เอกสารประกอบการประชุม..ร่างแผนปฏิบ�

Page 1

เอกสารแนบ 2

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ภายใตโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินไปสูการปฏิบัติ

วันอังคารที่ 8 มิถุนายน 2553 ณ หองลาเวนเดอร โรงแรม รามาการเดน กรุงเทพมหานคร

ขอความกรุณาผูเขารวมประชุมนําเอกสารประกอบการประชุมมาในวันประชุมดวย จักขอบคุณยิ่ง


สารบัญ

หนา 1. หลักการและเหตุผล ................................................................................................................... 1 2. กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ ............................. 2 3. สภาพปญหาการบริหารจัดการที่ดิน.......................................................................................... 3 3.1 การบุกรุกพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐ .............................................................................. 3 3.2 ความขัดแยงเรื่องแนวเขตทีด่ ิน ....................................................................................... 4 3.3 การจัดที่ดินทํากินและการไรที่ดินทํากิน ........................................................................ 4 3.4 การกระจายการถือครองทีด่ ินทํากิน............................................................................... 5 3.5 การไมทําประโยชนในที่ดิน ............................................................................................ 5 3.6 การถือครองที่ดินขนาดใหญ ........................................................................................... 6 3.7 การบริหารจัดการที่ดิน .................................................................................................. 6 4. กรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการทีด่ นิ .................................................................................. 7 4.1 วิสัยทัศน......................................................................................................................... 9 4.2 เปาประสงค .................................................................................................................... 9 4.3 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ................................................................................ 9 5. การวิเคราะหชองวางและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ..................................................................17 5.1 การวิเคราะหชองวาง: ภารกิจทีต่ องดําเนินการเพื่อใหบรรลุยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน ................................................................................................17 5.2 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ..............................................................................................21 6. แผนงานและโครงการภายใตแผนปฏิบัตกิ ารบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ..........................................................................................................22 6.1

ขอเสนอแผนงาน โครงการบูรณาการ (ดําเนินการในชวงป พ.ศ. 2555-2559) ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการทีด่ นิ เชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ......23

i


เอกสารประกอบการประชุมเพือ่ รับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

6.2 โครงการ กิจกรรมของหนวยงานที่เกีย่ วของที่ดาํ เนินการในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนื่อง ที่ตอบสนองตอกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน .........27 7. กลไกในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559.................................................................................................................. 32 ภาคผนวกที่ 1 รายละเอียดแผนงาน โครงการบูรณาการ ในชวงป พ.ศ. 2555-2559 ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการทีด่ นิ เชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ........................................................................................33 ภานผนวกที่ 2 รายละเอียดโครงการและกิจกรรมของหนวยงานที่เกี่ยวของทีด่ ําเนินงาน ในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนื่องที่ตอบสนองตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน ..........................................................................................47

ii


เอกสารประกอบการประชุมเพือ่ รับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 4.1 รายละเอียดยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน...................................................12 ตารางที่ 6.1 ความเชื่อมโยงและการตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินของ โครงการบูรณาการ ..............................................................................................26 ตารางที่ 6.2 โครงการและกิจกรรมทีด่ ําเนินงานในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการ ตอเนื่องที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน.................................27

สารบัญรูป หนา รูปที่ 4.1 ความสอดคลองและเชื่อมโยงในการจัดทํากรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการทีด่ ิน..... 7 รูปที่ 4.2 การวิเคราะหปญหาและขอเสนอแนวทางการแกไขปญหาการบริหารจัดการที่ดิน ......... 8 รูปที่ 4.3 กรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการทีด่ นิ ....................................................................11 รูปที่ 5.1 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) ..................................................................... 17 รูปที่ 5.2 แผนภาพความเชื่อมโยงระหวางภารกิจสําคัญที่ตอ งดําเนินการกับแผนปฏิบัติการ บริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 .........................................20 รูปที่ 6.1 โครงการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559...............................................................................................22 รูปที่ 6.2 ความเชื่อมโยงระหวางภารกิจสําคัญทีต่ องดําเนินการในแตละยุทธศาสตรกับแผนงาน โครงการบูรณาการ ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559...............................................................................................24

iii


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ

(ราง) แผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ภายใตโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินไปสูก ารปฏิบัติ วันอังคารที่ 8 มิถุนายน 2553 ณ หองลาเวนเดอร โรงแรม รามาการเดน กรุงเทพมหานคร

1. หลักการและเหตุผล การบริหารจัดการที่ดินของประเทศไทยที่ผานมา ดําเนินการโดยหลายหนวยงาน กระจาย อยูตามสวนราชการตางๆ หลากหลายกระทรวง ซึ่งแตละหนวยงานที่เกี่ย วของกับการบริหาร จัดการที่ดินตางก็ดําเนินงานตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดไวใหเปนการเฉพาะ ขาดความ เชื่อมโยงและขาดการประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ รวมทั้ง ผูมีสวนไดเสียจากภาคสวนตางๆ ประกอบกับนโยบายและมาตรการตางๆ ของรัฐขาดความเปนเอกภาพและขาดความตอเนื่องของ นโยบาย ทั้งในดานแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติ ทําใหระบบการบริหารจัดการที่ดินที่มีอยู ไมสามารถปรับตัวไดทันตอสถานการณทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว สงผลใหเกิดปญหาการใชที่ดินและปญหาการถือครองที่ดินขึ้นทั่วทุกภาคของประเทศ นําไปสูความ ขัดแยงทางสังคมในที่สุด อยางไรก็ตาม รัฐไดมีความพยายามที่จะแกไขปญหาเรื่องการบริหาร จัดการที่ดินมาโดยตลอด โดยมีการประกาศใชนโยบายและมาตรการตางๆ อาทิ นโยบายการใช และกรรมสิท ธิ ที่ดิน ตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี วันที่ 22 มิถุ น ายน 2525 นโยบายที่ดิ น ตามมติ คณะรัฐมนตรี วันที่ 1 กันยายน 2530 หรือ นโยบายการบริหารจัดการที่ดินของประทศ ตามมติ คณะรัฐมนตรี วันที่ 3 มิถุนายน 2546 เปนตน ในป ง บประมาณ พ.ศ. 2551 สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ มในฐานะฝ า ยเลขาธิ ก ารคณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น แห ง ชาติ ได ดํ า เนิ น โครงการจั ด ทํ า ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน : การวางแผนการถือครองที่ดิน การสงวนและพัฒนาที่ดิน และ การสงวนหรือหวงหามที่ดินของรัฐ โดยไดนํากรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน (10 ป) ที่ ได จ ากการศึ ก ษา ซึ่ ง ประกอบด ว ยยุ ท ธศาสตร 4 ด า น ได แ ก ด า นการรั ก ษาความสมดุ ล ทาง ธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนท่ีดินอยางยั่งยืน ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดและเปนธรรม ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส และดานการบริหารจัดการที่ดิน นําเสนอใหคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติใหความเห็นชอบแลว เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 กอน จะนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาตอไป

1


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ดังนั้น เพื่อใหยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินสามารถนําไปสูการจัดวางพื้นฐานระบบ การบริหารจัดการที่ดินที่มีประสิทธิภาพ สามารถประยุกตใชไดในระยะยาว และนําไปสูการใช ประโยชนสูงสุดอยางเปนธรรม รวมถึงสามารถแปลงไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ตามระบบ การบริ ห ารเชิ ง ยุ ท ธศาสตร ที่ ส อดคล อ งกั บ ประเด็ น ป ญ หาและการดํ า เนิ น งานของหน ว ยงาน ที่เ กี่ ย วข อ งอย า งบู ร ณาการ โดยผ า นกระบวนการมี ส ว นร ว มของภาคี ผู มีส ว นได เสี ย ที่เ กี่ ย วข อ ง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จึงเล็งเห็นความจําเปนในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดิน โดยการจัดทํา “โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหาร จัดการที่ดินไปสูการปฏิบัติ” เพื่อแปลงกรอบยุทธศาสาตรการบริหารจัดการที่ดินไปสูแผนปฏิบัติ การบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ โดยผานกระบวนการมีสวนรวมจากภาคีผูมีสวนไดเสียที่ เกี่ยวของ และนําไปสูการสรางกลไกและกระบวนการแปลงไปสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ

2. กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ การบริหารจัดการที่ดินเพื่อใหเกิดการใชประโยชนสูงสุดและเปนธรรมกับประชาชนเปน ภารกิจที่มีความสําคัญอยางยิ่งเพราะที่ดินเปนปจจัยพื้นฐานสําหรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ตางๆ เชน การอนุรักษพื้นที่ปา การใชที่ดินเพื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การใชที่ดินเพื่อเปนที่อยู อาศัย การจัดที่ดินใหประชาชนผูมีรายไดนอย การจัดที่ดินเพื่อประโยชนสาธารณะ การใชที่ดินเพื่อ กิจการของรัฐ หรือการถือครองที่ดินโดยชาวตางชาติ เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงทําใหประเทศไทยไดมี การตรากฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการหลายฉบับเพื่อใหการบริหารจัดการที่ดินเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพและเปนธรรม นอกจากกฎหมายที่เกี่ยวของแลว โครงสรางระบบราชการไทยยังได กําหนดใหมีหนวยงานราชการตางๆ ที่ทําหนาที่บริหารจัดการที่ดิน เชน กรมที่ดิน ภายใตสังกัด กระทรวงมหาดไทย กรมพัฒนาที่ดิน กรมสงเสริมสหกรณ และสํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ภายใตสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมธนารักษ ภายใตสังกัดกระทรวงการคลัง ที่รับผิดชอบ ที่ราชพัสดุ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ภายใตกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยที่มีการจัดสรรที่ดินทํากินภายใตโครงการนิคมสรางตนเอง เปนตน ดวยเหตุนี้ จึงทําให ประเทศไทยได กํ า หนดให มี ค ณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น แห ง ชาติ ที่ ทํ า หน า ที่ ใ นการกํ า หนดทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร และประสานแผนงานตางๆ ดานการบริหารจัดการที่ดินของสวนราชการเพื่อใหเกิด การบูรณาการแผนงานเขาดวยกัน และใหการดําเนินงานของสวนราชการที่เกี่ยวของเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน ปจ จุบัน คณะกรรมการจั ดที่ ดินแห ง ชาติได กําหนดยุทธศาสตรการบริห ารจัด การที่ดิน ประกอบดวยสี่ยุทธศาสตรหลัก ไดแก หนึ่ง ยุทธศาสตรดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ แ ละการใชประโยชน ที่ดินอยา งยั่งยืน สอง ยุ ท ธศาสตรดา นการใช ที่ดินเพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดและเปนธรรม สาม ยุทธศาสตรดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส และ สี่ ยุทธศาสตรดานการบริหารจัดการที่ดิน ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินงานตามยุทธศาสตรดังกลาว 2


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค จึ ง มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งมี ก ารกํ า หนดโครงการและกิ จ กรรมของ สวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของใหสอดคลองกับยุทธศาสตรทั้งสี่ดาน เพื่อใหโครงการเหลานี้มีความ สอดคลองซึ่งกันและกัน และมีเปาหมายในทิศทางเดียวกัน นอกจากนั้น ยังมีความจําเปนในการ จัดทําขอเสนอสําหรับโครงการใหมๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานภายใตยุทธศาสตรตางๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อเปนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินไปสูการปฏิบัติอยางแทจริง และทํา ใหที่ดินมีการใชประโยชนสูงสุดและเปนธรรมดวย

3. สภาพปญหาการบริหารจัดการที่ดิน จากการศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการที่ดิน ทั้งจากขอมูลทุติย ภูมิในอดีต การสัมภาษณภาคีที่มีสวนไดเสียที่เกี่ยวของในระดับพื้นที่ การประชุมระดมความ คิดเห็นจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) องคกร ภาคประชาชนและนักวิชาการ สามารถสรุปปญหาการบริหารจัดการที่ดินไดเปน 7 ประเด็นปญหา หลัก ไดแก 1) การบุกรุกพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐ 2) ความขัดแยงเรื่องแนวเขตที่ดิน 3) การจัด ที่ดินทํากินและการไรที่ดินทํากิน 4) การกระจายการถือครองที่ดินทํากิน 5) การไมทําประโยชนใน ที่ดิน 6) การถือครองที่ดินขนาดใหญ และ 7) ปญหาการบริหารจัดการที่ดิน สภาพปญหาการบริหารจัดการที่ดินของประเทศไทยในแตละประเด็นสรุปไดดังนี้ 3.1 การบุกรุกพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐ • มีการบุกรุกพื้นที่ที่รัฐไดสงวนหรือหวงหามไวจํานวนมาก โดยจะเห็นไดจากพื้นที่ปา ไมซึ่งลดลงจากจํานวน 171,018,125 ไร (รอยละ 53.33 ของพื้นที่ทั้งหมดของ ประเทศ) ในป พ.ศ. 2504 เหลือเพียง 107,615,800 ไร หรือคิดเปนรอยละ 33.44 ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ ในป พ.ศ. 2551 รวมถึงที่ดินที่ไดสงวนหวง หามไวเพื่อใหประชาชนใชประโยชนรวมกันและที่ราชพัสดุก็มีการบุกรุกเชนกัน • ที่ผานมาไดมีการยกเลิกเพิกถอนพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐใหแกผูบุกรุกเขาอยู

อาศั ย และทํ า กิ น เพื่ อ เป น การแก ไ ขป ญ หา แต ก ารดํ า เนิ น การดั ง กล า วกลั บ เปนการสนับสนุนใหมีการบุกรุกอยางตอเนื่อง • การบุกรุกเขาใชประโยชนในพื้นที่ปาไมยังผลตอการเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรงยิ่งขึ้น

ดังตัวอยางเชน กรณีดินถลมที่อําเภอวังชิ้น จังหวัดแพร อําเภอหลมสัก จังหวัด พิ ษณุ โลก และอํ าเภอท าปลา จังหวัดอุ ตรดิตถ ที่สรางความเสี ยหายแก ชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชน

3


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

3.2 ความขัดแยงเรื่องแนวเขตที่ดิน • เปนปญหาในทางปฏิบัติทั้งระหวางหนวยงานของภาครัฐ ภาครัฐกับเอกชน และ

ระหวางภาคประชาชนดวยกัน • สาเหตุจากหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดเขตการใชที่ดินที่มีอยูจํานวน

มาก และการใช แ ผนที่ ที่ มี ม าตราส ว นต า งกั น ในการกํ า หนดแนวเขต เช น แนวเขตการถือครองที่ดินของเอกชนและแนวเขตการถือครองที่ดินของรัฐ • การรองเรียนเรื่องที่ดินและปาไมระหวางป พ.ศ. 2545-2548 ตอคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับที่ดินและปาไมทั้งหมด 187 เรื่อง

ทั้งนี้มีจํานวนเรื่องรองเรียนกรณีที่ดินและปาไมมากที่สุด รองลงมาคือปญหาที่ สาธารณะประโยชน • ปญหาสวนใหญเนื่องจากเขตปาทับที่ทํากินและที่อยูอาศัยของประชาชน

3.3 การจัดที่ดินทํากินและการไรที่ดินทํากิน • ที่ดินที่นํามาจัดใหกับราษฎรขาดปจจัยพื้นฐาน เชน อยูหางไกลชุมชนเดิม ขาดแคลน ทั้งแหลงน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร • ขาดเงินทุนในการพัฒนาพื้นที่ที่ตนเองไดรับ • งบประมาณของหนวยงานภาครัฐไมเพียงพอสําหรับการพัฒนาปจจัยพื้นฐาน ทั้ง

แหลงน้ํา ถนน โรงเรียน และสาธารณูปโภคในพื้นที่โครงการ สงผลใหการดํารงชีพ เปนไปดวยความลําบาก • ขายที่ดินทํากินที่รัฐจัดใหแลว จนตองกลับมาเปนผูไรที่ดินทํากินเชนเดิม • การขาดแคลนที่ดินของรัฐที่จะนํามาจัดใหกับประชาชน • การขึ้นทะเบียนคนจนในป พ.ศ. 2547 มีผูที่มาลงทะเบียนเปนผูที่ไมมีที่ดินทํากิน รวม 1,003,360 ราย เปนผูเชาที่ดิน 378,077 ราย ยืมผูอื่นทํากิน 314,090 ราย และเปนผูรับจางทําการเกษตรจํานวน 311,193 ราย นอกจากนี้ยังมีผูที่มีที่ดินทํา กินแตไมพอเพียง ตองการที่ดินทํากินเพิ่มอีก 1,651,922 ราย รวมผูที่มา

ลงทะเบี ย นที่ ไ ม มี ที่ ดิ น ทํ า กิ น หรื อ มี ที่ ดิ น ทํ า กิ น แต ไ ม เ พี ย งพอทั้ ง สิ้ น จํ า นวน 2,955,282 ราย

4


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

3.4 การกระจายการถือครองที่ดินทํากิน • ที่ ดิ น มี จํ า นวนจํ า กั ด แต ป ระชาชนมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง จากการไหลทะลั ก ของ

แรงงานและทุ น จากประเทศอาเซี ย นตามสั ญ ญาประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ทําใหเกิดความตองการที่ดินสําหรับที่อยูอาศัยและที่ดินทํากินมากขึ้น • ปริมาณเอกสารสิทธิ์ที่ดินทั่วประเทศตั้งแตเริ่มออกโฉนดครั้งแรก (ป พ.ศ. 2444) ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2551 มีจํานวน 31,022,910 แปลง เนื้อที่ประมาณ 127,023,268 ไร ประกอบดวย โฉนด 26,101,164 แปลง น.ส.3ก 3,644,539 แปลง น.ส.3 1,120,252 แปลง และใบจอง 156,955 แปลง • การถือครองที่ดิน ในชวงป พ.ศ.2535-2550 พื้นที่ถือครองทางการเกษตรของ ประเทศไทยมีแนวโนมลดลงโดยตลอด จาก 25.6 ไร ตอครัวเรื อน (ในป พ.ศ . 2535) เปน 23.46 ไรตอครัวเรือน (ในป พ.ศ. 2550) • การใชประโยชนที่ดินของประเทศไทยในป พ.ศ. 2550 มีเนื้อที่ถือครองทาง การเกษตร 130,353,309 ไร คิดเปนรอยละ 40.65 ของพื้นที่ประเทศ เนื้อที่นอก การเกษตร 91,185,701 ไร คิดเปนรอยละ 28.43 ของพื้นที่ประเทศ และเนื้อที่ปา ไม 99,157,878 ไร คิดเปนรอยละ 30.92 ของพื้นที่ประเทศ

3.5 การไมทําประโยชนในที่ดิน • ปจจุบันไมมีกฎหมายกําหนดสิทธิในการถือครองที่ดินเปนเหตุใหเกิดปญหาการไม

ทําประโยชนใ นที่ดิน นั่นคือมีการซื้อที่ดินไวแลวปลอยใหร กร างว างเปลาไมทํา ประโยชน • ปญหาการครอบครองที่ดินโดยไมทําประโยชนนั้น อาจจะมาจากการเก็งกําไรหรือ

มีปญหาจากการใหเชาที่ดิน • ป พ.ศ. 2549-2550 มีพื้นที่นารางจํานวน 1.19 ลานไร เนื่องจากเจาของที่ดินไม

ยอมใหเชาที่ดินเนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องระยะเวลาการเชา • มาตรการในแก ป ญ หาการทอดทิ้ ง ไม ทํ า ประโยชน ใ นที่ ดิ น แบ ง ออกเป น 2 มาตรการ คือ 1) มาตรการระยะสั้น โดยประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาชนทราบ

ถึงมาตรการทางกฎหมาย เพื่อใหทราบถึงผลดีผลเสียในการทอดทิ้งไมทําประโยชน ในที่ดิน และการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมใหไดมาซึ่งที่ดิน และ 2) มาตรการ ระยะยาว โดยการยกรางพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสราง

5


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

3.6 การถือครองที่ดินขนาดใหญ • ขนาดที่ดินผืนใหญที่มีเอกสารสิทธิ์ประเภทโฉนดที่มีขนาดเกิน 200 ไรตอแปลง มีรอยละ 29.7 • ที่ดินของรัฐที่นํามาดําเนินการปฏิรูปที่ดิน มีพื้นที่ที่เปนผูครอบครองที่ดินรายใหญ ประมาณ 10 ลานไร • ป ญ หาการถื อ ครองที่ ดิ น ขนาดใหญ มี ผ ลมาจากภาครั ฐ ของประเทศไทยไม มี

มาตรการในการจํากัดขนาดการถือครองที่ดิน 3.7 การบริหารจัดการที่ดิน • ระดั บ นโยบาย ไม มี แ ผนการบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น ระดั บ ประเทศ นโยบายไม มี

เอกภาพ ขาดเปาหมายในระยะยาว บางนโยบายที่กําหนดขึ้ นยังเป นการแกไข ป ญ หาที่ ป ลายเหตุ ห รื อ แก ไ ขป ญ หาเฉพาะหน า มากกว า การแก ไ ขป ญ หาเพื่ อ ประโยชนในระยะยาว • ระดับหนวยงานปฏิบัติ แผนงานเปลี่ยนตามนโยบาย มีการปฏิบัติงานซ้ําซอนกัน

ปฏิบัติงานเฉพาะดานตามอํานาจที่มีอยู ขาดปจจัยเกื้อหนุนการปฏิบัติงาน ขาด ระบบขอมูลที่มีประสิทธิภาพ มีระเบียบปฏิบัติและขั้นตอนที่ใชเวลามาก และขาด เครื่องมือในการบังคับใชในการบริหารจัดการที่ดิน เชน ภาษีที่ดิน เปนตน • ระดับพื้นที่ ขาดที่ดินทํากิน ไรกรรมสิทธิ์ที่ดิน ขาดปจจัยการผลิตในโครงการจัด

ที่ดินของรัฐ ขาดขอมูลขาวสาร มีขอพิพาทจากแนวเขตที่ดินไมชัดเจน มีกฎหมาย หลายฉบับ และมีหนวยงานจํานวนมาก

6


เอกสารประกออบการประชุมเพืพื่อรับฟงความคิคิดเห็นตอ (ราง) แผนปปฏิบตั ิการบริหารจั า ดการที่ดินเชิชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54--2559

4. กรอบยุ ก ทธศศาสตรการรบริหารจัดการที ด ่ดิน กระบวนนการจั ด ทํ า กรอบยุ ท ธศศาสตร ก ารบบริ ห ารจั ด กาารที่ ดิ น ที่ สํ า นนั ก งานนโยบบายและ ทรัพยากรธรรมช พ ชาติและสิ่งแวดล แ อมไดจัดทํ ด าขึ้นเมื่อปป พ.ศ. 25511 นั้น คณะผูผูจัดทําไดมีการศึ ก กษา และะวิเคราะหขอมูลประเด็นปญหาหลักสําคั า ญทั้ง 7 ประเด็นดังกลลาวมาขางตน เพื่อหามาตรการและ แนววทางการแกไขป ไ ญหาเหลลา นั้น โดยไไดมีการคํานึนงถึงความสสอดคลองแลละความเชื่อมโยงกับ นโยบายและแผนนตางๆ ที่เกี่ยวข ย อง อาทิ รัฐธรรมนูญแห ญ งราชอาณ ณาจักรไทย พ.ศ. 2550 นโยบาย รัฐบาล บ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั จ งคมแหหงชาติ ฉบับที บ ่ 10 (พ.ศ.. 2550-2554) และ แผผนจัดการ คุณภาพสิ ภ ่งแวดลอม พ.ศ. 25550-2554 ทัท้งนี้ เพื่อกําหนดเป ห นกรออบยุทธศาสตตรการบริหารจั า ดการ ที่ดนสํ นิ าหรับใชเปนเครื่องมือในการบริ ใ หารจัดการที่ดนของประเทศ ิน ศตอไป (รูปทที่ 4.1 และ 4.2) 4 รูปทีท่ 4.1 ความมสอดคลองแและเชือ่ มโยยงในการจัดทํทากรอบยุทธศาสตร ธ การรบริหารจัดการที ก ด่ ิน

แผผนพัฒนาเศรษษฐกิจและสังคม ค แหงชาติ ฉบั ฉ บที่ 10 พ.ศ. 25550-2554

รัฐธรรมนูนูญ แ งราชอาณาจจักรไทย แห พ.ศ. 25550

รางพระราชบั ง ญญั ญ ติ คณะกรรรมการนโยบาายที่ดิน แหงชาติ พ.ศ.....

