ดนตรีไทย
โดย นางสาวไอลดา ชาติเวช
ดนตรีไทย เสนอ อาจารย์กมล แก้วสว่าง โดย นางสาวไอลดา ชาติเวช เลขที ๒๓ ระดับชัน" ปริญญาตรีปีที ๒ รหัสนักศึกษา ๓๗๘๕๕๓๖๐๐๑ รายงานนีเ" ป็ นส่วนหนึง ของวิชาปฏิบตั ิกลุม่ เครื องดนตรีไทย ภาคเรียนที ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ก
คํานํา รายงานนีเ" ป็ นส่วนหนึง ของวิชาปฏิบตั ิกลุม่ เครื องดนตรีไทยจัดทํา ขึน" เพื อให้นกั เรียนนักศึกษาได้ทราบถึงประเภทของเครื องดนตรีไทยมีกี ประเภท อะไรบ้าง ลักษณะของเครื องดนตรีไทยเป็ นอย่างไร ผูจ้ ดั ทําหวังเป็ นอย่างยิ งว่าจะเป็ นประโยชน์แก่ผอู้ านไม่มากก็นอ้ ย หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ทีนดี" ว้ ย นางสาวไอลดา ชาติเวช
ข
สารบัญ
คํานํา สารบัญ เครื องดนตรีไทย ประเภทของเครื องดนตรีไทย เครื องดีด เครื องสี เครื องตี เครื องตีที ทาํ ด้วยโลหะ
เครื องตีที ทาํ ด้วยหนัง เครื องเป่ า บรรณานุกรม
หน้า ก ข 1 2 2 4 7 9 11 14 ค
1
เครือ งดนตรีไทย แบ่งออกได้เป็ น 4 ลักษณะคือ ดีด สี ตี เป่ า ดีด ได้แก่เครื องดนตรีประเภทเครื องสายบางชนิด คือ จะเข้ พิณ กระจับปี ซึง พิณนํา" เต้า สี คือเครื องสายที มีคนั ชัก ได้แก่ ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง สะล้อ ตี ได้แก ระนาด ฆ้อง ฉิ ง ฉาบ กลอง โทน รํามะนา โหม่ง กรับ ระนาดเอก ระนาดทุม้ ระนาดเหล็ก กลองแขก กลองสองหน้า กลองทัด ฆ้องวง ฆ้องมอญ โหม่ง ตะโพน โทนรํามะนา โทนชาตรี บัณเฑาะว์ ฉิ ง, ฉาบ, กรับพวง เป่า ได้แก่ ขลุย่ และปี ขลุย่ เพียงออ, ขลุย่ หลิบ
ปี ใน (ใหญ่), ปี ไฉน
2
ประเภทของเครือ งดนตรีไทย เครื องดนตรีไทย แบ่งได้ ๔ ประเภทคือ เครือ งดีด เป็ น เครื องดนตรีไทยทีบ รรเลงหรือเล่นด้วยการใช้นิ"วมือ หรือไม้ดดี ดีด สาย ให้สนั สะเทือนจึงเกิดเสียงขึน" เครื องดนตรีไทยประเภทนีม" หี ลายชนิด แต่ที นิยมเล่น กันแพร่หลาย ในปั จจุบนั มีอยูไ่ ม่กชี นิด คือ กระจับ พิณ และจะเข้
•
กระจับปี เป็ นพิณชนิดหนึง มี ๔ สาย กระพุง้ พิณมีลกั ษณะ เป็ นกล่อง แบน รูปทรงสีเ หลีย มคางหมูมมุ มนด้านหน้าทําเป็ นช่อง ให้เสียงกังวาน ทวนทําเป็ นก้านเรียวยาวและกลมกลึงปลายแบน และงอนโค้งไปด้านหลัง ตรงปลายทวนมีลมิ สลักเป็ นลูกบิดไม้ สําหรับขึน" สาย ๔ ลูก สายส่วนมาก ทําด้วยสายเอ็น หรือลวดทองเหลือง ตลอดแนวทวนด้านหน้าทําเป็ น "สะพาน"หรือ นม ปั กทําด้วยไม้ เขาสัตว์หรือกระดูกสัตว์ สําหรับหมุนสาย มี ๑๑ นมกระจับปี พัฒนามาจากเครื องดนตรีประเภทหนึง ของอินเดีย มี ต้นกําเนิดจากการดีดสายธนูตามหลักฐานพบว่า กระจับปี มีมาตัง" แต่ สมัย สุโขทัย
3
•
•
พิณนําเต้า สันนิษฐานว่า พิณมีกาํ เนิดในประเทศ ทางตะวันออก พิณ โบราณเรียนพิณนํา" เต้า ซึ งมีลกั ษณะเป็ น พิณสายเดีย ว สันนิษฐานว่าชาว อินเดียนํามาแพร่หลาย ในดินแดนสุวรรณภูมิ การที เรียกว่าพิณนํา" เต้า เพราะใช้ เปลือกผลนํา" เต้ามาทํา คันพิณทีเ รียกว่า ทวน ทําด้วยไม้เหลา ให้ ปลายข้างหนึง เรียวงอนโค้งขึน" สําหรับผูกสาย ที โคนทวน เจาะรูแล้วเอาไม้ มาเหลาทําลูกบิด สําหรับบิดให้สายตึงหรือหย่อน เพื อให้เสียงสูงตํา สาย พิณมีสายเดียวเดิมทําด้วยเส้นหวาย ต่อมาใช้เส้นไหม และใช้ลวด ทองเหลืองในปั จจุบัน
