ชุมชนของเรา 14

Page 1


สวัสดีคะ่ เพือ่ นบ้านเครือไทยออยล์ทกุ ท่าน ช่วง 2-3 เดือนทีผ่ า่ นมา ดูเหมือนว่าชุมชนของเราจะจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ มากเป็นพิเศษ ไล่เรียงตัง้ แต่คา่ ยวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ โครงการพัฒนาศักยภาพ ผูน้ �ำชุมชนทีป่ นี ไี้ ปดูงานที่ จ.เพชรบุรี และ จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ งานประเพณีเข้าพรรษาที่ ได้ถวายเทียนให้แก่วดั ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง จ�ำนวน 9 วัด พิธมี อบทุนการศึกษา เครือไทยออยล์ และกิจกรรมดีๆ อีกมากมาย จนเนื้อที่กระดาษจุลสารเล่มน้อยนี้ แทบไม่พอบันทึก อย่างไรก็ตาม งานใหญ่นอ้ ยของพวกเราคงไม่อาจส�ำเร็จได้ดว้ ยดี หากขาดการ ร่วมมือร่วมใจของทุกฝ่ายไม่วา่ จะเป็นเทศบาลนครแหลมฉบัง โรงพยาบาลอ่าวอุดม สถาบันการศึกษาและคณะกรรมการชุมชนทุกชุมชน เราเครือไทยออยล์ซึ่งเป็น สมาชิกหนึง่ ในชุมชนนี้ อยากขอบคุณทุกฝ่ายด้วยใจจริง และเราเชือ่ ว่าความทรงจ�ำ ดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการท�ำกิจกรรมเพือ่ ชุมชนร่วมกัน คงจะประทับอยูใ่ นใจพวกเรา ตลอดไป ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่เสียสละเวลาตอบแบบส�ำรวจความพึงพอใจต่อ จุลสารชุมชนของเรา ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของทุกท่านเป็นก�ำลังใจทีม่ คี า่ ยิง่ ต่อการท�ำงานของเรา เรายินดีน้อมรับและจะน�ำไปปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นค่ะ

พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ บรรณาธิการ

จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จัดทำ�โดย : แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์ขององค์กร สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน้ 11 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 0000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลัน่ : เลขที่ 42/1 หมูท่ ี่ 1 ถนนสุขมุ วิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุง่ สุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 แผนกบริหารงานชุมชน 0 3835 5028-31

สารบัญ เรื่องจากปก

1

ตามรอยพ่อ

4

รอบรั้วไทยออยล์

6

บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ 9 CSR โฟกัส

10

ปราชญ์ชุมชน

12

สกู๊ปพิเศษ

14

ของดีบ้านเรา

16

ก้าวทันโลก

18

เคล็ดลับสุขภาพ

19

กระบอกเสียงชุมชน

20

ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

22

ปลอดภัยใกล้ตัว

24

เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน

26

ลับสมองลองเล่นเกม

28


เรื่องจากปก

โดย กองบรรณาธิการ

ทุนการศึกษาเครือไทยออยล์

สร้างคน สร้างโอกาส สร้างชุมชนเข้มแข็ง นับแต่กอ่ ตัง้ บริษทั เครือไทยออยล์ให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา ของลูกหลานในชุมชนมาโดยตลอด เพราะ เชื่อว่าการสนับสนุนให้เยาวชนมีความรู้ ย่อมน�ำไปสู่การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติได้อย่างยั่งยืน ในโอกาสท�ำบญุ ครบรอบการด�ำเนินงาน ปีที่ 51 เครือไทยออยล์ได้จดั พิธมี อบทุนการ ศึกษาและกองทุนการศึกษาเครือไทยออยล์ เพื่อสถาบันการศึกษา ประจ�ำปี 2555 ขึ้น เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ณ ศูนย์สุขภาพและ การเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน โดยมี คุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็ น ประธานในพิ ธี พร้ อ มด้ ว ยนายก เทศมนตรีนครแหลมฉบัง ประธานทีป่ รึกษา คณะผู ้ บ ริ ห ารเทศบาลนครแหลมฉบั ง นายอ�ำเภอศรีราชา ผูอ้ �ำนวยการโรงพยาบาล อ่าวอุดม รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 ผู้บริหารสถาบันการศึกษา คณาอาจารย์ ประธาน คณะกรรมการชุมชน ผู้ปกครอง ฝ่ายจัดการ และพนักงานเครือไทยออยล์ ร่วมเป็น เกี ยรติ แ ละแสดงความยินดีกับ ผู้ได้รับทุน คุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้กล่าวว่า “บริษัทฯ มีความ เชื่อว่าคนจะเก่ง จะดีได้ด้วยการศึกษา

แนวทางการสนับสนุนจากบริษทั ฯ จึงเน้นใน ด้านนีม้ าอย่างต่อเนือ่ งหลายสิบปี เราตัง้ ใจ จะท�ำธุรกิจให้เข้มแข็ง และในขณะเดียวกัน เราถือเป็นหน้าทีข่ องบริษทั ฯ ทีต่ อ้ งมีสว่ นร่วม สนับสนุนหน่วยงานท้องถิน่ หน่วยงานภาครัฐ และชุมชน เพื่อช่วยกันดูแลชุมชนของเรา ให้มคี วามเข้มแข็ง มีการพัฒนา มีความสุข และที่ส�ำคัญมีลูกหลานที่ได้รับการศึกษา ให้ เ ขาไปได้ ไ กลที่ สุ ด ให้ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ ของเขา” เครื อ ไทยออยล์ ไ ด้ ส นั บ สนุ น ด้ า น การศึ ก ษาให้ กั บ ชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้งการมอบทุนการศึกษาให้แก่เยาวชน

ที่ ศึ ก ษาอยู ่ ใ นสถาบั น การศึ ก ษาในเขต อ�ำเภอศรีราชาและเทศบาลนครแหลมฉบัง ซึ่งเป็นการเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ให้แก่ เยาวชนทีม่ คี วามประพฤติดี ขยันหมัน่ เพียร ในการเล่าเรียน แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และ จัดสรรกองทุนสนับสนุนสถาบันการศึกษาที่ อยู่รอบโรงกลั่นเพื่อสร้างทรัพยากรบุคคล

อันเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาท้องถิ่น ต่อไป ส�ำหรับทุนการศึกษาปีนี้มีชมรม และองค์กรต่างๆ ในไทยออยล์รวม 5 องค์กร ประกอบด้วย สมาคมศิษย์เก่าไทยออยล์ สหกรณ์ออมทรัพย์ไทยออยล์ จ�ำกัด ชมรม พนักงานอาวุโส ชมรมชาวใต้เครือไทยออยล์ และสหภาพแรงงานโรงกลั่ น น�้ ำ มั น ไทย เข้าร่วมด้วย ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการ มี ส ่ ว นร่ ว มของพี่ ไ ทยออยล์ ทุ ก คนใน การสนับสนุนการศึกษาของน้องๆ ทีเ่ ปรียบ เสมือนสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ในพิธีมอบทุนครั้งนี้ เครือไทยออยล์ จัดสรรทุนการศึกษาทั้งหมด 212 ทุน โดย แบ่งเป็นระดับประถมศึกษาจ�ำนวน 126 ทุน ระดับมัธยมศึกษาจ�ำนวน 30 ทุน ระดับ อุดมศึกษาจ�ำนวน 6 ทุน รวมถึงทุนการศึกษา ต่อเนื่องระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 จ�ำนวน 29 ทุน และระดับอุดมศึกษาจ�ำนวน 5 ทุ น อี ก ทั้ ง ได้ ม อบกองทุ น การศึ ก ษา เครือไทยออยล์ เพื่อสถาบันการศึกษาอีก จ�ำนวน 11 กองทุน ทุนการศึกษานิสติ พยาบาล ปีที่ 4 หลักสูตรพยาบาลและผดุงครรภ์ชนั้ สูง เพือ่ โรงพยาบาลอ่าวอุดมจ�ำนวน 4 ทุน และ สนับสนุนโครงการนวัตกรรมวิศวกรรมยานยนต์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จ�ำนวน 1 ทุน รวมเป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 2,560,000 บาท ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

1


เรื่องจากปก

คุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศบาลนครแหลมฉบัง ขอแสดงความยินดีกบั นักเรียนนักศึกษาทุกคนทีไ่ ด้รบั ทุนเครือไทยออยล์ อยากจะฝากน้องๆ ให้ตงั้ ใจเรียนและท�ำดีตามเจตนารมณ์ของไทยออยล์ทอี่ ยากให้เราเป็นคนดี คนเก่งของสังคม ของ ประเทศชาติ ขอให้น�ำทุนไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และขอให้ประสบความส�ำเร็จในชีวิต ผศ. ดร.สุภัทรชัย ชมพันธุ์ ผู้ช่วยรองอธิการบดี

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ผมรูส้ กึ ยินดีมากทีไ่ ทยออยล์มอบทุนให้นกั ศึกษาได้มโี อกาสศึกษาเล่าเรียนด้วยความราบรืน่ อยากขอบคุณไทยออยล์ทมี่ โี ครงการดีๆ ให้กบั สังคม โดยเฉพาะชุมชนทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ ไทยออยล์ และ หวังว่าจะมีโครงการอย่างนีต้ อ่ ไป อยากฝากถึงนิสติ ว่า หากได้รบั ทุนแล้ว ขอให้ท�ำหน้าทีข่ องตัวเอง ให้ดี ให้ตอบแทนชุมชนและสังคมด้วย

อาจารย์พรรณพรรษ หัตถวงษ์ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 3

เป็นโครงการที่ดีมากๆ ไทยออยล์เห็นความส�ำคัญของการศึกษาและเห็นความส�ำคัญ ของชุมชน เป็นการส่งเสริมเด็กที่มีศักยภาพในเรื่องการเรียน แต่ไม่มีทุนหรือมีน้อย ถ้าได้ องค์กรหรือหน่วยงานที่อยู่ในชุมชนช่วยสนับสนุน จะสร้างขวัญและก�ำลังใจให้เด็กได้มาก คุณสมศักดิ์ ถนอมรอด ประธานคณะกรรมการชุมชนวัดมโนรม ผมยินดีกับเด็กๆ ที่ได้รับทุนการศึกษาทุกคน อยากให้ไทยออยล์จัดทุกปีหรือขยายชุมชน ให้มากขึ้น ทุนที่ได้เป็นประโยชน์กับเด็กๆ ในชุมชน เพราะช่วยแบ่งเบาพ่อแม่เขาได้ส่วนหนึ่ง ซึ่ง ทางคณะกรรมการชุมชนจะคัดเลือกเด็กที่ค่อนข้างขัดสนเรื่องเงิน หรือมีปัญหาพ่อแม่หย่าร้าง คุณปริญญา จุลภาพ คณะกรรมการชุมชนบ้านอ่าวอุดม นอกจากจะมอบทุนแล้ว ไทยออยล์ยังจัดทัศนศึกษา เช่น ค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ให้ เด็กมีความรู้นอกห้องเรียนด้วย อยากจะให้ไทยออยล์สนับสนุนต่อไป เพราะหลายคนยังขาดทุน ที่จะเรียนต่อในขั้นมหาวิทยาลัย และขอให้เพิ่มจ�ำนวนทุนขึ้นอีก เพราะเด็กในชุมชนเยอะมาก

2

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


เรื่องจากปก

น.ส.ชันย์ชนก แสงค�ำดี

น.ส.เบญญาภา ทองโสม

น.ส.บุศรา เฉียวกุล

หนูเป็นนิสิตในโครงการความรู้คู่คุณธรรม สร้างผูน้ �ำเยาวชนได้ทนุ ต่อเนือ่ิ งตัง้ แต่ปี 1-ปี 4 ค่ะ บ้านหนูอยูช่ มุ ชนบ้านทุง่ ได้รว่ มกิจกรรมของ ชุมชนและไทยออยล์มาโดยตลอด ขอบคุณ ไทยออยล์นะคะที่สร้างโอกาสให้เด็กทุกคน ในชุมชน และเป็นมิตรทีด่ กี บั ชุมชนเราเสมอมา

การที่หนูได้ทุนการศึกษาแบบต่อเนื่องจาก ไทยออยล์ท�ำให้ช่วยแบ่งเบาภาระพ่อแม่ และ ยังได้เรียนใกล้บา้ นด้วย ทีบ่ า้ นดีใจมาก อยาก บอกน้องๆ ในชุมชนให้ตั้งใจเรียน จะได้มี อนาคตที่ดีและได้รับโอกาสดีๆ เหมือนที่หนู ได้รับจากไทยออยล์และจากชุมชนค่ะ

หนูได้ทุนต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 แล้ว อยู่ชุมชน บ้านอ่าวอุดม ได้มาร่วมกิจกรรมกับไทยออยล์ อยู่เป็นประจ�ำ ขอบคุณบริษัทฯ ที่ให้เด็กๆ มี ทุนเรียน อยากให้เยาวชนในชุมชนตัง้ ใจเรียน จะได้รับทุนดีๆ อย่างพวกหนูบ้าง

ด.ญ.สรินญา สอนใจดี

ด.ญ.วิภาดา เผือกสะอาด

นิสิตชั้นปีที่ 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ ศรีราชา

นายธวัชชัย จันทร์เล็ก

มัธยมศึกษาปีที่ 6 รร.ทุ่งศุขลาพิทยา (กรุงไทยอนุเคราะห์)

