ำยแพ้ให้กับสิ่งที่มำใหม่ และควำมสำมำรถที่ มองเห็นได้อย่ำงเป็นรูปธรรมก�ำลังจะกลำยเป็นตัว ขับเคลือ่ นหลักของนวัตกรรมส�ำหรับระบบโลจิสติกส์ ทัง้ นี้ ควำมสำมำรถในกำรมองเห็นได้ หมำยถึง กำรมีภำพกำรปฏิบัติงำนของซัพพลำยเชนทั้งหมด เริ่ ม ตั้ ง แต่ มี ค� ำ สั่ ง ซื้ อ ไปจนถึ ง สิ น ค้ ำ ได้ ถู ก จั ด ส่ ง และเซ็นรับของ ซึ่งหมำยถึงระบบแบบรวมศูนย์ กำรกระจำยกระบวนกำรแก้ปัญหำ แอปพลิเคชัน ที่ เชื่ อ มต่ อ ในโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ส� ำ หรั บ คนขั บ รถ เพื่อให้สำมำรถติดต่อกับศูนย์ และลูกค้ำปลำยทำง ได้อย่ำงสะดวกรวดเร็ว

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ข้อผูกพัน และประสิทธิภำพ สร้ำงประโยชน์ในด้ำนกำรแข่งขัน Amazon.com ผู้น�ำในด้ำนซัพพลำยเชนและ กำรจัดส่งทีม่ ปี ระสิทธิภำพสูง ขณะที่ Uber ก็เป็นหนึง่ ในด้ำนกำรมอบประสบกำรณ์ที่ยอดเยี่ยมแก่ลูกค้ำ ทั้งหมดนี้ได้สร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงบรรทัดฐำนที่มี ผลกับลูกค้ำแบบถำวร ส�ำหรับผู้ประกอบกำรบำงรำยอำจมองว่ำสิ่ง เหล่ำนี้ได้ส่งผลกระทบต่อธุรกิจกำรแข่งขัน แต่ท้ำย ที่สุด หำกมองไปที่โอกำสแล้ว ยังคงมีช่องว่ำงให้ผู้ ประกอบกำรรำยอืน่ สำมำรถสร้ำงส่วนต่อขยำยเพือ่ ช่วงชิงควำมได้เปรียบ ข้อผูกพันของลูกค้ำปลำยทำง และประสิทธิภำพของซัพพลำยเชน จะเป็นปัจจัย ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับกำรสร้ำงประโยชน์ในด้ำนกำร แข่งขันในตลำดทีก่ ำ� ลังมีกำรแข่งขันสูงเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ก่อนหน้ำนีร้ ะบบงำนหลังร้ำน หรือ Back Office จ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อออกมำสู่หน้ำร้ำน หรือ Front Office ในขณะที่กิจกรรมที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับ กำรขำยต้องเชื่อมโยงไปถึงห่วงซัพพลำยเชนโดย ให้ลูกค้ำเป็นศูนย์กลำง ซึ่งจะกลำยเป็นบรรทัดฐำน ส�ำหรับผู้ค้ำปลีก 3PLs (Third Party Logistics Providers) ร้ำนอำหำร และอื่นๆ

ห่วงโซ่อุปทานที่ดี คือ การท�าให้ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง การเปลี่ยนแปลงกรอบกฏเกณฑ์ที่เกิดจาก อายุของผู้บริโภคที่มีอ�านาจซื้อ

กดดัน

นอกจำกนี้ ยังหมำยถึงลูกค้ำปลำยทำงต้อง มีภำพรวมทั้งหมดของ Last Mile เนื่องจำกลูกค้ำ ต้องกำรทรำบว่ำเมื่อไรพัสดุจะถูกจัดส่ง สำมำรถ ติดตำมควำมเคลือ่ นไหวของคนขับรถบนแผนทีแ่ บบ เรียลไทม์ผ่ำนโทรศัพท์มือถือ รวมไปถึงสำมำรถให้ คะแนนควำมพึงพอใจหลังจำกได้รับบริกำร

ซัพพลายเชน ต้องปรับเปลี่ยนแก้ ไข มุง่ ตอบสนองต่อ

ขณะนี้ อีคอมเมิรซ์ ได้กลำยเป็นตัวกระตุน้ ส�ำคัญ ส�ำหรับธุรกิจค้ำปลีก ในขณะที่ธุรกิจค้ำปลีกที่มีหน้ำ ร้ำนเริ่มมีควำมซบเซำ แต่อีคอมเมิร์ซยังคงเติบโต อย่ำงเข้มแข็ง และสร้ำงควำมวิตกให้กบั ธุรกิจรูปแบบ เดิมๆ ที่เคยเป็นมำ เนื่องด้วยศักยภำพของตัวมัน เองที่สำมำรถท�ำสิ่งต่ำงๆ ได้โดยอัตโนมัติ กำรสต๊อกสินค้ำขึ้นอยู่กับควำมต้องกำร ควำม หลำกหลำยของตัวเลือกในกำรจัดส่ง และกำรเข้ำ ถึงควำมต้องกำรดังกล่ำว ดังนั้น ผู้ประกอบกำรใน สำยงำนโลจิสติกส์และซัพพลำยเชน จ�ำเป็นต้องมอง หำนวัตกรรมในกำรรับมือกับกำรเติบโตของบทบำท อีคอมเมิร์ซในกำรค้ำปลีก

การดึงดูดความสนใจ ของลูกค้า


LOGISTIC SMART

การผสมผสานเทคโนโลยี

ใส่ค�าสั่งลงไป ในระบบกลาง

การจัดระบบเส้นทาง อย่างมีประสิทธิภาพ

การสั่งงาน

81

ข้อผูกพันกับลูกค้า

กระบวนการท�างานแบบใหม่ เมื่อบริบทแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

กำรน�ำส่งสินค้ำด้วยโดรน โอกำสใหม่ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เมื่อ Amazon.com ประกำศเป็นครั้งแรกว่ำ พวกเขำจะผลั ก ดั น แผนกำรใช้ โ ดรนในกำรจั ด ส่ ง สินค้ำ วงกำรโลจิสติกส์และซัพพลำยเชนทัว่ โลกได้มี กำรกล่ำวถึงเรื่องนี้อย่ำงกว้ำงขวำง แม้ว่ำจะไม่ได้ กลำยเป็นข่ำวครึกโครม แต่กท็ ำ� ให้ผคู้ ำ้ ปลีกหลำยรำย มีควำมเห็นคล้อยตำมไปกับกำรจัดส่งสินค้ำด้วย โดรน อย่ำงไรก็ตำม ยังไม่มบี ริษทั รำยใดเริม่ ด�ำเนินกำร ท�ำในเรื่องนี้อย่ำงจริงจัง เนื่องจำกต้องพิจำรณำ ประเด็นส�ำคัญอีกหลำยประเด็น อำทิ กฎระเบียบ ทำงกำรค้ำต่ำงๆ ท�ำให้แนวคิดดังกล่ำวหยุดชะงักไป ทั้งนี้ กำรจัดส่งสินค้ำด้วยโดรนจะเกิดขึ้นจริง หรือไม่ และจะเกิดขึ้นเมื่อไรนั้น ยังไม่สำมำรถตอบ ได้อย่ำงชัดเจน เนื่องจำกหลำยๆ ฝ่ำยที่เกี่ยวข้อง ตระหนักดีว่ำเทคโนโลยีนั้นมีกำรเปลี่ยนแปลงและ ไม่เคยหยุดนิ่ง ถึงเวลำแล้วที่บริษัทไปรษณีย์ภัณฑ์และพัสดุ ต้องเปลี่ยนแปลงซัพพลำยเชน กำรแข่ ง ขั น รู ป แบบใหม่ ควำมคำดหวั ง ของ ลูกค้ำ และกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงก้ำวกระโดดของ

เทคโนโลยี ได้ ส ่ ง ผลกระทบอย่ ำงมำกต่ อ บริ ษั ท ไปรษณีย์ภัณฑ์และพัสดุที่ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไข ซัพพลำยเชนใหม่ เพื่อให้สำมำรถยืนหยัดอยู่ใน ธุรกิจนี้ได้ เทคโนโลยีจ�ำเป็นต้องท�ำให้สมบูรณ์ ทั้ ง นี้ เมื่ อ ภู มิ ภ ำพทำงเทคโนโลยี ส� ำ หรั บ สำยงำนโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลำยเชนก� ำ ลั ง เปลี่ยนแปลงไปอย่ำงรวดเร็ว กำรก้ำวตำมให้ทัน กระบวนกำรเหล่ำนี้ จึงจ�ำเป็นต้องบริหำรจัดกำร กระบวนกำรท�ำงำนในทุกขั้นตอนได้อย่ำงอัตโนมัติ โดยระบบกำรท�ำงำนจ�ำเป็นต้องมีกำรบูรณำกำร พนั ก งำนต้ อ งมี ท รั พ ยำกรใหม่ ๆ คอยสนั บ สนุ น และผู ้ จั ด กำรจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ก ว้ ำ งไกล ซึง่ ทัง้ หมดนีล้ ว้ นต้องอำศัยกำรลงทุนกับแพลตฟอร์ม ที่สำมำรถท�ำงำนทั้งหมดที่กล่ำวมำได้ Source: http://cerasis.com/2016/08/01/supply-chain-and-logistics-trends/

