สวัสดีปีใหม่ไทย แด่เพื่อนบ้านเครือไทยออยล์ทุกท่านค่ะ
ช่วงเทศกาลสงกรานต์ เครือไทยออยล์แวะเวียนเยี่ยมเยือนชาวชุมชน รอบรั้วไทยออยล์ เพื่อรดน้ำาขอพรจากพ่อแก่แม่เฒ่า พร้อมพูดคุยกับผู้นำา ของแต่ละชุมชน โดยเฉพาะด้านการดูแลเอาใจใส่ รักษาสุขภาพของชุมชน ตั้งแต่วัยเยาว์จนถึงวัยสูงอายุ เพื่อหาแนวทางสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาชุมชนของเราให้น่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป จุลสารชุมชนของเราจึงนำาเรื่องราวของศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพือ่ ชุมชน ซึง่ เป็นศูนย์กลางในการประกอบกิจกรรม ส่งเสริม สุขภาวะชุมชน การเรียนรู้ และพัฒนาชุมชน มาย้ำาเตือนถึงภารกิจที่เครือ ไทยออยล์มคี วามมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสรรหาโครงการและกิจกรรมดีๆ ให้แก่พวกเราใน ชุ ม ชนทุ ก คนอย่ า งสม่ำ า เสมอ เช่ น งานเวชศาสตร์ ชุ ม ชน การส่ ง เสริ ม ทันตสุขภาพ แอโรบิก รำาวงมาตรฐานทีก่ ลายเป็นกิจกรรมยอดนิยมของคนใน ชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ นายแพทย์อนุเวช วงศ์มีเกียรติ แห่ง โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ศรีราชา ที่เห็นว่า การผลักดันให้คนใน ชุมชนมีสขุ ภาพแข็งแรงได้นนั้ จำาเป็นต้องทำาให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึง่ คุณหมอ คือหนึ่งบุคลากรสำาคัญที่สัมผัสกับพวกเรามายาวนานเกือบสิบปี ท่านคิด เห็นอย่างไรนั้นเชิญอ่านได้ในสกู๊ปพิเศษฉบับนี้
สารบัญ 3 5 8 11 14 16 18 20 22 24 26 28 30
ตามรอยพ่อ เรื่องจากปก สกู๊ปพิเศษ รอบรั้วไทยออยล์ บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ เคล็ดลับสุขภาพ ปราชญ์ชุมชน ก้าวทันโลก ของดีบ้านเรา ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม CSR โฟกัส เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน ปลอดภัยใกล้ตัว
รอยยิ้ ม จากพ่ อ แก่ แ ม่ เ ฒ่ า พี่ น้ อ งในชุ ม ชนที่ พวกเราไปเยีย่ มเยือน เป็นภาพทีพ่ วกเราจะประทับใจ ไม่มวี นั ลืม คำาอำานวยพรของพวกท่านคือกำาลังใจที่ ทำาให้พวกเรามีความตั้งใจที่จะพัฒนากิจกรรมเพื่อ เสริมสร้างสุขภาพทีแ่ ข็งแรงและการอยูร่ ว่ มกันอย่าง มีความสุขตลอดไป ขอให้ทุกท่านมีสุขภาพดีและพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ บรรณาธิการ
จุลสารชุมชนของเรา เจ้าของ : บริษัท ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) จัดทำาโดย : แผนกกิจการเพื่อสังคมและภาพลักษณ์องค์กร สำานักงานกรุงเทพฯ : เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 11 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 0000, 0 2797 2999 โทรสาร 0 2797 2974 โรงกลั่น : เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 1 ถนนสุขุมวิท กม.ที่ 124 ตำาบลทุ่งสุขลา อำาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 0 3840 8500, 0 3835 9000 โทรสาร 0 3835 1554, 0 3835 1444 แผนกบริหารงานชุมชน 0 3835 5028-31
2
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
พลังงานทดแทน
ตามรอยพ่อ
โดย ลูกคนเล็ก
“พลังจากสายพระเนตร” เพื่อชาวไทยอย่างแท้จริง
เป็นที่น่าตกใจเป็นอย่างมากเมื่อมีข่าวว่า เดือนเมษายนอาจเกิดภาวะ พลังงานไฟฟ้าไม่พอใช้ เพราะไทยต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนก๊าซธรรมชาติ อันเนือ่ งจากการปิดซ่อมบำารุงแท่นขุดเจาะกลางทะเลของพม่า และการปิดซ่อม ท่อส่งก๊าซไทย - มาเลย์ทข่ี าดจากการทิง้ สมอเรือ ทำาให้กา๊ ซหายไปจากระบบ กว่า 1.1 พันล้านลูกบาศก์ฟุต จึงก่อให้เกิดกระแสการรณรงค์ประหยัด พลังงาน การพัฒนาและค้นหาพลังงานทดแทนขึ้นมาอีกรอบ ปัญหาพลังงาน เป็นเรือ่ งทีอ่ ยูใ่ นสายพระเนตรของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั มานานแล้ว โดยพระองค์ทรงเล็งเห็นความสำาคัญ และได้ ทรงริเริ่มการทดลองพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ ในโครงการส่วน พระองค์สวนจิตรลดา โดยทรงเน้นให้ยดึ หลักการทำางานของ “เศรษฐกิจ พอเพียง : มีเหตุผล พอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน” ซึ่งเป็นแนวทาง ทีส่ ามารถนำามาปรับใช้ได้กบั การพัฒนาในทุกๆ ด้าน รวมทัง้ การพัฒนา พลังงานของไทย พระองค์ทรงย้ำาว่า การพัฒนาต้องเป็นไปตามลำาดับขั้นตอนตาม ความจำาเป็น และประหยัด ต้องมีการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เช่น สภาพ ภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ แหล่งน้ำา และการประกอบอาชีพ เพื่อให้ ผูท้ ไี่ ด้รบั ประโยชน์ คือ ประชาชนทีส่ ามารถ “พึง่ พาตนเองได้” ในทีส่ ดุ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ “หากลำาดับความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นฐานต้อง เริ่มต้นด้วยความมีเหตุผล” ในการพัฒนาพลังงานนั้นต้องเป็นองค์รวม ไม่ให้คิดแยกแก้ปัญหา เฉพาะเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เช่น การสร้างเขือ่ นหรือฝายแต่ละแห่ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว จะทรงเน้ น ให้ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการตั้ ง โรงไฟฟ้าพลังน้าำ ไปพร้อมๆ กัน อันเป็นการจัดการ “น้าำ ” เพือ่ ให้ได้ประโยชน์ สูงสุด และมุ่งเน้นการผลิตกระแสไฟฟ้าให้ชุมชนบริเวณนั้นเป็นหลัก ซึง่ เป็นตัวอย่างการค้นหา และนำาพลังงานทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ หากสามารถพึง่ พาพลังงานภายในชุมชน หรือนำาเข้าพลังงาน จากภายนอกให้น้อยที่สุด ก็ย่อมช่วยให้การพัฒนาพลังงานในระดับ ประเทศมั่นคงและยั่งยืนตามไปด้วย เมือ่ ครัง้ ทีท่ รงมีพระราชดำาริให้มกี ารศึกษาวิจยั เรือ่ งน้าำ มันแก๊สโซฮอล์ นัน้ น้าำ มันยังราคาถูกมาก แต่ทรงพิจารณาว่า ในอนาคตข้างหน้าน้าำ มัน มีแต่จะหมดไป ขณะที่ความต้องการใช้น้ำามันเพิ่มมากขึ้น ราคาน้ำามัน
จึงจะแพงขึ้นเรื่อยๆ หากรอให้น้ำามันแพงเสีย ก่อนแล้วค่อยศึกษาวิจัยก็คงไม่ทันต่อความ ต้องการ จึงมีพระราชดำาริให้เริ่มศึกษาตั้งแต่ เมือ่ ยีส่ บิ กว่าปีกอ่ น เป็นการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง ยาวนาน และเป็นที่ประจักษ์ถึงคุณประโยชน์ อเนกอนันต์ของแนวพระราชดำาริดังกล่าว “หากเมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาก็ ต้ อ งยึ ด หลั ก ความพอประมาณ” พระองค์ทรงเน้นว่า การพัฒนาพลังงาน ต้องยึดหลักความพอประมาณ ซึ่งก็คือความ พอดี ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ไม่ว่าจะ พลังน้าำ เชือ้ เพลิงชีวภาพ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ฯลฯ ไม่ทรงเน้นทีข่ นาดความใหญ่ โตของโครงการ แต่ให้พจิ ารณาความเหมาะสม และความพอเพียงต่อการใช้งานเป็นหลัก ซึ่ง หลักแห่งความพอประมาณนี้จะช่วยให้การ พั ฒ นาพลั ง งานในประเทศไทยค่ อ ยเติ บ โต อย่างมั่นคงนำาไปสู่ความยั่งยืนได้ในที่สุด “ที่สำาคัญคือต้องเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน” การพัฒนาพลังงานที่ผ่านมาเป็นตัวอย่าง ที่ดี และชัดเจนที่สุดของการสร้างภูมิคุ้มกันให้ กับประเทศ คือ การศึกษาวิจยั น้าำ มันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดี เซลที่ ดำ า เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ยาวนาน จนคนในวงการพลังงานต่างยอมรับ ว่ า หากไม่ ใช่ เ พราะพระอั จ ฉริ ย ภาพของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแล้ว การนำา น้ำ า มั น แก๊ ส โซฮอล์ แ ละไบโอดี เซลมาใช้ ใ น ประเทศไทยคงไม่ก้าวหน้ารวดเร็วเช่นทุกวันนี้ และอาจต้องเผชิญกับวิกฤติน้ำามันมากกว่าที่ ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
3
เป็นอยู่อย่างแน่นอน หากใครมีโอกาสได้เข้าไปเยีย่ มชม ที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จะเห็นตัวอย่างการพัฒนาพลังงาน ทดแทนที่ทรงทำาให้สิ่งของเหลือใช้ถูก นำากลับมาใช้ใหม่ได้ มีโรงสี มีแกลบ ก็นำามาทำาเป็นถ่าน มีตัวประสานอัด เป็ น แท่ ง กลั บ ไปใช้ เ ป็ น พลั ง งานได้ ทรงเลี้ยงวัว โดยนำามูลวัวมาทำาเป็น ก๊าซชีวภาพเพื่อนำาไปใช้เดินเครื่องใน โรงงานผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เกือบจะเรียก ได้ ว่ า ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองพร้ อ มกั น ไป หมด ทรงให้ มี ก ารทดลองจนได้ ผ ล ชัดเจนก่อนจึงให้มกี ารเผยแพร่ผลงาน ออกสู่ภายนอก องค์ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นา พลั ง งานทดแทนทั้ ง หมดได้ มี ก าร รวบรวมจั ด แสดงไว้ ที่ โ ครงการส่ ว น พระองค์ สวนจิตรลดา ศูนย์ศกึ ษาการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ 6 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขาหินซ้อนฯ จ.ฉะเชิงเทรา ศูนย์ศกึ ษา การพัฒนาอ่าวคุง้ กระเบนฯ จ.จันทบุรี ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาภูพานฯ จ.สกลนคร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ จ.เชี ย งใหม่ ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา พิ กุ ล ทองฯ จ.นราธิ ว าส และศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ห้ ว ย ท ร า ย ฯ จ.เพชรบุรี นอกจากนี้ยังมีโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ า ริ อี ก 8 แห่ ง
4
ประกอบด้วย โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้ น ที่ ท รงงาน) อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดำาริ จ.เชียงราย โครงการศึกษา วิ จั ย และพั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ มแหลม ผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ จ.เพชรบุรี โครงการเกษตรผสมผสาน มู โ นะอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ า ริ จ.นราธิ ว าส อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แ ก่ ง กระจาน จ.เพชรบุรี โรงเรียนตำารวจ ตระเวนชายแดน จ.นครพนม ศูนย์ อนุรักษ์ช้างไทย จ.ลำาปาง และสวน พลังงานแสงอาทิตย์ มหาวิทยาลัย นเรศวร จ.พิษณุโลก สำ า หรั บ ผลงานที่ นำ า มาสาธิ ต คื อ ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ จะถูกนำามา
ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อสูบน้ำา สำ า หรั บ ปลู ก ป่ า และอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ สัตว์ป่า เพาะปลูก และปรับสภาพ ดินเปรีย้ วให้ดขี นึ้ ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ให้แสงสว่างในครัวเรือน ใช้สาำ หรับประจุ แบตเตอรี่ ใช้ ใ นการสื่ อ สารด้ ว ย โทรศั พ ท์ ค วามถี่ 470 MHz และ โทรศัพท์ทางไกลผ่านดาวเทียม ตลอด จนใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าสำาหรับต่อเข้า ระบบสายส่ง ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าเพือ่ เป่าลมลงบ่อเลี้ยงปลา นอกจากนี้ยัง ได้มกี ารประดิษฐ์คดิ ค้นอุปกรณ์ใหม่ๆ เช่ น ชุ ด แสงไฟล่ อ แมลงด้ ว ยเซลล์ แสงอาทิตย์ ชุดกรองน้าำ ดืม่ แบบรีเวิรส์ ออสโมซิสด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ และ เครือ่ งขยายเสียงพลังงานแสงอาทิตย์
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
ไว้ใช้งานในโครงการฯ อีกด้วย สำาหรับพลังงานลมจาก กังหันลม ก็จะสร้างประสิทธิภาพด้วยการสูบน้าำ เพือ่ อุปโภคบริโภค ด้วยการใช้เพาะปลูก ปลูกป่า ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ทีน่ าำ มาติดตัง้ เป็นการผลิตก๊าซจากมูลช้าง และมูลโคเพื่อใช้ในการหุงต้ม ผลิต กระแสไฟฟ้า และสูบน้ำา นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ประหยัด พลังงาน และใช้พลังงานทดแทน อื่นๆ ซึ่งติดตั้งร่วมอยู่ในโครงการฯ ด้วย ได้แก่ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ประหยัดพลังงาน เครื่องวัดพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ มุ้ ง แอร์ สุ ข ภาพรุ่ น ประหยัดพลังงาน อุปกรณ์ช่วยแปลง สุขภัณฑ์ชกั โครกให้ประหยัดน้าำ เตานึง่ ก้อนเชือ้ เห็ดประสิทธิภาพสูง อุปกรณ์ ตรวจวั ด กั ง หั น ลมและประเมิ น ศักยภาพพลังงานลม สวนพลังงาน แสงอาทิตย์ในมหาวิทยาลัยนเรศวร การเดินระบบสายส่งในพื้นที่ชนบท ห่างไกล และเครือ่ งแปลงไฟฟ้ากระแส ตรงเป็นกระแสสลับ ผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปศึกษา หาความรู้ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นา พลั ง งานทดแทน เพื่ อ นำ า เอาไป ดัดแปลงใช้ในชุมชนของตนเองได้ เพราะแนวพระราชดำ า ริ ทั้ ง หมด มุง่ เน้นการให้ใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ น ชุมชน แต่ละชุมชนต่างมีทรัพยากร ที่แตกต่างกันไป ด้วยเทคโนโลยีอัน เกิดจากการศึกษาวิจัยของไทยเอง จึงเหมาะสมกับการใช้งานในท้องถิน่ อย่างแท้จริง ที่ ม า : สำ า นั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษ เพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดำาริ (สำานักงาน กปร.) www.rdpb.go.th