ยุทธศาสตตร การบริหารจัดการที ก ่ดิน (4 ยุทธศาสสตร) คณะกรรรมการจัดที่ดนแห นิ งชาติ

แผผนจัดการคุณภาพสิ ภ ่งแวดลอม อ พ.ศ. 25550-2554 นโยบายรัฐบาล

ที่มา: า สํานักงานนนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลลอม 2551

7


มุงเนนใหผูดอยโอกาสมีที่ดินทํากิน ที่อยูอาศัย และบริการขั้นพื้นฐาน ใหพึ่งตนเองได และปองกัน มิใหมีการถายโอนทรัพยสินของรัฐไปยัง กลุมผลประโยชน

จํานวนผูไรที่ดินทํากินลดลง

ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อให เกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

มุงเนนผลสัมฤทธิ์ของการจัดการที่ดิน เพื่อนําไปสูการใชที่ดินใหเกิดประโยชน สูงสุด ลดปญหาการทอดทิ้งไมทํา ประโยชน หรือปลอยที่ดินใหเปนที่รกราง วางเปลา ลดปญหาขนาดการถือครอง และเพิ่มความเปนธรรมแกเจาของที่ดิน

มูลคาราคาประเมินที่ดินรวมเพิ่มขึ้น ในภาพรวมและมูลคาราคาที่ดินเพิ่มขึ้นใน ระดับจังหวัด/มีการกระจายการถือครอง ที่ดินที่ดีขึ้น

ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความ สมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน

เพื่อรักษาความสมดุลระหวางพื้นที่ อนุรักษ พื้นที่ทํากิน และพื้นที่อยูอาศัย ลดปญหาความขัดแยงระหวางกิจกรรม ตางๆ เพิ่มประสิทธิภาพดานการบริการ สาธารณูปโภค และลดปญหาการใชที่ดิน ผิดประเภท

กําหนดใหมีพื้นที่ปาไมไมนอยกวา รอยละ 40

ยุทธศาสตร

วัตถุประสงค

ตัวชี้วัด

ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินให ประชาชนผูดอยโอกาส

พัฒนาและจัดหาที่ดินให

ปรับปรุงกฎหมาย/ใชมาตรการทางภาษี

รักษาพื้นที่ไว/ทําแนวเขตใหชัดเจน

แนวทาง แกไข

การไรที่ดินทํากิน

การบุกรุกพื้นที่สงวนหวงหามของรัฐ/ ความขัดแยงเรื่องแนวเขตที่ดิน

ปญหา

ปญหาการกระจายการถือครองที่ดิน/ การถือครองที่ดินขนาดใหญ/การไมทํา ประโยชนในที่ดิน

8

มีระบบการบริหารจัดการที่ดินตามหลัก ธรรมาภิบาล

มีเอกภาพในการบริหารจัดการที่ดินโดย อาศัยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการที่ดิน ลดปญหาความซ้ําซอนและความลาชา

ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการ ที่ดิน

สรางเอกภาพการบริหารจัดการที่ดิน

ปญหาการบริหารจัดการที่ดิน เชน นโยบายไมมีเอกภาพ ขาดระบบขอมูลที่มี ประสิทธิภาพ มีกฏหมายหลายฉบับ และมีหนวยงานจํานวนมาก

รูปที่ 4.2 การวิเคราะหปญหาและขอเสนอแนวทางการแกไขปญหาการบริหารจัดการที่ดิน

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ภายใตกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ไดมกี ารกําหนดวิสัยทัศน เปาประสงค ยุทธศาสตร และตัวชี้วัดในแตละยุทธศาสตร ไวดังนี้ 4.1

วิสัยทัศน

การใชประโยชนที่ดินของประเทศไทยใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม 4.2

เปาประสงค

มีเครื่องมือและกลไกในการบริหารจัดการที่ดินที่มีประสิทธิภาพ เปนไปตามหลักธรรมาภิบาล 4.3

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

กรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ประกอบดวยยุทธศาสตร 4 ดาน คือ ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใช ประโยชนที่ดนิ ที่ยั่งยืน

ตัวชี้วดั

กําหนดใหมีพื้นที่ปาไมไมนอ ยกวา รอยละ 40

ยุทธศาสตรดานการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน มีวัตถุประสงคเพื่อรักษาความสมดุล ระหวางพื้นที่อนุรักษ พื้นที่ทํากินและพื้นที่อยูอาศัย ลดปญหาความขัดแยงระหวางกิจกรรมตางๆ เพิ่มประสิทธิภาพดานการบริการสาธารณูปโภคและ ลดปญหาการใชที่ดินผิดประเภท ยุทธศาสตรที่ 2

ดานการใชทดี่ ินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

ตัวชี้วดั

- มูลคาราคาประเมินที่ดินรวมเพิ่มขึ้นในภาพรวม และมูลคาราคา ที่ดินเพิ่มขึ้นในระดับจังหวัด (มูลคาราคาที่ดิน เพิ่มขึ้นสูงกวาอัตรา เงินเฟอเฉลี่ย)

- มีการกระจายการถือครองที่ดินทีด่ ีขึ้น ยุทธศาสตรนี้ มุงเนนผลสัมฤทธิ์ของการจัดการที่ดิน เพื่อนําไปสูการใชที่ดินใหเกิดประโยชน สูงสุด ลดปญหาการทอดทิ้งไมทําประโยชน หรือปลอยที่ดินใหเปนที่รกรางวางเปลา ลดปญหา ขนาดการถือครองและเพิ่มความเปนธรรมแกเจาของที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ตัวชี้วดั

ดานการจัดทีด่ ินใหประชาชนผูดอยโอกาส จํานวนผูไรทดี่ ินทํากินลดลง

ยุทธศาสตรนี้มีวัตถุประสงคมุงเนนใหผูดอยโอกาสมีที่ดินทํากิน ที่อยูอาศัย และบริการ ขั้นพื้นฐาน ใหพึ่งตนเองได และปองกันมิใหมีการถายโอนทรัพยสนิ ของรัฐไปยังกลุมผลประโยชน

9


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ยุทธศาสตรที่ 4

ดานการบริหารจัดการทีด่ นิ

ตัวชี้วดั

มีระบบการบริหารจัดการที่ดินตามหลักธรรมาภิบาล

ยุทธศาสตรดานการบริหารจัดการมุงเนนใหมีเอกภาพในการบริหารจัดการที่ดินโดยอาศัย ความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการที่ดิน ลดปญหาความซ้ําซอน และความลาชา สําหรับกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินและรายละเอียดของพันธกิจ มาตรการและ แนวทางการดําเนินงานในแตละยุทธศาสตร แสดงไวในรูปที่ 4.3 และ ตารางที่ 4.1

10


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

รูปที่ 4.3 กรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

ยุทธศาสตร

วิสัยทัศน : เปาประสงค :

ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทาง ธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน)

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน การใชประโยชนที่ดินของประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม มีเครื่องมือและกลไกในการบริหารจัดการที่ดินที่มีประสิทธิภาพ เปนไปตามหลักธรรมาภิบาล

ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (การคุมครองสิทธิในที่ดิน)

ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชน ผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง)

วัตถุประสงค

ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการที่ดิน)

เพื่อรักษาความสมดุลระหวางพื้นที่อนุรักษ พื้นที่ทํากิน และพื้นที่อยูอาศัย ลดปญหาความขัดแยงระหวางกิจกรรม ตางๆ เพิ่มประสิทธิภาพดานการบริการสาธารณูปโภค และ ลดปญหาการใชที่ดินผิดประเภท

มุงเนนผลสัมฤทธิ์ของการจัดการที่ดิน เพื่อนําไปสูการใช ที่ดินใหเกิดประโยชนสูงสุด ลดปญหาการทอดทิ้งไมทํา ประโยชน หรือปลอยที่ดินใหเปนที่รกรางวางเปลา ลดปญหา ขนาดการถือครองและเพิ่มความเปนธรรมแกเจาของที่ดนิ

เพื่อใหเปนไปตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย มุงเนนใหผูดอยโอกาสมีที่ดินทํากิน ที่อยูอาศัย และ บริการขั้นพื้นฐาน ใหพึ่งตนเองได และปองกันมิใหมีการ ถายโอนทรัพยสินของรัฐไปยังกลุมผลประโยชน

ตัวชี้วัด

มีเอกภาพในการบริหารจัดการที่ดินโดยอาศัยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการที่ดิน ลดปญหาความซ้ําซอนและความลาชา

กําหนดใหมีพื้นที่ปาไมไมนอยกวารอยละ 40

มูลคาราคาประเมินที่ดินรวมเพิ่มขึ้นในภาพรวมและ มูลคาราคาที่ดินเพิ่มขึ้นในระดับจังหวัด / มีการกระจายการถือครองที่ดินที่ดีขึ้น

จํานวนผูไรที่ดินทํากินลดลง

พันธกิจ/มาตรการ/แนวทาง

มีระบบการบริหารจัดการที่ดินตามหลักธรรมาภิบาล

1.1 ใหมีเขตพื้นที่อนุรักษปาไมหรือเขตสงวนหวงหาม ที่ดินของรัฐและเขตพื้นที่พัฒนา 1.1.1 กําหนดเปาหมายที่ดินของรัฐและ ที่ดินของเอกชน 1.1.2 กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินตาม ศักยภาพดินและศักยภาพทรัพยากร ธรรมชาติในที่ดินนั้น 1.1.3 ไมควรยกเลิกเพิกถอนที่ดินของรัฐ 1.2 ใหมีการควบคุมการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่อนุรักษ 1.2.1 สรางกลไกการมีสวนรวมของประชาชน ในการปกปองพื้นที่อนุรักษ 1.2.2 สรางเครื่องมือดานกฎหมาย ผังเมือง และมาตรการจูงใจเพื่อควบคุมการใช ประโยชนที่ดิน 1.2.3 ใหมีการจัดการชวยเหลือประชาชนที่ตอง โยกยายออกจากพื้นที่อนุรักษในกรณีที่มี การพิสูจนแลวาไดตั้งถิ่นฐานกอนการ ประกาศเปนพื้นที่อนุรักษ 1.2.4 กําหนดการใชประโยชนและพัฒนาที่ดิน ปาอนุรักษที่สอดรับกับระบบนิเวศและ สมดุลทางธรรมชาติ 1.3 ใหมีการติดตามการบังคับใชกฎหมาย 1.3.1 สรางกระบวนการตรวจสอบสาธารณะ

2.1 ใหมีการใชประโยชนจากที่ดินของรัฐอยางมีประสิทธิภาพ 2.1.1 ใหมีการสํารวจที่ราชพัสดุที่ไมไดใชประโยชน 2.1.2 ใหจัดทํารายงานการใชและจัดหาผลประโยชนเกี่ยวกับ ที่ราชพัสดุที่อยูในความครอบครองเปนประจําทุกป 2.1.3 ใหมีการเรียกคืนที่ราชพัสดุเพื่อจัดใหสวนราชการ ที่มีความตองการ 2.1.4 ดําเนินการแกไขปญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุ 2.2 ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ 2.2.1 พัฒนาระบบคาธรรมเนียมและระบบภาษีที่ดินและ ทรัพยสิน 2.2.2 ปรับปรุง พ.ร.บ. การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547 2.3 ใหมีระบบขอมูลพื้นฐานที่ชวยสนับสนุนการซื้อ ขาย และการเชาซื้อ ที่ดินใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรมกับเจาของที่ดิน และผูซื้อ/ผูเชา 2.3.1 ปรับปรุง พ.ร.บ. การเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 2.3.2 พัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลการซื้อขายที่ดินกลาง ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย 2.4 ใหรัฐมีธรรมาภิบาลดานขอมูลขาวสาร การใชประโยชนและการ พัฒนาที่ดิน 2.4.1 มีระบบการเปดเผยขอมูลแผนการพัฒนาของรัฐ 2.4.2 สรางกลไกเพื่อใหเกิดการพัฒนาระบบการประเมินมูลคา ที่ดินในระดับจังหวัดและระดับประเทศ 2.5 ติดตามการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวกับการถือที่ดินของตางชาติ 2.5.1 สรางฐานขอมูลการถือที่ดินของคนตางชาติและนิติบุคคล ตางดาว 2.5.2 สรางกลไกการตรวจสอบโดยองคการภาคประชาชน

3.1 พัฒนาที่ดินเพื่อจัดใหประชาชนมี ที่ดินทํากินและที่อยูอาศัย 3.1.1 จัดตั้งธนาคารที่ดินเพื่อการเกษตร หรือกองทุนที่ดิน 3.1.2 มีกลไกการจัดที่ดินเพื่อที่อยูอาศัย ใหผูดอยโอกาสในเมืองและชนบท 3.1.3 มีระบบขอมูลของผูไดรับการจัดสรร ที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยจากภาครัฐ 3.2 บูรณาการการจัดที่ดินควบคูไปกับ แผนพัฒนาตางๆ 3.2.1 มีการศึกษาเพื่อจัดทําแผน ปฏิบัติการในแตละโครงการ 3.2.2 เรงรัดการใชผังเมืองเพื่อกําหนด ทิศทางการเติบโตของเมืองและ ชุมชน 3.3 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานสําหรับ โครงการจัดที่ดินทํากิน 3.3.1 พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ในโครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ 3.3.2 สงเสริมและสนับสนุนดาน เศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ โครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ

4.1 จัดตั้งองคกรที่กําหนดนโยบายที่ดินแหงชาติ (4.1.1 จัดตั้งคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ / 4.1.2 จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ) 4.2 พัฒนาระบบการจัดทําแผนที่กําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ (4.2.1 เรงรัดจัดทําฐานขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐใหชัดเจนและเปนที่ยอมรับ / 4.2.2 ดําเนินการปรับขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐใหเปนไปตามกฎหมาย) 4.3 พัฒนาระบบฐานขอมูลที่ดินและขอมูลศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติในที่ดินนั้น (4.3.1 สรางระบบโครงขายขอมูลที่ดินและขอมูลศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติดานอื่นๆ / 4.3.2 ใหมีการบูรณาการฐานขอมูลที่ดินใหทันสมัย ทั้งที่ดินของรัฐและที่ดินของเอกชน) 4.4 สรางมิติการมีสวนรวมของประชาชน (4.4.1 สรางเครือขายภาคประชาชนเพื่อนําไปสูการบริหารจัดการที่ดินที่ดี) 4.5 เสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการที่ดิน (4.5.1 เพิ่มบทบาทภาคประชาชนในการบริหารจัดการที่ดิน / 4.5.2 จัดตั้งกลไกระบบตรวจสอบการบริหารจัดการที่ดิน / 4.5.3 มีกลไกการแกไขปญหาความขัดแยงโดยเปดโอกาสใหภาคีที่เกี่ยวของและชุมชนทองถิ่นเขามารวมดําเนินการ) 4.6 พัฒนาองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดิน (4.6.1 สนับสนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดินโดยมีแผนงานการวิจัยที่เปนระบบและตอเนื่อง / 4.6.2 มีการเผยแพร และประชาสัมพันธงานวิจัยดานการบริหารจัดการที่ดินอยางตอเนื่อง / 4.6.3 ใหมีการถายทอดองคความรูและเครือขายองคความรูระหวางประเทศดานการบริหารจัดการที่ดนิ )

11


12

กําหนดใหมีปาไม ไมนอยกวารอยละ 40

ตัวชี้วัด

เพื่อรักษาความสมดุลระหวางพื้นที่อนุรักษ พื้นที่ทาํ กิน และพื้นที่อยูอาศัย ลดปญหาความขัดแยงระหวาง กิจกรรมตางๆ เพิ่มประสิทธิภาพดานการใหบริการ สาธารณูปโภค และลดปญหาการใชัที่ดินผิดประเภท

วัตถุประสงค

การพัฒนาที่ยั่งยืนมุงการพัฒนาที่ ไมทําลายหรือ กอใหเกิดความเสื่อมโทรมแกทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ซึง่ จะตองควบคุมการใชและการเกิดทดแทน ของทรัพยากรธรรมชาติใหอยูในสภาพสมดุล โดยรักษา สวนที่เหลือไว ไมทําลายเพิ่ม และฟนฟูใหกลับสูสภาพ เดิม, ตามรัฐธรรมนูญ ม.85(5)

หลักการ

ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชน ที่ดินอยางยั่งยืน (การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน)

ยุทธศาสตร/หลักการ/วัตถุประสงค/ตัวชี้วัด

1.3 ใหมีการติดตามการบังคับใชกฎหมาย (เรงดวนปานกลาง)

1.2 ใหมีการควบคุมการใชประโยชนที่ดินใน พื้นที่อนุรักษ (เรงดวนมาก)

1.1.1 กําหนดเปาหมายที่ดินของรัฐและที่ดินของเอกชน

1.1 ใหมีเขตพื้นที่อนุรักษ ปาไม หรือเขตสงวน หวงหามที่ดินของรัฐ และเขตพื้นที่พัฒนา โดยยึดความสามารถในการรองรับของ ที่ดิน (carrying capacity)*(เรงดวนมาก) (*ความสามารถในการรองรับของที่ดิน เปนแนวคิดทางดานนิเวศวิทยาที่เนนให เห็นขอจํากัดทางดานสิ่งแวดลอมที่จะมี ผลกระทบตอการใชที่ดินเพื่อกิจกรรม ตางๆ)

1.3.1 สรางกระบวนการตรวจสอบสาธารณะ

1.2.4 กําหนดการใชประโยชนและพัฒนาที่ดินปาอนุรักษ ที่สอดรับกับระบบนิเวศและความสมดุลทาง ธรรมชาติ

1.2.3 ใหมีการจัดการชวยเหลือประชาชนที่ตองโยกยาย ออกจากพื้นที่อนุรักษในกรณีที่มีการพิสูจนแลววา ไดตั้งถิ่นฐานกอนการประกาศเปนพื้นที่อนุรักษ

1.2.2 สรางเครื่องมือดานกฎหมาย ผังเมือง และ มาตรการจูงใจพื่อควบคุมการใชประโยชนที่ดิน

1.2.1 สรางกลไกการมีสวนรวมของประชาชนในการ ปกปองพื้นที่อนุรักษ

1.1.3 ไมควรยกเลิกหรือเพิกถอนที่ดินของรัฐ เพื่อปองกัน การผลักภาระปญหาไปภายภาคหนา

1.1.2 กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินตามศักยภาพดิน และศักยภาพทรัพยากร ธรรมชาติในที่ดินนั้น เชน เขตเศรษฐกิจ พื้นที่เกษตรกรรม เขตที่อยูอาศัย เขต ธรณีพิบัติภัย หรือเขตทรัพยากร ธรรมชาติอื่นๆ โดย พิจารณารวมกับการวางผังเมือง

มาตรการ-แนวทาง

พันธกิจ

ตารางที่ 4.1 รายละเอียดยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


13

มูลคาราคาประเมินที่ดินรวมเพิ่มขึ้นในภาพรวม และ มีการประกาศใชพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูก สราง

2.5 ติดตามการบังคับใชกฎหมาย ที่เกี่ยวกับการถือที่ดินของตางชาติ (เรงดวนนอย)

2.4 ใหรัฐมีธรรมาภิบาลดานขอมูลขาวสารการ 2.4.1 มีระบบการเปดเผยขอมูลแผนการพัฒนาของรัฐ ใชประโยชนและการพัฒนาที่ดิน 2.4.2 สรางกลไกเพื่อใหเกิดการพัฒนาระบบการประเมิน (เรงดวนนอย) มูลคาที่ดินในระดับจังหวัดและระดับประเทศ

2.5.2 สรางกลไกการตรวจสอบโดยองคการภาคประชาชน

2.5.1 สรางฐานขอมูลการถือที่ดินของคนตางชาติ และนิติบุคคลตางดาว

2.3.2 พัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลการซื้อขายที่ดินกลางที่ มีประสิทธิภาพและทันสมัย

ตัวชี้วัด

2.2.2 ปรับปรุง พ.ร.บ.การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547 2.3.1 ปรับปรุง พ.ร.บ.การเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524

2.2.1 พัฒนาระบบคาธรรมเนียมการพัฒนาและระบบภาษี ที่ดินและทรัพยสนิ

2.1.4 ดําเนินการแกไขปญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุ

2.1.3 ใหมีการเรียกคืนที่ราชพัสดุเพื่อจัดใหสวนราชการที่ มีความตองการ

2.1.2 ใหจัดทํารายงานการใชและจัดหาผลประโยชน เกี่ยวกับที่ราชพัสดุที่อยูในความครอบครองเปน ประจําทุกป