EXECUTIVE SUMMARY The methodology of logistics and supply chain has been changing like a frog leap since the technology are fast forwarding. Amazon.com, one of the business giant are still in the planning process for logistics and supply chain under the project ‘Operation Dragon Boat’ which emphasize about the direction of their expanding explicitly. This is a new step of business growth that logistics and supply chain related – sector must keep an eye on. To catch the incoming trend, the index number which will report the situation that going to occurred and also warning the entrepreneur to prepare themselves for changing, particularly in logistics and supply chain system which is the heart of the competitive efficiency for manufacturing world today. issue 163 september 2016


82 TECH FOCUS เรื่อง: นเรศ เดชผล

เตรียมพร้อมรับ

BIG DATA อภิมหาข้อมูล

ท่านผู้ประกอบการย่อมทราบกันดีว่า ข้อมูล (Data) คือ ทรัพยากรที่ส�าคัญในการประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับธุรกิจด้านอุตสาหกรรมที่มี พลวัตทางเทคโนโลยีสูง ซึ่งถ้าสามารถน�าผลการ วิ เ คราะห์ ท างสถิ ติ จ ากข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู ่ ม าใช้ ใ นการ ด� า เนิ น งาน ก็ เชื่ อ แน่ ว ่ า จะท� า ให้ ง านนั้ น รุ ด หน้ า ต่อไปได้ดี ทั้งยังช่วยลดข้อผิดพลาดต่างๆ ลงไปได้ อย่ า งมากอี ก ด้ ว ย และยิ่ ง ถ้ า ปริ ม าณข้ อ มู ล มี จ�านวนมาก เนื่องจากได้รับการสั่งสมมาตั้งแต่เริ่ม ประกอบการ ก็มีความเป็นไปได้สูงที่ข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นจะมีความเที่ยงตรงขึ้นเรื่อยๆ หากมีการ น� า ผลที่ ไ ด้ จ ากการประมวลทางสถิ ติ ไ ปใช้ ใ น การตัดสินใจท�าโครงการใดๆ ก็ย่อมที่จะมีความ น่าเชื่อถือได้มากขึ้นเช่นเดียวกัน เมื่อมองย้อนกลับไปเราก็จะพบว่า การรวบรวม ข้ อ มู ล เพื่ อ น� า มาพิ จ ารณาก่ อ นการตั ด สิ น ใจท� า โครงการทางธุรกิจในยุคก่อนนั้น มักจะอาศัยข้อมูล ประสบการณ์ จ ากบุ ค ลากรในต� า แหน่ ง สู ง หรื อ ผู้ทรงคุณวุฒิในองค์กรเป็นหลัก ซึ่งวิธีนี้สามารถ ท� า ได้ เ นื่ อ งจากระบบการสื่ อ สารข้ อ มู ล ของโลก ยังไม่ก้าวหน้าเท่าใดนัก แต่หากปัจจุบันเรายังคงไว้ ซึ่งแนวทางเดิม โอกาสที่จะเกิดข้อผิดพลาดในการ ด�าเนินธุรกิจก็ย่อมเป็นไปได้สูง เพราะข้อมูลที่จะน�า เข้ามาใช้ในการด�าเนินการมีมากเกินกว่าที่บุคลากร เพียงไม่กี่คนจะสามารถประมวลผลและน�ามาใช้ได้ อย่างครบถ้วนและมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นเรื่องที่ น่าเป็นห่วงมาก ดังนัน้ การจัดการระบบข้อมูลขนาด ใหญ่จึงเป็นเรื่องที่ต้องเข้าใจไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อที่จะ ได้วางแผนเตรียมการได้อย่างถูกต้อง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

BIG DATA

ข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กร (Internal Data)

ข้อมูลที่น�ามาจากภายนอก องค์กร (External Data)

ข้อมูลที่น�ามาจากบุคคล (Personal Data)

ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ หรือจากการปฏิบัติงานภายใน องค์กร ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล เกี่ยวกับบุคลากร โครงการ ผลิตภัณฑ์ การให้บริการ ภายใน ข้อมูลอันเกิดจากการ ประมวลผลของแต่ละแผนก เช่น ข้อมูลการซ่อมบ�ารุงของ ฝ่ายไอที ข้อมูลการขายหรือ บริการของฝ่ายขาย ข้อมูล การจัดซื้อจัดจ้างของ ฝ่ายจัดซื้อ หรือข้อมูลฐาน เงินเดือนพนักงานของฝ่าย ทรัพยากรบุคคล เป็นต้น

ข้อมูลทีม่ คี วามส�าคัญต่อการน�า ไปใช้สนับสนุน และอ้างอิงใน การด�าเนินธุรกิจ เช่น ข้อมูล ส�ามะโนประชากร ข้อมูลการ พยากรณ์อากาศจากกรม อุตุนิยมวิทยา ข้อมูลแผนที่ เส้นทางจากกระทรวงคมนาคม ข้อมูลสถิติผู้เข้าเว็บจากเว็บไซต์ Truehits.net หรือข้อมูล อัตราการแลกเปลี่ยนประจ�าวัน จากธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ อาจมาจากองค์กร บริษัท หน่วยงาน หรือห้างร้าน ทั้งใน ลักษณะเชิงพาณิชย์และองค์กร ที่ไม่แสวงหาก�าไร ทั้งใน และต่างประเทศ

ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ข้อมูล ส่วนตัวของลูกค้าหรือผู้ใช้ บริการ ข้อมูลการแสดง ความคิดเห็นหรือทัศนคติ ของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ เป็นต้น


TECH FOCUS 83

การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลในระดับองค์กร Scale - Up รูปแบบดั้งเดิมที่ใช้อุปกรณ์ หรือคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว ในการ จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ท�าให้ง่ายต่อ การอัปเกรดอุปกรณ์ ยกตัวอย่างเช่น กรณี ที่ ข ้ อ มู ล มี ป ริ ม าณมากขึ้ น จนพื้ น ที่ จั ด เก็ บ ไม่เพียงพอ ก็จะเพิ่มขนาดของ Storage ให้ใหญ่ขนึ้ เพือ่ ให้มคี วามจุมากขึน้ หรือกรณี ที่อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลช้า อาจเลือก อัปเกรดอุปกรณ์ ใหม่ทั้งชุด เป็นต้น ข้อดี คือ ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เหมาะกับองค์กรที่ มีข้อมูลไหลเวียนไม่มาก แต่ไม่เพียงพอหาก น�ามาใช้งานในระดับ Big Data

Big Data หรือ อภิมหาข้อมูล คือ ข้อมูลขนาดใหญ่ และในอนาคต ก็มีแนวโน้มที่จะมีขนาดเพิ่มขึ้นไปได้ อีกเรื่อยๆ ไม่แน่ว่าต่อไปอาจจะไม่ได้ พูดถึงขนาดข้อมูลเป็น Terabytes แต่จะพูดกันทีร่ ะดับ Petabytes แทน

ความเป็นจริง ก็คือ ด้วยความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี สื่ อ สารข้ อ มู ล โดยเฉพาะการสื่ อ สาร ข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ท�าให้องค์กรสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลได้หลากหลายและง่ายยิง่ ขึน้ ยกตัวอย่าง เช่น จากเมื่อก่อนการส�ารวจข้อมูลพฤติกรรมการ ซื้อของลูกค้าต้องใช้บุคลากรสัมภาษณ์กับลูกค้า โดยตรงซึ่งต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก แต่ปัจจุบันเมื่อ มีอินเทอร์เน็ต ผู้ประกอบการก็สามารถที่จะปรับ กลยุทธ์การสือ่ สารไปยังลูกค้า เพือ่ เก็บข้อมูลได้งา่ ย และรวดเร็ว ซึ่งนอกจากจะใช้ต้นทุนต�่าแล้ว ข้อมูล ทีไ่ ด้รบั ยังมีความเทีย่ งตรงกว่าอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลที่ได้จัดเก็บจะถูกบันทึกจะเข้าสู่ระบบจัดเก็บ ข้อมูล (Storage) ซึ่งบ่อยครั้งในหลายๆ โครงการ

Scale - Out เป็นการน�าอุปกรณ์หรือ คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องมาช่วยในการ จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล รูปแบบนีก้ �าลัง เป็นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะ กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีข้อมูลไหลเวียนเป็น ปริมาณมาก รูปแบบ Scale-Out เหมาะสมที่ จะน�ามาใช้กบั Big Data ข้อดี คือ แม้อปุ กรณ์ หรือคอมพิวเตอร์บางตัวจะช�ารุดเสียหาย แต่ ร ะบบยั ง ท� า งานต่ อ ไปได้ โ ดยตั ว อื่ น ๆ จุดเด่นที่ส�าคัญอีกประการหนึ่ง คือ มีความ สามารถในการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว กว่า เนื่องจากใช้อุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์ หลายตัวท�างานช่วยกัน

