E สรุปเนื้อหาสำคัญในการสอนเตรียมสอบ

Page 1

การเข้ าใจชีวิต

ความนํา ปัญหาทางวิชาการทั้งหลายบรรดามี ปัญหาเกี่ยวกับชีวติ เป็ นปัญหาที่สาํ คัญที่สุดกว่า ปัญหาใด ๆ เหล่านักศาสนาและนักปรัชญาต่างก็พยายามค้นคว้าเรื่ องชีวติ เป็ นอันมาก มีคาํ สอน ทางศาสนาและหลักปรัชญาหลายเรื่ องที่เกี่ยวกับชีวติ แม้กระนั้นเรื่ องของชีวติ ก็เป็ นเรื่ องที่เรี ยน ไม่รู้จบ และไม่สามารถจะได้ความรู ้แจ้งชัด เพราะนักศาสนาและนักปรัชญามีความเห็นในเรื่ อง ชีวติ แตกต่างกัน บางพวกเห็นว่าชีวติ เป็ นความทุกข์ บางพวกเห็นว่าชีวติ มีความสุ ข บางพวกเห็น ว่าชีวติ ไม่มีความหมายอะไรขึ้นอยูก่ บั สิ่ งแวดล้อม

ความหมายของชีวติ

คําว่า "ชีวติ " ถือเอาตั้งแต่แรกของวิญญาณ คือตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดาจนถึงตาย พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต ) (2528 : 56) ได้อธิบายตามรู ปศัพท์วา่ ชีวติ หมายถึง ความ เป็ นอยู่ การดํารงอยู่ บ่งถึงการเป็ นอยูห่ รื อดํารงอยูข่ ององค์ประกอบชีวติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ชีวติ เป็ นหน่วยรวมขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่คุมกันเข้าเพื่อดํารงอยู่ การนิยามชีวติ ข้างต้น เป็ นการตอบปัญหาที่วา่ ชีวติ คืออะไร รวมทั้งความหมายของชีวติ และชีวติ คือหน่วยรวมของขันธ์ 5 ซึ่งไม่มีชีวติ อื่นใดนอกเหนือไปจากขันธ์ 5 ทั้งนี้เพราะอาศัย ขันธ์ 5 จึงบัญญัติเรี ยกว่า สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา

องค์ ประกอบของชีวติ

ชีวติ มนุษย์เกิดจากองค์ประกอบต่าง ๆ รวมกัน ซึ่งอาศัยกันเป็ นระบบและเป็ น กระบวนการ การจะเข้าใจชีวติ ได้ดี ต้องแยกองค์ประกอบออกเป็ น 2 ส่ วน ทั้งที่เป็ นวัตถุร่างกายและจิต วิญญาณ หรื อทั้งรู ปธรรมและนามธรรม โดยรวมลงในขันธ์ 5 หรื อเบญจขันธ์ (สํ.ข.17/95/58) คือ


2

1. รู ป ได้แก่ ส่ วนประกอบของฝ่ ายรู ปธรรม ทั้งหมดอันเป็ นส่ วนร่ างกายและพฤติกรรม ทั้งปวง เป็ นสสารและพลังงาน พร้อมทั้งคุณสมบัติและพฤติกรรมของสสารหรื อ พลังงานเหล่านั้น 2. เวทนา ได้แก่ ความรู ้สึกสุ ข ทุกข์ หรื อเฉย ๆ ซึ่งเกิดจากผัสสะทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ 3. สัญญา ได้แก่ ความกําหนดได้ หมายรู ้ คือกําหนดรู ้อาการ เครื่ องหมาย ลักษณะต่าง ๆ อันเป็ นเหตุให้จาํ อารมณ์ 6 คือ รู ป เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ได้ 4. สังขาร ได้แก่ องค์ประกอบหรื อคุณสมบัติต่าง ๆ ของจิตที่ปรุ งแต่งให้คิดดีหรื อชัว่ หรื อเป็ นกลาง ๆ โดยมีเจตนาเป็ นตัวนํา หรื อปรุ งแปรการตริ ตรึ กนึกคิดในใจและการ แสดงออกทางกายวาจา ให้เป็ นไปต่าง ๆ เป็ นที่มาของกรรมเช่น ศรัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา ปัญญา โลภะ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ อิสสา มัจฉริ ยะ เป็ นต้น 5. วิญญาณ ได้แก่ ความรู ้แจ้งอารมณ์ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ คือ การเห็น การ ได้ยนิ การได้กลิ่น การรู ้รส การรู ้สัมผัสทางกายและการรู ้อารมณ์ทางใจ องค์ประกอบแห่งชีวติ หากแยกแจกแจงตามแนวอภิธรรม จะได้รายละเอียดป ลีกย่อยลง ไปอีก โดยแยกออกได้ ดังนี้ รู ป 28 เวทนา 6 สัญญา 6 สังขาร 50 และวิญญาณ 89 หรื อ 121 และ บัญญัติเรี ยกองค์รวมของขันธ์ 5 ว่า บุคคล ตัวตน เรา เขา หรื อเรี ยกโดยปรมัตถ์วา่ รู ปธรรม นามธรรม โดยมีรูป เป็ นรู ปธรรม ส่ วน เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เป็ นนามธรรม การแยกชีวติ ออกเป็ นระบบขันธ์ 5 พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2544 : ) อธิบายว่า เป็ นระบบแยกซอย เพื่อการศึกษาธรรมชาติของมนุษย์เหมือนนักวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติแห่ง ชีวติ มนุษย์เป็ นชีวติ ไม่หยุดนิ่งเฉย เป็ นชีวติ ที่เคลื่อนไหว องค์ประกอบแต่ละส่ วนมีการทํางาน เป็ นกระบวนการสัมพันธ์กนั เป็ นเหตุเป็ นปัจจัยแก่กนั ซึ่งเครื่ องจักรโดยเฉพาะหุ่นยนต์ ถึงจะมี การเคลื่อนไหว แต่กไ็ ม่มีชีวติ ไม่มีเจตนา หรื อเจตจํานง เครื่ องจักจะเคลื่อนไหวได้กต็ ่อเมื่อมี คนขับขี่บงั คับ แต่ระบบการทํางานชีวติ มนุษย์มีเจตจํานง มีคุณสมบัติคือปัญญา ทําให้การ เคลื่อนไหวของมนุษย์มีการปรับตัว ปรับปรุ งพัฒนาระบบการทํางานของมันเองและจัดการกับ สิ่ งอื่นภายนอกได้ ลักษณะพิเศษแห่งองค์ประกอบนี้ เรี ยกว่า ระบบเป็ นอยูห่ รื อการดําเนินชีวติ


3

การเริ่มต้ นของชีวติ

การเริ่ มต้นของชีวติ ทางพุทธศาสนา เรี ยกว่า "โยนิ" คือกําเนิด และคําว่า "ชาติ" คือการ เกิด ทั้งสองคํานี้มีความหมายต่างกันที่วา่ คําว่า โยนิ หมายถึง กําเนิด , แบบหรื อชนิดของการเกิด ส่ วนคําว่า ชาติ หมายถึง การเกิด , ชนิด, พวก, เหล่า, ปวงชนแห่งชาติเดียวกัน (พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) 2528 : 55,157) การนําคําทั้งสองมาเปรี ยบเทียบเพื่อให้เห็นความเหมือนและ ความต่าง แต่เมื่อพิจารณาจากความหมาย คําจํากัดความแล้ว เห็นว่า คําว่า โยนิ เป็ นคําที่แสดงถึง การเริ่ มต้นชีวติ มนุษย์ได้ดีที่สุด พุทธศาสนาจําแนก โยนิ การเกิดของสัตว์ (ม.มู.12/169/147) ไว้ 4 ประเภท คือ 1. ชลาพุชะ สัตว์เกิดในภรรค์ คือคลอดออกมาเป็ นตัว เช่น คน โค สุ นขั แมว เป็ นต้น 2. อัณฑชะ สัตว์เกิดในไข่ คือออกไข่เป็ นฟองก่อนแล้วจึงฟักเป็ นตัว เช่น นก เป็ น ไก่ เป็ นต้น 3. สังเสทชะ สัตว์เกิดในไคล คือเกิดในของชื้นแฉะหมักหมมเน่าเปื่ อย ขยายแพร่ ออกไปเอง เช่น กิมิชาติบางชนิด 4. โอปปาติกะ สัตว์เกิดผุดขึ้น คือเกิดผุดเต็มตัวในทันใด ได้แก่ เทวดา สัตว์นรก มนุษย์ บางพวก และเปรตบางพวก ท่านว่า เกิดและตาย ไม่ตอ้ งมีเชื้อหรื อซากปรากฏ จากการจําแนกข้างต้นแสดงถึงการเกิดของสัตว์แต่ละชนิดมีที่เกิดมาไม่เหมือนกัน ใน บรรดาสัตว์เหล่านั้น มนุษย์เป็ นสัตว์ที่เกิดในครรภ์ (ชลาพุชโยนิ) โดยอาศัยพ่อแม่เป็ นเชื้อให้ดว้ ย การผสมพันธ์ อาศัยอาหาร อาศัยธรรมชาติ เป็ นชีวติ ที่ประกอบด้วยวัตถุธาตุต่าง ๆ การเกิดขึ้น ของมนุษย์ เริ่ มตั้งแต่ปฏิสนธิแล้วซึ่งเกิดขึ้นต่อจากการจุติในมรณสันนวิถี อันเป็ นจิตดวงสุ ดท้าย ปฏิสนธิจิตนี้จึงเป็ นการเริ่ มต้นของชีวติ การกําเนิดชีวติ ในทัศนะของนักชีววิทยานั้น ชีวติ จะต้องมีองค์ประกอบ 2 อย่าง คือ อสุ จิ ของฝ่ ายบิดา และไข่ ของฝ่ ายมารดา มาประกอบกันจึงจะก่อตัวมาเป็ นชีวติ มนุษย์ แต่ในทัศนะ ทางพุทธศาสนา ไม่ถือเพียง ปัจจัย 2 อย่างเท่านั้น ที่จะทําให้เกิดมีชีวติ ขึ้น แต่จะต้องประกอบไป ด้วยปัจจัยที่สาํ คัญอีกประการหนึ่ง คือมีวญ ิ ญาณเข้ามาปฏิสนธิ จึงเป็ นการเกิดที่สมบูรณ์ ดังที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ (ม.มู.12/452/488) ว่า "ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เพราะความประชุมพร้อมกันแห่งปัจจัย 3 ประการ การเกิด แห่งทารกจึงมี ในสัตว์โลกนี้ มารดาบิดาอยูร่ ่ วมกัน แต่มารดาไม่มีระดูและทารกที่เกิดยังไม่ ปรากฏ การเกิดแห่งทารกยังไม่มีก่อน ในสัตว์โลกนี้มารดาบิดาอยูร่ ่ วมกัน มารดามีระดู แต่สัตว์ที่


4

จะเกิดยังไม่ปรากฏ การเกิดแห่งทารกยังไม่มีก่อน ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เมื่อใด มารดาบิดาอยู่ ร่ วมกัน มารดามีระดูดว้ ย และทารกที่จะมาเกิด (ปฏิสนธิวญ ิ ญาณ) ก็มีปรากฏด้วย เพราะการ ประชุมพร้อมกันแห่งปัจจัยทั้ง 3 ประการ การเกิดแห่งทารกจึงมี ” จากพุทธพจน์น้ ี เป็ นเครื่ องชี้ให้เห็นว่า การเกิดแห่งทารก 2 ตอนแรกตรงกับหลักของนัก ชีววิทยา ซึ่งเป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไป แต่พุทธศาสนาไม่มีได้มีเพียงสองข้อนี้เท่านั้น ยังมีสัตว์หรื อ วิญญาณเข้ามาปฏิสนธิในครรภ์มารดาด้วย จิตวิญญาณเมื่อปฏิสนธิในครรภ์มารดาย่อมมีการเจริ ญเติบโตหรื อพัฒนาตามลําดับเป็ น ขั้นตอน ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในอินทกสู ตร(สํ.ส.15/803/303) ว่า ปฐมํ กลลํ โหติ กลลา โหติ อพฺพุท ํ อพฺพุทา ชายเต เปสิ เปสิ นิพฺพตฺ ตี ฆโน ฆนา ปสาขา ชายนฺ ติ เกสา โลา นขาปิ จ 1. กลละ คือเป็ นนํ้าใส มีลกั ษณะเป็ นเมือก เป็ นจุดเริ่ มต้นแห่งการเจริ ญเติบโต คําว่า กลละ นี้ ในความหมายทัว่ ไปได้แก่ จําพวกเมือก พวกโคลนตม เช่นว่า เราเหยียบลงไปในโคลน หรื อในที่เละ แต่ในที่น้ ี กลละ เป็ นศั พท์เฉพาะซึ่งมีความหมายเกี่ยวกับชีวติ ที่ท่านใช้เรี ยกอย่างนี้ ก็เพราะมีลกั ษณะเป็ นเมือก หรื อเหมือนอย่างนํ้าโคลนเละ ๆ พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต ) (2537 : 13-14) ได้อธิบายว่า กลละ นี้ท่านบอกว่าเป็ น หยาดนําใส เป็ นหยดที่เล็กมาก เล็กจนกระทั้งในสมัยนั้นไม่รู้จะพูดกันอย่างไร เพราะยังไม่ได้ใช้ มาตรวัดอย่างละเอียดถึงขนาดที่วา่ เป็ นเศษส่ วนเท่าไหร่ ของมิลลิเมตร หรื อของนิ้ว ท่านเลยใช้วธิ ี อุปมาว่า หยาดนํ้าใสกลละนี้มีขนาดเล็กเหมือนอย่างเอาขนจามรี มา (จามรี เป็ นสัตว์อยูท่ างภูเขา หิมาลัย ซึ่งมีขนละเอียดมาก ) นําเอาขนจามรี มาเส้นหนึ่ง จุ่มลงในนํ้ามันงา แล้วสลัดเจ็ดครั้ง แม้ จะสลัดเจ็ดครั้งก็ยงั มีเหลืออยูน่ ิดหนึ่ง นี้เองเป็ นขนาดของกลละ กลละนี้ หมายถึงชีวติ ในฝ่ าย รู ปธรรม เมื่อเริ่ มกําเนิดใน 7 วันแรก ในช่วง 7 วันแรกก็เป็ นกลละอย่างนี้ก่อน 2. อัมพุทะ จากกลละเป็ นอัมพุทะ (จากนํ้าใสเป็ นนํ้าขุ่นข้น) หมายถึง ครั้นเป็ นกลละได้ 7 วัน ก็ววิ ฒั นาการเป็ นนํ้าขุ่นข้น มีสีคล้ายนํ้าล้างมือ 3. เปสิ จากอัมพุทะเป็ นเปสิ (จากนํ้าขุ่นข้นมาเป็ นชิ้นเนื้อ) คือพอเป็ นอัมพุทะได้ 7 วัน ก็ วิวฒั นาการแข็งตัวเป็ นชิ้นเนื้อสี แดง มีลกั ษณะคล้ายเนื้อแตงโมที่บดแล้ว 4. ฆนะ จากเปสิ เป็ นฆนะ (จากชิ้นเนื้อมาเป็ นก้อนเนื้อ) คือ ครั้นเป็ นชิ้นเนื้อได้ 7 วัน ก็ วิวฒั นาการแข็งตัวขึ้นอีกเป็ นก้อนเนื้อทรงกลมคล้ายไข่ไก่


5

5. ปัญจสาขา จากก้อนเนื้อก็เกิดปัญจสาขา คือในสัปดาห์ที่ 5 (วันที่ 29 นับจากวันถือ ปฏิสนธิ) ที่กอ้ นเนื้อนั้นก็เกิดปุ่ ม 5 ปุ่ ม ปุ่ มนี้ภายใน 7 วันนั้นก็ววิ ฒั นาการขึ้นเป็ นมือ 2 ข้าง เท้า 2 ข้าง และศีรษะ และสัปดาห์ที่ 6 (วันที่ 36) เค้าโครงตา (จักขุทสกะ) ก็เกิด จากนั้นสัปดาห์ที่ 7 (วันที่ 43) เค้าโครงหู (โสตทสกะ) ก็เกิด สัปดาห์ที่ 8 (วันที่ 50) เค้า โครงจมูก (ฆานทสกะ) ก็เกิด สัปดาห์ที่ 9 (วันที่ 57) เค้าโครงลิ้น (ชิวหาทสกะ) ก็เกิด รวมเวลาตั้งแต่แรกเกิดถือปฏิสนธิจนกระทัง่ ถึงเวลาเกิดอวัยวะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น ทั้งสิ้ น 9 สัปดาห์ (63 วัน) จากสัปดาห์ที่ 9 ไปถึงสัปดาห์ที่ 42 องคาพยพต่าง ๆ ก็เกิดขึ้น คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูด เยือ่ ในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังพืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้นอ้ ย (อาหาร ใหม่ อาหารเก่า ) ในขณะที่องคาพยพต่าง ๆ เกิดขึ้นนั้น ส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายเกิดขึ้นด้วยพร้อม กันดังนี้ อาโปธาตุ ส่ วนที่เป็ นของเหลว ได้แก่ นํ้าดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น นํ้าตา เปลว มัน นํ้าลาย นํ้ามูก ไขข้อ ปัสสาวะ เตโชธาตุ ส่ วนที่เป็ นพลังงาน ได้แก่ ไฟธาตุทาํ ร่ างกายให้อบอุ่น ซึ่งต่อไปจะแปรเป็ นไฟ ย่อยอาหาร ไปทําร่ างกายให้ทรุ ดโทรม ไฟทําร่ างกายให้กระวนกระวาย วาโยธาตุ ส่ วนที่เป็ นลม ได้แก่ ลมพัดซ่านไป ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องตํ่า ลมใน ท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตามตัว ซึ่งต่อไปจะแปรสภาพเป็ นลมหายใจ

ความเป็ นอยู่ของชีวติ

พุทธศาสนาแสดงความหมายของชีวติ และกระบวนการของชีวติ ไว้เป็ นรู ปของการ รวมกันเข้าขององค์ประกอบทั้ง 5 ในลักษณะของกระเสที่เกิดดับไหลเวียนเปลี่ยนแปรไปมา ตลอดเวลา ชีวติ ดําเนินไปตามธรรมชาติ โดยอาศัยความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยทั้งหลาย และเรี ยก ความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยนั้นว่า กฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติ จึงเป็ นหลักสําคัญในการมองชีวติ ให้เห็นสภาพที่เป็ นจริ ง คือไตรลักษณ์ และปฏิจจสมุปบาท ทั้งสองนี้เป็ นกฎเดียวกัน เพียงแต่เรี ยกต่างกันตามมุมมอง โดยที่ไตรลักษณ์ มุ่งแสดงลักษณะของสิ่ งทั้งหลายที่ปรากฏให้เห็นว่า เป็ นอย่างนั้น มีลกั ษณะอย่างนั้น สิ่ งทั้งหลาย เป็ นไปตามกระบวนการของอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ส่ วนปฏิจจสมุปบาท มุ่งแสดงอาการที่ส่ิ ง ทั้งหลายมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน อาศัยสื บต่อกันเป็ นกระแสจนมองเห็นลักษณะของสิ่ ง


6

ทั้งหลายที่ดาํ เนินไป โดยอาศัยอาการสัมพันธ์กนั หนุนเนื่อง เป็ นเหตุปัจจัยสื บต่อกันและกันตาม หลักปฏิจจสมุปบาท หรื ออิทปั ปัจจยตา (สํ.นิ.16/64/33) คือ อิมสฺ มึ สติ อิท ํ โหติ เมื่อสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี อิมสฺ สุปฺปาทา อิท ํ อุปฺปชฺ ชติ เพราะสิ่ งนี้เกิด สิ่ งนี้จึงเกิด อิมสฺ มึ อสติ อิท ํ น โหติ เมื่อสิ่ งนี้ไม่มี สิ่ งนี้จึงไม่มี อิมสฺ ส นิโรธา อิท ํ นิรุชฺฌติ เพราะสิ่ งนี้ดบั สิ่ งนี้จึงดับ กฎธรรมชาติน้ ี เป็ นธรรมธาตุคือ สภาวะที่ทรงตัวอยูโ่ ดยธรรมดาเป็ นธรรมฐิติ คือสภาวะ ที่ต้ งั อยูเ่ ป็ นหลักแน่นอะโดยธรรมดา เป็ นธรรมนิยาม คือกฎธรรมดา ไม่เกี่ยวกับผูส้ ร้าง ผูบ้ นั ดาล มีเฉพาะแต่อาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และสลายไป ชีวติ จึงเป็ นกระบวนการทางปฏิจจสมุปบาท การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของ ชีวติ ที่ดาํ เนินไปตามวัฏจักร เช่น การเกิดขึ้น การดํารงอยูแ่ ละการสลายไป มิได้เกิดขึ้นอย่างลอย ๆ โดยบังเอิญ หรื อเกิดขึ้นโดยอาศัยเฉพาะปัจจัยอย่างเดีย ว แต่ตอ้ งอาศัยกลุ่มของเหตุปัจจัยต่าง ๆ หลายอย่างดังกล่าวมาเชื่อมกันเกี่ยวโยงกันไม่ขาดสาย

จุดมุ่งหมายของชีวติ

นักศึกษาคงเคยถามตัวเองว่า การที่เราต้องทําอะไรหลาย ๆ อย่าง เราทําเพื่ออะไร เราเรี ยน หนังสื อไปเพื่ออะไร เราทํางานไปทําไม ซึ่งบางคนอาจไม่รู้ดว้ ยว่าตนเองทําสิ่ งนี้ไปทําไม ที่ทาํ ไปเพราะเห็นคนอื่นทํา พ่อแม่ขอร้องให้ทาํ แต่บางคนก็เข้าใจดีวา่ ที่ตนเองทําอย่างนี้เพราะ ต้องการอะไร การรู ้อย่างนี้เรี ยกว่ารู ้จุดมุ่งหมายของชีวติ แล้วจุดมุ่งหมายของชีวติ คืออะไร แท้จริ ง การกระทําทุกอย่างล้วนไปสู่ จุดมุ่งหมายของชีวติ ทั้งนั้น เช่น นายประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย ตั้ง จุดมุ่งหมายชีวติ ไว้วา่ จะเป็ นนักธุรกิจที่มีเงินล้าน ๆ ล้าน เขาก็พยายามทําทุกอย่างเพื่อเตรี ยมตัว เป็ นนักธุรกิจที่มีความสามารถ แล้วทําธุรกิจเพื่ออะไร เขาก็คงตอบว่าการเป็ นนักธุรกิจที่ประสบ ความสําเร็จรํ่ารวยมีเงินมากจะได้ใช้เงินซื้ออาหารดี ๆ มีบา้ น มีรถยนต์ มีความสะดวกสบาย มี ความสุ ข พ้นจากความทุกข์ จะเห็นว่า จุดมุ่งหมายของชีวติ โดยทัว่ ไปก็คือความสุ ข จุดมุ่งหมายของชีวติ ทางพุทธ ศาสนาคือนิพพาน หมายถึงความสุ ขเหมือนกันแต่เป็ นบรมสุ ขคือสุ ขสู งสุ ด (ม.ม.13/287/281) พุทธศาสนาถือความสุ ขเป็ นสิ่ งสําคัญโดยแบ่งความสุ ขออกเป็ นขั้นเป็ นระดับดังนี้ 1. กามสุ ข ความสุ ขเนื่องด้วยกาม ได้แก่ความสุ ขที่เกิดขึ้นด้วยอาศัยกามคุณ 5 คือ รู ป


7

เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ซึ่งผูเ้ สพเสวยความสุ ขในระดับนี้ ได้แก่มนุษย์ปุถุชนและอริ ยบุคคลขั้น โสดาบันและสกทาคามี 2. ฌานสุ ข ความสุ ขเนื่องด้วยฌานหรื อสุ ขเนื่องด้วยสมาบัติ 8 โดยแยกเป็ นสุ ขในรู ฌาน และสุ ขในอรู ปฌาน ผูเ้ สพเสวยสุ ขในระดับนี้ ได้แก่มนุษย์ปุถุชนและอริ ยบุคคลทุกชั้นตั้งแต่พระ โสดาบันถึงพระอรหันต์ เฉพาะผูท้ ี่เจริ ญฌานชั้นนั้น ๆ ได้แล้ว 3. นิพพานสุ ข ความสุ ขคือนิพพาน เป็ นความสุ ขที่เกิดจากการกําจัดสาเหตุแห่งทุกข์คือ กิเลสตัณหาได้อย่างสิ้ นเชิง โดยถือเอาสังโยชน์ 10 เป็ นบรรทัดฐาน ผูเ้ สพเสวยความสุ ขระดับนี้ ได้แก่พระอริ ยบุคคลทั้งหลายตั้งแต่พระโสดาบันจนถึงพระอรหันต์

การปฏิบัตเิ พือ่ เข้ าถึงจุดมุ่งหมาย

การจะเข้าถึงจุดหมายสู งสุ ดในทางพุทธศาสนาได้ตอ้ งอาศัยการพัฒนา ซึ่งหมายถึง การทําให้ เจริ ญ ทําให้รุ่งเรื องขึ้น เป็ นความหมายในการพัฒนาด้านกายภาพและจิตวิญญาณ ในพุทธ ศาสนาที่หมายถึงการพัฒนาชีวติ ท่านใช้คาํ ว่า ภาวนา คือการเจริ ญ การอบรม หรื อการบําเพ็ญ สมาธิ ได้แก่การอบรมกายอบรมจิต เป็ นการพัฒนาเพื่อมุ่งพ้นทุกข์ในระดับต่าง ๆ หลักการ โดยทัว่ ไปในพุทธศาสนา ได้แก่ มรรคมีองค์ 8 คือ 1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ ได้แก่ความรู ้อริ ยสัจจ์ 4 หรื อเห็นไตรลักษณ์ หรื อรู ้อกุศลและ อกุศลมูลกับกุศลหรื อเห็นปฏิจจสมุปบาท 3. สัมมาสังกัปปะ ดําริ ชอบ ได้แก่ เนกขัมมสังกัปปะ พยาบาทสังกัปปะ อวิหิงสา สังกัปปะ 4. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ได้แก่ วจีสุจริ ต 4 5. สัมมากัมมันตะ กระทําชอบ ได้แก่ กายสุ จริ ต 3 6. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ได้แก่ เว้นมิจฉาชีพ ประกอบสัมมาชีพ 7. สัมมาวายามะ พยายามชอบ ได้แก่ ปธาน 4 หรื อสัมมัปปธาน 4 8. สัมมาสติ ระลึกชอบ ได้แก่ สติปัฏฐาน 4 9. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมัน่ ชอบ ได้แก่ ฌาน 4 มรรคมีองค์ 8 สรุ ปย่อลงเป็ นการศึกษาและพัฒนาชีวติ 3 ประการ คือ ศีล สมาธิ และ ปัญญา เรี ยกว่า ไตรสิ กขา แปลว่า สิ กขา 3 คําว่า สิ กขา แปลว่า การศึกษา การสําเหนียก การฝึ ก หรื อการฝึ กอบรม รวมความก็คือการพัฒนานัน่ เอง ไตรสิ กขาจึงเป็ นข้อปฏิบตั ิหลักสําหรับพัฒนา


8

กายวาจาจิตใจและปัญญาให้เจริ ญงอกงามยิง่ ขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสู งสุ ดคือความหลุดพ้นหรื อ นิพพาน ไตรสิ กขามีความหมายดังนี้ 1.อธิสีลสิ กขา การพัฒนาในด้านความประพฤติ ระเบียบวินยั ให้มี สุ จริ ตทางกายวาจา และอาชีพ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ) เพื่อการดํารงชีวติ อยูด่ ว้ ยดี มีชีวติ ที่เกื้อกูล ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่ตนมีส่วนช่วยสร้างสรรค์รักษาให้เอื้ออํานวยแก่การมีชีวติ ที่ดีงาม ร่ วมกันเป็ นพื้นฐานที่ดีสาํ หรับการพัฒนาคุณภาพจิตและปัญญา 2. อธิจิตตสิ กขา การพัฒนาทางจิตใจ การปลูกฝังคุณธรรม สร้างเสริ มคุณาภพจิตและรู ้จกั ใช้ความสามารถในกระบวนการสมาธิเพื่อพัฒนาคุณภาพจิตหรื อปรับปรุ งจิตให้มีคุณภาพและ สมรรถภาพสู ง ซึ่งเอื้อแก่การมีชีวติ ที่ดีงามและพร้อมที่จะใช้งานในทางปัญญาอย่างได้ผลดีที่สุด 3. อธิปัญญาสิ กขา การพัฒนาทางปัญญาอย่างสู ง ทําให้เกิดความรู ้แจ้งที่สามารถชําระจิต ให้บริ สุทธิ์ หลุดพ้น เป็ นอิสระโดยสมบูรณ์ เพื่อมองดูรู้จกั และเข้าใจสิ่ งทั้งหลายตามความเป็ น จริ ง หรื อรู ้เท่าทันตามธรรมดาของสังขาร คือรู ้จกั วางใจวางท่าทีและประพฤติต่อโลกและชีวติ ได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสมในทางที่เป็ นไปเพื่อแย่ขยายประโยชน์สุขมีจิตใจผ่องใส ไร้ทุกข์ เป็ น อิสระ เสรี และสดชื่นเบิกบาน

………………………………………………………………..