2.1.1 ใหมีการสํารวจที่ราชพัสดุที่ไมไดใชประโยชน

มาตรการ-แนวทาง

2.3 ใหมีระบบขอมูลพื้นฐานที่ชวยสนับสนุน การซื้อ ขาย และการเชาซื้อที่ดินใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรมกับ เจาของที่ดินและผูซ ื้อ/ผูเชา (เรงดวนนอย)

2.2 การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ (เรงดวนนอย)

2.1 ใหมีการใชประโยชนจากที่ดินของรัฐอยาง มีประสิทธิภาพ (เรงดวนมาก)

พันธกิจ

มุงเนนผลสัมฤทธิ์ของการจัดการที่ดิน เพื่อนําไปสูการใช ที่ดินใหเกิดประโยชนสูงสุด ลดปญหาการทอดทิ้งไมทํา ประโยชนหรือปลอยที่ดินใหเปนทีร่ กรางวางเปลา ขนาด การถือครองและเพิ่มความเปนธรรมตอเจาของที่ดนิ

วัตถุประสงค

การกําหนดหลักเกณฑการใชที่ดินใหครอบคลุมทั่ว ประเทศ โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับสภาพแวดลอม ทางธรรมชาติ ทัง้ ผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น และการดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติอยางมี ประสิทธิภาพ โดยตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับ ผลกระทบจากหลักเกณฑการใชที่ดินมีสวนรวมในการ ตัดสินใจดวย,ตามรัฐธรรมนูญ ม.85(1),(4)

หลักการ

ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดและเปนธรรม (การคุมครองสิทธิในที่ดิน)

ยุทธศาสตร/หลักการ/วัตถุประสงค/ตัวชี้วัด

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


14

(*ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคมุ กัน ในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอก/ภายใน)

มีจํานวนผูไรที่ดินทํากินลดลง

ตัวชี้วัด

เพื่อมุงเนนใหประชาชนผูดอยโอกาสไดมีที่ดินทํากิน ที่อยูอาศัย และบริการขั้นพื้นฐานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหพงึ่ ตนเองได รวมทั้งปองกันมิใหมีการถายโอน ทรัพยสินของรัฐไปยังกลุม ผลประโยชน

วัตถุประสงค

ดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในทีด่ ิน ประกอบเกษตรกรรมอยางทั่วถึงและเปนธรรม รวมทั้ง จัดหาแหลงน้ําเพือ่ ใหเกษตรกรมีน้ําใชอยางพอเพียง และเหมาะสมแกการเกษตร ตามรัฐธรรมนูญ ม. 85(2),(3)

หลักการ

ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชน ผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง)

ยุทธศาสตร/หลักการ/วัตถุประสงค/ตัวชี้วัด

3.3 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานสําหรับโครงการ จัดที่ดินทํากิน (เรงดวนปานกลาง)

3.2 บูรณาการการจัดที่ดินควบคูไปกับ แผนพัฒนาทองถิน่ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาภูมภิ าค และแผนพัฒนา ระดับประเทศเชิงองครวม (เรงดวนปานกลาง)

3.1 พัฒนาที่ดินเพื่อจัดใหประชาชน มีที่ดินทํากินและที่อยูอาศัย (เรงดวนมาก)

พันธกิจ

3.3.2 สงเสริมและสนับสนุนดานเศรษฐกิจและสังคม ในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ

3.3.1 มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ในโครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ

3.2.2 เรงรัดการใชผังเมืองเพื่อกําหนดทิศทางการเติบโต ของเมืองและชุมชน

3.2.1 มีการศึกษาเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการในแตละ โครงการ

3.1.3 มีระบบขอมูลของผูไดรับการจัดสรรที่ดินทํากิน และที่อยูอาศัยจากภาครัฐ

3.1.2 มีกลไกการจัดที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยใหผูดอยโอกาส ในเมืองและชนบท

3.1.1 จัดตั้งธนาคารที่ดินเพื่อการเกษตรหรือกองทุนที่ดนิ โดยรัฐชวยเหลือดานอัตราดอกเบี้ย และมีระบบ ฐานขอมูลที่ชัดเจนถูกตอง

มาตรการ-แนวทาง

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


15

(การบริหารราชการแนวใหม เปนการทํางานแบบมุง ผลสัมฤทธิ์ เนนทั้งผลผลิตและผลลัพธ โดยมีวิธีการ บริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทางการทํางาน เพื่อใหบรรลุผล)

มีระบบการบริหารจัดการที่ดินตามหลักธรรมาภิบาล

ตัวชี้วัด

มีเอกภาพในการบริหารจัดการที่ดินที่อาศัยความรวมมือ จากทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร จัดการที่ดนิ ลดปญหาความซ้ําซอนและความลาชา

วัตถุประสงค

ตองเปนการบริหารจัดการที่มุงผลสัมฤทธิ์ อันเปน เปาหมายสุดทาย คือ ประเทศเจริญ มั่นคงและยัง่ ยืน ประชาชนอยูดี มีสุขตามอัตภาพ

หลักการ

ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน

ยุทธศาสตร/หลักการ/วัตถุประสงค/ตัวชี้วัด

4.4 สรางมิติการมีสวนรวมของประชาชน (เรงดวนปานกลาง)

4.3 พัฒนาระบบฐานขอมูลที่ดินและขอมูล ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติในที่ดินนั้น (เรงดวนมาก)

4.2 พัฒนาระบบการจัดทําแผนที่กําหนดแนว เขตที่ดินของรัฐ (เรงดวนมาก)

4.1 จัดตั้งองคกรที่กําหนดนโยบายที่ดนิ แหงชาติ (เรงดวนมาก)

พันธกิจ

4.4.1 สรางเครือขายภาคประชาชนเพื่อนําไปสูการบริหาร จัดการที่ดินที่ดี

4.3.2 ใหมีการบูรณาการฐานขอมูลที่ดินใหทันสมัย ทั้งที่ดินของรัฐและที่ดินเอกชน โดยมีหนวยงาน เฉพาะเปนศูนยกลาง

4.3.1 สรางระบบโครงขายขอมูลที่ดินและขอมูลศักยภาพ ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติดานอื่นๆ เชน ขอมูลปาไม ขอมูลศักยภาพแร ฯลฯ

4.2.2 ดําเนินการปรับขอมูลแนวเขตที่ดนิ ของรัฐใหเปนไป ตามกฎหมาย

4.2.1 เรงรัดจัดทําฐานขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐใหชัดเจน และเปนที่ยอมรับ โดยใชแผนที่มาตราสวนเดียวกัน (1:4,000)

4.1.2 จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายที่ดินแหงชาติ เปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

4.1.1 จัดตั้งคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติที่มีอํานาจ หนาที่กําหนดนโยบายที่ดินของประเทศในภาพรวม

มาตรการ-แนวทาง

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน

ยุทธศาสตร/หลักการ/วัตถุประสงค/ตัวชี้วัด

4.6 พัฒนาองคความรูดานการบริหารจัดการ ที่ดิน (เรงดวนปานกลาง)

4.5.1 เพิ่มบทบาทภาคประชาชนในการบริหารจัดการที่ดิน

4.5 เสริมสรางความเปนธรรมาภิบาลที่ดีใน การบริหารจัดการที่ดิน (เรงดวนปานกลาง)

16

4.6.3 ใหมีการถายทอดองคความรูและเครือขายองค ความรูระหวางประเทศ (international network) ดานการบริหารจัดการที่ดิน

4.6.2 มีการเผยแพรและประชาสัมพันธงานวิจัย ดานการบริหารจัดการที่ดินอยางตอเนื่อง

4.6.1 สนับสนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ที่ดิน โดยมีแผนงานการวิจัยที่เปนระบบและ ตอเนื่อง

4.5.3 มีกลไกการแกไขปญหาความขัดแยงโดยเปดโอกาส ใหภาคีที่เกี่ยวของและชุมชนทองถิน่ เขามารวม ดําเนินการ

4.5.2 จัดตั้งกลไกระบบตรวจสอบการบริหารจัดการที่ดิน

มาตรการ-แนวทาง

พันธกิจ

เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

5. การวิเคราะหชองวางและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 5.1 การวิเคราะหชองวาง: ภารกิจที่ตองดําเนินการเพือ่ ใหบรรลุยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน การจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการในครั้งนี้ ไดใหความสําคัญกับ การสรางกระบวนการมีสวนรวมของหนวยงานที่เกี่ยวของเปนอยางมาก โดยไดมีการประสานและ เชิญผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการเปนระยะๆ เพื่อใหขอคิดเห็นและ ขอเสนอแนะในการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ โดยมีขั้นตอนสําคัญคือ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ รวมกันประเมินและวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) ระหวางสภาพปญหาการบริหารจัดการที่ดินที่ เป น อยู ใ นป จ จุ บั น และภารกิ จ ที่ ห น ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งปฏิ บั ติ อ ยู กั บ ข อ เสนอแนะแนวทางการ ดําเนินการภายใตกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน (รูปที่ 5.1)

รูปที่ 5.1 การวิเคราะหชอ งวาง (Gap Analysis) การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) ขอเสนอพันธกิจ มาตรการและแนวทาง ในแตละยุทธศาสตร

Gap Analysis

สถานการณปจจุบัน/ การดําเนินงานของหนวยงาน ที่เกี่ยวของ

ภารกิจที่ตองดําเนินการ เพื่อให บรรลุisพันa tag ธกิจและมาตรการ This line ภายใตกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

ขอเสนอแผนงาน โครงการเชิงบูรณาการ แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

17


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ผลการประมวลความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการ สามารถ สรุปภารกิจสําคัญและเรงดวนที่จะตองดําเนินการในแตละยุทธศาสตร เพื่อใหบรรลุตามเปาประสงค ของกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินที่กําหนดไว มีดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใช ประโยชนที่ดนิ อยางยั่งยืน

ภารกิจสําคัญที่จะตองดําเนินการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 มีดังนี้ - จัดทําแผนการใชที่ดินของชาติ - กําหนดแนวเขตทีด่ ินของรัฐ - จัดการปญหาผูบุกรุกทีด่ ินของรัฐ - ดําเนินการออกกฎหมายที่จาํ เปนและเรงรัดใหมีผลบังคับใช - บูรณาการกฎหมายที่มีอยูใหมีความชัดเจน - ขับเคลื่อนการใชผังประเทศ ผังภาค และผังอนุภาค - สนับสนุนและเพิ่มบทบาทของภาคประชาชน

ยุทธศาสตรที่ 2

ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

ภารกิจสําคัญที่จะตองดําเนินการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 มีดังนี้ - สํารวจการใชประโยชนที่ดนิ ของรัฐ - พัฒนาระบบคาธรรมเนียมและระบบภาษีที่ดิน - ปรับปรุงพระราชบัญญัติการเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 - ปรับปรุงพระราชบัญญัติการจัดรูปทีด่ ินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547 - ปรับปรุงพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 - จัดทําฐานขอมูลการถือครองที่ดิน - สรางกลไกการตรวจสอบโดยภาคประชาชน

18


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส

ภารกิจสําคัญที่จะตองดําเนินการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 มีดังนี้ - จัดตั้งธนาคารที่ดิน - จัดทําระบบฐานขอมูลผูท ี่ไดรับการจัดสรรที่ดินจากภาครัฐ - เรงรัดการดําเนินโครงการตามผังเมือง - พัฒนาโครงสรางพื้นฐานในโครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ - สงเสริมการพัฒนาอาชีพใหแกสมาชิกที่อาศัยในโครงการจัดทีด่ ินทํากินของรัฐ - บูรณาการการจัดที่ดินควบคูไปกับแผนพัฒนาตางๆ

ยุทธศาสตรที่ 4

ดานการบริหารจัดการที่ดิน

ภารกิจสําคัญที่จะตองดําเนินการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 มีดังนี้ - มีองคกรกลางที่กําหนดนโยบายทีด่ ิน - เรงรัดใหมีการออกพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ - ออกแบบและจัดทําระบบโครงขายและการบูรณาการฐานขอมูลที่ดนิ - สํารวจแนวเขตที่ดินของรัฐทุกประเภทใหชัดเจนและเปนที่ยอมรับ - เพิ่มบทบาทของภาคประชาชนในการดูแลและตรวจสอบการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ - มีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทีด่ นิ - พัฒนาองคความรูแ ละเผยแพรงานวิจัยตอสาธารณะ

จากการวิเคราะหขอมูลภารกิจหลักสําคัญที่จะตองดําเนินการตามยุทธศาสาตรแตละดาน พบวา หลายภารกิจมีความเชื่อมโยง สอดคลอง และสนับสนุนซึ่งกันและกันใหเกิดกลไกในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว (รูปที่ 5.2)

19


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

รูปที่ 5.2 แผนภาพความเชื่อมโยงระหวางภารกิจสําคัญที่ตองดําเนินการ กับแผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ภารกิจ-ยุทธศาสตรที่ 1 - จัดทําแผนการใชที่ดินของชาติ - กําหนดและปรับแนวเขตที่ดินของรัฐ - จัดการปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ - ออกกฎหมายที่จําเปนและเรงรัดใหมีผลบังคับใช - บูรณาการกฎหมายที่มีอยูใหมีความชัดเจน ฯลฯ

ภารกิจ-ยุทธศาสตรที่ 2 - สํารวจที่ดินของรัฐที่ไมไดใชประโยชน - พัฒนาระบบคาธรรมเนียมและระบบภาษีที่ดิน - ปรับปรุง พ.ร.บ.การเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 - ปรับปรุง พ.ร.บ. การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547 - ปรับปรุง พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 - จัดทําฐานขอมูลการถือครองที่ดนิ - สรางกลไกการตรวจสอบโดยภาคประชาชน ฯลฯ

แผนงาน โครงการบูรณาการ

ภายใตแผนปฏิบัติการ บริหารจัดการที่ดินเชิง บูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ภารกิจ-ยุทธศาสตรที่ 4 - มีองคกรกลาง/นโยบายที่ดินแหงชาติ - มีระบบโครงขายและการบูรณาการฐานขอมูลที่ดิน - สํารวจแนวเขตที่ดินของรัฐทุกประเภทใหชัดเจนและเปนที่ยอมรับ - ประชาชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการที่ดิน - มีธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการที่ดิน - พัฒนาองคความรู ฯลฯ

20

ภารกิจ-ยุทธศาสตรที่ 3 - จัดตั้งธนาคารที่ดิน - จัดทําฐานขอมูลผูที่ไดรับการจัดสรรที่ดินของรัฐ - เรงรัดการดําเนินโครงการตามผังเมือง - พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน - บูรณาการการจัดที่ดินควบคูไปกับแผนพัฒนาตางๆ ฯลฯ


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

5.2 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น งานด า นการบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น ของประเทศบรรลุ ต ามเป า หมายที่ กําหนดไวภายใตกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน จึงมีขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ (1) รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการดําเนินงานตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ที่เนนการดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน รวมทั้ง เพิ่มบทบาทของภาคประชาชนในการติดตามตรวจสอบการดําเนินงานของ ภาครัฐ (2) รัฐบาลมีนโยบายกําหนดใหมีแผนการใชที่ดินของชาติ เพื่อทําหนาที่เปนกรอบการ

ดําเนิน งานการบริ หารจัดการที่ดินของชาติ ใหมีเอกภาพและเปนไปในทิศ ทาง เดียวกัน เพื่อตอบสนองตอนโยบายการพัฒนาประเทศในภาพรวม (3) รัฐบาลมีนโยบายในการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส โดยรูปแบบการจัดตั้ง

ธนาคารที่ดินเพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินอยางเปนธรรมและสอดคลองกับ ความสมดุลทางธรรมชาติ (4) รัฐบาลมีนโยบายที่จะลงทุนในการจัดทําระบบขอมูลที่ดินแบบบูรณาการ รวมทั้ง

การปรับปรุงแนวเขตที่ดินทั้งของรัฐและเอกชนทั่วประเทศใหมีความชัดเจน เพื่อ นําไปสูการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดินของประเทศ (5) รัฐบาลมีนโยบายพัฒนากฎหมายเพื่อเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการที่ดินใหมี

ประสิทธิภาพและเปนธรรม โดยการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เปนอุปสรรคตอการ บริหารจัดการที่ดิน และตรากฎหมายใหมที่จําเปน (6) รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อสรางองคความรูใหมดาน

การบริหารจัดการที่ดิน เพื่อใหเปนไปตามการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ทั้งจากภายในและนอก

21


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

6. แผนงานและโครงการภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 แผนงานและโครงการภายใต แ ผนปฏิ บั ติ ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น เชิ ง บู ร ณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 จะแบงเปน 3 สวน (รูปที่ 6.1) ไดแก

รูปที่ 6.1 โครงการภายใตแผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

Y X โครงการที่ดําเนินการอยู ในป 2553 และโครงการ ที่กําลังของบประมาณ ป 2554

โครงการของหนวยงานที่ เกี่ยวของ ที่จะตองดําเนินการ ตอเนื่อง

Z แผนงาน โครงการ บูรณาการ ที่ริเริ่มใหม (ป 2555-2559)

แผนปฏิบตั ิการ บริหารจัดการที่ดิน เชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

สวนแรก

แผนงาน โครงการบูร ณาการที่ริเริ่ม ใหม ซึ่ งเกิ ด จากผลการประเมิ น และ วิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) ระหวางสภาพปญหาการบริหารจัดการ ที่ ดิ น ที่ เป น อยู ใ นป จ จุ บั น และภารกิ จ ที่ ห น ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งปฏิ บั ติ อยู กั บ ขอเสนอแนะแนวทางการดําเนินการภายใตกรอบยุทธศาสตรการบริหาร จั ด การที่ ดิ น โดยเป น โครงการบู ร ณาการที่ ห น วยงานที่ เกี่ ย วข อ งจะต อ ง ดําเนินการในชวงป พ.ศ. 2555-2559 (5 ป) เพื่อใหแผนปฏิบัติการบริหาร จัด การที่ ดิน เชิงบูร ณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 บรรลุเ ป า ประสงค ที่ กําหนดไว 22


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

สวนที่สอง

โครงการของหนวยงานที่เกี่ยวของที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณและกําลัง ดํ า เนิ น การอยู ใ นป พ.ศ. 2553 และโครงการที่ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การขอ งบประมาณสนับสนุนในปงบประมาณ 2554 โดยเปนโครงการที่ตอบสนอง ตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

สวนที่สาม

โครงการของหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น ที่ มี ก าร ดําเนินการอยูและเปนโครงการที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อเปนการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินไปสูการปฏิบัติ รวมทั้ง โครงการที่หนวยงานที่เกี่ยวของมีแผนจะดําเนินการในชวงระยะเวลาของ แผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 ที่ ตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

6.1 ขอเสนอแผนงาน โครงการบูรณาการ (ดําเนินการในชวงป พ.ศ. 2555-2559) ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการทีด่ ินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 จากการวิเคราะหขอมูลภารกิจสําคัญที่จะตองดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว ในยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินพบวา หลายๆ ภารกิจมีความเชื่อมโยงและสนับสนุนซึ่งกัน และกั น และหากมี ก ารดํ า เนิ น งานตามภารกิ จ ดั ง กล า ว ผลการดํ า เนิ น งานจะตอบสนองต อ ยุทธศาสตรหลายๆ ดาน ไปพรอมๆ กัน อาทิ การพัฒนาระบบฐานขอมูล (ยุทธศาสตรที่ 4 พันธกิจที่ 4.3) จะบรรลุ เ ป า หมายได ก็ ต อ งอาศั ย การดํ า เนิ น งานตามมาตรการของยุ ท ธศาสตร ที่ 1 ยุทธศาสตรที่ 2 และ ยุทธศาสตรที่ 3 เปนตน (รูปที่ 6.2) เพื่อใหการดําเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไวในกรอบ ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ดังนั้น การจัดทําแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณา การ พ.ศ. 2553/54-2559 ในครั้งนี้ จึงไดนําเสนอแผนงานและโครงการในเชิงบูรณาการที่ จะตองดําเนินการในชวงป พ.ศ. 2555-2559 (5 ป) ที่คํานึงถึงการตอบสนองตอยุทธศาสตร ทั้ง 4 ดานไปพรอมๆ กัน โดยมีขอเสนอแผนงานบูรณาการ 6 แผนงาน ไดแก (1) แผนงานการจัดทํา แผนการใชที่ดินของชาติ (2) แผนงานการบริหารขอมูลขาวสารที่ดิน (3) แผนงานบริหารจัดการ ที่ดินเพื่อผูดอยโอกาส (4) แผนงานการพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย (5) แผนงานพัฒนาองค ความรูการบริหารจัดการที่ดิน และ (6) แผนงานธรรมาภิบาลการบริหารจัดการที่ดิน รวมทั้งสิ้น 13 โครงการบูรณาการ ดังนี้ 23


เอกสารประกออบการประชุมเพืพื่อรับฟงความคิคิดเห็นตอ (ราง) แผนปปฏิบตั ิการบริหารจั า ดการที่ดินเชิชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54--2559

รูปที่ 6.2 ความเชื ค อ่ มโโยงระหวางภภารกิจสําคัญที ญ ่ตอ งดําเนินินการในแตตละยุทธศาสสตร กับแผนงาน โครงการบูรณาการ ร ภายใตแผนปฏิฏิบตั ิการบริหารจั ห ดการทีที่ดินเชิงบูรณาการ ณ พ.ศศ. 2553/544-2559

ภารกิจสําคัญ ที่ตองดําเนินการ น ยุทธศาสตรทีท่ี 1

ภารกิจสําคั า ญ ที่ตองดําเนินินการ ยุทธศาสตตรที่ 4

6 แผนงาน 13 โครงการบูรณาการ ร ภายใตแผนปฏิบัติการ า ดการเชิงบูบรณาการ บริหารจั พ.ศศ. 2553/544-2559

ภภารกิจสําคัญ ทีตต่ องดําเนินการร ยุทธศาสตร ท ที่ 2

ภารกิจสําคัญ ที่ตองดําเนินการ น ยุทธศาสตรทีท่ี 3

ข แผนงานนที่ 1 การรจัดทําแผนกการใชที่ดินของชาติ (1) โครงการจัดทํทาแผนการใใชที่ดินของชาาติ ห ตที่ดินของรัฐให ใ เปนมาตรฐฐานเดียวกัน (2) โครงการกําหนดแนวเขต แผนงานนที่ 2 การรบริหารขอมูลขาวสารทีดิ่ดนิ (3) โครงการพัฒนาและจั ฒ ดทําโครงขายระะบบขอมูลทีดิด่ นิ (สผ. งบปประมาณ 5000 ลาน) ล อครองงที่ดินและกาารจดทะเบียนนนิติกรรมทีดิด่ นิ (4) โครงการจัดทํทาฐานขอมูลการถื 24


