การแพร่กระจายและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

Page 1

การแพร่กระจายและการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมทางวัฒนธรรมไทย

นางสาวภานุมาส หอมไกล

เลขที่ ๖

ระดับชั้นปริญญาตรีชั้นปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม


การแพร่กระจายและการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมทางวัฒนธรรมไทย เสนอ อาจารย์เยาวดี ด้วงกูล จัดทําโดย นางสาวภานุมาส หอมไกล

เลขที่ ๖

ระดับชั้นปริญญาตรีชั้นปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม


คํานํา รายงานเล่มนีจ้ ัดทําขึ้นเพื่อเรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับ การแพร่กระจายและการ เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมในด้านต่างๆ สาเหตุ ของการเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมไทย วิวัฒนาการของวัฒนธรรม คณะผูจ้ ัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่านไม่มากก็น้อย หากมี ข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้

นางสาวภานุมาส หอมไกล


สารบัญ หน้า คํานํา

สารบัญ

ข การแพร่กระจายและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทย

1

การแพร่กระจายของวัฒนธรรมไทย

6

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทย

11

การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม

16


1

การแพร่กระจายและการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมไทย สังคมและวัฒนธรรมย่อมมีการเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา เพราะความต้องการ ของมนุษย์ไม่มที ี่สิ้นสุด แต่การเปลี่ยนแปลงจะเร็วหรือช้านั้นขึ้นอยูก่ ับปัจจัยทีม่ าเกี่ยวข้อง เช่น ระดับการศึกษา ของคนในสังคม การสื่อสารคมนาคม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การนํามาเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมกับสังคมเป็นของคู่กัน ต้องไปด้วยกันเสมอ ถ้าสังคมเปลี่ยนวัฒนธรรม ก็เปลี่ยนสังคมก็เปลี่ยน มีผลเกีย่ วเนื่องกัน ปัจจัยที่ทําให้เกิดการเปลีย่ นแปลง เช่นการค้นพบ การประดิษฐ์ การ ขัดแย้ง การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมมีผลทําให้ระบบ รูปแบบทางสังคม และวิถชี ีวิตของมนุษย์ ทั้งที่เป็นวัตถุและไม่ใช้วตั ถุเปลี่ยนแปลง มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่มคี วามคิด และสร้างสรรค์สิ่งต่างๆให้เกิดขึ้น การที่มนุษย์มี ความต้องการทางธรรมชาติมากกว่าสัตว์โลกประกอบกับมีสมองที่ชาญฉลาด ทําให้ มนุษย์รจู้ กั ใช้สติปัญญาคิดค้นและปรับปรุงการดํารงชีวิตให้ดีขึ้นกว่าเดิม มนุษย์จึงรูจ้ กั กัน มีความสัมพันธ์ต่อกันจากคน สองคน สามคน จนกลายเป็นกลุ่มเป็นสังคมใหญ่ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์โลกประเภทอื่นๆ เพราะมนุษย์มีวิถีชวี ิต รูจ้ ักการทํามาหา กิน รูจ้ ักการสร้างบ้าน ประดิษฐ์สิ่งของเครือ่ งใช้ในการหากิน สิ่งเหล่านี้เรียกว่า วัฒนธรรม วัฒนธรรมเกิดจากการรวมตัวกันของคนในสังคม และในแต่ละสังคมก็จะมีการรับ ส่ง วัฒนธรรมกัน โดยลักษณะของวัฒนธรรมมีดังนี้ ๑. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ได้มาด้วยการเรียนรู้ ๒. วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคม ๓. วัฒนธรรมเป็นวิถีชีวิตหรือแบบของการดําเนินชีวิต ๔. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่


