CSR Thaioil Journal 9

Page 1


สวัสดีคะ่ เพือ่ นบ้านไทยออยล์ทกุ ท่าน ช่วงนีด้ ขู า่ วทีไรเห็นแต่ขา่ วน�ำ้ ท่วม เรียกได้วา่ เป็นปีทปี่ ระเทศไทยของเราต้องเผชิญกับ ปัญหาอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในประวัตศิ าสตร์ ผูอ้ าวุโสทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ ริมแม่นำ�้ มา ช้านานตั้งข้อสังเกตว่าในอดีตพอถึงช่วงฤดูฝน ปริมาณน�้ำฝนเยอะทุกปี น�้ำมาเร็วแต่ ก็ไปเร็วและเป็นน�ำ้ สะอาด แต่ปจั จุบนั ผูค้ นต่างพากันป้องกันทางไหลของน�ำ ้ กัน้ ไปกัน้ มา เลยท�ำให้กระแสน�้ำยิ่งแรงยิ่งไหลเชี่ยวและไม่มีทางไป ต้องท่วมขังอยู่นานจนเน่าเสีย คงถึงเวลาแล้วทีท่ กุ คนโดยเฉพาะหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องควรจะต้องมาทบทวนและวางแผน การบริหารจัดการน�้ำให้รอบด้านอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตาม ในเรื่องร้ายก็ยังมีเรื่องดี ให้เห็น คือ น�้ำใจของคนไทยที่ไม่เคยทอดทิ้งเพื่อนร่วมประเทศที่ก�ำลังเดือดร้อน ด้วยความช่วยเหลือในหลากหลายรูปแบบ กลับมาเล่าเรื่องที่น่ายินดีกันบ้าง เมื่อต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา ไทยออยล์ได้มี พิธีเปิดการจ�ำหน่ายน�้ำมันสะอาดยูโร 4 ทุกผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการ และมีพิธีเปิด ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเวชศาสตร์ชมุ ชน โดยคุณพิชยั นริพทะพันธุ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน โดยศูนย์ปฏิบัติการเวชศาสตร์ชุมชนนี้จะเป็นศูนย์กลางการดูแลสุขภาวะของเพื่อนบ้าน ไทยออยล์ทงั้ 7 ชุมชน ซึง่ จะมีโครงการต่าง ๆ อีกมาก เพือ่ ช่วยเสริมสร้างสุขภาพของท่านให้ แข็งแรง ป้องกันการเกิดโรคเรือ้ รังไม่ตดิ ต่อทีเ่ ป็นโรคยอดนิยมของสังคมสมัยใหม่ อย่างเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โปรดติดตามโครงการดี ๆ ได้จากทาง จุลสารชุมชนของเรา หรือจาก อสม. ในชุมชนของท่านนะคะ ขอบคุณส�ำหรับผู้ที่ส่งเรื่องความประทับใจเกี่ยวกับไทยออยล์ ในโอกาสครบรอบ 50 ปีการด�ำเนินกิจการของเครือไทยออยล์เข้ามา ทางกองบรรณาธิการจะทยอยพิมพ์ เรือ่ งราวของท่านลงในจุลสารชุมชนของเราให้นะคะ แล้วรอรับของขวัญแทนค�ำขอบคุณ จากทางกองบรรณาธิการได้เลยค่ะ ส�ำหรับท่านใดทีย่ งั ไม่ได้สง่ เข้ามา ขอเชิญร่วมบอกเล่า เรื่องราวเข้ามาได้นะคะ ยินดีต้อนรับผลงานจากทุกท่านค่ะ สุดท้ายมีงานบุญมาฝากค่ะ เครือไทยออยล์ขอเชิญทุกท่านร่วมงานทอดกฐิน สามัคคี ณ วัดมโนรม ในวันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม 54 นัน้ เริม่ งานตัง้ แต่ 07.00 น. ด้วยการ ท�ำบุญใส่บาตรแด่พระภิกษุและสามเณร ณ บริเวณศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน จากนั้นเวลาประมาณ 09.00 น. เป็นการแข่งขันกีฬา เชื่อมสัมพันธ์ จนถึง 11.00 น.ถวายภัตตาหารเพลแด่ภิกษุ-สามเถร ณ วัดมโนรม และ ช่วง 13.00 น. เป็นพิธีถวายผ้ากฐิน อย่าลืมมาร่วมท�ำบุญด้วยกันนะคะ

พบกันวันทอดกฐินค่ะ บรรณาธิการ

จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จัดทำ�โดย : แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์องค์กร สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน้ 11 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 0000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลัน่ : เลขที่ 42/1 หมูท่ ี่ 1 ถนนสุขมุ วิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุง่ สุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 แผนกบริหารงานชุมชน 0 3835 5028-31

สารบัญ เรื่องจากปก

1

ตามรอยพ่อ

4

รอบรั้วไทยออยล์

6

บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ 10 เคล็ดลับสุขภาพ

11

ก้าวทันโลก

12

ปลอดภัยใกล้ตัว

13

จิตอาสา

14

ปราชญ์ชุมชน

16

ของดีบ้านเรา

18

กระบอกเสียงชุมชน

20

รู้จักพลังงานทางเลือก

22

ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

24

เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน

26

ชุมชนที่ฉันรัก

28

ลับสมองลองเล่นเกม

29


เรื่องจากปก

โดย กองบรรณาธิการ

ไทยออยล์ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ห่วงใยสุขภาวะชุมชน ตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ด�ำเนินธุรกิจด้วยตระหนัก ถึงส�ำนึกแห่งความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ด้วยความมุง่ มัน่ และใส่ใจในทุกขั้นตอนกระบวนการผลิต เพื่อให้ ได้ผลิตภัณฑ์คุณภาพที่สะอาด และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมเดินหน้าสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชนรอบโรง กลั่นอย่างต่อเนื่อง

น�ำ้ มันสะอาด มาตรฐานยูโร 4 ทุกผลิตภัณฑ์ บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้จดั พิธเี ปิดการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันสะอาด มาตรฐานยูโร 4 ทุกผลิตภัณฑ์อย่างเป็น ทางการเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2554 นับเป็นโรงกลั่นน�้ำมันแห่งแรกของประเทศที่สามารถผลิตน�้ำมันมาตรฐานยูโร 4 ได้ ทุกผลิตภัณฑ์ เร็วกว่าก�ำหนดบังคับใช้ของภาครัฐในวันที่ 1 มกราคม 2555 โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน คุณพิชัย นริพทะพันธุ์ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี ณ โรงกลั่นไทยออยล์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี คุณสุรงค์ บูลกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ไทยออยล์สามารถผลิต น�้ำมันพื้นฐานแก๊สโซฮอล์ 91/95 (Base Oil) มาตรฐานยูโร 4 ได้ตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2554 โดยกรมธุรกิจพลังงาน ได้ตรวจสอบและให้การรับรองคุณภาพแล้ว ท�ำให้ไทยออยล์เป็นโรงกลั่นแห่งแรกที่สามารถผลิตน�้ำมันมาตรฐานยูโร 4 ได้ครบทุกผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่น�้ำมันดีเซล (25 ก.พ. 51) น�้ำมันเบนซินออกเทน 95 (1 มิ.ย. 52) น�้ำมันเบนซินออกเทน 91 (1 ก.ย. 52) ล่าสุดได้ก่อสร้างหน่วยผลิตน�้ำมันเบนซินชนิดพลังงานสะอาด ท�ำให้สามารถผลิตน�้ำมันพื้นฐานแก๊สโซฮอล์ 91/95 มาตรฐานยูโร 4 ดังกล่าวได้ โดยปริมาณก�ำมะถันในน�ำ้ มันมาตรฐานยูโร 4 ปรับลดลงถึง 7 เท่า จากเดิม 350 ส่วนในล้านส่วน เหลือเพียง 50 ส่วนในล้านส่วน จึง จึงดีต่อคุณภาพอากาศและสิ่งแวดล้อม” ปัจจุบันไทยออยล์มีก�ำลังการผลิตน�้ำมันสะอาด มาตรฐานยูโร 4 รวมทั้งสิ้น ประมาณ 30 ล้านลิตรต่อวัน โดยแบ่งเป็นน�้ำมันดีเซล 21 ล้านลิตร และน�้ำมัน เบนซินทุกชนิด 9 ล้านลิตร

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

1


เรื่องจากปก หลังพิธเี ปิดการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันสะอาด มาตรฐาน ยูโร 4 ทุกผลิตภัณฑ์ที่โรงกลั่นไทยออยล์แล้ว รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน คุณพิชัย นริพทะพันธุ์ ได้เดินทาง มาที่ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน เพื่อเป็นประธานในพิธีเปิดศูนย์ ปฏิบัติการเวชศาสตร์ชุมชนและเยี่ยมชมการด�ำเนินงานของศูนย์สุขภาพฯ และในโอกาสนี้ เครือไทยออยล์ยังได้ส่งมอบเรือช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยจ�ำนวน 1,000 ล�ำ ให้แก่กระทรวง พลังงาน และได้มอบทุนสร้างอาคารฉุกเฉิน 50 ปีไทยออยล์ให้โรงพยาบาลอ่าวอุดม โดยมี รองผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี นายกเทศมนตรีเทศบาลนครแหลมฉบังและประธานที่ปรึกษา เทศบาลนครแหลมฉบัง นายอ�ำเภอศรีราชา ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลอ่าวอุดมและคณะ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ประธานชุมชนและคณะกรรมการชุมชน คณะผู้บริหาร และพนักงานเครือไทยออยล์ สื่อมวลชน ตลอดจนแขกผู้มีเกียรติร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก

สร้างสุขภาวะชุมชนด้วยเวชศาสตร์ชมุ ชน ไม่เพียงแต่การผลิตน�้ำมันสะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเท่านั้น ไทยออยล์ยังให้ ความร่วมมือและสนับสนุนงานสร้างเสริมสุขภาวะให้แก่ชมุ ชนในพืน้ ทีแ่ หลมฉบังอย่างสม�ำ่ เสมอ การออกหน่วยสร้างเสริมสุขภาวะเคลือ่ นทีม่ านานกว่าสิบปี การสร้างอาคารศูนย์สขุ ภาพและ การเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน ซึง่ ได้เปิดให้บริการมาได้เป็นเวลาปีเศษ และการพัฒนา ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเวชศาสตร์ชมุ ชน เพือ่ ให้เป็นศูนย์กลางการด�ำเนินงานตามแนวทางสร้างเสริม สุขภาพเชิงรุกที่เน้นการป้องกันมากกว่าการรักษา รวมทั้งงานบริการด้านทันตกรรม นักเรียน ล้วนเป็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม ที่แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจจริงของ เครือไทยออยล์

เวชศาสตร์ชมุ ชน

เวชศาสตร์ชุมชน คือ เครื่องมือหลักในการสร้างเสริมสุขภาวะ (สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตใจ สภาพแวดล้อม รวมทัง้ ด้านสังคมและเศรษฐกิจ) ของคนในชุมชนแบบยัง่ ยืน กระบวนการท�ำงานด้านเวชศาสตร์ชุมชนเริ่มจากการลงพื้นที่ส�ำรวจสุขภาวะของแต่ละ ครอบครัวและเก็บข้อมูล โดยนักศึกษาพยาบาลจากมหาวิทยาลัยบูรพาและนักศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ซึ่งได้ลงพื้นที่ชุมชนบ้านอ่าวอุดมและชุมชน บ้านแหลมฉบังไปแล้ว และก�ำลังอยู่ในช่วงลงพื้นที่ชุมชนตลาดอ่าวอุดม ข้อมูลจากการส�ำรวจจะเข้าสู่กระบวนการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ท�ำให้ทราบถึงปัญหาด้านสุขภาพพื้นฐาน เพื่อจัดท�ำแฟ้มครอบครัวและแผนที่ชุมชน โดยใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลตามแนวทาง FAP Model (Family Community Assessment Program) ที่พัฒนาโดย อบต.ปากพูน จ.นครศรีธรรมราช จากนั้นจึงจัดประชาคมเพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหาในชุมชนของตน ตัวอย่างผลที่ได้จากการท�ำประชาคมที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดโครงการส่งเสริมสุขภาวะในชุมชน ทั้งด้านสุขภาพกายและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง อาทิ โครงการร�ำกระบอง โครงการอ่าวอุดมปลอดขยะ เป็นต้น การด�ำเนินงานขั้นต่อไป คือ การคัดกรองและส�ำรวจปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง อาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยเมื่อวันที่ 8 กันยายนที่ผ่านมา ได้จัดโครงการร่วมดูแลสุขภาวะ ชุมชนน�ำร่อง เพื่อคัดกรอง ป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ชุมชน บ้านอ่าวอุดม ทีมงาน อสม. เจ้าหน้าที่ รพ.อ่าวอุดม และเยาวชนรักษ์บ้านอ่าวอุดม ได้เริ่ม

2

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


เรื่องจากปก งานส�ำรวจโดยเดินเคาะประตูทีละบ้าน ตรวจสอบยืนยันผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ตรวจประเมินดัชนีมวลกาย เจาะเลือดปลายนิ้ววัดระดับน�้ำตาลเบื้องต้น ว่ามีความเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงหรือไม่ เพื่อป้องกันผู้ที่มีความเสี่ยงไม่ให้ป่วยเป็นโรค ดังกล่าว โดยข้อมูลที่ได้จะน�ำมาจัดท�ำแฟ้มสุขภาพรายบุคคล ทางศูนย์ปฏิบัติการเวชศาสตร์ชุมชนยังได้วางแผนงานต่อเนื่องไปถึงการจัดท� ำ โครงการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของโรคเรื้อรังดังกล่าว โดยจะท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลจากการ ส�ำรวจเพื่อระบุปัจจัยเสี่ยงและประชุมประชาคม เพื่อหาแนวทางหรือต้นทุนทางสังคมใน ท้องถิ่นเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงนั้น ๆ รวมทั้งการน�ำไปสู่การจัดตั้งแกนน�ำสุขภาพทั้งในระดับ ครอบครัวและระดับโรงเรียนต่อไป แนวทางการบริหารงานของศูนย์ปฏิบตั กิ ารเวชศาสตร์ชมุ ชนแห่งนีใ้ ช้ศกั ยภาพของ แต่ละภาคส่วน กล่าวคือ หน่วยงานภาครัฐ เทศบาลแหลมฉบัง โดยฝ่ายส่งเสริมป้องกันควบคุมโรคติดต่อ เป็นแกนหลักส�ำคัญในการประสานงานกับชุมชน โรงพยาบาลอ่าวอุดม โดยคณะแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรของโรงพยาบาล เป็นกลไกในการจัดกิจกรรมตามหลักการ และวิธกี ารทางการแพทย์ และให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำ และสถาบันการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ลงส�ำรวจพื้นที่แต่ละ หลังคาเรือนเพื่อเก็บข้อมูลและจัดท�ำแฟ้มครอบครัว ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) และพี่น้องในชุมชนทุกคน ที่มีส่วนให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ รวมทั้งการร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น เข้าร่วม กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อสุขภาวะในแต่ละชุมชน โดยการประสานงานอย่างใกล้ชิด ของส�ำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลนครแหลมฉบัง เครือไทยออยล์ มีบทบาทเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกทางด้านสถานที่ สิ่งอ�ำนวย ความสะดวกด้านต่าง ๆ การประสานงาน ตลอดจนผลักดันโครงการต่าง ๆ ให้ส�ำเร็จ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการด�ำเนิน งานด้านเวชศาสตร์ชุมชน คือ ฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักของงานพัฒนาชุมชน ในทุกๆ ด้าน เป็นคลังข้อมูลส�ำคัญที่ระบุ สถานะทางสุขภาพของประชาชนทุกคน ทั้ง 7 ชุมชน ที่ช่วยให้เทศบาล อสม. และ โรงพยาบาลอ่าวอุดมสามารถน�ำฐานข้อมูล ไปต่ อ ยอดพั ฒ นาสุ ข ภาวะของชุ ม ชน ตามแผนงานบนฐานข้อมูลที่ได้จากการ ส�ำรวจจริง ชุมชนเองก็จะได้รับการดูแล ทั้งสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และยัง่ ยืน สร้างความเข้มแข็งให้กบั ท้องถิน่ ของเรา ส่วนนักศึกษาพยาบาลนั้นจะมี แหล่ ง ฝึ ก งานด้ า นเวชศาสตร์ ชุ ม ชนใน พื้นที่จริง เพื่อเสริมการเรียนการสอนจาก ในห้องเรียน สุดท้ายไทยออยล์เองจะได้ ด�ำเนินการตามนโยบายการสร้างเสริม สุขภาพและการเรียนรู้ เพื่อให้ชุมชนรอบ โรงกลั่นมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป

อาคารฉุกเฉิน 50 ปีไทยออยล์ ในโอกาสนี้เครือไทยออยล์ยังได้สนับสนุนงบประมาณ 50 ล้านบาท ในการก่อสร้างอาคารฉุกเฉิน 50 ปี ไทยออยล์ มอบให้แก่โรงพยาบาลอ่าวอุดม โดยอาคารดังกล่าวเป็นอาคาร 5 ชัน้ มีเนือ้ ทีใ่ ช้สอยประมาณ 6,140 ตารางเมตร ชัน้ ล่างมีหอ้ งตรวจ 12 ห้อง และเตียงผูป้ ว่ ย 7 เตียง ส�ำหรับรองรับอุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน ชัน้ 2 เป็นห้องผ่าตัด ห้องวิสญั ญี ส่วนชั้น 3 ถึงชั้น 5 เป็นเตียงรองรับผู้ป่วยกรณีคลอดบุตรและหลังคลอด รวม 35 เตียง หอผู้ป่วยเด็ก รวม 40 เตียง และเตียงผูป้ ว่ ยในรวม 30 เตียง เพือ่ รองรับการขยายตัวและเสริมปัจจัยทางด้านการแพทย์ให้แก่พนี่ อ้ งชุมชนในอนาคต ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเวชศาสตร์ชมุ ชนและอาคารฉุกเฉิน 50 ปีไทยออยล์ โรงพยาบาลอ่าวอุดม ซึ่งเกิดขึ้นได้ด้วยพลังแห่งการร่วมแรงร่วมใจ ของทุกภาคส่วนนี้ จะเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการสร้าง สุขภาวะที่ยั่งยืนของพี่น้องในชุมชนของเราต่อไป

