Modern Manufacturing Magazine : May 2016

Page 1

Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com

energy management solution

automation change management

plant optimization

robot for industrial automation

คุณเจน นำชัยศิริ ‘สมดุลชีวิต คิดบวก พลังสูความสำเร็จ’

เกาะติดไลนการผลิต กวาจะเปน ปลาสวรรค ตราทาโร

p. 68

p. 72

HI-TECH CANADA ชีวมวลอัดแทง-รถยนตไฟฟา-นิวเคลียรฟวชั่น p. 78



Factory Management #Technology #Industrial Economics #Industry 4.0

IRC Technologies Innovation in Test & Measurement solutions คุณเอกชยั เดน วทญ ั ู กรรมการผจ ูดัการ บริษทั ไออารซ ี เทคโนโลยสี จำกดั

www.factoryeasy.com | www.mmthailand.com


Effective Management of Your Automation Device Changes Has Never Been Easier or More Affordable ZI-ARGUS รวมกับ MDT ซึ่งเปนผูนำดาน Automation Change Management มานานกวา 25 ป ขอนำเสนอซอฟทแวร AutoSaveBasic เปนซอฟทแวร Change Management Solution สำหรับโรงงานขนาดเล็กและขนาดกลางซึ่ง AutoSave Basic จะชวยในการบริหารและจัดการเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ของระบบควบคุมไมวาจะเปนเหตุการณที่ไมคาดคิด อยางเชนอุปกรณเสียหายเนื่องจากภัยธรรมชาติ หรือจะเปนการเปลี่ยนอุปกรณเนื่องจากตัวอุปกรณในระบบเสียหายยังครอบคลุมไปถึงเอกสารตางๆ ดวย

Undo Recovery

PLC, DCS, CNC, HMI, Drives Robot, SCADA, Document

Program Control

Access

MDT’s strategic partnerships with automation vendors

MDT AutoSave change management software supports any PC-based application and greatest breadth of automation devices in the industry Collaborative Automation by

Automation

AutoSave Solutions

Contact: ZI-ARGUS LTD. 278 B1, Fl.1-2 Raintree Office Garden Soi Soonvijai 4, Rama IX Road Bangkapi, Huaykwang Bangkok 10310, Thailand Tel : +66 (0)2 319 9933 Fax : +66 (0)2 319 9949 Email : bangkok@zi-argus.com


FAX






10

Post Show

THAILAND AUTO PARTS & ACCESSORIES 2016 สร้างยอดรายได้กว่า 1,700 ล้านบาท กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เผยงานแสดงสินค้ายานยนต์ ชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ และอุปกรณ์ตกแต่ง 2559 หรือ Thailand Auto Parts & Accessories 2016 (TAPA 2016) ได้รับผลการตอบรับที่ดี จากนักธุรกิจทัว่ โลก สามารถสร้างมูลค่าการสัง่ ซือ้ โดยรวม ได้กว่า 1,700 ล้านบาท นางมาลี โชคล�า้ เลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า งาน TAPA 2016 ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 7 – 10 เมษายน 2559 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ได้รับผลการ ตอบรับที่ดีจากนักธุรกิจนานาชาติที่เดินทางมาชมงาน จากทั่วโลก เพื่อเจรจาธุรกิจสร้างโอกาสทางการค้าให้ผู้ ประกอบการไทย ซึ่งเป็นการช่วยกระตุ้นการส่งออกของ ประเทศ งาน TAPA 2016 สามารถสร้างรายได้เข้าประเทศเป็น มูลค่ารวมทัง้ สิน้ 1,700.99 ล้านบาท แบ่งเป็นมูลค่าการสัง่ ซือ้ ทันทีในวันเจรจาธุรกิจ 72.41 ล้านบาท มูลค่าการสัง่ ซือ้ ภายใน 1 ปี 1,623.84 ล้านบาท และมูลค่าวันจ�าหน่าย ปลีก 4.74 ล้านบาท โดยสินค้าทีม่ มี ลู ค่าการสัง่ ซือ้ สูงสุดใน งาน TAPA 2016 ได้แก่ Auto Parts & Components (OEM/ REM) รองลงมาได้แก่ Auto Accessories และ Petroleum/ Lubricants/Maintenance ตามล�าดับ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

พบกันอีกครั้ง

ในงานแสดงสินค้า ยานยนต์ ชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ และ อุปกรณ์ตกแต่ง 2561 (TAPA 2018) ในช่วงปลายเดือน เมษายน 2561

ส�าหรับในด้านจ�านวนผู้เข้าร่วมงานและผู้เข้าชมงาน TAPA 2016 มีผปู้ ระกอบการชัน้ น�าเข้าร่วมงานทัง้ สิน้ 576 บริษทั 1,031 คูหา ประกอบด้วย ผูผ้ ลิต ผูส้ ง่ ออก ตัวแทน จ�าหน่ายสินค้า ซัพพลายเออร์ ของผูผ้ ลิต OEM/REM และ ผู้ประกอบการธุรกิจให้บริการในอุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ และอุปกรณ์ตกแต่ง ทั้งจาก ประเทศไทยและต่างประเทศ ส่วนผู้เข้าชมงานมีจ�านวน ทั้งสิ้น 5,525 ราย โดยแบ่งเป็นนักธุรกิจไทย 2,452 ราย นักธุรกิจต่างชาติ 1,518 ราย และผู้เข้าชมในวันจ�าหน่าย ปลีก 1,555 ราย นักธุรกิจต่างชาติทเี่ ข้าชมงาน TAPA 2016 มากที่สุด ได้แก่ จีน มาเลเซีย และเวียดนาม ตามล�าดับ ทั้งนี้ งาน TAPA 2016 จัดขึ้นโดยกรมส่งเสริมการ ค้าระหว่างประเทศ ร่วมกับสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยาน ยนต์ไทย สมาคมผู้ประกอบการชิ้นส่วนยานยนต์ไทย สมาคมผู้ค้าอะไหล่วรจักร และสมาคมส่งเสริมการรับช่วง การผลิตไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศศักยภาพ ของประเทศไทยในการเป็ น ผู ้ น� า และเป็ น ศู น ย์ ก ลาง อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในอาเซียน และเปิดตัว สินค้า เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ของอุตสาหกรรม ยานยนต์ ชิ้นส่วน อะไหล่ยานยนต์ และอุปกรณ์ตกแต่ง รวมทัง้ เพือ่ เป็นการช่วยกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนา และเพิม่ ประสิทธิภาพทางการแข่งขันของภาคธุรกิจเพือ่ สอดรับกับ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


THIS IS RELIABILITY Automations Connectors Hydraulics Filtration Instrumentation Engineered Materials (Seal)

Leader of Motion and Control Technologies Provide the total solutions and service With high quality of 6 product groups Parker Hannifin (Thailand) Co., Ltd. 1265 Rama 9 Road Suanluang Bangkok 10250 Tel: (66) 2 186 7000

Parker enables its partners to increase productivity and profitability, while protecting the environment. This reflects Parker’s commitment to helping solve the world’s greatest engineering challenges. www.parker.com/th



บริษัทดำเนินการติดตั้งและผลิตทอดัก Spiral Pipe กาวาไนท สแตนเลส ในการเชื่อมตอกับเครื่องดักกลิ่นและ AHU โดยชางชำนาญการ และมีประสบการณดานดักโดยตรง เรามีโรงงานผลิตงานทอดัก โดยเครื่องจักรที่ครบวงจรและ ไดมาตรฐานในการผลิตทอดักทุกชนิด บริษัท ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร จำกัด

559/26 หมู 7 ตำบลบางพลีใหญ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540

Tel : 0-2325-0321-3 Fax : 0-2325-0324 Hotline : 086-668-9111

E-mail : info@cpmflow.com Website : www.cpmflow.com


14

copyright & trademark

2016 ลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้าต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสารมีจ�านวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทางนิตยสารจึงไม่สามารถ ประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ได้สมบูรณ์ หากมีความจ�าเป็น ทางนิตยสารจะประกาศความเป็นเจ้าของลิขสิทธิเ์ ฉพาะส่วนทีม่ กี าร กล่าวอ้างถึงในบทความหากลิขสิทธิด์ งั กล่าวเป็นทีร่ บั รูก้ นั โดยทัว่ ไป แล้ว ทางนิตยสารจะไม่ขอกล่าวซ�้า

การส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์ ในนิตยสาร

ท่านสามารถส่งต้นฉบับทีจ่ ดั อยูใ่ นรูปแบบไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิรด์ บันทึกเป็นรูปแบบเอกสาร โดยแยกภาพประกอบออกจากไฟล์ บทความบันทึกเป็นไฟล์แบบ JPEG, TIFF หรือ EPS ความละเอียด ประมาณ 300 dpi รายละเอียดโปรดสอบถามกับกองบรรณาธิการ โดยตรงทีห่ มายเลขโทรศัพท์ 0-2731-1191-94 ต่อ 115 หรือ อีเมล jirapat.k@greenworldmedia.co.th

COPYRIGHT AND TRADEMARK As there are a lot of trademarks expose in this magazine and there is a change at all times, therefore, the ownership of copyright cannot be completely announced. If necessary, the magazine will announce the ownership of copyright only the one that is referred in an article. If the said copyright has generally been aware, the magazine will not restate it in order to make the presentation of an article be concise and readable.

การสมัครสมาชิก

THE SUMMISSION OF AN ARTICLE TO BE PUBLISHED IN THE MAGAZINE You can submit an original in form of Microsoft World file, recording in form of document by separating illustration out of an article file, recording in JPEG, TIFF or EPS file, approximate fineness 300 dpi. You can directly inquire the editorial for more information at Tel. (+66) 2731-1191-94 ext. 115 or at e-mail address : jirapat.k@greenworldmedia.co.th

การติดต่อกับบรรณาธิการนิตยสาร

THE APPLICATION FOR A MEMBERSHIP You can use a membership application form printed in the latest volume of this magazine to apply for a membership by sending it to the company or sending by facsimile (+66) 2731-1191-94 ext. 102 of at e-mail address: marketing@ greenworldmedia.co.th

ท่านสามารถใช้ใบสมัครสมาชิกทีล่ งพิมพ์ในนิตยสารฉบับล่าสุด เพื่อเป็นแบบฟอร์มสมัคร โดยส่งแบบฟอร์มกลับมาที่บริษัทฯ หรือ ส่งทางโทรสารหมายเลข 0-2769-8120 พร้อมส่งหลักฐานการช�าระ เงินทางโทรสารหรือสอบถามรายละเอียดได้ที่โทรศัพท์ 0-27311191-94 ต่อ 102 หรือ อีเมล marketing@greenworldmedia.co.th ทีมงานนิตยสารยินดีรับฟังความคิดเห็นและค�าติชมเกี่ยวกับ เนื้อหาและรูปแบบของนิตยสาร หากท่านมีความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ ทางนิตยสารก็ยินดีจะน�ามาตีพิมพ์ในนิตยสาร โดยท่าน ต้องแจ้งชื่อและที่อยู่ส�าหรับติดต่อกลับ กองบรรณาธิการขอสงวน สิทธิ์ปรับแต่งถ้อยค�า ตามความเหมาะสม ท่านสามารถติดต่อ ได้ทั้งทางจดหมายตามที่อยู่ของนิตยสาร หรือ อีเมล jirapat.k@ greenworldmedia.co.th

ค�าประกาศเรื่องลิขสิทธิ์

ทางนิ ต ยสารยิ น ดี พิ จ ารณาบทความที่ น ่ า สนใจเกี่ ย วกั บ อุตสาหกรรมและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม แต่ต้องเป็นบทความที่ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น หากเกิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น ทางนิตยสารจะไม่ต้อง รับผิดชอบต่อความผิดแต่อย่างใด โดยผู้เขียนบทความต้องเป็น ผู้รับผิดชอบแต่ผู้เดียว อนึ่ง ข้อคิดเห็นในทุกบทความที่ปรากฏใน นิตยสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นโดยส่วนตัวของผู้เขียนนั้นๆ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นความคิดเห็นของทางบริษัทฯ เสมอไป

Copyright © Green World Publication Co., Ltd. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

THE CONTACT WITH THE MAGAZINE’S EDITOR The magazine team is pleased to hear comments and criticisms on form and content of the magazine. Any useful comments are welcome and the magazine is pleased to publish it provided you have to tell your name and address to contact you. The editorial preserves the right to edit wordings as appropriate. You can contact the editorial by a letter according to the address of magazine or by e-mail : jirapat.k@ greenworldmedia.co.th THE MANIFEST OF COPYRIGHT The magazine is pleased to consider an interesting article on industry and business administration involving in industrial sector but it must be an article that does not violate the other’s copyright in whatever circumstances. If there is any case of copyright violation the magazine will not be responsible at all and the writer must be solely responsible. In addition, an opinion in every article exposes in this magazine is a personal view of such writer and the company is not necessary to always agree with it.


VISIT US AT: HALL 102 / BOOTH NO. T19

VISIT US AT: HALL 101 / BOOTH NO. 2Z07


contents vol.14 no.159 may 2016

p.30

p.58

p.34

p.40

p.54

24 NEWS & UPDATE

58 INDUSTRIAL ECONOMIC POLICY

75 GREEN ZONE POLICY

29 ALL AROUND

Monodzukuri วัฒนธรรมการผลิตสไตล์ญี่ปุ่น

บอร์ดบีโอไอ ส่งเสริมคลัสเตอร์กลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เมืองนวัตกรรมอาหาร - อากาศยาน - หุ่นยนต์

Building Energy Code บังคับอาคารสร้างใหม่/ดัดแปลง 9 ประเภท ต้องอนุรักษ์พลังงาน

30 COVER STORY

60 INDUSTRIAL ECONOMIC

76 GREEN ZONE TECHNOLOGY

ZI-ARGUS, OVERALL LEADER SOLUTION

จับตา 4 กลุ่มอุตสาหกรรม S-Curve - ยานยนต์สมัยใหม่ - การแปรรูป - เชื้อเพลิงชีวภาพ - อิเล็กทรอนิกส์

SUNPREME’S Bi-Facial Panels นวัตกรรมแผงโซล่าร์เซลล์ ผลิตพลังงานได้สองด้าน

62 PRODUCTIVITY TOOLS

เรื่องต้องรู้ของ ‘มาตรฐานการปฏิบัติงาน’

เกาะติดไลน์การผลิต... กว่าจะเป็น ปลาสวรรค์ ตราทาโร

JSR GROUP ปรับกลยุทธ์ตอบโจทย์ธุรกิจเครื่องมืออุตสาหกรรมไทย

67 PRODUCTIVITY TOOLS

80 TECH FOCUS AUTOMATION

การบริหารสมรรถนะใน 3 ระดับ

Co-Bots หุ่นยนต์แขนกล ส�าหรับโรงงานทุกขนาด

49 TECH FOCUS AUTOMATION

68 REAL LIFE

82 TECH FOCUS IT BUSINESS

ออกแบบผลิตภัณฑ์ในยุค 4.0 แก่นหลัก คือ ความน่าเชื่อถือ

คุณเจน น�าชัยศิริ ‘สมดุลชีวิต คิดบวก พลังสู่ความส�าเร็จ’

‘เช่าใช้อุปกรณ์ไอที’ ทางเลือกที่ดีกว่าส�าหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

54 INTERVIEW

72 RENEWABLE ENERGY

84 FOOD PROCESSING

สหคิม มอเตอร์ รุกตลาดต่อเนื่อง ชูนวัตกรรมปั๊มน�้า มาตรฐานอิตาลี ‘STAC ครบ จบทุกงานน�้า’

HI-TECH CANADA ชีวมวลอัดแท่ง-รถยนต์ไฟฟ้า-นิวเคลียร์ฟิวชั่น

อนุรักษ์น�้าในกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ช่วยต้นทุนลดลงเฉลี่ย 1 ล้านเหรียญ US

34 INTERVIEW

IRC Technologies Innovation in Test & Measurement Solutions 40 INTERVIEW

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

78 FACTORY VISIT


p.80

C

M

Y

CM

MY

CY

p.86

CMY

K

86 SYSTEM WAREHOUSE

บริหารจัดการคลังสินค้า เพื่อลดต้นทุน ท�าได้ ง่ายนิดเดียว! 88 TECH FOCUS COATING TECHNOLOGY

เทคนิคการเคลือบผิววัสดุกับการเพิ่มผลผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ Spin Coating Tech for Solar Cell Enhancing 91 QUALITY CONTROL STANDARDIZATION

2 มาตรฐาน ISO แนวทางยกระดับองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ 92 SAFETY

ROLES OF MANAGEMENT บทบาทของฝ่ายบริหารต่อความปลอดภัย 94 EQUIPMENT & TOOL

p.68

คุณเจน น�ำชัยศิริ ‘สมดุลชีวิต คิดบวก พลังสู่ควำมส�ำเร็จ’ issue 158 APRIL 2016


editor’s talk ISSN: 1685-7143

เจ้าของ : บริษัท กรีนเวิลด์ พับลิเคชั่น จ�ำกัด 244 ซอยลำดพร้ำว 107 ถนนลำดพร้ำว แขวงคลองจั่น เขตบำงกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2731-1191-4 โทรสำร 0-2769-8043 เว็บไซต์ : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com, www.factoryeasy.com

จิรภัทร ข�าญาติ (Jirapat Khamyat) บรรณาธิการบริหาร (Editor in Chief) E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th

เปิดใจ… คุณเจน น�ำชัยศิริ

ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยคนใหม่ MODERN MANUFACTURING ขอร่วมแสดงความยินดีกับ คุณเจน น�ำชัยศิริ ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ ขึ้นแท่นประธำนสภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทยคนใหม่นะคะ MODERN MANUFACTURING ได้เข้าพบและพูดคุยเพื่อท�าความรู้จัก คุณเจน เส้นทางสู่ความส�าเร็จ ทั้งด้านการใช้ชีวิตและการท�างาน ในคอลัมน์ REAL LIFE หน้า 68 - 71 เรื่อง คุณเจน น�ำชัยศิริ ‘สมดุลชีวิต คิดบวก พลังสู่ความส�าเร็จ’ โดยใจความหนึ่งที่ส�าคัญ ซึ่ง คุณเจน ได้มุ่งมั่นเดินหน้าในภารกิจการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมไทยเพื่อก้าวสู่การแข่งขันในเวทีโลก มี 6 ยุทธศาสตร์ด้วยกัน คือ 1. สร้างขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยด้วยประสิทธิภาพ ผลิตภาพ และนวัตกรรม 2. พัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้ยั่งยืนด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. สร้างความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมไทยด้วยการรวมกลุ่มคลัสเตอร์ 4. สร้างโอกาสให้อุตสาหกรรมไทยใช้ประโยชน์จากการเจรจาการค้า 5. พัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย 6. ร่วมกับภาครัฐในการสร้างปัจจัยเอื้อต่อภาคอุตสาหกรรม “ถ้ำสำมำรถท�ำตัวให้เป็นประโยชน์ได้ ถือว่ำเป็นผลงำนทีพ ่ งึ พอใจแล้ว เพรำะผมไม่ได้มงุ่ หวังควำม ยิ่งใหญ่” เป็นหนึ่งในคติของการด�าเนินชีวิตและการท�างานของคุณเจนค่ะ ติดตามแนวคิดอื่นๆ ที่น่าสนใจ เป็นอย่างยิ่งได้ภายในเล่มนะคะ นอกจากนั้น ในฉบับนี้ มีความคืบหน้าและเรื่องที่ชวนติดตามอีกหลายๆ เรื่องด้วยกันนะคะ โดยเฉพาะ ความเคลือ่ นไหวของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือบีโอไอ ทีม่ ผี ลการประชุมเรือ่ งการส่งเสริมคลัสเตอร์ กลุม่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ซึง่ ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอากาศยาน และอุตสาหกรรม อุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ ติดตามได้ในคอลัมน์ INDUSTRY ECONOMIC หน้า 74 - 75 ส�าหรับคอลัมน์ TECH FOCUS_COATING TECHNOLOGY เรื่องเทคนิคการเคลือบผิววัสดุกับการเพิ่ม ผลผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ หน้า 108 - 110 เป็นการพูดถึงคุณค่าของการเคลือบผิวทีน่ อกจากการสร้างความ แข็งแกร่งให้กับวัสดุแล้ว ยังสามารถเพิ่มผลผลิตได้อีกด้วย ในกระบวนการที่ไม่ซับซ้อน และต้นทุนต�่า ติดตามเรื่องอื่นๆ ภายในเล่มนะคะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณาธิการบริหาร

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ที่ปรึกษา: ดร.วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์, ผศ.ดร.ธำรำ ชลปรำณี, สุริยันต์ เทียมเพ็ชร, พงศ์ธร มนูพิพัฒน์พงศ์, ถำวร สุวรรณกิจ, เฉลิมชัย สุอุทัย กรรมการผู้จัดการ: สุเมธ กิตติธีรพรชัย ผู้จัดการทั่วไป: ธีระ กิตติธีรพรชัย บรรณาธิการบริหาร: จิรภัทร ข�ำญำติ บรรณาธิการ : ภิญญำภรณ์ ชำติกำรุณ เลขานุการกองบรรณาธิการ: จิดำภำ แจ้งสัจจำ กองบรรณาธิการ: สำวิตรี สินปรุ, เปมิกำ สมพงษ์, ทศธิป สูนย์สำทร บรรณาธิการศิลปกรรม: ปริญญ ปรังพันธ์ ฝ่ายศิลปกรรม: ธนวัฒน์ เชียงโญ, ปิยะพร คุ้มจั่น, ชุติกำญจน์ กฤดำแสงสว่ำง ผู้บริหารฝ่ายขาย: พัชร์สิตำ ศรีสิมะรัตน์ ฝ่ายโฆษณา: อัญรินทร์ จีระโกมลพงศ์, วรรณิสำ โสภิณ, พรเลขำ ปั้นนำค, วรรณลักษณ์ โสสนุย ประสานงานฝ่ายโฆษณา: วิไลพร รัชชปัญญำ ฝ่ายบัญชี: ณัฏฐวี แดนค�ำสำร ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: ภัทรำนิษฐ์ เจริญผลจันทร์ พิมพ์: บริษัท จี.พี. ไซเบอร์พรินท์ จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2731-1155-60 โทรสาร : 0-2731-0936

Owner : Green World Publication Co., Ltd. 244 Soi Ladprao 107, Ladprao Road, Klongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 Tel : (+66) 2731-1191-4 Fax : (+66) 2769-8043 Website : www.greenworldmedia.co.th, www.mmthailand.com Advisors: Dr.Wongwit Senawong, Asst.Prof.Dr.Thara Cholapranee, Suriyan Tiampet, Pongthorn Manupipatpong, Thaworn Suwanakij, Chalermchai Su-uthai Managing Director: Sumet Kittiteerapornchai General Manager: Teera Kittiteerapornchai Editor-in-Chief: Jirapat Khamyat Editor: Pinyaporn Chatkaroon Editorial Secretary: Jidapa Janksatja Editorial Staff: Sawitree Sinpru, Pemika Sompong, Thossathip Soonsarthorn Art Director: Prin Prangpan Graphic Designers: Tanawat Chaingyo, Piyaporn Khumchan, Chutikarn Kritdasaengsawang Account Director: Phatsita Srisimarat Advertising Sales Representative: Aunyarin Jeerakomonpong, Wannisa Sopin, Pornlakar Pannark, Wannalak Sosanuy Advertising Coordinator: Wilaiporn Ratchapunya Accountants: Natthawee Daenkhamsan Group Marketing Manager: Phattranit Charoenpoljan Printing: G.P.Cyberprint Co., Ltd. Tel : (+66) 2731-1155-60 Fax : (+66) 2731-0936 ฝากหรือแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ โปรดติดต่อกองบรรณาธิการ โทรศัพท์ : 0-2731-1191-4 ต่อ 115 แฟกซ์ : 0-2769-8043 E-mail: jirapat.k@greenworldmedia.co.th Facebook: Facebook.com/MM.MachineMarket



20 SUPPLIER INDEX MAY 2016

หน้า

ชื่อบริษัท

1, 4, 30-33 ไซ-อาร์กัส บจก.

โทรศัพท์ 0-2319-9933

E-mail / Website www.zi-argus.com

ข้อมูลบริษัท Everything Under Control

ก้าวหน้า อินดัสทรีส์ เอ็นจิเนียนิ่ง บจก.

0-2159-9861-4 www.kaowna.co.th

จ�าหน่าย Air compressor Air dryer เครื่องอัดลม ปั้มลม เครื่องท�าลมแห้ง อุปกรณ์ปรับปรุง คุณภาพลม อะไหล่ปั๊มลม และงานบริการด้านต่างๆ

ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ บจก.

0-2717-1400

www.irct.co.th

Leader in Test and Measurement

5

เอบีบี บจก.

0-2665-1000

www.abb.com

ผู้ผลิตและจ�าหน่ายอุปกรณ์ป้องกันส�าหรับระบบไฟฟ้าแรงสูงและไฟฟ้าแรงต�่า

6

คอมโพแม็ก บจก.

0-2105-0555

www.compomax.co.th

ท่อร้อยสายไฟแบบพลาสติกลูกฟูก คุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์จากประเทศเยอรมนี

7

จีทีเอ็ม บจก.

0-2012-1800-4 www.gtm.co.th

จัดจ�าหน่ายและให้บริการหลังการขายสินค้าประเภทรถยกและอุปกรณ์ขนย้าย GT Mover, MIAG และ Master Mover

8

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่ายประกบเพลา และอุปกรณ์ส่งก�าลังหมายเลขหนึ่งของประเทศ สินค้าของ บริษัทเป็นสินค้าของแท้ มาตรฐานโลก

9

อัลฟ่า คอนโทรมาติค บจก.

0-2721-1801-8 www.alphac.co.th

- Flow, Pressure, Temp, Level, pH, Conduct . - Sensors, Controllers and Process Valves. - Electric and Pneumatic Linear Automation.

11

ปาร์คเกอร์ ฮันนิฟิน (ไทยแลนด์) บจก.

0-2186-7000

www.parker.com/thailand

ผู้น�าเข้าและผู้ผลิตอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนไหวของระบบการท�างานในเครื่องจักรและ เครื่องยนต์ชั้นน�าของโลก

12

แอมด้า บจก.

0-2105-0560

www.amda.co.th

Autonics Sensors & Controllers

13

ซีพีเอ็ม เอ็นจิเนียริ่ง เซ็นเตอร์ บจก.

0-2325-0321-3 www.cpmflow.com

"ความสม�่าเสมอในการท�างานผลักดันให้งานมีคุณภาพพร้อมกับมาตรฐานในความปลอดภัย “Good Team Change The Future”

15

กลอบอลซีล บจก.

0-2591-5256-7 www.globalseal.co.th

กลอบอลซีล ผูใ้ ห้บริการไฮโดรลิคและนิวเมติกส์ครบวงจร

17

โมโตโลยี (ประเทศไทย) บจก.

0-2150-7808-10 www.motology.co.th

ผลิตภัณฑ์ระบบส่งถ่ายก�าลัง SKF

19

อีพีเอ็มซี บจก.

0-2322-1678-87 www.epmc.co.th

จ�าหน่าย พร้อมให้คา� ปรึกษาด้านอุปกรณ์ระบบไอน�า้ และวาล์วทีใ่ ช้ในโรงงานอุตสาหกรรม

21

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น 0-2682-6522 (ประเทศไทย) บจก.

www.mitsubishifa.co.th

เราน�าเสนอสินค้าพร้อมแนะแนวทางต่างๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของลูกค้าผ่านเครือข่ายในการ จ�าหน่ายสินค้า อย่างกว้างขวางระดับสากล

22

ฮิตาชิ เอเชีย (ประเทศไทย) บจก.

0-2632-9292

www.hitachi.co.th

SOCIAL INNOVATION, IT’S OUR FUTURE

23

เพาเวอร์เรด บจก.

0-2322-0810-6 www.powerade.co.th

Electrical & Energy Solutions

25

ที.วี.พี. วาล์ว แอนด์ นิวแมติค บจก.

0-2379-1611-12 www.tvp.co.th

จ�าหน่ายวาล์วอุตสาหกรรม หัวขับลม-ไฟฟ้า พร้อมตัวควบคุม สายลม และข้อต่อลมต่างๆ กระบอกลม

27, 48

ที.เอ็น.เมตัลเวิร์ค บจก.

0-2810-2000

www.tnmetalworks.com

ผู้ผลิตและจัดจ�าหน่าย มอเตอร์, ปั้มน�้า, พัดลมอุตสาหกรรม ชั้นน�าของประเทศไทย

38-39

ไอเคโอ ทอมป์สัน เอเชีย บจก.

0-2637-5115

www.ikont.co.jp/eg

“IKO is the world-leading manufacturers of Needle Roller Bearings, Linear Way and Mechatronics Series”

40-43

เจเอสอาร์กรุ๊ป

0-2327-0351-5 www.jsr.co.th

เป็นผู้น�าด้านเครื่องจักรกลหนัก การก่อสร้าง เกษตรกรรม และอุสาหกรรม

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

คอมพิวเตอร์ น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายอุปกรณ์ข่ายสาย คอมพิวเตอร์และสื่อสาร รับเหมาติดตั้ง

2 3, 34-37

47

www.virtus.co.th

www.interlink.co.th

52-53

อเดคอม คอมเพรสโซเรน (ประเทศไทย) บจก. 0-2453-2374-5 www.adekom-thailand.com "World class air compressor"

54-57

สหคิม มอเตอร์ บจก.

0-2621-5761-8 www.sahakimmotor.co.th

ผู้น�าเข้าและตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าคุณภาพสูงจากต่างประเทศ

65

ไอ.เอ็น.บี เอ็นเตอร์ไพรซ์ บจก.

0-2613-9166-71 www.inb.co.th

ผู้แทนจ�าหน่ายสินค้า THK อย่างเป็นทางการในประเทศไทย

66

ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) บจก.

0-2369-2990-4 www.cgsreboardthai.com

"New concept for exhibition booth by using paper Re board นิวไอเดีย ส�าหรับบูธนิทรรศการ ด้วยกระดาษ re board "

113

แม็กนา อินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2865-2501-8 sales@magna.co.th

Pressure Gauges : Nuovo Fima, Gas springs : Bansbach

114

การ์ดเนอร์ เดนเวอร์ (ประเทศไทย) บจก.

0-2396-1134-6 www.gardnerdenver.com

Gardner Denver is one of the world's leading suppliers of air and gas related products to industries worldwide.

115

เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ บจก.

083-207-8888

www.crm.co.th

ผู้น�าเข้า และจัดจ�าหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม และอุปกรณ์ไฟฟ้าส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรม ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ อย่างเป็นทางการ พร้อมให้บริการทุกรูปแบบและทุกกลุม่ อุตสาหกรรม

116

เอ.พี.เอส. คอนโทรล บจก.

0-2721-1800

www.apscontrol.co.th

ผูจ้ ดั จ�าหน่ายและผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ ง วาล์วในระบบก�าจัดฝุน่ คอนโทรล และอุปกรณ์วดั ปริมาณฝุน่ , วาล์วและหัวขับอัตโนมัติ ส�าหรับงานระบบ น�า้ แก๊ส เคมี ฯลฯ, อุปกรณนิวแมติก กระบอก สกรู สายพาน ในงานออโตเมชั่น

หมายเหตุ : ดัชนีโฆษณาทีจ่ ดั ท�าขึน้ เพือ่ ความสะดวกในการค้นหารายชือ่ บริษทั ต่างๆ ทีล่ งโฆษณาในฉบับนี้ โดยไม่มขี อ้ ผูกมัดใด หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึน้ ทางผูจ้ ดั ท�าถือเป็นเหตุสดุ วิสยั ด้วยพยายามท�าให้เกิดความถูกต้องอย่างทีส่ ดุ แล้ว MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



INVERTER NE-S1

WJ200

NJ600B

SJ700/SJ700D

Economical Inverter with Simple Operation 0.2-4.0kW

Pursuing the Ideal Compact Inverter 0.1-15kW

Inverter Designed for Fans,Pumps and Conveyors 5.5-355kW

High Performance with Many Useful Functions 0.4-400kW

THE POWERFUL DRIVE SYSTEM

PLC

CONTACTOR & BREAKER

MOTOR & BLOWER



24 news & update

อินเตอร์ลิ้งค์จัดงำน

‘INTERLINK THANK YOU PARTY 2016’

สุดอลังกำร

‘เจน น�ำชัยศิริ’ นั่งประธำน ส.อ.ท.คนใหม่ เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วาระ ปี 2559 - 2561) ขึ้น ณ ห้อง Meeting Room 1-2 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งภายในการประชุมดังกล่าวได้มีวาระการเลือกตั้งประธาน ส.อ.ท.เพื่อมาด�ารง ต�าแหน่งในวาระปี 2559 - 2561 แทน คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี ที่หมดวาระ โดยคณะ กรรมการสภาอุตสาหกรรมฯ ได้ให้ความไว้วางใจเลือก คุณเจน น�ำชัยศิริ ด�ารง ต�าแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วาระปี 2559 - 2561) ซึ่ง นับว่าเป็นประธานคนที่ 16 ของ ส.อ.ท. ประธาน ส.อ.ท. คนใหม่ กล่าวว่า จะให้ความส�าคัญเรื่องการสร้างขีดความ สามารถในการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรม โดยตั้งเป้าภายใน 2 ปีที่ด�ารงต�าแหน่ง จะส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมมีสว่ นเพิม่ รายได้ให้ประเทศ ดึงภาคเกษตรเข้ามาเป็น ส่วนหนึง่ ของภาคอุตสาหกรรมสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าแปรรูปมากกว่าการส่งออกเป็น วัตถุดบิ พร้อมกันนี้ จะส่งเสริมการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบ การเอสเอ็มอีทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยเน้นตลาดอาเซียนเป็นหลัก พร้อม ปรับรูปแบบมาท�าการตลาดเชิงรุกและค�านึงถึงความต้องการของคู่ค้า โดยธุรกิจที่ น่าลงทุน คือ กลุ่มฮาลาล ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนรายได้จากเอสเอ็มอีขึ้นเป็น 50% ของ จีดีพีภายใน 5 ปี

กรมโรงงำนฯ จับมือ พีดีไอ เตรียมจัดตั้งศูนย์จัดการกากอุตสาหกรรม

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหำชน) ผูน้ า� อันดับหนึง่ ในธุรกิจสายสัญญาณสื่อสารคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคมที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย จัดงาน ‘INTERLINK THANK YOU PARTY 2016’ เพื่อ ขอบคุณลูกค้าและสื่อมวลชน ที่ให้การสนับสนุนการด�าเนินกิจการของ บริษทั ฯ ด้วยดีเสมอมา โดยในงานเต็มไปด้วยความสนุกสนานและอลังการ ภายใต้คอนเซ็ปต์ Carnival de INTERLINK คุณสมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวขอบคุณผูม้ อี ปุ การคุณทีม่ าร่วมงาน พร้อมทัง้ เปิดเผยว่า อินเตอร์ลงิ้ ค์ คือ บริษทั แรกทีไ่ ด้นา� เทคโนโลยีสาย LAN เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ปัจจุบนั กลุม่ บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ฯ มีบริษทั ใน เครือถึง 5 บริษทั ได้แก่ บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ากัด (มหาชน) บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ เทเลคอม จ�ากัด บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ พาวเวอร์ แอนด์ เอนเนอยี่ จ�ากัด บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ ดาต้าเซ็นเตอร์ จ�ากัด และบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ โฮลดิ้ง จ�ากัด ดังนั้น การจัดงานในครั้งนี้เพื่อมอบความสุข ให้แก่ผู้มีอุปการคุณที่ให้การสนับสนุนบริษัทฯ ตลอด 30 ปีที่ผ่านมา

กรมโรงงำนอุตสำหกรรม กระทรวงอุตสำหกรรม จับมือ บริษัท ผำแดง อินดัสทรี จ�ำกัด หรือ พีดไี อ ลงนามบันทึกความร่วมมือ (MOU) ศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดตัง้ ศูนย์จดั การกากอุตสาหกรรม ได้แก่ โครงการจัดการกากอุตสาหกรรมแบบครบวงจร จังหวัดตาก รองรับการจัดการกากอุตสาหกรรมในเขตภาค ตะวันตก ภาคเหนือ และเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด และ โครงการรีไซเคิลโลหะ และวัสดุที่อยู่ในกากอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง รองรับฝุ่นจากโรงหลอมเหล็ก รวมถึงของเสียที่เป็นโลหะและพลาสติกเป็นส่วนประกอบ โดยคาดว่าการจัดตั้ง ศูนย์ดงั กล่าวทัง้ 2 ศูนย์จะสามารถรับกากอุตสาหกรรมประมาณ 8 หมืน่ ตันต่อปี ดร.อรรชกำ สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงฯ ได้มอบหมายให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม จัดท�าแผนการจัดการกาก อุตสาหกรรม พ.ศ. 2558 – 2562 เพื่อให้กากอุตสาหกรรมเข้าสู่ระบบบริหาร จัดการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ภายในระยะเวลา 5 ปี โดยล่าสุดในปี 2558 การด�าเนินงานได้เริม่ ด�าเนินการตามแผนไปแล้วร้อยละ 25 มีโรงงานลงทะเบียน เข้าสู่ระบบอนุญาตทางอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มจากเดิมร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 75 หรือกว่า 51,000 โรงงาน ซึง่ ส่งผลให้มกี ากอุตสาหกรรม เข้าสูร่ ะบบจ�านวน 27.37 ล้านตัน หรือร้อยละ 73 เมื่อเทียบกับปริมาณกากฯ ที่ประเมินไว้ 37.42 ล้านตัน โดยกากฯ ที่เข้าระบบนี้ เป็นกากฯ อันตราย จ�านวน 1.32 ล้านตัน และกากฯ ไม่อันตราย จ�านวน 26.05 ล้านตัน



26 news & update

ก.อุตฯ เดินหน้ำโครงกำรโอปอย (OPOAI)

ดิจิตอลมิเตอร์ EasyLogicTMPM2000 series ใหม่จากชไนเดอร์ กระทรวงอุตสาหกรรม เดินหน้าโครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค ตามนโยบาย One Province One Agro-Industrial Product หรือ โอปอย (OPOAI) โดยในปี 2559 ประกาศแผนงานเพิม่ เติมเกีย่ วกับบัญชีและการเงิน มุง่ หวังผูป้ ระกอบการให้เข้าใจการใช้ขอ้ มูลทางการเงิน ในการวางแผนการเงินและภาษี ตามหลักวิชาการทีถ่ กู ต้อง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบัญชีและ การเงิน ทั้งด้านการวางระบบบัญชี บริการเงินและการจัดการทางการเงินอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและทักษะในการจัดท�าบัญชีธุรกิจ รวมถึง การใช้ข้อมูลทางบัญชี เพื่อวางแผนทางการเงินและภาษี 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs สามารถวางแผนทางการเงินอย่างเป็นระบบ ตัง้ แต่การจัดท�าแผนการเงินการ บริหารการเงิน สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจทางการเงินได้อย่างถูกต้อง 4. เพือ่ ให้ ผู้ประกอบการ SMEs มีความพร้อมในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน และสามารถใช้แผน ทางการเงินในการบริหารธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ใหม่! ดิจติ อลมิเตอร์ รุน่ EasyLogic™ PM2000 series จาก ชไนเดอร์ อิเล็ค ทริค ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการควบคุมและจัดการระบบไฟฟ้าง่ายๆ ในภาค อุตสาหกรรมได้อย่างมัน่ ใจ ครอบคลุมทุกฟังก์ชนั การใช้งาน ด้วยเครือ่ งมือวัด และการจัดการโหลดไฟฟ้าที่มาพร้อมกับการเชื่อมต่อผ่าน RS485 ดิจิตอล มิเตอร์ รุ่น EasyLogic™ PM2000 series มีแนะน�าทั้งหมด 2 ซีรีส์ ได้แก่ รุน่ PM2100 series หน้าจอแสดงผลแบบ LED แสดงผลค่าข้อมูล 3 บรรทัด มีสญ ั ลักษณ์บอกชนิดของข้อมูลบริเวณ 2 แถวด้านข้าง และรุน่ PM2200 series หน้าจอแสดงผลแบบ LCD สี Monochrome (โมโนโครม) ด้วย Resolution 128x128 ขนาด 67x62.5 มิลลิเมตร สามารถอ่านข้อมูลทั้งได้ 3 เฟสพร้อม กัน พร้อมตัวเลขขนาดใหญ่ โดดเด่นด้วยระบบ Anti-glare Display เพือ่ ป้องกัน แสงสะท้อน และมี Backlight ที่ช่วยให้ง่ายในการอ่านค่า แม้ในที่แสงมาก หรือมุมมองที่ไม่ตั้งฉากกับหน้าจอ นอกจากนี้ ยังมีเมนูที่หลากหลายรองรับ หลายภาษาอีกด้วย

ฮอนด้ำจัดพิธเี ปิดโรงงำนแห่งใหม่ทป ี่ รำจีนบุรี บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดพิธีเปิดโรงงานผลิตรถยนต์ ฮอนด้าแห่งใหม่ในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดปราจีนบุรี อย่างเป็นทางการได้ รับการออกแบบภายใต้แนวคิด ‘ส่งมอบผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูง ด้วยสมดุลทีเ่ หมาะสม ของทักษะฝีมือการผลิต และเทคโนโลยีอันทันสมัย’ โดยโรงงานแห่งนี้มีเทคโนโลยี การผลิตประสิทธิภาพสูง และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพการ ผลิต และการส่งมอบยานยนต์คุณภาพให้กับลูกค้าในประเทศไทย และในอีกหลาย ประเทศทั่วโลก โรงงานฮอนด้าปราจีนบุรีจึงมีส่วนเสริมสร้างความแข็งแกร่ง และ ทวีบทบาทของบริษัทฯ เพื่อเป็นหนึ่งในฐานการผลิตรถยนต์ที่ส�าคัญของฮอนด้า ในพิธีเปิดฯ ได้รับเกียรติจากรองนายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จำตุศรีพิทักษ์ พร้อมด้วยรัฐมนตรี และคณะผู้บริหารระดับสูงจากหน่วยงานภาครัฐ ร่วมเป็น สักขีพยาน ร่วมด้วย มร.ชิโร ซะโดชิมะ เอกอัคราชทูตญี่ปุ่นประจ�าประเทศไทย พันธมิตรทางธุรกิจ และซัพพลายเออร์ ของบริษัทฯ โดยมีคณะผู้บริหารฮอนด้า น�าโดย มร.ทำคำฮิโระ ฮำจิโกะ ประธานกรรมการบริหาร ซีอโี อ และผูแ้ ทนกรรมการ บริษัท ฮอนด้า มอเตอร์ จ�ากัด มร.โนริอำกิ อำเบะ หัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติ การประจ�าภูมภิ าคเอเชียและโอเชียเนีย บริษทั ฮอนด้า มอเตอร์ จ�ากัด และประธาน กรรมการบริหารและซีอโี อ บริษทั เอเชีย่ นฮอนด้า มอเตอร์ จ�ากัด และมร.กำคุ นำคำนิชิ ประธานกรรมการบริหารและซีอโี อ บริษทั ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ากัด ให้การต้อนรับ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



28 news & update

รถบรรทุกระบบขับขี่อัตโนมัติ ทดลองวิ่งจริง ผ่าน 4 ประเทศ Unilever คำดเริ่มใช้งำนปี 2017

ช่วงสัปดาห์แรกของเดือนเมษายนที่ผ่านมา อาจไม่มีใครสังเกตเห็นขบวน รถบรรทุกกลุ่มหนึ่งที่เดินทางข้ามชายแดนต่างๆ ซึ่งเดินทางโดยปราศจากผู้ขับขี่ นับเป็นความท้าทายของระบบขับขี่อัตโนมัติที่ได้รับการพัฒนาโดย Scania, Volvo และ Daimler ด้วยระยะทางกว่า 2,000 กิโลเมตร ผ่าน 4 ประเทศ ได้แก่ สวีเดน เดนมาร์ก เยอรมนี และเนเธอร์แลนด์ โดยเหตุการณ์นไี้ ด้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาล บริษัทขนส่ง เหล่าผู้ผลิตรถบรรทุก (รวมถึง Unilever และ DHL) และเหล่านักวิจัย รถบรรทุกถูกติดตั้งไว้ด้วยระบบสนับสนุนการขับขี่อัจฉริยะที่ท�าให้ยานพาหนะ เหล่านี้เกิดการสื่อสารกันเอง มีการเชื่อมต่อผ่าน wifi และยังสามารถเว้นช่องว่าง ระหว่างรถได้น้อยกว่าการขับขี่โดยมนุษย์ นอกจากนี้ยังสามารถประหยัดเชื้อเพลิง ลงไปได้ถึง 15% รวมถึงป้องกันความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการขับขี่ของมนุษย์ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ และการลดความแออัดที่เกิดขึ้น Dirk-Jan de Brujin, Program Director กล่าวว่า “เรามีเครือข่ายขนาดใหญ่และ แนวคิดที่พร้อมจะน�ามันมาใช้ในชีวิตประจ�าวัน ซึ่งบริษัทอย่าง Unilever วางแผนที่ จะเริ่มใช้มันในช่วงปี 2017” ที่มา: http://goo.gl/an35vg

