เรื่อง ภาพถ่าย
พั ชรีพร ศุภพิ พัฒน์ อรรถพล ดีใจ
“ การจารใบลานเป็น ‘อุตตมะทานะ’ อุตตมะ แปลว่าสูงสุด ทานะ คือทาน ทานที่สูงสุด คือ ธรรมทาน การให้ธรรมเป็นทานนั้น จะโดยวิธีไหน โดยบรรยาย โดยการเขียน การปฏิบัติให้ดู ก็ได้หมด แต่คนรุ่นหลังก็ต้องเก็บรักษา”
พระมหาประเสริฐ สิริปุญโญ (ป.ธ. ๔ น.ธ.เอก)
วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร
“พระครูพิจิตรสรการ” (พระครูคู่สวด) ฐานานุกรมในพระเดชพระคุ ณพระพรหมมงคล เจ้ า อาวาสวั ด พระธาตุ ศ รี จอมทองวรวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๗ ปัจจุบันอายุ ๓๐ ปี พรรษา ๑๐ ขอความเมตตาพระอาจารย์เล่าที่มาของการจารใบลานค่ะ อาตมาเริ่มจารใบลานตั้งแต่บวชเป็นพระ อายุ ๒๑ สมัย เป็นเด็กวัดได้เรียนภาษาล้านนากับหลวงพ่อรูปหนึ่งที่ แม่แตง จ. เชียงใหม่ ตอนเป็นสามเณร พ่อหนานศรีทน
อ. 1
ยศ
ถามี ผู้เป็นมัคทายกได้พาไปดูหอไตรและอ่านอักษรธรรม พระอาจารย์มีวิธีฝึกอ่านอักษรธรรมล้านนาทั้งตัวเมืองและ ภาษาบาลีให้แตกฉานได้อย่างไรคะ พออ่านอักษรธรรมได้
จึงเริม ่ ฝึกอ่านคัมภีร์เบิกพระเนตร
ที่อยู่ในปั๊ปสาก่อน อักษรธรรมที่อยู่ในนั้น จะมีท้ง ั ตัวบาลีและ ตัวท้องถิน ่ ล้านนา แล้วจึงค่อยมาอ่านใบลาน ช่วงแรกก็ยัง ตะกุกตะกักอยู่ แต่พอเริ่มอ่านได้ จึงได้มาเริ่มฝึกเทศน์จาก การอ่านใบลาน เทศน์ผูกแรกในชีวิต เรื่องต�ำนานพระทักขิณโมลีธาตุ เป็นพระบรมธาตุที่วัดศรีจอมทอง จาก
ต่อมาได้มาเทศน์เรื่อง มงคลทีปนี เป็นตัวล้านนาที่ไม่ได้แปลเป็นไทยเลย แล้วก็อ่านตัวล้านนามาเรื่อย ๆ จน
จึงเรียกให้ไปอ่านให้ฟง ั พออ่านผิด ท่านก็บอกว่าตรงนี้เขียนแบบนี้ อ่าน
อ่านตัวอาถาอาคม ยันต์ ที่เป็นตัวยาก ๆ ที่อยู่ในปั๊ปสา ที่อ่านยากเพราะเขียนให้รู้บ้างไม่รู้บ้าง ต้องแกะต้อง
นั้นหลวงปู่ทอง (พระพรหมมงคล)
แบบนี้นะ อ่านแบบนั้นไม่ถูก จนกระทั่งมาอ่านต�ำนาน เรื่องนึงมีค�ำโบราณเยอะมากผูกนึง มีใบลานอยู่ประมาณ ๒๘ ใบ ฝึกอ่านไป ๔๐ รอบ อ่านจนคล่อง 1
หนาน ค�ำที่ผู้คนทางภาคเหนือใช้เรียกผู้ชายที่เคยผ่านการบวชมาแล้ว เหมือนค�ำว่า ‘ทิด’ ในภาษาภาคกลาง
เดากันไป พออ่านตัวภาษาล้านนาโบราณที่ยาก ๆ ได้จึงอ่านใบลานได้สบาย
จุดเริ่มต้นของการจารใบลานมีที่มาที่ไปอย่างไรคะ ตอนนั้นเห็นว่าใบลานที่วัดพระธาตุศรีจอมทอง ผุพังมาก ทั้งโดนฝน โดนปลวกกิน หายไปเยอะ พอเห็นใบ
เคยนับไหมคะ ว่าจารมาแล้วกี่คัมภีร์ ไม่ได้นับเลย มันเยอะ จารมาตลอด จารเรื่อย ๆ ให้เทวดานับก็พอ