นิสิตชั้นปีที่ 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ ศรีราชา

มัธยมศึกษาปีที่ 1 รร.ศรีราชา

วันนี้หนูรู้สึกตื่นเต้นมาก ดีใจจนบอกไม่ถูก ทุนที่ได้ผมจะเอาไปใช้จ่ายด้านอุปกรณ์การ เพราะไม่เคยได้รับทุนจากที่ไหนมาก่อน หนู เรียน ถ้าเรียนจบ ม.6 ผมตั้งใจจะสอบเข้า ขอบคุณที่ให้ทุนการเรียนค่ะ หนูจะเอาไป ม.เกษตรฯ ศรีราชา อยากเรียนด้านวิทยาศาสตร์ พัฒนาการเรียนให้เก่งขึ้นค่ะ คอมพิ ว เตอร์ ผมขอบคุ ณ ไทยออยล์ ที่ ใ ห้ โอกาสดีๆ กับพวกผมครับ

นิสิตชั้นปีที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ ศรีราชา

ประถมศึกษาปีที่ 3 รร.วัดมโนรม

บ้านหนูอยูช่ มุ ชนวัดมโนรมค่ะ หนูเคยมาเทีย่ ว ที่ไทยออยล์ มาออกก�ำลังกายที่ศูนย์ฯ นี้ ดีใจ มากที่ได้ทุนวันนี้ ยังไม่เคยได้จากที่ไหนเลย หนูจะตัง้ ใจเรียน และช่วยงานพ่อแม่ให้มากๆ ค่ะ

เมล็ดพันธุ์แห่งปัญญาของลูกหลานที่ก�ำลัง บ่มเพาะขึ้นในวันนี้ หากทุกภาคส่วนช่วยกันบ�ำรุง เลีย้ งดู รดน�ำ้ พรวนดิน ใส่ปยุ๋ เมล็ดนัน้ ย่อมงอกงาม เติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ทผี่ ลิดอก ออกผลแผ่กงิ่ ก้านสาขา ให้รม่ เงา พร้อมสร้างประโยชน์กลับคืนสูช่ มุ ชนของ เราสืบไป

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

3


โดย กระดาษกรอง

ท่องเที่ยวพร้อมเรียนรู้ ต้องไปดู

“ลู ก พระดาบส”

4

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


สิ่ งหนึ่ ง ที่ โ ครงการตามพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวเหมือนกันทุกโครงการ คือ การเป็น “ศูนย์ศึกษา เพือ่ การเรียนรู”้ ดังนัน้ ไม่วา่ เราจะแวะเข้าไปเยีย่ มชมโครงการใด รับรองว่าจะต้องได้ความรู้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งติดตัวกลับบ้าน แน่นอน ในวันว่างวันนี้เลยอยากจะชวนกันแวะเยี่ยมโครงการหนึ่ง ที่อยู่ไม่ไกลจากบ้านเรามากนัก โครงการตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท สายเก่ามุ่งหน้าสู่บางปู จนถึงซอยเทศบาลบางปู 119 เลี้ยวขวา เข้าไปไม่ไกลคุณจะเห็นโครงการ “ลูกพระดาบส” “ลูกพระดาบส” เป็นโครงการตามพระราชด�ำริ ซึง่ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 15 มิ.ย. 2541 บนทีด่ นิ ราชพัสดุและทีด่ นิ พระราชทาน รวม 467 ไร่ ที่ ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นศูนย์กลางการเรียนรูท้ เี่ น้นกิจกรรมการเกษตรแบบผสมผสาน ในลักษณะพึ่งพาตนเอง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตร การเพิม่ มูลค่าสินค้าเกษตร สมุนไพร การใช้พลังงานทดแทน และ อืน่ ๆ เพือ่ สนับสนุนการเรียนการสอนของศิษย์พระดาบสหลักสูตร การเกษตรพอเพียง และช่างไม้เครือ่ งเรือนของโรงเรียนพระดาบส ด้วยทรงเล็งเห็นว่า เครื่องจักรกลเริ่มเข้ามามีบทบาทใน ชีวิตเกษตรกรมากขึ้น ดังนั้น จึงควรมีความรู้เรื่องการบ�ำรุงรักษา เครือ่ งจักรกลทางการเกษตรทีต่ นเองมีเพือ่ ลดรายจ่าย โดยเปิดรับ สมัครนักเรียนเข้ามาฝึกอบรมโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ขณะเดียวกันยัง ทรงเล็งเห็นว่า นอกจากความรู้เรื่องเครื่องจักรแล้วนักเรียนควรมี ความรู้ด้านการเกษตรเพื่อสร้างรายได้เสริมให้แก่ตนเองด้วย

ดังนัน้ ลูกพระดาบสจึงเป็นทีฝ่ กึ ปฏิบตั ขิ องนักเรียนพระดาบส ในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับเกษตรพอเพียงอย่างครบวงจร ตัง้ แต่การปลูก ผักปลอดภัยจากสารพิษ เช่น ปลูกผักทั้งระบบดั้งเดิมคือการปลูก ในดินและระบบไร้ดนิ Hydroponics การเพาะเห็ด การเลีย้ งสัตว์บก และสัตว์นำ�้ ได้แก่ การเลีย้ งวัว เลีย้ งไก่ ปลาสลิด และกุง้ การปลูก ไม้ตัดดอก และการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังลม เป็นต้น ลูกพระดาบสได้เปิดเป็นสถานที่ฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติงาน และศึกษาดูงานของนักเรียน นิสิต นักศึกษา เกษตรกร และ ประชาชนทั่วไป และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ โดยให้อยู่ในความรับผิดชอบร่วมกันของ ส�ำนักพระราชวัง มูลนิธิพระดาบส และจังหวัดสมุทรปราการ และอีกภารกิจหลักที่ส�ำคัญของโครงการลูกพระดาบส คือ เป็น แหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ มุ ชน ดังนัน้ จึงเปิดฝึกอบรมอาชีพแก่ เกษตรกรและประชาชนทั่วไปฟรีในหัวข้อต่างๆ เช่น การปลูกพืช ไร้ดิน การเพาะเห็ดครบวงจร การผลิตไบโอดีเซล การเลี้ยงปลา สลิด การปลูกกล้วยไม้ และการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรที่ เพาะปลูก เช่น การท�ำน�้ำพริกปลาสลิด ปลาสลิดฟู ปลานิลหยอง คานาเป้กุ้ง น�้ำนมข้าวโพด และน�้ำสมุนไพร เป็นต้น ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชม ดูงาน หรือเข้าฝึกอบรมอาชีพ สามารถติดต่อได้ที่ โครงการลูกพระดาบส สมุทรปราการตามพระราชด�ำริ เลขที่ 89 ม.14 ซ.เทศบาลบางปู 119 ถ.สุขุมวิท ต.บางปลา อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2174 4111 โทรสาร : 0 2174 4115 หรือ http://lukphradabos.org/Top of Form

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

5


รอบรั้วไทยออยล์

โดย หน่วยกลั่นข่าว

เยาวชนเยีย่ มชมศูนย์สขุ ภาพฯ ผูเ้ ข้าอบรมในโครงการฝึกอบรมเยาวชน TQA “โตไป โปร่งใส ใจสูง” จัดโดยเทศบาลต�ำบลบางพระ จ�ำนวน 16 คน ได้เข้ารับฟัง บรรยายด้าน TQA กับการช่วยเหลือสังคม โดยคุณอัญชลี ภิรมย์พลัด เจ้าหน้าที่บริหารระบบคุณภาพ พร้อมด้วยคุณสมพร วูวงศ์ ผู้ช่วย ผู้จัดการแผนกประชาสัมพันธ์โรงกลั่น ณ ห้องสมุด ศูนย์สุขภาพ และการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน พร้อมกันนีไ้ ด้เยีย่ มชมการ ด�ำเนินงานของศูนย์สุขภาพฯ เมื่อเร็วๆ นี้

ตรวจคัดกรอง ศูนย์สุขภาพฯ ร่วมกับ รพ.อ่าวอุดมศรีราชา จัดโครงการส�ำรวจคัดกรอง ชาวชุมชนบ้านอ่าวอุดมที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยมีการตรวจร่างกาย ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดตรวจ ระดับคอเลสเตอรอล เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม และได้ ติดตามผลตรวจสุขภาพอีกครัง้ ในวันที่ 22 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา ณ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเวชศาสตร์ชมุ ชน มีผสู้ นใจ เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 100 คน

ออกหน่วยชุมชนบ้านแหลมฉบัง วันที่ 24 พฤษภาคม 2555 เครือไทยออยล์ ทีซพี ี ร่วมกับเทศบาลนครแหลมฉบังและคณะกรรมการ ชุ ม ชนบ้ า นแหลมฉบั ง จั ด กิ จ กรรมออกหน่ ว ย สร้างเสริมสุขภาวะเคลือ่ นที่ ณ ชุมชนบ้านแหลมฉบัง ในงานมีการตรวจสุขภาพ ให้บริการด้านทันตกรรม นอกจากนี้ ยังมีบริการตัดผม ฉีดยาป้องกันพิษสุนขั บ้า ให้สุนัขและแมว มีผู้เข้าร่วมงานกว่า 300 คน

6

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


สนับสนุนค่ายยุววิศวกรบพิธ

กิจกรรมวันงดสูบบุหรีโ่ ลก เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม ทีผ่ า่ นมา ศูนย์สขุ ภาพฯ จัดโครงการรณรงค์เนือ่ งในโอกาส “วันงดสูบบุหรีโ่ ลก” ตั้งแต่เวลา 17.00-19.00 น. ณ บริเวณห้องสมุด ชั้น 2 อาคารศูนย์สุขภาพฯ เพื่อรณรงค์ให้เยาวชนตระหนัก ถึงพิษภัยของบุหรี่ ในงานมีกิจกรรมเกมถาม-ตอบถึง โทษของบุหรี่ โรคทีเ่ กิดจากการสูบบุหรี่ และพระราชบัญญัติ คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ ทั้งนี้ มีเยาวชนจาก ชุมชนรอบโรงกลั่นสนใจเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 40 คน

เมื่ อ วั น ที่ 28 พฤษภาคม ที่ ผ ่ า นมา คุ ณ สมชั ย วงศ์วฒั นศานต์ ผูช้ ว่ ยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านบริหารองค์กร บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูแ้ ทนมอบเงินสนับสนุน โครงการค่ายอาสาพัฒนา “สะพานยุววิศวกรบพิธ 40” ให้แก่ ผู ้ แ ทนชมรมค่ า ยอาสาพั ฒ นา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ ใช้ ใ นการก่ อ สร้ า งสะพาน คอนกรีตแห่งใหม่ และซ่อมแซมสะพานเดิมที่ช�ำรุดเสียหาย จากมหาอุทกภัยในปี 2554 ณ บ้านฟากคลอง ต�ำบลเสือเหลือง อ�ำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร ปัจจุบัน สะพานด�ำเนิ น การ ก่อสร้างแล้วเสร็จและ ได้ส่งมอบให้ชุมชนใช้ ประโยชน์ต่อไป

นักศึกษาพยาบาลจากออสเตรเลียดูงาน เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ศู น ย์ สุ ข ภาพฯ ให้ ก ารต้ อ นรั บ คณาจารย์ แ ละนิ สิ ต พยาบาลในโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กับ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเคอร์ตนิ ออสเตรเลีย ทีม่ าศึกษาดูงานการสร้างเสริมสุขภาพเชิงป้องกัน ด้วยแนวคิดเวชศาสตร์ชมุ ชน ณ ศูนย์สขุ ภาพฯ และยังได้ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพร่วมกับนิสติ หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ มหาบัณฑิต ด้วยการลงพื้นที่ชุมชนบ้านอ่าวอุดม เรียนรู้ การดูแลงานด้านสุขภาพชุมชน เพื่อพัฒนาสุขภาพของ บุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วม ของชุมชน

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

7


คณะกรรมการบริษทั ฯ เยีย่ มชมศูนย์สขุ ภาพฯ เมื่อเร็วๆ นี้คณะกรรมการบริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย คุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ได้เยีย่ มชมการด�ำเนินงานของ ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน โดยมีคณุ เกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหารงานชุมชน และคุณวัชรินทร์ พุทธพรไพสิษฐ์ ที่ปรึกษา เป็น ผูบ้ รรยายและน�ำชม ในโอกาสนีค้ ณะกรรมการฯ ได้ให้ค�ำแนะน�ำทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงานของศูนย์สุขภาพฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สาธิตติดตัง้ ถังหมักก๊าซชีวภาพ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน ที่ผ่านมา ผศ. ดร.อุษา อ้นทอง และ อ.วิกาญดา ทองเนื้อแข็ง จากมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้มาบรรยายพร้อมสาธิตวิธีการติดตั้งและ ประกอบชุดถังหมักก๊ าซชีวภาพให้แก่คณะกรรมการและ อาสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น ชุมชนบ้านอ่าวอุดม พร้อมกันนี้ ยังได้ส�ำรวจพื้นที่โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอมเพื่อเตรียมติดตั้ง ถังหมักก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารร่วมกับทางโรงเรียนต่อไป

กีฬากระโดดเชือกสัญจร ตลอดเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ศูนย์สุขภาพฯ ร่วมกับโรงเรียน น�ำร่องกีฬากระโดดเชือกได้จัดกิจกรรมสาธิตการกระโดดเชือกสัญจร ไปตามโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการกระโดดเชือก อาทิ รร.วัดบ้านนา รร.เทศบาลแหลมฉบัง 1 รร.เทศบาลแหลมฉบัง 2 รร.วัดใหม่เนินพยอม เพือ่ สาธิตกีฬากระโดดเชือกและประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เยาวชนสนใจ กีฬากระโดดเชือก โดยคุณนภสกร สิทธิประเสริฐ ผู้แทนเครื​ือไทยออยล์ ได้มอบเชือกจ�ำนวน 50 เส้นให้แต่ละโรงเรียน ส�ำหรับให้นกั เรียนฝึกซ้อม กระโดดเชือกอีกด้วย