9

การพัฒนาจิต

ความหมายของคําว่ าพัฒนา คําว่า พัฒนา หมายถึง การทําให้เจริ ญ ขึ้น ทําให้รุ่งเรื องขึ้น ใช้ได้ท้ งั ในการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจ ในทางพุทธศาสนาใช้เฉพาะการพัฒนาจิตเท่านั้น ท่านใช้คาํ ว่า สมาธิภาวนา คือ การเจริ ญ การอบรม หรื อการบําเพ็ญสมาธิ และคําว่า วิปัสสนาภาวนา คือ การเจริ ญ การอบรม หรื อการบําเพ็ญวิปัสสนา ดังนั้น การอบรมจิตทางพุทธศาสนาจึงใช้คาํ ว่า จิตตภาวนา ดังปรากฏ ในมหาสัจจกสู ตร ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสแก่สัจจกนิครนถ์ ผูถ้ ือตนว่าเป็ นนักปราชญ์ตอนหนึ่งว่า "ดูก่อนอัคคิเวสนะ จิตภาวนา ท่านฟังมาแล้วอย่างไร ? " เมื่อสัจจนิครนถ์ทูลตอบไม่ได้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า "ดูก่อนอัคคิเวสนะ อริ ยสาวกในพระศาสนานี้ ผูไ้ ด้อบรมจิตแล้ว เมื่อ ความสุ ขเกิดขึ้น เขาได้รับสุ ขแล้ว ก็ไม่ยนิ ดีในความสุ ข เมื่อสุ ขดับไป มีทุกข์เกิดขึ้น เขาได้รับ ทุกข์แล้วก็ไม่เศร้าโศก ไม่ลาํ บากใจ ไม่ราํ พันครํ่าครวญบอก ไม่ถึงความหลงไหล …ดูก่อน อัคคิเวสนะ แม้สุขเกิดขึ้นแก่อริ ยสาวกผูใ้ ดผูห้ นึ่งก็ไม่ครอบงําจิต (ท่านได้) ดูก่อนอัคคิเวสนะ บุคคลที่ได้อบรมกาย อบรมจิต เป็ นอย่างนี้แล การพัฒนากายและพัฒนาจิต ตามหลักพุทธศาสนาก็คือการพัฒนาจิตนัน่ เอง การที่แยก เป็ นกายภาวนาและจิตตภาวนา ก็เพื่อให้เหมาะกับอุปนิสัยของสัจจนิครนถ์ ผูฟ้ ังธรรมอยูใ่ น ขณะนั้น แต่เมื่อกล่าวโดยย่อแล้ว การพัฒนาหรื อการอบรมทางพุทธศาสนาทั้งด้านกาย วาจาและ ใจรวมเรี ยกว่า จิตตภาวนา ทั้งสิ้ น จึงสรุ ปได้วา่ จิตภาวนา คือการฝึ กฝนอบรมตนเอง การอบรมตนเอง การทําตนเองให้เจริ ญ ขึ้นให้ประเสริ ฐขึ้น ตามหลักพุทธศาสนา คือการยกจิตของตนขึ้นสู่ ระดับที่ เหนือกว่าอํานาจกิเลส นัน่ เอง โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์ในปัจจุบนั ประโยชน์ในชาติหน้า และประโยชน์สูงสุ ด คือนิพพาน

ความหมายของจิต

จิตเป็ นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เป็ นนามธรรม ไม่มีรูปร่ าง อาศัยอยูใ่ นร่ างกายของสัตว์ ทั้งหลาย จิตนี้เป็ นธรรมชาติที่รู้อารมณ์ คือรับอารมณ์อยูเ่ สมอ จิตมีชื่อเรี ยกไปต่าง ๆ กัน เพราะ ทําหน้าที่ต่างกัน เหมือนกับคนคนเดียวทําหน้าที่หลายอย่าง เช่น ผูช้ ายซึ่งเป็ นพ่อของลูก ๆ แต่


10

ในขณะเดียวกันก็ทาํ หน้าที่เป็ นครู บา้ ง เป็ นผูอ้ าํ นวยการบ้าง เป็ นประธานบ้าง เป็ นลุงบ้าง เป็ น ตาบ้าง ดังปรากฏในคัมภีร์ (ธมฺ มสงฺคณี.34/32/12-13) มีชื่อเรี ยกจิตถึง 10 ชื่อ คือ 1. จิต 2. มโน 3. มานัส 4. หทัย 5. ปัณฑระ 6. มนายตนะ 7. มนินทรี ย ์ 8. วิญญาณ 9. วิญญาณขันธ์ 10. มโนวิญญาณธาตุ

สาเหตุที่ได้ ชื่อว่ าจิต

1. สร้างสิ่ งที่วจิ ิตร ความสวยงาม มากมาย หลากหลาย อัศจรรย์ เช่น ร่ างกาย (นามรู ปเกิดได้เพราะวิญญาณเป็ นปัจจัย) สิ่ งก่อสร้าง ศิลปะ ความดี ความชัว่ สิ่ งวิจิตรเหล่านี้ ล้วนเกิดมาจากจิตทั้งสิ้ น จิตเมื่อว่าโดยความหมายพื้น ๆ แล้วหมายถึง ความนึกคิด ทั้งสัตว์และ คนเราเมื่อไม่มีความนึกคิดแล้วจะสามารถทําหรื อสร้างสรรค์ส่ิ งต่าง ๆ ได้อย่างไร 2. เป็ นธรรมชาติที่วจิ ิตรในตัวเอง จิตสามารถสร้างสิ่ งวิจิตรได้ ก็เพราะตัวจิตเองนั้น มีความวิจิตรอยูด่ ว้ ย คือความถนัด ความสามารถ ความคิดที่ละเอียด ประณี ต เหล่านี้เป็ นความ วิจิตรที่สะสมอยูใ่ นจิต ซึ่งทางธรรมเรี ยกว่า วิบาก 3. เป็ นสิ่ งที่ถูกกรรมและกิเลสสะสม จิตที่มีความวิจิตรในตัวเองได้กเ็ พราะอาศัย กรรมและกิเลส ได้แก่อวิชชา ตัณหา อุปาทาน เป็ นต้น เป็ นตัวผลักดันให้จิตสั่งการออกมา ทางการกระทําทางกาย วาจา และความนึกคิด 4. ธรรมชาติที่รักษาความวิจิตร อันหมายถึงคุณสมบัติต่าง ๆ ของจิตนัน่ เอง เช่น ความรู ้ความถนัด ความสามารถ เป็ นต้น เมื่อกล่าวโดยสภาพทัว่ ๆ ไปแล้ว คนเราย่อมมีอาการ ต่าง ๆ เหล่านี้ไมเหมือนกัน 5. สัง่ สมการสื บต่อของตนไว้ หมายถึงจิตของคนเรามี 2 ระดับ คือ ภวังคจิต ได้


11

แก่ จิตไร้สาํ นึกไม่ข้ ึนสู่ วถิ ี ปราก ฏชัดขณะหลับหรื อสลบ กับวิถีจิตได้แก่จิตในสํานึก เป็ นจิต ขณะตื่น ซึ่งทําให้เราสามารถรับรู ้ส่ิ งสัมผัสรอบตัวเราได้ เช่นการเห็นรู ป การได้ยนิ เสี ยง เป็ น ต้น ตลอดถึงการนึกคิดเรื่ องราวต่าง ๆ จิตนั้นเกิดดับอยูต่ ลอดเวลา โดยเปลี่ยนจากเรื่ องหนึ่งไป อีกเรื่ องหนึ่ง 6. ธรรมชาติที่มีอารมณ์อนั วิจิตร อารมณ์ได้แก่สิ่งที่เรารับรู ้หรื อสัมผัสได้กล่าวโดย สรุ ปมี 6 คือ รู ป เสี ยง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย และธรรม (เรื่ องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ความคิด)

ลักษณะของจิต

ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ได้อธิบายลักษณะของจิตไว้หลายแห่ง โดยมุ่งการอบรมจิต เป็ นสําคัญ ในที่นี่จะกล่าวไว้เท่าที่จาํ เป็ น เพื่อประโยชน์ในการศึกษาและพัฒนาจิตตาม แนวพุทธ ศาสน์ ดังนี้ 1. ในจิตวรรค แห่งคัมภีร์ธรรมบท ขุททกนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสลักษณะของจิตไว้วา่ ผนฺ ทนํ จปลํ จิตฺต ํ ทุรกฺข ํ ทุนฺนิวารยํ อุชุ กโรติ เมธาวี อุสุกาโรว เตชนํ แปลว่า "คนที่มีปัญญา ย่อมทําจิตที่ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยาก ให้ตรงได้ เหมือนนายช่างศร ดัดลูกศรให้ตรง ฉะนั้น" (ขุ.ธ.25/13/19) จากคาถาบาลีขา้ งต้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงว่า จิตมีลกั ษณะดังนี้ 1) ผนฺ ทนํ ดิ้นรน คือ ดิ้นไปเพื่อหาอารมณ์ที่เป็ นเหยือ่ มีรูปและเสี ยงเป็ นต้น 2) จปลํ กวัดแกว่ง คือ ไม่ยดึ อยูใ่ นอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งได้นาน เหมือน เด็กทารกไม่หยุดนิ่งอยูใ่ นอิริยาบถใดอิริยาบถหนึ่งได้นาน 3) ทุรกฺข ํ รักษายาก คือรักษาให้อยูก่ บั ที่โดยไม่คิดไปถึงเรื่ องต่าง ๆ นั้นทําได้ยาก 4) ทุนฺนิวารยํ ห้ามยาก คือจะป้ องกันไม่ให้คิดถึงเรื่ องที่เราไม่ตอ้ งการก็หา้ มยาก 2. ในจิตตวรรค แห่งคัมภีร์ธรรมบท ขุททกนิกายอีกคาถาหนึ่ง พระพุทธเจ้าได้ตรัส ลักษณะของจิตไว้ ว่า ทุนฺนิคฺคหสฺ ส ลหุโน ยตฺ ถ กามนิปาติโน จิตฺตสฺ ส ทมโถ สาธุ จิตฺต ํ ทนฺ ต ํ สุ ขาวหํ


12

แปลว่า " การฝึ กจิตที่ข่มได้ยาก ซึ่งเป็ นธรรมชาติที่รวดเร็ว มักตกไปในอารมณ์ตามที่ มันชอบ เป็ นการดี (เพราะว่า) จิตที่ฝึกดีแล้ว ย่อมนําความสุ ขมาให้" (ขุ.ธ.25/13/19) คาถาบาลีขา้ งต้น พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิตมีลกั ษณะดังนี้ 1) ทุนฺนิคฺคหํ ข่มได้ยาก คือ ฝึ กได้ยากนัน่ เอง 2) ลหุ เป็ นธรรมชาติรวดเร็ว คือเกิดขึ้นแล้วดับไปเร็ว เหมือนกระแสไฟฟ้ าที่เกิดดับ อยูต่ ลอดเวลา แต่ที่สังเกตเห็นว่ายังไม่ดบั 3) ยตฺ ถ กามนิปาตี มักตกไปตามอารมณ์ที่ชอบ คือถ้าชอบใจเรื่ องใดก็ชอบคิดแต่ เรื่ องนั้นอยูเ่ สมอ 3. ในจิตตวรรค แห่งคัมภีร์ธรรมบท ขุททกนิกายอีกคาถาหนึ่ง พระพุทธเจ้าตรัสลักษณะ ของจิตไว้ดงั นี้ ทูรงฺคมํ เอกจรํ อสรี รํ คูหาสยํ เย จิตฺต ํ ส�ฺ ญเมสฺ สนฺ ติ โมกฺขนฺ ติ มารพนฺ ธนา แปลว่า “ชนเหล่าใดจักสํารวมจิตที่ไปได้ไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่ าง มีถ้ าํ คือร่ างกายเป็ นที่อาศัย ชนเหล่านั้นจะพ้นจากเครื่ องผูกพันธ์ได้ (ขุ.ธ.25/13/19) จากคาถาบาลีขา้ งต้นนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงลักษณะของจิตอีกนัยหนึ่งว่ามีลกั ษณะ 4 อย่าง คือ 1) ทูรงฺคมํ ไปได้ไกล หมายถึง รับอารมณ์ที่อยูไ่ กลได้ ทั้งที่เป็ นอารมณ์ในปัจจุบนั อดีตและอนาคต อารมณ์เหล่านั้นคนจะสามารถรับรู ้ได้กเ็ พราะอาศัยจิต 2) เอกจรํ เที่ยวไปแต่ผเู ้ ดียว หมายถึงจิตมีการเกิดดับที่ละขณะ กล่าวคือความคิดที่ เกิดขึ้นนั้นจะเกิดขึ้นทีละอย่างตามลําดับ ก่อนหลัง หรื อพูดง่าย ๆ ว่า จิตรับอารมณ์ได้ครั้งละ อารมณ์เดียวเท่านั้น 3) อสรี รํ ไม่มีรูปร่ าง หมายถึงจิตเป็ นพลังงานนามธรรมที่ไม่มีตวั ตนให้มองเห็น หรื อสัมผัสได้เหมือนกับร่ างกาย แต่กส็ ามารถไปไหนมาไหนได้ 4) คูหาสยํ มีถ้ าํ เป็ นที่อยูอ่ าศัย หมายถึง เมื่อว่าโดยส่ วนกว้างแล้วหมายถึงร่ างกาย แต่เมื่อว่าแคบ ๆ แล้วก็หมายถึงหทัยวัตถุ


13

ลักษณะของจิตที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในบาลีพระสู ตร 3 คาถาข้างต้น เป็ นการแสดง ลักษณะของจิต เพื่อมุ่งการฝึ กอบรมเป็ นสําคัญ มิได้มุ่งตรัสตามความหมายของศัพท์ตามหลักศัพ ทศาสตร์

ความสั มพันธ์ ระหว่ างกายกับจิต

นักปรัชญาบางคนอาจกล่าวว่า มนุษย์มีท้ งั กายและจิต โดยทั้งสอง เป็ นคนละอย่างกัน จิต เป็ นตัวบังคับบัญชาร่ างกายให้เป็ นไป เป็ นตัวควบคุมร่ างกาย บางคนอาจกล่าวว่า มนุษย์มีเพียง ร่ างกาย มนุษย์ไม่มีจิต ที่เรี ยกว่าจิตนั้น แท้จริ งเป็ นเพียงวัตถุที่ละเอียดเท่านั้น สิ่ งที่ส่งั ร่ างกายให้ เป็ นไปคือสมอง คนเมื่อตายไปแล้วก็สูญ ไม่มีอะไรเหลือ ชีวติ สิ้ นสุ ดที่เชิงตะกอน บางคนถือว่า จิตก็คือสมองนัน่ เอง พุทธศาสนาเห็นว่า มนุษย์มีส่วนประกอบสําคัญสองส่ วนคือ ร่ างกาย กับจิต และทั้งสอง อย่างไม่ได้เป็ นอย่างเดียวกัน แต่เป็ นคนละอย่าง ร่ างกายก็อย่างหนึ่ง จิตก็อย่างหนึ่ง จิตเพียงอาศัย ร่ างกายเป็ นอยู่ จิตกับสมองก็ไม่เหมือนกัน สมองเป็ นส่ วนของกาย แต่เป็ นเครื่ องมือของจิต ร่ างกาย เปรี ยบเหมือนรถตัวถังรถ สมองเปรี ยบเหมือนเครื่ องยนต์ จิตเปรี ยบเหมือนคนขับรถ ปกติวา่ รถยนต์ ถ้าตัวถังยังดี เครื่ องยนต์ไม่บกพร่ อง และคนมีความขับชํานาญ ย่อมนํารถไปสู่ ที่หมายได้ ตามปรารถนาและปลอดภัย แต่ถา้ หากว่า ตัวรถดี แต่เครื่ องยนต์ใช้การไม่ได้ แม้คนขับจะชํานาญ ก็นาํ รถไปไม่ได้ หรื อตัวรถก็ดีอยู่ เครื่ องยนต์กไ็ ม่เสี ย แต่ไม่มีคนขับ รถนั้นก็เหมือนกับรถตาย เคลื่อนไหวไม่ได้ หรื อถ้าตัวรถก็ยงั ดี เครื่ องก็ไม่เสี ย แต่คนขับเมา หรื อขับรถด้วยความประมาท ก็อาจจะพารถไปชนคนชนต้นไม้ หรื อพลิกคลํ่า ตกถนน เป็ นต้น มนุษย์เราก็เช่นเดียวกัน ถ้ามีร่างกาย สมอง และจิตบริ บูรณ์ดี ก็ยอ่ มนําชีวติ ไปสู่ ความสงบ สุ ขได้ รวมทั้งช่วยให้คนอื่นมีความสงบสุ ขด้วย แต่ถา้ มีแต่ร่างกายกับสมองแต่ไม่มีจิตเป็ นผู ้ สั่งงาน คนนั้นก็เหมือนคนนอนหลับ หรื อเหมือนคนตาย หรื อมีร่างกายบริ บูรณ์แต่สมองพิการ แม้จะมีจิตเป็ นผูส้ ่งั งาน ก็สั่งไม่ได้ เพราะเครื่ องมือคือสมองใช้การไม่ได้ หรื อร่ างกายและสมอง บริ บูรณ์ดี ไม่บกพร่ อง แต่จิตพิการ สุ ขภาพจิตไม่สมบูรณ์ เช่นเป็ นคนวิกลจริ ต หรื อเป็ นคนโลภ จัด โกรธจัด หลงจัด เป็ นต้น ก็ยอ่ มนําความพินาศ ความทุกข์เดือดร้อนมาให้แก่ตนและสังคมได้


14

เพราะฉะนั้น การพัฒนาจิตให้มีคุณภาพจิตสมบูรณ์ สะอาด สงบ สว่าง ปลอดจากกิเลส เพื่อใช้งานได้ดี จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ เพราะจิตเป็ นนายกายเป็ นบ่าว เมื่ออบรมจิตได้ดีแล้ว กายทั้งหมดก็ชื่อว่าได้รับการอบรมพัฒนาไปด้วย

..........................................................................................


15

ความหมายของสมาธิ ความหมายของสมาธิ คําว่า “สมาธิ” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525 : 774) ให้ความหมายว่า ความ ตั้งมัน่ แห่งจิต ความสํารวมจิตให้แน่วแน่ เพื่อเพ่งเล็งในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง โดยพิจารณาอย่างเคร่ งครัด เพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้งในสิ้ งนั้น พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2525 : 824) อธิบายว่า “สมาธิ” หมายถึง ความตั้งมัน่ ของจิต หรื อ ภาวะของจิตแน่วแน่ต่อสิ่ งที่กาํ หนด คําจํากัดความ ของสมาธิที่เราพบเสมอคือ จิตตัสเสกัคคตา หรื อเรี ยกสั้น ๆ ว่า เอกัคคตา ซึ่งแปลว่า ภาวะที่ จิตมีอารมณ์เป็ นหนึ่งคือการที่จิตกําหนดแน่วแน่กบั สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ไม่ฟุ้งซ่านหรื อส่ ายไป ในคัมภีร์รุ่ นอรรถกถา (วิสุทฺธิ.1/105) ระบุความหมายคําจํากัดความลงไปอีกว่า สมาธิ คือ ภาวะมีอารมณ์หนึ่งเดียวของกุศลจิต และไขความออกไปว่า หมายถึงการดํารงจิตและเจตสิ กไว้ ในอารมณ์หนึ่งเดียว อย่างเรี ยบสมํ่าเสมอ และด้วยดี สมาธิในพุทธศาสนา หมายถึง สัมมาสมาธิ ซึ่งเป็ นสมาธิที่ใช้ถูกทาง เพื่อจุดหมายในทาง หลุดพ้น เป็ นไปเพื่อปัญญาที่รู้เข้าใจสิ่ งทั้งหลายตามเป็ นจริ ง มิใช่เพื่อผลในทางสนองความอยาก ของตัวตน

ประเภทของสมาธิ

สมาธิ คือการทําจิตให้สงบ ให้เกิดความตั้งมัน่ จิตที่สงบที่เกิดความตั้งมัน่ จะก่อให้เกิด พลัง แล้วจะน้อมนําให้เกิดปัญญา ในคัมภีร์วสิ ุ ทธิมรรค (วิสุทธิ . 1/184) ท่านจําแนกสมาธิ ออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. ขณิ กสมาธิ สมาธิชว่ั ขณะ เป็ นสมาธิข้ นั ต้น ซึ่งคนทัว่ ไปสามารถนํามาใช้ ให้เป็ นประโยชน์ในการปฏิบตั ิหน้าที่การงานในชีวติ ประจําวันให้ได้ผลดี และใช้เป็ นจุดเริ่ มต้น ในการเจริ ญวิปัสสนาก็ได้ 2. อุปจารสมาธิ สมาธิเฉียด ๆ หรื อสมาธิจวนจะแน่วแน่ เป็ นสมาธิข้ นั ระงับนิวรณ์ ได้ก่อนที่จะเข้าสู่ ภาวะแห่งฌาน


16

3. อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่ หรื อสมาธิที่แนบสนิท เป็ นสมาธิระดับสู งสุ ด ซึ่งมี ในฌานทั้งหลายถือว่าเป็ นผลสําเร็จที่ตอ้ งการของการเจริ ญสมาธิ

สิ่ งที่ไม่ ใช่ สมาธิ

ลักษณะของจิตที่เป็ นใช่สมาธิ คือจิตที่ถูกครอบงําด้วย นิวรณ์ ซึ่งแปลว่า เครื่ องกีด กั้น เครื่ องขัดขวาง หมายถึง สิ่ งที่กีดกั้นการทํางานของจิต สิ่ งที่ ขัดขวางความดีงามของจิต สิ่ ง ที่ทอนกําลังปัญญา หรื อแสดงความหมายให้เป็ นวิชาการยิง่ ขึ้นว่า สิ่ งที่ก้ นั จิตไม่ให้กา้ วหน้าใน กุศลธรรม ธรรมฝ่ ายชัว่ ที่ก้ นั จิตไม่ให้บรรลุคุณความดีหรื ออกุศลธรรมที่ทาํ ให้จิตให้เศร้าหมอง และทําให้ปัญญาให้อ่อนกําลัง นิวรณ์มี 5 อย่าง (องฺ.ปญจก. 22/75/105)คือ 1. กามฉันทะ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์วา่ ความพอใจในกาม) หรื ออภิชชา คือความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้กามคุณ 5 คือ รู ป เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่ปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็ นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณ์ต่าง ๆ คิด อยากได้โน่นอยากได้น้ ี จิตที่ยงั พัวพันกับสิ่ งเหล่านี้ไม่อาจเป็ นสมาธิได้ จิตที่ถูกคุกคามด้วยกาม ราคะ (กามฉันท์) ครอบงําเปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ซึ่งเอาสี ต่าง ๆ ผสมปนไว้ คนตาดีมอง เงาหน้าของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่สามารถ รู ้เห็นได้ตามความเป็ นจริ ง 2. พยาบาท ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ความขัดใจ เกลียดชัง ความผูกใจเจ็บ การ มองโลกในแง่ร้าย การคิดร้ายมองเห็นคนอื่นเป็ นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู ้สึก ขัดใจไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มวั กระทบนั้นกระทบนี่ไม่อาจเป็ นสมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่เอาไฟเผาลนเดือดพล่าน มีไอพลุ่ง คนตาดีมองดูเงาหน้าของตน ในภาชนะนั้นก็ไม่รู้ไม่เห็นตามความเป็ นจริ ง 3 ถีนมิทธะ ความหดหู่และเซื่องซึม หรื อ เซ็ง แยกเป็ น ถีนะ ความหดหู่ ห่อเหี่ยว ถดถอย ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย กับมิทธะ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วงเหงาหาวนอน โงกง่วง อึดอาด มึนมัว อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็ นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการ ทางกายและทางใจอย่างนี้ครอบงําย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งานจึงไม่อาจ เป็ นสมาธิได้ เปรี ยบเสมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่ถูกสาหร่ ายและจอกแหนปกคลุม คนตาดีมองดูเงา หน้าของตนในภาชนะนั้นก็ไม่รู้ไม่เห็นตามความเป็ นจริ ง


17

4. อุทธัจจกกกุจจะ ความฟุ้ งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็ น อุทธัจจะ ความที่จิต ฟุ้ งซ่านไม่สงบซัดส่ าย พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุน่ วายใจ รําคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุง่ ใจ กลุม้ ใจ กังวลใจจิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงําย่อมพล่านไป ไม่อาจสงบลงได้ ไม่อาจ เป็ นสมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่ถูกลมพัดไหว กระเพื่อนเป็ นคลื่น คนตาดีมองดูเงา หน้าของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่อาจรู ้เห็นตามความเป็ นจริ งได้ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจ สงสัยเกี่ยวกับพระ ศาสดาพระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิ กขา เป็ นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรม ทั้งหลาย ตัดสิ นไม่ได้ เช่นว่าธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบตั ิหรื อไม่ จะได้ผล จริ งหรื อไม่ คิดแยกไปสองทาง กําหนดลงไม่ได้ จิตที่ถูกวิจิกกิจฉา ครอบงําไม่อาจแน่วแน่เป็ น สมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะใส่ น้ าํ ที่ข่นุ มัว เป็ นตม ซึ่งวางไว้ในที่มืด คนตาดีมองดูเงาหน้า ของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่รู้ไม่เห็นตามวามเป็ นจริ ง นิวรณ์ท้ งั 5 นี้ เป็ นสิ่ งที่เราจะต้องขจัดออกไป มิฉะนั้น จิตเราจะไม่สามารถ เป็ นสมาธิได้เลยเปรี ยบเหมือนคนที่จะออกไปนอกบ้าน ก็ตอ้ งเปิ ดประตูบา้ นเสี ยก่อนจึงจะ ออกไปข้างนอกบ้านได้

ลักษณะจิตที่เป็ นสมาธิ

จิตที่เป็ นสมาธิ หมายถึงภาวะจิตที่มีคุณภาพและมีสมรรถภาพที่ดีที่สุด ซึ่งมีลกั ษณะ ที่สาํ คัญพอกําหนดได้ดงั นี้ 1. แข็งแรง มีพลังมาก ท่านเปรี ยบไว้วา่ เหมือนกระแสนํ้าที่ถูกควบคุมให้ไหลไปใน ทิศทางเดียวย่อมมีกาํ ลังแรงกว่านํ้าที่ถูกปล่อยให้ไหลพร่ ากระจายออกไป 2. ราบเรี ยบ สงบซึ้ง เหมือนสระ หรื อบึงใหญ่ที่มีน้ าํ นิ่ง ไม่มีลมพัดต้อง ไม่มี สิ่ งรบกวนให้กระเพื่อมไหว 3. ใส กระจ่าง มองเห็นอะไร ๆ ได้ชดั เหมือนนํ้าสงบนิ่ง ไม่เป็ นริ้ วคลื่น และฝุ่ น ละอองที่มีกต็ กตะกอนนอกก้นหมด 4. นุ่มนวล ควรแก่การงาน หรื อเหมาะแก่การใช้งาน เพราะไม่เครี ยด ไม่กระด้าง ไม่วนุ่ ไม่สับสน ไม่เร่ าร้อน ไม่กระวนกระวาย ตามพระบาลี (ที.สี . 9/131/101; มู.มู.12/48/38) กล่าวถึงลักษณะจิตที่เป็ นสมาธิข้ นั สมบูรณ์ (ในองค์ฌาน) ไว้ 8 ประการคือ


