คัมภีร์ใบลาน มรดกธรรมอันล้ำค่าของพระพุทธศาสนา

Page 1




สารบัญ

บทที่ ๑ สัมโมทนียกถา

- สารสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ - สารสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ - คำ�นิยมพระสุธีธรรมานุวัตร

บทที่ ๒ คณะที่ปรึกษา ๑๔ ๒๒ บทที่ ๓ ความเป็นมาของโครงการพระไตรปิฎก บทที่ ๔ ความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ๒๘

- อักษรขอม

- อักษรธรรม

- อักษรพม่า

- อักษรสิงหล

บทที่ ๕ ขั้นตอนการสำ�รวจ และถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน

๗๘

- คัดเลือกใบลาน - ลงทะเบียนข้อมูลใบลาน - อ่านบันทึกเพื่อหาอายุใบลานและชื่อผู้จาร - ตรวจสอบลำ�ดับหน้าใบลาน - ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยคุณภาพสูง

บทที่ ๖ ภาพถ่ายคัมภีร์ใบลาน

๘๖

บทที่ ๗ ศูนย์ศึกษาคัมภีร์โบราณ

๑๐๖


Contents

Chapter 1 Messages

4

- Message of His Holiness Somdej Phra Maharajamangkalajarn - Message of His Holiness Somdej Phra Buddhachinnawong - Message of Phra Suthithammanuwat

Chapter 2 Advisory Board Chapter 3 Project History Chapter 4 National & International Collaboration

- Khom Script

- Burmese Script - Sinhalese Script

14 22 28

- Tham Script

Chapter 5 Work Steps Chapter 6 Manuscript Images Chapter 7 Center for the Study of Ancient Manuscripts

78 86 106


บทที่ ๑

สัมโมทนียกถา - สารสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ - สารสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ - คำ�นิยมพระสุธีธรรมานุวัตร

6


Chapter 1 Messages

- Message of His Holiness Somdej Phra Maharajamangkalajarn

- Message of His Holiness Somdej Phra Buddhachinnawong - Message of Phra Suthithammanuwat 7


สารสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์สำ�คัญสูงสุดที่รวบรวมพระธรรมคำ�สอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและหลักธรรม ในพระพุทธศาสนาไว้ เหล่าพระพุทธสาวกตั้งแต่ครั้งบรรพกาล จึงพากเพียรอุตสาหะรักษาคัมภีร์พระไตรปิฎก จนกระทั่ง สามารถสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นมาตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๒,๖๐๐ ปี อาทิเช่น เหล่าพระอรหันตสาวก ๕๐๐ รูปเมื่อคราว ปฐมสังคายนา หรือเหล่าพระอรหันตสาวก ๗๐๐ รูป เมื่อคราวทุติยสังคายนา เป็นต้น ตลอดระยะเวลากว่า ๒,๖๐๐ ปีที่ผ่านมา แม้รูปแบบในการรักษาสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิฎกจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุค สมัยและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลก กล่าวคือ จากมุขปาฐะเป็นการจารจารึก จากการจารจารึกเป็นการตีพิมพ์ และ จากการตีพิมพ์เป็นระบบคอมพิวเตอร์ แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง คือ ศรัทธาปสาทะและความเคารพในพระธรรมคำ� สั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเหล่าพุทธบริษัทสี่ ที่ได้ช่วยกันรักษาสืบทอดพระไตรปิฎกมาจนถึงในปัจจุบัน จากการ ทรงจำ�ท่องบ่นเป็นคัมภีร์ใบลาน จากคัมภีร์ใบลานเป็นหนังสือกระดาษ และจากหนังสือกระดาษเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาตมภาพจึงรู้สึกปลาบปลื้มยินดีเป็นอย่างยิ่ง และขออนุโมทนาสาธุการ กับความวิริยะอุตสาหะของทุกท่าน ทั้งฝ่าย บรรพชิตและคฤหัสถ์ ที่ได้จัดทำ� “โครงการพระไตรปิฎก” ขึ้นเพื่อรวบรวมและเก็บรักษาพระคัมภีร์ใบลานทุกสายจารีตเป็น ภาพดิจิทัล จัดทำ�ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกบาลีเพื่อศึกษาเปรียบเทียบเนื้อความในพระคัมภีร์ใบลาน จนกระทั่งสามารถจัดพิมพ์ เผยแผ่พระไตรปิฎกบาลีฉบับสาธิต เล่มแรกคือ “สีลขันธวรรค” แห่งทีฆนิกายในพระสุตตันตปิฎก อีกทั้งยังได้จัดประชุม สัมมนาทางวิชาการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของคัมภีร์พระไตรปิฎกตลอดจนรับฟังความ คิดเห็นจากเหล่านักปราชญ์และนักวิชาการในวงกว้าง เพื่อให้ได้พระไตรปิฎกบาลีฉบับสมบูรณ์ต่อไป อาตมภาพเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า ความพากเพียรอุตสาหะของทุกท่าน จะทำ�ให้พุทธศาสนิกชนและผู้สนใจ ตลอดจน อนุชนรุ่นหลัง ได้ศึกษาคัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์นี้ต่อไปอีกนานนับพันปี เฉกเช่นเดียวกับที่เหล่าพระอรหันตสาวก เหล่า บูรพาจารย์ และเหล่านักปราชญ์ราชบัณฑิตในกาลก่อน ได้เคยทุ่มเทรักษาสืบทอดพระไตรปิฎกมาให้พวกเราจนถึงปัจจุบัน ขออำ�นาจแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย ได้โปรดประทานพรให้การดำ�เนินโครงการพระไตรปิฎก และการจัดงานประชุม สัมมนาในครั้งนี้ ประสบผลสำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ และโปรดประทานพรให้ทุกท่าน เจริญด้วยจตุรพิธพรชัย เจริญงอกงาม ไพบูลย์ในพระพุทธศาสนาตลอดนิตยกาล เทอญ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากนํ้าภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ 8


