CSR Thaioil Journal 10

Page 1


สารบัญ

สวัสดีคะ่ เพือ่ นบ้านไทยออยล์ทกุ ท่าน สถานการณ์น�้ำท่วมครั้งรุนแรงในรอบ 50 ปีคลี่คลายลง พร้อมกับลมหนาว เริม่ พัดกรายเข้ามา เวลานีเ้ ป็นช่วงทีห่ ลายภาคส่วนก�ำลังเร่งฟืน้ ฟูประเทศ และฟืน้ ใจ ประชาชนให้กลับมาเข้มแข็งดังเดิม ขอบคุณเพื่อนบ้านทุกท่านที่ช่วยยืนยันค�ำกล่าวที่ว่า “คนไทยไม่เคยทิ้งกัน” ด้วยการหยิบยื่นน�้ำใจช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทุกรูปแบบเท่าที่จะท�ำได้ และหวังว่า ประสบการณ์ครั้งนี้จะท�ำให้เราคนไทยรักและสามัคคีกันมากขึ้น ผ่านพ้นไปด้วยดีกับงานบุญทอดกฐินสามัคคีเครือไทยออยล์ประจ�ำปี 2554 ณ วัดมโนรม พี่น้องในชุมชนบ้านเรามาร่วมงานกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่งทั้ง 2 วัน เป็นภาพทีน่ า่ ประทับใจงานหนึง่ ในรอบปี โดยปัจจัยทีไ่ ด้ทางวัดจะน�ำไปบูรณะหลังคา อุโบสถวัดมโนรมต่อไป นอกจากจะถ่ายทอดบรรยากาศงานกฐินมาให้ได้อ่านกันแล้ว จุลสารชุมชน ของเราฉบับส่งท้ายปีเก่านี้ยังมีเรื่องราวที่น่าสนใจมาน�ำเสนอผู้อ่านเหมือนเช่นเคย หวังว่าทุกท่านคงจะเพลิดเพลินกับสาระบันเทิงที่ทีมงานเลือกสรรมาฝากนะคะ เทศกาลแห่งความสุขใกล้เข้ามาแล้ว เที่ยวสนุกอย่างมีสตินะคะ พบกันใหม่ปีหน้าค่ะ บรรณาธิการ จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จัดทำ�โดย : แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์องค์กร สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน้ 11 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 0000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลัน่ : เลขที่ 42/1 หมูท่ ี่ 1 ถนนสุขมุ วิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุง่ สุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 แผนกบริหารงานชุมชน 0 3835 5028-31

เรื่องจากปก

1

ตามรอยพ่อ

4

รอบรั้วไทยออยล์

6

บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ 9 เคล็ดลับสุขภาพ

10

ก้าวทันโลก

11

ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

12

CSR โฟกัส

14

ปลอดภัยใกล้ตัว

18

ของดีบ้านเรา

20

ปราชญ์ชุมชน

22

รู้จักพลังงานทางเลือก

24

กระบอกเสียงชุมชน

26

ชุมชนที่ฉันรัก

29


เรื่องจากปก

โดย กองบรรณาธิการ

กฐินสามัคคีเครือไทยออยล์-ชุมชน

พลังศรัทธาและสามัคคีร่วมบูรณะอุโบสถวัดมโนรม กฐินสามัคคีเครือไทยออยล์รว่ มกับชุมชนในปีนจี้ ดั ขึน้ ณ วัดมโนรม เมื่อวันที่ 28-29 ตุลาคม 2554 ที่ผ่านมา ทีมงานตั้งใจจัดงานครั้งนี้ แบบเรียบง่าย เนื่องจากพี่น้องชาวไทยหลายจังหวัดยังทุกข์ร้อนกับ ภาวะอุทกภัยที่ยังไม่รู้ว่าจะจบสิ้นเมื่อใด พิธีตั้งองค์กฐินและมหรสพฉลององค์กฐิน

หลายปีที่ผ่านมาการจัดกฐินสามัคคีร่วมกับชุมชนนั้นมีการแห่เครื่องกฐินไปยังวัดเพื่อตั้ง องค์กฐินด้วย ส�ำหรับปีนี้ คุณสุพล ทับทิมจรูญ กรรมการอ�ำนวยการ บจ. ไทยพาราไซลีน-TPX ได้ให้ แนวคิดกับ คุณนราธิป ชาเหลา และทีมงานว่าน่าจะจัดผ้าป่าสามัคคีทชี่ าวบ้านเรียกกันว่า “ผ้าป่าหางกฐิน” ร่วมกับการร่วมเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคีของเครือไทยออยล์ดว้ ย ทาง บจ. ไทยพาราไซลีนจึงได้ ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนบ้านทุ่งน�ำโดย คุณวิศิษฐ์ พุทธตรัส ตั้งกองผ้าป่าขึ้นมาอีก 1 กอง ส่วนที่วัดมโนรมนั้น ญาติโยมผู้มีจิตศรัทธาตั้งกองผ้าป่าเพิ่มขึ้นต่างหาก

วันที่ 28 ตุลาคม 2554 เวลาประมาณ 15.00 น. วงกลองยาวของชุมชนบ้านทุ่งน�ำขบวนแห่ผ้าป่า หางกฐิน มีชาว บจ. ไทยพาราไซลีน น�ำโดย คุณนราธิป ชาเหลา จัดผ้าป่าหางกฐินร่วมกับพีน่ อ้ งในชุมชน แห่ขบวนไปรออยู่ที่ศาลาประชาคมสี่แยกอ่าวอุดม ขณะเดียวกับที่วงกลองยาวของชุมชนมโนรม พาขบวนของชุมชนวัดมโนรมมาถึงศาลาประชาคม วงกลองยาวทัง้ สองวงไม่เคยเล่นร่วมกัน แต่ตา่ งวง ต่างปรับจังหวะให้สอดประสานเป็นเนื้อเดียวกัน ยิ่งไปกว่านั้นชุมชนเขาพุและ บมจ.ไทยลู้บเบส-TLB น�ำโดย คุณอมลวรรณ ไชยนาค ทีแ่ ห่เครือ่ งกฐินมารวมกับพนักงาน บจ.ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์-TCP และ บจ.ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย)-IPT น�ำโดย คุณอนันต์ อิม่ ฤทัย ทีศ่ นู ย์สขุ ภาพฯ โดยมีวงกลองยาว ชาวเขาหินน�ำขบวน ขบวนยิ่งเดินก็ยิ่งยาว เพราะพี่น้องตลาดอ่าวอุดมเข้าร่วมสมทบด้วย เมือ่ ขบวนทัง้ หมดไปถึงศาลาประชาคม วงกลองยาวเริม่ ปรับตีกลองให้สอดรับกันทัง้ สามวง และมี การจัดขบวนแห่เครือ่ งกฐินไปตัง้ ทีศ่ าลาการเปรียญอีกครัง้ ผ่านไปตามถนนสุขมุ วิทเข้าสูว่ ดั มโนรม โดย มีผู้ร่วมขบวนประมาณ 300 คน วงกลองยาว 3 วง น�ำหน้า อยู่กลาง และปิดท้ายขบวนเป็นที่สวยงาม และสนุกสนาน โดยมีหน่วยบรรเทาสาธารณภัยศิรนิ ทร์ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติคอยจัดการจราจร เมือ่ ถึงวัดมโนรมแล้ว จึงน�ำเครือ่ งกฐินขึน้ จัดวางบนศาลาการเปรียญ ส่วนกองผ้าป่าของ บจ. ไทยพาราไซลีน ตั้งอยู่บริเวณกองอ�ำนวยการ ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

1


เรื่องจากปก ฉลองกฐินแบบเรียบง่าย เนื่องจากอยู่ในภาวะน�้ำท่วมหลายจังหวัด พี่น้องเพื่อนไทยต้องย้ายมาอยู่ศูนย์อพยพฯ บางคน

ยังว้าวุน่ นัง่ ลุน้ ว่าน�้ำจะท่วมหรือไม่ทว่ ม แกนกลางในการจัดกฐินสามัคคีจงึ มีความเห็นว่าควรจะฉลองกฐิน แบบเรียบง่าย มีการแสดงแค่ 2 เวที เวทีแรกเป็นการแสดงของนักเรียนโรงเรียนวัดมโนรม ซึง่ น�ำวงดนตรีลกู ทุง่ นักเรียนมาแสดงสลับกับนาฏศิลป์หลายชุด มีการแสดงกระโดดเชือกลีลาหลากหลายภายใต้การสนับสนุน ของศูนย์สุขภาพฯ จนได้รับเหรียญรางวัลมากมายจากสนามแข่งระดับชาติมาเมื่อไม่นานมานี้ อีกเวทีหนึง่ เป็นร�ำวงพืน้ บ้านของชุมชนบ้านทุง่ ซึง่ มีอดีตนางร�ำเมือ่ 20-30 ปีกอ่ นจากชุมชนต่าง ๆ มาร่วมสนุกหารายได้เข้าวัดในคืนนั้นประมาณ 25,000 บาท ถือเป็นการร่วมสนุกแบบได้ท�ำบุญไปด้วย

ตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งช่วยผู้ประสบภัยน�้ำท่วม

ถึงแม้งานฉลองกฐินจะเลิกประมาณ 23.00 น. แต่เช้าตรู่ของวันที่ 29 ตุลาคม ทีมงานทุกคน ต่างมาถึงพร้อมกันที่ศูนย์สุขภาพฯ เพื่อเตรียมงานตามความรับผิดชอบ ช่วงท�ำบุญตักบาตรข้าวสาร อาหารแห้ง พิธีการเริ่มด้วย อาจารย์เสถียร เอกจรัสภิวัฒน์ ประธานชุมชนตลาดอ่าวอุดมเป็นประธาน จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ทุกคนรับศีล 5 จากพระสงฆ์แล้วจึงออกมาเตรียมตักบาตรริมถนน สายทีว่ งิ่ เข้ามายังศูนย์สขุ ภาพฯ หลังตักบาตรเสร็จแล้ว ผูม้ จี ติ ศรัทธาทุกคนกลับเข้าหอพระ เพือ่ รับพรจาก พระสงฆ์แล้วจึงออกมาร่วมกันมอบของที่รับบิณฑบาตทั้งหมดให้หน่วยศิรินทร์ ซึ่งเป็นหน่วยบรรเทา สาธารณภัยไปด�ำเนินการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วมในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ต่อไป โดยมีบริการน�ำ้ เต้าหู-้ ปาท่องโก๋ และข้าวต้มให้แก่ผู้มาร่วมงานเป็นอาหารเช้าด้วย

กีฬาสามัคคีชุมชน-ไทยออยล์

เวลา 09.00 น. ถึงคิวงานส�ำคัญที่หลายคนตั้งตารอ คือ การแข่งขันกีฬาระหว่าง ชุมชนกับเครือไทยออยล์ ณ บริเวณลานด้านหลังอุโบสถวัดมโนรม ระหว่างนั้นบริเวณ ด้านหน้าวัดมโนรมเริ่มคลาคล�่ำไปด้วยร้านอาหารและเครื่องดื่มจ�ำนวน 25 ซุ้มที่มาให้ บริการฟรีส�ำหรับผู้ร่วมงาน กลิ่นหอมชวนหิวตั้งแต่ช่วงสาย กีฬาที่แข่งขันมีหลายประเภทที่สร้างเสียงหัวเราะและความครื้นเครงให้กับทั้ง ผูเ้ ข้าแข่งขันและผูช้ มข้างสนาม อาทิ การแข่งขันต�ำส้มต�ำลีลา การแข่งกินโต๊ะจีนผลไม้ การวิ่งวิบาก เป็นต้น สรุปผลการแข่งขันในปีนี้ทีมชุมชนชนะเครือไทยออยล์ขาดลอย ในระหว่างนัน้ ฝ่ายจัดการเครือไทยออยล์และพีน่ อ้ งในชุมชนจ�ำนวนมากได้ทยอยเดินทาง มาถึงศาลาการเปรียญ เพื่อเตรียมเข้าสู่พิธีการถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุสงฆ์

2

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ถวายภัตตาหารเพล

เรื่องจากปก

ฝ่ายจัดการเครือไทยออยล์น�ำโดย คุณสุรงค์ บูลกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.ไทยออยล์ คุณนิธมิ า เทพวนังกูร รองกรรมการอ�ำนวยการด้านการเงิน คุณณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศษิ ฐพร ผูช้ ว่ ยกรรมการ อ�ำนวยการด้านโรงกลั่น คุณสมชัย วงศ์วัฒนศานต์ ผู้ช่วยกรรมการอ�ำนวยการด้านบริหารองค์กร คุณสุพล ทับทิมจรูญ กรรมการอ�ำนวยการ บจ.ไทยพาราไซลีน คุณอภินนั ท์ สุภตั รบุตร กรรมการอ�ำนวยการ บมจ.ไทยลู้บเบส พนักงานเครือไทยออยล์ ทีซีพี ร่วมด้วย คุณทองเพียร สังข์ทอง เจ้าภาพทอดกฐินร่วม และพี่น้องในชุมชนได้ร่วมกันถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุสงฆ์ ระหว่างพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเพลนั้น คุณสุกุมล คุณปลื้ม รมว.วัฒนธรรมมาร่วมงานพร้อมกับ คุณบุญเลิศ น้อมศิลป์ ประธานที่ปรึกษานายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง และคุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศมนตรีฯ ท่านรัฐมนตรีเดินทักทายพี่น้องประชาชนทุกซุ้มอาหารและทั่วทุกบริเวณงาน จากนั้น คุณสุกมุ ล คุณปลืม้ และคณะได้รว่ มรับประทานอาหารพร้อมกับฝ่ายจัดการเครือไทยออยล์ ก่อนทีจ่ ะขึน้ ไป รับพรพระสงฆ์บนศาลาการเปรียญแล้วจึงออกมาเตรียมตั้งขบวนแห่กฐิน

มอบถ้วยรางวัลให้ทีมนักกีฬา

ก่อนเริม่ แห่กฐินมีการมอบถ้วยรางวัลให้กบั ทีมนักกีฬาต่าง ๆ ทัง้ ชุมชนวัดมโนรม ชุมชนบ้านทุง่ และนักกีฬาเครือไทยออยล์ โดยคุณสุรงค์ บูลกุล มอบถ้วยรางวัลกีฬาชนะเลิศให้ชมุ ชนบ้านทุง่ และยังได้มอบ โทรทัศน์ LCD ให้แก่ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดมโนรม เป็นการขอบคุณที่โรงเรียนน�ำดนตรีลูกทุ่ง นาฏศิลป์ และกลองยาวมาช่วยงานกฐินสามัคคีในครั้งนี้ รมว.วัฒนธรรมมอบรางวัลกีฬาชนะเลิศให้ ชุมชนวัดมโนรม และคุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง มอบถ้วยรางวัลรองชนะเลิศ กีฬาให้ผู้แทนเครือไทยออยล์

ถวายผ้ากฐิน

ขณะที่วงกลองยาวของโรงเรียนวัดมโนรมเริ่มบรรเลงน�ำ ขบวนแห่ผ้ากฐินนั้น มี ก ารถวายผ้ า ป่ า หางกฐิ น ที่ เต็ น ท์ อ� ำ นวยการ ขบวนแห่ ผ ้ า กฐิ นครั้ งนี้หัวแถวกับ หางแถวแทบจะชนกัน ร�ำน�ำขบวนโดยคุณสุกุมล คุณปลื้ม รมว.วัฒนธรรม พร้อม ด้วยชาวเครือไทยออยล์และพี่น้องชุมชนร่วมขบวนแห่ผ้ากฐินรอบอุโบสถ 3 รอบ จากนัน้ จึงเข้าโบสถ์เพือ่ ประกอบพิธถี วายผ้ากฐินตามประเพณี โดยพระครูอาทรพัฒนาภิรมย์ เจ้าอาวาสเป็นประธานสงฆ์รบั ผ้ากฐิน และด�ำเนินการให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามครรลอง ที่ปฏิบัติสืบกันมา จากนัน้ มีการประกาศยอดเงินกฐินสามัคคีครัง้ นี้ โดยได้รบั ทัง้ หมด 3,056,859 บาท (สามล้านห้าหมื่นหกพันแปดร้อยห้าสิบเก้าบาท) ซึ่งเป็นยอดเงินจากการทอดกฐินรวม กับยอดเงินจากผ้าป่าหางกฐิน ปัจจัยทั้งหมดทางวัดจะน�ำไปซ่อมแซมอุโบสถ ซึ่งใช้งาน มานานจนกระเบื้องหลังคาหมดอายุแล้ว การจัดทอดกฐินสามัคคีครัง้ นีท้ มี งานเปิดใจว่ามีความเหน็ดเหนือ่ ยไม่นอ้ ย แต่ผลทีไ่ ด้ คุม้ ค่าเป็นอย่างยิง่ เห็นได้จากภาคีเครือข่ายชุมชนเข้ามาร่วมงานคับคัง่ ตัง้ แต่การตัง้ ขบวนแห่ องค์กฐินมาจากหลายทิศทางทีต่ งั้ ของชุมชนต่าง ๆ มารวมกันทีศ่ าลาประชาคมอ่าวอุดม เป็นภาพที่สวยงาม และเหนือสิ่งอื่นใดงานนี้ท�ำให้ทุกคนเห็นถึงความรัก ความสามัคคี เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันของเครือไทยออยล์กับชุมชนที่เป็นรูปธรรมที่สุดอีกงานหนึ่ง

วัดมโนรมตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2494 ชาวบ้านส่วนใหญ่ เป็นเกษตรกรประกอบอาชีพท�ำนาที่อพยพมาจาก แหลมฉบัง เมือ่ มีประชาชนเพิม่ มากขึน้ ท�ำให้ไม่สะดวก ในการเดินทางไปท�ำบุญ จึงร่วมกันสร้างวัดขึน้ ภายในวัด มีตน้ ไม้ใหญ่ให้ความร่มรืน่ ในโบสถ์มภี าพเขียนเรือ่ งราว พุทธประวัติ ภาพทศชาติชาดก บานประตูหน้าต่างเป็น ภาพนูนรูปเทวดาและสัตว์หมิ พานต์ตา่ ง ๆ บริเวณใกล้เคียง เป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดมโนรมที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นก่อนวัยเรียน-มัธยมศึกษาปีที่ 3

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

3


โดย กระดาษกรอง

ปราชญ์แห่งน�้ำของแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า พระองค์คือ “ปราชญ์แห่งน�้ำ” ของแผ่นดิน อย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลาอันยาวนานของการทรงงานหนักตรากตร�ำอย่างไม่เคยทรงหยุดหย่อนนั้น งานพัฒนา ที่ส�ำคัญยิ่งของพระองค์ คือ งานที่เกี่ยวข้องกับ “น�้ำ” ศาสตร์ทั้งปวงที่เกี่ยวกับน�้ำไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาและจัดหา แหล่งน�้ำ การเก็บกัก การระบาย การควบคุม การท�ำน�้ำเสียให้เป็นน�้ำดี ตลอดจนการแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมนั้นย่อม ประจักษ์ชัดและได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระองค์นั้นหาผู้เสมอเหมือนได้ ยากยิ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา กล่าวว่า ในหลวงทรงให้ความส�ำคัญกับการจัดการน�ำ้ อย่าง ยัง่ ยืน พระองค์ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทัง้ ประเทศ และส่งเสริมให้การบริหารจัดการน�ำ้ เป็นวาระแห่งชาติ อีกทั้งพระองค์ยังทรงประดิษฐ์กังหันน�้ำชัยพัฒนาต้นทุนต�่ำจนกลายเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ท�ำให้พระองค์เป็นกษัตริย์ องค์แรกของโลกทีไ่ ด้รบั รางวัลเทิดพระเกียรติจากนานาชาติ ด้วยรางวัลผูน้ ำ� โลกด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญาจากองค์การ ทรัพย์สินทางปัญญาไวโป ล่าสุดเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน 2554 ส�ำนักข่าว “เอพี” ได้รายงานบทความเชิดชูพระอัจฉริยภาพว่าทรงมี แนวทางแก้ปญั หาน�ำ้ ท่วมอย่างยัง่ ยืน ทรงเคยเตือนให้ระวังน�ำ้ ท่วมใหญ่ การตัดไม้ทำ� ลายป่าทางภาคเหนือจะท�ำให้ น�ำ้ ทะลักเข้ามาถึงอย่างรวดเร็ว และยังทรงชีแ้ นะว่าการผันน�ำ้ ลงทะเลโดยตรงเป็นวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ ขณะทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญ ทางด้านน�้ำต่างชื่นชมพระราชด�ำริของพระองค์ท่านในการบริหารจัดการน�้ำ บทความของเอพีรายงานต่อไปว่า น�้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 50 ปีเป็นสิ่งที่พระองค์เพียรพยายามอย่าง หนักในการป้องกันมาตลอด และทรงเคยเตือนแต่ไม่มีใครใส่ใจต่อการที่น�้ำมาถึงอย่างรวดเร็ว และทรงมีแนวคิด ต่าง ๆ เพือ่ บรรเทาความเสียหายจากการหนุนของน�ำ้ ทะเลจ�ำนวนมหาศาลในแต่ละปี และการรับมือกับฤดูนำ�้ หลาก ซึ่งหากผู้เกี่ยวข้องน�ำแนวพระราชด�ำริมาด�ำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เชื่อว่ามหาอุทกภัยครั้งนี้คงไม่เกิดขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีโครงการจัดการน�ำ้ แห่งแรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2506 เพือ่ กักเก็บน�ำ้ จืดและป้องกัน น�้ำทะเลบุกรุกเข้ามาในแหล่งน�้ำจืดของอ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จนถึงทุกวันนี้พระองค์ทรงมีโครงการ พระราชด�ำริมากกว่า 4,300 โครงการ และโครงการเหล่านี้ร้อยละ 40 เป็นโครงการที่เกี่ยวกับการบริหารและการ จัดการแหล่งน�้ำ

4

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ช่วงต้นปี พ.ศ. 2514 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเตือน ว่า การตัดไม้ทำ� ลายผืนป่าในแถบภาคเหนืออาจท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วมใหญ่ ในอนาคต เนื่องจากการตัดไม้ท�ำลายป่าจะไปลดประสิทธิภาพการ ดูดซับน�้ำของดิน ซึ่งทุกวันนี้มีการยอมรับกันแล้วว่าปัจจัยดังกล่าวมี ส่วนท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วม นอกจากนัน้ ทรงให้แนวทางการป้องกันน�ำ้ ท่วม กรุงเทพมหานครเอาไว้ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2523 และได้ทรงรับสัง่ กับเจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้องอีกครั้งในปี พ.ศ. 2538 เมื่อครั้งที่เกิดน�้ำท่วมหนักในลุ่มน�้ำ เจ้าพระยา ถึงแนวทางที่ได้พระราชทานพระราชด�ำริแก้ไขปัญหา น�ำ้ ท่วมกรุงเทพฯ โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ างด้านตะวันออกว่าให้นำ�้ ไหลจาก ที่สูงลงสู่ที่ต�่ำตามธรรมชาติของน�้ำแล้วเร่งระบายน�้ำให้ออกสู่ทะเล โดยผ่านแนวคลองทางฝัง่ ตะวันออกของกรุงเทพมหานคร นอกจากนัน้ ยังทรงให้ 1. สร้างคันกั้นน�้ำโดยปรับปรุงแนวถนนเดิม คือ ถนนร่มเกล้า และถนนกิ่งแก้ว และก่อสร้างคันกั้นน�้ำเพิ่มเติมช่วงที่ไม่มีถนน เพื่อให้ บรรจบเป็นแนวคันกั้นน�้ำยาวทั้งสิ้นประมาณ 72 กิโลเมตร และสร้าง อาคารบังคับน�ำ้ ตามแนวคันกัน้ น�ำ้ และปลายคลองติดกับทะเลรวมทัง้ สิน้ 43 แห่ง 2. ก�ำหนดให้มีเขตพื้นที่สีเขียว (Green Belt) เพื่อป้องกันการ ขยายตัวของเมือง และเพื่อแปรสภาพให้เป็นทางระบายน�้ำ (Flood Way) ได้ด้วยเมื่อมีน�้ำหลาก 3. สร้างระบบป้องกันน�ำ้ ท่วมในเขตชุมชนกรุงเทพมหานคร ด้วย การขุดลอกคลอง ขยายคลองทีม่ อี ยูเ่ ดิม และขุดใหม่นอกแนวคันกัน้ น�ำ้ 4. สร้างสถานทีก่ กั เก็บนำ�้ ตามจุดต่าง ๆ ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร ตาม “โครงการพระราชด�ำริแก้มลิง” โดยทรงเปรียบเทียบการ “กินอาหาร ของลิงหลังจากที่ลิงเคี้ยวกล้วยแล้วจะยังไม่กลืน แต่จะเก็บไว้ภายใน แก้มทั้งสองข้างแล้วค่อย ๆ ดุนกล้วยมากินในภายหลัง” เช่นเดียวกับ การผันน�้ำจากแม่น�้ำเจ้าพระยา รวมทั้งน�้ำที่ขึ้นมาตามซอยต่างๆ เมื่อ น�ำ้ ทะเลหนุนไปเก็บไว้ทบี่ งึ ใหญ่ทอี่ ยูใ่ กล้พนื้ ทีช่ ายทะเล และมีประตูนำ�้ ขนาดใหญ่ส�ำหรับปิดกั้นน�้ำบริเวณแก้มลิง ด้านฝั่งตะวันออกบริเวณ แก้มลิงจะอยู่ที่คลองสรรพสามิต เมื่อเวลาน�้ำทะเลลดลงให้เปิดประตู ระบายน�้ำออกไป บึงจะสามารถรับน�้ำชุดใหม่ต่อไป 5. ขยายทางน�้ำให้กว้าง (ไม่จ�ำเป็นต้องลึก) หรือเปิดทางน�้ำใน จุดที่ผ่านทางหลวงหรือทางรถไฟ จ�ำเป็นต้องเจาะก็ต้องเจาะ นอกจากนั้น ยังรับสั่งกับผู้ที่เกี่ยวข้องเมื่อเดืิอนพฤศจิกายน พ.ศ. 2538 ว่าการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์จะช่วยลดระยะการไหลของ น�้ำในแม่น�้ำเจ้าพระยาช่วงที่ผ่านพื้นที่ ต.บางกระเจ้า อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ซึ่งมีลักษณะคดเคี้ยวยาวถึง 18 กิโลเมตร ให้เหลือ เพียงประมาณ 600 เมตรเท่านั้น ท�ำให้การระบายน�้ำรวดเร็วขึ้น และ

ช่วยบรรเทาปัญหาน�้ำท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยยึดหลักการ “เบี่ยงน�้ำ” (Diversion) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับสั่งเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ว่า คลองลัดโพธิ์เป็นสถานที่ตัวอย่างของการบริหาร จัดการน�้ำที่ต้องการความรู้เรื่องเวลาน�้ำขึ้นน�้ำลง หากบริหารถูกต้อง จะสามารถแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมได้ และยังทรงมีพระราชด�ำริเกี่ยวกับพลังงานน�้ำอันมหาศาลที่ ระบายผ่านประตูระบายน�้ำคลองลัดโพธิ์ อันเป็นที่มาของการสร้าง กังหันพลังน�้ำ ซึ่งกรมชลประทานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกันประดิษฐ์เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์และชุดส�ำเร็จของ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ขึ้น รวมทั้งยื่นขอจดสิทธิบัตรงานทั้ง 2 ชิน้ ในพระปรมาภิไธย รวมทั้ ง ยั ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งโครงข่ า ย ถนนรองรับการขนถ่ายสินค้าจากท่าเรือกรุงเทพ ต่อเนื่องไปจนถึง พื้นที่อุตสาหกรรมใน จ.สมุทรปราการและภูมิภาคอื่น เพื่อไม่ให้ รถบรรทุกวิ่งเข้าไปในตัวเมืองอันเป็นสาเหตุของการจราจรติดขัด พระราชทานชื่อสะพานข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 จุด ด้านทิศเหนือ เชื่อมระหว่างกรุงเทพฯ กับสมุทรปราการว่า “สะพานภูมิพล 1” ส่วน ด้านทิศใต้เชื่อม อ.พระประแดงกับ ต.ส�ำโรงใต้ว่า “สะพานภูมิพล 2” และเสด็จพระราชด�ำเนินทางชลมารคไปทรงเปิดประตูระบายน�้ำ คลองลัดโพธิ์ และทรงเปิดสะพานภูมิพล 1 ภูมิพล 2 ที่ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ทุกวันนี้แม้จะประทับรักษาพระวรกาย ณ โรงพยาบาลศิริราช แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังคงทรงงานตลอดเวลา ดังที่เรา จะเห็นภาพการเสด็จลงยังท่าน�้ำศิริราช เพื่อทอดพระเนตรระดับน�้ำ ในแม่นำ�้ เจ้าพระยาเป็นระยะ ๆ และทรงให้คำ� แนะน�ำแนวคิดแนวทาง การแก้ไขปัญหาแก่ข้าราชการที่มาเข้าเฝ้าฯ อยู่เสมอ มีคนกล่าวไว้ว่า “ไม่มีใครในแผ่นดินนี้ที่จะรู้เรื่องน�้ำดีกว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเราอีกแล้ว หากเพียงเราเดินตาม แนวทางที่ทรงให้ไว้ ปัญหาเหล่านี้ก็คงไม่เกิด” ในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ปวงข้าพระพุทธเจ้าขอน้อมเกล้าฯ ถวายพระพร “ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของ พสกนิกรตลอดกาลนานเทอญ” ข้อมูลอ้างอิง : http://www.pe.eng.ku.ac.th/files/semimar/2010/Group7/ http://th.wikipedia.org/wiki/คลองลัดโพธิ์ http://www.munjeed.com/news_detail.php?id=48076 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

5


รอบรั้วไทยออยล์

โดย หน่วยกลั่นข่าว

เลือกตัง้ กรรมการกองทุนโรงไฟฟ้า

เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2554 ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์ เพื่อชุมชน ได้อ�ำนวยความสะดวกด้านสถานที่ให้กับคณะกรรมการชุมชน ตลาดอ่าวอุดม ที่ขอใช้บริการสถานที่ในการเลือกกรรมการกองทุนพัฒนา ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าเครือไทยออยล์ แหลมฉบังพาวเวอร์ และสหโคเจน ซึ่งมี ผู้ลงสมัครทั้งหมด 6 คน ขอสละสิทธิ์ในการรับเลือก 1 คน โดยผู้ที่ได้รับเลือก ให้เป็นกรรมการกองทุนฯ ได้แก่ คุณมานพ แดงโพธิ์ชา มีผู้มาร่วมกิจกรรม ทั้งหมด 168 คน

บ้านแหลมฉบังร่วมใจต้านภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

เครือไทยออยล์ เทศบาลนครแหลมฉบัง โรงพยาบาลอ่าวอุดม นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ชุมชนและ อสม.บ้านแหลมฉบัง ร่วมกันจัดโครงการบ้านแหลมฉบังร่วมใจต้านภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ซึง่ เป็นโครงการระยะที่ 2 ต่อเนือ่ งจากทีน่ กั ศึกษาได้จดั ประชาคมส�ำรวจปัญหาชุมชน แล้วพบว่ามีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานสูง จึงได้ จัดท�ำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนบ้านแหลมฉบังมีความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยโรคความดั น โลหิ ต สู ง และโรคเบาหวาน เช่น การรับประทานอาหาร การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่คุกคามต่อชีวิต และ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งมีผู้มาร่วมงานกว่า 120 คน เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2554 ณ ลานอเนกประสงค์เพื่อชุมชนบ้านแหลมฉบัง

ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากนิคมแหลมฉบัง

เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2554 เวลา 15.00 น. ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชนได้ตอ้ นรับคณะผูบ้ ริหารและคณะผูแ้ ทนสถานประกอบการ ในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังจ�ำนวน 70 คน น�ำโดย คุณปรีชา จรเณร ผู้อ�ำนวยการนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ที่มาดูงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมและงานด้านชุมชนสัมพันธ์ของเครือไทยออยล์ ในโอกาสนี้ คณะฯ ได้ แวะกราบนมัสการหลวงพ่อไทยออยล์เพื่อความเป็นสิริมงคล

6

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ไทยออยล์รบั มอบใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว

เมื่อวันที่ 26 กันยายนที่ผ่านมา 4 บริษัทในเครือไทยออยล์ประกอบด้วย บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยลู้บเบส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยพาราไซลีน จ�ำกัด และบริษัท ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้รับมอบใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) จากกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรมสยามซิตี้ รางวัลดังกล่าวได้สะท้อนถึงความยึดมั่น ในการประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเครือฯ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร

มอบทุนสนับสนุนวิศวกร โครงการ ChEPS

เมือ่ วันที่ 28 กันยายนทีผ่ า่ นมา คุณสุรงค์ บูลกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้มอบทุนสนับสนุนโครงการทักษะวิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering Practice School : ChEPS) แก่รองศาสตราจารย์ ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จ�ำนวน 5 ทุน จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 2,720,000 บาท โครงการฯ นีเ้ ป็นโครงการผลิตวิศวกรระดับมหาบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ ซึง่ เกิดจากความร่วมมือระหว่างบริษทั ฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีแห่งมลรัฐแมสซาซูเซตต์ ตั้งแต่ปี 2540 นอกจากจะสนับสนุนด้านทุนการศึกษาแล้ว บริษัทฯ ยังได้ให้ค�ำปรึกษาด้านการบริหารจัดการโครงการและ การเรียนการสอน รวมถึงเป็นสถานที่ฝึกฝนทักษะภาคสนามให้แก่นักศึกษาอีกด้วย