18

1. สมาหิตะ ตั้งมัน่ 2. ปริ สุทธะ บริ สุทธิ์ 3. ปริ โยธาตะ ผ่องใส 4. อนังคณะ โปร่ งโล่งเกลี้ยงเกลา 5. วิคตูปกิเลส ปราศจากสิ่ งมัวหมอง 6. มุทุภูตะ นุ่มนวล 7. กัมมนียะ ควรแก่งาน 8. ฐิตะ อาเนญชัปปัตตะ อยูต่ วั ไม่วอกแวกหวัน่ ไหว พระอรรถกถาจารย์ ( วิสุทฺธิ. 3/37) ได้อธิบายเสริ มถึงลักษณะของสมาธิไว้วา่ สมาธิ ทําให้จิตตั้งอยูใ่ นอารมณ์อย่างสมํ่าเสมอ ทําให้องค์ธร รมทั้งหลายที่เกิดเป็ นสมาธิผนึก ประสานกันอยู่ ไม่พร่ า ไม่ฟุ้งกระจาย เหมือนนํ้าผนึกประสานแป้ งเข้าเป็ นก้อนเดียวกัน และทํา ให้จิตสื บต่ออย่างนิ่งแน่วแน่มงั่ คงเหมือนเปลวเทียนในที่สงัดลมติดไฟสงบนิ่ง ลุกไหม้ไปเรื่ อย ๆ ส่ องแสงสมํ่าเสมอเป็ นอย่างดี

จุดมุ่งหมายและประโยชน์ ของสมาธิ

ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิที่ใช้อย่างถูกต้องหรื อพูดตามศัพท์วา่ ความ มุ่งหมายของสัมมาสมาธิกค็ ือเพื่อเตรี ยมจิตให้พร้อมที่จะใช้ปัญญาอย่างได้ผลดี เป็ นสมาธิเพื่อ ปัญญา เพื่อการรู ้เห็นสิ่ งทั้งหลายความเป็ นจริ ง เพื่อทําความเห็นความเข้าใจให้ถูกต้องบริ สุทธิ์ แม้วา่ สมาธิจะมีความมุ่งหมายดังกล่าวมานี้กจ็ ริ ง แต่สมาธิกย็ งั มีคุณประโยชน์อย่าง อื่น ๆ ที่นอกเหนือไปจากจุดมุ่งหมายนั้นอีก ประโยชน์บางอย่างเป็ นพลอยได้ในระหว่างการ ปฏิบตั ิเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายของสมาธินนั่ เอง บางอย่างเป็ นประโยชน์ที่พิเศษออกไป ซึ่งต้อง อาศัยการฝึ กฝนยิง่ กว่าธรรมดา บางอย่างเป็ นประโยชน์ที่เกื้อกูลแก่ท่านที่ได้บรรลุจุดมุ่งหมาย ของสมาธิเสร็จสิ้ นไปแล้ว ซึ่งพระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) 2525 : 833) สรุ ปและประมวล ประโยชน์ของสมาธิไว้ดงั นี้ 1. ประโยชน์ ทเี่ ป็ นจุดมุ่งหมายหรืออุดมคติทางศาสนา 1) ประโยชน์ที่ตรงแท้ของข้อนี้คือ การเตรี ยมจิตให้พร้อมที่จะใช้ปัญญาพิจารณาให้ รู ้แจ้งสภาวะธรรมดาตามความเป็ นจริ ง เรี ยกตามศัพท์วา่ เป็ นบาทแห่งวิปั สสนาหรื อทําให้เกิด ยถาภูตญาณทัสสนะ คือ การรู ้เห็นตามความเป็ นจริ ง ซึ่งจะนําไปสู่ วชิ ชาและวิมุตติในที่สุด


19

2) ประโยชน์ที่รองมาในแนวเดียวกันนี้ แม้จะไม่ถือว่าเป็ นจุดหมายที่แท้จริ งคือการ บรรลุภาวะที่จิตหลุดพ้นจากกิเลสชัว่ คราว กล่าวคือหลุดพ้นจากกิเลสด้วยอํานาจพลังจิต โดยเฉพาะด้วยกําลังฌาน กิเลสถูกกําลังสมาธิกด ข่มหรื อทับไว้ ตลอดเวลาที่อยูใ่ นสมาธิน้ นั เรี ยกตามศัพท์วา่ วิกขัมภนวิมุตติ 2. ประโยชน์ในด้านการสร้างความสามารถพิเศษเหนือสามัญวิสัย ที่เป็ นผลสําเร็จ อย่างสู งในทางจิต หรื อเรี ยกว่า ประโยชน์ในด้านอภิญญา ได้แก่การใช้สมาธิระดับฌานสมาบัติ เป็ นฐาน ทําให้เกิดฤทธิ์และอภิญญาขั้นโลกียอ์ ื่น ๆ เช่น หูทิพย์ ตาทิ พย์ ทายใจคนอื่นได้ ระลึก ชาติได้ เป็ นต้น 3. ประโยชน์ในด้านสุ ขภาพจิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ เช่น ทําให้เป็ นผูม้ ีจิตใจ และมีบุคลิก ลักษณะเข้มแข็งหนักแน่น มัน่ คง สงบ เยือกเย็น สุ ภาพ นิ่มนวล สดชื่น ผ่องใส กระฉับกระเฉง กระปรี้ กระเปร่ า เบิกบาน งามสง่า มีเมตตา กรุ ณา รู ้จกั ตนและผูอ้ ื่นตามความ เป็ นจริ ง เตรี ยมจิตให้อยูใ่ นสภาพพร้อมและง่ายแก่การปลูกฝังคุณธรรมต่าง ๆ และเสริ มสร้างนิ นัยที่ดี รู ้จกั ทําใจให้สงบและสะกดยั้งผ่อนเบาความทุกข์ที่เกิดขึ้นในใจได้ เรี ยกง่าย ๆ ว่า มี ความมัน่ คงทางอารมณ์และมีภูมิคุม้ กัน โรคจิต ประโยชน์ขอ้ นี้จะเพิ่มพูนยิง่ ขึ้นในเมื่อใชิจิตที่ สมาธิน้ นั เป็ นฐานปฏิบตั ิตามหลักสติปัฏฐาน คือ ดําเนินชีวติ อย่างมีสติรู้เท่าทันพฤติกรรมทาง กาย วาจา ความรู ้สึกนึกคิด และภาวะจิตใจของตนที่เป็ นไปต่าง ๆ มองอย่างเอาเป็ นความรู ้ สําหรับใช้ประโยชน์อย่างเดียว ไม่ยอมเปิ ดช่องให้ประสบการณ์และความเป็ นไปเหล่านั้นก่อพิษ เป็ นอันตราย แก่ชีวติ จิตใจของตนได้เลย ประโยชน์ขอ้ นี้ยอ่ มเป็ นไปในชีวติ ประจําวันด้วย 4. ประโยชน์ ในชีวติ ประจําวัน 1) ช่วยทําให้จิตผ่อนคลาย หายเครี ยด เกิดความสงบ หายกระวนกระวายกลัด กลุม้ วิตกกังวล เป็ นเครื่ องพักผ่อนกายให้ใจสบายและมีความสุ ข เช่นบางคนทําอาณาปนสติ (กําหนดลมหายใจเข้าออก) ในเวลาจําเป็ นต้องรอคอยและไม่มีอะไรที่จะทํา เหมือนเวลานัง่ ติด ในรถประจําทางหรื อปฏิบตั ิสลับแทรกในเวลาทํางานใช้สมองหนักเป็ นต้น 2) เสริ มสร้างประสิ ทธิภาพในการทํางาน การศึกษาและการทํากิจทุกอย่างให้ดี ยิง่ ขึ้น เพราะจิตที่เป็ นสมาธิ แน่วแน่อยูก่ บั สิ่ งที่กาํ ลังทํา ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่วอกแวก ไม่เลื่อนลอย ย่อมช่วยให้เรี ยน ให้คิด ให้ทาํ งานได้ผลดี การทํางานก็เป็ นไปโดยรอบคอบ ไม่ผดิ พลาดและ ป้ องกันอุบตั ิเหตุได้ดี เพราะเมื่อมีสมาธิกย็ อ่ มมีสติกาํ กับอยูด่ ว้ ย 3) ช่วยเสริ มสุ ขภาพกายและใช้แก้ไขโรคได้ ร่ างกายกับจิตใจอาศัยกันและมี อิทธิพลต่อกันปุถุชนทัว่ ไปเมื่อกายไม่สบาย จิตใจก็พลอยอ่อนแอ เศร้าหมองขุ่นมัว ครั้นเสี ยใจ


20

ไม่มีกาํ ลังใจ ก็ยงิ่ ซํ้าโรคทางกายนั้นให้ทรุ ดหนักลงไปอีก แม้ในเวลาที่ร่างกายปกติพอประสบ เรื่ องราวให้เศร้าเสี ยใจรุ นแรงก็ลม้ ป่ วย เจ็บไข้ไปได้ ส่ วนผูม้ ีจิตใจเข้มแข็งสมบูรณ์ (โดยเฉพาะผู ้ ที่มีจิตหลุดพ้นเป็ นอิสระแล้ว) เมื่อเจ็บป่ วยก็ไม่สบายอยูแ่ ค่กายเท่านั้น จิตใจไม่พลอยป่ วยไป ด้วย ยิง่ กว่านั้นกลับใช้ใจที่สบาย มีกาํ ลังจิตเข้มแข็งนั้นบรรเทาหรื อผ่อนเบาโรคทางกายได้อีก ด้วย อาจทําให้โรคหายง่ายและไวขึ้น หรื อแม้แต่ใช้กาํ ลังสมาธิระงับทุขเวทนาทางกายไว้กไ็ ด้ (ที.ม.10/93/117, ส.ส.15/122/38. )ในด้านดีผมู ้ ีใจผ่องใส เบิกบาน ย่อมช่วยให้กายเอิบอิ่ม ผิวพรรณผ่องใส สุ ขภาพกายดีเป็ นภูมิคุม้ กันโรคไปในตัว ความต้องการนี้มีผลต่ออัตราส่ วนของความต้องการและ การเผาผลาญให้พลังงานของร่ างกายด้วย เช่นจิตใจที่สบาย ผ่องใส สดชื่น เบิกบานนั้น ต้องการอาหารน้อยลงในการที่จะทําให้ร่างกายสมบูรณ์ผอ่ งใส มิใช่เฉพาะจิตใจดีจะช่วยเสริ ม ให้สุขภาพดีเท่านั้น โรคกายหลายอย่างเป็ นเรื่ องของจิตใจสัมพันธ์เกิดจากความแปรปรวนทาง จิตใจ เช่นความโกรธ ความกลุม้ กังวลทําให้ เกิดโรคปวดศีรษะบางอย่าง เมื่อทําจิตใจให้ดีดว้ ย วิธีอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะช่วยแก้ไขโรคเหล่านั้นได้ ประโยชน์ขอ้ นี้จะสมบูรณ์ต่อเมื่อมีปัญญาที่ รู ้เท่าทันสภาวธรรมประกอบอยูด่ ว้ ย ถ้าสรุ ปตามพระบาลี(ที.ปา. 11/233/233.) การฝึ กอบรมเจริ ญสมาธิมีวตั ถุประสงค์ ที่จะนําไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ “ภิกษุท้ งั หลาย สมาธิภาวนามี 4 อย่างดังนี้คือ 1. สมาธิภาวนาที่เจริ ญแล้ว ทําให้มากแล้ว ย่อมเป็ นไปเพื่อทิฎฐธรรมสุ ขวิหาร (การ อยูเ่ ป็ นสุ ขในปัจจุบนั ) 2. สมาธิภาวนาที่เจริ ญแล้ว ทําให้มากแล้ว ย่อมเป็ นไปเพื่อการได้ญาณทัสสนะ 3. สมาธิภาวนาที่เจริ ญแล้ว ทําให้มากแล้ว ย่อมเป็ นไปเพื่อสติและสัมปชัญญะ 4. สมาธิภาวนาที่เจริ ญแล้วทําให้มากแล้วย่อมเป็ นไป เพื่อความสิ้ นไปแห่งอาสวะทั้ง หลาย” ข้อที่ 1 บาลีขยายว่า ได้แก่ฌาน 4 ข้อนี้กค็ ือ การเจริ ญฌานในลักษณะที่เป็ นวิธีหา ความสุ ขแบบหนึ่งตามหลักที่แบ่งความสุ ขเป็ น 10 ขั้น ซึ่งประณี ตขึ้นไปตามลําดับคือ กามสุ ข สุ ขในรู ปฌาน 4 สุ ขในรู ปฌาน 4 ขั้น และสุ ขในนิโรธสมาบัติ พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ ทั้งหลายนิยมเจริ ญฌานในโอกาสว่าง เพื่อเป็ นการพักผ่อนอย่างสุ ขสบาย ที่เรี ยกว่า ทิฏฐธรมสุ ข วิหาร


21

ข้อที่ 2 บาลีขยายความว่า ได้แก่การมนสิ การอวโลกสัญญา (กําหนดหมายใน แสงสว่าง) อธิฐานทิวาสัญญา (กําหนดหมาย่าเป็ นกลางวัน) เหมือนกันทั้งกลางวันและ กลางคืน มีใจเปิ ดโล่งไม่ถูก นิวรณ์ห่อหุม้ ให้เป็ นจิตที่มีความสว่าง อรรถกถาอธิบายว่าการได้ ญาณทัสสนะ ในที่น้ ีหมายถึงการได้ทิพยจักษุ และท่านกล่าวว่าทิพยจักษุน้ นั เป็ นยอดของโลกีย อภิญญา ทั้ง 5 (อีก 4 คือ อิทธิวธิ ี ทิพยโสตเจโตปริ ยญาณ และปุพเพนิวาสานุสติญาณ) บางแห่ง ท่านกล่าวถึงญาณทัสสนะนี้คาํ เดียว หมายคลุมถึงโลกียอ์ ภิญญาหมดทั้ง 5 ดังนั้น ประโยชน์ขอ้ นี้จึงหมายถึงการนําเอาสมาธิไปใช้เพื่อผลสําเร็จทางจิตคือ ความสามารถพิเศษจําพวกอภิญญา รวมทั้งอิทธิปาฏิหาริ ย ์ ข้อที่ 3 คือการตามดูรู้ทนั ความรู ้สึกนึกคิดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นดับไป ในความเป็ นอยู่ ประจําวันของคน ดังบาลีไขความว่า เวทนา สัญญา และวิตกทั้งหลายจะเกิดขึ้น จะตั้งอยู่ จะ ดับไป ก็เป็ นไป โดยรู ้ชดั ข้อที่ 4 บาลีขยายความว่า ได้แก่ การเป็ นอยูโ่ ดยใช้ปัญญาพิจารณาเห็นอยูเ่ สมอ ถึงความเกิดขึ้นและความเสื่ อมสิ้ นไปในอุปาทานขั้น 5 ว่า รู ปเป็ นดังนี้ ความเกิดขึ้นของรู ปเป็ น ดังนี้ ความดับไปของรู ปเป็ นดังนี้ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็ นดังนี้ เกิดขึ้นดังนี้ ดับไปดังนี้ มองอย่างกว้าง ๆ ก็คือ การใช้สมาธิเพื่อปัญญา เป็ นอุปกรณ์ในการเจริ ญวิปัสสนา อย่างที่เรี ยกว่าเป็ นบาทฐานของวิปัสสนา เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายสู งสุ ดคือ อาสวักขยญาณ หรื อ วิชชาวิมุตติ ในคัมภีร์ช้ นั อรรถกถา ท่านก็ได้สรุ ปอานิสงส์ คือ ผลต่าง ๆ ของสมาธิสภาวนา หรื อการฝึ กสมาธิดงั ที่แสดงไว้ในวิสุทธิมรรถ (วิสุทธิ . 2/195-6.)มี 5 ประการ คือ 1. เป็ นวิธีการพักผ่อนอย่างเป็ นสุ ขสบายในปัจจุบนั ข้อนี้เป็ นอานิสงส์ของ สมาธิข้ นั อัปปนา คือระดับฌาน สําหรับพระอรหันต์ ซึ่งเป็ นผูท้ าํ กิจเพื่อความหลุดพ้นเสร็จสิ้ น แล้ว ไม่ตอ้ งใช้ฌานเพื่อบรรลุภูมิธรมใด ๆ ต่อไปอีก 2. เป็ นบาทหรื อเป็ นปทัฎฐานแห่งวิปัสสนา ข้อนี้เป็ นอานิสงส์ของสมาธิข้ นั อัปปนา ก็ได้ หรื อขั้นอุปจาระก็พอได้แต่ไม่โปร่ งนัก ประโยชน์ขอ้ นี้สาํ หรับพระเสขะและปุถุชน 3. บาทหรื อเป็ นทัฎฐานแห่งอภิญญา ข้อนี้เป็ นอานิสงส์ของสมาธิข้ นั อัปปนา สําหรับผูไ้ ด้สมาบัติ 8 แล้ว เมื่อต้องการอภิญญาก็อาจทําให้เกิดขึ้นได้ 4. ทําให้ได้ภพวิเศษ คือ เกิดในภพที่ดีที่สูง ข้อนี้เป็ นอานิสงส์ของสมาธิข้ นั อัปปนา สําหรับปุถุชนผูไ้ ด้ฌานแล้ว และฌานมิได้เสื่ อมไปเสี ย ทําให้เกิดในพรหมโลก


22

5. ทําให้เข้านิโรธสมาบัติได้ ข้อนี้เป็ นอานิสงส์ของสมาธิข้ นั อัปปนา สําหรับผูไ้ ด้ ฌานสมาบัติ 8 แล้ว ทําให้เสวยความสุ ขอยูไ่ ด้โดยไม่มีจิตตลอด 7 วัน อ้าง ณาณในนิโรธ สมาบัติ ในปฏิสัมภิทามมรรค (ขุ. ปฏิ. 31/225/147.) การทําความเข้าใจเรื่ องประโยชน์หรื อความมุ่งหมายในการเจริ ญสมาธิจะช่วยป้ องกัน ความเข้าใจผิดพลาดเกี่ยวกับเรื่ องสมาธิและชีวติ ของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาได้เป็ นอันมาก เช่น ความเข้าใจผิดว่าการบําเพ็ญสมาธิเป็ นเรื่ องของการถอนตัว ไม่เอาใจใส่ ในกิจการของสังคม หรื อชีวติ พระสงฆ์เป็ นชีวติ ที่ปลีกตัวออกจากสังคมโดยสิ้ นเชิง ไม่รับผิดชอบต่อสังคมเป็ นต้น การเข้าใจสมาธิที่ถูกต้องจะช่วยให้เรามีทศั นคติที่ถูกต้อง สมาธิเป็ นเพียงวิธีการเพื่อเข้าถึงจุดหมาย ไม่ใช่ตวั จุดหมาย การเจริ ญสมาธิโดยทัว่ ไปก็ มิใช่จะต้องมานัง่ เจริ ญอยูท่ ้ งั วันทั้งคืน และการปฏิบตั ิกม็ ีมากมายเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม กับจริ ตของตน ประโยชน์ของสมาธิและฌานที่ตอ้ งการในพุทธธรรม ก็คือภาวะจิตที่เรี ยกว่า นุ่มนวล ควรแก่การงาน ซึ่งจะนํามาใช้เป็ นที่ปฏิบตั ิการของปัญญาต่อไป มิใช่สมาธิไปในทางที่ ผิด เช่น ต้องการอิทธิฤทธิ์ บอกหวย หรื อ มุ่งร้ายผูอ้ ื่นเป็ นต้น พระพุทธเจ้าไม่สนับสนุน เป็ นมิจฉาสมาธิ

...........................................................................................


23

วิธีเจริญสมาธิ : ขั้นเตรียมความพร้ อม ความนํา

ผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิสมาธิเพื่อพัฒนาจิตของตน เมื่อเข้าใจเกี่ยวกับสมาธิเบื้องต้นแล้ว และก่อน จะเลือกอารมณ์กรรมฐานอันเหมาะกับจริ ตของตน ควรสํารวจปัจจัยสิ่ งแวดล้อมรอบตัวทั้ง ภายในและภายนอกเสี ยก่อน

ขั้นการเตรียมความพร้ อม

1. สั ปปายะ : สิ่ งแวดล้อมภายนอก การทําสมาธิโดยทัว่ ไป ถือว่า สิ่ งแวดล้อม มีอิทธิพลต่อความเสื่ อมและความเจริ ญ ของบุคคล กล่าวถือ ถ้าคนเราได้ส่ิ งแวดล้อมดี เช่น เพื่อนดี มีการศึกษาอบรมดี มีที่ยอู่ าศัยถูก สุ ขลักษณะ เป็ นต้น คนนั้นก็มีความเจริ ญก้าวหน้าในชีวติ ได้ แต่ถา้ ได้ส่ิ งแวดล้อมที่ตรงกันข้าม เช่น เพื่อนชัว่ คนนั้นก็จะถูกจูงไปในทางเสื่ อมได้ หรื อทําให้คนนั้นพัฒนาตนเองให้กา้ วไปได้ ยาก สิ่ งแวดล้อมที่พุทธศาสนายํ้าก็คือเรื่ องมิตรหรื อบุคคล ในการฝึ กอบรมจิตหรื อการทําสมาธิ ก็เริ่ มต้นที่ส่ิ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทําสมาธิ ทั้งหมด ที่จะทําให้เอื้ออํานวยต่อการทําสมาธิได้โดยสะดวกสบาย สิ่ งเอื้ออํานวยนี้ทางพุทธ ศาสนาเรี ยกว่า สัปปายะ (วิสุทฺธิ.1/161) สัปปายะ หมายถึง สิ่ งที่เหมาะสมกัน สิ่ งที่เกื้อกูล ช่วยสนับสนุนในการบําเพ็ญภาวนา ให้ได้ผลดีช่วยให้สมาธิต้ งั มัน่ ไม่เสื่ อมถอย มี 7 อย่างคือ 1. อาวาสสัปปายะ มีสถานที่เหมาะสมในการทําสมาธิ ไม่มีเสี ยงดังรบกวน ไม่วนุ่ วายด้วยผูค้ นที่จะมาก่อกวนความสงบ ในการฝึ กจิต อาวาสหรื อที่อยูม่ ีความสําคัญมากอย่างหนึ่ง ซึ่งผูฝ้ ึ กจิตจะต้องคํานึงถึง ให้มาก เพราะถ้าได้ที่อยูโ่ ดยเฉพาะสถานที่ฝึกจิตไม่เหมาะสม ไม่ดี เช่นมีเสี ยงรบกวน อึกทึก หรื อเสี ยงคนคุยกัน สถานที่อยูใ่ นย่านคนพลุกพล่านเกินไป เป็ นต้น จิตจะสงบได้ยาก แต่ถา้ ได้ สถานที่เหมาะสม เช่นสถานที่เงียบสงบ ในป่ าหรื อโคนต้นไม้ในที่ไม่มีผคู ้ นพลุกพล่านหรื อ สัญจรไปมา จิตจะสงบได้ง่าย ด้วยเหตุน้ ี เมือกล่าวถึงสถานที่เจริ ญสมาธิ พระพุทธเจ้าจึงตรัสชี้ไป ที่ป่า โคนต้นไม้ หรื อเรื อนว่าง ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้วา่ "ภิกษุท้ งั หลาย ภิกษุในพระศาสนานี้


24

ไปสู่ ราวป่ า ไปสู่ โคนไม้หรื อสุ ญญาคาร (เรื อนว่าง) แล้ว นัง่ ขัดสมาธิ ตั้งกายให้ตรง ดํารงสติให้ มัน่ " (ที.มหา.10/274/324) ฉะนั้น พระภิกษุหรื อนักบําเพ็ญสมาธิทางพุทธศาสนาในประเทศไทย เช่น หลวงปู่ มัน่ ภูริทตฺ โต หลวงปู่ ฝั้น อาจาโร หลวงพ่อวิริยงั ค์ สิ รินฺทโร หลวงตามหาบัว ญาณสมฺ ปนฺ โน เป็ น ต้น จึงมักเลือกป่ า โคนต้นไม้หรื อสถานที่อนั เงียบสงบเพื่อประโยชน์ในการบําเพ็ญสมาธิ 2. โคจรสัปปายะ การไปมาสะดวก ไม่ลาํ บากหรื อกันดารเกินไป เมื่อเจ็บป่ วยไข้ ไปหาหมอได้ในคราวจําเป็ นได้ โคจรสัปปายะ นี้ สําหรับบรรพชิต ท่านหมายถึง สถานที่เที่ยวไปบิณฑบาต คือถ้า เที่ยวไปบิณฑบาตในสถานที่ใด ในทิศใด จิตไม่วนุ่ วาย ไม่ฟุ้งซ่าน สถานที่น้ นั จัดเป็ นสัปปายะ 1. ภัสสสัปปายะ การพูดคุยที่เหมาะสมกัน เช่น พูดเล่าขานแต่ในเรื่ องกถาวัตถุ 10 เช่น เรื่ องความมักน้อย เรื่ องความสันโดษ เรื่ องความสงัด เรื่ องความไม่คลุกคลี เรื่ องการปรารภความ เพียร เรื่ องศีล เรื่ องสมาธิ เรื่ องปัญญา เรื่ องวิมุตติ เรื่ องความรู ้เห็นในวิมุตติ และพูดแต่ พอประมาณ 2. ปุคคลสัปปายะ บุคคลที่ถูกกันเหมาะกัน เช่นมีท่านผู ้ ทรงคุณธรรม ทรงภูมิปัญญา เป็ นที่ปรึ กษาเหมาะใจ 3. โภชนสัปปายะ อาหารที่เหมาะกัน เช่น ถูกกับร่ างกาย เกื้อกูลต่อสุ ขภาพ รับประทาน ง่ายไม่ยาก อีกประการหนึ่ง ผูป้ ฏิบตั ิสมาธิตอ้ งรู ้จกั ประมาณในการบริ โภคอาหาร ไม่ให้มาก เกินไป ไม่ให้นอ้ ยเกินไป เพราะถ้าอิ่มมากเกินไปจะทําให้ง่วงนอนและอึดอัด ถ้าน้อยเกินไปก็จะ ทําให้หิวกระวนกระวาย จึงควรรู ้จกั บริ โภคอาหารแต่พอประมาณ 4. อุตุสัปปายะ ดินฟ้ าอากาศธรรมชาติแวดล้อมที่เหมาะสมกัน เช่น ไม่หนาว เกินไป ไม่ร้อนเกินไป เป็ นต้น 5. อิริยาปถสัปปายะ อิริยาบถที่เหมาะสมกัน เช่น บางคนถูกกับการเดินจงกรม บางคน ถูกกับการนัง่ บางคนถูกกับการนอน บางคนถูกกับการยืน ตลอดจนมีการเคลื่อนไหวที่พอดี สัปปายะทั้ง 7 ประการนี้น้ นั เป็ นส่ วนประกอบในการทําสมาธิเพื่อพัฒนาจิตให้เกิด ความรู ้แจ้งเห็นจริ งในสัจธรรมต่อไปท่านเปรี ยบเหมือนกับสถานที่ศึกษาตั้งแต่ข้ นั อนุบาลจึงถึง มหาวิทยาลัย ก็ยอ่ มมีสัปปายะแก่ผศู ้ ึกษาเล่าเรี ยนหรื อค้นคว้า เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ มี สติปัญญาแตกฉานยิง่ ๆ ขึ้นไป


25

ทั้งหมดนี้คือการสํารวจความพร้อมภายนอก ซึ่งเป็ นสิ่ งที่เอื้ออํานวยหรื อเหมาะสมใน การทําสมาธิให้จิตสงบง่าย เพื่อเป็ นการย่นระยะในการสมาธิให้ได้รับผลเร็วยิง่ ขึ้น สําหรับ เริ่ มทําสมาธิใหม่ ๆ ควรมีเพื่อนที่ดีคอยแนะนํา ให้กาํ ลังใจการการทําสมาธิ เรี ยกว่าสหธรรมิก เพื่อนผูห้ วังดีติดต่อกันได้ 2. ปลิโพธ : สิ่ งแวดล้อมภายใน ปลิโพธ แปลว่า เครื่ องผูกพันหรื อหน่วงเหนี่ยว ซึ่งเป็ นเหตุให้ใจพะวักพวนห่วง กังวล ไม่โปร่ ง หรื อเรี ยกง่าย ๆ ว่า ความกังวล เมื่อมีปลิโพธ ก็จะทําให้การปฏิบตั ิกา้ วหน้าไป ได้ยาก ไม่อาํ นวยโอกาสแก่การเกิดสมาธิ จึงต้องกําจัดเสี ย ปลิโพธนั้น ท่านแสดงไว้ 10 อย่าง (วิ สุ ทฺธิ 1/1122) คือ 1. ห่วงที่อยู่ หรื อห่วงเรื อนของตน รวมทั้งทรัพย์สินเงินทองที่อยูใ่ นเรื อน แกรงว่าจะไม่มี ใครดูแล 2. ห่วงตระกูล คือมีความกังวลถึงคนในตระกูล ทําให้คิดถึงเมื่อไม่ได้ไปเยีย่ มเยียนกัน ไม่ได้พบหน้ากัน ห่างไปใจคอยห่วง 3. ห่วงลาภ คือห่วงรายได้หรื อผลประโยชน์ที่ตนจะพึงได้รับหรื อเกรงว่าจะตกตํ่าหรื อ เสี ยหาย 4. ห่วงหมู่คณะ เช่น ห่วงมิตร ศิษย์ อาจารย์ บริ วาร หรื อผูท้ ี่รู้จกั คุน้ เคย เกรงว่าจะขาดการ ช่วยเหลือ ขาดการติดต่อหรื อขาดสมาคม 5. ห่วงการงาน คือห่วงกิจการที่กาํ ลังทําอยู่ เช่น แต่งหนังสื อ การก่อสร้าง การสั่งสอน 6. ห่วงการเดินทาง คือเป็ นห่วงการเดินทางไกลเพื่อพัดผ่อน หรื อเพื่อทําธุระอย่างใด อย่างหนึ่ง 7. ห่วงญาติ คือห่วงพ่อแม่ ปู่ ยา ตายาย หรื อญาติพี่นอ้ ง เกรงว่าจะเดือดร้อน หรื อเจ็บไข้ ได้ป่วย หรื อเป็ นอันตราย หรื อเกรงว่าจะไม่มีใครอุปการะช่วยเหลือดูแล 8. ห่วงการเจ็บป่ วย คือเป็ นห่วงโรคภัยที่มีอยูใ่ นตน เกรงว่าจะกําเริ บ ต้องรักษาให้หาย เสี ยก่อน หรื อต้องเป็ นกังวลในการรักษา 9. ห่วงการศึกษา คือถ้าเป็ นนักศึกษา ก็เป็ นห่วงการศึกษาเล่าเรี ยน เกรงว่าจะมีเวลาดู หนังสื อไม่ทนั สอบ