8

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ

ไทยออยล์ร่วมกับมูลนิธิหัวใจฯ จัดอบรมกระโดดเชือกนอก กทม. เป็นครั้งแรกที่ รร.บ้านชากยายจีน มีคณะครูและนักเรียน เข้าร่วมถึง 17 โรงเรียน

โดย ตั๊กแตน

วันที่ 24-26 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา นับเป็นโอกาสพิเศษของครูพละและนักเรียน ในเขตพืน้ ทีแ่ หลมฉบังและใกล้เคียง ทีศ่ นู ย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชนได้รบั เกียรติเป็นอย่างยิง่ จากมูลนิธหิ วั ใจแห่งประเทศไทย จัดหลักสูตรฝึกอบรม ผูฝ้ กึ สอนและนักกีฬากระโดดเชือก ณ โรงเรียนบ้านชากยายจีน ชลบุรี ซึง่ เป็นครัง้ แรก ทีม่ กี ารจัดอบรมในต่างจังหวัด โดยมีโรงเรียนเข้าร่วมถึง 17 แห่ง ได้แก่โรงเรียนน�ำร่อง ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณชุมชนรอบโรงกลัน่ ไทยออยล์ 7 แห่ง โรงเรียนในเขตอ�ำเภอศรีราชาและ บางละมุง เมื่อผ่านการอบรมแล้ว คุณครูและเด็กๆ จะมีพื้นฐานทักษะการกระโดด เชือกแบบลีลาหรือที่เรียกว่า Rope Skipping ที่สามารถน�ำไปฝึกสอนเผยแพร่ต่อใน โรงเรียนได้ นอกจากนัน้ ยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กๆ ทีเ่ พิง่ เริม่ ต้นฝึกกระโดด เชือกเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนไปแข่งขัน กระโดดเชือกลีลา ประเภทมือใหม่ ที่จัด โดย มูลนิธิโรคหัวใจฯ ในวันที่ 31 สิงหาคม ที่กรุงเทพฯ ณ อาคารจันทนยิ่งยง คณะ วิทยาศาสตร์การกีฬา สนามกีฬาแห่งชาติ ขอเชิญชวนน้องๆ มาฝึกกระโดดเชือกลีลา เพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องร่างกายกันเถอะครับ

ไทยออยล์ร่วมมือกับ ม.มหิดล สวทช. ม.บูรพา รพ.อ่าวอุดม และชุมชน บ้านอ่าวอุดม ตรวจคัดกรองภาวะเลือดจางพันธุกรรมธาลัสซีเมีย โครงการดูแลสุขภาวะชุมชนเชิงรุกของศูนย์สุขภาพฯ ร่วมกับ รพ.อ่าวอุดม ได้เริม่ ต้นคัดกรองโรคความดัน เบาหวาน และจัดประเภท ผู้สูงอายุ โดยน�ำร่องที่ชุมชนบ้านอ่าวอุดมมา 2 ปีแล้ว ในปี 2555 นี้ เครือไทยออยล์ได้รว่ มกับ ม.มหิดล ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และคณะพยาบาลศาสตร์ ม.บูรพา คัดกรองผู้ที่มีอายุระหว่าง 15-35 ปี เพื่อค้นหาผู้เป็นพาหะหรือ เป็ น โรคเลื อ ดจางธาลั ส ซี เ มี ย โดยคณะท�ำงานได้ ม าประชุ ม เตรียมการร่วมกับ รพ.อ่าวอุดม ฝ่ายส่งเสริมป้องกันโรค เทศบาลนครแหลมฉบัง ที่ศูนย์สุขภาพฯ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ที่ผ่านมา โรคเลือดจางธาลัสซีเมียเป็นภัยเงียบที่ส่งต่อเหมือนมรดกทางพันธุกรรมไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน ปัจจุบันพบว่า คนไทยเป็นพาหะถึงร้อยละ 40 ของประชากร การตรวจคัดกรองช่วยให้รู้ว่าถ้าเราเป็นพาหะ จะได้วางแผนการใช้ชีวิตให้ เหมาะสม เช่น ระวังการตัง้ ครรภ์ เพือ่ ลดการขยายตัวของโรคในอนาคต และหากพบว่าเป็นโรคนี้ จะได้มแี นวทางดูแลตัวเอง จากความเสี่ยงต่างๆ ขอเชิญชวนชาวชุมชนบ้านอ่าวอุดมอายุ 15-35 ปีมารับการตรวจคัดกรองในช่วงปลายเดือนสิงหาคมนี้ ซึ่งการตรวจ ในระดับครอบครัวแบบนี้ท�ำเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ซึ่งตามปกติจะตรวจเฉพาะคุณแม่ที่ฝากครรภ์เท่านั้น รายละเอียด ติดตามการประชาสัมพันธ์จากคณะกรรมการชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านนะครับ ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

9


โดย น นุช ณ บางเลน

เครือไทยออยล์น�ำคณะกรรมการชุมชน 7 ชุมชน รอบโรงกลั่นศึกษาดูงาน จ.เพชรบุรี และ จ.ประจวบคีรีขันธ์

เครือไทยออยล์ร่วมกับบริษัท ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักส์ จ�ำกัด (TCP) และเครือข่ายชุมชน น�ำคณะกรรมการชุมชนทั้ง 7 ชุมชนรอบโรงกลั่น ได้แก่ ชุมชนบ้านอ่าวอุดม ตลาดอ่าวอุดม บ้านทุ่ง บ้านชากยายจีน วัดมโนรม บ้านเขานำ�้ ซับ และบ้านแหลมฉบัง พร้อมทัง้ เจ้าหน้าทีเ่ ทศบาลนครแหลมฉบัง และโรงพยาบาลอ่าวอุดม จ�ำนวน 145 คน เดินทางไปทัศนศึกษา ณ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ์ ระหว่างวันที่ 13-15 กรกฎาคม 2555 ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนเครือไทยออยล์ & TCP และเครือข่ายชุมชน ที่เครือฯ จัดขึ้นทุกปีเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระชับความสัมพันธ์ และ เสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างเครือฯ กับชุมชนทั้ง 7 ชุมชนรอบโรงกลั่น เทศบาลนครแหลมฉบัง และโรงพยาบาลอ่าวอุดมตามแนวทาง 3 ประสาน ตลอดจนกระตุ้นให้ชุมชนตระหนักและร่วมกันพัฒนา วัฒนธรรมท้องถิ่น จริยธรรม คุณธรรมอันดีงาม พร้อมทั้งดูแลเอาใจใส่สิ่งแวดล้อมในชุมชนให้เกิดความ ยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลาน เช้าตรูว่ นั ที่ 13 กรกฎาคม ขบวนรถบัสทัง้ 3 คันแล่นออกจาก ศูนย์สุขภาพฯ มุ่งหน้าสู่องค์การบริหารส่วนต�ำบลแหลมผักเบี้ย อ�ำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เพื่อเยี่ยมชมการท�ำงานของ ชุ มชนประมงต้ น แบบเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การชุ มชนในรู ป แบบ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน โดยจั ด ตั้ ง กลุ ่ ม ธนาคารปู ม ้ า แพปลาชุ ม ชน และคานเรื อ เล็ ก หรื อ ท่ า เที ย บเรื อ ชุ ม ชนที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ ชาวประมงในชุ ม ชนน�ำเรื อ มาซ่ อ มแซมประจ�ำปี เพื่ อ ช่ ว ยลด ภาระค่าใช้จ่ายจากการเดินทางน�ำเรือไปซ่อมในพื้นที่ห่างไกล นอกจากนี้ หากเป็นเรือในพื้นที่จะคิดราคาค่าซ่อมถูกกว่าเรือ ต่ า งพื้ น ที่ นั บ เป็ น การส่ ง เสริ มและสนั บ สนุ น ให้ คนในชุ มชนมี ส่วนร่วมกันบริหารจัดการ ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างมากส�ำหรับชาวคณะ ในการศึกษาแนวคิด และน�ำมาต่อยอดพัฒนาชุมชนของเรา

10 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


หลังจากดูงานที่ อบต.แหลมผักเบี้ยแล้ว คณะฯ เดินทางต่อไปยัง ต�ำบลห้วยทรายเหนือ อ�ำเภอชะอ�ำ เพือ่ ชมความงดงามของพระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน (พระราชวังฤดูร้อน) ในรัชกาลที่ 6 พร้อมเรียนรู้เรื่องราวของ พระราชวังตั้งแต่สมัยอดีตสู่ปัจจุบัน กิจกรรมส�ำคัญอีกอย่างหนึง่ ทีเ่ ชือ่ มใจชาวคณะให้รว่ มเป็นหนึง่ เดียวได้ คงเป็นกิจกรรมล่องแก่งและกิจกรรมสันทนาการภายใต้แนวคิด “เรืองรุ่ง มุ่งงาน สุขส�ำราญ เบิกบานใจ” ในรูปแบบงานวัดที่เครือฯ และชุมชน ต่างร่วมกันจัดขึ้น เพราะแสดงให้เห็นถึงความสามัคคีของทุกชุมชน ที่ต่างมีส่วนร่วมในการออกท่วงท่าร�ำวงพื้นบ้านประยุกต์ ที่เป็นเสมือน เอกลักษณ์ของชุมชนร่วมกันอย่างพร้อมเพรียง สร้างความครื้นเครงใจได้ ไม่นอ้ ย นอกจากนี้ ยังอิม่ บุญกันถ้วนหน้าจากการร่วมกันถวายพุม่ ผ้าป่าสามัคคี ณ วัดเกาะโสม (กลางนำ�้ ) ใจกลางเขือ่ นแก่งกระจาน และวัดมาลัย (ทับใต้) อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ก่อนเดินทางกลับชุมชนบ้านเราโดย สวัสดิภาพ

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

11


ปราชญ์ชุมชน

โดย กองบรรณาธิการ

พ่อสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ “ปราชญ์ชาวบ้านที่ไม่ยอมหยุดเรียนรู้” เพราะสุขภาพไม่เอื้ออ�ำนวยให้เล่าเรียนสูงๆ เหมือนพี่น้องคนอื่นทั้งที่ครอบครัวมีฐานะ จึงท�ำให้ พ่อสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ ชาวอ�ำเภอสตึก จังหวัด บุรรี มั ย์ ต้องท�ำอาชีพเกษตรกรตามการส่งเสริมของ ทางราชการเหมือนชาวบ้านทั่วไปที่ปลูกปอ ถั่วลิสง นุน่ ข้าวฟ่าง ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง และท�ำนา จนสิน้ ปี 2522 จึงค้นพบว่า “การปลูกพืชเชิงเดีย่ วตามกระแส แบบนี้ไม่รอดแน่นอน เพราะไม่มีอะไรงอกเงย...เมื่อ วิเคราะห์เปรียบเทียบรายรับรายจ่ายมีแต่เจ๊งกับเจ๊า” และถึงแม้ว่าครอบครัวจะมีมรดกที่ดินกว่า 700 ไร่ ก็ ไม่ได้เป็นหลักประกันว่า การด�ำเนินการตามแนวทาง นี้จะไปรอดแต่ประการใด ท�ำให้ปีถัดมาพ่อสุทธินันท์เริ่มคิดนอกกรอบด้วยการ หันไปทดลองปลูกไม้ผลและไม้ใช้สอยอย่างละ 1,000 ต้น ไม้ใช้สอยคือต้น “ยูคาลิปตัส” ซึ่งสวนทางกับความเชื่อของ สังคมในขณะนั้นที่ว่า พืชชนิดนี้ดึงความชุ่มชื้นไปจากดิน แต่พ่อสุทธินันท์ศึกษาค้นคว้า จนพบว่ายูคาฯ มีกว่า 2,000 สายพันธุ์ สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมได้ รวมถึงการปลูกพืช แซมระหว่างแถวยูคาฯ เพื่อให้เกิดความหลากหลายในแปลง เกษตร ทีส่ �ำคัญคือยูคาฯ ให้ผลตอบแทนเร็ว แต่ตอ้ งอาศัยการ จัดการ เช่น แปรรูปเนือ้ ไม้เพิม่ มูลค่าแทนการขายเป็นไม้ทอ่ น เล็กๆ แบบเดิม การคัดเลือกสายพันธุ์ เป็นต้น

