สวัสดีคะ่ เพือ่ นบ้านเครือไทยออยล์ทกุ ท่าน ผ่านพ้นไปด้วยดีกับงานบุญทอดกฐินสามัคคีเครือไทยออยล์ประจ�ำปี 2555 ณ วัดใหม่เนินพยอม พี่น้องในชุมชนบ้านเราทุกภาคส่วนมาร่วมบุญ ร่วมศรัทธา กันอย่างเต็มทีเ่ ต็มก�ำลัง ปัจจัยทีไ่ ด้ทางวัดจะน�ำไปบูรณะหลังคาอุโบสถให้สวยงาม อยู่คู่ชุมชนของเราตลอดไป ขอเชิญพลิกชมภาพบรรยากาศงานได้ในเล่มเลยค่ะ นอกจากนั้น ฉบับส่งท้ายปีเก่านี้ยังมีข่าวการแข่งขันกระโดดเชือกชิงแชมป์ ไทยออยล์ที่ตื่นเต้นและสนุกสนานไม่แพ้การแข่งขันระดับประเทศ ความสามารถ ของเยาวชนบ้านเราไม่เป็นรองใครจริงๆ ค่ะ ส่วนผลการแข่งขันกระโดดเชือกชิง ถ้วยพระราชทาน ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2555 นั้น คงต้องอดใจไว้รออ่าน ฉบับหน้านะคะ ปีเก่าจะลาที ปีใหม่ใกล้เข้ามา นับเป็นเวลาดีทเี่ ราจะได้ทบทวนเรือ่ งราวชีวติ ของเราตลอดปีที่ผ่านมา และเริ่มต้นท�ำสิ่งดีๆ เพื่อตัวเราเอง ครอบครัวและชุมชน ของเรานะคะ ส�ำหรับช่วงวันหยุดยาวนี้พักผ่อนกันให้เต็มที่ จะได้เริ่มศักราชใหม่ อย่างสดใสด้วยกันค่ะ พบกันใหม่ปีหน้านะคะ บรรณาธิการ
จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) จัดทำ�โดย : แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์ขององค์กร สำ�นักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารเอ ชัน้ 11 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 0000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลัน่ : เลขที่ 42/1 หมูท่ ี่ 1 ถนนสุขมุ วิท กม.ที่ 124 ตำ�บลทุง่ สุขลา อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 แผนกบริหารงานชุมชน 0 3835 5028-31
สารบัญ เรื่องจากปก
1
รอบรั้วไทยออยล์
5
ตามรอยพ่อ
8
ปลอดภัยใกล้ตัว
10
ของดีบ้านเรา
12
จิตอาสา
14
กระบอกเสียงชุมชน
16
ก้าวทันโลก
18
ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม
20
CSR โฟกัส
22
ลับสมองลองเล่นเกม
25
เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน
26
เคล็ดลับสุขภาพ
28
สกู๊ปพิเศษ
29
เรื่องจากปก
โดย นกทะเล
แห่เครื่องกฐิน
บ่ายวันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ขณะที่อยู่วัดใหม่เนินพยอม เมือ่ มองมาทางทิศตะวันออกซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของศูนย์สขุ ภาพและการ เรียนรูเ้ ครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชนนัน้ เห็นท้องฟ้าเริม่ มืดครึม้ เพราะ เมฆฝนเริ่มก่อตัว การทอดกฐินครั้งนี้มีก�ำหนดจะแห่เครื่องกฐิน จากศูนย์สขุ ภาพฯ เวลา 15.00 น. มาตัง้ องค์กฐินและฉลองผ้ากฐิน ทีว่ ดั ใหม่เนินพยอม หากฝนตกจะท�ำให้กจิ กรรมขลุกขลักแน่นอน พีเ่ ข็ม สุนนั ท์ เสียงดัง ประธานชุมชนบ้านอ่าวอุดมมีจติ ใจแน่วแน่ มั่นคงที่จะท�ำให้งานกฐินเป็นงานที่ร่วมกันสร้างบุญกุศลสืบทอด พระพุทธศาสนา และยังเป็นศูนย์รวมแห่งการท�ำกิจกรรมดีส�ำหรับ ทุกหมูเ่ หล่าในชุมชนบ้านอ่าวอุดมและชุมชนใกล้เคียง ใครคนหนึง่ ยกมือท่วมหัวแล้วกล่าวว่า “สาธุ ขอให้หลวงปูเ่ มืองช่วยดลบันดาล ให้ฝนไปตกที่อื่นทีเถอะ อย่ามาตกแถวนี้เลยเพื่อไม่ให้ลูกหลาน
กฐินสามัคคี
ณ วัดใหม่เนินพยอม ที่นี่มีรอยยิ้มอิ่มบุญ
ล�ำบากระหว่างงานทอดกฐิน” แปลกที่สักพักหนึ่งท้องฟ้าครึ้มแต่ แรกนัน้ ค่อยๆ สว่างขึน้ และทีส่ ดุ ก็สดใสไร้รอ่ งรอยแห่งฝน ท�ำเอา ทุกคนหายใจโล่งอก ประมาณ 15.00 น. วงกลองยาวจากเขาหินซึ่งเป็นพี่น้อง ชุมชนตลาดอ่าวอุดมมาถึงศูนย์สขุ ภาพฯ ลงมือบรรเลงเรียกพีน่ อ้ ง ชาวเขาพุกบั บริเวณใกล้เคียงมารวมตัวเพือ่ แห่เครือ่ งกฐิน ส่วนหนึง่ ไปบอกบุญในชุมชนตลาดอ่าวอุดม ในเวลาใกล้เคียงกันคณะกลองยาว และพีน่ อ้ งชุมชนบ้านอ่าวอุดมก็มารวมตัวกันตัง้ ขบวนรอคอยทีมที่ ไปแห่เครือ่ งกฐินในตลาดอ่าวอุดม เพือ่ เคลือ่ นตัวไปวัดใหม่เนินพยอม พร้อมๆ กัน คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผูจ้ ดั การแผนกบริหารงาน ชุมชนไทยออยล์คว้ากลองยาวจากพีน่ อ้ งชุมชนเข้าบรรเลงร่วมกับ คณะระหว่างรอคอย งานกฐินสามัคคีที่วัดใหม่เนินพยอมของเครือไทยออยล์ กับพี่น้องชุมชนปีนี้ พี่น้องซึ่งมีบ้านเรือนบริเวณเขาพุหน้า บริษัท ไทยลูบ้ เบส จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกันตัง้ กองผ้าป่า 1 กอง กับ บมจ. ไทยลูบ้ เบส โดยมีคณุ อมลวรรณ ไชยนาค เป็นแม่งาน และได้ลงมาร่วมขบวนแห่ไปพร้อมๆ กัน ขณะเดียวกัน ณ วัดใหม่เนินพยอม คุณสนธยา นาคปฐม ผูอ้ �ำนวยการ รร.วัดใหม่เนินพยอม น�ำนักเรียนส่วนหนึง่ มาคอยให้การต้อนรับ รวมทั้งเตรียมงานแสดงบน เวทีด้วย
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
1
เรื่องจากปก
ตั้งองค์กฐินและมหรสพฉลององค์กฐิน
ในคืนตัง้ องค์กฐินและฉลององค์กฐินนี้ พิธสี งฆ์บนศาลาการเปรียญมีคณุ อภินนั ท์ สุภตั รบุตร กรรมการอ�ำนวยการ บริษทั ไทยลูบ้ เบส จ�ำกัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธี หลังจากเสร็จสิ้นพิธีสงฆ์แล้ว บริเวณเต็นท์หน้าศาลาการเปรียญมีกิจกรรมฐานความรู้ จากเครือไทยออยล์ อาทิ การแยกขยะ รวมทัง้ ซุม้ เกมต่างๆ ให้เด็กๆ ได้เล่นสนุกพร้อมลุน้ รับของรางวัล โดยมีคณุ คงฤทธี ชาเหลา ช่วยดูแลร่วมกับพีๆ่ น้องๆ จากเครือไทยออยล์ ด้วยกัน ส่วนบนเวทีร�ำวงนัน้ เริม่ ต้นจะเป็นการแสดงนาฏศิลป์ชดุ สวยงามและสร้างสรรค์จาก นักเรียน รร.วัดใหม่เนินพยอม จากนั้นชมรมอนุรักษ์ร�ำวงพื้นบ้านน�ำโดยคุณณรงค์พล พูนผล และทีมงานจะรับช่วงต่อเพื่อน�ำรายได้สมทบงานกฐินสามัคคีเช่นเดียวกัน
กฐินสามัคคีน้องพี่ในชุมชน
เริ่มต้นเช้าวันที่ 10 พฤศจิกายน ด้วยการตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง ณ ศูนย์สขุ ภาพฯ คุณณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศษิ ฐพร ผูช้ ว่ ยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านโรงกลัน่ ให้เกียรติเป็นประธาน โดยมีทมี งานจากหน่วยศิรนิ ทร์ซงึ่ เป็นหน่วยอาสาสมัครบรรเทา สาธารณภัยของกรมต�ำรวจให้ความร่วมมือ ในการจัดล�ำเลียงสิง่ ของทีไ่ ด้รบั ทัง้ หมด ไปส่งต่อให้กับสถานสงเคราะห์คนชราที่บางละมุง และยังช่วยอ�ำนวยความสะดวก จัดการจราจรตลอดทั้งงานได้อย่างดีเยี่ยม หลังจากตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งเสร็จแล้ว พี่น้องชุมชนและเจ้าหน้าที่ เครือไทยออยล์ได้เคลื่อนตัวไปยังวัดใหม่เนินพยอม พบว่าในวัดคึกคักตั้งแต่เช้า เพราะมีญาติโยมช่วยกันน�ำอาหารมาร่วมบริการในซุ้มที่เตรียมไว้ประมาณ 30 ร้าน อาทิ ซุม้ อาหารของกลุม่ เยาวชนจิตอาสาบ้านอ่าวอุดม กลุม่ ประมงพืน้ บ้านอ่าวอุดม กลุม่ แม่บ้านอ่าวอุดม และซุม้ จากบริษทั ต่างๆ ที่อยูใ่ นพืน้ ที่ ขณะเดียวกันญาติโยม ส่วนหนึง่ ซึง่ รับผิดชอบท�ำอาหารในครัวก็ท�ำงานของตนโดยขะมักเขม้น กลิน่ ห่อหมก หอมฉุยลอยมาเตะจมูกชวนหิวข้าวขึ้นมาทันที
2
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
เรื่องจากปก เมือ่ เดินไปยังหน้าเวทีร�ำวงซึง่ วันนีจ้ ะใช้เป็นสถานทีอ่ �ำนวยการ แข่งขันกีฬาพื้นบ้านพบว่ามีเสาน�้ำมัน 2 ต้นตั้งอยู่ โดยจะมีการจัด แข่งขันปีนเสาน�้ำมันชิงรางวัลกันสนุกๆ ก่อนแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน ระหว่างเครือไทยออยล์กับชุมชน ลึกเข้าไปด้านซ้ายของเวทีเป็นที่ตั้ง ของเวทีมวยตับจากซึง่ เป็นกีฬาพืน้ บ้านอันมีตน้ ก�ำเนิดจากชุมชนบ้าน อ่าวอุดมของเรานีเ่ อง ส�ำหรับวันนีม้ คี วามคึกคักเป็นพิเศษเพราะมีการ ประกบมวยไว้ถงึ 16 คู่ โดยได้รบั เกียรติจากคุณสมชัย วงศ์วฒั นศานต์ ผู้ช่วยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านบริหารองค์กร มอบของที่ระลึกให้ มวยคู่เอกและเปิดการแข่งขัน ในโอกาสนีช้ มุ ชนของเรายังได้รบั เกียรติจากคุณสุกมุ ล คุณปลืม้ อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรมและสมาชิกสภาผูแ้ ทนเขต 6 ชลบุรี มาร่วมงานทอดกฐินอย่างเป็นกันเอง พร้อมมอบถ้วยการแข่งขัน กีฬาพืน้ บ้านร่วมกับคุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วย นอกจากนั้น คุณวีรศักดิ์ ยั ง ได้ ม อบทุ น สนั บ สนุ น การจั ด หาเครื่ อ งโสตทั ศ นู ป กรณ์ ส�ำหรั บ รร.วัดใหม่เนินพยอมมูลค่า 30,000 บาท และมอบทุนสนับสนุน การซ่อมระบบเสียงตามสายของชุมชนมูลค่า 77,575 บาทด้วย
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
3
เรื่องจากปก
ถ้าทุกคนรวมพลังกันเพือ่ งานของชุมชนแล้ว งานทุกอย่างก็จะส�ำเร็จเรียบร้อย ชุมชนจะทวี ความเข้มแข็งยิ่งขึ้นไม่มีวันสิ้นสุด เมือ่ ทุกสิง่ พร้อมพรัก การแห่ผา้ กฐินเข้าถวายพระสงฆ์ในอุโบสถก็เริม่ ขึน้ ขบวนน�ำโดยนางร�ำรุ่นเยาว์และวงกลองยาวจาก รร.วัดใหม่เนินพยอม ฝ่ายจัดการ พนักงานเครือไทยออยล์ ร่วมกับพี่น้องในชุมชนแห่เครื่องกฐิน ที่เตรียมไว้รอบอุโบสถ 3 รอบแล้วน�ำเข้าประกอบพิธีในอุโบสถจนแล้วเสร็จ จากนัน้ จึงร่วมกันถวายผ้าป่าทีก่ องอ�ำนวยการอีกครัง้ หนึง่ เสร็จสิน้ พิธปี ระมาณ 14.30 น. แม้ว่าด้านหลักของประเพณีทอดกฐินจะอยู่ที่การถวายผ้ากฐินให้พระสงฆ์ตามหลักศาสนาที่ สืบทอดกันมาแต่ครัง้ พุทธกาล แต่อกี ด้านหนึง่ เครือไทยออยล์และญาติโยมต่างร่วมจิตศรัทธาถวายปัจจัย เพื่อซ่อมแซมหลังคาอุโบสถ รวมยอดปัจจัยกฐินสามัคคีเป็นเงิน 2,048,075 บาท งานทอดกฐินบรรลุความส�ำเร็จตามตั้งใจของทั้งเครือไทยออยล์และพี่น้องชุมชน ทุกคนบอกว่า แม้เหน็ดเหนือ่ ย แต่กภ็ าคภูมใิ จทีง่ านส�ำเร็จด้วยดี คณะกรรมการชุมชนท่านหนึง่ กล่าวว่า “ความส�ำเร็จ ของงานไม่ได้อยูต่ รงยอดเงินบริจาคทีน่ า่ พอใจแต่เพียงอย่างเดียว แต่งานกฐินปีนมี้ หี ลายฝ่ายเข้ามาช่วย งานมากมาย ทั้งกลุ่มชุมชน เทศบาล ภาคเอกชนในพื้นที่ ท�ำให้เกิดความปลาบปลื้มใจ และมั่นใจว่า ถ้าทุกคนรวมพลังกันเพือ่ งานของชุมชนแล้ว งานทุกอย่างก็จะส�ำเร็จเรียบร้อย ชุมชนจะทวีความเข้มแข็ง ยิ่งขึ้นไม่มีวันสิ้นสุด” กฐินสามัคคีทวี่ ดั ใหม่เนินพยอมประจ�ำปี 2555 ผ่านพ้นไปแล้ว แต่รอยยิม้ ของทุกคนยังคงอยู่ รอยยิม้ แห่งรัก รอยยิม้ แห่งมิตรภาพทีถ่ กั ทอเป็นสายสัมพันธ์อนั แน่นเหนียวไม่มวี นั ขาดหายไม่วา่ จะนานเท่าใด เพราะนี่คือรอยยิ้มอิ่มบุญ
4
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
รอบรั้วไทยออยล์
โดย หน่วยกลั่นข่าว