เรื่องจากปก
โดย กองบรรณาธิการ
“เรียนรู้ กู้ความฟิต
พิชิตโรค”
มาที่เดียวได้ครบ... ที่ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน เป็นที่ทราบกันดีว่า สุขภาพดี ไม่มี ขาย อยากได้ต้องลุกขึ้นมาออกกำาลัง กายเอง แต่ถงึ จะรูๆ้ กันอยูก่ ย็ งั เป็นเรือ่ ง ทีท่ าำ ได้ยากเหลือเกิน แถมเดีย๋ วนี้ โรคภัย ไข้เจ็บก็มหี ลากหลาย บางโรครุน่ ปูร่ นุ่ ย่า เราไม่เคยเห็น ไม่เคยได้ยินมาก่อน เพิ่ง จะมาเป็นกันในรุ่นเราก็มี เพราะปัจจัยที่ ทำาให้เกิดโรคในยุคนีม้ มี ากมาย การดูแล และป้ อ งกั น ตนเองจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ สำ า คั ญ ที่สุด เพือ่ ตอกย้�ำ เจตน�รมณ์และคว�ม จริงใจของเครือไทยออยล์ที่มีในก�ร ดูแลคุณภ�พชีวิต และสุขภ�วะของ พี่น้องในชุมชนรอบโรงกลั่นม�ตลอด ระยะเวล�ทีด่ �ำ เนินธุรกิจกว่� 50 ปี ใน ปี 2550 เครือไทยออยล์จงึ ได้กอ่ สร้�ง “ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือ ไทยออยล์ เ พื่ อ ชุ ม ชน” ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เสริ ม สร้ � ง สุขภ�วะของคนในชุมชน สนับสนุน ก�รมีสว่ นร่วมระหว่�งเครือไทยออยล์ ชุมชน และหน่วยง�นในพื้นที่ รวมถึง เป็ น ศู น ย์ ก ล�งและอำ � นวยคว�ม สะดวกในก�รจัดก�รเรียนรูข้ องชุมชน และปลูกฝังคุณค่�ของชุมชน ทั้งท�ง ก�ยภ�พและจิ ต ใจ และได้ เ ปิ ด ให้ บริก�รอย่�งเป็นท�งก�รเมื่อวันที่ 4 สิงห�คม 2553
ปัจจุบัน ศูนย์สุขภ�พก�รเรียนรู้ฯ ถือเป็นศูนย์กล�งในก�รดูแลสุขภ�พและ พักผ่อนหย่อนใจของช�วชุมชนทั้ง 7 ชุมชนรอบรั้วโรงกลั่น ในแต่ละวันจะมีน้องๆ นักเรียน และประช�ชนม�รับก�รดูแลด้�นทันตกรรมและก�รเสริมสร้�งคว�ม แข็งแรงของร่�งก�ย ประกอบกับศูนย์ฯ ยังมีพนื้ ทีท่ รี่ ม่ รืน่ พร้อมด้วยเครือ่ งออกกำ�ลัง ก�ยและเครื่องเล่นเด็กที่ทันสมัย ให้ลุงป้�น้�อ�หอบลูกจูงหล�นม�ทำ�กิจกรรม ครอบครัวร่วมกันอย่�งมีคว�มสุข 3 ภารกิจหลักของศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ฯ เพื่อชุมชนของเรา ห�กพวกเร�ยังจำ�กันได้ เครือไทยออยล์ได้ดำ�เนินโครงก�ร “หน่วยสร้�งเสริม สุขภ�วะเคลือ่ นทีเ่ พือ่ ชุมชน” ซึง่ ให้บริก�รด้�นสุขภ�วะแก่ประช�ชนใน 7 ชุมชนรอบ โรงกลั่นม�ย�วน�นกว่� 10 ปี และได้ขย�ยผล ต่อยอดและพัฒน�โครงก�รสู่ก�ร ก่อสร้�งศูนย์สขุ ภ�พและก�รเรียนรูฯ้ ขึน้ ในปี 2550 ด้วยวัตถุประสงค์ดงั กล่�วข้�งต้น “ศูนย์สุขภ�พและก�รเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน” ดำ�เนินก�รภ�ยใต้ แนวคิดในก�รให้บริก�รด้�นเวชศ�สตร์ชมุ ชนและเวชศ�สตร์ปอ้ งกันให้แก่ประช�ชน ทุกวัย ทั้งยังคงดำ�เนินโครงก�รหน่วยสร้�งเสริมสุขภ�วะเคลื่อนที่ซึ่งครอบคลุมก�ร ให้ บ ริ ก �รด้ � นสุ ข ภ�พอย่ � งต่ อ เนื่ อ ง และใช้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ล�งในก�รแลกเปลี่ ย น องค์ ค ว�มรู้ ข องชุ ม ชน โดยได้ รั บ คว�มร่ ว มมื อ จ�กเทศบ�ลนครแหลมฉบั ง โรงพย�บ�ลแหลมฉบัง และคณะกรรมก�รชุมชนรอบโรงกลั่น จนถึงปัจจุบัน ศูนย์ฯ เปิดให้บริก�รประช�ชนใน 7 ชุมชนรอบโรงกลั่น ได้แก่ ชุมชนตล�ดอ่�วอุดม ชุมชนบ้�นอ่�วอุดม ชุมชนบ้�นทุ่ง ชุมชนบ้�นช�กย�ยจีน ชุมชนบ้�นเข�น้ำ�ซับ ชุมชนวัดมโนรม และชุมชนบ้�นแหลมฉบัง ม�ร่วมกิจกรรม แล้วไม่ต่ำ�กว่� 60,000 บริก�ร แนวคิดหลักของศูนย์สุขภ�พฯ แห่งนี้ คือ มุ่งเน้นก�ร “ดูแลสุขภ�พเชิงป้องกัน” โดยมีภ�รกิจหลักสำ�คัญ 3 อย่�ง คือ การสร้างเสริมสุขภาวะชุมชน การส่งเสริม การเรียนรูช้ มุ ชน และ การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ ซึง่ ทีผ่ �่ นม�ช�วชุมชนรอบโรงกลัน่ ได้สัมผัส และเข้�ร่วมกิจกรรมอันเกิดจ�กภ�รกิจหลักทั้ง 3 ข้อนี้อย่�งครบถ้วน รวมถึงโครงก�รกระโดดเชือกเย�วชนในโรงเรียนเขตแหลมฉบัง เพื่อให้เย�วชนมี สุขภ�พแข็งแรงและห่�งไกลย�เสพติด โดยร่วมกับมูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยใน พระบรมร�ชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในก�รทำ�ง�น “เชิงรุก” ของศูนย์สุขภ�พฯ เช่นกัน ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
5
ตั้งแต่ปี 2553 มีการจัดกิจกรรม และโครงการต่างๆ มากมาย มาดูกัน ว่า ตัวอย่างกิจกรรมจาก 3 ภารกิจ หลักที่ช่วยให้ชาวชุมชนรอบโรงกลั่น มี สุ ข ภาพที่ ดี ไ ด้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น มี อ ะไร กันบ้าง ภารกิ จ ที่ 1 การสร้ า งเสริ ม สุขภาวะชุมชน งานหลักๆ ในภารกิจนี้มี 2 เรื่อง เริ่มจาก โครงการทันตกรรม ซึ่งมีการ ตรวจสุขภาพฟันเชิงป้องกันและรักษา ให้เด็กนักเรียนรอบโรงกลั่น โดยการ ให้คำาแนะนำาสุขภาพช่องปากและฟัน การดูแลอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีคณ ุ หมอ ใจดีจากโรงพยาบาลแหลมฉบังมาตรวจ รักษา ทั้งขูดหินปูน อุดฟัน ถอนฟัน เคลือบฟัน ซึ่งตั้งแต่ก่อตั้งมาจนถึง ปลายปี 2555 ได้ให้บริการทางด้าน ทันตกรรมแก่นักเรียนและประชาชน กว่า 10,000 คน โครงการที่ ส องคื อ ด้ า นศู น ย์ เวชศาสตร์ ชุ ม ชน เพื่ อ จั ด ทำ า ฐาน ข้อมูลสุขภาพ ร่วมกับเทศบาลนคร แหลมฉบัง โรงพยาบาลแหลมฉบัง คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีชลบุรี และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เป็นการบูรณาการวางแผน งานด้านส่งเสริมสุขภาพร่วม กั น โดยศู น ย์ ฯ สามารถ เข้ า หาผู้ ป่ ว ยได้ ถึ ง บ้ า น ด้ ว ยการตรวจสอบจาก ทะเบียนข้อมูล จึงทำาให้รู้ พฤติกรรมผู้ป่วยได้ชัดเจน รู้วิธีดูแล ป้องกัน และรักษา ผู้ป่วยตรงจุดมากขึ้น รวมทั้งได้รับ ความร่วมมือในการดูแลและเฝ้าระวัง ผู้ป่วยจากคนในครอบครัวได้อีกทาง
6
หนึ่ง โดยปัจจุบัน มียอดสำารวจสะสมกว่า 5,000 ครอบครัว ภารกิจที่ 2 การส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน ศูนย์สุขภาพฯ เชื่อว่าหัวใจในการสนับสนุนการ เรียนรูช้ มุ ชน คือ การเรียนรูป้ รัชญาชาวบ้าน และ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ซึง่ จะทำาให้รเู้ ท่าทันสังคม และโลกภายนอก ในส่วนของการทำางานได้ ยึดหลัก 3 ประสานทำากิจกรรมร่วมกับครู อาจารย์ จากโรงเรียนในชุมชน ผู้นำา ผู้เฒ่า ผู้แก่ และ นักปราชญ์ท้องถิ่น องค์กรอิสระ รวมถึงเยาวชน ตัวน้อยๆ มาจับเข่าคุยกัน เพือ่ ทำาการค้นคว้า รวบรวม ส่งเสริมกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และบันทึกภูมิปัญญาท้องถิ่นร่วมกัน นอกจากนี้ ศูนย์สุขภาพฯ ยังเป็นศูนย์กลางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ของ แต่ละชุมชน ไปสู่ชุมชนอื่นๆ และผู้ที่สนใจจากภายนอกอีกด้วย รวมทั้ง เปิดให้ บริการสืบค้นข้อมูลในสิง่ พิมพ์และอินเทอร์เน็ต ผูส้ นใจ โดยเฉพาะเด็กๆ ทีช่ น่ื ชอบ โลกออนไลน์สามารถเข้ามาใช้บริการได้ในห้องสมุดพูดได้แห่งนี้ ภารกิจที่ 3 การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ สังคมที่น่าอยู่ ชุมชนที่มีความสุข คงไม่ถูกจำากัดแค่ว่าเป็น สัง คมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่ต้อ งเป็นที่ที่คนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ทุกฐานะ อยู่ร่วมกันได้อย่างดีบนวิถีชีวิตที่มี คุณค่า ซึง่ ภารกิจที่ 3 ของศูนย์สขุ ภาพฯ คือการพัฒนาชุมชน ให้น่าอยู่และเกิดความยั่งยืน โดยศูนย์จัดกิจกรรมต่างๆ ทั้ง ภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคม ของ คนในชุมชนให้เกิดความสมดุล เพื่อพัฒนาชุมชนน่าอยู่ เป็นการ ฟืน้ ฟูคณ ุ ค่าและทุนทางสังคม และเป็นแหล่งส่งเสริมดุลยภาพของชีวติ
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
ภารกิจและบริการอื่นๆ ในศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ นอกจากศูนย์ทันตกรรม ศูนย์ปฏิบัติการเวชศาสตร์ ชุมชน ห้องสมุด ห้องฝึกอบรม เวทีส่งเสริมการเรียนรู้แล้ว ภายในศูนย์สุขภาพฯ ยังมี หอพระ ศูนย์รวมจิตใจ ที่ประดิษฐาน “พระพุทธรัตน มงคลสกลประชานาถมุนี” หรือ “หลวงพ่อไทยออยล์” พร้อมลานธรรม ลานเสวนาหรือจัดกิจกรรมทางศาสนา รวมทั้งเป็นที่พักผ่อนทางใจ ลานอเนกประสงค์ เป็นสถานที่จัด กิจกรรมในเทศกาลต่างๆ และให้คนใน ชุ ม ชนทำ า กิ จ กรรมร่ ว มกั น เช่ น รำ า กระบอง แอโรบิก รวมทั้งการฟื้นฟู กิจกรรมอนุรกั ษ์ราำ วงพืน้ บ้านแหลมฉบัง ลานออกกำาลังกาย เป็นสถานที่ ยอดฮิตสำาหรับคนทุกเพศทุกวัย เพราะมี เครือ่ งออกกำาลังกายกลางแจ้งไว้บริการ รวมถึง สนามเด็กเล่น ลานโล่งสำาหรับขีจ่ กั รยาน และเล่นกีฬาต่างๆ
เล่ามาถึงตรงนี้ คงพอจะทำาให้รจู้ กั ทีม่ าทีไ่ ปและเรือ่ งราว ดีๆ ของ “ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์ เพื่อชุมชน” กันมากขึ้น แต่การทำางานเพื่อดูแลพี่น้อง ชาวชุมชนรอบโรงกลัน่ ของเครือไทยออยล์ยงั คงดำาเนินการ ต่อไปเพือ่ สรรค์สร้างกิจกรรมและโครงการดีๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในทุ ก มิ ติ ใ ห้ พี่ น้ อ งชาวชุ ม ชน เติบโตคู่กับเครือไทยออยล์อย่างยั่งยืน
“ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์ เพื่ อ ชุ ม ชน” ตั้ ง อยู่ ที่ หมู่ ที่ 1 ถ.สุ ขุ ม วิ ท กม. ที่ 124 ตำาบลทุ่งสุขลา อำาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 13,160 ตารางเมตร รวมเนื้อที่กว่า 6 ไร่
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
7
สกู๊ปพิเศษ
นายแพทย์อนุเวช วงศ์มีเกียรติ คุณหมอของชุมชน... คนของศรีราชา
8
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
ด้วยหลักคิดและความมุ่งมั่นตั้งใจของเครือไทยออยล์ที่ ต้องการเห็นพี่น้อง 7 ชุมชนรอบโรงกลั่น ได้แก่ ชุมชนบ้าน อ่าวอุดม ชุมชนบ้านทุ่ง ชุมชนบ้านแหลมฉบัง ชุมชนบ้าน เขาน�้าซับ ชุมชนตลาดอ่าวอุดม ชุมชนบ้านชากยายจีน และ ชุมชนวัดมโนรมราว 25,000 คน มีสขุ ภาพทีด่ ี เครือไทยออยล์ จึงได้เดินหน้าหาแนวทางสร้างเสริมคุณภาพชีวติ และสุขภาวะ ของคนในชุมชนให้ดีด้วยการออกหน่วยสาธารณสุข และ ทันตกรรมเคลื่อนที่ เพื่อให้บริการแก่ชาวบ้านในชุมชนเป็น ประจ� า ตลอดสิ บ ปี ที่ ผ ่ า นมา โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จาก เทศบาลนครแหลมฉบัง โรงพยาบาลแหลมฉบัง และคณะ กรรมการชุมชนรอบโรงกลั่นไทยออยล์มาโดยตลอด รวมถึง การเปิด “ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้เครือไทยออยล์เพื่อ ชุมชน” ในปี 2553 หนึ่งบุคลากรด้านการแพทย์ที่เป็นขวัญและก�าลังใจ ให้แก่ชมุ ชนได้รว่ มแรงร่วมใจต้านภัยโรคก็คอื “นายแพทย์ อนุเวช วงศ์มีเกียรติ” คุณหมอเป็นผู้ที่คลุกคลีกับพี่น้อง 7 ชุมชนรอบโรงกลั่นมากว่าสิบปีจากการได้ออกหน่วย สร้างเสริมสุขภาวะเคลื่อนที่ร่วมกับเครือไทยออยล์ จนถึง วันนี้ คุณหมอก็ยังคงเดินหน้าสร้างเสริมสุขภาพที่ดีให้กับ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง “ปัจจุบัน ผมประจำ�อยู่ท่โี รงพย�บ�ลสมเด็จพระบรมร�ชเทวี ศรีร�ช�” คุณหมออนุเวชฯ ยิม้ อุน่ ๆ นัยน์ตาทีย่ ม้ิ ได้เป็นอย่างนี้น่ีเอง ถึงท�าให้คุณหมอมีท้ังแม่ยกพ่อยก ตกเป็นขวัญใจของคนในชุมชนทั้งลูกเล็กเด็กแดง ไปจนถึง ผูส้ งู อายุ “ผมประจ�าอยูท่ โ่ี รงพยาบาลอ่าวอุดม อ�าเภอศรีราชามา ก่อนราว 8 ปี ซึง่ เปลีย่ นชือ่ มาเป็นโรงพยาบาลแหลมฉบัง แล้ว ช่วงทีอ่ ยูโ่ รงพยาบาลอ่าวอุดม ผมเห็นว่าพืน้ ทีใ่ นชุมชน ของต� า บลทุ่ง สุ ข ลามี กิจ กรรมทางด้ า นสั ง คมและชุ ม ชน โดยมีบริษัทต่างๆ ในเครือไทยออยล์ร่วมกับโรงพยาบาล อ่าวอุดม ซึ่งตอนนั้นทางสาธารณสุขมีนโยบายเรื่องการ ประกันสุขภาพ 30 บาทรักษาทุกโรค โดยเน้น 3 ค�าคือ สร้าง น�า และซ่อม ซึ่งแน่นอนว่านโยบายออกมาคือ เน้นการ ป้องกันมากกว่าการรักษา เป็นหลักการที่ถูกต้องของทาง แพทย์ เมือ่ ผมได้กา้ วเข้ามาสัมผัสพืน้ ทีข่ องชุมชน จึงพบว่า ผู้ป่วยมีหลายแบบ ผมจึงสนใจคนในชุมชนรอบโรงกลั่นว่า พวกเขามีปญ ั หา หรือมีโรคทีเ่ ราสามารถรักษาหรือป้องกัน ก่อนได้หรือไม่”
นโยบายสาธารณสุขสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของเครือไทยออยล์ ก่ อ เกิ ด หน่ ว ยงานบริ ก ารปฐมภู มิ PCU – Primary Care Unit เป็นการ บริการระดับแรกทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กับชุมชน มากทีส่ ดุ ดูแลสุขภาพประชาชน ทัง้ ใน ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่ก่อนป่วยไปจนถึง การดูแลเบื้องต้น เมื่อเจ็บป่วย และ หลังเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สั ง คมและจิ ต วิ ญ ญาณ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ชุมชนเข้มแข็งต่อไป
“ผมออกหน่ ว ยฯ ร่ ว มกั บ เครื อ ไทยออยล์ ด้ ว ยการเป็ น วิ ท ยากรให้ ความรู้ต่างๆ แก่ชุมชน เยี่ยมเยือน ชุมชน ในแบบ Home Health Care พบว่า ปัญหาส่วนใหญ่ในท้องที่ก็คือ เบาหวาน ความดัน หัวใจ และเป็น ประจำาของคนสูงอายุคือ การวิงเวียน ไขข้อ โรคทีเ่ สือ่ มตามอายุตา่ งๆ อาการ เบื่ออาหาร วิงเวียน มึนงง โดยเฉพาะ โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบทางเดิ น หายใจ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับตัวโรงงานรอบ ชุมชนแต่อย่างใด ส่วนใหญ่เกิดจาก สถิติของมนุษย์มีอายุยืนขึ้น ก็จะเจอ โรคทีเ่ กีย่ วกับคนสูงอายุมากขึน้ ครับ” สุขภาพดีมีชัย...ต้องใส่ใจดูแล ควรเริ่ม ตั้งแต่เยาวชน การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของ
คนในชุ ม ชนให้ หั น มาดู แ ลสุ ข ภาพ อาจจะยาก แต่จาำ เป็นต้องทำา ด้วยการ ทำ า ให้ พ วกเขาเห็ น ผลสำ า เร็ จ ออกมา เป็นรูปธรรม นัน่ คือ ความแข็งแรงทัง้ กายและใจ ซึง่ คงต้องเริม่ ต้นกันตัง้ แต่ เยาวชน เพราะเป็นกลุ่มไม้อ่อนดัด ง่าย และเมือ่ เขาพัฒนาสุขภาพตัวเอง อย่างเข้มแข็ง ผลลัพธ์ที่ออกมาเป็น ความสำาเร็จ พวกเขามีสุขภาพดี จาก ปากต่อปาก ก็จะกลายเป็นพัฒนาการ ต่ อ ยอด โดยเริ่ ม ต้ น สร้ า งความ ตระหนักและการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองไปพร้อมกับ เยาวชน เช่น โรคทางเดินหายใจ โรค ไข้ เ ลื อ ดออก และสำ า คั ญ ที่ สุ ด ของ ชุมชนคือ การให้การศึกษาทีถ่ กู ต้องใน ทุกๆ ด้าน เขาจะสามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตัวเอง สุ ข ภาพของประชากรในชุ ม ชน ของเรา มี ก ารพั ฒ นาที่ ดี ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่อง เพราะพวกเขาได้อยู่ใกล้กับ ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ฯ ที่เครือ ไทยออยล์ได้สร้างขึ้นตามฝัน และยัง สานฝั น ของคนในชุ ม ชนให้ เ ป็ น จริ ง ตามทีพ่ วกเขาต้องการให้มศี นู ย์ปฐมภูมิ ที่ดูแลเขาอย่างใกล้ชิด คุ ณ หมออนุ เ วช วงศ์ มี เ กี ย รติ กล่าวแสดงความยินดีและชื่นชมกับ ความสำาเร็จทีเ่ ครือไทยออยล์สามารถ สร้างศูนย์สุขภาพฯ ตามต้องการได้ “ผมสัมผัสได้ว่าการเข้าถึงชุมชน ของเครือไทยออยล์ดมี าก การพัฒนา ของเครือฯ พยายามตอกย้ำาจุดยืน ให้ ช าวบ้ า นทราบดี ว่ า ในเมื่ อ เรามี อุตสาหกรรมในพืน้ ที่ ชาวบ้านต้องอยู่ กับอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ มี สุขภาพทีด่ ี คือไปด้วยกันได้ ผมเห็นว่า ไทยออยล์ตอกย้าำ จุดยืนอยูเ่ รือ่ ยๆ ว่า
สั ง คมอยู่ ร่ ว มกั น ได้ อุ ต สาหกรรม เติ บ โตได้ ชุ ม ชนอยู่ ไ ด้ ซึ่ ง เป็ น การ บ่งบอกว่าเครือไทยออยล์ห่วงใยใน สุ ข ภาพของประชาชน ดู แ ลเข้ า ถึ ง ระบบสาธารณสุข เข้าถึงกลุม่ ผูส้ งู อายุ เด็ก กระจายไปเรื่อยๆ” สุขภาพดีรับปีใหม่ไทย “ในวาระดิถขี นึ้ ปีใหม่ของไทย ตัวผม และเจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก คนในหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้อง ขออำานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วย ดลบันดาลให้พวกเราทุกคนมีสุขภาพ ที่ แ ข็ ง แรงไปด้ ว ยกั น ในแง่ ข องการ ทำางาน หน่วยงานเดียวคงทำาไม่ได้ หาก ขาดความร่ ว มมื อ ระหว่ า งชุ ม ชนและ สาธารณสุขร่วมกัน ทั้งหน่วยงานที่อยู่ ในพื้นที่ หรือโรงพยาบาลต้องช่วยกัน ดูแล หลีกเลีย่ งห่างไกลจากโรค เริ่มแรก ต้องป้องกัน แต่ถา้ ป้องกันไม่ได้ ให้รกั ษา แต่ตอ้ งให้นอ้ ย หรือต้องมีสขุ ภาพทีก่ ลับ คื น มาให้ ดี ม ากที่ สุ ด โดยเจ็ บ ตั ว ด้ า น ทุพพลภาพให้น้อยที่สุดครับ”
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
9
สิ่งที่เครือฯ มุ่งมาตรปรารถนาก็คือ อยากให้ชุมชนเติบโตเคียงข้าง เครือไทยออยล์อย่างยั่งยืน
นายเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหารงานชุมชน บริษัท ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) โครงการของศูนย์สุขภาพและ การเรี ย นรู้ เ ครื อ ไทยออยล์ เ พื่ อ ชุมชน เน้นด้านงานชุมชน ทันตกรรม และเวชศาสตร์ชมุ ชน เพือ่ ความยัง่ ยืน ของคนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพ กายหรือสุขภาพใจ เราต้องการปรับ เปลี่ยน ลดความเสี่ยง และเสริมสร้าง สุ ข ภาพเพื่ อ ชุ ม ชน โดยเราทำ า งาน โดยยึดหลัก 3 ประสานร่วมกับเทศบาล นครแหลมฉบั ง และโรงพยาบาล แหลมฉบังอย่างต่อเนื่องและจริงจัง เพื่อมุ่งหวังให้ชุมชนได้รับประโยชน์ จากการดูแลสุขภาพทีด่ ยี ง่ิ ขึน้ ผมเชือ่ ว่า หากเรามี ก ารพั ฒ นาด้ า นสุ ข ภาวะ ชุ ม ชนควบคู่ ไ ปกั บ การเติ บ โตของ เครื อ ไทยออยล์ ไ ปพร้ อ มๆ กั น
10
เสมือนพี่เสมือนน้อง ดูแลเอาใจใส่ กันและกันเป็นอย่างดี ก็สามารถ ทำ า ให้ พ วกเราได้ เ ติ บ โตไปอย่ า ง ยั่งยืนอย่างแน่นอนครับ” พ่อแม่พี่น้องของชุมชนแข็งแรงตลอดไป “เครือไทยออยล์รเิ ริม่ และพัฒนาโครงการเวชศาสตร์ชมุ ชนมาตัง้ แต่ เปิดศูนย์ฯ ถึงวันนี้เป็นเวลากว่า 3 ปีแล้ว โครงการก็เจริญพัฒนา ก้าวหน้าด้วยดี ก็อยากเห็นสุขภาพที่ดีของชุมชนมากยิ่งๆ ขึ้นไป ขอให้ ทุกท่านมีสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ ถือว่าเป็นศูนย์การศึกษา ดูแลจิตใจ และดูแลสุขภาพ สิ่งที่เครือฯ มุ่งมาตรปรารถนาก็คืออยากให้ชุมชน เติบโตเคียงข้างเครือไทยออยล์อย่างยั่งยืน”
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
รอบรั้วไทยออยล์
โดย หน่วยกลั่นข่าว
สานมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน เมือ่ วันที่ 29 มกราคม 2556 ทีผ่ า่ น มา เครื อ ไทยออยล์ ไ ด้ จั ด งานเลี้ ย ง ปี ใ หม่ และขอบคุ ณ คณะกรรมการ ชุ ม ชน 7 ชุ ม ชนรอบโรงกลั่ น ประจำาปี 2556 ณ ลานริม ทะเล หลังอาคารฝึกอบรม โรงกลั่นไทยออยล์ ศรีราชา เพื่ อ พบปะสั ง สรรค์ ค ณะ กรรมการชุ ม ชน พร้ อ มทั้ ง หน่วยงานราชการต่างๆ อาทิ เทศบาลนคร แหลมฉบัง โรงพยาบาลแหลมฉบัง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา ฯลฯ ตลอดจนพี่น้องชาว เครื อ ไทยออยล์ ที่ ไ ด้ ป ระสานการ ทำ า ง า น ร่ ว ม กั น ส ร้ า ง ป ร ะ โ ย ช น์ คุณูปการให้กับชุมชนด้วยดีตลอดมา ภายใต้ธีม สานมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน
ในวันงาน คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหารงานชุมชน นำาเสนอวีดิทัศน์เกี่ยวกับกิจกรรมและโครงการต่างๆ ที่ร่วมกันพัฒนาชุมชน และเครื อ ไทยออยล์ สู่ ค วามยั่ ง ยื น ตลอดปี ที่ ผ่ า นมา จากนั้ น คุ ณ วี ร ศั ก ดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ (CEO) ให้เกียรติกล่าวต้อนรับท่านนายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง คณะผูบ้ ริหารสมาชิก สภาเทศบาลนครแหลมฉบัง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะผู้บริหารโรงพยาบาลแหลมฉบัง หัวหน้าส่วน ราชการ ฝ่ายจัดการเครือไทยออยล์ ประธานและคณะกรรมการชุมชน ทั้ง 7 ชุมชนที่มาร่วมงาน ได้แก่ ชุมชนบ้านอ่าวอุดม ชุมชนบ้านทุ่ง ชุมชนบ้านเขาน้ำาซับ ชุมชนบ้านชากยายจีน ชุมชนบ้านแหลมฉบัง ชุมชน วัดมโนรม และชุมชนตลาดอ่าวอุดม โดย CEO ย้าำ ว่า ระยะเวลากว่า 50 ปี เครือ ไทยออยล์และชุมชนค่อยๆ เติบโตร่วมกันมาอย่างมีความสุข อาศัยการอยูร่ ว่ มกัน อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย เอื้ออาทรกันเหมือนพี่น้อง ถือว่าเป็น เรือ่ งสำาคัญทีเ่ ครือฯ ต้องเข้าไปมีสว่ นร่วมในการจรรโลง และดูแล บริ ห ารจั ด การด้ า นความปลอดภั ย ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งมี ประสิทธิภาพ และสุขอนามัยทีด่ ขี องคนในชุมชน ตลอดจนธำารง ไว้ซึ่งศาสนา วัฒนธรรม และการศึกษา เพื่อความเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืนของชุมชนของเรา ท่ามกลางบรรยากาศที่อบอุ่นเป็นกันเอง สร้างความผูกพัน และความสามัคคีให้กบั ชาวเครือไทยออยล์และพีน่ อ้ งรอบรัว้ โรงกลั่นได้เป็นอย่างดี
โครงการกระโดดเชือก วันที่ 16 กุมภาพันธ์ และวันที่ 2, 9,16 มีนาคม 2556 ทีผ่ า่ นมา ศูนย์สขุ ภาพฯ จัดอบรมทักษะการกระโดดเชือกเพื่อ สอบเทียบระดับขั้นสี คุณเกรียงไกร นาคะพงศ์ ผู้จัดการแผนกบริหารงาน ชุมชน ได้มอบวุฒิบัตรให้กับผู้เข้าร่วม ฝึกอบรมครั้งนี้จำานวน 136 คน ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
11
ส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ผ่านมา ทางศูนย์สุขภาพฯ ได้จัดกิจกรรม “ห้อง สมุดหรรษาวันมาฆบูชา” ในกิจกรรมได้มี การบรรยายถึ ง ความสำ า คั ญ ของวั น มาฆบูชา และให้เด็กๆ ได้รว่ มตอบคำาถาม เพื่อชิงรางวัลด้วย
หน่วยสร้างเสริมสุขภาวะเคลื่อนที่ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ และวันที่ 28 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ร่วมกับเทศบาลนครแหลมฉบัง และหน่วยงานภาค เอกชนต่างๆ จัดกิจกรรมออกหน่วยสร้างเสริมสุขภาวะเคลื่อนที่ ณ ชุมชนบ้านอ่าวอุดม และชุมชนวัดมโนรมตามลำาดับ เพื่อให้บริการ ด้านสุขภาพและอื่นๆ กับชาวชุมชน อาทิ ตรวจรักษาโรคทั่วไป วัด ความดัน ถอนฟัน ฉีดยาป้องกันพิษสุนขั บ้า ตัดผม ซ่อมเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เป็นต้น มีผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 2 ชุมชน รวมกว่า 800 คน
ผ้าป่าการศึกษา เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2556 ที่ผ่าน มา โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอมได้จัด กิจกรรมผ้าป่าการศึกษา เพือ่ จัดหาทุน เปลี่ ย นหลั ง คาอาคารเรี ย น และ ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน โดยได้ รับเกียรติจากคุณสุกมุ ล คุณปลืม้ อดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานในพิธี
12
คณะอาจารย์จากเวียดนามศึกษางานชุมชนเพื่อการเรียนรู้ วันที่ 8 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา ทางศูนย์สุขภาพฯ ได้ให้การต้อนรับ คณะอาจารย์จากประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เข้ามาศึกษา ดูงานการจัดการเรียนการสอนในชุมชน มีผู้เข้าร่วมดูงาน จำานวนทั้งหมด 23 คน
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
TOP ร่ ว มสนั บ สนุ น สมทบทุ น สร้ า ง “อาคารศู น ย์ รั ก ษาพยาบาลรวม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 150 ปี” โรงพยาบาลสมเด็จฯ ณ ศรีราชา เมื่ อ วั น ที่ 13 มี น าคม 2556 ที่ ผ่ า นมา คุ ณ อภิ นั น ท์ สุ ภั ต รบุ ต ร รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ – ด้านการกลัน่ และปิโตรเคมี ในนามบริษทั ไทยออยล์ จำากัด (มหาชน) พร้อมด้วยฝ่ายจัดการ มอบเช็คสนับสนุนสมทบทุนสร้าง “อาคารศูนย์รกั ษาพยาบาลรวม เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า 150 ปี” ให้แก่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โดย แพทย์หญิง จุฑาทิพย์ นิรุตติรักษ์ ผู้ช่วยผู้อำานวยการฝ่ายวิชาการ รับมอบ ณ ห้องโถง อาคารสำานักงานโรงกลั่น วัตถุประสงค์ในการก่อสร้างอาคารศูนย์รักษาพยาบาลรวมแห่งนี้ คือ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนในภาคตะวันออก ตลอดจนเป็นสถานฝึกอบรมของนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาล และเป็นการพัฒนา โรงพยาบาลให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น เครือไทยออยล์จัดกิจกรรมออกหน่วยบรรเทา ความเดือดร้อนจากเหตุการณ์ ไฟไหม้บ้านพักคนงาน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ โดย แผนกบริหารงานชุมชนร่วมกับประธานและคณะกรรมการชุมชน บ้านทุ่ง ร่วมจัดกิจกรรมออกหน่วยบรรเทาความเดือดร้อนจาก เหตุ ก ารณ์ ไ ฟไหม้ ให้ แ ก่ ผู้ ไ ด้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นจากเหตุ ก ารณ์ ดังกล่าว ในเขตชุมชนบ้านทุ่ง จำานวน 14 ครอบครัว โดยได้รับเกียรติจาก คุณจินดา ถนอมรอด นายกเทศมนตรีนครแหลมฉบัง เข้าร่วมกิจกรรม และกล่าวคำา ให้กำาลังใจ โดยมีชุมชนละแวกใกล้เคียงร่วมให้กำาลังใจ กิจกรรมวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา เครือ ไทยออยล์ได้จดั กิจกรรม “อสม. รวมพลัง เสริมสร้าง สั ง คม สุ ข ภาวะยั่ ง ยื น ” เนื่ อ งในวั น อาสาสมั ค ร สาธารณสุขแห่งชาติ ให้กับกลุ่ม อสม. 7 ชุมชน รอบเครือไทยออยล์ โดยมีกิจกรรมให้ความรู้ และ กิจกรรมสันทนาการ ซึ่งมี อสม. เข้าร่วมกิจกรรม จำานวน 150 คน ณ ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือไทยออยล์เพื่อชุมชน