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

3


พลังงานไทยก้าวหน้า

โดย กระดาษกรอง

ด้วยพระวิสัยทัศน์กว้างไกล

นับเป็นความโชคดีอย่างยิ่งของปวงชาวไทย ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง เปี่ยมด้วยพระปรีชาสามารถ มีพระวิสัยทัศน์ด้านพลังงานกว้างไกล ทรงมีพระราชด�ำริว่า ควรศึกษาวิจยั เรือ่ งพลังงานทดแทนขึน้ เมือ่ กว่า 25 ปีทแี่ ล้ว ขณะทีร่ าคาน�ำ้ มันในตลาดโลกยัง ถูกมาก จวบจนวันนีว้ นั ทีร่ าคาน�ำ้ มันดิบในตลาดโลกพุง่ สูงขึน้ คนไทยจึงมีทางเลือกในการใช้ พลังงานทดแทนทีเ่ ราสามารถผลิตได้เอง ช่วยลดปริมาณการน�ำเข้า ช่วยประหยัดเงินได้เป็น จ�ำนวนมาก และที่ส�ำคัญช่วยให้เกษตรกรมีรายได้จากการขายผลิตผลมากขึ้น แก๊สโซฮอล์ (Gasohol) ในปี พ.ศ. 2528 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับสั่งให้ โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เริม่ ศึกษาและวิจยั เชือ้ เพลิง ชีวภาพ โดยทรงให้น�ำอ้อยมาทดลองผลิตเป็นแอลกอฮอล์เพื่อ ใช้เป็นเชื้อเพลิง เริ่มตั้งแต่คัดหาพันธุ์อ้อยที่ดีที่สุดส�ำหรับท�ำ แอลกอฮอล์ จากนั้นได้ขยายไปสู่การรับซื้ออ้อยจากเกษตรกร เพื่อน�ำมาเป็นวัตถุดิบ ในปี พ.ศ. 2529 โครงการส่วนพระองค์ฯ จึงสามารถผลิตแอลกอฮอล์ 91 เปอร์เซ็นต์ได้ และได้ปรับปรุง จนสามารถผลิตแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ 95 เปอร์เซ็นต์ได้ แต่เมือ่ น�ำ ไปผสมกับน�ำ้ มันเบนซิน กลับพบว่าไม่สามารถใช้กบั เครือ่ งยนต์ ได้ เนื่องจากมีน�้ำผสมอยู่ด้วย ต้องน�ำไปกลั่นแยกน�้ำอีกครั้งให้ ได้แอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ 97.5 เปอร์เซ็นต์หรือเอทานอล ก่อนน�ำไป ผสมกับน�้ำมันเบนซินเป็นน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ (Gasohol) แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2528-2530 การจ�ำหน่ายน�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ ต้องหยุดชั่วคราว เนื่องจากราคาน�้ำมันเบนซินในขณะนั้น ถูกกว่าราคาแอลกอฮอล์ ซึ่งไม่คุ้มกับการผลิตมาจ�ำหน่าย แต่ โครงการส่วนพระองค์ฯ ยังคงศึกษาวิจัยแก๊สโซฮอล์อย่าง ต่อเนือ่ ง จนเมือ่ เกิดวิกฤตราคาน�ำ้ มันอีกครัง้ จึงได้นำ� เทคโนโลยี พลังงานทดแทนตามพระราชด�ำริมาต่อยอดขยายผลในเชิง พาณิชย์ได้อย่างรวดเร็ว

4

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

ปี พ.ศ. 2537 โครงการส่วนพระองค์ฯ ได้ขยายก�ำลังการ ผลิตเอทานอลเพือ่ ให้มปี ริมาณเพียงพอ ผสมกับน�ำ้ มันเบนซิน 91 ในอัตราส่วน 1 : 9 เพื่อเติมให้กับรถยนต์ทุกคันของโครงการ ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา (ได้รบั คัดเลือกเป็นหนึง่ ในหกโครงการ เฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ของส�ำนักพระราชวัง) ปัจจุบนั น�ำ้ มันแก๊สโซฮอล์ได้รบั ความนิยมในหมูป่ ระชาชน อย่างกว้างขวาง ซึ่งนอกจากช่วยลดการน�ำเข้าน�้ำมันลงได้ส่วน หนึ่งแล้ว ยังช่วยลดมลภาวะในอากาศได้อีกด้วย ดีโซฮอล์ (Deisohol) เมื่อการผลิตน�้ำมันแก๊สโซฮอล์ส�ำหรับเครื่องยนต์เบนซิน ส�ำเร็จ ในปี พ.ศ. 2541 โครงการส่วนพระองค์ฯ จึงขยับไปศึกษา “ดีโซฮอล์” (น�้ำมันดีเซลผสมกับแอลกอฮอล์ส�ำหรับเครื่องยนต์ ดีเซล) ด้วยการผสมแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์กับน�้ำมันดีเซล และสารอิมลั ซิไฟเออร์ ซึง่ มีคณุ สมบัตทิ ำ� ให้แอลกอฮอล์กบั น�ำ้ มัน ดีเซลผสมเข้ากันได้โดยไม่แยกกันที่อัตราส่วน 14 : 85 : 1 แล้ ว น� ำ ไปทดลองกั บ รถแทรกเตอร์ ข องโครงการ ส่วนพระองค์ฯ พบว่าสามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิงได้ดพี อสมควร และ สามารถลดควันด�ำลงได้ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ แต่ปัจจุบัน “ดีโซฮอล์” เป็นโครงการศึกษาวิจยั ภายในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดาเท่านั้น ยังไม่มีการน�ำออกมาใช้ในเชิงพาณิชย์


ไบโอดีเซล (Biodiesel) ในปี พ.ศ. 2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำริให้มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ สร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัด กระบี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก ก�ำลังผลิตวันละ 110 ลิตร ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2533 จากการวิจัยพบว่าปาล์มเป็นพืชที่ดีและเหมาะสมที่สุดในการน�ำมาใช้ท�ำไบโอดีเซล เพราะมีศักยภาพในการผลิตเป็นเชื้อเพลิงสูงกว่าพืชน�้ำมันชนิดอื่น ต้นทุนการผลิตต�่ำ ให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ที่ส�ำคัญให้ผลผลิตน�้ำมันต่อไร่สูงกว่าเมล็ดเรพ (วัตถุดิบในการผลิต ไบโอดีเซลของประเทศแถบยุโรป) ถึง 5 เท่า และสูงกว่าถั่วเหลือง (ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา) ถึง 10 เท่า จนในปี พ.ศ. 2543 โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มทดลองน�ำน�้ำมันปาล์มมาใช้เป็น เชือ้ เพลิงส�ำหรับเครือ่ งยนต์ดเี ซล พบว่าน�ำ้ มันปาล์มบริสทุ ธิ์ 100 เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้เป็น น�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำหรับเครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ต้องผสมกับน�้ำมันเชื้อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจ ใช้ผสมกับน�้ำมันดีเซลได้ตั้งแต่ 0.01 เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึง 99.99 เปอร์เซ็นต์ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ “การใช้น�้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์เป็นน�้ำมันเชื้อเพลิง ส�ำหรับเครื่องยนต์ดีเซล” จากผลความส�ำเร็จดังกล่าว เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2544 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็น ผูแ้ ทนพระองค์ยนื่ จดสิทธิบตั ร “การใช้นำ�้ มันปาล์มกลัน่ บริสทุ ธิเ์ ป็นน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเครือ่ งยนต์ ดีเซล” พร้อมทัง้ น�ำโครงการไปร่วมแสดงในงานนิทรรศการสิง่ ประดิษฐ์นานาชาติ “Brussels Eureka 2001” ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยี่ยม จนได้รับเหรียญทองประกาศนียบัตร สดุดีเทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล พระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่เพียงประจักษ์ในหมู่พสกนิกร ชาวไทยเท่านั้น แต่ยังขจรขจายไปในเวทีนานาชาติอีกด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ทรงรับสั่งกับผู้บริหารบริษัทผลิตรถยนต์ว่า เมล็ดสบู่ด�ำน่าจะ มีคุณสมบัติบางอย่างดีกว่าปาล์มในการท�ำไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ด�ำเจริญเติบโตได้เร็ว กว่าปาล์มน�้ำมัน และสามารถเก็บผลผลิตได้หลังจากปลูกไม่เกิน 1 ปี นอกจากนั้น สบู่ด�ำ ยังไม่เป็นอาหารของมนุษย์หรือสัตว์ แต่มีข้อเสียเรื่องพิษที่อาจเกิดขึ้นแก่มนุษย์ได้หาก รับประทานหรือสัมผัส จึงมีการศึกษาวิจัยสบู่ด�ำขึ้น ในเบื้องต้นพบว่าขยายพันธุ์ง่ายและมีอายุยืนถึง 50 ปี สูงกว่าต้นปาล์ม และเก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ 5-8 เดือน โดยในขั้นต่อไปจะเป็นการศึกษา แบบครบวงจร ตัง้ แต่การวิจยั เมล็ดพันธุท์ ใี่ ห้นำ�้ มันสูงสุด การปลูก แมลงทีเ่ ป็นศัตรูพชื และ เป็นประโยชน์ การเก็บเมล็ด การสกัดน�้ำมัน การทดสอบกับเครื่องยนต์ รวมทั้งการศึกษา เรื่องต้นทุนการผลิตด้วย

นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น�ำ้ มันพืช ใช้แล้วก็สามารถน�ำมาท�ำไบโอดีเซลได้เช่นกัน ซึ่งโครงการส่วนพระองค์ฯ ได้น�ำน�้ำมันพืช เหลือใช้จากห้องเครื่องมาท�ำเป็นไบโอดีเซล มาเนิ่นนานแล้ว รถคันนี้ใช้น�้ำมันปาล์ม 100% เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงวางศิ ล าฤกษ์ เขือ่ นคลองท่าด่าน จังหวัดนครนายก ในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2544 รถยนต์พระที่นั่ง ติดสติกเกอร์ท้ายรถว่า “รถคันนี้ใช้น�้ำมัน ปาล์ม 100%” สิ่งหนึ่งที่ทรงรับสั่งอยู่ตลอดเวลา คือ อยากให้คนเข้ามาดูงาน เอาความรู้ เอา แนวพระราชด�ำริไปต่อยอดให้เกิดประโยชน์ ทั้งต่อครอบครัวและชุมชนของตนเองต่อไป

การติดต่อขอเข้าดูงาน : โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10303 โทรศัพท์: 0 2282 7171-4 หรือ 0 2282 1150-1 ชมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย จะเข้าชมแบบครอบครัวหรือหมู่คณะก็ได้ ที่มา : พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

5


รอบรั้วไทยออยล์

โดย หน่วยกลั่นข่าว

พิธเี ปลีย่ นผ้าครองหลวงพ่อไทยออยล์

เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ TCP และชุมชนรอบโรงกลั่น ได้ร่วมกันจัดงานพิธีถวายผ้าห่มประจ�ำพรรษา พระพุทธรัตนมงคล สกลประชานาถมุนี เพื่อสืบสานประเพณีทางศาสนา ณ หอพระ ศูนย์สุขภาพฯ ซึ่งในครั้งนี้ได้จัดขึ้นเป็น ครั้งที่ 2 โดยได้รับความสนใจจากชาวชุมชนเข้าร่วมพิธีในครั้งนี้กว่า 300 คน ก่อนที่ ชุมชนทั้ง 7 ชุมชนจะร่วมเดินทางไปถวายเทียนพรรษาวัดในเขตเทศบาลจ�ำนวน 9 วัด

จัดประชาคมผูพ ้ กิ าร

เมือ่ วันที่ 14 กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา เครือไทยออยล์ได้รว่ มกับโรงพยาบาล อ่าวอุดม จัดท�ำประชาคมผู้พิการในเขตพื้นที่เพื่อแนะน�ำสิทธิประโยชน์ แนวทางการด�ำรงชีวติ รวมทัง้ การสร้างแรงบันดาลใจเพือ่ การด�ำรงชีวติ ต่อไป โดยเครือฯ ได้ชว่ ยอ�ำนวยความสะดวกในเรือ่ ง ของสถานที่ อุปกรณ์สารสนเทศและรถรับส่ง ซึง่ ในครัง้ นีม้ ผี เู้ ข้าร่วมกิจกรรมทัง้ หมด 90 คน ณ ศูนย์สุขภาพฯ

ประชุมกลุม่ ผูส้ งู อายุ

เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคมที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ ร่วมกับโรงพยาบาล อ่ า วอุ ด มจั ด ประชุ ม เตรี ย มการจั ด กิ จ กรรมสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาวะให้ กั บ กลุ ่ ม ผูส้ งู อายุและกลุม่ อสม. ในเขตพืน้ ทีช่ มุ ชนรอบโรงกลัน่ เพือ่ มุง่ ดูแลสุขภาพของ กลุ่มผู้สูงอายุผู้เป็นเสมือนปูชนียบุคคลที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งในชุมชนของเรา ทัง้ นีม้ ผี เู้ ข้าร่วมประชุมจ�ำนวน 190 คน โดยได้นดั หมายการจัดกิจกรรมสร้างเสริม สุขภาวะในสัปดาห์แรกของทุก 2 เดือน ณ ศูนย์สุขภาพฯ ขอเชิญผูส้ งู อายุเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว ณ ศูนย์สขุ ภาพและ การเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพื่อชุมชน

6

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


ส�ำนักงานอุตสาหกรรมอ่างทองดูงาน

เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคมที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ ได้ให้การต้อนรับคณะเยี่ยมชมจากสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอ่างทองในนาม “สามสามัคคีอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชนจังหวัดอ่างทอง” รวมทั้งสิ้น 200 คน ที่ให้ความสนใจเข้าศึกษาดูการบริหารงานด้านชุมชน โดยมีคุณวัชรินทร์ พุทธพรไพสิฐ และคุณสาวิตร จิตรประวัติ ให้การต้อนรับ บรรยายสรุปการดำ�เนิน งานพร้อมนำ�ชมสถานที่ ณ ศูนย์สุขภาพฯ

ตรวจมะเร็งปากมดลูก

เครือไทยออยล์ฯ ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา จัดโครงการตรวจมะเร็งปากมดลูกให้กับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ในชุมชน ณ ศูนย์สุขภาพฯ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2554 โดยมีผู้มารับการบริการ ทั้งหมด 69 คน โรคมะเร็งปากมดลูกนี้เป็นโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิงไทย โดยพบมากในช่วงอายุ 35-60 ปี แต่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่ระยะก่อนมะเร็ง ซึ่งการรักษาจะได้ผลดีมากหากเป็นมะเร็งที่ตรวจพบในระยะแรก

เตรียมความพร้อม คัดกรอง ป้องกันและควบคุมเบาหวาน-ความดัน

เมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม และ 29 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา เครือไทยออยล์รว่ มกับเทศบาล นครแหลมฉบัง ได้จัดการอบรมเรื่องความส�ำคัญของการตรวจคัดกรอง และวิธีการ ให้ค�ำแนะน�ำการปฏิบัติตัวของผู้ที่ป่วยเป็นโรคโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึ่ง จะมีพิธีเปิดโครงการคัดกรองป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน โรคความดันนี้อย่าง เป็นทางการในวันที่ 8 กันยายนนี้ โดยได้ก�ำหนดให้ชุมชนบ้านอ่าวอุดมเป็นหมู่บ้าน น�ำร่อง จึงได้จดั การประชุมเตรียมความพร้อมในครัง้ นีข้ นึ้ เพือ่ ชีแ้ จงท�ำความเข้าใจกับ กลุ่ม อสม. ชุมชน กลุ่มเยาวชนจิตอาสาบ้านอ่าวอุดม เพื่อแบ่งหน้าที่งาน และให้มีความเข้าใจก่อนปฏิบัติงาน โครงการคัดกรองฯ นี้ เป็นโครงการ ระยะที่ 2 ซึ่งเป็นการต่อยอดจากผลส�ำรวจการท�ำประชาคมของกลุ่ม นักศึกษาฝึกงานจากมหาวิทยาลัยบูรพาเมื่อปีที่แล้ว

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

7


ต้อนรับคณะดูงานจากระยอง

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 เวลา 09.00-15.00 น. เครือไทยออยล์ ได้ตอ้ นรับคณะดูงานจากระยอง ซึง่ ประกอบ ด้ ว ยผู ้ น� ำ ชุ ม ชนจากหลากหลายพื้ น ที่ ผู ้ บ ริ ห ารโรงงาน อุตสาหกรรมในระยองและภาครัฐ (อบต. ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ส�ำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด) รวมทั้งหมด 240 คนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ช่วงเช้า 120 คนและช่วงบ่าย 120 คนเพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและประสบการณ์ การด�ำเนินงานพัฒนาชุมชน โดยมีคุณวัชรินทร์ พุทธพรไพสิฐ และคุณสาวิตร จิตรประวัติ เป็นวิทยากรกล่าวบรรยายแผน การบริ ห ารงานด้ า นชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ พ าคณะศึ ก ษาดู ง านเดิ น ชมศู น ย์ ฯ และกราบนมั ส การ หลวงพ่อไทยออยล์เพื่อความเป็นสิริมงคลก่อนเดินทางกลับระยอง โดยก่อนหน้านี้ยังได้ต้อนรับคณะดูงานจากระยองอีกคณะหนึ่งในนาม “ศูนย์เพื่อนชุมชน” ซึ่งเป็นหน่วยงานดูแล ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) รวมของ 5 กลุ่มบริษัทฯ ในระยอง (ปตท เคมิคอล เอสซีจี บีแอลซีพี โกลว์ และ ดาวเคมิคอล) ซึ่งมาศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการบริหารงานชุมชนร่วมกัน

ไทยออยล์คว้ารางวัล ASEAN Energy Awards 2011

คุ ณ พิ ชั ย นริ พ ทะพั น ธุ ์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงพลั ง งาน ในฐานะผู ้ แ ทน รัฐมนตรีพลังงานกลุ่มประเทศอาเซียนมอบรางวัล ASEAN Energy Awards 2011 ให้แก่คณุ พงษ์พนั ธุ์ อมรวิวฒั น์ ผูจ้ ดั การฝ่ายวางแผนการพาณิชย์องค์กร บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ในงาน ASEAN Energy Business Forum 2011 ณ ประเทศบรูไน เมือ่ วันที่ 20 กันยายนทีผ่ า่ นมา โดยทีเ่ ครือไทยออยล์ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ด้าน พลังงานทดแทน ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) จากโครงการโรงไฟฟ้า พลังน�ำ้ ห้วยปูลงิ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ นับเป็นการสะท้อนถึงความมุง่ มัน่ ของเครือฯ ในการพัฒนาโครงการพลังงานหมุนเวียน และการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของเครือฯ เพือ่ ยกระดับความเป็นอยู่ สร้างอาชีพ และเพิม่ โอกาสในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาของชุมชนในท้องถิ่นห่างไกลเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน

ไทยออยล์รบั รางวัล CSR - DIW

เมื่อวันที่ 22 กันยายนที่ผ่านมา เครือไทยออยล์เข้ารับโล่และเกียรติบัตรการปฏิบัติตาม มาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม หรือ CSR-DIW (Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works) ประจำ�ปี 2554 จาก คุณสุภาพ คลี่ขจาย ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค กรุงเทพฯ โดย บมจ.ไทยออยล์ บมจ.ไทยลู้บเบส และ บจ.ไทยพาราไซลีน ได้รับรางวัลเกียรติยศความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง (CSR - DIW Continuous Awards 2011) และ บจ.ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) ซึง่ เข้าร่วมโครงการเป็นปีแรกได้รบั รางวัลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม (CSR - DIW Awards 2011) อันเป็นการแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของเครือไทยออยล์ อย่างต่อเนื่อง

8

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


ถวายราชสดุดีวันแม่แห่งชาติ

เครือไทยออยล์ TCP ชุมชนรอบโรงกลั่น และเทศบาลนครแหลมฉบังร่วมกันจัดกิจกรรม ถวายพระพรเนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถมาต่อเนือ่ ง กว่าสิบปี ในอดีตใช้สถานที่ รร.วัดใหม่เนินพยอม จนเมื่อศูนย์สุขภาพฯ เปิดด�ำเนินการเมื่อปี 2553 จึงย้ายมาจัดที่ศูนย์สุขภาพฯ พร้อมกับต่อยอด กิจกรรมการท�ำความสะอาดในชุมชนบ้านอ่าวอุดม และตลาดอ่าวอุดม จากเดิมทีเ่ คยท�ำความสะอาด ชายทะเลอย่างเดียว ทุกฝ่ายเตรียมพร้อม ที ม งานหลายฝ่ า ยในกลุ ่ ม บริ ษั ท เครื อ ไทยออยล์ และพันธมิตรต่างช่วยกันตระเตรียม ความพร้อมในทุกด้าน โดยทาง บจ.ไทยโตไก คาร์บอนโปรดักท์ (TCP) จัดรถ 1 คันบรรทุกน�้ำ เครื่องดื่มและผ้าเย็นบริการผู้ร่วมรณรงค์รักษา ความสะอาดในเขตชุ ม ชนตลาดอ่ า วอุ ด ม ส่วนในบริเวณชุมชนบ้านอ่าวอุดมเป็นหน้าที่ ของ บมจ.ไทยลู้บเบส (TLB) ที่ยังได้เอื้อเฟื้อ อาหารพิเศษให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมรณรงค์ท�ำ ความสะอาดที่ รร.วัดใหม่เนินพยอมด้วย ทีมศูนย์ สุขภาพฯ เครือไทยออยล์ ช่วยจัดเตรียมอาหารว่าง น�้ำดื่มไว้คอยบริการผู้ร่วมงาน รวมทั้งดูแลความ เรียบร้อยของอาหารกลางวันที่วัดใหม่เนินพยอม จุดนัดหมายรวมพลเพื่อประกาศความส�ำเร็จ ของการรณรงค์รักษาความสะอาดในพื้นที่ ส่วน บจ.ไทยพาราไซลีน (TPX) ช่วยจัดรถตูม้ าช่วยรับส่ง คณะดนตรีไทย และคณะนักแสดง รร.วัดใหม่ เนิ น พยอม โดยมี ที ม งานบริ ห ารงานชุ ม ชน เครือไทยออยล์ เป็นผู้รับผิดชอบงานในภาพรวม

พิธีถวายราชสดุดี ในปีนี้ก�ำหนดการจัดงานตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม 2554 โดยได้รับเกียรติจาก คุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศบาลนครแหลมฉบัง เป็นประธานกล่าวค�ำถวายราชสดุดีและเปิดการ รณรงค์รักษาความสะอาดน้อมเกล้าถวายราชินี โดยมีการแสดงดนตรีไทยและการแสดงร�ำนาฏศิลป์ ชุดคีตมวยไทยจาก รร.วัดใหม่เนินพยอม ทีส่ ร้างความประทับใจด้วยลีลาทีอ่ อ่ นช้อยของร�ำไทยควบคู่ กับความห้าวหาญของศิลปะแม่ไม้มวยไทย หลังจากจบช่วงพิธีการเป็นการมอบอุปกรณ์ท�ำความสะอาดให้กับชุมชนที่มาร่วมงาน โดย ก่อนที่จะแยกย้ายกันไปรณรงค์และท�ำความสะอาดในพื้นที่ของแต่ละชุมชนนั้น ท่านนายกเทศมนตรี ประธานชุมชนตลาดอ่าวอุดม ประธานชุมชนบ้านอ่าวอุดม และคุณยุทธนา ภาสุรปัญญา ผู้จัดการ ฝ่ายผลิตและประธานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมมวลชนสัมพันธ์ ได้ลั่นฆ้องคนละครั้งเป็นสัญลักษณ์ ของการเริ่มกิจกรรม กิจกรรมท�ำความสะอาดในชุมชน พี่น้องชุมชนตลาดอ่าวอุดมน�ำโดย อาจารย์เสถียร เอกจรัสภิวัฒน์ เดินเท้าออกจากศูนย์ สุขภาพฯ ไปท�ำความสะอาดในพืน้ ที่ ส่วนชุมชนบ้านอ่าวอุดม น�ำโดย คุณสุนนั ท์ เสียงดัง เดินทางกลับ ชุมชนด้วยรถโดยสาร 4 คัน แยกเป็น 4 สายท�ำความสะอาดและรณรงค์ในชุมชน แม้จะเหน็ดเหนื่อย แต่พี่น้องทุกคนดูจะมีความสุขกับการมีจิตอาสาบ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ไม่ว่าจะหันไป ทางไหนจึงเห็นแต่รอยยิ้มและทักทายกันด้วยไมตรีจิต เมื่อภารกิจเสร็จสิ้นทุกหน่วยทยอยกันมายัง วัดใหม่เนินพยอม สรุปผล-ประกาศชัย หลังจากอิม่ หน�ำส�ำราญกันแล้ว ทุกคนมารวมตัวกัน ณ ศาลาในวัด อาจารย์เสถียร เอกจรัสภิวฒั น์ กล่าวสรุปงานโดยขอบคุณทุกคนในชุมชน และเครือไทยออยล์ที่ให้ความร่วมมือในการผลักดันและ ร่วมด�ำเนินการจนเกิดกิจกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่ในวันนี้ ขอให้การด�ำเนินการแบบ 3 ประสานคือชุมชน เทศบาล และเครือไทยออยล์ สร้างสรรค์สงิ่ ทีด่ งี ามในพืน้ ทีข่ องเราตลอดไป จากนัน้ คุณสุนนั ท์ เสียงดัง ประธาน ชุมชนบ้านอ่าวอุดม ได้กล่าวขอบคุณในความร่วมมือของทุกคนในทีมงานและขอบคุณเครือไทยออยล์ รวมทั้ง TCP งานนีส้ ำ� เร็จลงได้ดว้ ยดีเพราะพลังสามัคคีของทุกคน พืน้ ทีแ่ หลมฉบังแห่งนีม้ เี ครือไทยออยล์และ ชุมชนอยู่บนแผ่นดินเดียวกัน เหมือนอยู่ในครอบครัวเดียวกัน คือครอบครัวใหญ่แห่งนครแหลมฉบัง ซึง่ ไม่อาจแยกขาดจากกันได้ ขอให้พลังทีย่ งิ่ ใหญ่นเี้ ป็นพลังทีส่ ร้างสรรค์สงิ่ ดีงามให้กบั ครอบครัวของเรา เพื่อก้าวสู่ความสุขที่ยั่งยืนของสังคมเราต่อไป

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

9


บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ โดย ตั๊กแตน

ครูพละทั้ง 5 โรงเรียนกลับจากการฝึกอบรมครูฝึกกระโดดเชือก ด้วยความมุ่งมั่น พร้อมหารือไทยออยล์ ส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน Rope Skipping Championship ประเภทมือใหม่ 20 กันยายนนี้

หลังจากผ่านการฝึกอบรมเพื่อเป็นครูฝึกกระโดดเชือกเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ครูพละจาก 5 โรงเรียน คือ ครูแบงค์ ครูอ้อม ครูเอ๋ ครูชมพู่ ครูติ๊ก ได้หารือกับศูนย์สุขภาพฯ เครือไทยออยล์ และมีความเห็นร่วมกันทีจ่ ะส่งนักเรียนของ รร.วัดมโนรม รร.เทศบาลแหลมฉบัง 2 รร.บ้านชากยายจีน รร.วัดใหม่เนินพยอม และ รร.วัดแหลมฉบังเข้าร่วมการแข่งขัน Rope Skipping Championship หรือการแข่งขันกระโดดเชือกชิงแชมป์ประเภทมือใหม่ในวันที่ 20 กันยายนนี้ ณ อาคารยิมเนเซียม 2 สนามกีฬาแห่งชาติ ในนามของแต่ละโรงเรียน ยกเว้นการ แข่งขันประเภทกลุ่มว่องไว 10 คนทีมชายและทีมหญิงจะส่งในนามทีมศูนย์สุขภาพและการ เรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน งานนีค้ รูทกุ คนและศูนย์สขุ ภาพฯ มีความหวังจะน�ำเหรียญกลับมา ฝากพีน่ อ้ งชาวแหลมฉบังหลายเหรียญ ฉบับหน้าคงจะได้นำ� ผลสรุปเหรียญรางวัลมาเสนอนะครับ

ทีมสำ�รวจคัดกรองเบาหวาน ความดัน บ้านอ่าวอุดม เริ่มงานแล้ว หลังจากท่านนายกเทศมนตรีเทศบาลนครแหลมฉบังท�ำพิธีเปิดโครงการร่วมดูแลสุขภาวะ ชุมชน น�ำร่องคัดกรอง ป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงบ้านอ่าวอุดม เมือ่ วันที่ 8 กันยายน ทีมงาน อสม. เจ้าหน้าที่ รพ.อ่าวอุดม และเยาวชนรักษ์บ้านอ่าวอุดมได้เริ่มงานส�ำรวจ โดยเดินเคาะประตูทีละบ้าน ตรวจสอบยืนยันผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ตรวจประเมินดัชนีมวลกาย เจาะเลือดปลายนิ้ววัดระดับน�้ำตาลเบื้องต้น ว่ามีความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันหรือไม่ ขอความร่วมมือชาวชุมชนอ่าวอุดมทุกหลังคาเรือนเตรียมตัวเองเพือ่ พบกับทีมตรวจคัดกรองด้วยครับ ผ่านงานนี้ไปเราจะรู้ว่าใครบ้างมีความเสี่ยงแค่ไหน นศ.พยาบาล ม.บูรพา ทยอยลงพืน้ ทีส่ �ำ รวจทำ�แฟ้ม สุขภาพครอบครัวต่อจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตัง้ แต่เดือนตุลาคมปีน้ี - มกราคมปีหน้า รวม 4 รุน่ นักศึกษาพยาบาลจากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจะสิ้นสุด การส�ำรวจจัดท�ำแฟ้มครอบครัวที่ชุมชนบ้านแหลมฉบัง และจัดท�ำ โครงการสุขภาพในช่วงสิ้นเดือนกันยายนนี้ โดยจะสร้างทีม อสม.น้อย ไว้ให้สำ� หรับงานส�ำรวจคัดกรองสุขภาวะ และในเดือนตุลาคมเป็นต้นไป นักศึกษาพยาบาลจาก ม.บูรพา จะทยอยลงส�ำรวจชุมชนตลาดอ่าวอุดม บ้านทุง่ และบ้านชากยายจีนตามล�ำดับ คาดว่าจะมีโครงการดี ๆ ทีช่ มุ ชน จะได้ท�ำต่อเนื่องเพื่อสุขภาวะของแต่ละชุมชนอีกอย่างแน่นอน

10 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

ตุลาคมนี้ ศูนย์สุขภาพฯ จัดกิจกรรมดีๆ เพื่อเด็ก 7 ชุมชนรอบโรงกลั่นไทยออยล์ กิ จ กรรมส� ำ หรั บ เด็ ก ทุ ก คนทุ ก วั น จั น ทร์ - ศุ ก ร์ ตั้ ง แต่ เวลา 16.00-18.00 น. โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 11 ตุลาคมเป็นต้นไป ทางศูนย์สุขภาพฯ จะเปิดรับเด็กมาฝึกซ้อมกระโดดเชือกตาม มาตรฐานสากล เตรียมแข่งขันในพืน้ ทีช่ มุ ชนรอบโรงกลัน่ ชิงถ้วย ศู น ย์ สุ ข ภาพฯ นอกจากนี้ ท างศู น ย์ สุ ข ภาพฯ ยั ง มี กิ จ กรรม ค่ายเยาวชนปิดภาคเรียนให้กับตัวแทนนักเรียนจากทุกโรงเรียน รอบโรงกลั่น ติดตามรายละเอียดข่าวประชาสัมพันธ์ได้จาก คณะกรรมการชุมชนครับ


เคล็ดลับสุขภาพ

โดย กาบกล้วย

มหัศจรรย์น�้ำเต้าหู้

ในยุคที่กระแสรักษาสุขภาพมาแรง ท�ำให้หลายคนหันมาดูแลสุขภาพ ตนเองด้วยการเลือกบริโภคสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย ท�ำให้ “น�ำ้ เต้าหู้ หรือ นมถัว่ เหลือง” กลายเป็นเครือ่ งดืม่ สุขภาพทีค่ นทัว่ ไปตัง้ แต่เด็กจนถึงผูส้ งู วัย นิยมดืม่ กัน เพราะ “น�ำ้ เต้าหู้ หรือ นมถัว่ เหลือง” เป็นแหล่งไขมันและโปรตีนชัน้ ดี ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย รวมไปถึงสารอาหารทีห่ ลากหลายไม่วา่ จะเป็นคาร์โบไฮเดรต แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ, บี, บี 1, บี 2, บี 6, บี 12, ไนอาซิน, เลซิทิน ซึ่งตัวหลังสุดช่วยบ�ำรุงสมอง เพิ่มความทรงจ�ำ นอกจากนี้สารอาหารที่อยู่ในน�้ำเต้าหู้ ยังช่วยลดไขมันและคอเลสเตอรอลในร่างกายเราได้อีกด้วย เรียกว่าเป็นแหล่งโปรตีนชั้นดีส�ำหรับผู้ที่ ไม่บริโภคเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะช่วงเทศกาลกินเจทุกปี

ประโยชน์ของน�้ำเต้าหู้ ข้อแนะน�ำในการดื่มน�้ำเต้าหู้ 1. น�ำ้ เต้าหูใ้ ห้พลังงานได้มากพอ ๆ กับนมวัว แม้ปริมาณโปรตีน 1. ควรดื่มน�้ำเต้าหู้พร้อมกับการทานอาหารจ�ำพวกแป้ง เพราะ วิตามิน และเกลือแร่อื่น ๆ จะน้อยกว่า แต่ที่ส�ำคัญคือกินเท่าไหร่ก็ไม่ อ้วน (แต่ต้องไม่ใส่น�้ำตาลนะคะ) เพราะมีไขมันไม่อิ่มตัวมากถึง ร้อยละ 63 ไขมันอิ่มตัวร้อยละ 15 ไขมันไม่อิ่มตัวชนิดเดี่ยวอีกร้อยละ 24 และยังมีกรดไลโนเลอิคซึง่ เป็นกรดไขมันทีม่ คี วามจ�ำเป็นต่อร่างกาย 2. อุดมด้วยสารต้านมะเร็งถึง 5 ชนิด โดยเฉพาะไอโซฟลาโวนส์ ซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจน ประโยชน์ของสารตัวนี้ สามารถลดความเสีย่ งของการเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งล�ำไส้เล็ก มะเร็ง ล�ำไส้ใหญ่ โรคกระดูกพรุน โรคหัวใจและหลอดเลือดได้ 3. อุดมด้วยวิตามินอีซึ่งมีส่วนส�ำคัญที่ช่วยต้านสารอนุมูลอิสระ ช่วยดูแลเนื้อเยื่อร่างกายให้เป็นปกติ ท�ำให้ผิวพรรณสดใสเปล่งปลั่ง และยังช่วยชะลอความแก่ 4. การดื่มน�้ำเต้าหู้ประจ�ำจะช่วยลดอาการต่าง ๆ ของหญิง วัยหมดประจ�ำเดือน และบรรเทาอาการข้างเคียง ไม่วา่ จะเป็นร้อนวูบวาบ ช่องคลอดแห้ง ไขมันสูง อารมณ์ไม่ปกติ และช่วยปรับฮอร์โมนให้สมดุล 5. น�้ำเต้าหู้ใช้เป็นอาหารส�ำหรับผู้ป่วยเบาหวานได้ดี เนื่องจาก ถั่วเหลืองมีน�้ำตาลน้อย และยังไม่มีคอเลสเตอรอลอีกด้วย 6. น�้ำเต้าหู้ยังเป็นแหล่งโปรตีนที่ส�ำคัญส�ำหรับผู้ที่ไม่บริโภค เนื้อสัตว์ เนื่องจากถั่วเหลืองมีสารอะมิโนเอซิดที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย 7. สามารถใช้น�้ำเต้าหู้เลี้ยงเด็กได้ ในกรณีที่เด็กแพ้นมวัวและ แพ้แลคโตสในนม