ประธานาธิบดียกู นั ดาเยีย่ มชม กิจการไทยออยล์และศูนย์สขุ ภาพฯ นายโยเวรี คากูทา มูเซเวนี ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ ยูกันดา เดินทางมาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการในฐานะ แขกของรัฐบาลระหว่างวันที่ 15-17 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา และ ในโอกาสนี้ประธานาธิบดียูกันดาได้ให้เกียรติเยี่ยมชมกิจการ โรงกลั่นไทยออยล์ ซึ่งเป็นโรงกลั่นที่มีก�ำลังการผลิตสูงสุดใน ประเทศไทย และเป็นหนึ่งในโรงกลั่นชั้นน�ำของภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก รวมทั้งการด�ำเนินงานของศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน โดยมีคุณพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน คุณวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วยผู้บริหารให้การต้อนรับ
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
5
เยาวชนสานฝัน สร้างสรรค์ชมุ ชน รุน่ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม ทีผ่ า่ นมา เครือไทยออยล์และทีซพี ี น�ำเยาวชนจากโรงเรียนรอบโรงกลั่นระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4-6 แกนน�ำเยาวชน 7 ชุมชน เยาวชนจิตอาสาบ้าน อ่าวอุดม รวมทัง้ คณะกรรมการชุมชนและผูป้ กครองจ�ำนวน 170 คน เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการ “เยาวชนสานฝัน สร้างสรรค์ชุมชน รุ่นที่ 2” เพื่อสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ อันดีระหว่างกลุม่ เยาวชน และพัฒนาศักยภาพของเยาวชน โดย ได้สอดแทรกความรู้เรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเล ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ จ.ชลบุรี ในโอกาสนี้ เยาวชนทีเ่ ข้าร่วม โครงการยังได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับธรรมชาติวทิ ยาของทะเล สัตว์นำ�้ ปะการัง พร้อมกับช่วยกันลงมือเพาะกิง่ ปะการังลงอุปกรณ์ที่ ช่วยกันท�ำขึ้นก่อนน�ำไปปลูกในทะเลต่อไป นอกจากการเสริมสร้างเครือข่ายเยาวชนทั้งในชุมชน เดียวกันและต่างชุมชนแล้ว โครงการฯ ดังกล่าวยังเป็นการ ปลู ก จิ ต ส�ำนึ ก ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยหวังว่าเยาวชนเหล่านี้จะเติบใหญ่ เป็นก�ำลังที่ส�ำคัญในการท�ำงานเพื่อสร้างสรรค์ชุมชนของ เราในอนาคต
6
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
ไทยออยล์คว้า 3 รางวัล SET AWARDS 2012 บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัล SET Awards 2012 ที่จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและวารสารการเงินธนาคาร จากคุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง โดยคุณนิธิมา เทพวนังกูร รองกรรมการอ�ำนวยการด้านการเงิน ขึ้นรับรางวัล บริษัทจดทะเบียนด้านการรายงานบรรษัทภิบาลยอดเยี่ยม (TOP Corporate Government Report Awards) และคุณสมชัย วงศ์วฒั นศานต์ ผูช้ ว่ ยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านบริหารองค์กร ขึน้ รับรางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยีย่ ม (Best Corporate Social Responsibility Awards) ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา นอกจาก 2 รางวัลดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ยังได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านนักลงทุนสัมพันธ์ ดีเด่น (Best Investor Relations Awards) อีกด้วย รางวัลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นที่จะด�ำเนินงานเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร และสังคม โดยปฏิบตั งิ านตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ดูแลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม ตลอดจนให้ความส�ำคัญแก่นักลงทุนอย่างเท่าเทียม ขณะเดียวกันยังได้น�ำความรู้และประสบการณ์มา พัฒนาพลังงานธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของชุมชน
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
7
โดย กระดาษกรอง
ฝนหลวง : 57 ปี
หยาดฝนจากฟ้าสู่ดิน
นับแต่เสด็จขึน้ ครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จเยีย่ มราษฎรในจังหวัดต่างๆ อยูส่ ม�ำ่ เสมอ ท�ำให้ ทรงทราบถึงปัญหาการขาดแคลนน�้ำเพื่ออุปโภคบริโภคและท�ำเกษตร โดยเฉพาะในฤดูเพาะปลูกที่เกษตรกรมัก ประสบความเดือดร้อนเนื่องจากฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วง สร้างความเสียหายแก่เกษตรกรและเศรษฐกิจของประเทศ เป็นอย่างสูง อีกทัง้ ความต้องการใช้นำ�้ ทีน่ บั วันจะทวีปริมาณสูงขึน้ ตามอัตราการเพิม่ ของประชากร การขยายพืน้ ที่ เกษตรกรรมและการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม ด้วยสายพระเนตรทีย่ าวไกล ในปี 2498 จึงได้มพี ระราชด�ำริ ค้นหาวิธกี ารทีจ่ ะท�ำให้เกิดฝนตกนอกเหนือจากธรรมชาติ โดยทรง บันทึกไว้ว่า ขณะทรงเยี่ยมราษฎรได้แหงนพระพักตร์ขึ้นดูท้องฟ้า พบว่ามีเมฆจ�ำนวนมาก แต่เมฆเหล่านัน้ ถูกพัดผ่านพืน้ ทีแ่ ห้งแล้งไป วิธีแก้ไขจึงอยู่ที่ว่า ท�ำอย่างไรให้เมฆเหล่านั้นรวมตัวตกลงมาเป็น ฝนในท้องถิ่นนัน้ ๆ และนัน่ คือจุดเริม่ ต้นของ “โครงการฝนเทียม” (ปัจจุบันเรียก “โครงการฝนหลวง” ตามมติคณะรัฐมนตรีว่าเมื่อ ปี 2517)
8
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
จากนั้นจึงทรงเริ่มต้นศึกษาเอกสารอ้างอิง ต�ำราวิชาการ และรายงานการค้นคว้าทดลอง จนทรงเชื่อมั่นถึงความเป็นไปได้ ที่จะประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีการท�ำให้เกิดฝน โดยทดลองใน ท้องฟ้าเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2512 จนถึงการปฏิบัติการท�ำฝนสาธิต แก่นักวิทยาศาสตร์สิงคโปร์ในปี 2515 จากนั้นจึงทรงประมวลผล สัมฤทธิ์เหล่านั้น และประดิษฐ์คิดค้นให้เป็นเทคโนโลยีการท�ำฝน ในเบื้องต้น (Basic Technology) และทรงบัญญัติค�ำเทคนิคการ ท�ำฝนเทียมให้ง่ายต่อความเข้าใจและการสื่อสาร 3 ขั้นตอน คือ “ก่อกวน เลี้ยงอ้วน และโจมตี” โดยเฉพาะเทคนิคการโจมตีให้ ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายหวังผลอย่างแม่นย�ำ และเพิ่มปริมาณ ฝนตกให้สูงขึ้น โปรดเกล้าฯ ให้เรียกว่า เทคนิคการโจมตี แบบ แซนด์วิช (Sandwich) พระราชทานให้ใช้เป็นเทคโนโลยีการท�ำ ฝนตั้งแต่ปี 2516 เป็นต้นมา
ด้วยปริมาณความต้องการให้ปฏิบัติการฝนหลวงช่วยเหลือ ทวีจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ฉะนั้นเพื่อให้งานปฏิบัติการฝนหลวง สามารถช่วยเหลือเกษตรกรอย่างกว้างขวางและได้ผลดียิ่งขึ้น รัฐบาลจึงได้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง ส�ำนักงานปฏิบัติการ ฝนหลวง ขึ้น สังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2518 เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการ พระราชด�ำริฝนหลวง จนกระทั่งปี 2542 เกิดสภาวะแห้งแล้งรุนแรงขั้นวิกฤติ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทบทวนเทคนิคทีเ่ คยใช้แต่เดิม และ ทรงประดิษฐ์คิดค้นเทคนิคใหม่ควบคู่ไปด้วย โดยโปรดเกล้าฯ ให้น�ำเทคโนโลยีการท�ำฝนในส่วนของเมฆเย็นที่ทดสอบได้ผลแล้ว
สิทธิบัตรฝนหลวง
“เทคโนโลยีฝนหลวง” ได้รับการเผยแพร่และยอมรับใน หมู่นักวิทยาศาสตร์ องค์กร และสถาบันที่มีกิจกรรมการดัดแปร สภาพอากาศวิทยาศาสตร์และอุตุนิยมวิทยาในระดับนานาชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติได้น�ำผลงานประดิษฐ์คดิ ค้น เทคโนโลยีฝนหลวง (The Royal Rainmaking Technology) ไปร่วมจัดแสดงในงานนิทรรศการ Brussels Eureka 2001 : 50th Anniversary of The World Exhibition of innovation research and new technology ณ กรุงบรัสเซลล์ ราชอาณาจักรเบลเยียม ระหว่างวันที่ 13-19 พฤศจิกายน 2544 มีประเทศที่ส่งผลงาน เข้าร่วม 23 ประเทศ ปรากฏว่าเทคโนโลยีฝนหลวงเป็นหนึง่ ในสาม ผลงานที่ได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลยอดเยี่ยมอันเป็นเลิศ เป็นนวัตกรรมใหม่ แนวคิดใหม่ และทฤษฎีใหม่ที่มีคุณประโยชน์ ต่อการพัฒนาประเทศ และไม่มีผู้ใดประดิษฐ์คิดค้นมาก่อน ด้วยเหตุนจี้ งึ พระราชทาน โปรดเกล้าฯ ให้นายดิสธร วัชรโรทัย ผู้อ�ำนวยการกองงานส่วนพระองค์ มอบให้นายเมธา รัชตะปิติ ทีป่ รึกษาผูท้ รงคุณวุฒฝิ นหลวงปัจจุบนั (อดีตผูอ้ �ำนวยการส�ำนักงาน
ร่วมกับเทคโนโลยีฝนหลวงจากเมฆอุ่น พร้อมทั้งพัฒนาเทคนิค การโจมตีเมฆอุ่นและเมฆเย็นในขณะเดียวกันได้อย่างสัมฤทธิ์ผล สามารถชักน�ำฝนให้ตกลงสูพ่ นื้ ทีเ่ ป้าหมายหวังผลได้อย่างแม่นย�ำ และเพิ่มปริมาณฝนสูงยิ่งขึ้น โปรดเกล้าฯ ให้เรียกเทคนิคที่ ทรงประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาใหม่ว่า เทคนิคการโจมตีแบบซูเปอร์ แซนด์วิช (Super Sandwich) พร้อมทั้งทรงประดิษฐ์แผนภาพ การ์ตนู ด้วยคอมพิวเตอร์รวมขัน้ ตอนกรรมวิธเี ทคนิคของเทคโนโลยี ฝนหลวงทั้ง 6 ขั้นตอนไว้อย่างครบถ้วนในหนึ่งหน้ากระดาษ พระราชทานให้ใช้เป็น ต�ำราฝนหลวง ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2542 เป็นต้นมา และยังใช้เป็นต�ำราฝนหลวงอย่างต่อเนื่อง มาจนปัจจุบัน ปฏิบตั กิ ารฝนหลวง) จัดท�ำเอกสารทางวิชาการประกอบแบบฟอร์ม ค�ำขอจดทะเบียนสิทธิบตั รถวาย ภายใต้ชอื่ การดัดแปรสภาพอากาศ ให้เกิดฝน ในฐานะทรงเป็นผูป้ ระดิษฐ์คดิ ค้น เสนอต่อส�ำนักสิทธิบตั ร กรมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2545 กรมทรัพย์สินทางปัญญาแห่งประเทศไทยได้ออกสิทธิบัตร ดังกล่าว เมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2545 และโปรดเกล้าฯ ให้น�ำขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2546 นอกจากนั้น ได้ทรงมี พระบรมราชานุญาตโปรดเกล้าฯ ให้ขอรับสิทธิบตั รในต่างประเทศ ควบคูไ่ ปด้วย โดยด�ำเนินการยืน่ ค�ำขอสิทธิบตั รภายใต้ชอื่ Weather Modification By Royal Rainmaking Technology ต่อส�ำนักงาน สิทธิบตั รยุโรป เมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2546 ได้รบั สิทธิบตั รเมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม 2548 และโปรดเกล้าฯ ให้น�ำขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาผู้แทนพระองค์ พร้อมทั้งยังได้รับสิทธิบัตร ภายใต้ชอื่ เดียวกันทีอ่ อกให้โดยส�ำนักงานสิทธิบตั รแห่งเขตปกครอง พิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2549
“สิทธิบัตรนี้เราคิดเอง คนไทยท�ำเองเป็นของคนไทย มิใช่เพื่อพระเจ้าอยู่หัว ท�ำฝนนี้ ท�ำส�ำหรับชาวบ้าน ส�ำหรับประชาชน ไม่ใช่ทำ� ส�ำหรับพระเจ้าอยูห่ วั พระเจ้าอยูห่ วั อยาก ได้นำ�้ ก็ ไปเปิดก๊อกเอาน�ำ้ มาใช้ อยากได้นำ�้ ส�ำหรับการเพาะปลูกก็ ไปสูบจากน�ำ้ คลอง ชลประทานได้ แต่ชาวบ้านชาวนาที่ไม่มโี อกาสมีนำ�้ ส�ำหรับเกษตรก็ตอ้ งอาศัยฝน ฝนไม่มี ก็ต้องอาศัยฝนหลวง” (พระราชด�ำรัสในวันที่รัฐบาลเข้าเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย
สิทธิบัตรฝนหลวง เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2548) ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ข้อมูลอ้างอิง http://www.prdnorth.in.th/The_King/rain.php http://www.thairoyalrain.in.th
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
9
บ้านปลอดภัย
ด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน
ปลอดภัย ใกล้ตัว
โดย เซฟตี้เกิร์ล
ก�ำจัดแมลงสาบ เวลาฝนตกหนัก เรามักเจอแมลงสาบขึ้นจากท่อระบายน�้ำออกมา ไต่ยั้วเยี้ยตามก�ำแพง วิ่งพล่านในบ้าน หรือแอบมากินเศษอาหารใน ห้องครัว ปัญหานี้จะหมดไปเพียงแค่ใช้ “พริกไทยเม็ด” ไปวาง ตามจุดต่างๆ ที่แมลงสาบวิ่งผ่าน โดยวางไว้ที่ละ 4-5 เม็ดก็พอ แมลงสาบจะไม่มารบกวนอีกเลย เพราะมันไม่ถูกกับกลิ่นพริกไทยเม็ด ไม่ต้องใช้ยาฆ่าแมลงให้เสียเงินและยังเป็นอันตรายต่อคนในบ้าน แต่ พอกลิ่นพริกไทยเริ่มจางควรเปลี่ยนใหม่ ข้อส�ำคัญ ระวังอย่าให้ เด็กเล็กในบ้านคลานไปกินเข้า จะร้องไห้จ้าเพราะความเผ็ดนะคะ อีกวิธีที่เน้นประหยัดและง่าย คือ ให้ทาน�้ำมันพืชบางๆ บริเวณ ปากขวดแก้ว แล้วเอาเศษอาหารทีม่ กี ลิน่ หอมๆ ใส่ไว้กน้ ขวด (น�ำ้ ตาลปีบ๊ ดีทสี่ ดุ ) วางขวดเอียงประมาณ 70 องศา ให้ปากขวดแตะผนัง ตามซอก มืดๆ ในบ้าน ตืน่ เช้ามาคุณจะเจอแมลงสาบอยูก่ น้ ขวด เพราะมันไต่ขนึ้ มา ไม่ได้ ท�ำซ�้ำเรื่อยๆ แมลงสาบจะหมดไปเอง ก�ำจัดยุงและแมลงตัวเล็กๆ ปัญหาแมลงและยุงรบกวนในตอนพลบค�่ำ ในขณะที่นั่งนอกบ้านจะหมดไป เพียงแค่ใช้ “การบูร” ห่อ ด้ว ยผ้ า ขาวบางหรื อผ้าโปร่ง หรือจะไปซื้ออย่างที่ เขาห่อส�ำเร็จแล้วก็ได้ จากนั้นน�ำมาแขวนใกล้ๆ กับ หลอดไฟหรือโคมไฟ เพื่ออาศัยความร้อนจากหลอดไฟ หรื อ โคมไฟท�ำให้ ก ลิ่ น การบู ร ค่ อ ยๆ ระเหิ ด ออกมา อย่างรวยริน ยิ่งกลิ่นออกมามากเท่าใด ยุงและแมลง จะยิ่ ง บิ น หนี เพราะมั น ไม่ ช อบกลิ่ น การบู ร ไม่ ต ้ อ ง จุดยากันยุง หรือทายากันยุงให้เหนอะหนะเหนียวตัว หรือจะ เอาใบตะไคร้หอมมาขยี้ให้เกิดกลิ่นก่อนน�ำมาวางไว้รอบๆ ที่อยู่ จะช่วยไล่ยุงและแมลงไปไกลๆ แล้วค่ะ
10 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
ในยุ ค ที่ ส ารเคมี เ ข้ า มามี บ ทบาทใน ชีวิตประจ�ำวันของเรา อย่างเช่น สารเคมี เพื่อก�ำจัดมด แมลงสาบ ยุง หนู หรือสัตว์ เลื้อยคลานต่างๆ ในบ้าน โดยอาจรู้เท่าไม่ ถึงการว่า หากสูดดมหรือสัมผัสยาฆ่าแมลง เหล่านั้น อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ เราได้ วันนี้จึงอยากชวนทุกท่านกลับมาสู่ ภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า น ตามรอยวิ ถี ชี วิ ต ที่ ปู ่ ย ่ า ตายายเราใช้ ชี วิ ต กิ น อยู ่ แ บบไม่ พึ่งพิงสารเคมี เพื่อน�ำมาปรับใช้ ได้อย่าง ปลอดภัย ดังนี้ ก�ำจัดหนู
เราสามารถก�ำจัดหนูได้ โดยไม่ต้องฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ด้วยการน�ำ “น�้ำมันระก�ำ” มา 1 ส่วน ผสมกับ “น�้ำมันสะระแหน่” อีก 9 ส่วน ผสมให้เข้ากัน แล้วเอาไปทาตามเส้นทางเดิน ของหนูหรือที่ที่หนูชอบมา กลิ่นของน�้ำมันทั้งสองชนิดนี้ จะช่วยไล่หนูให้ไปลับไม่กลับมาอีกเลย หรือจะใช้อีกวิธีที่ ง่ายๆ และประหยัดเงิน คือการน�ำ “ไม้ยี่โถ” ไปตากแดด ให้แห้งแล้วน�ำไปบดเป็นผง น�ำไปโรยตามซอกที่หนูชอบอยู่ หนูจะพากันอพยพขนย้ายครอบครัวหนีออกไปจากบ้านของคุณ ไปเลย แต่ ท างที่ ดีแ ค่ คุ ณ เก็ บ เศษอาหารให้ ห มดและ ท�ำความสะอาดบ้านเรือน อย่าให้รกรุงรัง หนูก็ไม่มาแล้วค่ะ
ก�ำจัดมด กรณีที่มดขึ้นตามโต๊ะ หรือตู้กับข้าว แค่คุณใช้เศษผ้าตัดเป็นชิ้นๆ ความยาวพอประมาณ ชุบน�้ำมันเครื่องหรือจาระบีพอหมาด แล้วน�ำมา พันรอบขาตู้หรือโต๊ะ หรือจะใช้ปูนขาวใส่ภาชนะรองที่ขาตู้ก็ได้ มดจะ ไม่มารบกวน หากพบมดไต่ ขึ้ น มาตามรอยแตกร้ า วของคอนกรี ต ให้ ใ ช้ น�ำ้ มันก๊าด เทลงไปในร่อง มดจะไม่โผล่หน้าขึน้ มาให้เราร�ำคาญใจอีกนาน หรือใช้แ ป้ ง ฝุ ่ น ส�ำหรั บ ทาป้ อ งกั น เห็ บ หมั ดของสุ นั ข หรื อ แมวมาโรย ตามพื้นหรือบริเวณที่มดขึ้น เมื่อมดเดินผ่านจะเกิดการระคายเคืองและ ตายในเวลาอันรวดเร็ว หรืออาจฝานมะนาวเป็นแผ่นบางๆ ไปวางใน บริเวณที่มดขึ้นก็ได้ แต่ถ้ามีมดขึ้นอยู่ในขวดน�้ำตาลหรือขนมปังที่ใส่อยู่ในกระป๋อง ให้ ปิดฝาขวดหรือกระป๋องนั้นให้สนิท จากนั้นให้ออกแรงเขย่าเพียงเล็กน้อย แล้วเปิดฝาทิง้ ไว้หรือน�ำไปผึง่ แดดสักครู่ มดจะพากันหนีออกมาเอง ในกรณี ที่พบรังมด ให้ใช้น�้ำที่แช่หน่อไม้สดหรือหน่อไม้ดองเปรี้ยวราดไปที่รัง มดจะอพยพไปอยู่ที่อื่นทันที
ก�ำจัดเชื้อราในตู้เย็น ปัญหาเชื้อราที่ฝัง อยู่ตามขอบยางประตูตู้เย็นจะหมดไป แค่ใช้ผ้าชุบ “น�้ำส้มสายชู” แล้วน�ำไปถูตรงขอบยางประตู ตู้เย็นที่เป็นเชื้อรา แค่นี้เชื้อราก็จะหมดไปอย่างง่ายดาย โดยไม่ต้องเสี่ยงกับสารเคมีตกค้างในตู้เย็น ภูมิปัญญาชาวบ้านแบบง่ายๆ อันน่าทึ่งเหล่านี้ใช้ ธรรมชาติป้องกันธรรมชาติ เน้นการใช้กลิ่นขับไล่มากกว่า การมุ่งหมายเอาชีวิต ที่ส�ำคัญช่วยให้ชีวิตของเราปลอดภัย จากสารเคมี แถมราคาไม่แพงแต่มคี ณุ อนันต์ ลองน�ำไปท�ำ ดูนะคะ
ก�ำจัดสัตว์มีพิษ
วิธีการป้องกันงู หรือสัตว์ร้ายจ�ำพวกแมงป่อง ตะขาบ ไม่ให้เข้ามาในบ้านแบบง่ายๆ คือ ใช้ “ผงก�ำมะถัน” มา โรยรอบๆ บริเวณบ้าน จะท�ำให้สตั ว์รา้ ยเหล่านีไ้ ม่กล้าเข้า มาใกล้ หรือใช้ “น�้ำส้มควันไม้” ราดรอบๆ บริเวณบ้าน เนื่องจากน�้ำส้มควันไม้เข้มข้น มีส่วนผสมของน�้ำมันทาร์ และยางเรซินอยูม่ าก จะส่งกลิน่ เหม็นคล้ายควันไฟรบกวน สัตว์และแมลงที่มีพิษต่างๆ ทั้งสองวิธีนี้ยังเหมาะกับท่านที่ชอบท่องเที่ยวแบบ ลุยๆ เช่น เดินป่า กางเต็นท์นอนดูดาวตามอุทยานต่างๆ เพราะจะช่วยขับไล่สตั ว์มพี ษิ ไปให้ไกลๆ แบบไม่กระทบต่อ สิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
11
ของดี บ ้านเรา
โดย คนศรี
ประเพณีวิ่งควาย
เวลาผ่านไปรวดเร็ว ย่างเข้าเดือน 11 ถึงวันออกพรรษา นอกจาก เป็นสัญญาณของการหมดฤดูฝน ย่างเข้าฤดูหนาวแล้ว นี่คือช่วง เวลาของเทศกาลงานบุญเดือน 11 ซึ่งแต่ละท้องถิ่นจะมีประเพณีอัน เป็นเอกลักษณ์ต่างๆ กันไป ที่รู้จักแพร่หลาย อาทิ งานตักบาตรเทโว วัดสังกัสรัตนคีรี ยอดเขาสะแกกรัง จ.อุทัยธานี งานบวงสรวงบั้งไฟ พญานาค มหัศจรรย์แม่นำ�้ โขง ซึง่ จัดขึน้ พร้อมกันหลายแห่งในจังหวัด ริมแม่น�้ำโขง งานประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง จ.สกลนคร งานประเพณี จองพารา จ.แม่ฮอ่ งสอน งานประเพณีชกั พระ จ.สุราษฎร์ธานี เป็นต้น
จังหวัดชลบุรีของเรานี้ ก็มีประเพณีงานบุญเดือน 11 ที่มี ชื่อเสียง นั่นคือ “งานประเพณีวิ่งควาย” ซึ่งเป็นประเพณีท้องถิ่น ในเขตอ�ำเภอบ้านบึง นิยมจัดในวันขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 11 หรือก่อน ออกพรรษา 1 วัน เพือ่ ท�ำขวัญควายและให้ควายได้เตรียมพักผ่อน หลังจากตรากตร�ำท�ำงานในท้องนามากว่า 3 เดือน ทั้งยังเป็นการ ตอบแทนคุณควาย สัตว์ที่เป็นแรงงานหลักในการท�ำนาปลูกข้าว ของชาวนาเพื่อคนไทยทั้งประเทศ งานประเพณีนยี้ งั เป็นโอกาสดีทที่ กุ คนจะได้มาพบปะสังสรรค์ ผ่อนคลายความเหน็ดเหนือ่ ย ได้ซอื้ ขายแลกเปลีย่ นผลผลิตกัน ใน อดีตพ่อค้าและชาวบ้านน�ำสินค้าพืน้ บ้านของตนเองบรรทุกเกวียน เทียมควาย น�ำมาจ�ำหน่ายจนกลายเป็นตลาดนัดขนาดใหญ่ เหตุทชี่ าวไร่ชาวนาต่างคนต่างถือโอกาสมาพบปะสนทนากัน เลยเริม่ มีการตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงาม จูง ควายเดินเที่ยวตลาด จึงเป็นเหตุให้เกิดการประกวดประชันความ สวยงามของควายกันขึ้นพร้อมๆ กับแข่งขันวิ่งควาย ในวันงานชาวบ้านจะตื่นแต่เช้ามืด น�ำควายออกจากคอกมา อาบนำ�้ ให้สะอาดและแต่งตัวให้อย่างสวยงาม วิธกี ารแต่งตัวให้ควาย จะตกแต่งส่วนหัวตั้งแต่คอขึ้นไป เช่น จะพันรอบเขาทั้งคู่ด้วยผ้า
12 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
แพรหลากสี หรือเย็บเป็นถุงผ้าสวมปลายเขา ผูกผ้าสีเป็นโบรอบคอ ติดพู่ดอกไม้แห้งต่างสีบริเวณหัวและเขาจนตลอดตัว รวมทั้ง สายสนตะพายด้วย หลังจากอาบน�ำ้ เสร็จจะชโลมควายด้วยน�ำ้ มันและเครือ่ งหอม ถูขนด้วยแปรงจนสะอาดเป็นมันระยับไปทั้งตัว ส่วนเกวียนที่ บรรทุกนัน้ จะตกแต่งให้สวยงามด้วยซุม้ ทางมะพร้าว และบรรทุก ผลไม้พื้นบ้าน เช่น กล้วยเป็นเครือ มะพร้าวเป็นทะลาย ปัจจุบัน ไม่ได้ใช้เกวียนแล้ว กลายเป็นการแต่งรถบรรทุกแทน พิธีประกวดควายเริ่มตั้งแต่ประกวดสุขภาพ ความแข็งแรง ความงามทีเ่ ป็นคุณลักษณะ ประกวดวิง่ ควายแข่งขันกัน เมือ่ ตัวใดชนะ เจ้าของจะได้ถ้วยรางวัลและเงินรางวัลเป็นเกียรติยศและก�ำลังใจ เมื่อถึงเวลากลางคืนจะมีพิธีทางศาสนา เช่น เทศน์มหาชาติ และ ประพรมนำ�้ มนต์ให้คนและควาย ระยะเวลาในการจัดงานประมาณ 3 วัน เมื่อเสร็จพิธีกรรมต่างๆ ก็พากันแยกย้ายกลับท้องถิ่น และ สัญญาว่าจะมาพบกันอีกในปีต่อไป ส่วนการวิ่งควายนั้นปกติผู้ที่จะขึ้นขี่ควายมักเป็นเด็กหนุ่ม รุ่นๆ บางครั้งเป็นเด็กชายอายุ 10 ขวบขึ้นไป เลือกคนที่ท่าทาง ทะมัดทะแมงแข็งแรง แต่ละคนจะแต่งกายในชุดนักกีฬาสวยงาม ตามท้องถิน่ ของตนก�ำหนดและจัดเตรียมมา เมือ่ จะเริม่ พิธวี งิ่ ควาย คณะกรรมการจะจัดเครื่องเซ่น ซึ่งประกอบด้วยอาหารคาวหวาน ใส่กระทงใบตองอย่างละเล็กละน้อยวางบนโต๊ะซึง่ ปูดว้ ยผ้าขาววางไว้ กลางแจ้ง จุดธูปเทียนและกล่าวค�ำอัญเชิญเทวดาและภูติผีปีศาจ ที่ร่อนเร่ให้มากินเครื่องเซ่น และช่วยคุ้มครองประชาชนตลอดจน
สัตว์เลี้ยงในหมู่บ้านของตน ให้ประสบความสุขสวัสดีในการ ประกอบอาชีพและการด�ำรงชีวติ ตลอดปี แล้วจะมีขบวนแห่ควาย ทีต่ กแต่งสวยงาม ถ้าเป็นงานของเทศบาลเมืองชลบุรี ขบวนแห่จะ ยาวเข้าไปทีต่ วั เมืองชลบุรี และมาหยุดชุมนุมควายกันทีล่ านกว้าง ของวัดอินทาราม ปัจจุบนั งานนีจ้ ดั กันหลายที่ ในเขตเทศบาลเมืองชลบุรจี ะจัด ในวันขึน้ 14 คำ�่ เดือน 11 อ�ำเภอบ้านบึงจัดในวันขึน้ 15 คำ�่ เดือน 11 ตลาดหนองเขิน อ�ำเภอบ้านบึง จัดในวันแรม 1 คำ�่ เดือน 11 วัดดอนกลาง ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอเมือง จะจัดวิ่งควายในวันทอดกฐินประจ�ำปี ของวัด กิจกรรมส่วนมากในงานนั้นมักจะคล้ายกัน แตกต่างกันบ้าง เล็กน้อย งานใหญ่ระดับจังหวัดนั้น เทศบาลเมืองชลบุรีเป็นผู้จัด ประเพณีวิ่งควายขึ้นทุกปีที่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด จะมี การแข่งขันวิ่งควายหลายรุ่น ตั้งแต่รุ่นซูเปอร์จิ๋ว รุ่นจิ๋ว รุ่นเล็ก รุ่นกลาง รุ่นใหญ่ และรุ่นซูเปอร์แชมป์ เจ้าของควายที่ชนะเลิศ จะได้รับถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รวมทั้งเงินรางวัลในการชนะการแข่งขันจาก กระทรวงวัฒนธรรม นอกจากนี้ ยังมีการประกวดตกแต่งควายประเภทสวยงาม และตลกขบขัน การประกวดควายงาม การประกวดพ่อพันธุแ์ ม่พนั ธุ์ ควายเผือก การแข่งขันกีฬาพืน้ บ้านต่างๆ อาทิ ปีนเสาน�ำ้ มันชิงเงิน ทดลองความแม่นจากหนังสติ๊ก ชักเย่อ ตัดว่าวด้วยป่านคม ตะกร้อลอดห่วง การประกวดขบวนเกวียนกัณฑ์ของแต่ละอ�ำเภอ