2

ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมไทย ในการอยู่รอดของมนุษย์จาํ เป็นต้องสัมพันธ์กับผู้อื่นและสิ่งอื่นเพื่อการอยู่รอด นอกจากความสัมพันธ์กบั มนุษย์ด้วยกันแล้วยังมีสิ่งแวดล้อมอื่นๆอีกด้วย คือ ธรรมชาติ แต่ความสัมพันธ์ทั้งสองอย่างนี้ไม่ได้แยกจากกันเด็ดขาดต้องมีการเชื่อมโยงกันเช่น ใน ครอบครัวในชุมชน มีกฎเกณฑ์เป็นข้อปฏิบัติและข้อห้ามอย่างชัดเจน มีการแสดงออก ทางประเพณี พิธีกรรมและกิจกรรมต่างๆ เช่น การรดน้ําดําหัวผู้ใหญ่ การบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น ผู้คนสมัยก่อนพึ่งพาอาศัยธรรมชาติแทบทุกด้านตั้งแต่อาหารการกิน เครื่องนุ่งห่ม ที่อยูอ่ าศัยและยารักษาโรควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่พัฒนาก้าวหน้าเหมือนทุก วันนี้ ยังไม่มีระบบการค้าแบบสมัยใหม่ ไม่มีตลาด คนไปจับปลาล่าสัตว์ เพื่อเป็นอาหาร ไปวันๆ ความเชื่อเรื่องผีสาง หรือต้นไม้ใหญ่มีเทพเจ้าหรือผีสิง ทําให้การทําลายธรรมชาติ เกิดขึ้นโดยสะดวกไม่ได้ตัดไม้เพื่อสร้างบ้านและใช้สอยตามความจําเป็นเท่านั้น ไม่ได้ทํา เพื่อการค้า ชาวบ้านมีหลักเกณฑ์ในการใช้สิ่งของในธรรมชาติ ไม่ตัดไม้อ่อน ทําให้ต้นไม้ ในป่าขึ้นแทนต้นที่ถูกตัดไปได้ตลอดเวลา


3

มนุษย์จดั ความสัมพันธ์โดยการสร้างสถาบันทางสังคม สถาบันทางสังคมมีความสําคัญต่อกันอย่างไม่ขาดตอนและเป็นระบบ วัฒนธรรม จึงไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่เมือ่ เกิดการเปลี่ยนแปลงส่วนใดส่วนหนึ่งส่วนที่เหลือก็ต้องปรับตาม ไปด้วยเป็นผลทําให้วัฒนธรรมที่เป็นองค์รวมเปลี่ยนตามไปด้วยวัฒนธรรมในความหมาย นี้คือระบบความสําคัญของคนกับคน และคนกับธรรมชาติแต่ระบบความสําคัญนี้มักจะ รับระบบความสําคัญทีต่ กทอดกันมาจากอดีต วัฒนธรรมแบบนี้มีความสับซ้อนและต้อง อาศัยการถ่ายทอดปลูกฝังกันเป็นเวลานาน วัฒนธรรมอันดีงามของชาติไทยแต่โบราณมักได้มาจากการติดต่อกับชนชาติอื่นๆ เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี ค้าขาย หรืออื่นๆเช่น การติดต่อสมาคมกับ มอญและเขมร ซึ่งก็ รับอิทธิพลมาจากอินเดียเช่นกัน ปรากฏได้ในด้านศาสนา การปกครอง ขนบธรรมเนียม ประเพณีวรรณคดีและศิลปกรรม แต่ในระยะหลังอิทธิพลของตะวันตกและจีนมีเพิ่มมาก ขึ้น ศาสนา เรารับศาสนาพุทธมาจากอินเดียซึ่งมีอทิ ธิพลในด้านการปกครอง กริยามารยาท ความเป็นอยู่ ส่วนความเชื่อในการประกอบพิธีกรรมต่างๆได้มาจากศาสนาพราหมณ์ การปกครอง มีการปกครองของตนเองคือแบบพ่อปกครองลูกมีอิทธิพลมาจากขอมซึ่งขอมรับ แบบการปกครองมาจากอินเดียภายหลังเรารับอารยธรรมมาจากตะวันตกจึงเปลี่ยนการ ปกครองเป็นแบบประชาธิปไตย ศิลปกรรม สมัยสุโขทัยเรามีศิลปกรรมของตนเองแบบไทยแท้แต่เมื่อรับพระพุทธศาสนาลัทธิ หินยานและลังกาวงศ์จึงมีอิทธิพลในศิลปะสุโขทัยโดยเฉพาะเจดียส์ ่วนการสร้างวัดและ พระพุทธรูปเรารับมาจากอินเดีย