จะเข้ เป็ นเครื องดนตรีทวี างดีดตามแนวนอน ทําด้วยไม้ท่อนขุดเป็ นโพรง อยูภ่ ายใน นิยมใช้ไม้แก่นขนุน เพราะให้เสียงกังวาลดี ด้านล่างเป็ นพื"นไม้ ซึ งมักใช้ไม้ฉาํ ฉา เจาะรูไว้ให้เสียงออกดีขนึ" มีขาอยูต่ อนหัว ๔ ขา ตอนท้าย ๑ ขา มีสาย ๓ สาย คือ สายเอก(เสียงสูง) สายกลาง(เสียงทุม้ ) ทัง" สอง สายนีท" าํ ด้วยเอ็นหรือไหมฟัน เป็ นเกลียว สายทีส ามเรียก สายลวด(เสียง ตํา ) ทําด้วยลวดทองเหลือง ทัง" สามสายนี"ขงึ จากหลักตอนหัวผ่าน โต๊ะ (กล่องทองเหลืองกลวง) ไปพาดกับ "หย่อง" แล้วสอดลงไปพันกันด้าน ลูกบิด(ปั กทําด้วยไม้หรืองา) สายละลูก โต๊ะนีท" าํ หน้าทีข ยายเสียงของจะเข้ ให้คมชัดขึน" ระหว่างราง ด้านบนกับสายจะเข้ จะมีชนิ" ไม้เล็ก ๆ ทําเป็ นสัน หนาเรียกว่า "นม" ๑๑ นม วางเรียงไปตามแนวยาว เพื อรองรับการกด จากนิ"วมือขณะบรรเลง นมเหล่านี"มขี นาดสูงตํา ลดหลัน กันไป ทําให้เกิด เสียงสูง-ตํา เวลาดีดจะใช้ไม้ดดี ทีท าํ ด้วยงาหรือเขาสัตว์ กลึงเป็ นท่อนกลม ปลายเรียวแหลมมน ดีดปั ดสายไปมา ไม้ดดี นีจ" ะพันติดกับนิ"วชีม" อื ขวา
4
ส่วนมือซ้ายใช้กดนิว" บนสายถัดจากนม ไปทางซ้ายเล็กน้อย เพื อให้เกิด เสียงสูงตํา ตามที ตอ้ งการ
เครือ งสี เป็ น เครื องสายทีท าํ ให้เกิดเสียงด้วยการใช้คนั ชักสีเข้ากับสายในดนตรีไทย มีอยู่ 3 ชนิดคือ ซอด้วง ซอสามสาย และซออู้
•
ซอด้วง •
เป็ นซอชนิดหนึง ของไทย ให้เสียงสูงแหลม การที ได้ชอื นีเ" พราะส่วนทีเ ป็ น เครื องอุม้ เสียง มีรปู ร่างคล้ายเครื องดักสัตว์ชนิดหนึ ง ทีเ รียกว่า ด้วง มี ส่วนประกอบ ดังนี"
1. กระบอก เป็ นส่วนที อมุ้ เสียงให้เกิดกังวาน รูปร่างเหมือนกระบอกไม้ไผ่ ทํา ด้วยไม้เนือ" แข็งบางทีทาํ ด้วยงาช้าง ไม้ที ใช้ทาํ ต่างชนิดกันจะให้คณ ุ ภาพ เสียงต่างกัน เช่น เสียงนุม่ เสียงกลม เสียงแหลม เป็ นต้น ด้านหน้าของ กระบอกมีวัสดุบาง ๆ ขึงปิ ด นิยมใช้หนังงูเหลือม นอกนัน" อาจเป็ นหนังลูก วัว หนังแพะ หรือใช้กระดาษว่าวปิ ดซ้อนกันหลาย ๆ ชัน" ก็ได้ - คันซอ ทํา ด้วยไม้หรืองาช้าง ลักษณะกลมยาว สอดปั กทีก ระบอกตัง" ตรงขึน" ไป แบ่ง ออกเป็ น ๒ ช่วง ช่วงบนตัง" แต่ใต้ลกู ปิ ดขึน" ไปจนถึงปลายคัน รูปร่างคล้าย โขนเรือ เรียกว่า "โขน" ปลายโอนโค้งงอนไปทางด้านเปิ ดของกระบอก ช่วง ล่วงนับตัง" แต่ลกู บิดลงไปเรียกว่า "ทวนล่าง" 2. ลูกบิด มีอยู่สองลูก เสียบอยู่ทชี ว่ งล่างของโขน ปลายลูกบิดเจาะรูไว้ สําหรับร้อยสายซอ เพื อขึงให้ตงึ ตามที ตอ้ งการ ลูกบิดลูกบน สําหรับสาย
5
เสียงตํา เรียกว่า ลูกบิดสายทุม้ ลูกบิดลูกล่าง สําหรับสายทีม เี สียงสูง เรียกว่า ลูกบิดสายเอก 3. รัดอก เป็ นบ่วงเชือกสําหรับรั"งสายซอ นิยมใช้ขนาดเดียวกับสายเอก ใช้ ผูกรัง" สายซอทัง" สองเข้ากับทวนล่าง - หย่อง เป็ นไม้ชนิ" เล็กใช้หมุนสายซอ ให้พน้ ขอบกระบอก และเป็ นตัวรับความสัน สะเทือนจากสายซอไปสูห่ น้าซอ 4. คันชัก ทําด้วยไม้เนื"อแข็งหรืองาช้าง รูปโค้ง ด้ามมือจับมีหมุดสําหรับให้ เส้นหางม้าคล้อง อีกด้านหนึง เจาะรูไว้รอ้ ยเส้นหางม้า ซึ งมีประมาณ ๒๕๐ เส้น สอดเส้นหางม้าให้อยูภ่ ายในระหว่างสายเอกกับสายทุม้ สําหรับสี การ เทียบเสียง เทียบเสียงให้ตรงกับเสียงขลุย่ เพียงออ ทัง" สายเอกและสายทุม้ โดยใช้สายเอกเป็ นหลัก