มักมีการจัดเก็บอยู่ตลอดเวลา หรือมีคาบเวลาใน การจัดเก็บ จึงไม่แปลกที่ปริมาณข้อมูลจะมีมากขึ้น เรื่อยๆ ค�าถามก็คือ แล้วปัจจุบันองค์กรส่วนใหญ่ ใช้ระบบจัดเก็บข้อมูลแบบใด และพร้อมต่อการมา ของ Big Data หรือไม่ อย่างไรก็ตาม หากผูป้ ระกอบการมีแผนจะเริม่ น�า Big Data มาใช้ในองค์กร สิ่งส�าคัญเหนือสิ่งอื่นใด ก็คอื บุคลากรในด้านนี้ ซึง่ จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในสายงาน Development และ Data Scientist เป็น อย่างดี และหากจะพัฒนาระบบด้วยบุคลากรทีม่ อี ยู่ แล้วก็ควรทีจ่ ะส่งเสริมให้ได้รบั การอบรมตัง้ แต่เนิน่ ๆ เพือ่ ทีจ่ ะได้มคี วามพร้อมทีส่ ดุ ต่อการเปลีย่ นแปลงที่ ก�าลังจะมาถึงนั่นเอง

EXECUTIVE SUMMARY The advancing in communication technology, particularly in data transferring through an internet which enable the organization to reached various of information sources with easier procedure, especially when it came to the internet. The entrepreneur can improve the communication strategy for the customer and make it easier and also faster for collecting the information. Besides low cost, the collected information has more accuracy. Soon, the tendency of the file size is growing bigger and transforming into Big Data or huge information which is not the size of Terabytes but we are talking about Petabytes. The point that should be worried in perspective of the organization is Big Data management method. If the entrepreneurs want to start the Big Data in their organization, the staffs should have proper knowledge and great understand in development and also data scientist. If they want to improve the system with existing staffs, they should encourage the training early which the staffs can be prepare for the incoming change. issue 163 september 2016


‘บรรจุภัณฑ์’ นอกจากจะบ่งบอกถึงภาพลักษณ์ และจุดเด่นของสินค้าแล้ว หน้าที่ส�าคัญที่สุดของ บรรจุภัณฑ์ ก็คือ การปกป้องและถนอมอาหาร ซึ่ง เงือ่ นไขหรือความต้องการในการเลือกใช้วสั ดุเพือ่ น�า มาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์นั้น จะแตกต่างกันออกไปตาม ประเภทของอาหารที่บรรจุ โดยการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ไม่เพียงแต่ช่วยลด และควบคุมค่าใช้จ่ายได้อย่างเหมาะสม หากยังส่ง ผลให้เกิดต้นทุนและก�าไรที่ดีที่สุดด้วย

COST!

UT THE PACKAGING

84 Food Processing เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ท�ำควำมรู้จัก ปัจจัยกำรออกแบบบรรจุภัณฑ์ ส�าหรับกระบวนการผลิตอาหารนั้น การเก็บ รักษาหรือการป้องกันการปนเปื้อน ผู้ผลิตจะต้อง ท�าความเข้าใจในปัจจัยภายนอกที่สามารถส่งผล กระทบต่ อ อาหารของตั ว เอง และออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ให้สามารถตอบสนองต่อการยืดอายุและ รักษาสภาพอาหารไว้ เช่น ขนมเค้ก ต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ ทีม่ ลี กั ษณะแข็งแรง เพือ่ รักษาสภาพอาหาร ซึง่ ต่างจาก ขนมปังที่สามารถใช้บรรจุภัณฑ์ห่อหุ้มเอาไว้โดยอัด อากาศเข้าไปเล็กน้อยได้ หรือไอศกรีม บรรจุภัณฑ์ ต้องสามารถป้องกันการรั่วซึมได้ โดยทั่วไปแล้วแม้ว่าบรรจุภัณฑ์จะแบ่งได้เป็น 3 ประเภท กล่าวคือ บรรรจุภัณฑ์ชั้นแรก บรรจุภัณฑ์ ชั้นที่ 2 และบรรจุภัณฑ์ชั้นสุดท้าย แต่บรรจุภัณฑ์ ชั้นแรกถือเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ต้องให้ความส�าคัญมาก เป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นส่วนที่สัมผัสกับอาหาร โดยตรง ดังนัน้ มาตรฐานความปลอดภัยทางอาหาร

จึงก�าหนดชนิดของวัสดุทสี่ ามารถสัมผัสกับอาหารได้ 4 ชนิด คือ พลาสติก เซรามิก โลหะและวัสดุทดแทน ลดต้นทุนค่ำใช้จ่ำยด้ำนบรรจุภัณฑ์ ท�ำได้อย่ำงไร ? ท่ามกลางโลกธุรกิจทีก่ ารแข่งขันทวีความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง และการลดต้นทุนการผลิตในทุก กระบวนการ เป็นหนึ่งในกุญแจส�าคัญที่จะไขความ ส�าเร็จ การด�าเนินการเพื่อลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย ด้านบรรจุภัณฑ์ นอกจากจะต้องค�านึงถึงพื้นฐาน ของอาหารแต่ละชนิดแล้ว ยังต้องให้ความส�าคัญกับ การเลือกใช้ประเภทวัสดุที่น�ามาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ ด้วย ซึง่ ‘นวัตกรรมการออกแบบ’ คือ ค�าตอบทีจ่ ะ ท�าให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านบรรจุภัณฑ์ลดลง ทัง้ นี้ นวัตกรรมการออกแบบ ไม่เพียงแต่ชว่ ยลด และประหยัดค่าใช้จ่ายที่ซ�้าซ้อนกันในเรื่องของการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แต่ละขั้นตอน หากยังสามารถ ลดค่าใช้จ่ายได้ด้วยการพิจารณาความเหมาะสมให้ สอดคล้องบรรจุภณ ั ฑ์ชนั้ แรก เช่น กระป๋องน�า้ อัดลม หรือโซดาที่ต้องการความแข็งแรงจากบรรจุภัณฑ์ ชั้นสุดท้ายน้อยมาก เนื่องจากบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกมี ความแข็งแรงอยูแ่ ล้ว หรือหากเป็นกรณีทผี่ ลิตภัณฑ์ มีลักษณะตรงกันข้าม บรรจุภัณฑ์ชั้นสุดท้ายก็ต้อง เป็นแบบที่มีความแข็งแรงสูง บางกรณีอาจใช้การ ห่ อ ด้ ว ยพลาสติ ก หรื อ เทประหว่ า งการขนส่ ง ได้ แต่บางกรณี เช่น ผลไม้สด ซึ่งค่อนข้างมีลักษณะ เฉพาะตัวที่ต่างออกไป อาจจ�าเป็นต้องพิจารณา เลือกใช้วัสดุที่แตกต่างและมีความเหมาะสม


Food Processing 85

FEM กำรออกแบบบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับอำหำร รูปแบบใหม่ รูปแบบการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ดีวิธีการหนึ่ง คือ การใช้ Finite Element Modeling and Analysis (FEM / FEA) เน้นการเสริมคุณภาพเชิงกายภาพ และความสามารถในการป้องกันสิง่ ต่างๆ ของบรรจุ ภัณฑ์ ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ ท�าให้คาดเดาความเป็นไปได้ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ทั้งยังสามารถระบุจุดอ่อนของรูปแบบบรรจุภัณฑ์ นั้นๆ ได้มากขึ้นด้วย ปัจจัยต่อมาที่ต้องค�านึงถึงในการลดค่าใช้จ่าย ด้านบรรจุภัณฑ์ คือ นวัตกรรมแห่งวัตถุดิบส�าหรับ บรรจุภัณฑ์ ซึ่งการออกแบบวัสดุส�าหรับบรรจุภัณฑ์ นัน้ ได้รบั การพัฒนาให้มคี วามก้าวหน้าอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ลดต้นทุนค่าใช้จา่ ย โดยเริม่ จากอุตสาหกรรมการ ก่อสร้าง ซึ่งใช้คอมโพสิทในการผสมผสานวัตถุดิบ เพือ่ เพิม่ ความแข็งแรง ทนทาน โดยใช้วตั ถุดบิ น้อยลง ขณะเดียวกันก็ยกระดับคุณลักษณะทางกายภาพ ต่างๆ ให้สูงขึ้นด้วย ส� า ห รั บ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ค า ด เ ด า องค์ประกอบในระดับนาโนหรือไมโคร เป็นการลด ค่าใช้จ่ายที่ต้องด�าเนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพบรรจุภณ ั ฑ์ได้เป็นอย่างดี ซึง่ เทคโนโลยี สมัยใหม่อย่าง FEM นั้นถือว่ามีส่วนส�าคัญในการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ส�าหรับอาหารเป็นอย่างมาก โดยล่าสุดพบว่ามีความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน เอกชนและภาคการศึกษา ผ่านทางบริษัท Crown Holdings และ Swansea University ในการพัฒนา คุณภาพของบรรจุภณ ั ฑ์โดยใช้โลหะแผ่นบาง ช่วยลด ปริมาณวัตถุดิบที่ต้องใช้ให้น้อยลง บรรจุภัณฑ์มีควำมยืดหยุ่น ปรับแต่งได้ง่ำย ได้เปรียบกว่ำ ทั้งนี้ การเปลี่ยนวัสดุบรรจุภัณฑ์ถือเป็นการ ลดค่าใช้จ่ายได้เช่นกัน อาทิ การเปลี่ยนวัสดุบรรจุ ภั ณ ฑ์ จ ากแก้ ว มาเป็ น พลาสติ ก ใส ท� าให้ สิ น ค้ า มี น�้าหนักเบาลง ขณะเดียวกันก็เป็นเสมือนดาบสอง คม เพราะเมือ่ น�า้ หนักเบาลง อาจท�าให้ความแข็งแรง และความสามารถในการรับน�า้ หนักลดลงด้วยเช่นกัน แต่ปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไขได้ด้วยการปรับปรุง บรรจุภัณฑ์ชั้นสุดท้ายให้มีความแข็งแรงมากขึ้น อีกหนึ่งตัวอย่างที่น่าสนใจ คือ EnShield จาก บริษัท WestRock ซึ่งเป็นกระดาษลังน�้าหนักเบา ใช้ส�าหรับอุตสาหกรรมอาหาร มีคุณสมบัติความ ทนทานต่ อ น�้ า มั น และคราบไขมั น สกปรก ดี ก ว่ า กระดาษลังซัลเฟตทั่วไป หรือบางครั้งอาจเลือกใช้ กระดาษที่เคลือบสารต่างๆ ผสมผสานไว้ ก็สามารถ ทดแทนได้เช่นกัน ปัจจัยสุดท้าย คือ ความสามารถในการรับมือ ต่อการเปลีย่ นแปลงของบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ การออกแบบ ให้บรรจุภัณฑ์มีความยืดหยุ่นต่อการออกแบบ การ ปรั บ แต่ ง ได้ อ ย่ า งง่ า ยดาย สะดวกสบายถื อ เป็ น ข้อได้เปรียบทีส่ า� คัญมาก เนือ่ งจากราคาของวัตถุดบิ และอาหารมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เมื่อวัตถุดิบ