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

แผนงานที่ 3 บริหารจัดการที่ดินเพื่อผูดอยโอกาส (5) โครงการจัดตั้งธนาคารที่ดิน (6) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่จัดที่ดินของรัฐ (7) โครงการแกไขปญหาความขัดแยงการใชประโยชนที่ดิน แผนงานที่ 4 การพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย (8) โครงการพัฒนากฎหมายเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดิน (9) โครงการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน แผนงานที่ 5 พัฒนาองคความรูการบริหารจัดการที่ดิน (10) โครงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดนิ (11) โครงการศึกษาและกําหนดเปาหมายการใชประโยชนที่ดิน แผนงานที่ 6 ธรรมาภิบาลการบริหารจัดการที่ดิน (12) โครงการการมีสวนรวมของประชาชน (13) โครงการการเขาถึงขอมูลขาวสารที่ดิน

25


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ตารางที่ 6.1 ความเชื่อมโยงและการตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ของโครงการบูรณาการ แผนงาน / โครงการบูรณาการ

การตอบสนองตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

o

p

q

(1) โครงการจัดทําแผนการใชที่ดินของชาติ

3

3

3

3

(2) โครงการกําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

3

3

แผนงานที่ 1 การจัดทําแผนการใชที่ดินของชาติ

3

แผนงานที่ 2 การบริหารขอมูลขาวสารที่ดิน 3

(3) โครงการพัฒนาและจัดทําโครงขายระบบขอมูลที่ดิน 3

(4) โครงการจัดทําฐานขอมูลการถือครองที่ดินและการจดทะเบียน นิติกรรมที่ดิน

3

แผนงานที่ 3 บริหารจัดการที่ดินเพื่อผูดอ ยโอกาส 3

(5) โครงการจัดตั้งธนาคารที่ดิน

3 3

(6) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่จัดที่ดินของรัฐ (7) โครงการแกไขปญหาความขัดแยงการใชประโยชนที่ดิน

3

3

3

แผนงานที่ 4 การพัฒนาและบังคับใชกฎหมาย (8) โครงการพัฒนากฎหมายเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดิน

3

(9) โครงการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน

3

3 3

3

แผนงานที่ 5 พัฒนาองคความรูการบริหารจัดการที่ดิน (10) โครงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดิน (11) โครงการศึกษาและกําหนดเปาหมายการใชประโยชนที่ดิน

3

3

3

3

3

แผนงานที่ 6 ธรรมาภิบาลการบริหารจัดการที่ดิน 3

(12) โครงการการมีสวนรวมของประชาชน

3

(13) โครงการการเขาถึงขอมูลขาวสารที่ดิน

สําหรับรายละเอียดโครงการบูรณาการ ทั้ง 13 โครงการ นําเสนอไวในภาคผนวกที่ 1

26


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

6.2 โครงการ กิจกรรมของหนวยงานที่เกี่ยวของที่ดาํ เนินการในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนือ่ ง ทีต่ อบสนองตอกรอบยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน โครงการและกิ จ กรรมภายใต แ ผนปฏิ บั ติ ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น เชิ ง บู ร ณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 เปนโครงการ กิจกรรมของหนวยงานที่เกี่ยวของที่ดําเนินการในป พ.ศ. 25532554 รวมทั้ ง โครงการที่ต องดํ าเนิ น การอยา งตอเนื่อง ที่ตอบสนองต อกรอบยุทธศาสตร ก าร บริหารจัดการที่ดิน โดยไดมีการรวบรวมขอมูลจากแบบสํารวจขอมูลหนวยงานที่เกี่ยวของ และจาก การประชุมรวมกับผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของในกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ (ตารางที่ 6.2) ตารางที่ 6.2 โครงการและกิจกรรมที่ดําเนินงานในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนื่อง ที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

โครงการ/กิจกรรม

หนวยงาน รับผิดชอบ

ระยะเวลา ดําเนินการ (ป พ.ศ.)

การตอบสนอง ตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

o p q

1. การรังวัดทําแผนที่เพื่อแสดงแนวเขตที่ดิน กรมที่ดิน ของรัฐและควบคุมคุมครองที่ดินของรัฐ

2553

3

2. โครงการเรงรัดการออกโฉนดที่ดินให ครอบคลุมทั่วประเทศ

กรมที่ดิน

2553

3

3. แผนพัฒนากฎหมายและระเบียบของ กรมที่ดิน

กรมที่ดิน

2553

3

4. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน เพื่อการบริหารจัดการระบบที่ดิน

กรมที่ดิน

2553

3

5. โครงการบริหารจัดการการใชประโยชน กรมที่ดิน ที่ดินสาธารณประโยชนที่มีการบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท

2553

3

6. โครงการจัดทําและใหบริการระวางแผนที่ กรมที่ดิน ระบบดิจิทัล

2553

3

7. โครงการสํารวจการลงระวางแผนที่ และรูปแปลงในที่ดินของรัฐ *

2554

3

กรมที่ดิน

27

3


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

โครงการ/กิจกรรม

หนวยงาน รับผิดชอบ

ระยะเวลา ดําเนินการ (ป พ.ศ.)

การตอบสนอง ตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

o p q 3

8. โครงการศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่ แหงชาติ *

กรมที่ดิน

2554-2556

3

9. โครงการสํารวจขอมูลที่ดินสงวน นิคม และสํารวจขอมูลประชาชนที่เขาทํา ประโยชนในที่ดิน

กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ

2553-2554

3

10. โครงการพัฒนาศักยภาพ การดํารงชีวิต กรมพัฒนาสังคม แกประชากรกลุมเปาหมาย (งานตอเนื่อง) และสวัสดิการ

2553-2557

3

11. โครงการรังวัดที่ดินเพื่อปรับปรุงขอมูล ในระบบแผนที่ดานที่ดินนิคม ใหทันสมัยและปรับทําแผนที่ดิจิทัล

กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ

2553-2557

3

12. โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและ กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ อาคารในนิคมสรางตนเอง

2553-2555

3

13. โครงการทรัพยากรที่ดินและปาไม ในพื้นที่ปาอนุรักษ

กรมอุทยานแหงชาติ 2551-2554 สัตวปาและพันธุพืช

3

14. โครงการเรงรัดการจัดทําแนวเขต ในพื้นที่อนุรักษ

กรมอุทยานแหงชาติ 2553-2555 สัตวปาและพันธุพืช

3

15. โครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ปาไม

กรมอุทยานแหงชาติ 2551-2560 สัตวปาและพันธุพืช

3

16. โครงการขอคืนที่ราชพัสดุจาก สวนราชการ/หนวยงาน

กรมธนารักษ

2553-2554

3

17. โครงการบริหารจัดการตามโครงการ ขอคืนที่ราชพัสดุ 1 ลานไร

กรมธนารักษ

2553

3

2552-2555

3

2553

3

18. โครงการนําที่ดินราชพัสดุสนับสนุนการ กรมธนารักษ ปลูกพืชอาหารและพืชทดแทนพลังงาน 19. โครงการรัฐเอื้อราษฎร

กรมธนารักษ

28

3

3


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

โครงการ/กิจกรรม

หนวยงาน รับผิดชอบ

ระยะเวลา ดําเนินการ (ป พ.ศ.)

การตอบสนอง ตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

o p q

20. โครงการสนับสนุนที่ราชพัสดุเพือ่ จัดตั้ง หนวยงานบริการสังคม

กรมธนารักษ

2552-2555

3

21. แผนงานการปฏิบัติงานการสํารวจ กําแพงเมือง – คูเมือง

กรมธนารักษ

2553

3

22. โครงการวางแผนการจัดการสิ่งแวดลอม จากการใชประโยชนทรัพยากรดินลูกรัง

สํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

2553

3

23. โครงการปรับปรุงประกาศกระทรวงฯ เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการ คุมครองสิ่งแวดลอม จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และจังหวัดประจวบคีรีขันธ

สํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

2554

3

24. โครงการผลักดันและกําหนดเขตพื้นที่ บริเวณปากแมน้ําบางปะกง เปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม

สํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

2553

3

25. โครงการศึกษาและสํารวจสถานภาพ พื้นที่ชุมน้ํา ประเภทหนอง บึงน้ําจืด ของประเทศไทย

สํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

2553

26. โครงการนิคมการเกษตรพืชอาหารและ พืชพลังงานทดแทนในเขตนิคมสหกรณ

กรมสงเสริม สหกรณ

2553-2556

3

27. โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต เกษตรกรสมาชิกตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

กรมสงเสริม สหกรณ

2553-2555

3

28. โครงการสงเสริมอาชีพดานการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

29. กิจกรรมกําหนดเขตการใชที่ดิน

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

29

3

3


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

โครงการ/กิจกรรม

หนวยงาน รับผิดชอบ

ระยะเวลา ดําเนินการ (ป พ.ศ.)

การตอบสนอง ตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

o p q

30. กิจกรรมสรางนิคมการเกษตร

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

31. กิจกรรมปรับปรุงคุณภาพดิน

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

32. กิจกรรมฟนฟูและปองกันการชะลาง พังทลายของดิน

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

33. กิจกรรมสงเสริมการใชสารอินทรีย ลด การใชสารเคมีทางการเกษตร/เกษตร อินทรีย

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

34. กิจกรรมพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการ อนุรักษดินและน้ํา

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

35. กิจกรรมสนับสนุนงานตามพ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน ป 2551 (สํารวจและ กําหนดเขตที่ดิน)

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

36. โครงการปรับปรุงและจัดทําแผนที่ ภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1 : 4,000

กรมพัฒนาที่ดิน

2554-2557

3

37. โครงการจัดทําฐานขอมูลและบริการ กรมพัฒนาที่ดิน แผนที่ออรโธสี มาตราสวน 1 : 4,000

2553-2557

3

38. โครงการปรับปรุงฐานขอมูลดิน เพื่อการจัดการดินระดับไรนา

กรมพัฒนาที่ดิน

2555-2557

3

39. โครงการปรับปรุงฐานขอมูลทรัพยากร ดินเบื้องตนลงบนภาพถายออรโธสี

กรมพัฒนาที่ดิน

2554-2557

3

40. โครงการจัดทําและปรับปรุงฐานขอมูล แผนที่การใชที่ดินเชิงเลข (มาตราสวน 1: 25,000)

กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

41. กิจกรรมปรับปรุงระบบขอมูลสารสนเทศ กรมพัฒนาที่ดิน

2553-2557

3

42. กิจกรรมวิจัยพัฒนาที่ดินและ เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิต

2553-2557

3

กรมพัฒนาที่ดิน

30


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

โครงการ/กิจกรรม

หนวยงาน รับผิดชอบ

ระยะเวลา ดําเนินการ (ป พ.ศ.)

การตอบสนอง ตอยุทธศาสตร การบริหารจัดการที่ดิน

n

43. กิจกรรมจัดทําแนวเขตปาสงวนแหงชาติ

กรมปาไม

2553-2554

3

44. โครงการปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐ

กรมปาไม

2553-2554

3

45. กิจกรรมเดินสํารวจออกโฉนดที่ดิน

กรมปาไม

2553-2554

3

46. โครงการจัดทําฐานขอมูลความ หลากหลายทางชีวภาพ

กรมปาไม

2553-2554

47. โครงการปรับปรุง พ.ร.บ. การเชาที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524

กรมการปกครอง

2553-2554

48. กิจกรรมการพัฒนาสิทธิของเกษตรกร ที่ไดรับ ส.ป.ก. 4-01 (สิทธิเขาทํา ประโยชน) ใหเปนสิทธิการเชาซื้อ

สํานักงานการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม

2554

49. โครงการพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชน กรมทรัพยากรทาง 2555-2559 ในการจัดการ ปองกันและแกไขปญหา ทะเลและชายฝง การกัดเซาะชายฝงทะเล 50. โครงการจัดทําฐานขอมูลเพื่อติดตาม ประเมินผลการแกไขปญหาพื้นที่ ชายฝงทะเล

กรมทรัพยากรทาง 2555-2559 ทะเลและชายฝง

51. โครงการวางแผนการใขประโยชนพื้นที่ ชายฝงอยางบูรณาการ

กรมทรัพยากรทาง 2555-2559 ทะเลและชายฝง

o p q

3 3 3

3

3 3

52. โครงการรวบรวมและปรับปรุง กรมทรัพยากรทาง 2554-2555 กฎระเบียบ/ กฎหมายที่เกี่ยวกับ ทะเลและชายฝง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงทะเล หมายเหตุ : เปนโครงการที่รวบรวมจากแบบสํารวจขอมูลหนวยงานที่เกี่ยวของ

3

* โครงการที่อยูระหวางการขอรับงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2554

สําหรับรายละเอียดของหนวยงานที่เกีย่ วของ นําเสนอไวในภาคผนวกที่ 2

31


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

7. กลไกในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดิน เชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559 (1) ใหกองบริหารจัดการที่ดินนําเสนอแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ

พ.ศ. 2553/54-2559 เสนอตอเลขาธิการ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อพิจารณานําเขาคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ (2) ในกรณีที่คณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติยังไมมีการจัดตั้ง ใหคณะกรรมการจัด

ที่ดินแหงชาติ ดําเนินการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ไปกอน (3) ให ค ณะกรรมการจั ดที่ ดิ น แห ง ชาติ นํ า เสนอแผนปฏิ บัติ ก ารฯ เข า คณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ

พิจารณา (4) เมื่อ แผนปฏิบั ติการฯ ผานความเห็ นชอบของคณะรัฐ มนตรีแล ว ใหค ณะกรรมการ

จัดที่ ดินแหงชาติ จัดตั้ งคณะอนุกรรมการ ซึ่งประกอบไปด วยผูแทนจากหนวยงานที่ เกี่ยวของ ทําหนาที่จัดทําแผนดําเนินโครงการและงบประมาณการดําเนินโครงการ บูรณาการตามแผนปฏิบัติการฯ โดยมีการจัดตั้งงบประมาณใหสอดคลองกับภารกิจ งานของแตละหนวยงานที่มีสวนรับผิดชอบโครงการบูรณาการ (5) สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในฐานะเลขาธิการ

คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ ประสานสํานักงบประมาณเพื่อขอจัดตั้งงบประมาณ ดําเนินการ (6) ใหคณะอนุกรรมการในขอ 4 ดําเนินการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน ทุก 3

เดือน เพื่อประสานและแกไขปญหาการดําเนินงานที่เกิดขึ้น (7) ให ค ณะกรรมการจั ด ที่ ดิ น แห ง ชาติ ป ระสานงานกั บ กพร. เพื่ อ บรรจุ ตั ว ชี้ วั ด ตาม

แผนปฏิบัติการฯ เปนตัวชี้วัดการดําเนินงานของหนวยงานดวย (8) ใหคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติจัดทํารายงานประจําปและจัดสัมมนาเพื่อนําเสนอ ความคืบหนาและเปดรับฟงความคิดเห็นจากสาธารณะ ปละ 1 ครั้ง (9) ใหสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในฐานะเลขาธิการ

คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติจัดทําสื่อเผยแพรการดําเนินงานตามโครงการบูรณา การ ไดแก การจัดทําเว็บไซต เพื่อบรรจุสาระรายละเอียดและความกาวหนาของการ ดําเนินงานตามยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดินและโครงการบูรณาการตางๆ ตาม เกณฑตัวชี้วัด โดยใหสาธารณะสามารถเขาถึงขอมูลได

32


ภาคผนวก


ภาคผนวกที่ 1 รายละเอียดแผนงาน โครงการบูรณาการ ในชวงป พ.ศ. 2555-2559 ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559


ภาคผนวกที่ 1 รายละเอียดแผนงาน โครงการบูรณาการ ในชวงป พ.ศ. 2555-2559 ภายใตแผนปฏิบัติการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

1.

โครงการจัดทําแผนการใชที่ดินของชาติ หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

1. หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน 2. ผูแทนคณะกรรมการที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกคณะ

วัตถุประสงค

เพื่อใหมีแผนการใชที่ดินของชาติที่กําหนดทิศทางและกรอบการใชที่ดินแตละ ประเภทให สอดคล องกั บศั กยภาพของพื้ นที่ นั้ นๆ และรองรั บการพั ฒนา ประเทศที่ยั่งยืนในอนาคต

ตัวชี้วัด

มีแผนแมบทการใชที่ดินของชาติ

กิจกรรม

1. จัดตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจในการจัดทําแผนใชที่ดินของชาติภายใต คณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ โดยมีผูแทนจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับ ที่ ดิ นทุ กหน วยงาน และผู แทนจากคณะกรรมการที่ เกี่ ยวข องกั บที่ ดิ น ทุ กคณะ โดยมี สํ านั กงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมเปนฝายเลขานุการ 2. จัดทําแผนการใชที่ดิน 3. รับฟงความคิดเห็นจากผูมีสวนไดเสีย 4. ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ 5. เสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อขอความเห็นชอบ

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ทุกมาตรการ ทุกยุทธศาสตร 33


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

2.

โครงการกําหนดแนวเขตที่ดินของรัฐใหเปนมาตรฐานเดียวกัน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน

วัตถุประสงค

1. เพื่อใหมีแนวเขตที่ดินของรัฐในแผนที่ที่มีมาตราสวนเดียวกันทุกหนวยงาน 2. เพื่อชวยลดปญหาความขัดแยงจากการทับซอนของแนวเขตที่ดินของรัฐ ระหวางหนวยงานตางๆ และที่ดินของประชาชน และนําไปสูการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด

มีแนวเขตที่ดินของรัฐทั่วประเทศ

กิจกรรม

1. จัดทําแนวเขตที่ดินของรัฐใหตรงกับขอเท็จจริงโดยใชแผนที่ภาพถายทาง อากาศ 2. ดําเนินการรับรองแนวเขตที่ดินของรัฐหลังการปรับปรุงแลวใหเปนไปตาม กฎหมาย

ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.1.2 กํ าหนดเขตการใช ประโยชน ที่ ดิ นตามศั กยภาพดิ นและศั กยภาพทรั พยากร ธรรมชาติในที่ดินนั้น เชน เขตเศรษฐกิจ พื้นที่เกษตรกรรม เขตที่อยูอาศัย เขต ธรณีพิ บัติภั ยหรือเขตทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ โดยพิจารณารวมกั บการวาง ผังเมือง มาตรการที่ 2.1.1 ใหมีการสํารวจที่ราชพัสดุที่ไมไดใชประโยชน มาตรการที่ 4.2.1 เรงรัดจัดทําฐานขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐใหชัดเจนและเปนที่ยอมรับ โดยใช แผนที่มาตราสวนเดียวกัน (1:4,000)

34


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

3.

โครงการพัฒนาและจัดทําโครงขายระบบขอมูลที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน

วัตถุประสงค

เพื่อใหฐานขอมูลที่ดินของหนวยงานตางๆ สามารถเชื่อมโยงซึ่งกันและกันใน ระบบโครงขายระบบขอมูลที่ดินของประเทศ และนําไปสูการใชประโยชนของ ฐานขอมูลที่ดินระหวางหนวยงานอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด

มีโครงขายระบบขอมูลที่ดินที่ดําเนินการได

กิจกรรม

1. ออกแบบโครงขายระบบขอมูลที่ดิน 2. พัฒนาระบบเรียกใช

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 4.3.1

สรางระบบโครงขายขอมูลที่ดินและขอมูลศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติดานอื่นๆ เชน ขอมูลปาไม ขอมูลศักยภาพแร ฯลฯ

มาตรการที่ 4.3.2

ใหมีการบูรณาการฐานขอมูลที่ดินใหทันสมัย ทั้งที่ดินของรัฐและที่ดินเอกชน โดยมีหนวยงานเฉพาะเปนศูนยกลาง

35


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

4.

โครงการจัดทําฐานขอมูลการถือครองที่ดินและการจดทะเบียนนิติกรรมที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน

วัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาฐานขอมูลการถือครองที่ดินกลางที่สามารถนํามาใชเพื่อติดตาม การเปลี่ยนแปลงการถือครองที่ดินและจดทะเบียนนิติกรรมที่ดินตางๆ ของ เจาของที่ดินรวมถึงผูที่ไดรับการจัดที่ดินในโครงการธนาคารที่ดิน และการ ถือที่ดินของคนตางดาว

ตัวชี้วัด

มีฐานขอมูลการถือครองที่ดินและการจดทะเบียนนิติกรรมที่ดินที่ดําเนินการได

กิจกรรม

1. วางระบบฐานขอมูลการถือครองที่ดินและการซื้อขายที่ดิน 2. นําเขาขอมูลการถือครองที่ดินรายแปลง รวมทั้งของคนตางชาติและนิติบุคคล ตางดาว 3. นําเขาขอมูลการซื้อขายที่ดิน

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 2.3.2

พัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลการซื้อขายที่ดินกลางที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย

มาตรการที่ 2.5.1

สรางฐานขอมูลการถือที่ดินของคนตางชาติและนิติบุคคลตางดาว

มาตรการที่ 3.1.3

มีระบบขอมูลของผูไดรับการจัดสรรที่ดินทํากินและที่อยูอาศัยจากภาครัฐ

36


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

5.

โครงการจัดตั้งธนาคารที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยารกรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

วัตถุประสงค

เพื่อจัดตั้งธนาคารที่ดินที่มีหนาที่จัดหาที่ดินใหผูดอยโอกาสไดเชา เชาซื้อ และ ซื้อ พรอมทั้งเงินทุนในการพัฒนาเพื่อทําการเกษตร

ตัวชี้วัด

มีพระราชบัญญัติธนาคารที่ดนิ

กิจกรรม

1. ศึกษาและทบทวนเอกสารเกี่ยวกับทางเลือกในการจัดตั้งธนาคารที่ดิน 2. จัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากผูมีสวนไดเสีย 3. ยก (ราง) พระราชบัญญัติธนาคารที่ดิน และจัดทําโครงสรางธนาคาร ที่ดิน 4. เสนอคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ หรือ คณะกรรมการนโยบายที่ดิน แหงชาติ เพื่อขอความเห็นชอบ 5. เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบในหลักการ 6. ชี้แจงตอสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 7. คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 8. เสนอตอสภาผูแ ทนราษฎร 9. ชี้แจงตอคณะกรรมาธิการของสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา 10. ประกาศใชพระราชบัญญัติธนาคารที่ดิน

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.1.3 ไมควรยกเลิกหรือเพิกถอนที่ดินของรัฐ เพื่อปองกันการผลักภาระปญหาใน ภายภาคหนา มาตรการที่ 3.1.1

จัดตั้งธนาคารที่ดินเพื่อการเกษตรหรือกองทุนที่ดิน โดยรัฐชวยเหลือดาน อัตราดอกเบี้ย และมีระบบฐานขอมูลที่ชัดเจนถูกตอง

37


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

6.