ซอสามสาย เป็ นซอชนิดหนึง ของไทย มีมาแต่โบราณ มีเสียงไพเราะ นุม่ นวล รูปร่าง •
วิจติ ร สวยงามกว่าซอชนิดอื น ถือเป็ นเครื องดนตรีชนั" สูง ใช้ในราชสํานัก มีสว่ นประกอบ ดังนี"
1. กะโหลก ทําด้วยกะลามะพร้าว ตัดตามด้านขวาง ด้านหน้าต่อติดกับกรอบ ไม้เนื"อแข็ง เดิมนิยมใช้ไม้สกั เรียกว่า "ขนงไม้สกั " มีรปู ร่างคล้ายกรอบหน้า นาง ใช้หนังลูกวัวหรือหนังแพะขึงปิ ดทับขอบขนงไม้สกั และขอบกะลาให้ตงึ พอดี 2. คันซอ แบ่งออกเป็ นสามส่วน คือ ทวนบน ทวนกลาง และทวนล่าง ทวน บน คือ ส่วนที นบั จากรอบต่อเหนือรัดอกขึน" ไป ทวนกลาง คือ ส่วนต่อจาก ทวนบนลงมาถึงกะโหลก ทวนล่างหรือแข้งไก่ คือ ส่วนทีต ่อจากกะโหลก ลงไปรวมทัง" เข็มทีท าํ ด้วยโลหะ ซึ งอยูป่ ลายล่างสุด - ลูกบิด มีสามลูก ลูก
6
ล่างสําหรับสายเอก ลูกบนสําหรับสายกลาง สองลูกนี"อยู่ทางขวา ทางซ้ายมีลกู เดียว สําหรับสายทุม้ หรือสายสาม 3. รัดอก มักใช้สายไหมฟั น เกลียวแบบสายซอ พันรอบทวนกลาง ใช้รัดสาย ทัง" สาม ให้แนบเข้ากับทวนกลาง เพื อให้เสียงของสายเปล่าได้ระดับและมี ความกังวาน 4. หย่อง ทําด้วยไม้หรืองา เหลาเป็ นรูปคันธนูให้ได้ขนาดพอรับสายซอทัง" สามสาย บนหย่องบากร่องไว้ สามตําแหน่ง เพื อรองรับสายซอ 5. ถ่วงหน้า ทําด้วยแก้วหรือโลหะ ขึน" รูปเป็ นตลับกลมเล็ก ๆ ข้างบนประดับ พลอยสีตา่ ง ๆ หรือถม หรือลงยา ภายในบรรจุสผี งึ" ผสมตะกัว เพือ ให้ได้ นํา" หนัก ใช้ชนั ปิ ดหน้า ใช้ปรับเสียงให้สายเอกเข้ากับสายทุม้ 6. หนวดพราหมณ์ ใช้สายไหมฟั น เกลียวอย่างสายซอ ผูกเป็ นสายบ่วง ร้อย เข้าไปในรูที ทวนล่าง เพื อรัง" ปมปลายสายซอทัง" สาม 7. คันชัก ทําด้วยไม้เนื"อแข็งและเหนียว กลึงให้ได้รปู ขึงด้วยขนหางม้าสีขาว ประมาณ ๒๕๐-๓๐๐ เส้น •
•
ซออ ้ ู
•
เป็ นซอทีม ีเสียงทุม้ กังวาน ลักษณะโดยทัว ไปคล้ายซอด้วง มีสว่ นประกอบ ดังนี" 1. กะโหลก ทําด้วยกะลามะพร้าว ตัดส่วนที กว้างใกล้กับขัว" ให้พทู งั" สามอยู่ ด้านบน ใช้หนังลูกวัวหรือหนังแพะ ขึงเป็ นหน้าตรงที ตดั 2. คันซอ ทําด้วยไม้หรืองาช้างกลึง แบ่งเป็ นสองส่วน คือ ทวนบน นับตัง" แต่ ลูกบิด ไปถึงปลายคัน ทวนล่างนับตัง" แต่ลกู บิดลงมาทีต วั คันมีลวดหรือ ลูกแก้วคัน เป็ นระยะ ปลายทวนล่างสอดทะลุ กะโหลกลงไป เพื อคล้องสาย ซอทัง" สองเส้น
7