12 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


จากนั้นจึงได้ทดลองแก้ไขปัญหาที่ดินแล้งน�้ำของตนเอง ทั้ง 700 ไร่ โดยการปลูกต้นยูคาลิปตัส 150,000 ต้น ระหว่างรอ ยูคาฯ โต พ่อสุทธินันท์ยังปลูกข้าวโพด ข้าวฟ่าง มันส�ำปะหลัง และหญ้าเลี้ยงสัตว์ พร้อมท�ำปศุสัตว์โคเนื้อ 80 ตัว แพะ แกะ อย่างละฝูง ไก่บา้ น ไก่ตอ๊ ก ไก่แจ้ ไก่งวง หมู และเลีย้ งผึง้ รวมถึง การจัดการระบบนำ�้ ด้วยการน�ำนำ�้ หยดเข้ามาใช้ จึงท�ำให้ผนื ดิน แล้งนำ�้ ของพ่อสุทธินนั ท์พลิกฟืน้ กลับมาเป็นดินด�ำน�ำ้ ชุม่ ป่าอุดม สมบูรณ์ขึ้นอย่างรวดเร็ว “พื้นที่ของผมอยู่ที่สูงไม่สามารถเก็บน�้ำได้ ต้องปรับปรุง บ�ำรุงดินด้วยการปลูกไม้ยนื ต้นทีไ่ ม่ใช้นำ�้ มาก เรือ่ งการออกแบบ ในการแก้ปัญหาถือเป็นจุดแข็งของแต่ละพื้นที่ เมื่อออกแบบถูก ทิศถูกทาง จะเห็นช่องทางทีจ่ ะปรับ ทุกอย่างค่อยๆ ดีขนึ้ เราจะ รูส้ กึ ว่าชีวติ เราฟืน้ กลับคืนมา มนุษย์กบั ธรรมชาติตอ้ งอยูร่ ว่ มกัน ไปด้วยกันได้ดี” ความที่เป็นคนช่างคิด ในปี 2530 พ่อสุทธินันท์จึงเริ่ม ทดลองแปรรูปไม้ยูคาฯ เป็นแผ่นกระดาน น�ำมาฉลุลายเป็น เครื่องเรือน น�ำแขนงไม้ยูคาฯ มาท�ำด้ามไม้กวาด ตลอดจน ปรับปรุงเตาเผาถ่านจนกลายเป็นแบบอย่างไปทั่วประเทศ และ ได้รบั การส่งเสริมให้สง่ ออกถ่านไม้ยคู าฯ ไปจ�ำหน่ายต่างประเทศ ต่อมาในปี 2534 จึงได้ทดลองปลูกและแปรรูปไม้โตเร็วเป็น ของเล่นและเครื่องเรือนเพื่อการส่งออกอย่างจริงจัง ทุกวันนี้สวนป่ายูคาลิปตัส “มหาชีวาลัยอิสาน” ของ พ่อสุทธินันท์กลายเป็นแหล่งเรียนรู้การบริหารจัดการสวนป่า ของอีสานใต้ พ่อสุทธินันท์เรียกว่า กรมราษฎรส่งเสริม สถาบัน ฟื ้ น ฟู ศั ก ยภาพภู มิ ป ั ญ ญาส่ ว นท้ อ งถิ่ น อี ส านใต้ มี น โยบาย ที่ ชั ด เจนว่ า “ต้ น ไม้ จ ะคื น สู ่ ไ ร่ น า ปู ป ลาจะคื น สู ่ ห นองน�้ ำ อิสรเสรีจะคืนสู่ประชาชน สมัชชาคนจนจะคืนถิ่น” สิง่ ทีพ่ อ่ สุทธินนั ท์ศกึ ษา ทดลอง และเรียนรูน้ นั้ ไม่ได้เก็บไว้ กับตัวเอง แต่กลับถ่ายทอดความรูท้ มี่ ใี ห้แก่ชมุ ชนรอบข้าง ด้วย การตั้งโรงเรียนชุมชนอีสานเพื่อสร้างเกษตรกรต้นแบบ น�ำร่อง การวางแผนการสร้างชีวติ ใหม่ให้เกษตรกร จัดตัง้ ระบบการเรียนรู้ แบบโฮมสคูล ให้เด็กเรียนรูจ้ ากของจริงอย่างมีความสุข และก่อตัง้ เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านเพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาตนเอง อันจะน�ำไปสู่การพึ่งตนเองอย่างแท้จริง

ฉายา “ปราชญ์ชาวบ้านที่ไม่ยอมหยุดเรียนรู้” ไม่ได้เกิด ขึ้นเพราะความบังเอิญ แต่เพราะพ่อสุทธินันท์มีความเป็นนักวิจัย ในตัวเองอย่างแท้จริง และรักที่จะเรียนรู้ทดลองสิ่งใหม่ๆ เสมอ ล่ า สุ ด พ่ อ สุ ท ธิ นั น ท์ ได้ ค้ น คว้ า ว่ า เกษตรกรผู ้ เลี้ ย งวั ว ควรท�ำ อย่างไรจึงจะมีอาหารให้วัวได้โดยตลอด ด้วยต้นทุนที่ต�่ำแต่ เต็มไปด้วยคุณค่าอาหาร แกจึงได้น�ำใบไม้นานาชนิดที่พอหาได้ ในสวนไม่ว่าจะเป็น ประดู่ ยูคาลิปตัส กระถิน สะเดา กล้วย มะพร้าว ถั่ว อ้อย ฯลฯ มาผสมกับหญ้าในปริมาณที่แตกต่างกัน จนสุดท้ายพบว่าวัวสามารถกินใบไม้ได้แทบทุกชนิด เพียงแต่ ต้องปั่นผสมกับหญ้ าอย่างหยาบๆ สัดส่วนของหญ้ าจะอยู่ที่ ประมาณร้อยละ 20-30 ในการให้อาหารวัวแต่ละครั้ง โดยใบไม้ บางชนิด เช่น สะเดา จะต้องใส่ในปริมาณที่พอเหมาะ เพราะ สะเดามีสารทางเคมีทใี่ ช้เป็นยารักษาโรคพยาธิ โรคระบบทางเดิน อาหารของวัวได้ พ่อสุทธินนั ท์ได้รบั รางวัลเกษตรกรทีม่ ผี ลงานด้านการสร้างเสริม สิง่ แวดล้อมจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติสาขาปลูกสร้างสวนป่า และรางวัล ครูภูมิปัญญาไทยรุ่นที่ 1 จากกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันพ่อสุทธินันท์ยังคงเป็นอาจารย์สอนพิเศษให้แก่ หลายสถาบัน เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และบรรยายให้แก่ผู้ที่ไป ศึกษาดูงานตลอดเวลา สนใจดูงานติดต่อได้ที่ 34 บ้านปากช่อง ต�ำบลสนามชัย อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ 31150 โทรศัพท์ 08 1966 4237 และ 08 1760 1337 แล้วจะรู้ว่าปราชญ์ชาวบ้านท่านนี้ไม่ธรรมดาจริงๆ

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มติชน ฉบับวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ภาพจาก : www.gotoknow.org, www.bangkokbiznews.com

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

13


สกู๊ปพิเศษ

โดย บกทะเล

ฟังให้รู้ ดูให้จำ� ท�ำให้เข้าใจ

“ค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ ปี 2555 นี้ เรามีการเปลี่ยนแปลงเรื่องใหญ่ๆ 2 เรื่องที่น�ำไปสู่การพัฒนา เรื่องแรก ที่ผ่านมา เราน�ำเยาวชนระดับช่วงชั้นประถม 4-ประถม 6 มาเข้าค่ายฯ ทั้ง 7 ครั้ง ส�ำหรับปีนี้ซึ่งเป็น รุ่นที่ 8 เราจัดค่ายส�ำหรับเยาวชนในช่วงชั้นมัธยม 1-มัธยม 3 เรื่องที่สอง เราร่วมมือกับ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ม.บูรพา และฐานทัพเรือสัตหีบ โดยจัดค่ายพักแรม ในหน่วยนาวิกโยธิน ฐานทัพเรือสัตหีบเป็นปีแรก และวิทยากรทัง้ หมดเป็นอาจารย์ ทหารเรือในหน่วยงานทัง้ สองร่วมกับพนักงานเครือไทยออยล์และทีซีพี” คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหารงานชุมชน ให้ข้อมูลกับเรา ด้วยรอยยิ้มแสดงความมุ่งมั่น ทั้งยังเสริมอีกว่า ส�ำหรับเยาวชนระดับช่วงชั้น ประถม 4-ประถม 6 นั้น จะจัดค่ายฝึกอบรมในเดือนตุลาคมปีนี้ กิจกรรมค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์รนุ่ ที่ 8 เริม่ ขึน้ ในตอนเช้า ของวันที่ 2 มิถุนายน 2555 เยาวชนจาก 7 ชุมชนละแวกโรงกลั่น ทยอยเข้ารายงานตัวที่ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์ เพือ่ ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านอ่าวอุดม ตลาดอ่าวอุดม บ้านเขาน�ำ้ ซับ บ้านชากยายจีน วัดมโนรม บ้านทุง่ และบ้านแหลมฉบัง รวม 80 คน พลังส�ำคัญทีจ่ ะขาดเสียมิได้ คือ เยาวชนจิตอาสาบ้านอ่าวอุดมทีเ่ ข้ามา มีส่วนร่วมเป็นพี่เลี้ยงของเยาวชนที่เข้าค่ายปีนี้ด้วย หลังจากวิทยากรของแผนกบริหารงานชุมชนจัดกิจกรรมย่อย ทีศ่ นู ย์สขุ ภาพฯ เพือ่ ให้เยาวชนคุน้ เคยกับพีจ่ ากเครือไทยออยล์ ทีซพี ี และพีเ่ ลีย้ งประจ�ำกลุม่ แล้ว จึงมีพธิ เี ปิดค่ายวัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ รุ่นที่ 8 อย่างเป็นทางการโดย คุณอภินันท์ สุภัตรบุตร กรรมการ อ�ำนวยการ บริษทั ไทยลูบ้ เบส จ�ำกัด (มหาชน) ท่ามกลางประธาน ชุมชนและคณะกรรมการจาก 7 ชุมชน และในโอกาสนี้ คุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง ให้เกียรติมาให้โอวาท แก่เยาวชนด้วย จากนั้นจึงส่งมอบเยาวชนทั้งหมดให้กับคณาจารย์

14 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


จากสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล ม.บูรพา น�ำไปเข้าค่ายในฐานทัพเรือสัตหีบ โดยทีมบริหารงานชุมชน พร้อมพนักงานผู้แทนจากบริษัทในเครือฯ และทีซีพีตามไปดูแลและร่วมกิจกรรมต่างๆ ด้วย กระบวนการ ”ฟังให้รู้ ดูให้จ�ำ ท�ำให้เข้าใจ” ถูกแยกแยะออกมาเป็นกิจกรรมภายในค่ายฯ ซึ่ง ตั้งอยู่ในบริเวณหน่วยทหารนาวิกโยธิน โดยอาจารย์จากสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลให้ความรู้เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์ทรัพยากรทางน�้ำ จากนั้นให้เยาวชนมีโอกาสเรียนรู้ธรรมชาติของน�้ำ วิเคราะห์คุณภาพของน�้ำด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นส่วนของการดูให้จ�ำ ท�ำให้เข้าใจอีกด้วย ส่วนพี่ๆ วิทยากรจากหน่วยนาวิกโยธินให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาของทะเล สัตว์น�้ำ ปะการัง เยาวชนมีโอกาสได้ส�ำรวจทะเลด้วยกิจกรรมนักสืบสายนำ�้ ด้วย ในการเรียนรูข้ องเยาวชนนัน้ มีทงั้ ความรู้ หลากหลายที่ได้รับ และความสนุกที่เรียกเสียงเฮฮาได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมแคมป์ไฟ สร้างความบันเทิงและส่งเสริมให้เยาวชนกล้าแสดงออก ทีน่ า่ ทึง่ เป็นพิเศษคือพีๆ่ ทหารหาญของชาติวาง ปืนอาวุธปกป้องแผ่นดินแล้วหันมาจับกีตาร์พร้อมทั้งเครื่องดนตรีอื่นๆ ร้องเพลงปลุกจิตส�ำนึกอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เยาวชนฟังและร้องตามหลายเพลง

ในวันรุง่ ขึน้ เยาวชนทัง้ หมดได้เยีย่ มชมกิจกรรมทหารในหน่วยนาวิกโยธิน และร่วมเพาะกิง่ ปะการัง ลงในอุปกรณ์ที่ช่วยกันท�ำขึ้น แล้วลงเรือน�ำไปปลูกในทะเลบริเวณหน้าผาวชิราลงกรณ์อันเป็นสถานที่ ฝึกไต่เขาของทหารนาวิกโยธิน การปลูกปะการังเป็นการสอนให้เยาวชนเรียนรู้วิธีการเพิ่มคุณค่าให้กับ ท้องทะเลอีกทางหนึ่ง “เราหวั ง ว่ า เยาวชนรุ ่ น นี้ จ ะรวมตั ว กั น ในแต่ ล ะชุ ม ชนเพื่ อ ด�ำเนิ น กิ จ กรรมด้ า นอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่ และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการช่วยด�ำเนินกิจกรรมของชุมชน ซึ่งดูแลโดยคณะกรรมการชุมชน ทางแผนกฯ จะเป็นผู้ประสานและจัดหาองค์ความรู้ที่จ�ำเป็นเพื่อ เพิ่มพูนศักยภาพเยาวชน ท�ำให้เกิดความเข้มแข็งอย่างมีจังหวะก้าวร่วมกับ เทศบาลนครแหลมฉบังและหน่วยงานอืน่ ๆ” คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ให้ความเห็นปิดท้าย