4

วรรณกรรม มักเกี่ยวกับศาสนาหรือยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์ตามวรรณกรรมของอินเดีย ภาษา สมัยสุโขทัยพ่อขุนรามคําแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากอักษร ขอม นอกจากภาษาขอมแล้วเรายังนิยมใช้ภาษบาลีสันสกฤต ซึ่งเป็นผลจาการเผยแผ่ ศาสนาโดยเฉพาะราชาศัพท์ส่วนภาษาจีนมักนํามาใช้ในการเรียกตําแหน่งต่างๆ เช่น จุ๊น จู้ นายสําเภา ไต้ก๋ง ฯลฯ ปัจจุบันเรายอมรับภาษาชาติอื่นๆมาใช้บ้างเพือ่ ความใจและ เพื่อความรู้ เช่น ภาษาอังกฤษ ฯลฯ หัตถกรรม สมัยพ่อขุนรามคําแหง มีช่างจีนมาสอนทําเครือ่ งปั้นดินเผา จึงได้คิดในการ ประดิษฐ์ลายประดับมุกจากจีน แต่ปัจจุบันนิยมทําเครื่องถ้วยชามด้วยเครื่องประดับ แบบตะวันตก ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ในสมัยอยุธยาได้คติความเชือ่ จากขอม ทําให้มีการใช้ราชาศัพท์และพิธกี ารต่างๆ นอกจากนั้น ยังได้มาจากอินเดีย เช่น การแต่งงาน การเผา ปลูกบ้าน การตั้งศาลพระภูมิ แต่อารยธรรมตะวันตกก็เข้ามาผสมผสานในหลายเรือ่ ง เช่น การแต่งงานแบบไทยแต่ เลี้ยงแบบฝรั่ง วัฒนธรรมในอดีตและปัจจุบันมีอิทธิพลหรือความสัมพันธ์กับอารยะธรรมต่างชาติ มาผสมผสานกัน โดยเราได้เลือกเอาสิ่งที่เป็นประโยชน์ และสอดคล้องกับสภาพความ เป็นอยู่ของคนไทย เป็นการผสมผสานของวัฒนธรรมต่างชาติกับวัฒนธรรมที่ตนเองมีอยู่ มาแต่เดิม ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมจึงมีลกั ษณะเป็นวัฒนธรรมผสม วัฒนธรรมผสม คือ การรับเอาวัฒนธรรมของชาติอื่นมาปฏิบัติ ประเทศไทยก็ เช่นเดียวกับชนชาติอื่น ซึ่งรับเอาทั้งวัฒนธรรมทางวัตถุและมิใช่วัตถุ รับเอาทั้งจงใจและ ไม่จงใจ บางอย่างก็รับเอาทั้งหมด บางอย่างก็รบั เอาบางส่วน


5

ชนชาติใดที่มีวัฒนธรรมเข้มแข็ง ชนในชาติจะสามารถรักษาวัฒนธรรมของตนไว้ ได้ โดยไม่ยอมรับวัฒนธรรมของชนชาติอื่นเข้ามาผสมผสานหรือมาลบล้างวัฒนธรรมของ ตน วัฒนธรรมเป็นสิ่งทีม่ นุษย์สร้างขึ้น โดยใช้วิธกี ารต่างๆ คือ 1. การบังคับ 2. การเผยแผ่โดยตรง นอกจากนี้ การแผ่ขยายของวัฒนธรรมที่เป็นไปโดยปกติธรรมชาติกค็ อื 1. การติดต่อค้าขาย 2. การศึกษา 3. การย้ายถิ่น 4. สื่อสารต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ และสิ่งพิมพ์ ฯลฯ การที่จะรับเอาวัฒนธรรมอื่นมาผสมผสานกับวัฒนธรรมของเราดูได้จากการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่องในวิถชี ีวิต จนได้ชื่อว่า เรารับวัฒนธรรมอื่นมาปฏิบัติแล้ว และหลายๆ อย่างที่ถือปฏิบัติกันจนคิดว่าเป็นของคนไทย วัฒนธรรมผสมนี้สรุปแล้ว มี 2 ประเภท คือ 1. รับเอาโดยไม่เปลี่ยนแปลง 2. รับเอาโดยเปลีย ่ นแปลง