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่จัดที่ดินของรัฐ หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรมสงเสริมสหกรณ กรมที่ดิน องคกรปกครองสวนทองถิ่น

วัตถุประสงค

เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตใหกับผูดอยโอกาสในโครงการที่ดินที่รัฐจัดใหโดย การพัฒนาความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานควบคูไปกับการจัดที่ดินเพื่อให ราษฎรที่ไดรับการจัดที่ดินมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ตัวชี้วัด

จํานวนโครงการจัดที่ดินของรัฐที่ไดรับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการ พัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม

กิจกรรม

จัดทําแผนปฎิบัติการในโครงการจัดที่ดินทํากินแตละโครงการ โดยมีกิจกรรม การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และสงเสริมดานเศรษฐกิจและสังคม

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 3.2.1

มีการศึกษาเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการในแตละโครงการ

มาตรการที่ 3.3.1

มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในโครงการจัดที่ดินทํากินของรัฐ

มาตรการที่ 3.3.2

สงเสริมและสนับสนุนดานเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากิน ของรัฐ

38


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

7.

โครงการแกไขปญหาความขัดแยงการใชประโยชนที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานที่รับผิดชอบพื้นที่แตละประเภท หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)

วัตถุประสงค

เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดินของรัฐโดยการลดปญหาความขัดแยง จากการใชประโยชนที่ดินของรัฐระหวางภาครัฐและภาคประชาชน

ตัวชี้วัด

จํานวนเรื่องรองเรียนความขัดแยงดานการใชประโยชนที่ดินลดลง

กิจกรรม

1. คัดเลือกพื้นที่ตัวอยางเพื่อศึกษาทางเลือกในการชวยเหลือประชาชนที่ตอง อพยพโยกยายออกจากพื้นที่อนุรักษ 2.

ศึกษาเพื่อหากลไกการแกไขปญหาความขัดแยง โดยใหภาคีและชุมชน ทองถิ่นเขามามีสวนรวม

3. ศืกษาและจัดทํ ารูปแบบการบริหารจัดการโฉนดชุมชนที่ เหมาะสมตาม นโยบายของรัฐบาล ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.2.3

ใหมีการจัดการชวยเหลือประชาชนที่ตองมีการโยกยายออกจากพื้นที่อนุรักษ ในกรณีที่มีการพิสูจนแลววาไดตั้งถิ่นฐานกอนการประกาศเปนพื้นที่อนุรักษ

มาตรการที่ 2.1.4

การแกไขปญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุ

มาตรการที่ 4.5.3

มีกลไกการแกไขปญหาความขัดแยงโดยเปดโอกาสใหภาคีที่เกี่ยวของและชุมชน ทองถิ่นเขามารวมดําเนินการ

39


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

8.

โครงการพัฒนากฎหมายเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน

วัตถุประสงค

เพื่อพัฒนากฎหมายที่จะนําไปสูการบริหารจัดการที่ดินที่มีประสิทธิภาพ เปนธรรม และยั่งยืน

ตัวชี้วัด

มีกฎหมาย 2 ฉบับ

กิจกรรม

1. นํารางพระราชบัญญัติปาชุมชนเสนอรัฐบาลอีกครั้งหนึ่ง 2. เรงรัดใหรัฐบาลนํารางพระราชบัญญัตินโยบายที่ดินแหงชาติเสนอสภา ผูแทนราษฎรภายหลังการตรวจแกของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.2.1

สรางกลไกการมีสวนรวมของประชาชนในการปกปองพื้นที่ปาอนุรักษ

มาตรการที่ 4.1.1

จัดตั้งคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติที่มีอํานาจหนาที่กําหนดนโยบายที่ดิน ของประเทศในภาพรวม

มาตรการที่ 4.1.2

จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติเปนหนวยงานในสังกั ด สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

มาตรการที่ 4.2.2

ดําเนินการปรับขอมูลแนวเขตที่ดินของรัฐใหเปนไปตามกฎหมาย

40


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

9.

โครงการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบัน หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานที่รับผิดชอบพระราชบัญญัติแตละฉบับ หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยารกรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

วัตถุประสงค

เพื่อแกไขเพิ่มเติมกฎหมายใหเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน และนําไปสู การบริหารจัดการที่ดินที่มีประสิทธิภาพ เปนธรรมและยั่งยืน

ตัวชี้วัด

มีการแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย 4 ฉบับ

กิจกรรม

1. แกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 2. แกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2547 3. แกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. การเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524 4. แกไขเพิ่มเติม พ.ร.บ. การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.2.2 สรางเครื่องมือดานกฎหมาย ผังเมือง และมาตรการจูงใจเพื่อควบคุมการ ใชประโยชนที่ดิน มาตรการที่ 2.2.2

ปรับปรุงพ.ร.บ.การจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547

มาตรการที่ 2.3.1

ปรับปรุง พ.ร.บ.การเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524

41


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

10. โครงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

วัตถุประสงค

เพื่ อให มี การผลิ ตองค ความรู ใหม ด านการบริ หารจั ดการที่ ดิ นเพื่ อให การ บริหารจัดการที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของการใชความรู และเทคโนโลยีที่เหมาะสม

ตัวชี้วัด

จํานวนผลงานวิจัยที่ถูกนําไปตีพิมพในวารสารที่มีการประเมิน โดยบุคคลภายนอก

กิจกรรม

1. กําหนดกรอบประเด็นปญหาในการบริหารจัดการที่ดินที่มีอยูในปจจุบัน 2. จัดทําขอบเขตการศึกษาในการศึกษา 3. จัดหางบประมาณการศึกษาจาก วช. สกว. หรือแหลงเงินทุนวิจัยอื่นๆ

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 4.6.1

สนับสนุนการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดิน โดยมีแผนงานการวิจัยที่เปนระบบและตอเนื่อง

มาตรการที่ 4.6.2

มีการเผยแพรและประชาสัมพันธงานวิจัยดานการบริหารจัดการที่ดิน อยางตอเนื่อง

มาตรการที่ 4.6.3 ใหมีการถายทอดองคความรูและเครือขายองคความรูระหวางประเทศ (international network) ดานการบริหารจัดการที่ดิน

42


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

11. โครงการศึกษาและกําหนดเปาหมายการใชประโยชนที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กรมปาไม กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กรมพัฒนาที่ดิน

วัตถุประสงค

เพื่ อให มี เป าหมายการใช ประโยชน ที่ ดิ นประเภทต างๆ ให สอดคล องกั บ ศักยภาพที่ดิน นําไปสูการสรางความสมดุลทางธรรมชาติ และการความยั่งยืน จากการใชประโยชนที่ดิน

ตัวชี้วัด

มีพื้นที่เปาหมายที่ทุกหนวยงานใหการยอมรับ

กิจกรรม

1. ทบทวนวาระแหงชาติเรื่องตางๆ ที่มีอยูในปจจุบัน 2. ศึกษาการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน เพื่อนําไปสูการสรางความสมดุล ทางธรรมชาติ 3. กําหนดกิจกรรมการใชที่ดินที่มีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ 4. ทบทวนแนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต 5. กําหนดเปาหมายการใชประโยชนที่ดินแตละประเภท

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.1.1

กําหนดเปาหมายที่ดินของรัฐและที่ดินของเอกชน

มาตรการที่ 1.2.4

กําหนดการใชประโยชนและพัฒนาที่ดินปาอนุรักษที่สอดรับกับระบบนิเวศและ ความสมดุลทางธรรมชาติ

43


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

12. โครงการการมีสวนรวมของประชาชน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดิน

วัตถุประสงค

เพื่อใหการบริหารจัดการที่ดินเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ดีดวยการพัฒนา กลไก ชองทาง และรูปแบบการมีสวนรวมของประชาชนในการบริหารจัดการ ที่ดิน

ตัวชี้วัด

จํานวนเรื่องรองเรียนของผูที่ไมไดรับความเปนธรรมเกี่ยวกับปญหาที่ดิน

กิจกรรม

1. ติดตามเรื่องรองเรียนจากองคกรอิสระ (กสม. ผูตรวจการแผนดิน ฯลฯ) 2. ติดตามเรื่องที่มีการฟองรองศาลปกครอง 3. ติดตามเรื่องรองเรียนจากสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. ศึกษาสถานภาพของกระบวนการกลไก และบทบาทของประชาชนในการ มีสวนรวมในการบริหารจัดการที่ดินในปจจุบัน

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 1.3.1

สรางกระบวนการตรวจสอบสาธารณะ

มาตรการที่ 2.5.2

สรางกลไกการตรวจสอบโดยองคการภาคประชาชน

มาตรการที่ 4.4.1

สรางเครือขายและพัฒนาเวทีประชาคมในการบริหารจัดการที่ดิน

มาตรการที่ 4.5.1

เพิ่มบทบาทภาคประชาชนในการบริหารจัดการที่ดิน

มาตรการที่ 4.5.2

จัดตั้งกลไกระบบตรวจสอบการบริหารจัดการที่ดิน

44


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

13. โครงการการเขาถึงขอมูลขาวสารที่ดิน หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

หนวยงานที่เกี่ยวของกับที่ดินทุกหนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการขอมูลคณะกรรมการขอมูลขาวสาร

วัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการเปดโอกาสใหสาธารณะสามารถเขาถึงขอมูล ขาวสารดานการบริหารจัดการที่ดินและการดําเนินงานของรัฐที่มีผลตอการใช ที่ดินเพื่อเพิ่มความเปนธรรมดานการกระจายประโยชนจากการเพิ่มขึ้นของ มูลคาที่ดินสืบเนื่องจากการดําเนินโครงการพัฒนาตางๆ ของภาครัฐ

ตัวชี้วัด

จํานวนเรื่องรองเรียนที่ไมไดรับขอมูลขาวสารที่ดิน

กิจกรรม

สรางระบบขอมูลที่ผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถเขาถึงได เชน มีเว็บไซต โดยเฉพาะ

ระยะเวลาดําเนินการ ----------------------------------------------------งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน มาตรการที่ 2.4.1

มีระบบการเปดเผยขอมูลแผนการพัฒนาของรัฐ

มาตรการที่ 2.4.2

สรางกลไกเพื่อใหเกิดการพัฒนาระบบการประเมินมูลคาที่ดินในระดับจังหวัด และระดับประเทศ

45


ภาคผนวกที่ 2 รายละเอียดโครงการและกิจกรรมของหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่การดําเนินงานในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนื่อง ที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน


ภาคผนวกที่ 2 รายละอียดโครงการและกิจกรรมของหนวยงานที่เกี่ยวของที่ดําเนินงานในป พ.ศ. 2553-2554 และโครงการตอเนื่องที่ตอบสนองตอยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

1.

ชื่อกิจกรรม

การรังวัดทําแผนที่เพื่อแสดงแนวเขตที่ดินของรัฐและควบคุมคุมครอง ที่ดินของรัฐ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

(1) เพื่ อสํ ารวจรั งวั ดจั ดทํ าแนวเขตที่ ดิ นสาธารณประโยชน ให ถู กต อง โดย ปกหลักเขต ที่ดิน หลักเขตที่สาธารณประโยชน เสาและแผนปายชื่อที่ สาธารณประโยชน และจัดทําแผนที่รายละเอียด แสดงแนวเขตที่ตั้ง เนื้อที่ และการใชประโยชนไวเปนหลักฐาน (2) เพื่อตรวจสอบแนวเขตที่ดินสาธารณประโยชนที่รังวัดออกหนังสือสําคัญ สําหรับที่หลวงไปแลวใหประชาชนทราบแนวเขต ที่ตั้งของที่ดินสาธารณประโยชน ที่ถูกตอง ปองกันการบุกรุกที่ดินของรัฐ (3) เพื่ อให การจั ดทํ าแผนที่ แสดงแนวเขตที่ ดิ นของรั ฐมี มาตรฐานถู กต อง สามารถตรวจสอบได (4) เพื่อกํากับดูแล ควบคุม คุมครองที่ดินของรัฐ และรักษาไวใหประชาชนได ใชประโยชนรวมกัน (5) เพื่อใหหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงทุกแปลงไดมีการลงที่หมายในระวาง แผนที่ครบถวนสามารถใชอางอิงได

กิจกรรม

รังวัดทําแผนที่เพื่อแสดงแนวเขตที่ดินของรัฐและควบคุมคุมครองที่ดินของรัฐ

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

77,014,400 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชน ที่ดินอยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.2–1.1.4 / พันธกิจที่ 1.2 มาตรการ 1.2.1 ) 47


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

2.

ชื่อโครงการ

โครงการเรงรัดการออกโฉนดที่ดินใหครอบคลุมทั่วประเทศ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่ อ ให ป ระชาชนที่ อ ยู ใ นพื้ น ที่ ดํ า เนิ น การเดิ น สํ า รวจออกโฉนดที่ ดิ น ทุ ก จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศที่ เ ป น เจ า ของที่ ดิ น และที่ ดิ น นั้ น อยู ใ นหลั ก เกณฑ ที่ สามารถออกโฉนดที่ ดิ น ได ได มี เ อกสารสิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ยึ ด ถื อ ไว เ ป น หลั ก ประกั น ความมั่ น คงในการถื อ ครองที่ ดิ น และสามารถนํ า เข า แหล ง เงินทุนได ทําใหเกิดความรักและหวงแหนแผนดิน กอใหเกิดกําลังใจและ แรงจูงใจที่จะพัฒนาปรับปรุงที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได ทําใหเกิดการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ นํามาซึ่งความเปนอยูที่ดีขึ้น อีกทั้ง ลดขอพิพาท โตแยงสิทธิในที่ดินทั้งระหวางราษฎรดวยกันเองและราษฎรกับรัฐ ทําให เกิดความสงบเรียบรอยในบานเมืองและสังคม สงผลตอการพัฒนาประเทศ และความมั่นคงของประเทศโดยรวม

กิจกรรม

เดินสํารวจออกโฉนดที่ดิน

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

623,117,100 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชน ที่ดินอยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.2-1.1.4 / พันธกิจที่ 1.2 มาตรการ 1.2.1)

48


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

3.

ชื่อแผนงาน

แผนพัฒนากฎหมายและระเบียบของกรมที่ดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2553 เห็นชอบแนวทางการ พัฒนากฎหมายของสวนราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 ดังนี้ (1) การพัฒนากฎหมายของสวนราชการ ใหสวนราชการจัดทําแผนในการ ยกเลิก ปรับปรุง แกไขบทบัญญัติของกฎหมายที่สวนราชการรักษาการ หรืออยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงาน ในกํ ากั บเกี่ ยวกั บการอนุ มั ติ หรื ออนุ ญาตทั้ งที่ มี ใบอนุ ญาตและไม มี ใบอนุญาต แตเปนการอนุมัติหรืออนุญาตที่ไมถูกตอง ไมมีความจําเปน หรือไมเหมาะสม เชน ซ้ําซอนกับกฎหมายอื่น ลาสมัย หรือสรางภาระ ใหกับผูขอรับอนุมัติหรือผูขอรับอนุญาตเกินความจําเปนเมื่อเทียบกับ ประโยชน ของประชาชนและส วนราชการ โดยการดํ าเนิ นการแบ ง ออกเปน 2 ระยะ คือระยะที่ 1 เปนการจัดทําแผนพัฒนากฎหมายใน ปงบประมาณ พ.ศ.2553 และ ระยะที่ 2 เปนการจัดทํากฎหมายตาม แผนพัฒนากฎหมายที่ไดรับอนุมัติใหแลวเสร็จในปงบประมาณ พ.ศ. 2554

กิจกรรม

(2) การพั ฒ นากฎหมายดั ง กล า วสอดคล อ งกั บ คํ า แถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรีชุดปจจุบัน ในนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรมที่มี นโยบายในการปรับปรุงแกไขกฎหมายและกฎระเบียบที่ลาสมัยและเปด ช อ งให เ กิ ด การทุ จ ริ ต ประพฤติ มิ ช อบกั บ การพั ฒ นากฎหมายให เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ สังคม และการคุมครองสิทธิสวนบุคคล พัฒนาและปรับปรุงแกไขกฎหมายและระเบียบ

ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป (พ.ศ. 2553-2554) งบประมาณ

2,200,000 บาท (โดยประมาณ)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (พันธกิจที่ 2.2 มาตรการที่ 2.2.1)

49


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

4. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดินเพื่อการบริหารจัดการ ระบบที่ดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อจัดใหมีฐานขอมูลที่ดินแหงชาติที่ถูกตอง ครบถวน ทันสมัย เปนศูนยกลางการ ใหบริการดานภูมิสารสนเทศ ( Land Parcel – Based Geo information ) ที่ชวยใหรัฐ สามารถสนองความตองการดานขอมูลที่ดินของรัฐและเอกชนไดทันความตองการ (2) เพื่อจัดทําฐานขอมูลที่ดินสนับสนุนศูนยปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (Prime Minister Operation Center: PMOC) ในดานการบริหารจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรดินของประเทศ (3) เพื่อจัดใหมีฐานขอมูลการถือครองที่ดินในภาพรวมที่เปนศูนยกลางสําหรับสนับสนุนการ กํ าหนดนโยบายด านเศรษฐกิ จ ความมั่ นคงและสั งคม การปกครองส วนท องถิ่ น การเกษตร การใช ป ระโยชน ในที่ ดิ น การกระจายการถื อครองที่ ดิ น การจั ดทํ า สาธารณู ปโภคพื้ นฐาน การกํ าหนดผั งเมื องและสิ่ งแวดล อม และงานด านอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน เชน การดําเนินงานขององคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญให เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เปนตน (4) เพื่อจัดใหมีฐานขอมูลสนับสนุนการทําแผนที่และพัฒนาระบบฐานขอมูลแผนที่ที่ดินให สามารถใชงานเชิงบริหารไดแบบอเนกประสงค (Multipurpose Cadastral Mapping) (5) เพื่อใหประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในการถือครองกรรมสิทธิ์ในที่ดินและอสังหาริมทรัพย อื่น ๆ รวมทั้งไดรับบริการดานที่ดินที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กิจกรรม (1) นําเขาขอมูลและจัดทําระบบฐานขอมูลที่ดินเพื่อจัดเก็บขอมูลแปลงที่ดินทุกประเภทที่ ถูกตองและครบถวน ทั้งขอมูลเชิงอรรถาธิบาย ( Attribute ) ขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial Data ) และขอมูลภาพลักษณ ( Image ) จากระวางแผนที่ของรูปถายทางอากาศ โฉนด ที่ดิน น.ส.3 น.ส. 3 ก เอกสารสิทธิหองชุด หนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการที่ดินของรัฐ และระบบบริการประชาชนดานที่ดิน (2) ขยายศูนย สารสนเทศที่ดิน และจั ดตั้งศู นยสํ ารอง โดยพั ฒนาระบบบริหารจัดการที่ สวนกลาง ระบบใหบริการขอมูลที่ดิน และระบบบริหารจัดการสารสนเทศในเชิงธุรกิจ พรอมติดตั้งระบบเครือขายสื่อสารเชื่อมโยงกับสํานักงานที่ดิน เพื่อเปนศูนยกลางการ บริหารจัดการระบบขอมูลที่ดินอยางมีประสิทธิภาพที่รองรับระบบงานประยุกต ( e – 50


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

Land Office , e – Department of Land ) และสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลและ ความตองการของประชาชนไดอยางเหมาะสม โดยการเชื่อมโยงขอมูลใหสามารถใช รวมกันไดระหวางภายในกรมที่ดิน และระหวางกรมที่ดินกับหนวยงานภายนอก ทั้ง ภาครัฐและเอกชน แมจะมีความตองการขอมูลที่ดินที่มีลักษณะของขอมูลแตกตางกัน (3) พัฒนาระบบงานของสํานักงานที่ดินใหมีศักยภาพในการจัดทําฐานขอมูล เชื่อมโยงขอมูล ระหวางสํานักงานที่ดินทั่วประเทศ ปรับปรุงแกไขขอมูลที่มีอยูใหเปนปจจุบัน มีความถูก ตองตอการนําขอมูลไปประกอบการตัดสินใจ และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ดานที่ดินและอสังหาริมทรัพยอื่น ๆ ตลอดจนการบริการประชาชนไดจากทุกสํานักงาน ที่ดินไมวาที่ดินจะตั้งอยู ณ ที่ใด (Online) (4) พัฒนาบุคลากรของกรมที่ดิน ทั้งในระยะสั้น และในระยะยาว โดยการสัมมนาและการ ฝกอบรม ระยะเวลาดําเนินการ 3 ป (พ.ศ. 2552-2554) งบประมาณ

740 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (พันธกิจที่ 2.3 มาตรการที่ 2.3.2 และ พันธกิจที่ 2.5 มาตรการที่ 2.5.1) ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.1-4.3.2)

51


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

5.

ชื่อโครงการ

โครงการบริหารจัดการการใชประโยชนที่ดินสาธารณประโยชนที่มกี ารบุกรุก เพื่อขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อใหประชาชนที่อยูในที่ดินสาธารณประโยชนไดรับการจัดจัดระเบียบการถือครองที่ดินและ ออกหนังสืออนุญาตใหทํากินในที่ดินของรัฐ เพื่อเปนการแกไขปญหาการบุรุกที่ดินของรัฐตาม นโยบายรัฐบาล (2) เพื่อเปนการเพิ่มศักยภาพและโอกาสใหแกคนยากจนที่ไมมีที่ดินทํากิน ไดมีหลักประกันใน ที่ดินในการประกอบอาชีพอยางมั่นคง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตใหดีขึ้นอยางยั่งยืน กิจกรรม

บริหารจัดการการใชประโยชนที่ดินของรัฐเพื่อแกไขปญหาความยากจน

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

196,484,400 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (พันธกิจที่ 3.1 มาตรการที่ 3.1.2 / พันธกิจที่ 4.4 มาตรการที่ 4.4.1/ พันธกิจที่ 4.5 มาตรการที่ 4.5.1

52


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

6.