การประกวดน้องนางบ้านนา การประกวดสาวเหลือน้อย และ นิทรรศการ รวมถึงการแสดงจากศิลปินมากมาย แต่ถ้าอยากดู งานประเพณีแบบดั้งเดิม ต้องไปที่บ้านบึงซึ่งจัดได้สนุกไม่แพ้งาน ระดับจังหวัด แม้ว่าทุกวันนี้ชลบุรีบ้ านเราจะมีการท�ำนาน้อยลง ยิ่งมี เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามา การใช้ควายก็น้อยลงตามไป แต่เรายัง รักษาประเพณีวิ่งควายไว้ให้อยู่คู่เมือง สมกับค�ำขวัญของจังหวัด ทะเลงาม ข้าวหลามอร่อย อ้อยหวาน จักสานดี ประเพณีวิ่ง ควาย... คุณค่าของประเพณีวิ่งควายจึงมากกว่าความสนุกสนาน แต่ยงั ช่วยต่อลมหายใจให้ควาย ช่วยให้ลกู หลานเรารูจ้ กั และเข้าใจ ถึงรากเหง้าแห่งวิถีชีวิต ความคิดและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ นั่นเอง
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
13
จิตอาสา
โดย กองบรรณาธิการ
สนับสนุนการเรียนรู้ของเยาวชนผู้ด้อยโอกาส
โรงเรียนวัดศรีสุวรรณาราม ปราจีนบุรี วันนีเ้ ราจะตามไปดูกลุม่ พนักงานจิตอาสา บริษทั ไทยลูบ้ เบส จ�ำกัด (มหาชน) ทีร่ วมตัวกันท�ำประโยชน์ เพือ่ สังคมมาอย่างต่อเนือ่ ง ส�ำหรับในปีนี้ได้จดั โครงการสนับสนุนการเรียนรูข้ องเยาวชนผูด้ อ้ ยโอกาส ณ โรงเรียนวัดศรีสุวรรณาราม อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี วัตถุประสงค์ของโครงการนี้เพื่อการปรับปรุงห้องสมุดให้ โรงเรียนวัดศรีสุวรรณารามมีเด็กนักเรียน 66 คน รวมทั้ง มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้ของเด็กๆ อันจะ เด็กที่มีปัญหาทางสมองเรียนรวมอยู่ด้วย ครู บุคลากรทางการ เป็นการปลูกฝังให้นกั เรียนมีนสิ ยั รักการอ่านและรูจ้ กั ใช้เวลาว่างให้ ศึกษา 3 คน สอนตัง้ แต่ชนั้ อนุบาล 1-ประถมศึกษาปีที่ 6 ซึง่ นับว่า เป็นประโยชน์ รวมถึงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่ส่งเสริม เป็นภาระที่หนักมาก แต่ทุกท่านพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ครูท�ำได้ การเรียนรู้ของเด็ก การปรับปรุงห้องพยาบาลให้ถูกสุขลักษณะ ทุกอย่างเพื่อเด็ก นักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจนมาก เกือบทุก โดยปรับปรุงเตียงพักทีถ่ กู สุขลักษณะ และจัดหาตูย้ าสามัญประจ�ำ คนไม่มีรองเท้านักเรียนใส่ บ้านไว้ใช้กรณีมีนักเรียนเจ็บป่วย และการปรับปรุงลานกีฬาและ พนักงานจิตอาสาไปท�ำกิจกรรมทั้งหมด 4 ครั้ง เริ่มตั้งแต่ ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬาและเครื่องดนตรี ปรับปรุงห้องสมุดเดิมที่ ปรับปรุงห้องเก็บอุปกรณ์กฬี า ห้องคอมพิวเตอร์เปลีย่ นมาเป็นห้อง ไม่ใช้งานให้เป็นห้องเก็บอุปกรณ์กีฬาและเครื่องดนตรีเพื่อความ การเรียนรูแ้ ละมุมคอมพิวเตอร์ ครัง้ ถัดมาช่วยกันย้ายของจากห้อง เป็นระเบียบ ง่ายต่อการค้นหาและน�ำมาใช้ โรงเรียนจะได้มีลาน ทีร่ กออก แล้วปูเสือ่ นำ�้ มันให้สะอาดสวยงาม รวมทัง้ เดินสายไฟฟ้า กีฬาให้นักเรียนได้ออกก�ำลังกาย และนักเรียนมีอุปกรณ์กีฬาใช้ ส�ำหรับติดตัง้ พัดลม 5 ตัว งานทาสีหน้าต่างและประตู งานเดินสาย เพียงพอ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (สาย LAN) งานเดินสายเคเบิลทีวี ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมโรงเรียนไกลกังวล ไปตามห้องเรียนทีไ่ ม่มคี ณุ ครูสอน งานเดินท่อนำ�้ ใหม่ ก๊อกนำ�้ ใหม่ รวมทั้งงานที่ห้องพยาบาล
14 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
ครั้งที่สามเมื่อวันที่ 5-6 กันยายน พนักงาน 5 คนต้องไป นอนพักค้างคืนที่โรงเรียนกันเลย เพื่อให้งานส�ำเร็จตามเป้าหมาย ในครั้งนี้ได้ช่วยพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด 11 เครื่อง (เครื่องของโรงเรียน 5 เครื่อง และน�ำไปมอบให้อีก 6 เครื่อง) ในระหว่ า งนั้ น พนั ก งานหลายคนยั ง พร้ อ มใจช่ ว ยกั น เชิญชวนเพื่อนพนักงานให้ร่วมบริจาคสิ่งของ อาทิ รองเท้าใหม่ อุปกรณ์การเรียน จัดขายของทีร่ ะลึก รวมทัง้ รับบริจาคจากเพือ่ นๆ หลากหลายหน่วยงาน นอกจากนัน้ ยังได้รบั เงินสนับสนุนโครงการ จากกองทุนจิตอาสาเครือไทยออยล์ และจาก บมจ. ไทยลู้บเบส อีกจ�ำนวนหนึ่ง จนถึงวันที่ไปท�ำกิจกรรมครั้งใหญ่ในวันที่ 8 กันยายน 2555 พนักงานจิตอาสาเกือบ 80 คนพร้อมใจใส่เสื้อสีเขียวที่ท�ำขาย เพื่อระดมทุน ดูสวยงามสบายตา ขบวนออกเดินทางโดยรถบัส ปรับอากาศ 2 คัน และรถบรรทุกของบริจาคอีก 1 คัน เมื่อไปถึง โรงเรียนวัดศรีสุวรรณาราม ทุกคนช่วยกันคนละไม้คนละมือตาม ที่แบ่งงานกันไว้แต่แรก กลุ่มแรกเล่นเกมกับน้องๆ กลุ่มที่สองจัด หนังสือเข้าห้องการเรียนรู้ กลุม่ ทีส่ ามจัดห้องพยาบาล กลุม่ ทีส่ จี่ ดั
ห้องกีฬาและดนตรี ทุกคนสนุกสนานกับงานกันมาก มีแต่เสียง บอกกันต่อๆ ว่าถ้ามีเวลาอยากจะมาช่วยน้องๆ แบบนี้อีก บาง คนที่ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมเช่นนี้ ต่างพูดกันว่าจัดโครงการอีก เมื่อไรอย่าลืมบอกกันบ้างนะ ทุกคนมีแต่รอยยิ้ม โดยเฉพาะเมื่อ ได้เห็นรอยยิ้มของเด็กๆ ก่อนเดินทางกลับชลบุรี ทีมงานสัญญากับน้องๆ โรงเรียน วัดศรีสุวรรณารามว่า วันเด็กปี 2556 จะมาจัดงานวันเด็กให้น้อง ที่โรงเรียนอย่างแน่นอน ท�ำให้น้องทุกคนดีใจกันมาก นี่คือตัวอย่างหนึ่งของโครงการแบ่งปันเพื่อผู้ด้อยโอกาสที่ ไม่ได้ยากเกินความสามารถ หากทุกคนร่วมมือร่วมใจเพื่อ สร้างสรรค์สังคมที่ดีกว่าร่วมกัน
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
15
กระบอกเสีย งชุมชน โดย ดอกล�ำโพง
อารีย์ ตรีรัตนเวช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการ สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เป้าหมายใหญ่ตามนโยบายหลัก คือ ให้ชุมชนอยู่ร่วมกับอุตสาหกรรมได้ อย่างมีความสุข “เพราะชุมชนแหลมฉบังอยูท่ า่ มกลางอุตสาหกรรม นโยบาย ของผู้บริหารเทศบาล คือ นายกจินดา ถนอมรอด ให้ไว้เลยว่า อยากให้ชมุ ชนอยูร่ ว่ มกับอุตสาหกรรมได้อย่างมีความสุข แต่ไม่ใช่ เรื่องง่าย” เพราะแหลมฉบังเป็นชุมชมทีอ่ ยูท่ า่ มกลางอุตสาหกรรม มีทงั้ ท่าเทียบเรือ กลุม่ โรงงานปิโตรเคมี โรงกลัน่ น�ำ้ มัน ฯลฯ อุตสาหกรรม มักมีภาพลบอยู่แล้วในใจผู้คน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเสีย มลพิษ ฝุน่ ควัน ทุกวันนีช้ าวแหลมฉบังเผชิญปัญหารถวิง่ เร็ว ฝุน่ ควัน กลิน่ เหม็น กลายเป็นค�ำถามทีค่ าใจอยูว่ า่ จะมีผลต่อสุขภาพไหม จะท�ำ อย่างไรได้บ้าง คุณอารีย์ ตรีรัตนเวช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักการสาธารณสุข และสิง่ แวดล้อม เทศบาลนครแหลมฉบัง ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีม่ ากว่า 10 ปี ยืนยันว่าสิ่งที่พูดมาข้างต้นไม่ใช่แค่ประเด็นคาใจชาวบ้านที่ไม่มี ใครรับรู้หรือเพิกเฉย เทศบาลตั้งแต่ระดับนโยบายบอกชัดเจนว่า นี่คือโจทย์ใหญ่ที่คนท�ำงานทุกคนตระหนักตลอดเวลาว่า เราจะ ท�ำอย่างไรให้ชุมชนกับอุตสาหกรรมอยู่ร่วมกันได้ และอยู่แบบมี ความสุขด้วย “มันหลีกเลี่ยงไม่ได้ จะเอาชาวบ้านออกหรือเอาบริษัทออก ก็ไม่ได้ ดังนั้น ทางออกคือต้องมาคุยกันว่าจะแก้ปัญหาระยะยาว อย่างไร ใช้การมีสว่ นร่วม ชวนทุกคนมาพูดกัน บริษทั หรือโรงงาน
16 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
มีปญั หาเรือ่ งสิง่ แวดล้อมอย่างไร ปัญหาของประชาชนเป็นอย่างไร ให้มีความเข้าใจกัน ขณะนี้มีการตั้งเป็นคณะกรรมการพหุภาคี เพือ่ ลดผลกระทบสิง่ แวดล้อมและพัฒนาชุมชนและสังคมโดยรอบ ท่าเทียบเรือ มีนายกเทศบาลเป็นประธาน เราเป็นเลขาฯ ประสานงาน กรรมการ มีทั้งฝั่งชาวบ้านและบริษัทต่างๆ ทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ บริษัท เคอรี่ สยามซีพอร์ต บริษัท สยามคอมเมอร์เชียล บริษัท เจซี มารีนเซอร์วิส บริษัทเอสโซ่ ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และเครือไทยออยล์ ชาวบ้านมักจะมองว่า เหมือนเทศบาลไม่ท�ำอะไร นิ่งดูดาย ไม่ดูแล แต่ความจริงไม่ใช่ ทุกปัญหาที่ได้รับแจ้ง เจ้าหน้าที่ลงไป ตรวจสอบ เข้าไปแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้ทุกครั้ง ยกตัวอย่าง ฝุน่ จากท่าเทียบเรือ เทศบาลลงไปดูให้ค�ำแนะน�ำบริษทั เขาก็บอก ว่าจะดูทศิ ทางลม ถ้าลมพัดไปทางชุมชนก็จะหยุดตัก แม้จะไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดและการแก้ไขไม่ใช่วันเดียวเห็นผล อยากให้เข้าใจด้วยค่ะว่าเมื่อไปตรวจสอบข้อมูลของแต่ละ โรงงาน อย่างค่าสาร ฝุ่นควันต่างๆ มันไม่เกินที่กฎหมายก�ำหนด พระราชบัญญัตใิ ห้อ�ำนาจหน่วยงานราชการอย่างเราดูแลแค่วา่ เขา ต้องไม่กอ่ ให้เกิดเหตุเดือดร้อนร�ำคาญ ถ้าเกิดปัญหาเราเข้าไปได้แค่ ตักเตือน พูดคุยแนะน�ำ แต่เรือ่ งมาตรฐานต่างๆ กรมควบคุมมลพิษ เขาเป็นคนดูแล เวลาเขามาวัดก็ไม่เกินค่ามาตรฐาน”
นอกจากการตั้งคณะกรรมการพหุภาคีแล้ว เทศบาลยัง มีความพยายามในงานส่วนอื่นๆ ควบคู่ไปด้วย นั่นคือ การจ้าง ที่ปรึกษามาตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเขตโดยเฉพาะ “เดิ ม เราใช้ ข ้ อ มู ล ของบริ ษั ท ที่ ม าวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ สิ่งแวดล้อม (EIA : Environmental Impact Assessment) เรา อยากได้ข้อมูลที่ชัดเจนมากขึ้น เราจึงจ้างบริษัท อีสเทิร์นไทย คอนซัลติ้ง ให้มาด�ำเนินการตรวจวัดคุณภาพอากาศ น�้ำ ฝุ่นควัน ต่างๆ ในพื้นที่ของเราโดยเฉพาะ ขณะนี้เริ่มด�ำเนินการไปแล้ว กว่าจะเสร็จสิ้นใช้เวลาประมาณ 1 ปี เมื่อได้ผลออกมาจะมีการ ชีแ้ จงผ่านตัวแทนชุมชน ปิดประกาศทีท่ �ำการชุมชน หรือหากใคร สงสัยให้มาสอบถามได้ เมือ่ ได้แล้วเราจะมาท�ำแผนงาน โครงการ ในส่วนที่เป็นปัญหากัน