เยาวชนสานฝัน สร้างสรรค์ชมุ ชน

เยาวชนสานฝัน สร้างสรรค์ชมุ ชน เป็นโครงการต่อเนือ่ งจากปีทผี่ า่ นมา ซึง่ ทาง ศูนย์สขุ ภาพฯ ได้จดั ขึน้ เพือ่ หาแนวร่วมแกนน�ำเยาวชน โดยจัดขึน้ เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ตัง้ แต่เวลา 08.00-16.30 น. ในวันงานมีกจิ กรรมส�ำหรับกลุม่ เยาวชนทัง้ ในและ นอกสถานที่ ในช่วงเช้าจะเป็นกิจกรรมละลายพฤติกรรมก่อนน�ำเข้าฐานความรู้ 3 ฐาน ประกอบด้วยฐานปฏิบตั ธิ รรม ฐานปัน้ ดินน�ำ้ มันจากจินตนาการ และฐานศึกษาต้นไม้ ในศูนย์สขุ ภาพฯ ส่วนกิจกรรมในช่วงบ่ายได้พากลุม่ เยาวชนเดินทางไปยังศูนย์ศกึ ษา ธรรมชาติป่าชายเลน ชุมชนบ้านแหลมฉบัง เพื่อศึกษาระบบนิเวศของป่าชายเลน โดยมีทีมงานเยาวชนบ้านแหลมฉบังเป็น วิทยากรน�ำบรรยาย

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

7


ไทยออยล์จดั ประชาคมโครงการท่าเทียบเรือ

เมือ่ วันที่ 21 ตุลาคม 2554 บมจ.ไทยออยล์ จัดประชาคมเชิญประชาชนทีอ่ ยู่ ในรัศมี 5 กม. รอบโครงการท่าเทียบเรือหมายเลข 7 และ 8 เพือ่ รับฟังความคิดเห็น ของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย ครั้งที่ 3 ณ ศาลาประชาคมอ่าวอุดม โดยมี คุณยุทธนา ภาสุรปัญญา ผูจ้ ดั การฝ่ายผลิตและประธานคณะกรรมการสิง่ แวดล้อม และมวลชนสัมพันธ์ เป็นประธานรับฟังความคิดเห็น ในการนี้ มีประชาชน หน่วยงานราชการ องค์กรชุมชนเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นกว่า 400 คน

บริการทันตกรรมฟรีเนือ่ งในวันทันตสาธารณสุข

เนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติซึ่งตรงกับวันที่ 21 ตุลาคม 2554 ทางศูนย์สขุ ภาพฯ ได้เปิดบริการตรวจรักษาสุขภาพฟันฟรีประจ�ำปีให้กบั ชุมชน รอบเครือไทยออยล์ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. มีผู้เข้ารับการตรวจสุขภาพฟัน ทั้งหมด 82 คน โดยสรุปยอดรวมรายการท�ำทันตกรรม ได้แก่ อุดฟัน 231 ซี่ ถอนฟัน 47 ซี่ เคลือบหลุมร่องฟัน 3 คน ขูดหินปูน 27 คน ผ่าฟันคุด 8 คน และขัดเคลือบฟลูออไรด์ 2 คน

ตลาดอ่าวอุดมร่วมใจ ห่างไกลโรคเรือ้ รัง

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2554 เวลา 08.00-11.30 น. เครือไทยออยล์ร่วมกับ โรงพยาบาลอ่าวอุดม นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา ชุมชน และ อสม. ตลาดอ่าวอุดม จัดโครงการตามแนวทางเวชศาสตร์เชิงรุก ตลาดอ่าวร่วมใจ ห่างไกล โรคเรื้อรัง ขึ้น ณ ศูนย์สุขภาพฯ ซึ่งเป็นโครงการต่อเนื่องหลังจากการท�ำประชาคม ของกลุ่มนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา ณ ศาลเจ้าโกมินทร์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2554 แล้วพบว่าชาวชุมชนทีม่ อี ายุ 35 ปีขนึ้ ไปเจ็บป่วยด้วยโรคเรือ้ รัง ในงานมีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ถาม-ตอบ ปัญหาสุขภาพ เจาะเลือดตรวจเบาหวาน ชัง่ น�ำ้ หนัก วัดส่วนสูง หาค่าดัชนีมวลกาย ตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจมะเร็งเต้านม โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 46 คน

8

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


นักกีฬากระโดดเชือกคว้าเหรียญรางวัลเพียบ ! บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ โดย ตั๊กแตน

เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2554 นักกีฬากระโดดเชือกมือใหม่ ลูกหลานในชุมชนของเรา จาก รร.วัดมโนรม รร.เทศบาลแหลมฉบัง 2 รร.บ้านชากยายจีน รร.วัดใหม่เนินพยอม และ รร.วัดแหลมฉบัง น�ำโดย ครูแบงค์ ครูออ้ ม ครูเอ๋ ครูชมพู่ ครูตกิ๊ ได้เดินทางไปแข่งขันกระโดดเชือก ชิงแชมป์ (Rope Skipping Championship) ประเภทมือใหม่ ณ อาคารยิมเนเซียม 2 สนามกีฬา แห่งชาติ บรรยากาศเต็มไปด้วยความตืน่ เต้นสนุกสนาน สรุปผลการแข่งขัน นักกีฬาของเราได้ เหรียญจากการแข่งขันทัง้ หมด 21 เหรียญ เป็นรางวัลเหรียญทอง 13 เหรียญ รางวัลเหรียญเงิน 4 เหรียญ และรางวัลเหรียญทองแดง 4 เหรียญ โดยมีรายชื่อนักกีฬาคนเก่งดังนี้ครับ

เหรียญเงิน จำ�นวน 4 เหรียญ เหรียญทอง จำ�นวน 13 เหรียญ ประเภทการแข่งขัน

ประเภทพื้นบ้าน กระโดดเชือกบุคคลทรหด รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) สุเมธ พันธ์สุข วัดใหม่เนินพยอม กระโดดเชือกบุคคลเร็ว รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) พงศธร ชื่นใจ วัดแหลมฉบัง วรวุฒิ พรมวงศ์ วัดมโนรม ประเภทมาตรฐาน กระโดดเชือกเดี่ยวบุคคลลีลา รุ่นอายุไม่เกิน 9 ปี (ชาย) ชนินทร์ ลักขิตนนท์ วัดมโนรม กระโดดเชือกแบบคู่ลีลา รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) วิษณุ ม่วงศรี วัดมโนรม กฎษฎา ไทศิลราฎร์ วัดมโนรม กระโดดเชือกแบบกลุ่มลีลา 4 คน (ไม่จำ�กัดอายุ) (หญิง) กาญจนา วงนาทิม เทศบาลแหลมฉบัง 2 อัญมณี พรมจันทร์ เทศบาลแหลมฉบัง 2 อนุธิดา ทองฉวี เทศบาลแหลมฉบัง 2 สิมิลัน สมเผ่า เทศบาลแหลมฉบัง 2 กระโดดเชือกทีม 3 คน Double Dutch Relay (กระโดดเชือกทีม 3 คน ผลัด ดับเบิ้ล ดัช) (ชาย) ฌรงค์ศักดิ์ เหือมขุนทด วัดมโนรม ณัฐนกร รัตนแสง วัดมโนรม วรวุฒิ พรมวงศ์ วัดมโนรม

ประเภทการแข่งขัน

ประเภทพื้นบ้าน กระโดดเชือกบุคคลเร็ว รุ่นอายุ 10-14 ปี (หญิง) มันทนา สุขลุน วัดใหม่เนินพยอม ประเภทมาตรฐาน กระโดดเชือกเดี่ยวบุคคลลีลา รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) ธนัตถ์ นุ่มงาม บ้านชากยายจีน กระโดดเชือกแบบคู่ลีลา รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) ธวัชชัย วานิชย์กลาง วัดแหลมฉบัง กิตติภพ คำ�โคตรสูนย์ วัดแหลมฉบัง

เหรียญทองแดง จำ�นวน 4 เหรียญ ประเภทการแข่งขัน

ประเภทพื้นบ้าน กระโดดเชือกบุคคลทรหด รุ่นอายุไม่เกิน 9 ปี (ชาย) จักรฤษ พ่วงอ่อน เทศบาลแหลมฉบัง 2 กระโดดเชือกบุคคลทรหด รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) อรรถกร แม่นปืน วัดมโนรม กระโดดเชือกบุคคลเร็ว รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) ณรงค์ศักดิ์ เหือมขุนทด วัดมโนรม ประเภทมาตรฐาน กระโดดเชือกเดี่ยวบุคคลลีลา รุ่นอายุ 10-14 ปี (ชาย) นรเสฐฎ รัตนเบญจนนท์ บ้านชากยายจีน

ขอชื่นชมความตั้งใจของนักกีฬาและอาจารย์ทุกท่านที่ทุ่มเทฝึกซ้อมอย่างหนัก นอกจากเหรียญรางวัลที่ได้รับแล้ว น้อง ๆ ยังได้เสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกายด้วย นะครับ ปลายเดือนพฤศจิกายน ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์ ได้จัด ให้มีการแข่งขันกระโดดเชือกชิงถ้วย บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ณ โรงเรียนบ้านชากยายจีน ฉบับหน้าจะน�ำบรรยากาศการแข่งขันและ สรุปผลรางวัลมาน�ำเสนอทุกท่านครับ

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

9


“เรอื่

เคล็ดลับสุขภาพ

โดย กาบกล้วย

” ง...กล้วย...กลว้ ย...

กล้วยหอมเป็นผลไม้เมืองร้อนประจ�ำถิ่นบ้านเราที่เห็นจนชินตา ด้วยความ ที่มีให้กินตลอดทั้งปีเลยท�ำให้หลายคนไม่สนใจมันเท่าไร ไม่เหมือนทุเรียนหรือ มะม่วงที่ต้องตั้งตารอว่าเมื่อไรจะถึงหน้าทุเรียนและมะม่วงเสียที แต่เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับกล้วยหอม...แล้วก็ต้องทึ่งกับความรู้ ใหม่ที่ได้มา เลยอดไม่ได้ต้องรีบเอามาขยายให้ ได้ทราบถึงสิ่งที่มองข้ามกันไปค่ะ

กล้วยหอมเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยคุณค่าทางอาหารที่ส� ำคัญ ต่อร่างกาย กล้วยหอมมีสารน�้ำตาลอยู่ 3 ชนิด คือ ซูโครส (Sucrose) ฟรุคโตส (Fructose) และกลูโคส (Glucose) รวมทั้งมีเส้นใยอาหาร ซึง่ จะให้พลังงานแก่รา่ งกายทีพ่ ร้อมน�ำไปใช้ได้ในทันที มีผลการวิจยั ว่า กล้วยหอม 2 ใบสามารถให้พลังงานแก่ร่างกายเพียงพอที่จะท�ำงานได้ นานถึง 90 นาที อาฮ่า...คราวนี้รู้แล้วว่าท�ำไมนักเทนนิสระดับโลกถึงต้องกิน กล้วยหอมระหว่างพักการแข่งขันเสมอ กล้วยหอมช่วยป้องกันโรคและภาวะต่าง ๆ ของร่างกายมากมาย มีงานวิจยั รายงานว่า ผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้ามีอาการดีขนึ้ เมือ่ ได้กนิ กล้วยหอม เพราะในกล้วยหอมมีทริปโตเฟน (Tryptophan) ซึง่ เป็นกรดอะมิโนโปรตีน ชนิดหนึ่งที่ร่างกายสามารถแปลงเป็นเซอโรโทนิน (Serotonin) สาร กระตุ้นที่ท�ำให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลาย อารมณ์แจ่มใส มีความสุข ส�ำหรับผูห้ ญิงก่อนมีประจ�ำเดือนมักจะมีอาการหงุดหงิดไม่อยูก่ บั ร่องกับรอย และมีอาการปวดท้อง ปวดศีรษะ การรับประทานกล้วยหอมจะช่วยได้ ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ ในกล้วยหอมยังมีธาตุเหล็กที่ช่วยกระตุ้นให้ร่างกาย ผลิตฮีโมโกลบิน ช่วยยับยัง้ ภาวะโลหิตจาง และยังช่วยลดภาวะความเสีย่ ง จากความดันโลหิต เนื่องจากมีเกลือโปแทสเซียมที่ช่วยควบคุมระดับ ความดันโลหิต ซึ่งองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (FDA)

ได้อนุมัติให้กล้วยหอมเป็นผลไม้ที่ช่วยลดภาวะความเสี่ยงความดัน โลหิตได้จริง ในกล้วยหอมมีเส้นใยจ�ำนวนมาก ช่วยกระตุ้นให้การท�ำงาน ของล�ำไส้เล็กดีขึ้น ท�ำให้ระบบขับถ่ายท�ำงานได้ดี ไม่มีปัญหาท้องผูก แก้จกุ เสียดแน่นท้อง และยังมีสารทีช่ ว่ ยเคลือบผิวของกระเพาะอาหาร ช่วยลดการเป็นแผลในกระเพาะอาหารได้ สถาบันจิตวิทยาในประเทศออสเตรียพบว่า ความเครียดจากการ ท�ำงานท�ำให้คนกินช็อกโกแลตและมันฝรั่งทอด (Potato Chips) มาก เกินไป ส่งผลให้น�้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น หากเปลี่ยนมากินกล้วยหอม เล็กน้อยทุก ๆ 2 ชั่วโมง กล้วยหอมจะช่วยปรับระดับน�้ำตาลในเลือด และลดอาการอยากกินของจุบจิบได้อย่างน่าอัศจรรย์ และมีงานวิจยั ใน ประเทศอังกฤษระบุวา่ กล้วยหอมสามารถเสริมสร้างพลังสมอง (Brain Power) ให้นกั เรียนรูส้ กึ สดชืน่ ซึง่ มีสว่ นให้สามารถท�ำข้อสอบได้ดยี งิ่ ขึน้ ส�ำหรับคุณหนุม่ ๆ ทีช่ อบสังสรรค์จนเกิดอาการเมาค้าง กล้วยหอม ช่วยคุณได้อย่างดีเยีย่ ม ส่วนคนทีอ่ ยากเลิกบุหรี่ กล้วยหอมก็ชว่ ยคุณได้ เช่นกัน เนื่องจากในกล้วยหอมมีวิตามินบี 6 และบี 12 โปแตสเซียม (Potassium) และแมกนีเซียม (Magnesium) ซึ่งช่วยให้ร่างกายฟื้นตัว เร็วจากการขาดสารนิโคติน การกินกล้วยหอมเป็นประจ�ำจะท�ำให้ร่างกายได้รับสารเพคติน (Pectin) โปรตีน วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบี รวมถึงฟอสฟอรัส แคลเซียม ที่ช่วยบ�ำรุงสายตาให้แจ่มชัด ยับยั้งการเกิดโรคในช่องปาก ลดการเกิดตะคริว ช่วยปรับระดับน�ำ้ ตาลในเลือด และเปลือกกล้วยหอม ด้านในสามารถช่วยลดอาการคันหรือบวมแดงจากยุงกัดได้ด้วย สรรพคุณมากมายขนาดนี้...เห็นทีต้องเปลี่ยนมากินกล้วยหอม เป็นอาหารเช้าหรืออาหารว่างระหว่างมื้ออาหารแล้วละค่ะ

ที่มา : นสพ.โพสต์ทูเดย์, นสพ.ข่าวสด www.thaihealth.or.th

10 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ก้ า วทั นโลก โดย ติมา

แผ่นปลูกพืชบนหลังคา

นวัตกรรมใหม่ที่คิดขึ้น เพื่อให้การปลูกผักบนหลังคาเป็นเรื่องง่ายนิดเดียว

เมืองไทยมีการปลูกต้นไม้หรือท�ำสวน บนหลังคาอยู่บ้างโดยเฉพาะอาคารสูงในเมือง โรงแรม อาคารพาณิชย์ โดยน�ำต้นไม้มาปลูกใน ภาชนะวางตั้งบนระเบียงหรือดาดฟ้า หรือก่อปูน เป็นแนวใส่ดนิ ปลูกต้นไม้กนั จริงจัง ซึง่ จะท�ำเช่นนี้ ได้ต้องวางแผนเผื่อการรับน�้ำหนัก ให้โครงสร้าง แข็งแรงมากขึ้นกว่าหลังคาทั่วไป วางระบบกัน น�้ำซึม การระบายน�้ำ ฯลฯ อาคารหรือบ้านที่ ต้องการปรับเป็นหลังคาสีเขียวในภายหลัง จึงมัก กังวลว่าจะท�ำได้หรือไม่ ไหนจะเรื่องดูแลรักษา อีก ในต่างประเทศเองมีการใช้วัสดุทดแทนดิน แบบต่าง ๆ ท�ำเป็นแผ่นน�ำไปปลูกพืช แล้วจึงน�ำ มาวางเรียงแบบส�ำเร็จรูปบนหลังคา ซึง่ เมืองไทย ยังต้องสั่งวัสดุน�ำเข้าจากต่างประเทศ นวัตกรรมแผ่นปลูกพืชบนหลังคา ผลงาน ประดิษฐ์ชนิ้ ใหม่ของประเทศไทยทีส่ องนักวิชาการ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คิดค้นขึ้น จึง น่าจะเป็นค�ำตอบที่ช่วยได้ รศ.พาสินี สุนากร อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ กับ รศ.ทรงกลด จารุสมบัติ ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ ร่วมกัน ท�ำงานวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาหาสัดส่วนวัสดุ ปลูกที่เหมาะสมแล้วน�ำมาอัดโดยเครื่องอัดร้อน ให้เป็นแผ่นปลูกพืชน�ำ้ หนักเบา เพือ่ ใช้ทดแทนดิน