ลานเก่า ๆ ของที่วัดนี้เป็นใบลานเปล่าที่ตีเส้นไว้แล้ว ด้วยความที่เป็นสามเณรก็ช่างสงสัย ว่าอันนี้คืออะไร ท�ำไม ไม่มีตัวหนังสือ ถามเขาดูก็บอกว่าเป็นลานเปล่ายังไม่ได้เขียน ให้ลองเอาไปเขียนดู เขียนไม่ยากหรอก เขาก็
เวลาจะจารล�ำดับความส�ำคัญยังไงคะว่าจะต้องท�ำเล่มไหนก่อน
สาธิตเขียนให้ดู สมัยนั้นใช้เหล็กจารกลม เลยเขียนยาก เดี๋ยวนี้เป็นเหล็กจารเหลี่ยม แล้วก็ปรับมาเรื่อย ๆ ถาม
ถ้าใจของอาตมาจะเลือกเรื่องที่แปลก ๆ ยังไม่เคยเขียน ยังไม่เคยมีมาก่อน ส่วนตัวจะสนใจจารแนวโวหาร
คนโน้นบ้างคนนี้บ้าง กว่าจะจารได้สัก ๑-๒ ใบ ต้องใช้เวลา ๓-๔ ชั่วโมง ที่นานก็เพราะพอเขียนไม่สวยก็เริม ่
ชาดกก่อนอย่างอื่น แต่จะเขียนได้ช้ากว่าที่เป็นบาลีล้วน เพราะมีตัวซ้อนอยู่เยอะ เอก โท ตัวสะกดต่าง ๆ แต่ถ้า
เขียนใหม่อีก
เป็นบาลีจะเขียนได้เร็วกว่า
ท�ำไมพระอาจารย์จึงคิดท�ำใบลานขึ้นเอง ก็ฝึกเขียนจนกระทั่งใบลานหมด เลยไปเอาลานไทยใต้มา เขียน แล้วมีคนทักท้วงว่า ลานพวกนี้จะไม่ค่อยทน มันบาง เขาก็เลยบอกวิธีท�ำลานเหนือให้ว่า ต้องไปขึ้นต้นลาน ตัดเอายอดใบลาน ยอดที่๓ และ๔ แต่ถ้าเป็นยอด ที่ ๕ จะใช้ไม่ค่อยได้แล้วเพราะหักง่าย ตั้งแต่ตัดลานมา จะเห็นว่าใบลานนี่มี ๒ แบบ ลานหยวก กับลานแฮ ลาน หยวก คือ ลานหลวง ใบมีขนาดใหญ่ ลาน แฮ ใบมีขนาดเล็ก
ตัดใบลานมาแล้วท�ำอะไรต่อคะ หลังจากตัดใบลานสดจากต้น ก็จะลิดใบออกจากก้าน คัดแยกขนาด ม้วนเป็นก้อน แล้วน�ำไป ต้ม ครั้งแรกลองใช้กระทะใบใหญ่ ๆ ออกมาใบลานด�ำ ครั้งที่สองใช้ถังเหล็ก ๒๐๐ ลิตร เดือดดี มาก แต่ก็ด�ำหมดเลย มาลงตัวที่หม้อสแตนเลส เวลาต้มจะใส่น�ำ้ ซาวข้าวกับใบมะขาม สีจะออก มาเหลืองสวย ต้ม ๓ วัน ๓ คืน ให้สามเณรช่วยเฝ้า อย่าปล่อยให้นำ�้ แห้ง ไม่อย่างนั้นใบลานที่อยู่ ข้างบนที่ไม่โดนน�ำ้ สีจะด�ำ ต้องรีบเอาน�ำ้ เติมใส่หม้อ พอเสร็จก็น�ำขึ้นมาล้างน�ำ้ ทีละใบ ขัดท�ำความ สะอาดด้วยสก็อตไบรท์ เพื่อเอาคราบด�ำบนใบลานออก แยกขนาดใบใหญ่และใบเล็กเลย หลัง จากล้างเสร็จ จะใช้เข็มเสียบร้อยกับเชือกเป็นพวงแยกตามขนาด น�ำไปแขวนตาก ถ้าแดดแรง จะตากประมาณ ๕-๑๐ วัน ถ้าไม่ค่อยมีแดดบางครั้งต้องตากถึง ๑๕ วัน ใบลานตอนตากนี้ห้าม โดนฝนหรือน�ำ้ ค้าง ไม่เช่นนั้นลานจะไม่ทน