ข้อมูลอ้างอิง นสพ.โพสต์ทูเดย์ http://thaigoodview.com http://www.never-age.com/antiaging/antiaging.php?aid=52 http://www.archeep.com/drink/drk_nam_tao_hoo.htm

จะท�ำให้ร่างกายสามารถดูดซึมโปรตีนในน�้ำเต้าหู้เข้าสู่ร่างกายได้ดี 2. ไม่ควรใส่ไข่ลงในน�้ำเต้าหู้ เนื่องจากไข่ขาวจะไปจับตัวกับ โปรตีนในน�้ำเต้าหู้ ท�ำให้ร่างกายดูดซึมได้ยาก 3. ไม่ควรใส่น�้ำตาลทรายแดง เนื่องจากกรดอินทรีย์ในน�้ำตาล จะไปจับตัวกับโปรตีนและแคลเซียมในน�ำ้ เต้าหูก้ ลายเป็นตะกอน ท�ำให้ เสียคุณค่าอาหารไป 4. ควรบริโภคแต่น�้ำเต้าหู้ที่ผ่านการต้มให้เดือดเต็มที่ เพราะ หากต้มไม่เดือด สารซาโปนีนในน�้ำเต้าหู้อาจก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียนหรือท้องเสียได้ ผู้ที่เป็นโรคโลหิตจางควรหลีกเลี่ยงการดื่มน�้ำเต้าหู้ เนื่องจาก โปรตีนในน�้ำเต้าหู้ท�ำให้ความสามารถในการดูดซึมธาตุเหล็กลดลง

วิธีท�ำน�้ำเต้าหู้

ส่วนผสม ถั่วเหลืองเลาะเปลือก 1 น�้ำตาลทราย 3/4 น�้ำสะอาด 7 หรือน้อยกว่านี้ หากต้องการให้เข้มข้น

ถ้วย ถ้วย ถ้วย

วิธีท�ำ

ล้างถั่วเหลืองให้สะอาด แช่น�้ำทิ้งไว้อย่างน้อย 6 ชม. เพื่อให้ ถั่วนิ่มง่ายต่อการโม่หรือบดแล้วน�ำไปโม่ ปั่น หรือบดให้ละเอียด ผสมน�ำ้ แล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง 2 รอบ หากมีเครือ่ งสกัดแยกกากยิง่ ดี น�ำน�ำ้ ถัว่ เหลืองทีไ่ ด้ไปตัง้ ไฟ หมัน่ คนอยูเ่ สมอเพือ่ ไม่ให้ไหม้ตดิ ก้นหม้อ ปรุงรสด้วยน�้ำตาลทราย คนให้ละลายแล้วยกลง หากไม่ชอบน�้ำตาล ก็ไม่ต้องเติมหรือใช้น�้ำผึ้งแทนน�้ำตาลก็ได้ ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

11


ก้ า วทั นโลก โดย ติมา

หลังคามีชีวิต... หลังคาสีเขียว

แต่เดิมหลังคาบ้านมีหน้าทีป่ กป้องบ้านและ คนอยูอ่ าศัยจากแสงแดดและลมฝน มนุษย์ชา่ งคิด มองเห็นประโยชน์อนื่ ๆ ของหลังคา จึงเริม่ิ มีการน�ำ เซลล์แสงอาทิตย์ ไปติดตัง้ กลายเป็นหลังคาสร้างพลังงานได้ มาถึงวันนีป้ ระโยชน์ของหลังคาก้าวไปอีกขัน้

แนวคิดเรือ่ งการปลูกต้นไม้บนหลังคาบ้าน (Roof Garden) หรือ หลังคามีชีวิต (Living Roof) หรือหลังคาสีเขียว (Green Roof) ก�ำลัง เป็นที่นิยมไปทั่วโลก เพราะช่วยลดความร้อนบนหลังคา ท�ำให้บ้าน เย็นสบายโดยไม่ตอ้ งเปิดแอร์ ส่งผลดีไปถึงการช่วยลดอุณหภูมขิ องเมือง โดยรวม นั่นหมายถึงสามารถบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน รวมถึงแก้ น�้ำท่วมได้ด้วย งานวิจัยในประเทศแคนาดาพบว่า อาคารชั้นเดียวที่ปลูกหญ้า ความสูงประมาณ 4 นิ้วบนหลังคา ช่วยลดอุณหภูมิในหน้าร้อนได้ถึง ร้อยละ 25 และลดอุณหภูมิของเมืองได้ถึง 2 องศาเซลเซียส ส่วนการ วิจัยในนครนิวยอร์กระบุว่า หากอาคารบ้านเรือนร้อยละ 50 กลายเป็น หลังคามีชวี ติ จะลดอุณหภูมใิ นนิวยอร์กได้ 1 องศาเซลเซียสและทุก ๆ 1 องศาเซลเซียสจะช่วยลดการใช้พลังงานลงได้ 495 ล้านกิโลวัตต์ ขณะทีก่ ารศึกษาในเยอรมันระบุวา่ หลังคามีชวี ติ จะกักเก็บน�ำ้ ใน หน้าร้อนได้ถงึ ร้อยละ 70-80 แต่โดยทัว่ ไปจะกักเก็บได้ประมาณร้อยละ 40-100 ขึ้นอยู่กับฤดูกาล หลังคามีชีวิตแบบเข้มข้นจะเก็บน�้ำฝนได้ถึง ร้อยละ 75 ในระยะสั้น และเก็บได้ร้อยละ 20 เป็นเวลา 2 เดือน ดังนั้น หลังคามีชวี ติ จึงช่วยกักเก็บน�ำ้ ฝนและชะลอการไหลของน�ำ้ ฝนได้อย่าง มาก เป็นกลไกการควบคุมน�ำ้ ฝนในระบบการระบายน�ำ้ ของเมืองอย่าง ยัง่ ยืน ลดภาวะน�ำ้ ท่วมฉับพลันหลังฝนตกหนักได้ดี และช่วยลดค่าใช้จา่ ย ในการระบายน�้ำแบบเดิมอีกด้วย ได้ยินข้อมูลอย่างนี้แล้ว เริ่มคิดถึงกรุงเทพฯ ขึ้นมาทันทีเวลา ฝนตกหนัก น�้ำท่วม รถติด การท�ำหลังคามีชีิวิตน่าจะช่วยได้ มูลนิธิ เกษตรกรรมธรรมชาติของบ้านเราเอง จึงน�ำมาปรับประยุกต์ส่งเสริม ให้คนเมืองใช้หลังคาเป็นที่ปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเองในครัวเรือน เพราะนอกจากช่วยเรื่องลดภาวะโลกร้อนหรือแก้ปัญหาน�้ำท่วมแล้ว การปลูกผักบนหลังคาหรือหลังคากินได้นี้ยังเป็นแหล่งสร้างอาหารที่ เหนือชั้นของคนเมือง และเป็นทางเลือกที่คนเมืองลงมือท�ำได้เองด้วย ตัวอย่างดีมีให้เห็นมากมาย ในญี่ปุ่น นายจุนโกะ คาริยุ และ นายมาซาฮิโร นาการตะ พนักงานของบริษทั NTT บริษทั ยักษ์ใหญ่ทางการ สื่อสารโทรคมนาคมของญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางเมืองโตเกียว พระเอก ข้อมูลอ้างอิง

นิตยสารเกษต

รกรรมธรรมชา

ติฉบับที่ 11 ป

12 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

ี 2553

ทั้งสองคนของเราได้ขึ้นมาปลูกมันเทศแปลงใหญ่บนหลังคาอาคาร ส�ำนักงาน โดยให้เหตุผลว่า เมืองใหญ่อย่างโตเกียวมีความเสี่ยงสูง เรื่องอาหารปนเปื้อนสารเคมี เขาจึงขึ้นมาปลูกอาหารไว้กินเอง อีกทั้ง มันเทศเป็นพืชที่มีใบใหญ่ คลุมพื้นที่ได้กว้าง และสังเคราะห์แสงได้ดี ท�ำให้น�้ำระเหยมาก สภาพแวดล้อมจึงเย็นลงอย่างเห็นได้ชัด ส่ ว นในเมื อ งไทยเองได้ มี ก ารรวมกลุ ่ ม กั น เป็ น กลุ ่ ม สวนผั ก คนเมือง มีทงั้ ผูท้ ปี่ ลูกผักในกระถางส�ำหรับบ้านแบบทาวน์เฮาส์ ปลูกผัก บนดาดฟ้าส�ำหรับตึกแถว แม้ยังไม่มีบ้านใดที่เริ่มท�ำการปลูกผักบน หลังคาอย่างเป็นรูปธรรม แต่หากต้องการดูตัวอย่างสามารถไปดูได้ที่ พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรตินวนคร ซึ่งนับเป็นที่แรกที่ทดลองปลูกผัก บนหลังคา หรือไปดูที่ร้านทองค�ำ สวนจตุจักร โครงการ 1 ซึ่งทดลอง ปลูกพืชประดับต่าง ๆ บนหลังคาร้านด้วยตัวเอง ส่วนผักบนดาดฟ้า ก็มีหลายที่ให้ศึกษาทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และคนทั่วไป เช่น ที่ส�ำนักงานเขตหลักสี่ ซึ่งปลูกผักนานาชนิดบนหลังคาอาคาร 8 ชั้น เป็นอาหารให้เจ้า หน้าที่ และยังส่งขายให้ผู้บริโภคทั่วกรุงเทพฯ นับเป็นต้นแบบทีใ่ คร ๆ พากันมาศึกษาและน�ำไปขยายผลต่อ อย่างสวนผัก บนอาคารของบริษทั บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ ย่านสาธร สวนผัก บนตึกแถวของคุณสุดารัตน์ เลิศศรีทอง เป็นต้น ฉบับหน้าเราจะมาว่ากันต่อเรื่องนวัตกรรมใหม่ที่คนไทยเรา คิดขึ้นเพื่อให้การปลูกผักบนหลังคาเป็นเรื่องง่ายนิดเดียว สนใจข้อมูลเพิ่มเติม 1. พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรตินวนคร ต.คลองหนึ่ง จ.ปทุมธานี ติดต่อกลุ่ม งานเศรษฐกิจพอเพียง โทร. 0 2529 0885, 08 6901 4638 2. ฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ เขตหลักสี่ โทร. 0 2576 1393 3. เยี่ยมชมสวนผักบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ โทร. 0 2630 0700 4. พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับคุณสุดารัตน์ โทร 08 3986 6683


ปลอดภัย ใกล้ตัว

โดย เซฟตี้เกิร์ล

ไมโครเวฟ ใช้อย่างไรให้ปลอดภัย ด้วยสภาพชีวิตที่เร่งรีบในเมืองใหญ่ หน้าที่การงานที่รัดตัว ท�ำให้การท�ำกับข้าวทานเองที่บ้าน กลายเป็นเรือ่ งใหญ่ อีกทัง้ บางคนอยูห่ อพัก อพาร์ตเมนต์ หรือคอนโดมิเนียม ซึง่ ไม่สะดวกต่อการปรุงอาหาร ชีวติ คนเหล่านัน้ จึงผูกพันและพึง่ พาอยูก่ บั การซือ้ กับข้าวถุงมารับประทานแทนการปรุงอาหารเอง “ไมโครเวฟ” จึงเข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจ�ำวันของครอบครัวไทยมากขึน้ เพราะเพียงแค่เสียบ ปลัก๊ รอไม่กนี่ าทีอาหารก็ได้รบั การอุน่ ร้อน หอมกรุน่ พร้อมรับประทานได้ทนั ที แถมยังประหยัดน�ำ้ ไม่ตอ้ ง มานัง่ ล้างกระทะล้างหม้อกันอีก แต่จะมีใครรู้บ้างว่า การใช้ ไมโครเวฟอย่างถูกต้องและปลอดภัยต้องท�ำอย่างไร ไมโครเวฟ (Microwave) คือเครือ่ งทีใ่ ช้ไฟฟ้าทีส่ ง่ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า ความถี่ 2,450 ล้านรอบต่อวินาที (หรือ 2,150 เมกะเฮิรตซ์) พุง่ ไป กระทบอาหารแล้วถ่ายทอดพลังงานให้โมเลกุลของน�้ำทั้งในและนอก อาหาร จนเกิดการสัน่ สะเทือนเสียดสีกนั เป็นความร้อนและท�ำให้อาหาร สุกอย่างรวดเร็ว คลืน่ ไมโครเวฟทีใ่ ช้ในการปรุงอาหารไม่มอี นั ตรายต่อ สุขภาพ เพราะจะสลายตัวไปไม่สะสมในอาหาร เมือ่ กินอาหารทีท่ ำ� ให้ สุกด้วยไมโครเวฟ จึงไม่เกิดอันตรายใด ๆ ทัง้ สิน้ แต่อย่างไรก็ตาม เราควรศึกษาหลักการใช้ไมโครเวฟทีถ่ กู ต้องและ ปลอดภัย เพือ่ ให้เครือ่ งใช้ไฟฟ้านีส้ ามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทีส่ ดุ ค่ะ ข้อควรรูใ้ นการใช้ไมโครเวฟมีหลักการง่าย ๆ ดังนีค้ ะ่ • ควรเลือกซื้อเครื่องจากบริษัทที่มีมาตรฐาน มีการรับรอง คุณภาพการผลิต ฝาตูต้ อ้ งปิดได้แน่นสนิท ไม่มรี อยรัว่ และควรอ่านคูม่ อื การใช้งานให้ละเอียดก่อนการใช้งานจริง • ควรตัง้ ตูไ้ มโครเวฟให้หา่ งจากผนังด้านหลังและด้านข้างไม่นอ้ ย กว่า 5 เซนติเมตร และให้หา่ งจากโทรทัศน์และวิทยุให้มากทีส่ ดุ • ไม่ควรวางของหนักหรือห้อยของไว้บริเวณประตูตขู้ ณะประตู เปิดอยู่ เพราะอาจท�ำให้ฝาตูป้ ดิ ไม่สนิท มีคลืน่ ไมโครเวฟรัว่ ออกมาได้ ระหว่างใช้งาน • ภาชนะที่ใช้ควรเป็นภาชนะที่มีคุณสมบัติไม่ดูดกลืนคลื่น ไมโครเวฟ เช่น เครือ่ งแก้ว เซรามิก กระดาษ หรือพลาสติกชนิดทีร่ ะบุ ว่าใช้กบั เตาไมโครเวฟได้ ซึง่ จะปล่อยให้คลืน่ ผ่านเลยไป ไม่ดดู กลืนคลืน่ ไว้ ภาชนะทีม่ รี ปู ร่างกลม ปากกว้าง จะดีกว่าภาชนะทีม่ เี หลีย่ มมุม ซึง่ จะ

รับคลืน่ ไมโครเวฟได้นอ้ ย ห้ามใช้ภาชนะโลหะทุกชนิดกับไมโครเวฟ หรือ ภาชนะกระเบือ้ งทีม่ ขี อบสีเงินหรือขอบสีทอง • ควรใช้ฝาชีพลาสติกทนความร้อนครอบอาหาร (ในลักษณะที่ ไม่ตอ้ งปิดฝาแน่น) ก่อนเริม่ เปิดใช้เครือ่ งไมโครเวฟ เพือ่ ไม่ให้คราบอาหาร กระเด็นไปติดตู้ จะได้ไม่ตอ้ งเสียเวลาในการท�ำความสะอาดตู้ • ไม่ควรน�ำอาหารทีม่ ผี วิ มันหรือมีเปลือกแข็งเข้าไปท�ำให้สกุ ใน ตู้ เพราะความร้อนท�ำให้อากาศภายในอาหารขยายตัว ประกอบกับไอน�ำ้ ที่เกิดขึ้นมีแรงดันสูง จะท�ำให้เกิดระเบิดเสียงดังได้ ควรใช้ส้อมจิ้มผิว อาหารหรือเปลือกอาหารให้เป็นรูเสียก่อน เพือ่ ป้องกันการปะทุทเี่ กิดจาก ความร้อนภายในอาหารขยายตัว รู้อย่างนี้เด็ก ๆ ไม่ควรน�ำไข่ไก่หรือ ไข่เป็ดดิบ ๆ ใส่เข้าไปในไมโครเวฟนะคะ • หมั่นท�ำความสะอาดภายในเครื่องทุกครั้งหลังการใช้งาน เพราะเศษอาหารทีต่ ดิ ตามผนังจะลดประสิทธิภาพของเตาไมโครเวฟลง และอาจเกิดประกายไฟได้ • อายุการใช้งานของเครื่องขึ้นอยู่กับการใช้งานและวัสดุ โครงสร้างของเครือ่ ง อย่าปล่อยให้เศษอาหารกระเด็นค้างอยูใ่ นตูเ้ ป็นระยะ เวลานาน ๆ เพราะความเค็มของอาหารจะท�ำให้เหล็กตูเ้ ป็นสนิมจนเกิด รอยทะลุ และห้ามใช้ของมีคมขูดหรือขัดตู้ หลักการง่าย ๆ แค่นี้เราก็สามารถเป็นแม่บ้านยุคใหม่ที่ใช้ ไมโครเวฟช่วยสร้างเสน่หป์ ลายจวักได้อย่างปลอดภัยแล้วละค่ะ

ข้อมูลอ้างอิง : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) http://www.doctor.or.th/node/3063 http://www.oknation.net/blog/nonglek/2010/05/09/entry-1 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