6

การแพร่กระจายของวัฒนธรรมไทย การแพร่กระจาย หมายถึง การนําข่าวสารจากสังคมหนึ่งไปยังอีกสังคมหนึ่ง ทําให้วิวัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้เกิดการแทนที่ การปรับปรุงพัฒนา แก้ไข และการสูญเสีย เกิดขึ้นอย่างกว้างขว้างด้วย ทฤษฏีการแพร่กระจาย กลุ่มที่ 1 เน้นศึกษาองค์ประกอบวัฒนธรรมในโลกทั้งหมด กลุ่มที่ 2 เป็นกลุม่ วงแหวนวัฒนธรรม หรือกลุม่ ประวัติศาสตร์วฒ ั นธรรม วิวฒั นาการแพร่กระจาย เมื่อพิจารนาตามทฤษฎีการแพร่กระจายทั้งสองกลุ่มดังกล่าว จะเห็นวิวัฒนาการ ความต่างทางชีวภาพเห็นได้ชัดในความแตกต่างทางเชือ้ ชาติ ซึ่งในขั้นกว้างที่สุดแยกเป็น กลุ่มนิกรอยด์ มองโกลอยด์ คอเคซอยด์ ออสตราลอยด์ ฯลฯ ภายใต้กลุ่มใหญ่นี้ก็มี กลุ่มย่อย เช่น นิกริโต ออสโตนีเซี่ยน อินโดนีเซียน ออสโตเอเชียติก โปลิเนเซียน ฯลฯ ความแตกต่างนี้ เป็นความแตกต่างทางลักษณะภายนอกทีส่ ังเกตเห็น ซึ่งสัมพันธ์ กับความแตกต่างทางพันธุกรรม แต่ไม่ทั้งหมด ทางด้านสังคมศาสตร์ นักมานุษยวิทยาใช้คําว่า “กลุ่มชาติพันธุ”์ เพื่อแยกข้อ แตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างสังคมมนุษย์ที่มวี ัฒนธรรมต่างกัน โดยไม่พิจารนาเรือ่ ง เชื้อชาติ การศึกษาเรือ่ งกลุ่มชาติพันธุ์และวัฒนธรรม เป็นเรื่องซับซ้อน การ เปรียบเทียบวัฒนธรรมโดยการพิจารนาองค์ประกอบต่างๆ จึงเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ เวลานานในการศึกษาและทําความเข้าใจ สถาบันทางวัฒนธรรมไทย หมายถึง ผลงานของคนไทยเองทีช่ ่วยกันกําหนดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการใช้และทํากิจกรรมร่วมกัน ถือเป็นวิถีชีวิตของคนไทยที่ เอกลักษณ์เฉพาะ ได้แก่ 1. สถาบันครอบครัว 2. สถาบันศาสนา 3. สถาบันเศรษฐกิจ


7

4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

สถาบันการศึกษา สถาบันศิลปะ สถาบันการพักผ่อนหย่อนใจ สถาบันระบบคุณค่า สถาบันรัฐบาล สถาบันเทคโนโลยีขั้นพืน้ ฐาน สถาบันชุมชน

แต่โดยรวมแล้ววิถีชีวิตของคนในโลกมีธรรมชาติความต้องการที่เหมือนกันอยู่ 4 ประการ คือ 1. อาหาร 2. การสืบพันธุ์ 3. การพักผ่อนนอนหลับ 4. การระวังภัย เนื่องมาจากความต้องการของมนุษย์ทั้งสี่ข้อที่กล่าวมา จึงได้มกี ารค้นหา สร้างสรรค์งานอย่างมีระบบ รวมถึงการแสวงหาที่พึ่งทางจิตใจจนกลายมาเป็นประเพณี ลัทธิ ศาสนา อย่างมีแบบแผน และด้วยศรัทธาในสิ่งที่ตนเชือ่ จึงได้เกิดงานชิ้นเอกต่างๆ ขึ้นจนมีสิ่งมหัศจรรย์ของโลกหลายชิ้นเช่น


8

ในด้านวั นวัฒนธรรม พระพุทธศาสนา การสืบทอดวัฒนธรรมอย่างมีหลักและกฎเกณฑ์ทางสังคมมากมาย ขึ้นกับจิตใจ ของกลุ่มคนนั้นๆ โดยมีพระพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ

กษัตริย์ สถาบันกษัตริย์ ตามประวัติศาสตร์เริม่ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย มีรูปแบบการปกครอง แบบราชาธิปไตย ตามลําดับถึงอยุธยา รัตนโกสินทร์

อักษรไทย อักษรไทยดัดแปลงมาจากอักษรมอญมาใช้เรียกว่า “อักษรไทยเดิม” ต่อมาเมือ่ พ่อขุนรามคําแหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นมาใช้เองเมื่อ พ.ศ.1826 โดยทรงเลียนแบบ ขอมหวัดและอักษรมอญมาใช้ นับว่าไทยเราได้เริ่มมีอักษรของเราเอง ปัจจุบันก็ยังใช้ แบบเดิมอยู่


9

ประเพณีไทย ประเพณีหมายถึงแบบความเชื่อความคิดการกระทํา ค่านิยม ทัศนคติ ศีลธรรม จารีต ระเบียบ แบบแผน และวิธกี ารทําสิ่งต่างๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมใน โอกาสต่างๆ เป็นสิ่งที่ปฏิบัติมานานสืบต่อกันมาและยังมีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน

จรรยามารยาทไทย การถวายความเคารพตามลักษณะที่เหมาะสมกราบหรือไหว้ตามความเหมาะสม ของประเภทบุคคล สําหรับประชาชนทั่วไปมีการเคารพระบบอาวุโสและความเหมาะสม จิตใจแบบไทย วัฒนธรรมทางจิตใจหมายถึงสิ่งที่ทําให้จิตใจ มีความเจริญงอกงามเช่น ความคิด ทางปัญญา ศาสนา ศิลปะ วรรณคดี กฎหมายและระเบียบประเพณี ศิลปกรรมไทย การศึกษาศิลปกรรมเป็นการเรียนรู้ถึงความเป็นมาตามลําดับของศิลปกรรมแต่ละ ยุคแต่ละสมัย ก่อให้เกิดความซาบซึ้งถึงคุณค่าของศิลปกรรมประจําชาติ ศิลปกรรม เป็น ไทยศิลปะอุดมคติคือ มีความรู้สกึ สูงกว่าธรรมชาติทั่วไปและหนักไปทางทิพย์สวรรค์ ต่าง ออกไปจากความเป็นจริง รวมแล้วศิลปกรรมไทยมี 4 ประเภทคือ 1. สถาปัตยกรรมไทย ได้แก่ สถาปัตยกรรมเป็นวิชาทีว ่ ่าด้วยการก่อสร้าง ได้แก่ การสร้างเจดีย์ ปรางค์ วิหาร มณฑป หอระฆัง 2. ปติมากรรม ได้แก่ รูปต่างๆ 3. วิจิตรศิลป์ ได้แก่ ภาพฝาผนังต่างๆ 4. ประณีตศิลป์ ได้แก่ เครื่องประดับหรือเครื่องใช้ที่ทําด้วยมืออันประณีต


10

วรรณคดีไทย ชาติไทยเป็นชาติที่มีนสิ ยั เจ้าบทเจ้ากลอน ดังจะเห็นได้ในศิลาจาลึกหลักที่ 1 ว่า “ในน้ํามีปลา ในนามีขา้ ว” “ไพร่ฟ้าหน้าใส ไพร่ฟ้าหน้าปก” วรรณคดีไทยจึงมี วิวัฒนาการมาตามลําดับตั้งแต่สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์


11

การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรมไทย การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม หมายถึง การไม่หยุดนิ่ง การเคลื่อนไหวอยู่ เสมอ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดเวลา วัฒนธรรมย่อยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาล สังคมกับวัฒนธรรมนั้นแม้ว่าจะไม่ใช่สิ่งเดียว แต่ก็มกั จะอยู่คกู่ ันเสมอ ไม่มีสังคมมนุษย์ ใดที่จะอยู่ได้โดยปราศจากวัฒนธรรม ถ้าไม่มีวฒ ั นธรรม มนุษย์ก็ยังคงจะมีพฤติกรรม ไม่ต่างจากสัตว์ทวั่ ไป สิ่งสําคัญที่ทาํ ให้มนุษย์ต่างจากสัตว์อื่นก็คือ วัฒนธรรม วัฒนธรรมย่อยเปลีย่ นแปลงเสมอ สาเหตุหลักเนื่องมาจากปัญหาที่มนุษย์ประสบ ประกอบกับความต้องการของมนุษย์เปลีย่ นไป สาเหตุแห่งการเปลีย่ นแปลงทาง วัฒนธรรมจําแนกออกเป็นข้อย่อยๆ ได้ดังนี้ ๑. เนื่องจากการทะนุบํารุงส่งเสริมวัฒนธรรมความต้องการปรุงแต่งวัฒนธรรม สังคมของตนให้เจริญงอกงามขึ้น มีการคิดค้นวัฒนธรรมใหม่ ดัดแปลงให้ เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน จึงทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เช่น การแต่งกาย ๒. การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติเช่นสภาพดินฟ้าอากาศ ความแห้งแล้ง น้ําท่วม อากาศร้อนจัด หนาวจัดการเสื่อมสภาพของดิน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทํา ให้มนุษย์คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลงไป เช่น การ สร้างเขือ่ นเพื่อป้องกันน้าํ ท่วมแต่เป็นการทําลายป่าไม้และสัตว์ป่า ๓. การเปลี่ยนแปลงในความต้องการของมนุษย์โดยมนุษย์มีเชาว์ปัญญาสูง ทําให้ เกิดการนึกคิดนําไปสู่การเปลี่ยนแปลง มนุษย์จาํ เป็นต้องแสวงหาสิ่งตอบแทน สนองความต้องการของงานที่เพิ่มขึ้นการคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ และวิธกี ารใหม่ ๆ มี ผลทําให้วัฒนธรรมเปลีย่ นแปลงไปการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีสอื่ สาร ทํา ให้เด็กไทยปัจจุบันเขียนหนังสือไม่ถูกลายมือไม่สวย เพราะได้รับอิทธิพลมา จากหนังสือการ์ตูน ตัวอักษรไทยผิดเพี้ยนไปรักความสบายมากขึ้น เด็กปัจจุ ปันใช้โทรศัพท์ นานมมาก มีปัญหาต่อการได้ยนิ มีปัญหา ต่อทางสมอง