26

10. ห่วงอํานาจ คือเป็ นห่วงอํานาจวาสนาของตน หรื อฤทธิ์เดชที่ตนมีอยู่ เกรงว่าจะเสื่ อม หรื อทําลายลงหรื อถูกแย่งชิง ไม่ได้ใช้อาํ นาจนั้น หรื อฤทธิ์มีอาํ นาจก็เป็ นเหตุให้กงั วัล ถ้าผูใ้ ดมีความเป็ นห่วงกังวลอยู่ ก็ยากที่จะปฏิบตั ิสมาธิได้ ซึ่งสิ่ งเหล่านี้ปัจจัยแวดล้อม ภายในที่ควรจะกําจัดให้หมดไป ความกังวลหรื อความเป็ นห่วงเหล่านี้ ไม่เป็ นการเหลือวิสัยที่จะสลัดออกจากจิตใจ ผู ้ ปฏิบตั ิจะต้องทําไว้ในใจว่า สิ่ งที่เป็ นห่วงหรื อกังวลนี้มีความสําคัญน้อยกว่าผลที่ได้รับจากการ ปฏิบตั ิสมาธิ 3 : อิริยาบถ 4 ในการฝึ กจิตนั้น เพื่อให้เกิดความเจริ ญในการฝึ ก ผูฝ้ ึ กจิตจะต้องมีสติและ สัมปชัญญะอยูท่ ุกอิริยาบถ ไม่วา่ จะอยูใ่ นอิริยาบถใด คือ ยืน เดิน นัง่ และนอน 1) อิริยาบถยืน วิธียนื ยืนท่าสงบ สายตาทอดทง โดยยืนตัวตรง ยืนตามสบาย อย่าเกร็งตัว เอา มือซ้ายวางบนท้องแล้วเอามือขวาทับบนมือซ้าย แล้วเริ่ มกําหนดลมหายใจเข้าออก เมื่อลมหายใจ เข้าบริ กรรมว่า "พุท" หายใจออก บริ กรรมว่า "โธ" หรื ออย่างใดอย่างหนึ่ง บริ กรรมอย่างนี้ กลับไปกลับมาเรื่ อย ๆ จนกว่าจะเปลี่ยนอิริยาบถ 2) อิริยาบถเดิน อิริยาบถนี้เรี ยกว่า เดินจงกรม หมายถึง เดินก้าวไป เป็ นวิธีฝึกสมาธิที่นิยมกันมาก ตั้งแต่สมัยพุทธกาลจนถึงปัจจุบนั เพราะจะได้ประโยชน์ท้ งั การบริ หารกายและจิต ซึ่งมีประวัติ ความเป็ นมาว่า ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าและพระสาวกของพระองค์ มักจะเดินจงกรมเป็ น ประจํา เพราะช่วยในด้านสุ ขภาพเป็ นอย่างดี พระพุทธเจ้า แม้พระองค์จะได้ตรัสรู ้หมดกิเลสแล้ว พระองค์กไ็ ม่ทรงละทิ้งการเดินจงกรมทั้งนี้กเ็ พื่อบริ หารพระวรกายของพระองค์ดงั ปรากฏ หลักฐานทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น ในประวัติของยสกุลบุตรผูเ้ บื่อหน่ายการครองเรื อนเดิน หนีออกจากบ้านในเมืองพาราณสี มุ่งหน้าไปสู่ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พร้อมกับเปล่งอุทานว่า "ที่นี่วนุ่ วายหนอ ที่นี่ขดั ข้องหนอ " ในสมัยนั้น พระพุทธเจ้าเสด็จลุกขึ้นในเวลาใกล้รุ่ งแห่งราตรี แล้วเดินจงกรมอยูใ่ นที่แจ้ง พระองค์ได้ทรงทอดพระเนตรเห็น ยสกุลบุตรเดินมาแต่ไกล จึงได้ เสด็จลงจากทางเดินจงกรม ประทับลงบนอาสนะที่ทรงปูไว้แล้วได้ตรัสกับ ยสกุลบุตรว่า "ที่นี่


27

แลไม่วนุ่ วาย ที่นี่ไม่ขดั ข้อง จงมาเถิด ยสะ จงนัง่ ลง เราจักแสดงธรรมแก่เธอ " และเมื่อได้ฟัง ธรรมแล้วในที่สุด ยสกุลบุตรก็ได้สาํ เร็จพระอรหันต์ (วินย.4/26/30) วิธีเดินจงกรม คือยืนตรงจุดเริ่ มต้นทางเดินจงกรม เอามือลง ใช้มือขวาจับข้อมือซ้าย วางไว้ตรงท้องห้อยมือพอสบายไม่เกร็งกําหนดจิตไว้ที่หน้าผาก ไม่ตอ้ งหลับตา ตามองทางเดิน จงกรม ไกลกว่าตัวประมาณ 1.5-2 เมตร พนมมือระหว่างอก แล้วหลับตากล่าวคําอธิษฐานแล้วยก มือขึ้นระหว่างคิ้ว กล่าวคําว่า สาธุ เริ่ มบริ กรรมคําว่า “พุทโธ” ๆ อยูใ่ นใจ พร้อมก้าวเท้าขวาเดิน ตามด้วยเท้าซ้าย ไม่ชา้ หรื อเร็วเกินไปในลักษณะเดินปกติ เมือเดินสุ ดทางเดินจงกรม ให้ค่อย ๆ หมุนตัวกลับทางขวา ยืนทรงตัวตรง แล้วจึงเริ่ มก้าวเท้าขวาเหมือนตอนเริ่ มต้น เมื่อครบตามเวลา ที่กาํ หนด ให้ยนื ตรงจุดเริ่ มต้นเดิน พนมมือระหว่างอก กล่าวคําแผ่เมตตา เสร็จแล้วพนมมือขึ้น ระหว่างคิว้ กล่าวในใจว่า “สาธุ” คําว่ าอธิษฐานก่อนเดินจงกรม “เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา พุทโธ พุทโธ พุทโธ คําแผ่ เมตตาหลังเดินจงกรม “สพฺเพ สตฺ ตา สุ ขิตา โหนฺ ต”ุ ขอให้สัตว์ท้ งั หลายจงเป็ นสุ ข ๆ เถิด ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา (องฺ .ป�ฺ จก.22/29/31) พระพุทธเจ้าตรัสถึงประโยชน์ของ การเดินจงกรมไว้วา่ เป็ นผูอ้ ดทนต่อการเดินทางไกล เป็ นผูอ้ ดทนต่อการทําความเพียร เป็ นผูม้ ี อาพาธน้อย อาหารที่บริ โภคเข้าไปย่อยง่ายและสมาธิที่ได้ในขณะเดินจงกรมอยูไ่ ด้นาน 3) อิริยาบถนั่ง วิธีนงั่ สมาธิ นัง่ เหมือนพระพุทธรู ป คือนัง่ เอาขาขวาทับขาซ้าย ตั้งกายให้ตรง ดํารงสติให้มนั่ แล้วพนมมือขึ้นเพื่อกล่าวคําอธิษฐาน เสร็จแล้วเอามือขวาทับมือซ้ายวางไว้ที่ ตัก หลับตาบริ กรรมคําว่า "พุทโธ" จนกว่าจะเลิกตามเวลาที่กาํ หนด เสร็จแล้วพนมมือขึ้นกล่าวคํา แผ่เมตตาหลังนัง่ สมาธิ ถ้าจําเป็ นต้องนัง่ บนเก้าอี้ วิธีนงั่ เก้าอี้ ให้นง่ั ห้อยเท้าลงตามสบาย ตั้งกายให้ตรง หรื อ หลังพิงเก้าอี้กไ็ ด้ ยกมือพนมระหว่างออก กล่าวคําอธิษฐานแล้วแผ่เมตตา เช่นเดียวกับการนัง่ พื้น คําอธิษฐานก่อนนั่งสมาธิ "ข้าพเจ้า ระลึกถึง คุณพระพุทธเจ้า คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ คุณบิดามารดา คุณครู บาอาจารย์ จงมาดลบันดาล ให้ใจของข้าพเจ้า จงรวมลงเป็ นสมาธิ


28

พุทโธ ธัมโม สังโฆ (3 จบ) พุทโธ พุทโธ พุทโธ” คําแผ่ เมตตาหลังนั่งสมาธิ “สพฺเพ สตฺ ตา สทา โหนฺ ตุ อเวรา สุ ขชีวโิ น ฯ ขอให้สัตว์ท้ งั หลายจงเป็ นผูไ้ ม่มีเวรต่อกันและกัน จงเป็ นผูด้ าํ รงชีพอยูเ่ ป็ นสุ ขทุกเมื่อ เถิด กตํ ปุ�ฺญ ํ ผลํ มยฺหํ , สพฺเพ ภาคี ภวนฺ ตุ เต ฯ ขอให้สัตว์ท้ งั สิ้ นนั้น จงเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสวยผลบุญ อันที่ขา้ พเจ้าได้บาํ เพ็ญแล้ว นั้นเทอญ" 4. อิริยาบถนอน วิธีนอน นอนด้วยอาการอันสงบ แบบสี หไสยาสน์ คือนอนตะแคงขวา มือ ขวาวางไว้ที่ขา้ งแก้ม มือซ้ายวางราบไปตามตัว ขาซ้ายทับขวาขวาให้พอเหมาะพอดี อย่าคูห้ รื อ เหยียดเกินไป แล้วกําหนดลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูกหรื อที่ฐานใดฐานหนึ่งตามแต่ถนัด หายใจเข้าบริ กรรมว่า “พุท” หายใจออก บริ กรรมว่า “โธ” จนพอแก่ความต้องการ อิริยาบถนอนนี้พระอานนท์ซ่ ึงเป็ นพุทธอุปัฏฐากได้รับการพยากรณ์ในวันที่คณะสงฆ์ ทําสังคายนาพระธรรมวินยั นั้น พระอานนท์จะได้สาํ เร็จเป็ นพระอรหันต์ พอถึงวันนั้นทั้งยืน เดิน จงกรม และนัง่ ขัดสมาธิตลอดทั้งคืน ปรากฏว่าท่านก็ไม่สามารถสําเร็จได้ ท่านจึงดําริ วา่ คงจะ ไม่ได้สาํ เร็จพระอรหันต์เสี ยแน่แล้ว ท่านจึงเอนหลังลงนอน ขณะที่ศีรษะกําลังจะถึงหมอน นัน่ เอง ท่านก็ได้สาํ เร็จพระอรหันต์ ข้อนี้จึงเป็ นตัวอย่างว่าอิริยาบถนอนก็เป็ นอิริยาบถที่สาํ คัญ อิริยาบถนอน เหมาะสําหรับคนแก่ คนป่ วย หรื อคนอ้วนมาก หรื อแม้แต่นกั ปฏิบตั ิ ทัว่ ไปที่ตอ้ งการเปลี่ยนอิริยาบถ ซึ่งจะมีผลต่อการนอนหลับได้ง่าย อิริยาบถทั้งสี่ คือ ยืน เดิน นัง่ นอน บุคคลสามารถทําสมาธิได้ เนื่องจากมนุษย์ตอ้ งมี การบริ หารร่ างกายอยูเ่ สมอในอิริยาบถต่าง ๆ โดยให้ร่างกายกับจิตเกิดความสัมพันธ์ต่อเนื่องเพื่อ ความสมดุลระหว่างอิริยาบถกับสมาธิ การนัง่ และการเดินเป็ นอิริยาบ ถหลัก และต้องคํานึงถึง กาลเทศะ เพื่อให้กลมกลืนถูกต้องกับสถานที่ ไม่เป็ นการอวดอ้าง


29

วิธีเจริญสมาธิ : ขั้นลงมือปฏิบัติ

1. ขั้นลงมือปฏิบัติ จุดเริ่มต้ น การเริ่ มต้นเป็ นหลักสําคัญในการทําสมาธิ เพราะการเริ่ มต้นดี ย่อมนําไปสู่ ผลที่ดีได้ ในการ นี้ควรเริ่ มต้นจากสิ่ งเหล่านี้คือ ความตั้งใจ ความตั้งใจ เป็ นการเริ่ มต้นที่ดี หมายถึงตั้งใจที่จะทําสมาธิดว้ ยศรัทธาคือความเชื่อมัน่ เมื่อ ความตั้งใจคือศรัทธาเกิดขึ้น ความเชื่อมัน่ ก็ตามมา แล้วก็เกิดความสําเร็จในที่สุด ในทางพุทธ ศาสนาเริ่ มจากหลักธรรมแห่งอิทธิบาท 4 คือ คุณเครื่ องให้ถึงความสําเร็จ คุณธรรมที่นาํ ไปสู่ ความสําเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย (ที.ปา.11/231/233) ได้แก่ 1. ฉันทะ ความพอใจ คือความต้องการที่จะทํา ใฝ่ ใจรักที่จะทําสิ่ งนั้นอยูเ่ สมอ และปรารถนา จะทําให้ได้ผลดียงิ่ ๆ ขึ้นไป 2. วิริยะ ความเพียร คือ ขยันหมัน่ ประกอบสิ่ งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน เอาธุระไม่ทอ้ ทอย 3. จิตตะ ความคิด คือตั้งจิตรับรู ้ในสิ่ งที่ทาํ นั้นด้วยความคิด เอาใจฝักใฝ่ ไม่ปล่อย ใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป 4. วิมงั สา ความไต่ตรอง หรื อทดลอง คือหมัน่ ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ ครวญ ตรวจตราหาเหตุผลและตรวจสอบข้อยิง่ หย่อนในสิ่ งที่ทาํ นั้น มีการวางแผน วัดผล คิดค้นวิธีแก้ไข ปรับปรุ ง เป็ นต้น อิทธิบาท 4 พระพุทธเจ้าตรัสพัวพันไว้กบั สมาธิ เพราะอิทธิบาทเป็ นปฏิบตั ิทาํ ให้เกิดสมาธิ แล้วนําไปสู่ ผลสําเร็จที่เป็ นจุดมุ่งหมายของสมาธิ โดยทั้ง 4 ประการ แปลให้จาํ ง่ายตามลําดับว่า มี ใจรัก พากเพียรทํา เอาจิตฝักใฝ่ ใช้ปัญญาสอบสวน ความวางใจ ความวางใจ เมื่อเริ่ มต้นด้วยความตั้งใจได้แล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การวางใจ อะไรคือ ใจ “ตัวรู ้” คือใจ ถ้าเราไม่รู้ใจ เราก็วางใจไม่ถูก การวางใจ คือ การวางตัวผูร้ ู ้ไว้ที่ฐานที่ต้ งั เมื่อเห็นว่าเป็ นชัยภูมที่เหมาะสมดีแล้ว ให้จาํ ตําแหน่งเอาไว้ ไม่มีการเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา เพราะ จะเกิดความลังเลและวิจิกิจฉา ขณะที่วางใจนั้น เป็ นนามธรรม จึงจําเป็ นต้องใช้สัญญากําหนด


30

ขึ้น หรื อ “สร้างภาพ”ตนเอง เป็ นการสมมติยงั ไม่ใช้ของจริ ง ต่อมาจิตได้กาํ หนดลงตรงนั้นมาก ขึ้น จะเป็ นของจริ ง จะทราบได้เมื่อจิตค่อย ๆ สงบ ๆ จนเกิดความสบาย นี่คือของจริ ง อนึ่ง เรารู ้แล้วว่า จิตคือ ตัวรู ้ ตัวรู ้ต้ งั อยูไ่ ด้ และมองเห็นอารมณ์ เรารู ้วา่ คิดอะไร นึก อะไร แต่ตวั รู ้ไม่ได้ ยืดหยุน่ ไปตามอารมณ์น้ นั ๆ ตัวรู ้ต้ งั อยูแ่ ละต้องถือว่า การวางจิตเช่นนี้ เป็ นการถูกต้องใช้ได้ เมื่อวางลงได้ การบริ กรรมถือว่าเกิดความชํานาญ ผูท้ ี่วางจิตตัวรู ้โดยไม่ ต้องอาศัยการบริ กรรม จึงถือได้วา่ มีความชํานาญทําสมาธิได้โดยฉับพลัน และคําบริ กรรม เป็ น จุดของการวางใจในเบื้องต้น ใช้คาํ บริ กรรมคําไหนให้ใช้คาํ บริ กรรมคํานั้นอย่าเปลี่ยนแปลง เพราะจะเกิดรวนเร วิจิกิจฉา และการวางใจในคําบริ กรรมนั้นเป็ นความจําเป็ นอย่างยิง่ การวางใจในเบื้องต้น มีการใช้ฐาน หมายถึงที่ต้ งั ฐานที่ต้ งั ของจิตที่นิยมมากคือ 1. ปลายจมูก 2. หน้าผาก 3. หน้าอกเบื้องซ้าย 4. ระหว่างคิ้ว 5. ท้องน้อย ฐานเหล่านี้อยูท่ ี่ผทู ้ าํ สมาธิจะกําหนดเอง เมื่อชอบใจที่ใดแล้ว ไม่ควรเปลี่ยนแปลงไปมา การบริกรรม การบริ กรรม คือการทําจิตที่หงุดหงิด ฟุ้ งซ่าน กระวนกระวาย ให้เกิดความสงบนิ่ง วิธีการทําให้ใจนิ่ง เริ่ มต้นจากการทําสมาธิควบคุมอารมณ์ดว้ ยการบริ กรรมให้หยุดอารมณ์เหลือ เพียงอารมณ์เดียว คือ นึกคําบริ กรรม “พุทโธ” (หรื อคําใด ๆ ก็ได้) มีหลักการดังนี้ การบริ กรรมคือนึกพุทโธ ฯลฯ ความหมายของบริ กรรมคือการเริ่ มกลัน่ กรองอารมณ์ ( หรื อการสลายตัว อารมณ์ที่หมักหมมนั้นให้เกิดการจางลง เหมือนการเอานําสะอาด เทใส่ น้ าํ สกปรก ) จุดประสงค์เพื่อให้จิตเป็ นหนึ่ง คือ สมาธิ การบริกรรมด้ วยการกําหนดนับ พระอรรถกถาจารย์ได้เสนอวิธีการบริ กรรมด้วยการกําหนดนับไว้หลายนัย ที่น้ ีจะขอ กล่าวไว้เพียงพอเป็ นตัวอย่างเท่านั้น คือ


31

การนับ เริ่ มแรกในการกําหนดลมหายใจอกเข้ายาวสั้นนั้น ท่านว่าให้นบั ไปด้วยเพราะ การนับจะช่วยตรึ งจิตได้ดี การนับแบ่งเป็ น 2 ตอน ช่วงแรกท่านให้นบั ช้า ๆ กลวิธีในการนับอย่านับตํ่ากว่า 5 แต่อย่าให้เกิน 10 และให้เลข เรี ยงตามลําดับ อย่าโจนข้ามไป (ถ้าตํ่ากว่า 5 จิตจะดื้นรนในโอกาสอันแคบ ถ้าเกิน 10 จิตจะไป พะวงที่การนับแทนที่จบั อยูก่ บั กรรมฐานคือลม หายใจ ถ้านับขาด ๆ ข้ม ๆ จิตจะหวัน่ จะวุน่ ไป ) ให้นบั ที่ลมหายใจเข้าออกอย่างสบาย ๆ เป็ นคู่ ๆ คือลมออกว่า 1 ลมเข้าว่า 1 ลมออกว่า 2 ลมเข้า ว่า 2 อย่างนี้เรื่ อยไปจนถึง 5, 5 แล้วตั้งต้นใหม่ 1, 1 จนถึง 6,6 แล้วตั้งต้นใหม่เพิ่มทีละคู่ไปจน ครบ 10 แล้วกลับย้อนที่ 5 คู่ใหม่ จนถึง 10 คู่ อย่างนั้นเรื่ อยไป (สํ. ม. 19/1306/394) ดูตวั อย่างนี้ 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 6,6 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 6,6 7,7 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 6,6 7,7 8,8 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 6,6 7,7 8,8 9,9 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 6,6 7,7 8,8 9,9 10,10 1,1 2,2 3,3 4,4 5,5 ฯลฯ ช่วงที่สอง ท่านให้นบั เร็ว กล่าวคือ เมื่อลมหายใจเข้าออกปรากฏแก่ใจชัดเจนดีแล้ว (จิตอยูก่ บั ลมหายใจ โดยลมหายในช่วยตรึ งไว้ได้ ไม่ส่ายฟุ้ งไปภายนอก ) ก็ให้เลิกนับช้าอย่าง ข้างต้นนั้นเสี ย เปลี่ยนเป็ นนับเร็ว คราวนี้ไม่ตอ้ งคํานึงถึงลมเข้าในหรื อออกนอก กําหนดแต่ลม ที่มาถึงช่องจมูกนับเร็ว ๆ จาก 1 ถึง 5 แล้วขึ้นใหม่ 1 ถึง 6 เพิ่มทีละหนึ่งร้อยไปจนถึง 1 ถึง 10 แล้วเริ่ ม 1 ถึง 5 ใหม่อีก จิตจะแน่วแน่ดว้ ยกําลังการนับเหมือนเรื อตั้งลําแน่วในกระแสนํ้าเชี่ยว ด้วยอาศัยถ่อเมื่อนับเร็วอย่างนั้น กรรมฐานก็จะปรากฏต่อเนื่องเหมือนไม่มีช่องว่าง พึงนับเร็ว ๆ อย่างนั้นเรื่ อยไป ไม่ตอ้ งกําหนดว่าลมเข้าใจ ออกนอก เอาสติกาํ หนด ณ จุดที่ลมกระทบคือ ปลายจมูก หรื อริ มฝี ปากบน (แห่งใดแห่งหนึ่งแล้วแต่ที่ใดจะรู ้สึกชัด) เท่านั้น ดูตวั อย่างนี้ 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8


32

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 ฯลฯ กําหนดนับอย่างนี้เรื่ อยไป จนกว่าว่าเมื่อใดแม้ไม่นบั แล้ว สติกย็ งั ตั้งแน่วอยูไ่ ด้ใน อารมณ์ คือลมหายใจเข้าออกนั้น (วัตถุประสงค์ของการนับก็เพื่อให้สติต้ งั อยูไ่ ด้ในอารมณ์ ตัด ความคิดฟุ้ งซ่านไปภายนอกได้นน่ั เอง)

ความสํ าคัญของการบริกรรม

การบริ กรรมเป็ นเพียงเบื้องต้นธรรมชาติของจิตชอบดิ้นรนเรื่ อยไป ไม่หยุดนิ่ง ทําให้ สู ญเสี ยพลังของจิต แต่การทําสมาธิคือการสร้างพลังงานให้กบั จิต เปรี ยบเหมือนการเริ่ มต้นทํา เขื่อนกั้นพลังของนํ้า เช่นเดียวกับการทําเขื่อนกั้นจิต(คําบริ กรรม) เป็ นเพียงเบื้องต้น ให้จิตตั้งมัน่ ไม่หวัน่ ไหวตามอารมณ์ จนสงบ ดังนั้นการบริ กรรมนี้จึงเป็ นเพียงผูป้ ระคองจิต เปรี ยบเสมือน เลี้ยงเด็กอ่อน การบริ กรรมเป็ นความจําเป็ น เพราะการบริ กรรมเป็ นต้นเหตุแห่งความเป็ นหนึ่ง (เอกัคคตา) ความเป็ นหนึ่งเป็ นเหตุให้เกิดพลังจิตเป็ นเหตุให้เกิดกําลัง เป็ นเหตุให้เกิดอินทรี ย ์ ใจก็ มีจุด จุดก็มีใจ บริ กรรมก็มีจุด ความจําเป็ นต้องตรงจุด จะต้องทําความชํานาญในจุดนั้น ดังนั้นคํา บริ กรรมจึง เป็ นตัวนําทางสู่ ความชํานาญ ขณะเดียวกันเมื่อคับขัน คําบริ กรรมให้ประโยชน์แก่ใจ เราอย่างสู งสุ ด การไม่บริ กรรมกําหนดความหยุด เมื่อจิตสงบแล้ว ก็ตอ้ งหยุดคําบริ กรรม หมายความ ว่าเพียงพอแก่ความต้องการเหตุผลของการหยุดบริ กรรมคือพักผ่อนเอากําลัง พักการทํางานเพื่อทํา ต่อ นักสมาธิจึงต้องมีการพักจิต พอพักแล้วก็เดินต่อไป ถึงเวลาหยุดต้องหยุด ถ้าไม่หยุด จะ กลับมาหยาบอีก หรื อเมื่อมีปรากฏการณ์เกิดขึ้นกับจิต ที่เรี ยกว่า “วาระจิต” อย่างที่เราสร้าง ความรู ้สึกขึ้นในสมองของเรา เช่น วาดมโนภาพขึ้นมาอย่างหนึ่ง เช่น วาดภาพว่ามีคนเอาดาบมา ฟันเรา แล้วเราก็เกิดความหวาดเสี ยว หรื อสร้างมโนภาพว่าเทวดามาห้อมล้อมตัวเรา แล้วหายไป เกิดความเสี ยดาย อยากจะเห็นอีก สิ่ งเหล่านี้คือวาระจิต ปรากฏการณ์ เช่น ความสงบสบาย เกิดขึ้น มีความเยือกเย็นสบาย จึงไม่ตอ้ งมีคาํ บริ กรรมหรื อมี ต้องให้หยุดคําบริ กรรม ขณะ บริ กรรม มีแสงเกิด และมีรูปภาพต่าง ๆ มากมายปรากฏ แต่ยงั บริ กรรมอยู่ ถือว่าจิตของผูน้ ้ นั