หน้าที่หลัก ของบรรจุภัณฑ์

การบรรจุอาหาร

การป้องกัน การปนเปื้อน

การน�าเสนอตัวตน ของสินค้า

ศาสตราจารย์ Jay Singh จาก California State University ได้ยกตัวอย่าง กล่องแบบ Bliss ส�าหรับใช้กับผักและผลไม้สดที่สามารถลดปริมาณการใช้ แผ่นไฟเบอร์บอร์ดลูกฟูก จากการใช้งานปกติได้ถึง 60% กระดาษลังลูกฟูก แบบนี้สามารถลดน�้าหนักได้ ด้วยการเพิ่มช่องว่างระหว่างแถวด้านในกระดาษ ร่วมกับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ขั้นแรกและขั้นที่ 2

หรือส่วนผสมบางอย่างเปลี่ยนไป อาจท�าให้เกิด ปฎิกริยาทางเคมีซ่ึงแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ วัสดุบรรจุภัณฑ์เมื่อสัมผัสกับอาหาร เช่น ไซรัปจาก ข้าวโพดที่มีฟรุกโตสและน�้าตาลสูง ย่อมส่งผลต่อ สูตรโครงสร้างทางเคมีและวัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ดว้ ย เป็น เหตุที่ท�าให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านบรรจุภัณฑ์สูงขึ้น เพราะต้องการความคงทนมากขึ้นนั่นเอง ดังนัน้ การออกแบบเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลง ดังกล่าว จึงช่วยลดค่าใช้จ่ายได้ โดยที่ไม่จ�าเป็นต้อง ท�าการออกแบบใหม่ทงั้ หมดอีกครัง้ จะเห็นได้วา่ การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความยืดหยุ่น สามารถ ปรับเปลี่ยนไปตามปัจจัยของตลาดได้เป็นสิ่งจ�าเป็น ตัวอย่างเช่น ฟิล์มเคลือบบรรจุภัณฑ์ ซึ่งต้องการ ความทนทานในการยืดหด จะเกีย่ วข้องกับความเร็ว ในกระบวนการผลิต แต่การขยับทีม่ ที ศิ ทางต่างออก ไปนั้น อาจไม่ได้ค่าอย่างที่คิด ดังนั้น ฟิล์มที่รองรับ ลักษณะการท�างานที่หลากหลาย จึงถูกพัฒนาขึ้น เพื่อลดค่าใช้จ่ายในระยะยาว อย่างไรก็ตาม การออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้อง ค�านึงถึงลักษณะการใช้งานเพื่อการปกป้อง การ ถนอมอาหาร โดยบรรจุภณ ั ฑ์ทงั้ 3 ชนิด สามารถจัด ล�าดับความส�าคัญทีแ่ ตกต่างกันตามชนิดของอาหาร แต่ยงั คงความสามารถในการลดต้นทุนด้านวัสดุและ วัตถุดบิ ของบรรจุภณ ั ฑ์ได้โดยแบ่งแยกคุณสมบัตขิ อง

บรรจุภณ ั ฑ์แต่ละขัน้ ตอนให้ชดั เจน เช่น ของเหลวโดย บรรจุภัณฑ์ชั้นแรกนั้นต้องมีความแข็งแรงมากที่สุด ส่วนบรรจุภณ ั ฑ์ชนั้ อืน่ ๆ สามารถลดความแข็งแรงลง มาได้ หรือการเลือกใช้เทคโนโลยีวสั ดุทเี่ หมาะสมกับ ความต้องการของอาหารนัน้ ๆ ร่วมกับการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ที่พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านโครงสร้างในอนาคต ท�าให้สามารถลดค่าใช้จา่ ย ในการออกแบบและการผลิตได้อย่างมีประสิทธิผล

Source: http://goo.gl/Rz5A1Y

EXECUTIVE SUMMARY The packaging could have hidden cost without notice while the purpose of packaging is to contain and preserve the food which also represent branding too. The design and material selection must be considering in that food property mainly. To reduce the hidden cost that may occur, use these 3 ideas that are design innovation, material innovation that reduce the cost and the benefits of design ability. issue 163 september 2016


86 safety เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ

กรณีศึกษาอุบัติภัย โรงงานในต่างประเทศ

จากเหตุ ก ารณ์ โ กดั ง สารเคมี ร ะเบิ ด ในเขต อุตสาหกรรมท่าเรือ เมืองเทียนจิน ประเทศจีน เมือ่ ปี ค.ศ. 2015 ท�าให้ทวั่ โลกหันมาให้ความส�าคัญ กับมาตรฐานและกิจกรรมด้านความปลอดภัยของ ประเทศ โศกนาฏกรรมครั้ ง นี้ ส ่ ง ผลกระทบเป็ น วงกว้างกลายเป็นประเด็นทางสังคมทีผ่ ปู้ ระกอบการ พึงตระหนัก เนื่องจากประชาชนในพื้นที่กลายเป็น ผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ จากเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ มีผเู้ สียชีวติ กว่า 100 ราย และอีกหลายร้อยชีวิตต้องตกอยู่ ในสภาพไร้ที่อยู่อาศัยจากแรงระเบิดที่สร้างความ เสียหายต่อชุมชนในบริเวณใกล้เคียง น�ามาซึง่ ความ สูญเสียต่อทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างประเมินค่ามิได้ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

คอลัมน์ SAFETY ฉบับนี้ จึงได้ประมวลสาเหตุ ของการเกิดอุบัติภัยในโรงงาน ซึ่งเป็นกรณีศึกษา จากต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นย�้าให้ ผูป้ ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและทุกภาคส่วน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� า คั ญ ของการ ป้องกันการเกิดอุบัติภัยอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ อุบัติภัยในโรงงานอุตสาหกรรมสามารถ เกิดขึน้ ได้ทกุ เวลาหากประมาท ขาดความระมัดระวัง หรือเกิดความหละหลวมในด้านการบริหารจัดการ ความปลอดภัย ดังนัน้ ‘กันไว้ดกี ว่าแก้’ ดีกว่า ‘วัวหาย ล้อมคอก’ เพราะหากเมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นมาแล้ว ย่อมน�ามาซึ่งความสูญเสียต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สิน


safety 87

กรณีศึกษาอุบัติภัย

Source: https://goo.gl/GF9neV http://news.voicetv.co.th/world/369849.html http://goo.gl/H92Oum

ไฟไหม้โรงงาน ประเทศบังคลาเทศ ปี พ.ศ.2555 เกิดไฟไหม้ในโรงงาน Tazreen ซึ่ง เป็นโรงงานผลิตสินค้าแฟชัน่ ในประเทศบังคลาเทศ เป็นเหตุให้พนักงานในโรงงานเสียชีวิต 117 ราย

สาเหตุ • โรงงานไม่มีประตูหนีไฟ • อุปกรณ์ที่ใช้ดับไฟไม่เพียงพอ

โรงงานเคมีระเบิด ประเทศอินเดีย ปี พ.ศ.2559 เกิดเหตุระเบิดภายในโรงงานเคมีที่ นครมุมไบ ประเทศอินเดีย มีผู้เสียชีวิต 5 ราย และ บาดเจ็บอีกกว่า 120 คน โดยแรงระเบิดท�าให้กระจก ของอาคารบ้ า นเรื อ นในบริ เ วณใกล้ เ คี ย งแตก กระจาย นอกจากนี้ กลุ่มควันซึ่งเกิดจากการเผา ไหม้ของสารเคมี ยังส่งผลให้ประชาชนมีปัญหา ด้านการหายใจ