Lux Research คำด Internet of Thing จะเป็นอนาคตแห่งระบบเชื่อมต่อครบวงจร

ด้วยความสามารถในการส่งข้อมูลอันรวดเร็วและการประมวลผลในเสีย้ ว วินาที ผนวกเข้ากับการขนส่งด้วยยานยนต์อตั โนมัติ ท�าให้เกิดการปฏิวตั ริ ปู แบบ ของการขนส่งขึ้น ด้วยการเก็บข้อมูลเส้นทางและวิเคราะห์แบบ Real-Time ด้วยโปรแกรมอัจฉริยะ ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานโดรนไปจนถึงการขับขี่รถยนต์ ไร้คนขับล้วนแต่เป็นผลของนวัตกรรมที่ก้าวเข้ามาสู่ชีวิตประจ�าวัน “ขณะนี้ IoT เปรียบเหมือนกับโมเด็มสมัยที่อินเทอร์เน็ตก�าลังพัฒนา แต่ เมือ่ มันเกิดการก้าวเดินขึน้ การขนส่งข้อมูลหลายทางและเทคโนโลยีอจั ฉริยะ จะสร้างระบบ Hypermodal System ซึง่ มันจะไม่ได้กระทบแค่ผลผลิต แต่พวก ทรัพยากรต่างๆ ความต้องการ และวิธกี ารต่างๆ จะเปลีย่ นไป” Mark Bünger ประธาน Lux Research กล่าว Lux Research ได้คาดการณ์เกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับระบบ ขนส่ง เทคโนโลยีโลจิสติกส์ที่เด่นชัดเอาไว้ดังนี้ การสร้างตู้คอนเทนเนอร์ อัจฉริยะที่ร่วมด้วยเทคโนโลยีเซนเซอร์และ GPS ซึ่งสามารถตรวจจับการสั่น สะเทือน อุณหภูมิ และสารเคมีได้ ซึ่งบริษัทที่ก�าลังพัฒนานั้นได้แก่ GE และ Maersk อันดับต่อมา คือ การขนส่งสินค้าระยะใกล้ด้วยโดรน ซึ่ง Google, Amazon หรือสตาร์ทอัพอย่าง Matternet ได้เริ่มพัฒนาและให้ความสนใจ สุดท้ายนัน้ คือ วงจรของอุตสาหกรรมทีม่ คี วามครบครัน กลมกลืนกันมากกว่า เดิม ณ ขณะนี้ซึ่งวงรอบของกระบวนการผลิตและการขนส่งใกล้จะบรรจบกัน ความต่อเนื่องอย่างสมบูรณ์จะเกิดขึ้นได้ หากการขนส่งแบบ Hypermodal เกิดขึ้นอย่างเต็มรูปแบบ ท�าให้เกิดระบบอัตโนมัติทั้งวงจร เพิ่มความเชื่อมั่น ในขั้นตอนกระบวนการท�างานทั้งหมดโดยปราศจากปัญหาความผิดพลาด จากมนุษย์ ที่มา: http://goo.gl/8pUvLb

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ผู้ผลิตอาหารชาวสิงคโปร์เฮ SFMA และ FIFI ร่วมเซ็น MOU เพื่อเข้าสู่ตลาดอินเดีย จากแนวโน้มการคาดการณ์เกี่ยวกับอินเดียที่ก�าลังกลายเป็นเสือเศรษฐกิจ ของโลกตัวที่ 5 ในปี 2025 ท�าให้เหล่าผูผ้ ลิตอาหารส่งออกของสิงคโปร์ ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนจาก Singapore Food Manufacturers Association (SFMA) และ Forum of Indian Food Importers (FIFI) ได้ร่วมกันเซ็น MOU เพื่อให้บริษัทจาก สิงคโปร์สามารถเข้าสู่ตลาดของอินเดียได้อย่างเต็มตัวมากขึ้น เป็นการเตรียม พร้อมส�าหรับโอกาสที่ก�าลังจะมาถึง จากการศึกษาโดยสถาบัน McKinsey Global Institute อินเดียนัน้ มีศกั ยภาพ ที่จะกลายเป็นตลาดชั้นกลางที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีเงินสะพัดในระบบประมาณ 13 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2030 ในทุกวันนีต้ ลาดขายปลีกของอินเดียมี มูลค่าอยู่ที่ 450 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยประมาณ กลายเป็นหนึ่งในห้าตลาด ค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดในโลก รัฐบาลอินเดียได้มีการควบคุมการน�าเข้าอาหาร มีกฏต่างๆ ที่ชัดเจน เช่น ขวดบรรจุเครือ่ งดืม่ ต้องจ�าหน่ายเป็นขวดใสเท่านัน้ ซึง่ เป็นกฏทีม่ ไี ว้เพือ่ ปกป้อง ผูบ้ ริโภคชาวอินเดีย แต่อาจจะยากและซับซ้อนส�าหรับบริษทั ข้ามชาติทพี่ ยายาม เจาะตลาด ซึ่งจะมีปัญหาทางด้านตลาดอินเดียที่ยังไม่คุ้นเคยกับอาหารจาก สิงคโปร์ และผู้ประกอบการสิงคโปร์ที่อาจะไม่เข้าใจกลไกตลาดอินเดียมากนัก โดย FIFI จะจัด Workshop ส�าหรับผู้ประกอบการชาวสิงคโปร์เพื่อสร้างเสริม ความเข้าใจในประเด็นดังกล่าวเพื่อผลักดันตาม MOU ต่อไป ที่มา : http://goo.gl/DL1qaT


เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์ ALL AROUND 29

Monodzukuri วัฒนธรรมการผลิตสไตล์ญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น ถือเป็นประเทศผู้น�ำในกำรเพิ่มผลิตภำพกำร ผลิตที่ไม่น้อยหน้ำชำติตะวันตก มีเครื่องมือบริหำรจัดกำรที่รู้จัก กันดีอย่ำงแพร่หลำย ไม่ว่ำจะเป็น Kaizen, 5ส, 5Gen, TQM (Total Quality Management) หรือ TPM (Total Productive Maintenance) ล้วนแล้วมำจำกรูปแบบกำรบริหำรแบบสไตล์ญี่ปุ่น ซึ่งนอกจำก นี้ ยังมีอีกแนวคิดหนึ่งในกำรผลิตสินค้ำและกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน ของญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกำรหลอมรวมเอำวัฒนธรรม วิถีกำรด�ำเนินชีวิต เทคโนโลยี และกำรบริหำรจัดกำรเข้ำไว้ด้วยกันอย่ำงลงตัว เป็น วัฒนธรรมกำรผลิตสไตล์ญี่ปุ่น อย่ำง ‘Monodzukuri (โมโนซุคุริ)’

ท�ำควำมรู้จัก Monodzukuri

Monodzukuri อ่านว่า โมโนซูคูริ เป็นวัฒนธรรมการผลิตแบบญี่ปุ่น การพัฒนา/ผลิต สินค้า มีหลักการ คือ การคิดและท�างานอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตไปจน กระทัง่ สินค้าและบริการ ถึงมือลูกค้าอย่างมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ไม่เพียงคิดถึงแต่เฉพาะผล ก�าไรเท่านัน้ แต่จะค�านึงถึงความพึงพอใจของลูกค้าเป็นหลัก ท�าให้ตอ้ งมีการพัฒนาคุณภาพ สินค้าและบริการอยูเ่ สมอ จนน�ามาซึง่ ความส�าเร็จ ซึง่ มาจากปรัชญาของญีป่ นุ่ คือ ศิลปะแห่ง การท�าสิ่งของให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

วัฒนธรรมการผลิตของญี่ปุ่น ประกอบด้วย • • • •

Monodzukuri ใช้ในทุกกระบวนกำรผลิตตั้งแต่ต้นจนจบ ออกแบบ สร้างต้นแบบ (Design and Prototype) • การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เตรียมการผลิต (Prepare for Production) • การขายและจัดส่งสินค้า (Sale and Distribution) จัดซื้อชิ้นส่วน (Procure of Component) • บริการหลังการขาย (Service) การผลิต (Production)

Monodzukuri การสร้างของ

=

การสร้างคน

ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ปรับปรุงการสร้างคนอย่างต่อเนือ่ ง

ผลิตเองทุกกระบวนการ

คิดเป็น ท�าเป็น และเรียนรู้ ได้ด้วย ตัวเอง มีใจรักและทุ่มเทในการ สร้างผลงาน

ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า

ตรงกับความต้องการของสถาน ประกอบการ

ใช้ทักษะและเทคโนโลยี

มีทักษะความรู้ และเทคโนโลยี

ผลิตสินค้าคุณภาพสูง

สร้างคนคุณภาพสูง

EXECUTIVE SUMMARY Monodzukuri concept is to think and to do with creativity. This is an idea or concept for product and works creation in Japanese conceptual. The principle of this concept is to think and operate with systematic from the beginning of process until the product and service reach the customer’s hand with the best capability. It’s not just to make profit but to think about customer’s satisfaction as a keystone. The Monodzukuri always have to improve product and service’s quality to bring successfulness which is a core idea from Japanese philosophy, the art of best capability driven.

issue 159 MAY 2016


30 COVER STORY

ZI-ARGUS, OVERALL LEADER SOLUTION บนเส้นทางสายธุรกิจของ บริษัท ไซ-อาร์กัส จ�ากัด ผู้ให้บริการโซลูชั่นอุตสาหกรรมส�าหรับ ตลาดประเทศไทย และในภูมภิ าคเอเชีย ซึง่ ด�าเนิน ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะน� า เสนอโซลู ชั่ น อั น ชาญฉลาด เพื่ อ ยกระดั บ การผลิ ต สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมให้ ร วดเร็ ว เพิ่ ม ผลผลิ ต ด้ ว ย ประสิทธิภาพที่สูงขึ้น และเกิดความสามารถด้าน การแข่งขันในตลาดขนาดใหญ่ บริ ษั ท ไซ-อาร์ กั ส จ� า กั ด ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ออกแบบ ติ ด ตั้ ง แล ะพั ฒ นาวิ ศ วกรรม ซอฟท์ แ วร์ ที่ ใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต รวมถึ ง Automation Control System ส�าหรับโรงงานและ อุตสาหกรรมทุกประเภท ให้ค�าปรึกษาทางด้าน อุตสาหกรรมอัตโนมัติ ปฏิบตั กิ าร และบ�ารุงรักษา (Operation and Maintenance) ระบบไฟฟ้า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


COVER STORY

31

และเครื่ อ งจั ก รกล เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตทาง ธุรกิจในงานอุตสาหกรรม โดยมีกลุ่มลูกค้าหลัก ที่มอบความไว้วางใจและเชื่อมั่นในบริการ อาทิ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรม ยานยนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ เป็นต้น ส�าหรับในปีนี้ บริษัทฯ ยังคงสร้างสรรค์และ พัฒนาโซลูชั่นประสิทธิภาพสูงอย่างหลากหลาย ด้ ว ยทิ ศ ทางของความส� า เร็ จ กั บ การให้ ค วาม ส�าคัญเรือ่ งแอพพลิเคชัน่ อุตสาหกรรม 4.0 พร้อม ความมุ่งมั่นที่จะวางรากฐานให้ประเทศไทยเป็น ศู น ย์ ก ลางโซลู ชั่ น อั ต โนมั ติ ร ะดั บ ไฮเอนด์ ข อง ภูมิภาค ไซ-อาร์กัส สร้างสรรค์และพัฒนา โซลูชั่นระดับไฮเอนด์ Mr. Frank Van Baal Regional Director Asia กล่าวว่า บริษัทฯ มุ่งมั่นพัฒนาโซลูชั่นให้มี ความหลากหลายส�าหรับลูกค้าเพื่อให้สอดคล้อง กับการใช้งาน โดยในช่วงครึ่งหลังของปี 2559 นี้ บริษทั ฯ พร้อมน�าเสนอโซลูชนั่ หลากหลายทีเ่ ปีย่ ม ด้วยประสิทธิภาพ ได้แก่ 1. โซลูชั่นควบคุมกระบวนการระดับไฮเอนด์ ซึ่งช่วยให้ลูกค้าสามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้น ด้วยคุณภาพที่ดีและเร็วขึ้น ในขณะที่มีต้นทุนการ ผลิตลดลง และโซลูชั่นการบริหารจัดการข้อมูล ที่ช่วยเอื้อประโยชน์ให้การบริหารจัดการโรงงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรือเรียกว่า โซลูชั่น ‘Plant Optimization’ โดยระบบจะมีส่วนช่วยให้ ผู้ใช้ได้ตระหนักว่า ก�าลังผลิตอะไร และจะผลิต มันได้อย่างไร 2. โซลูชั่นในการประหยัดพลังงาน ส�าหรับโซลูชั่นในการประหยัดพลังงานนั้นจะ มาช่วยในส่วนของการใช้พลังงานให้คุ้มค่ามาก ที่สุดซึ่งจะเป็นส่วนช่วยในการลดค่าใช้จ่ายของ โรงงานได้นนั้ เอง เราจะเรียกโซลูชนั่ นีว้ า่ “ Energy Management “ ซึง่ ประโยชน์ของโซลูขนั่ ของเราไม่ เพียงแต่ช่วยให้การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าเท่านั้น เรายังช่วยในการจัดการบริหารพลังงานที่ใช้งาน ด้วยการวิเคราะห์และรายงานผลอีกด้วย 3. Automation Change Management เป็นโซลู ชัน่ หนึง่ ทีท่ างเราเห็นว่ามีความส�าคัญ ล�าดับต้นๆ โดยน�าซอฟท์แวร์มาบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลงของโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ใน PLC , Touch Screen , SCADA, Robot หรือ แม้กระทั้งไฟล์เอกสารต่างๆ ซึ่งการท�างานของ โซลูชั่นนี้จะช่วยรับมือในเรื่องการเปลี่ยนแปลง ใดๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในโรงงานนัน้ อย่างไม่คาดคิด ยกตัวอย่างเช่น เรียกคืนโปรแกรมเวอร์ชนั่ เก่ากลับ มาใช้ ในกรณีเวอร์ชั่นใหม่ใช้ไม่ได้ตามต้องการ โดยท� า ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและใช้ เวลากู ้ สถาณการณ์ ใ ห้ ก ลั บ มาผลิ ต ได้ เร็ ว ที่ สุ ด และ เกิ ด ความเสี ย หายจากการเปลี่ ย นแปลงนั้ น ๆ ให้น้อยที่สุด issue 159 May 2016


32 COVER STORY

4. Robot เพราะใน ปัจจุบนั มีการปรับค่าแรง งานขั้นต�่าของแรงงานมากในเกือบทุกประเทศ ส่งผลให้ต้นทุนในการผลิตมีมูลค่าสุงขึ้นตามไป ด้วย ทางบริษัท ได้มีการน�าเทคโนโลยีแขนกลเข้า มาใช้ เป็นหนึ่งในทางเลือกให้กับโรงงานต่างๆ เพือ่ ช่วยในการควบคุมต้นทุน และเพิม่ ประสิทธิภาพ ของขบวนการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง 5. นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้มงุ่ มัน่ พัฒนาโซลูชนั่ ประหยัดพลังงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อลูกค้าจะได้ รับประโยชน์จากการช่วยลดต้นทุนในการผลิตลง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงโซลูชั่นติดตาม ผลิตภัณฑ์ยา หรือเรียกว่า ‘Serialization’ เป็น โซลูชนั่ อัตโนมัตเิ ฉพาะทางทีบ่ ริษทั ฯ ก�าลังพัฒนา ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจจากประเทศเยอรมนี และเกาหลีใต้ คุณสมบัติพิเศษของระบบ Serialization จะ ด� า เนิ น การติ ด ตามผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าตั้ ง แต่ ส ถานที่ ผลิต จนถึงมือผู้ใช้ โดยจะแสดงข้อมูลทั้งหมดเริ่ม ตัง้ แต่ผลิตภัณฑ์ยาถูกผลิตขึน้ เมือ่ ไหร่ โดยใคร ถูก ส่งไปที่โรงพยาบาลไหน และเมื่อไหร่ จนกระทั่ง ผลิตภัณฑ์ยาดังกล่าวถูกจ่ายไปให้แก่คนไข้ราย ไหน ซึง่ ข้อมูลทัง้ หมดจะถูกบันทึกไว้ ท�าให้ผใู้ ช้งาน สามารถตรวจสอบทุกอย่างได้ในกรณีทเี่ กิดปัญหา ขึ้ น กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าที่ จ ่ า ยไปให้ กั บ คนไข้ และ ระบบนี้ยังป้องกันการปลอมแปลงผลิตภัณฑ์ยา โดยฐานข้อมูลกลางจะขึ้นตรงต่อรัฐบาล ในขณะ ที่โรงพยาบาลสามารถตรวจสอบข้อมูลได้โดย อัตโนมัตวิ า่ ผลิตภัณฑ์ยาทีจ่ ะจ่ายให้แก่คนไข้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในระบบของรัฐบาลจริงหรือไม่ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ระบบนี้ ถู ก ก� า หนดให้ ใ ช้ เ ป็ น มาตรฐานในประเทศตะวั น ตก เช่ น ประเทศ เยอรมนี และในปัจจุบนั ถูกใช้ในประเทศเกาหลีใต้ ด้วยเช่นกัน นับว่าเป็นโซลูชั่นอัตโนมัติที่น่าสนใจ เป็นอย่างยิ่งส�าหรับตลาดประเทศไทย รวมถึงใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้ ทิศทางของความเป็นผู้น�าอย่างยั่งยืน ด้วยอุตสาหกรรม 4.0 Mr. Frank กล่าวว่า ส�าหรับตลาดประเทศไทย คิดว่าเป็นเรื่องที่ส�าคัญมากๆ ที่จะต้องถูกยก ระดับเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 เหตุผล คือ ด้วยเทคโนโลยีอันชาญฉลาดทั้งหมดที่มีอยู่ใน ปัจจุบนั มันช่วยให้ผปู้ ระกอบการสามารถเชือ่ มต่อ โรงงานทั้งหมดเข้าด้วยกัน อุปกรณ์ทั้งหมดที่มี อยู่ในโรงงานสามารถถูกต่อเชื่อมเข้าด้วยกันไว้ ในระบบเพียงระบบเดียว ช่วยให้ผู้ประกอบการ สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพดีได้เป็นจ�านวน มาก ด้วยต้นทุนที่ต�่ากว่า “เหตุ ผ ลที่ ว ่ า ท� า ไมเรื่ อ งอุ ต สาหกรรม 4.0 จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ส� า คั ญ ส� า หรั บ อุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทย นั่ น เป็ น เพราะว่ า ครั้ ง หนึ่ ง ที่ ประเทศไทยเคยท�าทุกอย่างด้วยมือ หรือแรงงาน คนต้นทุนต�่ามากๆ ได้กลายเป็นอดีตไปแล้ว ใน ปั จ จุ บั น ตลาดประเทศไทยและเศรษฐกิ จ ของ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เหตุผลที่ว่าท�าไมเรื่องอุตสาหกรรม 4.0 จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ส� า คั ญ ส� า หรั บ อุ ต สาหกรรม ในประเทศไทย นั่ น เป็ น เพราะว่ า ครั้ ง หนึ่ ง ที่ประเทศไทยเคยท�าทุกอย่างด้วยมือ หรือ แรงงานคนต้ น ทุ น ต�่ า มากๆ ได้ ก ลายเป็ น อดีตไปแล้ว ในปัจจุบันตลาดประเทศไทยและ เศรษฐกิ จ ของประเทศได้ ถู ก พั ฒ นาไปอี ก ระดับหนึ่ง รวมไปถึงฐานต้นทุนของประเทศก็ พัฒนาไปอีกระดับหนึ่งเช่นเดียวกัน ดังนัน้ ประเทศไทยจึงต้องอาศัยเทคโนโลยี อุตสาหกรรมในระดับสูง เพื่อช่วยสนับสนุน ความสามารถด้ า นการผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ไ ด้ คุณภาพสูง ในราคาที่สามารถแข่งขันได้ หาก สามารถปฏิบตั ไิ ด้ดงั ทีก่ ล่าวมา ประเทศไทยจะ ถูกจัดอยู่ในแถวหน้าเรื่องของความสามารถ ในการแข่งขันในตลาด


COVER STORY 33

ประเทศได้ถูกพัฒนาไปอีกระดับหนึ่ง รวมไปถึง ฐานต้นทุนของประเทศก็พัฒนาไปอีกระดับหนึ่ง เช่นเดียวกัน” ดังนั้น ประเทศไทยจึงต้องอาศัยเทคโนโลยี อุตสาหกรรมในระดับสูง เพือ่ ช่วยสนับสนุนความ สามารถด้านการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพสูง ใน ราคาที่สามารถแข่งขันได้ หากสามารถปฏิบัติได้ ดังทีก่ ล่าวมา ประเทศไทยจะถูกจัดอยูใ่ นแถวหน้า เรือ่ งของความสามารถในการแข่งขันในตลาด เรา จึงจ�าเป็นต้องพัฒนาตัวเองไปอีกระดับ เพื่อคง ความเป็นผู้น�าในตลาดการผลิตอุตสาหกรรมได้ อย่างยัง่ ยืน ด้วยการใช้เทคโนโลยีโซลูชนั่ อัตโนมัติ เข้ามาด�าเนินงานมากขึ้น ซึ่งจะสอดคล้องกับ ทฤษฎีอุตสาหกรรม 4.0 ส�าหรับทิศทางขององค์กรเรา คือ โฟกัสใน เรื่องแอพพลิเคชั่นอุตสาหกรรม 4.0 กับตลาด ภายในพืน้ ที่ และผลักดันธุรกิจของเราให้เติบโตใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการด�าเนิน งานของ ไซ-อาร์กัส ที่มุ่งมั่นจะวางรากฐานให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางโซลูชั่นอัตโนมัติระดับ ไฮเอนด์ของภูมภิ าคซึง่ เป็นแผนด�าเนินการในอีก 3 ปีข้างหน้า และในขณะนี้ บริษัทฯ ก็ประสบความ ส�าเร็จแล้วในระดับหนึ่ง พิจารณาได้จากโครงงาน จ�านวนมากในภูมิภาคอินโดจีนที่เราก�าลังด�าเนิน การอยู่ในตอนนี้ และรวมไปถึงโครงงานอื่นๆ ภายนอกภูมิภาค เช่น ในประเทศอเมริกา ที่เมือง ฮิวสตัน เป็นต้น โอกาสทางธุรกิจในกลุ่มประเทศ CLMV Mr. Frank กล่าวว่า สิ่งที่เราเห็นเป็นโอกาส ณ ตอนนี้ คือ ตลาดในประเทศไทยเริ่มที่จะฟื้น ตัวอีกครั้งเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้ว โดยขณะนี้ ทางบริษัทฯ มีโครงงานจ�านวนมากที่ก�าลังโฟกัส อยู่ในตลาดประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ มี กลยุทธ์เพื่อขยายธุรกิจไปยังประเทศกลุ่ม CLMV ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม ด้ ว ยโซลู ชั่ น ที่ ส ร้ า งขึ้ น ในประเทศไทยเพื่ อ เป็ น ศูนย์วิศวกรรมโซลูชั่นของ ไซ-อาร์กัส รวมไปถึง โครงงานที่พัฒนาขึ้นส�าหรับประเทศเพื่อนบ้าน โดยรอบ ท�าให้เราเติบโตอย่างมั่นคงในไทย ประเทศไทยนั บ ว่ า มี ค วามส� า คั ญ ที่ จ ะช่ ว ย ยกระดับอุตสาหกรรม เนือ่ งความจ�าเป็นทีจ่ ะต้อง เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน มีอัตรา การผลิตและคุณภาพที่สูงขึ้น และนั่นคือเหตุผล ว่ า ประเทศไทยจ� า เป็ น ต้ อ งอาศั ย การท� า งาน

อัตโนมัติในระดับที่สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับธุรกิจ ทีเ่ ราท�าอยู่ ส�าหรับประเทศเพือ่ นบ้าน จะเห็นได้วา่ มีนักลงทุนของไทยเริ่มเข้าไปลงทุนในประเทศ อื่นๆ เช่น เมียนมาร์ เวียดนาม และกัมพูชา ซึ่ง เป็นตลาดทีเ่ ราก�าลังมองหาลูท่ างเพือ่ ท�าธุรกิจอยู่ เช่นเดียวกัน

สูตรแห่งความส�าเร็จด้านบริหารจัดการ ‘ไฮบริดโมเดล’ Mr. Frank Van Baal, Regional Director Asia กล่าวว่า “คุณจ�าเป็นต้องมีประสบการณ์ และ Know How ภายในองค์กร รวมไปถึงมี บุคลากรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ส�าหรับมุมมองของการ บริหารจัดการ เราให้ความส�าคัญกับการจัดการ และฝึกอบรมทีมงานของเราเพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพ ตามมาตรฐานที่เราต้องการ” ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ไซ-อาร์กัส ใช้รูป แบบการฝึกอบรมที่เรียกว่า ‘ไฮบริดโมเดล’ โดย มีผเู้ ชีย่ วชาญชาวต่างชาติ ท�างานร่วมกับพนักงาน ปฏิ บั ติ ก ารในพื้ น ที่ ท� า ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย น ความรู้ที่ยอดเยี่ยม และประสบความส�าเร็จเป็น อย่ า งดี เนื่ อ งจากเราเป็ น บริ ษั ท ข้ า มชาติ จ าก ประเทศตะวันตกทีม่ ฐี านการท�างานอยูท่ วั่ ภูมภิ าค จึงได้รับการสนับสนุนจากทีมงานที่อยู่ในพื้นซึ่ง สามารถสื่อสารและเข้าใจลูกค้าได้ดีกว่า รวมไป ถึงบริการที่รวดเร็ว และสิ่งที่ส�าคัญผลิตภัณฑ์ของ ไซ-อาร์กัส มีระดับราคาที่เหมาะสม ลูกค้าจึงเกิด ความพึงพอใจที่จะเลือกใช้บริการ

มหาวิทยาลัยอุตสาหกรรมอัตโนมัติ ของประเทศไทย หนึ่งในความ ภาคภูมิใจของ ไซ-อาร์กัส ไซ-อาร์ กั ส ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ในประเทศไทย มากว่า 20 ปี นอกเหนือจากความส�าเร็จอันเป็นที่ ประจักษ์แล้ว บริษทั ฯ ยังเป็นเสมือนมหาวิทยาลัย อุตสาหกรรมอัตโนมัตขิ องประเทศไทย เนือ่ งจาก มีพนักงานคนไทยเป็นจ�านวนมากที่ท�างานใน องค์กรตลอดช่วงระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา เมื่อบุคลากรร่วมงานกับบริษัทฯ ครบ 2 ปี จะได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาเพื่อให้มีความ ช�านาญตามมาตรฐานของ ไซ-อาร์กัส และเมื่อ พนักงานลาออกจากองค์กรกลับไปสู่ตลาดอีก ครัง้ โดยอาจไปร่วมงานกับบริษทั อืน่ ๆ หรือก่อตัง้ บริษทั ของตัวเองก็ตามจะได้นา� ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ นับว่าเป็นสัญญาณที่ดี เพราะ เราได้ใช้ความรู้เชิงขั้นตอนในการพัฒนาคนโดย เฉพาะวิศวกร จนมีความสามารถและทักษะใน ระดับที่เป็นมาตรฐาน และเมื่อบุคลากรเหล่านี้ ออกไปสู่ตลาดก็จะช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมและ ประเทศชาติได้อีกทางหนึ่ง ซึ่ ง นี่ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง ความภาคภู มิ ใจในความ ส�าเร็จของ ไซ-อาร์กัส และรู้สึกยินดีเป็นอย่าง ยิ่งหากประเทศไทยสามารถคงความเป็นผู้น�าใน ตลาดเอเชียได้อย่างยั่งยืน โดยอาศัยความร่วม มือจากพันธมิตร ร่วมมือกันน�าพาและยกระดับ อุตสาหกรรมในทุกภาคส่วนไปด้วยกัน

ส�ำหรับพวกเรำ สิ่งหนึ่งที่เป็นส่วนส�ำคัญ ที่สุดในกำรบริหำรจัดกำร คือ ต้องแน่ใจว่ำ เรำมีทีมงำนที่มีคุณภำพ และพร้อมยกระดับ พนักงำนของเรำให้มคี วำมสำมำรถเพิม่ มำกขึน้ ไซ-อาร์กัส องค์กรแห่งความสร้างสรรค์กับ เทคโนโลยีโซลูชนั่ ระดับไฮเอนด์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ ให้ สอดรับกับยุคอุตสาหกรรม 4.0 หนึง่ ในความตัง้ ใจ ทีห่ วังจะเป็นแรงขับเคลือ่ นส�าคัญให้อตุ สาหกรรม ประเทศไทยเติ บ โตอยู ่ ใ นระดั บ แถวหน้ า ของ ภูมิภาคอย่างยั่งยืน

CLMV ลาว

กัมพูชา

เมียนมาร์

เวียดนาม

EXECUTIVE SUMMARY ZI-ARGUS Ltd is a solution provider with activities in various fields of industrial automation, including; software design, installation, start-up and aftersales services for manufacturing processes. The company aims to establish Thailand as the centre for high-end automation for the region by applying Industry 4.0 standards and application development. This will assist the customers to increase capacity, efficiency and quality of industrial manufacturing giving them a competitive edge in a globalized market. issue 159 May 2016


34 INTERVIEW

คุณเอกชัย เดนวทั ่ ญญู กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ จำากัด

IRCT INNOVATION ECHNOLOGIES

IN TEST & MEASUREMENT SOLUTIONS

การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ท่ามกลางสถานการณ์ในปัจจุบันที่ผู้ประกอบการ ต่างก็แย่งชิงความได้เปรียบทางธุรกิจ ปัจจัยส�าคัญ ประการหนึง่ ทีจ่ ะยกระดับให้ธรุ กิจมีแต้มต่อเหนือ คู่แข่ง ก็คือ คุณภาพที่ได้มาตรฐาน ซึ่งนวัตกรรม ทางการวัดและทดสอบถือเป็นเครื่องมือส�าคัญที่ จะขับเคลือ่ นให้ธรุ กิจอุตสาหกรรมมีศกั ยภาพ โดย เฉพาะธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ แล้ ว ยั ง รวมถึ ง กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ที่ ต ้ อ งการใช้

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

เครือ่ งมือวัดและทดสอบเพือ่ ให้คณ ุ ภาพของสินค้า มีคุณภาพและมาตรฐาน บริ ษั ท ไออาร์ ซี เทคโนโลยี ส ์ จ� า กั ด ภายใต้ ก ารน� า โดย คุ ณ เอกชั ย เด่ น วทั ญ ญู กรรมการผู ้ จั ด การ ได้ ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ในฐานะ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทางการวั ด และทดสอบที่ สั่ ง สม ประสบการณ์มานานกว่า 15 ปี โดยทีมงานวิศวกร และผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณภาพและมีความพร้อม ในการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการวัดและทดสอบ

เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจและประโยชน์ได้อย่างสูงสุด นวัตกรรมทางการวัดและทดสอบ…ส�าคัญไฉน กับภาคอุตสาหกรรมการผลิตไทย คุณเอกชัย กล่าวว่าประเทศไทยนั้นเป็นฐาน การผลิตของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ ง ได้ รั บ การพั ฒ นาให้ เ ป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น มีมูลค่า เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เครื่องมือวัดและทดสอบจึง


INTERVIEW 35

มีบทบาทส�าคัญมาก โดยเฉพาะอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการส่งออก ซึ่งเครื่องจักรที่ใช้ ในกระบวนการผลิตต้องผ่านการวัดและทดสอบ ให้มีความแม่นย�า เที่ยงตรงมากขึ้น ส่งผลให้ ชิ้ น ส่ ว นของภาคอุ ต สาหกรรมเป็ น ไปตาม มาตรฐานที่ก�าหนด มีความผิดพลาดลดน้อยลง “IRCT เป็น SI (System Integrator) ที่มี ความเชีย่ วชาญเกีย่ วกับเครือ่ งมือวัดและทดสอบ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ปัจจุบันท�าการตลาดให้กับ ผลิตภัณฑ์สินค้า Keysight Technologies (เดิม คือ Agilent Technologies) ซึ่งสามารถรองรับ ความต้ อ งการในภาคอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ได้เป็นอย่างดี รวมถึงด้าน การสื่ อ สารโทรคมนาคม การวิ จั ย และพั ฒ นา ตลอดจนสถาบันการศึกษาอีกด้วย เรามีผลิตภัณฑ์ ที่ ค รอบคลุ ม ตั้ ง แต่ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี ข นาด เล็ก สะดวกในการพกพา เช่น สินค้าในตระกูล Handheld ส�าหรับใช้งานวัดและทดสอบทั่วไป (Basic Instruments) จนกระทั่งถึงผลิตภั ณฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า สู ง มาก ส� า หรั บ ใช้ ท ดสอบอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความซับซ้อนอย่าง Surface Mount Technology (SMT) ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า บริษัท ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ นั้นมีเครื่องมือวัดที่ ครอบคลุมทุกความต้องการใช้งานวัดและทดสอบ อย่างแท้จริง”

ชูศักยภาพศูนย์บริการสอบเทียบ ความถี่สูงสุด 50 GHz ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 :2005 และมาตรฐานเดียวกับผู้ผลิต Keysight Technologies คุณเอกชัย ยังได้กล่าวต่อไปว่า “IRCT มี จุ ด แข็ ง ด้ า นที ม งานที่ มี ทั้ ง ความเชี่ ย วชาญและ ประสบการณ์สงู เมือ่ เปรียบเทียบกับคูแ่ ข่งในตลาด เนื่องจากคลุกคลีและคร�่าหวอดอยู่ในวงการนี้มา นาน ประกอบกับการมีทีมงานที่สนับสนุนและ บริการหลังการขาย (Service Center) ซึ่งสามารถ รองรับได้ทงั้ งานซ่อมบ�ารุงและการให้บริการสอบ เทียบเครื่องมือต่างๆเป็น ศูนย์บริการสอบเทียบ (Calibrate Center) ตามมาตรฐาน Keysight Technologies ช่วยเพิ่มความมั่นใจในคุณภาพ และความน่าเชื่อถือในรายงานผลการสอบเทียบ เนื่ อ งจากใช้ Software จากโรงงานผู ้ ผ ลิ ต มา ควบคุมการสอบเทียบช่วยป้องกันความผิดพลาด จากขั้นตอนการตรวจสอบผลการสอบเทียบ จึง เพิ่มความมั่นใจให้กับลูกค้าเป็นสองเท่า ท�าให้ผล การสอบเทียบได้รบั การยอมรับทัง้ ภายในประเทศ และต่างประเทศ” ล่าสุด ศูนย์บริการสอบเทียบของ IRCT ได้ รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 :2005 สาขาไฟฟ้าแล้ว ถือเป็นรายแรกและราย

เดียวในประเทศไทยที่สามารถสอบเทียบความถี่ ได้สูงถึง 50 GHz และได้รับการรับรองมาตรฐาน นอกจากนี้ ศูนย์บริการสอบเทียบของ IRCT ยังมี ทางเลือกในการสอบเทียบให้ลกู ค้า เช่น การสอบ เทียบโดยใช้ซอฟต์แวร์ของผูผ้ ลิต ซึง่ ท�าให้ลดระยะ เวลาในการสอบเทียบให้ลูกค้า รวดเร็ว ทันตาม ความต้องการใช้งานของลูกค้า และได้ผลการวัด ที่ถูกต้อง แม่นย�ากว่า ปัจจุบันศูนย์บริการสอบเทียบของ IRCT มี การน�าระบบซอฟต์แวร์มาใช้ในการสอบเทียบและ ปรับเทียบ ด้วยทีมวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญทาง ด้านเครื่องมือวัดและทดสอบทางด้านวิศวกรรม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พ ร้ อ มให้ บ ริ ก าร รวมถึ ง ให้ ค� า ปรึกษา ตลอดจนข้อเสนอแนะจากลูกค้า เพื่อน�า มาปรับปรุงพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ลู ก ค้ า ที่ เข้ า มารั บ บริ ก ารที่ ศู น ย์ บ ริ ก ารแห่ ง นี้ จึ ง ได้ รั บ การบริ ก ารที่ ม ากกว่ า การสอบเที ย บ ตอบโจทย์การเป็น System Integrator ที่ต้อง ผสานรวมความต้องการของลูกค้าให้สอดรับกับ เครื่องมือ เครื่องจักรในกระบวนการผลิตของ ลูกค้าได้อย่างเหมาะสมเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางธุรกิจอีกช่องทางหนึ่งของ IRCT ด้วย

issue 159 May 2016


36 INTERVIEW

ตั้งเป้าขยายฐานกลุ่มลูกค้า เดินเกมรุกให้บริการ On-Site Seminar ผู้บริหาร IRCT ยังได้กล่าวต่อไปถึงกลยุทธ์ การด�าเนินงานของบริษัทฯ ครึ่งหลังปี 2559 ว่า บริษัทฯ มีความพร้อมในการด�าเนินธุรกิจในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดี ตอบสนองต่อ ความต้องการใช้ของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้เป็น อย่างดี การมีทีมงาน บุคลากรที่มีศักยภาพ มี ความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์อย่างแท้จริง ประกอบกั บ บริ ก ารหลั ง การขายที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรับ ท�าให้ IRCT พร้อมที่จะรุกตลาดขยาย ฐานกลุ่มลูกค้าเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจากกลุ่ม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ “กลยุทธ์การตลาดทีส่ า� คัญของบริษทั ฯ ในครึง่ ปีหลังนี้ ตัง้ เป้าขยายฐานลูกค้าในพืน้ ทีภ่ าคใต้ โดย มีทมี งานฝ่ายการตลาดและทีมวิศกรของเราเข้าไป จัด Onsite seminar ต่างๆ ในพืน้ ทีเ่ ขตภาคใต้ เช่น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ เป็นต้น เพื่อเป็นการแนะน�าเกี่ยวกับ สินค้าและบริการ ขณะเดียวกันต้องยอมรับว่าทุก วันนี้ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์นั้นแทรกซึมไปในทุก วงการอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็นโรงงานประกอบ รถยนต์ธุรกิจด้านสื่อสารโทรคมนาคม ที่การใช้

คลืน่ วิทยุความถีส่ งู (High Frequency) หรือแม้แต่ กระทั่งองค์กรภาครัฐที่ระบบสารสนเทศ อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นต้น รวมถึง กลุ่มลูกค้าของเราที่เป็นกลุ่มลูกค้าหลักส่วน มากนั้น ก็คือสถาบันการศึกษาและโรงงานชั้น น�าในการผลิตสินค้าอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็คทรอนิกส์ ซึง่ อุตสาหกรรมเหล่านีห้ รือองค์กร เหล่านีจ้ า� เป็นต้องใช้เครือ่ งมือทีค่ ณ ุ ภาพสูง เพือ่ ใช้ ในการวิจัยและพัฒนาผลิภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ๆ อาจกล่าวได้ว่าผลิตภัณฑ์ Keysight นั้นอาจจะมี ราคาสูง แต่เมือ่ เปรียบเทียบกับความคุม้ ค่า (Price Per Value) แล้วนั้นจะพบว่ามีความคุ้มค่ามากที เดียว กับผลงานหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน” อนาคตการเติบโตทางธุรกิจของ IRCT ตลอดระยะเวลากว่า 15 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจ ของ IRCT มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้วยความ มุ่งมั่นที่จะเป็น System Integrator ที่สามารถ รองรับความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบวงจร ประกอบกับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพจาก Keysight ซึง่ มีประสบการณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์มานาน กว่า 70 ปี เป็นผู้น�าผลิตภัณฑ์อันดับหนึ่งของโลก ด้านเครื่องมือวัดและทดสอบด้านอิเล็กทรอนิกส์

ซึง่ บริษทั ฯ จะยังคงมุง่ มัน่ สานต่อความส�าเร็จของ การเป็นผู้น�าเครื่องมือวัดและทดสอบมาตรฐาน สากลต่อไป อย่างไรก็ตาม คุณเอกชัย ได้กล่าวว่า ใน อนาคตบริ ษั ท ฯ จะมุ ่ ง พั ฒ นาเพิ่ ม ศั ก ยภาพ ด้าน Fiber Optic หรือเส้นใยแก้วน�าแสงมาก ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการใช้ ง านบน อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากกระแส การพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 หรือ IoT (Internet of Things) ซึ่งต้องยอมรับว่าที่ผ่านมาบริษัทฯ มี การลงทุนในเรื่องดังกล่าวมากพอสมควร รองรับ ความต้องการแบนด์วิธในการให้บริการลูกค้า ตอบโจทย์การใช้งานของลูกค้าได้มากขึ้น เรา ตระหนักดีว่าผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ท�าการตลาด อยู่นั้น ไม่ใช่สินค้าซื้อขายทั่วไป เป็นผลิตภันฑ์ ที่มีกลุ่มลูกค้าใช้งาน เฉพาะอย่างเช่น วิศวกร หรื อ ช่ า งเทคนิ ค (Technician) หรื อ แม้ แ ต่ ผู ้ เชีย่ วชาญในด้านอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ปฏิเสธไม่ได้วา่ อิเล็กทรอนิกส์นั้นกลายเป็นวิศวกรรมที่แทรกซึม ไปทุกวงการ ทั้งนี้ จากแผนการด�าเนินงานและ กลยุทธ์ต่างๆ นั้น เชื่อว่าบริษัทฯ จะมีการเติบโต ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

IRCT

สามารถรองรับความ ต้องการในภาคอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ได้เป็นอย่างดี รวมถึงด้านการ สื่อสารโทรคมนาคม การวิจัย และพัฒนา ตลอดจน สถาบันการศึกษา iRCT Calibration Lab (Keysight Authorized Service Provider)

ความสามารถในการสอบเทียบ ตั้งแต่ DC ถึงความถี่ 50 GHz.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


INTERVIEW 37

เจาะลึก Product Highlight ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพมาตรฐาน Keysight

FieldFox HandHeld (4/6.5/9/14/18/26.5/32/44/50GHz) เครื่ อ งมื อ วั ด และวิ เ คราะห์ สั ญ ญาณย่ า น ความถี่ ไ มโครเวฟ ที่ มุ ่ ง เน้ น การท� า งานแบบ ครบวงจรโดยมี ฟ ั ง ก์ ชั น Cable & Antenna Analyzer, Spectrum Analyzer, Vector Network Analyzer รวมไว้ภายในตัวเครื่อง ที่จะช่วยให้ วิศวกรและช่างเทคนิคใช้วัดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา รวมทั้ ง ออกแบบ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพและรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น เครื่ อ งมื อ นี้ ออกแบบตามมาตรฐานทหาร มีความกระทัดรัด พกพาสะดวก มี น�้ า หนั ก เพี ย ง 3.2 kg. และ ครอบคลุมการใช้งานในย่านความถี่ 50 GHz.

New! X-Series Signal Analyzer Deliver Superior User Experience and Performance Keysight น� า เสนอเครื่ อ งมื อ อั น ทรง ประสิทธิภาพ ด้วยการคิดค้นเครื่อง Signal Analyzer รุ ่ น ใหม่ ล ่ า สุ ด นั่ น คื อ ตระกู ล X-Series ทีป่ ระกอบด้วยรุน่ N9000B, N9010B, N9020B, N9030B ซึง่ รุน่ นีน้ นั้ ได้พฒ ั นาและเพิม่ ประสิทธิภาพในรุ่นเดิมคือ รุ่น A-Series ปรับ รูปโฉมเป็นโขทนสีเข้ม สะดุดตา เพิ่มขนาด หน้าจอแบบ Muti–Touch ด้วย GUI ง่ายต่อการ ควบคุม และความสามารถในการวัดความถี่ของ สัญญาณรองรับ Real Time Bandwidth จนถึง 510 MHz. อีกทั้งรองรับนวัตกรรม 5G.