13


จิตอาสา

โดย กองบรรณาธิการ

จักรยานเพื่อน้อง ของเก่าที่ไม่ได้ใช้งาน อย่างเช่น จักรยานคันเก่า หากปล่อยทิง้ ไว้นานวัน ก็เป็นสนิม ผุพัง จนไม่อาจใช้งานได้อีก คงไม่พ้นต้องถูกขายเป็นเศษเหล็ก หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ของใช้จ�ำเป็นประจ�ำส�ำนักงานที่เปลี่ยนรุ่นใหม่ ไวจนตามไม่ทัน ของตกรุ่นที่ยังใช้งานได้ดีเลยต้องตกกระป๋อง กลายเป็น ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นอันตรายต่อโลกและสิ่งแวดล้อม ต่อเนือ่ งเป็นปีท ี่ 3 แล้วทีแ่ ผนกบริการสวัสดิการและส�ำนักงาน บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดยคุณนิพนธ์ ภิรมย์ลาภา ผู้จัดการแผนกฯ และทีมงานที่ ตั้งใจจัดกิจกรรมเพื่อสังคมปีละครั้ง เพื่อเสริมสร้างค่านิยม POSITIVE ของ เครือไทยออยล์รว่ มกับกลุม่ เพือ่ นพนักงาน รวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องอืน่ ๆ จึงอยากจะ แบ่งปันประสบการณ์ ความประทับใจ ความสุขจากการร่วมกิจกรรมดี ๆ ให้กับ ผู้อ่านทุกท่าน ในปีนแี้ ผนกฯ ได้รบั หนังสือขอการสนับสนุนจักรยานและเครือ่ งคอมพิวเตอร์ จากโรงเรียนวัดส�ำโรง อ.สอยดาว จ.จันทบุรี โรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีนักเรียนประมาณ 400 คน คุณครู 21 ท่าน ให้บริการด้านการศึกษาแก่เด็ก ในพื้นที่ตั้งแต่อนุบาล 1-มัธยมศึกษาปีที่ 3 เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่าโรงเรียนอยู่ไม่ ไกลจากโรงกลั่นมากนัก จึงได้ประสานงานกับทางโรงเรียนเพื่อสอบถามข้อมูล รายละเอียดและตระเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ

14 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

เมื่อข้อมูลพร้อม แผนกฯ จึงได้ท�ำ เรื่องขออนุมัติคุณสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ ผูช้ ว่ ยกรรมการอ�ำนวยการ-ด้านบริหารองค์กร ขอบริจาคจักรยานเก่าแต่สภาพดี 20 คัน ของแผนกฯ และเครื่องคอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะ ของแผนกกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ จ�ำนวน 2 เครื่อง ซึ่งยังคงมีสภาพใหม่และ ใช้งานได้ดี จากนัน้ จึงแจ้งไปยังเพือ่ นร่วมงาน แผนกอื่นรวมทั้งพันธมิตรหน่วยงานอื่น ๆ ทีท่ ำ� งานร่วมกับเรา เช่น รพ.กรุงเทพพัทยา รพ.สมิติเวช ศรีราชา โมเดิร์นสไมล์ ฯลฯ ต่างช่วยกันบริจาคเงินจ�ำนวน 28,110 บาท และสิ่ ง ของที่ จ� ำ เป็ น เพื่ อ มอบให้ กั บ ทาง อาจารย์และนักเรียน อาทิ อุปกรณ์กฬี า ร่ม สมุด ปากกา เสื้อผ้าเด็กเล็ก ยาสีฟัน ตู้ยา และสิ่งของอื่น ๆ อีกมากมาย


ฤกษ์งามยามดีวันที่ 9 กรกฎาคม คณะเดินทางจิตอาสาทั้งหมด 27 ชีวิต ได้ อ อกเดิ น ทางด้ ว ยรถบั ส จากโรงกลั่ น ประมาณ 07.30 น. มุ่งหน้าเดินทางไปตาม เส้นทาง 34 ไปออกอ�ำเภอแกลง แล้ววิง่ ไปตาม ถนนสุขุมวิทผ่านจังหวัดจันทบุรี ถึงแยก ปากแซงเลีย้ วซ้ายต่อไปอีกประมาณ 78 กม. จึงถึงโรงเรียนวัดส�ำโรง อาจารย์สุวรรณี เจริญนาน อาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนพร้อม ด้วยอาจารย์ทา่ นอืน่ ๆ อีกประมาณ 10 ท่าน มาให้ ก ารต้ อ นรั บ ด้ ว ยอาหารมื้ อ เที่ ย ง แสนอร่อย เช่น หมูชะมวง ไก่ผัดเผ็ด กระวาน (พืชสมุนไพรมีคุณสมบัติด้านยา) เส้นจันท์ผัดปู และผลไม้ประจ�ำจังหวัดอีก เป็นหลายเข่ง น่าเสียดายที่เป็นวันเสาร์ จึงไม่มีโอกาสได้เจอเด็กนักเรียน หลังจากอิ่มท้อง คณะฯ จึงได้ร่วม กันมอบจักรยาน คอมพิวเตอร์ และของ บริจาคมากมายจากผู้ใหญ่ใจดีที่แม้ตัวจะ ไม่ได้มามอบด้วยตนเอง แต่ก็ร่วมปัจจัย สิ่งของและส่งก�ำลังใจมาให้ อาจารย์ใหญ่ เล่าให้ฟังว่า นักเรียนที่นี่เป็นลูกของคน งานสวนผลไม้ ซึ่ ง อพยพมาจากภาคอื่ น รวมทั้งเป็นแรงงานอพยพจากต่างประเทศ (กั ม พู ช า) อี ก จ� ำ นวนมาก ส่ ว นใหญ่ ฐานะยากจน หลายคนมีที่พักอยู่ห่างจาก โรงเรียนมาก จักรยานที่ไทยออยล์น�ำมา

มอบให้นจี้ ะช่วยให้เด็กๆ เดินทางมาโรงเรียน ได้สะดวกยิ่งขึ้น และช่วยลดค่าใช้จ่าย ของผู้ปกครองด้วย จากนั้นคณะจึงได้ออกเดินทางจาก โรงเรียนวัดส�ำโรง เพื่อไปทัศนศึกษาชม ธรรมชาติป่าชายเลนอันอุดมสมบูรณ์ต่อ ที่ศูนย์ศึก ษาการพั ฒ นาอ่ าวคุ ้ ง กระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ทางศูนย์ฯ ได้ จัดสร้างสะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลนอ่าวคุ้งกระเบนยาวประมาณ 1,790 เมตร ลดเลีย้ วเข้าไปในป่าชายเลนเพือ่ เผยแพร่ความรู้ทางด้านระบบนิเวศวิทยา ป่าชายเลนในรูปแบบ “พิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาติ ที่ มี ชี วิ ต ” แก่ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาและ ผู้สนใจทั่วไป ซึ่งทางเครือไทยอออยล์โดย แผนกบริหารงานชุมชนก็เคยน�ำเยาวชน ในชุมชนรอบโรงกลัน่ มาเข้าค่ายวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ที่นี่เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่าน มานี่เอง ตลอดเส้นทางเดินจะมีศาลาอธิบาย ให้ทราบถึงประโยชน์ของระบบนิเวศวิทยา ห่วงโซ่อาหารในแง่มมุ ต่าง ๆ ของป่าชายเลน ตามเส้ น ทางเดิ น ดั ง กล่ า วที่ ท อดผ่ า น ป่ า ชายเลนที่ มี พั น ธุ ์ ไ ม้ ห ลายชนิ ด เช่ น ไม้ แ สม ล� ำ พู ท ะเล และยั ง เป็ น แหล่ ง เพาะพันธุ์ แหล่งอาหาร และที่อยู่อาศัย ของสิ่งมีชีวิตนานาชนิด อาทิ ปู ปลา

นก และแมลงชนิดต่าง ๆ ทีมงานต่าง เรียนรู้และซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พระราชด�ำริให้พัฒนาพื้นที่แห่งนี้ ซึ่งเดิม เป็นแหล่งเสื่อมโทรม แต่ปัจจุบันกลายเป็น แหล่งอาหารส�ำคัญส�ำหรับพวกเราทุกคน และยังเป็นสถานทีศ่ กึ ษารูปแบบการจัดการ ทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืนที่ส�ำคัญแห่ง หนึ่งในประเทศ นอกจากความอิ่ ม เอิ บ ใจเหมื อ น เช่นทุกครั้งที่ได้ร่วมท�ำกิจกรรมจิตอาสา ด้วยการแบ่งปันเพื่อคนอื่นแล้ว กิจกรรม ในครั้ ง นี้ ยั ง ท� ำ ให้ เ ราตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า การน�ำสิ่งของที่มีอยู่ แต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ไปมอบให้กับผู้ที่ต้องการใช้ ของที่อาจจะ ดูเล็กน้อยส�ำหรับเรา กลับสร้างความสุข ให้แก่ผู้รับได้มากมาย และยังช่วยให้เราใช้ ทรัพยากรของโลกอย่างคุ้มค่าที่สุด เขตป่า เสือ่ มโทรมทีค่ งุ้ วิมานก็คงเช่นเดียวกัน ด้วย พระราชด�ำริของพระองค์ท่านและความ ร่วมมือร่วมใจจากหลากหลายภาคส่วน ท�ำให้ผืนป่าทิ้งร้างนั้นกลับมาอุดมสมบูรณ์ อย่างมิอาจประเมินค่าได้เลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก คุณอาภากร วงศ์สถาพรพัฒน์ และ ที ม งานแผนกบริ ห ารสวั ส ดิ ก ารและ ส�ำนักงาน

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

15


ปราชญ์ชุมชน

โดย สรีชา

เรียม ชัยมะโน... แม่พิมพ์แห่งความดี

“เราต้องสอนเขาด้วยหัวใจ ด้วย ตัวเราเอง ไม่ใช่ปากบอกให้ทำ� ดีอย่างนัน้ อย่างนี้ แต่ตวั เราท�ำ ไม่ได้ ดีแต่ปากก็ ไม่ได้ เราต้อง ท�ำดีดว้ ยตัวเราเอง ให้เป็นแบบ อย่างด้วย”

ในวัยหลังเกษียณ เรียม ชัยมะโน ดูอ่อนกว่าอายุจริงทั้ง รอยยิม้ เบิกบานและอัธยาศัยไมตรี ทีท่ ำ� ให้คนรุน่ หลังเมือ่ เข้ามาคุย ด้วยรู้สึกสัมผัสได้ถึงความเป็นคนจิตใจดี “จะเรียกป้าเรียกยายก็ได้ไม่ตอ้ งเรียกครูหรอก เพราะตอนนี้ เกษียณมานานแล้ว บางคนก็เรียกเจ๊ตามท่านนายกฯ แต่แถวนี้ เรียกยายทั้งนั้น” นายกฯ ที่พูดถึงหมายถึงอดีตนายกเทศมนตรี นครแหลมฉบังหลายสมัย บุญเลิศ น้อมศิลป์ ผูเ้ ป็นน้องชาย ส่วนแถวนี้ หมายถึงเด็กเล็ก ๆ และครูพเี่ ลีย้ งในศูนย์เด็กเล็กยิง่ รักเนอร์สเซอรี่ ทีป่ า้ เรียมแบ่งพืน้ ทีบ่ า้ นส่วนหนึง่ มาท�ำกิจการเล็ก ๆ ด้วยจิตใจของ ความเป็นครูที่ไม่เคยห่างหายไป “วัน ๆ ก็หัวฟูอยู่กับเด็ก ๆ เพราะเราเป็นครูมาตลอด อยู่ กับเด็ก ได้ยินเสียงเด็กแล้วมีความสุข ตอนที่เกษียณมาแล้วป้ากับ ลุงนั่งเฝ้าบ้านมองหน้ากัน ท�ำอะไรดี ลุงเลยแนะน�ำว่าท�ำโรงเรียน เล็ก ๆ กันเถอะ”

16 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

ตั้งแต่ปี 2544 หลังเกษียณได้ปีเดียว ป้าเรียมจึงได้ตั้งศูนย์ เด็กเล็กทีม่ ชี อื่ ว่า ยิง่ รัก ซึง่ ในวันนีก้ ำ� ลังโดนแซวว่าชือ่ ทันสมัย เพราะ สอดคล้องกับชื่อท่านผู้น�ำประเทศ แต่ในวันที่ก่อตั้งป้าเรียมเล่าว่า มีคนทักว่าชือ่ แปลก ๆ แต่นนั่ เป็นความตัง้ ใจและความชอบส่วนตัว เพราะเป็นชื่อบอกถึงเจตนาและหลักการในการท�ำงานของตนมา ตลอดชีวิต คือ ยิ่งให้ความรัก เด็กจะยิ่งเติบโตงอกงาม ที่ผ่านมา เรียม ชัยมะโน งอกงามเป็นบุคคลที่ชุมชน เคารพรักและยกย่องนั้นไม่ใช่เพราะเป็นคนบ้านทุ่งแต่ก�ำเนิด เป็น ครูเก่าแก่ทอี่ ยูใ่ นชุมชนมานาน หรือเพราะเป็นพีส่ าวนายกฯ แต่เป็น เพราะอุปนิสัยที่คนละแวกนี้รู้ดีว่าเป็นผู้มีน�้ำใจโอบอ้อม ช่วยเหลือ ชุมชนทุกอย่าง และเป็นครูดีที่รักและใส่ใจเด็กทุกคน “ความรู้สึกของเรา การเป็นครูไม่ใช่แค่สอนหนังสืออย่าง เดียว สั่งสอนแต่ความรู้ไม่ได้ แต่ต้องสังเกตพฤติกรรม ใส่ใจเขา ยิ่งถ้าเด็กมีปัญหายิ่งต้องสังเกต ท�ำไมไม่ท�ำการบ้าน เด็กบอกว่า ต้องช่วยงานที่บ้าน เราดูแววตาก็รู้ว่าจริงหรือไม่ ถ้าเราใส่ใจให้


ความจริงใจกับเขาเราจะได้ความจริง แล้วค่อยไปสอบถาม ไป เชื่อมกับที่บ้านว่าเราจะช่วยอะไรได้บ้าง ให้โอกาสเด็ก เช่น บอก เขาว่าช่วงนีค้ รูวา่ ง การบ้านตรงไหนทีท่ ำ� ไม่ได้ให้มาท�ำกับครู หรือ ยืดหยุ่นเวลาให้ส่งได้ช้าหน่อย เราจะไม่ทำ� งานเฉพาะในโรงเรียน ต้องลงไปถึงบ้าน อย่างมี เด็กคนหนึง่ เขาเรียนไม่ทนั เพือ่ น เลยไม่อยากเรียนหนีไปอยูป่ า่ มัน ระหว่างทาง เราก็ไปคุยกับเขาบอกว่าครูจะไปรับ สมัยนั้น ขี่มอเตอร์ไซค์กจ็ ับซ้อนท้าย ไปรับ-ส่งอย่างนี้ทกุ วันตั้งแต่ ป.2 จน เขาสามารถเรียนจบ ป.6 ได้ ทุกวันนี้ถ้าว่างเขาจะแวะมาหา บางคนมาบอกว่าที่เขาได้ดี ถึงวันนีเ้ พราะครู ได้ยนิ เสียงครูแว่วอยูใ่ นหูวา่ ต้องท�ำอะไร อย่างไร ทีส่ ำ� คัญเราต้องสอนเขาด้วยหัวใจ ด้วยตัวเราเอง ไม่ใช่ปากบอกให้ ท�ำดีอย่างนั้นอย่างนี้ แต่ตัวเราท�ำไม่ได้ ดีแต่ปากไม่ได้ เราต้อง ท�ำดีด้วยตัวเราเองให้เป็นแบบอย่างด้วย” ถ้านับเวลาของการรับราชการในฐานะครูตงั้ แต่จบฝึกหัดครู ที่ฉะเชิงเทรา สอบบรรจุได้เมื่อ 1 พฤษภาคม 2507 มาประจ�ำที่ วัดมาบสะเม็ดแดง (ปัจจุบนั คือ วัดพรประทานพร) ประมาณ 4-5 ปี ย้ายมาที่ รร.บ้านท่าจีนอีกประมาณ 4-5 ปี จึงย้ายต่อมาอยู่ วัดมโนรม เพราะเป็นบ้านเกิด สมัยเด็กก็เรียนหนังสือที่นี่ นับแต่ นั้นมาคือในปี 2512 เรื่อยมาถึงปี 2542 ครูเรียมอยู่พัฒนางาน ให้โรงเรียนวัดมโนรมมาตลอด 30 ปีเต็มที่แบบอย่างของครูเรียม ได้สร้างเด็กในชุมชนให้เติบโตมารุ่นแล้วรุ่นเล่า นอกจากบทบาทในห้องเรียน สมัยนั้นครูเรียมยังท�ำหน้าที่ เสมือนครูชุมชนที่คอยเชื่อมประสานระหว่างบ้านและโรงเรียน

ถ้าทีบ่ า้ นมีปญั หา ลูกป่วย พ่อแม่กว็ งิ่ มาหาครูเรียมทีบ่ า้ น โรงเรียน มีงานอะไร ต้องการความช่วยเหลือ ครูเรียมก็วิ่งลงมาหมู่บ้าน ประสานชุมชน ท�ำทุกอย่างแม้กระทัง่ ประสานความเข้าใจระหว่าง เพื่อนครูและผู้บริหารในโรงเรียน ด้วยอุปนิสัยที่ชอบช่วยเหลือ และช่วยอย่างจริงใจไม่หวัง ผลตอบแทน จึงท�ำให้เป็นทีร่ กั ของทุกคน แต่ปา้ เรียมบอกว่าการช่วย คนต้องมีหลักการ “การช่วยคนเราจะช่วยในสิ่งที่เราช่วยได้ ถ้า ช่วยแล้วเขาไม่ช่วยตัวเองก็หยุด หรือถ้าเขาไม่รับ ไม่ฟัง ไม่เห็น คุณค่า ก็หยุด แต่ถ้าเขาเดือดร้อนแม้ไม่ได้ออกปาก แต่เราเห็นว่า เรามีศักยภาพช่วยได้ ก็ต้องรีบช่วยมัวแต่รอไม่ได้ เพราะบางเรื่อง สิง่ ทีเ่ รารีบช่วยนัน้ จะท�ำให้ปญั หาของเขาผ่อนหนักเป็นเบาได้ แล้ว เราไม่ต้องไปติดตามหวังว่าเขาจะมาขอบคุณหรือไม่ ช่วยแล้วเรา สบายใจ สุขใจที่ได้ช่วยก็จบ ทุกวันนีค้ วามสุขของป้า คือ ใจ เราพอใจในสิง่ ทีเ่ รามี เราเป็น ช่วยผ่อนหนักเป็นเบา เราช่วยได้จะท�ำทันที อย่างขอให้เป็น กรรมการชุมชน กรรมการสถานศึกษา แล้วมีอะไรให้ช่วยก็บอก ชุมชนมีงานอะไรก็ไป” จากประสบการณ์กว่าครึ่งชีวิตที่คลุกคลีกับทุกคนในชุมชน มาตลอด ในวัยนี้ป้าเรียมจึงขอฝากให้ทุกคนคิดถึงความส�ำคัญ ของชุมชน อย่าเอาตัวเองเป็นตัวตัง้ และช่วยกันท�ำในสิง่ ทีเ่ ราท�ำได้ “ป้าเชือ่ ว่าถ้าทุกชุมชนในแหลมฉบังมารวมกัน แต่ละชุมชน มีศกั ยภาพอะไรเอามาแลก มาช่วยกัน จะเป็นแรงงานหรือความรู ้ ช่วยกันพัฒนา ไม่ว่าเรื่องอะไรก็จะท�ำได้ทุกอย่าง” สิง่ ทีป่ ราชญ์ชมุ ชนร่างเล็กฝากไว้นนั้ เป็นสิง่ ทีค่ นรุน่ หลังควร น�ำไปคิดต่อ เช่นเดียวกับความเป็น เรียม ชัยมะโน แบบอย่างที่ ชุมชนควรยกย่องและบอกต่อให้ลูกหลานยึดเป็นต้นแบบใน การด�ำเนินชีวิตต่อไป