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

15


ของดีบ ้านเรา

โดย คนศรี

เผือกปิ้ง ป้าแก้ว

ต�ำนานของบ้านอ่าว รสมือนี้มีเจ้าเดียวในเมืองไทย ที่กล้าประกาศตัวว่าเป็นเจ้าเดียวในเมืองไทย เพราะเผือกปิง้ หน้าตาแบบนี้ รสชาติแบบนี้ คิดสูตร ขึ้นเอง ท�ำขายมากว่า 30 ปี คนอ่าวอุดมกินกัน ตั้งแต่เด็กจนเดี๋ยวนี้มีลูก ลูกก็ยังได้กิน เผือกปิ้งของป้าแก้ว จานแก้ว หรือที่เด็กๆ เรียกยายแก้ว รับประกันว่าอร่อยไม่เหมือนใคร หากินที่ไหนไม่ได้ นอกจากที่ ซอย 4 อ่าวอุดมนี้คนที่เคยกินขนมจากจะบอกว่าคล้ายๆ แต่ก็ไม่ใช่ เผือกปิ้งของป้าแก้วนั้นจะห่อเป็นรูปทรงกระบอก อันเล็กๆ พอดีค�ำและมีมะพร้าวเป็นส่วนประกอบคล้ายขนมจาก แต่ ร สชาติ ข องเผื อ กจะนุ ่ ม เนี ย นและหอมนวลกว่ า ส่ ว นที่ ติดไหม้นิดหน่อยจะยิ่งหอม ยิ่งรสมือป้าแก้วนั้นผสมได้ลงตัว คือหวานพอดี กินได้ กินเพลิน เกินห้ามใจ หรือกินจนลืมนับกัน ทีเดียว ยิ่งกินร้อนๆ ยิ่งนุ่มอร่อย กินไม่หมด กลับถึงบ้านเย็นๆ หยิบมาแกะกินยังอร่อยจนรูส้ กึ ว่าท�ำไมซือ้ มาน้อยจัง แถมขายใน ราคาย่อมๆ เพียง 4 ชิ้น 10 บาท

16 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

เผือกที่ป้าแก้วเลือกมาท�ำเนื้อจะร่วนอร่อย เมื่อเอามานึ่งให้ สุกในตอนคำ�่ ป้าจะยีทงิ้ ไว้กอ่ น พอเช้ามืดป้าจะตืน่ มาขูดมะพร้าว ทีเ่ ลือกมาแล้วว่าต้องไม่ออ่ นไม่แก่ คือเนือ้ มันแต่ยงั เคีย้ วได้ไม่แข็ง เกินไป ผสมเสร็จตามสูตรแล้วจึงห่อขึน้ เตาปิง้ เป็นพระเอกของร้าน เมือ่ มีพระเอกแล้วจะขาดนางเอกได้อย่างไร นางเอกประจ�ำ ร้านของป้าแก้ว คือ สาวสวยผิวเหลืองทอง นุ่งกระโปรงเขียว แต่งหน้าขาว แหม! คนศรีเล่นให้ทายเหมือนปริศนา ขอเฉลยเลยค่ะ ไม่อ้อมค้อม นั่นคือ...ขนมตาลเจ้าค่ะ ขนมตาลของป้าแก้วนี้ เด็กๆ ชอบกันทั้งนั้น รสชาติไม่ เหมือนขนมตาลเจ้าอื่น เพราะป้าคิดเอง ผสมเอง เป็นขนมตาล ที่กวนกับกะทิจึงหอมหวานและมัน แม้สูตรจะไม่เหมือนใคร แต่ รับประกันฝีมอื และความตัง้ ใจ เพราะป้าบอกว่าขนมตาลนีท้ �ำยาก ขั้นตอนมาก ต้องยีตาลทิ้งไว้ 2-3 วันก่อนเก็บในตู้เย็น แล้วถ้าจะ ขายพรุ่งนี้ต้องน�ำมาผสมเครื่องต่างๆ ทิ้งไว้ตั้งแต่กลางคืนเช้าถึง จะนึ่งได้


“ของอย่างนี้ต้องมีเวลาของมัน” ป้าแก้วเล่าต่อว่า “ถ้า แก่น�้ำ (น�้ำมากไป) ก็แข็ง ถึงน�้ำตาล (น�้ำตาลมากไป) ก็ด้าน เหมือนกัน” ขนมตาลด้านหมายถึงนึ่งแล้วไม่ฟูนุ่ม แต่จะแข็ง กระด้างหรือไม่ก็แฉะจนเละเกินไป การท�ำขนมไม่ง่ายเลย ยิ่ง ขนมตาลแล้ ว ยิ่ ง นั บ ว่ า ปราบเซี ย นที เ ดี ย วค่ ะ ศิ ล ปะการท�ำ ขนมจึ ง ชวนให้ โ ยงใยถึ ง ศิ ล ปะแห่ ง การใช้ ชี วิ ต อะไรมากไป น้อยไป ชีวิตก็ขาดดุล เหมือนขนมปรุงรสหนักมือเบามือไปก็ ไม่อร่อย กว่าป้าจะท�ำขนมขายได้อย่างทุกวันนี้ ต้องลงทุนเททิ้ง ทั้งหม้อมาแล้วนับไม่ถ้วน “พยายามจับสูตรของตัวเอง ใช้น�้ำ เท่าไร กะทิ น�้ำตาล ตาลเท่าไร ยากมาก เพราะพ่อแม่ไม่ได้ สอน ต้องค้นคว้าเอง” แล้วป้าก็พยายามจนส�ำเร็จ กลายเป็น ขนมตาลสู ต รเฉพาะ เผื อ กปิ ้ ง เจ้ า เดี ย วที่ ไ ม่ เ หมื อ นใคร นอกจากนี้ พอถึงหน้าเทศกาลขนมเทียน นอกจากท�ำไว้กนิ เองแล้ว ป้าแก้วยังท�ำขายด้วย กล้วยปิง้ ก็เคยท�ำขาย แต่พอกล้วยแพงสูไ้ ม่ไหว ขนมฟักทองก็ท�ำบ้างสลับเปลี่ยนไปตามวัตถุดิบ แต่ที่ยืนพื้นมี ประจ�ำร้านทุกวัน คือ เผือกปิ้งแสนอร่อย พระเอกประจ�ำร้านค่ะ ปีนี้ป้าแก้วหรือยายแก้วอายุ 78 ปี แล้ว ยังตื่นแต่เช้ามืดมา ผสมเผือก ห่อ และปิง้ ขายเองทุกวัน แต่มพี ญี่ าดา จานแก้ว ลูกสาว และแฟนมาช่วยด้วย จึงมั่นใจได้ว่าสูตรรสมือป้าแก้วจะได้สืบ ต�ำนานความอร่อยเป็นของดีคบู่ า้ นอ่าวให้เราได้ลมิ้ รสไปอีกนานค่ะ

“พยายามจับสูตร ของตัวเอง ใช้น�้ำเท่าไร กะทิ น�้ำตาล ตาลเท่าไร ยากมาก เพราะพ่อแม่ ไม่ได้สอน ต้องค้นคว้าเอง”

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

17


ก้ า วทั นโลก โดย ติมา

กลิ่นวาซาบิ เตือนภัยฉุกเฉิน

จากความคิดสนุกๆ มาเป็นงานศึกษาวิจัยจริงจัง เมื่อ ศาสตราจารย์มาโกโตะ อิมาอิ และเพือ่ นๆ นักเคมีตงั้ ข้อสังเกตว่า เมื่อเกิดเหตุร้าย เช่น ไฟไหม้ บางคนอาจนอนหลับไม่รู้เรื่อง หรือคนที่มี ความบกพร่องทางการได้ยนิ แล้วจะท�ำอย่างไรให้เขารูต้ วั ได้ เลยคิดถึงการส่งสัญญาณเตือนแบบใหม่ดว้ ย กลิ่น พวกเขาทดลองเลือกกลิ่นต่างๆ จนมาลงตัวที่กลิ่นวาซาบิแล้วทดลองกับคน 14 คน ในนั้นมี 4 คน ที่ไม่ได้ยินเสียง เมื่อทุกคนนอนหลับสนิท (ตรวจสอบโดยใช้เครื่องวัดคลื่นสมอง) จึงพ่นควันไร้กลิ่นเข้าไป ก่อน ยังไม่มใี ครตืน่ จนกระทัง่ พ่นควันกลิน่ วาซาบิเข้าไป ปรากฏว่า 13 คนตืน่ ขึน้ มากดปุม่ ตอบสนองตาม ที่ตกลงกันไว้ภายในเวลาไม่เกิน 2 นาที ส่วนคนที่ไม่ตื่นเพราะมีการติดอุปกรณ์กั้นกลิ่นไว้ที่จมูก ทีมวิจัย จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ชิงะพัฒนางานวิจัยนี้ร่วมกับบริษัทในโกเบ จนกลายเป็นระบบเตือนภัย ด้วยกลิ่นวาซาบิที่ใช้งานได้ดีจริง เมื่อเกิดเหตุ เครื่องเตือนภัยจะปล่อยกลิ่นฉุนของวาซาบิความเข้มข้น 20 ส่วนในล้านส่วนที่แรงพอจะปลุกคนตื่นและท�ำให้แสบตาด้วย แต่ไม่แรงถึงขนาดท�ำให้ไม่มีแรงหนีได้ สารเคมีที่มีฤทธิ์ปลุกคนในวาซาบิ คือ อัลลิน ไอโซไธโอไซยาเนต (Allyl Isothiocyanate) ข้อมูลจากนิตยสาร update ฉบับที่ 294 ปี 2555

“DoctorMe”

โมบาย แอปพลิเคชั่นสุขภาพตัวแรกของไทย เพราะอยากให้คนไทยสุขภาพดีถว้ นหน้า และทันกระแสยุค 3 จี แผนงาน ICT ของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) จึงร่วมกับสถาบัน ChangeFusion มูลนิธหิ มอชาวบ้าน และบริษัท โอเพ่นดรีม พัฒนา “ดอกเตอร์มี (DoctorMe)” เป็น แอปพลิเคชั่นตัวแรกเพื่อการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของคนไทย คนที่ใช้ iPhone, iPod Touch หรือ iPad กว่า 450,000 คนใน ประเทศ สามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นสุขภาพนี้มาใช้ได้ฟรี ข้อดีคือใช้งานตลอดเวลาไม่ต้องต่อเข้าอินเทอร์เน็ต ดังนั้น เมื่อเกิดเจ็บป่วย หรือเกิดเหตุฉุกเฉินแล้วต้องการค�ำแนะน�ำ พร้อมวิธีการดูแลตัวเองเบื้องต้น หรืออยากรู้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค ที่ ตนเองเป็ น สามารถเปิ ดใช้งานได้ง่ายและรวดเร็ว ทั้งยัง มั่ น ใจว่ า ข้ อ มู ล ถู ก ต้ อ งด้ ว ย ดาวน์โหลดได้ฟรีผ่าน Apple App Store หรื อ http:// doctorme.in.th และกรุณา ส่งค�ำแนะน�ำ หรือปัญหาที่พบ ได้ที่ help@opendream.co.th

เสื้อคลุมล่องหน

จิ น ตนาการในนิ ย ายก�ำลั ง จะใกล้ความเป็นจริงแล้วค่ะ เมื่อ นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย เท็ ก ซั ส สหรัฐอเมริกา ทดลองท�ำให้วัตถุ สามมิติล่องหนได้ในที่โล่งประสบ ความส�ำเร็จเป็นครั้งแรก แต่เป็น ภายใต้แสงไมโครเวฟเท่านัน้ หลักการ ง่ายๆ คือ เรามองเห็นวัตถุต่างๆ ได้ เพราะมีแสงกระทบวัตถุแล้ว แสงสะท้อนกลับมาเข้าตาเรา นักวิทยาศาสตร์เลยพยายามท�ำให้แสง นั้นกระเจิงหายไป เราจึงมองไม่เห็นวัตถุนั้น ความส�ำเร็จของงานวิจัยนี้อยู่ตรงวัสดุที่น�ำมาทดลองคลุม เรียกว่า วัสดุเมตาแบบพลาสโมนิค (Plasmonic Metamaterial) เมื่อน�ำมาคลุมแท่งทรงกระบอกแล้วฉายแสงไมโครเวฟเข้าไป โดยมี ผูส้ งั เกตการณ์อยูร่ อบทิศทาง และวัดการสะท้อนกลับของแสงทีอ่ อกมา จากวัตถุบริเวณรอบๆ และทีห่ า่ งออกไป ผลปรากฏว่าวัสดุพเิ ศษท�ำให้ แสงกระเจิงหายไปจนมองไม่เห็นแท่งทรงกระบอก แม้วา่ วัสดุพเิ ศษนี้ ใช้คลุมวัตถุรปู ร่างแบบไหนก็ได้ แต่การล่องหนจะมีประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อใช้แสงไมโครเวฟที่ความถี่ 3.1 กิกะเฮิรตซ์ ความท้าทายต่อไป คือ ท�ำอย่างไรให้ล่องหนได้ในแสงปกติค่ะ คงต้องติดตามกันต่อ ว่าอนาคตของเสื้อคลุมล่องหนจะเป็นจริงได้เมื่อไร ข้อมูลจาก www.sciencedaily.com

18 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


เคล็ดลับสุขภาพ

โดย กาบกล้วย

คุณค่าของเนื้อปลา

สาเหตุ ก ารตายอั น ดั บ หนึ่ ง ของประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว และก�ำลั ง พั ฒ นารวมทั้ ง ประเทศไทยคือ “โรคหัวใจ” จึงมีค�ำแนะน�ำจากนักโภชนาการให้รับประทานปลามากๆ เพราะเป็นแหล่งของโปรตีนคุณภาพดี ย่อยง่าย มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวและกรดไขมันพิเศษ ที่เรียกว่า “โอเมก้า-3” ค่อนข้างสูง และถ้ารับประทานปลาเล็กปลาน้อยทั้งกระดูก ก็จะได้ แคลเซียมปริมาณสูงแถมไปด้วย โชคดีนะคะที่ชุมชนของเราอยู่ใกล้แหล่งโปรตีนชั้นยอด จึงอยากเชิญชวนให้ทุกคนหันมารับประทานปลาเพื่อสุขภาพกันดีกว่าค่ะ