Message of His Holiness Somdej Phra Maharajamangkalajarn The Tipitaka ฺ is the most important text containing the Dhamma teachings of the Lord Buddha. Since the Buddha’s time, his disciples have put the great effort in preserving the precious Tipitaka ฺ and passing it on through generations for over 2600 years, such as the First Buddhist Council held by the group of 500 Arahants and the Second Buddhist Council held by the group of 700 Arahants. Throughout these 2600 years, the modernity and the enhanced technology have caused the change in the means of the transmission of the Tipitaka ฺ from the oral recitation to the inscription, from the inscription to the printing, and from the printing to the computer system. However, the faith and determination, and the respect to the Dhamma Teachings of the Lord Buddha of the Four Assemblies have never been deviated. I am very pleased and rejoice in your merit, both monks and laypeople, for your great effort in establishing “The Dhammachai Tipitaka ฺ Project” with the aim to collect and preserve the ancient palm-leaf manuscripts of - Tipitaka ฺ for the academic study. I all traditions and to create digitalized and computerized databases of the Pali also rejoice in your merit for your great effort in publishing the pilot version of the Silakkhandhavagga of the Digha - and organizing the academic conference in order to share the knowledge of the Tipitaka Nikaya ฺ history for useful comments from academics and researchers worldwide for a better future edition. I strongly believe that our perseverance today will bear a fruitful outcome for the future generations the same way as the perseverance of all Aranhants, disciples and academics in the past that have born a fruitful outcome in our generation at the moment. ฺ Project and the conference May the power of the supreme Triple Gem bless the Dhammachai Tipitaka today with fulfillment and attainment of its objectives. May you all forever receive the fourfold Blessing of the Lord Buddha’s teaching.

His Holiness Somdej Phra Maharajamangkalajarn Abbot of Wat Paknam Basijareaon, Bangkok 23 February 2013 9


สารสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ ปัจจุบันมีพระไตรปิฎกบาลีมากมายหลายฉบับถูกตีพิมพ์เผยแผ่ด้วยรูปอักขระต่างๆ ตามรู ป แบบความนิ ย มใน แต่ละประเทศ พระไตรปิฎกบาลีที่จัดพิมพ์ครบชุดเป็นฉบับแรกของโลก คือ พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐของประเทศไทย ที่ตีพิมพ์ด้วยอักษรไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ซึ่งถือเป็นความภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดไม่ได้ของพุทธบริษัทชาวไทยทั่วทั้ง ประเทศ ต่อมาเทคโนโลยีการตีพิมพ์ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ประเทศต่างๆ ที่นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทจึงได้ ปรารภเหตุในปีมหามงคลครบรอบ ๒๕ พุทธศตวรรษ ทยอยกันตีพิมพ์พระไตรปิฎกบาลีของตนเองขึ้นโดยอาศัยต้นฉบับจาก พระคัมภีร์ใบลานที่มีอยู่แต่เดิม อาทิเช่น ฉบับฉัฏฐสังคายนาของประเทศเมียนมาร์ ฉบับพุทธชยันตีของประเทศศรีลังกา เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เองจึงทำ�ให้เรามีพระไตรปิฎกบาลีเป็นรูปเล่มหนังสือใช้ศึกษาค้นคว้ากันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน แต่ก็มีเรื่องน่าเสียดายอยู่ประการหนึ่ง กล่าวคือ พระคัมภีร์ใบลานที่เป็นหลักฐานปฐมภูมิสำ�คัญในการจัดทำ� พระไตรปิฎกบาลีฉบับต่างๆ ข้างต้นกลับถูกทอดทิ้ง ปล่อยปละละเลย บ้างก็ถูกมดมอดปลวกกัดกิน บ้างก็สูญหายไป อีก ทั้งผู้เชี่ยวชาญที่สามารถอ่านอักษรในพระคัมภีร์ใบลานโบราณก็มีน้อยลงไปทุกที อาตมภาพจึงรู้สึกปลาบปลื้มยินดีเป็น อย่างยิ่งที่ได้ทราบว่าโครงการพระไตรปิฎกมีกุศลจิตแรงกล้าที่จะรวบรวมและอนุรักษ์รักษาพระคัมภีร์ใบลานทุกสายจารีต เป็นภาพถ่ายดิจิทัล พร้อมทั้งจัดทำ�พระไตรปิฎกโดยสืบค้นย้อนกลับไปถึงตัวพระคัมภีร์ใบลานโดยตรง งานเหล่านี้เป็นงานที่ กระทำ�ได้ยาก ต้องใช้ความวิริยะอุตสาหะ และทุ่มเทอุทิศทั้งเวลาและกำ�ลังคนในการดำ�เนินโครงการเป็นอันมาก แต่งาน ครั้งนี้จะเป็นคุณูปการใหญ่ต่อพระพุทธศาสนา เพราะเนื้อความในพระไตรปิฎกและพระธรรมคำ�สอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าจะถูกรักษาสืบทอดต่อๆกันไปอย่างถูกต้องสมบูรณ์ โดยหลักฐานภาพถ่ายพระคัมภีร์ใบลานทุกสายจารีตจะเป็น พยานสำ�คัญยืนยันความถูกต้องแห่งเนื้อความพระไตรปิฎกตลอดไป อาตมภาพจึงขอชื่นชมและอนุโมทนาทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ความวิริยะอุตสาหะและกุศลจิตเจตนาของคณะ ทำ�งานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านในครั้งนี้ย่อมเป็นมหาผลานิสงส์ทั้งต่อตัวท่านเองตลอดจนหมู่ญาติทั้งหลาย ขออำ�นาจแห่ง คุณพระศรีรัตนตรัยได้โปรดประทานพรให้การดำ�เนินโครงการพระไตรปิฎกบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งใจไว้ ให้ ท ุ ก ท่ า น เจริญรุ่งเรืองในธรรมะแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ยิ่งๆ ขึ้นไป นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๖ 10