3. ลูกบิด มีสองลูก เสียบอยูท่ ี ทวนบน ใช้ขงึ สายซอ ซึ งทําให้ดว้ ยไหมฟั น เป็ น เกลียว หรือทําด้วยเอ็นผูกคล้องปลายทวนล่างสุด ลูกบนสําหรับสายทุม้ ลูกล่างสําหรับสายเอก 4. รัดอก เป็ นบ่วงเชือกใช้ลกู ล่างสําหรับสายเอกรั"งสายซอ เพื อให้ได้ค่เู สียง สายเปล่าชัดเจน 5. หมอน เป็ นวัสดุทวี างหมุนระหว่างหน้าซอกับสายซอเพื อให้ได้เสียงกับวาน บางทีเรียกว่า หย่อง 6. คันชัก ทําด้วยไม้เนื"อแข็ง กลึงให้ได้รปู ขึงเส้นหางม้า ประมาณ ๒๕๐ เส้น เส้นหางม้านีจ" ะสอดเข้าระหว่าง สายเอกกับสายทุม้ การเทียบเสียง สาย เอกมีระดับเสียงตรงกับสายทุม้ ของซอด้วง สายทุม้ มีเสียงตํา กว่าสายเอก ๕ เสีย เครือ งตี เป็ น เครื องดนตรีทที าํ ให้เกิด เสียงดนตรีดว้ ยการใช้ของสองสิง กระทบกัน ด้วยการตี นับว่าเป็ นเครื องดนตรีประเภท เก่าแก่ที สดุ ทีท ี มนุษย์รจู้ กั ใช้ ได้มี วิวฒ ั นาการจากอุปกรณ์งา่ ยๆ ให้มี ความหลากหลายออกไปทัง" รูปแบบและวัสดุ ทีใ ช้ สําหรับเครื องดนตรีไทย ทีเ ป็ นประเภทเครื องตีมดี งั นี" เครื องดนตรีทาํ ด้วย ไม้ เครื องดนตรีทาํ ด้วยเหล็ก และเครื องดนตรีทาํ ด้วยหนัง เครือ งตีที ทําด้วยไม้
•
•
กรับพวง ทําด้วยไม้หรือโลหะ ลักษณะเป็ นแผ่นบาง หลายแผ่นร้อยเข้า ด้วยกัน ใช้ไม้หนาสองชิน" ประกับไว้
8
กรับเสภา ทําด้วยไม้เนือ" แข็ง ลักษณะเป็ นแท่งสีเ หลีย ม มีสนั มนวิธีตี การ ตีใช้ขยับมือทีล ะคู่ การขับเสภาใช้กรับสองคู่ ถือมือละคู่ ผูข้ บั เสภาจะขยับกรับ สองคูน่ ี"ตามท่วงทํานองที เรียกเป็ นไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้กรอ ไม้หนึง ไม้รบ หรือไม้สี
•
ระนาดเอก ทีใ ห้เสียงนุ่มนวล นิยมทําด้วยไม้ไผ่บง ถ้าต้องการ ให้ได้เสียง เกรียวกราว นิยมทําด้วยไม้แก่น ลูกระนาดมี ๒๑ ลูก ลูกที ๒๑ หรือลูกยอด จะมี ขนาดสัน" ทีส ดุ ลูกระนาด จะร้อยไว้ดว้ ยเชือกติดกันเป็ นผืนแขวนไว้บนราง ซึ งทํา ด้วย ไม้เนื"อแข็งรูปร่างคล้ายเรือ ด้ามหัวและท้ายโค้งขึน" เพือ ให้อมุ้ เสียง มีแผ่นไม้ ปิ ดหัวและท้ายรางเรียกว่า "โขน" ฐานรูปสีเ หลีย มเรียกว่า "ปี พาทย์ไม้แข็ง" ไม้ตี อีกชนิดหนึง ทําด้วยวัสดุทนี ่มุ กว่า ใช้ผา้ พัน แล้วถักด้ายสลับ เวลาตีจะให้เสียง นุม่ นวล เมือ ผสมเข้าวงเรียกว่า "ปี พาทย์ไม้นวม" วิธีตี เมือ ตีตามจังหวะของลูก ระนาดแล้วจะเกิดเสียงกังวาล ลดหลัน กันไปตามลูกระนาด ระนาดทีใ ห้เสียงแกร่ง กร้าว อันเป็ นระนาดดัง" เดิมเรียกว่า ระนาดเอก
•
ระนาดทม้ ุ
ระนาดทุม้ เลียนแบบระนาดเอก สร้างขึน" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ลูกระนาดมีจาํ นวน ๑๗-๑๘ ลูก ตัวลูกมีขนาดกว้างและยาว กว่าของระนาดเอก ตัวรางก็แตกต่าง จากระนาดเอก คือเป็ นรูปคล้ายหีบไม้แต่ เว้ากลาง มีโขนปิ ดหัวท้าย มีเท้าอยู่สมี มุ ราง ไม้ตีตอนปลายใช้ผา้ พันพอกให้โต และนุ่ม เวลาตีจะได้เสียงทุม้
9
วิธีตี ตีตามจังหวะของลูกระนาดใช้บรรเลงในวงปี พาทย์ทวั ไป มีวิธีการ บรรเลง แตกต่างไปจากระนาดเอก คือไม่ได้ยึดการบรรเลงคู่ ๘ เป็ นหลัก
เครือ งตีที ทําด้วยโลหะ •
ฆ้อง