33

แยกงานได้ข้ นั หนึ่งแต่ไม่ควรทําเช่นนี้ เพราะจิตยังอ่อนอยู่ ซึ่งผลที่ได้รับไม่คุม้ กัน ควรหยุดคํา บริ กรรม ไปเลย และกําหนดจิตอยูท่ ี่ผรู ้ ู ้ ก็ใช้ได้ การผ่อนลมหายใจในขณะกําหนดความหยุด การหยุดบริ กรรม เหลือแต่ลม หายใจตอนนี้เมื่อเราหลับตา กายหายไปหมดแล้ว เหลือแต่ลมหายใจ เราต้องมีสติประคับประคอง ลมหายใจ อยูท่ ี่การทําให้พอดี อย่าทําการกดดัน เพราะว่าจิตกําลังจะดี เมื่อจิตละเอียด จนเข้า ภวังค์ได้แล้ว จะต้องหาความชํานาญ จิตจะต้องเข้าสู่ ตรงนี้หลายครั้งมาก เมื่อได้เวลาแห่งการ หยุดทําบริ กรรม ก็จะต้องกําหนดจุดตรงนี้ไว้ช่าํ ชองขึ้นในจุดนี้ ซึ่งเป็ นจุดหยุดคําบริ กรรม เพราะ จิตจะต้องเข้าระดับ “จิตรวม” ให้ระวังสติ มิให้กา้ วก่ายต่อความละเอียดของจิต เช่น คิดปรุ งแต่ง กังวล ให้สติ รู ้ระแวดระวังให้ลมหายใจค่อย ๆ ละเอียดลงแบบสมบูรณ์แบบนัน่ เอง ความมี ระบบของลมหายใจ ในขณะที่จิตเป็ นสมาธิ จึงมีความสําคัญต่อกันอย่างแน่นแฟ้ ม จึงจําเป็ นต้อง มีความรู ้ระหว่างจิตกับลมหายใจ ถ้าเข้าใจในวิถีทางของลมหายใจอย่างสมํ่าเสมอแบบมีระบบ จักทําให้ความคงอยูข่ องความสงบแห่งสมาธิจะนานมากขึ้น แต่จะเข้าใจได้ ต้องศึกษาด้วยตนเอง ตลอดระยะเวลา จึงต้องมีสติ ความสังเกตจิตในขณะนั้นว่ามีความลึกซึ้งขนาดไหน ขณะจิตเป็ น เช่นนั้น ก็จะทราบความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับลมหายใจได้ดี การบริ กรรมเปรี ยบเหมือนเด็กอ่อน จิตที่ยงั ไม่เคยฝึ กสมาธิ ก็คือเหมือนเด็กเกิด ใหม่นน่ั เองคําบริ กรรมนี้เป็ นเพียงตัวผูป้ ระคับประคองไปในระดับหนึ่งเท่านั้น เป็ นสมาธิต้ืน การรวบรัด การทําลวก ๆ หรื อการทํามัว่ ๆ เพียงว่าพอใช้ได้เท่านั้น ไม่ดี การกําหนดตรงว่าจิต นั้นเที่ยงได้นานพอสมควร ก็ควรละบริ กรรม หากละไปแล้วจิตยังตั้งเที่ยงไม่ได้ ก็กลับมา บริ กรรมใหม่ อย่าด่วนคิดว่าเราบริ กรรมพอแล้ว เปรี ยบเหมือนเด็กอ่อนนั้นยังเดินล้มลุก คลุกคลาน ก็ตอ้ งประคับประคองจนกว่าจะสามารถเดินเองได้ การวางจิตขณะบริ กรรม มีอยู่ 3 ประการคือ เมื่อบริ กรรมอยูจ่ ิตก็อยู่ ณ คํา บริ กรรม ศรัทธาเชื่อมัน่ ว่านี่คือทางถูก และมีจิตตั้งพร้อมไว้โดยความระมัดระวังด้วยตนเอง (สัมปชัญญะ) การวางจิตนั้นจะวางอยูท่ ี่สะดือ จะวางตรงไหนก็ตอ้ งวางตรงนั้น อย่าทําการลังเล อย่ากดดันหรื อบีบบังคับ เพราะใจนั้นไม่ชอบการกดขี่ การทําจิตในระยะนี้การอ่อนไหวได้ง่าย อาจจะมีอาการวอกแวกตั้งได้บา้ งล้มบ้าง เราต้องไม่หวัน่ ไหว ต้องมีความเชื่อมัน่ และศรัทธา มี สัมมาทิฐิ มีความคิดถูกต้อง หลังจากรู ้ที่ต้ งั แล้วก็จะได้ทอดใจลงตรงนั้น โดยไม่ให้เป็ นการ กระทบกระเทือน


34

การวัดผลของการบริกรรม การวัดผลขึ้นอยูท่ ี่ตนของตนเอง จะทําความเข้าใจตามความเป็ นจริ งในสิ่ งที่ปรากฏขึ้นใน ขณะที่บริ กรรม โดยที่ผทู ้ าํ สมาธิจะสังเกตด้วยตนเอง การวัดผลคําบริ กรรมขั้นที่ 1 เริ่ มตั้งแต่การบริ กรรมไปจนถึงหยุดบริ กรรม มีลกั ษณะดังนี้ 1. จิตพบจิตบริ กรรม เป็ นการพบครั้งแรกของการทําสมาธิสร้างขึ้น 2. เป็ นตัวกรองอารมณ์ จึงมีความรู ้วา่ สบายขึ้น 3. มองเห็นตัวอารมณ์ คือมีสติย้งั คิด 4. เป็ นสมาธิต้ืน ใช้กบั งานได้ 5. เพิ่มพลังปรากฏซึ่งความเบา การวัดผลคําบริ กรรมขั้นที่ 2 เมื่อหยุดคําบริ กรรมแล้ว จิตยังตั้งอยูไ่ ด้มีลกั ษณะดังนี้ ความเบาสบาย มีความสุ ข ความอิ่มเอิบ มีสติ ตื้นตันใจ ความมีนิมิต เห็นสิ่ งต่าง ๆ ความเคลิบเคลิ้มลืมตัว ความเข้าภวังค์ เพิ่มพลัง มีความแกร่ งขึ้นมาก ผูเ้ ริ่ มฝึ กสมาธิ ขั้นต้นนี้ถูกวัดผลให้เป็ นสมาธิแล้ว เพราะจิตได้ยดึ มัน่ ในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง นั้นคือจิตเป็ นสมาธิ เพราะสมาธิน้ นั มีอยูใ่ นตัวของมนุษย์ทุกคน แต่การทําสมาธิน้ ี หมายถึง สมาธิที่สร้างขึ้นเพิ่มเพิ่มสมาธิธรรมชาติที่มีอยูใ่ นตัวเรา การเริ่มต้ นการกําหนด การเริ่ มต้นการกําหนด หมายถึง การกําหนดทิศทางของการดําเนินจิต โดยให้คาํ จํากัด ความแต่ละอย่างตามความเป็ นจริ ง เช่นเมื่อบริ กรรมจนจิตมีอารมณ์เป็ นหนึ่งเดียว ก็กาํ หนดว่า “จิตรวม”จิตรวมแล้วกําหนดไม่ได้ หรื อไม่รู้สึกอะไร ก็กาํ หนดว่า “จิตเข้าภวังค์” เมื่อจิตเข้า ภวังค์แล้ว เห็นภาพสิ่ งต่าง ๆ ก็กาํ หนดว่าเป็ น “นิมิต” เป็ นต้น หรื อการทําสมาธิมีความรู ้สึกตัว เบา มีความสุ ขชัว่ ขณะ กําหนดว่าเป็ น “ขณิ กสมาธิ” ถ้ามีความรู ้สึกตัวเบา จิตสบอยูไ่ ด้นาน เกิดความรู ้ต่าง ๆ พิจารณาได้ดีกาํ หนดเป็ น “อุปจารสมาธิ ” แต่ถา้ มีความรู ้สึกสงบลึกซึ้ง ไม่มี ขอบเขต ไม่มีประมาณถูกกําหนดว่าเป็ น “อัปปนาสมาธิ ” เป็ นต้น


35

การกําหนดทิศทางของการดําเนินจิตมี 3 ขั้น 1. ขั้นตํ่า หมายถึง คําบริ กรรมที่กาํ ลังดําเนินอยูน่ ้ นั เป็ นขั้นตํ่า เพียงบริ กรรมจิต ก็เป็ นสมาธิแล้ว ได้ถูกกําหนดว่าได้เป็ น “ผูม้ ีสมาธิ” แล้วจะไปเพิ่มหลังจิตในแต่ละครั้ง 2. ขั้นกลาง กําหนดความเป็ นจริ งวาระจิตขั้นกลางเอาไว้คร่ าว ๆ เมื่อเกิดความ รู ้สึกตัวลอย ตัวเบา จนเข้าถึงภวังค์ รู ้สึกสบาย จะเป็ นสมาธิข้ นั กลาง เพราะขั้นกลางนี้เป็ นผลมา จากการสะสมพลังจิตมาจากขั้นตํ่าจนมีกาํ ลังได้ระดับหนึ่ง ก็จะเกิดปรากฏการณ์หลาย ๆ อย่าง เช่น ความเย็น หรื อตัวเบา ปลอดโปร่ ง เป็ นต้น ที่ปรากฏการณ์เช่นนี้ ใครเป็ นผูเ้ ห็น ? เพราะตัวผูเ้ ห็นคือตัว “สติปัญญา” 3. ขั้นสู ง ลักษณะนี้จะเกิดขึ้นหลังหยุดคําบริ กรรมแล้ว การเข้าภวังค์ของจิต ก็ ตามรู ้ได้ไม่สัปหงก เพราะมีสติคอยประคองอยู่ สติน้ นั หมายถึงความรู ้ตวั นัน่ เอง ดังนั้นการเข้า ภวังค์แล้ว ความรู ้ตวั ก็ยงั รู ้ตวั อยู่ คือเข้าขั้นสู ง เพราะการมาถึงขั้นนี้จะเข้าสู่ “จุดพลังอํานาจ” เนื่องจากที่ต้ งั ของพลังอํานาจคือจะต้องรู ้ตวั อยู่ ถ้าจะกล่าวว่าขั้นสู งตรงนี้ เป็ นความหมด ความรู ้สึกนั้นก็ใช่ เพราะจิตได้เข้าสู่ “ อาทิสมานกาย” ไปแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม สมาธิข้ นั สู ง ตรงนี้ ไม่ตอ้ งการจะให้จิตนี้ลึกลงไปจนไม่รู้สึกตัว เพราะถ้าลึกลงเช่นนี้ จะทําอะไรไม่ได้ ได้ เพียงความสบายเท่านั้น เราจะเอาประโยชน์ตรง ”จุดพลังอํานาจ” หมายความว่าเมื่อจิตสงบแล้ว ก็ทวนกระแสถามตรวจดูวา่ ใครเป็ นผูร้ ู ้วา่ จิตสงบ ตัวผูร้ ู ้น้ นั จะมีท้ งั สติปัญญาเป็ นศูนย์รวมพลัง อํานาจ จิตฟุ้ งซ่านคิดไปอย่างไม่มีขอบเขต ถูกกําหนดว่าเป็ นจิตหยาบ บางทีเกิดความเอิบอิ่ม ลึกซึ้งถูกกําหนดว่าจิตละเอียด เพราะการกําหนดเหล่านี้เกิดขึ้นจากความเป็ นจริ ง จิตเมื่ออยูใ่ นขั้น นิมิตถูกกําหนดว่ายังอยูใ่ นขั้นตํ่า เหมือนคนนอนฝันนั้นถูกกําหนดว่าหลับไม่สนิท เห็นสิ่ งต่าง ๆ มากมายยังจัดอยูใ่ นขั้นตํ่า เกีย่ วกับลมหายใจ ลมหายใจเป็ นจุดเริ่ มต้นของสมาธิ การภาวนาด้วยลมหายใจเข้าออก ทําให้จิตสงบได้ง่าย และลมหายใจต้องอยูใ่ นภาวะปกติ หมายความว่า อย่างกลั้นลมหายใจ หรื อทะเทือนลมหายใจให้ ปล่อยไปตามปกติ พระอรรถกถาจารย์ (วิสุทฺธิ.1/54) ให้ความสําคัญของลมหายใจ โดยเปรี ยบเทียบการฝึ กจิต เหมือนกับการฝึ กลูกโคไว้วา่


36

"ยถา ถมฺ เภ นิพนฺ ธิเธยฺย วจฺฉํ ทมํ นโร อิธ พนฺ เธยฺเยวํ สกํ จิตฺต ํ สติยารมฺ มเณ ทฬฺหํ แปลว่า นรชนในโลกนี้ เมื่อฝึ กลูกโค พึงผูก (ลูกโคนั้น) ไว้ที่หลัก (ด้วยเชือก) ฉันใด ท่านผูฝ้ ึ กจิต พึงผูกจิตของตนไว้ที่อารมณ์ดว้ ยสติ ให้มน่ั คง ฉันนั้น" ในคาถาข้างต้น ท่านเปรี ยบจิตเหมือนลูกโค เปรี ยบสติเหมือนเชือก เปรี ยบลมหายใจ เหมือนหลัก และเปรี ยบท่านผูฝ้ ึ กจิตเหมือนคนฝึ กลูกโค ดังภาพประกอบ

2. ลักษณะต่ อต้ านสมาธิ

สิ่ งที่เป็ นปฏิปักษ์ต่อสมาธิ เป็ นสิ่ งที่จะต้องกําจัดเสี ยจึงจะเกิดสมาธิได้ หรื อจะพูดว่า เป็ นสิ่ งที่จะต้องกําจัดเสี ยด้วยสมาธิกไ็ ด้ สิ่ งเหล่านี้เรี ยกว่า นิวรณ์ (องฺ .ปญจก. 22/51172, อภิ.วิ. 35/983/510) นิวรณ์ แปลว่า เครื่ องกีดกั้น เครื่ องขัดขวาง หมายถึง สิ่ งที่กีดกั้นการทํางานของจิต สิ่ งที่ ขัดขวางความดีงามของจิต สิ่ งที่ทอนกําลังปัญญา หรื อแสดงความหมายให้เป็ นวิชาการ ยิง่ ขึ้นว่า สิ่ งที่ก้ นั จิตไม่ให้กา้ วหน้าในกุศลธรรม ธรรมฝ่ ายชัว่ ที่ก้ นั จิตไม่ให้บรรลุคุณความดี หรื ออกุศลธรรมที่ทาํ ให้จิตให้เศร้าหมองและทําให้ปัญญาให้อ่อนกําลัง นิวรณ์ มี 5 อย่าง คือ 1. กามฉันทะ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์วา่ ความพอใจในกาม) หรื อ อภิชชา คือความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้กามคุณ 5 คือ รู ป เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่ปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็ นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณ์ต่าง ๆ คิด อยากได้โน่นอยากได้น้ ี จิตที่ยงั พัวพันกับสิ่ งเหล่านี้ไม่อาจเป็ นสมาธิได้ จิตที่ถูกคุกคามด้วยกาม ราคะ (กามฉันท์) ครอบงําเปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ซึ่งเอาสี ต่าง ๆ ผสมปนไว้ คนตาดีมอง เงาหน้าของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่สามารถ รู ้เห็นได้ตามความเป็ นจริ ง 2. พยาบาท ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ความขัดใจ เกลียดชัง ความผูกใจเจ็บ การ มองโลกในแง่ร้าย การคิดร้ายมองเห็นคนอื่นเป็ นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู ้สึก ขัดใจไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มวั กระทบนั้นกระทบนี่ไม่อาจเป็ นสมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่เอาไฟเผาลนเดือดพล่าน มีไอพลุ่ง คนตาดีมองดูเงาหน้าของตน ในภาชนะนั้นก็ไม่รู้ไม่เห็นตามความเป็ นจริ ง 3 ถีนมิทธะ ความหดหู่และเซื่องซึม หรื อ เซ็ง แยกเป็ น ถีนะ ความหดหู่ ห่อ เหี่ยว ถดถอย ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย กับมิทธ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วง


37

เหงาหาวนอน โงกง่วง อึดอาด มึนมัว อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็ นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการทาง กายและทางใจอข่างนี้ครอบงําย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งานจึงไม่อาจเป็ น สมาธิได้ เปรี ยบเสมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่ถูกสาหร่ ายและจอกแหนปกคลุม คนตาดีมองดูเงาหน้า ของตนในภาชนะนั้นก็ไม่รู้ไม่เห็นตามความเป็ นจริ ง 4. อุทธัจจกกกุจจะ ความฟุ้ งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็ น อุทธัจจะ ความที่จิต ฟุ้ งซ่านไม่สงบซัดซ่าย พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุน่ วายใจ รําคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุง่ ใจ กลุม้ ใจ กังวลใจจิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงําย่อมพล่านไป ไม่อาจสงบลงได้ ไม่อาจ เป็ นสมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะที่ใส่ น้ าํ ที่ถูกลมพัดไหว กระเพื่อนเป็ นคลื่น คนตาดีมองดูเงา หน้าของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่อาจรู ้เห็นตามความเป็ นจริ งได้ 5. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจ สงสัยเกี่ยวกับพระ ศาสดาพระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิ กขา เป็ นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรม ทั้งหลาย ตัดสิ นไม่ได้ เช่นว่าธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบตั ิหรื อไม่ จะได้ผล จริ งหรื อไม่ คิดแยกไปสองทาง กําหนดลงไม่ได้ จิตที่ถูกวิจิกกิจฉาครอบงําไม่อาจแน่วแน่เป็ น สมาธิได้ เปรี ยบเหมือนภาชนะใส่ น้ าํ ที่ข่นุ มัว เป็ นตม ซึ่งวางไว้ในที่มืด คนตาดีมองดูเงาหน้า ของตนในภาชนะนั้น ก็ไม่รู้ไม่เห็นตามวามเป็ นจริ ง นิวรณ์ท้ งั 5 นี้ เป็ นสิ่ งที่เราจะต้องขจัดออกไป มิฉะนั้น จิตเราจะไม่สามารถเป็ นสมาธิ ได้เลยเปรี ยบเหมือนคนที่จะออกไปนอกบ้าน ก็ตอ้ งเปิ ดประตูบา้ นเสี ยก่อนจึงจะออกไปข้าง นอกบ้านได้ ลักษณะต่อต้านสมาธิน้ ี พระราชเจติยาจารย์ หลวงพ่อวิริรังค์ สิ รินฺทโร ( ) ได้ อธิบายขยายความเพื่อให้ผฝู ้ ึ กสมาธิทว่ั ไปทั้งที่เป็ นพุทธศาสนิกและเป็ นศาสนิกอื่นเข้าใจง่าย ซึ่งมี ลักษณะสําคัญดังนี้ 1. ความเจ็บปวด – เมื่อย - เหนื่อย – หิว ถือเป็ นทุกขเวทนา เป็ นสิ่ งที่ทาํ ให้จิตเกิดความ กระวนกระวาย เป็ นตัวการขวางกั้นต่อต้านสมาธิ ความเป็ นสมาธิต่าง ๆ จะเกิดขึ้นได้กต็ อ้ งอาศัย กายนี้เอง มีหูไว้ฟัง มีตาไว้ดู มีกายมือท้าไว้ทาํ จึงจะเกิดสมาธิได้ การปรับปรุ งร่ างกายให้คงทน และปกติอยูเ่ สมอ จึงจะสามารถช่วยความเป็ นสมาธิได้ดงั ประสงค์ ความจริ งการเดิน – การยืน – การนัง่ – การนอน


38

ล้วนกายเป็ นประสานให้บงั เกิดสมาธิท้ งั นั้น ส่ วนการที่จะทําให้เกิดสมาธิมีความเจ็บปวด -เมื่อยเหนื่อย-หิว ก็ใช้ความอดทนพอสมควร คือ การเดินสายกลาง อย่าทรมานมากจนเกินไป อย่า ยอมแพ้แก่มาร ง่าย ๆ จงพยายามดูความสําเร็จแต่ละครั้งที่ได้เคยทํามา และพยายามแก้ไขเพิ่มเติมความแกร่ ง ให้แก่ตนเอง อย่าเอาแต่ข้ ีเกียจ เกียจคร้าน 2. ความปริ วติ ก ทําให้ไม่สงบ เช่น กลัวจะถูกตําหนิ นินทา ว่าทําสมาธิเป็ นคน หัวโบราณ เป็ นคนอกหัก หรื อคิดว่าสมาธิสูงเกินกว่าจิตใจอย่างเราจะเอื้อมถึง หรื อต้องสละลูก เมีย ตําแหน่งงานมาทําสมาธิ หรื อกลัวทนต่อความเจ็บปวด เมื่อยล้า ไม่ไหว เหล่านี้เป็ นต้น หรื อมีความปริ วติ กอีกอย่างหนึ่งคือ เข้าใจผิด โดยไม่รับฟังสิ่ งที่มีเหตุผล พอตนทําสมาธิได้ผล แล้ว ก็หลงตนว่าใหญ่โต พอถูกตักเตือน ก็หาว่าเพื่อนดูถูกเราเสี ยแล้ว จึงเปลี่ยนครู -อาจารย์ เอา แต่ใจตนเอง และปริ วติ กว่าเราอาจจะหาผูท้ ี่สอนสมาธิเราดีกว่านี้ เป็ นต้น เราต้องกําจัดออกจาก จิตของเรา วิธีแก้คือ ใช้อุบายต่าง ๆ หรื อนึกคําบริ กรรม 3. ความกระวนกระวาย สิ่ งที่ขวางกั้นสมาธิที่เรี ยกว่า นิวรณ์ 5 นั้น นอกจากนั้นคือ ความกระวนกระวายตามธรรมดาเมื่อมีอะไรมาก่อกวน ย่อมมีการแสดงออก เช่น ขณะที่มีคน มากล่าวร้ายหรื อใส่ ความ หรื อมาแสดงกิริยาเย้ยหยัน หรื อใช้อาํ นาจข่มเหง สิ่ งเหล่านี้คือชนวน ที่อารมณ์ส่งเข้าสู่ จิต ซึ่งจิตได้สะสมความมีกิเลสเรื่ องเศร้าหมองล้นเหลืออยูแ่ ล้ว พอจังหวะ อารมณ์เหล่านี้เกิดขึ้น ความกระวนกระวายใจจะเพิ่มพลังขึ้นทันที จะแปรสภาพออกมาเป็ นทิฐิ มานะ-อาฆาต-พยาบาท-จองเวร เพราะความกระวนกระวายตัวนี้มีความร้อนแรงมาก เผาผลาญ จิตใจจนสุ ดจะยั้งได้หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า“คลุม้ คลัง่ ” วิธีการที่จะเสริ มกําลัง แก้ความกระวนกระวายที่มาต่อต้านสมาธิ จึงต้องมี เช่น 1) ศรัทธาในคําสอน 2) มีความมัน่ ใจ 3) ใช้ความเพียรตลอดไป 4) ต่อสู ้ความนึกคิดด้วยอุบาย 5) จดจําสิ่ งที่ทาํ ให้ชะล่าใจ 6) อดทนเป็ นอย่างยิง่ 7) เมื่อได้ผลแล้วต้องรักษา


39

เราจะพบว่า ผูท้ าํ สมาธิท้ งั หลายต้องสลายตัวกลางคันเป็ นจํานวนมาก เพราะมาคิดว่า สมาธิเป็ นส่ วนเกิน หรื อไม่สาํ คัญมาก เพราะมาคิดว่าผูไ้ ม่ทาํ สมาธิกม็ ีชีวติ อยูไ่ ด้ ความคิดเช่นนี้ ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของการต่อต้านสมาธิในใจของผูน้ ้ นั 4. ความหงุดหงิด อาการหงุดหงิดเป็ นกิริยาหนึ่งที่เกิดขึ้น โดยมีจุดที่เรี ยกว่าเป็ นปมอยู่ ในใจอันเนื่องมาจากความมัว่ ของจิต หรื อเรี ยกอีกนัยหนึ่งว่า ความสับสน ความหงุดหงิดนี้เป็ น จุดดําจุดหนึ่งเราจะปล่อยให้มนั มีอยูใ่ นใจไม่ได้ เพราะทําให้ก่อตัวเป็ นความไม่สมดุล เป็ น ลักษณะต่อต้านตัดหนทางความก้าวหน้าของสมาธิ ความหงุดหงิดที่ก่อชนวนอยูก่ จ็ ะหลุดหายไป ได้ โดยนิยามว่าเหมือนกันกับหงายภาชนะที่ควํา่ หรื อจุดไฟในที่มืดให้สว่าง คือบังเกิดขึ้นใน ความมืดมิด และมาพบกับความสว่าง หายจากความสงสัย ความหงุดหงิดก็จะหายไป ความ หงุดหงิดเกิดจาก 1) ขาดสติปัญญาขาดความรู ้จริ ง ตีโจทย์ไม่แตก 2) ขาดความมัน่ ใจ 3) เดินทางผิด 4) รู ้เท่าไม่ถึงการณ์ 5) ไม่ทราบทางแก้ไข 6) ไม่กล้าถาม 7) ความไม่กระจ่าง 5. อาการกิริยาเจ็บคัน โดยไม่มีเหตุผล กิริยาเช่นนี้จะเกิดขึ้นก่อนจิตจะสงบรวม เป็ น อาการที่เกิดขึ้นเป็ นผลจากปฏิกิริยาของอารมณ์ที่จะเข้าด้ายเข้าเข็ม คือ ว่ากําลังจะดี แต่มีอาการ เหล่านี้เกิดขึ้นมาเพื่อต้านให้เรา เกา หรื อขยับ หรื อเอามือลูบคลํา เพราะรู ้สึกทนไม่ไหว แต่ถา้ ทนเพียงไม่กี่นาที อาการกิริยานี้กจ็ ะหายไปเอง ปฏิกิริยาเกิดขึ้นจากการทําสมาธิ เป็ นการสกัด กั้นอารมณ์ เพื่อไม่ให้อารมณ์เข้าสู่ ใจ และต้องการให้เกิดสมาธิ ปฏิกิริยาจึงบังเกิดขึ้น ต้องใช้ อิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะจิตตะ วิมงั สา เป็ นตัวช่วย 6. ความลังเลสงสัย เมื่อเกิดความสงสัยขึ้นมาแล้ว ความเชื่อถือจะหายไป เมื่อความเชื่อ หายไปก็ถือว่าทําไม่ได้ เพราะฉะนั้นในอันดับแรกจึงแนะนําว่า ต้องเชื่อในหลักการก่อน และให้ เชื่อครู บาอาจารย์ เพราะท่านมีประสบการณ์ ใน นิวรณ์ 5 นั้น ความสงสัยถือเป็ นอันดับหนึ่ง ในห้าข้อนั้น เรื่ องความสงสัยที่เกิดขึ้นในจิตของผูบ้ าํ เพ็ญสมาธิกเ็ ช่นกัน เพราะว่าการบําเพ็ญ


40

สมาธิน้ นั เราต้องใช้ระยะเวลานานเรี ยกว่าปฏิบตั ิกนั ไปนานอาจจะชัว่ ชีวติ หรื อสิ่ งที่เกิดขึ้นใน สมาธิอาจแก้ไขได้ หรื อแก้ไขไม่ได้ ก็เกิดความสงสัยขึ้น ในขณะนัง่ สมาธิ มีความสุ ขสบายเหมือนตัวเราลอยหรื อเหาะได้ ก็เลยขึ้นหน้าต่าง กระโดด ซึ่งผิดหลักการ เพราะฉะนั้นความลังเลสงสัย และความไม่แน่ใจมันจะต้องเกิดขึ้นทุก ตอนทุกระยะ เราต้องเข้าใจอย่างนี้วา่ เราทําสมาธิไม่ได้หมายความว่าเราจะเอาอภิหาร หรื อต้อง แสดงฤทธิ์ แต่เราทําสมาธิโดยจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการพลังจิตเท่านั้น เพราะฉะนั้นเวลาที่จิตของ เรายังไม่สงบ คําว่าไม่สงบก็คือมีความนึกคิดอยู่ เวลาที่เราบริ กรรมพุทโธ ทันทีที่เราบริ กรรมนั้น ความนึกคิดนั้นจะถูกย่อส่ วนหมดแล้ว แต่ถา้ เกิดความนึกคิดในขณะที่นึกคิดนั้น เรารู ้นะมันนึกไปอย่างไร เราก็มีสติรู้ตวั กลับมานึกพุท โธได้ เวลานี้เรากําลังทําสมาธิ แต่พอเวลามันนึกคิดไป อาจจะเผลอไปชัว่ ขณะ แต่เราตามจิตนั้น มาอยูท่ ี่พุทโธก็ถือว่าอันนี้คือหลักการของความเป็ นสมาธิ เวลาที่เราบริ กรรมพุทโธ หรื อเรี ยกว่าจิตสงบนี่ ทําไมมันยังต้องนึกคิดอยู่ แล้วทําไมถึงว่า เป็ นสมาธิกด็ ว้ ยเหตุผลดังกล่าวแล้วนัน่ เอง ดังนั้นจึงจําเป็ นต้องใช้ความเชื่อเป็ นอันดับแรก แม้จะ ยังไม่เห็น ยังไม่รู้ตอ้ งเชื่อไว้ก่อน แม้เราจะใช้ความเชื่อ ความชัดเจนก็ยงั ไม่เกิด เพราะยังไม่ได้ สัมผัส ขั้นตอนของการสัมผัสสมาธิน้ นั มีหลายขั้นตอน ขั้นต้นของความสัมผัสเป็ นเพียง ความรู ้สึกภายใน เป็ นลักษณะยังไม่เต็ม หมายความว่าผิวเผิน แม้กระนั้นเราก็เรี ยกว่าสมาธิ กิริยาสัมผัสสมาธิที่ผวิ เผินนี้เอง ได้ก่อตัวให้เกิดความสงสัย กิริยาผิวเผินนี้จะมีเป็ นเวลานาน พอสมควร ตรงนี้แหละต้องเอาความเชื่อเข้าช่วย จึงจะต่อสู ้ในการดําเนินสมาธิต่อไปได้นาน จนกว่าจะเกิดการสัมผัสสมาธิ ในส่ วนความอิ่มเอิบและซาบซึ้ง แต่เมื่อมาถึงสมาธิที่ซาบซึ้งเพียง แป็ บเดียว เดี๋ยวก็หายไปจางไป ก็ทาํ ให้เกิดความสงสัยขึ้นมาอีก จะต้องใช้สติเป็ นหลักประกัน และมีความมานะบากบัน่ ไม่ทอ้ ถอย เรื่ องการสงสัยเรื่ องจุดพลังอํานาจ แต่วา่ ทุกคนก็ยงั ไม่ สามารถที่จะนําจิตเข้าไปสู่ จุดพลังอํานาจนี้ได้ ก็จะมีความสงสัยว่า มันอะไรนะจุดพลังอํานาจ การทําสมาธิสะสมพลังจิต คือ วิธีการหากุญแจไปเปิ ด แต่วา่ เราเปิ ดไม่ได้ การจะหายสงสัยได้ก็ ต้องทําสมาธิสร้างพลังจิตให้มีสติคอยกํากับจนเกิด “วสี ” หมายถึงความชํานาญ จิตของเขานี้ จะต้องผ่านเข้าภวังค์ เพราะการที่จิตของเราเข้าภวังค์ มันจะผ่านเข้าจุดพลังอํานาจทุกครั้งไป เวลาที่เรานอนหลับ เราก็ผา่ น แต่เราทําอะไรไม่ได้ เวลาเรานัง่ สมาธิ จิตเข้าภวังค์ เราก็ผา่ นจุด พลังอํานาจ แต่เราทําอะไรไม่ได้ เพราะมันไม่มีความชํานาญ และพลังจิตยังไม่พอ เพราะฉะนั้น ตัววสี ตวั นี้จะเป็ นตัวแก้ความสงสัยได้อย่างดี พอเวลาไปถึงจุดพลังอํานาจแล้วจะพบสิ่ งที่เขา