สาเหตุ ความขัดข้องของเครื่องผลิต ไอน�้าในโรงงาน

พื้นโรงงานถล่ม ประเทศกัมพูชา เกิดเหตุพนื้ โรงงานผลิตเสือ้ ผ้าส�าเร็จรูป Nishiku Enterprise ถล่ม ที่ประเทศกัมพูชา ส่งผลให้มี แรงงานได้รับบาดเจ็บจ�านวน 4 ราย

สาเหตุ พื้นคอนกรีตของโรงงานสร้างโดย ไม่มีเหล็กรองรับ

โรงงานเคมีระเบิด ประเทศเกาหลีใต้ โรงงานเคมี Hanwha Chemical ในประเทศ เกาหลีใต้เกิดระเบิด เป็นเหตุให้มีพนักงานเสียชีวิต อย่างน้อย 6 ราย และบาดเจ็บอีก 1 ราย

สาเหตุ คาดว่าเกิดจากก๊าซที่ตกค้างอยู่ใน ถังเก็บของเสียที่ลอยขึ้นมากระทบ กับเปลวไฟ ขณะที่คนงานก�าลัง เชื่อมโลหะจึงเกิดการระเบิดขึ้น

ไฟไหม้โรงงาน ประเทศปากีสถาน ประเทศปากีสถาน เกิดเหตุเพลิงไหม้ โรงงานผลิต รองเท้า คนงานถูกไฟคลอกเสียชีวิตอย่างน้อย 23 ราย และบาดเจ็บอีกหลายสิบหลายราย

สาเหตุ เกิดจากเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า ลัดวงจร

EXECUTIVE SUMMARY The loss of life and asset from the accidental in factory is a threat that could be prevent and reduce loss to the smallest area. The column SAFETY this issue has collected the cause of accidental from the foreign factory, such as, the fire case from Bangladesh which caused from the factory has no fire exit or the floor collapsed in Cambodia which the floor was built without steel to support as the example. The intention to analyze the situation and effect of accidental issue is to emphasize the industrial entrepreneur and all that related to aware of the coverage safety importance as we know as ‘Safety First’. issue 163 september 2016


88 MAINTENANCE เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

Chain's Mainte nance การบ�ารุงรักษาโซ่ส�ำหรับเครื่องจักร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

‘โซ่’ ถือเป็นชิ้นส่วนส�ำคัญที่ท�ำหน้ำที่เป็นกลไก ในกำรท�ำงำนของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักร กำร ท�ำงำนของโซ่เป็นส่วนที่ต้องรองรับกำรเคลื่อนไหว ซึ่งหำกมีกำรใช้งำนในส่วนที่มีกำรเคลื่อนไหวด้วย ควำมเร็วสูง จ�ำเป็นต้องมีกำรซ่อมบ�ำรุงที่ดีและ เหมำะสม เพื่อป้องกันมิให้เกิดควำมเสียหำยต่อ ระบบกำรท�ำงำนของเครื่องยนต์หรือเครื่องจักรได้

การบ�ารุงรักษาโซ่

กำรบ�ำรุงรักษำโซ่ในเบือ้ งต้น ถือเป็นกำรยืดอำยุ กำรใช้งำนและสร้ำงควำมมัน่ ใจในกำรใช้งำนได้อย่ำง เต็มที่ หำกมีกำรใช้งำนและกำรติดตั้งที่เหมำะสม โซ่จะสำมำรถท�ำงำนได้มำกกว่ำ 15,000 ชั่วโมง เลยทีเดียว โดยกำรตรวจเช็คแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ กำรตรวจเช็ครอบ 3 เดือน และกำรตรวจเช็คที่ต้อง ด�ำเนินกำรเป็นประจ�ำ


MAINTENANCE 89

การตรวจเช็คที่ต้องด�าเนินการเป็นประจ�า

• ด�าเนินการตามการตรวจเช็ครอบ 3 เดือน • ตรวจสอบการสึกหรอด้านข้าง • ตรวจสอบความสะอาดของเครื่องมือ ด้วยการน�าคราบสกปรก ของเศษดิน หรือวัสดุอื่นๆที่ปนเปื้อนอยู่ออก • ตรวจสอบชาฟท์และส่วนประกอบของฟันเฟือง • ตรวจสอบความสึกหรอของฟันเฟือง • ตรวจสอบคุณภาพน�้ามันหล่อลื่น • ตรวจสอบระบบหล่อลื่น • ท่อป้อนฟีดไม่มีการติดขัด - มีการตรวจสอบสภาพของเหลวหล่อลื่นตามตารางเวลา - อัตราการหยดของของเหลวเป็นไปด้วยดี (ระบบหยดของเหลว) - ระดับน�้ามันอยู่ในค่าที่ถูกต้อง - ปั๊มท�างานได้อย่างดี

การตรวจสอบ

ซ่อมบ�ารุงโซ่ การตรวจเช็ครอบ 3 เดือน

• ตรวจดูการติดตั้งและสถานะของโซ่ ให้ด�าเนินการปรับปรุงแก้ไข หากจ�าเป็น • เปลี่ยนน�้ามันเคลือบ ตัวกรองน�้ามัน และจัดการท�าความสะอาด อ่างเก็บของเสีย

ตัวอย่างกรณีการช�ารุดของโซ่

และแนวทางแก้ ไขเบื้องต้น สถานะของโซ่ หรือ ลักษณะอาการ

ความเป็นไปได้ของที่มาปัญหา

แนวทางแก้ ไขเบื้องต้น

โซ่มีสนิม

• สัมผัสความชื้นหรือน�้า • ปริมาณน�้ายาหล่อลื่นไม่เพียงพอ

• เปลี่ยนโซ่เป็นสแตนเลสสตีล • เปลีย่ นสารหล่อลื่น และป้องกันไม่ให้สารหล่อลื่นโดนน�้า • ใช้สารหล่อลื่นให้ถูกต้องตามประเภทการใช้งาน

มีเสียงดังผิดปรกติ

• • • • •

• • • • • •

มีรอยสึกหรอด้านข้างเพียง ด้านที่สัมผัสกับเขี้ยวเฟือง

• จัดต�าแหน่งโซ่กับเฟืองผิด

• สังเกตการท�างานของโซ่และเฟือง จากนั้นวางต�าแหน่งสายใหม่ให้ ตรงกับชาฟท์

โซ่ติดแน่นอยู่กับฟันเฟือง

• ฟันเฟืองเกิดความเสียหายอย่างหนัก • มีการจัดวางต�าแหน่งฟันเฟืองไม่ถูกต้อง

• ส�ารวจความเสียหายและท�าการเปลี่ยนชิ้นส่วนที่จ�าเป็น • สังเกตแนวโซ่ว่าต�าแหน่งถูกต้องและก่อให้เกิดปัญหาหรือไม่

โซ่ปีนฟันเฟือง

• • • •

โซ่หย่อน โซ่เกิดการสึกหรออย่างมาก เฟืองสึกหรอ มีการโหลดที่เกินความสามารถในการรองรับ

• ตั้งความตึงโซ่ใหม่ • ส�ารวจความเสียหายและเปลี่ยนชิ้นส่วนที่จ�าเป็น • สังเกตตัวมอเตอร์หมุนและเปลี่ยนโซ่ให้ถูกต้องกับภาระงานและ อุปกรณ์ที่ใช้

มีหมุดที่หายหรือพัง

• มีการติดตั้งหมุดไม่ถูกต้อง • เกิดการสั่นสะเทือนที่หมุดไม่สามารถรองรับแรงได้ • โซ่ท�างานด้วยความเร็วที่มากเกินไป

• ติดตั้งหมุดตัวใหม่ • ลดการสั่นสะเทือน หากเป็นไปได้ใช้เฟืองที่มีขนาดใหญ่ขึ้น • ลดความเร็วการหมุนลงหากเป็นไปได้ หรือออกแบบโซ่ที่มีข้อเล็กลง

มีสิ่งของติดขวางการท�างาน เกิดความเสียหายขึ้นกับโซ่ สารหล่อลื่นไม่เพียงพอ โซ่มีขนาดใหญ่เกินการใช้งาน มีเขี้ยวเฟืองน้อยเกินไป

น�าชิ้นส่วนที่ติดขัดออก หรือเปลี่ยนโซ่หากจ�าเป็น ท�าให้โซ่ที่ติดตั้งอยู่มีความกระชับมากขึ้น เปลี่ยนโซ่ ส�ารวจดูความเสียหายของฟันเฟืองหรือโซ่และท�าการซ่อมบ�ารุงแก้ไข ออกแบบโซ่ให้มีขนาดเล็กลงหากขนาดไม่พอดี สังเกตการท�างานของเฟืองกับโซ่ว่าใช้งานได้พอดีกันไหม หากไม่ ต้องเลือกชิ้นส่วนที่เปลี่ยนออก

issue 163 september 2016


90 MAINTENANCE

ตัวอย่างกรณีการช�ารุดของโซ่

และแนวทางแก้ ไขเบื้องต้น สถานะของโซ่ หรือ ลักษณะอาการ

ความเป็นไปได้ของที่มาปัญหา

แนวทางแก้ ไขเบื้องต้น

ลักษณะโซ่ที่เชื่อมต่อพัง

เกิดความเสียหายอย่างมาก

• เกิดจากการใช้งานเกินก�าลังที่รับได้

• เปลี่ยนโซ่และสังเกตชิ้นส่วนเพื่อคาดการณ์หาต้นตอความเสียหายและจัดการกับ ภาระการโหลดที่เกินไป