Message of His Holiness Somdej Phra Buddhachinnawong - Tipitaka ฺ are published in different scripts. The world’s first Nowadays various printed editions of Pali - Tipitaka, conplete printed edition of Pali ฺ Edition of Siam in Thai script, was published in 1893. ฺ the Pali- Tipitaka This edition brought great pride to Thai Buddhists nationwide. - countries commemorated the Later, the printing technology was popularly utilized. The Theravada Anniversary of 2500 Buddha Jayanti by consulting the extant palm-leaf manuscripts as the primary resources to - Tipitaka ฺ in their own scripts, such as Chatthasangiti Pitakam, in Burmese script and Buddhapublish the Pali - Tipitaka ฺ Series, Sinhala script. As the result, these days we have many printed editions of Pali jayanti Tripitaka ฺ for our research and study. Unfortunately, the precious manuscripts, which are the most important primary evidences to be used for the printed editions, have disappeared through “natural” causes and the ignorance of people. Moreover, very few people are able to read and make use of the manuscripts. As such, I am very delighted to hear that The Dhammachai Tipitaka ฺ Project has the good intention in collecting and preserving the palm-leaf manuscripts of all traditions in digital images. At the same time the Project has directly consulted the palm-leaf manuscripts in order to establish a reliable text retrospectively. Accomplishment of this difficult task takes time and manpower and requires perseverance and devotion. Certainly, this achievement will prove to be a significant milestone ฺ and the teachings of the Lord Buddha then will be in the history of Buddhism as the content of the Tipitaka preserved for future generations in digital format. The images will serve as concrete evidence showing the accuracy of the original content of the Tipitaka ฺ ever after. Thus, I would like to rejoice in your merit. May the result of your effort and wholesomeness be with you and your family member. May the greatness of the Triple Gem allow the Project to meet its goal and may you all be prosperous with the wealth of the Lord Buddha’s Dhamma.Nibbhana-paccayo hotu.

His Holiness Somdej Phra Buddhachinnawong Member of Sangha Supreme Council of Thailand Multiregional Supervisor of the Central Sangha Abbot of Wat Phichayayatikaram, Bangkok 23 February 2013 11


คำ�นิยมพระราชปริยัติมุนี โครงการพระไตรปิฎก ได้จัดทำ�พระไตรปิฎก โดยรวบรวมคัมภีร์ใบลานจากอักษรต่างๆ เช่น อักษรขอม อักษร ธรรมล้านนา อักษรธรรมอีสาน และอักษรมอญ นอกจากนั้นยังได้ตรวจสอบกับต้นฉบับใบลานจากอักษรพม่า อักษรสิงหล เป็นต้น และยังได้คัมภีร์ต้นฉบับตัวเขียนจากประเทศเมียนมาร์ ลาว และศรีลังกามาด้วย การได้ต้นฉบับใบลานมา และ นำ�ไปถ่ายทำ�แบบดิจิทัลไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะฉะนั้น ในส่วนนี้ ในแง่วิชาการถือว่ามีคุณูปการที่ได้รวบรวมคัมภีร์ต้นฉบับที่ มากที่สุดเอาไว้

พระราชปริยัติมุนี

(เทียบ สิริญาโณ) คณบดีคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

Message of Phra Rajapariyattimuni (Thiab Siriyano) The Dhammachai Tipitaka ฺ Project has produced the Pal- i Tipitaka ฺ by collecting the palm-leaf manuscripts from various scripts such as Khom, Tham-Lanna, Tham-Isan as well as Mon. Moreover the Project has conferred with the original manuscripts of Burmese, Sinhalese, Myanmar, Loa, and Sri Lanka. It is not easy to collect original ancient Palm-leaf manuscripts and digitised them. Thus, in the academic aspect, the Project is regarded as having done great benefaction in gathering the largest amount of palm-leaf manuscripts.

Phra Rajapariyattimuni (Thiab Siriyano) Dean of Faculty of Buddhism, Mahachulalongkornrajavidyalaya University Assistant Abbot of Wat Phra Chetuphon Vimon Mangklararm Rajawaramahavihan, Bangkok 12


13


บทที่ ๒

คณะที่ปรึกษา

Chapter 2 Advisory Board

14


15


คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ Honorary Advisory Board

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากนํ้าภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

President Somdej Phra Maharajamangkalajarn (Joung Varapunya, Pal- i Grade 9) Wat Paknam Bhasijaroen

16


ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ประธานสภาคณะสังฆราชาแห่งสหภาพเมียนมาร์

พระสังฆราชฝ่ายมัลวัตตะแห่งประเทศศรีลังกา

President President Most Ven. Bhaddanta Dr. Kumarabhivamsa Most Ven. Thibbotuwawe Sri Siddhartha Sumangala Mahathero Chairperson of the State Sanghamahanayaka Mahanayaka Thero of the Malwatta Committee of Myanmar Chapter of Sri Lanka

17


ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากนํ้าภาษีเจริญ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ ป.ธ.๙) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ ที่ปรึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง วัดปากนํ้าภาษีเจริญ

พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต) ที่ปรึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร

Most Ven. Bhaddanta Dr. Kumarabhivamsa ประธานสภาคณะสังฆราชาแห่งสหภาพเมียนมาร์

Most Ven. Thibbotuwawe Sri Siddhartha Sumangala Mahathero พระสังฆราชฝ่ายมัลวัตตะแห่งประเทศศรีลังกา

18


President

Somdej Phra Maharajamangkalajarn (Joung Varapunya, Pal- i Grade 9) Abbot of Wat Paknam Basijareaon

Vice President

Most Venerable Phra Wisutthiwongsacharn (Vichien Anomakuno, Pal- i Grade 9) Member of Sangha Supreme Council of Thailand, Chief of North Sangha Region, Advisor to the Superrin tendent of Sanamluang Pal- i Examination, Wat Paknam Bhasijaroen

Phra Mahabodhiwongsajarn (Thongdee Suratejo, Pal- i Grade 9) Advisor to the Superrin tendent of Sanamluang Pal- i Examination, Wat Ratcha Orasaram Ratchaworawiharn

Most Ven. Bhaddanta Dr. Kumarabhivamsa Chairperson of the State Sanghamahanayaka

Most Ven. Thibbotuwawe Sri Siddhartha Sumangala Mahathero Mahanayaka Thero of the Malwatta Chapter of Sri Lanka