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

17


ของดี บ ้านเรา

โดย คนศรี

ขนมเปี๊ยะตั้งเม่งกี่... ของดีอ่าวอุดม

ของดีวันนี้ใกล้บ้านมาก ๆ ค่ะ แค่หน้าปากซอยทางเข้า อ่าวอุดมก็ถึงแล้ว…ร้านขนมเปี๊ยะตั้งเม่งกี่ ขนมเปี๊ยะที่ การันตีความอร่อยมากกว่าครึ่งศตวรรษ

“ร้านนีต้ งั้ มาก่อนอีเ๊ กิดเสียอีก ถึงตอนนีก้ น็ า่ จะมากกว่า 60 ปีแล้ว” อีเ๊ ล็ก หรือ ส.ท. เนาวรัตน์ ตั้นธรารักษ์ (ส.ท.สมาชิกสภาเทศบาลนครแหลมฉบัง) ทายาท คนที่ 9 ผู้สืบต่อร้านขนมเปี๊ยะตั้งเม่งกี่เล่าให้ฟังด้วยความภูมิใจ ร้านขนมเปี๊ยะตั้งเม่งกี่อยู่คู่กับชาวอ่าวอุดมมานาน จนเป็นส่วนหนึ่งที่ คนเก่าคนแก่ภูมิใจ นอกจากจะซื้อรับประทานเอง หรือซื้อไว้ไหว้เจ้าตามเทศกาล ต่าง ๆ ของคนจีนแล้ว ขนมเปี๊ยตั้งเม่งกี่ยังเป็นของฝากขึ้นชื่อที่ต้องติดไม้ติดมือ ไปฝากคนนอกพื้นที่อยู่เสมอ เจ้าต�ำรับคืออาเตี่ยเตียวเซี่ยะ แซ่ตั้น และแม่ไต๋ แซ่โท้ว ทั้งสองท่าน เข้ามาบุกเบิกตั้งร้านขนมที่อ่าวอุดม ยุคแรกมีขนมหลายอย่างทั้งขนมเปี๊ยะ ถั่วตัด จันอับ ขนมโก๋ และอื่น ๆ ที่ต้องใช้ในเทศกาลต่าง ๆ แต่ที่ยังคงโดดเด่น และสืบต่อมาคือขนมเปี๊ยะ ขนมเปี๊ยะของที่นี่ไม่เหมือนที่อื่น ๆ เพราะยังคง รสชาติตามสูตรดั้งเดิมทุกประการ ทุกวันนี้ก็ยังมีเพียงสองไส้ คือ ไส้ฟัก และ ไส้ถั่ว รสชาติความอร่อยไม่เคยเปลี่ยน อี๊เล็กเล่าว่า “สมัยก่อนไม่มีเครื่องมือ ใช้ แรงคนกวนไส้ พีน่ อ้ งในบ้านนีแ่ หละช่วยกันกวน ปัจจุบนั นีส้ บายขึน้ มีเครือ่ งทุน่ แรง

18 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


แต่เรายังท�ำตามสูตรเดิม ชั่งตวงวัดให้ได้มาตรฐาน ขนมที่นี่จะ ไม่หวานมากหรือน้อยเกินไป รสชาติพอดี ถ้าใครติดใจแล้วมาซื้อ กี่ครั้งรสชาติก็ไม่เปลี่ยน” สิง่ ทีท่ ำ� ให้รา้ นขนมเล็ก ๆ อยูไ่ ด้อย่างยาวนานและมีชอื่ เสียง เป็นทีร่ จู้ กั ไม่เพียงแค่ความอร่อยเท่านัน้ คุณภาพของขนมทีท่ กุ คน มัน่ ใจได้อย่างทีเ่ จ้าของร้านยืนยันว่า ขนมทีน่ ไี่ ม่ใส่สารกันบูด เมือ่ ก่อนทีย่ งั ใช้เตาถ่านก็ทำ� แต่นอ้ ย พอขายหมดวันต่อวัน เดีย๋ วนีข้ าย ดีขึ้น เราท�ำขนมเน้นความสะอาดและอบถึงไฟ ขนมสุกทั่วจึงเก็บ ได้นานถึง 20 วัน แต่สว่ นใหญ่ทรี่ า้ นท�ำออกมาวางขาย เพียงวันสอง วันก็หมดแล้ว คนทีม่ าซือ้ ขนมไป จึงได้ของสดใหม่ตลอด และทาง ร้านจะย�้ำกับคนซื้อว่าให้รีบกิน อย่าเก็บไว้นาน จะไม่อร่อย และ ไม่แนะน�ำให้ซอื้ ทีละมาก อยากกินเมือ่ ไหร่กม็ าซือ้ ไปจะได้กนิ ของ ใหม่ ๆ เมื่อเดินเข้ามาในร้าน กลิ่นขนมเปี๊ยะสุกใหม่ ๆ หอมฉุย อวลอยู่ทั้งร้าน ด้านหลังคือโรงงานเล็ก ๆ ที่มีคนช่วยกันท�ำอย่าง ขะมักเขม้น ปั้นแป้ง ใส่ไส้ อบขนม ส่วนหน้าร้านก็มีอาม่าพี่สาว ของอี๊เล็กก�ำลังแพ็กขนมเปี๊ยะอยู่ เรียกว่ามาซื้อถึงร้าน ถ้าอยากรู้ กรรมวิธีการท�ำก็ขอเข้าไปดูได้เลย ยิ่งดูก็ยิ่งอยากกินค่ะ เพราะ ของเขาหอมจริง ๆ คนศรีเป็นหนึ่งในลูกหลานไทยเชื้อสายจีน กินขนมเปี๊ยะมาก็ไม่น้อย กล้ายืนยันว่าลองชิมขนมเปี๊ยะตั้งเม่งกี่ แล้วติดใจจริง ๆ แป้งเขาบางและหอม ไส้ก็นวลเนียน ที่ส�ำคัญคือ ไข่แดงในขนมเปี๊ยะจะกระจายทั่วทั้งแผ่น ไม่กระจุกอยู่ตรงกลาง เหมือนเจ้าอื่น ๆ เวลากินจึงได้รสชาติของไส้ถั่วและไข่เค็มที่ นวลเนียนอยู่คู่กันทุกค�ำ อร่อยจริง ๆ ค่ะ ถ้าเล่ากันตามต�ำนานว่าขนมเปีย๊ ะมีทมี่ าทีไ่ ปอย่างไร คนศรี ค้นคว้ามาได้ 2 ต�ำนานค่ะ ต�ำนานแรกว่าเป็นเรื่องของภรรยา ผูก้ ตัญญู เมือ่ พ่อสามีปว่ ยหนักไม่มเี งินรักษา จึงน�ำตัวเองไปขัดดอก

กู้เงินมา เมื่อสามีรู้เข้าจึงเร่งท�ำขนมเปี๊ยะไปขาย ได้ก�ำไรเป็น กอบเป็นก�ำจนไถ่ตัวภรรยาได้ จึงเรียกกันว่า เหล่าผั่วเปี๊ยะ อีกต�ำนานหนึง่ เล่าว่า เมือ่ สามีทไี่ ปท�ำงานทีอ่ นื่ กลับมาเยีย่ มบ้าน ภรรยาจัดแจงท�ำขนมเปี๊ยะให้กินเพื่อเอาใจ สามีติดใจรสชาติ จึงขอให้ภรรยาท�ำขนมเปี๊ยะให้อีก เพื่อน�ำกลับไปฝากเพื่อนที่ ท�ำงาน ทุกคนก็ติดใจ เกิดการบอกต่อเป็นต�ำนานจนได้ชื่อว่า เตี่ยจิวเหล่าผ่อเปี๊ยะ ขนมเปี๊ยะจึงเปรียบเสมือนตัวแทนของ ความรัก ความกตัญญูทมี่ ตี อ่ บรรพชน รวมไปถึงความเอือ้ อาทร ระหว่างสามีภรรยาที่มีต่อกัน ว่ากันตามความเชื่อของคนจีนที่เชื่อกันว่า ในแต่ละวัน ปีหนึ่ง ๆ คนเราอาจมีเรือ่ งไม่ดี มีสิ่งเลวร้ายมากระทบ รบกวน การด�ำเนินชีวิต จึงมักมีเทศกาลไหว้ต่าง ๆ เช่น ไหว้เจ้า ไหว้บรรพบุรษุ ไหว้พระจันทร์ เป็นต้น และจะต้องใช้อาหารทีม่ ี ความหมายดี ๆ เป็นเครือ่ งเซ่นไหว้ ขนมเปีย๊ ะทีภ่ าษาจีนเรียกว่า ปิ่ง หรือ เปี๊ยะ (餅) นี้นับเป็นขนมแห่งความเป็นสิริมงคล จะเห็นได้ว่ามีอักษรมงคลสีแดงประทับอยู่กลางขนม เมื่ อ ถึ ง เทศกาลต่ า ง ๆ ชาวจี น ส่ ว นใหญ่ มั ก จะอยู ่ พร้อมหน้าพร้อมตากันทั้งครอบครัว กินขนมเปี๊ยะเพื่อให้เกิด สิริมงคลและน�ำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองแก่ตนเอง ครอบครัว ธุรกิจการงานทั้งปวง และจะมอบขนมเปี๊ยะให้แก่กัน เพื่อสื่อ ถึงความปรารถนาดีระหว่างผู้รับและผู้ให้ ฉบั บ นี้ ค นศรี จึ ง ตั้ ง ใจมอบขนมเปี ๊ ย ะตั้ ง เม่ ง กี่ ข องดี บ้านเราเอง เพือ่ ส่งต่อความสุข ความปราถนาดีให้ผอู้ า่ นจุลสาร ชุมชนของเราทุกคนค่ะ ส่วนความอร่อยนั้นคงต้องขออนุญาต ให้ไปอุดหนุนกันเองนะคะ

เปิดจำ�หน่ายทุกวันตั้งแต่เวลา 07.00-18.00 น. โทร. 0 3935 1192 ถ้าช่วงเทศกาลควรสั่งล่วงหน้าจะได้ไม่พลาด ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

19


กระบอกเสีย งชุมชน โดย ดอกลำ�โพง

ประสานต์ เขียวศิริ

ผบ.หน่วยศิรินทร์...หน่วยนี้เพื่อชุมชน ประสานต์ เขี ย วศิ ริ ที่ จ ริ ง เป็ น คนมี ค วามสามารถ ด้านช่างยนต์ เรียนจบมาโดยตรง เคยท�ำงานด้านการตรวจสอบ อุปกรณ์ท่อทาง (เอ็กซเรย์ท่อ) ที่ไทยออยล์ตั้งแต่ปี 2529 จนท�ำให้มาเจอภรรยาคนบ้านอ่าวอุดม (คุณวรรณดี เขียวศิร)ิ หลังจากแต่งงานแล้วจึงตัดสินใจตั้งรกรากอยู่ที่นี่ เปลี่ยน อาชีพมาขายอาหาร เคยไปช่วยร้านอาหารของพีส่ าวทีญ ่ ปี่ นุ่ ถึง 3 ปี ก่อนกลับมายึดอาชีพท�ำน�้ำเต้าหู้ขายตั้งแต่ปี 2542 “ผมขายตั้งแต่ห้าโมงเย็นถึงตีห้า แม้จะมาอยู่ที่นี่แบบไม่มี พี่น้อง แต่การขายของท�ำให้รู้จักคนเยอะ เพื่อนฝูงผมเป็นคนชอบ หาอะไรท�ำ เลยไปพบเรือ่ งราวของมูลนิธอิ าสาบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งเป็นโครงการส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อยูภ่ ายใต้การดูแลของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ เพือ่ นมาชวนกัน ไปท�ำ พวกเราไปอบรมกันครัง้ แรกมี 15 คน เขาบอกให้มาชวนกัน ให้ได้ 30 คน จะได้ตงั้ เป็นกองร้อย เขามีระบบต�ำแหน่ง ยศ เหมือน ข้าราชการ เพียงแต่ไม่มีเงินเดือนเท่านั้น ผมกับเพื่อนก็ท�ำกัน งานทุกอย่างทีเ่ ป็นการบรรเทาสาธารณภัย หลัก ๆ เป็นเรือ่ งน�ำ้ ท่วม ไฟไหม้ หรือช่วยต�ำรวจตั้งด่าน ดูแลเรื่องการจราจร” คุณประสานต์ท�ำงานนี้ด้วยความรัก จนได้รับต�ำแหน่ง เป็นผู้บังคับกองร้อยชุดควบคุมที่ 8 จ.ชลบุรี หรือเรียกสั้น ๆ ว่า หน่วยศิรนิ ทร์ 39 ทุกวันเมือ่ ตืน่ นอนประมาณสาย ๆ หรือเทีย่ งแล้ว คุณประสานต์จะมานัง่ ประจ�ำโต๊ะทีห่ น้าเครือ่ งรับส่งวิทยุ เพือ่ คอย

20 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

“ผมมาอยู่ที่นี่ ไม่มีพี่น้อง แต่ผมตั้งใจว่า จะอยู่ที่นี่จนตาย จึงต้องท�ำงานเพื่อชุมชนที่นี่ ให้คนที่จะเป็นพี่น้องของผม” เฝ้าดูงานด่วนทีอ่ าจเข้ามาได้ทกุ เมือ่ ดึกดืน่ ถ้าคืนไหนไม่ได้ไปขาย ของก็จะประจ�ำอยู่ที่นี่ หรือถึงแม้ว่าจะไปขายของก็ยังพร้อมที่จะ ประสานงานส่งลูกทีมไปช่วยเหลือหากเกิดเหตุด่วน ชีวติ เช่นนีท้ ำ� ให้อดสงสัยไม่ได้วา่ ครอบครัวจะมีคำ� ถามหรือ ไม่ และก็ได้ค�ำตอบพร้อมรอยยิ้มของคนที่นั่งข้าง ๆ คุณวรรณดี ซึ่งตอบเราว่า “ไม่มีปัญหาเลยค่ะ เพราะท�ำอยู่ด้วยกัน เขาไปช่วย ไหน เราก็ไปช่วยด้วย บางทีลูกก็ไปด้วย” “ผมจะคอยเตรียมพร้อมตลอดเวลา ลูกทีมสามารถติดต่อ ได้ตลอด ดูเหมือนว่าน่าจะเหนื่อยแต่ไม่เหนื่อยครับ ท�ำแล้วมี ความสุข งานอย่างนี้ต้องมีใจรักและต้องมาลองท�ำดู แล้วจะรู้ ว่าความสุขแบบนี้เอาเงินแค่ไหนมาแลกก็ไม่ได้ สิ่งที่ผมยึดถือ คือ พระราชด�ำรัสของในหลวง พระองค์ท่านตรัสกับพวกเรา ที่ ท� ำ งานมู ล นิ ธิ นี้ ว ่ า งานเบื้ อ งหลั ง อย่ า งนี้ ไ ม่ มี ค นเห็ น ต้ อ ง เป็ น คนที่ เ ข้ า ใจงานและหน้ า ที่ ข องตนจริ ง ๆ จึ ง จะท� ำ ได้ คนที่จะมาสมัครเข้าทีม ผมจะบอกเขาก่อนเลยว่า คุณเต็มใจท�ำ หรือเปล่า มีแต่เสียเงินและเสียเวลานะ ไม่มีวันหยุดนะ ต้องมาท�ำ ให้ผมอาทิตย์หนึ่งอย่างน้อยสองสามวัน แรกเข้าก็ต้องเสียเงิน


“ต้องจำ�ไว้นะ งานทุกอย่างนั้นน่ะ มีด้านหน้าและด้านหลังเหมือนเหรียญบาท งานด้านหน้านั้นมีคนทำ�กันแยะและแย่งกันทำ� เพราะมีผลเห็นได้ชัดและก็ปูนบำ�เหน็จกันได้เต็มที่ แต่งานด้านหลังที่ไม่ปรากฏแก่สายตาคนนั้นต้องเป็นคนที่เข้าใจงานและหน้าที่ของตัวจริง ๆ ถึง จะทำ�ได้ และต้องเสียสละด้วย เพราะงานด้านหลังน่ะ เป็นงานปิดทองหลังพระ และต้องยอมรับว่า ไม่ได้อะไรตอบแทน นอกจากความภูมิใจในการทำ�งานในหน้าที่ของตน” พระบรมราโชวาท ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๒๑