12

๔. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคมเช่น ประชากรมีจํานวนมากขึ้น ทํา ให้มีการแข่งขันกันสูง เกิดความขัดแย้ง (Class Conflict) เพิ่มมากขึ้น อันเป็น ปัญหาที่มนุษย์ต้องหาวิธีการสร้างระเบียบ เพื่อแก้ไขความยุ่งยากดังกล่าว ดังนั้น วัฒนธรรมของมนุษย์ย่อมเปลีย่ นแปลงไปด้วย ๕. การแลกเปลี่ยนหยิบยืมวัฒนธรรมซึ่งเกิดจากความเจริญในด้านการสือ่ สารการ คมนาคมติดต่อ ถึงกันเป็นอย่างสะดวกรวดเร็วการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจากสังคมอื่นจึง เป็นไปอย่างกว้างขวางจะเห็นได้ว่าปัจจุบัน แฟชัน่ การแต่งกาย เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วมาก เพราะความเจริญก้าวหน้า ของการสือ่ สารนั่นเอง ๖. วัฒนธรรมอาจเปลี่ยนแปลงได้จากพัฒนาการของความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทําให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางทัศนคติความเชือ่ แบบเดิม หันไปนิยมแบบใหม่ เพื่อต้องการให้เป็นผู้ที่เรียกว่า ทันสมัยไม่ล้าหลัง มีการ ปรับปรุงแนวคิดใหม่ ๆ อยู่เสมอ ๗. วัฒนธรรมอาจเปลี่ยนแปลงได้เนื่องจากความประสงค์ของผู้มอี ํานาจทาง สังคม"เชื่อผู้นาํ " ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตนายยกรัฐมนตรีของไทย ปี พ.ศ. 2481 - 2487วัฒนธรรมสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม มีอํานาจในช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีอํานาจในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี สมัยนั้น ห้ามคนไทยกินหมาย ห้ามหญิงนุ่งโจงกระเบน และชายหญิงออกจาก บ้านต้องสวมหมวกจึงมีเพลงเชิญชวนเกิดขึ้นโดยกรมโฆษณาการเพื่อให้ ทัดเทียมชาติตะวันตก ๘. เนื่องจากการมองเห็นประโยชน์และความจําเป็นของสิ่งนั้นๆทําให้รับเอา วัฒนธรรมนั้น ๆ มาใช้ในการดําเนินชีวิต เมื่อประชาชนมากขึ้น มีความ จําเป็นต้องอาศัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม การใช้เครื่องจักรช่วยในการผลิต ตามระบบโรงงาน(Factory System)