19


คณะที่ปรึกษาวิชาการ Advisory Board

คณะที่ปรึกษาวิชาการ ฝ่ายบรรพชิต

พระราชปริยัติมุนี ผศ.ดร. (เทียบ) ป.ธ.๙, M.A. (Pal- i & Sanskrit) PhD (Pal- i), University of Pune, India

• คณบดีพุทธศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

Phra Rajapariyattimuni (Thiab Siriyano) Pal- i Grade 9, PhD (University of Pune)

• Dean of Faculty of Buddhism, Mahachulalongkornrajavidyalaya University • Assistant Abbot, Wat Phra Chetuphon Vimon Mangklararm Rajawaramahavihan, Bangkok

คณะที่ปรึกษาวิชาการ ฝ่ายฆราวาส Prof. Richard Gombrich PhD (University of Oxford) • Boden Professor of Sanskrit Emeritus, University of Oxford • Trustee Board of Oxford Centre for Buddhist Studies .. Prof. Oskar von Hinuber PhD (University of Mainz)

• Emeritus Professor of Indology, University of Freiburg • Vice President of Pali Text Society

Prof. Sodo Mori PhD (University of Tokyo) • Former Professor, Aichi Gakuin University

Prof. Toshiichi Endo PhD (University of Kelaniya) • University of Hong Kong

Prof. G.A. Samaratne PhD (Northwestern, USA) • Centre of Buddhist Studies, University of HongKong 20


Prof. Masahiro Shimoda PhD (University of Tokyo) • Professor, Indian Philosophy and Buddhist Studies, University of Tokyo

Prof. Peter Masefield PhD (University of Lancaster) • Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Dr. Mark Allon PhD (University of Cambridge) • Chair, Department of Indian Sub-Continental Studies

Prof. Y. Karunadasa PhD (University of London) • Visiting Professor, University of Hong Kong

Prof. P.B. Meegaskumbura PhD (University of Pune) • Visiting Professor, University of Peradeniya

ผศ.ดร. ประพจน์ อัศววิรุฬหการ PhD (UC Berkeley) • อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Asst. Prof. Prapod Assavavirulhakarn PhD (UC Berkeley) • Former Dean of the Faculty of Arts, Chulalongkorn University

ศ.ดร.สมภาร พรมทา ป.ธ.๘, PhD (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย )

• ผู้อำ�นวยการศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Prof. Dr. Somparn Promta Pal- i Grade 8, PhD (Chulalongkorn University) • Director of Center for the Study of Buddhist Philosophy, Mahachulalongkornrajavidyalaya University

21


บทที่ ๓

ความเป็นมาของโครงการพระไตรปิฎก

22


Chapter 3 Project History

23


“โย โว อานนฺท มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา” “ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย”

ความเป็นมาของโครงการพระไตรปิฎก แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพานนานมาแล้ว แต่พระสัทธรรมคำ�สอน ของพระองค์ยังประโยชน์สุขให้เกิดขึ้นแก่สรรพชีวิตดุจประทีปนำ�ทางมานานกว่า ๒,๖๐๐ ปี เหล่าพุทธสาวกตั้งแต่ครั้งพุทธกาลสืบทอด พุทธธรรมด้วยการสวดทรงจำ� เรียกว่า มุขปาฐะ กระทั่งเมื่อราวปี พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ในสมัยพระเจ้า วัฏฏคามินีอภัย แห่งประเทศศรีลังกา โปรดให้ บันทึกพระไตรปิฎกลงในใบลานเป็นครั้งแรก นับแต่นั้นคัมภีร์พระไตรปิฎกรวมทั้งคัมภีร์ อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา จึงได้รับการสืบทอดโดย การจารจารึกลงในคัมภีร์ใบลานสืบต่อกันมา ปัจจุบันอาจแบ่งคัมภีร์ใบลานออกเป็น ๔ สายจารีตใหญ่ ได้แก่ ๑. คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล ๒. คัมภีร์ใบลานอักษรพม่า ๓. คัมภีร์ใบลานอักษรขอม ๔. คัมภีร์ใบลานอักษรธรรม ได้แก่ ธรรม ล้านนา ธรรมอีสาน เป็นต้น

24

มหาปรินิพพานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค (๑๐/๑๔๑/๑๗๘)

History of Dhammachai Tipitaka Project ฺ Although the Lord Buddha passed away _ into Nirvana a long time ago, the absolute truth in his teachings is still beneficial, and has been a guiding light for mankind for over 2600 years. Since the Buddha’s time, his disciples preserved and transmitted the Dhamma originally by way of mukhapatha, “oral recition”. This lasted until around 400 B.E. during the reign of King Vatta Gamani Abhaya, the pious Sinhala King of Sri Lanka, when the PaliTipitaka ฺ was first inscribed on palm leaves. Since then the Pal- i Tipitaka, ฺ commentaries, sub-commentaries and sub-sub-commentaries have been transmitted by inscribing on the palm-leaf manuscripts which can be divided into 4 main traditions as follows: 1. Sinhalese 2. Burmese 3. Khom 4. Tham (for example Tham-Lanna and Tham-Isan)


Yo vo Ānanda mayā dhammo ca vinayo ca desito paññatto, so vo mam’ accayena satthā. (PTS: DN 2, p.154) Ānanda, the teaching and discipline which I have taught and made known to you will be your teacher after my passing Mahāparinibbānasutta, Dīgha Nikāya

แม้เมื่อกาลเวลาผ่านไปคัมภีร์ใบลานจำ�นวนมากได้ผุกร่อนเสื่อมสลาย บ้างก็สูญหาย บ้างก็ถูกทำ�ลาย ไปอย่างน่าเสียดาย และผู้ที่สามารถอ่านอักษรโบราณนับวันก็มีน้อยลงทุกที อีกทั้งคัมภีร์ที่เก็บรักษาไว้ใน พิพิธภัณฑ์ หรือตามวัดต่างๆ ก็ไม่ได้ถูกนำ�มาศึกษาในวงกว้าง ด้วยตระหนักถึงสภาวการณ์ดังกล่าว วัดพระธรรมกายจึงได้จัดตั้งโครงการพระไตรปิฎกขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑.เพื่ออนุรักษ์คัมภีร์ใบลานให้คงอยู่เป็นมรดกธรรมของโลกไปตลอดชั่วกาลนาน ๒.เพื่อ จัดทำ�ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกที่สามารถเชื่อ มโยงเนื้อความกับ ภาพถ่า ยคัมภีร์ใบลานโดยตรง เป็นการอำ�นวยความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎก ให้กับนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนาทั่วโลก

Our ancestors had put a lot of effort into inscribing and preserving these palm-leaf manuscripts which have significant historical and cultural values as Buddhist documentary heritage. Unfortunately, over time the precious manuscripts have disappeared through “natural” causes and lack of knowledge of methods of preservation. Nowadays, very few people can read, preserve and make use of the manuscripts. ฺ Project”, with the aim Thus, Wat Phra Dhammakaya has launched “The Dhammachai Tipitaka to preserve the existing palm-leaf manuscripts and to create the digitalized and computerized database of the Pali- Tipitaka ฺ in order to support the Buddhist studies by all interested parties.