ควรรับประทานปลาเท่าไรถึงจะพอเพียง

ในแต่ละวันคนวัยท�ำงานต้องการโปรตีน 1 กรัมต่อน�้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เช่น ถ้ามีน�้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม จะต้องการโปรตีน วันละ 50 กรัม เป็นต้น ปริมาณโปรตีนในเนือ้ ปลาสุกมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 16-30 กรัมต่อ 100 กรัม (เนือ้ ปลาสุกหนัก 1 ขีด มีโปรตีน 16-30 กรัม) ดังนัน้ คนทีห่ นัก 50 กิโลกรัมแล้วต้องการโปรตีนจากปลาเพียงอย่างเดียว ต้อง รับประทานเนื้อปลาจ�ำนวนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่าตัว

ควรเลือกรับประทานปลาชนิดไหน

• ปลาที่มีไขมันต�่ำมาก (น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 กรัมต่อ 100 กรัม) ได้แก่ ปลาไหล ปลากราย ปลานิล ปลากะพงแดง และปลาเก๋า • ปลาที่มีไขมันต�่ำ (มากกว่า 2-4 กรัมต่อ 100 กรัม) คือ ปลาทูนึ่ง ปลากะพงขาว ปลาจาระเม็ดด�ำ และปลาอินทรี • ปลาที่มีไขมันปานกลาง (มากกว่า 4-5 กรัมต่อ 100 กรัม) คือ ปลาสลิด ปลาตะเพียน และปลาจาระเม็ดขาว • ปลาที่มีไขมันสูง (มากกว่า 8-20 กรัมต่อ 100 กรัม) คือ ปลาช่อน ปลาสวาย ปลาดุก และปลาส�ำลี

เนื้อปลามีกรดไขมันอิ่มตัวและคอเลสเตอรอลน้อยกว่า ร้อยละ 25 ของปริมาณทีส่ �ำนักงานอาหารและยาแนะน�ำให้บริโภค ต่อวัน (น้อยกว่า 20 กรัม, Thai Recommended Daily Intake, Thai RDI) จึงเหมาะที่จะเลือกเป็นอาหารจานหลักประจ�ำบ้าน ขณะเดียวกันในเนือ้ ปลายังมีกรดไขมันไม่อมิ่ ตัวทีส่ �ำคัญอีก หลายชนิดด้วยกันรวมทั้งโอเมก้า-3 ที่มีส่วนช่วยป้องกันการเกิด โรคหลอดเลือดอุดตัน ช่วยลดระดับไขมันในเลือด เมื่อรับประทานปลาเป็นประจ�ำจะท�ำให้ห่างไกลโรคต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระดูกและฟัน จากการขาดธาตุแคลเซียม ฟอสฟอรัส และแมกนีเซียม นอกจากนี้ ปลายังมีธาตุเหล็กค่อนข้างสูงทีม่ สี ว่ น เสริมสร้างเลือด หากเป็นปลาทะเลยังมีธาตุไอโอดีนแถมไปให้ชว่ ย ป้องกันโรคคอพอก และบ�ำรุงสมองในปริมาณทีพ่ อเพียงต่อความ ต้องการของร่างกายอีกด้วย

จากสรรพคุณที่มีในเนื้อปลาชนิดต่างๆ เหล่านี้ ท�ำให้ปลา ได้รับยกย่องว่าเป็นแหล่งรวมสารอาหารชั้นดีอันทรงคุณค่าชนิด หนึ่งเลยทีเดียว คงถึงเวลาแล้วที่คุณจะลดเนื้อสัตว์ใหญ่ชนิดอื่นๆ ลองหันมารับประทานปลา ผักสด ผลไม้ให้มากขึ้นกันดีกว่า เพื่อ สุขภาพทีส่ ดใส แข็งแรง กระฉับกระเฉง และลดความเสีย่ งต่อโรคภัย แต่อย่าลืมนะคะว่าควรเลือกรับประทานปลาที่ปรุงสุกแล้ว เท่านั้นจึงจะปลอดภัยจากพยาธิต่างๆ อย่างนี้ถึงจะเรียกว่ า รับประทานอย่างชาญฉลาดค่ะ

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

19


กระบอกเสีย งชุมชน โดย ดอกล�ำโพง

นิชนันท์ เฉียวกุล

กับภารกิจผู้น�ำกลุ่มเยาวชน

น้องปุ้ย หรือ นิชนันท์ เฉียวกุล ประธานเยาวชนจิตอาสา บ้านอ่าวอุดม ปัจจุบนั อายุเพียง 22 ปี แต่มคี วามคิดอ่านและท�ำงาน ขันแข็งไม่แพ้ใคร เดิมทีนอ้ งปุย้ เป็นเพียงนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ธรรมดาคนหนึ่ง แต่โชคร้ายที่ได้เรียนถึงแค่ปี 3 ต้องเลิกเรียน เพราะคุณแม่เกิดอุบัติเหตุ แต่ความที่เป็นเด็กมีจิตใจดีและตั้งใจ ท�ำงาน ไทยออยล์จึงสนับสนุนให้น้องปุ้ยได้ท�ำงานที่ศูนย์สุขภาพ และการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน ขณะเดียวกันน้องปุ้ย ก็ ไม่ย่อท้อ เริ่มต้นเรียนมหาวิทยาลัยอีกครั้งด้วยตนเอง ที่คณะ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

20 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


จุดเริ่มของการเข้ามาท�ำงานกับชุมชน เกิดขึ้นเมื่อทาง เทศบาลนครแหลมฉบังและชุมชนบ้านอ่าวอุดมอยากตั้งกลุ่ม เยาวชนจิตอาสา น้องปุ้ยเป็น 1 ใน 50 คนที่เข้าร่วม นับเป็นการ รวมตัวครั้งแรกของกลุ่มเยาวชนในชุมชน และปุ้ยได้รับเลือกเป็น ประธาน ตลอดเวลาปีกว่าที่ต้องรับผิดชอบในฐานะประธาน ปุ้ย ได้เรียนรู้มากมาย “ครั้งแรกที่มาไม่ได้รู้สึกอะไร แต่พอมีบทบาท มีหน้าที่ เรา ต้องท�ำให้ดี ได้ลงไปท�ำงานที่ไม่เคยท�ำมาก่อน เช่น เก็บขยะที่ ชายทะเล ท�ำความสะอาดวัด ล้างกล่องนม ท�ำนำ�้ หมักชีวภาพ เรา เป็นประธานต้องคอยดูแลน้องๆ นัดวันว่างชวนกันมาท�ำกิจกรรม ซึ่งปุ้ยคิดว่าดีมาก เพราะเด็กๆ ได้มารู้จักกันมากขึ้น แต่ก่อนเดิน ไปไม่รู้จักกันเลย เดี๋ยวนี้เดินไปไหนรู้จักกัน รักกันมากขึ้น รัก ชุมชนมากขึ้น” ประสบการณ์การเรียนรู้ท�ำให้ปุ้ยเริ่มมองชุมชน ในมุมที่กว้างขึ้นและใส่ใจขึ้น “ปุ้ยเห็นปัญหาอย่างหนึ่งที่อยากให้ทุกคนในชุมชนช่วยกัน คือ ปัญหาขยะ แต่ละชุมชนขยะเยอะมาก แต่กอ่ นเยอะกว่านี้ พอ เราพาเด็กๆ มาเก็บขยะ ผูใ้ หญ่เขาเริม่ เห็นว่าเด็กยังท�ำ เขาก็ท�ำบ้าง ขยะจึงน้อยลง แต่บางจุดยังเยอะอยู่ แม้จะมีมาตรการของชุมชน ว่าให้ทิ้งขยะหลังหกโมงเย็น เพื่อให้รถขยะเข้ามาเก็บไปเลย เพื่อ ป้องกันสุนัขและลิงคุ้ยเขี่ยกระจัดกระจาย ส่วนขยะชิ้นใหญ่ รถใหญ่จะมาเก็บทุกวันจันทร์ แต่ก็ยังมีปัญหา เพราะบางตรอก บางซอยรถขยะเข้าไม่ได้ หรือถ้ารถเต็ม เขากลับเลย ไม่ไปเก็บต่อ คนในชุมชนบางคนไม่สามารถทิง้ ขยะได้ตรงตามเวลา เขาออกไป ท�ำงานเช้า กลับค�่ำ จึงต้องหิ้วมาทิ้งไว้ตั้งแต่เช้า ปุ้ยอยากขอความร่วมมือเพื่อช่วยแก้ปัญหา อย่างซอยไหน รถขยะเข้าไม่ถงึ อาจท�ำจุดทิง้ ทีห่ น้าปากซอย แล้วขอความร่วมมือ ให้ทกุ คนหิว้ มาทิง้ ตรงจุดนี้ อย่าวางไว้ทหี่ น้าบ้าน ส่วนปัญหาเรือ่ ง รถขยะคงต้องขอให้ผู้ใหญ่หรือผู้ที่มีอ�ำนาจช่วยประสานต่อค่ะ” ความตั้งใจของปุ้ยและกลุ่มเยาวชนจิตอาสาได้รับการ สานต่อ เมือ่ คุณแอนนา สุมะโน ฝ่ายงานสนับสนุนเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิโรงพยาบาลอ่าวอุดม เสนอโครงการให้ชุมชนท�ำวิจัย เรื่องที่ชุมชนสนใจและเป็นประโยชน์ด้านสุขภาวะ ตัวแทนกลุ่ม เยาวชนจ�ำนวนหนึง่ ได้เข้าร่วมเรียนรูก้ ระบวนการวิจยั นี้ และเลือก ปัญหาขยะในชุมชนขึน้ มาเพือ่ ท�ำวิจยั โดยได้ลงพืน้ ทีส่ �ำรวจปัญหา พูดคุยกับชาวบ้าน พบว่าปัญหาขยะเกิดจากลิงรื้อค้นถังขยะและ ปัญหาขยะชายหาด

กลุ่มเยาวชนสรุปผลที่ได้จากการท�ำวิจัยให้ชุมชนรับทราบ เพือ่ ให้รว่ มกันแก้ไขปัญหา เช่น ปัญหาขยะทีเ่ กิดจากลิง ชุมชนก�ำลัง ด�ำเนินการจัดท�ำตะแกรงครอบถังขยะ ส่วนปัญหาขยะชายหาดที่ น�ำ้ ทะเลพัดเข้ามา คงต้องหามาตรการแก้ไขต่อไป นอกจากนัน้ ทางกลุม่ ยังได้น�ำเสนอผลงานวิจัยในระดับภูมิภาค ในงานที่จัดขึ้นที่ศูนย์ พัฒนาทรัพยากรบุคคลงานทาง กรมทางหลวง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี “ปุย้ เข้าใจว่าตอนนัน้ เขาคัดเลือกตัง้ แต่แรกแล้วว่าโครงการ ของเราเข้ารอบระดับภูมภิ าค ต่อมามีพธิ มี อบโล่ประกาศเกียรติคณุ ระดับประเทศที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2555 ปรากฏ ว่าโครงการของเราติด 1 ใน 10 ในระดับประเทศ ประเภท กลุ่มเยาวชนดีเด่นด้านการจัดการระบบสุขภาพชุมชน ปี 2554 โครงการศึกษาแนวทางการดูแลสุขภาพตนเองโดยภาคีเครือข่าย ชุมชนเขตอุตสาหกรรม กรณีศกึ ษาเรือ่ ง การจัดการขยะในชุมชน บ้านอ่าวอุดม เขตเทศบาลนครแหลมฉบัง ชลบุรี จัดโดยชมรม พยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย ได้รับโล่จากคุณวิทยา บุรณศิริ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข” นี่คือรางวัลแห่งความภาคภูมิใจของปุ้ยและกลุ่มเยาวชน จิตอาสาฯ ทุกคนทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ในการแก้ปญั หาขยะของชุมชน “ปุย้ อยากให้ชมุ ชนของเราสะอาด ถ้าคนในชุมชนช่วยกันปรับ ภูมิทัศน์ให้สวยงามด้วย เราน่าจะอยู่กันอย่างมีความสุขมากขึ้น” ความหวังของเยาวชนทีเ่ ป็นอนาคตของชุมชนคงจะเป็นจริง เมื่อปุ้ยเองให้ค�ำมั่นว่าจะไม่ย่อท้อในการท�ำงานเพื่อชุมชนต่อไป ฝากไว้แต่ขอความร่วมมือจากพีป่ า้ น้าอาทุกคนในชุมชนให้ชว่ ยกัน เพื่อให้ชุมชนของเราเป็นบ้านที่น่าอยู่ตลอดไป กลุ ่ ม เยาวชนจิ ต อาสาบ้ า นอ่ า วอุ ด มก่ อ ตั้ ง เมื่ อ เดื อ น ธันวาคม 2553 เป็นกลุม่ อาสาสมัครท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ในชุมชนบ้านอ่าวอุดม ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนบ้านอ่าวอุดม โดยมีคุณหมอสุรพล ขลึมประเสริฐ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมป้องกัน และควบคุมโรค ส�ำนักการสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม เทศบาล นครแหลมฉบังเป็นทีป่ รึกษา จัดกิจกรรมอาทิตย์เว้นอาทิตย์ เช่น เก็บขยะชายทะเล ท�ำนำ�้ หมักจุลนิ ทรีย์ EM จากเปลือกสับปะรด แจกในชุมชน และเก็บกล่องนมร่วมโครงการหลังคาสีเขียว (Green Roof) ร่วมเป็นพีเ่ ลีย้ งกิจกรรมค่ายวัฒนธรรมวิทยศาสตร์ เครือไทยออยล์ เป็นต้น น้องๆ คนไหนสนใจอยากร่วมพลังจิตอาสา ของกลุ่มฯ เพื่อพัฒนาชุมชนของเรา ติดต่อได้ที่คุณนิชนันท์ เฉียวกุล หรือพี่ปุ้ย โทร. 08 1664 7089 หรือคุณสุนันท์ เสียงดัง ประธานชุมชนบ้านอ่าวอุดม ทางกลุ่มฝากประชาสัมพันธ์มาว่า ยินดีต้อนรับทุกท่านค่ะ ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