ชมรมอนุ รั ก ษ์ รำ า วงพื้ น บ้ า นเทศบาล นครแหลมฉบังจัดประชุมใหญ่สามัญ ประจำาปี 2556 เมื่ อ วั น ที่ 22 มี น าคม 2556 ที่ผ่านมา ประธานชมรมอนุรักษ์รำาวง พื้ น บ้ า นเทศบาลนครแหลมฉบั ง ได้ จั ด ประชุมใหญ่สามัญประจำาปี 2556 หลังจากได้รับการจัดตั้ง เป็น “ชมรมอนุรักษ์รำาวงพื้นบ้านเทศบาลนครแหลมฉบัง” ซึ่ ง รั บ รองโดยเทศบาลนครแหลมฉบั ง โดยเชิ ญ คณะ กรรมการ และสมาชิกชมรมฯ เข้าร่วมประชุมกว่า 200 คน เพื่อรายงานกิจกรรมของชมรมฯ ที่ผ่านมา พร้อมแจ้ง รายการของกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นให้ทราบ และเมื่อเสร็จสิ้น การประชุม ก็ได้มีการจัดสันทนาการรำาวงพื้นบ้านเพื่อ เป็นการฉลองต่อไป ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
13
บอกเล่าเก้าสิบกับศูนย์สุขภาพ
ด้วยโครงการสำารวจ ชุมชนแข็งแรง ตายายแจ่มใส
ผู้สูงอายุ
และพัฒนาคุณภาพชีวิต กับศูนย์สุขภาพฯ
จชุมชน
ลงพื้นที่สำารว
เพราะว่าผู้สูงอายุเปรียบเสมือน ร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกหลาน ที่เป็นผู้ สร้างชุมชนให้เติบโตแข็งแรง มาจวบ จนปัจจุบนั วันนีถ้ งึ เวลาทีต่ น้ ไม้ใหญ่ตอ้ ง ได้รับการดูแล รวมถึงลูกหลานที่เป็น เหมื อ นต้ น กล้ า น้ อ ยๆ ก็ ต้ อ งดู แ ล เอาใจใส่และฟูมฟักให้โตขึ้นมาเป็น ผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต จึงทำาให้ ศูนย์สุขภาพและการเรียนรู้ เครือ ไทยออยล์เพื่อชุมชน เล็งเห็นความ สำาคัญนี้ และจัดโครงการดีๆ มาเอาใจ บุคคลสำาคัญของพวกเราและชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ รวมทั้งคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ให้อยู่ดีมีสุขกันถ้วนหน้า
14
ชุมชนตลาดอ่าว ร่วมใจส่งเสริมคุณค่าและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ โครงการสำารวจสุขภาพผู้สูงอายุน้ี เป็นโครงการที่ศูนย์สุขภาพฯ ร่วมกับ ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ เทศบาลนครแหลมฉบัง กับฝ่ายเวชศาสตร์ครอบครัว รพ.แหลมฉบัง คณะกรรมการชุมชนตลาดอ่าวอุดม รวมทั้งอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำาหมู่บ้าน หรือ อสม. และน้องๆ นักศึกษาจากคณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ยกมือขอเป็นจิตอาสาร่วม 15 ชีวติ ทำาการ สำารวจผูส้ งู อายุในชุมชนทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 55 ปีขน้ึ ไป ในระหว่างวันที่ 22 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2556 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ทางโครงการจะสำารวจชุมชนตลาดอ่าวอุดมเป็นแห่งแรก โดย น.ศ. และ อสม. ตลาดอ่ า วอุ ด มจะเริ่ ม ลงพื้ น ที่ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 25 เมษายนนี้ เพื่ อ พูดคุยและบันทึกจำานวนของผูส้ งู อายุทแี่ น่นอน ซึง่ สามารถประเมินแบ่งออก เป็น 3 กลุ่ม คือ ผู้สูงอายุติดเตียง เป็นกลุ่มที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเอง ได้ ต้องมีผดู้ แู ล โดยทางชุมชนเทศบาลและโรงพยาบาลควรมีการติดตามถึง บ้าน อีกทัง้ ให้ความรูแ้ ก่ผดู้ แู ลอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ผสู้ งู อายุกลุม่ นีม้ คี ณ ุ ภาพ ชีวิตที่ดี กลุ่มต่อมาคือ ผู้สูงอายุติดบ้าน จะเป็นกลุ่มที่ต้องการความช่วยเหลือ ในกิจกรรมบางอย่าง เช่น เข้าห้องน้ำา จูงเดิน ซึ่งกลุ่มนี้ควรได้รับคำาแนะนำา เพือ่ มีอปุ กรณ์เสริม หรือมีการปรับบ้านในบางส่วนเพือ่ ให้สามารถช่วยเหลือ ตัวเองได้ดีขึ้น อีกทั้งควรได้รับการเยี่ยมบ้านเป็นระยะอีกด้วย ส่วนกลุ่มสุดท้ายคือ ผู้สูงอายุติดสังคม กลุ่มนี้ยังคง ช่ ว ยตั ว เองได้ ดี แ ละสุ ข ภาพแข็ ง แรงมากพอที่ จ ะไปทำ า กิ จ กรรมนอกบ้ า นเองได้ ซึ่ ง ผู้ สู ง อายุ ก ลุ่ ม นี้ ค วรให้ มี บทบาทต่ อ ชุ ม ชน และควรส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารรวมกลุ่ ม ออกกำาลังกายหรือทำาประโยชน์จติ อาสาต่างๆ เพือ่ ความ ภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
วะอ้วนลงพุง
ื่อดูภา วัดรอบเอวเพ
รัง อายุ โรคเรื้อ ง ู ส ้ ู ผ ์ ณ ษ า ภ สัม
การใช้ยา
ลดเสี่ยงเบาหวาน ความดันสูง ที่ชุมชน บ้านแหลมฉบัง พ่ อ แม่ พี่ น้ อ งชาวแหลมฉบั ง เตรียมตัวรับสุขภาพดีๆ กันได้แล้ว เพราะศูนย์สขุ ภาพฯ ร่วมกับกลุม่ อสม. และที ม งานโรงพยาบาลแหลมฉบั ง เตรียมจัดกิจกรรมลดความเสีย่ งให้กลุม่ ชุมชนที่เคยตรวจประเมินพบความ เสี่ยง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือด เดือนละครั้งตั้งแต่ พฤษภาคมนี้เป็นต้นไป เห็นไหมว่า สุขภาพดีมีมาเสิร์ฟให้ถึงที่ อย่าลืมมา ร่วมกิจกรรมกันนะครับ มิ ถุ น ายนสุ ด หรรษากั บ กิ จ กรรมดี ๆ ต้อนรับเปิดเทอม ต้ อ นรั บ เปิ ด เทอมด้ ว ยกิ จ กรรม สุดสนุกทีศ่ นู ย์สขุ ภาพฯ จัดให้นอ้ งๆ ได้ เข้าร่วมมากมายในเดือนมิถุนายนที่ จะถึงนี้ ค่ายฝึก Music Rope Skipping สำาหรับน้องๆ นักเรียนที่ผ่านการ ฝึกทักษะการกระโดดเชือกลีลาในท่า มาตรฐาน ระดับ 4-5 แล้ว และอยาก จะเพิ่มทักษะการกระโดดเชือกแบบ ที ม พร้ อ มประกอบเพลง ด้ ว ยลี ล า
มาตรฐานที่ พ ร้ อ มเพรี ย งและสวยงาม สามารถติ ด ต่ อ คุ ณ ครู ผู้ ฝึ ก สอนประจำ า โรงเรียนในช่วงเปิดเทอมได้เลย กิจกรรมมอบรางวัลโรงเรียนส่งเสริม ทันตสุขภาพดีเด่น หลังจากฝ่ายทันตกรรม โรงพยาบาล แหลมฉบัง ได้จัดทีมออกนิเทศโรงเรียน ที่ เข้ า ร่ ว มโครงการทั้ ง 7 โรงเรียน และได้ประเมินผล ต า ม เ ก ณ ฑ์ ที่ กำ า ห น ด ไว้ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว พบว่ า ทั้ ง 7 โรงเรี ย นอยู่ ใ นเกณฑ์ ร ะดั บ ดีขึ้นไปทั้งหมด ซึ่งแบ่งเป็น โรงเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ระดับต่างๆ ดังนี้ •รางวัลระดับดีเด่น 1 โรงเรียน •รางวั ล ระดับดีมาก 3 โรงเรียน •รางวัลระดับดี 3 โรงเรียน
ูงอายุ
หิตผู้ส ามดันโล
วัดคว
มีนาคม - เมษายน 2556
15
เคล็ดลับสุขภาพ โดย ปักเป้า
เติมความเย็นด้วย
“อาหารดับร้อน” 40-41 องศาเซลเซี ย ส...คื อ อุ ณ หภู มิ ม าตรฐานที่ ก รม อุตุนิยมวิทยาได้พยากรณ์ ไว้ส�าหรับเดือนเมษายน จะผิดไปจาก พยากรณ์บา้ งก็ ไม่ตา�่ กว่านีแ้ น่นอน ฉะนัน้ อากาศร้อนๆ อย่างนี้ พ่อแก่แม่เฒ่าอาจเลือกที่จะหลบร้อนด้วยการนอนหลับพักผ่อน จิบเครื่องดื่มเย็นๆ อยู่ในห้องแอร์กันเสียมาก ในขณะที่ลูกเด็ก เล็ ก แดงคงต้ อ งหั น ไปอุ ด หนุ น ร้ า นขายไอศกรี ม น�้ า แข็ ง ไสกั น ทั้งวี่ทั้งวัน เพื่อช่วยคลายความร้อนลงบ้าง ซึ่งวิธีเหล่านี้เป็นการ แก้กระหายคลายร้อนเพียงชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น แท้ที่จริงแล้ว ความร้อนที่เราสัมผัสอยู่นั้น เกิดจาก ความสมดุลของร่างกายทัง้ ภายในและภายนอกไม่เท่า กัน ดังนั้น วิธีการปรับสมดุลร่างกายให้หายร้อนได้ จึงต้องเริม่ ต้นจากการสรรหา “อาหาร” หรือ “เครือ่ งดืม่ ” ที่ช่วยลดอุณหภูมิร่างกายอย่างถูกวิธีนั่นเอง คราวนี้ เรามาเรียนรู้วิธีการเลือกกินอาหารทั้งคาว หวาน เครื่องดื่มเพื่อดับร้อน เพิ่มเติมความเย็นให้กับร่างกาย ของเรากันดีกว่าค่ะ
เครื่องดื่มสมุนไพร ความสดชื่นที่สั่งได้ หากต้องอยู่ท่ามกลางสภาพอากาศที่ร้อนจัด หรือออกกำาลังกายกลางแจ้ง เราควรดื่มน้ำาให้ได้ ชั่วโมงละ 1 ลิตร หรือ 4-6 แก้ว แม้จะไม่รู้สึก กระหายเลยก็ตาม นอกจากดื่มน้ำาเปล่าแล้ว เรายัง สามารถดื่มน้ำาสมุนไพร เช่น ใบบัวบก ใบเตย ตะไคร้ กระเจี๊ยบ สะระแหน่ แตงโม ช่วยผ่อน กระหาย คลายร้อนในร่างกายได้อกี ด้วย นอกเหนือ จากสรรรพคุณอื่นๆ เช่น ช่วยย่อยอาหาร ขับลม แก้อาการแน่น จุกเสียด ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ที่ ส มุ น ไพรเหล่ า นี้ มี ดี อ ยู่ แ ล้ ว นอกจากนี้ ยั ง มี เครื่องดื่มประเภทชาจีนที่คุณย่าคุณยายชอบดื่ม ขณะร้อนๆ ซึ่งอาจดูไม่เหมาะกับหน้าร้อนเอาเสีย เลย แต่เชื่อหรือไม่ว่า เครื่องดื่มร้อนๆ นี่ล่ะจะช่วย ขับเหงือ่ ออกจากร่างกาย และทำาให้อณ ุ หภูมภิ ายใน ลดลงได้อย่างไม่น่าเชื่อ
16
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
สำาหรับคนทีไ่ ม่ชอบดืม่ น้ำา สมุ น ไพรลองหั น มาดื่ ม น้ำ � ผลไม้ ร สเปรี้ ย วนิ ด ๆ อย่ า ง น้�ำ มะน�วผสมน้�ำ ผึง้ ใส่นาำ้ แข็งเย็นๆ ก็ทำาให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า แถมยังช่วยขับเสมหะ ได้เสียอีก แต่ไม่ขอแนะนำ�เครือ่ งดืม่ จำ�พวกน้�ำ หว�นเย็นจัด เพราะนอกจากน้าำ ตาลจะทำาให้รสู้ กึ กระหายน้าำ เพิม่ มากขึน้ แล้วยังส่งผลให้เราอ้วนไม่รตู้ วั ในขณะทีน่ าำ้ เย็นจัดก็อาจทำาให้ ร่างกายปรับอุณหภูมิไม่ทัน และที่สำาคัญควรงดเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ เพราะจะทำาให้เส้นเลือดขยายตัวมากขึ้น ทำ า ให้ ร่ า งกายสู ญ เสี ย น้ำ า ได้ ง่ า ย อี ก ทั้ ง ในอากาศร้ อ น แอลกอฮอล์จะซึมเข้าสูก่ ระแสเลือดได้เร็วกว่าปกติทาำ ให้เมา ได้ง่าย และอาจช็อกหมดสติได้ในที่สุด
ปรับอาหารช่วยดับร้อน
สำ า หรั บ นั ก ชิ ม ที่ โ ปรดปรานการรั บ ประทานอาหาร จำาพวกเนื้อสัตว์ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง นม และไขมัน คงต้อง ขอให้งดเว้นอาหารจำาพวกนี้ไปก่อน เพราะอาหารเหล่านี้
ต้องใช้พลังงานในการย่อย และการนำา ไปใช้ สู ง เมื่ อ ระบบทางเดิ น อาหาร ทำางานหนักจะทำาให้เกิดความร้อนใน ร่างกายเพิ่มมากขึ้น นักโภชนาการ จึ ง แนะนำ า ให้ เรากิ น ผั ก ผลไม้ ม ากๆ ลดไขมันสัตว์ และเนื้อสัตว์ลง เพื่อที่ กระเพาะและลำาไส้จะได้ไม่ตอ้ งทำางาน หนัก อีกทัง้ ลดความเสีย่ งต่อการติดเชือ้ แบคทีเรียที่มากับเนื้อสัตว์ด้วย นอกจากนี้ ค วรปรุ ง อาหารด้ ว ย เครื่องเทศสมุนไพรที่มาจากประเทศ แถบร้อน เช่น ไทย อินเดีย เม็กซิโก สเปน ซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ กิ น อาหารเผ็ด เพราะการกินเผ็ด ทำาให้เหงื่อถูกขับออกจาก ร่างกาย เมือ่ เหงือ่ ระเหยจะ ทำ า ให้ เรารู้ สึ ก เย็ น ดั ง นั้ น อาหารที่ใส่เครื่องเทศต่างๆ เช่น แกงเผ็ด ผัดเผ็ด น้ำาพริก หรือแกงเลียง จึงช่วยทำาให้ร่างกาย เย็นลงได้ สำาหรับเมนูคลายร้อนทีข่ อแนะนำา คือ “ข้าวแช่” เพราะในข้าวแช่นั้น นอกจากจะประกอบไปด้วยเครือ่ งเคียง หลากชนิ ด ที่ มี ป ระโยชน์ ต่ อ สุ ข ภาพ แล้ว น้ำาลอยดอกมะลิที่อยู่ในข้าวแช่ ยังช่วยทำาให้ร่างกายสดชื่น รวมถึง กลิน่ หอมของดอกมะลิยงั ช่วยให้จติ ใจ ผ่อนคลาย ส่วน “มะระทรงเครื่อง” บางคนอาจจะร้องยี้กับรสชาติขมๆ ของมัน แต่สรรพคุณดีไม่หยอก เพราะ เป็นยาดับร้อน ถอนพิษไข้ แก้กระหาย แก้ร้อนใน แต่ถ้าเป็น “ฟักเขียวตุ๋น มะนาวดอง” ทีค่ นจีนนิยมรับประทาน เพราะฟั ก มี ฤ ทธิ์ เ ย็ น จึ ง นิ ย มนำ า มา ทำาเป็นยาถอนพิษ ขับร้อนใน หรือ นอกจากนัน้ ขอแนะนำา “ผักกาดขาว”
ช่ ว ยแก้ ร้ อ นใน และป้ อ งกั น มะเร็ ง ได้ หากใส่ “ดอกไม้ จี น ” เป็ น ส่วนประกอบในอาหาร ก็จะช่วยขับร้อนใน และบำารุงเลือด “ปวยเล้ง” เป็ น ยาเย็ น ช่ ว ยขั บ ร้ อ น แก้ ก ระหาย ส่ ว นอาหารหวานก็ แ นะนำ า “ถั่วเขียวต้มน้ำาตาล” หวานเล็กน้อย ก็แก้กระหาย ขับปัสสาวะได้ดี เลยทีเดียว
ผลไม้แห่งฤดูกาล คราวนี้มาดูผลไม้ที่เหมาะสมกับช่วงเวลา ยามนี้คงหนีไม่พ้นผลไม้ เนือ้ ฉ่าำ น้าำ ซึง่ โชคดีทบี่ า้ นเมืองเรามีผลไม้ทกุ ฤดูกาล เช่น แตงโม มะม่วง สาลี่ มะเฟื อ ง มะไฟ องุ่ น ฯลฯ หรื อ เลื อ กกิ น ผลไม้ ล อยแก้ ว เช่น เงาะลอยแก้ว กระท้อนลอยแก้ว สละลอยแก้ว ลูกตาลลอยแก้ว หรือมะปรางลอยแก้ว เพราะผลไม้จำาพวกลอยแก้วจะช่วยเรียกความ สดชื่นให้กับร่างกายได้ ทำาให้ชุ่มคอ แก้กระหายน้ำา และ ลดอาการเจ็บคอ หรือจะเป็นขนมน้ำาแข็งไส เช่น เฉาก๊วยน้าำ เชือ่ มก็ชว่ ยดับกระหายได้เป็นอย่างดี ส่วนสาวๆ ที่ชอบกินทุเรียน กล้วยหอม ขนุน ควรงดก่อนนะคะ
กินโยเกิรต์ แล้วดี เพราะมีจลุ นิ ทรีย์ให้คณ ุ
ส่วนท่านที่ต้องการลดหุ่น อาจจะสงสัยว่า แล้ ว ประเภทโยเกิ ร์ ต นมเปรี้ ย วทานได้ ห รื อ ไม่ ตอบเลยว่าได้ เพราะอาหารประเภทนี้มีแลคโตบาซิลลัส ซึ่งช่วยทำาลายเชื้อแบคทีเรียที่ปนมากับอาหารได้ เสริมสร้างกล้ามเนื้อ ที่เกิดความอ่อนล้าจากอากาศร้อนให้กลับมาสดชื่นได้เช่นกัน ดังนั้น การเลือกกินอาหารในช่วงหน้าร้อนนี้ เราควรกินอาหาร ที่มีน้ำาเป็นส่วนประกอบหลัก และต้องเป็นอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ เพื่อป้องกันโรคท้องร่วง อีกทั้งควรอาบน้ำาบ่อยๆ เพื่อลดอุณหภูมิ ในร่างกาย และทำาให้รู้สึกสดชื่นสบายตัว ฟังเพลงเพราะๆ เพื่อ ผ่อนคลาย หรือจะนัง่ สมาธิกช็ ว่ ยได้ ตบท้ายด้วยการออกกำาลังกาย เบาๆ เพื่อให้ร่างกายกระฉับกระเฉง แข็งแรง และยังขับเหงื่อให้ ร่างกายได้ระบายความร้อนอีกด้วย ที่มา : นสพ.ไทยโพสต์, นสพ.โพสต์ทูเดย์ www.thaihealth.or.th www.mthai.com www.kapook.com