Objectives of Project 1.To preserve the ancient palm-leaf manuscripts as Buddhist documentary heritage. 2.To create the Tipitaka ฺ databases that will link text to images of the manuscripts. This system will greatly facilitate the academics on Buddhist Studies. 25


ผลที่คาดว่าจะได้ คัมภีร์ใบลานของทุกสายจารีตรวมหลายร้อยชุด จะได้รับการอนุรักษ์เป็นมรดกธรรมของโลกสืบไป ชั่วกาลนาน สามารถอำ�นวยประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าแก่นักวิชาการและผู้ที่สนใจพระพุทธศาสนาทั่วโลก ให้สามารถเข้าถึงภาพถ่ายคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ได้จากทุกมุมโลกผ่านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ โดยไม่ ต้ อ งเหนื่ อ ยยากลำ�บาก เดินทางไปเสาะแสวงหา เพื่อขอ อนุ ญาตคัด ลอกตามแหล่งที่เ ก็บ คัมภีร์ใบลานทีละแห่งๆ ทำ�ให้ มี การศึกษาและใช้งานคัมภีร์ใบลา นอย่ า งคุ้ ม ค่ า สมกั บ ความวิ ริ ย ะ อุ ต สาหะของบรรพบุ รุ ษ บุ พ ชนที่ ได้จัดสร้างคัมภีร์ใบลานขึ้นมา

Benefits of the Project Hundreds of manuscripts of all traditions will be preserved for future generations as Buddhist documentary heritage. This will give academics on Buddhist Studies worldwide easy access to our databases of the images of the manuscripts via internet. There is no need for them to travel to places where the manuscripts are kept or to ask for permission to access the manuscripts and to copy the text. Thus our ancestors’ great effort to create the manuscripts will bear fruit in our generation.

26


ขั้นตอนการสำ�รวจและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ทางโครงการฯได้ส่งคณะทำ�งานออกสำ�รวจคัมภีร์โบราณจำ�นวนมาก ทั้งทาง เหนือของประเทศไทย ลาว เมียนมาร์ ศรีลังกา และเขตสิบสองปันนาในประเทศจีน โดยได้รับความเอื้อเฟื้อ และร่วมมือเป็นอย่างดีจากวัด ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ต่างๆ ที่อยู่ในพื้นที่ และได้ทำ�การถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานสายจารีตต่างๆ หลายร้อยฉบับ อันได้แก่ คัมภีร์ใบลานอักษรขอม คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล คัมภีร์ใบลานอักษรพม่า คัมภีร์ใบลานอักษรธรรม (ธรรมล้านนา ธรรมอีสาน) โดยมีขั้นตอน ดังนี้ ๑.คัดเลือกใบลาน ๒.ลงทะเบียนข้อมูลใบลาน ๓.อ่านบันทึกเพื่อหาอายุใบลานและชื่อผู้จาร ๔.ทำ�ความสะอาด ๕.ตรวจสอบลำ�ดับหน้าใบลาน ๖.ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยคุณภาพสูง

Steps of Digitizing Palm-leaf Manuscripts Since 2010, the Project has sent teams to Northern Thailand, Laos, Myanmar, Sri Lanka and Xishuangbanna to digitize palm-leaf manuscripts. Many temples, libraries and museums where palm-leaf manuscripts are preserved have been truly helpful and supportive to our effort. In the digitization process, the team will: 1.select the required manuscripts 2.register the manuscripts 3.read the colophon to determine the age and scribe of the texts 4.clean the leaves 5.determine the sequence of the leaves 6.digitize them using high-quality equipment

27


บทที่ ๔

ความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศในการ อนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน อักษรขอม, อักษรธรรม, อักษรพม่า, อักษรสิงหล

Chapter 4

National & International Collaboration for Manuscript Digitization Khom Script, Tham Script, Burmese Script, Sinhalese Script

28


29


ความร่วมมือภายในประเทศและต่างประเทศ National & International Collaboration

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ North East - มหาสารคาม - อุบลราชธานี - ยโสธร - นครราชสีมา - ร้อยเอ็ด

30

Maha Sarakham Ubon Ratchathani Yasothon Nakhon Ratchasima Roi Et

ภาคใต้

Southern

- สุราษฎร์ธานี - นครศรีธรรมราช

Surat Thani Nakhon Si Thammarat

ศรีลังกา Sri Lanka

ภาคเหนือ North

ภาคกลาง

Central

- เชียงใหม่ Chiang Mai - ลำ�พูน Lamphun - ลำ�ปาง Lampang - น่าน Nan - แพร่ Phrae

- กรุงเทพมหานคร - ปทุมธานี - อยุธยา - สระบุรี

Bangkok Pathum Thani Ayutthaya Saraburi


สิบสองปันนา Xishuangbanna

ลาว Laos

เมียนมาร์ Myanmar

ประเทศไทย Thailand กัมพูชา Cambodia

31


ความร่วมมือทั้งภายในและต่างประเทศ National & International Collaboration

อักษรขอม Khom Script

ตู้เก็บคัมภีร์ใบลาน (Manuscript Cabinet)

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร (Wat Phra Chetuphon Vimon Mangklararm Rajawaramahavihan, Bangkok) 32