อนาคตอันใกล้เรามีโครงการที่จะตรวจสุขภาพเพื่อเก็บเป็น ข้อมูลพื้นฐานในชุมชน แล้วทุกปีหรือสองปีก็จะตรวจซ�้ำว่ามีการ เปลี่ยนแปลง มีปัจจัยเสี่ยงเรื่องอะไรบ้าง เช่น คัดกรองเบาหวาน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก เอ็กซเรย์ปอด แต่ละคนจะได้รแู้ ละ ป้องกันไว้แต่เนิ่นๆ ดูว่าเป็นอะไรไหม ส่วนเรือ่ งปัญหาสิง่ แวดล้อม อย่างลิงซึง่ เป็นเรือ่ งระบบนิเวศ เขาไปได้ทวั่ ไม่ใช่แค่ทอี่ ่าวอุดม อย่างบ้านเราเองเมือ่ สิบปีกอ่ นไม่มี ลิงเดีย๋ วนีก้ ม็ ี เราจะเชิญผูเ้ ชีย่ วชาญมาดู มาด�ำเนินการให้เป็นระบบ ปัญหาขยะในชุมชน ส�ำนักการสาธารณสุข ฝ่ายจัดการสิง่ แวดล้อม ได้ไปให้ความรู้เรื่องคัดแยกขยะ เปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน แล้วยังมี กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งคนในพื้นที่ พยายามช่วยกัน อย่างการป้องกันเรื่องไข้เลือดออก เขาท�ำได้ดี มากๆ”
“
ชาวบ้านมักจะมองว่า เหมือนเทศบาลไม่ท�ำอะไร นิ่งดูดาย ไม่ดูแล แต่ความจริง ไม่ใช่ ทุกปัญหาที่ได้รับแจ้ง เจ้าหน้าที่ ลงไปตรวจสอบ เข้าไปแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าให้ทุกครั้ง
”
ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้น ผอ.อารีย์กล่าวย�้ำว่า เทศบาล รับทราบและไม่ได้อยู่เฉย อยากขอให้ทุกคนใจเย็นๆ เพราะเทศบาล มีความตั้งใจจริงและท�ำกันจริงจังตั้งแต่ระดับนโยบายผู้บริหาร อย่าง นายกเทศบาลท่านให้ความส�ำคัญเรื่องนี้เป็นหลัก ทั้งในส่วนของการ แก้ไขตัวปัญหาโดยตรง การป้องกัน รวมถึงการส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งมี กองทุนส�ำหรับประชาชนทีต่ อ้ งการท�ำกิจกรรมต่างๆ เกีย่ วกับสุขภาพ ให้มาของบประมาณไปใช้ได้ เรือ่ งการรักษานัน้ สามารถใช้สทิ ธิ 30 บาท รักษาทุกโรคได้ทงั้ ที่ รพ.อ่าวอุดมและทีศ่ นู ย์บริการสาธารณสุขใกล้บา้ น อนาคตของชุมชนในเขตเทศบาลแหลมฉบังทีจ่ ะอยูอ่ ย่างมีความ สุขร่วมกับภาคอุตสาหกรรมก�ำลังเดินหน้าไปเรือ่ ยๆ อย่างมีความหวัง คอลัมน์กระบอกเสียงชุมชนจะติดตามน�ำข่าวจากหลายๆ ส่วนมาเล่า ให้ฟังกันต่อไปนะคะ ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
17
ส่งท้ายปีเก่า
ด้วยนวัตกรรมสุดเจ๋ง
ก้ า วทั นโลก โดย ติมา
จากนักคิดนักวิจัยไทยที่น่าภูมิใจ
เจลลี่โภชนา
อาหารพระราชทาน เพื่อผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุน งานด้านการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อประโยชน์สุขของชาวไทยมาโดยตลอด ล่าสุด มูลนิธิทันตนวัตกรรมในพระบรมราชูปถัมภ์และหน่วยทันตกรรมพระราชทานใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ อีก 6 แห่ง จัดท� ำโครงการ “นวัตกรรมอาหารส�ำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก” จนส�ำเร็จ ได้ผลิตภัณฑ์อาหาร ลักษณะนิม่ กลืนง่าย คล้ายเจลลี่ ซึง่ มีสารอาหารให้พลังงานทีเ่ หมาะสมกับผูป้ ว่ ยมะเร็ง ช่องปาก รวมถึงโรคอืน่ ๆ ทีม่ ปี ญ ั หาเคีย้ วและกลืนล�ำบากท�ำให้กนิ อาหารได้นอ้ ย หรือ บางรายกินไม่ได้เลย รวมถึงผู้ที่สูญเสียอวัยวะบดเคี้ยวและผู้ป่วยที่ต้องได้รับอาหาร ทางสายยาง คนเหล่านี้มักมีปัญหาร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และไม่มี ความสุขที่ต้องใส่สายยาง หรือกินอาหารอย่างเจ็บปวด เจลลี่โภชนานี้มี 2 รสชาติ ได้แก่ รสชานม และรสมะม่วง กินง่าย ยิ่งแช่เย็นยิ่งอร่อย เวลาจะกินแค่ตัดปากกล่องแล้วตักกิน ได้ทันที เมื่อเปิดกล่องแล้วเก็บในตู้เย็นได้ 7 วัน แต่ถ้ายังไม่เปิด สามารถเก็บได้โดยไม่ตอ้ งแช่เย็นได้ถงึ 1 ปี เพราะผ่านการฆ่าเชือ้ ด้วยระบบ UHT กล่องหนึ่งมีปริมาตร 250 มิลลิลิตร ให้พลังงาน 230-260 กิโลแคลอรี นอกจากคนป่วยแล้ว คนทั่วไปหรือคนที่ แพ้นมก็กินได้ แต่คนที่เป็นโรคไตหรือเบาหวานไม่ควรกินเกิน วันละ 1 กล่อง
18 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
ขณะนีย้ งั ไม่มจี �ำหน่าย เพือ่ สนองพระราชประสงค์และเนือ่ ง ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทางมูลนิธิทูลเกล้าฯ ถวายผลิตภัณฑ์ “เจลลีโ่ ภชนา” เพือ่ พระราชทานให้แก่ผปู้ ว่ ยมะเร็ง ช่องปากทั่วประเทศ จ�ำนวน 840,000 กล่อง ติดต่อสอบถามการ ขอรับอาหารพระราชทานได้ที่ มูลนิธิทันตนวัตกรรมฯ คุณบัวขาว หงสาชุม โทรศัพท์ 08 9664 4634, 0 2218 9025-7
รี ไซเคิลเศษโฟม เป็นอิฐสร้างบ้าน เวลากินข้าวกล่องโฟมทีไร อดใจหายไม่ได้ทกุ ทีวา่ โฟมนีเ้ มือ่ เป็นขยะแล้ว กว่าจะย่อยสลายได้ตอ้ งใช้เวลาหลายชัว่ คน ทิง้ วันนี้ อีก 500 ปี ไม่รจู้ ะย่อยหมดหรือยัง แต่ถา้ เผาท�ำลายก็กอ่ มลพิษกับโลก อีกมากมาย นักคิดนักประดิษฐ์อย่าง ผศ.สมบูรณ์ คงสมศักดิ์ศิริ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ จึงริเริ่มวิจัยอิฐมวลเบาผสมโฟม เป็นวัตถุดิบใหม่ในการก่อสร้างที่ทั้งประหยัดพลังงานและรักษา สิ่งแวดล้อมด้วย อาจารย์ทดลองน�ำเอาเศษโฟมผสมกับคอนกรีต แล้วพบว่าเกาะตัวกันดี เลยต่อยอดพัฒนาเป็นอิฐมวลเบาที่น�ำไป สร้างบ้านได้เหมือนอิฐมอญแต่มดี กี ว่าอยูห่ ลายข้อ คือ น�ำ้ หนักเบา กว่าถึง 2 เท่า จึงช่วยลดน�้ำหนักของอาคาร ประหยัดต้นทุน โครงสร้างเสาเข็ม และดูดซึมนำ�้ น้อยกว่าวัสดุกอ่ สร้างทัว่ ไป อีกทัง้ ยังเป็นฉนวนกันความร้อนได้มากกว่าถึง 4-7 เท่า บ้านจึงเย็นสบาย ลดพลังงานและค่าไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศได้ถึงร้อยละ 25
ที่ส�ำคัญคนทั่วไปท�ำอิฐนี้เองได้ เริ่มง่ายๆ ด้วยการย่อย เศษโฟมให้ละเอียด จะใช้เครื่องบดน�้ำแข็งก็ได้ แล้วน�ำมาผสม กับวัตถุดิบ คือ ซีเมนต์ โฟม ทราย ในอัตราส่วน 1:0.5:4 จากนั้น น�ำไปอัดขึ้นรูป ทิ้งให้แห้ง เท่านี้ก็ได้อิฐมวลเบามาใช้งานแล้ว ผศ.สมบูรณ์ผวู้ จิ ยั ทดลองสร้างบ้านด้วยอิฐชนิดนีม้ ากว่า 6 ปียงั ไม่ พบปัญหาใดๆ นับเป็นวิธีก�ำจัดเศษโฟมที่ดีกับสิ่งแวดล้อมวิธีหนึ่ง คือน�ำกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์มากที่สุด สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับอิฐมวลเบาผสมโฟม ติดต่อ ได้ที่ ผศ.สมบูรณ์ คงสมศักดิ์ศิริ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โทร. 0 2913 2500-24 ต่อ 6511
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
19
ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม
โดย หงวน ชวน ชิม
ธรรมดา ที ่ ไ ม่ ธ รรมดา ของบางอย่ า งดู แ ต่ ภ ายนอกไม่ ไ ด้ เ ด็ ด ขาด อย่ า งร้ า นนี้
ไม่มีชื่อ ไม่มีอะไรที่ดูน่าพิเศษอย่างใด แต่ร้านนี้มีดี แม้จะ เป็ น อาหารตามสั่ ง ธรรมดาๆ ที่ ห ากิ น ได้ ทั่ ว ไป แต่ ฝ ี มื อ รับประกันว่าไม่ธรรมดา
ปกตินกั ชิมอย่างข้าพเจ้านีม้ เี กณฑ์สว่ นตัวในใจทีอ่ าจดูล�ำเอียง ไปนิด แต่มักใช้ได้ผลทุกครั้ง นั่นคือ ถ้าร้านไหนเห็นพ่อครัว หรือผูค้ รอบครองตะหลิวเป็นเพศชายละก็รบั รองว่าอร่อย อาจเป็น เพราะพ่อของข้าพเจ้าเป็นคนท�ำอาหารอร่อย มาว่ากันเรือ่ งอร่อยของร้านนีเ้ ป็นร้านของลุงชัย หรือ ชัยเจริญ สว่างวงศ์ พ่อครัวหัวป่าก์ที่มีฝีมือท�ำอาหารเพราะใจรักตั้งแต่เด็ก อยูก่ บั แม่ แม่ท�ำของอร่อยให้กนิ แล้วมีความสุข เลยเป็นแรงบันดาลใจ ให้รักการท�ำกับข้าว เมื่อโตขึ้นมาประกอบอาชีพหลากหลาย ก่อน จะมาเปิดร้านที่บ้านหลังใหม่นี้ ลุงเคยท�ำข้าวหมูแดงขายที่ตลาด สี่มุมเมือง พออายุมากขึ้นเกษียณตัวเองมาเปิดร้านท�ำกิจการนวด แผนโบราณ แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ เมื่อลูกสร้างบ้านใหม่ให้ เสร็จเมือ่ สองปีกอ่ น เริม่ คิดถึงการท�ำอาหาร เลยมาเปิดร้านอาหาร ตามสั่งให้คนกินสั่งได้ตามใจชอบ
20 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
“เวลาท�ำของอร่อยให้คนกินมีความสุข เราก็มคี วามสุข ชอบ ท�ำ อยากท�ำให้เขากิน เหมือนเป็นโรคจิต ยิง่ เขากินอร่อย เราก็ยงิ่ ให้เยอะ” ลุงชัยเล่าแล้วหัวเราะเสียงดังตบท้าย อาหารตามสั่งทุกเมนูถ้าผ่านมือลุงชัยรับรองอร่อยทุกจาน เพราะลุงใส่หวั ใจทีอ่ ยากให้คนกินมีความสุขลงไปด้วย ทุกเมนูทนี่ ี่ จะท�ำกันสดๆ สัง่ ผัดกะเพราจานหนึง่ ก็บบุ พริก กระเทียมกันเดีย๋ ว นัน้ สัง่ คะน้าหมูกรอบก็หนั่ คะน้ากันสดใหม่ตน้ ต่อต้น จานต่อจาน ไม่ท�ำทงิ้ ไว้ เพราะจะไม่อร่อย ทีข่ นึ้ ชือ่ มากใครมาเป็นต้องสัง่ คือ ทุกเมนู ที่ใส่หมูกรอบได้ ไม่ว่าจะเป็น กะเพราหมูกรอบ คะน้าหมูกรอบ ผัดพริกหมูกรอบ หรือข้าวหมูแดงหมูกรอบ เพราะลุงชัยอบหมูแดงเอง ทอดหมูกรอบเอง รับรองว่าอร่อย ยังไม่ต้องพูดถึงฝีมือการผัด ทีไ่ ม่ขเี้ หนียวเครือ่ ง และกะจังหวะไฟได้พอดิบพอดี อาหารธรรมดาๆ อย่างกะเพราไก่หรือกะเพราหมูยังอร่อย เพราะเนื้อหมูนุ่มก�ำลังดี ไม่แฉะหรือกระด้างเกิน
เมื่อก่อนลุงยังมีเมนูยอดฮิตคือสุกี้และต้มย�ำ น�้ำสุกี้ของลุงชัยนั้น ลูกสาวถึงกับเอ่ย ปาก สูตรพ่อนี้เหลือกิน ไม่มีที่ไหนสู้ น่าเสียดายลุงชัยบอกท�ำต่อไม่ไหว ถ้าอาหารตามสั่ง มีเมนูมากนัก เวลาลูกค้าแน่นๆ ลุงท�ำไม่ทัน เดี๋ยวนี้จึงตัดเหลือแต่อาหารตามสั่งประเภท ข้าวจานเดียวเป็นส่วนมาก แต่คนแถวนี้รู้ว่าลุงใจดี ถ้าอยากกินเมนูอื่นที่เครื่องของลุงพอ ท�ำให้ได้ ลุงก็จะท�ำให้ อย่างลูกค้าวัยรุน่ คนหนึง่ ขีม่ อเตอร์ไซค์มาสัง่ “ลุง ผมเพิง่ ไปผ่าฟันคุดมา ขอข้าวต้มหมูสับนิ่มๆ สักถุงนะ” ลุงชัยไม่ว่าอะไรหยิบหม้อท�ำให้ทันที อาหารธรรมดาพืน้ ๆ อย่างข้าวหมูแดงหน้าตาดูธรรมดา แต่รสชาติไม่ธรรมดา นอกจากมีดที หี่ มูแดงหมูกรอบแล้ว นำ�้ ซอสลุงเคีย่ วเอง อร่อยใช้ได้จนอยากต่อจานสอง ถ้าไม่ติดเสียว่าเพิ่งจะอิ่มจานแรกจากกะเพราหมูกรอบไปแล้ว หากใครอยากซดอะไรร้อนๆ ก็มีให้เลือกมากขึ้น เพราะอีกฟากหนึ่งลุงชัย ให้พี่สาวซื้อแฟรนไชส์ก๋วยเตี๋ยวซุนฮั้ว ร้านขึ้นชื่อของศรีราชามาขายอยู่ข้างๆ เมื่อมองไปรอบๆ นอกจากความสะอาดที่ไม่เป็นรองใคร สังเกตเห็นขวดน�้ำปลา น�ำ้ มัน ซอสต่างๆ ล้วนมียหี่ อ้ ไม่ใช่ของถูกๆ อย่างนำ�้ ปลาทีท่ �ำจากนำ�้ เกลือผสมสี ลุงชัยเลือกใช้แต่ของดีๆ เท่านั้น เครื่องปรุงต่างๆ บนโต๊ะ ทั้งพริกน�้ำปลา พริก ซีอวิ๊ ด�ำ หน้าตาน่ากิน ไม่เหมือนบางร้านทีน่ ำ�้ ปลาใสแจ๋ว ไม่มพี ริก ไม่มรี สมะนาว ความอร่อยของร้านนีม้ าพร้อมกับราคาสบายๆ จานละ 30 บาทเท่านัน้ ส่วน น�้ำดื่มกินฟรี เติมน�้ำแข็งได้ไม่มีอั้น ไม่ต้องทิ้งขวดพลาสติก บรรยากาศร้านโล่ง โปร่งสบาย ไม่ตอ้ งติดแอร์ให้เปลืองไฟ พัดลมตัวเดียวเอาอยู่ นับเป็นร้านธรรมดาๆ ที่ไม่ธรรมดาจริงๆ ก่อนออกจากร้านเราเดินไปลาลุง ลูกค้าโต๊ะข้างๆ ทีเ่ ดินตามหลังมาชิงพูด เสียก่อน “อร่อยจริงๆ ครับ” ลุงชัยยิม้ แก้มปริ ลูกค้าขาจรส่วนใหญ่กนิ เสร็จมักอด ไม่ได้ที่จะเดินมาบอก ส่วนขาประจ�ำลุงเล่าว่า ถ้ามองมาไม่เห็นลุงยืนอยู่หน้าเตา เป็นไม่เข้าร้าน เพราะเขาเชือ่ แต่ฝมี อื ลุง สุดท้ายลุงเปรยกับเราว่าอยากจะเลิกแล้ว เพราะเหนื่อย ถ้าใครอยากกินฝีมือลุงชัยต้องรีบมาแล้วละค่ะ
ร้านเปิดทุกวันตั้งแต่ 06.00-16.00 น.