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
17
ปราชญ์ชุมชน โดย ตะวันฉาย
คุณยายตั๋ง ศิริโชค
ผู้หญิงเก่ง แกร่ง ที่ไม่มีคำ�ว่� “แก่” ในแววต� ใต้ตน้ มะขามใหญ่ เรายืนมองขึน้ ไปบน บ้านไม้ใต้ถุนสูง ประตูบ้านเปิดกว้าง เห็น คุณยายนั่งบนเก้าอี้ตัวเก่งที่ประจำาพร้อม กั บ ตะกร้ า เชี่ย นหมากคู่ก าย ทั น ใดนั้น ได้ยินคุณสุนันท์ เสียงดัง ประธานชุมชน แหลมฉบังเอ่ยว่า “ แม่เขารออยูแ่ ล้ว มาเลย มาเลย เห็น แก่ๆ อย่างนี้คุยเก่งมาก ความจำาดี จำาได้ หมด” เราขึ้นไปสวัสดีแล้วนั่งลงกับพื้นบ้าน คุณยายตั๋ง ศิริโชค เป็นคุณแม่ของคุณ สุนนั ท์ ปีนท้ ี า่ นอายุ 88 ย่าง 89 ปี ยังดูแข็งแรง สดใส อาจเพราะเป็นคนอารมณ์ดี กระฉับ กระเฉงประสาผู้หญิงเก่งและแกร่งตั้งแต่ สาวๆ จนถึงวันนี้ คุณยายยิ้มกว้างให้เรา ดวงตาสุกใสกว่าวัยที่เห็น และดูตื่นเต้นที่
จะได้เล่าเรือ่ งเก่าๆ... โดยเริม่ ต้นเล่าเรือ่ งลูกหลาน เรือ่ งสมัย ตอนยังสาว ชีวติ ลำาบากอย่างไร สนุกมากแค่ไหน มีลกู กีค่ น คนนัน้ ตายแล้ว คนนีย้ งั อยู่ คนนัน้ แข็งแรง เก่งอย่างไร เอ้า! ถามต่อ คุณยายมีลกู 6 คน แล้วมีหลานกีค่ น ยายนิง่ ไปนาน ก่อนยิม้ กว้าง หัวเราะตาหยี...“หลานเยอะ... นับไม่ถว้ น” เคยตั้ ง คำ า ถามเหมื อ นกั น ว่ า ทำ า ไมปราชญ์ ชุ ม ชน ส่วนใหญ่เป็นคนเฒ่าคนแก่ ลองทบทวนดูเวลาใน 1 วัน มี 24 ชัว่ โมง แต่ละวันเราเจอเรือ่ งมากมาย ทำางาน ไปเทีย่ ว เดีย๋ ว สนุก เดีย๋ วทุกข์ เรียนรูช้ วี ติ กันไป แก้ปญ ั หาได้บา้ งไม่ได้บา้ ง อายุไม่กี่สิบปีเราก็รู้สึกว่ารู้อะไรเยอะแยะไปหมดแต่ทำาไม ยังไม่หายทุกข์ พอสักพักถึงวัยก็จะคิดได้ว่า เออ แก่ไปจะ
18
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
เป็นอย่างไร... มานั่งฟังคุณยายสักครั้ง แล้วจะได้คาำ ตอบ “แถวนัน้ เขาเรียกหนองกระสือ เพราะเมือ่ ก่อนมีกระสือ มีจริงๆ นะ สมัยเด็กมียายคนหนึ่งเขาว่ากันว่าเป็นกระสือ ยายก็ ยั ง เด็ ก ไม่ รู้ อ ะไร วั น หนึ่ ง ไปบ้ า นแกไปแอบเปิ ด เชี่ยนหมากแกดู เจอขี้แห้งอยู่ไหนนั้น เขาเล่าว่าคนเป็น กระสือกินของสกปรก ถ้าหาของคาวกินไม่ได้กจ็ ะกินขีแ้ ทน” จริงเท็จอย่างไรสุดจะรู้ รูแ้ ต่วา่ ยายคะ ...เรือ่ งนีส้ นุกจัง เรือ่ ง เล่าต่อมาของยายก็ว่าด้วยความอุดมสมบูรณ์ ยายเล่าว่า สมัยก่อนไม่ตอ้ งซือ้ ของกินเลย มีปลาเห็ดโคน ปลาแป้นหมู กั้งตัวโตที่สมัยนี้กลายเป็นของราคาแพง แต่สมัยก่อนเขา ไม่กินกัน ได้มาทิ้งเลยเพราะมันดีดเจ็บ
“หน้าบ้านนี่มีสารพัด เวลาน้ำาลง จะมีแอ่งน้ำาที่ขังอยู่ตามหิน แล้วพวก ปลาที่ลงไปกลับน้ำาไม่ทัน มีสารพัด อย่าง ปลาข้างเหลืองแอบอยู่ใต้หิน เพราะแดดจัด น้ำาร้อน ก็ไปเขย่าหิน เดีย๋ วปลาก็ออกมา ถ้าไปทางหัวแหลม ไปเขี่ยหินก็ได้หอยนางรมตัวโตมากิน เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว”
“วันก่อนหลานเอาปลาเค็มมาให้ กินไม่ได้เลยไม่อร่อย เพราะปลาไม่สด ปลาแช่นา้ำ แข็งไม่อร่อย สูท้ าำ เองไม่ได้” ทุกวันนี้คุณยายยังทำาปลาเค็มกินเอง ด้วยฝีมือที่ติดตัวทำาขายเลี้ยงลูกมา ตั้งแต่ยังสาว จนเดี๋ยวนี้แปดสิบกว่า ก็ ยังทำากินเองได้ ลูกหลานแค่หาปลา สดๆ มาฝาก ที่เหลือยายทำาเอง แม้ จ ะเป็ น อาหารง่ า ยๆ แต่ ก็ มี คุณภาพ บวกกับอารมณ์ดี แจ่มใส คุณ ยายจึงดูแข็งแรงกว่าวัย อีกทั้งยังเป็น คนกระฉับกระเฉง อะไรๆ ยายอยาก ทำา ยายก็ทาำ ได้ “ลูกหลานบอกว่า ยาย นี่เที่ยวเก่งนะ ก็ยายไปเที่ยวมาหมด นะ พม่า เขมรก็ไปมาแล้ว ไปตอนอายุ มากนี่ แ หละ ไปกั บ เพื่ อ นสองคน” เพื่ อ นที่ ว่ า อายุ ไ ม่ ต่ า งจากคุ ณ ยาย เท่าไร นี่คงเป็นเคล็ดลับอายุยืนของ ยายตั๋ง คือ อาหารดี แถมไม่เคยอยู่ เฉยๆ ทำาอะไรได้ทาำ เลย เดินเหิน ลุกนัง่
ตลอด เส้นสายเลยไม่ตงึ เหมือนคนวัย เดียวกัน ช่วยเหลือตัวเองได้ดี แถมไม่ จู้จี้ขี้บ่น ยายบอกว่า พูดมากไปทำาไม ลูกหลานรำาคาญ ยายจึงอารมณ์ดีทุก วัน และมีความสุขกับชีวติ วัยนีไ้ ด้แบบ ที่ตัวเองต้องการ ที่ ผ่ า นมาตลอดชี วิ ต คุ ณ สุ นั น ท์ ลูกสาวแอบเล่าว่า “แม่เป็นผู้หญิงเก่ง และแกร่ง ทำางานทุกอย่าง เลี้ยงลูก 6 คน พ่อเขาไม่ ได้อยูด่ ว้ ย ทีบ่ า้ นก็จนมาก พี่ นี่ ไ ม่ เ คยมี ส ตางค์ ไ ป โรงเรี ย นเลย ตื่ น ตี ส าม ช่ ว ยแม่ เ ตรี ย มเครื่ อ งทำ า ขนมครกขาย สูตรของแม่ อร่อยมาก ลองถามสิ ไม่มี ใครทำาได้เหมือนแก แล้วรับจ้างแกะ หอย ควักไส้ปลาทู แกก็ทำาได้ไวมาก ที่หนึ่งของแถวนี้เลย” แล้ ว ยายก็ เ ล่ า เรื่ อ งทำ า ขนมครก เคล็ดลับที่ไม่เคยรู้ ว่าเตาขนมครกซื้อ มาใหม่ถ้าจะให้ใช้ทนใช้ดี ให้เอากาก มะพร้าวที่เหลือจากคั้นกะทิไปสุมให้ เต็ม แล้วตั้งไฟ น้ำามันจากมะพร้าวก็ จะออกมาเคลือบตัวถาดครก ส่วนสูตร ขนมครกคุณยายเล่าว่า “แป้งขนมครกนี่ ต้องโม่เอง เอาข้าวสารแช่นา้ำ ไว้ พอจะ โม่ก็ต้องเอาข้าวสุกเย็นใส่ไปสักกำามือ ข้ า วเหนี ย วอี ก สั ก หน่ อ ย หน้ า ขนม เวลาสุกจะได้ขาวนวล ส่วนหน้าขนมต้อง ใช้แต่หัวกะทิใส่เกลือไปหน่อย เวลา หยอดต้องไฟแรงไม่อย่างนัน้ ขนมด้าน หมด”
“ขนมครกของแม่ ไ ม่ เ หมื อ นใคร เวลาขนมเย็นแล้วยังอร่อย ตัวครกยัง ตั้งเป็นรูป ไม่เหมือนเดี๋ยวนี้ ขนมครก พอเย็นก็เหลวไม่เป็นตัว ไม่อร่อย ถาม ใครแถวนี้ ก็ คิ ด ถึ ง ขนมครกฝี มื อ แม่ ทั้งนั้น” คุณสุนันท์เล่าเสริม จนเรานึก เสียดายที่ไม่ได้ชิมขนมฝีมือคุณยาย นัง่ ฟังเพลิน เวลาผ่านไปรวดเร็วจนถึง เวลาต้องกลับแล้ว เมื่อถามตัวเองว่า ได้อะไรจากปราชญ์อายุรว่ มร้อยคนนี้ สิ่งแรกที่ตอบได้จากหัวใจคือ ความ อิ่ ม ใจ การได้ พู ด คุ ย ได้ นั่ ง ฟั ง คน คนหนึ่งที่ผ่านชีวิต ผ่านฤดูฝน ร้อน และหนาวมาเกือบ 90 ปี เหมือนได้ อ่ า นหนั ง สื อ อ้ า งอิ ง เล่ ม โตที่ ว่ า ด้ ว ย ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชน และยั ง เป็ น หนังสือแบบไฮเทค อินเตอร์แอคทีฟ ยิง่ กว่าไอแพด คือโต้ตอบได้ ยิม้ ให้เรา ได้ ถามไปตอบมา เป็นการเรียนรู้ ที่ ส นุ ก มากครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ ได้ นั่ ง ล ง กั บ พื้ น ไ ม้ ก ร ะ ด า น ที่ มั น ปลาบด้ ว ยกาล เวลา ไม้ที่คุณยาย ยังเล่าได้ว่าแผ่นนี้เป็นไม้สัก แผ่นนั้น ไม่ใช่... อยากให้ลูกหลานในชุมชนได้มา นั่งล้อมวงบนพื้นไม้ ฟังคุณยายสักวัน มาดู ร อยยิ้ ม ของคนวั ย ร่ ว มเก้ า สิ บ ที่มีดวงตาสุกใสเหมือนวัยสิบเก้า
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
19
ก้าวทันโลก โดย ติมา
“สุขภาพดีรับปีใหม่ไทย ข อ เ ชิ ญ ช ว น พ่ อ แ ม่ พี่ น้ อ ง มา “สุ ข ภาพดี รั บ ปี ใ หม่ ไ ทยกั น ด้ ว ย สมุนไพรไทย” ที่ผ่านการพัฒนาสร้างสรรค์ จากฝีมอื ของเหล่านักวิจยั ไทยคนเก่ง ฝ่ายเภสัชและ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ แห่งสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ที่ได้ทุ่มเท คิดค้น ขึ้ น จนประสบผลสำ า เร็ จ ในการวิ จั ย และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ให้มีสรรพคุณเยี่ยมไม่แพ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร าคาแพงที่ นำ า เข้ า จาก ต่างประเทศ
เบรนนี่-แท็บ (Braini-Tab) จากสารสกั ด ผั ก ใบเขี ย วบำ า รุ ง สมอง สร้างความจำา หากเราได้รู้สรรพคุณของพืชผักก็ ไม่ยากที่จะพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารบำารุงสมองที่ดีมีคุณภาพ ได้ โดยเฉพาะ ดร.กฤติยา ทิ ส ยากร หั ว หน้ า ที ม วิ จั ย ศึกษาพบว่า สารสกัดผักใบ เขียวอย่าง ‘ปวยเล้ง’ หรือ ‘ผักโขมจีน’ มีประสิทธิภาพ ในการป้ อ งกั น การทำ า ลาย สารสื่อประสาท ลดความเสี่ยงต่อ การเป็ น โรคความจำ า เสื่ อ มได้ เ ป็ น อย่างดี จึงได้นำาสารสกัดจากปวยเล้ง เป็นหลัก มาผสมกับสารสกัดจากผัก ใบเขียวอืน่ ๆ เช่น บัวบก และบร็อกโคลี่ โดยผ่านการทดสอบกลไกการออกฤทธิ์ เป็นที่เรียบร้อย ซึ่งทางเภสัชวิทยายัง ได้ พ บว่ า สารสกั ด ตั ว นี้ ส ามารถลด ระดั บ ของเอนไซม์ ที่ ทำ า ลายสารสื่ อ ประสาท Acetylcholine ในสมองได้ เช่นเดียวกับยา Donapezil (Aricept®)
20
ด้วยผลิตภัณฑ์ผลงานนักวิจัยไทย”
ที่ใช้รักษาอาการของโรคอัลไซเมอร์ในปัจจุบัน และผ่านการประเมิน ความปลอดภัยทั้งต่อสัตว์ทดลอง และเซลล์เนื้อเยื่อเรียบร้อย แถมมี แนวโน้มเพิม่ ประสิทธิภาพการทำางานของสมองโดยไม่มผี ลข้างเคียงต่อ ร่างกายเมื่อรับประทานทุกวันเป็นเวลา 3 เดือน ทางเภสัชวิทยาได้นำา มาพัฒนาในรูปของผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร “เบรนนี-่ แท็บ” (Braini-Tab) ที่ช่วยบำารุงสมอง และเสริมสร้างความจำา เหมาะสำาหรับทุกเพศทุกวัย ไปจนถึงผู้สูงอายุที่มีอาการเร่ิมต้นของภาวะสมองเสื่อม ลิโค-สการ์ครีม (Lico-scar cream) จากสารสกัดชะเอมเทศ ป้องกันแผลเป็นนูน คงไม่มใี ครอยากมีแผลเป็นลายนูนตามเนือ้ ตามตัว แน่ๆ แต่ถ้าเป็นขึ้นมาก็ยากที่จะเลี่ยงได้ นักวิจัยทาง ด้านเภสัชวิทยาจึงได้คน้ คว้าหาวิธปี อ้ งกันแผลเป็นนูน ที่ศัพท์ทางการแพทย์เรียกว่า Keloid หรือ Hypertrophic Scars และค้นพบว่า สารสกัดจากชะเอมเทศมีสรรพคุณ ลดการเกิดแผลเป็นนูน ได้ จึงได้สกัดทำาผลิตภัณฑ์ “ลิโค-สการ์ครีม” (Lico-scar cream) โดยผ่านการ ทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยแล้วว่า ไม่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวหนัง จากการ สำารวจความคิดเห็นของผูท้ มี่ แี ผลเป็นจำานวน 210 คน หลังจากทาแล้วมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์สูงมาก เพราะใช้งา่ ย เหมาะกับผิวหนังของคนไทย แถมยังช่วยลดการนำาเข้า ยาจากต่างประเทศอีกด้วย
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
นิมฟ์ เดอ เมลา (Nymph De Mala) จากสารสกัดดอกบัวสาย ลดฝ้า ลดริ้วรอย และป้องกันแดด ผลิตภัณฑ์ยี่ห้อ “นิมฟ์ เดอ เมลา” (Nymph De Mala) เป็ น สารสกั ด ดอกบั ว สาย ใน ลักษณะเวชสำ�อ�ง ที่ถูกพัฒน�คิดค้น ให้เป็นตัวครีมที่ช่วยลดฝ้�และริ้วรอย และเป็นครีมกันแดดที่มีค่� SPF30 (PA+++) ทั้งสองชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งก�ร สร้�งเม็ดสีผิวเมล�นิน และมีฤทธิ์ใน ก�รกระตุ้นก�รสร้�งคอลล�เจน โดย ผ่�นก�รทดสอบฤทธิต์ �้ นอนุมลู อิสระ และคว�มปลอดภัยม�แล้ว รวมถึง ผ่�นก�รทดสอบฤทธิล์ ดอ�ก�รอักเสบ จ�กแสง ป้องกันก�รอั รอักเสบ หรือมี ฤทธิป์ อ้ งกันผิวหนังถูกทำ�ล�ยจ�กรั กรังสี UVA และ UVB ได้อีกด้วย ลิทเซียร่า (Litsiara) จากสารสกัดตะไคร้ตน้ และขิง ป้องกันรังแค นอกจ�กตะไคร้และขิงจะนำ�ม ประกอบอ�ห�รแล้ว สรรพคุณด้��นน
รรักษ�ก็มดี เี กินตัว จนถูกนำ�ม� �ให้เป็นผลิตภัณฑ์น้ำ�มันใส่ ผม ยี่ห้อ “ลิทเซียร่า” (Litsiara) จากสารสกัดตะไคร้ต้นและขิง ที่มี ประสิทธิภาพต้านเชื้อรา “M. fufur” อันเป็นสส�เหตุของก�รเกิดรังแค และ มีฤทธิต์ �้ นอ�ก�รอักเสบได้ดี ผ่�นก�ร ประเมินคว�มปลอดภัยเบื้องต้นใน สั ต ว์ ท ดลองแล้ ว และไม่ เ ป็ น พิ ษ เฉี ย บพลั น ท�งผิ ว หนั ง ไม่ ก่ อ ก�ร ระค�ยเคืองต่อผิวหนัง ต� หรือทำ�ให้ เกิ ด อ�ก�รแพ้ ทั้ ง นี้ อ�ส�สมั ค รที่ ทดลองใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น เวล� 1 สัปด�ห์ พบว่� คนที่มีปัญห�รังแค พึงพอใจผลิตภัณฑ์นี้ค่อนข้�งม�ก
ดร.ชุ ลี รั ต น์ บรรจงลิ ขิ ต กุ ล ผูอ้ �ำ นวยก�รฝ่�ยเภสัชและผลิตภัณฑ์ ธรรมช�ติ วว. กล่�วว่� ผลิตภัณฑ์ ใหม่เพื่อสุขภ�พจ�กสมุนไพรไทย ทั้ง 5 นี้ผ่�นก�รทดสอบคว�มปลอดภัย ต�มหลักม�ตรฐ�นส�กล จึงมีคว�ม ปลอดภั ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภค และได้ จ ด สิ ท ธิ บั ต รกระบวนก�รผลิ ต และ กรรมวิ ธี ก �รผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล้ ว พร้ อ มถ่ � ยทอดเทคโนโลยี ก �รผลิ ต ผลิตภัณฑ์สู่เชิงพ�ณิชย์ อี ก ไม่ น านคงมี ก ารผลิ ต ขายใน ท้ อ งตลาด คนที่ อ ยากสวยก็ จ ะมี ทางเลือกแบบไร้กังวล ทั้งเรื่องความ ปลอดภัยเพราะทำาจากธรรมชาติ และ ราคาที่เหมาะสม รวมทั้งยังช่วยสร้าง งาน สร้างรายได้ให้แก่พนี่ อ้ งเกษตรกร ลดการนำ าเข้าผลิตภัณฑ์เ หล่านี้จ าก ต่างประเทศได้อีกด้วย
ผู้สนใจติดต่อ ผู้ ที่ ส นใจนำ � ผลง�นวิ จั ย ของ วว. ไป ถ่�ยทอดในเชิงพ�ณิชย์ หรือสอบถ�มข้อมูล เพิ่มเติมได้ที่โทร. 0-2577-9300 หรือ กองบริก�รธุรกิจ วว. โทร. 0-2577-9000 ในวันและเวล�ร�ชก�ร ขอบคุณภ�พประกอบจ�ก นสพ. เดลินิวส์ และ วว.