วัดพนัญเชิงวรวิหาร จ.อยุธยา

(Wat Phanan Choeng Worawiharn, Ayutthaya)

33


วัดพัทธสีมา จ.นครศรีธรรมราช

(Wat Phatthasima, Nakhon Si Thammarat) 34


หอพระไตรปิฎกกลางนํ้า (Manuscript Library Located above a Pond)

ตู้เก็บคัมภีร์ใบลาน (Manuscript Showcase)

35


วัดสิทธิทรงธรรม จ.เชียงใหม่ Wat Sitthi Song Tham, Chiang Mai (อักษรธรรม Tham Script)

เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่เป็นประธานพิธีลงนามความร่วมมือและร่วมชมขั้นตอนการถ่ายภาพใบลาน (The Provincial Sangha or Chief, Chiang Mai, Participating the MOU Signing Ceremony)

36


อักษรธรรมล้านนา (Tham Lanna Script)

ชาวบ้านในท้องถิ่นร่วมกันทำ�ความสะอาดใบลาน (Local People Involving in Cleaning the Palm Leaves) 37


วัดสูงเม่น จ.แพร่ Wat Sung Men, Phrae

คณะสำ�รวจเข้าพบท่านเจ้าอาวาสเพื่อกราบขออนุญาตถ่ายใบลาน (The Survey Team Asking Permission from the Abbot for the Digitization)

หอพระไตรปิฎก (Manuscript Library) 38

ตู้เก็บคัมภีร์ใบลาน (Ancient Manuscript Cabinet)


ผู้เชี่ยวชาญอักษรธรรมในท้องถิ่น (Local Expert in Tham Script)

คัมภีร์ใบลานที่เคยได้รับการขึ้นทะเบียน (Registered Manuscripts)

คณะสำ�รวจคัดเลือกและตรวจสอบใบลาน (Staff Member Checking and Selecting the Manuscripts) 39


วัดไหล่หินหลวง จ.ลำ�ปาง Wat Lai Hin Luang , Lampang

หอพระไตรปิฎก วัดไหล่หินหลวง จ.ลำ�ปาง (Manuscript Library of Wat Lai Hin Luang )

คัมภีร์ใบลาน (Registered Manuscript Bundles Preserved in the Temple Library)

คณะสำ�รวจเข้ากราบท่านเจ้าอาวาส วัดไหล่หินหลวง จ.ลำ�ปาง (The Survey Team Paying Respect to the Abbot)

40


ป้ายทางเข้าวัด (Temple Entry Sign)

ตู้เก็บคัมภีร์ใบลาน (Manuscript Showcase)

คัมภีร์ใบลาน (Tham Manuscript)

คณะสำ�รวจ (DTP Survey Staff Members)

คัมภีร์ใบลานร้อยผูกด้วยสายสนองเส้นผม (Rare Manuscripts with Human Hair Binding Strings) 41


วัดมหาชัย จ. มหาสารคาม Wat Mahachai, Maha Sarakham อักษรธรรมอีสาน (Tham Isan Script)

คณะสำ�รวจเข้าพบพระเทพสิทธาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดมหาสารคามและเจ้าอาวาสวัดมหาชัย (The Survey Team Paying Respect to the Abbot of Wat Mahachai)

- ตู้เก็บคัมภีร์ใบลาน (ซ้าย) Manucript Cabinet (Left) - มัดคัมภีร์พระไตรปิฎกบาลีอักษรธรรม (บน) Tham Manuscripts Selected for Digitization (Above) 42


คณะสำ�รวจ ตรวจสอบ คัดเลือกคัมภีร์ใบลาน (Staff Members Checking and Selecting the Manuscripts)

43


วัดมหาธาตุ จ.ยโสธร Wat Mahathat, Yasothon

ชั้นวางกล่องคัมภีร์ใบลานและหีบพระธรรมโบราณภายในหอไตร (Manuscript Shelf and Ancient Chests in the Temple Library)

- พระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดยโสธร และเจ้าอาวาสวัดมหาธาตถ่ายภาพร่วมกับทีมงาน (ล่าง) (A Group Picture with the Abbot) 44

คณะทีมสำ�รวจ


หอพระไตรปิฎกกลางนํ้า (Manuscript Library Located above a Pond)

คณะสำ�รวจ ตรวจสอบ คัดเลือกคัมภีร์ใบลาน เพื่อนำ�ไปถ่ายภาพดิจิทัล (Staff Members Checking and Selecting the Manuscripts for the Digitization) 45


ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานประเทศไทย (CPAM) - ทีมงาน CPAM ประเทศไทย ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน ตามจังหวัดต่างๆ ของประเทศ

46


Center for the Preservation of Ancient Manuscripts (CPAM), Thailand - Thai CPAM Members Selecting and Digitizing Manuscripts in Thailand

47


ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานประเทศไทย (CPAM) - ทีมงาน CPAM ประเทศไทย ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน ตามจังหวัด ต่างๆ ของประเทศ

48


Center for the Preservation of Ancient Manuscripts (CPAM), Thailand - Thai CPAM Members Selecting and Digitizing Manuscripts in Thailand

49


สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Lao People’s Democratic Republic

ความร่วมมือระหว่างประเทศ (MOU) - พิธีลงนามเซ็นสัญญาความร่วมมือค้นคว้าทางวิชาการโครงการพระไตรปิฎก ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 50


อักษรธรรมอีสาน (Tham Isan Script)

Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding (MOU) - Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding on Academic Cooperation between Dhammachai Tipitaka Project DTP and National Library of Laos (NLL) on 25 February 2016 51


หอพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หลวงพระบาง (National Museum of Luang Prabang)

ท่านอ่อนจัน สุวันนะลิด หัวหน้าแผนกแถลงข่าวและวัฒนธรรม แขวงหลวงพระบาง

Mr. Onechan Souvannalith (Director of Department of Information, Culture and Tourism)

- คณะทีมสำ�รวจถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน - Survey Staff Members Digitizing Selected Manuscripts

52


วัดใหม่สุวรรณภูมาราม

(Mai Suwannaphumaram Temple)

หอพระไตรปิฎก (Manuscript Library)

วัดเชียงทอง (Wat Xieng Thong) Golden City Temple - ผู้เชี่ยวชาญท้องถิ่นร่วมตรวจสอบและถ่าย ภาพคัมภีร์ใบลานอักษรธรรม (ล่าง) Local Experts Involving in Checking and Digitizing Tham Manuscripts (Below)

53


ลงสำ�รวจพื้นที่

- เมื่อปลายเดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา คณะทีมสำ�รวจลงพื้นที่สำ�รวจคัมภีร์ใบลาน ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขตพื้นที่สะหวันนะเขตและเขตพื้นที่จำ�ปาสัก พบคัมภีร์ใบลานเก่า แก่ของพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย ทั้งสภาพดีและสภาพชำ�รุด

54


Field Survey - In Late March 2016, DTP Members, in Their Field Survey in Laos, Found a Large Number of Ancient Manuscripts in Champasak and Savannakhet.