และปลูกพืชได้โดยดูแลรักษาน้อย เหมาะส�ำหรับ การปลูกพืชในพื้นที่จ�ำกัดอย่างบ้านในเมือง ใช้ ปลูกพืชต่าง ๆ ทัง้ ไม้คลุมดิน ไม้ประดับอย่างไม้พมุ่ ขนาดเล็ก รวมถึงผักสวนครัวได้ดี ที่ส�ำคัญยังใช้ ปลูกบนหลังคาได้ คณะนักวิจัยได้ทดลองน�ำวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรที่ มี น�้ ำ หนั ก เบามาทดแทนดิ น แล้วพบว่า ขุยและใยมะพร้าวจากโรงงานกะทิ เป็นวัสดุที่มีเส้นใยแข็งแรง มีความพรุนสูง เป็น วัสดุคงรูปเหมาะส�ำหรับรากพืชจะได้มีที่ยึดเกาะ มีอากาศถ่ายเท และยังอุ้มน�้ำได้ดี มีสารอาหาร คือ โปแตสเซียมสูง ความเป็นกรดด่างปานกลาง ส่วนกากกาแฟที่ผ่านกระบวนการคั่วด้วยความ ร้อนจะคงรูปและไม่ยุบตัวง่าย และยังมีธาตุ อาหารหลัก คือ ไนโตรเจน จึงมีปยุ๋ และสารอาหาร ที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ พื ช อยู ่ พ ร้ อ มตามธรรมชาติ สามารถน�ำไปวางบนหลังคาได้เลย โดยไม่ต้อง มีถาดหรือกระบะรองรับ มีอายุการใช้งานได้ นานถึง 6 เดือน แผ่นปลูกพืชนีม้ ลี กั ษณะเป็นแผ่นสีเ่ หลีย่ ม จัตรุ สั ขนาด 30 x 30 ซม. หนา 5 ซม. ประกอบด้วย ขุยและใยมะพร้าว 60% กากกาแฟเหลือทิง้ ทีแ่ ห้ง สนิท 40% ผสมเข้ากับกาวยูเรียแล้วน�ำไปอัดแน่น ด้วยความร้อน จึงมีน�้ำหนักเบาเหมาะกับการ ปลูกพืชบนหลังคา มีนำ�้ หนักเพียง 10.8 กก./ตร.ม. เมื่อปลูกพืชจนแน่นและชุ่มน�้ำแล้วจะมีน�้ำหนัก ไม่เกิน 50 กก./ตร.ม. หากเป็นระบบหลังคาเขียว แบบเดิมจะมีน�้ำหนักมากถึง 900 กก./ตร.ม. เพราะดิ น มี น�้ ำ หนั ก มาก และมั ก เกิ ด ปั ญ หา เรือ่ งการระบายน�ำ ้ หลังคาแตกรัว่ ต้องมีโครงสร้าง หลังคาแข็งแรงและค่าใช้จ่ายดูแลรักษาสูง วิธีการปลูกก็เช่นเดียวกับการปลูกบนดิน หรือในกระถางและให้น�้ำตามปกติ พืชจะเจริญ เติบโตได้เป็นอย่างดี ไม่แตกต่างจากการปลูก แบบทั่วไป พร้อมให้ทิวทัศน์ที่สวยงามและไม่ส่ง ผลกระทบต่อโครงสร้างทีพ่ กั อาศัยด้วย นอกจากนี้

ยังทดสอบคุณสมบัติการป้องกันความร้อน โดย ปลูกพืชปกคลุม 100% แล้วน�ำไปวางบนหลังคาบ้าน พบว่าป้องกันความร้อนได้ดกี ว่าฉนวนใยแก้วหนา 2 นิ้ว โดยสามารถลดอุณหภูมิในกล่องทดลอง ได้ถึง 8 องศาเซลเซียสในเวลากลางวัน ขณะนี้ นั ก วิ จั ย ก� ำ ลั ง หารื อ กั บ มู ล นิ ธิ เกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) เพื่อพัฒนา ต่อยอดแผ่นปลูกพืชแบบไม่ใส่กาวยูเรีย เพื่อให้ ผู้สนใจน�ำไปปลูกผักบนหลังคาได้ รศ.พาสินี หนึง่ ในคณะนักวิจยั เล่าว่า “ต้นทุนการผลิตขณะนี้ ตกอยู ่ ที่ แ ผ่ น ละประมาณ 70 บาท และอยู ่ ระหว่างการหารือกับผู้ประกอบการที่สนใจน�ำไป ผลิตต่อยอดเชิงพาณิชย์ หากผลิตจ�ำนวนมาก เพื่อขายคาดว่าน่าจะมีราคาถูกกว่านี้ แผ่นปลูกพืชบนหลังคายังสามารถช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยน�้ำท่วมได้ สามารถเพาะปลูกพืช บนหลังคาบ้านได้ ล่าสุดดิฉันได้ให้ค�ำแนะน�ำแก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนสามารถผลิต แผ่นปลูกพืชบนหลังคาได้ด้วยตนเอง ด้วยวัสดุที่ หาง่าย ต้นทุนต�่ำ และการผลิตที่ไม่ยุ่งยาก ทั้ง ใยมะพร้าวและกากกาแฟ อีกทัง้ ยังเป็นการรีไซเคิล วัสดุทางการเกษตรเหลือใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น เส้นใยปาล์ม เปลือกถั่ว ชานอ้อย เป็นต้น” ผลงานการประดิษฐ์คิดค้นแผ่นปลูกพืช บนหลังคานีก้ ำ� ลังขอเข้ารับรางวัลสภาวิจยั แห่งชาติ รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้นประจ�ำปี 2555 ซึ่ง ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัด ขึน้ เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ เฟ้นหาสุดยอดผลงานการ ประดิษฐ์คิดค้นจากฝีมือนักประดิษฐ์นักวิจัยไทย โดยจะมีการประกาศผลและมอบรางวัลในงาน วันนักประดิษฐ์ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555...เป็น ก�ำลังใจให้ได้รับรางวัลนะคะ ข้อมูลอ้างอิง ฝ่ายประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สนใจสอบถามรายละเอียดที่เบอร์ 0 2942 8960 ต่อ 308 www.biofacad.com ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

11


ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

โดย หงวน ชวน ชิม

ตา-เข็ม ใส่หัวใจในทุกจาน คำ�เดียวสั้น ๆ ถ้าต้องนิยามร้านนี้คือ อร่อยทุกอย่างเพราะ... ทุกจาน ทุกรายการอาหารกว่าจะถึงคนกิน เขาใส่หวั ใจมาด้วยค่ะ ทีจ่ ริงร้านนีเ้ ขา ตัง้ สโลแกนประจ�ำร้านไว้นา่ รักทีเดียวว่า “หัวใจใส่เส้น” เพราะดัง้ เดิมร้านตา-เข็ม เป็นร้าน ก๋วยเตีย๋ วเป็ดขึน้ ชือ่ มานานกว่า 30 ปี แต่ปจั จุบนั มีรายการอาหารเพิม่ ขึน้ ทัง้ ก๋วยเตีย๋ วทะเล ข้าวหน้าเป็ด ข้าวขาหมู ข้าวหมูแดง หมูกรอบ และขนมหวานนานาชนิด ทุกอย่างอร่อยหมด อร่อยจริง ๆ ค่ะ ตั้งแต่กินขาหมู เป็ดพะโล้ หรือเป็ดตุ๋นมา ต้องยอมรับว่าร้านนี้ติดอันดับ 1 ใน 3 ของร้านในดวงใจ เพราะวิธกี ารตุน๋ การต้มของเขาไม่วา่ จะเป็นเนือ้ ขาหมูหรือเป็ด น�ำ้ พะโล้ จะชุ่มหอม ได้รสหวานอร่อยของเครื่องเทศที่กลมกล่อม ไม่ฉุน หรือจัดจ้านจนเหมือน ยาจีนเกินไปและเข้าเนือ้ จริง ๆ อย่างขาหมูตอ้ งบอกว่าเนือ้ นัน้ นิม่ ก�ำลังกิน แต่ละค�ำรสหวาน ของเนือ้ หมูทผี่ สานกับรสเค็มของน�ำ้ พะโล้ทจี่ ดั จ้านก�ำลังดีจะชุม่ เต็มปาก และได้สมั ผัสของ เนือ้ ทีเ่ คีย้ วได้ ไม่เหนียวและไม่เละ ส่วนทีเ่ ป็นหนังและมันนัน้ หอมนุม่ เหมือนเยลลี่ เครือ่ งเคียง อย่างผักกาดดองรสชาติดีเปรี้ยวเค็มตัดรสเลี่ยนได้เหมาะเจาะ ยิ่งพอราดน�้ำส้มกับแกะ กระเทียมกินไปพร้อมกันยิ่งครบรส ละเลียดกับความอร่อยของขาหมูอยูย่ งั ไม่ทนั จุใจ แต่พอเห็นเป็ดตุน๋ เสิรฟ์ มาร้อน ๆ มีทั้งเนื้อ ตีนเป็ด ลิ้น และเลือด พอได้ชิมเท่านั้นถึงกับลืมขาหมูไปเลย เพราะรสชาติ ทุกอย่างถือได้ว่าเป็นสวรรค์ของคนรัก (การกิน) เป็ดเลยทีเดียว ส่วนเนื้อนุ่มแบบเป็ดมี กล้ามเนือ้ ส่วนตีนเปือ่ ยแบบหวานละลายในปาก เลือดไม่แข็งไม่เละ ทีส่ ำ� คัญไม่มกี ลิน่ คาว กลิน่ สาบเลย ถ้าอยูใ่ นฮ่องกง อาหารรสเลิศเช่นนีเ้ ขายกย่องให้ชอื่ ว่าขนาดพระยังกระโดด ก�ำแพงมากิน เมนูเป็ดทุกอย่างของร้านนีก้ เ็ ช่นเดียวกัน ไม่วา่ ยังไงก็ตอ้ งกระโดดข้ามถนน กว่าสิบเลนจากโรงกลั่นมากินให้ได้

12 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

อร่อยขนาดนี้แน่นอนว่าต้องมีที่มา เจ้าของสูตรที่เป็นเจ้าของชื่อร้านด้วย คือ คุณแม่เย็นตา และคุณพ่อเข็ม วงค์ไพบูลย์ศรี ซึ่งเป็นคนจีน จึงเชี่ยวชาญเรื่องเครื่องเทศ เมื่อมาผสมกับรสมือของแม่เย็นตา ซึ่ง สื บ ทอดวิ ช าการท� ำ กั บ ข้ า วจากยายซิ ว ผาติเสนะ ช่างขนมเก่าของอ่างศิลา เรื่อง ความพิถีพิถันในการปรุงจึงแทบไม่ต้อง ห่วงเลยค่ะ ทุกวันนี้แม้อายุเลยวัยเกษียณ มาหลายปีแล้วยังคุมคุณภาพเองทุกอย่าง คำ�เดียวสั้น ๆ ถ้าต้องนิยามร้านนี้ คือ

อร่อยทุกอย่าง


ของตุน๋ จะท�ำตัง้ แต่กลางคืน เช้ามาก็ได้ทพี่ อดีขาย พอ สาย ๆ จึงเริม่ ท�ำขนม ซึง่ รายการขนมทัง้ หลายนี้ คุณแม่เย็นตา ไม่ใช่แค่คุมและชิม แต่ลงมือท�ำเองทุกวันมากว่า 10 ปีแล้ว ด้วยความตั้งใจที่อยากจะรื้อฟื้นขนมอร่อย ๆ ของคุณยาย และเพิ่มเมนูเอาใจและขอบคุณลูกค้าที่แน่นขนัดร้านทุกวัน จึงไม่ยอมเหนือ่ ย เมนูทขี่ นึ้ ชือ่ ว่าเป็นนางเอก คือ ข้าวเหนียว ถัว่ ด�ำ ตามด้วยนางรองอย่างแกงบวดทัง้ หลาย แกงบวดเผือก บวดฟักทอง ข้าวเหนียวเปียกล�ำใย ทับทิมกรอบ ก็ไม่ น้อยหน้า ที่พลาดไม่ได้ คือ ของเชื่อมทั้งหลายทั้งมันเทศ กล้วยน�้ำว้า เผือก ฟักทอง เขาเชื่อมได้หวานก�ำลังดี ไม่มาก ไม่นอ้ ยไป ราดกะทิสดออกเค็มนิด ๆ มาตัดหวาน ยิง่ หอมอร่อย อย่าบอกใครเชียว ถ้าอิ่มของคาว รับของหวานไม่ไหว แนะน�ำให้หิ้วติดมือกลับบ้าน รับรองไม่ผิดหวังค่ะ เอกลักษณ์รา้ นนีม้ หี ลายอย่าง นอกจากคุณภาพอาหาร ที่ขึ้นชื่อแล้ว ให้มองหาคนเก็บตังค์ ผู้หญิงหน้าตายิ้มแย้ม คอยถามไถ่ คุย รับออเดอร์จากลูกค้า และคิดเงิน แล้วสังเกตว่า ถ้าไม่ใส่รองเท้า นัน่ แหละใช่เลย เจ๊เจีย๊ บ ปธิตา ฮวบนรินทร์ ลูกสาวแม่เย็นตาตัวจริง เจ๊เจีย๊ บเล่าว่า “เมือ่ สิบปีกอ่ นเคยกินอร่อยอย่างไร มาวันนี้ ก็ยังเหมือนเดิม รสชาติไม่มีตกแม้แต่เมนูเดียวหรือวันเดียว เพราะทุกอย่างในร้านท�ำเองหมด คุณแม่ปนี อี้ ายุ 75 แล้วแต่ ยังคุมเอง คุณพ่อเป็นแค่ลกู มือ เรียกว่าตรวจสอบคุณภาพเอง ทุกรายการ และแอบกระซิบดัง ๆ ว่า เข้มงวดมาก !! ไม้บรรทัดยังเรียกพี่ ถ้าเป็นงานละเอียดอย่างขนมยิ่งไม่ ปล่อย ต้องลงมือเอง” เคล็ดลับความอร่อยอยูท่ อี่ ย่างแรก คือ ใช้เตาถ่านต้ม เพราะความร้อนจะค่อย ๆ ร้อนขึ้นจนถึงสูงสุด และค่อย ๆ เย็นลงเรือ่ ย ๆ ตามถ่านทีค่ อ่ ย ๆ มอดลง ท�ำให้เนือ้ ทีต่ ม้ หรือ ตุน๋ อยูน่ นั้ มีเวลาให้รสชาติซมึ ซาบเข้าเนือ้ ไปอย่างละมุนละไม กลมกล่อม กลิ่นไอของเตาถ่านยังช่วยให้หอมขึ้น แถมกะ เวลาได้โดยไม่ต้องตั้งนาฬิกา

อีกอย่างหนึ่ง คือ การเลือกใช้เป็ดไทยซึ่งเลี้ยงแบบ เป็ดไล่ทงุ่ คือปล่อยให้หาหอย หาปูกนิ ตามธรรมชาติ แม้เป็ด จะตัวเล็กแต่เนือ้ แน่น เมือ่ ตุน๋ แล้วจะได้เป็ดนุม่ แต่แน่น ไม่เละ ต่างจากเป็ดทีเ่ ลีย้ งแบบฟาร์ม กินแต่หวั อาหาร ซึง่ อาหารเม็ด เหล่านั้นได้มาจากขั้นตอนและกระบวนการที่ท�ำให้สูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานมากมาย อย่างเช่น ข้าวโพด ที่เป็นส่วนประกอบหลัก ส่วนใหญ่มาจากการปลูกบนพื้นที่ ป่าต้นน�ำ้ หรือป่าธรรมชาติ และกว่าจะออกมาเป็นเม็ดยังต้องใช้ เครื่องจักรกล พลังงานไฟฟ้าอีก มาร้านนีอ้ ย่าพลาดเรือ่ งเครือ่ งดืม่ ใครสัง่ น�ำ้ อัดลมถือว่า พลาดมาก เพราะนอกจากจะช่วยใช้พลังงานให้โลกร้อน ขึน้ แล้ว ยังไม่ได้ชมิ อีกเมนูอร่อยทีเ่ จ๊เจีย๊ บภูมใิ จน�ำเสนอ คือ น�ำ้ ดืม่ ปันนะทิพย์ มีให้เลือก 10 อย่าง ทัง้ กาแฟ โอเลีย้ ง ชาเย็น ชาด�ำ ล�ำไย เก็กฮวย กระเจี๊ยบ น�้ำมะพร้าว น�้ำฝรั่งที่คั้นเอง ชงเอง เป็นอีกเมนูใหม่ที่ใส่หัวใจท�ำจริง ทุกขวดเข้มข้น อร่อยจริง ๆ ไม่ได้ยอเกินไป นอกจากอร่อยแล้ว ร้านยังสะอาดเอีย่ ม ไม่มแี มลงกวนใจ เพราะเขามีเคล็ดลับ อย่างน�้ำยาถูพื้นจะไม่ใช้น�้ำยาเคมีที่ โฆษณาขายทัว่ ไป แต่ใช้นำ�้ หมักชีวภาพ จุลนิ ทรียใ์ นน�ำ้ หมัก จะช่วยย่อยสลายเชื้อโรคและไข่แมลงได้ ไล่แมลงวัน มด แมลงสาบได้ผลเยี่ยม แถมปลอดภัยกับผู้บริโภค เพราะ ไม่ต้องกังวลเรื่องสารเคมีตกค้างอีกด้วย เรียกว่าใส่ใจใน ทุกจานแล้วยังใส่ใจในทุกรายละเอียด อย่างนี้ต้องช่วยกัน มาอุดหนุนค่ะ ร้านตา-เข็ม อยู่ตรงข้ามทางเข้าโรงกลั่นไทยออยล์ ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ร้านจะอยู่ฝั่งซ้ายมือบนถนนสุขุมวิท หลักกิโลเมตรที่ 125 เปิดทุกวันตั้งแต่ 06.00-16.00 น. สอบถามโทร. 0 3835 1189 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