Keysight InfiniiVision3000T X-Series Oscilloscope Oscilloscope ตระกูล 3000T หนึ่งในนวัตกรรมที่ดีที่สุดโดดเด่นด้วย ระบบสัมผัส (Touch) ทีท่ า� งานและสัง่ การด้วยระบบแตะสัมผัสหน้าจอขนาด 8.5 นิ้ว โดยการสัมผัสในแต่ละครั้งจะมีค�าอธิบาย มาพร้อมฟังก์ชั่นการใช้ งานแบบค้นพบ (Discover) มีอัตราการอัพเดต Waveform ที่รวดเร็วและมี จุดเด่นที่ Zone Trigger สามารถให้เกิดการทริกเมื่อมีสัญญาณอยู่ในกรอบ สี่เหลี่ยมที่วาดไว้บนจอ ด้วยอัตราการประมวลผลของสัญญาณ 1 ล้าน Waveform/วินาที ที่ส�าคัญนวัตกรรมดังกล่าวนี้ได้รวมฟังก์ชันการท�างาน ของ 6 เครื่องไว้ในหนึ่งเดียว Other Portable HandHeld Product

บริษัท ไออาร์ซี เทคโนโลยีส์ จ�ากัด เบอร์โทร: +66 2717 1400 / Toll-free: 1-800-291-222 เบอร์แฟกซ์: +66 27171422 เว็ปไซต์: www.irct.co.th อีเมล์: info@irct.co.th issue 159 May 2016


Gentle to The Earth Nippon Thompson Co., Ltd. is working to develop global environment-friendly products. It is committed to developing products that make its customers’ machinery and equipment more reliable, thereby contributing to preserving the global environment. This development stance manifests well in the keyword “Oil Minimum.” Our pursuit of Oil Minimum has led to the creation of ’s proprietary family of lubricating parts as “C-Lube.”

Linear Motion Rolling Guides are manufactured through a control system that alleviates their impact on the global environment to meet the quality requirements of ISO 14001 in compliance with the quality requirements level of ISO 9001 for quality improvement.

• The standard products listed in this catalog comply with the specifications of the six hazardous materials mentioned cited in the European RoHS Directive.

IKO THOMPSON ASIA CO., LTD. 3rd Fl, Zuellig House, 1-7 Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500, Thailand Tel: +66 (0)2-637-5115

Fax: +66 (0)2-637-5116


Products Underpin Sustain Technology Leaps Nippon Thompson Co., Ltd. was the first Japanese manufacturer to develop needle bearings on its own and has since expanded into the arena of linear motion rolling guides (Linear Motion Series and Mechatro Series) on the support of its advanced expertise. The company now offers a vast assortment of ingenious products, including the world’s first C-Lube maintenance-free series, to address increasingly diversified customer needs and thus sustain technology leaps.

C-Lube Maintenance-Free Series Products Evolving from the “Oil Minimum” Concept We have developed lubricating parts impregnated with a large amount of lubricant as C-Lube Series to save the customer’s oiling management workload and built them into bearings and linear motion rolling guides. The C-Lube Series not only keeps products maintenance-free for long by giving them an optimal and minimal amount of a lubricant for an extended period of time but also contributes greatly to preserving the global environment.

Needle Bearings Machine elements essential to any industry

Linear Motion Rolling Guides/Linear Motion Series Available in broad sizes, from minimum to extra-large

Linear Motion Rolling Guides/Mechatro Series A merger of precision machining expertise and electronics


40 cover story

JSR GROUP

ปรับกลยุทธ์

ตอบโจทย์ธุรกิจเครื่องมือ อุตสาหกรรมไทย คุณนพพร จิโรจจาตุรนต์

General Manager บริษัท จ.ศรีรุ่งเรืองอิมเป็กซ์ จ�ำกัด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


cover story

41

เมือ่ ธุรกิจอยูต่ วั หลายๆ บริษทั มักคิดและท�าในสิง่ เดิม แต่ บริษทั จ.ศรีรงุ่ เรืองอิมเป็กซ์ จ�ากัด และบริษทั ศรีรงุ่ เรืองแมชชีนแอนด์ทลู ส์ จ�ากัด ภายไต้ชอื่ JSR GROUP กลับเชือ่ ว่า… การปรับ ขยับ และเรียนรูท้ จี่ ะท�าในสิง่ ใหม่ๆ เป็นสิง่ ส�าคัญทีผ่ ลักดันให้ธรุ กิจพัฒนาอย่างไม่มี วันหยุด ด้วยแนวคิดนีเ้ องท�าให้ บริษทั จ.ศรีรงุ่ เรืองอิมเป็กซ์ จ�ากัด ก้าวสูก่ ารเป็นศูนย์รวม เครือ่ งมืออุตสาหกรรมแนวหน้าของประเทศไทย กว่า 40 ปีบนเส้นทางธุรกิจเครือ่ งมืออุตสาหกรรม ไม่งา่ ยเลยกว่าจะมีวนั นีแ้ ต่ก็ ไม่ใช่เรือ่ ง ยากเกินไปทีจ่ ะเติบโตอย่างก้าวกระโดดสูอ่ นาคตทีส่ ดใสยิง่ ขึน้ เช่นกัน… ขยายสาขาส�านักงานขายเพิ่มศักยภาพ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

คุณนพพร จิโรจจาตุรนต์ ได้กล่าวว่า JSR GROUP ด� า เนิ น ธุ ร กิ จ เครื่ อ งมื อ อุ ต สาหกรรม ที่ มุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาคุ ณ ภาพทั้ ง สินค้าและบริการ เพือ่ เพิม่ ความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ให้ครอบคลุมความต้องการ ของลูกค้าในทุกมิติ แต่เดิมส�านักงานใหญ่ตงั้ อยู่ที่เขตลาดกระบัง และได้ขยายสาขาเพิ่ม เติมที่จ.ชลบุรี (ซึ่งปัจจุบันสาขาชลบุรดี า� เนิน กิจการมากว่า 20 ปีแล้ว) ต่อมาภายหลังได้กอ่ ตั้งส�านักงานขาย (Sale Office) ใหม่อีกสอง แห่ง คือ ที่จ.นครราชสีมา และ จ.ปราจีนบุรี เพื่อเพิ่มศักยภาพ ให้สามารถเข้าถึงกลุ่ม เป้ า หมายในพื้ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า งครอบคลุ ม ลดต้นทุนการขนส่ง และระยะเวลาในการ ให้บริการหลังการขาย เพื่อรองรับการขยาย ตัวของอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกโดย มีเป้าหมายที่ชัดเจนในการมุ่งเพิ่มศักยภาพ ด้านการขนส่งสินค้าให้มปี ระสิทธิภาพดีทสี่ ดุ ส�าหรับลูกค้า และประหยัดเวลาซึง่ กลยุทธ์ดงั กล่าวได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี

ปรับกลยุทธ์ ให้ตอบโจทย์ธุรกิจ

ปัจจุบันสินค้าและบริการ (Productand Service)ของ จ.ศรีรงุ่ เรืองฯ ได้มกี ารปรับแผน กลยุทธ์ทางการตลาดให้สอดคล้องกับสินค้า ในแต่ละ Categories เพื่อให้สินค้าสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการใช้ของลูกค้าให้ได้ มากทีส่ ดุ โดยสินค้าของบริษทั ฯ สามารถแบ่ง ได้เป็น 3 กลุ่มได้แก่ เครื่องมือตัด (Cutting Tools & Tooling) เครื่องมือวัด (Measuring Tools) และเครื่องมือช่าง (Mechanic Hand Tools) ซึ่งแต่ละกลุ่มจะมีกลยุทธ์ที่แตกต่าง ออกกันไป เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาด

ได้อย่างมีศักยภาพ ทั้งด้าน ประสิทธิภาพ การใช้งานและราคาที่เหมาะสม “สินค้าในกลุ่มเครื่องมือตัด (Cutting Tools & Tooling) ถือเป็นสินค้าที่ใช้แล้ว หมดไป ท�าให้กลยุทธ์การขายต้องมีความ เข้มข้นในขั้นตอนการเสนอขายและรักษา ลูกค้าเดิมไว้ ส่วน เครื่องมือวัด และ เครื่อง มือช่าง นั้นเป็นสินค้าที่ใช้แล้วเกิดการช�ารุด เสียหาย หรือสูญหาย ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้อง อาศัยกลยุทธ์การขายที่มุ่งเน้นการหาลูกค้า รายใหม่เพิ่มเติม และรักษาลูกค้าเดิมไว้ อีก ทั้งต้องด�าเนินกลยุทธ์เชิงรุก เปลี่ยนจากการ ขายผลิตภัณฑ์หรือสินค้าเพียงอย่างเดียว เป็นการเสนอขายแบบโซลูชัน เป็นการสร้าง การแข่งขันขึ้นมาใหม่อีกรูปแบบหนึ่ง” ทั้งนี้ สินค้าดังกล่าวมุ่งท�าการตลาดกับ อุตสาหกรรมเป้าหมายยานยนต์ ทั้งรถยนต์ และจักรยานยนต์, อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์เป็น หลั ก แต่ เ นื่ อ งจากความหลากหลายของ สินค้าและผลิตภัณฑ์ทมี่ ี ท�าให้สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายในอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้ด้วย ยกเว้นกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารที่อาจจะมี สินค้ารองรับได้ไม่มากนัก ทว่าขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ก็ยงั เล็งเห็นกลุม่ เป้าหมายอืน่ ๆ เพิม่ เติมด้วย ทัง้ ในกลุม่ ธุรกิจอูร่ ถยนต์ หน่วยงาน ราชการ เช่น โรงเรียนช่าง มหาวิทยาลัยช่าง เทคนิค สถาบันการศึกษาทางด้านช่าง รวม ไปถึงหน่วยงานวิจัยด้วย แม้จะไม่มีความ ต้องการใช้ในปริมาณมากก็ตาม

แบ่งกลุม่ ลูกค้าให้ชดั เจน เสนอขายเป็นโซลูชนั่

คุณนพพร ได้กล่าวต่อว่า สถานการณ์ ในปัจจุบันที่มีคู่แข่งขันในตลาดเพิ่มมากขึ้น สินค้าประเภทเดียวกันมีผผู้ ลิตหลายรายเข้า

มาท�าตลาดเพิ่มมากขึ้น จากเดิมอาจมีเพียง สินค้าน�าเข้าจากประเทศเยอรมนี ตามด้วย ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน และล่าสุดเป็นสินค้า น�าเข้าจากประเทศจีน ซึ่งจะเห็นได้ว่าแต่ละ ประเทศนัน้ ก็มอี ตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ตามล�าดับ เพียงแต่ผู้แทนจ�าหน่ายจะต้อง พิจารณาเลือกสินค้าที่จะน�ามาท�าการตลาด และเสนอขาย เพื่ อ ส่ ง ต่ อ สิ น ค้ า คุ ณ ภาพ ให้กับลูกค้า ซึ่งต้องยอมรับว่าสินค้าแต่ละ แบรนด์นนั้ มีจดุ แข็งทีแ่ ตกต่างกัน เช่น สินค้า น�าเข้าจากประเทศเยอรมนี ส่วนใหญ่จะ เป็นสินค้าคุณภาพสูง แต่ราคาก็สูงเช่นกัน หรือหากเป็นสินค้าที่มีคุณภาพสูงแต่ราคา ย่อมเยาว์กว่า ก็จะเป็นสินค้าทีน่ า� เข้ามาจาก ประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากมีความได้เปรียบ เรือ่ งการขนส่งด้วยเพราะระยะทางทีใ่ กล้กว่า ซึ่งต่อมาผู้ผลิตสินค้าจากประเทศเยอรมนีก็ แก้ไขสถานการณ์ดว้ ยการจัดตัง้ ศูนย์กระจาย สินค้า (Distribution Center: DC) ที่ประเทศ สิ ง คโปร์ เพื่ อ ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ เช่ น เดียวกันกับสินค้าน�าเข้าจากประเทศเกาหลี ไต้หวัน และจีน ย่อมมีราคาต�่ากว่าสินค้าที่ น�าเข้าจากประเทศเยอรมนี และญี่ปุ่น “ในฐานะผู้แทนจ�าหน่ายสินค้าที่มีความ หลากหลายนัน้ ต้องแบ่งกลุม่ ลูกค้าให้ชดั เจน สอดคล้องกับประเภทของสินค้า อีกทั้งต้อง ท� า การเสนอขายเป็ น โซลู ชั น เพื่ อ ลดการ แข่งขันกันเองระหว่างแบรนด์สินค้าที่น�าเข้า มาท�าตลาดในประเทศไทย ขณะเดียวกัน หากเป็ น ลู ก ค้ า กลุ ่ ม ที่ มี ก ารซื้ อ ซ�้ า จะไม่ สามารถเสนอขายแบบโซลูชันได้ ก็จ�าเป็น ต้องใช้กลยุทธ์จัดรายการพิเศษหรือโปรโม ชั่นเพิ่มเติม”

issue 159 MAY 2016


42 cover story

ชูคอนเซ็ปต์ “We Serve Solution” สร้างจุดแข็งบริการหลังการขาย

ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการด�าเนิน ธุรกิจ บุคลากรของบริษัทฯ เองก็ต้องมีการปรับตัว มีการพัฒนาองค์ความรู้เพิ่มเติม โดยเฉพาะ 1-2 ปีที่ผ่านมา ได้มีการจัดอบรมสัมมนาความรู้ทาง วิศวกรรมให้กบั พนักงานฝ่ายขาย เพือ่ ให้สามารถน�า เสนอขายสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ได้อย่างชัดเจน และ สามารถให้ค�าปรึกษาเกี่ยวกับการใช้งานผลิตภัณฑ์ กับลูกค้าได้ อย่างครอบคลุมครบวงจร สอดรับกับ แนวคิดในการด�าเนินธุรกิจรูปแบบใหม่ ดังสโลแกน “We Serve Solution” คุณนพพร กล่าวว่า“เราไม่ได้มุ่งเน้นเพียงแค่ การขายสินค้าเท่านัน้ หากแต่มงุ่ ปรับปรุงและพัฒนา ทั ก ษะของบุ ค ลากรเพื่ อ ดู แ ลและช่ ว ยเหลื อ ลู ก ค้ า ทั้งระบบ โดยกลุ่มลูกค้าใหม่จะได้การรับประกัน คุณภาพของผลิตภัณฑ์ จากการคัดสรรสินค้าที่มี คุณภาพสูงมาส่งมอบให้ลูกค้า ขณะที่กลุ่มลูกค้า เดิมก็จะได้รบั ประสบการณ์ทดี่ ี ด้วยการบริการทีเ่ ป็น เลิศ ดูแลเอาใจใส่ การลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มลูกค้าเป็นประจ�า อย่างต่อเนื่อง”

จับตาอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน และเครื่องมือแพทย์

อย่ า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจากเศรษฐกิ จ ทั่ ว โลกใน ขณะนี้ ส ามารถเชื่ อ มโยงถึ ง กั น ได้ อุ ต สาหกรรม ที่ มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตที่ ดี แ ละน่ า จั บ ตามอง ก็ คื อ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นอากาศยาน (Aerospace)ซึ่งแม้ว่าอุตสากรรมการผลิตชิ้นส่วน อากาศยานในประเทศไทยจะยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น จ� า นวนผู ้ ป ระกอบการที่ มี ศั ก ยภาพในการผลิ ต ชิน้ ส่วนอากาศยานยังมีอยูเ่ พียงไม่กรี่ าย แต่กถ็ อื เป็น กลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพ(Potential Target) ที่ต้อง ให้ความส�าคัญและเป็นอุตสาหกรรมทีม่ แี นวโน้มการ เติบโตที่ดีในอนาคต เช่ น เดี ย วกั บ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งมื อ แพทย์ ซึ่งก็เป็นอุตสาหกรรมใหม่ที่น่าสนใจ โดย ขณะนี้มีผู้ประกอบการที่เป็นคนไทยสามารถผลิต เครื่องมือแพทย์ในเชิงพาณิชย์ได้แล้ว ไม่ว่าจะเป็น เตียงคนไข้ ชุดฟอกไต หรือเครื่องมือแพทย์ทั่วไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้ประกอบการที่อยู่ในพื้นที่ จ.นครราชสีมา ซึง่ บริษทั ฯ มีสา� นักงานขายรองรับอยู่ ท�าให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างใกล้ชิด

น�าเสนอสินค้าพระเอกดาวรุ่ง ปี’59

คุณนพพร ยังได้กล่าวถึงกลยุทธ์ทางการตลาด ในช่วงครึ่งหลัง ปี’59 ว่า นอกเหนือจากการขยาย สาขาแล้ว ยังให้ค�าส�าคัญกับการพัฒนาระบบการ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ขายออนไลน์ หรือe-Commerce อีกด้วย โดยได้มี การก�าหนดเป้าหมายทีจ่ ะต้องด�าเนินการให้แล้วเสร็จ สามารถซือ้ -ขายออนไลน์ได้ภายในสิน้ ปี 2559 นี้ เพือ่ รองรับลูกค้า SME ให้สามารถค้นหาสินค้าทีต่ อ้ งการ ผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ต ส� า หรั บ สิ น ค้ า ไฮไลต์ ที่ น� า เสนอในปี นี้ ได้ แ ก่ “DATA MANAGEMENT” ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดเพื่อ การควบคุ ม คุ ณ ภาพ ที่ ส ามารถบั น ทึ กข้ อ มู ล และ ส่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยลดความผิดพลาด ในการจดบั น ทึ ก ข้ อ มู ล โดยข้ อ มู ล ที่ บั น ทึ ก ลงใน ระบบสามารถน� า ไปใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ไ ด้ ทั น ที

เป็ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการควบคุ ม ระบบ การผลิตทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมี เครื่องมือวัดมิติ (Dimension) ที่สามารถท�าการวัด Dimension ได้อย่างแม่นย�า ในระดับ 1/1,000 มิลลิเมตร ภายในตัวเครื่องจะ มีซอฟต์แวร์ท�าหน้าที่ประมวลผล วิเคราะห์ Raw Data ทันที ช่วยลดขั้นตอนการท�างาน สามารถ จั ด การกั บ ความซ�้ า ซ้ อ นของกระบวนการผลิ ต ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ จ ากกระบวนการผลิ ต มี ค วามแม่ น ย� า มากขึ้ น ระยะเวลาในกระบวนการผลิ ต ลดลง ทั้งยังช่วยลดความผิดพลาดต่างๆ ในกระบวนการ


cover story 43

ใหญ่ของญี่ปุ่นอย่างฮอนด้า ก็เพิ่งจะเปิดตัวโรงงาน แห่งใหม่ที่นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ จ.ปราจีนบุรี ทั้ง ยังได้ย้ายฐานการผลิตรถจักรยานยนต์ Big Bike มา ที่ประเทศไทยแล้วรวมถึงรถยนต์มาสด้าก็ย้ายฐาน การผลิตมาที่ประเทศไทยด้วยเช่นกัน จะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมยานยนต์นั้นยังมีการขยายการลงทุน อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าภาวะโดยรวมของอุตสาหกรรม ยานยนต์ จ ะไม่ มี ก ารเติ บ โตมากนั ก ก็ ต าม ทว่ า ประเทศไทยก็ยังคงมีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลาง การผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์ ขณะเดียวกันอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์กลับ อยู่ในภาวะที่ไม่สู้ดีนัก เนื่องจากประเทศเกาหลีได้ ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเวียดนาม ซึ่งถือเป็น คู่แข่งส�าคัญ ขณะที่ประเทศไทยยังคงเป็นฐานการ ผลิ ต ให้ กั บ ประเทศญี่ ปุ ่ น แต่ ก็ มี โ อกาสที่ เ ม็ ด เงิ น ลงทุนนั้นจะไหลไปยังประเทศเวียดนาม เนื่องจาก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์นั้นใช้แรงงานคนค่อน ข้างมาก ประกอบกับอัตราค่าแรง Basic Rate ใน ประเทศเวียดนามต�า่ กว่า ท�าให้มคี วามได้เปรียบด้าน ต้นทุนการผลิต ดังนั้น ในอนาคตผู้ประกอบการไทย ต้องเร่งปรับตัวให้มีขีดความสามารถทางการแข่งขัน และเร่งพัฒนาให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีการ ประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบ Automation อย่าง เต็มรูปแบบ เพื่อให้เท่าทันต่อการขับเคลื่อนสู่ยุค อุตสาหกรรม 4.0 คุ ณ นพพร กล่ า วว่ า “บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ดี ว ่ า อุตสาหกรรม 4.0จะเข้ามามีบทบาทส�าคัญต่อวงการ อุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย ดังนั้น จึงได้มี การผลักดันและน�าเสนอผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์การ ท�างานในระบบ Automation มากขึ้น มีการน�าเสนอ โซลูชันที่เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ใน กระบวนการผลิต พร้อมทั้งเปิดรับ Know How ใหม่ๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ อย่างเท่าทัน”

เราไม่ได้มุ่งเน้นเพียงแค่การขาย สินค้าเท่านั้น หากแต่มุ่ง ปรับปรุงและพัฒนาทักษะของ บุคลากรเพื่อดูแลและช่วยเหลือ ลูกค้าทั้งระบบ

ผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�าหรับ ‘เครือ่ งมือตัด’ ซึง่ ถือเป็นสินค้าสิน้ เปลือง ใช้แล้วหมดไป บริษัทฯ ได้มีบริการ ‘Regrind’ เพื่อ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการสิ้นเปลืองเครื่องมือตัด ด้วยการให้บริการลับคมใหม่ คล้ายกับการรีไซเคิล โดยผู้ประกอบการสามารถน�าเครื่องมือตัดมาผ่าน กระบวนการ ‘Regrind’ ให้สามารถใช้งานได้เหมือน ใหม่หรืออย่างน้อย 90% โดยมีการควบคุมคุณภาพ การท�า ‘Regrind’ ด้วยการใช้ Original Coating เคลือบใหม่ เสริมความแข็งแรง ทนทานของเครื่อง มือตัดท�าให้คุณภาพของงาน ‘Regrind’ เหมือนงาน

ชิ้นแรก ดังนั้น ลูกค้าจึงยังคงได้รับคุณภาพเช่นเดิม แต่สนิ้ เปลืองค่าใช้จา่ ยน้อยลง ถือเป็นกลยุทธ์ทสี่ ร้าง ความแตกต่างให้กับบริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี

ส่องสถานการณ์อุตสาหกรรม ก่อนประเมินแผนการด�าเนินธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาถึงภาวะเศรษฐกิจ ในปั จ จุ บั น จะพบว่ า อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ น ประเทศไทยยังอยู่ภาวะที่มีการเติบโตต่อเนื่อง การ ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และรถจักรยานยนต์ยังมีแนว โน้มที่ดี จะเห็นได้ว่า เมื่อเร็วๆ นี้ ค่ายรถยนต์ยักษ์

ทั้งหมดนี้ คงจะสะท้อนภาพได้อย่างชัดเจนแล้ว ว่า แม้จะอยู่บนเส้นทางสายธุรกิจอุตสาหกรรมมา อย่างยาวนาน แต่การให้ความส�าคัญกับการพัฒนา ธุรกิจแบบ 360 องศา มองรอบด้านและประเมิน สถานการณ์อย่างเท่าทัน พร้อมกับยกระดับคุณภาพ และบริการของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ให้สามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าเป้าหมายได้อย่าง ชัดเจน ถือเป็นกุญแจส�าคัญที่ช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้ อย่างมั่นคง ดังเช่นที่ JSR GROUP ที่เติบโตอย่าง ต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี

issue 159 MAY 2016


44 Show Preview

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2016 ‘12 YEARS OF EXCELLENCE IN ENERGY TRANSITION... FOR BETTER BUSINESS’ ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK (ASE) 2016 – is ASEAN’s Largest International Exhibition on Renewable Energy, Energy Efficiency, and Environmental Technology. The exhibition is a combination of 3 unique shows: RENEWABLE ENERGY, ENTECH POLLUTEC ASIA, and ENERGY EFFICIENCY EXPO. As ASE 2016 it will feature the latest innovative energy sources and technology along with cutting-edge machinery and equipment that combines to enhance overall business competitiveness and performance. Because of the success enjoyed by our customers for the past 12 years, ASE 2016 is now expected to welcome more than 24,000 quality visitors from 35 countries around the world - representing a wide variety of industries. With the established success of the 2015 event, ASE 2016 will be more than 25% larger. The show will be held from 1-4 June 2016 at BITEC, Bangkok, Thailand. ASE 2016 - A UNIQUE COMBINATION OF 3 UNIQUE EVENTS IN 1 DYNAMIC EXHIBITION RENEWABLE ENERGY ASIA features Wind, Solar, Geo-thermal, Hydro-Electric, Biomass and Wasteto-Energy systems that can now serve as efficient and cost lowering replacements for electricity, motor fuels, rural energy and fossil-fuel heating systems. ENTECH POLLUTEC ASIA features environmental and pollution control technology in water & wastewater treatment and air-pollution control. ENERGY EFFICIENCY EXPO will feature the latest innovations in Energy Efficient technologies, Lighting Systems, Building Envelopes and Information Communication for big energy savings. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

2016 SPECIAL HIGHLIGHTS • Over 1,500 of the world’s leading brands from 35 countries. • 6 international Pavilions i.e. Germany, Singapore, Japan, China, Taiwan, and Korea. • Technologies from Top 10 world-leading solar companies i.e. JA Solar, Canadian Solar, Trina./ JINKO solar and more. • Over 80 Seminars and Presentations on Energy and Environmental Technology • Energy & Environmental Clinic and Renewable Energy Consulting on energy policy, measurement & analysis, conservation and renewable energy investment funds (ESCO Revolving Fund) • International Conference - Renewable Energy Asia 2016 - on ‘Energy Transition for ASEAN’s Future’ - an academic symposium delivered by top speakers from around the world ASE 2016 is co-located with BOILEX ASIA 2016 and PUMPS & VALVES ASIA 2016, the region’s Leading International Exhibition specializing In Industrial Boilers, Pressure Vessels, plus Pumps & Valves. – A complete range of over 1,000 pieces of Pumps & Valves, Boiler system and hardware. This is the only event of its kind in Thailand.

ASE 2016

is absolutely the ‘must-attend’ event of the year and you can’t afford to miss it!

For more information please visit www.asew-expo.com call +662 642 6911




นำเขาและจัดจำหนายโดย

บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)

48 อาคารอินเตอรลิ้งค ซอยรุงเรือง ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-693-1222 (30 Auto) Fax : 02-693-1399(Auto)

www.interlink.co.th

E-mail : info@interlink.co.th



เรียบเรียง: มาณิก นิลสุวรรณ AUTOMATION 49

ออกแบบผลิตภัณฑ์ ในยุค 4.0 แก่นหลัก คือ

ความน่าเชื่อถือ

ในยุคที่มีการคิดนวัตกรรมใหม่ๆ ผู้ผลิตเป็นผู้ก�าหนดฟังก์ชั่นของเครื่องจักร ผู้บริโภคยังคงมีความ ต้องการไม่มากเนื่องจากสินค้านั้นใหม่ต่อตลาด และยังคงตื่นเต้นกับนวัตกรรมใหม่ เช่น ในยุคที่รถยนต์ เข้ามาแทนการใช้มา้ ช่วงเวลานัน้ รถยนต์ยงั ไม่เปลีย่ นแปลงรูปร่างมากนัก ระบบรองรับน�า้ หนักยังคงเป็น แหนบสปริง การผลิตอยูใ่ นช่วงอุปสงค์มากกว่าอุปทาน ผลิตภัณฑ์จงึ เป็นไปตามผูอ้ อกแบบ มาจนถึงยุคที่ เครือ่ งจักรใช้คอมพิวเตอร์เข้ามา การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมเจริญไปมาก ผูผ้ ลิตหรือฝัง่ อุปทานมีเพิม่ ขึน้ การผลิตสามารถผลิตได้ยดื หยุน่ ขึน้ โดยการใช้ CAD/CAM และเครือ่ งจักร CNC ท�าให้สามารถปรับเปลีย่ น โมเดลได้มากขึ้น ในขณะเดียวกันความต้องการในฟังก์ชั่นของ ผลิตภัณฑ์ก็มีมากขึ้นตามจ�านวนผู้บริโภค เมื่อ มาถึงยุคที่อินเตอร์เน็ตสามารถเป็นสื่อกลางใน การซื้อขาย การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ตามความ ต้องการของลูกค้านับเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายต่อผูผ้ ลิตและ ผูอ้ อกแบบเป็นอย่างมาก ในด้านการผลิตเครือ่ งจักร นั้ น สามารถสื่ อ สารได้ ทั น ที กั บ การรั บ ค� า สั่ ง ซื้ อ

ในยุคที่ทุกอย่างเป็นอินเทอร์เน็ต หรือยุคปฏิวัติ อุตสาหกรรมครัง้ ที่ 4 แต่กอ่ นทีจ่ ะสามารถท�าอย่าง นัน้ ได้ ทางผูอ้ อกแบบผลิตภัณฑ์จะต้องคิดว่าจะท�า อย่างไรให้ชนิ้ ส่วนแต่ละชิน้ นัน้ สามารถประกอบกัน ได้เป็นโมเดลที่หลากหลายโดยยังคงตอบสนองฟัง ก์ชนั่ หลักของผลิตภัณฑ์

ขอแยกเป็นสองประเด็นเพื่อความเข้าใจ ประเด็นแรกเป็นการวางคอนเซ็ปของการออกแบบซิ่งจะเป็นเรื่อง ของการออกแบบโดยใช้หลักโมดูลา ประเด็นที่สองเป็นเรื่องของการประเมินการออกแบบซึ่งในส่วนนี้จะเข้า สู่หัวข้อของเราคือความน่าเชื่อถือกับการออกแบบในยุคอุตสาหกรรม 4.0 issue 159 MAY 2016


50 AUTOMATION

การออกแบบโมดูลาและ Size Range

ภาพที่ 1 การใช้ Platform ร่วมในผลิตภัณฑ์ยานยนต์

ภาพที่ 2 การออกแบบ Size Range ในห้องเกียร์ของ Flender

ปัจจุบันความต้องการของผู้บริโภคมีความ หลากหลายมากขึ้น รอบของอายุผลิตภัณฑ์นั้น สัน้ ลงกว่าแต่กอ่ นมาก เช่น รถยนต์ เดิมทีรถยนต์ โมเดลหนึง่ กว่าจะมีการเปลีย่ นแปลงบางรุน่ มีอายุ 10 ปีโดยประมาณ แต่ในปัจจุบันจะสังเกตเห็น ได้ว่ารถยนต์เปลี่ยนโมเดลเร็วมากขึ้น รถยนต์ บางรุ่นมีอายุโมเดลเพียงแค่ 5-6 ปีเท่านั้น ท�าให้ ผลิตภัณฑ์มคี วามสามารถในการปรับเปลีย่ นรูป แบบอย่างรวดเร็วมากขึ้น จ�าเป็นที่จะต้องมีการ ออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน (Platform) แบบ เดียว โดยให้สามารถประกอบกับชิ้นส่วนโมเดล อื่น ๆ ได้มากกว่า 1 แบบ รถยนต์ขนาดความจุเครื่องขนาดหนึ่งจะใช้ Platform ร่วมกัน โดย Platform นี้จะเป็นพื้น ฐานให้กับรถยนต์โมเดลอื่นได้อีก 2-3 โมเดล เช่น Platform ใช้ ได้ทั้งรถยนต์นั่งส่วนบุคคล รถอเนกประสงค์เพื่อกิจกรรมกลางแจ้ง หรือรถ ยนต์ ไฮบริด เป็นต้น

การออกแบบที่เรียกว่า Size Range ก็เป็น อีกวิธีหนึ่งที่ท�าการออกแบบผลิตภัณฑ์รูปทรง เพียงแบบเดียวโดยตอบสนองการใช้งานเดิม แต่สามารถเพิ่มความหลากหลายในด้านขนาด ต่างๆ ได้หลายขนาด โดยขนาดของมิติกับรุ่น นั้นจะมีความสัมพันธ์ ในเชิง Exponential โดย ใช้ต้นแบบเพียงแค่ 1 ขนาด

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ภาพที่ 3 การออกแบบ Feature หลัก แล้วเชื่อมโยงมาที่ Design Table

การออกแบบลั ก ษณะนี้ จ ะเห็ น ได้ ม ากใน ผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนทางกล โดยในหลักการแล้ว การออกแบบแล้วประเมินความแข็งแรงจะกระท�า เพียงขนาดเดียวแล้วขยายหรือย่อเป็นขนาดต่าง ๆ โดยใช้สดั ส่วนในการผลิตในขนาดต่าง ๆ กัน ในการออกแบบโดยใช้ CAD นั้นเป็นการ ออกแบบที่เรียกว่า Parametric Modeling กล่าวคือ มิติต่าง ๆ เป็นตัวแปรในการก�าหนดรูป ทรง การออกแบบเพียงชิน้ เดียว สามารถเป็นต้น แบบให้กบั ขนาดต่าง ๆ ตามมาได้โดยเชือ่ มโยงกับ ไฟล์สเปรดชีท หรือบางทีเรียกว่า Design Table


AUTOMATION

51

ความน่าเชื่อถือ กับการออกแบบ

ภาพที่ 5 การทดสอบความล้าตัว ว่าส่วนใดมีความสามารถรับภาระได้กี่วงรอบ

ภาพที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างความน่าเชื่อถือของชิ้นส่วน รวมทัง้ หน้าทีข่ องอุปกรณ์บนความปลอดภัยในการท�างานของ เครื่องจักร ผู้ใช้ และสิ่งแวดล้อม

เราคงเคยทราบกันมาบ้างถึงการรับประกัน ผลิตภัณฑ์ บ้างก็ประกาศว่ารับประกันตลอดอายุ การใช้งาน รับประกันตลอด 100,000 กม./ 3 ปี รับประกันเฉพาะชิ้นส่วนนั้นชิ้นส่วนนี้ 5 ปีเป็นต้น โดยจะมีเงื่อนไขการรับประกันว่าภายใต้การใช้ งานปกติ สืบเนื่องจากการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ ว่าด้วยเรื่องความน่าเชื่อถือของชิ้นส่วนเอง โดย ความน่าเชือ่ ถือนัน้ จะเชือ่ มโยงกับความน่าเชือ่ ถือ ของหน้าทีโ่ ดยรวม ซึง่ จะถูกประกอบด้วยชิน้ ส่วน หลาย ๆ ชิ้นส่วน ความน่าเชื่อถือนี้เองจะเป็นฐาน ของความปลอดภัยในการท�างาน ผู้ใช้งาน จนถึง ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม

วงรอบอายุของเครือ่ งจักรนัน้ เกีย่ วข้องกับการ บ�ารุงรักษาหรือการซ่อมเมื่อเสีย – เมื่อเครื่องจักรนั้นเริ่มใช้งานจะมีอัตราการ เสียบ่อยมาก เราเรียกช่วงเวลานี้ว่า Run in – เมื่อเครื่องจักรเดินเครื่องไปเป็นระยะเวลา หนึ่ ง ความถี่ ใ นการเสี ย หรื อ ต้ อ งท� า การ บ�ารุงรักษาจะมีคา่ คงที่ เราเรียกว่าช่วงใช้งาน (Useful-Life) – ไปจนถึงช่วงอายุหนึ่งความถี่ในการเสียจะ เพิม่ ขึน้ เราจะเรียกว่าช่วงรันเอาท์ (Run Out) ซึง่ ถือว่าเป็นช่วงสุดท้ายของชีวติ เครือ่ งจักร

การที่จะออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้มีอายุตาม ความที่ผู้ออกแบบคาดหวังไว้นั้น นอกจากจะ ต้องค�านึงถึงการออกแบบ ชิ้นส่วนทางกล การ วิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ แล้ว การทดสอบในขณะที่ออกแบบโดยใช้ CAE (Computer Aided Engineering) นั้นก็เป็น แนวทางในการรับประกันในส่วนหนึ่งว่าเราได้ ท�าการออกแบบรูปร่างของผลิตภัณฑ์มีความ แข็งแรงเพียงพอ ว่าด้วยความน่าเชื่อถือนั้น โดยความหมาย ก็คอื การทีช่ นิ้ ส่วนสามารถทนทานต่อแรงกระท�า ที่ก�าหนดภายใต้การใช้งานปกติที่ถูกก�าหนดไว้ ตลอดอายุการใช้งานโดยไม่เกิดความเสียหาย หรือท�างานผิดฟังก์ชั่น การที่เราจะรับประกัน ว่าการออกแบบสามารถทนทานต่อภาวะภายใต้ เวลานัน้ เราสามารถทดสอบได้ดว้ ย CAE โดยใน เรือ่ งของการทดสอบความล้าตัวของชิน้ ส่วน ใน การที่เราจะท�าการทดสอบด้วย CAE เราจะต้อง ทราบอยู่ 2 เรื่องหลักก็คือ 1. ชนิดของภาระ ว่าเป็นภาระคงที่ สลับ หรือ กลับไปกลับมา 2. ความแข็งแรงของวัสดุ โดยเมื่อท�าการ ค�านวณเสร็จโปรแกรมจะบอกว่าส่วนใดของชิ้น ส่วนที่เราออกแบบส่วนใดยังแข็งแรงไม่เพียงพอ

EXECUTIVE SUMMARY Nowadays, product designer must plan the strategy for product design to adapt with usable variation. They must design the fundamental part or platform to assembly with the other part to create various model. This couldn’t be avoid the part’s reliability. The part’s life circle are shorten day by day, the coverage design for fundamental part will save the designing cost by design the platform that response to all essential feature. It’s unnecessary to design new one every time the company change into new model. issue 159 MAY 2016


52 Post Show

Inverter Control Screw Compressor (VSD)

Energy Saving Solutions

ประหยัดพลังงานสูงสุดส�าหรับระบบปั๊มลมด้วยเทคโนโลยี

ADEKOM INVERTER CONTROL เทคโนโลยี VSD (Variable Speed Drive) สามารภปรับเปลีย่ นปริมาณของการ อัดลมให้เหมาะสมต่อปริมาณทีต่ อ้ งการใช้ งาน โดยระบบจะตรวจสอบปริมาณของลม อัดทีต่ อ้ งการ จากนัน้ จึงส่งสัญญาณไปปรับ ค่าความถีท่ เี่ หมาะสมเพือ่ ปรับแต่งรอบการ หมุนของมอเตอร์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ด้วยระบบ PID (Proportional Integral Derivative) อินเวอเตอร์จะปรับความถีท่ สี่ ง่ ไปยังมอเตอร์ให้มรี อบการท�างานทีส่ มั พันธ์ กับความต้องการลมและความดัน สามารถ ท�างานด้วยความเร็วรอบต�า่ สุดที่ 15 Hz ซึง่ เหนือกว่าปั๊มลมแบบ VSD ยี่ห้ออื่นๆ เมื่อ รอบการหมุ น ของมอเตอร์สามารถปรับ ให้หมุนช้าลงได้ การใช้พลังงานจะลดลง ต�่ากว่า ท�าให้สามารถลดการใช้พลังงาน ได้มากกว่า Adekom จึงเป็นปั๊มลมแบบ VSD ที่ ต อบโจทย์ เ รื่ อ งการประหยั ด พลังงานได้ดีที่สุด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

อินเวอร์เตอร์ประหยัดพลังงานได้เท่าไหร่ พลังงานทีส่ ามารถประหยัดได้จากการ ใช้งานอินเวอร์เตอร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 หลัก ดังนี้ 1. ประหยัดส่วนแรก 7 – 14% จากการ ใช้งานปกติ เนื่อง จากสามารถตั้งค่าความ ดันใช้งานได้อย่างคงที่ (ตั้งไว้ที่ค่าต�่าสุด) โดยหากเป็นปั๊มลมปกติจะต้องมีการตั้ง ค่าไว้ประมาณ 1 bar ในช่วงตัดต่อการ ท� า งาน ซึ่ ง ความดั น ที่ ส ามารถลดลงได้ 1 bar สามารถประหยัดพลังงานได้ 6 - 7% เลยทีเดียว 2. ประหยัดพลังงานในส่วน Unload 35 – 50% โดยปัม๊ ลมปกติ จะมีการท�างาน ในช่ ว ง Unload ซึ่ ง เป็ น การสิ้ น เปลื อ ง พลั ง งานโดยเปล่ า ประโยชน์ โดยทั่ ว ไป จะมีการท�างานในช่วง Unload ประมาณ 10 – 70% ค่าไฟฟ้าที่สูญเสียไปจะเป็น 30% ของการท�างานแบบ Full Load

3. ประหยั ด พลั ง งานในจั ง หวะการ สตาร์ ท มอเตอร์ โดยมอเตอร์ ป กติ Star - Delta Starting จะมีการกินกระแส ในจังหวะเริม่ ต้น 3 - 4 เท่า ซึง่ อินเวอร์เตอร์ จะไม่มีการสูญเสียในจังหวะนี้ ตัวอย่างการค�านวณปั๊มลมอินเวอร์เตอร์ กรณีที่ 1 ปั๊มลมปกติขนาด 50 แรงม้า (37 kw) ท�างาน 60% (Load 60%, Unload 40%) ท�างาน ปีละ 6,000 ชม. ค่าไฟ หน่วยละ 4 บาท อัตราการกินไฟช่วง Load = 37 x 0.6 x 6,000 x 4 = 532,800 บาท/ปี อัตราการกินไฟช่วง Unload = 37 x 0.4 x 6,000 x 4 x 0.3 (ช่วง Umload กินไฟ 30%) = 106,560 บาท/ปี รวมเสียค่าไฟ


ELECTRIC TREND 53

= 639,360 กรณีที่ 2 ปั๊มลมอินเวอร์เตอร์ขนาด 50 แรงม้า จะสามารถประหยัดพลังงาน โดยตรงช่วง Unload = 106,560 บาท/ปี = ประหยัดพลังงานได้ 16.7% จาก ค่าไฟฟ้าปกติ (ทั้งนี้ยังไม่รวมการประหยัด พลังงานด้านอื่นๆ) เทคนิคการเลือกปั๊มลม VSD อย่างมืออาชีพ การเลือกซือ้ ปัม๊ ลม VSD ทีถ่ กู ต้อง ควร จะต้องท�าการตรวจวัดปริมาณและลักษณะ (Air profile) การใช้ลม และน�าผลที่ได้จาก การวัดมาค�านวณทางวิศวกรรม รวมทั้ง จ�าลอง (Simulations) การท�างานล่วงหน้า เพื่อให้ได้ระบบปั๊มลมใหม่ที่ใช้พลังงาน อย่างคุ้มค่าที่สุด 1. หากลั ก ษณะการใช้ ล มที่ วั ด ได้ มี อัตราการใช้ลมสูงเกินกว่า 85% ของการ ท�างานของปั๊มลม อินเวอร์เตอร์อาจไม่ จ�าเป็นในการใช้งาน เนื่องจากปั๊มลมจะ ท�างานในช่วงท�าลม (Load) ตลอดเวลา ซึ่ง อินเวอร์เตอร์จะไม่มีบทบาทการปรับรอบ ในส่วนนี้ (อินเวอร์เตอร์วงิ่ เต็มทีต่ ลอดเวลา) 2. หากพบว่าปัม๊ ลมมีการท�างานตัง้ แต่ 85% ลงมา อินเวอร์เตอร์สามารถเข้ามา ช่วยประหยัดพลังงานได้ โดยจะปรับรอบ ของมอเตอร์ตามปริมาณการใช้ลมทีแ่ ท้จริง 3. หากพบว่ า ปั ๊ ม ลมท� า งานต�่ า กว่ า 30% การเปลี่ยนปั๊มลมเป็นขนาดที่เล็กลง จะเป็นทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ เนือ่ งจากการปรับ รอบทีร่ อบต�า่ มาก ค่าประสิทธิภาพ (ค่าไฟ/ ปริมาณลมที่ได้) จะอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่คุ้มค่า 4. หากมีการท�างานร่วมกันของปั๊ม ลมหลายเครื่อง ควรมีปั๊มลมแบบอินเวอร์ เตอร์ เพียงตัวเดียวเท่านั้น เนื่องจากหาก มีมากกว่า 1 ตัว อินเวอร์เตอร์จะท�างาน