“สิ่งที่ผมยึดถือ คือ พระราชด�ำรัสของในหลวง พระองค์ท่านกล่าวกับพวกเราที่ท�ำงานมูลนิธินี้ว่า งานเบื้องหลังอย่างนี้ไม่มีคนเห็น ต้องเป็นคนที่เข้าใจ งานและหน้าที่ของตนจริง ๆ จึงจะท�ำได้” ค่าเครื่องแบบ แล้วไปออก ช่วยนอกพื้นที่ก็ต้องเอารถ ส่วนตัวไปกัน ค่าน�้ำมันออก เอง มีบา้ งทีบ่ างงานเขาช่วยมา เราก็เอามาแบ่งช่วยค่าน�ำ้ มัน ลูกทีม แต่จะให้เพียงบางส่วน เท่านัน้ เพราะเป็นเงินส่วนรวม ที่จริงจะไม่ให้ค่าน�้ำมันก็ได้ แต่เราก็ช่วยบ้าง ส่วนที่เหลือคือเก็บไว้ยามฉุกเฉินเวลาเกิด ภัยพิบัติ และระบบการเงินทุกอย่างจะมีการจดบันทึกเรียบร้อยสามารถเรียกดูได้” ค�ำถามที่ว่ามาท�ำแล้วไม่ได้อะไรจริงหรือ เป็นสิ่งที่ถูกถามอยู่ตลอดเวลา จน คุณประสานต์ท้าว่าให้ถามทุกคนในทีมดูได้ว่าเป็นอย่างไร “คนที่เคยท�ำจะรู้ว่า พวกเราแม้ไม่ได้มีฐานะร�่ำรวยอะไร ไม่เคยรับซองใคร เวลา ไปออกงานก็ห้ามเรียกร้อง ถ้าเขาให้จึงจะรับ แต่ต้องน�ำมาจัดสรรอย่างชัดเจน สิ่งที่ได้ รับจริง ๆ แล้วไม่ใช่ตัวเงิน เชื่อหรือไม่ เวลาผมเดือดร้อนทีไรจะมีคนมาช่วย อย่างครั้งหนึ่งรถผมเสียอยู่ ต่างจังหวัด ไม่รจู้ ะท�ำอย่างไร แต่สดุ ท้ายมีคนมาช่วยซ่อมให้ ผมคิดว่าสิง่ นีเ้ ป็นผลตอบแทน ที่เราได้รับที่มีค่ามากกว่า และมันบอกไม่ได้หรอกว่าได้อะไร ต้องมาลองท�ำเองครับ” งานของหน่วยศิรินทร์ไม่ระบุขอบเขต หากที่ใดต้องการก�ำลังเสริมช่วยเหลือ เช่น น�ำ้ ท่วมภาคใต้ ภาคเหนือ คุณประสานต์และลูกทีมก็พร้อมออกเดินทาง แต่ขณะเดียวกัน คุณประสานต์เองอยากให้ชุมชนอ่าวอุดมซึ่งถือเป็นบ้านของหน่วยศิรินทร์ได้รับรู้ว่า บ้าน เรามีหน่วยงานเล็ก ๆ หน่วยนี้ที่พร้อมช่วยงานของชุมชนอย่างเต็มที่และเต็มใจ “ผมมาอยู่ที่นี่ไม่มีพี่น้อง แต่ผมตั้งใจว่าจะอยู่ที่นี่จนตาย จึงต้องท�ำงานเพื่อชุมชน ที่นี่ ให้คนที่จะเป็นพี่น้องของผม ผมจะท�ำงานนี้ไปเรื่อย ๆ ไม่เลิกจนกว่าจะท�ำไม่ไหว แต่กอ่ นคนละแวกนีเ้ องยังไม่คอ่ ยรูจ้ กั หน่วยศิรนิ ทร์ ตอนนีเ้ ริม่ รูจ้ กั แล้ว เราอยากให้เขารูว้ า่ หากมีงานอะไรให้เราช่วย ขอให้เรียกเราได้ตลอด

อุปสรรคส�ำคัญในการพัฒนาชุมชน บ้านเรา ผมคิดว่าคือความไม่กลมเกลียวกัน ท�ำให้แก้ปัญหาที่มีอยู่ไม่ได้ ทุกวันนี้ปัญหา นักเลงหัวไม้ไม่ค่อยมี พัฒนากลายเป็น เรื่องการพนันแทน แต่ที่ผมหนักใจ คือ ปัญหายาเสพติด เพราะผมท�ำงานกลางคืน เห็นหมดว่าลูกใครเป็นอย่างไร ตีหนึง่ ตีสอง ออกมาเที่ยวกัน ซ้อนมอเตอร์ไซค์ สุดท้าย กลายเป็นปัญหาหมด ผมจึงอยากขอร้องให้คนในชุมชน อย่าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข หากมีเวลา ขอให้มาออกก�ำลังกาย ความฝันของผม อยากให้ บ ้ า นเรามี ส นามกี ฬ า มี ส นาม ฟุตบอล มีทใี่ ห้เด็กเตะบอลกัน เราอาจจะตัง้ เป็นทีมของบ้านนัน้ ไปแข่งกับบ้านนี้ เด็ก ๆ จะได้มีที่ทาง ไม่ไปสนใจเรื่องยาเสพติด” ก่อนจบการสนทนา คุณประสานต์ จึงขอฝากบอกทุกคนเสียงดัง ๆ อีกครั้งว่า “หน่วยศิรนิ ทร์พร้อมรับใช้ชมุ ชน ไม่วา่ งาน เล็กงานใหญ่ จับงู ดูรถ จัดระเบียบจราจร ไฟไหม้ น�้ำท่วม คนเจ็บ คนป่วย โทรเรียก ได้ 24 ชั่วโมงนะครับ โทร. 08 1861 1546”

ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

21


รู้จักพลังงานทางเลือก โดย อะตอม

แสงอาทิตย์ ขุมพลังคู่โลก

ดวงอาทิตย์เป็นต้นก�ำเนิดพลังงานหลักที่มนุษย์โลกคุ้นเคย และใช้ประโยชน์กันมานานหลาย พันล้านปี เรียกว่าตัง้ แต่กำ� เนิดโลกมาเลยก็วา่ ได้ หากไร้ซงึ่ แสงอาทิตย์ ทุกชีวติ บนโลกคงดับสิน้ เราใช้ ประโยชน์จากแสงอาทิตย์โดยตรงในรูปของพลังงานแสงหรือแสงสว่างทีท่ ำ� ให้เรามองเห็นสิง่ ต่าง ๆ และพลังงานความร้อนส�ำหรับการหุงต้มอาหาร ให้ความอบอุ่น ฆ่าเชื้อโรค ถนอมอาหาร ฯลฯ นอกจากนั้น พืชเติบโตได้ด้วยการสังเคราะห์แสงเป็นอาหารสะสมเป็นพลังงาน เมื่อคนหรือสัตว์ กินพืชเป็นอาหาร พลังงานนั้นได้ถ่ายทอดไปสู่คนหรือสัตว์ นี่คือวิธีการใช้ประโยชน์จากพลังงาน แสงอาทิตย์แบบทางอ้อม

เมือ่ โลกเกิดวิกฤติดา้ นพลังงาน แสงอาทิตย์จงึ กลับมาได้รบั ความนิยมอีกครั้ง เพราะพลังงานแสงอาทิตย์มีปริมาณมหาศาล ไม่รจู้ กั หมดสิน้ ตราบเท่าทีด่ วงอาทิตย์ยงั ฉายแสงอยู่ ซึง่ คาดกันว่า อย่างน้อยอีกประมาณหนึ่งพันล้านปีทีเดียว พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานที่สะอาด ไม่มีอันตรายในตัว ไม่เป็นอันตรายต่อ สภาวะแวดล้อม และที่ส�ำคัญที่สุดคือ พลังงานแสงอาทิตย์เป็น พลังงานที่มีอยู่โดยทั่วไปที่เราไม่ต้องไปซื้อไปหาดังเช่นพลังงาน ชนิดอื่น ๆ ปัจจุบันนี้ เราใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์ใน 2 รูปแบบ คือ 1. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ด้ ว ยการใช้ เ ซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ท� ำ มาจาก สารกึ่งตัวน�ำพวกซิลิคอน ส�ำหรับใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น ไฟฟ้าแสงสว่าง การคมนาคม การเกษตร เป็นต้น โดยแบ่ง ออกเป็น 3 ระบบ คือ • เซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ ส�ำหรับใช้งานในพื้นที่ ชนบทห่างไกลที่ไม่มีระบบสายส่งไฟฟ้า อุปกรณ์ระบบที่ส�ำคัญ ประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ควบคุมการประจุ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรง เป็นไฟฟ้ากระแสสลับแบบอิสระ • เซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจ�ำหน่าย เป็นระบบ ผลิตไฟฟ้าที่ถูกออกแบบส�ำหรับผลิตไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์เปลี่ยน

22 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

ระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ระบบสายส่ง ไฟฟ้ า โดยตรง ใช้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ในเขตเมื อ งหรื อ พื้ น ที่ ที่ มี ร ะบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบทีส่ ำ� คัญประกอบด้วยแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้า กระแสสลับชนิดต่อกับระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า • เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน เป็นระบบผลิตไฟฟ้า ที่ถูกออกแบบส�ำหรับท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและไฟฟ้าพลังน�้ำ เป็นต้น โดยรูปแบบระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์ โครงการเป็นกรณีเฉพาะ


อุปสรรคทีส่ ำ� คัญของการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศ คือ ต้นทุนที่สูงเมื่อเทียบกับการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิง ชนิดอื่น ๆ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์มีราคาถึง 10 บาทต่อหน่วย ในขณะทีพ่ ลังงานทีไ่ ด้จากเชือ้ เพลิงฟอสซิลมีราคาถูกกว่าถึง 5 เท่าตัว เหตุที่เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์มีราคาแพง เนื่องจากเป็น เทคโนโลยีน�ำเข้าจากต่างประเทศ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต้อง ใช้จึงมีราคาสูง ท�ำให้มีผู้สนใจไม่มากเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม หากเราพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศจนสามารถผลิตอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ได้เอง โดยไม่ตอ้ งอาศัย การน�ำเข้า ซึง่ จะช่วยให้ตน้ ทุนการผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์ใน อนาคตจะมีราคาถูกลงมาก เมื่อตลาดมีความต้องการพลังงาน ประเภทนีเ้ พิม่ ขึน้ ก็จะท�ำให้การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์มมี าก 2. การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน ขึ้นด้วยเช่นกัน ท�ำให้เราใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ เป็ น การผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นและการอบแห้ ง ด้ ว ยพลั ง งาน อย่างเต็มที่ โดยเฉพาะในชนบทห่างไกลที่อยู่นอกระบบสายส่ง แสงอาทิตย์ ซึ่งในปัจจุบันนี้ประเทศไทยเราประสบความส�ำเร็จ ของการไฟฟ้าฯ พลังงานแสงอาทิตย์จะเติมเต็มความจ� ำเป็น ค่อนข้างมากในการน�ำความร้อนของแสงอาทิ ต ย์ ม าใช้ ผ ลิ ต ขั้นพื้นฐาน และช่วยท�ำให้คุณภาพชีวิตของชุมชนดีขึ้น ความร้อน เช่น ในการสร้างเครื่องท�ำน�้ำร้อนแสงอาทิตย์ส�ำหรับ โรงพยาบาล โรงแรม การท�ำเครื่องต้มน�้ำแสงอาทิตย์ การท�ำ เตาแสงอาทิตย์หรือเตาสุริยะ การท�ำเครื่องกลั่นน�้ำแสงอาทิตย์ การท� ำ เครื่ อ งอบแห้ ง ผลิ ต ผลทางการเกษตร ฯลฯ ซึ่ ง เป็ น การน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้โดยตรง โดยไม่ต้องอาศัย เทคโนโลยีสูงหรือสลับซับซ้อนมากนัก อย่างไรก็ดีพลังงานแสงอาทิตย์ในโลกมีศักยภาพไม่เท่ากัน เนื่องจากโลกมีลักษณะทรงกลม บริเวณที่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร จึงเป็นบริเวณที่มีปริมาณพลังงานแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง โชคดี ที่ประเทศไทยของเราตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร จึงท�ำให้ได้รับ แสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่องและคงที่ตลอดทั้งปี ความเข้มของแสง ในการแผ่ รั ง สี โ ดยเฉลี่ ย แต่ ล ะวั น อยู ่ ที่ ป ระมาณ 5 กิ โ ลวั ต ต์ ชั่วโมงต่อตารางเมตร บริเวณที่ได้รับรังสีดวงอาทิตย์สูงสุดอยู่ที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางส่วนของภาคกลาง ซึง่ นับว่าเป็น ปริมาณทีม่ ากเพียงพอส�ำหรับการพัฒนาเป็นพลังงานทางเลือกได้ ข้อมูลจากการส�ำรวจพบว่า พลังงานแสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ทีค่ นไทยต้องการน�ำมาใช้ในอนาคตมากทีส่ ดุ เหตุผลทีส่ ำ� คัญ คือ ข้อมูลอ้างอิง พลังงานแสงอาทิตย์ไม่ท�ำลายสภาพแวดล้อมและมีอยู่ในทุกพื้นที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

23


ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

โดย หงวน ชวน ชิม

ปุ๊กกะนิ...มหัศจรรย์ส้มตำ�

ตำ�ส้มตำ�ทั้งที ต้องตำ�ให้ดีต้องมีฝีมือ... ร้านนี้นอกจากมี ฝีมือแล้วยังมีหัวดี ตำ�ส้มตำ�ทั้งที ตำ�ดี ๆ จะได้มหัศจรรย์ส้มตำ� มหัศจรรย์อย่างไรต้องตามมาชิม

ร้านส้มต�ำหน้าตาธรรมดา ๆ ดูเหมือนพัฒนาจากเพิงข้างทางมาเป็นร้านเล็ก ๆ ดูสะอาดสะอ้านและสดใสด้วยสีสันของโต๊ะไม้และเก้าอี้ที่บรรจงเลือกสีทั้งแดง เหลือง เขียว ฟ้า ส้ม... ร้านนี้ชักไม่ธรรมดาเสียแล้ว มาถึงร้านประมาณ 11 โมงกว่า ๆ ร้านยัง ไม่ค่อยมีคน แต่เอ ! ท�ำไมแม่ค้าก้มหน้าก้มตาต�ำกันมือระวิง สอบถามดูได้ความว่ามี ออเดอร์โทรมาสั่งไว้ล่วงหน้า 30 กว่ารายการ โอ้โห ! พอนั่งลงยังไม่ทันได้เมนูมาดูรายการ ก็มีรถเก๋งเข้ามาจอดต่อ ๆ กันสามสี่คันที่ หน้าร้าน อืม... มาไม่ผดิ ร้านแน่ พอเมนูมาก็มนั่ ใจเลยว่าฉบับนีผ้ อู้ า่ นต้องชืน่ ชอบแน่นอน เฉพาะเมนูส้มต�ำอย่างเดียวยังมีให้เลือกสารพัน แถวยาวเหยียดเกือบเต็มแผ่น แต่ละเมนู ไม่ธรรมดา น่าชิมไปหมด เริ่มจากส้มต�ำธรรมดาสามัญ คือ ต�ำไทย ต�ำปู ต�ำปูปลาร้า ต�ำแตง ต�ำมั่ว ต�ำซั่ว ต�ำป่าแล้วก็เริม่ิ พิเศษขึน้ มาอีกนิด ต�ำผลไม้ ต�ำทะเล ต�ำข้าวโพด ไล่มาถึงแบบไม่ธรรมดา ต�ำผักกูด ต�ำผักหวาน ต�ำไหลบัว ต�ำยอดมะพร้าว ต�ำสับปะรด ต�ำผักบุ้งกรอบ ยังไม่ หมดค่ะ ยังมีแบบพิเศษสุด ต�ำทาโร่กรอบ ต�ำเห็ดสามอย่าง... แล้วจะไม่ให้เรียกว่าร้าน มหัศจรรย์ส้มต�ำได้อย่างไร ระหว่างคิดไม่ออกว่าจะสั่งอะไรดี เลยถือโอกาสไปเยี่ยม ๆ มอง ๆ จานอื่น ๆ ที่ก�ำลังถูกยกจากครัวมาเสิร์ฟ ต้อง บอกว่าสีสันทุกจาน น่ากินจริง ๆ ค่ะ เลยเดินเรื่อย ไปยืนคุยกับแม่ครัวหน้าครก จึงรู้ว่านี่คือ คุณปุ๊ก

24 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


(พิราพรรณ วัฒนวิเชียร) เจ้าของร้านปุ๊กกะนิ ชื่อหลังเป็นชื่อเล่นของลูกสาวคนเดียว น้องนิ วันนี้ไม่อยู่ร้าน มีแต่สามีคือคุณอานนท์ วัฒนวิเชียร ซึ่งปกติท�ำงานเกี่ยวกับการ คอนโทรลท่อลงทะเล ต้องออกเรือไปเป็นเดือน ๆ ช่วงนี้ได้พักและเห็นร้านยุ่ง จึงมาช่วย เป็นพ่อครัวอีกคน คุณปุ๊กเล่าว่า เมื่อสองปีก่อนที่เปิดร้านใหม่ ๆ มีเพียงแค่สองโต๊ะ เมนูมีแค่ส้มต�ำ และเมนูพนื้ ฐานครบถ้วน ทัง้ ลาบ น�ำ้ ตก ต้มแซบ ซุปหน่อไม้ ปลาดุกย่าง ไก่ทอด เหมือน ร้านทั่วไป แม้จะไม่เคยไปไหน ไปชิมไปดูร้านไหนมาก่อน แต่ด้วยความเป็นคนชอบท�ำ ชอบกิน ชอบออกความคิด จึงสร้างสรรค์เมนูส้มต�ำใหม่ขึ้นมา “ก็มานอนคิด แบบไหนคนจะเข้าร้านเยอะ คิดถึงบ้านเรามีผกั อร่อย ๆ หลายอย่าง ผักแปลก ๆ เอามาท�ำได้หรือเปล่า เลยเอามาลองดู” ถ้าถามว่าจะให้แนะน�ำจานไหนตอบไม่ถูกค่ะ ถ้าชอบข้าวโพด ต�ำข้าวโพดก็เคี้ยว เพลิน ผักกูดกับผักหวานก็สดหวานกรอบ ไหลบัวก็เช่นกัน เรียกว่าชอบผักอะไรให้สั่ง อย่างนั้น ที่อยากแนะน�ำ คือ ต�ำเห็ดสามอย่าง เพราะคุณปุ๊กเลือกใช้เห็ดอย่างดี คือ เห็ดออรินจิ เห็ดชิเมจิ และเห็ดเป๋าฮือ้ ถูกใจคนรักเห็ดค่ะ ส่วนต�ำทาโร่กรอบก็อร่อยถูกใจ วัยรุ่น โดยคุณปุ๊กจะเอาทาโร่ไปทอดจนเหลืองกรอบก่อนน�ำมาคลุกเคล้ากับเครื่องเคียง เป็นส้มต�ำรสเยี่ยม ที่แนะน�ำเฉพาะจานได้ยากก็เพราะชิมมากว่า 5 เมนูส้มต�ำ ต้องขอ บอกว่ารสมือคุณปุ๊กเยี่ยมยอด รสชาติได้มาตรฐานเที่ยงตรง อร่อยหมดทุกจาน ย�้ำว่า ทุกจานต�ำใหม่ ๆ ปรุงกันสด ๆ จานต่อจาน ไม่มีการปรุงน�้ำไว้แล้วมาราดคลุก รสชาติ ส้มต�ำของคุณปุ๊กจะเป็นสไตล์นุ่มนวล กลมกล่อม ไม่มีเผ็ดโดด เปรี้ยวเด่น หรือหวานน�ำ แต่ถ้าชอบแบบไหนเป็นพิเศษขอให้สั่ง คุณปุ๊กจัดให้ได้ค่ะ เคล็ดลับความอร่อย คือ ความพิถีพิถันในการเลือกวัตถุดิบ ผักต้องสด ๆ เท่านั้น กุง้ แห้งใช้สว่ นทีเ่ ป็นหางกุง้ ของกุง้ ตัวโต ซึง่ จะอร่อยกว่ากุง้ แห้งตัวเล็กแล้วย้อมสี ถัว่ ลิสงคัว่ เอง ส่วนทีเด็ดคือปูม้าดอง คุณปุ๊กบอกว่าจะคัดเฉพาะตัวขนาดกลาง ๆ ย่อม ๆ เพราะ จะได้เนื้อน่ากินและคาวน้อยกว่าตัวใหญ่ เอามาดองน�้ำปลาดีสักสองชั่วโมง ก่อนเอาเข้า ตู้เย็นแช่ไว้ต�ำขายวันต่อวัน