13


มหาอุทกภัย... หรือจะสู้ธารน�้ำใจ

14 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

ไทยออยล์ขอร่วมเคียงข้างพีน่ อ้ งผูป้ ระสบภัย... ให้กา้ วผ่านวิกฤติน้ีไปด้วยกัน


ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

15


เครือไทยออยล์ช่วยเหลือและบรรเทา ความเดือดร้อนของผู้ประสบภัย โดยการ ร่ ว มบริ จ าคเงิ น และสิ่ ง ของที่ จำ � เป็ น ให้ กั บ ผูป้ ระสบภัยโดยตรง ผ่านหน่วยงานราชการ และร่วมกับ ปตท. บริหารจัดการศูนย์ชว่ ยเหลือ ผูป้ ระสบภัย ค่ายอดิศร จ.สระบุรี รวมทัง้ การ ให้ความช่วยเหลือพันธมิตรต่าง ๆ

16 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ชุ ม ชนรอบโรงกลั่ น ไทยออยล์ ร่วมบริจาคข้าวสาร อาหารแห้ง ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย

ผูบ้ ริหารและพนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ บรรเทาความเดือดร้อนผูป้ ระสบอุทกภัย ร่วมกันท�ำ น�ำ้ หมัก EM และปัน้ EM Ball

พวกเราช่วย ด้วยอีกแรงนะ

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

17


ปลอดภัย ใกล้ตัว

โดย เซฟตี้เกิร์ล

น�้ำลดแล้ว

เริ่มต้นดูแลบ้านอย่างไรดี ปีนนี้ บั เป็นปีทปี่ ระเทศไทยประสบปัญหาอุทกภัยครัง้ รุนแรงทีส่ ดุ ในรอบ 50 ปี น�ำ้ จ�ำนวนมหาศาลเข้าท่วมขังในพืน้ ทีก่ ว่า 24 จังหวัดของ ประเทศ เรือกสวนไร่นาจมอยู่ใต้น�้ำ บ้านเรือนในบางพื้นที่จมน�้ำนาน กว่า 3 เดือน จนต้องมีการอพยพประชาชนไปอาศัยอยูใ่ นศูนย์อพยพ ชั่วคราวที่ทางการจัดให้ ท�ำให้ประชาชนหลายล้านคนต้องกลายเป็น ผู้ประสบภัย (รวมถึงตัวผู้เขียนเองด้วย) เมือ่ น�ำ้ มาเดีย๋ วน�ำ้ ก็ไป แต่ปญั หาคือ “นำ�้ ลดแล้ว เริม่ ต้นดูแลบ้านอย่างไรดี” วันนี้เลยมีค�ำแนะน�ำการดูแลบ้านหลังน�้ำท่วมที่รวบรวมจากกูรูทั้งหลายมาให้เป็น ข้อมูล สภาพบ้านอาจจะไม่นา่ ดู ดังนัน้ เมือ่ เข้าไปควรสวมรองเท้าบูทยางให้มดิ ชิด เพื่อกันไฟฟ้ารั่วหรือสัตว์มีพิษ และไม่ควรน�ำอุปกรณ์มีประกายไฟเข้าไปด้วย จากนั้น เดินตรวจตรารอบ ๆ บ้าน ตรวจสอบความเสียหายของโครงสร้างต่าง ๆ ด้วยสายตาและบันทึกไว้ เช่น ตัวบ้านทรุดหรือไม่ ระเบียงผุหรือไม่ หลังคารั่ว หรือไม่ รั้วเอียงหรือไม่ พื้นบ้านปาร์เก้หลุดล่อนหรือไม่ มีน�้ำผุดขึ้นกลางบ้าน หรือไม่ เพื่อจะได้ประเมินงบประมาณที่ต้องใช้ในการซ่อมบ้าน ถ่ายรูปความเสียหาย เพือ่ เรียกร้องค่าชดเชยจากประกัน (ถ้ามี) ติดต่อบริษทั ประกันภัย เพื่อตรวจสอบความเสียหายและซ่อมแซมทรัพย์สินต่าง ๆ ส�ำรวจสายถังแก๊ส ถ้าหากเกิดแก๊สรั่วจะรู้ได้จากกลิ่นแก๊ส ให้ระวังอย่า เข้าใกล้บริเวณนั้น และรีบโทรแจ้งร้านที่เป็นตัวแทนจ�ำหน่าย เพื่อให้เข้ามา ซ่อมแซมโดยด่วน หารอยคราบน�้ำ เพื่อดูว่าน�้ำท่วมถึงปลั๊กไฟผนังหรือไม่ หากท่วมถึงไม่ควร เปิดเบรกเกอร์ไฟผนัง แต่ควรรอให้ปลั๊กแห้งสนิทก่อน จากนั้นค่อยเปิดเบรกเกอร์ ไฟฟ้าทีละส่วน เช่น ไฟบน ไฟล่าง ถ้าเบรกเกอร์ตดั ทันทีแสดงว่ามีไฟรัว่ ควรเรียก ช่างไฟฟ้ามาดูทันที ตรวจหารอยแตกหรือรั่วของท่อน�้ำ ถ้าพบให้ปิดวาล์วตรงมิเตอร์น�้ำ ส่วน บ้านที่มีถังส�ำรองน�้ำให้เปิดน�้ำเพื่อดูสี ดมกลิ่น และใช้น�้ำนั้นท�ำความสะอาดบ้าน จนหมด แล้วล้างถังก่อนทีจ่ ะเริม่ ส�ำรองน�ำ้ ใหม่ ไม่ควรดืม่ หรือประกอบอาหารด้วย น�้ำจากก๊อกน�้ำจนกว่าจะรู้ว่าสะอาดและปลอดภัย ไม่ควรเปิดปัม๊ นำ�้ ให้ท�ำงานทันที หากปัม๊ น�ำ้ ถูกน�ำ้ ท่วม ควรปล่อยทิง้ เอาไว้ให้ แห้งสนิทก่อน หรือให้ช่างมาตรวจสอบก่อนเปิดใช้งาน มิฉะนั้นปั๊มน�้ำอาจช็อตได้

18 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


ตรวจสอบ “ท่อระบายน�้ำ” ที่เชื่อมต่อกับท่อระบายน�้ำสาธารณะ เพราะเมื่อ น�้ำลดลงเศษดินโคลนจะกองติดอยู่ในท่อระบายน�้ำจนเกิดการอุดตัน ดังนั้น ควร ลอกท่อ รวมถึงท่อระบายน�้ำจากบ่อบ�ำบัดน�้ำ หากน�้ำเต็มควรจ้างเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานเขตหรือเทศบาลมาสูบน�้ำออก และเติมเชื้อจุลินทรีย์ช่วยย่อยสิ่งปฏิกูล เพิ่มเติม ท�ำความสะอาดบ้าน เก็บกวาดกิ่งไม้หรือสิ่งปฏิกูลในบ้าน เปิดหน้าต่างและ ประตูเพื่อระบายอากาศ ระบายความชื้นออกให้หมด ก�ำจัดตะกอนที่มาจากน�้ำ เนื่องจากเชื้อโรคส่วนมากมักจะมาจากตะกอน หากเครือ่ งปรับอากาศ ตูเ้ ย็น เครือ่ งซักผ้าจมนำ�้ หมด (แถมยังแช่ไว้ดว้ ย) เปิด ฝาทิ้งไว้ให้แห้งสนิท และห้ามน�ำไปตากแดดเด็ดขาด และควรรีบให้ช่างตรวจสอบ ดูก่อนเปิดใช้งาน ไม่ควรน�ำเฟอร์นเิ จอร์ โต๊ะ เตียง เก้าอี้ ทีท่ �ำจากไม้ไปตากแดดโดยตรง เพราะ จะท�ำให้แตก ก่อนจะซ่อมสีขอให้มั่นใจว่าแห้งแล้วจริง ๆ ไม่เช่นนั้นสีจะลอกหมด เพราะความชื้นฝังใน ส่วนโซฟานวมหรือนุ่นหรือที่นอนหากไม่จ�ำเป็นไม่ควรน�ำ กลับมาใช้อีกเลย เพราะตอนน�้ำท่วมจะพาเชื้อโรคและสิ่งไม่พึงประสงค์เข้าไปอยู่ ภายใน แม้ตากแดดแห้งแล้ว เชื้อโรคร้ายอาจยังฝังอยู่และเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในระยะยาวได้ เฟอร์นิเจอร์ประเภทติดกับที่ (Built in Furniture) ให้ตรวจสอบ ความแข็งแรงของโครงสร้าง สายไฟทีฝ่ งั อยูใ่ นตู้ รูกญุ แจ และลูกบิดให้อยูใ่ นสภาพ เรียบร้อยเหมือนเดิมหรือใกล้เคียงของเดิม เก็บล้างถ้วยชาม อุปกรณ์เครื่องครัวแล้วตากแดดเพื่อฆ่าเชื้อโรค ส่วน เครื่องปรุงต่าง ๆ หากไม่แน่ใจให้ทิ้งไปอย่าเสียดายของ เพราะอาจมีสิ่งสกปรก ปนเปื้อนเข้าไปได้ หากบ้านใดมีหอ้ งเก็บของใต้บนั ได ควรรือ้ ของออกมาตากให้หมดหรือผึง่ แดด ผึ่งลมให้หมดกลิ่น เปิดพัดลมเพื่อช่วยไล่ความชื้นในห้อง หรือวางเจลดูดความชื้น ไว้จะช่วยได้ในระดับหนึ่ง เนื่องจากห้องเก็บของจะเป็นบริเวณที่อับอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม น�ำ้ ท่วมยังมีขอ้ ดีอย่างหนึง่ คือ ท�ำให้เรารูว้ า่ อะไรคือสิง่ ทีจ่ ำ� เป็น ส�ำหรับเรา เราจะเลือกเก็บอะไร หรือทิง้ อะไรไป ดังนัน้ ขอให้ถอื โอกาสนีจ้ ดั บ้านใหม่ เก็บของทีจ่ ำ� เป็น เลือกทิง้ ของทีไ่ ม่จำ� เป็นหรือทีเ่ ราไม่ใช้เอาไปบริจาคให้คนอืน่ ๆ เช่น วัดสวนแก้ว หรือมูลนิธิต่าง ๆ ที่เขาจะได้ใช้ประโยชน์ต่อไป และที่ส�ำคัญเมื่อน�้ำลด แล้ว อย่าซื้อของที่ไม่จ�ำเป็นเข้ามาเพิ่มแล้วกันนะคะ ข้อมูลอ้างอิง : http://baansanruk.blogspot.com/2011/10/blog-post_6234.html บัญญัติ 21 ประการ “บ้านหลังน�้ำท่วม” ของ อาจารย์ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ สถ. ๓๔๔ ว. ภาพประกอบ : www.thairath.com www.banidea.com www.e-santoday.com www.homedecorthai.com ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

19


ของดีบ ้านเรา

โดย คนศรี

ชายหาดบ้านอำ�เภอ

มีเพียงหาดทราย ทะเล สายลม และสองเรา ยินเสียงแผ่วเบา ยินเพียงเสียงคลื่นกับเสียงเรา… ยุคนี้จะหาที่ไหนได้อย่างในเพลง

ยังหาได้ ยังมีอยูท่ ไี่ ม่ใกล้ไม่ไกลบ้าน เรานี่เองค่ะ ของดีบ้านเราฉบับนี้ คนศรี ภูมิใจน�ำเสนอมาก เพราะเป็นที่รู้กันว่า จิ น ตนาการของหาดริ ม ทะเลเมื อ งชล ไม่พน้ ภาพแสงสี เสียงเพลง ความสนุกสนาน ครึกครื้นและผู้คนมากมาย ร้านค้ามากมี เรือ รถ โต๊ะ เก้าอีแ้ น่นขนัด หาดขาวทีย่ าวสวย กลับเหลือความกว้างให้เดินไม่มาก ว่าแล้วท�ำให้นึกถึงประสบการณ์ที่ ชายหาดมีชื่อแห่งหนึ่ง เช้าตรู่ขณะเดิน เลียบหาด ปล่อยอารมณ์ให้เพลินไปกับ สายลมทะเลทีส่ มั ผัสหน้าและความเย็นนุม่ ของทรายทีเ่ ท้า ทันใดนัน้ เองมีเสียงตะโกน ดังขึ้น “ระวัง ! เรือชน” ใช่แล้วค่ะ เรือล�ำ ไม่เล็กไม่ใหญ่ ขนาดก�ำลังดีที่ชนแล้ว อาจ มองไม่ เ ห็ น ผู ้ ห ญิ ง สองคนที่ ตั ว ก็ ไ ม่ เ ล็ ก ไม่ใหญ่ หัวเรือพุง่ เข้ามาเกยเทียบหาดทราย ตรงทีค่ นศรีกบั เพือ่ นรุน่ พีก่ ำ� ลังเดินทอดหุย่ อยู่พอดี...เดชะบุญที่ยังรอดมาได้ สองสาว ได้ขอ้ สรุปในวันนัน้ ว่าผิดเองทีไ่ ปเดิน เนือ่ งจาก ตลอดแนวยาวของหาดเป็นพื้นที่ของเรือ มิใช่พื้นที่ของเรา แล้วจะมีหาดไหนที่จะ ฝากฟ้า ทะเลฝันได้อย่างเพลงพีเ่ บิรด์ ล่ะคะ ในทีส่ ดุ คนศรีกค็ น้ พบค่ะ หาดเล็ก ๆ ที่มีชื่อว่า ชายหาดบ้านอ�ำเภอ บ้านอ�ำเภอ คือ ชื่อต�ำบลแห่งหนึ่งที่อยู่ในความดูแล

20 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

ของเทศบาลนาจอมเทียน ในเขตสัตหีบ หาดเล็ก ๆ ทีโ่ ค้งประมาณเสีย้ วจันทร์วนั ขึน้ แปดค�่ำ ส่วนเว้าไม่ลึก ไม่ตื้นไป ความยาว ก�ำลังพอดีเดิน พอดีสายตา แวบแรกเมือ่ เห็น ชายหาดบ้านอ�ำเภอ จึงนับเป็นหาดที่ชวน อบอุ่นทีเดียว ทรายไม่ขาวละมุนเป็นแป้ง เหมือนฝั่งอันดามันก็จริง แต่ก็ขาวละเอียด สะอาดตา ไม่บาดเท้า เดินเท้าเปล่าได้ไม่ ตะขิดตะขวงใจว่าจะเจอของมีคมหรือขยะ ทอดสายตาไปเห็นคลื่นกระทบฝั่งได้เป็น แนวสวย มีพื้นที่ของทรายสีขาวให้รู้สึกว่า ได้มาถึงหาดทรายจริง ๆ ไม่ใช่ฟู้ดคอร์ท หรือโรงอาหารริมทะเลทีม่ เี ก้าอีแ้ ละโต๊ะเต็ม พื้นหาดเหมือนที่อื่น ๆ ต้นมะพร้าว ต้นปาล์ม แม้จะดูต้น ยังเล็กอยู่ ให้รู้ว่าเพิ่งปลูก เพิ่งพัฒนาได้ ไม่นาน แต่เรียงรายเป็นแถว เป็นแนวน่ารัก เพราะแต่ละต้นมีลูกกลม ๆ ติดคออยู่เต็ม ไปหมด จนต้องแอบเป็นก�ำลังใจให้โตไว ๆ มีรา้ นค้าจ�ำนวนก�ำลังพอดีกบั ขนาดของหาด

(หวังว่าอนาคตคงไม่เปลี่ยนไป) ร่มและ เก้ า อี้ ช ายหาด เตี ย งผ้ า ใบตั้ ง วางเป็ น ระเบียบ มีระยะห่างเป็นสัดส่วน ดูแล้ว ชื่นชมคนบริหารจัดการ ด้ า นขวาของหาดเป็ น เขื่ อ นหิ น ไว้กนั ทรายและคลืน่ ร่องน�ำ้ ของบ้านอ�ำเภอ ตอนเย็น ๆ ทีส่ นั เขือ่ นน่าเดินเทีย่ ว บรรยากาศ โรแมนติกมากค่ะ มีจุดพักที่จัดให้เป็น มุมของนักตกปลาด้วย เรียกว่าเทศบาล ที่พัฒนาหาดแห่งนี้เขาคิดจริง ๆ ไม่ใช่แค่ ท�ำให้สวยให้สะอาด แต่เขาต้องเข้าถึงใจ คนจริง ๆ ยิ่งตอนเย็นวันที่ท้องฟ้าโปร่ง อาทิตย์จะลับขอบฟ้าบริเวณนี้พอดี ช่าง เป็นภาพที่งดงามเหลือเกินค่ะ