มีนาคม - เมษายน 2556
21
ของดีบ้านเรา โดย คนศรี
วัดใหญ่อินทาราม งดงาม เก่าแก่ ... ศักดิ์และศรี คู่บ้านคู่เมืองชลบุรี
แม้จะผ่านพ้นช่วงเทศกาลสงกรานต์ วันเฉลิมฉลองปีใหม่ ของคนไทยไปแล้ ว แต่ ก็ ยั ง อยู่ ใ นช่ ว งเดื อ นแห่ ง ความสุ ข สนุกสนานของพ่อแม่พีน่ อ้ งคนไทยกันอยู่ แล้วยิง่ เป็นชาวไทย พุทธแล้ว การเข้าวัดฟังเทศน์ ฟังธรรม เพื่อรับศีลรับพรเป็น สิริมงคลนั้นเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้กันเลยล่ะค่ะ ของดีบ้านเรา ฉบับนี้คนศรีจึงอยากแนะนำา วัดที่เป็นศักดิ์และศรีของชลบุรี บ้านเรากันค่ะ
22
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
ถ้ายังไม่เอ่ยชื่อ แต่บอกลักษณะพิเศษว่า เป็นวัดที่มี ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่สวยงามมาก เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้าน คู่เมือง มีโบสถ์ที่สัณฐานโค้งเป็นท้องสำาเภา หลายคนเดา ได้แล้วค่ะว่าวัดอะไร วัดใหญ่อินทาราม ตั้งอยู่กลางเมืองชล จ.ชลบุรี เดิม ชื่อวัดอินทาราม แต่ชาวบ้านเรียกจนติดปากว่า “วัดใหญ่” เพราะเป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดในเมือง คำาว่าใหญ่นั้นหมายถึง ใหญ่ ท างฐานะ เพราะพระมหากษั ต ริ ย์ ท รงสร้ า ง โดย สันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้ได้ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยอยุธยา และเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2518 ได้รับพระมหากรุณา โปรดเกล้าฯ ยกเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ จึงได้ชื่อว่าวัดใหญ่อินทารามแต่นั้นมา จากประวั ติ เ ล่ า ว่ า พระนครอิ น ทร์ หรื อ พระนคร อินทราธิราช (สมเด็จพระนครินทราธิราช) พระมหากษัตริย์ องค์ที่ 6 แห่งกรุงศรีอยุธยาเสด็จประพาสเมืองชลบุรี โดย ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เมือ่ เสด็จฯ มาถึงทีต่ ง้ั ของวัด แห่งนีแ้ ล้วทอดพระเนตรเห็นทิวทัศน์ และบรรยากาศทีส่ งบ เงียบ เหมาะสำาหรับการประพฤติพรหมจรรย์ และปฏิบัติ ธรรมของพระภิกษุสงฆ์ จึงมีพระราชศรัทธาสร้างวัดขึน้ และ
พระราชทานนามว่า “วัดอินทาราม” เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชนาม เดิ ม ของพระองค์ ว่ า “พระนคร อินทร์” อีกทัง้ ยังมีเรือ่ งเล่ากันต่อมาว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่ง ตอนนั้นเป็นพระยาวชิรปราการได้เสด็จมา ประทับในพระอุโบสถนี้ เพื่อรวบรวมไพร่พล กอง กำาลัง ตั้งมั่นฐานทัพหลังกรุงศรีอยุธยาใกล้จะ เสียกรุงแก่พม่าในปี พ.ศ. 2310 และพระองค์ ยั ง ทรงปราบนายทองอยู่ น้ อ ย หรื อ นาย ทองอยู่นกเล็ก ที่ประพฤติตนเป็นมิจฉาชีพ คิดมิชอบต่อบ้านเมือง ความวิจติ รแห่งพุทธศิลป์ดา้ นงานจิตรกรรม ฝาผนัง ส่วนใหญ่จะเน้นเรือ่ งราวของทศชาติชาดก พระเวสสันดรชาดก พร้อมภาพเขียนเหล่าเทพชุมนุมทรง สง่ า อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ป ระจำ า วั ด ใหญ่ อิ น ทารามแห่ ง นี้ นอกจากนี้ ตามกรอบซุ้มประตูและหน้าต่างประดับด้วย เครื่องถ้วย เครื่องกระเบื้องสวยงามแปลกตา แต่ละชิ้นไม่ ซ้ำาลายกัน เหนือซุ้มหน้าต่างยังวางเรียงเป็นรูปดอกไม้ หลายแบบ เป็นการประดับตกแต่งที่หาดูได้ยาก
ในวัดนี้ยังมีพุทธประติมากรรมที่คนเมืองชลรู้จักกันดี และเป็นที่ศรัทธาของคนที่นี่ นั่นคือ หลวงพ่อเฉย พระพุทธรูปหล่อสำาริดทรงเครื่องกษัตริย์ที่งดงามมาก ทีช่ าวบ้านผูศ้ รัทธาได้ประกอบพิธอี ญ ั เชิญย้ายท่านจาก วั ด ร้ า งสมรโกฎิ ม าประดิ ษ ฐานที่ วั ด ใหญ่ อิ น ทาราม เสียเลย ความอั ศ จรรย์ ข องหลวงพ่ อ เฉยมี มากมาย โดยเฉพาะลูกใครหลานใคร ป่วยไข้เจ็บออดๆ แอดๆ อยู่เป็น ประจำา มาจุดธูปเทียนถวายลูกให้ เป็นลูกหลวงพ่อเฉย หรือหากนำา เศษผ้าจีวรทีค่ ลุมองค์หลวงพ่อ ไป ผูกข้อมือเด็กก็จะหายเจ็บหายป่วย กลายเป็นเด็กเลี้ยงง่ายในทันที ซึ่ง ปัจจุบนั นีก้ ไ็ ด้มกี ารอัญเชิญพระพุทธรูป จำาลององค์เท่าขนาดจริงมาประดิษฐานให้ ประชาชนได้กราบไหว้ที่บริเวณด้านล่างภายในวัดแทน ลูกๆ หลานๆ ที่ยังไม่เคยได้มาชมองค์พระพุทธรูป งานจิตรกรรมอันวิจิตร สถาปัตยกรรมตระการตา เครื่อง ถ้วยชามทีห่ าดูได้ยาก คนศรีขอแนะนำาให้มาเทีย่ วกันนะคะ ไม่เสียค่าเข้าชม แถมยังมีพระนักวิชาการพานำาชมและ อธิบายให้ความรูอ้ กี ด้วยค่ะ แต่ควรไปวันพระ เพราะถ้าเป็น วันธรรมดาต้องติดต่อขอกุญแจโบสถ์จากท่านเจ้าอาวาส เสียก่อนค่ะ
การเดินทาง
รถยนต์ส่วนตัว มาจากถนนสุขุมวิท เลี้ยวเข้าตัว เมืองชลฯ ถึงสี่แยกเฉลิมไทย ให้เข้าเส้นถนนโพธิ์ทอง นงค์ วัดอยูด่ า้ นซ้ายมือ ก่อนถึงสีแ่ ยกตัดกับถนนอัครนิวาส (สีแ่ ยกท่าเกวียน) หน้าวัดมีลานจอดรถกว้างขวาง หรือใช้บริการรถ สอบถาม โทร. 0-3827-5844, 0-3828-3264 ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
23
ร้านนี้รักษ์สิ่งแวดล้อม โดย หงวน ชวนชิม
แอ๊ด ซีฟู้ด
ความอร่อยของทุกคน ในครอบครัว ลอง “หงวน ชวนชิม” ได้ลงพื้นที่แถบศรีราชาคราใด ย่อมต้องมีร้านอาหารจานอร่อย รสชาติถูกปากมานำาเสนอ อย่างแน่นอน โดยเฉพาะหน้าร้อนทะลุปรอทอย่างนี้ หลายคน อาจกำ า ลั ง มองหาร้ า นอาหารทะเลเด็ ด ๆ เตรี ย มไว้ ก่ อ น เดินทางไปนอนอาบแดดกันอยู่ก็ ได้ วันนี้ได้โอกาสมาเที่ยวรับลมทะเล เลยนึกขึ้นได้ว่า มีร้านแอ๊ด ซีฟู้ดที่ขึ้นชื่อลือชากับอาหารทะเลสดๆ รสชาติ อร่อยในราคามิตรภาพ ซึ่งก่อนหน้านั้นเจ๊แอ๊ดขายอาหาร ตามสั่งมานานกว่าสิบปี ทำาเมนูไหนก็เด็ด สั่งแปลกแหวก เมนูก็ทำาให้อร่อยได้ เลยทำาให้บรรดานักชิมทั้งหลายต่าง ติดอกติดใจ จาก 4-5 โต๊ะในบ้าน ก็ขยับขยายมาเป็นร้าน ใหญ่โต แม้ไม่ได้จดั ร้านโก้อลังการ และเกือบ 13 ปีทผ่ี า่ นมา ไม่สนกับการติดป้ายชื่อร้าน เพราะเน้นติดปากติดใจเสีย มากกว่า ขอให้แค่รู้จักกันในนาม “แอ๊ด ซีฟู้ด” ที่ประดับไว้ บนหน้าเมนูอาหารเท่านั้น “ทีเ่ ป็นอย่างทุกวันนีก้ เ็ พราะลูกค้านัน่ แหละเสนออยาก กินนัน่ กินนี่ เราก็จดั ให้ ทำาได้ แล้วคนกินก็ตดิ ใจบอกต่อกัน
24
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
มาเรือ่ ยๆ” คุณแอ๊ดเล่ายิม้ ๆ ด้วยความภูมใิ จ แล้วชีช้ วนให้ ลอง กุ้งทอดน้ำ�ปล� สูตรเฉพาะของที่นี่ ที่ใครๆ ต้องสั่ง มากินกันทุกโต๊ะ โดยเฉพาะลูกค้าทีม่ ากันทัง้ ครอบครัว นัน่ เป็นเพราะรสชาติไม่ได้เค็มอย่างเดียว แต่มีการตัดด้วยรส หวานนิดๆ กลมกล่อม ยิ่งกินยิ่งเพลินเมื่อผสมผสานกับ ความหวานของกุง้ ตัวโต อร่อยถูกปากคุณหนูๆ ยิง่ ขึน้ เมือ่ นำาน้ำาปรุงรสหวานเค็มมันมาคลุกข้าวสวยร้อนๆ ตามด้วย น้ำาจิ้มซีฟู้ดของร้านแอ๊ดที่ไม่เหมือนใคร จานเด็ดอีกจานคือ ปล�ทูต้มระกำ� สูตรน้ำาใส สไตล์ พื้นบ้าน หอมสมุนไพร ซดคล่อง ความดีความชอบของ อาหารจานนีอ้ ยูท่ น่ี าำ้ ซุปหอมหวานจากเนือ้ ปลา และรสหวาน อมเปรี้ยวของระกำาติดปลายลิ้น เป็นรสชาติที่ลืมไม่ลง เลยต้ อ งขอแนะนำ า ให้ ทุ ก ท่ า นสั่ ง เมนู นี้ ใ ห้ ไ ด้ น ะ แต่
ถ้าไม่ชอบปลาทูก็เปลี่ยนเป็นปลาเก๋า ต้มระกำาก็ได้ อร่อยไม่แพ้กันเลยค่ะ ส่วนพวกชอบความร้อนแรงก็ตอ้ ง ผัดฉ่าปลากะพง เพราะพี่แอ๊ดแกทำา อาหารไม่เหมือนร้านอื่น เพราะไม่ได้ มีแต่กระชาย พริกไทยอ่อน มะเขือเปราะ แต่ สำ า หรั บ ร้ า นพี่ แ อ๊ ด แกมี เ นื้ อ ปลา กะพงสดๆ รสชาติหวาน ผัดเคล้า กับพริกแกงตำาเองสูตรเฉพาะ ตามด้วยเครื่องสมุนไพรที่ ว่า ยิ่งทำาให้เนื้อนวลของ ปลากะพงหมดเร็วจนต้อง สั่งเพิ่มเลยทีเดียว ปลาหมึ ก ทอดน้ำ า ดำ า เมนูอร่อยหาทานยาก ซึง่ น้าำ ดำา ที่ ว่ า คื อ หมึ ก จากตั ว ปลาหมึ ก ที่ พ่ น ออกมาอำาพรางตัวเวลาหนีศัตรู เมื่อ นำ า มาผั ด กั บ เจ้ า ปลาหมึ ก เนื้ อ นุ่ ม ๆ สดๆ ทีค่ ณ ุ พีแ่ อ๊ดแกบอกว่า “ต้องเป็น หมึ ก ที่ จั บ มาสดๆ ไม่ ผ่ า นการแช่ น้าำ แข็ง เพราะถ้าแช่ เนือ้ จะไม่แข็งและ เหนียว ไม่อร่อย” เกร็ดความรู้เล็กๆ น้ อ ยๆ จากการทำ า อาหารอย่ า ง พิ ถี พิ ถั น ของพี่ แ อ๊ ด ต้ อ งคารวะกั บ
ความเป็นครอบครัวชาวประมง ที่แม้จะทำาร้านอาหารขายดิบขายดี ก็ไม่ละทิ้ง อาชีพประมงที่สานต่อกันมาเป็นชั่วอายุคน แถมนำาวัตถุดิบคุณภาพดีมามอบ ให้กับลูกค้าที่รักด้วย แม่ครัวหลักประจำาร้านคือ คุณสมคิด หิรัณย์สูตร น้องสาวเจ้าของร้าน ที่มี เมนูเด็ดประจำาตัวคือ ผัดไทย หอยทอด แต่หากมาหลังบ่ายสามโมงต้องเสียใจ ด้วยเพราะหมดแล้วค่ะ ถามหารสชาติความอร่อยของร้านคือ มีน้ำาจิ้มซีฟู้ดสูตรเฉพาะ ไม่เผ็ดโดด หรือเปรี้ยวนำา แต่จะออกรสชาติกลมกล่อมทั้งหวานเค็มเปรี้ยว เผ็ดพอดิบพอดี ก็อร่อยล้ำาเกินห้ามใจ ท้าให้ลอง เพราะของ เขาดีตั้งแต่วัตถุดิบและเครื่องปรุงรส แม้ว่าร้านจะอยู่สุดซอย ทางเข้าไม่ใหญ่โต แถมไม่มี ป้ายบอกทาง แต่เมื่อเข้ามาแล้วก็ต้องตกใจ เพราะมีคน มารับประทานกันแน่นร้าน ทั้งที่ไม่มีโฆษณาเชิญชวน และส่วนใหญ่ก็เป็นคนนอกพื้นที่กันทั้งนั้น โดยเฉพาะคน กรุงเทพฯ แต่ทเี่ ป็นส่วนเติมเต็มให้กบั เด็กๆ ได้สาำ ราญก็เห็นจะ เป็นไอศกรีมกินฟรีที่ตักได้ไม่อั้น ตอนเย็นๆ แดดร่มลมตก นั่งกินลม ชมวิว ละเลียดกุ้งเผา ปลาหมึกสดๆ หอยหวานๆ ปลาเนื้อนุ่ม มีความสุข อย่าบอกใครเชียว ร้ า นพี่ แ อ๊ ด เขารั ก ษ์ โ ลก จึ ง เน้ น ลมธรรมชาติ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าเพื่อลดโลกร้อน แถมคนกิน ยังอร่อยได้ในราคาสบายกระเป๋า เพราะไม่ต้องถูก ชาร์จค่าไฟหรือค่าอื่นๆ ได้สัมผัสบรรยากาศแบบ บ้านๆ อาหารแบบเหลา แล้วใครเล่าจะไม่กลับมา เยี่ยมเยือนกันอีก
การเดินทาง
หากเริ่มต้นจากศรีราช าเลี้ยวซ้าย ผ่านวงเวียนหอนาฬิก าหน้าสำานักงาน เทศบาล แล้วมองทาง ขวามือเลี้ยวเข้า ซอยเจิมจอมพล 22 ต รงไปจนสุดซอย ถ้ามา 10 คนขึ้นไป พ ี่แอ๊ดแนะนาำ ให้โทรศัพท์จองล่วงหน้ า ที่ ห ม าย เล ข 089-007-6772 หรอื 03 8-311-036 ค่ะ
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
25
CSR Focus
โดย นุช ณ บางเลน