• ปริมาณโหลดเกินความสามารถในการรองรับของโซ่

• จัดการกับต้นตอของการโหลดเกิน ถ้าเป็นไปได้ให้ออกแบบมอเตอร์หมุนด้วยโซ่ คุณภาพสูงแทนหากปัญหานี้ยังไม่จบลง

• เกิดการสึกกร่อนร่วมกับการใช้งานที่ตึงจนเกินไป • การเปราะเนื่องจากไฮโดรเจนจากการชุบโซ่ไม่ถูกต้อง

• ปกป้องโซ่จากการสึกกร่อนหรือหันมาใช้วัสดุสแตนเลสสตีล • อย่าชุบโซ่เอง สั่งมาจากผู้ผลิตเลยจะดีกว่า

เกิดความเสียหายปานกลาง

เกิดความเสียหายเล็กน้อยหรือรอยร้าว

ตัวเชื่อมพัง

หมุดเชื่อมพัง

มีรอยครูดที่หมุดปัก

หมุดเบี้ยว

• มีโหลดที่ใช้มาก

• น�้ามันหล่อลื่นไม่เพียงพอ

• เปลี่ยนโซ่และส�ารวจตัวหมุนเพื่อหาความเสียหาย จากนั้นเปลี่ยนชิ้นส่วนที่เสียหาย • เปลีย่ นโซ่และน�้ามันหล่อลื่นให้ถูกต้องกับการใช้งาน

• โหลดมากเกินไป

กำรดูแลรักษำโซ่และเครือ่ งมือทีเ่ กีย่ วข้อง นัน้ เป็นสิง่ จ�ำเป็น เนือ่ งจำกโซ่เป็นส่วนทีต่ อ้ ง เผชิญกับกำรรับโหลดที่มีแรงมำก บำงครั้ง ยังต้องท�ำงำนภำยใต้ควำมเร็วสูง ดังนั้น กำรดูแลรักษำโซ่จึงจ�ำเป็นจะต้องท�ำอย่ำง สม�่ ำ เสมอ เนื่ อ งจำกรู ป แบบกำรใช้ ง ำน สำมำรถก่อให้เกิดควำมสึกหรอและควำม สูญเสียได้อย่ำงง่ำยดำย โดยควำมเสียหำย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ไม่ เ พี ย งแต่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ อุ ป กรณ์ ใช้ ง ำน หำกยั ง ส่ ง ผลกระทบถึ ง เจ้ ำ หน้ ำ ที่ ป ฏิ บั ติ ก ำรและกำรท� ำ ธุ ร กิ จ อีกด้วย

Source: http://goo.gl/TkyCQh (Renold Jefrey,White Paper) MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ดังนั้น ผู้ประกอบกำรหรือเจ้ำหน้ำที่ ปฏิบัติกำรจึงจ�ำเป็นต้องท�ำกำรตรวจสอบ สภำพควำมพร้อมอยูเ่ สมอ ทัง้ กำรตรวจและ เปลี่ยนถ่ำยของเหลวทุก 3 เดือน และกำร ตรวจควำมบกพร่องที่ต้องด�ำเนินกำรอย่ำง สม�่ ำ เสมอ เนื่ อ งจำกลั ก ษณะอำกำรเสี ย ของโซ่นนั้ สำมำรถบ่งบอกปัญหำทีเ่ กิดขึน้ ได้ ด้วยเช่นกัน ดังนั้น จึงต้องวิเครำะห์ควำม เป็นไปได้ของปัญหำที่เกิดขึ้นเพื่อวำงแผน รับมือและลดกำรดูแลรักษำที่ไม่จ�ำเป็นลง เพือ่ ลดค่ำใช้จำ่ ยและสำมำรถใช้งำนได้อย่ำง คุ้มค่ำยิ่งขึ้น

EXECUTIVE SUMMARY Chain is an important component for motor or machinery usage. The usability of chain is to dealing with the load and sometimes operate under a fast rotator. Unattended maintenance of chain could cause so much loss, that is why the engineer should plan a maintenance schedule regularly. The maintenance could be categorized into 2 major categories that is 3 months plan and annual plan. The chain condition or symptom could lead to the root of problem that occurred. The engineer must be analyzed the possibilities that cause problem to plan and deal with it, also reduce unnecessary maintenance process. This maintenance could reduce cost and improve operating efficiency.



“Myanmar’s Most Complete Medical, Dental, Plastic Surgery And Aesthetic Products Event!”

4 th

Co-Located With:

Dental Myanmar 2016 An International Exhibition of Dental Technology, Equipment & Supporting Industries

An International Exhibition of Plastic Surgery Technology, Equipment & Supporting Industries

An International Exhibition of Aesthetic Products & Its Supporting Industries

19-21 October 2016 Sule Shangri-La Hotel, Yangon, Myanmar

Medical Automation


ห ามพลาด!! สําหรับผู ที่มองหาระบบโลจิสติกส ที่มีประสิทธิภาพ

ต อยอดการขนส ง การจัดเก็บกระจายสินค า และพันธมิตรทางธุรกิจระดับภูมิภาค TILOG-LOGISTIX 2016 งานแสดงเทคโนโลยี โซลูชน่ั และผู ให บริการด านโลจิสติกส สําหรับภูมภิ าคอาเซียน+6 ที่ครบครันที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต พบผู แสดงสินค าชั้นนําในวงการโลจิสติกส พร อมนําเสนอเทคโนโลยี นวัตกรรมบริการและโซลูชั่น ในวันที่ 21 – 23 กันยายน 2559 ณ ไบเทค บางนา จีนมองโอกาสตลาดอาเซียน ยกระดับวงการ โลจิสติกส ตอบรับยุค Industry 4.0 “อาเซียนถือเปนตลาดใหมที่มีศักยภาพใน การเติบโต ทางบริษัทตั้งใจที่จะขยายการลงทุน ตลาดอาเซียนผานการลงทุนในประเทศไทย โดย ในปจจุบัน บริษัท KSEC กําลังมองหาพันธมิตร ทางธุรกิจในประเทศไทยและอาเซียน เพือ่ ขยาย ฐานธุรกิจผานการรวมมือกัน เพือ่ ประโยชนทาง ธุรกิจทั้ง 2 ฝาย อยางเชน การพัฒนาและการใช เทคโนโลยีรว มกัน” Mr. Ling Leizhou, Executive Director and General Manager ของบริษัท Kunming Shipbuilding Equipment Co., Ltd. กลาว พบเทคโนโลยีระบบโลจิสติกสอตั โนมัติ อาทิ Automated Guided Vehicle (AGV) รถขนสง เคลือ่ นทีอ่ ตั โนมัตทิ สี่ ามารถกําหนดเสนทาง เพือ่ ใชในการขนสงในหลายประเภท และเทคโนโลยี ลาสุดที่ใชในการจัดเก็บสินคาจํานวนมาก ใน เวลารวดเร็ว เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการคลังสินคา กับ Miniload High-Speed Stacker Crane ที่สามารถใชไดกับหลากหลาย อุตสาหกรรม ไมวาจะเปน ศูนยกระจายสินคา เภสัชกรรม หรือธุรกิจอีคอมเมิรซ คนพบเทคโนโลยีชั้นนําในอุตสาหกรรมหอง เย็นแบบครบวงจร จากผูไดรับรางวัล ELMA บริ ษั ท แปซิ ฟ  ค ห อ งเย็ น จํ า กั ด เป น ผูประกอบการที่มีความเปนเลิศดานการบริหาร จั ด การโลจิ ส ติ ก ส ป ระจํ า ป 2559 (Excellent Logistics Management Award 2016) หรือ ELMA 2016 จะจัดแสดงเทคโนโลยีลํ้าหนา เชน ชั้นวางสินคาเคลื่อนที่ พรอมกับระบบตรวจเช็ค คลังสินคาออนไลน หากคุณกําลังมองหาโซลูชนั่ ดานหองเย็น (Cold Storage) หรือแมแตคูคา ทางธุรกิจ เพื่อพัฒนาและเตรียมพรอมเขาสูยุค