จากกรุงเทพฯ มาทางเส้นสุขุมวิท ถึงแยกตลาดสี่มุมเมือง สั ง เกตมี ธ นาคารธนชาติ อ ยู ่ ป ากซอย เลี้ ย วเข้ า ซอยตรงมา ประมาณ 600 เมตร เจอสีแ่ ยกไฟแดงให้ตรงมาอีกประมาณ 200 เมตร ร้านอยู่ทางขวามือ เป็นอาคารพาณิชย์สองห้องทาสีส้ม สอบถามทางหรือโทรศัพท์สั่งข้าวกล่องได้ที่ 08 4869 5990 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
21
สร้างคลอง สร้างคน โดย กองบรรณาธิการ
โครงการบริหารจัดการ เพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
ให้ปลาฉันหนึง่ ตัว ฉันมีกนิ แค่หนึง่ วัน แต่ถา้ สอนฉันจับปลา ฉันจะมี กินตลอดไป แนวคิดการพัฒนาชุมชนที่สอดคล้องกับแนวทางการด�ำเนิน โครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมระดับประเทศในท้องถิน่ ทุรกันดาร ของภูมิภาคต่างๆ ที่เครือไทยออยล์ถือปฏิบัติมาโดยตลอด วันนี้จะพาผู้อ่านทุกท่านไปเยี่ยมชมโครงการ สร้างคลอง สร้ า งคน โครงการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ณ บ้านหนองตะเคียน ต.หนองโบสถ์ อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ จังหวัด หนึ่งในภาคอีสาน ดินแดนที่ขึ้นชื่อว่ามีพื้นที่หนึ่งในสามของพื้นที่ ทั้งหมด แถมพ่วงท้ายมาด้วยต�ำแหน่งแห้งแล้งที่สุดในประเทศ เช่นเดียวกัน เครือไทยออยล์พฒั นาโครงการสร้างคลอง สร้างคน ร่วมกับ มูลนิธเิ พือ่ การศึกษาและประชาสงเคราะห์ ซึง่ ท�ำงานพัฒนาในพืน้ ที่ อ�ำเภอนางรองมานานกว่า 12 ปี จึงเห็นถึงปัญหาด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรน�ำ้ ทีย่ งั ขาดประสิทธิภาพและความต่อเนือ่ ง ชาวบ้านส่วนใหญ่ มีอาชีพท�ำนา ซึง่ ท�ำได้เพียงปีละครัง้ หน�ำซำ�้ ช่วงทีว่ า่ งจากฤดูปลูกข้าว จะหันไปปลูกพืชผักไว้ขายหรือกินเองก็จนใจ เพราะทุกอย่างต้องอาศัย แหล่งน�้ำเป็นตัวหล่อเลี้ยงทั้งสิ้น หมู่บ้านมีน�้ำใช้เพาะปลูกเฉพาะ เพียงหน้าฝนเท่านั้น ไม่สามารถกักเก็บน�้ำไว้ใช้นอกฤดูได้ ทางมูลนิธิฯ และเครือไทยออยล์เห็นพ้องต้องกันว่า หัวใจ ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการบริหารจัดการทรัพยากรท้องถิน่ คือการพัฒนาคน โดยเฉพาะผูน้ �ำชุมชนให้มคี วามรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ โครงการให้เป็นระบบ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน อย่างแท้จริง จึงน�ำมาสูแ่ นวคิดการสร้างแหล่งนำ�้ เพือ่ เป็นเครือ่ งมือ พัฒนาคนในท้องถิน่ และเป็นทีม่ าของโครงการสร้างคลอง สร้างคน โดยเริ่มด�ำเนินการในพื้นที่บ้านหนองตะเคียนน�ำร่อง ผูแ้ ทนมูลนิธฯิ และทีมวิศวกรเครือไทยออยล์ แผนกโครงการ ทัว่ ไป ได้ลงพืน้ ทีใ่ ห้ความรู้ สร้างความเข้าใจตัวโครงการทีถ่ กู ต้องแก่ ชาวบ้านในพืน้ ที่ เพราะชาวบ้านบางคนจะต้องเสียสละทีน่ าของตน บางส่วนเพื่อขุดคลองและท�ำถนน นอกจากนั้น ทีมวิศวกรยังได้
22 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
ช่วยพัฒนาทักษะชาวบ้านหนองตะเคียนให้เรียนรู้การใช้เครื่อง มืออุปกรณ์ต่างๆ ที่ส�ำคัญ อาทิ การใช้กล้องวัดระดับความลึก ของคลอง และการใช้เทคโนโลยี GPS เพื่อหาพิกัดขุดคลอง โดย ได้มอบอุปกรณ์ดังกล่าวให้ทางชุมชนไว้ใช้งานในพื้นที่ต่อไปใน อนาคต ความส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรมจากความร่วมมือร่วมใจระหว่าง พีน่ อ้ งชาวหมูบ่ า้ นหนองตะเคียน วิศวกรไทยออยล์ และเจ้าหน้าที่ มูลนิธฯิ และหน่วยงานราชการในท้องถิน่ คือ คลองส่งนำ�้ ความยาว ประมาณ 2.2 กม. กว้างเฉลีย่ 3 ม. ลึก 3.5 ม. และมีบอ่ เก็บกักนำ�้ อีก 9 บ่อ รวมเกษตรกรที่ได้รับผลประโยชน์โดยประมาณ 800 ไร่ จ�ำนวนบ้าน 102 หลังคาเรือน ประชากรกว่า 395 คน โครงการฯ ใช้เวลาด�ำเนินการตั้งแต่เดือนมีนาคม-มิถุนายน 2555 และได้จัด พิธสี ง่ มอบคลองให้แก่ชาวบ้านหนองตะเคียนเมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม ที่ผ่านมา
ในพิธสี ง่ มอบได้รบั เกียรติจากคุณณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศษิ ฐพร ผูช้ ว่ ยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านโรงกลัน่ เป็นประธานในพิธี พร้อม ด้วยคุณบางกอก เชาว์ขวัญยืน ผู้จัดการมูลนิธิเพื่อการศึกษาและ ประชาสงเคราะห์ ผูแ้ ทนหน่วยงานราชการ ก�ำนันและผูใ้ หญ่บา้ น ในพื้นที่ พนักงานเครือไทยออยล์ และชาวบ้านหนองตะเคียน ร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก หลังจากพิธเี ปิดป้ายส่งมอบคลอง ประธานในพิธแี ละผูแ้ ทน หน่วยงานต่างๆ ได้รว่ มกันปล่อยลูกปลาดุกลงคลองเพือ่ ความสมบูรณ์ ของแหล่งอาหาร จากนั้นได้มอบพันธุ์ปลาและเมล็ดพันธุ์พืชให้ เกษตรกรทีเ่ สียสละทีน่ าเพือ่ ใช้ท�ำแก้มลิงจ�ำนวน 9 ราย และทีน่ าเพือ่ ขุดคลองจ�ำนวน 29 ราย ต่อด้วยกิจกรรมร่วมกันปลูกต้นราชพฤกษ์ ต้นแคนาริมคลองเพือ่ ความร่มรืน่ และปลูกหญ้าแฝก ป้องกันตลิง่ ทรุด ก่อนที่ผใู้ หญ่บ้านหนองตะเคียนจะน�ำคณะเยีย่ มชมพื้นทีโ่ ครงการ
คุณณรงค์ฤทธิ์ ถาวรวิศิษฐพร
ผู้ช่วยกรรมการอ�ำนวยการ ด้านโรงกลั่น
พนักงานเครือไทยออยล์มสี ว่ นร่วมอย่างมากในการใช้ความรู้ ทักษะ และความช�ำนาญทางด้านเทคนิคและวิศวกรรมโดยเฉพาะ เรือ่ งของการระบายนำ�้ การกักเก็บน�ำ้ เรามีความช�ำนาญด้านการ กลั่นน�้ำมัน พอมาเจอเรื่องน�้ำก็ถือว่าเป็นประสบการณ์เพิ่มเติมที่ พวกเราได้มาเรียนรูก้ นั เรือ่ งทีน่ า่ ชืน่ ชมก็คอื พีน่ อ้ งชาวหนองตะเคียน ที่เสียสละทั้งก�ำลังกาย ก�ำลังใจ มาช่วยกันสร้างคลองส่งน�้ำนี้ เวลามีปัญหาอุปสรรค พี่น้องได้มาช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ปัญหา และสนับสนุนกัน ผมเชือ่ มัน่ ว่า โครงการนีจ้ ะเป็นตัวอย่างทีด่ ใี นด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรน�้ำซึ่งมีค่ามากส�ำหรับพี่น้องเกษตรกร และเป็น รูปแบบการให้ความรู้เพื่อพัฒนาคนในชุมชน โครงการนี้จะสร้าง ความแข็งแกร่งและภูมิคุ้มกันให้ชุมชนด�ำเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุขมากขึน้ กว่าเก่า ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เชือ่ ว่าเป็นแนวทางทีด่ ที สี่ ดุ ทีจ่ ะ น�ำพาสังคมไทยไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง และมีความ สงบสุขในระยะยาวด้วย
คุณบางกอก เชาว์ขวัญยืน
ผู้จัดการมูลนิธิเพื่อการศึกษาและประชาสงเคราะห์
ชีวิตของเกษตรกรเป็นชีวิตที่ยากล�ำบาก เกษตรกรมีความ อดทนและความสามารถสูง แต่มโี อกาสบางอย่างเท่านัน้ เองทีท่ า่ น ไม่ได้ และสิ่งที่เราพยายามท�ำคือพยายามให้โอกาส และสิ่งที่พบ ก็คือ พบว่าคนในชุมชนเป็นมนุษย์ประเสริฐ เป็นมนุษย์ที่มีเมตตา กรุณา เพราะร่วมกันช่วยหมูบ่ า้ นของตัวเอง และช่วยหมูบ่ า้ นอืน่ ด้วย ท่านที่มาจากไทยออยล์กรุงเทพฯ เดินทางมาไกลและช่วยจัดการ เรือ่ งทุกอย่างให้โครงการนีไ้ ปได้ ท่านทีม่ าจากไทยออยล์ ศรีราชา เสียสละเวลาของท่านเองมาช่วยชุมชนที่นี่ ต้องขอบคุณทุกท่าน ผมก็หวังว่าต่อไปเราจะมีโอกาสที่จะร่วมท�ำงานด้วยกัน เพื่อที่ ชุมชนจะช่วยตัวเองได้ และก็ไปช่วยชุมชนอื่นๆ ด้วย
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
23
คุณเกรียงศักดิ์ ตรีฤกษ์ฤทธิ์
พนักงานเครือไทยออยล์ แผนกโครงการทั่วไป
พวกผมรู้สึกมีความสุขครับที่ได้มีโอกาสช่วยให้โครงการนี้ ประสบความส�ำเร็จ วันทีพ่ วกผมประทับใจทีส่ ดุ คือวันทีพ่ วกผมได้ มานอนค้างคืนที่นี่ และเราได้มาสังสรรค์กัน เล่นดนตรีกันตรงนี้ และขึ้นไปนอนบนบ้านของผู้ใหญ่ เราเป็นคณะแรกนะครับยืนยัน ได้เลยที่ได้ขึ้นไปนอน เพราะว่าเพิ่งจะสร้างเสร็จ นับว่าเป็นวันที่มี ความสุขมากวันหนึง่ และคาดหวังว่าถ้าเรามีโอกาสท�ำโครงการอีก ก็ยินดีที่จะมาให้ความร่วมมืออีกนะครับ คุณเศกสันต์ ศิริมงคล ผู้ใหญ่บ้านหนองตะเคียน
ผมรูส้ กึ ดีใจอย่างยิง่ ทีไ่ ทยออยล์และมูลนิธฯิ น�ำโครงการมาสู่ หมูบ่ า้ นหนองตะเคียน ความส�ำเร็จนีเ้ ป็นประโยชน์อย่างสูง โดยเฉพาะ กับพี่น้องเกษตรกรซึ่งมีที่นาอยู่ฝั่งทิศเหนือของหมู่บ้าน แต่ก่อน ทีห่ มูบ่ า้ นแล้งมาก ไม่สามารถกักเก็บน�ำ้ เอาไว้ได้พอโครงการนีม้ าก็มี การสร้างคลองและสร้างแก้มลิง หรือสระเล็กๆ เพื่อกักเก็บน�้ำ เอาไว้ใช้ในฤดูแล้ง พวกเราไม่คดิ ไม่ฝนั ว่าจะได้ท�ำตรงนีจ้ นส�ำเร็จ ล้มลุกคลุกคลานกันมาพอสมควรนะครับ ในนามตัวแทนของ คณะกรรมการและชาวบ้านหนองตะเคียน และหมู่บ้านใกล้เคียง ผมต้องขอขอบคุณทุกฝ่ายทีไ่ ด้รว่ มแรง ร่วมใจ ร่วมสนับสนุนงบประมาณ มาให้กับหมู่บ้าน ให้เกษตรกรในชุมชนท�ำนาได้ดียิ่งขึ้นไป
นางอ๊อด เนตรมณี ผู้แทนเกษตรกร
แต่เดิมตอนทีไ่ ม่มคี ลองไม่ได้ปลูกอะไรเลย ไม่มนี ำ�้ ท�ำนาได้ อย่างเดียวปีละครัง้ มีคลองอาจจะท�ำได้ 2 ครัง้ ได้ปลูกผักปลูกอะไรอยู่ ขอขอบคุณหลายๆ ทีพ่ าเม็ดเงินมาตกอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นหนองตะเคียน ดีใจมากๆ เลย แต่กอ่ นไม่เคยมีนำ�้ เขาขอทีด่ นิ ยายก็ให้เขา 2-3 ไร่ ยายก็ให้เขาหมดเพือ่ จะได้นำ�้ ไม่เคยคิดเสียดายที่ เขาขอทีด่ นิ แถว นายายเอาไปท�ำทางให้ประชาชนเดิน ได้ประโยชน์ร่วมกัน ยายก็ ให้เขา อย่าไปเห็นแก่ตวั ทีนพี้ อมีคลอง มีนำ�้ มา ปลูกอะไรก็ได้กนิ ปลูกผัก ปลูกนา ปลูกมะเขือเทศ สารพัด เลี้ยงปลาก็ได้
คุณสุข เสือชุมแสง
ผู้ใหญ่บ้านหนองโบสถ์พัฒนา