21


ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม

โดย หงวน ชวน ชิม

ครัวอิ่มเช้า กับสองสาวเพื่อนซี้ อิ่มเช้า อิ่มกันได้ทั้งวัน กับคุณภาพที่มา พร้อมความใส่ใจ

ร้านเล็กๆ เพิ่งเปิดได้ ไม่นาน หน้า ม.เกษตร ของสอง สาวเพื่อนซี้ คุณเบน เบญจวรรณ เบญจมาศ และคุณมด สุขุมาพร อุเทนมา ทั้งคู่เป็นเพื่อนกันตั้งแต่สมัยวัยรุ่น เมื่อ เติบโตท�ำงานจนถึงวันทีอ่ ยากเป็นเจ้าของธุรกิจของตนเอง จึงลงขัน ลงแรง และลงทุนไปเรียนวิชาท�ำอาหารอร่อยๆ จากอาจารย์ชอื่ ดังในกรุงเทพฯ และกลับมาเปิดร้าน เล็กๆ ทีช่ ว่ ยกันออกความคิดตกแต่งง่ายๆ แต่ อบอุ่นน่านั่ง น่าอุดหนุนเป็นที่สุด ถ้าพูดถึงอาหารจานเดียวยอดนิยมของ คนไทย หนึ่งในนั้นจะต้องมีเมนูข้าวมันไก่ แน่นอน และถ้าให้ข้าวมันไก่เป็นเพื่อนซี้กับใคร สักคน อีกคนคงหนีไม่พน้ ข้าวขาหมู สองสาวจึงเลือก สองเมนูนี้มาชูโรงประจ�ำร้าน แต่กลัวลูกค้าไม่จุใจ เลยเพิ่มเมนู ลูกคู่อีก ที่ก�ำลังดัง คือ ข้าวย�ำไก่แซบ ที่คุณเบนกระซิบว่าต้อง ไปขอเรียนวิชาจากตัวจริงมาเช่นเดียวกัน ทั้งสองเมนูคู่ใจนักศึกษาทั้งข้าวขาหมูและข้าวมันไก่นั้น สองสาวรับประกันคุณภาพ เพราะทุกขัน้ ตอนท�ำเองกับมือ ตัง้ แต่ ต้มไก่ให้หวานและสวย ต้อง 18 นาทีพอดิบพอดี เนือ้ จึงจะไม่เละ

22 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


ส่วนจะให้สสี วย คุณเบนกระซิบเคล็ดลับว่าต้มพร้อมกับดอกเก๊กฮวย จะได้ไก่ต้มสีเหลืองสวยเป็นธรรมชาติ สูตรน�้ำจิ้มข้าวมันไก่ของ คุณเบนนัน้ เป็นสูตรแบบไหหล�ำ ทีจ่ ะต้องใช้พริกขีห้ นูสด ข่าสดหัน่ ซอยหยาบ ไม่ปั่นเด็ดขาด เพราะจะท�ำให้ไม่อร่อย และจะขาด ส่วนผสมส�ำคัญไม่ได้คือมะนาว น�้ำจิ้มจึงจะครบรส มีทั้งเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด ลงตัว ส่วนขาหมู สูตรนำ�้ พะโล้ทตี่ ม้ เคีย่ วกันได้ทกี่ ห็ อม จริงๆ ค่ะ นอกจากเนือ้ จะนุม่ หวานแล้ว เครือ่ งเคียงทีช่ ว่ ยชูรสชาติ นัน้ สองสาวยังพิถพี ถิ นั ไม่ใช่นอ้ ย อย่างคะน้าเลือกเอาเฉพาะยอดคะน้า เท่านัน้ ผักดองต้องน�ำมาล้างนำ�้ ถึง 3 นำ�้ แล้วต้มใหม่ใส่นำ�้ ตาลปีบ๊ เล็กน้อย ท�ำให้ผกั ดองมีรสชาติหวานนิดเปรีย้ วหน่อย แนมกับขาหมู และน�้ำ จิ้ ม ที่ คุ ณ เบนบอกว่าถ้าให้อร่อยต้องใช้พ ริก เหลืองต�ำ เท่านัน้ แต่ชว่ งนีน้ อกฤดูกาล กิโลกรัมละเกือบ 200 บาท จึงจ�ำเป็น ต้องลดความอร่อยลงนิด นิดเดียวจริงๆ ค่ะ มาใช้พริกเขียวแทน แต่หอมอร่อยไม่แพ้กัน เมนูพิเศษอย่างข้าวย�ำไก่แซบนั้นเป็นขวัญใจสาวๆ ทีเดียว เพราะไม่ใช่แค่รสมือที่ท�ำน�้ำย�ำได้ครบรส แต่ยังมีรายละเอียดที่ แม่ครัวสองสาวของเราใส่ใจจริงๆ เช่น ข้าวคั่ว จะต้องคั่วพร้อม กับใบมะกรูดแล้วปั่นไปพร้อมกันเลย เพื่อให้ได้ข้าวคั่วที่หอมเป็น พิเศษ ส่วนไก่นั้นจะเลือกเฉพาะส่วนสะโพกเนื้อแน่นมาทอดให้ กรอบ เคล็ดลับความอร่อยของย�ำแซบยังไม่หมด คุณเบนบอกเรา ว่าเวลาหั่นต้องพิถีพิถัน เฉือนให้ชิ้นบางก�ำลังกิน เพื่อให้น�้ำย�ำเข้า ถึงเนื้อไก่ทุกค�ำ

พิถพี ถิ นั กันขนาดนีแ้ ล้วยังใจดีอกี ด้วย เพราะทีร่ า้ นมีบริการ น�้ำดื่มสะอาดพร้อมน�้ำแข็งฟรี ให้ทุกคนอิ่มสบายท้อง ไม่ต้องเสีย เงินเพิม่ ค่านำ�้ และไม่ตอ้ งเพิม่ ภาระให้โลกกับขวดนำ�้ ดืม่ ซึง่ ทุกวันนี้ กลายเป็นปริมาณขยะมหาศาลเหลือเกิน แต่ถ้าอยากกินน�้ำหวาน ก็ไม่ต้องง้อน�้ำอัดลม เพราะที่นี่คุณเบนและคุณมดยังจัดเมนูน�้ำ สมุนไพรรสชาติเข้มข้นเพราะต้มเอง จะหวานหอมแบบไหนมีให้ เลือกมากมาย ทัง้ เก๊กฮวย บ๊วย ล�ำไย กระเจีย๊ บ มะตูม ขายแก้ว ละ 10 บาทเท่านั้นเอง ส่วนใหญ่จะมีให้อร่อยทุกวัน ยกเว้นวัน ที่เราไปชิม (เพราะเหตุขัดข้องทางเทคนิค) น่าเสียดายจริงๆ ค่ะ ใครผ่านไปอุดหนุน อย่าลืมชิมเผื่อด้วยนะคะ

ผ่านแยกอ่าวอุดมเลี้ยวขวามาด้านข้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศรีราชา ผ่าน หน้าโรงพยาบาลอ่าวอุดม จนถึงประตู 3 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฝั่งซ้ายมือ ส่วนร้านจะอยูท่ างขวามือ ไม่มปี า้ ยชือ่ ร้านด้านหน้า แต่สงั เกตการตกแต่งร้านเป็นรถเข็นไม้ และโต๊ะ เก้าอี้ไม้ประดู่สีน�้ำตาล หรือโทรศัพท์สอบถามทางได้ที่ 08 5103 9555

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

23


ปลอดภัย ใกล้ตัว

โดย เซฟตี้เกิร์ล

ภัยร้ายที่ป้องกันได้

ในช่วงสภาวะเศรษฐกิจไม่ดี โจรขโมยชุกชุม “ปลอดภัยใกล้ตัว” ฉบับนี้มีข้อแนะน�ำส�ำหรับการระวังภัยร้ายที่อาจเกิดขึ้นกับตัว โดยเฉพาะ คุณสุภาพสตรีมาฝากเป็นความรู้ ดังนี้ 1. อย่าใช้กระเป๋าแบรนด์เนม เพราะมันจะเป็นตัวล่อให้ขโมยจ้อง ฉกชิงวิ่งราวมากกว่ากระเป๋าธรรมดาถึง 10 เท่า หากถูกกรีดจะยิ่งท�ำให้ คุณผู้หญิงเจ็บช�้ำซ�้ำสอง เพราะเสียดายกระเป๋าอันแสนแพง หน�ำซ�้ำบาง รายยอมเจ็บตัวต่อสูเ้ พือ่ ปกป้องกระเป๋าด้วยซำ�้ ดังนัน้ แนะน�ำให้ใช้กระเป๋า ใบทีต่ ดั ใจทิง้ ได้หากจ�ำเป็น เพือ่ รักษาชีวติ และร่างกายไม่ให้บาดเจ็บเพราะ กระเป๋าใบเดียว 2. กระเป๋าถือไม่ใช่ตู้นิรภัยเคลื่อนที่ เริ่มต้นด้วยการหยิบของใน กระเป๋าออกมาส�ำรวจ สิ่งที่ควรมีในกระเป๋าคือของมีค่าไม่มากแต่จ�ำเป็น ต่อชีวิตประจ�ำวันเท่านั้น อย่าเอาของมีค่าใส่ไว้ในกระเป๋าถือ ควรเก็บเอา ไว้ทบี่ า้ น มิฉะนัน้ หากโดนฉกกระเป๋าอาจต้องเสียใจและเสียดายเพราะเสีย ของมีค่าไป 3. ฝึกนิสยั ให้พกเงินสดเพียงพอเท่าทีจ่ ะใช้ตอ่ วัน ถ้าเราใส่เงินไว้แค่ เท่าที่เราจะใช้ หากโดนขโมย เราก็จะเสียหายเท่ากับแค่เงินรายวันเท่านั้น

24 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


4. พกบัตรเงินสดหรือบัตรเครดิตให้น้อยที่สุด และควรเป็นบัตรที่มี วงเงินหรือเงินในบัญชีนอ้ ยทีส่ ดุ หากโดนขโมยไปและโจรน�ำไปกดเงินก็จะได้ ไปไม่มาก 5. อย่าไว้ใจฝากใครไปกดเงินสดให้ หรือให้เขารู้รหัสบัตรเงินสด เพราะเขาอาจแอบหยิบบัตรเงินสดออกจากกระเป๋าคุณไปกด แล้วเอาบัตร กลับมาไว้ที่เดิมโดยที่คุณไม่รู้ตัวก็ได้ 6. ถ่ายเอกสารหลักฐานส�ำคัญในกระเป๋าเอาไว้ เพื่อให้ง่ายต่อการ ส�ำรวจว่าอะไรที่หายบ้าง ซึ่งจะสะดวกในการแจ้งความหรือแจ้งอายัดบัตร กรณีเกิดถูกขโมยจริงๆ 7. จดเบอร์โทรศัพท์ส�ำหรับแจ้งอายัดบัตรส�ำคัญๆ ไว้ เช่น หมายเลข โทรศัพท์ธนาคารเจ้าของบัตรเอาไว้ที่บ้าน ที่ท�ำงาน ในรถ หรือบันทึกไว้ใน โทรศัพท์มือถือ จะได้แจ้งอายัดบัตรได้ทันที ข้อแนะน�ำเหล่านี้อาจช่วยลดความเสี่ยงจากการถูกโจรกรรม ปล้นชิง ทรัพย์ไปได้ในระดับหนึ่ง แต่ทั้งหลายทั้งปวงคือขอให้มีสติตลอดเวลา โดย เฉพาะในช่วงที่ต้องใช้บริการรถสาธารณะ หรืออยู่ในที่ที่มีผู้คนจ�ำนวนมาก เช่น ตลาดนัด หรือระหว่างเดินช้อปปิ้งในงานมหกรรมลดราคาสินค้าที่คุณ ผู้หญิงส่วนใหญ่โปรดปราน

ขอบคุณข้อมูลอ้างอิง : บทความของอาจารย์มงคล กริชติทายาวุธ

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

25


เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน

โดย ค�ำศรี

ชุมชนคลองเรือ กับภูมิปัญญาป่า 4 ชั้น

เยี่ ย มเยื อ นเพื่ อ นบ้ า นฉบั บ นี้ พ าลงใต้ ไ ปไกลถึ ง จังหวัดชุมพร เพื่อเยี่ยมชมชุมชนคลองเรือ หมู่ 9 ต�ำบล ปากทรง อ�ำเภอพะโต๊ะ ชุมชนนี้เป็นชุมชนเล็กๆ แห่งหนึ่ง ที่อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าควนแม่ยายหม่อน ซึ่ง เป็นพื้นที่ต้นน�้ำของแม่น�้ำหลังสวน ผืนป่าดิบชื้นอุดม สมบรูณ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพมาก พบ แม้กระทั่งบัวผุด ดอกไม้ขนาดใหญ่ที่พบได้ ไม่กี่แห่งใน ประเทศไทย