โลจิสติกส 4.0 หามพลาด ในการเขารวมงาน TILOG-LOGISTIX 2016 ครั้งนี้” นายประทิตย วงศ พิ ม ายคราม, Business Development Manager กลาว ธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร  ซ เติ บ โต อุ ต สาหกรรม ซัพพลายเชนเรงปรับตัว การเติ บ โตอย า งก า วกระโดดของธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร  ซ ผลั ก ดั น ให ก ลุ  ม อุ ต สาหกรรม ซัพพลายเชนจําตองเรงปรับตัวและขยายการ ลงทุน เพือ่ สรางจุดเดนของธุรกิจในอุตสาหกรรม สินคาอุปโภคบริโภค เชน การนําระบบการคัด แยกสินคาอัตโนมัตมิ าใชเพือ่ ตอบสนองตอความ ตองการในการสงสินคาแบบ Next-day delivery ที่มากขึ้นทั้งแงปริมาณและความถูกตองแมนยํา Mr. Weekeng Tan, Industry Manager บริษัท เชงฮัว (ประเทศไทย) จํากัด กลาว บริษัท เชงฮัว (ประเทศไทย) จํากัด ผูนําดาน การขนถายลําเลียงสินคาและบริการโซลูชั่นดาน การขนถายลําเลียงสินคามากกวา 3,000 โซลูชนั่ พร อ มจั ด แสดงเทคโนโลยี แ ละโซลู ชั่ น อาทิ MegaSort sorter solution ตอบโจทยลูกคาที่ มีงานปริมาณมาก เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ความยืดหยุนและ ผลกําไรใหมากยิ่งขึ้น ติดตามความคืบหน าของงานได ที่ www.tilog-logistix.com และเฟสบุ ค www.facebook.com/tilog.logistix ลงทะเบียนเข าชมงานล วงหน า Website: www.tilog-logistix.com Email: contactcenter@reedtradex.co.th Tel: +66 2686 7222

issue 163 september 2016


Bridging You To The Heart Of Thailand's Manufacturing Industry!

THAILAND MANUFACTURING AND AUTOMATION TECHNOLOGY FAIR

w w w.t m a t f a ir. c om

28-29 SEPTEMBER 2016

The Thai-German Institute (TGI) Amata Nakorn Industrial Estate Chonburi, Thailand

Featuring 3 Major Segments For The Manufacturing Industry: - Industrial Machineries - Industrial Automation - Power and Electric

BOOK NOW!

More Information Please Contact: Tel: (+66) 2 513 1418 Ext. 118 Email: thai@quikfairs.com

Endorsed By:

Ministry of Industry

Department of Industry Promotion

Organized By:

QuikFairs Thailand

Thai Industrial Standards Institute

Industrial Estate Authority of Thailand

Thai - German Institute

Technology Promotion Association (Thailand-Japan)

Design And Engineering Consulting Service Center



FOUR MEGA EXHIBITIONS

TO MOBILIZE THE INDUSTRY From 6 – 8 October 2016, at Saigon Exhibition and Convention Center (SECC), Ho Chi Minh City, METALEX Vietnam 2016 will once again welcome exhibitors and visitors to experience an event centered for Vietnam’s manufacturing community. As Vietnam’s international machining tools and metalworking solutions trade fair, METALEX Vietnam 2016 offers a unique opportunity for technology owners to present their technology that elevates metalworking to the next level of productivity and performance. With over 500 brands from 25 countries and 10,000 industry professionals, this is a perfect opportunity for them to aim their goal towards higher profits and success. METALEX Vietnam will fulfilled of new innovations, opportunities to acquire new business insights, and meet new peers of the industry with the participation of 7 national pavilions from China, India, Korea, Japan, Taiwan, Thailand and Singapore. Ms.Kasinee Phantteeranurak, Project Manager of Reed Tradex Co., Ltd. shared “To ensure that we will be providing all of our participants with maximum business opportunities, we continue conducting special activities, before and during the shows, including industrialist outreach program, international roadshows, seminars, on-site special features, business matchmaking service, business delegation package, and more. Engineer Master Class is remodeled and updated to offer you a vast range of knowledge and information, as well as exceptional networking opportunities, through content-rich seminars. The World Championship Sekai Koma Taisen will back to the stage and continue to encourage small and medium enterprise to enhance their manufacturing technologyto win the battle of the year. ” MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

In order to consolidate the competitive-edge with latest machine tools and solutions, as well as SMT and testing technologies for production upgrade at same dates, same venue, there are 3 co-located exhibitions where metalworking and electronics manufacturing can be faster with high precision and cost-efficiency. In order to increase the effectiveness of supporting industries, the co-location of “Business Alliance for Supporting Industry 2016” by Japan External Trade Organization (JETRO), Ho Chi Minh City Office and Investment & Trade Promotion (ITPC) at METALEX Vietnam, will enable local small and medium enterprises gain access to technologies, trends and networking opportunities. Mr. Hirotaka Yasuzumi, Chief Representative of JETRO Ho Chi Minh Office remarked, “With our support through the Business Alliance for Supporting Industry, parts manufacturers can become effective suppliers that meets the requirements of Japanese and foreign enterprises. This, in turn, can influence investors’ decision to tap Vietnam’s booming manufacturing sector. Besides the latest machine tools and metalworking solutions, participants will be able to meet 15 Japanese and 50 Vietnamese auto and industrial-parts buyers and sellers” There is also the coming back of NEPCON Vietnam in order to serve up the technologies needed to stay competitive from 200 brands from 20 countries and 6 international pavilions (China, Japan, Korea, Malaysia, Taiwan and Singapore). This event will offer the platform for a comprehensive range of solutions for SMT line manufacturing, from feeding to testing, complete with activities to encourage networking among electronics entrepreneurs. Along with NEPCON Vietnam 2016,


“Hand Soldering Championship” will be conducted by IPC, this will be an arena for competitors to compete in building a functional electronics assembly within a time limit. Co-located with METALEX Vietnam 2016, “Industrial Components & Subcontracting Vietnam 2016” will offer extensive business opportunities with parts manufacturers and subcontractors to you. At the event, visitors will discover quality parts ranging from automotive parts, electronics components, and other industrial parts that will be display.

MARK YOUR CALENDAR NOW,

so you don’t miss Vietnam’s international exhibition on machine tools and metalworking solutions from 6 – 8 October!

For more information, please follow: http://metalexvietnam.com/ issue 163 september 2016




the comprehensive guide book for building and construction industry ครบครันทุกข อมูลก อสร าง วัสดุอุปกรณ และงานบร�การ

www. Thailand Builders .in.th สำหรับผู ที่ต องการรับไดเรกทอร�่ฟร� กรุณากรอกข อมูลใบแบบฟอร มด านล าง

และส งกลับมาที่ฝ ายการตลาด - เบอร แฟกซ 0-2769-8043 หร�อ info@greenworldmedia.co.th สอบถามข อมูลเพ��มเติมที่ โทร 0-2731-1191 ถึง 4 ต อ 102

ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน ง

บร�ษัท

ประเภทธุรกิจ

ที่อยู รหัสไปรษณีย เบอร โทร

เบอร แฟกซ

เวบไซต

อีเมล * สงวนสิทธิ์สำหรับผู ที่กรอกข อมูลครบถ วนเท านั้น


NO.163 9/2559

ลุนรับรางวัลงายๆ

เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ

เอบีบี บจก. อเดคอม คอมเพรสโซเรน (ประเทศไทย) บจก. กาวหนา อินดัสทรีส เอ็นจิเนียนิ่ง บจก. Tel: 0-2731-1191#131

Fax: 0-2769-8043

ชื่อ :

บริษัท :

อีเมล :

เบอรโทรศัพทมือถือ :

ซุนไถจั่น อิมปอรต บจก. ทีเอที เอ็นเนอรยี่ แอนด เอ็นจิเนียริ่ง บจก. Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :


102 Editor’s Pick

JACOBY-TARBOX® “Hygienic Sight Flow Indicators”