55


ลงสำ�รวจพื้นที่ - เมื่อปลายเดือนมีนาคม ปี พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา คณะทีมสำ�รวจลงพื้นที่สำ�รวจคัมภีร์ใบลาน ณ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เขตพื้นที่สะหวันนะเขตและเขตพื้นที่จำ�ปาสัก พบคัมภีร์ใบลานเก่าแก่ของ พระพุทธศาสนาอย่างมากมาย ทั้งสภาพดีและสภาพชำ�รุด

56


Field Survey - In Late March 2016, DTP Members, in Their Field Survey in Laos, Found a Large Number of Ancient Manuscripts in Champasak and Savannakhet.

57


สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ Republic of the Union of Myanmar

ความร่วมมือระหว่างประเทศ (MOU)

- พิธีลงนามเซ็นสัญญาความร่วมมือค้นคว้าทางวิชาการโครงการพระไตรปิฎก ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 58


(อักษรพม่า Burmese Script)

Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding (MOU)

- Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding on Academic Cooperation between DTP and SPSU of Yangon, SPSU of Mandalay, and ITBMU on 16 September 2013 59


ลงสำ�รวจพื้นที่

- เมื่อปลายเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2558 คณะทีมสำ�รวจลงพื้นที่สำ�รวจคัมภีร์ใบลาน ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ พบคัมภีร์ใบลานเก่าแก่ของพระพุทธศาสนาอย่างมากมาย

60


Field Survey

- In Late October, 2015 DTP Staff Members Found a Large Number of Ancient Manuscripts in Myanmar During Their Field Survey.

61


ห้องสมุดวิจัยมหาวิทยาลัยปริยัติศาสนา แห่งรัฐ

(Research Library, State Pariyatti Sasana Universtiy)

ห้องเก็บคัมภีร์ใบลาน (Manuscript Storeroom)

62


ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (CPAM) - ทีมงาน CPAM ชาวเมียนมาร์ ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน ณ เมืองย่างกุ้งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

63


ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (CPAM) - ทีมงาน CPAM ชาวเมียนมาร์ ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน ณ เมืองย่างกุ้งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

64


Center for the Preservation of Ancient Manuscripts (CPAM), Yangon, Myanmar - Burmese CPAM Members Checking and Digitizing Manuscripts

65


สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา Democratic Socialist Republic of Sri Lanka

ความร่วมมือระหว่างประเทศ (MOU)

- พิธีลงนามเซ็นสัญญาความร่วมมือค้นคว้าทางวิชาการโครงการพระไตรปิฎก ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 66


อักษรสิงหล (Sinhalese Script)

Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding (MOU) - Official Signing Ceremony of Memorandum of Understanding on Academic Cooperation 67


Central (ภาคกลาง)

Western (ภาคตะวันตก)

68


Northwestern (ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ)

69


South (ภาคใต้)

70


Uwa

71


ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานประเทศศรีลังกา (CPAM)

- ทีมงาน CPAM ชาวศรีลังกา ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน

72


Center for the Preservation of Ancient Manuscripts (CPAM), Sri Lanka - Sinhalese CPAM Members Checking and Digitizing Manuscripts

73


ราชอาณาจักรกัมพูชา (ประเทศกัมพูชา) Kingdom of Cambodia

ทีมงานรวบรวมและถ่ายภาพคัมภีร์ใบลานประเทศกัมพูชา (CPAM)

- ทีมงาน CPAM ชาวกัมพูชา ตรวจสอบ ถ่ายภาพและบันทึกข้อมูลคัมภีร์ใบลาน

74


(อักษรขอม Khom Script)

Center for the Preservation of Ancient Manuscripts (CPAM), Cambodia - Cambodian CPAM Members Checking and Digitizing Manuscripts

75


อักษรขอม

อักษรธรรม

อักษรพม่า

อักษรมอญ

อักษรสิงหล

76


Khom

Tham

Burmese

Mon

Sinhalese

77


บทที่ ๕

ขั้นตอนการสำ�รวจ และถ่ายภาพคัมภีร์ใบลาน

78


Chapter 5 Work Steps

79


ขั้นตอนการสำ�รวจ ถ่ายภาพ คัมภีร์ใบลาน

๑.คัดเลือกใบลาน ๒.ลงทะเบียนข้อมูลใบลาน ๓.อ่านบันทึกท้ายใบลานเพื่อหาอายุและชื่อผู้จาร ๔.ทำ�ความสะอาด ๕.ตรวจสอบลำ�ดับหน้าใบลาน ๖.ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยคุณภาพสูง

Steps of Digitizing Palm-leaf Manuscripts 1.Manuscript Selection 2.Manuscript Registration 3.Colophon Reading to Determine the Age and Scribe of the Texts 4.Cleaning 5.Determining the Leaf Sequence 6.Digitization with High Quality Equipment

80


1.คัดเลือกใบลาน / Manuscript Selection

81


2.ลงทะเบียนข้อมูลใบลาน / Manuscript Registration

82


3.อ่านบันทึกท้ายใบลานเพื่อหาอายุและชื่อผู้จาร Colophon Reading to Determine the Age and Scribe of the Texts

83


5.ถ่ายภาพด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยคุณภาพสูง Digitization with High Quality Equipment