ชื่อโครงการ

โครงการจัดทําและใหบริการระวางแผนที่ระบบดิจิทลั

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1)

เพื่อสรางระวางแผนที่ภาคพื้นดินและระวางแผนที่ภาพถายทางอากาศ ใชเปนขอมูลเพื่อ รองรับงานรังวัดทําแผนที่ของหนวยงานภายในและภายนอกกรมที่ดิน

(2) เพื่อจัดทําขอมูลการรังวัดทําแผนที่ของกรมทีด่ ินใหอยูในรูปของดิจิทัล กิจกรรม

จัดทําและใหบริการระวางแผนที่ระบบดิจิทัล

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

200,773,400 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.1-4.3.2)

53


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

7.

ชื่อโครงการ

โครงการสํารวจการลงระวางแผนที่และรูปแปลงในที่ดินของรัฐ (อยูระหวางการขอรับงบประมาณปงบประมาณ พ.ศ. 2554)

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) นําแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐมาดําเนินการลงที่หมายในระวางแผนที่ระบบพิกัด ฉาก U.T.M. ไดครบทุกแปลงทัว่ ประเทศ (2) เพื่อเปนขอมูลแผนที่รูปแปลงในที่ดินของรัฐใหศูนยขอมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินแหงชาติของ กรมที่ดิน เพื่อจัดเก็บขอมูลในระบบภูมิสารสนเทศ (3) เปนแผนที่แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐสามารถตรวจสอบและใชอางอิงไดตามมาตรฐาน ระวางแผนที่และแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ กิจกรรม

สํารวจที่ดินของรัฐและนําลงระวางแผนที่

ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป (พ.ศ. 2554-2555) งบประมาณ

23,978,800 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดกาที่ดิน (พันธกิจที่ 4.2 มาตรการที่ 4.2.1)

54


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

8.

ชื่อโครงการ

โครงการศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่แหงชาติ (อยูระหวางการขอรับงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2554)

หนวยงานรับผิดชอบ กรมที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อจัดระบบขอมูลที่ดินและแผนที่ในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ใหเปนมาตรฐาน สําหรับ นําไปจัดทําแนวเขตการใชประโยชนที่ดินใหเกิดความชัดเจน เพื่อสนับสนุนงานราชการ สวนทองถิ่นในการจัดเก็บภาษีและการใชประโยชนที่ดินใหเกิดความชัดเจน สนับสนุนงาน ราชการสวนทองถิ่นในการจัดเก็บภาษีและการใชประโยชนรวมกันของทุกหนวยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน (2) เพื่อเปนศูนยกลางในการบูรณาการการใชประโยชนขอมูลที่ดินและแผนที่ ระหวางกรม ที่ดินกับสวนราชการที่เกี่ยวของ เพื่อรองรับการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรม (1) ตรวจสอบความสมบูรณของขอมูลทะเบียนและรูปแปลงที่ดินที่นําเขาระบบ (2) นําเขาขอมูลที่ดินและแผนที่รูปแปลงที่ดินของรัฐและเอกชนในระบบดิจิตอล พรอมทั้ง จัดทําฐานขอมูลที่ดินในระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศในทุก มาตราส วน ได แก มาตราส วน 1:4,000 มาตราส วน 1:2,000 มาตราส วน 1:1,000 มาตราสวน 1:500 จํานวน 300,000 ระวาง (3) จัดตั้งศูนยขอมูลที่ดินและแผนที่แหงชาติ ทําหนาที่ในการบริหารจัดการขอมูลที่ดิน ดูแล และสนับสนุนการดําเนินการขอมูลที่ดินและแผนที่ ในสํานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/สวน แยก/อําเภอ (4) นําเขาและจัดเก็บขอมูลพื้นฐานในระบบภูมิสารสนเทศเพื่อรองรับ และสรางฐานขอมูลรูป แปลงที่ดินเอกสารสิทธิ จํานวน 30 ลานแปลง ประกอบชุดขอมูลภูมิสารสนเทศพื้น ฐานขอมูลแผนที่รูปแปลงที่ดินของรัฐ ขอมูลแผนที่เพื่อการจัดทําแผนที่ภาษีโรงเรือน สิ่ง ปลูกสราง ขอมูลการใชที่ดิน และการจําแนกประเภทที่ดิน ระยะเวลาดําเนินการ 3 ป (พ.ศ. 2554-2556) งบประมาณ 4,520.58 ลานบาท ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน 55


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

9.

ชื่อโครงการ

โครงการสํารวจขอมูลที่ดินสงวน นิคม และสํารวจขอมูลประชาชน ที่เขาทําประโยชนในที่ดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หนวยงานสนับสนุน

นิคมสรางตนเอง , องคการปกครองสวนทองถิ่น

วัตถุประสงค (1) จัดทําขอมูลที่ดินสงวนนิคมฯ ทุกประเภท เพื่อจัดทําเปนทะเบียนไว รวมทั้งที่ดินสงวนหวง หามอื่นๆ (2) จัดทําขอมูลประชาชนที่เขาทําประโยชนที่ดินสงวนนิคมฯ ทุกประเภท กิจกรรม (1) จัดเตรียมบุคคลกร จัดทําขอกําหนด (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพรอม (3) สํารวจขอมูลในพื้นที่ (4) รวบรวมขอมูลเปนระบบ หมวดหมูตามขอกําหนด (5) จัดระบบขอมูล และนําเขาขอมูล. (6) สอบทานขอมูลและปรับปรุงขอมูล (7) สรุปผลการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป (พ.ศ. 2553-2554) งบประมาณ

1 ลานบาท (ปละ 0.5 ลานบาท)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน (มาตรการที่1.1.1)

56


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

10. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาศักยภาพ การดํารงชีวิตแกประชากรกลุมเปาหมาย (งานตอเนือ่ ง)

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หนวยงานสนับสนุน

นิคมสรางตนเอง องคการปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ องคกรภาคเอกชน

วัตถุประสงค (1) พัฒนาดานการจัดการสวัสดิการ แกสมาชิกนิคมฯ และประชาชนที่อยูในเขตนิคม (2) เพื่อพัฒนาดานที่อยูอาศัย และการประกอบอาชีพของสมาชิกชาวนิคม และความเปนอยู ของสมาชิกนิคม (3) ออกหนังสือแสดงการทําประโยชน (น.ค.3) กิจกรรม (1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพรอม (2) จัดทําแผนปฏิบัติงาน (3) จัดทําเวทีประชาคมเพื่อคนหาศักยภาพ (4) จัดกิจกรรมดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และดานเอกสารสิทธิ์ (5) สนับสนุนการทํากิจกรรมของชุมชน และวัสดุอุปกรณการประกอบอาชีพ (6) สรุปผลการดําเนินงาน ระยะเวลาดําเนินการ 5 ป (พ.ศ. 2553-2557) งบประมาณ

440 ลานบาท (ปที่หนึ่ง 70 ลานบาท / ปที่สอง 80 ลานบาท / ปที่สาม 90 ลานบาท / ปที่สี่ 100 ลานบาท และ ปที่หา 100 ลานบาท)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (มาตรการที่ 3.1.2)

57


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

11. ชื่อโครงการ

โครงการรังวัดที่ดินเพื่อปรับปรุงขอมูลในระบบแผนที่ดานที่ดินนิคม ใหทันสมัยและปรับทําแผนที่ดิจิตอล

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หนวยงานสนับสนุน

กรมที่ดินและหนวยงานที่มีการจัดที่ดินและดูแลที่ดิน

วัตถุประสงค (1) ปรับปรุงขอมูล แปลงที่ดินในแผนที่ใหเปนปจจุบัน (2) เพื่อปรับปรุงแผนที่ทุกปที่มีการเปลี่ยนแปลงสถานะเอกสารสิทธิ์ น.ค.3 เปนโฉนดที่ดิน กิจกรรม (1) สํารวจขอมูลการออกเอกสารสิทธิ์ น.ค.3 และการออกโฉนดที่ดิน (2) ตรวจสอบที่ดินในระวางแผนที่ (3) ประสานขอมูลการออกโฉนดที่ดินจากสํานักงานที่ดิน ,กรมที่ดิน (4) ตรวจสอบตําแหนงที่ดินในพื้นที่ (5) ตรวจสอบแนวเขต กับหนวยงานขางเคียง (6) นําเขาขอมูล ระยะเวลาดําเนินการ 5 ป (พ.ศ. 2553-2557) งบประมาณ

12.5 ลานบาท (ปละ 2.5 ลานบาท)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดนิ ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (มาตรการที่ 3.1.3)

58


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

12. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและอาคารในนิคมสรางตนเอง

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หนวยงานสนับสนุน

นิคมสรางตนเอง องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ องคกรภาคเอกชน

วัตถุประสงค (1) เพื่อพัฒนาระบบสาธารณูปโภคในการใหบริการแกสมาชิกนิคมใหเพียงพอตอการดําเนินชีวิต (2) เพื่อปรับปรุงอาคารสถานที่ในนิคมสรางตนเองใหมีสภาพดี และมีความในการใหบริการ แกประชาชน กิจกรรม (1) สํารวจขอมูลความเสียหาย/ความตองการของประชาชน (2) จัดทําประมาณการคาใชจาย (3) ตั้งงบประมาณ ตามความจําเปนในแตละพื้นที่ และจัดทําแผน (4) นิคมสรางตนเองดําเนินการตามแผน (5) ติดตามประเมินผล (6) สรุปผล ระยะเวลาดําเนินการ 3 ป (พ.ศ. 2553-2555) งบประมาณ

ป พ.ศ. 2553

344.48 ลานบาท (งบประมาณไทยเขมแข็ง)

ป พ.ศ. 2554

124

ลานบาท

ป พ.ศ. 2555

130

ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (มาตรการที่ 3.3.1)

59


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

13. ชื่อโครงการ

โครงการทรัพยากรที่ดินและปาไมในพื้นที่ปาอนุรักษ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อแกไขปญหาการบุกรุก ถือครองที่ดินในพื้นที่ปาอนุรักษ (2) เพื่อลดความขัดแยงในการใชประโยชนทรัพยากรที่ดินและปาไมระหวางรัฐกับราษฎร รวมทั้ง แกไขปญหาเรื่องที่ดินทํากินอยางเปนธรรม (3) เพื่อใหทราบขอบเขตพื้นที่ปาอนุรักษและการครอบครองที่ดินของราษฎรที่แนนอน (4) เพื่ อจั ดทํ าเครื่ องหมายแสดงแนวเขตพื้ นที่ ป าอนุ รั กษ ที่ ถาวรชั ดเจน สอดคล องกั บ ขอเท็จจริงและเปนที่ยอมรับ กิจกรรม (1) สํารวจการถือครองพื้นที่ปาไมและขึ้นทะเบียนบุคคล เพื่อใหไดขอมูลการใชที่ดินปาไม ทั้งหมดวาใครเปนผูครอบครอง ใชทําประโยชนอยงไร รวมทั้ง ตําแหนงที่ตั้งของที่ดิน (2) ตรวจสอบพิสูจนการครอบครองที่ดินของราษฎร โดยใชภาพถายทางอากาศ (ถาไมมีให ใชภาพถายดาวเทียม) ซึ่งถายภาพพื้นที่นั้นไวเปนครั้งแรก หลังวันสงวนหวงหามเปนพื้นที่ ปาไมตามกฎหมายครั้งแรก (3) ในกรณีผลการตรวจพิสูจนพบวาราษฎรอยูอาศัย/ทํากินมากอน ใหจัดทําขอบเขตที่อยู อาศัย/ที่ทํากินใหชัดเจน และดําเนินการตามกฎหมายใหราษฎรอยูอาศัย/ทํากินตาม ความจําเปน แตถาเปนพื้นที่ลอแหลม คุกคามระบบนิเวศนและการปองกันรักษาปา อนุรักษ ใหพิจารณาชวยเหลือ โดยใหหาที่อยูอาศัย/ที่ทํากินแหงใหม สงเสริมอาชีพและ รับรองสิทธิ์ในที่ดิน (4) กรณีผลการตรวจพิสูจนพบวา ราษฎรอยูอาศัย/ทํากินหลังวันประกาศสงวนหวงหามเปน พื้นที่ปาไม ใหดําเนินการดังนี้ (4.1) เคลื่ อนย ายราษฎรออกจากพื้ นที่ ป าอนุ รั กษ เตรี ยมแผนการรองรั บในพื้ นที่ เหมาะสม สงเสริมอาชีพและพิจารณารับรองสิทธิ์ในที่ดิน (4.2) ถาหากยังเคลื่อนยายราษฎรออกจากพื้นที่ไมได ใหดําเนินการควบคุมขอบเขต ไมใหขยายพื้นที่เพิ่มเติมโดยเด็ดขาด จัดระเบียบที่อยูอาศัยทํากินใหพอเพียงกับ การดํารงชีพ

60


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

(5) จัดทําแนวเขตปาอนุรักษใหชัดเจน และทําแนวเขตควบคุมพื้นที่ไมใหมีการบุกรุกขยายที่ ทํากินเพิ่มเติม (6) จัดทําฐานขอมูลและแผนที่การถือครองแปลงที่ดินใหเปนมาตรฐานในระบบพิกัดฉาก U.T.M ระยะเวลาดําเนินการ 4 ป (พ.ศ. 2551-2554) งบประมาณ

1,162,069,800 บาท ป พ.ศ. 2551

101,352,400 บาท

ป พ.ศ. 2552

99,387,400 บาท

ป พ.ศ. 2553

38,976,200 บาท

ป พ.ศ. 2554

922,353,800 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน (มาตรการที่ 1.2.3)

61


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

14. ชื่อโครงการ

โครงการเรงรัดการจัดทําแนวเขตในพื้นที่อนุรักษ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อทําแนวเขตใหชัดเจน ลดปญหาความขัดแยงระหวางเจาหนาที่กับราษฎรที่อยูรอบแนว เขตปาอนุรักษ (2) เพื่อจัดทําระวางแผนที่มาตรสวน 1:4,000 ของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช เพื่ อพั ฒนาด านระบบแผนที่ ป าไม อั นเป นรากฐานสํ าคั ญในการตรวจสอบแนวเขตป า ตามที่หนวยงานภาครัฐอื่นๆ หรือภาคเอกชนขอใหตรวจสอบ กิจกรรม (1) สํารวจรังวัดแนวเขต (2) จัดทําระวางแผนที่มาตรฐาน มาตราสวน 1:4,000 (3) สงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน ระยะเวลาดําเนินการ 3 ป (พ.ศ. 2553-2555) งบประมาณ

273,149,600 บาท ป พ.ศ. 2553

69,689,600 บาท

ป พ.ศ. 2554

98,838,000 บาท

ป พ.ศ. 2555

104,622,000 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน (มาตรการที่ 1.2.1-1.2.2)

62


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

15. ชื่อโครงการ

โครงการประชาคมเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ปาไม

หนวยงานรับผิดชอบ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อน อมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงมาในการแกป ญหาการจัดการที่ ดินในพื้นที่ป า พรอมทั้งฟนฟูและพัฒนาพื้นที่ทํากินใหแกราษฎร ใหเปนชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ สรางความมั่นคงในการดํารงชีวิต ลดรายจาย (2) เพื่อหยุดยั้งการบุกรุกและครอบครองที่ดินในพื้นที่ปา (3) เพื่อสงเสริ มการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามแนวพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ (4) เพื่อใหเกิดความสมดุล กลมกลืน ระหวางคน ชุมชนและปาอยางยั่งยืน กิจกรรม (1) การเตรียมความพรอม - องคกรบริหารโครงการ/กฎหมายและระเบียบตางๆ - การจัดเตรียมฐานขอมูล - การเตรียมความพรอมเจาหนาที่ - การเตรียมความพรอมของชุมชนในพื้นที่ (2) การจัดทําประชาคมเพื่อกําหนดแผนงานแบบบูรณาการ - การตั้งองคกร กําหนดกฎ กติกาของชุมชน - สรางความเขมแข็งขององคกร (3) การบริหารจัดการพื้นที่โดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - พื้นที่อยูอาศัย - พื้นที่ทํากิน - พื้นที่ปาไมหมูบาน (4) การสงเสริมและพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - การสงเสริมการใชประโยชนพื้นที่อยางยั่งยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 63


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

- การสงเสริมอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร - พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและยกระดับคุณภาพชีวิต - สงเสริมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - จัดกิจกรรมใหความรู ฝกอบรมในเรื่องการนําเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิตประจําวัน (5) การติดตามประเมินผลและปรับปรุงแผนงาน - ติดตามผลงานโดยคณะกรรมการระดับจังหวัดและระดับกรม - ประเมินผลโดยชุมชนทองถิ่นรวมกับสถาบันการศึกษา - ปรับปรุงแผนงานใหเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยชุมชนรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินการ ระยะที่ 1 ปงบประมาณ 2551-2555 ระยะที่ 2 ปงบประมาณ 2556-2560 งบประมาณ

47,000,000 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 และ 1.2)

64


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

16. ชื่อโครงการ

โครงการขอคืนที่ราชพัสดุจากสวนราชการ/หนวยงาน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) ขอคืนที่ดินราชพัสดุที่ยังมิไดใชประโยชนหรือเลิกใชประโยชนแลวแตยังไมสงคืน หรือ ที่ดินที่สวนราชการใชประโยชนไมคุมกับศักยภาพและที่ดินราชพัสดุที่มีการบุกรุกจากสวน ราชการผูครอบครองนํามาบริหารจัดการใหเกิดประโยชนตามนโยบายของรัฐบาล (2) เพื่อสนับสนุนการใชที่ราชพัสดุตามนโยบายรัฐบาล โดยคํานึงถึงการเพิ่มคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอม (3) เพื่อวางแผนการใชที่ราชพัสดุใหเกิดประโยชนสูงสุด กิจกรรม (1) (2) (3) (4)

คัดเลือกแปลงเพื่อกําหนดเปาหมายการขอคืน วิเคราะหศักยภาพและวางแผนการใชที่ดิน เจรจาขอคืนที่ดินราชพัสดุในระดับกรม / กระทรวง กําหนดเงื่อนไขการสงคือน รับคืนที่ดินราชพัสดุ เพื่อใหสวนราชการ/หนวยงาน สงคืนที่ดิน

ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป (พ.ศ. 2553-2554) งบประมาณ

2 ลานบาท (1 ลานบาทตอป)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (พันธกิจที่ 2.1)

65


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

17. ชื่อโครงการ

โครงการบริหารจัดการตามโครงการขอคืนที่ราชพัสดุ 1 ลานไร

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อใหทราบอาณาเขตที่ถูกตองและชัดเจนของที่ราชพัสดุที่สงคืน ซึ่งจะเปนประโยชนตอ การปกครอง ดูแล และบํารุงรักษาตอไป (2) เพื่อเปนการแกไขปญหาและปองกันระงับยับยั้งการบุกรุกเขาใชประโยชนของราษฎร (3) เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการพิจารณาการโตแยงกรรมสิทธิ์ในที่ดินของราษฎร (4) เพื่อประกอบการพิจารณาสงคืน-รับคืน ใหเปนไปตามกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑและ วิธีการปกครอง ดูแล บํารุงรักษา ใชและจัดหาประโยชนเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และระเบียบกรมธนารักษวาดวยการสงคืนและผอนผันการสงคืนที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2526 (5) เพื่อใหการบริหารจัดการที่ราชพัสดุใหเกิดประโยชนสูงสุด หรือเกิดมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสังคม กิจกรรม (1) ประชุมชี้แจงราษฎรและสวนราชการผูครอบครองใชประโยชนในที่ราชพัสดุ (2) สํารวจรังวัดจัดทําแผนที่แสดงอาณาเขตที่ดินราชพัสดุที่สงคืน (3) สอบสวนสิทธิผูครอบครองและใชประโยชนในที่ราชพัสดุ (4) จัดทําแผนที่แสดงรายละเอียดการครอบครองและใชประโยชนในที่ราชพัสดุ (5) รายงานผลการดําเนินการเพื่อดําเนินการตามระเบียบตอไป ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

3,789,215 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (พันธกิจที่ 2.1)

66


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

18. ชื่อโครงการ

โครงการนําที่ดินราชพัสดุสนับสนุนการปลูกพืชอาหารและพืชทดแทน พลังงาน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อเพิ่มพื้นที่ปลูกพืชอาหารและพืชทดแทนพลังงาน (2) เพื่อเพิ่มมูลคาที่ราชพัสดุ (3) เพื่อสงเสริมใหมีการทําการเกษตรพืชอาหารและพืชทดแทนพลังงานอยางมีคุณภาพ กิจกรรม (1) สํารวจที่ดินและ/หรือเจรจาทําความเขาใจกับราษฎร เพื่อใหทราบขอมูลจํานวนผูบุกรุก สวนราชการที่ ครอบครอง และความเหมาะสมเบื้ องต นในการปลู กพื ชอาหารและพื ช ทดแทนพลังงาน (2) จัดรูปและแบงแปลงที่ดิน (3) นําเสนอคณะกรรมการระดับจังหวัดเกี่ยวกับแนวทางและรูปแบบในการดําเนินการ การ กําหนดโซนพืชอาหาร/พืชทดแทนพลังงาน และคุณสมบัติของผูเขารวมโครงการ (4) ยื่นคําขอเชา (กรณีที่วาง/ที่มีการบุกรุก) หรือจดบันทึกขอตกลง (MOU) (ในกรณีสวน ราชการทําเอง) (5) จัดทําแผนปฏิบัติการ ซึ่งครอบคลุมในประเด็นการจัดใหเชา การสงเสริมการเกษตร และ การสงเสริมการจําหนาย ระยะเวลาดําเนินการ 4 ป (พ.ศ. 2552-2555) งบประมาณ

7,518,300 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

67


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

19. ชื่อโครงการ

โครงการรัฐเอือ้ ราษฎร

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อใหการบริหารจัดการที่ราชพัสดุเกิดประโยชนสูงสุดหรือเกิดมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสังคม (2) เพื่อเสริมสรางความมั่นคงในการดํารงชีวิตของประชาชนในดานที่อยูอาศัยและที่ดินทํากิน (3) เพื่อเสริมสรางชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม ในการอยูอาศัยของประชาชนใหไดมาตรฐาน คือ ไดรับการบริหารขั้นพื้นฐานดานสาธารณูปภาคและสาธารณูปการ รวมทั้ง พัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนใหดีขึ้น (4) เพื่อเปนการใชที่ดินของรัฐตามนโยบายการบริหารจัดการที่ดินของรัฐเพื่อแกไขปญหา ความยากจน ซึ่งสุดทายจะนําไปสูกระบวนการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามนโยบายของ รัฐบาล กิจกรรม กรณีที่ราชพัสดุที่มีราษฎรถือครองทําประโยชน (1) ตรวจสอบ- สํารวจรังวัดและจัดทําแผนที่ (2) สอบสวนสิทธิ – พิสูจนสิทธิ (3) จัดใหเชา (4) สงรายชื่อผูเชาที่ราชพัสดุไปขึ้นทะเบียน (5) แจงผลการจัดใหเชาใหสวนราชการผูครอบครองใชประโยชนทราบ (6) แกไขผังเมือง กรณีที่ราชพัสดุซึ่งเปนที่วาง (1) ประสานงานสวนราชการผูครอบครองใหสงคืนที่ราชพัสดุ (2) แกไขผังเมือง (3) ตรวจสอบ – สํารวจรังวัดจัดทําแผนที่ (4) จัดทําผังโครงการ คํานวณคาใชจายในการพัฒนาที่ดินและสาธารณูปโภคพื้นฐาน