41

เรี ยกว่า “พลังจิต” ที่จะแสดงออกมาคล้าย ๆ ตาทิพย์ คนอื่นมองไม่เห็น แต่เรามองเห็น คนอื่น ทําไม่ได้ แต่เราทําได้ 7. ความโลภอยากได้เร็ว ความโลภเป็ นส่ วนหนึ่งของลักษณะการต่อต้านสมาธิ การทํา สมาธิควรจะทําด้วยความสมํ่าเสมอ ต้องทําความเข้าใจตนเองว่าเท่านี้สมควรหรื อไม่ จึงไม่จาํ เป็ น ที่วา่ จะต้องฝึ กการกระทํา หรื อเร่ งการกระทํา ถ้าหากฝื นการกระทํามาก เร่ งการกระทําแบบ เดียวกันกับพระอานนท์ อย่างนี้น้ นั จะไม่ได้ แทนที่จะได้ กลับไม่ได้ เพราะฉะนั้นความ ปรารถนาไม่ใช้ความโลภ แต่วา่ ทําอยูใ่ นปริ มาณพอเหมาะ ไม่ใช่ความโลภ เช่น เราปรารถนากิน อาหาร ไม่ใช่ความโลภ ถ้าหากว่าต้องการอาการเกินปริ มาณ ก็เริ่ มเป็ นความโลภ การทําสมาธิ แต่ละครั้งนั้น จิตใจของคนเรามันมีกาํ หนด คือเมื่อเราทําสมาธิจิตสงบพอถึงจุดอิ่ม จิตก็จะถอน ออกมาเอง เขาเรี ยกว่า ปริ มาณพอดี เพราะความโลภ ซึ่งหมายถึงความต้องการโดยลวก ๆ หรื อ ส่ วนเกิน หรื อด้วยเหตุผลไม่เพียงพอ เหมือนคนจะแบกกระสอบข้าวอย่างนี้แบกทีเดียวสอง กระสอบ หลังหักเลยควรเข้าใจการทําสมาธิตอ้ งใช้เวลาเพราะการทําสมาธิแต่ละครั้งคือการสะสม ซึ่งต้องทําให้สมํ่าเสมอ เหมือนนักบินเจาจะต้องเรี ยนจนครบชัว่ โมงบิน จึงจะเป็ นนักบินได้ เมื่อพูดถึงสัญญา หลายคนหลงสัญญาว่าเป็ นจริ ง ย่อมทําให้ไม่สามารถพบความจริ งได้ เพราะสัญญานี้มนั เหมือนตัวจริ ง สัญญาคือความหมาย มันจะสร้างตัว สร้างรู ป สร้างแบบอะไร ขึ้นมา ตัวเราเป็ นคนสร้าง เวลานัง่ สมาธิ เกิดนิมิตไปเห็นเราเห็นอย่างนั้นจริ ง ๆ นี่คือสัญญาที่เคย เห็นรู ปเอาไว้ เวลานัง่ สมาธิเกิดขึ้นมาก็ฉายภาพออกมาคือสัญญา อันนี้ติดสัญญา เราจะยึด ใคร ว่าอย่างไรก็ไม่ฟัง นี่คือการหลงสัญญา การทําสมาธิกไ็ ม่ค่อยก้าวหน้า เพราะฉะนั้นการทําสมาธิ มีความกระตือรื อร้น หมายถึงความตั้งใจที่แน่วแน่ขยันพากเพียร จะทําให้เกิดผล ไม่เรี ยกว่าเป็ น ความโลภ แต่ได้ชื่อว่าขันติ คือความอดทน เวลาจิตมันสงบสบาย ก็อยากจะทําใหม่ ความอยาก อันนี้ไม่เรี ยกว่าเป็ นความโลภ แต่เรี ยกว่าศรัทธา ซึ่งเป็ นอินทรี ยห์ นึ่งในอินทรี ย ์ 5 ……………………………………….


42

อารมณ์ กบั การเข้ าใจตนเอง

ความนํา โดยทัว่ ไปอารมณ์คือความนึกคิดในใจเรา เกิดจากการประสานงานของอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูกลิ้น กาย ใจ ประสานกับอายตนะภายนอกคือ รู ป รส กลิ่น เสี ยง สัมผัส โดยมี สังขารเป็ นตัวปรุ งแต่ง ตัวก่อเหตุการณ์ คือ สัญญา ความจํา อุปาทาน การยึดมัน่ ถือมัน่ การคิดซํ้า ๆ ซาก ๆ ก็จะเกิดเป็ นความรู ้เป็ นอารมณ์สร้างสรรค์ อารมณ์เป็ นสื่ อความรู ้สึก นึกคิดเข้าสู่ ใจ สิ่ งที่มากระทบจิตคือ อารมณ์ภายนอกและอารมณ์ภายใน ความจริ งสุ ขและทุกข์ ล้วนเกิดขึ้นจากอารมณ์เป็ นสื่ อเข้าสู่ ใจ การสร้างโลกให้เป็ นโลกดี การสร้างธรรมให้เป็ นธรรมก็ ดี ล้วนสร้างขึ้นจากอารมณ์ท้ งั นั้น อารมณ์พอสรุ ปได้ 2 อารมณ์ คือ อิฏฐารมณ์ อารมณ์ ชอบ ใจ และอนิฏฐารมณ์ อารมณ์ไม่ชอบใจ

อารมณ์ ของสมาธิ

อารมณ์ในการทําสมาธิ หมายถึง การกําหนดใจไว้กบั สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งให้แน่วแน่จนจิตน้อม ดิ่งอยูใ่ นสิ่ งนั้นสิ่ งเดียว เรี ยกว่า จิตมีอารมณ์เป็ นหนึ่ง หรื อจิตมีอารมณ์อนั เดียว ความแน่วแน่ของ จิตนี้เรี ยกว่า สมาธิ การจะให้จิตสงบ จําเป็ นต้องอุบาย ที่จะแก้ไขจิตให้น่ิง หรื อสงบ หรื อหยุดจากอารมณ์ คือ”กรรมฐาน” มี 40 วิธี เป็ นการหางานให้จิตทํา เมื่อจิตมีงานทํา จิตก็จะสงบนิ่งอยูก่ บั สิ่ งที่ทาํ นั้น จิตจะเกิดการเรี ยนรู ้ จิตจะเกิดปัญญา แก้ปัญหาความสงสัยในเรื่ องที่ทาํ ที่รู้ ที่ดู ที่เห็นตาม ความเป็ นจริ ง จิตจะเกิดความเบื่อหน่ายคลายความกําหนัดยินดีในสิ่ งที่ทาํ ที่รู้ ที่ดู ที่เห็นต่อไป

กรรมฐาน 40 : กลวิธีเหนี่ยวนําสมาธิ

กรรมฐาน แปลว่า ที่ต้ งั แห่งการทํางานของจิต หรื อที่ให้จิตทํางาน มีความหมายเป็ น ทางการว่า สิ่ งที่ใช้เป็ นอารมณ์ในการเจริ ญภาวนา หรื ออุปกรณ์ในการอบรมจิต หรื ออุบาย หรื อ กลวิธีเหนี่ยวนําสมาธิ นัน่ คือ สิ่ งที่เอามาให้จิตกําหนด จิตจะได้มีงานทําเป็ นเรื่ องเป็ นราว สงบอยู่ ที่ได้ ไม่เที่ยววิง่ เล่นเตลิดหรื อ เคลื่อนเลื่อนลอยฟุ้ งซ้านไปอย่างไร้จุดหมาย หรื อสิ่ งที่เอามาให้จิต กําหนดเพื่อให้เกิดสมาธิ หรื ออะไรก็ได้พอที่จิตกําหนดจับแล้ว จะชักนําจิตให้แน่วแน่อยูก่ บั มัน


43

จนเป็ นสมธิได้เร็วและมัน่ คงที่สุด สรุ ปง่าย ๆ คือ สิ่ งที่ใช้ฝึกสมาธิ กรรมฐานที่พระอรรถกถา จารย์ รวบรวมแสดงไว้มี 40 อย่างคือ 1. กสิ ณ คือ วัตถุอนั จูงใจ หรื อวัตถุสาํ หรับเพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็ นสมาธิ เป็ นวิธีใช้วตั ถุ ภายนอกเข้ามาช่วย โดยวิธีเพ่งเพื่อรวมจิตให้เป็ นหนึ่ง มี 10 อย่างคือ 1) ปฐวีกสิ ณ คือ การเพ่งดินเป็ นอารมณ์ 2) อาโปกสิ ณ คือ การเพ่งนํ้าเป็ นอารมณ์ 3) เตโชกสิ ณ คือ การเพ่งไฟเป็ นอารมณ์ 4) วาโยกสิ ณ คือ การเพ่งลมเป็ นอารมณ์ 5) นีลกสิ ณ คือ การเพ่งสี เขียวเป็ นอารมณ์ 6) ปี ตกสิ ณ คือ การเพ่งสี เหลืองเป็ นอารมณ์ 7) โลหิตกสิ ณ คือ การเพ่งสี แดงเป็ นอารมณ์ 8) โอทาตกสิ ณ คือ การเพ่งสี ขาวเป็ นอารมณ์ 9) อาโลกกสิ ณ คือ การเพ่งแสงสว่างเป็ นอารมณ์ 10) อากาสกสิ ณ คือ การเพ่งอากาศเป็ นอารมณ์ กสิ ณ 10 นี้ จะใช้ของที่มีอยูต่ ามธรรมชาติกไ็ ด้ ตกแต่งจัดทําขึ้นให้เหมาะกับการใช้เพ่ง เฉพาะก็ได้ ซึ่งปัจจุบนั โดยมากนิยมใช้วธิ ีหลัง 2. อสุ ภะ 10 ได้แก่การพิจารณาซากศพในระยะต่าง ๆ กันรวม 10 ระยะ คือ 1) อุทธุมาตกะ พิจารณาศพที่ข้ ึนอึด 2) วินีลกะ พิจารณาซากศพที่มีสีเขียวคลํ้าคละด้วยสี ต่าง ๆ 3) วิปุพพกะ พิจารณาซากศพที่มีน้ าํ เหลืองไหลเยิม้ อยูต่ ามที่แตกปริ 4) วิจฉิททกะ พิจารณาซากศพที่ขาดจากกันเป็ น 2 ท่อน 5) วิกขายิตกะ พิจารณาซากศพที่ถูกสัตว์ เช่น แร้ง กา สุ นขั จิกกัดกินเป็ นอาหาร 6) วิกขิตตกะ พิจารณาซากศพที่กระจุยกระจาย มือ เท้า ศีรษะ หลุดออกไปข้าง ๆ 7) หตวิกขิตตกะ พิจารณาซากศพที่ถูกตัดฟันบัน่ เป็ นท่อน ๆ กระจายออกไป 8) โลหิตกะ พิจารณาซากศพที่โลหิตไหลอาบเรี่ ยราดอยู่ 9) ปุฬวกะ พิจารณาซากศพที่หนอนชอนไชอยูท่ ว่ั ซากศพที่เน่าเหม็นนั้น 10) อัฏฐิกะ พิจารณาซากศพที่ยงั เหลืออยูแ่ ต่กระดูก หรื อท่อนกระดูกต่าง ๆ


44

3. อนุสติ 10 คือ อารมณ์ดีงามที่ควรระลึกถึงเนือง ๆ ได้แก่ 1) พุทธานุสติ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า และพิจารณาคุณของพระพุทธเจ้า 2) ธัมมานุสติ ระลึกถึงพระธรรม และพิจารณาคุณของพระธรรม 3) สังฆานุสติ ระลึกถึงพระสงฆ์ และพิจารณาคุณของพระสงฆ์ 4) สี ลานุสติ ระลึกถึงศีล พิจารณาศีลของตนที่ได้ประพฤติบริ สุทธิ์ไม่ด่าง พร้อย 5) จาคานุสติ ระลึกถึงจาคะ ทานที่ตนได้บริ จาคแล้ว และพิจาณาเห็นคุณธรรม คือ ความเผือ่ แผ่เสี ยสละที่มีในตน 6) เทวตานุสติ ระลึกถึงเทวดาที่ตนเคยได้รู้ได้ยนิ มา พิจารณาเห็นคุณธรรมซึ่ง ทําคนให้เป็ นเทวดา ตามที่มีอยูใ่ นตน 6) มรณสติ ระลึกถึงความตายอันจะต้องมีมาถึงตนพิจารณาให้เกิดความ ประมาท 8) กายคตาสติ ระลึกถึงร่ างกาย หรื อระลึกถึงเกี่ยวกับร่ างกาย คือกําหนด พิจารณากายนี้ ให้เห็นว่าประกอบด้วยส่ วนต่าง ๆ คือ อาการ 32 อันไม่สะอาด ไม่งาม น่าเกลียด เป็ นทางรู ้เท่าทันสภาวะของ กายนี้ มิให้หลงใหลมัวเมา 9) อานาปานสติ สติกาํ หนดลมหายใจเข้าออก 10) อุปสมานุสติ ระลึกถึงพระธรรมเป็ นที่สงบคือนิพพาน และพิจารณาเห็นคุณ ของนิพพาน อันเป็ นที่หายร้อนดับกิเลสและไร้ทุกข์ 4. อัปปมัญญา 4 ธรรมที่พึงแผ่ไปในหมู่สัตว์มนุษย์ท้ งั หลายอย่างมีจิตใจ สมํ่าเสมอทัว่ กันไม่มีประมาณ ไม่จาํ กัดขอบเขต โดยมากเรี ยก กันว่าพรหมวิหาร 4 (ธรรมเครื่ องอยูอ่ ย่างประเสริ ฐ ธรรมประจํา ใจที่ประเสริ ฐบริ สุทธิ์ หรื อคุณธรรมประจําตัวของท่านผูม้ ีจิตใจ กว้างขวางยิง่ ใหญ่) คือ เมตา ความรัก กรุ ณา ความสงสาร มุทิตา อุเบกขา ความมีใจเป็ นกลาง 5. อาหาเร ปฏิกลู สัญญา กําหนดหมายความเป็ นปฏิกลู ในอาหาร 6. จตุธาตุววัฏฐาน กําหนดพิจารณาธาตุ 4 คือ พิจารณาเห็นร่ างกายของตน โดยสักว่า เป็ นธาตุ 4 (ดิน นํ้า ลม ไฟ) แต่ละอย่าง ๆ


45

7. อรู ป 4 ได้แก่ กําหนดสภาวะที่เป็ นอรู ปธรรมเป็ นอารมณ์ ใช้ได้เฉพาะผูท้ ี่เพ่งกสิ ณ 9 อย่างแรกข้อใดข้อหนึ่ง จนได้จตุตถฌานมาแล้ว คือ 1) อากาสานัญจายตนะ กําหนดช่องว่างหาที่สุดมิได้ (ซึ่งเกิดจากการเพิกกสิ ณออกไป) เป็ นอารมณ์ 2) วิญญาณัญจายตนะ กําหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้ (คือเลิกกําหนดที่วา่ ง เลยไปกําหนดวิญญาณที่แผ่ไปสู่ ที่วา่ งแทน) เป็ นอารมณ์ 3) อากิญจัญญายตนะ (เลิกกําหนดวิญญาณเป็ นอารมณ์ เลยไป) กําหนด ภาวะไม่มีอะไรเลย เป็ นอารมณ์ 4) เนวสัญญานาสัญญายตนะ (เลิกกําหนดแม้แต่ภาวะไม่มีอะไรเลย) เข้าถึงภาวะมี สัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ กรรมฐานทั้งหมดนี้ บางทีท่านจัดเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สัพพัตถกรรมฐาน แปลว่า กรรมฐานที่ใช่ประโยชน์ได้หรื อควรต้องใช้ทุกกรณี คือ ทุก คนควรเจริ ญอยูเ่ สมอ ได้แก่ เมตตา และมรณสติ 2. ปาริ หาริ ยกรรมฐาน แปลว่า กรรมฐานที่ตอ้ งบริ หาร หมายถึงกรรมฐานที่เหมาะกับจริ ยา ของแต่ละบุคคล ซึ่งเมื่อลงเมือปฏิบตั ิแล้วจะต้องคอยเอาใจใส่ รักษาอยูต่ ลอดเวลาให้เป็ นพื้นฐาน ของการปฏิบตั ิยงิ่ ขึ้นไป

ความสั มพันธ์ ระหว่ างจริต 6 กับอารมณ์ กรรมฐาน

ท่านว่ากรรมฐาน 40 นั้นแตกต่างกันโดยความเหมาะสมแก่ผปู ้ ฏิบตั ิ ซึ่งควรเลือกใช้ ให้เหมาะกับลักษณะนิสัยความโน้มเอียงของแต่ละบุคคลที่เรี ยกว่าจริ ตต่าง ๆ ถ้าเลือกได้ถูกกันก็ ปฏิบตั ิได้ผลดีและเร็ว ถ้าเลือกผิด อาจทําให้ปฏิบตั ิล่าช้าหรื อไม่สาํ เร็จ จริ ต แปลว่า ความประพฤติ หมายถึงพื้นเพของจิตลักษณะความประพฤติที่หนักไป ทางใดทางหนึ่งตามสภาพจิตที่เป็ นปกติของบุคคลนั้น ๆ จริ ตประเภทใหญ่ ๆ มี 6 (วิสุทฺธิ. 1/127) คือ 1. ราคจริ ต ผูม้ ีราคะเป็ นความประพฤติ มีลกั ษณะนิสัยหนักไปทางราคะ ประพฤติ หนักไปทางรักสวยรักงาม ละมุนละไม ควรเจริ ญกรรมฐาน 11 อย่าง คือ อสุ ภะ 10 กายคตา สติ 1


46

2. โทสจริ ต ผูม้ ีโทสะเป็ นความประพฤติเป็ นปกติ มีลกั ษณะนิสัยไปทางโทสะ ประพฤติหนักไปทางใจร้อน หงุดหงิด รุ นแรง ควรเจริ ญกรรมฐาน 4 อย่าง คือ อัปปมัญญา 4 วรรณกสิ ณ 4 3. โมหจริ ต ผูม้ ีโมหะเป็ นความประพฤติ มีลกั ษณะนิสัยหนักไปทางโมหะ ประพฤติหนักไปทางเขลาเหงาซึม งมงาย ใครว่าอย่างไรก็เห็นคล้อยตามไป พึงแก้ดว้ ย การศึกษา ไต่ถาม ฟังธรรม สนทนาธรรมตามกาล หรื ออยูก่ บั ครู ควรเจริ ญอาณาปนสติ กรรมฐาน 4. สัทธาจริ ต ผูม้ ีศรัทธาเป็ นความประพฤติเป็ นปกติ มีลกั ษณะนิสัยมากด้วยศรัทธา ประพฤติหนักไปทางซาบซึ้ง ชื่นบาน เลื่อมใสโดยง่าย พึงชักนําไปในสิ่ งที่ควรแก่ความ เลื่อมใส และความเชื่อที่มีเหตุผล เช่น ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย และศีลของตนเป็ นต้นควร เจริ ญอนุสติ 6 คือ พุทธานุสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสติ สี ลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ 5. พุทธิจริ ต หรื อญาณจริ ต ผูม้ ีความรู ้เป็ นความประพฤติเป็ นปกติ มีลกั ษณะนิสัย ความประพฤติหนักไปทางใช้ความคิดพิจารณาและมองไปตามความจริ ง พึงส่ งเสริ มด้วยแนะนํา ให้ใช้ความคิดพิจารณาสภาวธรรมและสิ่ งที่ดีงามที่ให้เจริ ญปัญญา เช่น พิจารณาไตรลักษณ์ ควร เจริ ญกรรมฐาน 4 อย่าง คือ มรณสติ อุปมานุสติ จตุธาตุววัฎฐาน อาหาเร ปฏิกลู สัญญา 6. วิตกจริ ต ผูม้ ีวติ กเป็ นความประพฤติปกติ มีลกั ษณะนิสัยความประพฤติหนักไป ทางชอบครุ่ นคิดวกวน นึกคิด จับจด ฟุ้ งซ่าน ควรเจริ ญ อานาปานสติ หรื อเพ่งกสิ ณ


47


48

กรรมฐานแต่ละประเภทมีรายละเอียดวิธีเจริ ญแตกต่างกันไป แต่กระนั้น ก็พอจะ สรุ ปเป็ นหลักการทัว่ ไปอย่างกว้าง ๆ โดยจัดเป็ นการเจริ ญหรื อการฝึ ก 3 ขั้น คือ บริ กรรมภาวนา อุปจารภาวนา และ อัปปนาภาวนา แต่ก่อนจะกล่าวถึงภาวนา 3 ขั้น มีคาํ ที่ควรทําความเข้าใจคํา หนึ่งคือ นิมิต

นิมิตกับอารมณ์ กรรมฐาน นิมิต คือ เครื่ องหมายสําหรับให้จิตกําหนด หรื อภาพที่เห็นในใจซึ่งเป็ นตัวแทนของ สิ่ งที่ใช้เป็ นอารมณ์กรรมฐาน แบ่งเป็ น 3 อย่าง (วิสุทธิ . 1/159) ตามลําดับความเจริ ญ คือ 1. บริ กรรมนิมิต นิมิตขั้นเตรี ยมการหรื อเริ่ มต้น ไดแก่ส่ิ งใดก็ตามที่กาํ หนดเป็ น อารมณ์ในการเจริ ญเจริ ญกรรมฐาน เช่น ดวงกสิ ณที่เพ่งดู หรื อพุทธคุณที่กาํ หนดนึกเป็ น อารมณ์วา่ อยูใ่ นใจเป็ นต้น 2. อุคคหนิมิต นิมิตติตตา ได้แก่บริ กรรมนิมิตนัน่ เองที่เพ่งหรื อนึกกําหนดจนเห็น แม่นยํา กลายเป็ นภาพติดตาติดใจ เช่น ดวงกสิ ณที่เพ่งจนติดตาหลับตามองเห็นเป็ ฯต้น 3. ปฏิภาคนิมิต นิมิตคู่เปรี ยบ หรื อนิมิตรเทียบเคียง ได้แก่นิมิตที่เป็ นภาพเหมือน ของอุคคหนิมิตนัน่ เอง แต่ติดลึกเข้าไปอีกจนเป็ นภาพที่เกิดจากสัญญาของผุท้ ี่ได้สมาธิ สามารถ นึกขยายหรื อย่อส่ วนได้ตามปรารถนา นิมิตสองอย่างแรกคือ บริ กรรมนิมิตและอุคคหนิมิต ได้ทว่ั ไปในกรรมฐานทุกอย่าง แต่ปฏิภาคนิมิตได้เฉพาะกรรมฐาน 22 อย่างที่มีวตั ถุสาํ หรับเพ่งคือ กสิ ณ 10 อสุ ภะ 10 ภายคตา สติ และอาณาปนสติ เท่านั้น ต่อไปพึงทราบภาวนา

ภาวนากับนิมิตและสมาธิ

ภาวนา คือการฝึ กสมาธิข้ นั ต่าง ๆ แบ่งเป็ น 3 ประเภท (สงฺคห.51) คือ 1. บริ กรรมภาวนา การเจริ ญสมาธิข้ นั เริ่ มต้น ได้แก่การกําหนดถือเอานิมิตในสิ่ งที่ ใช้เป็ นอารมณ์กรรมฐาน เช่นเพ่งดวงกสิ ณ กําหนดลมหายใจเข้าออกที่กระทบปลายจมูกหรื อ นึกถึงพุทธคุณเป็ นอารมณ์วา่ อยูใ่ นใจเป็ นต้น พูดง่าย ๆ ว่ากําหนดบริ กรรมนิมิตนัน่ เอง 2. อุปจารภาวนา การเจริ ญสมาธิข้ นั อุปาจาร ได้แก่อาศัยบริ กรรมสมาธิ เอาจิต กําหนดอุคคหนิมิตต่อไปจนกระทัง่ แน่วแน่แนบสนิทในใจ เกิดเป็ นปฏิภาคนิมิตขึ้น นิวรณ์ก็


49

สงบระงับ ในกรรมฐานที่ไม่มีวตั ถุเพ่งเพียงแต่นึกถึงอารมณ์อยูใ่ นใจ ไม่มีปฏิภาคนิมิต กําหนด ด้วยจิตแน่วแน่จนนิวรณ์ระงับไปอย่างเดียว จิตก็ต้ งั มัน่ เป็ นอุปจารสมาธิ 3. อัปปนาภาวนา การเจริ ญสมาธิข้ นั อัปปนา ได้แก่ เสพปฏิภาคนิมิตที่เกิดขึ้นแล้ว นั้นสมํ่าเสมอด้วยอุปจารสมาธิ พยายามรักษาไว้ไม่ให้เสื่ อมหายไปเสี ย โดยหลีกเนสถานที่ บุคคล อาหารเป็ นต้นที่ไม่เป็ นสัปปายะ เสพแต่ส่ิ งที่เป็ นสัปปายะและรู ้จกั ปฏิบตั ิตามวิธีที่จะช่วย ให้เกิดอัปปนา เช่น ประคับประคองจิตให้พอดีเป็ นต้นจนในที่สุดก็เกิดเป็ นอัปปนาสมาธิ บรรลุ ปฐมฌานเป็ นขั้นเริ่ มแรกของรู ปาวจรสมาธิ ตัวอย่ างความสั มพันธ์ ระหว่ างจริตกับอารมณ์ กรรมฐาน : เรื่องสั ทธิวหิ าริกของพระสารีบุตร ในเมืองสาวัตถี เมืองหลวงอาณาจักโกศลในสมัยพุทธกาล ได้มีบุตรนายช่างทองคน หนึ่ง เป็ นเด็กหนุ่มรู ปหล่อ ออกบวชอยูใ่ นสํานักพระสารี บุตร พระอัครสาวกฝ่ ายขวา พระเถระ คิดว่า "พวกคนหนุ่มมีราคะมาก" จึงได้ให้อสุ ภกรรมฐาน เพื่อนําไปปฏิบตั ิกาํ จัดราคะ แต่อสุ ภ กรรมฐานไม่เหมาะ (ไม่ถูก) กับพระหนุ่มรู ปนั้น ฉะนั้น เมื่อท่านรับกรรมฐานไปแล้วก็เข้าป่ าเพื่อ หาที่สงบสําหรับการปฏิบตั ิกรรมฐาน เพียรพยายามอยูถ่ ึง 3 เดือนก็ไม่อาจเพื่อทําจิตให้เป็ นสมาธิ ได้ จึงได้กลับมาหาพระสารี บุตรผูเ้ ป็ นอุปัชฌาย์ของตนอีก บอกถึงการบําเพ็ญกรรมฐานของตน ว่าไม่สาํ เร็จผล พระสารี บุตรพูดว่า "ไม่ควรตัดสิ นใจว่ากรรมฐานไม่สาํ เร็จ" แล้วได้ให้อสุ ภกรรมฐาน เดิมนั้นเองให้นาํ ไปปฏิบตั ิอีก โดยอธิบายเหตุผลและยกตัวอย่างให้เห็นชัดยิง่ ขึ้น พระหนุ่มรู ปนั้น ก็กลับไปปฏิบตั ิไม่ได้ผล ก็กลับมาบอกแก่พระเถระอีก พระเถระมาคํานึงว่า "ธรรมดาว่าภิกษุผปู ้ ฏิบตั ิ เมื่อกิเลสทั้งหลายมีกามฉันท์ เป็ นต้น ยังมีอยูใ่ นตน ก็ทราบได้วา่ ยังมีอยู่ เมื่อไม่มี ก็ทราบว่าไม่มีอยู่ และพระภิกษุน้ ีกเ็ ป็ นผูป้ ฏิบตั ิ ไม่ใช่ไม่ปฏิบตั ิ แต่เราไม่รู้อธั ยาศัย (จริ ต) ของเธอ ภิกษุน้ ีคงจะเป็ นผูท้ ี่พระพุทธเจ้าจะพึงแนะนํา (เป็ นวิสัยของพระพุทธเจ้าที่จะพึงแนะนํา)" ท่านจึงได้พาพระภิกษุผเู ้ ป็ นสัทธิวหิ าริ กรู ปนี้ ไปเฝ้ า พระพุทธเจ้าในเวลาเย็นของวันหนึ่ง กราบทูลว่า "ข้าแต่พระองค์ผเู ้ จริ ญ พระรู ปนี้เป็ น สัทธิวหิ าริ กของข้าพระองค์ ข้าพระองค์ได้ให้อสุ ภกรรมฐานแก่เธอ เพราะเหตุที่เธอเป็ นคนหนุ่ม " แล้วได้กราบทูลเรื่ องทั้งหมดให้ทรงทราบ