นอกจากนี้ ยังมีเมนูอื่น ๆ ที่คุณปุ๊ก ก�ำลังเพิม่ เติมเข้ามาเรือ่ ย ๆ อย่างปลาเนือ้ อ่อน ทอดกระเที ย ม ช่ ว งนี้ ก� ำ ลั ง ตามติ ด มา เป็นเมนูยอดนิยมไม่แพ้สม้ ต�ำค่ะ ทุกวันนีม้ ี โต๊ะอยู่ 13 ตัว คุณปุ๊กว่าขยายไม่ไหวแล้ว แต่ยังอดคิดเมนูใหม่ ๆ เพื่อเอาใจลูกค้า ไม่ได้ คนจึงแน่นร้านทุกวัน ร้านส้มต�ำเล็ก ๆ แห่งนี้จึงเป็น ตั ว อย่ า งที่ ดี ข องร้ า นอาหารที่ รั ก ษ์ สิ่งแวดล้อมได้ง่ายมาก ๆ คือ ไม่ต้องแต่ง ร้านหรู ติดแอร์ให้เปลืองพลังงาน แต่มีดีที่ คุณภาพอาหาร แค่นี้คนก็เข้าร้านแล้วค่ะ นอกจากนี้ยังช่วยให้คนกินได้ลิ้มรส ผักพืน้ บ้านปลอดสารพิษ แทนทีจ่ ะกินส้มต�ำ กับกะหล�ำ่ ปลีและแตงกวาอย่างเดียว แต่มา ร้านนี้ได้กินทั้งผักสดรสชาติดีและส้มต�ำ เมนูโปรดด้วย

ร้านส้มต�ำปุ๊กกะนิตั้งอยู่ในหมู่บ้านแหลมฉบัง ถ้าขับรถจากไทยออยล์ไม่เกิน 10 นาที เข้าเขตหมู่บ้านแล้วมองทางขวามือ ร้านอยู่ริมถนน มีโต๊ะสีสันสดใสสะดุดตา เปิดทุกวันตั้งแต่ 09:00-15.00 น. สอบถามโทร. 08 4721 6452 มีบริการส่งอาหารถึงที่ ค่าส่ง 30 บาทส�ำหรับในเขตนิคมแหลมฉบัง และ 50 บาทส�ำหรับนอกเขต ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

25


บ้านดอกแดง

เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน

ชุมชนเข้มแข็ง

โดย ศรีคำ�

“ดอกแดงน่าอยู่ เข้มแข็ง พัฒนา น้อมนำ�เศรษฐกิจ พอเพียง เคียงคู่ประเพณี” ความมุ่งมั่นหรือวิสัยทัศน์สั้น ๆ แต่ชัดเจนที่ชาวดอกแเดงทุกคนยึดไว้ ในหัวใจ บ้ า นดอกแดงเป็ น หมู ่ บ ้ า นเก่ า แก่ แ ห่ ง หนึ่ ง ของอ� ำ เภอ ดอยสะเก็ด ต�ำบลสง่าบ้าน ตั้งชื่อเรียกตามสีของแม่น�้ำลายที่มี สีแดงในฤดูนำ�้ หลาก มีประวัตยิ าวนาน จากบันทึกของคณะมิชชันนารี พบว่ามีอายุไม่ต�่ำกว่า 300 ปี เชื่อกันว่าคนดอกแดงแต่เดิมคือ ชาวเชียงแสนที่ถูกกวาดต้อนมาเชียงใหม่สมัยเจ้ากาวิละ ส่วน คนเฒ่าคนแก่เล่าเสริมว่า ต่อมาคนส่วนหนึ่งอพยพกลับไปสร้าง เมืองเชียงแสนแล้วมีชาวล�ำพูนอพยพหนีความแห้งแล้งมาอยู่ด้วย หมู่บ้านนี้จึงมีชื่อเดิมว่า “แม่ดอกแดงสันล�ำพูน” ก่อนจะเปลี่ยน เป็นบ้านดอกแดงในปี 2413 แม้จะเป็นหมูบ่ า้ นเล็ก ๆ มีเพียง 100 กว่าครัวเรือน และส่วนใหญ่ เป็นชาวนาอยู่กันอย่างเงียบสงบ แต่ก็หนีความเปลี่ยนแปลง ที่มาพร้อมกับความเจริญไม่ได้ ยิ่งเป็นชุมชนที่ใกล้เมืองห่างจาก เชียงใหม่เพียง 20 กิโลเมตรเท่านั้น คนหนุ่มสาวบ้านดอกแดงจึง นิยมไปท�ำงานในเมือง เหลือเพียงคนรุ่นพ่อรุ่นแม่ คนแก่ และเด็ก เท่านั้น วิถีชีวิตแบบคนเมืองท�ำให้ชุมชนดอกแดงเริ่มเปลี่ยนไป หนี้สินนอกระบบเพิ่มมากขึ้น

กว่า 20 ปีมาแล้วที่คนในชุมชนเริ่มตระหนักถึงปัญหา จึงมีความพยายามรวมกลุ่มกัน หาวิธีการมาต่อสู้ แก้ไข และ พัฒนา คุยกันแล้วคุยกันอีก แก้ไขแล้วแก้ไขอีก จนทุกวันนี้ขณะที่ บ้านใกล้เรือนเคียงยังเผชิญปัญหาเศรษฐกิจรอบด้าน แต่คนตัวเล็ก ในหมู ่ บ ้ านเล็ ก ๆ อย่ างดอกแดงกลั บ มี ความสุ ขมาก ป้ าสม (จันทร์สม นิลค�ำ) เล่าว่าทุกวันนี้ไม่มีอด อยู่สบาย ไม่มีหนี้ ขณะที่ เกษม พานวนทิศ ผู้จัดการศูนย์การเรียนรู้บ้านดอกแดงยืนยันว่า “กล้าพูดได้เลย ไม่มีคนจนในหมู่บ้าน”

ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนเชิงคุณธรรม

ที่ผ่านมาหลังฤดูปลูกข้าวแล้ว คนส่วนใหญ่ก็จะว่างงาน ขาดรายได้ เพราะ ต้องรอเวลาเก็บเกี่ยวข้าว ขณะที่วิถีการท�ำนาก็เปลี่ยนไป ต้องใช้เงินทุนสูง ทั้ง ค่าปุย๋ ค่ายาเคมี ค่าน�ำ้ มันรถ รถเกีย่ ว และหากปีใดข้าวไม่ได้ราคาก็ขาดทุนเป็นหนี้ ทับถมกันแทบทุกครัวเรือน เกษม พานวนทิศ ซึ่งเวลานั้นเป็นผู้ใหญ่บ้าน จึงริเริ่ม ศึกษาวิธีการและขั้นตอนการเพาะเห็ดจากหลาย ๆ แหล่ง และน�ำความรู้ที่ได้มา ถ่ายทอด ส่งเสริมให้ชาวบ้านเพาะเห็ดใต้ถนุ บ้าน เพราะเห็นว่าน่าจะเป็นอาชีพเสริม ท�ำให้มีรายได้พอกิน และมีการรวมกันเป็นกลุ่มเกษตรกรท�ำนาสง่าบ้าน ซึ่งต่อมา พัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจชุมชนเชิงคุณธรรม ที่คอยพัฒนาส่งเสริม เรื่องการเกษตรแบบพอเพียง เช่น การท�ำปุ๋ยเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ เพื่อฟื้นฟูและ ปรับสภาพดินในนาข้าวที่เสื่อมสภาพ เพื่อลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยเคมีและเน้นให้ เกษตรกรหันมาพึ่งตนเองตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

26 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


ปัจจุบันศูนย์การเรียนรู้นี้เติบโตอย่างเข้มแข็ง เป็นแหล่ง เรียนรู้ดูงานส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการเพาะเห็ดและ การท�ำปุย๋ อินทรีย์ สิง่ ทีท่ ำ� ให้ศนู ย์เรียนรู้ มีความยัง่ ยืนนัน้ เพราะเกิด จากการระดมทุนกันของชาวบ้านดอกแดง แต่ละคนถือเป็นหุน้ ส่วน และเป็นเจ้าของศูนย์เรียนรู้ร่วมกัน บ้านดอกแดงจึงกลายเป็น ชุมชนตัวอย่าง ที่สามารถพึ่งตนเองได้บนฐานของความพอเพียง พอดี และมีความสุข มั่นคงด้วยประชาคมและค�ำมั่นสัญญา

นอกจากปรับชีวิตมาเป็นวิถีเกษตรแบบพอเพียงแล้ว สิ่งที่ ท�ำให้ชาวดอกแดงอยู่กันได้อย่างมั่นคง คือ การออกกฎระเบียบ ของชุมชนจัดตั้งเป็น “ศูนย์ยุติธรรมชุมชนบ้านดอกแดง” ไม่ว่า โครงการใดหรือกิจกรรมพัฒนาใด ๆ ทุกคนในชุมชนมีสทิ ธิม์ เี สียง ในการแสดงความคิดเห็นก่อนจะด�ำเนินงาน และจะมีการท�ำ ประชาคมเพื่อหาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของคนในชุมชน เมื่อได้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ถึงจะน�ำเข้าสู่แผนชุมชนในปีนั้น ๆ และ ด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาชุมชนทีว่ างไว้ตอ่ ไป และมีกระบวนการ ท�ำประชาคมค�ำมั่นสัญญา เพื่อให้ทุกคนยอมรับร่วมกันและน�ำไป ปฏิบัติจริง ยกตัวอย่างกรณีการปฏิญาณตนตามโครงการประกาศตน ตามโครงการหมูบ่ า้ นเอาชนะยาเสพติด มีการประชุมประจ�ำเดือน เพือ่ หาข้อบังคับ เมือ่ มีครอบครัวใดหรือว่าสมาชิกคนใดยุง่ เกีย่ วกับ ยาเสพติด ผูน้ ำ� ชุมชนและคณะกรรมการให้รบั ฟังความคิดเห็นจาก คนในชุมชน ร่วมท�ำประชุมถกเถียงกันเอง อาศัยเหตุผลที่ถูกต้อง จนได้ข้อสรุปและตั้งกฎเกณฑ์บทลงโทษไว้อย่างชัดเจน คือ การ ตัดสิทธิ์พื้นฐานของหมู่บ้าน 3 ระดับ ขั้นแรก ตัดสิทธิ์รับความ ช่วยเหลือจากผู้น�ำชุมชนทุกระดับ ตัดสิทธิ์จากการเป็นสมาชิก กองทุนหมู่บ้าน และตัดสิทธิ์จากการเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ทุกกลุ่ม รวมถึงตัดสิทธิ์จากการเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ และ ยึดทรัพย์สินในกลุ่มออมทรัพย์ทั้งหมด

หากยังมีการยุ่งเกี่ยวอีกก็จะด�ำเนินการขั้นที่ 2 คือ ตัดสิทธิ์เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการหมู่บ้านและกรรมการ บริหารงานต่าง ๆ ในหมูบ่ า้ น ตัดสิทธิก์ ารเป็นสมาชิกกองทุน ฌาปนกิจสงเคราะห์ จนถึงมาตรการขัน้ เด็ดขาด คือ ตัดสิทธิ์ การใช้นำ�้ ประปาหมูบ่ า้ น การใช้ไฟฟ้า การใช้ศาสนสถานและ ของใช้สว่ นรวมในหมูบ่ า้ น และตัดสิทธิก์ ารให้ความช่วยเหลือ เมือ่ เกิดอุบตั ภิ ยั ทุกกรณี ข้อสรุปบทลงโทษตามทีช่ มุ ชนเสนอ ไว้นี้ จะมีการจัดท�ำเอกสารการประกาศตนไม่ยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติดให้กับทุกครอบครัว สมาชิกทุกคนต้องลงชื่อเพื่อ ยอมรับร่วมกัน เพื่อการตั้งปฏิญาณว่าหากมีครอบครัวใด หรือสมาชิกนั้น ๆ ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ต้องถูกตัดสิทธิ์ ตามที่ตกลงกันไว้ การออกกฎข้ อ ห้ า มไม่ ใ ห้ ค นในชุ ม ชนยุ ่ ง เกี่ ย วกั บ พนันทุกชนิด แต่กอ่ นนัน้ ชาวบ้านชอบเล่นการพนัน ส่วนใหญ่ เป็นในงานศพ โดยมีขอ้ อ้างว่าเล่นเพือ่ เป็นเพือ่ นเจ้าภาพ นักพนัน เล่นได้ทั้งวันทั้งคืน ท�ำให้เจ้าภาพต้องเสียค่าอาหารเลี้ยง โดยเปล่าประโยชน์ เมื่อการใช้กระบวนการดังกล่าวตกลง สรุปจากชุมชนว่า หากบ้านไหนมีการเล่นการพนัน ผู้ใหญ่ บ้านดอกแดงจะไม่ไปร่วมงานของบ้านนัน้ โดยเด็ดขาด ท�ำให้ การแก้ไขปัญหาเรื่องการพนันได้ผล คนในชุมชนหันกลับมา ท�ำงานด้วยความขยันไม่หวังเสี่ยงโชค ตาม “ค�ำมั่นสัญญา ยุติธรรมชุมชน ร่วมคิดร่วมค้นโดยชุมชนคนบ้านดอกแดง” นี่คือความเข้มแข็งของบ้านดอกแดงที่เกิดจากการ ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำ “ค�ำมัน่ สัญญายุตธิ รรม ชุมชน ร่วมคิดร่วมค้นโดยชุมชนคนบ้านดอกแดง” จึงเป็น เสมือนก�ำแพงที่ปกป้องดูแลให้ชุมชนพัฒนาอยู่กันอย่าง มีความสุข และพร้อมรับมือกับทุกปัญหาท่ามกลางโลกที่ พัฒนาไปเร็วจนอาจวิกฤติได้ทุกเมื่อ ขอบคุณข้อมูลจาก รายการดอกไม้บานสื่อสารความดีของศูนย์คุณธรรม http://dokdang.moobanthai.com ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

27


ชุ ม ชนที่ฉันรัก โดย กองบรรณาธิการ

ชุมชนที่ฉันรัก ฉบับนี้ยังคงเป็นเรียงความของน้อง ๆ นักเรียนจาก โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอม ชุมชนบ้านอ่าวอุดม ทีบ่ อกเล่าเรือ่ งราวความเป็นมา ของชุมชนและวิถีชีวิตในท้องถิ่นของเรา น้อง ๆ ถ่ายทอดความประทับใจผ่าน ตัวอักษรด้วยถ้อยคำ�เรียบง่าย แต่ท�ำ ให้เห็นภาพของชุมชนได้อย่างชัดเจนและ สวยงามค่ะ

ด.ญ.ชนาพร สุ ข คุ ้ ม ป.6/1

ด.ญ.สุช าดา ช� ำ นาญรบ ป.6/2

28 ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554


ลับสมองลองเล่นเกม โดย กองบรรณาธิการ

เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า แต่ ล ะชนิ ด มั ก จะมี ข้อมูลผลิตภัณฑ์ระบุไว้อย่างชัดเจนว่าใช้ ก�ำลังไฟฟ้ากี่วัตต์ ยิ่งใช้ก�ำลังไฟฟ้าวัตต์ สูง ๆ ก็ยิ่งสิ้นเปลืองพลังงานสูงตามไปด้วย จากภาพด้านล่าง ให้น้อง ๆ ช่วยกันหา ค�ำตอบมานะคะว่า “เครื่องใช้ ไฟฟ้าชนิดใด กินไฟสูงสุด” เขียนล�ำดับหมายเลข 1-6 ลงในวงกลม แล้วส่งค�ำตอบเข้ามารับรางวัล กันนะคะ...

ถ่ายเอกสารและส่งคำ�ตอบชิงรางวัลได้ที่ แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์องค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ชื่อ ................................................. นามสกุล .....................................................................ที่อยู่............................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................

“พลังงานหมุนเวียน”

เฉลยเกมฉบับที่แล้ว

ขอแสดงความยินดีกับผู้ตอบค�ำถามได้ถูกต้อง และโชคดีจากการจับฉลากรายชื่อ ดังนี้ 1. คุณกฤษณพงศ์ อ้อนประเสริฐ 2. คุณจารุวรรณ์ แถมศิริ 3. คุณจิราณี ไมตรี 4. คุณปิยธิดา พลอยประดิษฐ์ 5. คุณพรชัย ขันค�ำ 6. คุณมณฑา เรืองเดช 7. คุณมรกต ศรีสาคร 8. คุณลักษมณ์ สารยยา 9. ด.ช.สมบัติ อ้อนประเสริฐ 10. คุณอัญชิสา ศิริมนูญพันธ์ ชุมชนของเรา เดือนกันยายน-ตุลาคม 2554

29



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.