ของดีบ้านเราฉบับนี้ จึงไม่ใช่แค่จะ ชื่นชมธรรมชาติ อันเป็นของดีที่อยู่คู่บ้าน เรามานาน แต่อยากจะปรบมือให้เทศบาล ต� ำ บลนาจอมเที ย นและทุ ก คนที่ มี ส ่ ว น เกีย่ วข้องกับการพัฒนาชายหาดบ้านอ�ำเภอ นี้ ขอยกให้เป็นของดีอกี อย่างหนึง่ ในแง่ของ ความตัง้ ใจในการพัฒนา การปรับปรุงภูมทิ ศั น์ นอกจากสวย สะอาด สงบ และมีความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของร้านรวงต่าง ๆ แล้ว ใกล้ ๆ กันนั้นยังมีสนามเด็กเล่นทันสมัย กว้างขวางให้ลูกหลานได้วิ่งเล่นด้วย ถัดมามีเรือนไม้ชั้นเดียวยกพื้นสูง ทาสีเขียวดูเย็นตาน่าสบาย แม้จะยังไม่มี ป้ายชื่อติดว่าเป็นเรือนอะไร แต่อดไม่ได้ที่ จะต้องขึ้นไปเยี่ยม ๆ มอง ๆ จึงพบกับ เจ้าหน้าที่ข้างในซึ่งเล่าให้ฟังว่า อนาคต เรือนหลังนีจ้ ะกลายเป็นห้องสมุดของต�ำบล ขณะนี้ก�ำลังรองบประมาณและแผนการ เตรียมงานต่าง ๆ อยู่ อีกไม่นานนอกจาก คนบ้านอ�ำเภอจะมีหอ้ งสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้ลกู หลานแล้ว คนอืน่ ๆ ทีม่ าเทีย่ วพักผ่อน ริมหาดแห่งนี้ ก็จะมีมุมสงบ ๆ ให้เลือก หย่อนใจได้มากขึ้น หากมากันเป็นครอบครัวใหญ่ เบื่อ เล่นน�ำ้ ชมทะเลแล้ว หนุม่ ๆ สาว ๆ จะแยกมา นั่งอ่านหนังสือ ท�ำการบ้านต่อที่ห้องสมุด

ปล่อยให้พอ่ กับแม่พากันเกีย่ วก้อยไปเดินเล่น ที่สันเขื่อน หรือจะปล่อยพ่อไปนั่งตกปลา แม่พาน้องเล็กๆ มาวิ่งเล่นที่สนามเด็กเล่น ส่วนวัยรุ่นแยกมาตั้งก๊วนเฮฮาริมหาดก็ ยังได้ คนศรีฝากไปถึง อบต.บ้านอ�ำเภอ ด้วยนะคะ ว่าขอบคุณที่พัฒนาสิ่งดี ๆ ให้ หาดเล็ก ๆ แห่งนีเ้ ป็นทีพ่ กั ผ่อนทีค่ นบ้านเรา ได้หย่อนใจกับสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ ลือกสรรมาแล้ว แบบคิดถึงใจกันจริง ๆ เพราะเดีย๋ วนีห้ ลาย ๆ หาดในเมืองชลบ้านเรากลายเป็นเหมือน ศูนย์การค้า โรงอาหาร แม้แต่ในทะเลก็ี หาความสงบไม่ ไ ด้ เพราะมี ส กู ๊ ต เตอร์ ฉวัดเฉวียนเสียงดังชวนปวดหัว...การที่จะ ไปเดินเล่น จูงมือ ท�ำโรแมนติกมีแต่ใน ละครเท่านัน้ ของจริงท�ำไม่ได้...การจราจร ทั้งบนหาดและในน�้ำติดขัดเหลือเกิน แต่มาเทีย่ วหาดบ้านอ�ำเภอแล้วไม่ตอ้ ง ระวัง “เรือชน” ค่ะ มาแล้วจะฮัมเพลงท่อนฮุกของพีเ่ บิรด์ ได้อย่างสบายใจ...มองไปสุดตา สุดไกล สายตา จรดฟ้าคราม มองดูคลืน่ งามเป็นฟองขาวนวล เมือ่ ซัดมา ท้องฟ้า ท้องทะเลงาม คือ ความรัก ความรักที่เรามีต่อกัน …ความรักที่มีต่อ ทะเลบ้านเรา

การเดินทาง เส้นทางถนนสุขมุ วิท หลักกิโลเมตรที่ 159 ห่างจากชลบุรีประมาณ 66 กิโลเมตร จุดสังเกตคือ เมือ่ ผ่านพัทยาและนาจอมเทียน จนเข้าเขตตำ�บลบ้านอำ�เภอแล้วด้านขวามือ จะเห็นวิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี และ ต่อมา คือ วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบให้กลับรถ ด้านหน้าของวิทยาลัยเทคนิค ขับย้อนขึน้ มา โดยชิดขอบถนนด้านซ้ายมือไว้ จนกระทั่ง พบทีท่ ำ�การไปรษณียข์ องตำ�บลบ้านอำ�เภอ ขับตรงไปสุดแนวรั้วไปรษณีย์ก็จะเป็นทาง เข้าหาดบ้านอำ�เภอ ขอบคุณ ภาพถ่ า ยชายหาดบ้ า นอำ � เภอยามเย็ น ของคุ ณ ศุ ภ กิ จ จากhttp://www.thaidphoto.com/forums/show thread.php?t=30062 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

21


ปราชญ์ ชุมชน

โดย สรีชา

ท�ำให้เห็น เป็นให้ดู อยู่ให้มีคุณค่า

ถ้าเป็นเมื่อเดือนที่แล้ว ใครที่อยากจะมาคุยกับผู้ใหญ่ ประวัติ สนิทข�ำ อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ 2 ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จะต้องมาตอนเย็น ๆ หรือไม่ก็ต้องไปหาที่ไร่ผัก เพราะปีนี้แม้ ผู้ใหญ่ประวัติจะอายุย่างเข้า 76 ปีแล้ว แต่ยังไม่ยอมอยู่นิ่ง ทุกวันผู้ใหญ่กับแม่บ้านคู่ชีวิต คือ ป้าเฉลียว สนิทข�ำ จะต้อง ออกไปช่วยกันท�ำงาน แม้ลูก ๆ จะโตมีงานมีการท�ำกันหมด แล้ว แต่ทั้งสองคนยังไปปลูกผักในพื้นที่รกร้างที่เจ้าของยัง ไม่มาท�ำประโยชน์อะไร “พออายุมาก ๆ ก็มาคิดว่าจะปลูกอะไรได้บา้ ง ไปท�ำสวนยาง ท�ำนาอย่างเมือ่ ก่อนอาจไม่ไหว เลยมาปลูกผัก ตะไคร้ มะเขือ พริก ถัว่ แตง ข้าวโพด กะเพรา เพราะเบาแรง ลงทุนน้อย และพอได้กนิ ได้ใช้ ขายได้ 100 ใช้ 50 เหลือ 50 เราแก่แล้วแต่ก็ไม่ต้องพึ่งใคร” เดือนก่อนเจ้าของที่เพิ่งจะมาไถรื้อแปลงผักทิ้งไป ท�ำให้ ทั้งสองได้หยุดพักมานั่งอยู่ที่บ้าน แต่อดไม่ได้ที่จะต้องปลูกพริก ปลูกกะเพราไว้ตามมุมต่าง ๆ “ไว้กนิ ไว้ใช้ได้ ไม่ตอ้ งซือ้ หา ใครอยากได้กม็ าเด็ดไป” ผูใ้ หญ่ เล่ายิ้ม ๆ คนละแวกนีท้ งั้ หมูบ่ า้ นมักจะเรียกผูใ้ หญ่ ๆ จนติดปาก เพราะ ผูใ้ หญ่ประวัตเิ ป็นผูใ้ หญ่บา้ นมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2528 เมือ่ ถามว่าเป็น มากี่สมัย แกจ�ำไม่ได้ นับไม่ถูก รู้แต่ว่าเป็นมานานแล้ว

22 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

ผู้ใหญ่ประวัติ สนิทข�ำ

เมื่อก่อนลูกบ้านมีกันเพียง 100 กว่าครัวเรือน งานหน้าที่ ผูใ้ หญ่บา้ นจึงไม่มอี ะไรวุน่ วายมากนัก แกเล่าว่า “ส่วนใหญ่เป็นงาน อ�ำนวยความสะดวกให้ลกู บ้านอย่างการท�ำทะเบียนราษฎร์ แจ้งเกิด แจ้งตาย หรือเวลามีงานส�ำคัญอย่างวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี จะมีการท�ำความสะอาด ตัดหญ้า ตกแต่งหมู่บ้านให้สวยงาม” ป้าเฉลียวคู่ชีวิตเล่าเสริมให้ฟังว่า “สมัยที่ลุงเป็นผู้ใหญ่ แกออกไปลุยท�ำเองทุกอย่าง ทัง้ กวาดถนน ตัดหญ้า เก็บขยะ อาจเป็น เพราะนิสัยประจ�ำตัวที่ไม่เคยเกี่ยงงาน และไม่ยอมอยู่เฉย ตามประวัตชิ วี ติ ของลุงผูใ้ หญ่นนั้ เมือ่ ก่อนก็เหมือนคนเก่าแก่ ละแวกนี้ทั่วไป ที่มีนาปลูกข้าวเป็นชาวนาอาชีพ ลุงแกท�ำนาข้าว อยู่ 10 ไร่ ได้ข้าวพอกินในครอบครัวแต่ละปี สมัยนั้นท�ำนาปีได้ ข้าวปีละครั้งเท่านั้น” เมือ่ ถามถึงเรือ่ งท�ำนา แววตาของลุงผูใ้ หญ่ทแี่ ม้จะสูงวัยมากแล้ว กลับสุกใสขึ้นทันทีที่ได้เล่าถึงภูมิปัญญาของชาวนารุ่นนั้น ลุงเล่า ถึงพันธุข์ า้ วพืน้ บ้านดัง้ เดิมของชลบุรที ปี่ จั จุบนั สูญพันธุไ์ ป ลูกหลาน ไม่มีใครรู้จักอีกแล้ว


“เมือ่ ก่อนข้าวทีป่ ลูกไม่เหมือนอย่างปัจจุบนั นาดอนจะปลูก พันธุเ์ หลืองร่วง ทีช่ อื่ นีก้ เ็ พราะเวลาข้าวสุก ลมพัดนิดเดียวก็รว่ งแล้ว ร่วงง่าย ถ้าเป็นนาหนอง คือ มีน�้ำท่วมถึง จะต้องเลือกปลูกพันธุ์ เหลืองต้นสด มันจะทนน�้ำได้มากกว่า แล้วยังมีพันธุ์ขาวกอเดียว กินอร่อย ไม่แข็ง ไม่ฝืดคอ ถ้าท�ำดี ไร่หนึ่งได้ถึง 50 ถัง ไม่ต้อง ใส่ปุ๋ย ใส่ยา ต้นทุนไม่แพงเลย” ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้แฝงอยู่ในตัวคนเก่า ผู้เฒ่าของ ชุมชนมากมาย หากลูกหลานได้มาใช้เวลานัง่ คุย จะเหมือนได้พบ ขุมสมบัติอันมีค่ามหาศาล นอกจากภูมิความรู้แล้วยังมีภูมิธรรม ที่เราได้ซึมซับผ่านเรื่องเล่าชีวิตของท่านเหล่านี้อีกด้วย ลุงผู้ใหญ่ เล่าให้ฟงั ต่อว่า เมือ่ เว้นจากหน้านา ก็หาอย่างอืน่ ท�ำ ไม่ยอมงอมือ งอเท้า ลงทุนท�ำไร่มันส�ำปะหลังอีก 30 ไร่ ข้ามจังหวัดไปปลูก ยางพาราอีก เพราะถือคติที่ว่า “ถ้าขยันท�ำกิน ยังไงก็ไม่มีอด ขอให้ขยัน อย่าไปท้อ” ชาวบ้านทีค่ นุ้ เคยจะรูว้ า่ ลูกสามคนของพ่อผูใ้ หญ่ ทัง้ ลูกชาย คนโต คนรอง และลูกสาวคนเล็ก ทุกวันนี้แต่ละคนเอาแบบอย่าง พ่อ คือ ขยันท�ำมาหากินโดยเฉพาะลูกชาย พ่อผู้ใหญ่คุยให้ฟังว่า ไม่เที่ยว ไม่ดื่ม ไม่สูบบุหรี่ เพราะมีพ่อท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่าง “ลูกจะเห็นว่าพ่อท�ำมาอย่างนี้ตลอด ไม่กิน ไม่ดื่ม ไม่เที่ยว เพราะไม่ชอบ ตั้งแต่หนุ่มแล้วไม่เคยชอบ คนโบราณเขามีกินบ้าง แต่ไม่กนิ อย่างคนสมัยนี้ เขารูว้ า่ ต้องท�ำมาหากินเก็บไว้ให้ลกู หลาน แล้วเราต้องรูจ้ กั อยูใ่ นกลุม่ เพือ่ นทีด่ ี คนเราจะต้องเลือกคบคน คบ แต่คนที่ชวนไปท�ำในสิ่งดี ๆ และการที่เราท�ำให้เห็นว่าอายุป่านนี้ เรายังไม่ยอมพัก เขาจะได้ตัวอย่างของความขยัน อดทน ชีวิตก็ จะเจริญ” นอกจากคุณธรรมของความขยัน ความตัง้ ใจสุจริต มีสมั มาสติ คือ คิดดี ท�ำดีแล้วนัน้ การมีคชู่ วี ติ ทีด่ อี ย่างป้าเฉลียว สนิทข�ำ ยังเป็น ปัจจัยความสุข ความส�ำเร็จในชีวิตที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง ลุงผู้ใหญ่ แอบกระซิบให้ฟังว่า “ไม่ได้ป้าแก ลุงมีไม่ได้ถึงวันนี้ ป้าแกเป็น คนประหยัด” ป้าจึงรีบสวนกลับมาทันที “คนเราต้องรูจ้ กั กิน รูจ้ กั ใช้ รูจ้ กั เก็บ ไม่ใช้เงินฟุ่มเฟือย ต้องคิดถึงวันข้างหน้า วันไหนที่ท�ำไม่ไหว หรือ เกิดอุบัติเหตุจะท�ำอย่างไร” ทุกวันนีแ้ ม้เวลากลางวันจะอยูบ่ า้ นกันเพียงสองคนตายายกับ สุนขั อีกสองสามตัว แต่ลกู หลานไม่ตอ้ งเป็นห่วงมาก เพราะทัง้ สอง ยังแข็งแรง ซึง่ ลุงกับป้าตอบเป็นเสียงเดียวกัน เมือ่ ถามถึงเคล็ดลับ การดูแลสุขภาพ คือ ต้องออกก�ำลังกาย การออกก�ำลังกายของทัง้ สองคนคือการท�ำงานนั่นเอง

เหลียวมองไปรอบบ้าน นอกจากความเขียวชอุ่มของต้นไม้ นานาที่ปลูกเต็มพื้นที่ โดยรอบดูสะอาด เหลือบไปเห็นไม้กวาด ที่ท�ำจากกิ่งไม้แห้งมารวบเป็นก� ำ เป็นไม้กวาดแบบดั้งเดิมที่ ไม่เห็นมานานแล้ว จึงถามไถ่ว่ามีที่มาอย่างไร ป้าเฉลียวเล่าว่า “ไปเก็บมาจากกลางทุง่ เก็บมารวบมาก�ำท�ำ ไว้ใช้เอง ที่เห็นมีอยู่หลายสิบอันทีเดียว แค่ไม้กวาดนี้ก็ท�ำให้เข้าใจ แล้วว่า ค�ำโบราณที่ลุงผู้ใหญ่พูดให้ฟังแต่ต้นว่า ขยันท�ำมาหากิน รู้จักกิน รู้จักใช้ รู้จักเก็บ ชีวิตจึงเจริญ สมัยนี้ไม้กวาดอันเดียว 25-40 บาท ส่วนใหญ่คงซือ้ กันโดยไม่คดิ อะไรมาก แต่คนรุน่ ลุงกับป้า มองอะไรข้างทาง สามารถน�ำมาท�ำใช้เองได้โดยไม่ตอ้ งเสียสตางค์ แถมใช้งานได้ดีเสียด้วย” (ถ้าคนเคยใช้จะรู้ว่าไม้กวาดอย่างนี้ กวาดเศษใบไม้ได้ดีมาก) ระหว่างคุยกันหมาตัวขาวทีม่ ชี อื่ เป็นน�ำ้ สีดำ� ว่าเป๊บซี่ หมาตัวเก่ง ทีห่ วงลุงผูใ้ หญ่ เฝ้าเดินตามอยูไ่ ม่หา่ ง มานัง่ ฟังอยูต่ ลอด ลุงผูใ้ หญ่หนั ไปลูบหัวมันเป็นพัก ๆ ก่อนจะหันมาพูดประโยคหนึง่ โดยทีไ่ ม่ได้ถาม “จะท�ำอะไรต้องไม่คิดเห็นแก่ตัว อย่าไปคิดโกงใคร คิดแต่ สิ่งดีเข้าไว้ มีใจโอบอ้อมอารี คิดดีแล้วก็ท�ำดีเท่านี้” เจ้าเป๊บซีผ่ งกหัวคิดมองลุง เหมือนกับจะเข้าใจและสนับสนุน สิ่งที่ลุงผู้ใหญ่พูด ลุงจึงรับขวัญมันด้วยการลูบหัวไปอีกทีหนึ่ง สองชัว่ โมงของการนัง่ คุยกับเรือ่ งเล่าเก่า ๆ ทีด่ เู หมือนไม่มอี ะไร แต่ชวี ติ ทีล่ งุ ผูใ้ หญ่เล่าให้ฟงั ง่าย ๆ ท�ำให้คนรุน่ หลังเข้าใจและอยาก สรุปชีวติ ของผูใ้ หญ่ประวัติ ปราชญ์ชมุ ชนของบ้านทุง่ สุขลาสัน้ ๆ ว่า ภูมิธรรมที่น�ำชีวิตให้เจริญของท่านนั้น คือ ท�ำให้เห็น เป็นให้ดู อยู่ให้มีคุณค่า...ซึ่งคนรุ่นหลังอย่างเราควรน�ำมาไตร่ตรองและ ยึดเป็นแบบอย่าง