จากหลากที่มารวมเป็นถิ่นเดียว

ชุมชนนี้เพิ่งตั้งถิ่นฐานไม่นาน เพียงแค่ 37 ปีเท่านั้น ชาวชุมชนมีไม่ถึง 100 ครัวเรือน ประมาณ 300 คน ต่างคนมาจากต่างถิ่นต่างที่ เริ่มตั้งแต่ปี 2518 มีคน เข้ามาหากินด้วยการร่อนแร่ดีบุก และท�ำเหมืองแร่แบบชักจอบ เมื่อแร่เริ่มหายากจึง หันมาแผ้วถางป่า ท�ำไร่ ปลูกข้าว ปลูกกาแฟ เมื่อราคากาแฟสูงขึ้น คนเริ่มเข้ามา มากขึ้น ส่วนใหญ่มักมีปัญหาเรื่องที่ดินท�ำกิน บ้างถูกไล่ที่มา หรือไม่มีเงินพอจะซื้อ ที่ดินได้ จนกระทั่งปี 2536 หน่วยจัดการต้นน�้ำพะโต๊ะ กรมป่าไม้ (ปัจจุบันคือหน่วย อนุรักษ์และจัดการต้นน�้ำพะโต๊ะ) เริ่มเห็นว่ามีการบุกรุกป่ามากขึ้น จึงเริ่มโครงการ “คนอยู่ ป่ายัง” เพื่อช่วยกันจัดสรรการใช้ทรัพยากร และพัฒนาความเป็นอยู่ของคน ให้เป็นไปอย่างสมดุล การทีค่ นในชุมชนมาจากทัว่ ประเทศ ต่างความคิด ต่างวัฒนธรรม ดูเหมือนจะ เป็นจุดอ่อน แต่กลับกลายเป็นจุดแข็ง เมื่อเห็นตรงกันว่า “อพยพกันมาอยู่ที่นี่ หาก ต้องโยกย้ายหนีอกี เห็นทีจะไม่มที ไี่ ปแล้ว” ดังนัน้ ทุกคนจึงเลือก “ขอรับผิดชอบป่า” ชาวชุมชนคลองเรือจึงพร้อมใจให้ความร่วมมือกับโครงการอย่างเต็มที่ ทัง้ หมดเรียนรู้ และช่วยกันพัฒนา ผ่านร้อนผ่านหนาวมีบทเรียนมากมาย จนกลายเป็นต้นแบบการ เรียนรูด้ งู านการพัฒนาชุมชนในหลายด้าน เห็นได้จากตัวอย่างรางวัลมากมายทีช่ มุ ชน ได้รบั เช่น หมูบ่ า้ นรักษาป่ายอดเยีย่ มได้รบั “ธงพิทกั ษ์ปา่ เพือ่ รักษาชีวติ ” จากสมเด็จ พระบรมราชินนี าถ ปี 2541 ได้รบั รางวัลยอดเยีย่ ม The 6th Thailand Tourism Awards 2006 ประเภทแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ รางวัล “หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง อยู่เย็น เป็นสุข” ประจ�ำปี 2550 ได้รับคัดเลือกเป็นต�ำบลเขียวขจีดีเด่น ประจ�ำปี 2550 เป็น หนึง่ ใน “มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย” ปี 2550-2552 ของส�ำนักงานพัฒนาการท่องเทีย่ ว

26 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555


กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา และเป็นชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ตัวอย่างของ จ.ชุมพร ปี 2552 และได้รับรางวัลชนะเลิศการ ประกวดการจัดการทรัพยากรนำ�้ ชุมชนตามแนวพระราชด�ำริ ครัง้ ที่ 4 ปี 2553

ภูมิปัญญาป่า 4 ชั้น

แต่ฉบับนี้คนศรีขอหยิบเพียงประเด็นเดียวมาเล่าสู่กันฟัง เพราะเป็นสิ่งที่คนบ้านเราน่าจะน�ำไปปรับประยุกต์ได้ นั่นคือ ภูมิปัญญาเรื่องป่า 4 ชั้น จากความคิดที่ต้องการรักษาทรัพยากร ป่าไม้ ไม่แผ้วถางเพิม่ และจ�ำกัดการใช้ทรัพยากรผืนดินให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ แกนน�ำชุมชน 2 คน คือ นายชัยรัตน์ แว่นแก้ว และนายไพศาล ทรงศิริ จึงคิดน�ำองค์ความรูภ้ มู ปิ ญั ญาการท�ำสวนแบบสวนพ่อเฒ่า สวนสมรมของชุมชนลุ่มน�้ำหลังสวน และความรู้เรื่องระบบพืชใน ป่าที่มีการจัดชั้นเรือนยอด 3 ระดับ ได้แก่ ชั้นบน ชั้นกลาง และ ชั้นล่าง มาผสมผสานกับวัฒนธรรมการกินของคนชนบท ที่นิยม กินพืชผักผลไม้หลากหลายตัง้ แต่ยอด ล�ำต้น ผล จนถึงใต้ดนิ (หัว) ประยุกต์เป็นรูปแบบเกษตร 4 ชัน้ ใช้ประโยชน์อย่างคุม้ ค่ามาส่งเสริม แทนการท�ำไร่ หรือการท�ำเกษตรแบบเชิงเดี่ยว เกษตร 4 ชั้นจะแบ่งต้นไม้ออกเป็น 4 ระดับตามความสูง ชัน้ ที่ 1 เป็นไม้ชนั้ บน คือ พันธุไ์ ม้ทตี่ น้ สูงทีส่ ดุ เช่น สะตอ มะพร้าว หมาก ฯลฯ ชั้นที่ 2 เป็นไม้ชั้นกลาง พันธุ์ไม้เหล่านี้เมื่อโตเต็มที่

แล้ว เรือนยอดจะต�่ำกว่าไม้ชั้นบน เช่น มะนาว เงาะ ลางสาด มังคุด ฯลฯ ถัดลงมาเป็นไม้ชั้นล่างลดหลั่นมาจากชั้นกลาง เช่น พริก มะเขือ ผักหวาน ผักเหลียง ชะอม ฯลฯ ส่วนชัน้ สุดท้ายเป็น ชั้นของไม้ที่ปลูกคลุมผิวดินให้ผลอยู่ใต้ดิน เช่น เผือก มัน ขมิ้น ข่า ขิง กลอย ฯลฯ การจัดความสัมพันธ์ของพืชพันธุท์ งั้ 4 ชัน้ มองอีกแง่หนึง่ คือ การจัดความสัมพันธ์ในการใช้ทรัพยากรดิน น�ำ้ ป่าไม้ อย่างสมดุล เพราะพืชหลากหลายชนิดต่างเอื้อกัน อยู่กันได้อย่างกลมกลืน อีกทั้งช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศให้สมบูรณ์ขึ้น ต่างจากการท�ำเกษตร เชิงเดี่ยว นอกจากนี้ คนในชุมชนแม้จะมีทดี่ นิ จ�ำกัด แต่ยงั มีทกุ อย่าง ให้กินไม่ต้องซื้อหา เพราะจะปลูกทุกอย่างที่อยากกินได้ โดยการ สังเกตความสูงและการจัดเรือนยอดของพืชแต่ละชนิด ปัจจุบัน คนคลองเรือได้เรียนรู้เรื่องพืชแต่ละชนิดมากขึ้น และขยายพันธุ์ พืชให้หลากหลายมากขึ้น เช่น การรวบรวมพันธุ์ผักป่าอายุยืน เช่น ผักเหลียง ผักกูด เสม็ดชุน ส้มมวง ส้มแขก มาเติมเต็มใน พื้นที่เกษตร 4 ชั้นของบ้านคลองเรือ ภูมิปัญญาง่ายๆ นี้ยังช่วยรื้อฟื้นวัฒนธรรมการกินพืชผัก สมุนไพร การกินพืชตามฤดูกาล พืชผักที่ปลูกเองไม่มีสารเคมี จึงท�ำให้คนคลองเรือนอกจากจะสุขใจเพราะความร่มรื่นของป่า 4 ชั้นรอบบ้านแล้ว ยังสุขกาย แข็งแรงด้วยอาหารการกินที่อุดม ทั้งคุณค่าและความภูมิใจ ชุมชนคลองเรือจึงเป็นชุมชนตัวอย่างหนึง่ ทีพ่ สิ จู น์ให้เห็นว่า ชุมชนเล็กๆ ทีเ่ พิง่ ตัง้ ต้น แต่หากมีความร่วมมือร่วมใจ คนกับคน หรือคนกับป่าล้วนอยูร่ ว่ มกันได้อย่างกลมเกลียวมีความสุข บทเรียน นอกห้องเรียนมากมายมีไว้ให้เรียนรู้ หากชุมชนใดอยากไปพูดคุย แวะไปเยีย่ มเยือนได้ทกุ เวลา ชาวคลองเรือยินดีตอ้ นรับทุกท่านค่ะ ขอบคุณข้อมูล โครงการการจัดการความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ ติดต่อเรียนรู้ดูงานได้ที่ ผู้ใหญ่มนัส คล้ายรุ่ง หรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ชัยรัตน์ แว่นแก้ว โทร 08 7884 5267 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

27


เกมจับผิดกีฬา

ลับสมองลองเล่นเกม โดย กองบรรณาธิการ

ฉบับนี้มาอินเทรนด์กับช่วงกีฬาโลกที่ 4 ปีมีเพียงครั้งเดียวกับโอลิมปิก (Olympic) ครั้งที่ 30 จากภาพด้านล่างมีสัญลักษณ์ของกีฬาประเภทต่างๆ มาให้เพื่อนๆ ได้ร่วมสนุกกัน โดยให้วงกลม ล้อมรอบภาพทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับกีฬาประเภทใดเลย หาให้พบนะคะ แล้วส่งคำ�ตอบมาเพือ่ รับรางวัลกันค่ะ

ถ่ายเอกสารและส่งคำ�ตอบชิงรางวัลได้ที่ แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์ขององค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ภายในวันที่ 28 กันยายน 2555 ชื่อ ................................................. นามสกุล .....................................................................ที่อยู่............................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................

เกมป้ายสัญลักษณ์

ป้ายสัญลักษณ์หลากหลายรูปแบบที่ปรากฏอยู่ตามสถานที่สำ�คัญต่างๆ หรือตามท้องถนนมีความหมายแตกต่างกัน เช่น ป้ายห้าม ป้ายคำ�เตือน ป้ายบอกทาง เป็นต้น จากภาพด้านล่าง แต่ละภาพหมายถึงอะไร ให้เพื่อนๆ เขียนคำ�ตอบใต้ภาพแล้วส่งเข้ามารอรับของรางวัลกันนะคะ

ระวังถนนลื่น

ห้ามน�ำสัตว์เลี้ยงเข้า

ระวังทางลงลาดชัน

ห้ามใช้โทรศัพท์

28 ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

เฉลยเกมฉบับที่แล้ว

ขอแสดงความยินดีกับผู้ตอบค�ำถามได้ถูกต้อง และโชคดีจากการจับฉลากรายชื่อ ดังนี้ 1. คุณจิธิมาธร โพธิ์ทิพย์นพคุณ 2. คุณธัชพนธ์ ตวงธนาภูริวัฒน์ 3. คุณนฤดล อาจนาเสียว ส�ำหรับคนพิการ 4. คุณประชุม สิทธิ 5. คุณมรุต สุขไทย 6. คุณสถาพร นาถประนิล สถานีบริการน�้ำมัน 7. คุณสุทธิ ตันทวีวงศ์ 8. คุณสุธารัตน์ มีศิริ 9. คุณอ�ำภาพรรณ แย้มคลี่ 10. ด.ญ.วิลาสินี สะพานทอง


ร่วมศรัทธา เปลี่ยนผ้าครององค์พระ และถวายเทียนพรรษา

เมื่อวันที่ 28-29 กรกฎาคม 2555 เครือไทยออยล์ ทีซีพี พร้อมด้วยคณะกรรมการและ ชาวชุมชน 7 ชุมชนรอบโรงกลั่นฯ จัดกิจกรรมสืบสานประเพณีเข้าพรรษา นำ�ขบวนศรัทธา ถวายเทียนพรรษา 9 วัด งานเริม่ ตัง้ แต่ชว่ งเย็นวันที่ 28 กรกฎาคม โดยจัดให้มกี ารสวดมนต์เย็น ชำ�ระใจ ณ หอพระ ศูนย์สขุ ภาพและการเรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน ก่อนจะเฉลิมฉลอง ด้วยรำ�วงพืน้ บ้านทีแ่ ม้สายฝนจะโปรยปรายก็ไม่มใี ครถอย เช้าวันที่ 29 กรกฎาคม เริม่ งานด้วย การเปลีย่ นผ้าครององค์พระพุทธรัตนมงคลสกลประชานาถมุนี ก่อนจะมีพธิ แี ห่เทียนพรรษา และถวายเทียนให้แก่วัดในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังจำ�นวน 9 วัด

ชุมชนของเรา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555

29


เครือไทยออยล์และชุมชน ร่วมถวายเทียนพรรษาสามัคคี ส�ำนักสงฆ์ช่องเขาน�้ำซับ

ทรัพย์สินเงินทอง ก่ายกองร�่ำรวย

ส�ำนักสงฆ์ธรรมจักรคีรี

ธรรมะหนุนช่วย หนักแน่นดั่งขุนเขา

วัดมโนรม

ชีวิตไร้เศร้า สดชื่นรื่นรมย์

วัดปชานาถ (แปลว่าพระพรหม) มีพรหมวิหารสี่ บารมีเบ่งบาน

วัดเนินบุญญาราม (ต้นมะม่วง) บุญหนุนตลอดกาล มีกินมีอยู่อุดม

วัดแหลมทอง

ความคิดแหลมคม สั่งสมปัญญา

วัดแหลมฉบังเก่า

ไร้ภัยบีฑา เกราะกล้าก�ำบัง

วัดแหลมฉบังใหม่

เปี่ยมพลังแรง เข้มแข็งทั้งใจกาย

วัดใหม่เนินพยอม

เกียรติฟุ้งก�ำจาย หอมกรุ่นดังดอกพยอม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.