50

พระพุทธองค์เมื่อทรงสดับแล้ว ก็ทรงตรวจดูจริ ตอุปนิสัยของพระภิกษุน้ นั ทันที โดยครั้ง แรกทรงทราบว่า เธอออกบวชจากตระกูลช่างทอง แล้วทรงตรวจดูยอ้ นหลังไปในอดีตชาติหลาย ร้อยชาติ ก็ทรงทราบว่า เธอเคนเกิดอยูใ่ นตระกูลของช่างทองตอดต่อกันถึง 500 ชาติ แล้ว พระองค์กท็ รงดําริ วา่ "พระภิกษุหนุ่มรู ปนี้ เคยประกอบอาชีพการทําทองอยูเ่ ป็ นเวลานาน ได้ หลอมทองสี แดงล้วน ด้วยคิดว่า "เราจัดทําให้เป็ นพวงดอกกรรณิ การ์ และพวงดอกบัว เป็ นต้น " อสุ ภกรรมฐานอันเป็ นของปฏิกลู ไม่เหมาะสมแก่ภิกษุน้ ี กรรมฐานที่พอใจเท่านั้นจึงจะเหมาะแก่ เธอ" แล้วตรัสแก่พระสารี บุตรเถระว่า "สารี บุตร วันนี้เธอจักได้เห็นพระภิกษุที่เธอให้ กรรมฐานทําให้ลาํ บากอยูถ่ ึง 4 เดือน บรรลุพระอรหัต ในเวลาหลังอาหารเช้าในวันนี้" เมื่อพระเถระกลับไปแล้ว พระพุทธองค์จึงทรงนิมิตดอกบัวหลวงสี เหมือนทองคํา ประมาณเท่าล้อเกวียนด้วยอํานาจฤทธิ์ ทรงทําให้เป็ นราวกะว่ากําลังหลัง่ หยดนํ้าออกจากกลีบ แและจากก้านของมัน แล้วทรงประทานให้แก่พระภิกษุน้ นั โดยตรัสว่า "ภิกษุ จงเอาดอกบัวหลวง นี้ไปวางไว้บนกองทรายด้านสุ ดแดนของวัด แล้วนัง่ ขัดสมาธิหนั หน้าไปหาดอกบัวหลวงนี้ ทํา การบริ กรรมภาวนาว่า "โลหิต ํ โลหิต ํ (แดง ๆ)" เมื่อพระภิกษุน้ นั รับดอกปทุมจากพระหัตถ์ของพระพุทธเจ้าเท่านั้น จิตใจก็เลื่อมใส ท่าน ได้นาํ ไปยังทางด้านสุ ดแดนของวัด ให้ก่อกองทราบขึ้นปักก้านดอกปทุมบนกองทราบนั้น แล้ว นัง่ ขัดสมาธิหนั หน้าไปยังดอกปทุมนั้น เริ่ มบริ กรรมภาวนาว่า "โลหิต ํ โลหิต ํ (แดง ๆ)" ท่านกําจัด นิวรณ์ท้ งั หลายลงได้ในขณะนั้นนัน่ เอง อุปจารสมาธิกเ็ กิดขึ้น ต่อจากนั้นท่านทําปฐมฌานให้ เกิดขึ้น ทําให้เกิดความชํานาญในปฐมฌานนั้นแล้ว นัง่ อยูต่ ามสบาย ต่อจากนั้นก็ได้บรรลุฌานที่ 2 ที่ 3 และที่ 4 แล้วนัน่ เล่นฌานกีฬาอยู่ (ความเพลิดเพลินในฌาน) อยูใ่ นฌานที่ 4 เมื่อท่านออก จากฌานแล้ว มาพิจารณาความไม่เที่ยง ความเป็ นทุกข์ และความเป็ นอนัตตา ในดอกบัวนั้น ที่สุด ก็ได้บรรลุเป็ นพระอรหัต ในเช้าวันนั้นนัน่ เอง จะเห็นว่าการรู ้จริ ตแล้วให้กรรมฐานอันเหมาะกับจริ ตนั้นมีความสําคัญมาก อสุ ภ กรรมฐานไม่ถูกไม่เหมาะกับภิกษุรูปนี้ แต่โลหิตกสิ ณเหมาะสําหรับท่าน ฉะนั้นการปฏิบตั ิ กรรมฐานเพื่อพัฒนาจิต จึงควรเลือกกรรมฐานที่เหมาะกับจริ ตของตนเอง เมื่อกรรมฐานใดเหมาะ แล้วไม่ควรเปลี่ยน เพราะจะทําให้เป็ นการเริ่ มต้นใหม่ ……………………………………………….


51

ลักษณะและประสบการณ์ ของสมาธิ ลักษณะของสมาธิ เมื่อผูบ้ าํ เพ็ญสมาธิจิตสงบแล้วจะพบสิ่ งพิเศษต่าง ๆ เช่น ตัวเบาสบายเหมือนตัวเราสู ง ใหญ่ เหมือนตกเหว เหมือนลอยอยูใ่ นอากาศ ถือว่าจิตได้เป็ นสมาธิแล้วลักษณะต่าง ๆ เกิดขึ้น จะเป็ นประเดี๋ยวประด้าวแล้วก็หายไป เป็ นธรรมดาของสมาธิ จิตธรรมดานั้นจะเป็ นสุ ขหรื อเป็ น ทุกข์กเ็ ป็ นด้วยอารมณ์ จิตเกาะติดกับอารมณ์ตลอดระยะเวลา ส่ วนจิตสมาธิ มุ่งมัน่ เอาจิต ปราศจากอารมณ์เป็ นที่ยดึ เหนี่ยว การเริ่ มต้นฝึ กสมาธิ ก็จะต้องกําจัด “อารมณ์” เพราะสมาธิน้ นั เป็ นแนวทางแห่งสติ ที่มิให้เกิดความผิดพลาดในกิจการงานหน้าที่ สมาธิมีลกั ษณะอาการกิริยาที่พอกําหนดได้เช่น 1. สมาธิธรรมชาติ คือ จิตไม่ต้ งั มัน่ หวัน่ ไหวง่าย อ่อนแอ ทุก ๆ คนมีสมาธิธรรมชาติ ด้วยกันทั้งนั้น การทํางานด้วยความจดจ้อง การเรี ยน การอ่าน ล้วนเป็ นสมาธิต้ืน ทุกคนได้สมาธิ ธรรมชาติจากการพักผ่อนและนอนหลับแต่ละครั้ง 2. สมาธิที่สร้างขึ้น คือ จิตที่ต้ งั มัน่ ไม่หวัน่ ไหวง่าย เป็ นสมาธิที่สร้างขึ้นอย่างมีระบบ อย่างมีข้ นั ตอน สมาธิที่สร้างขึ้นจะเป็ นพลังหลักปรากฏอยูใ่ นใจของเราตลอดไป ไม่มีการสู ญ สลายตัว ส่ วนสมาธิธรรมชาติมีมาใช้ไป ไม่อยูค่ งทนเกิดขึ้นสลายตัวไปในการใช้งาน

ขั้นตอนสมาธิ

การทําสมาธิ จําเป็ นต้องมีข้ นั ตอนไปสู่ เป้ าหมายเช่นกัน ดังนั้นการวางพื้นฐาน สมาธิมี 3 ขั้นตอนคือ 1. ขณิ กะ แปลว่าเล็กน้อย หรื อชัว่ ขณะ อันดับแรกจากบริ กรรมนัน่ แหละคือ ขณิ กะ สมาธิ จะมีปรากฏที่เกิดขึ้นชัว่ แว้บว้าบ มันจะเกิดขึ้นในจุดเดิมนี้ทุกครั้ง พอบริ กรรมแล้ว จิตก็ จะเข้าถึงจุดนี้กจ็ ะเกิดความสบายที่ผดิ ธรรมดา อันนี้คือจุดที่จะต้องรวบรวมกําลังและหากว่า ทอดทิ้งโดยไม่มาทําอีกเป็ นการต่อเนื่อง มันก็จะค่อย ๆ หมดสภาพไป ครั้นจะทําขึ้นใหม่กต็ อ้ งมี ขั้นตอนเริ่ มใหม่เพื่อหาจุดที่จะเป็ นจุดเริ่ มแรก พยายามจดจําขณะจิตที่ดาํ เนินนั้น เพ่งมองเห็น ความเคลื่อนไหวของจิต ที่บริ กรรมแล้วหยุดนิ่ง ตลอดจนถึงจิตรวม จิตเข้าภวังค์ จิตสว่างโล่ง โถง จิตเยือกเย็น ตัวเบา ตัวใหญ่ ตัวเล็ก ตัวลอย หรื ออาการต่าง ๆ ในทางเย็นสบายเป็ นต้น ทุก ๆ อาการเหล่านี้ หรื อเห็นถึงนิมิตต่าง ๆ แสดงถึงความเป็ นของขณิ กสมาธิ


52

2. อุปจารสมาธิ แปลว่า สมาธิข้ นั กลาง อันนี้หมายถึงความชํานาญเกิดขึ้น สมาธิอยูไ่ ด้ นานมีความรู ้ในสมาธิน้ นั การทําสมาธิได้เร็วขึ้นและนานขึ้น 3. อัปปนาสมาธิ แปลว่า สมาธิข้ นั สู ง สามารถทําให้เกิดฌานขั้นสู งได้ เช่น รู ปฌาน อรู ปฌาน คือ ฌานชั้นสู งสุ ดของสมาธิ จิตนั้นจะอยูน่ ิ่งได้ตามประสงค์อย่างไรก็ตาม คือสมาธิ ย่อมอยูไ่ ด้ และมีการเสื่ อมสภาพได้

คุณสมบัตขิ องสมาธิ สมาธิเป็ นคุณสมบัติอนั เลิศ ที่มีลกั ษณะซึมซาบให้เกิดขึ้นกับใจ ลักษณะเป็ นลมละเอียด ชนิดถูกกลัน่ กรองจนเป็ นปุย มีความแกร่ งแต่อ่อนละมุน มีความนุ่มแต่เหนียวแน่น มีการตั้งอยู่ ในลักษณะแห่งฐานรองรับ สมาธิ เป็ นลักษณะลมละเอียด ถูกกลัน่ กรองจนอ่อนนุ่มแต่แกร่ ง พร้อมจะซึมซาบเข้า สู่ ใจมีความเป็ นเชิงรับ บังเกิดความสุ ข เพราะรองรับ คือสติความระลึกอันเป็ นความเหนียวไม่ ขาดง่าย ๆ สุ ขมุ ลุ่มลึกสุ ดจะประมาณ อาการแสดงออกให้เห็นสิ่ งต่าง ๆ เป็ นนิมิตเกิดแสงสว่าง สบายสุ ขเกษม อาการนี้ได้รับการซึมซาบจากสมาธิ ฐานรองรับนั้นแกร่ งด้วยความผสมจิต -สติ เพื่อความคงอยูข่ องพลังที่จะเข้ามารวมอยูท่ ี่ฐานให้แกร่ งขึ้น เพื่อให้ฐานใหญ่และแกร่ งขึ้น ตามลําดับ สมาธิได้จากคําสอนที่มีมาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาแนะนําการกระทําต่าง ๆ พระสงฆ์ ผูส้ นใจ ได้ศึกษาแล้วปฏิบตั ิตามหนทางที่ระบุไว้ในคําสอนนั้น ๆ ผลที่ออกมาเป็ นที่ประจักษ์แก่ ทุก ๆ คน และสอนต่อ ๆ กันมาในเรื่ องการนัง่ สมาธิตามแบบที่ถูกต้อง โดยบริ กรรมมาตามลําดับจนบังเกิดตามเหตุผลของการดําเนินการ จนเข้าใจเหตุผลที่วา่ เพราะเหตุใดจึงต้องทําสมาธิ ทําเพื่อต้องการมีสุขภาพกายและสุ ขภาพใจที่ดีนน่ั เอง สุ ขภาพใจนั้น เมื่อเกิดสมาธิแล้ว ก็จะทําให้จิตใจไม่ฟุ้งซ่าน เพราะความฟุ้ งซ่านเป็ นหนทางให้เกิดโรคทางจิตใจ มาก จนถึงเกิดความคลุม้ คลัง่ มีความไม่เป็ นตัวของตัวเอง ความสุ ขหายไป สมาธิสาํ คัญต่อมนุษย์ สมาธิคือสมบัติที่มีความสําคัญแก่การพัฒนามนุษย์ ให้มีความเป็ น มนุษย์ที่สมบูรณ์ คือการพัฒนาจิตใจที่สูงขึ้น เพราะความสงบที่เกิดขึ้นนั้นเป็ นปัจจัยให้เล็งเห็น ความสุ ขที่ทุกคนปรารถนา เพราะสมาธิตอ้ งมีการสะสมให้เป็ นการเพียงพอเพื่อหล่อเลี้ยงจิตใจ เมื่อสมาธิเกิดขึ้น วิธีการรักษาเพื่อดํารงไว้ซ่ ึงสมาธิ และการพัฒนาสมาธิให้มากขึ้น จึงต้องมีหลักเกณฑ์พอสงควรเช่น


53

1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

การทําก็ตอ้ งอยูใ่ นลักษณะศรัทธา การระวังมิให้จิตเขวไป เชื่อในสิ่ งที่ไม่ควรเชื่อ การกระทําอย่างต่อเนื่อง ไม่กงั วลจนเกินไป การศึกษาต่อผูร้ ู ้กค็ วรถามและใคร่ ครวญ ความเชื่อมัน่ ความตั้งใจแน่วแน่

การวัดผลของสมาธิ ต้องทราบว่า ผูบ้ ริ กรรมพุทโธ จนจิตสงบหรื อจิตรวม หรื อจิตสว่าง หรื อจิตเบา ถ้าจิต บังเกิดขึ้นเราจะวัดผลอย่างไร กําหนดเอาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนา ดังนี้ ขณิ กสมาธิ มี 6 ขั้นคือ ขั้นที่ 1 บริ กรรม เพียงขณะที่บริ กรรม คือจับคําบริ กรรมได้ จิตก็เป็ นสมาธิแล้ว ขั้นที่ 2 หลังจากบริ กรรมเกิดความสบาย เพียงเท่านี้กเ็ ป็ นสมาธิอนั ถือได้วา่ เกิดผลในขั้นแรก ๆ ขั้นที่ 3 หลังจากบริ กรรมจิตเข้าภวังค์ ทําให้เกิดความไม่รู้ตวั แล้วเข้าไปอยูใ่ น ความสบาย ขั้นที่ 4 เข้าภวังค์ การเข้าภวังค์แล้วเห็นสิ่ งต่าง ๆ ตลอดถึงมีความลึกซึ้ง ขั้นที่ 5 เริ่ มชํานาญภวังค์ หมายถึงความชํานาญในภวังค์เพราะเข้าได้รวดเร็วกว่า ธรรมดา ขั้นที่ 6 เริ่ มมีกระแส หมายถึง การเข้าภวังค์จนมีการกําหนดได้วา่ จิตก่อนจะลง ภวังค์เป็ นอย่างไรพร้อมเห็นชัดเจนขึ้น อุปจารสมาธิ มี 6 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ความชํานาญในการเข้าภวังค์ ขั้นที่ 2 ความสว่างในภวังค์ (ไม่ใช่นิมิต) ขั้นที่ 3 ความมีกระแสจิต ขั้นที่ 4 การไม่กระเทือนในเสี ยงต่าง ๆ


54

ขั้นที่ 5 การรู ้ตวั ผูร้ ู ้ ขั้นที่ 6 การถึงจุดพลังอํานาจ อัปปนาสมาธิ มี 6 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การสัมผัสอาทิสมานกายได้ ขั้นที่ 2 การแสดงตาทิพย์ของอาทิสมานกาย ขั้นที่ 3 เข้าภวังค์ดาํ เนินการในภวังค์ได้ ขั้นที่ 4 การอยูด่ ว้ ยปกติฌานได้ตามกําหนด ขั้นที่ 5 การระงับเวทนาทั้งหมด ขั้นที่ 6 การกําหนดสู ญญากาศไม่เกี่ยวข้องในโลกภายนอก

สมาธิตนื้ การเข้าสมาธิครั้งแรก ๆ แม้จะมีความนึกคิดอยู่ แต่อยูใ่ นกรอบหมายความว่า เราพูดคุยก็ ถือว่าเป็ นสมาธิ เพราะความที่เรามีสติอยู่ เราเรี ยกว่า สมาธิต้ืน สมาธิต้ืนนี้มีความสําคัญต่อ กิจการประจําวันเวลาเราทํางานจะมี สมาธิ หมายถึง สติ การทํางานนั้น ๆ ก็จะไม่ใคร่ พลาด พลั้ง เวลา เดินจงกรม โดยมากเป็ นสมาธิต้ืน ถ้าเปรี ยบเทียบสมาธิต้ืนก็เหมือนกับพลังงานที่ได้ กําลังใช้งาน แม้บุคคลผูม้ ีจิตเป็ นสมาธิสูงแล้ว เวลาจะเดิน วิปัสสนาก็ใช้ได้ สมาธิลึกจึงเปรี ยบ ด้วยการสะสมเงิน สมาธิต้ืนจึงเปรี ยบเหมือนกับการใช้เงิน สมาธิต้ืนนั้น คือการบริ กรรม หรื อ การสงบอยูใ่ นระยะของกายหยาบ จะมีความรู ้สึกตัวอยู่ แต่จิตนั้นมีสติ ถึงจะนึกคิด ก็เป็ นสมาธิ อยูน่ นั่ เอง ยกเว้นแต่ปล่อยเลยไปตามอารมณ์

สมาธิลกึ สมาธิลึกนั้น คือ ความสงบจนเกิดความนิ่งในที่สุดก็เข้าภวังค์ไป เพราะสมาธิลึกนั้นเป็ น ส่ วนของความเสวยผล และเป็ นแหล่งให้เกิดศรัทธายิง่ ๆ ขึ้น เนื่องจากได้พบความสุ ขที่มากขึ้น ในการสัมผัสความรู ้สึกของสมาธิที่ลึกซึ้งนั้น จะมีความซาบซึ้งเป็ นอย่างยิง่ การเกิดขึ้นของ ความสุ ขตรงนี้จะมีการหยัง่ ลึกเข้าสู่ ความเชื่อมัน่ สมาธิต้ืนเป็ นสมาธิใช้งาน สมาธิลึกเป็ นส่ วน ช่วยแรงสนับสนุน สมาธิลึกที่ให้ปรากฏการณ์ต่าง ๆ มีอาการเป็ นสุ ขอย่างซาบซึ้ง เป็ นภาพนิมิต


55

นานับประการเกิดความมีความเป็ นเหนือธรรมชาติเหล่านี้น้ นั เป็ นอาการกิริยาของจิตทําให้ ปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น ดังนั้นจึงต้องไม่ใส่ ใจนักปล่อยให้เกิดขึ้นโดยมีสติระลึกอยู่ อย่าคิด เอาเองไปตามอาการกิริยาและไม่หลงตามอาการกิริยาเหล่านั้น

อาการของสมาธิ จําเป็ นอย่างยิง่ ต้องทราบข้อเท็จจริ ง มิฉะนั้นจะเกิดความผิดพลาด เช่น อาการต่าง ๆ เหมือนเข้าทรง หรื อเหมือนล่องลอยไปในอากาศ แล้วก็เข้าใจว่าเทพองค์น้ นั องค์น้ ีมาเข้า แท้จริ ง ไม่ใช่ เป็ นเพียงนิมิต เช่น รู ้สึกเข้าภวังค์ตวั ลอยเทพมาเข้าไปเลยเถิด เพราะเวลาจิตเข้าภวังค์น้ นั ความโน้มน้าวของจิตเป็ นสิ่ งตามได้ทุกวิถีทาง เพราะขณะจิตเข้าภวังค์น้ นั มิได้เป็ นตัวของตัวเอง ดังนั้นสื่ อ คืออารมณ์กจ็ ะเป็ นผูช้ ้ ีแนะ เมื่อเป็ นเช่นนั้นกิริยาอาการต่าง ๆ ก็จะเป็ นไปในทํานองที่ อารมณ์ส่งั ในเมื่อจิตกําลังเข้าสู่ ภวังค์ ก็มารู ้สึกตัวเอาทีหลังแบบว่าตัวเองก็ไม่ทราบทําอะไรไป แล้วก็เข้าใจว่าเป็ นสิ่ งนั้นสิ่ งนี้ ดังนั้นการดูแลอาการของสมาธิเป็ นความสําคัญและจําเป็ นอย่างมาก อันเป็ นแนวการ ดําเนินสมาธิดว้ ยความถูกต้อง จะไม่มีการกังวลลังเลสงสัย ซึ่งจะทําให้เกิดความมัน่ ใจในตนเอง โดยมีลาํ ดับอาการ ดังต่อไปนี้ 1) อารมณ์ อารมณ์เมื่อบริ กรรมไป อารมณ์อื่นๆ จะอยูไ่ ม่ได้ จนในที่สุดจะเหลือพุทโธ เราเรี ยกอาการนี้วา่ “เอกัคคตารมณ์” อย่างนี้ถือว่าเป็ นการนิ่งด้วยอานุภาพอารมณ์ที่นึกพุทโธ 2) ชวนจิต ความวกวนเกิดจากจิต เรี ยกว่ากระแสจิต ชวนจิตจึงแปลงอารมณ์ต่าง ๆ ให้ เข้ารู ปเข้ารอย ด้วยกําลังจิตที่เพิม่ ขึ้น ชวนจิตจึงล่องลอยเข้าสามองค์พุทโธ ทําความวุน่ วายให้ กลับเป็ นความสงบเย็น ชวนจิตจะเกิดสิ่ งที่สมาธิตอ้ งการ เพราะชวนจิตกับตัวผูร้ ู ้จะเดินเข้าสู่ กันเองอย่างเช่นคนคิดแก้เครื่ องยนต์ ตรงไหนติดขัด ชวนจิตจะเข้าไปคิดช่วยแก้ไขจนแก้สาํ เร็จ 3) ปี ติ อันนี้เกิดจากชวนจิตแก้ไขสําเร็จแล้ว ก็เกิดความสุ ขของสมาธิข้ ึนอย่างประหลาด ดังนั้น ปี ติ ความเพลิดเพลินหรื ออิ่มอกอิ่มใจในอาการกิริยาทําให้ตอ้ งการทําสมาธิจึงเกิดขึ้นและ เกิดขึ้นตามลําดับ 4) ความสุ ข เป็ นกิริยาที่เกิดขึ้นจากปี ติ หรื อความดีใจของการเดินหรื อทําสมาธิที่เป็ นผล เพราะเมื่อสมาธิเกิดความสุ ขแล้ว ความพอใจทั้งหลายจะพรั่งพรู เข้ามาสู่ ใจของผูท้ าํ สมาธิอย่างมาก สุ ดจะพรรณนา


56

5) นิมิต ผูท้ าํ สมาธิท้ งั หลายเมื่อทําสําเร็จไปแต่ละขั้น ๆ เขาจะวาดภาพขึ้นในมโนภาพ จนเกิดนิมิตมากมายสุ ดจะพรรณนา นิมิตเหล่านี้คืออาการแห่งมโนภาพ 6) ภวังค์ แม้เราทราบว่าความดื่มดํ่าที่เกิดจากสมาธิน้ นั จะต้องพบกับภวังค์น้ นั เป็ น ธรรมดา แต่จะต้องทราบว่า การพักของภวังค์น้ นั คือการเข้าสู่ อาทิสมานกาย ในที่น้ ีจึง ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นตามจังหวะ หมายถึงภาพนิมิตต่าง ๆ จะถูกขยายภาพเข้าสู่ ภวังค์ มากมาย จึงมีท้ งั สาระ และไร้สาระ 7) อาการภายนอก-ภายในเกิดขึ้น อาการนี้จะตื่นเต้นเมื่อเกิดสิ่ งดี จะหวาดกลัวเมื่อเกิดสิ่ ง ร้าย อาการภายในคืออาการนิมิตที่เกิดขึ้นในภวังค์ ต้องทราบว่าเป็ นเพียงกิริยาจิต อาการ ภายนอกหมายถึงการแสดงออก อันนี้ตอ้ งระวัง ถ้าแสดงโลดโผนเกินไปก็ไม่ดี แต่อาการนั้น ๆ ก็ จะต้องอยูใ่ นดุลยพินิจแห้งสติปัญญาด้วย 8) การเชื่อถือ เราจะต้องไม่เชื่อในอาการเหมือนผีบอก หรื ออย่างที่มีอะไรมาบอกใน เวลาทําสมาธิอย่างนั้นอย่างนี้เชื่อยังไม่ได้ เพราะของจริ งไม่ตอ้ งมีใครมาบอกไปพบเอง 9) อาการฟั่นเฟื อน สิ่ งนี้คือความละเมอเพ้อฝัน อันเกิดจากนิมิตนานับปการ ซึ่งนิมิตนัน่ คือ การฉายภาพในใจของแต่ละบุคคลเท่านั้น ถ้าเชื่อจะเกิดการฟั่นเฟื อน 10) อาการเหมือนธรรมบอก ต่อเนื่องจากข้อ 9 เพราะว่ากิริยาอย่างหนึ่งเกิดขึ้นกับผูท้ าํ สมาธิเข้าภวังค์และเหมือนอาจารย์องค์น้ นั องค์น้ ี พระสงฆ์ต่าง ๆ มาบอกธรรมชั้นนั้นชั้นนี้ ต้อง เชื่อยังไม่ได้ 11) อาการเข้าใจผิด เพราะจิตที่เกิดสมาธิมากขึ้นนั้น มันเยือกเย็นพิเศษ ลึกลํ้า คัมภีร์ภาพ สุ ดแสนจะพรรณนาได้ และเข้าใจผิดว่าเราสําเร็จขั้นนั้นขั้นนี้ ต้องพิจารณาให้ดีอย่าคาดคะเนจะ เข้าใจผิด เพราะการถึงขั้นนั้นขั้นนี้ไม่ตอ้ งมีใครบอก จะเกิดเอง เห็นเอง เข้าถึงเอง และรู ้เอง รู ้ ได้เฉพาะตัวโดยการเข้าถึงเท่านั้น

การเพิม่ สมาธิ พลังจิตที่ได้จากสมาธิมีลกั ษณะถาวร ที่จะฝังสนิทติดอยูใ่ นใจตลอดกาล นั้นคือส่ วนที่ถูก กลัน่ กรอง ส่ วนอื่นจะเสื่ อมสภาพไปตามสภาวะ แม้สมาธิกต็ อ้ งการปริ มาณในการเพิ่ม เพราะ การเพิ่มของสมาธิน้ นั คือ ความพากเพียรพยายาม โดยที่ใช้ศรัทธาให้เกิดความเชื่อมัน่ ในตนเอง อย่าให้ศรัทธาตัวนี้มีอนั เป็ นไป คือถอยไป ทางใดที่จะเพิ่มศรัทธาให้มากนั้นคือ แนวนโยบาย หรื อวิธีเพิ่มผลผลิตที่ดี มีหลักการซึ่งเรี ยกว่าอินทรี ย ์5 ดังนี้