ฆ้อง ตัวฆ้องทําด้วยโลหะแผ่นรูปวงกลมตรงกลางทําเป็ นปุ่ มนูน เพื อใช้ รองรับการตีให้เกิดเสียงเรียกว่า ปุ่ มฆ้อง ต่อจากปุ่ มเป็ นฐานแผ่ออกไป แล้วงอ งุม้ ลงมาโดยรอบเรียกว่า "ฉัตร" ส่วนที เป็ นพื"นราบรอบปุ่ มเรียกว่า "หลังฉัตร" หรือ " ชานฉัตร" ส่วนที งอเป็ นขอบเรียกว่า "ใบฉัตร" ทีใ บฉัตรนีจ" ะมีรเู จาะ สําหรับร้อยเชือกหรือหนังเพื อแขวนฆ้อง ถ้าแขวนตีทางตัง" จะเจาะสองรู ถ้าแขวน ตีทางนอนจะเจาะสี ร ู การบรรเลง ฆ้องใช้ในการบรรเลงได้สองลักษณะคือ ใช้ตกี าํ กับจังหวะ และ ใช้ตดี าํ เนินทํานอง ฆ้องที ใช้ตกี าํ กับจังหวะได้แก่ ฆ้องหุ่ย หรือฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฆ้องเหม่ง ฆ้องระเบ็ง และฆ้องคู่ ฆ้องที ใช้ตดี าํ เนินทํานอง ได้แก่ ฆ้องราง ฆ้องวง ใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องมโหรี ฆ้องมอญ ฆ้องกะแตและฆ้องหุ่ย หรือฆ้องชัย ฆ้อง กะแต ใช้บรรเลงในวงปี พาทย์มอญ ลูกฆ้องมีขนาดเล็ก จํานวน ๑๑ ลูก •
ฆ้องมโหรี
ฆ้องมโหรี เป็ นฆ้องวงทีใ ช้บรรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะ มีอยูส่ องขนาด คือ ฆ้องวงใหญ่มโหรีและฆ้องวงเล็กมโหรี ฆ้องวงใหญ่มโหรีเดิมมีลกู ฆ้อง ๑๗ ลูก ต่อมานิยมใช้ ๑๘ ลูก •
ฆ้องมอญ
ฆ้องมอญ เป็ นฆ้องวงที ตงั" โค้งขึน" ไปทัง" สองข้าง ไม่วางราบเหมือนฆ้องไทย มีลกู ฆ้อง ๑๕ ลูก ใช้บรรเลงใน วงปี พาทย์มอญ ตัวรางประดิษฐ์ตกแต่งงดงาม •
ฆ้องระเบ็ง
ฆ้องระเบ็ง ใช้ตปี ระกอบการและแสดงระเบ็ง ชุดหนึง มีสามลูก มีขนาดและ ให้เสียงสูง-ตํา ต่างกัน มีชอื อีกอย่างหนึ งตามลักษณะว่า "ฆ้องราว" ฆ้องราง ใช้
10
ตีดาํ เนินทํานอง ชุดหนึง มี ๗-๘ ลูก เสียงลูกที ๑ กับลูกที ๘ เป็ นเสียงเดียวกัน แต่ตา่ งระดับเสียง ปั จจุบนั ไม่มีการใช้ในวงดนตรีไทย •
ฆ้องวงใหญ่
ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่ มีลกู ฆ้อง ๑๖ ลูก ลูกเสียงตํา สุดเรียกว่า ลูกทวน ลูกเสียงสูงสุดเรียกว่า ลูกยอด ไม้ที ใช้ตมี สี องอัน ผูต้ ถี ึงไม้ตมี ือละอัน •
ฆ้องวงเล็ก
ฆ้องวงเล็ก มีลกู ฆ้อง ๑๘ ลูก สร้างขึน" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง เกล้าฯ ใช้บรรเลงร่วมในวงปี พาทย์ มีหน้าทีเ ก็บ สอด แทรก ฯลฯ •
ฆ้องหยุ่
ฆ้องหุ่ย ใช้ตีกาํ กับจังหวะ เป็ นฆ้องทีม ีขนาดใหญ่ทสี ดุ ในวงดนตรีไทย มี อีกชือ ว่า ฆ้องชัย อาจเป็ นเพราะสมัยโบราณ ใช้ฆอ้ งชนิดนีต" เี ป็ นสัญญาณใน กองทัพ ปั จจุบันใช้ตีใน งานพิธี งานมงคลต่าง ๆ •
ฆ้องโหม่ง
ฆ้องโหม่ง ใช้ตกี าํ กับจังหวะ มีขนาดใหญ่ รองลงมาจากฆ้องหุ่ย ได้ชอื นี" ตามเสียงที เกิดจากการตี •
ฉาบ
ฉาบ เป็ นเครื องตีกาํ กับจังหวะ ทําด้วยโลหะ รูปร่างคล้ายฉิ ง แต่ มีขนาด ใหญ่กว่าและหล่อบางกว่า มีสองขนาด ขนาดใหญ่กว่าเรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาด เล็กกว่า เรียกว่า ฉาบเล็ก การตีจะตีแบบประกบ และตีแบบเปิ ดให้เสียงต่างกัน •
ฉิ ง
ฉิ ง เป็ นเครื องตีกาํ กับจังหวะ ทําด้วยโลหะ หล่อหนา รูปร่างกลม เว้ากลาง ปากผาย คล้ายฝาขนมครกไม่มจี กุ สํารับหนึ งมีสองฝาเจาะรูตรงกลางที เว้า
11
สําหรับร้อยเชือกโยงฝาทัง" สอง เพื อสะดวกในการถือตี ฉิ งมีสองขนาด ขนาด ใหญ่ใช้ประกอบวงปี พาทย์ ขนาดเล็กใช้กบั วงเครื องสายและมโหรี
เครือ งตีที ทําด้วยหนัง กลอง เป็ นเครื องดนตรีประเภทตี สําหรับใช้บอกสัญญาณ บอกจังหวะ และใช้ประกอบเครื องดนตรีอื น ๆ ตัวกลองเรียกว่า "หุ่น" ทําด้วยไม้ ข้างในเป็ น โพรง หน้าขึงด้วยหนังมีทงั" หน้าเดียวและสองหน้า การขึน" หนังมีทงั" ตรึงด้วยหมุด และโยงเร่งด้วยเส้นหนัง หวายหรือลวด การตีกลอง อาจใช้ตดี ว้ ยฝ่ ามือ และตี ด้วยไม้สาํ หรับตี •