ไม่สัมพันธ์กับการใช้ลมที่แท้จริง (เร่งรอบ, ลดรอบ พร้อมกัน) 5. หากมีการท�างานร่วมกันของปั๊มลม หลายเครื่อง ปั๊มลมอินเวอร์เตอร์ควรเป็น ขนาดที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่ม เนื่องจากก�าลัง ลมที่เครื่องปั๊มลมอินเวอร์เตอร์ท�าได้ต้อง ครอบคลุมการท�างานในช่วงรอยต่อการ เดินเครื่องปั๊มลมของแต่ละช่วง (ป้องกัน ปัญหา Control Gap) คุณลักษณะของปั๊มลม ADEKOM INVERTER (Direct EnergySavings of up to 35%) • ชุดขับและปรับรอบคุณภาพสูง จาก ผู้ผลิตอุปกรณ์ทางไฟฟ้าระดับโลก “ABB” สร้ า งความมั่ น ใจและประหยั ด พลั ง งาน สูงสุดในการใช้งานอินเวอร์เตอร์ • ควบคุ ม รอบการหมุ น ด้ ว ยระบบ Advanced Vector Control ให้แรงบิดสูง เหมาะต่องานเครื่องอัดอากาศ • การใช้งานด้วยรอบที่ช้ากว่า VSD ทั่วไป 15 Hz ท�าให้ประหยัดพลังงานได้ ดีกว่า • ลดการสู ญ เสี ย พลั ง งานจากการ เปลี่ยนสภาวะ Load/Unload ลักษณะการ ใช้ลมโดยส่วนใหญ่จะ Unload ประมาณ 45% ซึง่ ในส่วนนี้ ADEKOM VSD สามารถ ลดการใช้พลังงานส่วนนี้ได้ 100% • ระดับของความดันที่คงที่ ไม่ต้อง ตั้ ง แรงดั น สู ง กว่ า ค่ า ที่ ต ้ อ งการ ท� า ให้ ADEKOM VSD ใช้พลังงานไฟฟ้าต�า่ กว่าปัม๊ ลมแบบปกติ 7% - 14% ADEKOM Advanced Variable Speed Drive System • Built-in PID functionality • Limitation of operating time at lowspeed • PTC probe management • Auto-restart function withconfigurable response time • Underload and overload detection • Low-flow detection • Sleep/wake function • Power used, power-ontime and motor run time ค่าไฟฟ้าต่อปี

ปัม๊ ลม 50 HP แบบปกติ

840,000

ปั๊มลม VSD 50 HP แบบทั่วไป

583,000

ปั๊มลม VSD 50 HP ADEKOM

504,000

ADEKOM ประหยัดกว่า VSD ทั่วไป

High Efficiency Inverter Duty Motor มอเตอร์ชนิดพิเศษของ ADEKOM ถูก ออกแบบเพือ่ การใช้งานทีร่ อบต่างๆ ตัง้ แต่ รอบการหมุนต�่าไปจนรอบการหมุนสูง ชุด ลูกปืนมีความทนทานเป็นพิเศษเพื่อการ ปรับรอบโดยเฉพาะ และสามารถทนทาน ต่อกระแสคลื่นรบกวนที่ส่งผลเสียต่อชุด ลูกปืนได้อีกด้วย Main Focus on ADEKOM Inverter Screw Compressor

ชุดสกรูคุณภาพสูงรับประกัน 5 ปี

ที่ได้รับการออกแบบและทดสอบถึง เทคโนโลยีการอัดลมที่สามารถอัดลมได้ ดีและประหยัดพลังงาน สกรู ADEKOM Profile ผลิตและจดสิทธิบัตรในประเทศ เยอรมนี 100%

มอเตอร์ ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงที่ได้รับการ ออกแบบส�าหรับการใช้งานกับ Inverter เป็นพิเศษ ด้วยประสิทธิภาพทีส่ งู ถึง 95.2% มอเตอร์ของ ใบพัดระบายความร้อนแยก และตลั บ ลู ก ปื น แบบป้ อ งกั น การเหนี่ ย ว น�าทางไฟฟ้า (insulated bearings โดย SKF) ท�าให้ ADEKOM VSD สามารถตอบ สนองผู้ใช้งานทั้งด้านความทนทานและ ประหยัดพลังงานสูงสุดมาตรฐาน IP55 class F บ่งบอกถึงความทนทานการใช้งาน หนักเหนือปั๊มลมทั่วไป สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือต้องการค�าแนะน�า วิเคราะห์การประหยัดพลังงานติดต่อได้ที่ : ADEKOM KOMPRESSOREN (THAILAND) CO., LTD. 133 Kanchanapisek Rd, Samdam, Bangkhuntien, Bangkok 10150 Tel: 66 (02) 453 - 2374 - 5 Fax: 66 (02) 453 - 2349 Website: www.adekom-thailand.com

issue 159 may 2016


54 INTERVIEW

สหคิม มอเตอร์ รุกตลาดต่อเนื่อง ชูนวัตกรรมปั๊มน�้ามาตรฐานอิตาลี

‘STAC ครบ จบทุกงานน�้า’

กว่า 48 ปีที่ บริษทั สหคิม มอเตอร์ จ�ำกัด หรือ ‘สหคิม มอเตอร์’ ได้ดา� เนินธุรกิจมาอย่างต่อเนือ่ ง ในฐานะ ผูน้ า� เข้าและตัวแทนจ�าหน่าย สินค้าคุณภาพสูงจากต่างประเทศ ด้วยปณิธานอันมุง่ มัน่ ของผูบ้ ริหารและทีมงานทีพ่ ร้อม จะให้บริการ และคัดสรรสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ และส่งมอบสินค้าทีด่ เี พือ่ พัฒนาวงการอุตสาหกรรมไทยให้ยงั่ ยืนต่อไป ปัจจุบัน สหคิม มอเตอร์ เป็นผู้จ�าหน่ายสินค้าน�าเข้าจากหลายvประเทศมากกว่า 15 แบรนด์ รองรับความ ต้องการใช้ในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่หลากหลาย ทั้งยังขยายธุรกิจก้าวสู่การเป็นผู้รับเหมางานโครงการภาครัฐ โดยเฉพาะงานสาธารณูปโภคทีเ่ กีย่ วกับน�า้ อาทิ สถานีสบู น�า้ สถานีผลิตน�า้ สถานีระบายน�า้ ไปจนกระทัง่ งานระบบ บ�าบัดน�้าดี-น�้าเสีย ซึ่งต้องยอมรับว่า สหคิม มอเตอร์ นั้นมีความเชี่ยวชาญอันดับต้นๆ ของประเทศเลยทีเดียว

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


INTERVIEW 55

ชูจดุ แข็งด้านนวัตกรรมสินค้าคุณภาพสวมบท ‘ผูร้ บั เหมางานโครงการภาครัฐ’

นอกจากจะมี น วั ต กรรมสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานสากลแล้ ว สหคิม มอเตอร์ ยังเป็นผู้รับเหมางานระบบน�้า ให้บริการควบคุมและ บริ ห ารจั ด การระบบน�้ า อุ ต สาหกรรม ทั้ ง ระบบน�้ า ดี แ ละระบบน�้ า เสี ย ตลอดจนนวั ต กรรมสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษ เช่ น ความทนทานต่ อ สารเคมี ความทนทานต่อการกัดกร่อน ซึ่งบริษัทฯ ก็มีนวัตกรรมปั๊มน�้า หรื อ ตั ว สู บ น�้ า ที่ ผ ลิ ต จากสเตนเลสคุ ณ ภาพสู ง อายุ ก ารใช้ ง านยาวนาน หรือแม้กระทั่งมีอุปกรณ์เพิ่มเติมอย่างระบบบ�าบัดน�้า เสีย อาทิ เครื่อง เติ ม อากาศใต้ น�้ า (Submersible Aerator) เครื่ อ งเติ ม อากาศบนผิ ว น�้ า (Jet Aerator) ทั้งยังมีระบบน�้าดี ระบบเพิ่มแรงดันน�้า และระบบน�้าดับเพลิง ในอาคารสูงอีกด้วย คุณยศ ได้กล่าวต่อไปว่า “สหคิม มอเตอร์ไม่ใช่เพียงผู้น�าเข้าสินค้ามา จ�าหน่ายทั่วไป หากแต่เป็นผู้รับเหมางานโครงการภาครัฐด้วย ซึ่งเป็นที่ทราบ กันดีวา่ การจะรับงานโครงการภาครัฐได้นนั้ ต้องมีคณ ุ สมบัตทิ ดี่ มี คี วามพร้อม ในหลายๆ ด้าน เพราะทุกๆ โครงการนั้นมีรายละเอียดความต้องการที่ แตกต่างกัน ผู้รับเหมาจึงต้องมีความละเอียด รอบคอบ และที่ส�าคัญต้องมี ความน่าเชื่อถือ ว่าจะสามารถด�าเนินโครงการได้แล้วเสร็จสมบูรณ์ในระยะ เวลาและงบประมาณที่ก�าหนดไว้ได้”

มุ่งเน้นให้บริการแบบ One-Stop-Service

สหคิม มอเตอร์ ครบรอบ 48 ปี

คุณยศ ธนารักษ์โชค กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สหคิม มอเตอร์ จ�ากัด ผู ้ ซึ่ ง เป็ น พลั ง หนุ น น� า ความส� า เร็ จ ดั ง กล่ า ว ได้ ก ล่ า วว่ า เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ สหคิ ม มอเตอร์ ได้ จั ด งานครบรอบ 48 ปี พร้ อ มทั้ ง เปิ ด ตั ว ‘STAC’ นวัตกรรมสินค้าใหม่ที่น�าเข้าจากประเทศอิตาลี รวมถึงสินค้าอื่นๆ ของบริษัท ด้ ว ย เนื่ อ งจากได้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นธุ ร กิ จ แต่ ยั ง คงด� า เนิ น ธุ ร กิ จ น� า เข้ า ส่ ง ออก ประกอบ จัดจ�าหน่าย ซ่อมและให้บริการหลังการขาย สินค้าในกลุ่ม ปั๊มน�้า, ปั๊มเคมี, เครื่องเป่าลม, เครื่องดูดสูญญากาศ, เครื่องแลกเปลี่ยนความ ร้อน และมอเตอร์ไฟฟ้า เป็นหลัก นอกจากนี้ ยังได้รกุ ขยายต่อยอดการด�าเนินธุรกิจเป็นผูร้ บั เหมางานโครงการ ภาครัฐ มีผลงานในหลายโครงการแล้ว อาทิ งานก่อสร้างสถานีสูบน�้าเพื่อ ป้องกันน�้าท่วม กรมชลประทาน จ.ขอนแก่น โครงการก่อสร้างสถานีผลิตน�้า ประปาส่วนภูมิภาค จ.จันทบุรี และ จ.ตราด (รวมระบบวางท่อน�้า ระยะทาง 33 กม.) สถานีเพิ่มแรงดันน�้าให้กับการประปาส่วนภูมิภาค จ.พะเยา โดยเดินท่อ ประปาขนาดใหญ่ ความยาว 22 กม. รวมถึง งานก่อสร้างสถานีระบายน�า้ ประตู ระบายน�้า และโครงการที่อยู่ระหว่างการด�าเนินงานอีก 36 โครงการ

ปัจจุบัน สหคิม มอเตอร์ มีโรงงานประกอบตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรม บางพลี ซึ่งได้รวบรวมผู้ช�านาญการเฉพาะด้านในแต่ละชนิดสินค้า เพื่อ รับงานประกอบ, ติดตั้ง, Alignment และทดสอบสินค้าได้อย่างมีคุณภาพ ท�าให้ลูกค้ามีความมั่นใจว่าจะรับได้สินค้าที่ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด นอกจากนี้ ที่โรงงานประกอบแห่งนี้ ยังมีคลังสินค้าที่พร้อมรองรับความต้องการของลูกค้าอย่างเต็มที่ ท�าให้ สามารถให้บริการแก่ลกู ค้าได้อย่างรวดเร็ว ไม่ตอ้ งเสียเวลาสัง่ อะไหล่จากทีอ่ นื่ ทั้งยังสามารถรับจ้างประกอบงานให้แก่ผู้จ�าหน่ายสินค้าในลักษณะเดียวกัน อีกมากมาย โดยสินค้าที่ทางโรงงานผลิตและประกอบ อาทิเช่น ตู้ควบคุม (Control Panel) ประกอบชุดปั๊มดับเพลิง (Fire Pump Set) กับเครื่องยนต์ ชั้นน�า เช่น Cummins, Perkins ฯลฯ ประกอบชุดจ๊อกกี้ปั๊ม (Jockey Pump Set) ประกอบชุดปั๊มต่อมอเตอร์ ประกอบชุดบูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump Set) ประกอบชุด Liquid Ring Pump ประกอบชุดเครื่องแลกเปลี่ยนความ ร้อน (Plate Heat Exchanger) ทั้งยังรับออกแบบ และให้ค�าปรึกษา ในการ ประกอบชุดปั๊มยี่ห้อต่างๆ อีกมากมาย ทัง้ นี้ สินค้าที่ สหคิม มอเตอร์ ได้น�าเข้ามาจ�าหน่ายเป็นสินค้า ที่ มี คุ ณ ภาพ ได้ ม าตรฐาน ในราคาที่เหมาะสม สามารถ ตอบโจทย์ความต้องการใช้งาน ได้ เ ป็ น อย่ า งดี นโยบายการ ด� า เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ นอกจากจะเป็นตัวแทนจ�าหน่าย สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพมาตรฐาน คุณยศ ธนารักษ์โชค แล้ว ยังเน้นการให้บริการแบบ กรรมการผู้จัดการ One-Stop-Service ดั ง นั้ น บริษัท สหคิม มอเตอร์ จ�ากัด ลู ก ค้ า ของสหคิ ม มอเตอร์ จึ ง ได้ รั บ สิ น ค้ า และบริ ก ารอย่ า ง ครบวงจร ด้วยบริการหลังการ ขายทีจ่ ะท�าให้ลกู ค้าได้รบั ความ สะดวกสบาย และได้รับบริการ ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น issue 159 MAY 2016


56 INTERVIEW

TESTIMONIAL

คุณพิทักษ์ เอื้ออารีย์จิต รองกรรมการผู้จัดการด้านจัดซื้อพัสดุภัณฑ์ ธุรกิจอาหารแปรรูปและฟาร์มสัตว์น�้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ากัด (มหาชน) “เนื่องจาก สหคิมฯ เป็นบริษัทฯ ที่จ�าหน่ายสินค้าที่เกี่ยวกับมอเตอร์ เครื่องปั๊มน�้ามายาวนาน ส�าหรับตัวผมนั้นเป็นวิศวกรที่ท�างานเกี่ยวกับด้าน ออกแบบ ให้ค�าปรึกษา ส่วนใหญ่เลือกใช้ปั๊มของสหคิมฯ ในงานด้านที่เกี่ยว กับวิศวกรรมปรับอากาศ และวิศวกรรมสุขาภิบาล เพราะกลุม่ ลูกค้าเป็นงาน ในอาคาร และใช้ปั๊มขนาด Mid Range หรือปั๊มขนาดกลาง ส�าหรับเหตุผลที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ของสหคิม เพราะความประทับใจใน บริการหลังการขาย การดูแลลูกค้าอย่างต่อเนือ่ งและใกล้ชดิ ไม่ทอดทิง้ ลูกค้า ทีส่ า� คัญสินค้าของสหคิมฯ สามารถตอบโจทย์การใช้งานได้อย่างหลากหลาย หรือที่เรียกว่า Corporate Complement ไม่ว่าจะเป็นปั๊ม Help Planning, ปั๊ม Stick Kate, ปั๊ม Instruction, ปั๊มขนาดใหญ่ๆ หรือปั๊มส�าหรับป้องกัน น�้าท่วมต่างๆ ก็มีให้เลือกอย่างหลากหลาย”

เปิดตัวนวัตกรรมปัม๊ ‘STAC ครบ จบทุกงานน�า้ ’

เมือ่ กล่าวถึงสินค้าไฮไลต์สา� หรับ สหคิม มอเตอร์ ในช่วงครึง่ ปีหลังปี 2559 อย่าง ‘STAC’ ซึง่ ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทมี่ คี วามคุม้ ค่าทัง้ ด้านคุณภาพและราคา ‘STAC’ ยัง มีความโดดเด่น ครบวงจร เนื่องจากได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับการใช้งานใน อุตสาหกรรมขนาดเล็ก อาทิ บ้านที่อยู่อาศัย ทั้งประเภททาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยว ไป จนถึงบ้านที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ ครอบคลุมถึงอพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม โรงแรม โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนงานสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการอุทกภัยต่าง ๆ ด้วย นอกจากนี้ ปั๊มน�้า ‘STAC’ ยังได้รับการออกแบบให้มี รูปลักษณ์ที่ตอบโจทย์ความต้องการของนักออกแบบได้เป็นอย่างดี สมดังสโลแกน ‘STAC ครบ จบทุกงำนน�้ำ’ “STAC ถือเป็นสินค้ามาตรฐานที่มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับมานานกว่า 50 ปี ใน ประเทศแถบยุโรปและสหรัฐอเมริกา จึงเชื่อมั่นได้ถึงคุณภาพที่ได้รับการรับรองตาม มาตรฐานสากล โดยสินค้าของ STAC ได้รบั รองมาตรฐานทัง้ DIN (Deutsches Institut Fur Normung) มาตรฐานของเยอรมนี และ ANSI (American National Standards Institute) ซึง่ เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา รวมถึง JIS Standard (Japanese Industrial Standard) มาตรฐานของญี่ปุ่นด้วย ดังนั้น จึงตอบโจทย์ทุกความต้องการ ของลูกค้าได้เป็นอย่างดี” คุณยศ กล่าว

ยกระดับคุณภาพงานบริการซ่อมบ�ารุงออนไลน์ผ่าน SCADA

ผูบ้ ริหาร สหคิม มอเตอร์ ยังได้กล่าวต่อไปว่า ด้วยความช�านาญการของบุคลากร ทีบ่ ริษทั ฯ มากกว่า 300 คน ทัง้ ทีมบริการทีอ่ อกปฎิบตั งิ านตามโครงการ และทีมงานที่ ประจ�าอยูท่ โี่ รงงาน ลูกค้าจึงมัน่ ใจได้ถงึ บริการทีจ่ ะได้รบั อย่างสะดวกบาย และรวดเร็ว นอกจากนี้ ยังได้พฒ ั นานวัตกรรมเพือ่ ยกระดับคุณภาพของงานบริการ โดยพัฒนาให้ สินค้าที่ผลิตทุกชิ้นมี Serial Number (รหัสประจ�าสินค้า) ประทับตราไว้บนตัวสินค้า ซึง่ จะติดตัวสินค้าตลอดไป และจัดเก็บข้อมูลสินค้าลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้ง่ายต่อการสืบค้นและตรวจสอบประวัติการผลิต “การด�าเนินงานเช่นนี้ท�าให้สามารถตรวจสอบ รายละเอียดหรือข้อมูลต่างๆ ของสินค้าตัวนั้นๆ ได้อย่างทันท่วงที่ ท�าให้ทีมบริการหลังการขาย (Customer Service) มีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถอธิบายข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และรวดเร็วให้กับลูกค้าได้ ซึ่งบางครั้งสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ผ่านระบบ ออนไลน์ได้ทันที ท�าให้ลูกค้าได้รับการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว ไม่ต้องเสียเวลาใน การจัดซ่อม อีกทั้งสามารถควบคุมการซ่อมบ�ารุงผ่านทั้งระบบ SCADA ควบคุม การท�างานผ่านสัญญาณ GPS หรือสัญญาณโทรศัพท์ต่างๆ ได้อีกด้วย”

ตั้งเป้า 800 ล้านบาท เตรียมความพร้อมอีก 3 ปี เข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ

คุณณัฎฐ์มนต์ทท ดนุดรลบรินาถ DEPUTY DIRECTOR, PLANT DIVISION บริษัท โกชู โคชัน จ�ากัด “ผมเป็นคนหนึง่ ทีใ่ ช้ผลิตภัณฑ์ของสหคิมฯ มาอย่างต่อเนือ่ ง ใช้มานาน กว่า 20 ปีแล้ว เพราะผมท�างานในส่วนของบริษทั จากประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ เหตุผล ทีเ่ ลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากสหคิมฯ เพราะมีผลิตภัณฑ์ ให้เลือกหลากหลาย เป็น ที่ต้องการของบริษัทญี่ปุ่น โดยเฉพาะระยะหลังที่มีการแข่งขันกันสูง ทางสห คิมฯ ได้นา� นวัตกรรม ‘STAC’ ซึง่ เป็นเครือ่ งปัม๊ น�า้ จากประเทศอิตาลีเข้ามาใช้ ด้วยคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสม ประกอบราคาทีม่ คี วามคุม้ ค่า สมเหตุสมผล ท�าให้ สหคิมฯ ตอบโจทย์ ได้เป็นอย่างดี โดยสินค้าที่บริษัทฯ ได้เลือกน�ามาใช้ใน โครงการ เป็นการวางระบบ Water Treatment ซึง่ เป็นระบบประปาแบบญีป่ นุ่ และใช้ในโรงงานผลิตรถยนต์เกือบทุกค่ายส่วนใหญ่เลือกใช้สนิ ค้าจากสหคิมฯ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

คุณยศ กล่าวต่อไปถึงกลยุทธ์ทางการตลาดว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุม โดยอาศัยความร่วมมือ ผ่านทางเจ้าของโครงการ (OWNER) เป็นหลัก รวมถึงการประสานงานร่วมกับนัก ออกแบบ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจในการใช้สนิ ค้า และเพือ่ ให้ลกู ค้าได้ใช้สนิ ค้าอย่างเต็ม ประสิทธิภาพ แต่หากสินค้าทีต่ อ้ งส่งต่อไปยังผูร้ บั เหมาทีร่ บั ช่วงงานต่อ ก็จะมีทมี งาน คอยอ�านวยความสะดวก เพื่อให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว “ในส่วนของ ‘STAC’ ทีเ่ ป็นสินค้าไฮไลต์นนั้ นอกจากจะท�าการตลาดเพือ่ จ�าหน่าย ภายในประเทศแล้ว ยังมีการส่งออกไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น ประเทศฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บังคลาเทศ และประเทศแถบยุโรป ซึ่งในปีนี้บริษัทฯ ตั้งเป้ายอดขายไว้ประมาณ 800 ล้านบาท สะท้อนถึงการเติบโตอย่างมั่นคงและต่อ เนื่องของธุรกิจ โดยเป็นยอดขายที่ได้จากการรับเหมาโครงการของภาครัฐ ถือเป็น รายได้หลักที่ท�าให้บริษัทฯ มีการเติบโตที่ดี นอกเหนือจากการเป็นผู้แทนจ�าหน่าย นวัตกรรมสินค้าส�าหรับภาคอุตสาหกรรม” ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้วางแผนการด�าเนินธุรกิจในอนาคต โดยเริ่มด�าเนินการปรับ เปลีย่ นโครสร้างภายในองค์กร และเตรียมความพร้อมในหลายๆ ด้าน เพือ่ น�าบริษทั ฯ เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ในอีก 3 ปีข้างหน้า


INTERVIEW 57

TESTIMONIAL

คุณสถิต ราชวงศ์ M&E ENGINEER JC FUTURE CITY GROUP “ผมรูส้ กึ ประทับใจในการบริการ และคุณภาพสินค้าจากสหคิม มอเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเทคนิคการใช้งานต่างๆ ก็สามารถตอบโจทย์ ได้อย่าง ครบถ้วน ส่วนใหญ่งานของผมจะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ของสหคิมฯ อาทิ Booster Pump, ระบบปั๊มส�าหรับ Transfer ต่างๆ ซึ่งตอนนี้ก็ได้เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ของสหคิมฯ มาแล้วถึง 3 โครงการ ซึง่ เป็นโครงการคอนโดมิเนียม ทั้งหมด เนื่องจากบริษัทฯ ของผมเป็นบริษัทจากประเทศไต้หวัน ไม่ค่อยรู้จัก Supplier ในไทยเท่าที่ควร แต่ ก็ ได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีจาก พนักงานขายของสหคิมฯ ทีเ่ ข้ามาช่วยเหลือ และประสานงานเรือ่ งผลิตภัณฑ์ ต่างๆ และให้คา� ปรึกษาอย่างต่อเนือ่ ง จึงมีความประทับใจมาก ตัดสินใจไม่ผดิ เลยที่เลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากสหคิมฯ”

สหคิมมอเตอร์ จัดงาน ‘STAC Grand Opening Night Party’

เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท สหคิม มอเตอร์ จ�ากัด ได้จัดงาน ‘STAC Grand Opening Party Night’ เปิดตัว ‘STAC SHK’ อีกหนึ่งสินค้าคุณภาพจาก ประเทศอิตาลี ซึ่งถือเป็นปั๊มน�้ามาตราฐานสูงสุดรายแรกในไทย ที่มีทั้งแบบ สแตนเลสและแบบเหล็กหล่อ ทัง้ ยังมีมอเตอร์ในตัว ตอบโจทย์ทกุ ลักษณะการใช้งาน โดย คุณยศ ธนารักษ์โชค กรรมการผู้จัดการ บริษัท สหคิมมอเตอร์ จ�ากัด ได้ให้ เกียรติเปิดงานอย่างเป็นทางการ พร้อมสัมภาษณ์ พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกี่ยวกับการใช้ปั๊มน�้ากับ คุณชัชวาลย์ คุณค�้าชู ที่ปรึกษาบริษัท สหคิมมอเตอร์ จ�ากัด โดยมีผู้บริหาร และวิศวกรให้ความสนใจเข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมาก นอกจากจะมีกิจกรรมแนะน�าคุณสมบัติและการใช้งาน ‘STAC SHK’ แล้ว ยัง มีกิจกรรมอื่นๆ บนเวที อาทิ การเต้น Cover Dance Miss Foxy by Def-G โชว์ Thailand Body Paint โดยน้องปาย Miss Grand Ayutthaya 2016 และดนตรีสด ก่อนจะจับสลากลุ้นของรางวัลมากมายภายในงาน

คุณชัชวาล คุณค�้าชู กรรมการสภาวิศวกร “ความประทับใจที่มีต่อสหคิมฯ ตั้งแต่เมื่อครั้งที่เพิ่งรู้จักกัน หลายปีแล้ว มีความประทับใจเรื่องการบริการหลังการขาย ที่อ�านวยความสะดวกให้กับ ลูกค้าได้เป็นอย่างดี บริการได้รวดเร็วทันใจ พนักงานขายหรือทีมงานสามารถ ให้ขอ้ มูลผลิตภัณฑ์ ได้อย่างชัดเจน แนะน�าผลิตภัณฑ์อย่างจริงใจ ประกอบกับ สินค้าของสหคิมฯ นัน้ มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานสากล จึงมีความมัน่ ใจในการ ใช้งาน นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์ ให้เลือกหลากหลาย จึงตอบโจทย์ความ ต้องการใช้งานได้อย่างครอบคลุมมากทีเดียว” issue 159 MAY 2016


58 INDUSTRY ECONOMIC POLICY เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

บอร์ดบีโอไอ ส่งเสริมคลัสเตอร์ กลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคต

เมืองนวัตกรรมอาหาร - อากาศยาน - หุ่นยนต์

บอร์ ด บี โ อไอออกมาตรการส่ ง เสริ ม การลงทุน หนุน 3 คลัสเตอร์ลงทุนสร้าง อุ ต สาหกรรมแห่ ง อนาคต ได้ แ ก่ เมื อ ง นวัตกรรมอาหาร คลัสเตอร์อากาศยาน และ อุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์

เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) • ได้รับสิทธิประโยชน์ ใน กลุ่ม A1 พร้อมกับก�ำหนดให้พื้นที่ Food Innopolis อยู่ในพื้นที่ ของอุทยำนวิทยำศำสตร์ประเทศไทย เป็นเขตวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ ได้รับสิทธิใน ฐำนะเป็นเขตส่งเสริมกำรลงทุน • ได้รับสิทธิประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ทั่วไป อำทิ ได้รับลดหย่อนภำษี เงินได้นิติบุคคล ร้อยละ 50 เพิ่มเติมจำกสิทธิพื้นฐำนอีก 5 ปี ยกเว้นอำกรขำเข้ำเครื่องจักร เป็นต้น • ได้รับสิทธิประโยชน์ ในรูปแบบคลัสเตอร์ภายใต้กลุ่ม Super Cluster อำทิ ยกเว้นภำษี เงินได้นิติบุคคล 8 ปี โดยกำรก�ำหนดวงเงินภำษีที่ได้รับยกเว้น ให้เป็นไปตำมสิทธิพื้นฐำนของ ประเภทกิจกำรนั้น ๆ และลดหย่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 เพิ่มเติมอีก 5 ปี ส�ำหรับ กิจกำรเป้ำหมำย อำทิ กิจกำรปรับปรุงพันธุพ์ ชื หรือสัตว์ (ที่ไม่เข้ำข่ำยกิจกำรเทคโนโลยีชวี ภำพ) กิจกำรบริกำรออกแบบและพัฒนำผลิตภัณฑ์เชิงสร้ำงสรรค์ กิจกำรวิจัยและพัฒนำกิจกำร เทคโนโลยีชีวภำพ กิจกำรบริกำรทดสอบทำงวิทยำศำสตร์ เป็นต้น

อุตสาหกรรมอากาศยาน และอุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ • ก�ำหนดพื้นที่เป้ำหมำยของอุตสำหกรรมอำกำศยำนใน 14 จังหวัดที่เป็นที่ตั้งหรือ สนำมบิน ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปรำกำร นครปฐม ปทุมธำนี ฉะเชิงเทรำ ชลบุรี ระยอง เชียงรำย พิษณุโลก นครสวรรค์ ลพบุรี นครรำชสีมำ สุรำษฎร์ธำนี และสงขลำ

อุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ • สำมำรถตัง้ กิจกำรได้ทกุ พืน้ ที่ไม่มกี ำรก�ำหนดพืน้ ทีเ่ ป้ำหมำย และจะส่งเสริมตัง้ แต่ผผู้ ลิต ชิ้นส่วน/อุปกรณ์ ผู้พัฒนำสมองกลซอฟต์แวร์ ผู้ผลิต Robots ผู้ผลิตระบบ Automation และกำรซ่อมบ�ำรุง เป็นต้น

อุตสาหกรรมแห่งอนาคต MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


INDUSTRY ECONOMIC POLICY 59

ส่งเสริมการลงทุนเมืองนวัตกรรมอาหาร ให้สิทธิประโยชน์ทั้ง 2 รูปแบบ ภำยหลังกำรประชุม คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ที่ มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นำยกรัฐมนตรีเป็นประธำน ได้พิจำรณำ เห็ น ชอบมำตรกำรส่ ง เสริ ม กำรลงทุ น เมื อ งนวั ต กรรมอำหำรและ คลัสเตอร์อำกำศยำน อุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ โดยในส่วนของ มำตรกำรส่งเสริมกำรลงทุนเมืองนวัตกรรมอำหำรจะเปิดให้มีกำรส่ง เสริม กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมด้านนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) และให้ ได้รับสิทธิประโยชน์ ในกลุ่ม A1 พร้อมกับก�ำหนดให้ พื้นที่ Food Innopolis ในพื้นที่ของอุทยำนวิทยำศำสตร์ประเทศไทย เป็นเขตวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ ได้รับสิทธิในฐำนะเป็นเขตส่ง เสริมกำรลงทุน ทั้ ง นี้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ส� ำ หรั บ กิ จ กำรเป้ ำ หมำยที่ ตั้ ง ใน Food Innopolis มี 2 รูปแบบ คือ (1) สิทธิประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ทวั่ ไป อำทิ ได้ รั บ ลดหย่ อ นภำษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลร้ อ ยละ 50 เพิ่ ม เติ ม จำกสิ ท ธิ พื้นฐำนอีก 5 ปี ยกเว้นอำกรขำเข้ำเครื่องจักร เป็นต้น (2) สิทธิประโยชน์ ในรูปแบบคลัสเตอร์ภายใต้กลุ่ม Super Cluster อำทิ ยกเว้นภำษีเงินได้ นิติบุคคล 8 ปี โดยกำรก�ำหนดวงเงินภำษีที่ได้รับยกเว้น ให้เป็นไปตำม สิทธิพื้นฐำนของประเภทกิจกำรนัน้ ๆ และลดหย่อนภำษีเงินได้นติ บิ คุ คล ร้อยละ 50 เพิ่มเติมอีก 5 ปี ส�ำหรับกิจกำรเป้ำหมำย อำทิ กิจกำร ปรับปรุงพันธุ์พืช หรือสัตว์ (ที่ไม่เข้ำข่ำยกิจกำรเทคโนโลยีชีวภำพ) กิจกำรบริกำรออกแบบและพัฒนำผลิตภัณฑ์เชิงสร้ำงสรรค์ กิจกำร วิจัยและพัฒนำกิจกำรเทคโนโลยีชีวภำพ กิจกำรบริกำรทดสอบทำง วิทยำศำสตร์ เป็นต้น

อุตสาหกรรมอากาศยาน อุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ ได้รับสิทธิประโยชน์เดียวกับ Super Cluster ที่ประชุมมีมติเห็นชอบมำตรกำรส่งเสริมกำรลงทุน อุตสาหกรรม อากาศยาน และอุ ต สาหกรรมอุ ป กรณ์ อั ต โนมั ติ แ ละหุ ่ น ยนต์ โดย มำตรกำรลงทุ น อุ ต สำหกรรมอำกำศยำนครอบคลุ ม กิ จ กำรผลิ ต อำกำศยำน ผลิตชิน้ ส่วน/อุปกรณ์ อุตสำหกรรมสนับสนุน ทัง้ เครือ่ งมือ เครื่องจักร เครื่องมือวัด/ทดสอบและอุตสำหกรรมบริกำร รวมถึงกำร พัฒนำซอฟต์แวร์ ในอุตสำหกรรมอวกำศ อำกำศยำนเพื่อกำรขนส่ง อำกำศยำนไร้คนขับ เป็นต้น โดยก�ำหนดพืน้ ทีเ่ ป้ำหมำยของอุตสำหกรรม อำกำศยำนใน 14 จังหวัดที่เป็นที่ตั้ง หรือสนำมบิน ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปรำกำร นครปฐม ปทุมธำนี ฉะเชิงเทรำ ชลบุรี ระยอง เชียงรำย พิษณุโลก นครสวรรค์ ลพบุรี นครรำชสีมำ สุรำษฎร์ธำนี และสงขลำ ส�ำหรับกำรส่งเสริมลงทุน อุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่น ยนต์ สำมำรถตั้งกิจกำรได้ทุกพื้นที่ไม่มีกำรก�ำหนดพื้นที่เป้ำหมำย และ จะส่งเสริมตั้งแต่ผู้ผลิตชิ้นส่วน/อุปกรณ์ ผู้พัฒนำสมองกลซอฟต์แวร์ ผู้ผลิต Robots ผู้ผลิตระบบ Automation และกำรซ่อมบ�ำรุง เป็นต้น ทั้งนี้ ก�ำหนดให้อุตสำหกรรมอำกำศยำน อุตสำหกรรมอุปกรณ์ อัตโนมัติและหุ่นยนต์ เป็นอุตสำหกรรมเป้ำหมำยที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ เช่นเดียวกับ Super Cluster อำทิ ยกเว้นภำษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี และ ลดหย่อนร้อยละ 50 เพิม่ เติมอีก 5 ปี ต้องมีควำมร่วมมือกับสถำบันกำร ศึกษำ สถำบันวิจัย หรือศูนย์ควำมเป็นเลิศ และต้องยื่นค�ำขอรับส่งเสริม กำรลงทุนภำยในวันที่ 30 ธันวำคม 2559

ที่มา: ศูนย์บริกำรลงทุน ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน ส�ำนักนำยกรัฐมนตรี EXECUTIVE SUMMARY Thailand Board of Investment (BOI) announced the policy to promote investment in 3 groups of cluster that are Food Innopolis to grant A1 privilege together with zoning for Food Innopolis in Thailand Science Park area and turn into science and technology area to get an authority of Special Economic Zone. Also grant Common Interest and Super Cluster privilege Besides, the board of committee also agreed with investment promotion for Aviation, Automation and Robotics. The targeted areas for aviation clusters include 14 provinces; Bangkok, Lopburi, Chiang Rai, PathumThani, Chonburi, Rayong, Chacheongsao, Nakhon Ratchasima, Surat Thani, Songkhla, Samut Prakan, Nakhon Pathom, Phitsanulok, and Nakhon Sawan. For Automation and Robotics investment promotion area, there’s no targeted area but could start the business anywhere. The promotion will give support from part/equipment manufacturer, AI software, robot manufacturer, automation developer and maintenance for instance. For this purpose, Aviation, Automation and Robotics were designated as Targeted Industrial to get the privilege as Super Cluster and must submit the application in 30 December 2016. issue 159 May 2016


60 INDUSTRIAL ECOMONIC เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

จับตา 4 กลุ่มอุตสาหกรรม S-Curve ยานยนต์สมัยใหม่ - การแปรรูป - เชื้อเพลิงชีวภาพ - อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเป้าหมายที่เป็นกลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิ จ เนื่ อ งจากมี ศั ก ยภาพสู ง เป็ น ที่ ส นใจ ของนักลงทุนทั่วโลก และจะมีบทบาทส�าคัญใน การผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ ของไทยในอนาคตที่ น ่ า จับตา ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมเชือ้ เพลิงชีวภาพ ทั้ ง นี้ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม กระทรวง อุ ต สาหกรรม ได้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล สถิ ติ ก ารจด ประกอบและขยายโรงงานกลุ่ม S-Curve หรือ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ปี 2557 - 2559 ที่มี ศั ก ยภาพสู ง 4 ประเภทอุ ต สาหกรรม ได้ แ ก่ อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ มีตัวเลขมูลค่า การลงทุนรวมกว่า 2 แสนล้านบาท

ทั้งประเทศ

ปี 2558 ประกอบและขยาย

จ�านวน โรงงาน

คนงาน

เงินทุน (ล้านบาท)

จ�านวน โรงงาน

คนงาน

เงินทุน (ล้านบาท)

อุตสาหกรรม ยานยนต์

185

11,395

55,171.04

104

3,499

10,450.80

อุตสาหกรรม การแปรรูปอาหาร

401

13,603

34,789.38

443

16,638

75,473

อุตสาหกรรม เชื้อเพลิงชีวภาพ

23

568

10,026.87

24

584

7,162.29

อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์

122

9,530

21,827.56

131

11,722

14,527.95

731

35,096

121,814.85

702

32,443

107,614.04

รวม MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ปี 2557 ประกอบและขยาย


INDUSTRIAL ECOMONIC

อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next-Generation Automotive) มี จ� า นวนโรงงานที่ จ ดประกอบและขยาย จ�านวน 307 โรงงาน ถือเป็นรากฐานส�าคัญใน การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกว่า 40 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันมีมูลค่าถึง 5.8% ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ โดยกลุม่ จังหวัดทีม่ ี ขยายตัว อาทิ สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food For The Future) มี จ� า นวนโรงงานที่ จ ดประกอบและขยาย จ�านวน 985 โรงงาน มีการใช้แรงงานจ�านวน มาก มีมูลค่าการลงทุนปี 2557 - 2559 กว่า 117,019.46 ล้านบาท และมีการลงทุนด้านวิจัย และพัฒนาสูง โดยกลุ่มจังหวัดที่มีการขยายตัว อาทิ สมุทรสาคร ปทุมธานี และกรุงเทพฯ อุตสาหกรรมเชือ้ เพลิงชีวภาพและเคมีชวี ภาพ (Biofuels and Biochemicals) อุ ต สาหกรรมเชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพและเคมี ชี ว ภาพ มี จ� า นวนโรงงานที่ จ ดประกอบและ ขยาย จ�านวน 52 โรงงาน โดยจังหวัดที่มีการ เติ บ โต อาทิ อ่ า งทอง นครสวรรค์ บุ รี รั ม ย์ อุบลราชธานี นครศรีธรรมราช เป็นต้น เนื่องจาก เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีการคาดการณ์ว่าจะ เติ บ โตเร็ ว ในอนาคต และเป็ น อุ ต สาหกรรมที่ ประเทศไทยมีศกั ยภาพสูง เนือ่ งจากมีความพร้อม ทางด้ า นวั ต ถุ ดิ บ เช่ น การที่ ป ระเทศไทยเป็ น ผูส้ ง่ ออกมันส�าปะหลังรายใหญ่ทสี่ ดุ ของโลก และ มี อุ ต สาหกรรมเคมี แ ละอุ ต สาหกรรมเชื้ อ เพลิ ง เอทานอลที่พัฒนาแล้ว เป็นต้น

ปี 2559 ประกอบและขยาย จ�านวน โรงงาน

คนงาน

เงินทุน (ล้านบาท)

18

842

2,072.36

141

4,906

6,756.72

5

87

1,577.85

22

5,245

5,547.16

186

11,080

15,954.09

สถิติการจดประกอบและ ขยายโรงงานกลุ่ม S-curve ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 26 เม.ย. 2559

กลุ่มแปรรูปอาหาร จ�านวนโรงงานเพิ่มขึ้น 141 โรง คิดเป็นเงินทุน 6,756.72 ล้านบาท

กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ จ�านวนโรงงานเพิ่มขึ้น 22 โรง คิดเป็นเงินทุน 5,547.16 ล้านบาท

กลุ่มยานยนต์ จ�านวนโรงงานเพิ่มขึ้น 18 โรง คิดเป็นเงินทุน 2,072.36 ล้านบาท

กลุ่มเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ จ�านวนโรงงานเพิ่มขึ้น 5 โรง คิดเป็นเงินทุน 1,577 ล้านบาท

61

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Smart Electronics) มี จ� า นวนโรงงานที่ จ ดประกอบและขยาย จ�านวน 275 โรงงาน โดยกลุม่ จังหวัดทีม่ ขี ยายตัว อาทิ ชลบุรี สมุทรสาคร สมุทรปราการ นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ และแขนกล ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมในกลุ่ม News S-Curve ปัจจุบนั มีการจดประกอบโรงงาน จ�านวน 11 โรงงาน มีมูลค่าการลงทุนรวม 302.33 ล้าน บาท EXECUTIVE SUMMARY S-Curve Industrial Economic Ministry of Industry Thailand, Department of Industrial Works reveals the statistic of registered and expanding of S-Curve group in 2014 - 2016 of 4 efficiency industrial groups with high number of investment about 2 billion baht. The 4 groups are 1. Food Processing group with 985 factories that registered and expanding which employed large numbers of labor and also has investment in 2014-2016 about 117,019.46 million baht. This group also has an investment in R&D highly. The province that expanded for this group is Samut Sakhon, Pathum Thani and Bangkok. 2. Advance Automotive group has the numbers of registered and expanding about 307 factories. This group is an important basis of Thai economic development more than 40 years. Today, it has a GDP value 5.8%. The province that expanded for this group is Samut Prakan, Phra Nakhon Si Ayutthaya and Samut Sakhon. 3. Electronics group has the numbers of registered and expanding about 275 factories. The province that expanded for this group is Cholburi, Samut Sakhon and Samut Prakan. 4. Biofuel group has the numbers of registered and expanding about 275 factories. The province that expanded for this group is Ang Thong, Nakhon Sawan, Buriram, Nakon Si Thammarat and Ubon Ratchathani. Besides, the group of industrial Robotic and Robot Arm that is new S-Curve industrial group with 11 factories registered and expanding and total investment is 302.33 million baht.