13

จากสาเหตุดังกล่าวทั้ง 8 ข้อ จะเห็นว่าวัฒนธรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลเวลาสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา เทคโนโลยีใหม่ ๆ การเพิ่มของ ประชากร ฯลฯ มีสว่ นทําให้สภาพแวดล้อม สภาพจิตใจความเชือ่ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง ไป วัฒนธรรมจึงต้องเปลี่ยนแปลงปรับปรุงเพื่อสอดคล้องตามไปด้วย ในการวิเคราะห์ถึง สาเหตุที่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบ่งออกได้เป็น 2 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยภายนอก 1.1 การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก หรือวัฒนธรรมสมัยใหม่ ซึ่งเป็น วัฒนธรรมที่เรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้และรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา 1.2 การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อน กับวัฒนธรรมดังเดิมของ ท้องถิ่น ซึ่งสลับซับซ้อน ลึกซึ้ง เข้าใจได้ยาก ส่งผลให้ละเลยและหลงลืมวัฒนธรรมดั้งเดิม เด็กยุคใหม่หลงลืมวัฒนธรรมมารยาทไทย ซึ่งเป็นสิ่งดีงามไป แต่กลับไปเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก 1.3 ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา เช่นการพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ นับเป็นสื่อ อันสําคัญที่ทําให้ชมุ ชน ได้รับข่าวสารเรือ่ งราวต่าง ๆ เกิดการเรียนรู้ ยอมรับและปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยมุ่งความทันสมัย ไม่คํานึงถึงรากฐานวัฒนธรรมและประเพณีดั้งเดิม 2. ปัจจัยภายใน 2.1 ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชน จังหวัดได้มีการวางแผนโครงการด้าน ต่าง ๆ ทําให้ทอ้ งถิ่นเกิด ความเจริญ มีความสะดวกสบายในด้านต่าง ๆ 2.2 เมื่อสังคมและชุมชนมีการขยายตัวอย่างขวางขวางผู้คนหันไปสนใจ เศรษฐกิจมากขึ้น เกิดการแข่งขันทําให้เกิดการหลงลืมกิจกรรมด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น 2.3 ความไม่เข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นดังเดิม ไม่ได้ศึกษา ทําให้ยากต่อการ ปฏิบัติและขาดความกล้าในการปฏิบัติตามวัฒนธรรม รวมถึงการแต่งกาย ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีทําให้รับเอาวัฒนธรรมนั้น ๆ มาใช้ในการดําเนินชีวิต


14

เมื่อประชาชนมากขึ้น มีความจําเป็นต้องอาศัยการผลิตแบบอุตสาหกรรม การใช้ เครื่องจักรช่วยในการผลิต ตามระบบโรงงาน(Factory System) จากสาเหตุดังกล่าวทั้ง 8 ข้อ จะเห็นว่าวัฒนธรรมจะมีการเปลีย่ นแปลงไปตาม กาลเวลา สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา เทคโนโลยีใหม่ ๆ การเพิ่มของ ประชากร ฯลฯ มีสว่ นทําให้สภาพแวดล้อม สภาพจิตใจความเชือ่ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง ไป วัฒนธรรมจึงต้องเปลี่ยนแปลงปรับปรุงเพื่อสอดคล้องตามไปด้วย ในการวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบ่งออกได้เป็น 2 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยภายนอก 1.1 การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก หรือวัฒนธรรมสมัยใหม่ ซึ่งเป็น วัฒนธรรมที่เรียบง่าย ไม่สลับซับซ้อน ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้และรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา 1.2 การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อน กับวัฒนธรรมดังเดิมของ ท้องถิ่น ซึ่งสลับซับซ้อน ลึกซึ้ง เข้าใจได้ยาก ส่งผลให้ละเลยและหลงลืมวัฒนธรรมดั้งเดิม เด็กยุคใหม่หลงลืมวัฒนธรรมมารยาทไทย ซึ่งเป็นสิ่งดีงามไป แต่กลับไปเลียนแบบวัฒนธรรมตะวันตก 1.3 ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา เช่นการพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ นับเป็นสื่อ อันสําคัญที่ทําให้ชมุ ชน ได้รับข่าวสารเรือ่ งราวต่าง ๆ เกิดการเรียนรู้ ยอมรับและปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยมุ่งความทันสมัย ไม่คํานึงถึงรากฐานวัฒนธรรมและประเพณีดั้งเดิม 2. ปัจจัยภายใน 2.1 ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชน จังหวัดได้มีการวางแผนโครงการด้าน ต่าง ๆ ทําให้ทอ้ งถิ่นเกิด ความเจริญ มีความสะดวกสบายในด้านต่าง ๆ 2.2 เมื่อสังคมและชุมชนมีการขยายตัวอย่างขวางขวางผู้คนหันไปสนใจ เศรษฐกิจมากขึ้น เกิดการแข่งขันทําให้เกิดการหลงลืมกิจกรรมด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น


15

2.3 ความไม่เข้าใจในวัฒนธรรมท้องถิ่นดังเดิม ไม่ได้ศึกษา ทําให้ยากต่อการ ปฏิบัติและขาดความกล้าในการปฏิบัติตามวัฒนธรรม รวมถึงการแต่งกาย ภาษาพูด ขนบธรรมเนียมประเพณี การเปลี่ยนแปลงทางสังคมส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการตอบสนองความต้องการของ มนุษย์เพื่อให้มีชวี ิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ผลที่ตามมาจะทําให้สังคมเปลี่ยนแปลงไป