กลองแขก
กลองแขก มีรปู ร่างยาวเป็ นกระบอก หน้าด้านหนึง ใหญ่เรียกว่า "หน้ารุ่ย" หน้าด้านหนึ งเล็กเรียกว่า "หน้าต่าน" หนังหน้ากลอง ทําด้วยหนังลูกวัว หนัง แพะ ใช้เส้นหวายฝ่ าชีกเป็ นสายโยงเร่งให้ตงึ ด้วยรัดอก สํารับหนึ งมีสองลูก ลูก เสียงสูงเรียกว่า "ตัวผู"้ ลูกเสียงตํา เรียกว่า "ตัวเมีย" การตี การตีใช้ฝ่ามือทัง" สอง ตีทงั" สองหน้าให้เสียงสอดสลับกันทัง" สองลูก กลองชนิดนี"เรียกอีกอย่าง หนึ งว่า "กลองชะวา" •
กลองชนะ
กลองชนะ รูปร่างเหมือนกลองแขก แต่สนั" กว่า หน้าหนึ งใหญ่ อีกหน้าหนึ ง เล็ก ใช้ตีดว้ ยไม้งอ ๆ หรือหวาย ทางด้านหน้าใหญ่ เดิมกลองชนะน่าจะใช้ใน กองทัพ หรือในการสงคราม ต่อมาใช้เป็ นเครื องประโคมในกระบวนพยุหยาตรา และใช้ประโคม พระบรมศพ พระศพ และศพ ตามเกียรติยศของงาน จํานวนที ใช้ บรรเลง มีตงั" แต่ ๑ คู่ ขึน" ไป •
กลองชาตรี
กลองชาตรี มีรปู ร่างลักษณะและการตีเช่นเดียวกับกลองทัด แต่ขนาดเล็ก กว่ากลองทัดประมาณครึ งหนึ ง ขึน" หนังสองหน้า ใช้บรรเลงร่วมในวงปี พาทย์ใน การแสดงละครชาตรีทเี รียกว่า "ปี พาทย์ชาตรี" ใช้เล่นคู่กบั โทนชาตรี
12
•
กลองต๊อก
กลองต๊อก เป็ นกลองจีนชนิดหนึง มีขนาดเล็ก หุ่นกลองหนา ขึน" หนังสอง หน้า หน้าทัง" สองมีขนาดเท่ากัน ตีหน้าเดียวโดยใช้ไม้ขนาดเล็ก •
กลองตะโพน
กลองตะโพน ใช้ตะโพนสองลูก เสียงสูงตํา ต่างกัน ถอดเท้าออก แล้วนํามา ตัง" เอาหน้าเท่งขึน" ตีแบบกลองทัด ใช้ไม้นวมทีใ ช้ตีระนาดเป็ นไม้ตี •
กลองทัด
กลองทัด มีรปู ทรงกระบอก กลางป่ องออกเล็กน้อย ขึน" หนังสองหน้า ตรึง ด้วยหมุดที เรียกว่า "แส้" ซึ งทําด้วยไม้ งาช้าง กระดูกสัตว์ หรือโลหะ หน้ากลอง ด้านหนึง ติดข้าวตะโพน แล้วตีอีกด้านหนึง ใช้ไม้ตีสองอัน สํารับหนึง มีสองลูก ลูก เสียงสูงเรียกว่า "ตัวผู"้ ลูกเสียงตํา เรียกว่า "ตัวเมีย" ตัวผูอ้ ยูท่ างขวา และตัวเมีย อยูท่ างซ้ายของผูต้ ี กลองทัดน่าจะเป็ นกลองของไทยมาแต่โบราณ ใช้บรรเลง รวมอยู่ในวงปี พาทย์มาจนถึงปั จจุบนั •
กลองมลายู
กลองมลายู มีรปู ร่างลักษณะเหมือนกลองแขก แต่สนั" และอ้วนกว่า หน้า หนึ งใหญ่ อีกหน้าหนึง เล็กขึน" หนังสองหน้า เร่งให้ตงึ ด้วยหนังรูดให้แน่น สายโยง เร่งเสียงทําด้วยหนัง หน้าใหญ่อยูท่ างขวาไปตีดว้ ยไม้งอ หน้าเล็กตีดว้ ยฝ่ ามือ สํารับหนึง มีสลี กู ต่อมาลดเหลือสองลูก ใช้บรรเลงคู่ อย่างกลองแขกลูกเสียงสูง เรียกว่า "ตัวผู"้ ลูกเสียงตํา เรียกว่า "ตัวเมีย" ใช้บรรเลงในวงบัวลอยในงานศพ และใช้บรรเลงในวงปี พาทย์นางหงส์
•
กลองโมงครมุ่
กลองโมงครุ่ม มีรปู ร่างลักษณะเหมือนกลองทัด แต่ใหญ่กว่า ขึน" หนังสอง หน้า ตรึงด้วยหมุด ตีหน้าเดียว โดยใช้ไม้ตี ใช้ตีในการเล่นสมัยโบราณทีเ รียกว่า "โมงครุ่ม" หรือ "โหม่งครุ่ม" ซึ งมักตีฆอ้ งโหม่งประกอบด้วย
13
•
กลองยาว