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม issue 159 May 2016


62 PRODUCTIVITY TOOL เรื่อง: โกศล ดีศีลธรรม

‘Know how’

operation standard

เรือ่ งต้องรูข้ อง ‘มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน’ ปัญหาความสูญเปล่าภาคอุตสาหกรรมมักเกิด จากวิธกี ารท�างาน ดังนัน้ จึงไม่นา่ แปลกใจเมือ่ สังเกต การท�างานในสายการผลิตมักพบเห็นแรงงานก�าลัง มองหาเครือ่ งมือหรือชิน้ งานเพือ่ ใช้ในการปฏิบตั งิ าน ในสายการผลิต ท�าให้เกิดการเคลือ่ นไหวทีไ่ ม่ได้สร้าง คุณค่าเพิ่มหรือมูดะ ความสูญเปล่าดังกล่าวเกิดจากสาเหตุหลัก อาทิ การล�าดับการท�างานไม่เหมาะสม การจัดวางผังและ ขาดความชัดเจนในวิธีการท�างาน โดยเฉพาะการ สั่งงานปากเปล่าอาจท�าให้เกิดความผิดพลาดได้ เนื่องจากขาดความสมบูรณ์ในการสื่อความ ซึ่งต้อง ระบุรายละเอียดให้ชัดเจนและแสดงด้วยเอกสาร คู่มือการท�างานเพื่อให้ทุกคนด�าเนินการได้ถูกต้อง โดยทุกพื้นที่ปฏิบัติงานควรมีคู่มือหรือมาตรฐาน การท�างานเพื่อให้ปฏิบัติงานตามระเบียบวิธีการที่ แสดงไว้

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ส� า หรั บ การจั ด ท� า มาตรฐานการ ท�างานควรเริม่ ด้วยการจ�าแนกระหว่างงาน ที่ด�าเนินการด้วยแรงงานมนุษย์กับงานที่ แปรรูปด้วยเครื่องจักร ดังนั้น มาตรฐาน ปฏิบตั งิ านจึงไม่เพียงแค่มงุ่ ความปลอดภัย และคุณภาพผลิตผลเท่านั้น แต่หลีกเลี่ยง ปัญหาการผลิตมากเกินความจ�าเป็นทีเ่ ป็น จุดเริ่มต้นในกิจกรรมไคเซ็นซึ่งมีบทบาท ยกระดับผลิตภาพ


PRODUCTIVITY TOOL 63

มาตรฐานต่างๆ จ�าแนกตามประเภท ดังนี้

– มาตรฐานเครื่องจักร เช่น อัตราการเดินเครื่อง ต�าแหน่งการจัดวางเครื่อง ข้อควรระวัง เป็นต้น ข้อมูล เหล่านี้จะถูกใช้ก�าหนดแนวทางท�างานและบ�ารุงรักษาอย่างถูกต้อง – มาตรฐานเครื่องมือ โดยจัดกลุ่มเครื่องมือให้เป็นมาตรฐานและแสดงรายละเอียดลักษณะการใช้งานของ เครือ่ งมือแต่ละประเภททีเ่ หมาะสมเพือ่ ลดปัญหาการช�ารุดก่อนเวลาอันควร รวมทัง้ ระบุตา� แหน่งการจัดเก็บทีช่ ดั เจน เพื่อสะดวกต่อการเบิกใช้และจัดเก็บตามต�าแหน่งเดิม – มาตรฐานทางวัสดุและชิ้นส่วน ได้แก่ มาตรฐานทางคุณภาพและข้อก�าหนดการใช้งาน ซึ่งพิจารณาจาก ปัจจัยเกี่ยวข้อง อาทิ ข้อก�าหนดการออกแบบ ระดับสต็อก วัสดุทดแทน ตารางก�าหนดการผลิต ช่วยให้ผู้ผลิต สามารถเลือกใช้วัสดุหรือชิ้นส่วนได้เหมาะสมตามข้อก�าหนด ดังนั้น การจัดท�ามาตรฐานดังกล่าวจึงมีการรวมชิ้นส่วนที่สามารถใช้กับการผลิตหลากหลายรุ่น ด้วยการจัด ท�าให้เป็นมาตรฐานที่สามารถใช้ร่วมกัน ซึ่งส่งผลให้เกิดความประหยัดจากขนาดในการจัดซื้อและการผลิต – มาตรฐานขัน้ ตอนและวิธกี ารผลิต โดยมีการระบุรายละเอียดล�าดับขัน้ ตอนแต่ละกระบวนการและระบุปจั จัย หรือทรัพยากรที่จ�าเป็น เช่น ระบุประเภทเครื่องมือตัด ความเร็วการตัด อัตราการป้อนชิ้นงาน ความยาวตัดชิ้น งาน เวลามาตรฐาน เป็นต้น – มาตรฐานเงื่อนไขสภาพการท�างาน เป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อประสิทธิภาพการท�างานทั้งในด้านแรงงาน เครื่องจักร และกระบวนการ อาทิ อุตสาหกรรมอาหารที่ต้องมีการควบคุมปัจจัยความชื้นและอุณหภูมิเพื่อไม่ให้ เกิดความผันแปรทางคุณภาพ นอกจากนี้ เงื่อนไขสภาพแวดล้อมยังมีผลต่ออัตราการท�างานและการเสื่อมสภาพเครื่องจักร ดังนั้น จะต้อง ระบุเงื่อนไขสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยหลักให้เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการท�างาน – มาตรฐานบุคลากร แสดงรายละเอียดคุณสมบัติและรายละเอียดงาน ของแต่ละต�าแหน่งเพื่อเป็นเกณฑ์คัด เลือกและก�าหนดอัตราค่าจ้างที่เหมาะสม – มาตรฐานความปลอดภัย เพือ่ ให้เกิดสภาพการท�างานทีม่ คี วามปลอดภัยต่อแรงงานและลดความเสียหาย ที่อาจเกิดจากการท�างาน โดยก�าหนดตัวชี้วัดด้วยอัตราความถี่การเกิดอุบัติเหตุ

แนวทางด�าเนินการ Visual System

ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารใช้ แ ผนภาพ แผนภู มิ ฉลาก สติ๊กเกอร์ และสัญลักษณ์ที่แพร่หลาย ในกิจกรรมการผลิต เรียกว่า ‘Visual System’ เพื่ อ ใช้ สื่ อ ความหมายและแจ้ ง สารสนเทศ ส�าคัญให้กับพนักงานอย่างรวดเร็ว โดยมุ่งลด อัตราเกิดอุบัติเหตุและสนับสนุนให้กิจกรรม บ� า รุ ง รั ก ษาเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ซึ่ ง ครอบคลุมประเด็นหลัก ได้แก่ ตัวเครื่องจักร ห้ อ งสโตร์ พื้ น ที่ ท� า งาน เอกสารคู ่ มื อ วิ ธี ปฏิบัติงานและคู่มือการบ�ารุงรักษา ส่วนองค์ ประกอบหรือโครงสร้างเครื่องจักรใหม่ควรมี การติดฉลากหรือสติกเกอร์ก่อนน�าเข้าติดตั้ง ภายในโรงงานเพือ่ ให้ชา่ งผูต้ ดิ ตัง้ และฝ่ายบ�ารุง รักษาสะดวกต่อการท�างาน

1. ระบุเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์แสดงข้อก�าหนดการใช้งานที่เหมาะสม เช่น อุณหภูมิ ความดัน ความเร็ว 2. แสดงด้วยรหัส แถบสี หรือการใช้เครือ่ งหมายแสดงระดับความปลอดภัย 3. การระบุต�าแหน่งการเติมน�้ามันหล่อลื่นไว้ชัดเจน 4. การติดรหัสหรือแถบสีเพือ่ จ�าแนกประเภทสารหล่อลืน่ และความถีก่ ารเติม น�้ามัน รวมทั้งรายละเอียดข้อควรระวัง 5. การติดรหัสเครื่องหมายเพื่อแสดงองค์ประกอบการถอดเปลี่ยนเพื่อลด เวลาที่ใช้ค้นหา เช่น สายพาน ตัวกรอง โซ่ 6. การติดรหัสเครื่องหมายแสดงอุปกรณ์หรือสายไฟ เพื่อสะดวกต่อการ แก้ ไขปัญหา 7. การใช้ปา้ ยแสดงปัญหา เพือ่ ระบุตา� แหน่งทีเ่ ครือ่ งจักรเกิดปัญหาขัดข้อง 8. ท�าเครื่องหมายแสดงจุดที่เหมาะสมเพื่อการขันยึด 9. ก�าหนดชื่อและรหัสแต่ละองค์ประกอบเครื่องจักร เช่น วาล์ว เกจวัด 10.การแสดงระดับเหลวเพื่อชี้บ่งสภาพการใช้งานที่เหมาะสม

ตัวอย่างป้ายแสดงปัญหา

issue 159 MAY 2016


64 PRODUCTIVITY TOOL

ส�าหรับภายในห้องสโตร์ควรก�าหนดรหัสและต�าแหน่งจัดวางสต็อกทีจ่ า� เป็น โดยมีเอกสารควบ คุมสต็อกพร้อมรายละเอียด เช่น เลขที่ รหัส ระยะเวลาน�าการสัง่ ซือ้ รายชือ่ ผูจ้ า� หน่าย ส่วนการจัด ท�าเอกสารคูม่ อื ปฏิบตั งิ านควรแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านประจ�าวัน เช่น ความถีก่ าร ท�าความสะอาด การหล่อลืน่ บทบาทผูป้ ฏิบตั งิ าน วิธกี ารตัง้ เครือ่ ง วิธกี ารแก้ปญ ั หา การหยุดเดิน เครือ่ งจักรฉุกเฉิน แผนภาพต�าแหน่งการตรวจสอบ ภาพแสดงวิธกี ารตรวจสอบและปรับตัง้ เครือ่ ง รวมทั้งค�าอธิบายประกอบในเอกสาร โดยคู่มือปฏิบัติงานควรแสดงรายละเอียดส�าคัญเกี่ยวกับ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ ได้แก่ โครงสร้างชิ้นส่วน หรือ BOM อะไหล่ที่ใช้ประจ�า รายการที่ใช้ระยะเวลา สั่งซื้อนาน รายชื่อตัวแทนจ�าหน่าย

ข้อมูลทางเทคนิค – – – – – –

ข้อมูลทางเทคนิคเชิงลึกส�าหรับแก้ ไขปัญหาเครื่องจักรขัดข้อง วิธีการตั้งศูนย์และการสอบเทียบ ค�าแนะน�าเกี่ยวกับการหล่อลื่น เช่น ความถี่การเติมน�้ามัน ประเภทสารหล่อลื่นที่ใช้ หลักการปฏิบัติงานบ�ารุงรักษาที่ถูกต้องและข้อควรระวังขณะปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ เทคนิควิธีการประกอบหรือถอดเปลี่ยนขณะท�าการซ่อมบ�ารุง เครื่องมือพิเศษที่จ�าเป็นและอุปกรณ์ความปลอดภัย

“ผูผ้ ลิตและส่งออกอุปกรณ์อเิ ลคทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ทมี่ คี วามหลากหลาย ในผลิตภัณฑ์ ท�าให้รูปแบบการผลิตต่างจากอุตสาหกรรมที่ผลิตสินค้าค่อนข้าง เป็นมาตรฐานและความหลากหลายในประเภทผลิตภัณฑ์ท�าให้มีการจัดสายการ ผลิตทีม่ คี วามยืดหยุน่ เพือ่ รองรับต่อค�าสัง่ ซือ้ ลูกค้าทีม่ คี วามหลากหลายและการ จัดท�ามาตรฐานกระบวนการ” 1. โดยผูจ้ ดั การฝ่ายผลิตได้วางแผนร่วมกับฝ่ายจัดซือ้ และการตลาด เพือ่ น�าข้อมูลค�าสัง่ ซือ้ มาประเมินก�าลังการผลิตและค�านวณหาเวลาทีส่ ามารถตอบสนองหรือแทกค์ ไทม์ โดยมุ่ง ส่งมอบให้ทันตามก�าหนดการหรือช่วงเวลาน�าการส่งมอบสินค้า 2. มีการออกแบบสายการผลิตแบบเซลล์และจัดสรรภาระงานให้แรงงานแต่ละคนภายใน เซลล์ เพือ่ สร้างสมดุลระหว่างแรงงานกับเครือ่ งจักร โดยมีการแสดงรายละเอียดข้อมูลเกีย่ วกับ ขั้นตอนการท�างานด้วยหลักการมองเห็น ในพื้นที่ท�างานทั้งโรงงานเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ งานที่ถูกต้องและลดอัตราการเกิดของเสีย

EXECUTIVE SUMMARY Industrial factory need right standard for operating to reduce loss from improper working procedure. To solve the problems that might occur, set the standard for all operation, such as, machinery standard, tools standard, parts and materials standard, workflow and procedure standard, working condition standard, human resources standard and security standard. Visual System is one of the methodology to communicate and inform the essential information to the operator to reduce accidental rates and support maintenance activities with efficiency.

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE



C.G.S. (Thailand) Co., Ltd. 789/18 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป

เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 ประเทศไทย Tel : +66(0) 2369-2990-4 Fax : +66(0)2369-2763-5 Email : cgsthai.reboard@gmail.com และ rain10310@gmail.com Website : http://www.cgsreboardthai.com/ Facebook : facebook.com/ReboardDesign


เรือ่ ง: สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ PRODUCTIVITY TOOLS

67

การบริหารสมรรถนะ ใน 3 ระดับ

การที่จะท�าให้ผู้บริหารสามารถบริหารงานและเปลี่ยนผ่านองค์กร จากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึง่ ในทิศทางทีส่ มรรถนะดีขนึ้ นัน้ ทุกคนในทีมผูบ้ ริหารจะต้องมี ภาพของธุรกิจที่ มองเห็น สัมผัสได้และสะท้อนสถานการณ์ในปัจจุบัน ใน 3 ระดับ ได้แก่

1 2 3

ระดับนโยบาย (Policy Level)

จุดมุ่งหมายขององค์กรและลูกค้า จะใช้เป็นตัวขับเคลื่อนสมรรถนะขององค์กร เหตุการณ์นี้มักพบเห็นได้ทั่วไปในองค์กร ที่ขาดการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ลงไปในระดับล่าง เป็นผลให้สิ่งที่ผู้ปฏิบัติหรือส่วนงานต่างๆ กระท�ากันนั้น หลายครั้ง ไม่สอดรับกับทิศทางที่องค์กรก�าลังจะก้าวไป แม้กระทั่งความต้องการของลูกค้า เสียงบ่น หรือข้อร้องเรียนของลูกค้า ก็มักจะถูกละเลย

ระดับกระบวนการ (Process Level)

ภายใต้ระบบเปิด ที่มองเห็นว่าอะไรคือปัจจัยน�าเข้า (Inputs) และอะไรเป็นผลลัพธ์ที่ส่งออก (Outputs) โดยแต่ละ องค์ประกอบได้รบั อิทธิพล หรือมีผลกระทบต่อกัน อธิบายเพิม่ เติมให้งา่ ยๆ ก็คอื องค์กรตามแนวคิดเดิมทัว่ ไป มักจะอยูก่ นั เป็นเอกเทศ หรือแบ่งส่วนการท�างานแบบไม่เกี่ยวข้องกัน โดยไม่พยายามจะเข้าไปรับรู้หรือเรียนรู้ส่วนอื่นๆ แต่ละ องค์ประกอบหรือแต่ละส่วนงาน ไม่ได้ปฏิบตั กิ นั ประหนึง่ ผูส้ ง่ มอบ (Suppliers) และผูร้ บั มอบงาน (Customers) เป็นทอดๆ จึงท�าให้ขาดความตระหนักต่อคุณภาพของงาน ที่ส่งมอบ และไม่ใส่ใจกระบวนการถัดไป

ระดับผู้ปฏิบัติงาน (Performer Level)

ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ภายในองค์กรมีความส�าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน แต่ละส่วนงานมักคิดว่า หน่วยงานตนเองส�าคัญ ภารกิจหน้าที่หรือเป้าหมายที่ได้รับมอบหมายมานั้นส�าคัญที่สุด จึงมุ่งที่จะท�าเพื่อให้บรรลุ งานของตนเองเท่านั้น แต่ความเป็นจริงความส�าเร็จขององค์กร อาจไม่ได้อยู่แค่เพียงการบรรลุเป้าหมายของส่วนใด ส่วนหนึ่งเท่านั้น หากแต่มีเป้าหมายบางส่วนที่ต้องเกิดจากความร่วมมือระหว่างกัน ซึ่งผลงานนี้มักจะมีผลกระทบสูง ต่อการแข่งขันทางธุรกิจ แต่ส่วนใหญ่มักมองข้ามไป

สมรรถนะใน 3 ระดับดังกล่าวนี้ จะท�าให้มีพลวัต ในการขับเคลื่อนสูง (Dynamic System Model : DSM) สามารถจัดการทุกหน่วย ธุรกิจภายในองค์กร ให้ง่าย ในการตรวจติดตาม และมีความสามารถการแข่งขัน ที่สูงขึ้น

EXECUTIVE SUMMARY To make the executive operating with more efficiency, each and everyone in executive team must have seen the picture of business clearly. They must feel and reflect the current situation into 3 levels that are Policy, Process and Performer. The organization will be driven with Dynamic System Model to manage every business unit inside with clearly investigation and competitive capability improvement.

issue 159 may 2016


68 REAL LIFE เรื่อง: กองบรรณาธิการ

คุณเจน น�ำชัยศิริ

‘สมดุลชีวิต คิดบวก พลังสู่ควำมส�ำเร็จ’

BALANCING-BEING POSITIVE A ROAD TO GLORY ในวงการอุตสาหกรรมบ้านเรา เชื่อว่าหลายๆ คนคงคุ้นหน้าคุ้นตากันเป็นอย่างดี ส�าหรับชายที่ชื่อ เจน น�ำชัยศิริ ที่เข้ารับต�าแหน่งประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยคนใหม่หมาดๆ ส่วนใครที่รู้บ้าง แต่ยังไม่ลึก วันนี้เราจะพาไปล้วงลึกชีวิตทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลัง รวมไปถึงแนวคิด ส�าคัญที่ท�าให้เขาประสบความส�าเร็จจนเป็นนักบริหารแถวหน้าของวงการอุตสาหกรรมไทยและเป็นที่ เคารพรักของคนรอบข้างกัน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE


REAL LIFE 69

คนเรา

สามารถเรียนรู้เรื่องใหม่ ได้ทุกวันจากแรงบันดาลใจ ความคิดแปลกใหม่ ที่ผุดขึ้นมาในห้วงความคิด ชีวิตบนเส้นทาง “วงการอุตสาหกรรม” เส้นทางชีวิตของ คุณเจน น�าชัยศิริ มีความ โดดเด่นและน่าจับตามองไม่น้อย จากเด็กผู้ชาย ธรรมดาๆ คนหนึ่งที่จบจากโรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก จนสามารถคว้าปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ปริญญาโท M.D.I.E., M.S.M.E สาขาวิศวกรรม เครื่องกลและวิศวกรรมอุตสาหการจาก Stanford University, California ประเทศสหรัฐอเมริกามาได้ หลังจากเรียนจบด้วยคุณสมบัตทิ เี่ พียบพร้อม ร่วมกับทัศนคติในการท�างานที่โดดเด่น คุณเจน จึงได้รับความไว้วางใจให้ด�ารงต�าแหน่งซึ่งล้วน แล้วแต่เป็นต�าแหน่งที่ไม่ใช่ว่าใครก็ท�าได้ อาทิ ต�าแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน (องค์การมหาชน) กระทรวงพลั ง งาน กรรมการพิ จ ารณาการจั ด ท�าหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล (พลังงาน เศรษฐศาสตร์ สิ่ง แวดล้อม) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผู้แทนสถาบัน พลั ง งานฯ ในคณะกรรมการพิ จ ารณากิ จ การ บริการด้านจัดการพลังงานในโครงการส่งเสริม การลงทุนประหยัดพลังงานและการใช้พลังงาน ทดแทน รองประธานคณะกรรมการบริ ก าร สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม นอกจากนี้ คุ ณ เจน ยั ง มี โ อกาสได้ เข้ า มาท� า งานที่ ส ภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยอย่างเต็มตัว ใน ฐานะประธานคณะกรรมการ สถาบันน�า้ เพือ่ ความ ยั่งยืน ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประธาน คณะกรรมการพลั ง งาน สถาบั น พลั ง งานเพื่ อ อุตสาหกรรม ส.อ.ท. จากการเคี่ยวกร�าอยู่ในวงการอุตสาหกรรม มาอย่างยาวนานท�าให้ คุณเจน ได้รบั การยอมรับ จากผู้คนรอบด้านอย่างปฏิเสธไม่ได้ โดยปัจจุบัน คุณเจน ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งมีแนวคิด ในการผลักดันภาคอุตสาหกรรมไทยให้เข้าสู่ยุค ดิจิทัลอย่างเต็มตัว ผู้บริหารอุตสาหกรรมยุคใหม่ หลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ ต� า แหน่ ง ประธาน ส.อ.ท. คุณเจน ก็มีเป้าหมายและพันธกิจที่สร้างความ มั่นใจให้กับสมาชิกไม่น้อย กับแนวนโยบายหลัก ที่จะด�าเนินการวาระปี พ.ศ. 2559 - 2561 ที่ ต้องการที่จะขับเคลื่อนให้เป็นสถาบันหลักของ

ภาคอุตสาหกรรมที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี เป็นที่พึ่ง ของนั ก อุ ต สาหกรรม และคงไว้ ซึ่ ง สถาบั น ที่ มี ความเข้มแข็ง มุ่งที่ประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก และให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ และเอกชนอย่างสร้างสรรค์ โดยปราศจากการ แทรกแซงทางการเมื อ งภายใต้ ค� า ขวั ญ ที่ ว ่ า … ‘อุตสาหกรรมเป็นมิตร ช่วยเศรษฐกิจ ช่วย ชาติ’ แนวคิดข้างต้นนี้เกิดขึ้นจากการที่ คุณเจน เห็นว่า ภาคอุตสาหกรรมมีส่วนส�าคัญต่อการ เติบโตของประเทศโดยเฉพาะการส่งออกที่คิด เป็น 50% ของการผลิตรวม และยังเป็นภาคที่ สร้างรายได้ในสัดส่วนถึง 40% ของจีดีพี โดยมี ยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรม 6 ด้านที่เข้มแข็ง พร้อมจะผลักดันให้เกิดการบูรณาการแก่วงการ อุตสาหกรรมไทย

1 23 45 6

6 ยุทธศาสตร์ เพื่อการบูรณาการอุตสาหกรรมไทย สร้างขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทย ด้วยประสิทธิภาพ ผลิตภาพ และนวัตกรรม

พัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้ยั่งยืน ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้มแข็งของอุตสาหกรรมไทย ด้วยการรวมกลุ่มคลัสเตอร์

สร้างโอกาสให้อุตสาหกรรมไทยใช้ประโยชน์ จากการเจรจาการค้า พัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับศักยภาพของ อุตสาหกรรมไทย

ร่วมกับภาครัฐในการสร้างปัจจัยเอื้อต่อ ภาคอุตสาหกรรม issue 159 May 2016


70 REAL LIFE

ยุทธศาสตร์ดงั กล่าวมีกลไกในการขับเคลือ่ นที่ ส�าคัญ 4 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มเสริมสร้างความ สามารถในการแข่งขัน เช่น สถาบันรหัสสากล สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ อุตสาหกรรม สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ เป็นต้น (2) กลุ่มสัมพันธ์สมาชิก เช่น งานกิจการสภา อุตสาหกรรมจังหวัด งานสมาชิกสัมพันธ์ งานส่ง เสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม (3) กลุ่มปัจจัย พื้นฐาน เช่น งานเศรษฐกิจ งานส่งเสริมการ ค้าการลงทุน งานวิชาการ งานส่งเสริมการค้า ชายแดนและเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ งาน โลจิสติกส์ งานกฎหมาย ฯลฯ และ (4) กลุ่ม สื่อสารสาธารณะ เช่น งานประชาสัมพันธ์ งาน รายได้ งานกิจกรรมเพื่อสังคม มั่นใจ SME ไทยไปรอดได้ด้วยดิจิทัล ด้วยยุคนี้เป็นยุคแห่งดิจิทัล การปรับตัวให้ ทันโลกจึงเป็นสิ่งส�าคัญ เหตุนี้เอง คุณเจน จึง มีทัศนคติเปิดกว้างและยอมรับโลกดิจิทัลอย่าง เต็มตัว เพราะเชื่อว่าการน�าอินเทอร์เน็ตเข้ามา ผสานกับงานอุตสาหกรรมจะช่วยยกระดับวงการ อุตสาหกรรมไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณเจน ได้เน้นย�้าให้สมาชิก เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ของ SME ซึ่ง คุณเจน เชื่ออย่างแรงกล้าว่า กลุ่ม SME เป็นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันอุตสาหกรรม เพื่ อ การเกษตรแล้ ว ยิ่ ง ต้ อ งส่ ง เสริ ม ให้ ม ากขึ้ น เพราะภาคเกษตรมีส่วนช่วยในการท�าให้เกิดราย ได้แก่ประเทศ โดย คุณเจน ได้วางแนวทางส่ง เสริมและพัฒนา 3 กลุ่มภาคเกษตร ได้แก่ กลุ่ม ผู้ผลิตอาหาร กลุ่มพลังงาน กลุ่มวัสดุ และไบโอ พลาสติก โดยเพิ่มผลิตภาพด้านแรงงาน (Labor Conductivity) ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมกับภาค อุตสาหกรรม เพิม่ มูลค่าผลผลิตให้สงู ขึน้ นอกจากนี้ ยังเน้นการน�าเทคโนโลยี นวัตกรรมต่างๆ เข้ามา บูรณาการกับภาคอุตสาหกรรม (Industry 4.0) ให้มคี วามทันสมัยและเชือ่ มโยงกันมากขึน้ ภายใต้ คอนเซ็ปต์ของโลกไร้พรมแดน หรือ Internet of Things “แนวคิดนี้เหมาะสมกับโลกปัจจุบันที่กลาย เป็นเศรษฐกิจยุคดิจิทัล (Digital Economy) ไป แล้ว ดังนั้น ภาคอุตสาหกรรมจึงจ�าเป็นต้องปรับ บทบาทจากยุ ค แอนะล็ อ กสู ่ โ ลกแห่ ง ดิ จิ ทั ล ให้ มากขึ้น ซึ่งได้มีการจัดตั้งโครงการน�าร่องเพื่อให้ สมาชิกได้เห็นถึงบทบาทและความส�าคัญของ ดิจิทัลที่มีส่วนช่วยในมิติต่างๆ อาทิ ลดต้นทุน คุณภาพ การตลาด (e-Market Place) ซึ่งจะเพิ่ม ขีดความสามารถแก่อุตสาหกรรมได้ในอนาคต” คุณเจน กล่าว

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บริหารงานอย่างมีความสุข... ด้วยหลัก “ยอมรับ เข้าใจ ให้เกียรติ” คนแต่ ล ะคนย่ อ มมี ต ้ น แบบส� า คั ญ ในการ ด�าเนินชีวิตที่ต่างกันออกไป ด้าน คุณเจน นั้นได้ น�าแนวพระราชด�ารัสของสมเด็จย่ามาเป็นต้นแบบ ส�าคัญยิ่งในการบริหารจัดการองค์กร คือ ต้องท�า หน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุดไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ทาง ด้านใด ทั้งด้านส่วนตัว หรือหน้าที่การงาน เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ คุณเจน กล่าวว่า “การทีเ่ ข้าไป เป็นสมาชิกหรือกรรมการขององค์กรใดก็ตาม เรา ต้องท�าหน้าที่ให้ดีที่สุด การเป็นผู้น�าผมยึดหลัก ว่าต้องรู้กว้าง มองไกล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการ

ถ้ำสำมำรถ

ท�าตัวให้เป็นประโยชน์ ได้ ถือว่าเป็น ผลงานที่พึงพอใจแล้ว เพราะผมไม่ ได้ มุ่งหวังความยิ่งใหญ่


REAL LIFE

พิจารณาตัดสินใจทั้งเรื่องงานและเรื่องคน การที่ เราตัดสินเรื่องคนเป็นเรื่องที่ส�าคัญที่สุด ต้องรับ ข้อมูลให้กว้างเพราะการวางแผนหรือการท�างาน ใดๆ ในการก�าหนดทิศทางผูบ้ ริหารมีหน้าทีต่ ดั สิน ใจ มีหน้าที่แก้ไขข้อขัดแย้งต่างๆ แต่ต้องตัดสิน ด้วยความเป็นธรรม” ตลอดระยะเวลากว่า 18 ปีของการบริหารงาน การได้ท�างานร่วมกับคนหลากหลายรูปแบบ จึง บ่มเพาะให้ คุณเจน เป็นอีกหนึ่งนักบริหารที่ให้ ความส�าคัญกับคนทุกคน โดยยึดหลัก ‘ยอมรับ เข้าใจ ให้เกียรติ’ มาเป็นแนวทางการบริหารที่ ยังคงยึดถือมาจนปัจจุบัน เพราะเชือ่ ว่า คนทุกคนต่างมีความคิดเป็นของ ตนเอง ไม่มีใครคิดเหมือนกันไปเสียหมด ดังนั้น การยอมรับ เข้าใจ และให้เกียรติ แก่คนทุกคน จะ ช่วยให้การท�างานเกิดความราบรื่น ที่ส�าคัญ คือ เมื่อเรามอบสิ่งเหล่านั้นให้แก่ผู้อื่น ที่สุดแล้วเราก็ ย่อมจะได้รับสิ่งนั้นกลับคืนมาเช่นกัน… สมดุลของชีวิต คือสูตรความส�าเร็จ เมื่อพูดถึงความสุขในชีวิต หลายๆ คนอาจ นึกถึงการได้ไปเที่ยว การอยู่กับครอบครัว การได้ ในสิ่งที่อยากได้ แต่ส�าหรับ คุณเจน แล้ว ความ สุขไม่ได้อยู่ที่ความต้องการของตัวเอง แต่ความ สุข คือ การได้ท�าหน้าที่ให้ดีหรือท�าตนให้เป็น ประโยชน์เพื่อองค์กร และสังคมทุกๆ วัน ซึ่ง การท�าสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้ถือเป็นผลส�าเร็จและ ความภูมิใจที่เพียงพอแล้วส�าหรับการด�าเนินชีวิต ในแต่ละวัน “ถ้ า สามารถท� า ตั ว ให้ เ ป็ น ประโยชน์ ไ ด้ ถือว่าเป็นผลงานที่พึงพอใจแล้ว เพราะผมไม่ ได้มุ่งหวังความยิ่งใหญ่” เป็นค�ากล่าวลึกซึ้งที่ คุณเจน ได้กล่าวระหว่างการสนทนา อีกสิ่งหนึ่งที่ คุณเจน ท�าโดยตลอดตั้งแต่วัย เด็ก วัยท�างาน และยังคงปฏิบตั อิ ยูเ่ ป็นประจ�า คือ

71

การพัฒนาตนเองเพื่อชีวิตที่สมดุล คุณเจน เชื่อ ว่าคนเราสามารถเรียนรู้เรื่องใหม่ได้ทุกวัน จาก แรงบันดาลใจ ความคิดแปลกใหม่ ที่ผุดขึ้นมาใน ห้วงความคิด ดังนั้น การพัฒนาตนเองจะท�าให้ สามารถปรับปรุงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นกับชีวิตทั้ง ในแง่การบริหารงานและการใช้ชีวิตประจ�าวันได้ ส่วนสูตรความส�าเร็จที่น�ามาเติมเต็มสมดุล ของความสุข คือ ‘สติ’ ใช้สติให้มากที่สุด เข้าใจ เหตุและผล เท่านี้ก็จะเป็นภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ได้ในทุกเรื่อง เพียงเท่านี้ก็จะท�าให้พบกับความ สุขได้ทุกวัน บนเส้นทางสายบริหารหลายๆ คนอาจ นึ ก ถึ ง การแบกรั บ ภาระอั น ใหญ่ ห ลวง แต่ ส�าหรับ คุณ เจน น�าชัยศิริ การบริหาร คือ การสร้างสมดุลทางความคิดเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ สร้างความเข้าใจ และเหนืออื่นใด คือ ช่วยบ่มเพาะความสุขให้กับคนท�างานในทุกๆ ต�าแหน่ง อ่านถึงตรงนี้ เชือ่ ว่า คุณเจน น�าชัยศิริ เป็น บุคคลตัวอย่างอีกคนหนึ่งที่สามารถสร้างแรง บันดาลใจในการด�าเนินชีวิตและการท�างาน ให้หลายๆ คนเข้าใจถึง ‘สมดุลของชีวิต’ ที่แท้ จริงได้อย่างดี

กำรยอมรับ

เข้าใจ และให้เกียรติ คนทุกคน จะช่วยให้การ ท�างานเกิดความราบรื่น

EXECUTIVE SUMMARY This is the age of digital and adaptation is an essential issue to survive in the modern times. Mr. Jane Namchaisiri as the latest Chairman of Federation of Thai Industries with open mind and vision of the future, acceptance with digital age. He believes that the internet could participate in manufacturing and enhance it with long-term efficiency. Mr. Jane has emphasized that the group member should improve their SME competition’s capability. He believes that SME is a significant power to drive national economic, especially for Institute of Agro-based Industries because the agriculture are also raised national income. Mr. Jane has set a policy to encourage and support 3 groups of agriculture as food production group, energy group, material and bioplastic group with labor conductivity improvement to be appropriate with the industrial sector and also raise productivity value. With technology integration like Industry 4.0, the agriculture will be modernise and more relate to the other sector under the concept of no boundary world or Internet of Things.

issue 159 May 2016


72 RENEWABLE ENERGY เรื่อง: พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

HI-TECH CANADA ชีวมวลอัดแท่ง-รถยนต์ ไฟฟ้า-นิวเคลียร์ฟิวชั่น

เทคโนโลยีด้านพลังงานและพลังงาน ทดแทนของประเทศแคนาดาในสายตาของ นักเทคโนโลยีไทยแล้ว ดูจะเป็นเรือ่ งใหม่อยู่ เนือ่ งจากประเทศไทยมักจะได้รบั เทคโนโลยี ดังกล่าวจากทางยุโรป อเมริกา และประเทศ ญี่ปุ่น ส่วนประเทศแคนาดาเองดูเหมือนว่า อยู่ไกลจากพลังงานทดแทน ถึงแม้จะไม่ใช่ ประเทศร�่ารวยมากก็ตาม แต่ก็อยู่ดีมีสุขกับ การขายก๊าซธรรมชาติจ�านวนมหาศาล ซึ่ง เพียงพอเพื่อใช้เพื่อขายอีกกว่า 150 ปี แต่ เมื่อไม่กี่ปีมานี้ แคนาดาเริ่มถูกประเทศคู่ค้า ปฏิเสธการรับซือ้ ก๊าซธรรมชาติโดยมีสาเหตุ หนึ่งจากการที่แคนาดาขาดมาตรการการ ช่วยลดภาวะโลกร้อน ประกอบกับผู้บริหาร ประเทศแคนาดาได้มีการเปลี่ยนขั้วจากชุด เดิมซึง่ บริหารประเทศมากว่า 40 ปี พลังงาน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ทดแทนของแคนาดาจึงกลายเป็นเสมือน วาระแห่งชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในนคร แวนคูเวอร์ เมืองใหญ่อนั ดับ 3 ของประเทศ แคนาดา โดยคณะกรรมการด้านเศรษฐกิจ ของเมืองได้ใช้ค�าขวัญว่า ‘I’m Building a Green Economy’ จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว ทางสถานทู ต แคนาดาประจ� า ประเทศไทย จึ ง ร่ ว มกั บ กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พาคณะนัก ธุรกิจด้านพลังงานทดแทนเข้าเยี่ยมชมงาน GLOBE 2016 มหกรรมงานแสดงเทคโนโลยี พลังงานทดแทน ณ นครแวนคูเวอร์ ระหว่าง วันที่ 28 กุมภาพันธ์ – 7 มีนาคม 2559 งาน GLOBE 2016 มีค�าขวัญว่า Sustainability and Innovation Conference งานนี้อาจ

ไม่ยงิ่ ใหญ่เหมือนงานแสดงเทคโนโลยีระดับ โลกในที่อื่น ๆ เนื่องจากยังใหม่ในวงการ งานแสดงเทคโนโลยี และอีกประการหนึ่ง คื อ ประเทศแคนาดาอยู ่ ไ กลจากนั ก ซื้ อ เทคโนโลยี ใ นเอเชี ย รวมถึ ง ประเทศไทย ด้วย การไปดูงานครั้งนี้ได้ความอนุเคราะห์ จากหลายหน่วยงานและได้มีโอกาสดูงาน ในสถานที่ ที่ น ่ า สนใจหลายแห่ ง หนึ่ ง ใน ไฮไลท์ของทริปนี้ก็คือ นิวเคลียร์ฟิวชั่น เทคโนโลยีสะอาดและปลอดภัยในการผลิต ไฟฟ้าที่พร้อมเข้าสู่เชิงพาณิชย์ในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้านี้ ด้านสรุปเนื้อหาทางเชิงวิชาการ ได้รับความร่วมมือจาก ดร.อ�ำพล อำภำ ธนำกร ผู้จัดการโครงการฝ่ายยุทธศาสตร์ นวัตกรรม ส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) ซึง่ ได้รว่ มคณะในครัง้ นีด้ ว้ ย


RENEWABLE ENERGY 73

บริษัท General Fusion Inc. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นแท้ที่จริงแล้ว คือ กลไกการสร้างพลังงานจากดวงอาทิตย์ อาจกล่าวได้วา่ ระบบแสงอาทิตย์เป็นแหล่ง สร้างพลังงานฟิวชั่นที่ใหญ่สุดก็ว่าได้ ซึ่ง พลังงานของดวงอาทิตย์เกิดจากปฏิกิริยา การรวมตัวกันของไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม และ เกิดการระเบิดของไฮโดรเจน ท�าให้เกิดการ ปลดปล่อยพลังงานมหาศาลในดวงอาทิตย์ ออกมาซึ่งมีอุณหภูมิสูงกว่า 15 ล้านองศา เซลเซี ย ส อาจกล่ า วได้ ว ่ า พลั ง งานจาก ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น เกิดจากการรวม ตัวกันของอะตอมเล็กๆ เข้าด้วยกัน และ การแตกตัวที่เกิดขึ้นสามารถสร้างพลังงาน ความร้อนออกมา โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว ปฏิ กิ ริ ย าฟิ ว ชั่ น จะใช้ ไ อโซโทปของไฮโดรเจน ที่ เรี ย กว่ า ดิวเทอเรียม (Deuterium) และ ทริเทียม (Tritium) ส�าหรับดิวเทอเรียมนี้สามารถสกัด มาจากน�้าทะเล และทริเทียมสามารถท�าให้ เปลี่ยนรูปมาจากลิเทียม นั่นหมายถึงเรา มีแหล่งพลังงานอยู่ทุกหนทุกแห่งเป็นสิ่งที่ ใกล้ตัวมากและเป็นแหล่งพลังงานสะอาด บริษทั General Fusion Inc. จึงได้นา� หลัก การนิวเคลียร์ฟิวชั่น มาสร้างแหล่งพลังงาน โดยเริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น จากการรวมตั ว ของนั ก วิจัยกว่า 50 คน ด้วยเป้าหมายเพื่อเป็นสุด ยอดการใช้เทคโนโลยี Magnetized Target Fusion ในการผลิตแหล่งพลังงาน ทีมนัก วิจัยได้มีการออกแบบ สร้างแบบจ� าลอง คอมพิวเตอร์และสร้างต้นแบบของระบบ ปฏิกริ ยิ าฟิวชัน่ จากทีมนักวิจยั และนักวิทยา ศาสตร์นวิ เคลียร์ฟวิ ชัน่ ของสถาบัน L’École Polytechnique ประเทศฝรั่งเศส ศูนย์วิจัย ฟิวชั่นเทคโนโลยี Culham ประเทศอังกฤษ และสถาบันวิจัยร่วมด้านความร้อนสูงของ สถาบันวิทยาศาสตร์ ประเทศรัสเซีย และ มหาวิทยาลัยคิวชู ประเทศญี่ปุ่น เทคโนโลยี MTF: Magnetized Target Fusion เป็นปฏิกริ ยิ าร่วมระหว่าง Magnetic Fusion และ Inertial Confinement Fusion ซึ่งปฏิกิริยา คือการสร้าง Compact Toroid หรือ Donut-shaped Magnetized Plasma หรือกล่าวได้ว่าเป็นการบีบอัดดิวเทอเรียม (Deuterium) และทริเทียม (Tritium) ทางกล แล้วท�าให้ระเบิดโดยการยิงความร้อนจาก พลาสมา ท�าให้เกิดปฏิกิริยาฟิวชั่น ส่งผล ให้ เ กิ ด พลั ง งานความร้ อ นออกมาอย่ า ง มหาศาลนั่นเอง บริษัท General Fusion Inc. ได้พัฒนา สร้างต้นแบบ MTF เพื่อท�าการทดสอบการ เกิดปฏิกริ ยิ าฟิวชัน่ เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ขณะ นีอ้ ยูร่ ะหว่างการพัฒนาขยายก�าลังการผลิต เพือ่ ผลิตพลังงานความร้อนส�าหรับโรงไฟฟ้า

ถ่าน

10,000 ตัน

น�้ามัน

พลังงานฟิวชั่น

36,000 บาร์เรล

1 กิโลกรัม

Nuclear Fusion

Neutron

D

T

Energy Fusion He

ที่มา: http://www.generalfusion.com issue 159 May 2016


74 RENEWABLE ENERGY

ประเทศที่ผลิตและส่งออก Wood Pellets มากที่สุด 3 อันดับแรกของโลก (ข้อมูลปี ค.ศ. 2014) แคนาดา 1.6 ล้านตัน/ปี

ลัตเวีย 1.2 ล้านตัน/ปี

สหรัฐอเมริกา 4 ล้านตัน/ปี

ประเทศที่ผลิตและส่งออก Wood Pellets ทวีปเอเชีย (ข้อมูลปี ค.ศ.2014) ไทย 0.11 ล้านตัน มาเลเซีย 0.16 ล้านตัน

เวียดนาม 0.74 ล้านตัน จีน 0.16 ล้านตัน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ท่านทราบไหมว่า? ประเทศไหนใช้ Wood Pellets มากที่สุด และประเทศไหนผลิต ส่งออกมากที่สุดในโลก....

EXECUTIVE SUMMARY Nuclear Fusion Nowadays, renewable energy of Canada has become their national agenda, especially in Vancouver, the 3 rd biggest city of Canada. With the program from the Canada Embassy to Thailand, we had a chance to visit Vancouver, B.C. for GLOBE 2016 event. The board of economic committee of the British Columbia (BC) made a slogan ‘I’m building a green economy’ to encouraging their citizens. The outstanding model for corporation that developed renewable energy in Canada is General Fusion Inc. MTF prototype that developed by this corporation resulted in fusion reaction with plentiful heat for examination. This process is developing to produce 100MW steam power plant. Electric Vehicle (EV) For Canada, their goal quite difference from Japan, South Korea and Germany. It’s not about exporting. They are developing for domestic

ญี่ปุ่น

สวีเดน

เฉพาะในเอเชีย* (น�าเข้าจากแคนาดา)

เดนมาร์ค

สหรัฐอเมริกา

5 อันดับประเทศที่ใช้ Wood Pellets มากที่สุดในโลก!

อิตาลี

ประเทศไทยแล้วหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องคง ต้องให้ควำมสนใจมำกขึน้ เพือ่ ช่วยเกษตรกร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งชำวสวนยำงที่ต้องขำย เศษไม้ยำงพำรำในรำคำตันละ 200 - 300 บำทในปัจจุบัน ผลิต Wood Pellets ให้ได้ ตำมมำตรฐำน FSC, TFCC หรือมำตรฐำน สำกลอืน่ เพือ่ ลูกค้ำยอมรับ ดังนัน้ วัสดุเหลือ ทิ้งจำกภำคเกษตรกรรมกว่ำปีละ 20 ล้ำน ตัน จะได้กลำยเป็นชีวมวลอัดแท่งแต่งตัว ใหม่ส่งออกได้ในรำคำ FOB 170 เหรียญ สหรัฐอเมริกำกับเขำบ้ำง ประเทศแคนำดำคงไม่ ใช่ ยิ่ ง ใหญ่ แ ค่ น�้ำตกไนแองกำร่ำ และใบเมเปิ้ลเหมือน ที่ ใ ครๆ รู ้ จั ก ด้ ำนพลั ง งำนทดแทนที่ ย ก ตัวอย่ำงมำนีเ้ ป็นเพียงบำงเทคโนโลยีทคี่ ณะ เรำได้มีโอกำสเข้ำไปเยี่ยมชม แคนำดำยัง ผลิตน�้ำมันจำกชีวมวล BTL (Biomass to Liquid) และ Fuel Cell เชิงพำณิชย์ ดังนั้น ประเทศแคนำดำนอกจำกจะเป็นประเทศ ที่ น ่ ำ ท่ อ งเที่ ย ว อำกำศดี มี ค วำมหลำก หลำยทำงเชือ้ ชำติ ในอนำคตอำจกลำยเป็น ประเทศส่งออกเทคโนโลยีพลังงำนสะอำด ก็ได้ นักช็อปเทคโนโลยีอย่ำงไทยอย่ำเพิ่ง มองข้ำม ของดีรำคำแข่งขันได้ อำจอยู่ที่ แคนำดำอีกซีกโลกหนึ่งของไทยนี่เอง

อังกฤษ

แบบกังหันไอน�้ำขนำด 100 เมกะวัตต์ รถไฟฟ้ า (EV: Electric Vehicle) ส�ำหรับประเทศแคนำดำแล้ว เป้ ำหมำย อำจไม่ใช่กำรส่งออกรถยนต์ไฟฟ้ำเหมือน ประเทศญี่ปุ่น เกำหลี หรือเยอรมนี แต่ เป็นกำรผลิตเพื่อใช้งำนในประเทศ แม้แต่ ในมหำวิทยำลัยอย่ำง UBC: University of British Columbia ก็มีรถไฟฟ้ำไว้ใช้ภำยใน มหำวิทยำลัย ปัจจุบนั รถไฟฟ้ำมีใช้กนั อย่ำง แพร่หลำย จำกกำรสอบถำมผู้ใช้งำนทรำบ ว่ำส่วนใหญ่เป็นรถให้เช่ำ จำกกำรทีแ่ คนำดำพัฒนำเทคโนโลยี EV เอง จึงเชือ่ ว่ำในอนำคตคงมีรถยนต์ไฟฟ้ำใช้ กันทั่วประเทศเป็นทำงเลือกด้ำนเชื้อเพลิง ถึงแม้แคนำดำจะมีก๊ำซธรรมชำติอย่ำงล้น เหลือแล้วก็ตำม Wood Pellets ชีวมวลอัดแท่ง อำจ เป็ น เรื่ อ งเหลื อ เชื่ อ ที่ ป ระเทศหนำวเกื อ บ ทั้งปี และปลูกพืชได้ปีละไม่กี่เดือนอย่ำง แคนำดำ จะมี ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรชี ว มวล จนเป็นประเทศผู้ส่งออก Wood Pellets ในอั น ดั บ ที่ 2 ของโลก และสำมำรถส่ ง ออกไปขำยทั่วโลก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งใน ประเทศญี่ปุ่น มีกำรซื้อ Wood Pellets จำก แคนำดำกว่ำ 80% ของกำรน�ำเข้ำ ส�ำหรับ

use even in the university like UBC (University of British Columbia), the EV cars are available within their campus. They are rented cars. The EV would become accessible to everyone in daily routine of Canada. It will be available all over the country to be an alternative fuel soon. Wood Pellets This could be an unbelievable story that Canada has brilliant management in biomass and became the world’s 2nd wood pellets exporting. Japan imports 80% wood pellets from Canada. We might see Canadian biomass to liquid (BTL) and fuel cell commercial technologies in the near future. Besides the famous traveling country with nice weather and multi-national, Canada could be an exporting country for clean energy technology in no time. Technology consumer like Thailand shouldn’t underestimate the reasonable and good quality products form the other side of the world like Canada.


เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ GREEN ZONE POLICY

BUILDING ENERGY CODE บังคับอาคารสร้างใหม่/ดัดแปลง 9 ประเภท ต้องอนุรักษ์พลังงาน กลยุทธ์การด�าเนินงาน แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 กลยุทธ์ภาคบังคับ กลยุทธ์ภาคความ

ความเข้มของการใช้พลังงาน ลดลง 30% ภายในปี 2579

กลยุทธ์สนับสนุน

• ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง จะต้องมีระดับความส่องสว่างส�าหรับงานแต่ละประเภท ต้องเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และต้องใช้ก�าลังไฟฟ้า สูงสุดไม่เกินค่าที่ก�าหนด • ระบบปรับอากาศ ในแต่ละประเภทและขนาดต่างๆ จะต้องมีค่าสัมประสิทธิ์ สมรรถนะขั้นต�่า ค่าประสิทธิภาพการให้ความเย็น และค่าพลัง ไฟฟ้าต่อตันความเย็นเป็นไปตามที่ก�าหนด

• อุปกรณ์ผลิตความร้อน จะต้องมีค่าประสิทธิภาพขั้นต�่าตามเกณฑ์ที่ก�าหนด • การใช้พลังงานรวม กรณีที่การออกแบบไม่เป็นไปตามมาตรฐานตามข้อ 1 ข้อ 2 หรือ ข้อ 3 ให้พิจารณาตามเกณฑ์การใช้พลังงาน โดยรวมของอาคารอ้างอิง โดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการ ค�านวณในการออกแบบอาคารแต่ละระบบที่ก�าหนด • การใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆ ของอาคาร การส่งเสริมใช้แสงธรรมชาติเพื่อการส่องสว่าง และ การผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์

อาคาร 9 ประเภทที่ต้องอนุรักษ์พลังงานตามมาตรฐาน Building Energy Code สถานพยาบาล

สถานศึกษา

ส�านักงาน

อาคารชุด

อาคารชุมนุมคน

โรงมหรสพ

โรงแรม

อาคารสถานบริการ

อาคารศูนย์การค้า

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ร่าง Building Energy Code เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมายหลักเกณฑ์มาตรฐานการ อนุรักษ์พลังงานในอาคาร หนึ่งมาตรการในกลยุทธ์ภาค บังคับ ภายใต้การขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 - 2579 (EEP 2015) ที่ก�าหนดเป้าหมายลดความ เข้มของการใช้พลังงานลง 30% ภายในปี 2579 ทั้งนี้ คาดว่า Building Energy Code จะสามารถ เริ่มบังคับใช้ได้ในปี 2560 โดยจะก�าหนดใช้กับอาคาร เนื้อที่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป ก่อนที่จะบังคับใช้กับ อาคารเนื้อที่ 5,000 ตารางเมตร ในปี 2562 และบังคับ ใช้กับอาคารเนื้อที่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ในปี 2565 Building Energy Code จะมีผลบังคับใช้กับอาคาร ที่จะขออนุญาตก่อสร้างใหม่หรือดัดแปลงอาคารเพิ่ม เติมที่มีขนาดพื้นที่ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ซึ่ง ก�าหนดให้มีการตรวจสอบการใช้พลังงานตั้งแต่ขั้นตอน การออกแบบว่าเป็นไปตามที่กฎหมายก�าหนดหรือไม่ หากเป็นไปตามที่ก�าหนด จึงจะอนุญาตให้ก่อสร้างหรือ ดัดแปลงได้ต่อไป

Building Energy Code

6 องค์ประกอบ มาตรฐาน BUILDING ENERGY CODE • ระบบกรอบอาคาร จะต้องมีค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของผนังด้านนอก อาคารและผนังหลังคา ต้องไม่เกินค่าที่ก�าหนด

75

มีเป้าหมายในการผลักดันให้อาคารที่ก่อสร้างใหม่มีการ ออกแบบอาคารให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยผล จากการบังคับใช้มาตรฐานดังกล่าว จะมีผลการประหยัด พลังงานรวมจนถึงปี 2579 อยู่ที่ 13,686 กิกะวัตต์ต่อ ชั่วโมง หรือ 1,166 ตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ คุณดนัย เอกกมล รองอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

EXECUTIVE SUMMARY Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Ministry of Energy is going to announce the Building Energy Code policy for the building that has more than 10,000 m2 in 2017 before enforcing with building that has more than 5,000 m2 in 2019 and for 2,000 m2 above in 2022. The announcement will effected building modification and building permit that has a space more than 2,000 m2. This policy is for 9 types of building; hospital, school, office, condominium, hall, theatre, hotel, service facility and department store. The policy is about to investigate the use of energy since the designing process to be according to the law then the building process could move on. The purpose is to drive designing for new building to keeping with the energy standard. Total energy that could save until 2035 is 13,686 GW per hour or 1,166 ton when compared to petroleum fuel. issue 159 May 2016


76 GREEN ZONE TECHNOLOGY เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

SUNPREME’S BI-FACIAL PANELS นวัตกรรมแผงโซล่าร์เซลล์ ผลิตพลังงานได้สองด้าน ความต้ อ งการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ในภาค อุตสาหกรรมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนจึงเป็นทาง เลื อ กที่ ไ ด้ รั บ ความสนใจอย่ า งมากตลอดช่ ว ง ระยะเวลาที่ ผ ่ า นมา โดยเฉพาะพลั ง งานแสง อาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่ผลิตได้จาก ทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้น การผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์จึงเป็นทางเลือกอันดับต้นๆ ซึ่งเหมาะส�าหรับประเทศไทยที่มีทรัพยากรแสง อาทิตย์เพียงพอต่อการน�ามาผลิตไฟฟ้า ประกอบ กั บ นโยบายภาครั ฐ ที่ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นา พลังงานทดแทนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ภาย ใต้แผนการพัฒนาพลังงานทดแทนที่ตั้งเป้าเพิ่ม สัดส่วนการพัฒนาพลังงานทดแทน 25% ภายใน ปี พ.ศ. 2564 ยิ่งตอกย�้าให้พลังงานแสงอาทิตย์ มีบทบาทส�าคัญ เป็นพลังงานทดแทนดาวรุ่งที่ มีอนาคต ทั้งนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าสิ่งส�าคัญที่จะผลักดัน ให้การผลิตพลังงานแสงอาทิตย์มีประสิทธิภาพ สูงสุด ก็คือ เทคโนโลยีแผงโซล่าร์เซลล์นั่นเอง ล่าสุด บริษัท เอ็นแม็กซ์ โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในฐานะผู้น�าเทคโนโลยีด้านพลังงานแสง อาทิตย์ จึงได้รว่ มกับ SUNPREME INC. ประเทศ สหรัฐอเมริกา น�าเข้านวัตกรรมแผงโซล่าร์เซลล์ ‘SUNPREME’ ที่มีคุณสมบัติพิเศษ สามารถผลิต ไฟฟ้าได้สองด้าน (Bi-Facial) เพื่อท�าการตลาดใน ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แผงโซล่ า ร์ เซลล์ SUNPREME ได้ รั บ การ ออกแบบและประกอบเชิงวิศวกรรมทีซ่ ลิ คิ อน วัล เลย์ แคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ถือเป็น นวัตกรรมใหม่ของแผงโซล่าร์เซลล์ที่จะท�าให้การ ผลิตพลังงานไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูงขึน้ มาพร้อม เทคโนโลยี Hybrid Cell Technology ซึง่ เป็นสิทธิ บัตรเฉพาะของ SUNPREME โดยแผงด้านหน้าจะ รับแสงอาทิตย์และผลิตไฟฟ้าตามปกติ ทีเ่ พิม่ เติม ขึ้นมา คือ ด้านหลังที่สามารถผลิตไฟฟ้าจากแสง สะท้อนได้ดว้ ย ทัง้ ยังเป็นแผงโซล่าร์เซลล์ทมี่ คี วาม แข็งแรง ทนทาน มีสมรรถนะในการผลิตพลังงาน สูง คุณภาพและความน่าเชื่อถือสูง MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ด้านหน้า

ด้านหลัง

High Performance

Quality & Reliability

Extreme Climate Performance

Guaranteed Performance

Superior Aesthetics

ทั้งนี้ แผงโซล่าร์เซลล์ SUNPREME ขนาด 2 ตารางเมตร สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 360 วัตต์ เมือ่ เปรียบเทียบกับแผงทัว่ ไปซึง่ ผลิตได้เพียง

300 - 310 วัตต์ ถือว่ามีประสิทธิภาพสูงกว่าแผง โซล่าร์เซลล์ทวั่ ไปประมาณ 20% โดยมีตน้ ทุนเบือ้ ง ต้นอยู่ที่ 0.92 ดอลล่าร์ต่อวัตต์


GREEN ZONE TECHNOLOGY

77

คุณสมบัติเชิงเทคนิค แผงโซล่าร์เซลล์ SUNPREME

EXECUTIVE SUMMARY Enmax Holding (Thailand) Co., Ltd. cooperate with Sunpreme Inc., USA to import innovative solar panel ‘SUNPREME’ with special feature. The unique feature for this solar cell is Bi-Facial energy generator, the company also take this chance as an official marketing for Thailand.

SUNPREME solar cell was designed and assembly engineering at Silicon Valley, California. This is an innovation for solar cell to get better efficiency in electricity generating. With Sunpreme’s Hybrid Cell Technology patent, the front panel will absorb light and turn into electricity as usual but the rear panel could generate

the electricity from light reflection too. SUNPREME solar panel size 2 m2 could generate 360 watt of electricity when compared to common solar panel that produced only 300-310 watt. The efficiency of the panel is better than common solar panel about 20% while the cost is 0.92 USD per watt only. issue 159 May 2016


78 FACTORY VISIT เรื่อง: เปมิกา สมพงษ์

เกาะติดไลน์การผลิต ... กว่าจะเป็น ปลาสวรรค์ ตราทาโร ตลอดระยะเวลา 30 ปีที่ผ่านมา ปลาสวรรค์ตราทาโรได้อยู่คู่กับคนไทยในฐานะ ขนมขบเคี้ยวที่อร่อยถูกปากทุกเพศทุกวัย และได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่กว่าจะมา เป็นทาโรในวันนี้ สินค้าทุกซองต้องผ่านกระบวนการควบคุมด้วยระบบ MPS หรือ ระบบบริหารจัดการวัตถุดบิ ในการผลิตอย่างพิถพี ถิ นั เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าได้คณ ุ ภาพและ รสชาติตามสูตรพิเศษเฉพาะของทาโรเท่านั้น

รู้จักพี.เอม.ฟูด บริษทั พี.เอม.ฟูด จ�ำกัด ผูผ้ ลิตปลาสวรรค์ตราทาโรได้กอ่ ตัง้ เมือ่ ปีพ.ศ. 2525 มีโรงงาน แห่งแรกอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง ซึ่งนับเป็นผู้ผลิตรายแรกในประเทศไทยส�าหรับ ผลิตภัณฑ์ลักษณะนี้ จากจุดเริ่มต้นดังกล่าวน�ามาสู่การเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และ ย้ายฐานการผลิตมาอยู่ที่โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี โดยมี ก�าลังการผลิตเพิ่มมากกว่าเดิม ซึ่งปัจจุบันผลิตภัณฑ์ทาโร สามารถสร้างยอดขายและส่วน แบ่งการตลาดสูงเป็นอันดับหนึ่งของกลุ่มสินค้าปลาเส้นติดต่อกันเรื่อยมา ผลงำน/รำงวัล • สถานประกอบการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงานประจ�าปี 2558 • รางวัล “องค์กรต้นแบบด้านการประยุกต์ ใช้ KM เพื่อต่อยอดและส่งเสริม การเพิ่มผลิตภาพภายในองค์กร” • รางวัล CSR-DIW Continuous ต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2556 - 2558 • มาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรม • ใบรับรองมาตรฐานการป้องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติดใน สถานประกอบกิจการ

หลักการบริหารโรงงานให้เกิดผลิตภาพ จากการเข้าร่วมโครงการ Productivity Facilitator กับ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติในปี 2554 บริษัทฯ ได้ก�าหนดกรอบในการบริหารโรงงาน ภายใต้ค�าขวัญ ‘งานดี ชีวีมีสุข’ ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนางานและพัฒนาคนไปพร้อมๆ กัน โดยก�าหนดโครงสร้างการท�างานเป็น 2 ทีมงาน คือ # ทีมวิชำกำร มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการหาเครื่องมือพัฒนา กระบวนการท�างานทีเ่ หมาะสมเข้ามาใช้ในงาน รวมถึงอบรมให้ความรู้ในการใช้เครือ่ งมือ แก่พนักงาน ให้คา� แนะน�าในการน�าเครือ่ งมือไปใช้ ช่วยแก้ ไขและปรับปรุงให้สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์เป้าหมายเป็นกรอบของ ‘งานดี’ # ที ม รณรงค์ ส ่ ง เสริ ม มี บ ทบาทหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมของพนักงานผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น บอร์ดประชาสัมพันธ์ กิจกรรมหน้างาน กิจกรรม Kick Off รวมถึงน�า Happy Workplace เข้ามาเป็นกิจกรรมหลักในแผนประจ�าปีเพื่อสร้างความสุขในการท�างาน ภายใต้กรอบของ ‘ชีวีมีสุข’

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

มาตรฐานการรับรองคุณภาพ บริษัท พี.เอม.ฟูด ได้รับการยอมรับในด้านการด�าเนินงานที่มีคุณภาพ เทียบเท่ามาตรฐานในระดับสากล โดยได้รับการรับรองมาตรฐานจาก หน่วยงานชั้นน�าของโลก ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐานด้าน GMP HACCP HALAL ISO : 9001 version 2008 และ ISO : 22000 version 2005 ตลอดจนมาตรฐานระบบการบริ ห ารจั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ISO : 14001 version 2004 ซึ่งเป็นการยืนยันและสร้างความมั่นใจในมาตรฐานด้านคุณภาพได้เป็น อย่างดี ซึ่งผู้บริหารให้ความส�าคัญอย่างมากกับเรื่องของงานวิจัยพัฒนาเพื่อให้ ได้ ผลิตภัณฑ์และรสชาติใหม่ๆ ที่พร้อมแนะน�าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องซึ่งเท่ากับเป็นการสร้าง สีสันและเพิ่มการยอมรับจากผู้บริโภคที่มีต่อสินค้า


FACTORY VISIT 79

กระบวนการผลิต ปลาสวรรค์ทาโร

ขั้ น ตอนกำรเตรี ย มวั ต ถุ ดิ บ เจ้ า หน้ า ที่ จ ะท� า การชั่ ง ตวงส่ ว น ผสมต่ า งๆ ในสั ด ส่ ว นที่ ก� า หนด ซึ่งควบคุมโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ ได้รสชาติตามมาตรฐานของทาโร

1 6

3 2

ขั้นตอนกำรขึ้นรูปและอบเป็น แผ่น หลังจากคลุกเคล้าได้ที่ เนื้อ ปลาทีผ่ า่ นการผสมแล้วจะถูกส่งต่อ มาทางท่อส่งเพื่อน�ามารีดเป็นแผ่น บางด้วยเครื่องจักร แล้วผ่านต่อไป ยังเครื่องอบในอุณหภูมิที่ก�าหนด

ขั้ น ตอนกำรปั ่ น ผสมเนื้ อ ปลำบดและเครื่ อ งปรุ ง รส เจ้ า หน้าที่จะน�าส่วนผสมต่าง ๆ ที่ เตรียมไว้แล้วมาผสมกับเนื้อปลา บดแช่ แ ข็ ง ในอุ ณ หภู มิ ที่ เ หมาะ สมเพื่อให้ส่วนผสมทั้งหมดคลุก เคล้าเข้าเนื้อปลาได้อย่างเต็มที่

ขั้นตอนกำรตัดเป็นเส้น แผ่น ปลาที่ย่างจนสุกเรียบร้อยแล้วจะ น�าไปท�าการตัดเป็นแผ่นตามขนาด ที่ ก� า หนดไว้ แ ล้ ว จึ ง ถู ก น� า ไปซอย ตามขนาดต่าง ๆ ในห้องที่สะอาด และมีการควบคุมพิเศษ ก่อนที่จะ บรรจุปลาเส้นทาโรลงในซอง

7

ขั้นตอนกำรบรรจุหีบห่อ กำรจัดเก็บและขนส่ง เจ้าหน้าที่ จะท�าการคัดแยกปลาเส้นทีซ่ อยไม่ได้ขนาดตามมาตรฐานออก แล้วจึงท�าการชัง่ น�า้ หนักให้ ได้มาตรฐานก่อนบรรจุลงซองตาม ขนาดต่างๆ และท�าการปิดผนึกซองด้วยเครื่องจักร สินค้าทุก ซองจะต้องผ่านเครื่องตรวจสอบโลหะซึ่งเป็นมาตรการเพื่อ ความปลอดภัยสูงสุดก่อนบรรจุลงกล่อง จากนั้นจึงน�าไปเก็บ ไว้ทคี่ ลังสินค้า โดยจะมีเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบความเรียบร้อยของ บรรจุภัณฑ์เพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้าในวันต่อไป

4 5

ขัน้ ตอนกำรอบแห้งและปรุงรส เมื่อได้แผ่นปลาที่บางตามก�าหนด แล้ว แผ่นปลาเหล่านั้นจะผ่านไป ยังขั้นตอนการชุบน�้าซอสส�าหรับ รสชาติตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นสูตรเฉพาะของ ทาโร โดยมีเจ้าหน้าที่คอยควบคุม การผลิตและตรวจสอบคุณภาพ

ขั้ น ตอนกำรย่ ำ งให้ สุ ก เมื่ อ น�้าซอสซึมทั่วทั้งแผ่นปลาแล้ว เจ้า หน้ า ที่ จ ะน� า แผ่ น ปลาที่ ไ ด้ ไ ปย่ า ง ในอุณหภูมิที่พอเหมาะจนกระทั่ง สุกได้ที่

EXECUTIVE SUMMARY P.M.Food Co., Ltd. is a manufacturer of ‘Taro’ fish strips and fish sheets snack with more than 30 years of experience. With serious manufacturing process and quality control since material preparation, seasoning, forming, dehydration and strip forming. Every processes are controlling with the expert and every packages are examining safety before packaging, also have efficiency in stockpile and logistic. The company is recognition in good operation performance as international company, besides P.M.Food also manage the factory under the idea ‘Good Work, Happy Life’ that focus on work and human resource developing along together. issue 159 May 2016


80 Tech Focus Automation เรื่อง: เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการบริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจ�าภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

CO-BOTS หุ่นยนต์แขนกล ส�ำหรับโรงงำนทุกขนำด

ประเทศไทยมีบริษัทไม่น้อยกว่า 2.7 ล้านบริษัทที่มีส่วนในการว่าจ้างงานกว่า ครึง่ หนึง่ ของประเทศในด้านการบริการ การ ค้าขาย และด้านการผลิต และในกลุม่ บริษทั เหล่านี้ วิสาหกิจขนาดเล็กและกลางหรือเอส เอ็มอี (SMEs) ประเมินได้ว่าคิดเป็นร้อยละ 37 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศ ตามข้อมูลของบมจ. หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง ภาคส่ ว นการผลิ ต ของประเทศไทยมี อัตราสูงทีส่ ดุ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศโดยคิดเป็นร้อยละ 40 จากการที่มี คู่แข่งสินค้าน�าเข้าจากจีน และอุปสงค์จาก ตลาดท้องถิ่นที่ค่อนข้างต�่า ภาคส่วนการ ผลิตของประเทศ รวมทั้งเศรษฐกิจโดยรวม จึงมีความเปราะบางต่อการสูญเสียรายได้ หากผู้ผลิตไม่เริ่มต้นที่จะเพิ่มผลิตผลจาก โรงงาน และลดค่าใช้จ่าย

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ประเทศไทยมีบริษัทไม่น้อย กว่า 2.7 ล้านบริษัท ที่มีส่วนในการ ว่าจ้างงานกว่าครึ่งหนึ่ง ของประเทศ

SMES คิดเป็นร้อยละ 37 ของ GDP ของประเทศ โดย ภาคการผลิตมีอัตราสูงที่สุด ของ GDP ภายในประเทศโดย คิดเป็นร้อยละ 40


Tech Focus Automation

ความท้าทายและโอกาส ส�าหรับเอสเอ็มอี วิสาหกิจขนาดเล็กและกลางในภาคส่วน การผลิตนี้ต้องเผชิญกับความท้าทายหลาย ประการ อาทิ ข้อจ�ากัดของพื้นที่และงบ ประมาณ รวมทั้งความขาดแคลนแรงงาน ที่มีทักษะ อย่างไรก็ตาม ก็มีความเป็นไป ได้ส�าหรับวิสาหกิจขนาดเล็กและกลางที่จะ ประสบความส�าเร็จ โดยอาศัยประโยชน์ จากการน�าออโตเมชั่นมาใช้ในกระบวนการ ท�างานประจ�าวันในโรงงานผลิต สถิติข้างต้นเป็นตัวกระตุ้นเตือน ขณะ ที่สภาพการท�างานในสภาวะที่เป็นโรงงาน นั้นอาจจะต้องกินเวลาหลายชั่วโมงปฏิบัติ งานซ�า้ ๆ เดิมๆ ซึง่ อาจจะส่งผลให้เกิดความ ผิดพลาดที่เลี่ยงไม่ได้ขึ้นมา ดังนั้น วิสาหกิจ ขนาดเล็ ก และกลางสามารถพิ จ ารณาตั ว เลือกที่จะใช้ออโตเมชั่น เช่น หุ่นยนต์ที่ สามารถท�างานร่วมกับมนุษย์ได้ (Collaborative Robots หรือ Co-Bots) เข้ามาใช้ในสาย การผลิตเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปฏิบัติ งานในการท�าชิน้ งานทีต่ อ้ งอาศัยความบาก บั่นอุตสาหะ หุ่นยนต์ Co-Bots เหมาะส�าหรับโรงงานตั้งแต่เล็ก-ใหญ่ Co-Bots เป็ น หุ ่ น ยนต์ ที่ มี แขนกลที่ เคลื่ อ นไหวคล่ อ งตั ว และเคลื่ อ นย้ า ยได้ สะดวก ท� า ให้ เ หมาะส� า หรั บ โรงงานที่ มี แผนผั ง งานโปรดั ก ชั่ น ตั้ ง แต่ ข นาดเล็ ก ถึ ง ขนาดใหญ่ โดย Co-Bots ส่วนมากจะมี ขนาดกะทัดรัดและน�้าหนักเบา ซึ่งท�าให้ เหมาะส�าหรับธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ซึง่ มักจะมีขอ้ จ�ากัดด้านพืน้ ที่ และต้องท�าชิน้ งานที่มีความซ�้าซากจ�าเจ ไม่ว่าจะเป็นการ ขึ้นรูปหล่อแบบไปจนถึงงานประกอบชิ้น ส่วน ในปัจจุบนั สิง่ ส�าคัญในสภาพแวดล้อม การผลิตทีต่ อ้ งอาศัยความรวดเร็ว คือ ความ ยืดหยุ่นคล่องตัวนั่นเอง จากภาวะการแข่งขันในหมู่ธุรกิจขนาด เล็กและกลางที่ทวีความเข้มข้น บริษัทจึง หันมาพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ เพื่อ ให้เป็นตัวที่สร้างความแตกต่างโดดเด่นจาก คูแ่ ข่ง โดยอิงจากประเภทของแอพพลิเคชัน่ พบว่าหนึ่งหรือหลาย Co-Bots สามารถที่ จะท�างานเคียงข้างกับมนุษย์ในโนโรงงาน ได้ เมื่อได้สรุปชิ้นงานให้เป็นที่เรียบร้อย แล้ว ผู้ปฏิบัติงานสามารถตั้งค่าโปรแกรม ให้ หุ ่ น ยนต์ ท� า กิ จ กรรมตามที่ ต ้ อ งการได้ อย่างง่ายดาย โดยไม่จา� เป็นต้องผ่านการฝึก อบรมยุ่งยากด้านวิศวกรรมใดๆ เลย ข้อได้เปรียบอีกประการหนึง่ คือ Co-Bots

มีช่วงคืนทุนที่รวดเร็วกว่าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบดั้งเดิม ซึ่งท�าให้เหมาะส�าหรับ ธุรกิจขนาดเล็กและกลางที่มีข้อจ�ากัดด้าน การเงิน ซึ่งนอกจากนี้แล้ว การยกระดับ ทักษะด้านการปฏิบัติงานก็ถือเป็นอีกหนึ่ง ปัจจัยส�าคัญที่ต้องไม่มองข้าม เมื่อ Co-Bots มาท�างานบนสายการ ผลิต ผู้ปฏิบัติง านสามารถท�า ชิ้นงานอื่น ที่ ต ้ อ งอาศั ย ความประณี ต ละเอี ย ดอ่ อ น มากกว่า เช่น การวางแผนงานหรือรับผิด ชอบคุมงาน แรงงานที่มีทักษะนั้นสามารถ ช่วยเพิ่มประสิทธิผลได้ และส่งผลอย่างยิ่ง ต่อการเติบโตของธุรกิจ เจ้ า ของธุ ร กิ จ มี ตั ว เลื อ กที่ จ ะเพิ่ ม ประสิทธิผลอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้าง การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ในองค์ ก รของตน ออโตเมชั่ น ของกระบวนการผลิ ต เป็ น ตั ว เลือกหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มความคล่องตัวใน พื้นที่การผลิต เพื่อให้มีความได้เปรียบใน การแข่งขัน การที่ธุรกิจขนาดเล็กและกลาง สร้างแนวความคิดทีม่ คี วามสร้างสรรค์ และ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย จะช่วยผลักดันธุรกิจให้ เติบโตขึ้นอีกระดับในระยะยาว

81

56%

ของบริษัททั่วโลกก�ำลังใช้ ออโตเมชั่น หรือวำงแผนที่ จะน�ำมำใช้งำนภำยในปีนี้ ขณะที่ประเทศไทย มีเพียง 36% ที่น�ำเอำออโตเมชั่น มำใช้งำน ซึ่งถือว่ำอยู่ ใน เกณฑ์ ที่ ต�่ ำ กว่ ำ ค่ ำ เฉลี่ ย ของโลก

EXECUTIVE SUMMARY Co-Bots is a robotic arm with flexible movement and easy for relocation. This also made it suitable for the factory with small production plan to the big one. Mostly of Co-Bots are in compact size and light weight, proper with small and medium size business that has space limitation and do a routine work, such as, die and mold forming to part assembly. In present day, the most essential part of manufacturing surrounding is flexible. Business owner has a choice for successful improvement and build organization long lasting growth with automation in manufacturing process to improve flexibility in operating area. This choice will take an advantage in business competition by high technology driven, to higher level.

ที่มา: - http://www.nationmultimediacom/business/ SMEs-hold-key-to-economic-future-302770 81.html - http://www.straitstimes.com/business/thailand-approves-812-bln-measures-to-aidsmall-firmsas-economy-falters - http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/--ed_dialogue/---sector/documents/publication/wcms_161290.pdf - http://www.wsj.com/articles/thailands-industrial-pro-duction-remains-weak-in-february-1459239293 issue 159 May 2016


82 TECH FOCUS IT BUSINESS เรื่อง: นเรศ เดชผล ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

‘HIRE-PURCHASE’ BETTER CHOICE FOR ENTREPRENEUR ‘เช่าใช้อุปกรณ์ ไอที’ ทางเลือกที่ดีกว่าส�าหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ตลอดหลายปีที่ผ่านมา สถานประกอบการด้านอุตสาหกรรมหลายแห่งได้น�าอุปกรณ์ ไอทีเข้ามาช่วยในการด�าเนินการมาก ขึ้น เรียกได้ว่าอุปกรณ์ ไอทีถูกน�ามาใช้ ในทุกกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นไปจนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ เมื่อมีการเทียบเคียงกันถึง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลก่อนและหลังการน�าอุปกรณ์ ไอทีเข้ามาใช้ เชื่อแน่ว่าผู้ประกอบการหลายท่านคงจะเห็นถึงความ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ บางองค์กรอาจจะค่อย ๆ ทยอยน�าเข้ามาใช้ทลี ะส่วนงานเนือ่ งจากต้องการป้องกันข้อผิดพลาดทีอ่ าจจะเกิด ขึน้ ได้ ในระหว่างด�าเนินการ แต่บางองค์กรก็สามารถน�าอุปกรณ์ ไอทีเข้ามาเพือ่ ปรับเปลีย่ นทัง้ ระบบได้ทนั ที เพราะมีการเตรียมการ มาแล้วเป็นอย่างดี ทั้งในเรื่องของการวางแผนงาน การอบรมบุคลากรผู้ ใช้งาน การติดตั้งอุปกรณ์ รวมไปถึงการควบคุมการใช้ ตลอดอายุงานของอุปกรณ์ ขั้นตอนส�ำคัญของกำรน�ำอุปกรณ์ไอทีเข้ำมำใช้ในกำร ด�ำเนินงำนนัน้ คือ ขัน้ ตอนกำรจัดซือ้ จัดหำ ซึง่ เป็นขัน้ ตอน ทีจ่ ะต้องระดมผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้ำมำมีสว่ นร่วมในกำรตัดสินใจ ไม่ว่ำจะเป็นฝ่ำยเทคนิคที่มีควำมเข้ำใจในอุปกรณ์ไอทีเป็น อย่ำงดี ฝ่ำยบัญชีกำรเงิน ฝ่ำยจัดซื้อจัดหำ และที่ขำดไม่ได้ คือ ตัวผู้ประกอบกำรเองที่จะต้องเข้ำมำมีส่วนร่วมและจะ เป็นเสมือนด่ำนสุดท้ำยก่อนกำรตัดสินใจจัดซื้อ ทั้งนี้ กำร ดึงหลำยๆ ฝ่ำยเข้ำมำมีสว่ นร่วมในกำรจัดซือ้ จัดหำนัน้ ก็เพือ่ ที่จะลดข้อผิดพลำดให้ได้มำกที่สุด แม้บำงองค์กรจะพยำยำมลดควำมผิดพลำดอย่ำงถึงที่ สุดแล้ว แต่หลำยครั้งก็ยังคงพบข้อผิดพลำดจำกกำรจัด MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ซื้อจัดหำอุปกรณ์ไอทีกันอยู่บ่อยๆ โดยเฉพำะในช่วงเวลำ หลังจำกที่ได้มีกำรจัดซื้อจัดหำมำแล้ว ซึ่งเป็นช่วงเวลำที่ได้ มีกำรน�ำอุปกรณ์ไอทีนนั้ เข้ำมำใช้งำน ไม่วำ่ จะเป็นปัญหำที่ มีสำเหตุมำจำกตัวผูใ้ ช้งำนหรือปัญหำทีเ่ กิดจำกตัวอุปกรณ์ เอง โดยเฉพำะสำเหตุหลังที่จ�ำเป็นต้องพึ่งพำบริกำรหลัง กำรขำยจำกตัวแทนจ�ำหน่ำยอุปกรณ์ไอทีชิ้นนั้นๆ โดย ส่วนใหญ่จะเป็นกำรน�ำอุปกรณ์ไปรับบริกำรที่ศูนย์บริกำร ซึ่งต้องใช้เวลำในกำรเดินทำง ยังไม่รวมกับเวลำที่ต้องเสีย ไปกับกำรรอซ่อมหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ แน่นอนว่ำระหว่ำง นัน้ ก็จะไม่ได้ใช้อปุ กรณ์จนมีผลต่อกำรท�ำงำนได้พอสมควร เลยทีเดียว

เมื่อมองดู

ค่าใช้จ่ายที่เป็นตัวเงิน ที่ผู้ประกอบการจะต้องจ่าย ออกไปก็อาจมีข้อสงสัย เพราะการเช่าใช้งานนั้น ดูเหมือนจะมีราคาสูงกว่า การซื้อขาด แต่หากลอง พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้ว ก็จะพบว่าการซื้อขาดนั้น มีค่าใช้จ่ายแฝงในระหว่าง การใช้งานอยู่ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ อุปกรณ์มีปัญหา


อันที่จริงแล้วในการจัดหาอุปกรณ์ไอทีเข้ามาใช้งานใน องค์กรนัน้ ไม่ได้มเี ฉพาะแต่เพียงการซือ้ ขาดเท่านัน้ การเช่า ใช้งาน ก็ถือเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่หลายๆ องค์กรเลือก ดัง จะเห็นได้จากปัจจุบนั หน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานเริม่ ที่จะไม่จัดซื้ออุปกรณ์ไอทีแบบซื้อขาดกันเหมือนเมื่อก่อน แต่จะหันไปใช้วิธีเช่าใช้งานแทน ยิ่งในโรงเรียนหรือสถาน ศึกษาซึง่ เป็นองค์กรทีต่ อ้ งมีเครือ่ งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ไอทีจ�านวนมากไว้ให้นักเรียนและบุคลากรในสถาบันใช้ ก็ได้หันมาเลือกวิธีเช่าใช้งานกันเกือบทุกแห่ง ดังนั้น ท่าน ผู้ประกอบการที่มีความสนใจทางเลือกนี้จึงควรที่จะเข้าใจ ถึงข้อควรระวังในการซื้อขาดอุปกรณ์ไอทีและข้อดีของการ เช่าใช้งาน ซึ่งเป็นเรื่องเห็นควรที่จะน�ามาพิจารณา ดังนี้ อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดแล้วไม่ว่าจะเป็นการซื้อขาด หรือการเช่าซื้อ ผู้ซื้อต้องไม่ลืมที่จะต้องมีการคาดการณ์ ผลตอบรับหรือประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากอุปกรณ์ชนิ้ นัน้ ด้วย การน�ามาเทียบกับเม็ดเงินที่ได้จ่ายออกไป ก็เพื่อที่จะได้ ผลสัมฤทธิ์ที่แท้จริงในการจัดซื้อจัดหาอุปกรณ์ไอทีนั่นเอง

ข้อควรระวังในการซือ้ ขาดอุปกรณ์ ไอที

1 2 3 4

1 2 3 4

TECH FOCUS IT BUSINESS 83 ปัญหาเรื่องบริการหลังการขาย ข้อนี้น่าจะเป็นปัญหาหลักของการซื้อขาด อุปกรณ์ ไอทีส่วนใหญ่มักไม่มีนโยบายส่งช่างมา ซ่อมที่ส�านักงานของลูกค้า สิ่งที่ท�าได้ดีที่สุดก็คือการพูดคุยแก้ปัญหาทางโทรศัพท์ ซึ่งก็ ไม่ใช่ทุก ครั้งที่จะสามารถแก้ปัญหาได้ ท้ายที่สุดแล้วก็ต้องน�าอุปกรณ์ ไปเข้าศูนย์บริการ ท�าให้ต้องเสียเวลา และค่าเดินทาง

ประกันหลังการขาย โดยมากอายุประกันของอุปกรณ์ ไอทีจะอยูร่ ะหว่าง 1 - 3 ปี ซึง่ เมือ่ เทียบกับการน�าไปใช้งานบาง อย่างทีส่ า� คัญของผู้ใช้งานแล้ว ระยะเวลาเพียงเท่านีก้ อ็ าจจะดูนอ้ ยเกินไป และทีน่ า่ ตกใจก็คอื อุปกรณ์ ไอทีบางชนิดเมื่อหมดประกันแล้วทางศูนย์บริการอาจไม่รับซ่อม หรือหากรับ ราคาค่าซ่อมก็จะสูงจน สร้างความล�าบากใจให้กับผู้ใช้งานได้

ระยะเวลาในการซ่อม ในการซ่อมนั้นแม้จะไม่มีค่าใช้จ่ายในช่วงการรับประกัน แต่ค่าใช้จ่ายแฝงก็คือประโยชน์ที่พึง จะได้รับจากการใช้งานอุปกรณ์ก็ต้องหดหายไปโดยปริยาย

ขยะอิเล็กทรอนิกส์ สถานประกอบการด้านอุตสาหกรรมหลายแห่งล้วนแล้วแต่มนี โยบายรณรงค์ ในเรือ่ งการลดขยะ อิเล็กทรอนิกส์ แน่นอนว่าการซือ้ ขาดอุปกรณ์ ไอทีเข้ามาใช้งานก็จะท�าให้แคมเปญนีด้ า� เนินไปยากยิง่ ขึน้

การดูแลแก้ปัญหาระหว่างเช่าใช้งาน สิ่งนี้คือหัวใจส�าคัญที่สุดของการเช่าใช้งาน เนื่องจากการดูแลให้บริการผู้เช่าใช้งานถือเป็น เรื่องส�าคัญที่ต้องระบุไว้ชัดเจน และผู้ให้เช่าต้องปฏิบัติตามสัญญาตลอดอายุการใช้งานอุปกรณ์

ข้อดีของการเช่าใช้งาน

มีเครื่องทดแทนระหว่างการส่งซ่อม เมื่ออุปกรณ์ ไอทีชิ้นใดช�ารุดในระหว่างการเช่าใช้งาน ผู้ ให้เช่าจะต้องส่งคนเข้ามาแก้ปัญหา อุปกรณ์ชิ้นนั้นภายในเวลาที่ระบุไว้ในสัญญา และหากไม่สามารถแก้ ไขได้ ผู้ให้เช่าก็จะต้องมีอุปกรณ์ ที่มีสเปคเดียวกันหรือสูงกว่ามาให้ผู้เช่าใช้งานแทน

ปรับเปลี่ยนสเปคอุปกรณ์ ได้ง่าย ในกรณีผู้เช่าพบว่าสเปคของอุปกรณ์ที่ใช้งานอยู่ไม่สามารถใช้งานได้ดีในระดับที่น่าพอใจ ก็ สามารถที่จะขอปรับเปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์ตัวอื่นที่ดีกว่าได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องพิจารณาถึงเงื่อนไข ในสัญญาก่อน ซึ่งผู้เช่าอาจจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เพิ่มเติม

มีทางเลือกเมื่อครบก�าหนดเช่า เมื่อครบก�าหนดระยะเวลาเช่า ผู้เช่าสามารถที่จะเลือกซื้อหรือไม่ซื้ออุปกรณ์ ไอทีชิ้นนั้น ๆ ได้

EXECUTIVE SUMMARY IT equipment hire-purchase is one of a good choice for entrepreneur. Without the problem likes after sell service, product warranty, maintenance time and electronics waste in the term of IT equipment purchasing. For hire-purchase, client will be served with many solutions when they deal with any problems, reserve equipment for maintenance, easy to change the equipment spec and also has more option when the contract end. issue 159 May 2016


84 FOOD PROCESSING เรื่อง: ทศธิป สูนย์สาทร

Water Management,

Cost Reduction for Food & Beverage industrial ในกระบวนการผลิตของภาคอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหาร นัน้ มีความเกีย่ วข้องกับการใช้นา�้ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ หลายครัง้ พบว่าเกิดการใช้นา�้ อย่างสิน้ เปลืองและก่อให้ เกิดปัญหามลภาวะจากกระบวนการใช้นา�้ เหล่านัน้ จากข้อมูลขององค์การสหประชาชาติพบว่า 1 ใน 5 ของ ประชากรโลกนัน้ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ขี่ าดแคลนน�า้ และอีกกว่า 1 ใน 4 ของโลกนัน้ ประสบปัญหาน�า้ ก�าลังจะ หมดลง ซึง่ น�า้ บริสทุ ธิท์ เี่ หมาะแก่การใช้งานในชีวติ ประจ�าวันนัน้ ถือว่ามีอยูอ่ ย่างจ�ากัดและยิง่ ประชากรโลกเพิม่ มากขึน้ ความตึงเครียดในเรือ่ งของทรัพยากรยิง่ มีมากขึน้

ปัญหาการใช้น�้ามาจากส่วนใดของระบบ?