โครงการด้านการพัฒนา ความเป็นอยู่ของประชาชน บนพื้นที่สูง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พัฒนาพลังงานหมุนเวียน จัดการทรัพยากรธรรมชาติ อย่างสร้างสรรค์ สู่พลังงานชุมชน CSR Focus ฉบับนี้ ขอพาท่านผูอ้ า่ นขึน้ เหนือไปจังหวัด แม่ฮ่องสอน จังหวัดที่ได้ชื่อว่า เมืองสามหมอก เพื่อไป ติ ด ตามความคื บ หน้ า ของโครงการด้ โครงการด้ า นการ พั ฒ นาความเป็ น อยู่ ข องประชาชนบน พื้นที่สูง ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง โครงการพั ฒ นาแห่ ง สหประชาชาติ (UNDP) มูลนิธพิ ลังงานเพือ่ สิง่ แวดล้อม (มพส.) หน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด แม่ ฮ่ อ งสอน และเครื อ ไทยออยล์ มีวัตถุประสงค์ในการมุ่งพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนและส่งเสริมการอนุรักษ์และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยเน้นทรัพยากรที่มีอยู่ ในธรรมชาติ ห รื อ เศษวั ส ดุ ที่ เ หลื อ ใช้ ท างการเกษตรมา สร้างสรรค์เป็นพลังงานชุมชนทีส่ อดคล้องกับความต้องการ ของแต่ ล ะพื้ น ที่ ทดแทนการทิ้ ง ไปโดยสู ญ เปล่ า โครงการฯ ครอบคลุมพืน้ ที่ 4 อำาเภอ ในจังหวัด แม่ฮ่องสอน ได้แก่ อำาเภอเมือง อำาเภอ สบเมย อำาเภอแม่สะเรียง และอำาเภอ ปางมะผ้า ช่วยให้ชุมชนมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น จิตอาสาเครือไทยออยล์ติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพจาก มูลสัตว์สำาหรับครัวเรือน วันที่ 7 - 11 ธันวาคม 2555 ที่ผ่านมา เครือไทยออยล์ นำาพนักงานจิตอาสาและทีมงานรวม 20 คน พร้อมด้วย เจ้าหน้าที่ มพส. เดินทางลงพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นบ้านแอโก๋ - แสนคำาลือ ต.ถ้ำาลอด อ.ปางมะผ้า เพื่อติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพจาก มูลสัตว์ให้กบั โรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดน ชมรมอนุรกั ษ์ พุทธศิลปไทยอนุสรณ์ โรงเรียนบ้านห้วยแห้ง และชุมชนใน
26
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
หมู่บ้าน รวมจำานวน 7 ชุด เพื่อทดแทนการใช้แก๊สหุงต้ม และฟืน ซึ่งนอกจากจะช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ค่าพลังงาน และลดการตั ด ไม้ ทำ า ลายป่ า แล้ ว โครงการฯ ยั ง ช่ ว ย บรรเทาปัญหามลพิษและสุขอนามัยจากการ เลีย้ งสัตว์ อาทิ หมู วัว แบบปล่อย ทำาให้มี มูลสัตว์กระจัดกระจาย ส่งกลิน่ เหม็นไป ทัว่ หมูบ่ า้ น เป็นแหล่งเพาะพันธุเ์ ชือ้ โรค และปนเปื้อนในแหล่งน้ำาสาธารณะได้ ส่ ง ผลให้ ค นในชุ ม ชนมี สุขภาพอนามัยทีด่ ยี ง่ิ ขึน้ หลั ง เก็ บ สั ม ภาระเข้ า ที่ พั ก ภายใต้ชายคาโรงเรียน ตชด. เรียบร้อยแล้ว พนักงานจิตอาสาได้แบ่งออกเป็น 3 กลุม่ เพือ่ รั บ ผิ ด ช อ บ ติ ด ตั้ ง ร ะ บ บ ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ ใ น แ ต่ ล ะ จุ ด เริ่มต้นจากการเตรียมหลุมสำาหรับติดตั้งบ่อเติม บอลลูน ระบบหมัก และบ่อล้น ก่อนที่จะโบกปูนเพื่อยึดส่วนต่างๆ ของระบบเข้าด้วยกัน พวกเราบางส่วนแยกตัวไปกับเด็กๆ และชาวบ้าน เพื่อเก็บมูลสัตว์ในหมู่บ้าน สำาหรับเตรียม ป้อนเข้าระบบผลิตก๊าซชีวภาพในขั้นตอนสุดท้าย จากใจที่ เ กิ น ร้ อ ยของเพื่ อ นพนั ก งานจิ ต อาสา และ พันธมิตร CSR ของเรา ทีน่ าำ เทคนิคและความคิดสร้างสรรค์ ต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมได้เป็นอย่างดี พอตะวัน คล้อยต่ำา งานของแต่ละทีมก้าวหน้าไปกว่าร้อยละ 80 พวกเราจึงขอพักภารกิจสำาหรับวันนี้เพียงเท่านี้ วันรุ่งขึ้น เหล่าพนักงานจิตอาสาต่างแยกย้ายกันไป ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นจุ ด ที่ ต นเองรั บ ผิ ด ชอบต่ อ จนแล้ ว เสร็ จ ในโอกาสนี้ ชาวเครือไทยออยล์ได้ตดิ ตัง้ ระบบโซลาร์โฮมให้ สำานักสงฆ์ประจำาหมู่บ้าน เพื่อประกอบกิจของสงฆ์ในยาม ค่ำาคืน พร้อมทั้งร่วมกันมอบผ้าห่มกันหนาวให้กับโรงเรียน
ทั้งสองแห่ง ก่อนเดินทางต่อไปโครงการพระราชดำาริปางตอง 2 (ปางอุ๋ง) ตำาบล หมอกจำาแป่ อำาเภอเมือง ที่ตั้งของโรงไฟฟ้าพลังน้ำาขนาดกำาลังการผลิต 7 กิโลวัตต์ ปัจจุบนั จ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั หน่วยงานราชการในพืน้ ทีแ่ ละชุมชนใน หมู่บ้านรวมไทย และเรียนรู้การทำางานของระบบประจุแบตเตอรี่แบบรวมศูนย์ ซึ่งเป็นการนำาแผงโซลาร์เซลล์ที่ชำารุดมาซ่อมแซมแล้วนำากลับมาใช้งานใหม่ อีกครั้ง โดยติดตั้งที่ใจกลางหมู่บ้านเพื่อให้สมาชิกในชุมชนหมุนเวียนกันนำา แบตเตอรี่มาชาร์จได้ นอกจากนีแ้ ล้ว พวกเราได้รว่ มติดตัง้ ชุดไฟฟ้าส่องสว่างในบ้านพักของโครงการฯ จำานวน 9 ชุด และติดตั้งโคมไฟโซลาร์เซลล์ บริเวณสันอ่างเก็บน้ำา จำานวน 18 ชุด เพือ่ ความปลอดภัยในยามค่าำ คืนให้กบั คนในชุมชนและนักท่องเทีย่ วด้วย คุณรัตติชัย ไพรประดิษฐ์ผล ครูผู้ช่วยโรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดน ชมรมอนุรักษ์พุทธศิลปไทยอนุสรณ์ ผมขอเป็นตัวแทนชาวบ้านหลายๆ คนในชุมชนบ้าน แอโก๋ ขอบคุณพนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ทุกท่าน ที่เสียสละเวลาเพื่อเดินทางมาระยะทางไกล เพื่อร่วมกัน ติดตัง้ ก๊าซชีวภาพสำาหรับครัวเรือนให้กบั พวกเราชาวชุมชนบ้านแอโก๋ ซึง่ หลังจาก ที่ติดตั้งก๊าซชีวภาพได้ 3 สัปดาห์ พวกเราก็สามารถใช้ก๊าซชีวภาพในการหุงต้ม ในครัวเรือนได้ ทำาให้ชว่ ยลดภาระค่าใช้จา่ ยลงไปได้มาก ทีส่ าำ คัญไม่ตอ้ งไปตัดไม้ มาทำาฟืน รวมทั้งสุขภาวะอนามัยของคนในชุมชนบ้านแอโก๋ก็ดีขึ้นมาก
คุณนพรัตน์ บุตรวงศ์ พนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ ปร ะ ทั บใจ โคร ง การ นี้ มากๆ เนื่องจากเป็นโครงการ ทำ า เพื่ อ สั ง คม ชุ ม ชน อย่างจริงจัง พวกเราทำา จริง ช่วยเหลือจริงๆ ไม่ ว่าจะลำาบากเพียงไรใน การเดินทาง เพื่อนๆ พนักงานที่ไป ร่วมกิจกรรมด้วยกันก็น่ารักทุกคน มี ความเป็นกันเอง ดูแลห่วงใยกัน ช่วย กันทำาภารกิจจนเสร็จสมบูรณ์ ได้รู้จัก เพื่อนใหม่เพิ่มขึ้น อยากให้มีกิจกรรม บ่อยๆ ครับ เพราะเป็นประโยชน์มาก คุณเฉลิมศักดิ์ จันทวะรี พนักงานจิตอาสาเครือไทยออยล์ ประทั บ ใจ CSR ที่ บ้ า นแอโก๋ หลายๆ อย่ า ง เช่ น สถานที่ในการทำา CSR เหมาะสม และเกิ ด ประโยชน์ กั บ ท้ อ งถิ่ น ไม่ว่าจะเป็นการจัดการ มูลสัตว์เพื่อนำามาใช้ให้เกิดประโยชน์ และเป็นการทำาให้ทอ้ งถิน่ จัดการเรือ่ ง มลภาวะของมูลสัตว์ ทำาให้สขุ ลักษณะ ดีขนึ้ รวมทัง้ การทำางานทุกทีมให้ความ ร่วมมือร่วมใจกันดีมาก ชอบทุกคน เป็นน้ำาหนึ่งใจเดียวกัน ช่วยเหลือกัน ทุกเรื่อง
วามสุข ความอิ่มเอม ภารกิจในครั้งนี้ สร้างค ุมชนเป็นอย่างมาก และช ใจให้กับเพื่อนพนักงาน และสังคมร่วมกัน ก่อ ชน ที่ได้มีโอกาสพัฒนาชุม ทรัพยากรธรรมชาติที่ าร ให้เกิดการบริหารจัดก บ มปี ระสทิ ธิภาพ ร่วม ระบ มอี ยูใ่ นชุมชนอยา่ งเปน็ เองดา้ นพลงั งาน อันจะ ตน สรา้ งตน้ แบบชุมชนพงึ่ ุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป งช นำาไปสู่ความเข้มแข็งขอ มีนาคม - เมษายน 2556
27
เยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน โดย คำาศรี
สิงโตทอง
ต้นแบบชุมชน “ไร้พุงไร้โรค” ฉบับนี้พาไปเยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน บางนำ้าเปรี้ยว จ.ฉะเชิงเทรา ในตำาบล เล็ ก ๆ ชื่ อ น่ า รั ก ว่ า ตำ า บลสิ ง โตทอง ซึ่งเรียกขานตามชื่อบึงนำ้าประจำาชุมชน มีความสำาคัญต่อการทำามาหากินของ คนในแถบนี้มานานนม โดยเห็นได้จาก ผูค้ นทีพ ่ าำ นักพักอาศัยพันกว่าครัวเรือน ประชากรรวมกว่าห้าพันคน ว่ากันว่า “ชุมชนสิงโตทอง” ที่มี ทั้งชาวไทยพุทธและมุสลิมอาศัยอยู่ นั้ น ส่ ว นใหญ่ มั ก เจ็ บ ป่ ว ยด้ ว ยโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง สุ่ ม เสี่ ย งต่ อ การเป็ น โรคหั ว ใจและ หลอดเลือด โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิม เพราะนิ ย มกิ น อาหารที่ มี ทั้ ง แป้ ง น้ำาตาล กะทิเป็นทุนเดิม ยิ่งมีงานบุญ ด้ ว ยแล้ ว ไม่ ต้ อ งพู ด ถึ ง ของมั น ๆ ทั้งข้าวหมกไก่ หมกแพะ ต้มซุป แกง มัสมัน่ หรือแกงกะทิ แม้แต่ขนมหวาน ก็ยังเป็นทองหยิบ ทองหยอด ขนม หม้อแกง ส่วนผลไม้ก็นิยมผลไม้เชื่อม
28
หรือแช่อิ่มมากกว่าผลไม้สดเสียอีก ย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างแน่นอน เมื่อโรคภัยมาเยี่ยมเยือนชุมชนสิงโตทองกันขนาดนี้ มีหรือที่ทางองค์การ บริหารส่วนตำาบลสิงโตทอง และสถานีอนามัยสิงโตทองจะนิง่ นอนใจ จึงได้รเิ ริม่ โครงการ “ภารกิจลดพุงในสิงโตทอง” ขึ้นเพื่อให้คนในชุมชนสิงโตทองและ ชุมชนใกล้เคียงใส่ใจสุขภาพ ซึง่ ขานรับกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขทีใ่ ห้ ทุกภาคส่วนจัดการรณรงค์ลดโรคอ้วน หรือโครงการองค์กรไร้พุงไร้โรคมาตั้งแต่ ปี 2552 3 อ. ต่อยอดภารกิจลดพุงในสิงห์โตทอง โครงการสิงโตทองร่วมใจสูอ่ งค์กรต้นแบบไร้พงุ ไร้โรค ไม่วา่ จะด้วยเหตุผล ใดก็ตาม ทุกภาคส่วนในตำาบลสิงโตทองรวม 13 แห่งได้กลายเป็นภาคีเครือข่าย คนไทยไร้พุง ด้วยหลัก 3 อ. อ.แรกคือ “อาหาร” จะต้องช่วยกันให้ความรู้ ปรับ พฤติกรรมการกินอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการใช้พลังงาน ลดหวาน มัน เค็ม แป้ง และน้ำาตาล เพิ่มผัก และผลไม้ที่ไม่หวานให้มากขึ้น ส่วน อ. สองคือ “ออกกำาลังกาย” ต้องอย่างน้อยวันละ 45 นาที และไม่นอ้ ยกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ สำาหรับ อ.สุดท้ายคือ “อารมณ์” ที่ต้องยอมข่มใจไม่ให้กินมากเกินไป... การสกัดกัน้ ไขมัน ทำาให้พงุ หาย เอวคอด เป็นหน้าทีร่ บั ผิดชอบของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขที่ต้องทำาความเข้าใจกับอิหม่ามประจำามัสยิด หาแนวร่วมในการ ดำาเนินงาน เพื่อประชาสัมพันธ์ถึงภัยอันเกิดจากโรคอ้วนลงพุง รวมทั้งจัด เสวนาร่วมกันระหว่างอิหม่าม ผู้นำาชาวไทยมุสลิม และเจ้าอาวาสวัด ผู้นำาชาว ไทยพุทธ เรื่อยไปจนถึงผู้อำานวยการโรงเรียน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. และ อสม. เพื่อกำาหนดเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพของตำาบล ก่อนที่จะ มอบหมายภารกิ จ หน้ า ที่ ใ ห้ แ ต่ ล ะหน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบ ร่ ว มกั น ทำ า การ
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
ประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าวผ่าน สื่ อ ทุ ก รู ป แบบ เพื่ อ เผยแพร่ ไ ปยั ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึงต่อไป ลดพุงต้องเริ่มที่แกนน�า การรณรงค์ ใ ห้ ส มาชิ ก ในชุ ม ชน หันมาออกกำาลังกายได้ ก็ตอ้ งเริม่ ต้นที่ แกนนำา ดังนัน้ ทางหน่วยงานจึงได้จดั อบรมแกนนำาให้รู้จักออกกำาลังกาย ก่อนที่จะไปสอนใครๆ ด้วยการจัดตั้ง กลุม่ ออกกำาลังกาย ไปพร้อมๆ กับการ พัฒนากลุ่มให้ประสบความสำาเร็จทั้ง การอบรมและปฏิบตั ิ เมือ่ แกนนำาผ่าน การอบรมก็ จ ะนำ า กิ จ กรรมการออก กำาลังกาย เช่น เต้นแอโรบิก รำาไม้ พลอง ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ฯลฯ มา เป็นการปฏิบัติจริงกับผู้คนในชุมชน แล้วสำารวจเก็บข้อมูล วัดรอบเอว ชั่ง น้ำ า หนั ก เพื่ อ ประเมิ น ผล ซึ่ ง พบว่ า หลังจากทำางานกันอย่างเข้มข้นจริงจัง เพียง 6 เดือนเต็ม ชาวสิงโตทองก็ ลดพุงได้สำาเร็จ สู่การเป็นชุมชนต้นแบบไร้พุงไร้โรค เมื่อภาคปฏิบัติการสำาเร็จ ชุมชน สิงโตทองกลายเป็น ชุมชนต้นแบบ ไร้พงุ ไร้โรค เกิดเป็นนโยบายสาธารณะ ที่ทุกคนในชุมชนฯ ตกลงร่วมกันถึง 3 เรื่อง คือ 1. กำาหนดให้ “แกงส้ม” เป็นเมนู อาหารหลักในมื้อกลางวันอย่างน้อย สัปดาห์ละ 2 ครั้ง และให้หน่วยงาน ภาครัฐ และภาคประชาชน รวมถึง โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหรือมีการ อบรมในพื้นที่
2. เพิ่มชาใบเตย หรือสมุนไพรชง จากดอกคำาฝอย เป็นเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ นอกเหนือจากการมีกาแฟให้ เพียงอย่างเดียว 3. จัดประกวดการออกกำาลังกาย ทุกปี และต้องปรับให้สอดคล้องกับ เพศวัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุคือ การจัดกิจกรรมรำาไม้พลองจะต้องเป็น ท่ารำาเรียบง่าย ถูกหลักการออกกำาลัง กาย หรือเหมาะสมกับสถานะ เช่น การเต้นแอโรบิกอาจจะไม่เหมาะกับ ชาวมุสลิม เพราะดูไม่สุภาพเท่าไรนัก หรือแม้แต่การจัดประกวดแกงส้มที่ อร่อยที่สุดของตำาบล จะเห็นว่า ถ้าหากทุกภาคส่วนเริ่ม ต้นนับหนึง่ ไปพร้อมๆ กัน ทัง้ จากภาคี เครือข่าย องค์กรในชุมชน ผู้นำาและ ชาวชุ ม ชนที่ ม าร่ ว มกำ า หนดบทบาท สร้างแนวคิด หาแนวทางการทำางาน ร่วมกัน จนเกิดการแลกเปลีย่ นความรู้ ซึง่ กันและกัน เช่น การสรรหาวิธลี ดพุง เรือ่ งราวดีๆ มาเล่าสูก่ ันฟัง ก็จะส่งผล ให้เกิดความสำาเร็จได้ เมื่อเจ้าหน้าที่ ตั้ ง ใจลงแรงกั น เต็ ม ที่ จั ด กิ จ กรรม ต่อเนื่อง เข้าถึงตัวผู้นำาศาสนาปรับ แนวคิด ทำาให้ผู้นำาศาสนากลายเป็น แกนนำาในชุมชน ก็จะทำาให้เป้าหมาย การไร้พุงไร้โรค เดินหน้าได้รวดเร็ว อย่างแน่นอน บ้านเราอยากไร้พุงไร้โรค ก็ต้อง ไปเยีย่ มเยือนพูดคุยกับชาวสิงโตทอง กั น นะคะ จะได้ นำ า ข้ อ คิ ด มาปรั บ ใช้กับชุมชนของเราต่อไป ที่มา : สำานักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ชุมชน
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
29
ปลอดภัยใกล้ตัว
กินผักปลอดภัย
ไร้สารพิษ
จากการออกสำารวจการปนเปือ้ นในผักสด ที่ข ายในซู เ ปอร์ ม าร์ เ ก็ ต ตลาดสดทั่ว ไป และรถเร่ ของนิตยสารฉลาดซือ้ พบว่าผักสด จากทัง้ 3 แหล่งมีสารปนเปือ้ นในระดับที่ ใกล้เคียงกัน จึงอาจสรุปได้วา่ ไม่วา่ จะซือ้ จากห้างดัง หรือจากตามตลาดสดแถว บ้านก็มสี ารปนเปือ้ นเหมือนกันนัน่ เอง ทราบอย่างนี้แล้ว เห็นทีคงต้องปลูกผัก บริโภคเองที่บ้านเสียแล้ว แต่กว่าผักจะงอก และโตจนเก็บบริโภคได้ตอ้ งใช้เวลาเกือบเดือน ระหว่างนีม้ าดูกนั ดีกว่า ว่าเราจะ บ ริ โ ภ ค ผั ก ที่ ซื้ อ จ า ก ห้ า ง ตลาดสด หรื อ รถเร่ ใ ห้ ปลอดภัยได้อย่างไร 1. ควรเลื อ กบริ โ ภค ผั ก พื้ น บ้ า นที่ ไ ม่ มี ก ารใช้ ย า ฆ่าแมลง เช่น ดอกแค ผักปลัง ผักแพว ดอกขจร ดอกโสน ชะอม ผั ก ติ้ ว ถั่ ว พู กระเจี๊ยบเขียว เป็นต้น 2. บรรดาผักใบทั้งหลายที่เราบริโภคกัน ประจำา เช่น คะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง ผักกาดขาว กะหล่ำาปลี สลัดต่างๆ เมื่อซื้อมาควรเด็ดใบ ที่ อ ยู่ น อกสุ ด ทิ้ ง แล้ ว เปิ ด น้ำ า ให้ ไ หลผ่ า น
30
ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
(Running Water) ประมาณ 30 - 60 วินาที แล้วใส่ กระจาดทิ้งไว้ให้สะเด็ดน้ำาก่อนนำาไปปรุงอาหาร 3. ล้างด้วยน้าำ ยาล้างผัก จะลดสารพิษได้ประมาณ ร้อยละ 25 4. แช่ในน้ำาด่างทับทิม (5 เกล็ดต่อน้ำา 4 ลิตร) ประมาณ 5 - 10 นาที ก่อนล้างอีกครั้งด้วยการปล่อย น้ำาให้ไหลผ่าน 5. ล้างผัก ผลไม้ แล้วแช่ในน้ำาผสมน้ำาส้มสายชู (น้ำาส้มสายชู 250 ซีซีต่อน้ำา 2 ลิตร) นาน 5 นาที จะ ลดสารพิษได้เกือบหมด 6. ใช้เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำา 1 กะละมัง แช่นาน 10 นาที แล้ว ล้างออกด้วยน้ำาสะอาดอีกที ลดปริมาณสารพิษได้ร้อยละ 29 - 38 7. ใช้โซเดียมไบคาร์บอเนต (ผงฟู) 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้าำ อุน่ 1 กะละมัง (20 ลิตร) แช่นาน 15 นาที ลดปริมาณสารพิษได้ร้อยละ 90 - 95 8. สำาหรับผักพร้อมปรุง หรือพร้อมบริโภคทั้งหลายที่ผู้ผลิตบอกว่า ล้างทำาความสะอาดมาแล้ว สามารถบริโภคได้เลย ก็ควรนำามาล้าง ทำาความสะอาดอีกครัง้ เพราะกว่าจะมาถึงมือเราอาจ เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคระหว่างการขนส่งได้ เช่นกัน 9. ลวกผั ก ด้ ว ยน้ำ า ร้ อ นลดสารพิ ษ ได้ ร้ อ ยละ 50 ส่ ว นการต้ ม นั้ น ลดสารพิ ษ ได้ ร้อยละ 50 เช่นเดียวกัน แต่จะมีสารพิษตกค้าง ในน้ำาแกง จึงควรล้างผักลดสารพิษก่อนทำาแกง 10. ผักหรือผลไม้ที่เป็นผล เช่น มะเขือเทศ แครอท มันฝรั่ง แตงกวา ส้ม แคนตาลูป ให้ใช้วิธีการเอาฟองน้ำาหรือแปรงสีฟัน เก่าขัดเบาๆ ตามผิว ขณะทีป่ ล่อยให้นา้ำ ไหลผ่าน เพราะผูผ้ ลิตบางราย อาจเคลือบผักผลไม้เหล่านั้นด้วยแวกซ์บางๆ เพื่อลดการสูญเสีย น้ำา ทำาให้ผักผลไม้สดอยู่ได้หลายวัน นอกจากจะรู้จักล้างผักผลไม้ให้ถูกวิธีแล้ว เราควรมีแนวทาง ในการเลือกกินผักผลไม้อย่างปลอดภัย คือ ไม่ควรกินผักผลไม้ ชนิดใดชนิดหนึ่งซ้ำาซาก เพราะจะทำาให้มีโอกาสรับสารเคมีจากผัก ชนิดนั้นมากขึ้น ควรกินผักผลไม้ตามฤดูกาล กินผักพื้นบ้านสลับบ้าง เพราะผักพื้นบ้านไม่ค่อยมีโรคหรือแมลงรบกวน จึงไม่จำาเป็นต้องพึ่ง สารเคมีในการปลูก นอกจากนี้ยังให้คุณค่าทางอาหารสูงอีกด้วย เลือก ซือ้ ผักปลอดสารพิษหรือผักเกษตรอินทรีย์ (มีการรับรองจากกรมวิชาการ เกษตร หรือกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือปลูกผักกินเอง หากทำาได้เพียง เท่านี้คุณก็จะสามารถบริโภคผักได้อย่างปลอดภัยแล้ว ที่มา : นิตยสารฉลาดซื้อ, หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์, www.thaihealth.or.th, www.health-kapook.com
ลับสมองลองเล่นเกม โดย กองบรรณาธิการ
ปลุกจิตสำานึกรักษ์พลังงาน ลับสมองลองเล่นเกมฉบับนี้ขอนำ�เสนอ เกมที่จะม�ปลุกจิตสำ�นึกรักษ์พลังง�นให้ ตื่นขึ้นม�ช่วยกันห�วิธีลดก�รใช้พลังง�น อย่�งถูกต้องม�ฝ�กกันค่ะ
ภาพเด็กชายจุ้มปุ๊ก กับชีวิตประจำาวันของเขา!!! ดูภ�พนี้ แล้วม�ช่วยห�วิธีบอกเด็กช�ย จุ้มปุ๊กทีว่�... เข�ควรจะประหยัดพลังง�น ไฟฟ้�ได้ทั้งหมดกี่อย่�ง 1.ประหยัดไฟฟ้าได้ทั้งหมด 4 อย่าง 2.ประหยัดไฟฟ้าได้ทั้งหมด 7 อย่าง 3.ประหยัดไฟฟ้าได้ทั้งหมด 9 อย่าง ผู้โชคดีที่บอกวิธีประหยัดพลังง�นได้ ถูกต้อง จำ�นวน 10 ท่�น รับร�งวัลของเร� ไปเลยค่ะ
กติกา ดูภ�พนี้แล้วส่งวิธีประหยัดพลังง�นของคุณม�ที่ แผนกกิจก�รเพื่อ สั ง คมและภ�พลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร บริ ษั ท ไทยออยล์ จำ � กั ด (มห�ชน) สำ�นักง�นกรุงเทพฯ เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อ�ค�รเอ ชั้น 11 ถนนวิภ�วดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ภ�ยในวันที่ 30 เมษ�ยน 2556 ชื่อ ........................................... น�มสกุล ................................. ที่อยู่ ......................................................................................... จำ�นวนวิธีประหยัดพลังง�นของคุณ............................................ ................................................................................................
รายชื่อผู้ตอบคำาถามถูกต้อง (เกมพลังงานในร่างกาย) คุณขวัญชัย ไชยฤกษ์ คุณจิรวุฒิ โลหภ�ษย์ คุณฉัตตริน กตัญญูกุล คุณทวิต� พรหมรักษ� คุณธีรศักดิ์ ไพโรจน์พิริยะกุล
คุณณิช�ภัทร โล่ห์สุวรรณ คุณระช�วดี ทองน้อย คุณศักด� บุตร์สุวรรณ คุณสมโชค นนทะแก้ว คุณเอกพงษ์ ชูเกียรติกุลชัย ชุมชนของเรา | มีนาคม - เมษายน 2556
31
ภัยเงียบ
ที่มากับความร้อน “โรคฮีทสโตรก” (Heat Stroke) หรือ “โรคลมแดด” เป็น โรคทีเ่ กิดจากการทีร่ า่ งกายได้รบั ความร้อนมากเกินไป จนทำาให้ความร้อนในร่างกายสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ซึง่ หากไม่ได้รบั การรักษาอย่างทันท่วงทีอาจมีอนั ตราย ถึงขั้นเสียชีวิตได้!! ป้องกันอย่างไรไม่ให้เป็นฮีทสโตรก • ปรับสภาพร่างกายให้ชินกับภาวะอากาศร้อน เมื่อจำาเป็นต้องเผชิญความร้อนเป็นเวลานาน • ดื่มนำ้าอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว • สวมใส่เสื้อผ้าสีอ่อน นำ้าหนักเบา ระบายความร้อนได้ดี • หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และยาเสพติดทุกชนิด • ดูแลเด็กเล็ก และคนชราเป็นพิเศษ โดยจัดให้อยู่ในสถานที่ ที่มีอุณหภูมิเหมาะสม
สุนัขมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคฮีทสโตรกได้เร็วกว่ามนุษย์! • สุนัขจะระบายความร้อนทางปาก ลิ้น และอุ้งเท้า ไม่สามารถระบายความร้อนทางรูขุมขนได้เหมือนมนุษย์ จึงควรเตรียมนำ้าในปริมาณที่เพียงพอเพื่อให้สุนัขได้กินตลอดทั้งวัน • อย่าปล่อยให้สุนัขอยู่ลำาพังในสถานที่ที่ร้อนจัดเด็ดขาด เช่น หลังรถกระบะ หรือในรถที่ดับเครื่อง ปิดกระจกสนิท • หมั่นสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดกับสุนัข หากเหงือกเป็นสีแดงกำ่า แสดงว่าเกิดจากความร้อนที่สะสมอยู่มาก • หมั่นอาบนำ้า หรือใช้ผ้าชุบนำ้าเย็นเช็ดตัว และใบหน้า ช่วยคลายความร้อนให้สุนัขได้อีกทางหนึ่ง