เมือ่ ปี 2534 ฝนทิง้ ช่วง ผมมีทนี่ า 18 ไร่ แต่เกีย่ วข้าวได้แค่ 3 ถุงปุย๋ ปีนนั้ แทบจะไม่ได้อะไรกันเลย แล้งจริงๆ ชาวบ้านส่วนใหญ่ หนีเข้ากรุงเทพฯ หมด ปีนี้เท่าที่กะดูด้วยสายตาคงจะได้เยอะพอ สมควร เนื่องจากได้อานิสงส์จากน�้ำในคลอง ผมเปิดน�้ำเข้านาได้ โดยไม่ต้องสูบ แสดงว่าถ้าน�้ำมากจริงๆ เกษตรกรใช้ได้ทุกคน เพราะที่ดินของผมอยู่ที่สูง เมื่อก่อนเราไม่มีน�้ำท�ำเกษตรหรือท�ำ ผักสวนครัวได้กินเลย ต้องใช้น�้ำใต้ดินสูบขึ้นมาช่วยปลูกต้นไม้ ปลูกพืชผักกิน ดีใจที่ได้เห็นเกษตรกรถ้วนหน้าได้ผลประโยชน์ จากคลองนี้
โครงการสร้างคลอง สร้างคน จึงไม่ใช่แค่การบริหาร ทรัพยากรนำ�้ ให้มปี ระสิทธิภาพเท่านัน้ แต่เป็นการบริหารคนใน พืน้ ถิน่ ให้มคี วามรู้ ทักษะ จนด�ำเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุข และเมือ่ ชุมชนมีความรู้ ความสามารถ ย่อมน�ำไปสูก่ ารพัฒนา ด้านเศรษฐกิจ การสร้างงาน สร้างอาชีพในท้องถิน่ ลดปัญหา การอพยพย้ายถิน่ อันจะน�ำความสงบสุขมาสูช่ มุ ชน และยังน�ำ ไปสูจ่ ติ ส�ำนึกด้านอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม รักษาทรัพยากรน�ำ้ อันเป็น ต้นก�ำเนิดแห่งชีวิต สุดท้ายชุมชนแห่งนี้ยังสามารถแบ่งปัน ความรู้ ประสบการณ์ เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชนรอบข้างได้ตอ่ ไป
นางสุทธิ มาชุมแสง ผู้แทนเกษตรกร
ในฐานะที่ฉันเป็นตัวแทนคนหนึ่งของเกษตรกร ตั้งแต่ยัง ไม่มคี ลอง ท�ำนาล�ำบากมาก ต้องรอนำ�้ ฝนอย่างเดียว ไม่มแี หล่งนำ�้ จากทีอ่ นื่ เลย พอหลังจากทีม่ โี ครงการนีท้ �ำขุดลอกคลองให้เรา เราก็ ได้ใช้นำ�้ สูบนำ�้ จากคลองสูน่ า ช่วยบรรเทาได้กอ่ นฝนจะตก ขอขอบคุณ หน่วยงานทุกหน่วยงานที่เห็นความส�ำคัญของชาวนาค่ะ
24 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
เกมใช้น�้ำกี่ลิตร? / Water footprint
Water footprint คือ ปริมาณน�้ำที่ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้าและบริการทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย ค�ำนวณปริมาณน�้ำจากผลรวมของทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่ของการผลิตสินค้าและบริการนั้น คราวนี้เรา ลับสมองลองเล่นเกม ลองมาดูกนั ว่าในอาหารและผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างนัน้ ได้ใช้นำ�้ ไปมากขนาดไหน โยงเส้นจับคูใ่ ห้ถกู ต้องแล้ว โดย กองบรรณาธิการ รีบส่งค�ำตอบมารับรางวัลกันค่ะ หลังจากเล่นเกมนี้แล้วอย่าลืมช่วยกันประหยัดน�้ำทุกครั้งที่ใช้ด้วยนะคะ
2,000
200
ลิตร
ลิตร
กาแฟ
เสื้อยืดเส้นใยฝ้าย
1 แก้ว
1 ตัว
140 ลิตร
ไมโครชิป 1 ตัว
32
ลิตร
นม
1 แก้ว
10
ลิตร
กระดาษ A4 1 แผ่น
ถ่ายเอกสารและส่งคำ�ตอบชิงรางวัลได้ที่ แผนกกิจการเพื่อสังคมและแบรนด์ขององค์กร บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2556 ชื่อ ................................................. นามสกุล .....................................................................ที่อยู่............................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................
เฉลยเกมฉบับที่แล้ว เกมพืชพลังงานทดแทน ให้ท�ำเครื่องหมาย
ที่ใต้ภาพพืชที่จัดอยู่ในประเภท “พืชพลังงานทดแทน”
ขอแสดงความยินดีกับผู้ตอบค�ำถามได้ถูกต้อง และโชคดีจากการจับฉลากรายชื่อ ดังนี้ 1. คุณเกษม ส่องแสง 2. คุณชัชวาล วังพรม 3. คุณชัยพร สุขศรี 4. คุณเทวิน อรุณจิตร 5. คุณนฤดล อาจนาเสียว 6. คุณณพัตชา อินทนัย 7. คุณมรุต สุขไทย 8. ด.ญ.วิลาสินี สะพานทอง 9. คุณสุทธิ ตันทวีวงศ์ 10. คุณสุธารัตน์ มีศิริ ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
25
เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน
โดย ค�ำศรี
นาบัว... หัวใจเป็นหนึ่งเดียว สองสามปีมานี้สังคมเราอยู่ในบรรยากาศของความ แบ่งแยก เมื่อได้ยินค�ำถามว่า “ท�ำไมเวทีวิชาการชาวบ้าน สร้างความสมานฉันท์ ได้” จากส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ท�ำให้ต้องไปค้นต่อและน�ำเรื่องราวชุมชนที่สามารถก้าวผ่าน ความขัดแย้งได้มาเล่าให้ฟัง นั่นคือ ที่ต�ำบลนาบัว อ�ำเภอ นครไทย จังหวัดพิษณุโลกค่ะ
นาบัวก่อนรวมตัว รวมใจ
ต�ำบลนาบัวห่างจากตัวอ�ำเภอนครไทยประมาณ 8 กม. ลักษณะพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบ ในแอ่งกระทะ มีภเู ขาล้อมรอบ และมีแม่นำ�้ ไหลผ่าน จึงเหมาะกับการท�ำนา หมูบ่ า้ น ส่วนใหญ่มกั มีชอื่ ขึน้ ต้นว่านาทัง้ นัน้ เช่น บ้านนาทุง่ ใหญ่ บ้านนาลานข้าว บ้านนากะบาก บ้านนาตาด บ้านนาเมือง ชาวบ้านเล่าต่อๆ กันมาว่า คนที่อพยพมาอยู่คนแรก ชื่อตาบัว บ้างก็ว่าเป็นเพราะในท้องนามักมีดอกบัวสีม่วง ดอกเล็กประมาณ 4-5 นิ้ว ขึ้นทั่วไปทั้งต�ำบล จึงเรียกว่าต�ำบลนาบัว ก่อนจะมีการรวมตัวกันอย่างวันนี้ คนต�ำบลนาบัวทัง้ หมด 16 หมูบ่ า้ น กว่า 2,000 หลังคาเรือน รวมเกือบ 8,000 คน ไม่ได้ตา่ งจากต�ำบลอืน่ ๆ ทีม่ ปี ญั หาเล็กปัญหาใหญ่ตอ้ งแก้ไข แต่ทนี่ มี่ ที นุ ดี จาก ค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ว่าเมื่อก่อนใครจะท�ำอะไรในชุมชนที่มีผลกระทบหรือเกี่ยวข้องกับคนอื่น ต้องน�ำเรือ่ งนัน้ มาพูดคุยให้ได้รบั การยอมรับก่อน จึงไม่คอ่ ยเกิดความขัดแย้ง และยังท�ำให้มพี ลังทีจ่ ะ ท�ำให้งานนัน้ ๆ ส�ำเร็จด้วย เรียกว่าคนนาบัวมีการบริหารจัดการชุมชนแบบกระบวนการมีสว่ นร่วมมา เป็นร้อยปีแล้ว ปัจจุบันมีการรวมกลุ่มท�ำกิจกรรมต่างๆ ถึง 32 กลุ่ม
26 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
เวทีวิชาการชาวบ้าน
กิจกรรมนี้เริ่มตั้งแต่ปี 2540 เมื่อหมู่ 2 บ้านบุ่งสีเสียดริเริ่ม จัดประกวดหมู่บ้านสาธารณสุขมูลฐานขึ้น จนเกิดความคิดขยาย ออกไปว่าน่าจะมีการจัดงานระดับต�ำบลขึ้น เพื่อให้แต่ละหมู่บ้าน หรือกลุ่มได้มีโอกาสน�ำเสนอผลงานในรอบปีที่ผ่านมาของตนเอง โดยตั้งชื่องานว่า “งานเวทีวิชาการชาวบ้าน” หมูบ่ า้ นทีจ่ ะรับเป็นเจ้าภาพในการจัดงานจะต้องเสนอตัวขอ เป็นเจ้าภาพและได้รบั การยอมรับจากทุกหมูบ่ า้ น แต่ละหมูบ่ า้ นจะ ได้รบั เลือกเป็นเจ้าภาพเรียงล�ำดับตามความพร้อม การเป็นเจ้าภาพ จะต้องท�ำทุกเรื่อง ใช้เวลาเตรียมตัว 1 ปี ทีมงานประกอบด้วย ผูใ้ หญ่บา้ น อบต. อสม. กลุม่ แม่บา้ น เยาวชน และทุกกลุม่ มาช่วยกัน เตรียมงานและสรุปผลงาน พร้อมทั้งคัดเลือกผู้น�ำเสนอผลงานใน หมูบ่ า้ นของตนเอง พิธกี รผูด้ �ำเนินรายการบนเวทีและผูน้ �ำเสนอผลงาน ในแต่ละปีจะต้องไม่ซ�้ำคนเดิม เพื่อฝึกการเป็นผู้น�ำและวิทยากร แรกๆ เป็นการน�ำเสนอผลงาน และค้นหาปราชญ์ชาวบ้าน เช่น ปราชญ์ด้านดนตรีพื้นบ้านที่ก�ำลังสูญหาย งบประมาณในช่วง 6 ปีแรกที่ใช้มาจากการลงขันกันหมู่ละ 2,000 บาท จัดกันมา เรื่อยๆ ทุกปีในกลุ่มเล็กๆ ขณะนั้น อบต.นาบัวยังไม่ได้สนใจหรือ ให้ความส�ำคัญมากนักจนเริม่ เห็นผลดี ในปี 2547 จึงเข้ามาสนับสนุน งบประมาณจัดงาน 20,000 บาท ปัจจุบัน อบต. และทุกหมู่บ้าน เข้ามามีส่วนร่วมทั้งต�ำบล “การจัดเวทีวชิ าการชาวบ้านเป็นการแสดงความคิดเห็นของ ชาวบ้านได้ทุกเรื่อง ทาง อบต. จะรับฟังข้อมูลต่างๆ ที่เกิดปัญหา ในหมูบ่ า้ น ไม่วา่ จะโดนด่าหรืออะไร เรารับฟังปัญหาทุกหมู่ มีเลขาฯ บันทึกอยู่ เราเป็น อบต. อย่านึกว่าตัวเองเก่งคนเดียวทีจ่ ะชีน้ �ำชีแ้ นะเขา ที่นาบัวเราต้องเกิดจากชาวบ้านจริงๆ อยู่กันแบบพี่แบบน้อง เมื่อ เขาจัดเวทีขนึ้ เพือ่ ให้ อบต. หรือ อบจ. และภาคส่วนต่างๆ มารับรู้ ความเดือดร้อนของเขาว่าเขาต้องการอะไรในหมูบ่ า้ น เราคิดว่าได้ผลดี กับเขามากเลย ณ ปัจจุบนั จากทีช่ าวบ้านร่วมคิดร่วมท�ำกันไม่กคี่ น ตอนนีห้ น่วยงานต่างๆ วิง่ เข้ามา ครู โรงเรียน ป่าไม้ ต่างให้ความสนใจ” ประเจตน์ หมืน่ พัน นายก อบต.นาบัวเล่าให้ฟงั ในงานเวทีวชิ าการ ครั้งล่าสุด หัวใจส�ำคัญของเวทีวิชาการชาวบ้านต�ำบลนาบัวนอกจาก การมีสว่ นร่วมการรับฟังแล้ว ยังท�ำให้ผบู้ ริหารเข้าใจความต้องการ ของชุมชนอย่างแท้จริง ปัญหาที่มีจึงได้รับการแก้ไขได้ ตรงจุดและรวดเร็ว และเวทีนี้ยังเป็นเวทีแห่งความ
ร่วมมือ สร้างคนในชุมชนให้กล้าแสดงออก ร่วมคิด ร่วมท�ำ และ ร่วมรับผิดชอบ นายกประเจตต์กล่าวว่า “เวทีนี้เป็นความภาคภูมิใจของ ชาวต�ำบลนาบัวที่มีศักดิ์ศรี ชาวนาบัวคนธรรมดาได้ขึ้นมาพูดให้ หน่วยงานต่างๆ ได้รบั รู้ ได้รบั ทราบ นีค่ อื ความภาคภูมใิ จของเวทีน”ี้ เวทีชาวบ้านนีจ้ ะมีการร่วมกันก�ำหนดนโยบายสาธารณะขึน้ ให้คนในต�ำบลร่วมกันปฏิบตั ิ คือ ข้อก�ำหนดร่วมกันของชาวบ้านที่ ไม่ซำ�้ กันในแต่ละปี เช่น ปีกอ่ นงดเหล้าเข้าพรรษาของหมู่ 13 ส่วนปีนี้ หมู่ 15 บ้านนำ�้ แจ้งพัฒนาเป็นเจ้าภาพจัดงาน ได้น�ำเสนอนโยบาย สาธารณะเรื่องป่าไม้ เพราะที่ตั้งของหมู่บ้านเป็นภูเขา จึงก�ำหนด กติกาการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า และประกาศห้ามจับสัตว์ป่าขึ้น เป็นกฎของต�ำบล ข้อตกลงต่างๆ นัน้ เจ้าภาพแต่ละปีจะเป็นคนก�ำหนด และท�ำเป็นตัวอย่าง ชาวบ้านทุกหมู่ที่มาร่วมงานต้องปฏิญาณตน พร้อมๆ กันด้วย นอกจากนี้ แต่ละหมูบ่ า้ นจะได้ขนึ้ มาพูดบนเวทีวา่ ระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมาได้ท�ำอะไรมาบ้าง ความต้องการของหมู่บ้าน หรือ ต้องการแก้ไขปัญหาอะไร เดือดร้อนสิง่ ไหน ซึง่ แต่ละหมูจ่ ะแตกต่าง กันออกไป อานนท์ วังนวล ชาวบ้านหมู่ 1 ต�ำบลนาบัว เล่าถึงข้อดีของ เวทีนี้ว่า “เป็นสิ่งดีที่ชาวบ้านได้เรียนรู้ปัญหาของแต่ละหมู่ เพราะ ก่อนที่จะจัดเวทีชาวบ้านแต่ละครั้ง แต่ละหมู่ต้องนัดประชุมกัน ท�ำให้เห็นถึงปัญหาและข้อดีของหมู่เราด้วย ท�ำให้คนในชุมชนมี ความสัมพันธ์และสามัคคีกัน” เมือ่ ผูบ้ ริหาร อบต. หรือ อบจ. รับทราบข้อเสนอต่างๆ จากเวที แล้ว จะพิจารณาความเร่งด่วนของปัญหาแล้วน�ำไปปฏิบตั หิ รือแก้ไข ต่อไป ความส�ำเร็จของเวทีวชิ าการชาวบ้านอยูท่ กี่ ารท�ำงานเป็นทีม ความต่อเนื่องในการจัดงาน การก�ำหนดเจ้าภาพอย่างชัดเจน ที่ ส�ำคัญคือเป็นความต้องการของชุมชน และเป็นสัญญาผูกพันต่อกัน ของแต่ละหมู่บ้าน โดยชาวบ้านเป็นผู้ด�ำเนินการเองทั้งหมด เป็น เวทีที่ทุกคนได้พูด ได้น�ำผลงานดีๆ ของตนมาน�ำเสนอ ทุกคน จึงตั้งตารอและให้ความส�ำคัญ เมื่อถึงวันงานจึงเป็นวันแห่งความ ภาคภูมใิ จของชาวนาบัว และกลายเป็นจุดรวมจิตใจ รวมหัวใจให้ คนนาบัวมีแต่ความสมานฉันท์