อุปกรณ์เครื่องมือวัดที่ผลิตกระแสไฟฟ้ำได้ ด้วยตัวเอง (Energy Harvester) อุปกรณ์เครือ่ งมือวัดแบบไร้สายของเอบีบเี ป็นอุปกรณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง เนื่องจากมีความสามารถในการจัดการพลังงานด้วยตัวเอง ที่ได้รับการ ออกแบบมาเพื่อให้อุปกรณ์สามารถท�างานได้ด้วยพลังงานไฟฟ้าที่ต�่ามาก ซึ่งถือเป็นปัจจัยส�าคัญที่ช่วยในการยืดอายุแบตเตอรี่และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการท�างานของเครือข่าย ทั้งยังได้ปรับปรุงเพิ่มคุณภาพการส่งสัญญาณ ข้อมูล โดยใช้อัตราความเร็วในการส่งที่สูงขึ้น โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการดึง พลังงานจากแบตเตอรีม่ าใช้งานมากขึน้ ท�าให้ไม่ตอ้ งเปลีย่ นแบตเตอรีบ่ อ่ ยครัง้ และผู้ใช้สามารถเข้าถึงการควบคุมกระบวนการผลิตที่ส�าคัญต่างๆ ได้อย่าง ง่ายดาย เอบีบี ได้สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมาโดยใช้ฟังก์ช่ันพื้นฐานของ ตัวอุปกรณ์เป็น Wireless Hart ได้แก่ • เซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ รุ่น TSP300-W • ตัวส่งสัญญาณอุณหภูมิ รุ่น TTF300-W • อุปกรณ์ตรวจวัดแรงดัน รุ่น 266 เครื่องมือวัดที่ออกแบบมาให้ง่ายต่อการใช้งาน โดยเครื่องมือวัดของ เอบีบีจะช่วยอ�านวยความสะดวก ดังนี้ • ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งลดลง 30% เมื่อเทียบกับ HART แบบมีสาย (*อ้างอิงจากตัวส่งสัญญาณ 50 ตัว) • เวลาในการด�าเนินการเร็วขึ้น: อาจเร็วขึ้นถึง 75% โดยไม่ต้องกังวล เรื่องการขุดดิน เดินสายไฟ และการกลบแต่ง • สามารถวินิจฉัยปัญหาของอุปกรณ์ได้จากระยะทางไกล ผ่านระบบ การสื่อสารแบบไร้สาย • ใช้พื้นที่ติดตั้งเล็กลง เพราะไม่ต้องใช้กล่องพักสายไฟหรือโครงข่าย สายไฟ • ความสามารถในการรองรับการเพิ่มขยายได้ในอนาคต สามารถติดตั้ง อุปกรณ์เพิ่มเติมได้อย่างง่ายดาย • การวัดค่าและการสื่อสารกับอุปกรณ์ที่ไม่ได้ท�างานผ่านระบบสายไฟ เช่น ระบบโทรศัพท์มือถือ • อุปกรณ์เก็บเกีย่ วพลังงานของเอบีบี จะช่วยเพิม่ ศักยภาพของโครงสร้าง เครือข่าย เพื่อให้มีการท�างานที่ได้ประสิทธิภาพสูงสุด สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เป็นอุปกรณ์ช่วยให้สามารถมองเห็นการไหลของสารด้วยสายตาส�าหรับ งานสุขอนามัย มีทั้งแบบที่มีลักษณะเป็นท่อกลม (Tubular) และแบบตาวัว (Bulls-Eye) ซึ่งมีช่องมองเป็นรูปวงกลม ผลิตออกมาเป็นพิเศษส�าหรับใช้กับ กระบวนการที่เกี่ยวกับยา ยาชีวภาพ อาหารและกระบวนการอื่นที่ต้องการ ความสะอาด และสุขอนามัยในระดับสูงสุด ความสามารถในด้านการท�าความสะอาด ควบคุ ม Intrusion ได้ ต ามข้ อ ก� า หนดที่ เข้ ม งวดที่ สุ ด ของมาตรฐาน ASME-BPE’s โดยใช้ • ASME BPE ที่เกี่ยวกับขนาดและหลักการออกแบบ • แก้ว Borosilicate ที่มีขนาดรูที่เที่ยงตรง • EHEDG O-Ring Capture Tolerance ท�าให้ไม่มสี ว่ นยืน่ ออกมาขวางทาง ไหลของของไหลที่จะท�าให้เกิดการสะสมของสิ่งสกปรกและเชื้อโรคได้ เพิ่มผลผลิต • ลดระยะเวลาที่ใช้ใ นรอบการท�าความสะอาดให้สั้นลงและป้อ งกัน การสูญเสียผลิตภัณฑ์ • มีคุณสมบัติดีกว่าข้อก�าหนดของ CIP (Cleaning In Place) และ SIP (Sterilization In Place) เกลียวแบบไม่มีการจับติด • ใช้เกลียวแบบ ACME • ขจัดโอกาสที่จะเกิดการปีนเกลียว • บ�ารุงรักษาง่าย การออกแบบให้มี Stop ที่แน่นอน • ขจัดการอัด O-Ring เข้ากับรูท่อที่แน่นเกินไป • ไม่มีส่วนของเกลียวที่จะเปิดออกมารับกับเศษสกปรก ทนความดันได้สูง • แฟกเตอร์ความปลอดภัย (Safety Factor) สูงเทียบกับความดันของ ระบบที่ออกแบบไว้ • Replace Bulls-Eye Units ช่วยให้การท�าความสะอาดง่ายขึ้น ใช้เนื้อที่ น้อย และราคาประหยัด ท�าให้มองเห็นได้ดีขึ้น แบบ Hy-Sight เป็นแบบ 4 หน้าต่าง มองเห็นได้กว้างที่สุดในบรรดา Sight Flow Indicator ขนาดเล็ก ทรงเตี้ย • ให้ทัศนวิสัยในการมอง Process ที่ดีที่สุด • มองเห็นได้ดีกว่าไม่ว่าจะติดตั้งในลักษณะไหน แบบ Full View Hy-Sight มีคณ ุ สมบัตทิ ดี่ เี ช่นเดียวกันกับแบบ Hy-Sight แต่สามารถมองเห็นได้รอบตัว 360° และเลือกความยาวได้ตามความต้องการ ของผู้ใช้ • มองเห็นได้จากทุกต�าแหน่งในโรงงาน • Observe Unique, “Must See” Process Conditions สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด Tel: 0-2642-8762-4 Fax: 0-2248-3006 E-mail: sales1@kanitengineering.com Website: www.kanitengineering.com


Editor’s Pick 103

The New Panel mounted power analyzers, CVM-B100, CVM-B150

Medium Voltage Soft Starters

MVS Range • 50A ~ 600A (Nominal) Voltage Ranges • 2300 ~ 13800VAC (Mains Voltage L1, L2, L3) Panel (Customer-specified) • With mains / isolation switch / Earth switch, fuses, main & bypass contactors and RTD relay

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ BTT UNITED CO., LTD. Tel: 0-2586-8733 (AUTO) Fax: 0-2587-8852 E-mail: info@bttunited.com Website: www.bttunited.com

Much More Than Power Analyzer (มากกว่าค�าว่า ดิจติ อลมิเตอร์ไฟฟ้า) • เป็นผู้น�ำในเครื่องมือวัดคุณภำพสูง จำกประเทศสเปน • ด้วยนวัตกรรมชั้นสูง เป็นผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นในด้ำนกำรออกแบบ ใช้งำนง่ำย และกำรแสดงผลที่เหนือกว่ำด้วยจอสีที่มีควำมละเอียดสูง มีกำรแสดงผล Graphic Interface แบบในลักษณะ SCV Technology (Slide, Choose & View) บนหน้ำจอ Display ได้โดยตรง ขนำด 3.5” ในรุ่น CVM-B100 และขนำดใหญ่ถึง 5.6” ในรุ่น CVM-B150 พร้อม ระดับกำรป้องกันน�้ำและฝุ่นสูงถึง IP65 • กำรวัดและแสดงผลในค่ำทำงไฟฟ้ำได้ครบตำมควำมต้องกำร รวมไปถึง ค่ำ Harmonic ในล�ำดับสูงถึง 51 ล�ำดับ • รองรับกำรคิดและค�ำนวณค่ำไฟฟ้ำแบบใหม่ (Tariff) ได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ ง ดัดแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมใดๆ กับตัวผลิตภัณฑ์ • รองรับกำรค�ำนวณหรือเป็นผู้ช่วยในกำรจัดท�ำรำยงำนผลสรุปในด้ำน สิ่งแวดล้อม (Green Energy ได้ เช่น KgCO2 เป็นต้น) • รองรับกำรเชื่อมต่อ ควบคุมอุปกรณ์ภำยนอก หรือ Network ในกำร บริหำรจัดกำรพลังงำนได้ด้วยระบบ Power Studio SCADA Software ที่แถมให้กับตัวผลิตภัณฑ์ *บริษัทฯ มีทีมงำนที่มีควำมช�ำนำญเฉพำะทำงให้ค�ำปรึกษำ แนะน�ำ รวมทั้ง ทีมติดตั้ง ที่มีประสบกำรณ์ใ นกำรช่วยบริหำรจัด กำรและควบคุม พลังงำนในองค์กรของท่ำนได้อย่ำงมืออำชีพ* For more information, AVERA CO., LTD. Tel: +662-681-5050 E-mail: marketing@avera.co.th Website: www.avera.co.th

issue 159 May 2016


ขอ มลูผส ูมคัรสมาชกิ ชื่อ (Name)

นามสกลุ (Surname)

ตำแหนง งาน

E-mail

เบอร โทรศพัท (Telephone)

เบอร โทรสาร (Fax)

สมคัรสมาชกิ นติยสาร Modern Manufacturing

มอืถอื (Mobile)

ตั้งแตฉ บบั

ถงึ ฉบบั

ทอ ียท ู ีใช ในการจดัสง บร�ษทั

แผนก/หนว ยงาน

เลขที่

หม ู

แขวง/ตำบล

ประเภทอตุสาหกรรม เขต/อำเภอ

จงัหวดั

รหสัไปรษณยี

ว�ธกีารชำระเง�น โอนเงินผา นธนาคารไทยพาณชิย ชอ ืบญ ั ชี บริษทั กร�นเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั สาขาหวัหมาก ประเภทบญ ั ชกีระแสรายวนั เลขที่ 044-3-038214 เชค็ขีดครอ มสั่งจา ย บริษทั กรีนเวิลด พบัลเิคชั่น จำกดั

สมคัรสมาชกิ 1 ป 12 ฉบบั

แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพรีเมี่ยม 1 ตวั

subscribe now!

840 บาท





T.V.P. Valve & Pneumatic Co., Ltd. Tel : 02 379 1611-12, 02 379 1619-20 E-mail : sales@tvp.co.th, pisco1@tvp.co.th Line ID : tvp.sales


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.