57

1) ศรัทธา ความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผล มัน่ ใจในความจริ งความดีของสิ่ งที่นบั ถือ หรื อปฏิบตั ิ 2) วิริยะ ความเพียรพยายาม มีกาํ ลังใจ ก้าวหน้าไม่ทอ้ ถอย มีความองอาจกล้า หาญ ที่จะต้องกําจัดความเกียจคร้าน 3) สติ เป็ นความระลึก เป็ นความรู ้สึกเสมอในกิจกรรมของตนที่ดาํ เนินการ 4) สมาธิ หมายถึงความสงบ ความมีใจิแน่วแน่ในกิจที่กาํ หนด เพราะสมาธิคือ เป้ าหมายที่จะต้องทราบว่าได้สมาธิขนาดไหน 5) ปัญญา ความรู ้รอบ เป็ นสิ่ งที่ควบคุมแนะนําสั่งสอนตนเองอยูเ่ สมอ หลักการทั้ง 5 อย่าง ส่ งผลเป็ นปัจจัยต่อเนื่องกันกล่าวคือ ศรัทธาทําให้เกิดความเพียร ความ เพียรช่วยให้สติมนั่ คง เมื่อสติมนั่ คงแล้ว กําหนดอารมณ์กจ็ ะได้สมาธิ เมื่อมีสมาธิแล้ว ก็จะเกิด ความเข้าใจมองเห็นซึ่งโทษของอวิชชาตัณหาที่เป็ นเหตุแห่งสังสารวัฏ มองเห็นคุณค่าของนิพพาน ซึ่งเป็ นภาวะปราศจากความมืดแห่งอวิชชาและความทุรนทุรายแห่งตัณหา สงบปราณี ตดีเยีย่ ม ครั้นเมื่อรู ้ชดั เข้าใจแจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้ว ก็จะเกิดศรัทธาที่เป็ นศรัทธาอย่างยิง่ หรื อยิง่ กว่าศรัทธา วนเวียนกลับไปอีก

หนทางให้ สมาธิเสื่ อม สมาธิขาดความต่อเนื่องไม่มีกาํ หนดกฎเกณฑ์ จะเป็ นไปเพื่อความก้าวหน้าไม่ได้ เพราะว่าการทําที่มีความต่อเนื่องจึงจะมีผล เหตุที่ทาํ ให้สมาธิเสื่ อม คือ 1) ความไม่เชื่อถือ 2) ความเกียจคร้าน 3) ความประมาท ทําไม่ต่อเนื่อง 4) การทําจิตให้ซ่านส่ าย 5) การไม่รู้เท่าทันสภาวะ ในคัมภีร์วสิ ุ ทธิมรรค กล่าวถึงความสําคัญของการปรับอินทรี ยท์ ้ งั หลายให้เสมอกัน โดยยํ้าว่าถ้าอินทรี ยอ์ ย่างหนึ่งอย่างใดแรงกล้าเกินไป และอินทรี ยอ์ ื่นอ่อนอยู่ อินทรี ยอ์ ื่นเหล่านั้น ก็จะเสี ยความสามารถในการทําหน้าที่ของตน เช่น ถ้าศรัทธาแรงไป วิริยะก็ทาํ หน้าที่ยกจิตไม่ได้ สติกไ็ ม่สามารถดูแลจิต สมาธิกไ็ ม่สามารถทําจิตให้แน่วแน่ ปัญญาก็ไม่สามารถเห็นตามเป็ นจริ ง


58

ต้องลดศรัทธาเสี ย ด้วยการใช้ปัญญาพิจารณาสภาวะแห่งธรรม หรื อมนสิ การในทางที่ไม่เพิ่ม กําลังให้แก่ศรัทธา ตามหลักทัว่ ไปท่านให้ปรับอินทรี ยเ์ สมอกันเป็ นคู่ ๆ ให้ศรัทธาเสมอกับ ปัญญา ให้สมาธิเสมอกับวิริยะ ถ้าศรัทธากล้า ปัญญาอ่อน ก็อาจเลื่อมใสในสิ่ งที่ไม่น่าเลื่อมใส ถ้า ปัญญากล้า ศรัทธาอ่อน ก็จะเอียงไปข้างอวดดี เป็ นคนแก้ไขไม่ได้ ถ้าศรัทธากล้าวิริยะอ่อน ความขี้เกียจก็จะครอบงํา เพราะสมาธิเข้าพวกกันได้กบั ความขี้เกียจ แต่ถา้ วิริยะแรง สมาธิอ่อนก็ เกิดความฟุ้ งซ่านเป็ นอุทธัจจะ เพราะวิริยะเข้าพวกกันได้กบั อุทธัจจะ เมื่ออินทรี ยเ์ สมอกันดีการ ปฏิบตั ิธรรมก็เดินหน้าได้ผลดี ซึ่งเป็ นหลักการที่นาํ มาใช้กบั การเจริ ญสมาธิ แต่สติเป็ นข้อยกเว้น ท่านว่ายิง่ สติมีกาํ ลังก็ยง่ิ ดี มีแต่จะช่วยองค์ธรรมอื่น ๆ ให้ดียง่ิ ขึ้น ดังพุทธพจน์ ( สํ. ม.19/969/289) ว่า สติมีประโยชน์ตอ้ งใช้ทุกที่ทุกกรณี และสติเป็ นที่พ่ งึ อาศัยของใจ

อาทิสมานกายกับสมาธิ

ความละเอียดของจิต คือ การกําจัดอารมณ์ให้นอ้ ยลง จึงเท่ากับอารมณ์น้ ีเองที่ทาํ ให้จิต หยาบความหยาบของจิต ทําให้ความปลอดโปร่ งของจิตน้อยลง เมื่อความปลอดโปร่ งน้อยลงทํา ให้จิตมืดมัวลง ความเป็ นเช่นนี้ ทําให้หมดโอกาสรู ้ส่ิ งละเอียดที่เกี่ยวข้องกับจิต เราอยูก่ บั จิต แต่ เราไม่รู้ความเป็ นไปของจิต จึงทําให้เกิดความลึกลับขึ้นในตัวของเรา บางครั้งเวลานอนหลับ เรา อาจพอเห็นอะไรของความเป็ นไปของจิตได้บา้ ง แต่ไม่มากนัก ที่ตอนนอนหลับ ได้มี ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในขณะที่หลับเราเรี ยกว่า “ฝัน” มีปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นจาก การเก็บอารมณ์ หรื อสัญญาที่ได้นึกคิดปรุ งแต่ง เป็ นการสร้างภาพขึ้นมาเหมือนโลก ๆ หนึ่ง คือ โลกแห่งความฝัน อันความฝันนี้ เราไม่สามารถจะควบคุมได้ มันจะฝันอย่างไร ก็จะต้องเป็ นไปตามการ สร้างภาพขึ้นมา ฉะนั้น ขณะนอนหลับจึงถือได้วา่ ได้ลดระดับอารมณ์มาอยูข่ ้ นั หนึ่ง ถ้าอารมณ์ มิได้อยูใ่ นขณะนี้ คนเราจะหลับไม่ได้ จึงเป็ นอันได้ความว่า อารมณ์เวลาหลับนั้น ได้ลดลง เท่ากับขจิตเป็ นสมาธิข้ นั ตํ่า อันเป็ นธรรมชาติของความเป็ นสัตว์บุคคล เมื่อความละเอียดของจิตเกิดการโปร่ งใสในขณะนอนหลับนั้น จึงเป็ นระยะที่ได้คลุกคลี กับอาทิสมานกาย เพราะอาทิสมานกายนั้น หมายถึงกายละเอียดที่มีอยูก่ บั มนุษย์ทุกคน แต่มนุษย์ ทุกคนจะเห็นอาทิสมานกายนี้ไม่ได้ เพราะจิตหยาบ พอจิตละเอียด โดยการผ่อนคลายอารมณ์ลง จนได้ระดับหนึ่งก็พอจะคลุกคลีกบั อาทิสมานกายได้ ในเมื่ออารมณ์ได้ถูกสมาธิขจัดไปเรื่ อย ๆ จนจิตนี้ละเอียดลงเป็ นสมาธิ เมื่อความละเอียดมากขึ้น จนพอที่จะมีความรู ้สึกได้วา่ กําลังสัมผัส


59

กับกายทิพย์ ในขณะนั้นเรากําลังจะแยกออกจากกายหยาบ การแยกออกจากกายหายจะเริ่ ม ปรากฏขึ้น ถ้าแยกได้ จะมีความรู ้สึกเฉพาะกายทิพย์เท่านั้น เพราะเป็ นการแยกออกมาอยูส่ ่ วน หนึ่งของจิตที่มีความละเอียด กายหยาบแม้จะยังนัง่ อยูน่ ้ นั ก็จะไม่รู้สึกตัว อย่างไรก็ตาม การแยก ส่ วนได้น้ ี มิได้หมายความลึกซึ้งมากนัก แต่อธิบายได้วา่ แยกได้ระหว่างกายหยาบและกาย ละเอียด ยังอยูเ่ ป็ นเหมือนธรรมชาติ แม้วา่ จะมาจากสมาธิ เพราะว่าอิทธิพลสมาธิยงั ไม่สูง จึงอยู่ ในสภาพที่ยงั อยูภ่ ายใต้การควบคุมของมันเอง คือ อาทิสมานกาย เรายังควบคุมอะไรไม่ได้ เช่น การนอนหลับ นั้นได้ถูกแยกจากกายหยาบมาสู่ กายทิพย์ ดังนั้น ความรู ้สึกตัวในกายหยาบก็ หายไป จะรู ้สึกก็ต่อเมื่อถูกกระทบกระเทือนอย่างแรง จึงจะมีความรู ้สึกจนกระทัง่ กายหยาบมี สัมผัสไปถึงกายละเอียด แล้วแต่การหลับจะสนิทแค่ไหน สําหรับกรณี วางยาสลบ คือ ระงับความรู ้สึกของอารมณ์ดว้ ยวิธีวางยา ยานี้มีความลด ระดับอารมณ์แบบข่มขี่ เพราะจุดอารมณ์ตรงนี้มีการระงับด้วยการน๊อค ยาได้ทาํ การน๊อค ประสาทให้หยุดทํางานชัว่ คราว ณ ที่น้ ีเอง เราจะทราบว่าหน่วยประสาทนั้น หมายถึงกายหยาบที่ มีจุดติดต่อกับกายละเอียด ได้ตรงไหนเพราะจุดน๊อคที่วางยาสลบนี้ เป็ นจุดระหว่างเส้นสุ ดท้าย ของการติดต่อระหว่างกายหยาบและกายละเอียด แต่การวางยานั้น เป็ นการจัดทําโดยการข่มขี่ หรื อบังคับ ก็สามารถแยกกายหยาบสู่ กายละเอียดได้เช่น สมาธิ จึงทําให้กายหยาบหมดความรู ้สึก แต่การทําเช่นนี้ มิได้มีผลในทางสมาธิ เพราะเป็ นการบังคับกดขี่ ก็กดไว้เพียงชัว่ คราว ถ้าทํามาก ครั้งเป็ นผลเสี ยหาย อาจจะทําให้เกิดการสู ญเสี ยความจําหรื อเป็ นคนเปลี่ยนนิสัย หรื อจิตใจอาจจะ วิปริ ตเพี้ยน ๆ ผิด ๆ เป็ นต้น แต่สมาธิที่มีการบังคับกดดันกดขี่ของผูม้ ีพลังจิตเหนือกว่า ใช้บงั คับผูค้ นธรรมดา ก็มีอยู่ ในบางหมู่ที่พยายามจะใช้จิตบังคับผูอ้ ื่น ที่เรี ยกว่าฤทธิ์ทางใจ ทําได้เหมือนกัน ก็เป็ นแบบยาสลบ แต่ดีกว่ายาสลบเล็กน้อย เพราะพอถูกเลิกจากนั้นแล้ว จะทําให้ผบู ้ งั คับจิตมีจิตเลื่อนลอย กายหยาบเป็ นผูท้ าํ โดยรับคําสัง่ ของใจให้ดาํ เนินตามคําสัง่ ที่ใจมีศรัทธาเพราะได้รับ คําแนะนําและพอใจในคําแนะนํา การฝังใจซึ่งเหตุผล พอใจในเหตุผล จึงมีคาํ สัง่ มายังกายหยาบ กายหยาบสัมผัสจุดที่ใจสั่งการได้ คือประสาทที่ยงั ไม่ตาย ถ้ากายหยาบตาย หมายถึงระบบรับ จากใจ รับไม่ได้แล้ว เพราะหมดสภาพ แม้กายหยาบจะสิ้ นสภาพ แต่กายละเอียด จะไม่สิ้นสภาพ มีจุดหนึ่งที่จะรับคําสั่งจากใจ มีสภาพเกี่ยวข้องกับกลไกต่าง ๆ ไม่มากนัก ทําหน้าที่อยูใ่ นระดับเพียงความรู ้สึกแห่งความ ละเอียด ไม่เป็ นตัวของตัวเอง 100 % แต่กายหยาบจะพลิกแพลงทําได้ 100 % ตามสั่ง โดยอาศัย


60

ความละเอียดอ่อนและความคงทนที่มีอยูแ่ ละเก็บสิ่ งที่ละเอียดร่ วมกันกับจิต อันนี้อยูท่ ี่อิทธิพล ของจิต ถ้าอิทธิพลตํ่าก็อยูก่ บั กายทิพย์แบบธรรมดาแล้วไปทําอะไรก็ไม่ได้ เพียงอาศัยรู ้ความ สัมผัสเล็กน้อย เพราะว่าจิตนั้นยังมัว ๆ เพราะถูกความเศร้าหมองปกคลุม จึงไม่สามารถจะรู ้อะไร ซึ่งกันและกันได้ แม้จะอยูร่ ่ วมกัน แต่กไ็ ม่เห็นกัน ทําอะไรกันไม่ได้ เพราะเหตุคือ ความมัวของ จิต ตลอดจนพลังจิตก็ไม่พอ ดังนั้น จึงเหมือนไม่มี ไม่รู้ ไม่เห็น ทั้ง ๆ ที่อยูด่ ว้ ยกัน ซึ่งกายทิพย์ นี้หากความมัวความอ่อนกําลัง ความไม่มีสมาธิของจิตเป็ นเช่นนี้ กายละเอียดก็ปรากฏไม่ได้ เข้าใจกันไม่ได้ เห็นใจกันไม่ได้ หมดความรู ้สึกตัวว่ามีกายละเอียดหรื อไม่ เมื่อจิตมีพลังสู ง ก็จะสามารถบังคับกายละเอียด ดุจจิตบังคับกายหยาบ กายทิพย์ที่บุคคล ได้ทาํ สมาธิแล้วได้สัมผัส พร้อมกันนั้น ก็จะดําเนินการโดยจักษุ หมายถึงตาใน อันนี้แหละจะรู ้ ได้วา่ กายทิพย์เป็ นอย่างไร มีจริ งหรื อไม่ การมองทะลุปรุ โปร่ งในเรื่ องต่าง ๆ ที่ล้ ีลบั ได้ ที่ตากาย หยาบไม่สามารถที่จะรู ้ได้

สมาธิกบั การแสดงฤทธิ์

เนื่องจากพลังจิตได้สะสมจนพอเพียงแก่ความต้องการ ดังนั้นจึงมีอิทธิพลเกิดขึ้น ทําให้ จิตมีพลังพิเศษ เมื่อจิตมีพลังพิเศษก็กาํ หนดทิศทางของพลังพิเศษได้ ไปตามกระแสของความ ประสงค์ เช่นนี้ตอ้ งสู ญเสี ยพลังจิตไปแต่ละครั้ง ซึ่งถ้าพลังจิตเหลือใช้หรื อมีมาก ก็ยอ่ มไม่เป็ นไร แต่พลังมีเพียงเพื่อใช้งานก็จะเสี ยกําลัง แทนที่จะใช้เพื่อประโยชน์เฉพาะกิจ แต่เอามาใช้เพื่อฤทธิ์ คงไม่คุม้ ดังนั้นพระอาจารย์จึงไม่นิยมที่จะสอน ระหว่างที่จิตได้เพิ่มพลังของสมาธิ เป็ นระยะทํางานและก็จะเป็ นความจริ งที่วา่ ขณะ สะสมกําลังนั้นจะมีวถิ ีจิตหลาย ๆ อย่างปรากฏ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้คือ “ชิมลาง” หรื อ “แวว” มาถึงขั้นตอนนี้ ทุก ๆ คนจะไม่เหมือนกัน แต่เหมือนกันตรงพลังจิต ลักษณะของพลังจิต ดังนั้นขณะนั้นจึงจะต้องสังเกต ถ้าเราไม่สังเกตความเป็ นต่าง ๆ เหล่านี้ จะสลายตัวไปโดย อัตโนมัติ เช่นเดียวกับจิต มีพลังสมาธิ หมายความเข้าสู่อุปจารสมาธิ สมาธิที่เข้าขั้นในอันที่แยก ออกเป็ นสาขาใดนั้น อยูท่ ี่ “แวว” หรื อ “ชิมลาง” เมื่อจิตจดจ่อโดยพลังจิตนั้น ได้กระทบหรื อ สัมผัสกับสิ่ งที่เป็ นแววเช่น กําหนดเกี่ยวกับการสร้างฐานของหลังจิตคือ 1) คําบริ กรรม 2) จิตสงบ


61

3) การรักษาจิตสงบ 4) รู ้อยูใ่ นจิตสงบ 5) สัมผัสอาทิสมานกาย 6) การเป็ นมิตรกับอาทิสมานกาย 7) การร่ วมมือกับอาทิสมานกาย 8) วิธีการใช้อาทิสมานกาย 9) การรักษา ฐานนี้เป็ นพลังการสร้างของวาระจิตที่ทาํ ให้ความเป็ นอยู่ หยุดปราศจากอารมณ์ภายนอก เรี ยกง่าย ๆ ว่า “สมถะ” เพราะสมถะได้รวมตัวกันมามากต่อมาก จึงจะมารวมเป็ นฐาน การทํา สมถะให้เพียงพอ จึงชื่อว่าเป็ นการสร้างฐานอย่างมัน่ คง ดังนั้น สมาธิกบั การแสดงฤทธิ์จึงต้องอาศัยกันอยูต่ ลอด ความยัง่ ยืนจะอยูเ่ หมือนเช่นเดิม ตลอดไปไม่ได้ เพราะพลังสมาธิจะต้องถูกใช้ไป และสิ้ นเปลืองไปในการแสดงให้มีปรากฏการณ์ ต่าง ๆ นั้นมากพอใช้ทางพุทธศาสนา จึงใช้พลังอันนี้ดาํ เนินวิปัสสนา เพื่อประโยชน์ที่เป็ น อุดมการณ์สูงสุ ด ได้แก่การกําจัดกิเลสไปเลย

สมาธิกบั การรักษาโรค

ฐานพลัง มีความสําคัญในการทําประโยชน์จากสมาธิอย่างยิง่ จึงจําเป็ นต้องสร้างฐานพลัง นี้ดว้ ยการทําสมาธิมาก ๆ ทําการรักษามีกติกาว่า 1) เมตตา 2) รับและไม่รับ 3) กําหนดวัน 4) ห้ามคิดอกุศล 5) ห้ามพูดปด (เท็จ) - การตั้งฐานของสมาธิเป็ นสิ่ งจําเป็ น - การกําหนดอุปจารเป็ นสิ่ งจําเป็ น - การกําหนดสุ ดยอดแห่งประสาทกายหยาบเป็ นสิ่ งจําเป็ น - การคลุกคลีอาทิสมานกายเป็ นสิ่ งจําเป็ น ทั้งหมดนี้ ก็จะสามารถรักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ แต่ท้ งั นี้กไ็ ม่


62

เป็ นไปได้ทุกคน แม้บุคคลนั้นมีสมาธิสูง บางคนก็ทาํ ไม่ได้ เพราะแววไม่มี หรื อไม่มีพรสวรรค์ ในทางนี้ การสร้างฐานพลังอันนี้เป็ นเรื่ องใหญ่มาก เพราะต้องใช้ท้ งั ความสามารถและเวลา จึง เป็ นฐานขึ้นมาได้ เวลานี้มีหลายแห่งได้ดาํ เนินการรักษาโรคทางด้านพิธีกรรมหรื อพลังจิต การที่ พวกเราจะทุ่มเทลงตรงนี้ คือนําสมมติมาตั้งฐานกําลังสมาธิเพื่อรักษาโรคนี้ คงจะเสี ยมากกว่าได้

สมาธิกบั การหลงผิด

เพราะการเกิดขึ้นกับสมาธิน้ นั ละเอียดอ่อนมาก จิตเมื่อเกิดความผ่องใส ทําให้เกิดความ ลึกอัศจรรย์ นานัปการ ที่เราไม่เห็น ก็จะได้เห็น จึงเกิดสัญญาวิปลาศ คือ ความหลงผิดเข้าใจผิด ว่า สิ่ งนี้คือมรรคผล นิพพาน นรก สวรรค์ สําเร็จฌานนั้น ๆ ฯลฯ แต่ที่เป็ นนั้น ๆ คือ เป็ นเพียง สัญญาเท่านั้น ถ้ามาติดยึดหลงอยูต่ รงนี้ ก็เท่ากับหลงสัญญา และสัญญาในขั้นนี้มนั น่าหลงจริ ง ๆ ทําให้เกิดเป็ นอุปาทานในสมาธิ ทําให้เกิดความล่าช้าต่อสมาธิไป สิ่ งนี้เรี ยกว่า วิปัสสนูปกิเลส ดังนี้ 1) โอภาส หมายถึง ความสว่างในจิต มองเห็นได้ชดั เจน เหมือนบรรลุทิพจักขุญาณ 2) ญาณ หมายถึง ความรู ้เฉียบแหลม คมคายมีเหตุผล ไม่ติดขัด ทํานายได้ถูกต้องหมด 3) ปี ติ หมายถึง ความอิ่มเอิบของกายและใจมากกว่าปกติ ทําให้จิตมีประกายคล้ายพ้น จากกิเลสอาสวะแล้ว 4) ปัสลัทธิ หมายถึง ความสงบ ได้แก่ ความสงบระงับพักอยู่ ไม่เจริ ญในปัญญาต่อไป และติดใจในความสงบนั้น 5) สุ ข หมายถึง ความสบายใจ ความปลอดโปร่ ง เป็ นไปอย่างสุ ขมุ และสมํ่าเสมอ ประหนึ่งพ้นทุกข์เด็ดขาด 6) อธิโมกข์ หมายถึง น้อมใจเชื่อในเรื่ องที่ประสบโดยปราศจาญาณ 7) ปัคคาหะ หมายถึง ความเพียร กล้าหาญ เด็ดเดี่ยว ประคองใจให้อยูใ่ นระดับสู ง ไม่ให้จิตตกสู่ ภวังค์ได้เลยแม้แต่นอ้ ย 8) อุปัฏฐาน หมายถึง สติมน่ั คง กํากับจิตใจไม่พลั้งเผลอ เหมือนมีสติไพบูลย์เสมอ 9) อุเบกขา หมายถึง ความวางเฉยในอารมณ์ มีจิตใจเป็ นกลางเที่ยงตรง 10) นิกนั ติ หมายถึง ความรู ้สึกพอใจในความเป็ นไปของจิต คล้ายพ้นอํานาจมาร


63

สมาธิกบั การควบคุมอารมณ์

เราอาจจะสังเกตได้วา่ เหตุที่จะให้เกิดความฉุนเฉียวนั้น บางทีเรื่ องใหญ่โต ฉุนเฉียวนิด เดียวบางทีเรื่ องนิดฉุนใหญ่ อันนี้เพราะเหตุวา่ เรื่ องใหญ่สมาธิคุมอยูเ่ พราะสมาธิกาํ ลัง ส่ วนเรื่ อง เล็กคุมไม่อยูเ่ พราะสมาธิอ่อนกําลัง สมาธิช่วยได้ เพราะสมาธิเป็ นจุดศูนย์กลางของกําลังฝ่ ายลบล้างอารมณ์เหล่านี้ เนื่องด้วย กองดังนี้ประกอบด้วย 1) พลังจิต 2) ความรอบคอบ 3) ความหยุดยั้ง 4) ความเตือนตน 5) ความอดทน 6) ความเฉียบคม 7) ความวางเฉย เช่นเมื่อความฉุกเฉียวเกิดขึ้น กองกําลังรอบคอบ ก็จะต้องมารับ ถ้าความอาละวาดเกิดขึ้น กองกําลังความอดทนก็ตอ้ งมารับ ถ้าความเก็บกดความไม่พอใจเกิดขึ้น กองกําลังความเตือนตนก็ ต้องออกมารับ เป็ นต้น

สมาธิกบั การงาน

ทุก ๆ คนต้องเคร่ งเครี ยดต่องานกันทุกวัน ด้วยเหตุน้ ี ตึงต้องกระเทือนไปถึงสมองที่ จะต้องสั่งงานเพิ่มขึ้น จึงเป็ นเหตุให้ความเสื่ อมสภาพเร็วขึ้นกว่ากําหนด การกระเทือนจะเกิดขึ้น ทุกครั้งของการวางแผนนึกคิด ความสัน่ สะเทือนนี้เอง ทําให้เกิดความเคลื่อนไหว ก็จะเสี ย พลังงาน อันเป็ นหนทางไปสู่ความเสื่ อมสภาพ สมาธิจะช่วยชะลอความเคลื่อนไหว (หมายถึง คลื่นสมอง) คนเราจะได้เรี่ ยวแรงเยอะจากการหยุดพัก สมาธิคือการหยุดพัก เป็ นการหยุดพักที่มี ประสิ ทธิภาพ ที่จริ งแล้วเวลาทํางานสมาธิสร้างขึ้นนั้นจะเข้าไปผสมผสานเป็ นอัตโนมัติ เนื่องจากสมาธิที่สร้างขึ้นเก็บพลังไว้ใจจะอยูแ่ ล้ว แท้จะทํามากเท่าใดก็เก็บไว้ ทํางานเรานี้ก็ จะต้องใช้ใจเราคิดอยูใ่ นงานนั้นตลอดเวลา บางคนผูไ้ ด้เคยฝึ กสมาธิไว้แล้วก่อนจะไปทํางานธุรกิจ ต่าง ๆ นั้น เขาจะทําสมาธิสาํ รองไว้ก่อน เมื่อเขาไปทํางาน แทนที่จะเหนื่อยต่องาน เขากลับ


64

ทํางานได้มากอย่างน่าประหลาด แต่อย่าไปเข้าสมาธิลึกในเวลาทํางาน จะทําให้มาพักสบายใน สมาธิดีดว้ ย ก็เลยละเว้นการงานนั้น ๆ จึงจําเป็ นต้องใช้สมาธิต้ืน คําว่า สมาธิต้ืน คือ สติ สติคือความระลึกได้ การทําสมาธิเวลาเดินจงกรมเป็ นระยะที่ทาํ สมาธิต้ืนได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตามถ้าสมาธิจะลึกลงไปเองก็ไม่เป็ นไร แต่ตอ้ งเป็ นเวลาพักงานหรื อ อยูก่ บั บ้าน

สมาธิกบั การเรียน

สมาธิ คือ ความสงบใจอันเป็ นพลังเบื้องหลังของการเพิ่มพูนความทรงจําให้ดีข้ ึน ตลอด ในความคิดที่กา้ วไกล ทั้งนี้ตอ้ งอาศัยสมาธิช่วยให้เกิดซึ่งความเฉลียวฉลาด กําลังใจเกิดขึ้นจาก สมาธิ เด็กมีสมาธิธรรมชาติเข้าช่วย แต่พอโตขึ้น สมาธิธรรมชาติกเ็ ริ่ มอ่อนตัวลง เกิดความ ไขว้เขวตกลงใจไม่ถูก ด้วยเหตุกาํ ลังสนับสนุนไม่แข็งแรงพอ ก็ทาํ ให้เสี ยกําลังใจ ความ สั่นสะเทือนของสมองตรงนั้น มันเหมือนกับคลื่นเป็ นความละเอียดของเส้นประสาท เป็ นจุดที่ จะประสานกับกายละเอียด เรี ยกว่า จุดสุ ดยอด โดยที่จุดสุ ดยอดของกายละเอียดจะมารับเอาส่ วน นี้ไปเก็บเอาไว้กลายเป็ นความจํา และกลายเป็ นการขยายออกซึ่งสติปัญญา อันนี้เป็ นหน้าที่ของ ใจพร้อมด้วยกายละเอียด จุดประสาทสุ ดยอดและตรงนี้เองเป็ นที่ตอ้ งการของผูท้ าํ สมาธิมากนัก มากหนา การทําสมาธิจิตจะสงบทําให้จุดประสาทตรงนี้หยุดทํางานอย่างอื่น ลดลงเหลือการ ทํางานน้อยลง คือทําเฉพาะความจําเป็ นที่จะต้องทํา ไม่เป็ นการเสี ยกําลังไปในทางอื่น ความคิด ต่าง ๆ ทุกประโยคอาศัยจุดนี้ทาํ งาน

“””””””””””””””””””””””””””””””””””””””””


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.