84


ภาพถ่ายดิจิทัล โดยโครงการพระไตรปิฎกวิชาการ ( Digital Image )

ภาพไมโครฟิลม์ ทั่วไป ( Microfilm )

85


86


บทที่ ๖

ภาพถ่ายคัมภีร์ใบลาน

Chapter 6

Manuscript Images

87


พระไตรปิฎกฉบับราษฎร์ หน้าคัมภีร์ใบลานราษฎร์

88


Non-Royal Manuscript Palm Leaf Folios

89


ใบบันทึกข้อมูล / Metadata

90


ผ้าห่อคัมภีร์ชั้นนอก / Covering Cloth

คัมภีร์ใบลานพร้อมผ้าห่อและป้ายฉลาก Original Cloth with Thread and Identification Label

คัมภีร์ใบลาน / Manuscript Bundle and Identification Label 91


ป้ายฉลากและไม้ประกับ

92


Wooden Covers and Identification Label

93


พระไตรปิฎกฉบับหลวง

94


Royal Manuscript

95


คัมภีร์ใบลานหลวง (ปกใน)

96


Royal Palm Leaf Manuscript (Inner Cover)

97


คัมภีร์ใบลานหลวง (แผ่นหน้าลาน)

98


Royal Palm Leaf Manuscript (Folios)

99


ใบบันทึกข้อมูล / Metadata

100


ผ้าห่อคัมภีร์ชั้นนอก / Covering Cloth

คัมภีร์ใบลาน / Manuscript Bundle

101


ไม้ประกับ

102


Wooden Covers

103


ภาพดิจิทัล / Digital Image

ภาพไมโครฟิลม์ / Microfilm

104


บทสรุปจากใบลานทุกสายจารีต ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ โครงการได้จัดพิมพ์บท สรุปการศึกษาเปรียบเทียบดังกล่าวเป็นพระไตรปิฎก บาลี ฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต คือ “สีลขันธวรรค” ใน ทีฆนิกายแห่งพระสุตตันตปิฎก เพื่อเปิดรับฟังข้อคิด เห็ น และข้ อ เสนอแนะจากผู้ เ ชี่ ย วชาญพระไตรปิ ฎ ก และภาษาบาลีทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อม ทั้งพัฒนาโปรแกรมพระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย ในรูป แบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่จะอำ�นวยความสะดวกให้แก่นัก วิชาการและผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาผ่านระบบออนไลน์

Conclusion of DTP Work on the Four Traditions In 2013 the Dhammachai Tipiṭaka Project concluded its initial study of the palm-leaf manuscripts from all traditions, and produced a pilot version of the Sīlakkhandhavagga, of the Dīgha Nikāya. With the feedback of experts in the language of the Pāli Tipiṭaka, this pilot volume will serve as the basis for all future volumes in the Dhammachai Tipiṭaka Series, and the free version available online.

105


106


บทที่ ๗

ศูนย์ศึกษาคัมภีร์โบราณ

Chapter 7

Center for the Study of Ancient Manuscripts

107


ทีมงานศึกษาและวิจัยคัมภีร์ใบลานประจำ�ประเทศไทย (CSAM)

- ทีมงาน CSAM ประเทศไทย ศึกษาวิจัยข้อมูลคัมภีร์ใบลานที่ได้ถ่ายเป็นไฟล์ดิจิทัล และ บันทึกลงโปรแกรมฐานข้อมูลของโครงการพระไตรปิฎก ศูนย์ศึกษาและวิจัยข้อมูลคัมภีร์ โบราณตั้งอยู่ที่วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี

108


Center for the Study of Ancient Manuscripts (CSAM), Thailand - Thai CSAM Members Studying Digital Images of Palm-leaf Manuscripts and Entering Text Written in Tham Script into Project’s Database. The Office Is Located at Dhammakaya Temple, Pathum Thani, Thailand

109


ศูนย์ศึกษาและวิจัยคัมภีร์ใบลานอักษรพม่า ตั้งอยู่ อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย (CSAM)

- ทีมงาน CSAM ชาวเมียนมาร์ ศึกษาวิจัยข้อมูลคัมภีร์ใบลานที่ได้ถ่ายเป็นไฟล์ดิจิทัล และบันทึกลงโปรแกรม ฐานข้อมูลของโครงการพระไตรปิฎก ศูนย์ศึกษาและวิจัยข้อมูลคัมภีร์โบราณแห่งสหภาพเมียนมาร์ ตั้งอยู่ที่ อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงใหม่

110


Center for the Study of Ancient Manuscripts (CSAM), Maesai, Chiang Rai, Thailand

- Burmese CSAM Members Studying Digital Images of Palm-leaf Manuscripts and Entering Text Written in Burmese Script into Project’s Database. The Office Is Located in Maesai, Chiang Rai, Thailand

111


ศูนย์ศึกษาและวิจัยคัมภีร์ใบลานประเทศศรีลังกา (CSAM)

- ทีมงาน CSAM ชาวศรีลังกา ศึกษาวิจัยข้อมูลคัมภีร์ใบลานที่ได้ถ่ายเป็นไฟล์ดิจิทัล และบันทึกลง โปรแกรมฐานข้อมูลของโครงการพระไตรปิฎก

112


Center for the Study of Ancient Manuscripts (CSAM), Sri Lanka

- Sinhalese CSAM Members Studying Digital Images of Palm-leaf Manuscripts and Entering Text Written in Sinhalese Script into Project’s Database

113


ศูนย์ศึกษาและวิจัยคัมภีร์ใบลานประเทศกัมพูชา (CSAM)

- ทีมงาน CSAM ชาวกัมพูชา ศึกษาวิจัยข้อมูลคัมภีร์ใบลานที่ได้ถ่ายเป็นไฟล์ดิจิทัล และบันทึกลงโปรแกรมฐานข้อมูลของโครงการพระไตรปิฎก

114


Center for the Study of Ancient Manuscripts (CSAM), Cambodia

- Cambodian CSAM Members Studying Digital Images of Palm-leaf Manuscripts and Entering Text Written in Khom Script into Project’s Database.

115


116


โครงการพระไตรปิฎกวิชาการ Dhammachai Tipitฺaka Project

117


118


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.