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

23


รู้จักพลังงานทางเลือก โดย ติมา

พลังงาน

ลม

ลูกทะเลอย่างคนเมืองชลบ้านเรานี้ นอกจากจะคุ้นเคย กับน�ำ้ แล้ว ธรรมชาติอกี อย่างหนึง่ ทีอ่ ยู่ใกล้ตวั มาก แม้จะมอง ไม่เห็น ไม่มีตัวให้จับต้อง แต่ก็รับรู้ สัมผัสได้ นั่นคือ ลม หรือ อากาศ แน่นอนว่าเราไม่เคยเห็นอากาศ แต่ทุกคนรู้ว่าเราอยู่ ได้ด้วยการหายใจเอาอากาศเข้าไป หรือเวลายืนอยู่ริมทะเล กลางแดดร้อนแล้วมีความเย็นมาสัมผัสใบหน้า บางทีสัมผัส เบา ๆ บางทีก็แรงจนมีเสียงดัง วู้... วู้... วิ้ว... วิ้ว... นี่แหละ คือพลังงานลม

24 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

พลังงานสะอาด ลมเกิดจากการเคลือ่ นทีข่ องอากาศ ซึง่ เกิดขึน้ เพราะมีความ แตกต่างของอุณหภูมิ เมื่ออากาศร้อนลอยตัวสูงขึ้น อากาศจาก บริเวณอืน่ ซึง่ เย็นและหนาแน่นมากกว่าจึงเคลือ่ นเข้ามาแทนที่ การ เคลื่อนที่นี้ท�ำให้เกิดพลังงานที่เราสัมผัสได้ในรูปของลม นอกจาก อุณหภูมแิ ล้วความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก ยังเป็นสาเหตุทำ� ให้เกิดลม บริเวณทีม่ กี ารเคลือ่ นทีข่ องอากาศมาก ก็จะมีลมมาก ในประเทศไทยก็คอื แนวฝัง่ ทะเลอันดามัน และด้าน ทะเลจีนใต้หรืออ่าวไทยบ้านเรานี่เอง พลังงานลมจึงเป็นพลังงานที่มีอยู่รอบตัว ไม่ต้องซื้อหา เป็นพลังงานสะอาดไม่ก่ออันตรายต่อสภาพแวดล้อม น�ำมาใช้ ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมด มนุษย์เราเรียนรู้ที่จะใช้ประโยชน์ จากพลังงานลมมานานหลายพันปีแล้ว เช่น ใช้แล่นเรือใบขนส่ง สินค้าไปได้ไกล ๆ ใช้หมุนกังหันวิดน�้ำ หมุนโม่หินบดเมล็ดพืชให้ เป็นแป้ง ปัจจุบันพลังงานลมยังเป็นพลังงานทางเลือกที่มีอนาคต ในการใช้เป็นพลังงานผลิตตั้งต้นเพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า “กังหันลม” คือ อุปกรณ์สำ� คัญทีน่ ำ� มาใช้เปลีย่ นพลังงานลม ให้เป็นพลังงานกลที่น�ำมาใช้ประโยชน์ต่อไป โดยอาศัยหลักการ ง่าย ๆ กล่าวคือ เมือ่ กระแสลมพัดผ่านใบกังหันจะเกิดการถ่ายทอด พลังงานจลน์ไปสูใ่ บกังหัน ท�ำให้กงั หันหมุนรอบแกน และพลังงาน จากการหมุนนี้ก็จะน�ำไปใช้งานต่อได้


กังหันลมที่ใช้กันมากในประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลมแบบใบกังหันไม้ใช้ส�ำหรับฉุดระหัดวิดน�้ำเข้า นาข้าวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา กังหันลมใบเสื่อล�ำแพนใช้ฉุด ระหัดวิดน�้ำเค็มเข้านาเกลือบริเวณจังหวัดสมุทรสงคราม และ กังหันลมแบบใบกังหันหลายใบซึ่งท�ำด้วยแผ่นเหล็กใช้ส�ำหรับสูบ น�้ำจากบ่อน�้ำบาดาลขึ้นไปเก็บในถังกักเก็บ ส่วนการใช้กังหันลม เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กังหันลมที่พัฒนากันขึ้นมานั้นจะมีลักษณะและรูปร่าง แตกต่างกันออกไป ถ้าจ�ำแนกตามลักษณะแนวแกนหมุนของกังหัน จะได้ 2 แบบ คือ กังหันลมแนวแกนตั้งซึ่งมีแกนหมุนและใบพัด ตัง้ ฉากกับการเคลือ่ นทีข่ องลมในแนวราบ และกังหันลมแนวแกนนอน ซึง่ มีแกนหมุนขนานกับการเคลือ่ นทีข่ องลมในแนวราบ และมีใบพัด เป็นตัวตั้งฉากรับแรงลม ในประเทศไทยมีการน�ำพลังงานลมมาประยุกต์ใช้งาน แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. ใช้เพื่อการระบายอากาศจากหลังคา ซึ่งเราจะเห็นได้ ตามหลังคาโรงงานหรือบ้านพักอาศัย ใช้อปุ กรณ์ราคาไม่แพงและ หลักการง่าย ๆ ช่วยระบายอากาศร้อนภายในอาคารได้ ท�ำให้อยู่ สบายขึ้นและช่วยประหยัดพลังงานท�ำความเย็นไปได้อีก 2. ใช้เพื่อการสูบน�้ำ โดยใช้กังหันลมเป็นตัวผลิตพลังงาน ในการชักหรือสูบน�้ำจากที่ต�่ำขึ้นที่สูงเพื่อใช้ในการเกษตร การท�ำ นาเกลือ การอุปโภคและการบริโภค ปัจจุบนั มีใช้อยูด่ ว้ ยกัน 2 แบบ คือ แบบระหัด และแบบสูบชัก ในประเทศไทยมีการติดตั้งใช้งาน ไม่น้อยกว่า 6,000 ตัว 3. ใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ปัจจุบันมีการใช้ทั้งกังหันลม ขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) และกังหันลมขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) ศักยภาพของพลังงานลมที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ ส�ำหรับประเทศไทยมีความเร็วอยู่ระหว่าง 3-5 เมตรต่อวินาที

และความเข้มพลังงานลมที่ประเมินไว้ได้อยู่ระหว่าง 20-50 วัตต์ ต่อตารางเมตร ทีแ่ หลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ได้ตดิ ตัง้ และสาธิต การใช้งานกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟ้าจ�ำนวน 7 ตัว มีก�ำลังการผลิต ไฟฟ้ารวม 192 กิโลวัตต์ ในละแวกบ้านเราก็มใี ห้เห็น เช่น ร้านอาหาร ชือ่ ดังทีช่ ายหาดบ้านอ�ำเภอน�ำกังหันลมขนาดเล็กมาติดตัง้ เพือ่ ผลิต ไฟฟ้าใช้เอง ได้ยินว่าใช้งานได้ดี ประหยัดค่าไฟไปได้มาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ไม่หยุดยั้ง ท�ำให้พลังงาน ลมที่ติดตั้งแล้วมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้น 30% ใน 2-3 ปี ที่ผ่านมา องค์กรที่ดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อมระดับโลกอย่างกรีนพีซ คาดการณ์ว่าเป็นไปได้ที่พลังงานลมจะสามารถผลิตพลังงานได้ ถึง 12% ของพลังงานทั้งโลกภายในปี พ.ศ. 2563 นอกจากนี้ ค่าใช้จา่ ยในการผลิตก็ลดลงถึง 50% ใน 15 ปีทผี่ า่ นมา นักวิชาการ จึงเชื่อว่ากังหันลมในสถานที่ที่เหมาะสมที่สุด สามารถผลิตไฟฟ้า แข่งขันกับโรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินได้ และในบางสถานที่อาจสู้ กับโรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซได้อีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีการค�ำนวณว่าการใช้พลังงานลมในปัจจุบนั สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 10,700 ล้านตัน และมีการน�ำพลังงานลมไปใช้แล้วใน 50 ประเทศ ผู้น�ำในด้านนี้ คือ เยอรมนี สเปน และเดนมาร์ก ส่วนประเทศอื่น ๆ ได้เริ่มหัน มาสนใจ ท�ำให้อุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานลมก�ำลัง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยเองที่ มี ป ั ญ หาความขั ด แย้ ง เรื่ อ งการสร้ า ง โรงไฟฟ้าต่าง ๆ จากพลังงานเชือ้ เพลิงทีท่ ำ� ให้ทกุ คนกังวลถึงความ ปลอดภัยและอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม อาจต้องหันกลับมาศึกษา ความเป็นไปได้ของการใช้พลังงานลม พลังงานสะอาดที่เรามีอยู่ ไม่จำ� กัดตลอดสองชายฝัง่ ทะเลภาคใต้และภาคตะวันออก รวมทัง้ อุตสาหกรรมหรือแม้กระทัง่ ร้านค้าริมทะเลคงต้องคิดถึงพลังงานลม พลังงานแสนสะอาดใกล้ตัวนี้ให้มากขึ้น ข้อมูลอ้างอิง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน www.greenpeace.org

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

25


กระบอกเสีย งชุมชน โดย กองบรรณาธิการ

หากสามารถย้ อ นเวลากลั บ ไป ในอดี ต เมื่ อ 50 ปี ที่ แ ล้ ว ภาพที่ เ ห็ น ของต� ำ บลทุ ่ ง สุ ข ลา อ� ำ เภอศรี ร าชา จังหวัดชลบุรี ในยามที่ผู้คนอาศัยยังไม่ หนาแน่น คือ ทุง่ นา ป่าเขา และท้องทะเล อาชี พ หลั ก ของชาวชุ ม ชนอ่ า วอุ ด ม และแหลมฉบังคือ ท�ำนา ท�ำสวน และหาปลา 3 สิงหาคม 2504 บริษัท โรงกลั่น น�ำ้ มันไทย จ�ำกัด โรงกลัน่ เอกชนแห่งแรก ของประเทศ ได้ ล งหลั ก ปั ก ฐาน ณ ผืนแผ่นดินแห่งนี้ ด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท ถือเป็นบริษัทกลุ่มแรก ๆ ที่ เข้ามาสร้างงาน สร้างโอกาสใหม่ ๆ ให้ กับคนในพื้นที่ชุมชนโดยรอบ รวมทั้ง ดึงดูดคนจากทัว่ ทุกหัวระแหง ให้เดินทาง เข้ า มาเป็ น หนึ่ ง ในกลุ ่ ม แรงงานภาค อุตสาหกรรมในแถบพื้นที่บริเวณนี้ ต่างคนต่างทีม่ าภายใต้ชมุ ชนเดียวกัน “ถึงจะเกษียณแล้ว แต่ก็ไม่ย้ายไป ไหน เพราะที่นี่กลายเป็นบ้านไปแล้ว” ค� ำ กล่ า วข้ า งต้ น ของคุ ณ สมทบ เนตราคม พนักงานรุ่นแรก ๆ ของบริษัท ไทยออยล์ คือสิ่งยืนยันถึงความผูกพันที่ พนักงานไทยออยล์มีให้กับชุมชน เวลา ครึ่งศตวรรษที่ไทยออยล์สร้างหลักปักฐาน อยู่ที่ชุมชนอ่าวอุดม ด้วยพนักงานเริ่มต้น เพียงไม่ถึงร้อยคน จนเติบโตถึงปัจจุบัน ที่มากกว่า 1,400 คน ถือเป็นการสร้างงาน ให้กบั ชุมชนในท้องถิน่ นีแ้ ละบริเวณใกล้เคียง แม้แต่บุคลากรกลุ่มแรกที่ผ่านการอบรม จากกรุงเทพฯ โดยผ่านการคัดเลือกมา จากทั่วประเทศ ถึงแม้จะต่างคนต่างที่มา แต่ทุกคนมีจุดหมายเดียวกัน คือ การมา อาศัยกินอยู่และท�ำงานบนดินแดนผืนนี้ พนักงานรุน่ แรก ๆ หลายคนสร้างครอบครัว

26 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

50 ปี แห่งความผูกพัน ครอบครัวเดียวกันชุมชน-ไทยออยล์

อยู่ในชุมชน มีที่แห่งนี้เป็น “บ้าน” ถึงแม้ จะเกษียณไปนานแล้วก็ตาม รักสิง่ แวดล้อม ห่วงใยชุมชน หนึง่ ใน ปณิธานของไทยออยล์ ไทยออยล์ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ ดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มตลอดมา ถึ ง แม้ สมาชิกไทยออยล์จะหมุนเวียนเปลี่ยนไป รุน่ แล้วรุน่ เล่า แต่สงิ่ หนึง่ ทีไ่ ม่เคยเปลีย่ นไป คือ “หัวใจรักสิ่งแวดล้อมและการห่วงใย ชุมชน” คนไทยออยล์จะดูแลเสมือนหนึ่ง เป็น “บ้าน” ของตนเอง ด้วยมาตรการ ควบคุ ม ดู แ ลสภาพแวดล้ อ มทั้ ง ภายใน รวมไปถึงชุมชนรอบ ๆ ไทยออยล์ โดยยึดถือ แนวคิดที่ว่า “คุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน โดยรอบ คือรั้วที่ดีและยั่งยืนที่สุด” ศู น ย์ สุ ข ภาพและการเรี ย นรู ้ เ ครื อ ไทยออยล์เพื่อชุมชน คือตัวอย่างหนึ่งของ ความห่วงใยทีไ่ ทยออยล์มตี อ่ ชุมชน ทัง้ การ ให้บริการด้านทันตกรรม การดูแลสุขภาพ ตามแนวทางเวชศาสตร์ชุมชน การท� ำ แผนทีส่ ขุ ภาพ การส่งเสริมการเรียนรูอ้ ย่าง สร้างสรรค์ เพื่อสร้างสุขภาวะทางกาย จิต

สังคม และปัญญา หรือความสุขที่ยั่งยืน ของพี่น้องในชุมชน ช่วยเหลือ แบ่งปัน สร้างสรรค์สงั คม การอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข ความสัมพันธ์ทไี่ ทยออยล์กบั ชุมชนมี ร่วมกัน เห็นได้จากกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ที่ ต ่ า งช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล พึ่ ง พาอาศั ย ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ เมื่อมีกิจกรรมของ ชุมชน เช่น ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า งานเทศกาล ประเพณีส�ำคัญต่าง ๆ ไทยออยล์จะอาสา เป็นเจ้าภาพหรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งใน งานนั้น ๆ ในทางกลับกันเมื่อไทยออยล์ ต้องการความช่วยเหลือใด ๆ ก็ตาม ชาวบ้าน ในชุมชนจะให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มที่ ด้วยความเต็มใจ เสมือนเป็นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน เสียงสะท้อนจากคนคุน้ เคย ผูอ้ าวุโสในชุมชนทีค่ ยุ้ เคยกับไทยออยล์ บางท่านอยู่ที่นี่มานานก่อนอายุไทยออยล์ เสียอีก ได้เล่าให้ฟังถึงความสัมพันธ์ของ ชุมชนกับไทยออยล์ที่มีมาช้านานว่า