กลองยาว หุ่นกลองทําด้วยไม้ ตอนหน้าใหญ่ ตอนท้ายเรียวแล้วบาน ปลายเป็ นรูปดอกลําโพงมีหลายขนาด ขึน" หนังหน้าเดียว ตัวกลางนิยมตบแต่งให้ สวยงามด้วยผ้าสี หรือผ้าดอกเย็บจีบย่น ปล่อยเชิงเป็ นระบายห้อยมาปกด้วย กลอง มีสายสะพายสําหรับคล้องสะพายบ่า ใช้ตีดว้ ยฝ่ ามือ แต่การเล่นโลดโผน อาจใช้สว่ นอื น ๆ ของร่างกายตีก็มี กลองยาวได้แบบอย่างมาจากพม่า นิยมเล่น ในงานพิธขี บวนแห่ กลองชนิดนีเ" รียกชือ ตามเสียงทีต ีได้อีกชือ หนึง ว่า "กลอง เถิดเทิง" •
กลองสองหน้า
กลองสองหน้า ลักษณะคล้ายเปิ งมาง แต่ใหญ่กว่า ตีดว้ ยมือขวา ใช้ใบ เดียวตีกาํ กับจังหวะในวงปี พาทย์ทบี รรเลงในการขับเสภา •
ตะโพน
ตะโพน เป็ นเครื องดนตรีประเภทกลอง ตัวตะโพนเรียกว่า "หุ่น" ทําด้วยไม้ เนื"อแข็ง ขุดแต่งให้เป็ นโพรงภายใน ขึน" หนังสองหน้า ตรงกลางป่ องและสอบไป ทางหน้าทัง" สอง หน้าหนึง ใหญ่เรียกว่า "หน้าเทิง " หรือ "หน้าเท่ง" ปกติอยู่ดา้ น ขวามือ อีกหน้าหนึง เล็ก เรียกว่า "หน้ามัด" ใช้สายหนังเรียกว่า "หนังเรียด" โยง เร่งเสียงระหว่างหน้าทัง" สอง ตรงรอบ ขอบหนังขึน" หน้าทัง" สองข้าง ถักด้วยหนัง ตีเกลียวเป็ นเส้นเล็ก ๆ เรียกว่า "ไส้ละมาน" สําหรับใช้รอ้ ยหนังเรียด โยงไป โดยรอบจนหุม้ ไม้ห่นุ ไว้หมด ตอนกลางหุ่นใช้หนังเรียดพันโดยรอบเรียกว่า "รัด อก" หัวตะโพนวางนอนอยูบ่ นเท้าทีท าํ ด้วยไม้ ใช้ฝ่ามือซ้าย-ขวา ตี ทัส" องหน้า ตะโพนใช้บรรเลงผสมอยู่ในวงปี พาทย์ ทําหน้าทีก าํ กับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ ผูท้ นี บั ถือพระประคนธรรพ ว่าเป็ นครูใหญ่ทางดนตรี ได้ถือเอาตะโพนเป็ น เครื องแทนพระประคนธรรพในพิธไี หว้ครู และถือว่าตะโพนเป็ นเครื องควบคุม จังหวะทีส าํ คัญทีส ดุ •
ตะโพนมอญ ตะโพนมอญ คล้ายตะโพนไทย แต่ใหญ่กว่า และตรงกลาง หุ่นป่ องน้อยกว่า มีเสียงดังกังวาลลึกกว่าตะโพนไทย หน้าใหญ่เรียกว่า "เมิกโนด" หน้าเล็กเรียกว่า "เมิกโด้ด" เป็ นภาษามอญ ตะโพนมอญใช้
14
บรรเลงผสมในวงปี พาทย์มอญ มีหน้าทีบ รรเลงหน้าทับ กํากับจังหวะต่าง ๆ เครือ งเป่า •
•
เครือ งเป่า เป็ นเครื องดนตรีทที าํ ให้เกิดเสียงจากลมเป่ า อุปกรณ์ดงั เดิม ได้จากพืช ได้แก่หลอดไม้ตา่ ง ๆ และจากสัตว์ ได้แก่ เขาสัตว์ตา่ งๆ ต่อมา ได้มีวิวฒ ั นาการด้วยการเจาะรูและทําลิน" เพื อให้เกิดระดับเสียงได้มาก ขลยุ่
ขลุย่ เป็ นเครื องดนตรีประเภทเป่ า มักทําจากไม้รวก ไม้ชงิ ชัน ไม้พะยูง และ งาช้าง แต่ทที าํ จากไม้รวกจะให้เสียงนุ่มนวล ไพเราะกว่า ขลุย่ มี ๕ ชนิด คือ ขลุ่ย กรวด ขลุย่ นก ขลุย่ เพียงออ ขลุย่ หลีบ และขลุย่ อู้ ขลุย่ มีสว่ นประกอบดังนี" 1. เลาขลุย่ คือ ตัวขลุย่ มีขนาดแตกต่างกันไปตามชนิดของขลุย่ มักนิยม ประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ ลงบนตัวขลุย่ เช่น ลายดอกพิกลุ ลายหิน และ ลายลูกระนาด เป็ นต้น 2. ดาก คือ ไม้อดุ ปากขลุย่ นิยมใช้ในไม้สกั ทอง เหลากลมให้คบั แน่นกับร่อง ภายในของปากขลุย่ ฝานให้เป็ นช่องว่าง ลาดเอียงตลอดชิน" ดาก ให้เป่ าลม ผ่านไปได้ 3. รูเป่ า เป็ นรูสาํ หรับเป่ าลมเข้าไป 4. รูปากนกแก้ว เป็ นรูที เจาะร่องรับลม จากปลายดากภายในขลุย่ อยูด่ า้ น เดียวกับรูเป่ า อยูส่ ดุ ปลายดากพอดี เป็ นรูปสีเ หลีย มผืนผ้า รูปากนกแก้วนี" ทําให้เกิดเสียง เทียบได้กบั ลิน" ของขลุย่ 5. รูเยื อ เป็ นรูสาํ หรับบิดวัสดุทที าํ ให้เสียงสัน พริว" มักใช้เยื อไม้ไผ่ หรือเยื อหัว หอมปิ ด อยูด่ า้ นขวามือ 6. รูคาํ" หรือรูนวิ" คํา" เป็ นรูสาํ หรับให้นิ"วหัวแม่มอื ปิ ด เพื อบังคับเสียง และ ประคองเลาขลุย่ ขณะเป่ า อยูด่ า้ นล่างเลาขลุย่ ต่อจากรูปากนกแก้วไปทาง ปลายเลาขลุย่ 7. รูบังคับเสียง เป็ นรูทเี จาะเรียงอยู่ดา้ นบนของเลาขลุย่ มีอยู่ ๗ รู ด้วยกัน 8. รูรอ้ ยเชือก มี ๔ รู หรือ ๒ รูก็ได้ อยู่ทางส่วนปลายของเลาขลุย่ โดยการ เจาะทะลุบน-ล่าง และ ซ้าย-ขวา ให้เยือ" งกันในแต่ละคู่ เสียงขลุย่ เกิดจาก เป่ าลม และใช้นิ"วมือปิ ดเปิ ดรูบงั คับเสียง
15
•
ขลยุ่ กรวด
ขลุย่ กรวด มีขนาดเล็กกว่า ขลุย่ เพียงออ ระดับเสียงตํา สุดสูงกว่า ระดับ เสียงของขลุย่ เพียงอออยู่ ๑ เสียง •
ขลยุ่ นก
ขลุย่ นก เป็ นขลุย่ พิเศษ ทําขึน" เพื อ เสียงสัตว์ตา่ งๆ โดยเฉพาะนก ใช้ บรรเลง ประกอบในวงดนตรี เพื อให้เกิดจินตนาการ ในการฟั งเพลงได้ดยี ิ งขึน" บางครัง" ยังใช้ ลิน" ปี มาประกอบกับ ตัวขลุย่ เพื อเลียนเสียงไก่ ขลุย่ พิเศษเหล่านี" นิยมใช้บรรเลง เพลงตับนก และตับภุมรินทร์ •
ขลยุ่ หลีบ
ขลุย่ หลีบ เป็ นขลุย่ ขนาดเล็ก มีเสียงสูงแหลมเล็ก ระดับเสียงตํา สุดสูงกว่า เสียงตํา สุดของขลุย่ เพียงออขึน" มา ๓ เสียง ใช้เป่ าคู่กบั ขลุย่ เพียงออ หรือขลุย่ กรวด มีอยู่สองชนิด คือ ขลุย่ หลีบเพียงออ และขลุย่ หลีบกรวด •
ขลยุ่ อ้ ู
ขลุย่ อู้ เป็ นขลุย่ ขนาดใหญ่ ระดับเสียงตํา สุด ตํา กว่าระดับเสียงตํา สุดของ ขลุย่ เพียงออ ลงไปอีก ๒ เสียง ใช้บรรเลงในวงปี พาทย์ดกึ ดําบรรพ์ •
ปี
ปี เป็ นเครื องดนตรีประเภทเป่ า ปกติ เลาปี ทําด้วยไม้แก่น ต่อมามีผคู้ ิดทํา ด้วยงา โดยกลึงให้เป็ นรูปบานหัว และบานท้าย ช่วงกลางป่ อง ภายในกลวง ทาง หัวใส่ลนิ" เป็ นช่องรูเล็ก ทางท้ายปากรูใหญ่ ใช้งา ชัน หรือวัสดุอย่างอื นมาหล่อ เสริมตอนหัว และตอนท้าย เรียกว่า "ทวน" ทางหัวเรียกว่า "ทวนบน" ทางท้าย เรียกว่า "ทวนล่าง" ช่วงที ป่องกลาง เจาะรูนิ"วสําหรับเปลีย นเสียง เรียงลงมา ตามข้างเลาปี จํานวน ๖ รู ทีร เู ป่ าตอนทวนบนใส่สนิ" สําหรับเป่ าเรียกว่า ลิน" ปี ทํา ด้วยใบตาลซ้อน ๔ ชัน" ตัดกลมผูกติดกับท่อกลมเล็ก ๆ ที เรียกว่า "กําพวด" ทํา ด้วยโลหะ มีลกั ษณะเรียว วิธผี กู เชือกให้ลนิ" ใบตาลติดกับกําพวดเรียกว่า "ผูก ตะกรุดเบ็ด"
16
•
ปี ไฉน
ปี ไฉน เป็ นปี สองท่อน ถอดออกจากกันได้ ท่อนบนเรียงยาว ปลายผาย ออกเล็กน้อยเรียกว่า "เลาปี " ท่อนล่างปลายบานเรียกว่า "ลําโพง" ทําด้วยไม้ หรืองา ปี ชนิดนีเ" ข้าใจว่าได้แบบอย่างมาจาก เครื องดนตรีของอินเดีย ซึ งเป็ น เครื องเป่ าทีท าํ ด้วยไม้ ไทยใช้ปี ชนิดนีม" าตัง" แต่สมัยสุโขทัย ปั จจุบันใช้ในขบวนแห่ คู่กบั ปี ชวา จ่าปี ใช้เป่ านํากลองชนะในกระบวนพยุหยาตรา
ค
แหล่งอ้างอิง http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/