จากเอกสาร White Paper ของ Haskell พบ ว่าสามารถแบ่งการใช้งานน�้าในภาคอุตสาหกรรม อาหารออกเป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1.กระบวนการ ท� า ความสะอาดโดยไม่ ถ อดชิ้ น ส่ ว น (Clean In Place - CIP) 2.กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการถ่าย โอนความร้อน ซึ่งส�าหรับเครื่องท�าความเย็นนั้นใช้ น�้ากว่า 66% ของน�้าที่ไม่เกี่ยวข้องกับตัวผลิตภัณฑ์ โดยตรงส�าหรับโรงงาน และส่วนที่ 3.ส่วนของการ ท�าความสะอาดแยกส่วนตามต้องการและการใช้ใน รายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆ MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Rick Molongoski รองประธานแห่ง CDM Smith ภาคส่วนอาหารและเครื่องดื่ม ได้แนะน�าเกี่ยวกับ การพัฒนา ‘ระบบสมดุลน�า้ ’ ขึน้ มา โดยเป็นการระบุ กระบวนการและรายละเอียดทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับ กระบวนการการใช้นา�้ รวมถึงปริมาณน�า้ ในผลิตภัณฑ์ น�า้ ทีร่ ะเหย และน�า้ ทีถ่ กู ทิง้ เมือ่ มีการส�ารวจและเฝ้า ดูจะท�าให้เห็นปริมาณการใช้นา�้ ทีแ่ ท้จริงและสามารถ วางแผนจัดการได้ หนึง่ ในปัจจัยทีส่ า� คัญ คือ การใช้ งานเครือ่ งจักรในขณะทีย่ งั ไม่พร้อม เช่นการใช้นา�้ หล่อ เย็น หรือการช�าระต่างๆ ซึง่ ท�าให้เกิดการรัว่ ไหลโดย ไม่สามารถตรวจสอบและควบคุมการบริหารน�า้ ได้

จากข้อมูลขององค์การสหประชาชาติพบว่า

1 ใน 5 ของประชากรโลก อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ขาดแคลนน�้า และอีกกว่า

1 ใน 4 ของโลก ประสบปัญหาน�้าก�าลังจะหมดลง


FOOD PROCESSING 85

การบริหารจัดการน�้าอย่างมีประสิทธิผล

หลายครัง้ พบว่าไม่มกี ารติดตามข้อมูลการใช้นา�้ ที่ดีพอ ท�าให้ไม่สามารถบริหารจัดการได้อย่างถูก ต้อง แทนที่การส�ารวจพื้นที่ทั้งหมด เหมือนกับการ งมเข็มในทะเล โรงงานควรระบุเป้าหมายขอบเขต 10 พื้นที่ที่มีการใช้งานน�้ามากที่สุดจากนั้นจึงตั้งเป้า หมายที่มีศักยภาพขึ้นมา การน�าการบริหารจัดการ ควบคุมระยะสั้น (Short Interval Control – SIC) เข้า มาใช้ ติดตั้งระบบส�าหรับการส�ารวจข้อมูลการใช้น�้า แบบ Real-Time ท�าให้สามารถบริหารจัดการได้ทั้ง ในระยะสัน้ และระยะยาวได้อย่างทันท่วงที การปรับ ตั้งค่าบางอย่างสามารถท�าได้โดยาการติดตั้งระบบ เปิด-ปิดอัตโนมัติ ในการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรนั้นจ�าเป็น จ�าต้องได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องด้วยการ ตัง้ ใจด�าเนินตามเป้าหมายและมาตรฐาน เป้าหมาย นั้นต้องสามารถสื่อสารได้กับทุกระดับ พนักงาน โรงงานต้องกล้าทีจ่ ะรายงานและเสนอความคิด รวม ถึงการน�ากระบวนการ Six Sigma มาใช้ เพื่อท�าให้ เกิดผลการท�างานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิผล การน�าน�้ากลับมาใช้ใหม่ถือเป็นการด�าเนินการ ที่ส�าคัญและมีประสิทธิผลอย่างมาก ซึ่งจะช่วยลด การน�าน�้าจากแหล่งน�้ามาใช้ เพิ่มประสิทธิภาพใน การท�างานให้กับโรงงานอาหารและเครื่องดื่มได้ เป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งด้ ว ยกระบวนการท� า ความ สะอาดในโรงงานนั้นใช้น�้ากว่า 60% แม้ว่าการใช้ CIP จะท�าให้เกิดการใช้น�้าและพลังงานอย่างมาก แต่การพัฒนาและเสริมก�าลังจะท�าให้เกิดผลลัพธ์ ที่แตกต่างอย่างมาก การอัพเกรดระบบเทคโนโลยี CIP รูปแบบเก่าให้มคี วามจ�าเพาะเจาะจงและรัดกุม มากขึน้ ส�าหรับเรือ่ งการใช้นา�้ จะท�าให้เห็นผลลัพธ์ได้ อย่างชัดเจน การเฝ้าติดตามข้อมูลอย่างสม�่าเสมอ และการประมวลผลจะaท� า ให้ เ ห็ น ถึ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ส ามารถ วางแผนจัดการบริหารการใช้งานได้ อย่างเหมาะสม

นอกจากนี้ ร ะบบบ� า บั ด น�้ า หรื อ ระบบจั ด การ น�้าเสียทั้งหลายก็ส่งผลส�าคัญเช่นกัน สามารถใช้ ร่วมกันได้มากกว่าเทคโนโลยีเดียว เช่น Anaerobic Digester, Aerobic Systems, Reverse Osmosis (RO) System, Membrane Filtration System, Disc Filters และ Clarifiers หรือจะเป็นการใช้งานระบบ บ�าบัดน�า้ ขัน้ สูงอย่าง Membrane Bioreactor (MBR) System ที่เป็นการกรองและปฏิเสธวัสดุหนักออก จากกระบวนการ ตัวอย่างเช่น โรงงาน PepsiCo Frito-Lay ที่ Casa Grande ที่ใช้ระบบดังกล่าวและ ชนะเลิศรางวัล US Water Prize จาก Clean Water America Alliance ที่มีผลลัพธ์ออกมาว่ามีของเสีย ใกล้เคียงกับศูนย์ โดยจากกลุ่มตัวอย่าง The Equity Group ซึ่งผลิตนักเก็ตไก่ อยู่ที่ North Carolina ได้

ลดการใช้น�้าลงไปกว่า 30% และประหยัดค่าใช้จ่าย ไปได้กว่า 1 แสนเหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ นอกจาก นี้โดยเฉลี่ยแล้วกระบวนการเหล่านี้มีศักยภาพใน การประหยัดเงินทุนลงไปได้ถึงราว 1 ล้านเหรียญ ดอลลาร์สหรัฐฯ ส�าหรับการอนุรกั ษ์นา�้ และพลังงาน รวมถึงเพิ่มศักยภาพในการด�าเนินการอีกด้วย ส� า หรั บ กระบวนการอนุ รั ก ษ์ น�้ า นั้ น นอกจาก จะช่ ว ยลดต้ น ทุ น แล้ ว ยั ง ช่ ว ยบริ ห ารจั ด การการ ใช้ น�้ า ในโรงงานอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรต่อ ส่วนรวมเพื่ออนาคตในระยะยาวส�าหรับการด�าเนิน กิจการและแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม

EXECUTIVE SUMMARY In manufacturing, ‘water’ is one of the most essential part for business driven. For food and beverage manufacturing, they consume water more than the other industrial groups in each procedure. They need an effective water management system to reduce cost and use the water with full system capacity. With the applied of CIP, SIC and Six Sigma including waste water treatment technology like Reverse Osmosis system. These factor could reduce cost and improve usability of water management with the most efficiency.

issue 159 MAY 2016


86 SYSTEM WAREHOUSE เรื่อง: ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

Warehouse Management บริหารจัดการคลังสินค้า เพื่อลดต้นทุน ท�าได้ ง่ายนิดเดียว!

ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ทีม่ กี ารแข่งขันกันอย่างรุนแรง การลดต้นทุน ในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน ถือเป็นการ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ที่จะ ท� า ให้ อ งค์ ก รธุ ร กิ จ อยู ่ ร อดและสามารถ แข่งขันได้อย่างมีศักยภาพ ซึ่งการบริหาร จั ด การคลั ง สิ น ค้ า หรื อ WAREHOUSE เป็นหนึ่งในกลยุทธ์การบริหารธุรกิจเพื่อลด ต้นทุนทีส่ า� คัญ หากพิจารณาจากต้นทุนรวม ทัง้ หมดของการด�าเนินธุรกิจอุตสาหกรรม จะ พบว่า 30 - 35% นั้นเป็นสัดส่วนของคลัง สินค้า ซึ่งส่วนใหญ่แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ คลังสินค้าส�าหรับจัดเก็บวัตถุดิบ (Material) ส่วนประกอบ และชิ้นส่วนต่างๆ และคลัง สินค้าส�าเร็จรูป หรือบางครั้งอาจนับรวมไป ถึงงานระหว่างการผลิต สินค้าที่ต้องการทิ้ง และวัสดุที่น�ามาใช้ใหม่ด้วย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

Admin & Other 8% Inventory 21%

Storage 36%

Transport 35%

การบริ ห ารจั ด การคลั ง สิ น ค้ า (Warehouse Management) ไม่ใช่เพียงแค่การ จั ด การจั ด เก็ บ ให้ เ ป็ น ระบบ หากยั ง ต้ อ ง ค�านึงถึงการควบคุมคุณภาพของการจัดเก็บ การหยิบสินค้า การป้องกันการสูญเสียจาก การด�าเนินงาน เพื่อให้ต้นทุนของคลังสินค้า ต�่าที่สุด และมีการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ได้ อย่างสูงสูดด้วย ธุรกิจอุตสาหกรรมต้องบริหารจัดการ คลังสินค้า เพื่อสร้างความมั่นใจว่าแรงงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สาธารณูปโภคต่างๆ มี เพียงพอและสอดคล้องกับระดับของธุรกิจ ที่ได้วางแผนไว้ สร้างความพึงพอใจในการ ท� า งานในแต่ ล ะวั น แก่ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งในการ เคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า ทั้ ง การรั บ เข้ า และการ จ่ายออก โดยใช้ปริมาณจากการจัดซื้อ และ ความต้องการในการจัดส่งให้แก่ลูกค้าเป็น เกณฑ์ โดยสามารถวางแผนได้อย่างต่อเนือ่ ง ควบคุ ม และรั ก ษาระดั บ การใช้ ท รั พ ยากร ต่างๆ เพื่อให้เกิดการบริการภายใต้ต้นทุน ที่เกิดประสิทธิภาพคุ้มค่าในการลงทุนตาม ขนาดธุรกิจที่ก�าหนด


SYSTEM WAREHOUSE 87

หัวใจส�ำคัญของกำรบริหำรจัดกำรคลังสินค้ำที่ดี คือ ต้องสำมำรถลดระยะทำงในกำรปฏิบัติกำร ในกำรเคลื่อนย้ำยให้มำกที่สุด และสำมำรถใช้พื้นที่ และปริมำตรในกำรจัดเก็บให้เกิดประโยชน์สูงสุด

การจัดการ WAREHOUSE ที่ดี

การบริหารจัดการคลังสินค้านัน้ อาจแตก ต่างกันขึน้ อยูก่ บั ประเภทของธุรกิจ เนือ่ งจาก มีตัวแปรหลายปัจจัยที่มีผลต่อการบริหาร จัดการคลังสินค้า อาทิ ขนาดของพืน้ ที่ ระยะ เวลา และต้นทุนในการสต็อกสินค้าคงคลัง ตลอดจนแผนการตลาดในแต่ละช่วงเวลา ใน กรณีที่เป็นองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดเล็ก (SME) ควรศึกษาความ เป็นไปได้และความคุ้มค่าในการลงทุนก่อน เนือ่ งจากการสร้างคลังสินค้านัน้ ใช้เงินลงทุน

สูง มีค่าใช้จ่ายด้านที่ดิน ซึ่งขึ้นอยู่กับท�าเลที่ ตั้ง ทั้งยังมีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร อุปกรณ์ เครือ่ งไม้เครือ่ งมือต่างๆ รวมถึงค่าใช้จา่ ยใน การติดตั้งระบบเทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจน ค่าโสหุ้ยอีกจ�านวนหนึ่งด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม หากต้องบริหารจัดการ คลังสินค้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ต้นทุน ต�่าสุด ผู้ประกอบการควรต้องพิจารณาถึง ปัจจัยต่างๆ ดังนี้

WAREHOUSE MANAGEMENT BENEFITS

ต้นทุนสินค้ำลดลง

ป้องกัน กำรขำดตลำดมือ ของสินค้ำที่ขำย

ลดปัญหำ เนื่องจำกกำรขนส่ง

ช่วยให้กำรผลิต ด�ำเนินได้โดยปกติ

ช่วยให้เครดิต แก่อุตสำหกรรม หรือ พ่อค้ำที่มีทุนน้อย

ผลิตได้ปริมำณ เกินกว่ำควำมต้องกำร ตำมฤดูกำล

ช่วยให้ ได้ใช้สินค้ำนั้นๆ ทันตำมที่ต้องกำร

ตอบสนองควำม ต้องกำรของผู้บริโภค

ช่วยเก็บพักสินค้ำ ชั่วครำวที่ต้องส่งออก ไปต่ำงประเทศ อีกต่อหนึ่ง

ช่วยให้รำคำสินค้ำ มีเสถียรภำพ

กำรลดกำรปฏิบัติกำร ในกำรเคลื่อนย้ำยให้มำกที่สุด

+

กำรใช้พื้นที่จัดเก็บ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ท�ำเลที่ตั้งคลังสินค้ำ อัตรำควำมต้องกำรใช้ในกิจกรรมต่ำงๆ สำธำรณูปโภค ใกล้แหล่งแรงงำน กำรลงทุนด้ำนกำรเงิน สำมำรถก่อสร้ำงอำคำรได้ มีหลักประกันด้ำนต่ำงๆ กำรขยำยกำรลงทุนในอนำคต เทคโนโลยีสำรสนเทศ ปัจจัยที่ต้องพิจำรณำในกำรบริหำรจัดกำรคลังสินค้ำ

อาจกล่าวได้วา่ ประสิทธิภาพของการบริหาร จัดการคลังสินค้าเป็นดัชนีชี้วัดความส�าเร็จใน ระยะยาวขององค์ ก รธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง แน่นอนว่าความได้เปรียบทางการแข่งขันจะเกิด ขึ้นทันทีเมื่อสามารถลดต้นทุนจากการบริหาร จัดการคลังสินค้าที่มีสัดส่วนมากถึง 30 - 35% ของต้นทุนรวมได้ เพราะต้นทุนที่ลดลงจะกลาย เป็นแต้มต่อที่ส�าคัญในการขับเคลื่อนองค์กร ธุรกิจ และเสริมสร้างขีดความสามารถทางการ แข่งขันให้สูงขึ้นตามไปด้วย

EXECUTIVE SUMMARY Warehouse management is one of the strategy for business cost reduction. When considering total cost for manufacturing, 30 - 35% are in warehouse section. To take the advantages in competition, warehouse management could effect instantly when the corporate could mange 30 - 35% from total cost because the reduction will became handicap to drive organization and improve competitive ability. The capability to manage warehouse could be an index measurement for manufacturing business in long term. The heart of warehouse management is to reduce greatest distance in operation while relocation and also make the use of space and volume capability with full efficiency.

issue 159 may 2016


88 Coating Technology เรียบเรียง: ทศธิป สูนย์สาทร

SPIN COATING TECH FOR SOLAR CELL ENHANCING

เทคนิคการเคลือบผิววัสดุกับการเพิ่มผลผลิตพลังงานแสงอาทิตย์

การเคลือบแบบหมุนเหวี่ยง

(Spin Coating) ?

การเคลือบแบบหมุนเหวีย่ งถือเป็นหนึง่ ในเทคนิคยอดนิยม ทีใ่ ช้ในการ เคลือบฟิล์มบางๆ เข้ากับวัสดุตั้งต้น โดยสามารถใช้ได้ในหลากหลายกลุ่ม อุตสาหกรรม รวมถึงกลุ่มเทคโนโลยี ด้วยขั้นตอนที่ง่าย สะดวกรวดเร็ว โดยสามารถเพิ่มความแข็งแกร่งของวัตถุ หรือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้งานได้เช่นกัน

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

สารเคมีที่ใช้ในการเคลือบผิวนั้นมีอยู่หลากหลายชนิด ในกรณี ของออร์แกนิคอิเล็กทรอนิกส์และนาโนเทคโลยีนั้นกระบวนการ เคลือบและท�าให้แห้งถือว่ามีรายละเอียดที่สูงมาก ด้วยการเคลือบ แบบหมุนเหวี่ยงระดับปกติมีอัตราอยู่ที่ 1,000 รอบต่อนาที แต่ ส�าหรับการใช้งานกับนาโนเทคโนโลยีแล้วนั้นอาจต้องใช้อัตราอยู่ที่ 200 รอบต่อนาที ซึ่งท�าให้กระบวนการท�าแห้งนั้นยืดเวลาออกไป และใช้เวลาเพิ่มขึ้นในกระบวนการเซ็ทตัว


Coating Technology 89

1 2 3 4 รูปที่ 1: ล�ำดับกระบวนกำรเคลือบแบบหมุนเหวี่ยง และกำรเรียงตัวโดยทั่วไป

รูปที่ 2: ล�ำดับกระบวนกำรเคลือบแบบหมุนเหวี่ยงและกำร เรียงตัวส�ำหรับกระบวนกำรอนุภำคนำโน

การลดการกระจาย ของแสงลงด้วยการ ใช้ เงิน เคลือบลงบน แผ่นฟิล์ม

การเคลือบแบบหมุนเหวี่ยง

และการอนุรักษ์พลังงาน

ในเทคโนโลยี Solar Cell นั้น บ่อยครั้งที่ปฏิกริยาที่เกิดขึ้นทั้งหมดไม่สามารถแปรเปลี่ยนมาสู่รูปของพลังงานได้ครบถ้วน มีการสูญเสีย พลังงานเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของพื้นผิววัสดุ หรือสารเคลือบก็ตามแต่ โดยหนึ่งในปัจจัยส�าคัญที่เกิดขึ้นคืออนุภาคเหล็กระดับนาโน หรือ NPs ทีท่ า� ให้เกิดการกระจายแสงขึน้ ท�าให้เกิดการกระจายพลังงาน สามารถเก็บเกีย่ วพลังงานได้มากขึน้ โดยพืน้ ทีท่ เี่ หมาะส�าหรับท�าการ พัฒนาปรับปรุง NPs ได้แก่ พื้นที่ด้านหลังของแผ่นฟิล์มพลังงานแสงอาทิตย์ ส�าหรับกระบวนการแก้ปัญหาที่พบนั้น คือ การลดการกระจายของแสงลงด้วยการใช้ เงิน (Ag) เคลือบลงบนแผ่นฟิล์ม Hydrogenated Amorphous Silicon (a-Si:H) ด้วยการใช้เทคนิคหมุนเหวี่ยงหมึก Ag ท�าให้เกิด Ag NPs โดยอาศัยหลักเกณฑ์ที่ว่าการมี NPs ที่เป็นโลหะ ยิ่งอยู่ใกล้บริเวณที่ท�าปฏิกริยาของเซลล์แสงอาทิตย์เท่าไร ประสิทธิภาพจะยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น นี่จึงเป็นกระบวนการที่เรียบง่าย รวดเร็ว และ ประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ ยังไม่ต้องการเครื่องมืออะไรที่ซับซ้อนส�าหรับการด�าเนินการ

รูปที่ 3: ลักษณะกำรเคลือบ Ag NPs และกำรจับตัวบนแผ่นฟิล์ม a-Si:H Solar Cell

issue 159 MAY 2016


90 Coating Technology

เพิ่มประสิทธิภาพการรับแสง

ด้วยอนุภาคเงิน

จากการศึกษาข้อมูลพบว่าการเคลือบด้านหลังแผ่นฟิล์ม a-Si:H ของเซลล์แสง อาทิตย์ ด้วย Ag และเทคนิคหมุนเหวีย่ ง สามารถเพิม่ ศักยภาพในการดูดซับพลังงาน แสงอาทิตย์ได้มากขึ้น โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ 77% เมื่อเทียบกับแผงพลังงานแสง อาทิตย์ทวั่ ไปทีส่ ามารถท�าได้เพียง 56.3% ส�าหรับช่วงคลืน่ 300 - 1,200 นาโนเมตร ผลลัพธ์นี้เกิดจากการใช้หมึกที่สร้างจาก Ag และกระบวนการเผาผนึก (Sintering) ที่ 150 องศาเซลเซียส โดยค่าของ Ag และอุณหภูมิของการเผาผนึกมีผลลักษณะพื้น ผิวของการเคลือบเหวี่ยง จะเห็นได้ว่า การใช้เทคนิคในการเคลือบผิววัสดุเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของวัสดุ ยืดอายุการใช้งาน และสร้างความสวยงามให้แก่วัสดุแล้วนั้น ในบางกระบวนการ เช่น การเคลือบผิวด้านหลังของเซลล์แสงอาทิตย์สามารถเพิ่มผลผลิตได้เช่นกัน โดยผลลัพธ์ที่ได้หากเทียบกับการลงทุนที่น้อยมาก ยิ่งท�าให้เห็นถึงความคุ้มค่าใน กระบวนการเคลือบเหวีย่ งนีอ้ ย่างชัดเจนมากขึน้ ด้วยกระบวนการทีไ่ ม่ซบั ซ้อน และ การใช้เครื่องมือ รวมถึงระยะเวลาอันน้อยนิด

ที่มา: - https://goo.gl/juqkAY (Spin-coated Ag Nanoparticles for Enhancing Light Absorption of thin film a-Si:H solar cells) - http://www.ossila.com/pages/spin-coating

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

EXECUTIVE SUMMARY Material coating is not for strengthen the substrate only but the process could improve productivity too. In spin-coating technic with Ag nanoparticles on rear surface of thin film solar cells a-Si:H . The process resulted in brilliant productivity improvement for generating energy significantly with simple, fast and inexpensive method. This is a good methodology for material coating with value worth for productivity improvement.


เรียบเรียง: สาวิตรี สินปรุ QUALITY CONTROL STANDARDIZATION

การบริหารจัดการองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ จ�าเป็นต้องใช้แนวทางปฏิบตั ิ เพื่อก�าหนด พัฒนา และปรับปรุงให้สัมฤทธิ์ผล มาตรฐาน ISO เป็นที่รู้จักใน แวดวงอุตสาหกรรมในการใช้เพือ่ ส่งเสริมการก�าหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ เกิดระบบแบบแผนในงานและบุคลากรในองค์กร ลดความผิดพลาดในการ ท�างาน ส่งผลให้ระบบการท�างานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น บริษัท หรือองค์กร ใดได้รบั ISO ก็หมายความว่า สินค้าหรือบริการขององค์กรนัน้ เข้าขัน้ มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ระบบมาตรฐาน ISO ประเภทต่างๆ ได้รับการปรับปรุงมาตรฐานใหม่ อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ มาตราฐาน ISO จ�านวน 2 ระบบ ที่ได้รับการพัฒนา ล่าสุด ได้แก่ มาตรฐาน ISO 14004:2016 ระบบจัดการสิ่งแวดล้อม และ ISO 9001:2015 มาตรฐานการบริหารจัดการ โดยมีเนื้อหาสาระดังนี้

มาตรฐาน ISO 14004:2016 คือ มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม เป็นแนวทางทั่วไปส�าหรับการน�าไปใช้ (Environmental Management Systems – General Guidelines on Implementation) มาตรฐานนี้ จะช่วยให้องค์กรมีแนวทางสนับสนุนในการน�าระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ไปใช้ โดยได้รับการออกแบบมาเพื่อเสริมการใช้งานของมาตรฐาน ISO 14001 ให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ซึง่ ให้คา� อธิบายเพิม่ เติมในแนวคิดและข้อก�าหนด ของมาตรฐานนั่นเอง และองค์กรสามารถน�าระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ไปด�าเนินการร่วมกับกระบวนการธุรกิจหลักขององค์กรได้ อย่างไรก็ตาม มาตรฐานนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการน�าไปใช้ในการ จัดการในด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย แต่อาจน�าไปจัดท�าร่วมกับ มาตรฐานระบบการจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัยได้ ทั้งนี้ มาตรฐาน ISO 14004 ฉบับใหม่ท�าให้องค์กรมีแนวทางด�าเนิน การต่อไปในรายละเอียดและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานฉบับใหม่ ISO 14001:2015 การเปลีย่ นแปลงบางประการรวมถึงการเน้นไปทีก่ ารปกป้อง สิ่งแวดล้อม สมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อม มุมมองด้านวงจรชีวิต การจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อมเชิงกลยุทธ์และความเป็นผู้น�า

ISO 14004:2016 มาตรฐานระบบจัดการสิ่งแวดล้อม

91

2 มาตรฐาน ISO

แนวทางยกระดับองค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ ISO 9000 เป็นมาตรฐานสากลส�าหรับระบบบริหารคุณภาพ จัดท�าขึ้น โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization) การปรับปรุง ISO 9001:2015 ครัง้ นี้ ถือเป็นการ ยกระดับการบริหารจัดการครัง้ ใหญ่ และมีความท้าทายเป็นอย่างมากของ องค์กรที่จะน�าไปใช้ โดยมุ่งเน้นให้ทุกองค์กรน�าองค์กรสู่ความยั่งยืน โดย มีแนวคิดพื้นฐาน คือ เจตจ�ำนงขององค์กร (The Concept of Organization Purpose) ที่ ต้องการท�าให้องค์กรสามารถด�ารงอยู่ได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว ด้วยการ ด�าเนินงานที่ต้องพิจารณาถึงสภาวะแวดล้อมภายนอก และต้องมีการ วัดผลการด�าเนินงานทีน่ อกเหนือจากด้านการเงิน (Financial Performance) ด้วยมุมมอง 3 ด้าน (Triple Bottom Lines) คือ ด้านเศรษฐกิจ (Economic Performance) ด้านสิง่ แวดล้อม (Ecological Performance) ด้านสังคม (Social Performance) นอกจากนี้ องค์กรยังต้องมีการสือ่ สารผ่านวิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ นโยบาย และวัตถุประสงค์เพือ่ การปรับปรุง เพือ่ ให้ทกุ คนทีเ่ กีย่ วข้อง สามารถด�าเนินการได้ สภำวะแวดล้อมภำยนอก (The Concept of External Environment) ข้อจ�ากัดในการด�าเนินงานซึ่งท�าให้องค์กรต้องปรับตัวตาม (Adapt) หรือ ต้องค้นหาแนวทางที่จะด�าเนินการ (Shape) ให้เข้ากับสภาวะแวดล้อม ภายนอกเหล่านั้น เพื่อบรรลุผลตามความตั้งใจขององค์กร และสามารถ ด�ารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (The Concept of Interested Parties) ซึ่งมีผลต่อ การด�าเนินงานขององค์กรทั้งระดับองค์กรและระดับบุคคล โดยหมายรวม ถึงลูกค้า ผู้ลงทุน พนักงาน ผู้ส่งมอบ และสังคม ซึ่งองค์กรจะต้องเข้าใจ ความต้องการและความคาดหวัง (Need and Expectation) ของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่จะส่งผลกระทบต่อการด�าเนินงานของ องค์กร เพื่อน�ามาใช้ก�าหนดแนวทางด�าเนินการตอบสนองความต้องการ และความคาดหวังดังกล่าว ตลอดจนสามารถท�าให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกิด ความผูกพัน (Engagement) ต่อองค์กร ทีม่ า: สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ

ที่มา: http://www.masciinnoversity.com EXECUTIVE SUMMARY ISO standard is famous in manufacturing circle also encouraging the international standardization. The company or any organization that ISO approved, indicate qualified product or service that available for international use. The ISO standard has 2 latest system, ISO 14004:2016 environmental management system that designed to improve ISO 14001 standard and ISO 9001:2015 quality management system as renovation of old management system. MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ISO 9001:2015 มาตรฐานการบริหารจัดการ issue 159 May 2016


92 SAFETY เรียบเรียง: เปมิกา สมพงษ์

ROLES OF MANAGEMENT บทบาทของฝ่ายบริหาร ต่อความปลอดภัย การเสริ ม สร้ า งความปลอดภั ย ในโรงงาน อุตสาหกรรม (Safety) นับวันจะมีความส�าคัญต่อ ความส�าเร็จของการบริหารโรงงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะกระบวนการผลิตที่มีความปลอดภัย ย่อม เป็นหลักประกันได้ว่า โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ อันตรายมีน้อยมาก ความสูญเสียและค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุก็ลดลง เช่น ค่ารักษาพยาบาลคนงานหรือผู้บาดเจ็บ พิการ ค่ า ซ่ อ มแซมเครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งมื อ ค่ า สู ญ เสี ย เวลาและโอกาส เป็นต้น เมื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ได้ ต้นทุนการผลิตของโรงงานก็ลดลง สินค้าที่ ผลิตได้สามารถแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งในท้อง ตลาด และผลตอบแทนด้านก�าไรของโรงงานก็ สูงขึ้นนั่นเอง หน้าที่หรือบทบาทของฝ่ายบริหารต่อการ สร้างความปลอดภัย ในโรงงานอุตสาหกรรม อาทิ การวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัย การจัด องค์กรเพื่อความปลอดภัย การซ่อมบ�ารุง การ อบรมคนงาน มาตรการป้องกันอุบัติเหตุ การท�า ฝาครอบเครื่องจักรกล การตรวจสอบเพื่อความ ปลอดภัย ตลอดจนการค�านวณเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ต่างๆ หน้าทีเ่ หล่านี้ เป็นสิง่ ทีค่ นงานมิอาจกระท�า ให้บรรลุเป้าหมายได้โดยล�าพัง ต้องอาศัยความ ร่วมมืออย่างจริงจังจากฝ่ายบริหาร เพราะเป็นการ กระท�าในระดับสูงและอาศัยความร่วมมือกันจาก หลายฝ่าย จึงจะส�าเร็จ

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

บทบาทหรือหน้าที่ของความปลอดภัยอยู่ที่ไหน? ในการจัดการเกี่ยวกับการเสริมสร้างความ ปลอดภัยในโรงงานนัน้ เรามักจะได้ยนิ หรือได้เห็น ค�าขวัญทีว่ า่ ‘ปลอดภัยไว้กอ่ น’ (Safety First) ซึง่ ผู้ บริหารด้านนี้ยึดถือและปฏิบัติมาตลอด แต่ใน ปัจจุบันทัศนคติด้าน ‘ปลอดภัยไว้ก่อน’ หรือ ‘ปลอดภัยไว้ทหี่ ลังสุด’ (Safety Last) นัน้ คงต้อง เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากผู้จัดการโรงงานและ บริ ห ารที่ มี ค วามคิ ด ก้ า วหน้ า ต้ อ งไม่ คิ ด ว่ า ความปลอดภัยและกระบวนการผลิตแยกต่าง หากจากกั น มี ค วามต้ อ งการการผลิ ต ที่ มี ประสิทธิภาพเหนือสิ่งอื่นใด โดยที่การผลิตนั้น ต้องส�าเร็จได้โดยมิได้มีผู้ใดบาดเจ็บ พิการเลย และสามารถลดค่าใช้จา่ ยหรือความสูญเสียต่างๆ เหลือน้อยที่สุดด้วย ในอดีตนักบริหารด้านความปลอดภัยใน

โรงงานมักจะก�าหนดนโยบาย หรือแผนงานความ ปลอดภัยแยกต่างหากจากนโยบายอื่นๆ ของ องค์กร แต่ปัจจุบันนี้นักบริหารความปลอดภัย มืออาชีพได้เน้นความส�าคัญอย่างยิ่งที่ให้แผน งานด้านความปลอดภัยเป็นแผนงานชนิดสอด แทรกและกลมกลืนเป็นอันเดียวกับแผนงานด้าน อื่นๆ ขององค์กร มิใช่แผนงานเอกเทศอีกต่อ ไป กล่าวคือ ‘เราไม่ต้องการแผนงานด้านการผลิตและ แผนงานด้านความปลอดภัย หรือการผลิตและ ความปลอดภัย แต่เราต้องการการผลิตที่มี ความปลอดภัย (Safe Production)’ ความปลอดภั ย จะต้ อ งสอดแทรกและ กลมกลืนเข้าไปในกระบวนการผลิตสินค้าของ โรงงาน จึงจะบรรลุถึงเป้าหมายของการบริหาร


SAFETY 93

Management By Objective มีเป้าหมาย ที่ชัดเจนขององค์กร - ลดความสูญเสียที่เกิดจากอุบัติเหตุ การ Management เจ็บป่วย ความบกพร่องในกระบวนการผลิต By Example ที่เกิดจากสภาพการท�างานที่ไม่ปลอดภัย ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี หรือการกระท�าที่ไม่ปลอดภัย (Best Practice) - ตั้งเป้าหมายการท�างานที่ เข้ า ร่ ว มการประชุ มคณะกรรมการ ปลอดอุบัติเหตุ ความปลอดภัยฯ - เป็นผู้น�าทีมในการรณรงค์ ในการใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) - ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยในการ ท�างานอย่างเคร่งครัด

กลยุทธ์การ บริหารความ ปลอดภัย

Management By Motive มีการสร้างแรงจูงใจ - จัดรางวัลกลุ่ม/แผนกที่ท�างานด้วยความปลอดภัย (Zero Accident Award) - จัดรางวัลบุคคล (Safety Man Of Management Moral The Month / Year) พนักงานทุกระดับและทุกคน ได้รับการดูแลให้ท�างานในสภาพ แวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดจากอุบัติเหตุ และโรคจากการท�างาน

โรงงานได้ เพราะจุดประสงค์หลักของการบริหาร โรงงานก็ คื อ การผลิ ต ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ สุ ด (การผลิตที่มีต้นทุนต�่าสุดหรือการผลิตที่ให้ผล ก�าไรสูงสุด) การที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้นั้น เราต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบหรือ ทรัพยากรพืน้ ฐานของโรงงาน 2 ประเภท ประเภท แรก คือ แรงงาน (คน) ประเภทที่สอง ได้แก่ วัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ การบริหารงานผลิตจึงต้องเกี่ยวข้องกับ การจัดการทรัพยากรพื้นฐานทั้งสองประเภทใน หลายลักษณะงาน คือ การบริหารบุคคลส�าหรับ ทรัพยากรมนุษย์ ได้แก่ การฝึกอบรมการคัด เลือกและบรรจุพนักงาน การตรวจสุขภาพ และ แรงงานสัมพันธ์ ส่วนทรัพยากรประเภทที่สอง นั้ น ลั ก ษณะงานบริ ห าร ได้ แ ก่ วิ ช าการด้ า น วิศวกรรมศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย และการบ�ารุง รักษา

ความปลอดภั ย มิ ใช่ ท รั พ ยากรของโรงงาน มิใช่สิ่งที่มีอิทธิพล มิใช่วิธีการ อีกทั้งมิใช่แผนงาน หรือโครงการใดๆ แต่ความปลอดภัยเป็นสภาพ ทางจิตส�านึกอย่างหนึ่ง เป็นบรรยากาศที่จะต้อง ครอบคลุมและบรรจุอยู่ในทุกๆ วิธีการปฏิบัติ งานในการบริหารงานผลิตของโรงงานจึงจะถือ ได้ว่าความปลอดภัยเป็นแผนงานสอดแทรกและ กลมกลืนกับแผนงานอื่น ซึ่งจะท�าให้การบริหาร งานผลิตมีประสิทธิภาพอย่างถาวร EXECUTIVE SUMMARY To improve factory safety, the labor couldn’t achieve this goal alone but executive sector should cooperate together. Starting from clearly policy and take action seriously. Safety management is not an individual subject, it should be intervene and harmonious with manufacturing processes to achieve the ultimate goal of factory management. The ultimate goal for factory management is ‘the most efficiency manufacturing processes’.

ทีม่ า: - www.hmomedicalmalpractice.com - สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและ อนามัยในการท�างาน

issue 159 May 2016


94 EQUIPMENT&TOOL

Handal Screw Air Compressor

Handal Screw Compressor comes with superior design and functions that are specialized for unstable electricity area. With Phase/Unbalance protection, the machine will automatically be unloaded when electrical instability is detected and will finally shut down the system completely if the stability is considered as serious. The machine also designed to prevent the reverse rotating of the screw when there is an electric shock, which possibly leads to severe compressor problem. It comes with Host/Fan Rate Current to help protecting main motor from being overloaded. With this, it’s guaranteed that the machine will be suitable even in the electrical instability area.

For more information, please contact Kaowna Industry & Engineering Co.,Ltd. Tel: 0-2159-9861-4 Fax: 0-2159-9860 E-Mail: sales@kaowna.co.th or www.kaowna.co.th

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

TungForce-Rec A new miniature shoulder milling series

TungForce-Rec, a new miniature shoulder milling series, features a unique clamping system offering exceptional stability in machining small pockets and slots. • Reliability for stable machining. - Optimized insert positioning provides core strength to the cutter body in small diameters. - Obtuse-angled flank surface of the insert toughens cutting edge, avoiding chipping. • Insert strength is increased at the (cross section) across the screw hole. - Large screw and its increased contact area with the body • improve stability. - V-shaped insert bottom broadens clamping area for the given size of the insert. - Sharp cutting edge with positive rake face ensures smooth cutting.

For more information, please contact Tungaloy Cutting Tool (Thailand) Co., Ltd. Tel: 0-2-751-5711 www.tungaloy.co.th


EQUIPMENT&TOOL 95

AQUAFLOW The Waterblasing Experts From 5,000 psi to 55,000 psi

DIXI Polytool, High Speed End Mill Boost your productivity

• Ideal for 3D pocketing and plunge milling • For roughing molds and dies AquaFlow is made up of two premier product lines: Aqua-Dyne & Flow. The combination of these two companies give you more than a vast product line to choose from; it allows us to get more thoroughly support for you in all aspects of the two partnership together. Reliable and durable performance from 5,000 psi to 40,000 psi. Proven in the following applications: • Surface PreparationIn • Industrial Cleaning • Hydrostatic Testing

Face milling

Routing

Plunge milling

For more information, please contact SIAM ANANKIT Tel: 0-2874-1559

Operation: face milling Material: 1.2767 n = 5’570 rev/min Vf = 3’310 mm/min ap = 0.4 mm ae = 4 mm Operation: routing Material: 1.2767 n = 6’366 rev/min Vf = 3’184 mm/min ap = 5 mm ae = 2 mm Operation: plunge milling Material: 1.2767 n = 4’456 rev/min Vf = 891 mm/min ap = 10 mm ae = 3 mm

For more information, please contact DIXI POLYTOOL S.A. Tel: +41 (0)32 933 54 44 E-mail: dixipoly@dixi.com or www.dixipolytool.com

issue 159 MAY 2016


96 Post Show

รศ.ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์

รองผูอ้ ำ� นวยกำร สถำบันวิจยั โลหะและวัสดุ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

MMRI เผยบทบาทเชิงรุก หนุนอุตฯ โลหะไทยใน

SURFACE & COATING FORUM 2016 เปิ ด ประตู สู ่ โ อกาสกั น อี ก ครั้ ง กั บ งาน อุตสาหกรรมสนับสนุนประจ�าปี Surface & Coating 2016 ที่นักอุตสาหกรรมชั้นแนวหน้า ทั่ ว อาเซี ย นและต่ า งประเทศจะมารวมตั ว กั น เพื่อตอบรับความต้องการด้านการผลิตให้กับ ผู้ที่สนใจเทคโนโลยีขั้นสูงด้านการปรับพื้นผิว วัสดุและการชุบเคลือบโลหะ เพื่อน�าไปพัฒนา ต่อยอดให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด โดยงานนี้เป็น ส่วนหนึ่งของงาน Manufacturing Expo 2016 มหกรรมสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตที่ใหญ่ ที่สุด ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-25 มิถุนายน 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยมีกจิ กรรมสัมมนา Surface & Coating Forum ที่น่าสนใจจัดขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน ในโอกาสนี้ รศ.ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรตั น์ รองผู ้ อ� า นวยการ สถาบัน วิจัย โลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (MMRI) ซึ่งเป็นอีก หน่ ว ยงานหนึ่ ง ที่ ร ่ ว มสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรม โลหะไทยให้เติบโตและก้าวหน้า ได้ให้เกียรติกับ นิตยสาร Modern Manufacturing ร่วมพูดคุย MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

ถึงทิศทางของอุตสาหกรรมโลหะไทย ตลอดจน บทบาทเชิงรุกที่จะร่วมยกระดับอุตสาหกรรม การผลิตไทยให้ก้าวไกล ในการประชุมสัมมนา Surface & Coatings Forum พัฒนางาน Surface Finishing ผลักดันอุตสาหกรรมโลหะไทย คุ ณ ยุ ท ธนั น ท์ ได้ ก ล่ า วถึ ง ภาพรวม อุตสาหกรรมโลหะไทยว่ามีการพัฒนามาอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของเทคโนโลยี ที่ใช้และพัฒนาขึ้นในอุตสาหกรรม รวมไปถึง การขยายการเติบโตของตลาด ซึ่งหากพิจารณา เฉพาะงานทางด้านการเคลือบผิวโลหะ หรือ ที่เรียกว่า Surface Finishing จะพบว่ามีการ เติบโตในหลายภาคส่วน หลายกลุม่ อุตสาหกรรม ส�าคัญของประเทศ ไม่วา่ จะเป็น ชิน้ ส่วนยานยนต์ เครื่องประดับ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และงาน ก่อสร้าง ซึง่ ล้วนมีกระบวนการชุบเคลือบผิวโลหะ เป็นหัวใจในการผลิตผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ ในภาพรวม อุตสาหกรรมต่างๆมุง่ ทีจ่ ะประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

เคลือบผิวโลหะที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ มองความเป็ น ไปได้ ใ นการลดต้ น ทุ น อย่ า ง เหมาะสม และให้ความส�าคัญต่อการพัฒนา ศักยภาพของบุคคลากรในองค์กร “นอกจากอุ ต สาหกรรมหลั ก ดั ง กล่ า ว ประเทศไทยยั ง มี อุ ต สาหกรรมใหม่ อ ย่ า ง อุตสาหกรรม Aerospace ซึ่งก็คือ อุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน โดยยังอยู่ในช่วง เริ่มต้น และมีกระบวนการเคลือบผิวโลหะเป็น ส่วนประกอบที่ส�าคัญ ดังนั้น จะเห็นว่าหลาย ส่วนของอุตสาหกรรมในประเทศไทย ล้วนมีงาน ด้าน Surface Finishing เข้าไปมีบทบาทในการ ช่วยผลักดัน ขับเคลื่อนให้เกิดการเติบโตต่อไป ในอนาคต” ชูสองกลยุทธ์ร่วมผลักดันอุตสาหกรรมไทย ส�าหรับนโยบายเชิงรุกของ MMRI ในการ ร่ ว มสนั บ สนุ น และผลั ก ดั น อุ ต สาหกรรมไทย คุณยุทธนันท์ ได้กล่าวให้เห็นภาพใหญ่ๆ สองส่วน ส่ ว นแรก คื อ การร่ ว มวิ จั ย และพั ฒ นากั บ


ELECTRIC TREND 97

ภาคอุตสาหกรรมและภาคเอกชน โดยมุ่งเน้น การวิจยั และพัฒนาเพือ่ แก้ปญ ั หาในภาคการผลิต รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์ทางด้านโลหะ ผลิตภัณฑ์ทางด้านงาน ชุบเคลือบผิวต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเทคนิค ต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น ซึ่ง MMRI ได้ให้การสนับสนุนภาคเอกชนและ ด�าเนินโครงการวิจัยพัฒนาร่วมกับอุตสาหกรรม มาอย่างต่อเนือ่ ง ส่วนที่ 2 คือ การสร้างเครือข่าย เป็นการสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการท�างาน ร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ งานด้าน Surface Finishing ซึ่งส�านักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (สวทน.)ปั จ จุ บั น ได้ ให้การสนับสนุนเพื่อสร้างเครือข่าย เรียนเชิญ ผู้ประกอบการด้าน Surface Finishing เข้ามา ท� า งานร่ ว มกั น มี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล และ ความคิดเห็น เพื่อร่วมกันต่อยอดการพัฒนา ซึ่งหลังจากนี้จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้าง เครือข่ายเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประสิทธิภาพและคุณภาพที่ดี ชี้อนาคตอุตสาหกรรมโลหะ คุณยุทธนันท์ ยังได้ให้มมุ มองเรือ่ งศักยภาพ ของนวั ต กรรมการเตรี ย มพื้ น ผิ ว และเคลื อ บ ผิวโลหะ ในอุตสาหกรรมการผลิตไทยว่า ต้อง ยอมรับว่าอุตสาหกรรมการผลิตที่เกี่ยวข้องกับ Surface & Coating ของไทยนัน้ ยังต้องได้รบั การ ปรับปรุง พัฒนาใน 3 ประการ กล่าวคือ ประการที่ (1) ประสิทธิภาพในการผลิต เช่น หากต้องการผลิตชิ้นงานจ�านวน 100 ชิ้น แต่ ล ะโรงงาน แต่ ล ะบริ ษั ท ควรสามารถผลิ ต ชิ้นงานดีให้ได้ในสัดส่วนที่สูง ในระยะเวลาที่ เหมาะสม ไม่ใช่ผลิตได้เพียง 60 ชิ้น อีก 40 ชิ้น

เป็นของเสีย เป็นต้น ดังนั้น สิ่งที่ต้องพัฒนา ปรับปรุง ก็คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ลดต้ น ทุ น จากการลดของเสี ย ในกระบวนการ ผลิตเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของ ผู้ประกอบการ ประการที่ (2) การประยุกต์ใช้หรือการ พัฒนากระบวนการผลิต ปัจจุบันการแข่งขัน ทางด้านราคาการผลิตเป็นไปได้ยากมากยิ่งขึ้น เรื่อยๆ เนื่องจากต้นทุนอัตราค่าแรงในหลายๆ ประเทศเริ่มต�่ากว่าในไทยมาก ดังนั้น ในอนาคต ผู้ประกอบการไทยต้องเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มี ความโดดเด่น มีเอกลักษณ์ มีคุณสมบัติที่สูงขึ้น ท� า ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ในเชิ ง คุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์ได้มากยิ่งขึ้น อีกประการหนึ่ง คือ สิ่งแวดล้อม ซึ่งถือ เป็นประเด็นส�าคัญที่ภาคอุตสาหกรรมไทยควร ด�าเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ให้ความส�าคัญกับการลดใช้สารเคมีที่เป็นพิษ จั ด ท� า ระบบบ� า บั ด น�้ า และของเสี ย อย่ า งมี ประสิทธิภาพ และมีการพัฒนากระบวนการ รีไซเคิลภายในโรงงานมากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการ เพิ่มศักยภาพการแข่งขันในระดับสากล Surface & Coating Forum โอกาสที่พลาดไม่ ได้ ในช่วงท้ายของการสนทนา คุณยุทธนันท์ ได้กล่าวถึงหัวข้อสัมมนาภายในงาน Surface & Coating Forum ในปีนี้ ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 24 มิ ถุ น ายน ว่ า มี ค วามน่ า สนใจเป็ น อย่ า งมาก เนือ่ งจากจะมีการบรรยาย เสวนา และให้ความรู้ ในหัวข้อที่หลากหลาย ทั้งเรื่องภาพรวมทิศทาง การเติ บ โตและบทบาทของอุ ต สาหกรรมการ เคลือบผิวโลหะในประเทศไทย รวมถึงแนวทาง

การพัฒนาของภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งในปีนี้ การจั ด งานสั ม มนาในครั้ ง นี้ นั้ น มุ ่ ง เน้ น ให้ ผู้ประกอบการได้เห็นถึงโอกาสทางการตลาด ที่หลากหลาย นอกเหนือไปจากข้อมูลน่าสนใจ เกีย่ วกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ทางด้าน การเคลือบผิวโลหะ การจัดงานสัมมนาในครั้งนี้ จะมีไฮไลต์ส�าคัญในช่วงเช้า ซึ่งได้รับเกียรติจาก Dr.Martin Metzner วิทยากรชาวเยอรมัน จาก Fraunhofer Institute IPA ที่จะมาบรรยายพิเศษ ถึงโอกาสของผูป้ ระกอบการด้านชุบโลหะในการ ขยายงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรมแขนงต่างๆ รวมทั้ ง แนวทางในการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ และศั ก ยภาพของผู ้ ป ระกอบการ นอกจากนี้ ในช่วงบ่ายยังมีการเสวนาที่น่าสนใจเกี่ยวกับ อุตสาหกรรม Aerospace ในประเทศ และโอกาส ของงานชุบเคลือบผิวโลหะที่จะช่วยขับเคลื่อน อุตสาหกรรมใหม่นี้ “งานสัมมนา Surface & Coating Forum ในครั้ ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการจะได้ เ ห็ น ภาพรวม และเห็นถึงโอกาสใหม่ๆ ในเชิงการตลาดของ อุตสาหกรรมด้าน Surface & Coating อีกทั้ง ได้ อั พ เดตเทคโนโลยี แ ละความก้ า วหน้ า ของ อุตสาหกรรมนอกจากนี้ งาน Surface & Coating จะมีการจัดแสดง Showcase ของ 10 เทคโนโลยี และนวัตกรรมเคลือบผิวทีโ่ ดดเด่น อันเป็นผลงาน วิจัยพัฒนาของอาจารย์และนักวิจัยทั่วประเทศ ดังนัน้ ต้องบอกว่าผูส้ นในห้ามพลาดด้วยประการ ทั้งปวง” คุณยุทธนันท์ กล่าว ผูป้ ระกอบการสามารถติดตามข่าวคราวความ เคลื่อนไหวและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ จากเว็บไซต์สถาบัน www.material.chula.ac.th

issue 159 may 2016


PRODUCTIVITY


ELECTRIC TREND 99

ค้นพบอีกขั้นความเป็นเลิศด้านโลจิสติกส์ในงาน

TILOG-LOGISTIX 2016 ความส�าเร็จของ “TILOG-LOGISTIX” งาน แสดงเทคโนโลยี โซลู ชั่ น และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า น โลจิสติกส์ ส�าหรับภูมภิ าคอาเซียน+6 เมือ่ ช่วงเดือน กันยายนในปีทผี่ า่ นมา มีผสู้ นใจเข้าร่วมงานจ�านวน มากถึง 9,840 ราย ครอบคลุมทั้งกลุ่มผู้ผลิต ผู้จัด จ�าหน่าย ผู้ส่งออกและน�าเข้า จากทั้งในประเทศ และต่างประเทศ สะท้อนให้เห็นว่าความต้องการ พัฒนาด้านระบบโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และคาดว่าจะยิ่ง ทวีมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรับมือกับโอกาสและความ ท้าทายในยุคเออีซี และยุคอาเซียน+6 ที่ก�าลังจะ มาถึง ด้ ว ยเหตุ นี้ ในวั น ที่ 21 – 23 กั น ยายน 2559 กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ (DITP) กระทรวงพาณิ ช ย์ และ บริ ษั ท รี้ ด เทรดเด็กซ์ จ�ากัด ผูร้ ว่ มจัดงาน TILOG-LOGISTIX 2016 จะรวมพลังกันอีกครั้ง เพื่อยกระดับงาน ดังกล่าว ให้เป็นเวทีส�าหรับการรวมพลของคนใน วงการโลจิสติกส์และวงการอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ ใช้บริการด้านนี้ จากทัว่ ภูมภิ าคอาเซียน+6 และอีก หลายประเทศทัว่ โลก โดยการจัดงานในปี 2559 นัน้ จะจัดขึ้นภายใต้แนวคิด ‘Unifying the Powers of ASEAN+6 Logistics’ หรือ ‘รวมพลังแห่งโลจิสติกส์ ระดับอาเซียน+6’ ซึง่ สือ่ ถึงการรวมพลัง รวมจุดแข็ง และข้อได้เปรียบด้านโลจิสติกส์ของแต่ละประเทศ ในกลุ ่ ม อาเซี ย น+6 เอาไว้ ด ้ ว ยกั น ในงานเดี ย ว ผู้ร่วมงานจะได้พบกับผู้แสดงสินค้าจ�านวนกว่า 415 แบรนด์จาก 25 ประเทศ ซึ่งจะเอื้อให้เกิดการ แลกเปลี่ยนแนวคิด ประสบการณ์ และเทคโนโลยี

ที่ผู้ร่วมงานจะสามารถน�าไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจ ของตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังเป็นการ เปิดโอกาสในการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ ทั้งยัง จะได้รับความรู้ใหม่จากการประชุมทางวิชาการ และสัมมนาอีกหลายหัวข้อ และที่พลาดไม่ได้คือ โครงการประกวดผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย หรือ ‘ELMA Award’ และ ‘ELMA Showcase” ที่กรมฯ จั ด ขึ้ น เป็ น ประจ� า ทุ ก ปี เพื่ อ แสดงให้ น านาชาติ ได้เห็นถึงศักยภาพของผู้ประกอบการไทย นางมาลี โชคล�้าเลิศ อธิบดีกรมส่งเสริม การค้ า ระหว่ า งประเทศ กล่ า วถึ ง แนวคิ ด ของ การจัดงานในปี 2559 ว่า “กรมฯ จัดงาน TILOG มาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อส่งเสริมและผลักดัน ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ และผู ้ ป ระกอบการ การค้ า ระหว่ า งประเทศของไทย ให้ ไ ด้ พั ฒ นา ศักยภาพของตนจนสามารถแข่งขันในเวทีการค้า ระดับสากลได้อย่างยั่งยืน” นายสุ ท ธิ ศั ก ดิ์ วิ ล านั น ท์ รองกรรมการ ผูจ้ ดั การบริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ ผูจ้ ดั งาน LOGISTIX กล่าวว่า “เราเข้าใจดีว่าโลจิสติกส์มีบทบาทส�าคัญ กับการเติบโตทางธุรกิจของผู้ประกอบการในสาขา อุตสาหกรรมต่างๆ มากเพียงใด เราจึงมั่นใจว่า ผูเ้ ข้าชมงาน TILOG – LOGISTIX 2016 จะได้สมั ผัส และเรียนรู้เทคโนโลยีและบริการใหม่ๆ ที่ครบครัน มากขึ้น อีกทั้งยังจะมีการจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหา ที่น่าสนใจและอัดแน่นไปด้วยไอเดียและความรู้ ใหม่ๆ เตรียมไว้ให้ผรู้ ว่ มงานมากขึน้ อย่างแน่นอน” การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือการ เปิดเสรีในการเคลือ่ นย้ายสินค้าและบริการ แรงงาน

และการลงทุน ซึ่งก�าลังเปิดโอกาสในตลาดมูลค่า มหาศาลให้กับบริษัทผู้ประกอบการไทยที่พร้อม ขยับขยายธุรกิจไปสู่ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะผู้ให้ บริการด้านโลจิสติกส์สามารถเตรียมความพร้อม ที่จะรับมือกับการขยายตัวครั้งนี้ แม้ว่าจะมีโอกาสหลั่งไหลเข้ามามากมาย แต่ ขณะเดียวกัน ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ไทยก็ตอ้ งเผชิญ ความท้าทายและการแข่งขันกับบริษัทต่างชาติที่ ดุเดือดมากยิ่งขึ้น คุณเกตติวิทย์ สิทธิสุนทรวงศ์ นายกสมาคมผู้รับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่าง ประเทศ (TIFFA) ได้แนะถึงแนวทางการรับมือ ความท้าทายนี้ไว้ว่า “ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย ควรมองสถานการณ์นี้ในเชิงบวกและด�าเนินงาน ในเชิงรุก โดยมองเออีซีว่าเป็นโอกาสครั้งยิ่งใหญ่ ที่ จ ะยกระดั บ ธุ ร กิ จ ของตนไปสู ่ ส ถานะการเป็ น ผู ้ ป ระกอบการระดั บ นานาชาติ ควรเตรี ย มตั ว ให้พร้อมเพื่อออกไปคว้าโอกาสที่มีมากกว่า โดย บุกตลาดเออีซีที่ก�าลังเติบโต หรือแม้กระทั่งบุก ตลาดโลกในอนาคตอันใกล้ก็เป็นได้” คุณเกตติวิทย์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “ถึงเวลาแล้ว ที่นักธุรกิจไทยในวงการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ ควรเล่ น ‘เกมรุ ก ’ และบุ ก เข้ า ไปในพรมแดน ของคู่แข่ง และมองเออีซีว่าเป็นโอกาสมากกว่า ความท้าทาย งาน TILOG-LOGISTIX ที่จะจัดขึ้น มีผู้เข้าร่วมงานกว่า 9,000 ราย นับเป็นเวทีหนึ่ง ทีน่ า� เสนอเทคโนโลยีและโซลูชนั่ ใหม่ๆ ประกอบกับ ความรู้และการสร้างโอกาสในการพบปะพันธมิตร ทางธุรกิจ” สนใจร่วมเป็นผู้แสดงสินค้า โปรดติดต่อ โทร. 0 2686 7299 หรือ อีเมล์: info@tilog-logistix.com และติดตามรายละเอียดของงานได้ที่ เว็บไซต์: www.tilog-logistix.com เฟสบุ๊ค: www.facebook.com/tilog.logistix

issue 159 may 2016


7-8 September 2016 BITEC, Bangkok, Thailand

Asia’s Largest Specialized Sugar and Bioethanol Technology Event!

อีกหนึ่งโอกาสสำคัญสำหรับวงการอุตสาหกรรมออย และน้ำตาลกับการจัดงานครั้งที่ 3 ของ World Sugar Expo & Conference 2016! ซึ่งในงานไดรวบรวมเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร ระบบจัดการโรงงาน บริษัทในวงการธุรกิจน้ำตาลจากทั่วโลก เอาไวอยางมากมาย เเละสิ่งหนึ่งที่หามพลาดกับ World Sugar Conference 2016 ที่รวบรวมผูมีชื่อเสียงในวงการน้ำตาล มาใหความรู อัพเดตขาวสารเเละเทคโนโลยี ใหมๆ ภายใตหัวขอ "Asian Sugar Industry Future Prospects" สนใจขอมูล Conference เพิ่มเติมที่ www.sugar-conference.com

The 3rd Edition of World Sugar Expo & Conference 2016, Thailand held every year is one of the world’s largest specialized sugar and bioethanol technology event that brings together an international congregation of sugar companies and also its supporting industries gathered in the capital city of Bangkok, Thailand to showcase the latest developments in the world sugar and bioethanol industry. Co-Located With : World Sugar Conference 2016, annual meeting point for sugar and bioethanol industry players in Thailand and South East Asia. It remains the dedicated conference with a comprehensive focus on trade, investment and technology, Under the theme of " Asian Sugar Industry future Prospects " More information of Conference www.sugar-conference.com

Supported By:

The Office of the Cane and Sugar Board (OCSB)

Thailand Society of Sugar Cane Technologists

Platinum Exhibitor By :

Thai Sugar Millers Corporation Limited

Co-Located With :

KTIS Group

Official Media :

Ekarat Pattana Company Limited

Conference By :

Khonburi Sugar Public Company Limited

Thai-Japan Technology Promotion Assn

Organized By :

World

SUGAR

Conference 2016

Samart Kaset-Yon Co.,Ltd.

World Sugar Conference 2015

Sugar Asia Magazine

JuzTalk Thailand

Fireworks Media (Thailand) Co. Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group


The Edit 6th ion of

The 6th Edition of Thailand’s Most Successful Oil & Gas and Petrochemical Exhibition!

Premium Exhibitors :

Supported By:

Petroleum Institute of Thailand (PTIT)

Singapore Industrial Automation Association (SIAA)

Design & Engineering Consulting Service Center

Technology Promotion Association

Welding Institute of Thailand

Technical Petroleum Training Institute (TPTI)

Technip Engineering (Thailand) Ltd.

Singapore Companies Are Entitled Up to 50% Subsidy!

Thailand Oil & Gas Today Magazine

www.thai-marine.com Endorsed By :

Marine Department

Port Authority of Thailand

Association (TSBA)

Petroleum Institute of Thailand (PTIT)

Italthai Marine Limited

MES Mitr Project

Thai Shipbuilding and Repairing

Technology Promotion Association

Welding Institute of Thailand

Premium Exhibitors By :

Unithai Shipyard and Engineering Ltd

MARSUN Company Limited

Services Co.,Ltd

Thaioil Marine Company Limited

Technical Petroleum Training Institute (TPTI)

Juz Talk (Thailand)

Fireworks Media(Thailand) Co.,Ltd Part of The Fireworks Trade Media Group


ASEAN’s Leading Trade Fair on Lighting Technology, Design and Solution

1 - 3 September 2016 Hall 101-102 Bangkok International Trade and Exhibition Center (BITEC)

BOOK NOW ! Receive Special Offers +66 (0) 2664 6499 Ext. 200, 201, 203, 210

www.thailandlightingfair.com

info@thailandlightingfair.com

Sponsored by

Platinum Sponsor

Silver Sponsor

Supported by

Media Partner


ELECTRIC TREND 103

อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2016 ฉีดโอกาสใหม่ให้อุตสาหกรรมพลาสติกครบวงจร

กิจกรรมน่าสนใจ 1. พบทุกค�าตอบของความท้าทาย ในการผลิตและปัญหาด้านเทคนิคของ พลาสติกจากผู้เชี่ยวชาญ พร้อมชม ตัวอย่างชิ้นงาน วัสดุแห่งอนาคต และ นวัตกรรมจากพลาสติกชีวภาพ ในโซน “Plastics Innovation Showcase” 2. กิจกรรม “Total Solutions” ที่ จะน� า ผู ้ ร ่ ว มงานไปสั ม ผั ส กั บ สุ ด ยอด นวัตกรรมในงานอย่างใกล้ชิด พร้อม รั บ ของที่ ร ะลึ ก สุ ด พิ เ ศษ จั ด วั น ละ 2 รอบเท่านั้น

สัมมนาเด่นห้ามพลาด

1. Automotive Day วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 13.00-16.00 น. ณ Grand Hall 203 “ก้าวสู่ยุคนวัตกรรม ปรับยุทธศาสตร์ พัฒนา เทคโนโลยีชิ้นส่วนยานยนต์ ไทยสู่ตลาดโลก” 2. Packaging & Bioplastics Day วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 ณ Grand Hall 203 “ปลดล็อกธุรกิจ ต่อยอดความส�าเร็จ ด้วยเทคโนโลยี บรรจุภัณฑ์” “Bioplastics for Green & Sustainability/ Rubber” ห้องMR 224-225 3. Medical Day วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 13.00-16.00 น. ณ Grand Hall 203

อีกไม่นานเกินรอ เหล่าคนวงการอุตสาหกรรม พลาสติ ก ก็ จ ะได้ พ บกั บ งาน อิ น เตอร์ พ ลาส ไทยแลนด์ 2016 มหกรรมเทคโนโลยีเพื่อการ ผลิตพลาสติกและปิโตรเคมีหนึง่ เดียวของไทย ซึง่ เป็นครัง้ ที่ 25 ระหว่างวันที่ 7-10 กรกฎาคม 2559 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา ซึ่ง คุณสุทธิศักดิ์ วิลานันท์ รองกรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ากัด ในฐานะ ผู้จัดงานครั้งนี้ ได้ให้เกียรติน�าเสนอถึงแนวโน้ม ทิศทางอุตสาหกรรมพลาสติก และไฮไลต์ที่น่า สนใจภายในงาน ผ่านทางนิตยสาร MODERN MANUFACTURING เทรนด์การเติบโตของอุตฯ พลาสติกในไทย คุณสุทธิศักดิ์ กล่าวถึงภาพรวมและเทรนด์ การเติ บ โตว่ า อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก ไทยใน ปัจจุบันเป็นอุตสาหกรรมที่ใหญ่ และนับเป็น อุตสาหกรรมกลุม่ สนับสนุนใน Cluster หลักของ ประเทศไทย โดยมีความพร้อมในการผลิตทีค่ รบ วงจรตั้งแต่อุตสาหกรรมต้นน�้า กลางน�้า และ ปลายน�า้ ท�าให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก เพื่อรองรับความต้องการทั้งใช้ในประเทศและ ท�าการส่งออกสูป่ ระเทศคูค่ า้ ส�าคัญ “ส�าหรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต้องบอกว่าเป็นโอกาสในการส่งออก โดย เฉพาะในกลุม่ CLMV (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวี ย ดนาม) ซึ่ ง มี ค วามต้ อ งการในการใช้ พลาสติกสูงมาก เพราะประเทศเหล่านี้ก�าลัง เติบโต และมีความใกล้ชดิ กับประเทศไทย ท�าให้ สินค้าของประเทศไทยเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่เป็น ตลาด CLMV ได้มากกว่าภูมิภาคอื่น ส่วนใน แง่ของเทรนด์แนวโน้มการเติบโตระยะยาว จะ เป็นเรื่องของพลาสติกชีวภาพ เนื่องจากความ ต้องการใช้ในตลาดโลกมีแนวโน้มสูงขึน้ และไทย มีปัจจัยส่งเสริมอย่างความพร้อมของวัตถุดิบ ชีวมวลส�าหรับผลิตเม็ดพลาสติก” เปิดคอนเซ็ปต์งาน ‘อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ 2016’ ส�าหรับรูปแบบการจัดงาน อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ ในปีนี้ คุณสุทธิศกั ดิ์ กล่าวว่า คอนเซ็ปต์

ของงานในปีนจี้ ะมุง่ เน้นไปที่ ‘ครบทุกโซลูชนั่ เพือ่ การผลิตพลาสติกในทุกอุตสาหกรรม (Total Plastic Manufacturing Solution)’ ภายในงาน จะรวมเทคโนโลยีล่าสุดส�าหรับงานฉีด รีด เป่า กว่า 350 แบรนด์ชั้นน�าจาก 20 ประเทศ ส�าหรับ ผู้ซื้อ 17,000 ราย จาก 54 ประเทศ ที่เป็น ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ บรรจุภัณฑ์ ซึ่งในปีนี้พื้นที่จัดแสดงจะใหญ่กว่า ปีที่ผ่านมา 26% และมีพาวิลเลี่ยนนานาชาติ เพิ่มขึ้นด้วย ไฮไลต์ ในงานอินเตอร์พลาสฯ คุ ณ สุ ท ธิ ศั ก ดิ์ เผยถึ ง ไฮไลต์ เ ด่ น ภายใน งานว่ า ปี นี้ ภ ายในงานจะมี ก ารเปิ ด ตั ว ‘เครื่ อ งฉี ด ระบบไฟฟ้ า Golden Electric’ จาก ARBURG-Made in Germany เป็นครั้ง แรกในประเทศไทย เพื่อการฉีดชิ้นงานความ ละเอียดสูง ที่ต้องการผลิตจ�านวนมาก เช่น การ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ทั้งยังมี ‘เครือ่ งฉีด จาก Woojin’ แบรนด์ชนั้ น�าของประเทศเกาหลี ที่จะ เปิดตัว ‘เครื่องฉีดพลาสติก Two Platen รุ่น DL-A5 series’ ทีเ่ หมาะส�าหรับการปฏิบตั งิ านที่ มีความหลากหลายในการฉีด ขึ้นรูปสินค้าขนาด ใหญ่ ตัง้ แต่ 450-3,500 ตัน นอกจากนี้ ยั ง น� า เสนอเทคโนโลยี ส� า หรั บ อุต สาหกรรมพลาสติกอีกมากมายที่น่าสนใจ ภายในงานที่ผู้ประกอบการไม่ควรพลาด “ในภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ดู เ หมื อ นจะทรงตั ว นั บ เป็ น โอกาสอั น ดี ที่ ผู ้ ป ระกอบการจะใช้ เวลาในการมาเรียนรู้ธุรกิจ อัพเดทเทรนด์ และ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ที่ ก� า ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น ในงาน อินเตอร์พลาส ไทยแลนด์ ซึง่ เป็นงานแสดงสินค้า ส�าหรับอุตสาหกรรมพลาสติกทุกประเภท เหมาะ แก่การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ที่ อยูใ่ นวงการ ดูทศิ ทางของตลาด พร้อมเพิม่ พูน ความรู้ใหม่ๆ เพื่อไปใช้ปรับปรุงในงานการผลิต ของท่านให้มีประสิทธิภาพในการแข่งขัน ดังนั้น การมาเยี่ยมชมงานเช่นนี้ จึงไม่ใช่การเสียเวลา แต่การเป็นการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้กับท่าน” คุณสุทธิศกั ดิ์ กล่าว

issue 159 may 2016


104 Post Show

กฟผ. ชูงาน LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016 ตัง้ เป้าช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ของประเทศไทย 23,000 ตันต่อปี การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) ปลุ ก กระแสคนไทยลดใช้ พ ลั ง งาน อย่างมีประสิทธิภาพ ขนทัพผู้ประกอบการ ทั้งในและต่างประเทศ จ�านวน 500 ราย ร่วม โชว์นวัตกรรมด้านแสงสว่างและเทคโนโลยี ประหยัดพลังงานจากทุกมุมโลก จัดเต็มใน งาน LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016 พร้อมตั้งเป้าช่วยลดการปล่อย CO2 ของประเทศไทยได้อย่างน้อย 23,000 ตันต่อปี มั่นใจเปลี่ยนมุมมองคนไทยหันมา ใช้อุปกรณ์ส่องสว่าง LED และเทคโนโลยี ประหยัดพลังงานเพื่อลดโลกร้อนมากขึ้น วันที่ 19 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง พลังงาน เป็นประธานในพิธีเปิดงาน LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016 พร้อม ด้วย ดร.อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน นายสหรัฐ บุญโพธิภกั ดี รองผูว้ า่ การกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และ นายจิรตุ ถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา รองผูอ้ า� นวยการ ส�านักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ณ ห้องแอมเบอร์ 2 – 3 ศูนย์ แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทอง ธานี พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงพลั ง งาน เปิ ด เผยว่ า MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

“ประเทศไทยมีอัตราการใช้พลังงานสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องทุกปี กระทรวงพลังงานได้ตั้งเป้าหมาย ในการลดการใช้พลังงานลงให้ได้ร้อยละ 30 ใน ปี 2579 ตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ซึ่ง ก� า หนดยุ ท ธศาสตร์ แ ละแนวทางส่ ง เสริ ม การ อนุรักษ์พลังงานทั้งในระยะสั้นและระยะยาว มี เป้าหมายในภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาค ธุรกิจ และภาคที่อยู่อาศัย ซึ่งงาน LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016 จะ เป็นการจุดประกายให้ทุกองค์กรหันมาให้ความ ส�าคัญกับการลงทุนด้านการประหยัดพลังงาน ด้วยการเปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง รวมถึงร่วมกันกระตุ้นการอนุรักษ์พลังงานสู่ทุก ภาคส่วนอย่างยั่งยืน” ด้ า น นายสหรั ฐ บุ ญ โพธิ ภั ก ดี รองผู ้ ว่าการกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า งาน “LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016” เป็นงานแสดงสินค้านานาชาติด้านผลิตภัณฑ์ LED และเทคโนโลยีประหยัดพลังงานที่ยิ่งใหญ่ ทีส่ ดุ ในภูมภิ าคอาเซียน จัดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 19 - 22 เมษายน 2559 ณ อาคาร 4 – 8 ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี เพื่อ กระตุ้นให้เกิดการใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ในประเทศอย่างยั่งยืน และเสริมสร้างองค์ความ รู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานแก่ผู้ใช้ไฟฟ้า ภายใน

งานได้มีหน่วยงานภาครัฐ สมาคมวิชาชีพ ร่วม จัดแสดงผลงานด้านวิชาการ และมีผู้ประกอบ การทั่วโลก ร่วมน�าเสนอเทคโนโลยีนวัตกรรม ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ LED และอุ ป กรณ์ ป ระหยั ด พลังงานอาทิ จอภาพ หลอดไฟ ป้ายไฟ ระบบ ท�าความเย็นและระบบปรับอากาศ จ�านวนรวม กว่า 500 ราย ด้าน นายจิรุตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา รอง ผูอ้ า� นวยการ ส�านักงานส่งเสริมการจัดประชุม และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สส ปน. เปิดเผยว่า “งาน LED Expo & Thailand Energy Saving Week 2016 ถือเป็นงานแสดง สิ น ค้ า ที่ ต อบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการด้ า นการ ลดใช้พลังงานของประเทศ และช่วยให้ทุกภาค ส่วนประสบความส�าเร็จด้านการจัดการพลังงาน ได้ อ ย่ า งดี ยิ่ ง และปี นี้ สสปน.ได้ เ สริ ม ความ แข็งแกร่งให้กับผู้จัดงานด้วยแคมเปญ Connect Businesses ซึ่งเป็นการน�ากลุ่มนักธุรกิจและผู้ ประกอบการจากต่างประเทศในอาเซียนและ BIMSTEC ให้เข้าร่วมงาน เพื่อท�าการจับคู่เจรจา ธุรกิจกันภายในงาน


ELECTRIC TREND 105

ท�ำสถิติใหม่กับยอดผู้เข้ำชมงำน กว่ำ 350,000 คน

ฝ่ายการตลาดและสื่อสารองค์กร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด โทร. 02-717-2477 ณัฐชา เขียวชะอุ่ม ต่อ 300 E-mail : natsha@ttfintl.com อัญชลี สุนทรวิจารณ์ ต่อ 314 E-Mail: anchalee@TTFintl.com

งานสถาปนิก’59 งานจัดแสดงนิทรรศการและเทคโนโลยีทางด้านการ ออกแบบสถาปัตยกรรมและวัสดุก่อสร้างใหญ่ที่สุดในอาเซียน ครั้งที่ 30 โดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด ปิดฉากอย่างสวยงาม กับงานสถาปนิก’59 ASA Back to Basic : อาษาสูส่ ามัญ ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 26 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2559 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ด้วยยอดผู้เข้าร่วมชมงานตลอดการจัดงาน กว่า 352,563 คน โดยปีนยี้ งั คงมีกจิ กรรมมากมายทีไ่ ด้รบั ความสนใจทัง้ จาก เหล่านิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไป ร่วมไปถึงนักสถาปัตยกรรมทั้งชาว ไทยและต่างชาติ อาทิ การประกวดเพ้นท์สุขภัณฑ์ ครั้งที่ 6 การประกวด นิทรรศการนิสติ -นักศึกษา สถาปนิก’59 รวมไปถึงการสัมมนาในหัวข้อต่างๆ ที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ ทางด้ า นผู ้ ป ระกอบการที่ เข้ า ร่ ว มจั ด แสดงภายในงาน สถาปนิก’59 เปิดเผยว่า การมาออกบูธจัดแสดงในงานสถาปนิก’59 ครั้งนี้ นับว่าได้รบั ความสนใจจากกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย และได้รบั การตอบรับอย่างดี จากผู้เข้าร่วมชมงานจากทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ถือเป็นเวทีแห่งการ เปิดตลาดสู่เวทีโลกอย่างแท้จริง และคาดว่างานสถาปนิก’60 จะได้รับความ สนใจอย่างล้นหลามอีกเช่นกัน

issue 159 may 2016


106 Post Show

PROPAK ASIA 2016 ขยายโอกาสทางธุรกิจสู่เอเซีย

โพรแพ็ ค เอเชี ย 2016 งานแสดงสิ น ค้ า อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและบรรจุ ภั ณ ฑ์ ร ะดั บ นานาชาติ อั น ดั บ หนึ่ ง ของเอเชี ย ครอบคลุ ม อุ ต สาหกรรมและธุ ร กิ จ ส� า คั ญ ทั้ ง อาหาร เครื่องดื่ม ยา เวชภัณฑ์ และ FMCG markets พลาดไม่ได้กับงานประชุมสัมมนาของ องค์กรและบริษทั ชัน้ น�าในอุตสาหกรรมการผลิต และบรรจุภัณฑ์ทั่วเอเชีย โพรแพ็ค เอเชีย 2016 จัดขึ้นเป็นปีที่ 24 ถือเป็นงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมนานาชาติ ที่มีการจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องยาวนานที่สุดงาน หนึ่ ง ของเอเชี ย ทั้ ง ยั ง มี ก ารเติ บ โตและมี ก าร ขยายพื้นที่การจัดงานเพิ่มขึ้นทุกปี โดย โพร แพ็ค เอเชีย 2016 จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 15-18 มิถนุ ายน 2016 บนพืน้ ทีก่ ารจัดงานครอบคลุม 7 ฮอลล์ (ฮอลล์ 101 - 107) ของศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ในปี นี้ ถื อ เป็ น ปี แ ห่ ง การเริ่มต้นความร่ว ม มื อ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศใน กลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซียน การวมกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อย่างเป็น ทางการในวันวันที่ 31 ธันวาคม 2015 ที่ผ่าน มา จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ป ระเทศในกลุ ่ ม AEC ซึ่งประกอบด้วย ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม และ บรูไน กลายเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศที่มี ความแข็งแกร่งทางด้านเศรษฐกิจกลุ่มหนึ่งของ โลก นอกจะมีการร่วมมือกันทางด้านเศรษฐกิจ แล้ว ยังเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และ สร้ า งศั ก ยภาพทางเศรษฐกิ จ ร่ ว มกั น ทั้ ง การ ปรับลดหรือยกเว้นภาษีในบางรายการระหว่าง กลุ่มประเทศสมาชิก รวมถึงท�าให้เกิดการแลก เปลีย่ นด้านแรงงานและการลงทุนระหว่างกันอีก ด้วย ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีผลิตภัณฑ์ มวลรวมสูงถึง 2.6 ล้านล้านบาท มีประชากร รวมกันถึง 620 ล้านคน นับเป็นเขตเศรษฐกิจ ที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 7 ของโลก และ เป็น อันดับ 3 ของเอเชีย รองจากจีน และ อินเดีย จากปัจจัยดังกล่าวท�าให้แนวโน้มทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาคนี้มีความแข็งแกร่ง เติบโต และ มี ความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น พร้อมทั้ง ยังเป็นภูมิภาคที่มีความน่าสนใจในการลงทุน MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมเกษตร ท�าให้กลุ่ม ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกลาย เป็ น กลุ ่ ม ประเทศที่ มี ค วามน่ า สนใจมากกว่ า สหรัฐอเมริกา และ ยุโรป นอกจากนั้นความร่วม มือกันระหว่าง สหรัฐอเมริกา และ กลุ่มประเทศ สมาชิกในภูมิภาคอาเซียน ตามกรอบการความ ตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ภาคพื้นแปซิฟิค (TPP) ยังท�าให้เห็นว่ากลุ่มประเทศอาเซียนมี ความส�าคัญและมีศักยภาพในการเติบโตอย่าง มีนัยส�าคัญอีกด้วย จากการที่งานโพรแพ็ค เอเชีย เป็นอันดับ หนึง่ ของงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมของเอเชีย อย่างแท้จริง จึงได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วม งานทีม่ าจากสมาชิกในกลุม่ ประเทศอาเซียนเป็น อย่างมาก รวมถึงเป็นที่สนใจจากผู้น�าด้านการ ผลิตในประเทศกลุ่มภูมิภาคเอเชีย อาทิ ญี่ปุ่น, เกาหลี, จีน, อินเดีย, ออสเตรเลีย และ บังคลา เทศ ซึ่งให้ความสนใจทั้งการเข้าร่วมจัดแสดง งานและเข้าร่วมชมงาน เพื่อแสวงหาแนวทาง ในการพัฒนาธุรกิจ ทั้งยังเป็นจุดเริ่มต้นในการ สร้างและขยายความร่วมมือทางธุรกิจ รวมถึง เพื่ อ เป็ น การเปิ ด ประสบการณ์ แ ละสั ม ผั ส กั บ เทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ จากทั่วโลก โพรแพ็ค เอเชีย 2016 มีผู้เข้าร่วมจัดแสดง งานกว่า 1,800 บริษัท จาก 45 ประเทศ พร้อม ทัง้ 17 พาวิเลียนนานาชาติ ทัง้ ออสเตเลีย จีน (2 พาวิเลียน) เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี (2 พาวิเลียน) ญี่ปุ่น เกาหลี (2 พาวิเลียน) สิงคโปร์ สเปน ไต้หวัน (2 พาวิเลียน) อังกฤษ และ อเมริกา ซึง่ พาวิเลียนใหม่ทเี่ พิม่ ขึน้ ในครัง้ นีม้ าจาก ออสเต เลีย และ เดนมาร์ก โพรแพ็ค เอเชีย 2016 แบ่งพื้นทีการจัดงาน ออกเป็น 6 โซนอุตสาหกรรม ประกอบด้วย DrinkTechAsia, FoodTechAsia, Lab&TestAsia, PackagingMaterialsAsia, PharmaTechAsia และ PrintTechAsia มีการจัดแสดงเครื่องจักร กว่า 4,500 เครื่อง จากบริษัทที่มีชื่อเสียงระดับ โลก อาทิ ABB, Afoheat, Anritsu, Berli Jucker, Bosch, Clearpack, Fipa, FPT, GEBO Cermex, Heat & Control, Heuft, Ishida, IWK, KHS Asia, Krones, Langen Group, Mather& Platt, Mespack SL, Newamstar Packaging Machin-

ery, Oryx Automation, Premiertech Chronos, Sacmi Group, Sidel, Siemens, Statec Binder, Swentech, Tech-Long Packaging Machinery, Totani ฯลฯ โพรแพ็ค เอเชีย 2016 ได้รับการสนับสนุน การจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในงานมากมาย อาทิ Food Innovation Asia Conference 2016, Food Innovation Contest 2016, Asia Drink Conference 2016, PharmaTech Seminar 2016, Thai Packaging Centre and TISTR Conference 2016, The Department of Industrial Promotion Seminar 2016, The FoSTAT-Nestle Bowl Quiz, The 8th Plastics in Packaging Conference, Asia Food Beverage Thailand Conference และ The Thai Star and Asia Star Packaging Award 2015 ซึ่งทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นมีส่วนใน การส่งเสริมมูลค่าให้แก่ภาคอุตสาหกรรม

โพรแพ็ค เอเชีย 2016

จัดขึ้นโดย บริษัท แบงค็อค เอ็กซ์ซิบิชั่น เซอร์วิสเซส จ�ำกัด หนึ่งในกลุ่มออลเวิร์ล เอ็กซ์ซิบิชั่น อีเวนท์ ผู้น�ำด้ำนกำรจัดงำนแสดง สินค้ำอุตสำหกรรมระดับโลก โดยงำนจะจัดขึ้นระหว่ำง วันที่ 15-18 มิถุนำยน 2016 เวลำ 10.00-18.00 น.

สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ วันทิตา พรธนาวงศ์, โทร: +662 615-1255 ต่อ 123, อีเมลล์: wantita@besallworld.com, www.propakasia.com หรือ www.facebook.com/ProPakAsia



NO.159 5/2559

ประกาศรายชื่อผูโชคดี ประจำเดือนเมษายน 2559 คุณโกวิท พิมพทอง จากจังหวัดชลบุรี คุณอรุณี ศรีดี จากจังหวัดปราจีนบุรี

ลุนรับรางวัลงายๆ

เพียงแคจับคู “ชื่อบริษัท ใหตรงกับรูปสินคา” แลวสงอีเมลมาที่ wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th หรือแฟกซมาตามเบอรดานลาง ถาตอบถูกทุกขอลุนรับบัตรชมภาพยนตร จำนวน 2 รางวัล รางวัลละ 2 ใบ

บริษัท การดเนอร เดนเวอร (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โมโตโลยี่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท จีทีเอ็ม จำกัด Tel: 0-2731-1191#131

Fax: 0-2769-8043

ชื่อ :

บริษัท :

อีเมล :

เบอรโทรศัพทมือถือ :

บริษัท ไอ เอ็น บี เอ็นเตอรไพรส จำกัด บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) Email: wilaiporn.r@greenworldmedia.co.th ตำแหนง :


www.automanexpo.com

22-25 JUNE BITEC • BANGKOK THAILAND

THE VISION OF

PRODUCTIVITY 59,000 Trade Visitors 2,425 Brands of Technologies from 46 Countries 6 National Pavilions International conferences; Automotive Summit, Surface & Coatings Forum, Automation Conference and more

Thailand’s Most Comprehensive International Machinery and Technology Expo for Automotive Parts Manufacturing


110 Editor’s Pick

RELIABLE AND CONSISTENT PERFORMANCE IN DEMANDING ENVIRONMENTS At Tennant, we make it our business to know your business. Tennant machines offer you flexibility, durability and easy maintenance, helping to reduce ownership costs. They also help you to meet health and safety requirements. You will see the difference in a cleaner, safer, healthier manufacturing environment.

‘YuMi’ อนาคตความร่วมมือ ระหว่างหุ่นยนต์กับมนุษย์ เอบีบีได้สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ให้กับวงการหุ่นยนต์ด้วย การเปิดตัวหุน่ ยนต์นวัตกรรมแบบ 2 แขน ทีเ่ ป็นมิตรกับมนุษย์ พร้อม ระบบการท�างานที่จะมาปลดล็อกสมรรถนะการใช้งานหุ่นยนต์ใน อุตสาหกรรมที่ยิ่งใหญ่ระดับโลก โดยหุ่นยนต์ตัวดังกล่าวมีชื่อว่า “ YuMi ” ย่อมาจากค�าว่า “ You and Me ” ที่ท�างานร่วมกัน YuMi เป็นหุ่นยนต์แบบ 2 แขนกล ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้ งานหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมยุคใหม่ เช่น การประกอบชิ้นส่วนขนาด เล็ก ซึ่งมนุษย์สามารถท�างานร่วมกับหุ่นยนต์แบบมือต่อมือในงาน ชิ้นเดียวกันได้ โดยในระยะแรก YuMi ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อ ตอบสนองความต้องการด้านการผลิต ที่ต้องอาศัยความยืดหยุ่น และความรวดเร็วของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ในอนาคตจะขยายวงครอบคลุมตลาดในภาคส่วนอืน่ ๆ ต่อไป และ YuMi ก็เป็นค�าตอบของการประกอบชิ้นส่วนด้วยแขนกล 2 แขน ที่ ให้ความรู้สึกจับต้องได้ แขนกลที่ได้รับการบุและมีความอ่อนนุ่มของ YuMi ผสมผสานเทคโนโลยีกนั นวัตกรรมการสัมผัสแรงกระแทก ท�าให้ มั่นใจว่าหุ่นยนต์ตัวนี้จะปลอดภัยส�าหรับมนุษย์ที่ต้องท�างานร่วม กันและเป็นระบบการท�างานเพื่อความปลอดภัยที่ติดตั้งมาในตัวหุ่น ยนต์ ท�าให้สามารถท�างานได้โดยไม่ต้องจ�ากัดอยู่แต่เฉพาะในกรอบ YuMi สามารถท�างานด้วยความแม่นย�าสูง และยังสามารถจัดการ กับสิ่งที่มีความละเอียดอ่อนและมีขนาดเล็กได้ทุกอย่าง ตั้งแต่กลไก ของนาฬิกาข้อมือไปจนถึงชิ้นส่วนภายในโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ กระทั่งสามารถสนเข็มได้เลยทีเดียว ทั้งนี้ YuMi จะเป็นประดิษฐกรรมที่สื่อให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่าง มนุษย์และเครือ่ งจักรทีส่ ามารถท�างานร่วมกันได้ในรูปแบบทีไ่ ม่มใี คร คิดฝันมาก่อนว่าจะเกิดขึ้นจริงบนโลกนี้ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ABB Limited 161/1 SG tower, Soi Mahadlekluang 3, Rajdamri Road, Lumpini, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel: 02 665 1000 Website: www.abb.co.th

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

For more information, I.C.E. Intertrade Co., Ltd. 18 Promrat Rd.Bangbon, Bangkk 10150 Tel: 0-2450-6055-6 Mobile: 081-7213550 Email: marketing@iceintertrade.com Website: www.iceintertrade.com


Editor’s Pick 111

Computer SMART III Integral Power Factor relay: Compensation, Analysis, Protection Advanced compensation Measurement with three current transformers guarantees an analogue reading of the company’s meter. The computer SMART III is the only Power Factor Relay in the market that offers the possibility of using 3 measuring transformers in addition to the traditional method of measuring with a single current transformer, as well as providing the functions of an integral power analyzer and controlling the residual leakage currents.

Deburring Tools from Cogsdill® : USA อุปกรณ์ลบคมชิ้นงานที่รูเจาะ บริษทั คราสส์เทค จ�ากัด ผูน้ า� เข้าและตัวแทนจ�าหน่ายเครือ่ งจักร และอุปกรณ์คุณภาพสูงจากยุโรป ขอแนะน�า Cogsdill® Deburring Tool จากสหรัฐอเมริกา เพื่อใช้ส�าหรับลบคมชิ้นงาน โดยสามารถ ที่จะลบคมทั้งสองด้านได้ในเวลาเดียวกัน ท�าให้สามารถลดเวลา และต้นทุนในการผลิตลงได้มาก ทั้งยังได้ชิ้นงานออกมามีคุณภาพ สวยงาม อายุการใช้งานของใบมีดยาวนาน เหมาะส�าหรับการผลิต งานที่เป็นแบบ Mass Production อาทิเช่น อุตสาหกรรมผลิตชิ้น ส่วนรถยนต์ เป็นต้น Tool มีให้เลือกใช้ทั้งแบบนิ้ว และเมตริก 1. คมตัดจะท�าการลบคมชิน้ งานด้านบน โดยแรงดึงของสปริงจะ ท�าหน้าที่ยึดใบมีดของ Tool เอาไว้ 2. เมื่อแรงกดของสปริงเพิ่มขึ้นเนื่องจากการ Feed ท�าให้คมตัด สามารถยุบตัวผ่านลงไปในรูเจาะ โดยไม่ท�าให้ผิวของรูเจาะเป็นรอย เนื่องจากสันคมตัดออกแบบให้เป็นสันโค้ง และขัดเงา 3. เมื่อสุดระยะรูเจาะ คมตัดจะเคลื่อนที่ออกโดยแรงสปริง เพื่อ ท�าการลบคมชิน้ งานด้านล่าง เมือ่ Feed Tool ชัน้ คมตัดจะยุบตัวเพือ่ กลับต�าแหน่งเดิม

Measurement equivalent to the billing energy meter Compensation based on real needs Control of the electrical parameters and consumption of the installation Easy preventive maintenance and maximum safety Minimum investment, Maximum profits

Application Computer SMART III is the perfect power factor correction solution for:

Plug & Play

Industry

Office Buildings

Renewable Energies สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Krasstec Co., Ltd. Tel: 0-2732-1144 Email: krasscom@krasstec.com Website: www.krasstec.com

For more information, Avera Co., Ltd. Tel: +662-681-5050 Email: marketing@avera.co.th Website: www.avera.co.th issue 159 May 2016


001_Mo_Cover_March_2016_final.pdf 1 3/2/2016 5:27:24 PM

MODERN MANUFACTURING MAGAZINE

157 M

Y

MY

CY

Vol.14 No.157 MARCH 2016

C

CM

Honesty and Sincerity are our Key Success Factors

subscribe now! CMY

K

www.factoryeasy.com www.mmthailand.com

สมัครสมาชิก 1 ป 12 ฉบับ แถมฟร� เสื้อโปโลเกรดพร�เมี่ยม 1 ตัว หร�อ USB FLASH DRIVE 1 ตัว

840 บาท

ข อมูลผู สมัครสมาชิก ชื่อ (Name)

นามสกุล (Surname)

E-mail

เบอร โทรศัพท (Telephone)

สมัครสมาชิก นิตยสาร Modern Manufacturing

p. 44

p. 52

ตำแหน งงาน เบอร โทรสาร (Fax)

ตั้งแต ฉบับ

มือถือ (Mobile)

ถึง ฉบับ

ที่อยู ที่ใช ในการจัดส ง บร�ษัท

แผนก/หน วยงาน

เลขที่

หมู

แขวง/ตำบล

ประเภทอุตสาหกรรม เขต/อำเภอ

จังหวัด

รหัสไปรษณีย

ว�ธีการชำระเง�น โอนเง�นผ านธนาคารไทยพาณิชย ชื่อบัญชี บร�ษัท กร�นเว�ลด พับลิเคชั่น จำกัด สาขาหัวหมาก ประเภทบัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 044-3-038214 เช็คข�ดคร อมสั่งจ าย บร�ษัท กร�นเว�ลด พับลิเคชั่น จำกัด

p. 67









Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.