16

การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม นักปราชญ์ไม่ว่าในโลกตะวันออกหรือตะวันตกยึดถือว่า การเปลีย่ นแปลงเป็น สภาพการณ์ที่เป็นปกติธรรมดา ในทางพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง อนิจจัง อันเป็น ความไม่เทีย่ งแท้ ปราชญ์กรีกโบราณชือ่ เฮอราไคลตูส ได้กล่าวว่าทุกสิง่ เปลี่ยนแปลงอยู่ เสมอ เขายังแสดงทัศนะไว้ว่า ไม่มีใครสามารถกระโดดลงแม่น้ําได้สองครั้ง หมายความ คือ ทั้งตัวแม่น้ําและตัวบุคคลเปลีย่ นแปลงไปแม้ห่างกันเพียง 1-2 นาทีเท่านั้น เพราะฉะนั้นแม่น้ําและคนย่อมไม่เหมือนเดิม การกระโดดลงไปครั้งทีส่ อง ไม่ได้ใน ความหมายนี้ สําหรับนักปราชญ์ร่วมสมัยชาวอังกฤษ ชื่อ ไว้ท์เฮด ได้กล่าวว่า การ เปลี่ยนแปลงเป็นธรรมของทุกอย่าง การเปลีย่ นแปลงมีปรากฏทั้งในส่วนที่เป็นโลกแห่ง กายภาพ คือพื้นดิน พื้นน้ํา ร่างกายของสิ่งมีชวี ิต และโลกนามธรรม อันได้แก่ ความคิด ความเชื่อต่างๆ และรวมทั้งส่วนที่เป็นสังคมและวัฒนธรรมแนวคิดแห่งการ เปลี่ยนแปลงมีตา่ งๆกัน มีทัศนะอื่นเกี่ยวกับเรือ่ งทิศทางของการเปลี่ยนแปลง เช่น คํา ว่า สังคม ในทางสังคมวิทยา หมายถึง 3 เรื่องใหญ่ๆ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 2. สถาบันต่างๆ เช่น ศาสนา ครอบครัว เศรษฐกิจ การศึกษา การเมือง การ นันทนาการ ฯลฯ 3. สังคมระดับมหาภาค ได้แก่ สังคมระดับประเทศ เช่น ไทย มาเลเซีย จีน ญี่ปุ่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฯลฯ ถ้ายึดถือความหมายข้างต้นย่อยเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงในเรื่องใหญ่ๆด้วยกัน เรื่องแรก คือ การที่รูปแบบและลักษณะแห่งคามสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปได้แตกต่างไปจากเดิม ความสัมพันธ์นนั้ อาจจะเป็นในรูปของการเป็นมิตรสหาย การเป็นเพื่อนบ้าน การเป็นผู้ร่วมใช้รถใช้ถนน การเป็นผู้ซื้อและผู้ขาย การเป็นแพทย์ และคนไข้ อย่างนี้เป็นต้น 1.


17

เรื่องทีส่ อง คือ สถาบันศาสนาก็มีการเปลีย่ นแปลง สําหรับเรือ่ งทางเศรษฐกิจเห็น เกี่ยวโยงกับเรือ่ งรสนิยมและการยอมรับจากคนในสังคม สําหรับเรื่องที่สาม เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับกว่างใหญ่ เช่น การจัดระบบช่วง ชั้นของคนในสังคม สังคมและวัฒนธรรม มีลักษณะใกล้เคียงกัน การใช้ศัพท์ทั้งสองคําจะเป็นการใช้ แทนกันได้ คือ การเปลี่ยนแปลงด้านสังคมย่อยหมายถึงการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม ผลทีไ่ ด้รบั จากการเปลี่ยนแปลง 1. ด้านรูปธรรมหรือกายภาพ ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ 2. ด้านนามธรรม กฎระเบียบต่างๆ ของสังคม 3. ด้านบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมของคนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป วัฒนธรรมมีเฉพาะหมู่มนุษย์ หมายถึงสิ่งที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรือง คนไทย อนุรักษ์วัฒนธรรมเก่าไว้ในฐานะมรดกของชาติ เพื่อว่าในอนาคตอาจหยิบยกมาใช้ ใหม่ได้เมื่อเป็นคุณค่า


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.