ขอบคุณข้อมูล งานวิจัยชุมชนของ ผศ. ดร.ไพศาล ริ้วธงชัย www.punsook.org ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
27
เคล็ดลับสุขภาพ
วิธีกินเพื่อชะลอ
โดย กาบกล้วย
แม้อายุเฉลี่ยคนเราจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการกินอาหารที่ดี การรักษาโรคที่ทันสมัย แต่สาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ยังคงเป็นโรคหัวใจและโรคมะเร็ง ซึ่งวงการแพทย์เชื่อว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับพฤติกรรมการบริโภค ขณะเดียวกันยังท�ำให้เกิดศาสตร์ใหม่ขึ้นที่เรียกว่า อายุรวัฒนศาสตร์ (Anti-Aging Medicine) หมายถึง การกินเพื่อรักษาโรค ที่เชื่อว่าแค่เราเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินของเรา จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง โรคภัยไม่มาเบียดเบียน และยังช่วยชะลอความแก่ให้ร่างกายได้ด้วย ชักน่าสนใจแล้วใช่ไหมคะ
จากการศึกษาบรรดาผูท้ มี่ อี ายุยนื จากทัว่ ทุกมุมโลก พบว่าต่างมีพฤติกรรมการบริโภคทีค่ ล้ายคลึงกัน ยกตัวอย่างชายอายุยนื ทีส่ ดุ ในอเมริกา ชื่อนายวอลเตอร์ บรุนนิง อายุ 113 ปี เขาเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย หลีกเลี่ยงอาหารที่ท�ำให้เกิดโรค และ รับประทานอาหารเพียงวันละ 2 มื้อ โดยการกินผลไม้และข้าวโอ๊ต ไม่กินอาหารแปรรูป ไม่กินอาหารจ�ำพวกแป้ง เพราะการกินแป้ง มากเกินจ�ำเป็นจะท�ำให้ร่างกายแก่ก่อนวัย ฉบับนี้จึงน�ำเคล็ดลับดีๆ เกี่ยวกับการกินเพื่อชะลอความแก่มาฝากคุณผู้อ่านทุกท่านค่ะ หากทุกคนหันมาปรับพฤติกรรมการกิน แบบง่ายๆ ก็จะช่วยให้อายุยืนยาวได้เช่นกัน • หลีกเลี่ยงอาหารทอด เพราะเต็มไปด้วยสารก่อมะเร็ง • เคี้ยวอาหารให้ช้าลงในเวลารับประทาน • เลือกรับประทานแป้งที่มีน�้ำตาลต�่ำ เช่น กล้วย มะม่วง ควรหันมาบริโภคอาหารประเภทนึ่งแทน แอปเปิล้ สตรอเบอร์รี่ โยเกิรต์ นำ�้ ตาลฟรุคโตส และนม • กินเมล็ดธัญพืช เช่น ข้าวกล้อง หรือข้าวสาลีไม่ขัดขาว หรือแป้งที่มีน�้ำตาลปานกลาง เช่น ข้าวกล้อง แครอท ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และสับปะรด หลีกเลี่ยงแป้งที่มีน�้ำตาลสูง อย่างเช่น • ลดปริมาณไขมันจากสัตว์และนมวัว ข้าวขาว ข้าวเหนียว ขนมปังสังขยา มันฝรั่ง แตงโม • ควรดื่มน�้ำวันละ 8-10 แก้ว • หลีกเลีย่ งการบริโภคนำ�้ มันกรดไขมันไม่อมิ่ ตัว ควรทาน ไอศกรีม โดนัท น�้ำตาล และน�้ำอัดลม น�้ำมันปลา น�้ำมันมะกอก หรือน�้ำมันมะพร้าวแทน • งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ • เสริมวิตามินเพื่อให้ร่างกายได้รับวิตามินที่เพียงพอ • จ�ำกัดปริมาณอาหารที่มีแคลอรีสูง นอกจากจะต้ อ งเลื อ กรั บ ประทานอาหารที่ มี ป ระโยชน์ • ทานอาหารและผลไม้ที่สดสะอาด • หลีกเลีย่ งการรับประทานอาหารทีม่ ากเกินจ�ำเป็น เพราะ ต่อร่างกายแล้ว การสร้างภูมิคุ้มกันด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ การมีสุขภาพจิตที่ดี ไม่เครียด จะก่อให้เกิดโรคอ้วนได้ • หลีกเลี่ยงการบริโภคไขมันแปรรูป (Trans Fat) เช่น ล้วนส่งผลให้ระบบต่างๆ ของร่างกายแข็งแรง แค่นี้คุณก็สามารถ มีอายุยืนยาวและดูอ่อนเยาว์ได้แล้วละค่ะ ไขมันเทียม หรือครีมเทียม
28 ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
สกู๊ปพิเศษ
โดย กองบรรณาธิการ
ชิงแชมป์ ไทยออยล์
วันเสาร์ที่ 24 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ได้ ไปชมการแข่งขันกีฬากระโดดเรียน เอ๊ย! กระโดดเชือกชิงแชมป์ไทยออยล์ ซึ่งจัดโดยศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชนที่ รร.บ้านชากยายจีนมาค่ะ ในปีนี้มีนักกีฬาสนใจ เข้าร่วมแข่งขันเป็นจ�ำนวนมากกว่าปีกอ่ น ทีมงานบอกเราว่า ครัง้ นีม้ กี ารแข่งขัน ชุดพิเศษที่ยังไม่เคยจัดที่ ไหนมาก่อนเลยในประเทศไทยอีกด้วย อยากรู้ว่า พิเศษอย่างไร ตามไปดูกันเลยค่ะ
นักกีฬาทยอยลงทะเบียนตัง้ แต่เช้า ปีนี้ มี นั ก เรี ย นเข้ า ร่ ว มแข่ งขั น ทั้งสิ้น 210 คน จาก 7 โรงเรียน ได้แก่ รร.บ้านชากยายจีน รร.วั ด มโนรม รร.เทศบาลแหลมฉบั ง 1 รร.เทศบาลแหลมฉบั ง 2 รร.วั ด ใหม่ เนินพยอม รร.วัดแหลมฉบัง และ รร.บ้านนา และได้เริม่ แข่งบางรายการตัง้ แต่เวลา 08.30 น. เวลา 09.00 น. เป็นพิธีเปิดการแข่งขัน ดร.อัมพา ถ้วยงาม ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน บ้ า นชากยายจี น ในฐานะหน่ ว ยงานที่ เอื้อเฟื้อสถานที่จัดการแข่งขันเป็นผู้กล่าว ต้อนรับ โดยมีผู้ใหญ่ใจดีมาให้ก�ำลังใจกัน หลายภาคส่วน อาทิ คุณสันติ ศิริตันหยง รองนายกเทศมนตรีเทศบาลนครแหลมฉบัง นพ.สุ กิ จ พึ่ ง เกศสุ น ทร ผู ้ อ�ำนวยการ โรงพยาบาลอ่าวอุดมศรีราชา ผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนและคณาจารย์จาก 7 โรงเรียนที่ สนับสนุนกีฬากระโดดเชือกและส่งนักเรียน เข้ า แข่ ง ขั น พนั ก งานเครื อ ไทยออยล์ ประธานชุมชนและคณะกรรมการชุมชนรอบ โรงกลั่น รวมทั้งผู้ปกครองจ�ำนวนมาก จน ท�ำให้สนามแข่งขันดูเล็กไปถนัดตา คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการ แผนกบริ ห ารงานชุ ม ชน บมจ.ไทยออยล์ กล่าวว่า “การกระโดดเชือกเป็นการสร้าง
พื้นฐานความแข็งแกร่งแก่ร่างกาย ที่น�ำไป ต่อยอดในการเล่นกีฬาอื่นๆ และน่ายินดียิ่ง ที่ทราบว่าปัจจุบันนี้ นักเรียนสนุกกับการ กระโดดเชือกทุกวัน ขอขอบคุณมูลนิธิหัวใจ แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่ ส่งเสริมโครงการกระโดดเชือกของเครือไทยออยล์ มาโดยตลอด และกรรมการตัดสินโดยทีม นักศึกษาจากสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต ชลบุรี รวมทั้งทุกฝ่ายที่สนับสนุนโครงการ กระโดดเชือกร่วมกับเครือไทยออยล์อย่าง ต่อเนื่องตลอด 2 ปีที่ผ่านมา” คุ ณ สั น ติ ศิ ริ ตั น หยง รองนายก เทศมนตรีนครแหลมฉบังกล่าวให้โอวาททีม นักกีฬาว่า “ขอให้ใช้เวทีนแี้ สดงความสามารถ ที่มีอยู่อย่างเต็มที่ เพื่อแสดงให้ทุกคนรวมทั้ง ตั ว เองเห็ น ถึ ง ความตั้ ง ใจและวิ นั ย ที่ ไ ด้ ฝ ึ ก ซ้อมมาโดยตลอด แม้จะไม่มีการแข่งขันก็ ขอให้ฝึกฝนต่อไป เพราะกีฬานี้จะช่วยสร้าง สมรรถนะให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจเข้มแข็ง สมองแจ่มใส รวมถึงฝึกให้เป็นคนมีน�้ำใจ นักกีฬา” การแข่งขันแบ่งออกเป็นการแข่งขัน ประเภททั่วไปและประเภทมาตรฐานที่แบ่ง รายการแข่งขันตามกลุ่มอายุและเพศ รวม ทั้งสิ้น 28 รายการ และความพิเศษที่เพิ่มขึ้น
จากการแข่งขันครั้งก่อน คือ ในครั้งนี้มีการ แข่งขันกระโดดเชือกประกอบดนตรี (Music Rope Skipping) ซึ่ ง เป็ น การแข่ ง ขั น ใน ลักษณะกีฬาสาธิตทีไ่ ด้พฒั นามาจากความคิด สร้างสรรค์ของครูพละทุกท่าน ช่วยสร้างสีสัน ให้การแข่งขันได้ไม่น้อย เราแอบเห็นคนเชียร์ ข้างสนามขยับเท้า ขยับเอวตามเสียงดนตรีไป ด้วย นับเป็นกลวิธที กี่ ระตุน้ ให้เด็กๆ อยากฝึก กระโดดเชือกทีไ่ ด้ผลจริงๆ ทัง้ สนุกเพลิดเพลิน และยังท�ำให้ร่างกายแข็งแรง การแข่งขันทุกประเภทสิ้นสุดลงเวลา ประมาณ 16.30 น. นักกีฬาได้รบั เหรียญรางวัล กันถ้วนหน้า เห็นสีหน้าแววตาของเด็กๆ แล้ว ปลื้มใจไปด้วยจริงๆ ค่ะ กว่าจะมาถึงวันนี้ ลูกหลานของเราต้องฝึกฝนกันอย่างหนักทีเดียว ก่อนจากลา คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ เล่าให้ฟงั ว่า การแข่งขันวันนีเ้ ป็นเวทีให้เด็กๆ ได้ทดสอบตัวเอง ในสนามแข่งขัน และเตรียมความพร้อมส�ำหรับ การแข่งขันชิงถ้วยพระราชทานที่จะจัดขึ้นใน วันที่ 18 ธันวาคม 2555 ณ สนามกีฬาไทยญีป่ นุ่ ดินแดง พร้อมกับเชิญชวนทุกท่านไปร่วมให้ ก�ำลังใจลูกหลานบ้านเราคว้ารางวัลกลับมา เยอะๆ นะคะ
ชุมชนของเรา เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2555
29
สรุปผลทีมที่ได้รบั ถ้วยคะแนนรวมสูงสุดส�ำหรับการแข่งขันประเภททัว่ ไป คือ รร.วัดใหม่เนินพยอม และถ้วยคะแนนรวมสูงสุด ประเภทมาตรฐาน คือ รร.เทศบาลแหลมฉบัง 2 ส่วนการแข่งขันกีฬาสาธิต Music Rope Skipping สรุปผล ดังนี้ ถ้วยรางวัลคะแนนรวมสูงสุดและ ถ้วยรางวัลความพร้อมเพรียง
รร.เทศบาลแหลมฉบัง 2
ถ้วยรางวัลคะแนนรวมอันดับสอง
รร.วัดใหม่เนินพยอม
ถ้วยรางวัลความเป็นทีม
รร.วัดมโนรม
ถ้วยรางวัลความคิดสร้างสรรค์
รร.วัดบ้านนา
ถ้วยรางวัลท่ามาตรฐาน
รร.เทศบาลแหลมฉบัง 1
ถ้วยรางวัลเพลงประกอบยอดเยี่ยม
รร.วัดแหลมฉบัง