หลังจากใบลานแห้งแล้วต้องท�ำอะไรต่อคะ เอาใบลานที่แห้งแล้วไปม้วน พอจะใช้ก็น�ำมาคลี่ออกเพื่อตัดให้ได้ขนาด เอาด้านที่ใบเป็นเส้นอยู่ด้านบน ด้านเรียบอยู่ข้างล่าง แล้วให้ด้านแก่ที่เนื้อแข็งกว่าอยู่ทางขวา น�ำไม้ประกับมาวางทาบ ตัดส่วนที่เกินออก แต่ไม่ต้องติดขอบของไม้ประกับ เผื่อให้เกินขอบออกมาเล็กน้อย ตอนเจาะรูใบลานซ้ายขวาด้วยไม้ปลาย แหลมถ้าใช้ผ้าขนหนูหรือผ้านุ่ม ๆ รองจะเจาะง่าย เจาะทีละแผ่น พอเสร็จก็น�ำไปเข้าประกับ แล้วน�ำใบลาน ทั้งประกับไปย่างไฟเพื่อไล่ความชื้น ตอนจารจะเขียนได้ง่าย
การจารท�ำอย่างไรคะ ก่อนจารต้องตีเส้นบรรทัดแนวนอน ๕ เส้น แล้วก็ เส้นแนวตั้ง
ใช้มือขวาจับเหล็กจาร
มือซ้ายเป็นตัว
ประคองและเลื่อนใบลาน ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางมือ ซ้ายหนีบลานไว้ ส่วนนิ้วโป้งเป็นตัวบังคับเหล็กจารซ้าย ขวาขึ้นลง ที่ตีไว้
จารห้อยเส้น หมายถึง จารใต้เส้นแนวนอน
ซึ่งมีอยู่หลายความหมาย
เช่น
หมายถึงการ
แสดงความเคารพต่อพระธรรม หรือหมายถึงการไม่ท�ำ ตนเหนือครูบาอาจารย์ อยู่ภายใต้ตลอด บรรทัดแรก กับบรรทัดสุดท้ายจะจารยาว แต่บรรทัดที่ ๒-๔ จาร เว้นให้ห่างจากรูร้อยลานตรงเส้นแนวตั้งที่ตีไว้ เวลาเปิดอ่านบ่อยๆ
เพราะ
สายสยองที่ร้อยรูอาจกินเนื้อลาน
เว้นหน้าหลังไว้เนื้อความจะได้ไม่ขาดหาย
ถ้าจารผิดท�ำอย่างไรคะ ถ้าต้นฉบับเขียนผิด ตอนคัดลอกจะเขียนให้ถูก แต่ถ้าต้นฉบับถูกแต่เขียนผิดเอง ถ้าผิดเยอะจะเปลี่ยน ลานแผ่นใหม่ แต่ถ้าผิดตัวสองตัวจะขีดฆ่าออกแล้วเขียนตัวที่ถูกแทน ส่วนมากเวลาเขียนจะระวัง ก่อน เขียนต้องอ่านเรื่องให้จบเสียก่อนว่าเรื่องเป็นอย่างไร ซ้อนหลัง ก็ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง อย่าให้ผิด
อย่างคนเขียนที่รู้บาลีก็ดูตัวสะกด ตัวซ้อนหน้า
เมื่อจารเสร็จแล้ว มีข้น ั ตอนอะไรอีกคะ พอจารเสร็จจะน�ำไปลบลาน ผสมผงคาร์บอนกับน�ำ้ มันยาง ใช้ลูกประคบชุบน�ำ้ หมึกทาบนแผ่นลานที่ จารแล้วไปทางเดียวกัน เอาทรายที่ตากแดดจนร้อนมาขัดออกก็จะเห็นเส้นที่จารไว้ เอาผ้าสะอาดเช็ดอีก รอบ ตรวจความถูกต้องสวยงามอีกครั้ง ถ้าไม่สวยก็จะจารใหม่ แต่ถ้าดีแล้วก็น�ำไปเข้าประกับ ตกแต่ง ขอบ แล้วก็จะน�ำคัมภีร์ไปห่อธรรม เพื่อกันลมกันฝน ธัมม์ไว้นอกมัดคัมภีร์เพื่อบอกรายละเอียด
ปกติจะเสียบไม้บัญชักหรือทางเหนือเรียก หลาบ
แต่อาตมาไม่ได้ท�ำเพราะชอบที่จะเขียนแกะลงไปบนไม้ประกับ
เลย ทั้งชื่อคัมภีร์ ชื่อเจ้าภาพ รายละเอียด กี่มัด กี่ผูก ได้ไม่สูญหายไปไหน ไม่ว่าผ่านไปกี่ปี ๆ