คุณทองสุข รอดพันธุ์ ผู้อาวุโสเขาพุ

“ผมเกิดทีน่ ี่ เป็นคนท้องถิน่ อ่าวอุดม สมัยก่อนอ่าวอุดมเขาไม่ได้เรียกอ่าวอุดม เขา เรียกหนองกระสือ ตอนหลังเปลี่ยนเป็นอ่าวอุดม เคยท�ำงานเป็นหัวหน้า รปภ. อยู่กับ บ.แปซิฟิก โปรคอน บริษัทผมเป็นผู้ก่อสร้างโรงกลั่นไทยออยล์อีกที พอสร้างเสร็จบริษัท ย้ายกลับประเทศ เขาให้ผมไปเป็น รปภ. ของไทยออยล์ ผมดูแลทรัพย์สินของไทยออยล์ แต่ท�ำอยู่แค่ประมาณปีเศษ ระหว่างที่ผมเป็นผู้รับเหมาของไทยออยล์ ผมอยู่ในโรงกลั่นเข้าออกอยู่ทุกประตู ผมเป็นหัวหน้ายามมีสิทธิเข้าไปดูแล ไปจับขโมย ตอนนั้นพนักงานยังมีไม่มาก หลายคน ย้ายไปหรือเสียชีวติ ไปแล้ว ผมสามารถจ�ำคนเก่าคนแก่ของไทยออยล์ทผี่ า่ นประตูทกุ วัน ๆ ได้ เช่น นายเชาว์ เชาว์ขวัญยืน ในช่วงแรก ๆ โรงกลัน่ มีกลิน่ เหม็น จ�ำได้วา่ สมัยนัน้ ท�ำงานต้องมีหน้ากากใส่ หลัง ๆ เห็นมีมาปรับปรุงกัน รูส้ กึ ว่าค่อยยังชัว่ ขึน้ เยอะ ไม่คอ่ ยได้กลิน่ เหมือนก่อนแล้ว ดีกว่าก่อน เห็นไทยออยล์จ้างบริษัทมาตรวจอากาศด้วย สุดท้ายอยากฝากกับไทยออยล์ว่า เราอยู่กันแบบพี่แบบน้องกัน มีอะไรก็คุยกันได้ ผมขอให้บริษัทรุ่งเรืองตลอดไป”

คุณสิทธิชัย ธัญลวะณิชย์

อดีตประธานชุมชนวัดมโนรม

“ผมเป็นประธานชุมชนวัดมโนรม มาตั้ ง แต่ ป ี 2538 จนถึ ง ปลายปี 2553 จึ ง ได้ ล าออกไปสมั ค รเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก เทศบาลแหลมฉบังในนามกลุ่มอิสระแต่ ไม่ได้เป็น ตอนหลังพอเป็นเทศบาลนคร แหลมฉบังแล้ว ท่านนายกฯ ให้ไปเป็น

ที่ปรึกษาพิเศษร่วมงานกับเทศบาลนคร แหลมฉบัง ในฐานะที่เป็นประธานชุมชน มานานกว่าเพื่อน เลยมีความสัมพันธ์กับ ไทยออยล์มายาวนานเช่นกัน รู้สึกได้ว่า ไทยออยล์มีความห่วงใยในชุมชนจริง ๆ ร่วมงานกันมาตลอดทุกปี มีอะไรก็ร่วมกัน พัฒนาร่วมปรึกษาหารือกัน ตั ว อย่ า งกิ จ กรรมที่ ร ่ ว มสนั บ สนุ น เช่น ปีหนึ่ง ๆ ทางไทยออยล์จะมีการออก หน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่ร่วมกับเทศบาล นครแหลมฉบังและ รพ.อ่าวอุดม นอกจาก ตรวจสุขภาพแล้วก็มีสิ่งของมาบริจาคให้ กับชุมชน จับของขวัญบ้าง จัดกิจกรรม ต่าง ๆ บ้าง หรือกิจกรรมที่พา 7 ชุมชนไป ศึกษาดูงานต่างจังหวัดทุกปี วันเข้าพรรษา ก็พาชุมชนไปถวายเทียน 9 วัด ในเขตของ เรา ผมถือว่าเป็นสิ่งที่ดี เพราะชุมชนหรือ

กรรมการชุมชนได้ร่วมท�ำบุญกุศลกันทุกปี ท�ำให้บริษัทฯ ผูกพันกับชุมชนมาตลอด เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของ ไทยออยล์ ผมในนามตัวแทนคณะกรรมการ ชุ ม ชนหรื อ ชาวบ้ า นในชุ ม ชนวั ด มโนรม ขออวยพรให้ ท างโรงกลั่ น ไทยออยล์ ทุกหน่วยงาน จงมีกิจการเจริญรุ่งเรือง ก้าวหน้า ขยายธุรกิจให้ใหญ่โตตลอดไป และขอขอบคุณที่เครือไทยออยล์มาร่วม กิจกรรมกับชุมชนวัดมโนรมเสมอมา และ ขอฝากว่าอย่าลืมชุมชนวัดมโนรม ขอให้ มาร่วมกิจกรรมหรือร่วมพัฒนาชุมชนให้ ชุมชนเราเจริญก้าวหน้าตลอดไป เราอยู่ ใกล้กนั มันก็เหมือนพีน่ อ้ ง มีอะไรช่วยเหลือ กันได้ก็ช่วยกันไป ทางชุมชนมีอะไรที่พอ จะช่วยไทยออยล์ได้ก็ยินดี รวมทั้งการร่วม กิจกรรมกับไทยออยล์ทุกอย่างครับ”

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

27


คุณสมพงษ์ นิลรักษ์ และครอบครัว ที่ปรึกษาชุมชนตลาดอ่าวอุดม

“เดิมผมเป็นคนอ่างทอง แต่มาอยู่ศรีราชาตั้งแต่ปลายปี 2497 ช่วงหลังมาขายของแถวตลาดอ่าว ได้ 40 กว่าปีแล้ว ช่วงที่ไทยออยล์ก�ำลังก่อสร้างโรงกลั่น ผมยังอยู่ที่ศรีราชา ปัจจุบันนี้ผมเป็นที่ปรึกษาชุมชนตลาดอ่าว โดยมีอาจารย์เสถียรเป็นประธาน ที่ผ่านมาไทยออยล์ ดูแลชุมชนดี พยายามถามว่ามีปัญหาอะไรไหม หากมีทางชุมชนเราก็แจ้งไป คุณสาวิตร คุณวัชรินทร์ คอยมาถามไถ่ในกลุม่ ชุมชนทัง้ หมด 7 ชุมชนในละแวกตลอด บางครัง้ มีปญั หาเรือ่ งกลิน่ อยูบ่ า้ ง คิดว่าเป็น ไปตามทิศทางลม ถ้าลมมาทางเราจะได้กลิน่ ในบางช่วง อย่างอืน่ ไทยออยล์กไ็ ม่มปี ญั หาอะไร เขาดูแลดี อยู่แล้ว อย่างเช่น มีกิจกรรมต่าง ๆ หรือพาไปทัศนศึกษา ไปไหว้พระ ท�ำให้พวกเราได้ไปท�ำบุญด้วยกัน อยากให้ไทยออยล์เพิม่ กิจกรรมด้านการแข่งขันกีฬาทัง้ กลุม่ เด็กกลุม่ ผูใ้ หญ่ จะได้มกี ารฝึกซ้อม ใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ อยากให้สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ศูนย์สุขภาพฯ ตอนนี้ก็พร้อมหลาย ๆ อย่าง มีทำ� ฟันให้เด็ก มีสวดมนต์ไหว้พระ ซึง่ เป็นสิง่ ทีด่ ี ขอให้เป็นพืน้ ทีส่ ำ� หรับครอบครัวจริง ๆ ครบรอบ 50 ปีแล้ว ขอให้มีความเจริญรุ่งเรืองตลอด ๆ ไปครับ”

คุณธวัชชัย โสมะเกษตริน

อดีต ผอ.โรงเรียนหลายแห่งในต�ำบลทุง่ สุขลา

“ผมรู้จักไทยออยล์ตั้งแต่ตอนเข้ามา เป็นครูทโี่ รงเรียนวัดมโนรมในปี 2504 ขณะ นั้นบริษัทฯ ก�ำลังก่อสร้างโดยใช้ผู้รับเหมา คือ แปซิฟคิ โปรคอน แรก ๆ ไทยออยล์ยงั ไม่ได้มาท�ำคุณประโยชน์ให้กับโรงเรียน หรือชาวบ้านในชุมชนทุ่งสุขลา เพราะยัง ไม่ได้เข้าท�ำการกลัน่ น�ำ้ มัน จนกระทัง่ สร้าง โรงงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ไทยออยล์จึง ค่อยเริม่ เข้ามาบริการด้านสังคมกับประชาชน ในท้องถิ่นของเรา

ในอั น ดั บ แรกที่ ไ ทยออยล์ ใ ห้ ก าร สนับสนุนโรงเรียน คือ การรับเป็นผูก้ อ่ สร้าง อาคารเรียนให้กบั โรงเรียนวัดมโนรม ตัง้ ชือ่ ว่า อาคารเรียนไทยออยล์อปุ ถัมภ์ มีหอ้ งเรียน ทั้งหมด 16 ห้อง ปัจจุบันอาคารนี้ยังอยู่ดี เพราะแข็ ง แรงมาก ท� ำ ตามมาตรฐาน งานก่อสร้างจริง ๆ ถ้าผู้รับเหมาท�ำงาน ไม่ได้มาตรฐาน ไทยออยล์สั่งทุบหมด ผม เห็นกับตาว่าเสาโรงเรียนทุบไปหลายครั้ง กว่าจะเสร็จ จนกระทั่งประมาณปี 2530 ผมย้ายมาเป็น ผอ.โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอม ก็มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบุคลากรของ ไทยออยล์มาก เพราะเขาจะส่งคณะกรรมการ มาดูแลความเป็นอยู่ของโรงเรียนอย่าง สม�่ำเสมอ ตลอดระยะเวลาที่ผมท�ำงานเป็นครู ตั้งแต่ป ี 2504 จนบั ด นี้ ปลดเกษี ย ณมา 12 ปีแล้ว ได้เห็นการท�ำงานของไทยออยล์ ว่ า เป็ น การท� ำ งานที่ เ อื้ อ เฟื ้ อ ต่ อ ชุ ม ชน ชาวนครแหลมฉบังจริง ๆ ถ้าอยากจะพัฒนา อะไรแล้วเป็นโครงการทีด่ ี ไทยออยล์ยนิ ดีให้

ความร่วมมือเสมอ ปัจจุบันนี้ผมยังเป็น สมาชิกสโมสรโรตารี่แหลมฉบัง ไทยออยล์ ก็ ไ ด้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น งานของโรตารี่ ใ ห้ ประสบความส�ำเร็จด้วยดีเสมอมา ในโอกาสที่บริษัท ไทยออยล์ ฉลอง การก่อตั้งมาครบ 50 ปี อยากจะฝากทาง ไทยออยล์วา่ อย่าทิง้ ชุมชนเทศบาลแหลมฉบัง อยากจะให้ดแู ลให้ละเอียดลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ๆ ไป เพือ่ ให้ประชาชนนครแหลมฉบังมีความสุข สุ ด ท้ ายผมขออวยพรให้ พนั ก งาน บุคลากรของไทยออยล์ทกุ คน ทุกหน้าที่ ได้มี ความเจริญก้าวหน้า ไม่เจ็บ ไม่ไข้ และไม่จน ให้ ไ ทยออยล์ รุ ่ ง เรื อ ง ท� ำ แสงสว่ า งให้ ประเทศไทยให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ซึ่งผมหวังว่าไทยออยล์น่าจะท�ำได้”

นับแต่เริม่ กิจการจนถึงการด�ำเนินงานครบ 50 ปี ณ ปัจจุบนั และต่อยอดไปยังโครงการในอนาคต ทุกช่วงเวลาล้วนบ่มเพาะ และเพิ่มพูนความผูกพันกับพี่น้องในชุมชนดุจญาติสนิทมิตรสหายที่รู้จัก รู้ใจ ทุกก้าวย่างของเราไทยออยล์ จึงตั้งมั่นอยู่บน ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อมอย่างสูงสุด พร้อมกับส�ำนึกในบุญคุณแห่งผืนแผ่นดินแม่ทกี่ อ่ ก�ำเนิดความเป็นไทยออยล์ ที่ไม่มีวันจืดจางไปจากใจพนักงานไทยออยล์ทุกคน

28 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554


เรื่องราวความผูกพัน ความทรงจ�ำต่อไทยออยล์ ฉบับนี้ คอลัมน์ชมุ ชนทีฉ่ นั รัก ขอน�ำเสนอเรือ่ งราวทีพ่ นี่ อ้ งในชุมชนบอกเล่าถึงความ ผูกพันและความทรงจ�ำต่อไทยออยล์... คุณดวงใจ เจนใจ เพื่อนบ้านในชุมชนบ้านทุ่ง ส่งอีเมลมาถึงกองบรรณาธิการ ถ่ายทอดเรื่องราวความผูกพันของเธอกับไทยออยล์ ที่เรียกได้ว่าเติบโตมาด้วยกันเหมือนพี่น้อง ลองอ่านกันดูนะคะ

ชุ ม ชนที่ฉันรัก โดย กองบรรณาธิการ

ไทยออยล์...เป็นโรงกลั่นน�้ำมันที่มีอายุ 50 ปี แน่นอนว่า ไทยออยล์ คือพี่.... ที่เกิดก่อนข้าพเจ้า ในวันที่โตมาในหมู่บ้านที่เรียกตัวเองว่า บ้านทุ่งเทครัว ซึ่งอยู่ ใน หมู่ 2 เราน่าจะเป็นพี่น้องที่ ใกล้ชิดกันพอควร เพราะอยู่ติดริมรั้วไทยออยล์...มาก จ�ำได้ ในวัยเด็กได้ตนื่ ตาตืน่ ใจกับการที่ ได้เห็นไฟฟ้าทีร่ ายล้อมในฐานการผลิต เสมือน ราชวังในดินแดนกลางทะเลทรายไม่ปาน สวย ชอบมายืนดูและจินตนาการ ต่าง ๆ นานา และสมัยนัน้ พ่อของข้าพเจ้าได้ทำ� งานที่ บ.ซัมมิท ซึง่ เป็นสถานทีค่ ล้าย ๆ กัน และมี บ.เอสโซ่ ยิ่งท�ำให้ดินแดนตรงนี้มีมนต์ขลัง ในยามค�่ำคืนดวงไฟที่ระยิบระยับ ท�ำให้ต้องมายืนมองได้ ไม่รู้เบื่อ... ไทยออยล์...ได้เจริญเติบโต ในขณะที่ข้าพเจ้าก็โตขึ้นด้วยเช่นกัน วันวานที่ เปลี่ยนไป ในวัยที่ต่างคนต่างโตขึ้น ท�ำให้มุมมองของข้าพเจ้าเปลี่ยนไป แต่ความงดงามของแสงไฟที่วิบวับยามค�่ำคืน ก็ยังทรงพลัง บางครัง้ การมองแสงไฟท�ำให้เสมือนว่า ข้าพเจ้าจะได้พลังและก�ำลังใจจากพีท่ ชี่ อื่ ไทยออยล์... มันอยู่ ในความทรงจ�ำเสมอว่าในนัน้ มัน ประกอบด้วยอะไรบ้างหว่า จนป่านนี้เรายังไม่มีโอกาสไปเยี่ยมพี่เราแบบใกล้ชิดสักครั้ง พี่เราช่างห่างไกลทั้ง ๆ ที่เราใกล้กันเหลือเกิน วันหนึ่งได้รับการเชื้อเชิญไปเยือนอาคารภูไบ…เย้ ๆ ๆ ๆ เราจะได้ ไปเยือนพี่เราอย่างใกล้ชิดแล้วรึเนี่ย ตื่นเต้นมาก มีชุมชน ไปประมาณ 7 ชุมชน หลายคนเคยรู้จักกันมาก่อนได้ทักทายกัน ไทยออยล์ ได้มีรถมารับถึงชุมชน ได้เข้าไปดูโรงไฟฟ้า เกือบได้กอด ถังน�้ำมันเพราะมันใกล้มาก วันนั้นทางไทยออยล์ ได้ท�ำประชาพิจารณ์ที่จะสร้างท่าเรือ และได้รับประทานอาหารร่วมกันในดินแดนของ ไทยออยล์... วันนี้พี่ ไทยออยล์...คือผู้ ให้ ให้หลายคนมีงานท�ำ ท�ำสัมพันธ์กับชุมชน และให้โอกาสทางด้านการศึกษา ที่ ให้บริการทางการ รักษาพยาบาล ที่ออกก�ำลังกาย พี่คงคิดว่าผู้ ให้ย่อมสุขใจกว่าผู้รับแน่ ๆ วันนี้ขอเก็บความประทับใจและความทรงจ�ำไว้ ในดวงใจ ตลอดไปและตลอดกาล หวังว่าข้าพเจ้าจะไปเยี่ยมไปเยือนไทยออยล์อีกสักครั้งนะคะ ดวงใจ เจนใจ เมื่อไหร่ที่ ไทยออยล์จัดโครงการที่มีประโยชน์แจ้งมาบ้างนะคะ ไม่ ได้ทราบข่าวสารเลยค่ะ

209/142 ม.8 ต.ทุ่งศุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20230

50 เรื่องราวความผูกพัน ความทรงจ�ำต่อไทยออยล์

ในโอกาสครบรอบ 50 ปี การด�ำเนินกิจการของไทยออยล์ ขอเชิญทุกท่าน บอกเล่าเรือ่ งราวความประทับใจของท่านทีม่ ตี อ่ เครือไทยออยล์ ผ่านตัวอักษรความยาว 1 หน้ากระดาษ A4 ส่งมาที่กองบรรณาธิการ จุลสารชุมชนของเรา หรืออีเมลถึง chantawan@thaioilgroup.com ส�ำหรับเรื่องที่ได้รับการตีพิมพ์ในจุลสารชุมชนของเรา ทางกองบรรณาธิการมีของรางวัลมอบให้ค่ะ

ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2554

29



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.