คัมภีร์ที่จารเสร็จแล้วน�ำเก็บไว้ท่ไี หนคะ เก็บทั้งที่หอธรรมด้วย และที่โฮงหลวง (กุฏิพุทธศาสน์สุประดิษฐ์) ด้วยเพราะว่าบางคัมภีร์ ได้ใช้ตลอด ได้ใช้ทุกปี ตอนมีงานประเพณีขอฟ้าขอฝน ต้องใช้คัมภีร์พญาคันคาก คัมภีร์ปลา ช่อน วัดในเชียงใหม่มีคัมภีร์พวกนี้น้อยมาก เพราะปัจจุบันหายากมากแล้ว บางที่มีอยู่ก็โดน ขโมย อาตมาไปหายืมมาจากวัดที่ล�ำพู น เพื่อคัดลอก จารออกมาอีกฉบับหนึ่ง พอจารเสร็จก็ ถ่ายรูปไว้ก่อนน�ำไปคืน ดีท่ถ ี ่ายรูปไว้ เพราะหลังจากนั้น ๒ เดือน คัมภีร์ก็ถูกขโมยหมดทั้งตู้
พระอาจารย์คิดจะถ่ายทอดการท�ำใบลาน การจารใบลานให้คนรุ่นหลังบ้างไหมคะ คิดสิ อาตมาเจอใครก็ชวนมาเขียนอยู่เรื่อยๆ ทั้งคนไทย (ภาคกลาง) คนเมือง (คนเหนือ) บางครั้ง อาตมาก็ยกใบลานเปล่าที่ท�ำไว้ และเหล็กจารให้เอาไปเขียนเลย แต่ก็หาคนอยากเขียนจริง ๆ ยาก ในสมัย ก่อนนั้น กว่าจะบวชมาเป็นพระได้ ต้องเป็นเด็กวัดก่อน ถึงจะเป็นสามเณร แล้วค่อยบวชพระ พออยู่วัด ตั้งแต่สมัยนั้นถึงจะได้เรียนเขียนอ่านใบลานอักษรธรรม แต่มายุคสมัยนี้มันเปลี่ยนไป ไม่ได้เป็นแบบเมื่อ ก่อน แต่ว่าอาตมาก็พยายามถ่ายทอดตลอดนะ ไม่ว่าเจอใคร บางคนก็ได้บ้าง บางคนก็มีงาน ท�ำได้ไม่จบ
พระอาจารย์คิดว่า จะจารไปจนถึงเมื่อไหร่คะ การเริ่มเขียนลานนั้น เมื่อเริ่มลงมือเขียนแล้ว จะต้องมีใจจดจ่ออยู่กับการเขียนตลอด อยู่กับงานนี้ ตลอด ช่วงหลังๆ อาตมาก็ท�ำได้ไม่ตลอด เพราะต้องคุมงานก่อสร้างวัดด้วย บางครั้งไปยกของหนัก พอมาเขียนใบลาน เขียนได้สักพักมันก็จะปวดข้อมือ ต้องหยุดพัก แล้วค่อยท�ำใหม่ ตาก็เริ่มจะมองไม่
พระอาจารย์เป็นพระยุคใหม่
ค่อยชัด มองชัดแค่ข้างซ้าย ส่วนข้างขวา เริ่มเป็นต้อกระจก จึงเขียนได้ไม่เร็วเท่าแต่ก่อน แต่ก็จะจาร
หลังไหมคะ
ท�ำไมถึงคิดว่าควรอนุรักษ์การจารคัมภีร์ใบลานและมีอะไรฝากถึงคนรุ่น
จนกว่าจะจารไม่ได้นั่นแหละ จนกว่ามือจะสั่นและเขียนไม่ไหว อายุมนุษย์น้ม ี ันไม่ยาว อย่างปีนึงเราคิดว่าจะ
ใบลานนี่เกิดมาเพื่อให้เขียนจริงๆนะ เอาไปท�ำอย่างอื่นก็ไม่ดีเท่าเอามาจาร เพราะว่าการจารใบลานเป็น
ท�ำได้ ๒-๓ คัมภีร์ก็เยอะแล้ว ถ้าคนเราท�ำได้ถึง ๗๐-๘๐ ปี หรือถ้า ๙๐ ปี อาตมายังนั่งเขียนได้ ก็ว่าจะ
‘อุตตมะทานะ’ อุตตมะ แปลว่าสูงสุด ทานะ คือทาน ทานที่สูงสุด คือ ธรรมทาน การให้ธรรมเป็นทานนั้น
นั่งเขียนอยู่นะ
จะโดยวิธีไหน โดยบรรยาย โดยการเขียน โดยการปฏิบัติให้ดู ก็ได้หมด คนรุ่นหลังก็ต้องเก็บรักษา อย่าง มะม่วงนี่ มีมากี่ปีแล้ว นี่ก็เหมือนกัน ถ้าหากว่ามันยังมีเชื้ออยู่ เผ่าพันธุ์มันก็ต้องมีอยู่ คนรุ่นหลังก็ต้อง ช่วยดูแลรักษาคัมภีร์ใบลานกันไป