68


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

(5) คัดเลือกราษฎรจากผูรายชื่อราษฎรที่ไปลงทะเบียนไว (6) ปกหลักเขตพื้นที่จัดใหเชาแตละแปลง (7) ประสานกับสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุนการปลอยสินเชื่อรายยอยในการกอสรางบาน หรือเงินลงทุนทําการเกษตร (8) จัดทําสัญญาเชา ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

8,818,200 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชน ที่ดินอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส

69


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

20. ชื่อโครงการ

โครงการสนับสนุนที่ราชพัสดุเพื่อจัดตั้งหนวยงานบริการสังคม

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อเสริมสรางบริการขั้นพื้นฐานและบริการทางสังคมในการฟนฟูและพัฒนาผูดอยโอกาส ใหสามารถกลับสูครอบครัว หรือมีที่พักอาศัยอยางมั่นคงและเหมาะสม (2) เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหผูดอยโอกาสที่ไมสามารถเขาถึงสิทธิในบริหารขั้นพื้นฐาน ไดรับบริการขั้นพื้นฐาน (3) เพื่อสนับสนุนกลุมภาคีเครือขายทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไดรวมกันดําเนินโครงการจัด สวัสดิการสําหรับผูดอยโอกาส กิจกรรม (1) สํารวจที่ดิน - ตรวจสอบขอมูลพื้นที่ที่จะดําเนินการ - จัดเก็บรวบรวม ประมวลผลขอมูลที่ดิน และประสานกับหนวยงานที่ครอบครองที่ดิน (2) ประชุมรวมกับสวนราชการ / หนวยงาน เพื่อกําหนดแนวทางและความเหมาะสมในการ ดําเนินโครงการ (3) จัดทําบันทึกความรวมมือเพื่อดําเนินโครงการ (4) สรุปผลโครงการ ระยะเวลาดําเนินการ 4 ป (พ.ศ. 2552-2555) งบประมาณ

-

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส

70


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

21. ชื่อแผนงาน

แผนงานการปฏิบัติงานการสํารวจกําแพงเมือง–คูเมือง

หนวยงานรับผิดชอบ กรมธนารักษ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อกําหนดขอบเขตที่ดินกําแพงเมือง – คูเมือง ใหชัดเจนถูกตอง ซึ่งจะเปนประโยชนตอ การบํารุงรักษาของเจาหนาที่ผูมีหนาที่เกี่ยวของในดานการระวังชี้และรับรองแนวเขตที่ดิน การอนุรักษและบูรณะซอมแซม (2) เพื่อเปนการปองกันระงับยับยั้งการบุกรุกทําลายสภาพกําแพงเมือง – คูเมือง ซึ่งเปน สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตรและเปนแหลงมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ (3) เพื่อสํารวจรายการที่ดินกําแพงเมือง- คูเมือง นําสงขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ (4) เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการดําเนินการใหไดมาซึ่งหนังสือสําคัญสําหรับที่ราชพัสดุ (5) เพื่อปองกันและลดปญหาการโตแยงสิทธิในเขตที่ดินกําแพงเมือง-คูเมือง กิจกรรม (1) จัดเตรียมเอกสารและการติดตอประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ (2) สํารวจรังวัดเพื่อกําหนดขอบเขตที่ดินกําแพงเมือง – คูเมือง และเก็บรายละเอียดในพื้นที่ (3) ตรวจสอบ สรุปและรวบรวมขอมูล ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

28,573,460 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชน ที่ดินอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม

71


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

22. ชื่อโครงการ

โครงการวางแผนการจัดการสิ่งแวดลอมจากการใชประโยชนทรัพยากร ดินลูกรัง

หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

1 . เพื่อศึกษาศักยภาพของแหลงดินลูกรังและหินผุ พรอมทั้ง การจัดลําดับ ความสําคัญในการนํามาใชประโยชน 2. เพื่ อศึ กษาขั้ นตอนและวิ ธี การที่ เหมาะสมในการขุ ดดิ นลู กรั งและหิ นผุ แนวทางในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม การกําหนดมาตรการใน การปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม การติดตามตรวจสอบ ทั้งใน บริเวณพื้นที่แหลงศักยภาพและในบริเวณใกลเคียง และแนวทางในการ ฟนฟูสภาพแวดลอมสําหรับพื้นที่ที่มีการใชประโยชน 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการ ทั้งทางดานรูปแบบองคกร และ หลักเกณฑและกระบวนการในการพิจารณาอนุญาตและการกํากับดูแล การใชประโยชนทรัพยากรดินลูกรังและหินผุของประเทศ

กิจกรรม

1. ศึกษาและรวบรวมขอมูลแหลงศักยภาพดินลูกรังและหินผุ ในเขตพื้นที่ ภาคกลาง 20 จังหวัด ประกอบดวย กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นครปฐม นครนายก นครสวรรค นนทบุรี ปทุ มธานี พระนครศรี อยุ ธยา ลพบุ รี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบุรี สิงหบุรี สุพรรณบุรี อางทอง ราชบุรี กาญจนบุรี อุทัยธานี และเพชรบุรี จากขอมูลปฐมภูมิ การสัมภาษณผูที่มีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ และขอมูลทุติยภูมิ 2. วิเคราะห กําหนดหลักเกณฑเพื่อจัดลําดับความสําคัญในการใชประโยชน พื้นที่ศักยภาพดินลูกรังและหินผุ และจัดทําระบบฐานขอมูลสารสนเทศ ภูมิศาสตร 3. ศึกษาวิธีการและขั้นตอนที่เหมาะสมในการขุดดินลูกรังและหินผุ 4. ศึกษารวบรวมผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคมจาก การขุดดินลูกรังและหินผุ เพื่อจัดทําแนวทางการบริหารจัดการ มาตรการ ในการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม การติดตามตรวจสอบ และ แนวทางการฟนฟูสภาพแวดลอมในบริเวณที่มีการใชประโยชน

72


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

5. ทบทวนและวิ เคราะห กฎระเบี ยบ แนวทางปฏิ บั ติ รวมทั้ ง ข อบั ญญั ติ ท อ งถิ่ น และองค ก รที่ เ กี่ ย วข อ งในการพิ จ ารณาอนุ ญ าต เพื่ อ จั ด ทํ า ขอเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการ ทั้งในรูปแบบองคกรในการบริหาร จัดการ หลักเกณฑและกระบวนการในการพิจารณาอนุญาต และการ กํากับดูแล ในการใชประโยชนทรัพยากรดินลูกรังและหินผุ ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

1.9 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.2 มาตรการที่ 1.2.4)

73


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

23. ชื่อโครงการ

โครงการปรับปรุงประกาศกระทรวงฯ เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการ คุมครองสิ่งแวดลอม จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ

หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อทบทวนและจัดทํารางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม บริเวณ พื้นที่จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ระยะตอไป (2) เพื่อจัดทํารางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมบริเวณพื้นที่จังหวัด ประจวบคีรีขันธ (สวนขยาย) กิจกรรม (1) ศึกษา สํารวจ ทบทวนและวิเคราะหเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอม ใน พื้นที่จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และจังหวัดประจวบคีรีขันธ (2) จัดรับฟงความคิดเห็นของภาคสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ (3) จัดประชุมกลุมยอยของผูมีสวนไดสวนเสียในแตละพื้นที่ (4) จัดทํารางประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 3 ฉบับ ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2554) งบประมาณ

5 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.2 มาตรการที่ 1.2.4)

74


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

24. ชื่อโครงการ

โครงการผลั ก ดั น และกํ า หนดเขตพื้ น ที่ บ ริ เ วณปากแม น้ํ า บางปะกง เปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม

หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน วัตถุประสงค กิจกรรม

---------------------------------------------------1. รวบรวมขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิของสถานภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมเชิงนิเวศของพื้นที่บริเวณปากแมน้ําบางปะกง ตลอดจนมติ คณะรัฐมนตรี ระเบียบและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการใชประโยชน ที่ ดิ น พร อมทั้ ง วิ เคราะห ข อมู ลและจั ดทํ า(ร าง)กํ าหนดเขตพื้ นที่ และ มาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมบริเวณปากแมน้ําบางปะกง 2. จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผูมีสวนไดสวนเสีย และภาค ส ว นที่ เ กี่ ย วข อ ง ต อ (ร า ง)กํ า หนดเขตพื้ น ที่ แ ละมาตรการคุ ม ครอง สิ่งแวดลอมบริเวณปากแมน้ําบางปะกง และเสนอตอคณะทํางานศึกษา จัดทํายุทธศาสตร แนวทางและมาตรการในการเสนอพื้นที่บริเวณปาก แม น้ํ าของประเทศเป นพื้ นที่ คุ มครองสิ่ งแวดล อม เพื่ อให ข อคิ ดเห็ น เพิ่มเติม 3. เสนอการกําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมบริเวณปาก แม น้ํ าบางปะกง ต อการพิ จารณาของคณะอนุ กรรมการพิ จารณาการ จั ดการด านสิ่ งแวดล อมในเขตพื้ นที่ คุ มครองสิ่ งแวดล อมพิ จารณาเพื่ อ ประกาศเปนพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม 4. เสนอการกําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองสิ่งแวดลอมบริเวณปาก แมน้ําบางปะกงที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพิจารณาการ จั ดการด านสิ่ งแวดล อมในเขตพื้ นที่ คุ มครองสิ่ งแวดล อมพิ จารณาเพื่ อ ประกาศเป น พื้ น ที่ คุ ม ครองสิ่ ง แวดล อ ม ผ า นการพิ จ ารณาของ คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ และคณะรัฐมนตรี

ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป (พ.ศ. 2553) งบประมาณ

-----------------------------------------------------

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.2)

75


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

25. ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาและสํารวจสถานภาพพืน้ ที่ชุมน้ํา ประเภทหนอง บึงน้ําจืดของประเทศไทย

หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หนวยงานสนับสนุน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (ที่ปรึกษารับผิดชอบดําเนินการโครงการ) วัตถุประสงค (1) เพื่อใหมีฐานขอมูลพื้นที่ชุมน้ําประเภทหนองบึงน้ําจืดและปรับปรุงฐานขอมูลพื้นที่ชุม น้ําของประเทศไทย (ภาคเหนือ) ใหเปนปจจุบัน (2) เพื่อเสนอแนะมาตรการและกลไกการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําประเภทหนองบึงน้ําจืดของ ประเทศไทย (ภาคเหนือ) อยางยั่งยืน กิจกรรม (1) การสํ า รวจและประเมิ น สถานภาพพื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ประเภทหนองบึ ง น้ํ า จื ด โดยจั ด ทํ า รูปแบบการติดตามตรวจสอบและประเมินสถานภาพโดยอางอิงตาม Asian Wetland Inventory ที่ภาคีอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําไดใหการรับรองในการประชุมสมัชชา ภาคีอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําสมัยที่ 8 และ 9 การรวบรวม สํารวจ ประมวลและ วิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินสถานภาพและจัดลําดับความสําคัญ รวมทั้งการกําหนด ความจําเปนเรงดวนสําหรับการดําเนินงาน (2) การปรับปรุงและพัฒนาฐานขอมูลพื้นที่ชุมน้ําประเภทหนองบึงน้ําจืด ในรูปของ ฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร เวปไซตและแผนที่ เพื่อเชื่อมโยงกับกลไกการเผยแพร ขอมูลขาวสารความหลากหลายทางชีวภาพ (Clearing House Mechanism) (3) การจัดลําดับความสําคัญและกําหนดมาตรการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําประเภทหนองบึงน้ํา จืด โดยการจัดประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ ระยะเวลาดําเนินการ

1 ป (พ.ศ.2553)

งบประมาณ

4,000,000 บาท (สี่ลานบาทถวน)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.6)

76


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

26. ชื่อโครงการ

โครงการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนในเขต นิคมสหกรณ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมสงเสริมสหกรณ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่ อพั ฒนาองค ความรู ในการผลิ ตเพื่ อเพิ่ มศั กยภาพการผลิ ต ทํ าให ผลผลิ ตต อหน วย เพิ่มขึ้น (2) เพื่อสงเสริมใหสมาชิกมีการผลิตอยางถูกตองตามหลักวิชาการ และสามารถขยายผลสู สมาชิกพื้นที่บริเวณใกลเคียงไดอยางตอเนื่อง (3) เพื่อสรางโอกาสทางการตลาดใหกับสหกรณที่เขารวมโครงการ กิจกรรม ปที่ 1 (1) ประชุมชี้แจงใหผูที่เกี่ยวของทราบถึงกระบวนการทํางาน (2) สํารวจความตองการในการเขารวมโครงการของสหกรณนิคมในเขตนิคมสหกรณ (3) คัดเลือกสหกรณนิคมที่มีความพรอมและแจงความจํานงเขารวมโครงการ (4) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารในระดับจั งหวั ดและคณะทํางานในระดับพื้นที่ พร อมทั้ ง ประชุมคณะทํางาน (5) ฝกอบรมเขาหนาที่ที่เกี่ยวของ (6) สํารวจขอมูลรายแปลงสมาชิกที่เขารวมโครงการ (7) จัดเก็บขอมูลรายแปลง (8) ประสานงาน แนะนํา ตรวจเยี่ยมแปลงสมาชิก ปที่ 2 เปนตนไป (1) ประสานงาน แนะนํา ตรวจเยี่ยมแปลงสมาชิก (2) ใหคําแนะนํา แกไขปญหาในเรื่องการผลิตใหแกสมาชิก หรือประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ มาใหคําแนะนําสมาชิกอยางตอเนื่อง ระยะเวลาดําเนินการ 4 ป (พ.ศ. 2553-2556)

77


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

งบประมาณ

148,772,460 บาท ป พ.ศ. 2553

53,678,320 บาท

ป พ.ศ. 2554

31,631,600 บาท

ป พ.ศ. 2555

31,631,600 บาท

ป พ.ศ. 2556

31,631,600 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

27. ชื่อโครงการ

โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรสมาชิกตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง

หนวยงานรับผิดชอบ กรมสงเสริมสหกรณ หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่ อส งเสริ มและพั ฒนาอาชี พสมาชิ กสหกรณ /กลุ มเกษตรกร ตามแนวทางปรั ชญา เศรษฐกิจพอเพียง (2) เพื่อตอบสนองยุทธศาสตรการแกไขปญหาความยากจนของรัฐบาล โดยการสรางอาชีพ สรางรายได จากการทําการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจาย สรางรายได ขยายโอกาสเขาถึงแหลงทุนในระบบ (3) เพื่อใหสมาชิกสหกรณไดมีงานทํา มีรายได และนําความรูจากการปฏิบัติงานจริงไปขยาย ผลประกอบกิจกรรมอาชีพพื้นที่ทํากินของตนเองอยางยั่งยืน สังคมอยูเย็นเปนสุข อีกทั้งจะ เป นการพั ฒนาคุ ณภาพชี วิ ตสมาชิ กสหกรณ ให เป นไปตามทิ ศทางตามแผนพั ฒนา เศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 10 ที่มุงสรางชุมชนเขมแข็ง โดยเนนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสรางสังคมอยูเย็นเปนสุข กิจกรรม (1) พิจารณาและประกาศหลักเกณฑคุณสมบัติผูเขารวมโครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพ ชีวิตเกษตรกรสมาชิกตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (2) รับสมัครผูเขารวมโครงการ

78


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

(3) จัดจางเจาหน าที่เพื่อดําเนินการ ประสานงานติดตามและประเมินผลโครงการฯ และ เจาหนาที่ประจําแปลง (4) อบรมใหความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพแจงเจาหนาที่รับผิดชอบที่เกี่ยวของทั้งสวนกลางและสวน ภูมิภาค (5) อบรมสมาชิกตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ (6) คัดเลือสมาชิกที่ผานการอบรม สมัครใจ มีคุณสมบัติตามเกณฑที่กําหนด เขารับการ ฝกอบรมแบบเขมขน และฝกปฏิบัติในที่ดินของตนเองโดยมีวิทยากรและเจาหนาที่แนะนํา ติดตามอยางใกลชิด (7) นิคมสหกรณและหนวยงานที่รับผิดชอบขอความรวมมือเพื่อบูรณาการระหวางหนวยงาน ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (8) สนับสนุนปจจัยแกผูเขารวมอบรมเพื่อใหสมาชิกสหกรณ/กลุมเกษตรการทํากิจกรรม เศรษฐกิจพอเพียงในเบื้องตน ในพื้นที่ของตนเองหรือในพื้นที่แปลงรวม (9) นิคมสหกรณและหนวยงานที่รับผิดชอบ จั ดทําฐานขอมูลทั้งดานองคความรู ปราชญ ชาวบานและเมนูกิจกรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไวในระบบความพิวเตอร เพื่อ จัดทําเปนฐานขอมูลการเรียนรู (10) ติดตามประเมินผลสมาชิกที่เขารวมโครงการในป พ.ศ. 2551 เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุดและสมาชิกมีอาชีพที่มั่นคงยั่งยืน (11) บูรณาการรวมกับสถาบันวิชาการประเมินผลการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณาตอยอดและ พัฒนารูปแบบการสรางองคความรูดานอาชีพใหแกสมาชิกนิคมสหกรณ ระยะเวลาดําเนินการ 3 ป (พ.ศ. 2553-2555) งบประมาณ

233,924,544 บาท ป พ.ศ. 2553

54,422,700 บาท

ป พ.ศ. 2554

88,917,914 บาท

ป พ.ศ. 2555

90,583,930 บาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

79


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

28. ชื่อกิจกรรม

โครงการสงเสริมอาชีพดานการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อปรับปรุงพื้นที่นารางใหสามารถกลับมาใหประโยชนในการปลูกปาลมน้ํามัน ไดอยาง มีประสิทธิภาพ (2) เพื่อชวยเหลือเกษตรกรในการประกอบอาชีพการเกษตรใหมีรายได และความเปนอยูที่ดี ขึ้นและมั่นคง กิจกรรม ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานทางดานการเกษตรในพื้นที่นาราง โดยการจัดทําระบบอนุรักษ ดินและน้ํา ขุดคู-ยกรอง สนับสนุนพันธุปาลม สนับสนุนปุย/ยา และปรับปรุงบํารุงดินให เหมาะสมกับการปลูกปาลมน้ํามัน ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

2,546.774 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรท่ี 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

29. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมกําหนดเขตการใชที่ดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน วัตถุประสงค เพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินระดับชนิดพืช ลุมน้ําสาขา และระดับตําบล เพื่อ ใชประกอบการตัดสินใจของเกษตรกรในการใชประโยชนที่ดินและเลือก ปลูกชนิดพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสมกับพื้นที่ กิจกรรม (1) การสํารวจดินเพื่อผลิตแผนที่ดินระดับละเอียดและแผนที่ดินบนพื้นที่สูงลงในภาพถาย ออรโธสี (มาตราสวน 1:25,000) เพื่อเปนฐานขอมูลในการวางแผนการใชที่ดินดานตางๆ 80


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

(2) การสํารวจสภาพการใชที่ดิน เปนการติดตามสถานการณการใชที่ดินของประเทศ และ จัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดินที่มีความทันสมัยและนาเชื่อถือ เพื่อใชเปนฐานขอมูล กําหนดนโยบายการพัฒนาการเกษตรของประเทศ (3) การจัดทําเขตการใชที่ดินระดับตําบล ดําเนินการโดยใชประโยชนขอมูลจากขอ 1–2 และศึ ก ษาข อ มู ล ของพื้ น ที่ ทั้ ง ด า นกายภาพ การเกษตร เศรษฐกิ จ สั ง คม และการ อนุรักษที่เกี่ยวของกับการใชที่ดินจากหนวยงานและผูมีสวนในการใชหรือกําหนดแนว ทางการใชที่ดินทั้งทางตรงและทางออม จากนั้นจึงสังเคราะหขอมูลในเชิงอรรถาธิบาย และขอมูลเชิงพื้นที่จากขอมูล ฐานขอมูล และระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่มี กําหนด เปนเขตการใชที่ดินระดับตําบล (4) โครงการวางแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ําสาขา โดยมุงเนนการวางแผนการใชที่ดิน ระดับลุมน้ําโดยคํานึงถึงความสัมพันธระหวางปริมาณน้ําในลุมน้ํากับภาคการผลิตราย สาขาใหเปนไปอยางเกื้อกูลเพื่อใหแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ําสามารถใชประโยชน เปนแผนชี้นําในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการเกษตรและกําหนดเขตการใชที่ดิน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ (5) การจัดทําเขตการใชที่ดินตามความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ 5 ชนิดพืช การกําหนดพื้นที่เหมาะสมในการผลิตใหเอื้อประโยชนตอเกษตรกรและผูผลิต โดยพิจารณาถึงศักยภาพของพื้นที่และการขนสงวัตถุดิบ เพื่อใหมีตนทุนต่ําและเกิด ประโยชนสูงสุด กอปรกับประเทศไทยมีความเหมาะสมตอการผลิตพืชเศรษฐกิจหลาย ชนิด โดยเฉพาะขาว และขาวโพด การเลือกตัดสินใจในการผลิตพืชเศรษฐกิจแตละ ชนิดไมใหเกิดการทับซอนของพื้นที่ จึงควรมีหลักเกณฑที่เหมาะสมและเครื่องมือชวย สนับสนุนการตัดสินใจใหมีความถูกตองแมนยําและรวดเร็ว ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

2,020.424 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.2 มาตรการที่ 1.2.2)

81


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

30. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมสรางนิคมการเกษตร

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพิ่มศักยภาพการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานรองรับนโยบายปรับโครงสรางภาค การเกษตร เปนการเพิ่มมูลคาใหกับสินคาเกษตร (2) รองรับเกษตรกรรุนใหม ครอบคลุมนักศึกษาเกษตรกร และผูที่สนใจเขาสูอาชีพเกษตรกรรม (3) สงเสริมการใชประโยชนที่ดินอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กิจกรรม เริ่มจากการกําหนดพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเปนหลัก โดยใชขอมูลพื้นที่ที่มีศักยภาพดานระบบ ชลประทาน ความเหมาะสมทางดานศักยภาพของดินกับพืชหลักในพื้นที่ และความพรอมของ เกษตรกร มากําหนดเปนวงรอบขอบเขตพื้นที่นิคมการเกษตร และดําเนินการจัดและพัฒนา ที่ดิน ตลอดจนแหลงน้ําใหเหมาะสมกับการปลูกพืชหลัก สรางโอกาสการใหความรูชวยเหลือ เพื่อปรับโครงสรางการผลิต เพิ่มศักยภาพและมูลคาสินคาเกษตร และพัฒนากลไกการ รวมกลุมจัดตั้งสถาบันเกษตรกร ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

154.634 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดการที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง) (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

82


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

31.

ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมปรับปรุงคุณภาพดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน วัตถุประสงค

-

เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรปรับปรุงแกไขดินเปรี้ยว ดินกรด ดินเค็ม โดยการใช วัสดุปรับปรุงดิน (ปูนเพื่อการเกษตร) รวมกับการใชพืชปุยสด รวมทั้งการปรับ โครงสรางของพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสามารถทํานา ปลูกไมผลและไมยืนตน ใหไดผลผลิตสูงขึ้น

กิจกรรม (1) การพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยว เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรปรับปรุงแกไขดินเปรี้ยว ดินกรด ให มีสภาพเหมาะสมสามารถทํานา ปลูกไมผลและไมยืนตน ใหไดผลผลิตสูงขึ้น โดยการใช วัสดุปรับปรุงดิน (ปูนเพื่อการเกษตร) รวมกับการใชพืชปุยสด ดําเนินการโดย - สงเสริมการเพิ่มผลผลิตพืชในพื้นที่ดินเปรี้ยว - สงเสริมการปลูกไมยืนตนเศรษฐกิจในพื้นที่สวนสมราง - สงเสริมการทําการเกษตรแบบผสมผสาน - สงเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินเปรี้ยวดินเค็ม (2) ปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ดินกรด ดําเนินการสงเสริมการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด โดยการ จัดหาปูนเพื่อการเกษตร (โดโลไมท) ใหเกษตรกรที่ทําการปลูกไมผล ไมยืนตน ในอัตรา 0.5 ตัน : 1 ไร โดยเกษตรกรนําไปหวานรอบโคนตนไม เพื่อชวยปรับสภาพความเปนกรดของดิน (3) สงเสริมการพัฒนาพื้นที่ดินเค็ม ดําเนินการโดย 3.1 สงเสริมการเพิ่มผลผลิตขาวในพื้นที่ดินเค็มนอยและปานกลาง 3.2 ปลูกไมยืนตนเพื่อปองกันการแพรกระจายดินเค็ม 3.3 สงเสริมการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มแบบบูรณาการในพื้นที่ลุมน้ํายอย ดําเนินการโดย - ฟนฟูพื้นที่ดินเค็มจัดดวยการปลูกไมยืนตนทนเค็มและหญาชอบเกลือ - จัดระบบอนุรักษดินและน้ําและปลูกไมยืนตนเศรษฐกิจบนคันนา - การควบคุมระดับน้ําใตดินเค็ม ทั้งบนผิวดินและใตผิวดิน - การปองกันการเพิ่มเติมระดับน้ําใตดินเค็มบนพื้นที่เนินรับน้ํา ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

459.031 ลานบาท 83


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

32.

ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดการที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง) (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมฟนฟูและปองกันการชะลางพังทลายของดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําปองกันการชะลางพังทลายของดินรวมทั้ง การรั ก ษาน้ํ า ในดิ น และบนผิ ว ดิ น ให ค งอยู เ พื่ อ รั ก ษาดุ ล ย ธ รรมชาติ ใ ห เหมาะสมในการใชประโยชนดินและที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่ยั่งยืน

กิจกรรม

จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําทั้งวิธีพืชโดยการปลูกหญาแฝก และวิธีกล เชน คันคูรับน้ํารอบเขา ปรับรูปแปลงนาลักษณะตางๆ บอดักตะกอนดิน การทํ า คั น ดิ น รู ป แบบต า ง เป น ต น ดํ า เนิ น การตามความเหมาะสมของ สภาพพื้นที่ลุม ที่ดอน และที่สูง รวมทั้งการปองกันและบรรเทาอุทกภัยใน พื้นที่เสี่ยงตอดินถลม พื้นที่วิกฤตตอการสูญเสียหนาดิน และพื้นที่ทิ้งราง

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

10,156.530 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดการที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง) (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

84


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

33. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมสงเสริมการใชสารอินทรีย ลดการใชสารเคมีทาง การเกษตร/เกษตรอินทรีย

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อสงเสริมการผลิตและใชปุยอินทรียเพื่อลดการใชปุยเคมี โดยจัดตั้งกลุม เกษตรกรผลิตและใชปุยอินทรีย สงเสริมกลุมเกษตรกรใหเขมแข็งและ พึ่งตนเองตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงใหสามารถใชที่ดินเพื่อการเกษตรได อยางยั่งยืน

กิจกรรม

การจัดกลุมและตอยอดเกษตรกรเครือขายผูใชสารอินทรียในการเกษตร หมูบานละ 1 กลุม สนับสนุนสงเสริมใหมีการใชสารอินทรียลดการใช สารเคมี หรือทําเกษตรอินทรียตามความตองการของกลุม อบรมวิทยากร เกษตรกรแกนหลัก / แกนรอง / ผูบริหารโรงงานผลิตปุยอินทรีย สงเสริม การผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง จัดตั้งเกษตรอินทรียในโรงเรียนและยุวหมอ ดิ น รณรงค ง ดเผาตอซั ง พื ช ทุ ก จั ง หวั ด ตลอดจนการพั ฒ นาและรั บ รอง มาตรฐานปจจัยการผลิตและสนับสนุนโครงการวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ / เกษตรอินทรีย

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

5,053.838 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดการที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง) (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

85


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

34. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอนุรักษดินและน้ํา

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน เพื่ออนุรักษดินและน้ํา รักษาความชุมชื้นในดิน และกักเก็บน้ําไวใชประโยชน ดานเกษตรกรรม กิจกรรม กอสรางแหลงน้ําขนาดเล็กไดแก อางเก็บน้ํา ฝายน้ําลน สระเก็บน้ํา ขุดลอก แหลงน้ํา เปนตน และปรับปรุงพื้นที่และจัดทําระบบสงน้ําในไรนาไดแก ระบบทอสงน้ํา และคลองสงน้ํา เปนตน ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ 7,576.549 ลานบาท ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน

หนวยงานสนับสนุน วัตถุประสงค

ยุทธศาสตรที่ 1

ดานการรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษและการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน(การใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน) (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการที่ 1.1.4)

ยุทธศาสตรที่ 3

ดานการจัดการที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (การกระจายสิทธิการถือครอง) (พันธกิจที่ 3.3 มาตรการที่ 3.3.1)

35. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมสนับสนุนงานตาม พ.ร.บ. พัฒนาที่ดิน ป พ.ศ. 2551 (สํารวจและกําหนดเขตทีด่ ิน)

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการดําเนินการปองกันรักษาสภาพพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอการ เกิดแผนดินถลมและเกิดการชะลางพังทลายของดิน และเพื่อใหการใชที่ดิน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด กิจกรรม การสํารวจ จําแนก วางแผนและกําหนดเขตการใชที่ดินใหเหมาะสมกับสภาพ การใชที่ดินในแตละพื้นที่ และสงผลใหเกิดการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ 70.000 ลานบาท ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.1 มาตรการที่ 4.1.1)

86


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

36. ชื่อกิจกรรม

โครงการปรับปรุงและจัดทําแผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1 : 4,000

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และจั ด ทํ า แผนที่ ภ าพถ า ยออร โ ธสี เ ชิ ง เลขมาตราส ว น 1 : 4,000 ใหเปนปจจุบันและทันสมัย

กิจกรรม

การจัดทําแผนที่ภาพถายออรโธสีมาตราสวน 1:4,000 ทั้งประเทศ โดยใช ขอมูลดาวเทียม THEOS

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2554-2557 545.2142 ลานบาท

งบประมาณ

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4. 2 มาตรการที่ 4. 2.1)

37. ชื่อกิจกรรม

โครงการจัดทําฐานขอมูลและบริการแผนที่ออรโธสี มาตราสวน 1 : 4,000

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1) เพื่อการใหบริการแผนที่ภาพถายออรโธสีมาตราสวน 1:4,000 (2) เพื่อใชประโยชนแผนที่ภาพถายออรโธสีมาตราสวน 1:4,000 ในการจัดทําฐานขอมูล แผนที่และประยุกตใชขอมูลในดานตางๆ เชน การจัดทําแผนที่การจําแนกประเภทที่ดิน ในพื้นที่ปาไมถาวร พิสูจนสิทธิครอบครองและการทําประโยชนที่ดิน การตรวจสอบและ กันเขตที่เขา ภูเขา และพื้นที่ความลาดชัน การสํารวจพื้นที่ปาชุมชน และการจําแนก ประเภทที่ดิน เปนตน กิจกรรม (1) การใหบริการแผนที่ภาพถายออรโธสีมาตราสวน 1:4,000 1.1 โครงการการใหบริการแผนที่และขอมูลทางแผนที่ของกรมพัฒนาที่ดิน

87


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

1.2 บริการแผนที่ลายเสนและการแปลงพื้นที่โครงการตางๆ ใหอยูในรูป GIS ซอนทับ บนแผนที่ภาพถายออรโธสี 1:4,000 ในรูปแบบของกระดาษ (2) การจัดทําฐานขอมูลและประยุกตใชแผนที่ออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 2.1 การจัดทําแผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลขมาตราสวน 1:4,000 ในพื้นที่ที่ไมมีรูป ถายทางอากาศของกระทรวง 2.2 การจัดทําแผนที่ปาไมถาวรบนแผนที่ภาพถายออรโธสี 2.3 วิเคราะหอานแปล ตีความภาพถายทางอากาศเพื่อพิสูจนสิทธิครอบครองและการ ทําประโยชนที่ดิน 2.4 การตรวจสอบและกันเขตที่เขา ภูเขา และพื้นที่ความลาดชัน 2.5 การสํารวจพื้นที่ปาชุมชน 2.6 การจําแนกประเภทที่ดิน 2.7 การจัดทําสํามะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 420.600 ลานบาท

งบประมาณ

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4. 2 มาตรการที่ 4. 2.1)

38. ชื่อกิจกรรม

โครงการปรับปรุงฐานขอมูลดินเพื่อการจัดการดินระดับไรนา

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1)

ปรับปรุงฐานขอมูลดินเพื่อการจัดการดินระดับไรนา

(2)

ปรับปรุงฐานขอมูลดินเพื่อสนับสนุนโปรแกรมปุยรายแปลง โปรแกรมดินไทยและธาตุ อาหารพืช

(3)

จัดทําคูมือการจัดการดินระดับไรนา

88


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

กิจกรรม (1)

การศึกษาและวิเคราะหขอมูลเบื้องตน

(2)

การปฏิบัติงานในภาคสนาม

(3)

การเก็บตัวอยางดิน

(4)

การวิเคราะหในหองปฏิบัติการทั้งทางกายภาพและทางเคมี

(5)

การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2555-2557 438.108 ลานบาท

งบประมาณ

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.1)

39. ชื่อกิจกรรม

โครงการปรับปรุงฐานขอมูลทรัพยากรดินเบื้องตนลงบนภาพถายออรโธสี

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1)

ปรับปรุงฐานขอมูลกลุมชุดดินมาตราสวน 1:25,000 ใหถูกตองและแมนยํา

(2)

ตรวจสอบหนวยแผนที่ที่สรางขึ้นใหม และแยกแยะใหมีความละเอียดยิ่งขึ้น

(3)

จัดทําแผนที่กลุมชุดดินและคําอธิบาย

กิจกรรม (1) การศึกษาและวิเคราะหขอมูลเบื้องตน (2) การปรับฐานขอมูลทรัพยากรดิน (3) การปฏิบัติงานในภาคสนาม ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2554-2557 งบประมาณ

174.586 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.2) 89


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

40. ชื่อกิจกรรม

โครงการจัดทําและปรับปรุงฐานขอมูลแผนที่การใชทดี่ ินเชิงเลข (มาตราสวน 1: 25,000)

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อปรับปรุงแผนที่สภาพการใชที่ดินมาตราสวน 1:25,000 ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรรายละเอียดสูง

จากภาพถาย

กิจกรรม (1)

จัดเตรียมขอมูลภาพถายดาวเทียมสํารวจทรัพยากรรายละเอียดสูงและแผนที่สภาพการ ใชที่ดินที่จัดทําไวแลว เพื่อใชเปนขอมูลฐานสําหรับการวิเคราะห ปรับปรุงแผนที่สภาพ การใชที่ดินปจจุบัน

(2)

วิเคราะหเพื่อลงขอบเขตหนวยแผนที่การใชที่ดินปจจุบัน

(3)

สํารวจในภาคสนามเพื่อเก็บขอมูลรายละเอียด

(4)

จัดทําแผนที่สภาพการใชที่ดินในรูปแบบดิจิตอล

(5)

วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชที่ดิน

(6)

จัดทําฐานขอมูลพืชในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

243.217 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.2)

90


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

41. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมปรับปรุงระบบขอมูลสารสนเทศ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

ปรับปรุงและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศและภูมิสารสนเทศ เพื่อเปน เครื่องมือในการปฏิบัติงานทั้งดานการพัฒนาที่ดินและถายทอดเทคโนโลยี ที่มีความถูกตองและแมนยํา ใหทั่วถึงเกษตรกรไดอยางรวดเร็ว

กิจกรรม

ปรับปรุงและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศจํานวน 2 ระบบคือ การพัฒนา เทคโนโลยีระบบสารสนเทศดานทรัพยากรที่ดิน และการจัดทําฐานขอมูล และบริการแผนที่ออรโธสีฯ

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 1,510.475 ลานบาท

งบประมาณ

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.2)

42. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมวิจัยพัฒนาที่ดินและเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิต

หนวยงานรับผิดชอบ กรมพัฒนาที่ดิน หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค (1)

เพื่อพัฒนาการดําเนินงานวิจัยของกรมพัฒนาที่ดิน ใหสามารถแกไขปญหาทรัพยากร ดินไดอยางจริงจัง ตอบสนองตอยุทธศาสตรการวิจัยของชาตินโยบายรัฐบาล รวมทั้ง ทันตอสถานการณของโลก ภูมิภาค และประเทศ

(2)

เพื่อใหงานวิจัยดานพัฒนาที่ดิน สามารถถายทอดสูเกษตรกรในการแกไขปญหาดิน ลดระดับความยากจน และพึ่งพาตนเองในสภาพที่ผลผลิตปลอดภัยและคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้น

(1)

ทําการศึกษาคนควาวิจัยหาเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อจัดการดินมีปญหาตางๆ ใหมี ความเหมาะสมตอการเกษตรกรรม ประกอบดวย ดานสํารวจ วิเคราะห วาง แผนการใชที่ดิน การจัดทําแผนที่ โดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใช เพื่อ

กิจกรรม

91


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

ทราบความเหมาะสมของดิน สําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจในกลุมชุดดินทั่วประเทศ และกําหนดมาตรการการใชประโยชนที่ดินไดอยางเหมาะสม (2)

ดานเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อใหไดขอมูลวิชาการสนับสนุนการใชสารอินทรียทดแทน สารเคมี ทางการเกษตร รวมทั้ งการศึ กษาวิ จั ยพื ชปุ ยสดเพื่ อปรั บปรุ งบํ ารุ งดิ นให เหมาะสมกับระบบการปลูกพืช

(3)

ดานอนุรักษดินและน้ํา และการใชประโยชนหญาแฝก เพื่อควบคุมและปองกันความ เสื่อมโทรมของทรัพยากรดินและน้ํา การจัดการดินบนพื้นที่ สูง พื้นที่ดอนโดยใช มาตรการอนุรักษดินและน้ําทั้งวิธีกลและวิธีพืชที่เหมาะสมในแตละพื้นที่

(4)

ดานการปรับปรุงบํารุงดินฟนฟูทรัพยากรดิน ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินทราย ดินเสื่อม โทรม เพื่ อใช เป นแนวทางในการจั ด การดิ น ที่ เ หมาะสมในแต ละพื้ น ที่ โดยใช เทคโนโลยีที่ไดจากงานวิจัยใหเกิดประโยชนตอการเกษตร และเพิ่มผลผลิตพืช

(5)

ดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมทางดิน เพื่อแกไขการปนเปอน การจัดการและควบคุม การแพรกระจายของโลหะหนักในพื้นที่เกษตรกรรมที่เปนพืชตอพืชในชุดดินตาง ๆ และการประยุกตใชหญาแฝกบําบัดสารพิษ

(6)

ดานภาวะโลกรอนดานการเกษตร เพื่อใหไดขอมูลวิชาการทางดานการปลดปลอยการ กักเก็บกาซเรือนกระจก พื้นที่งายตอการไดรับผลกระทบ และการปรับตัวตอการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกษตร พัฒนาระบบฐานขอมูล องคความรูและระบบ เตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ทราบถึงพื้นที่และกิจกรรมการใชที่ดินที่งายตอ การได รับผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภู มิอากาศ ปรับระบบการปลูกพื ช ดําเนินการปองกันแกไขและบรรเทาผลกระทบไดทันทวงที

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2557 งบประมาณ

397.422 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ที่ดิน) (พันธกิจที่ 4.6 มาตรการที่ 4. 6.2)

92


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

43. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมจัดทําแนวเขตปาสงวนแหงชาติ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมปาไม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กิจกรรม

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2554 งบประมาณ

30 ลานบาทตอป

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.1) ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.2 มาตรการที่ 4.2.1)

44. ชื่อกิจกรรม

โครงการปรับปรุงแนวเขตที่ดินของรัฐ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมปาไม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กิจกรรม

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2554

93


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

งบประมาณ

258,169,100 บาทตอป

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.1) ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.2 มาตรการที่ 4.2.1)

45. ชื่อกิจกรรม

กิจกรรมเดินสํารวจออกโฉนดที่ดิน

หนวยงานรับผิดชอบ กรมปาไม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กิจกรรม

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2554 งบประมาณ

5 ลานบาทตอป

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.1)

94


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

46. ชื่อกิจกรรม

โครงการจัดทําฐานขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมปาไม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กิจกรรม

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2554 งบประมาณ

ป พ.ศ. 2553

10 ลานบาท

ป พ.ศ. 2554

200 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.3 มาตรการที่ 4.3.1)

47. ชื่อกิจกรรม

โครงการปรับปรุง พ.ร.บ. การเชาที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. 2524

หนวยงานรับผิดชอบ กรมการปกครอง (สํานักบริหารการปกครองทองที่) หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

กิจกรรม

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2553-2554 งบประมาณ

-

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใช ที่ ดิ นเพื่อให เกิ ดประโยชนสู งสุ ดและเป นธรรม (พั นธกิ จที่ 2.3 มาตรการ 2.3.1)

95


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

48. ชื่อกิจกรรม

การพัฒนาสิทธิของเกษตรกรที่ไดรับ ส.ป.ก. 4-01 (สิทธิเขาทํา ประโยชน) ใหเปนสิทธิการเชาซือ้

หนวยงานรับผิดชอบ สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อพัฒนาสิทธิของเกษตรกรที่ไดรับ ส.ป.ก. 4-01 (สิทธิเขาทําประโยชน) ให เปนสิทธิการเชาซื้อ

กิจกรรม

พิจารณาสิทธิในที่ดินในรูปของสิทธิการเขาทําประโยชน ส.ป.ก. 4-01 ไปสู การเชาซื้อเพื่อใหไดโฉนด แลวนําเงินมาปฏิรูปที่ดิน

ระยะเวลาดําเนินการ ป พ.ศ. 2554 งบประมาณ

80 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 3 ดานการจัดที่ดินใหประชาชนผูดอยโอกาส (พันธกิจที่ 3.1 มาตรการที่ 3.1.1)

49. ชื่อกิจกรรม

โครงการพัฒนาการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการ ปองกันและ แกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล

หนวยงานรับผิดชอบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง หนวยงานสนับสนุน

- กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น - องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม - สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด - องคกรภาคประชาชนในทองถิ่น - องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs)

วัตถุประสงค

เพื่ อเสริ มสร างการมี ส วนร วมของชุ มชนและภาคี ที่ เกี่ ยวข องในการจั ดการ ปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล

96


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

กิจกรรม (1) ประกาศพื้นที่อนุรักษและพื้นที่ฟนฟูปาชายเลน (2) จัดประชุมชี้แจงและประชาสัมพันธขอมูล (3) กําหนดพื้นที่เปาหมายการดําเนินงานในแตละป (4) ประสานเครือขายเพื่อการทํากิจกรรมในพื้นที่รวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินการ 5 ป (พ.ศ. 2555-2559) งบประมาณ

10 ลานบาท (2 ลานบาทตอป)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.2 มาตรการ 1.2.1) 50. ชื่อโครงการ

โครงการจัดทําฐานขอมูลเพื่อติดตามประเมินผลการแกไขปญหา พื้นที่ชายฝงทะเล

หนวยงานรับผิดชอบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง หนวยงานสนับสนุน

- องคกรปกครองสวนทองถิ่น - กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น - ชุมชนทองถิ่นในพื้นที่ชายฝงทะเล

วัตถุประสงค

เพื่อจัดทําฐานขอมูลเพื่อใชในการติดตาม ประเมินผลการแกไขปญหาพื้นที่ ชายฝงทะเล

กิจกรรม

(1) อานแปลขอมูลดาวเทียมและออกตรวจสอบในภาคสนาม (2) จัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ (3) ใชเทคนิคการประเมินผลกระทบตอการพัฒนาพื้นที่ (4) จัดเก็บและปรับปรุงขอมูลในระบบที่มีการบริหารจัดการที่ทันสมัย

ระยะเวลาดําเนินการ 5 ป (พ.ศ.2555-2559) งบประมาณ

25 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 4

ดานการบริหารจัดการที่ดิน (พันธกิจที่ 4.2 มาตรการที่ 4.2.1)

97


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

51. ชื่อโครงการ

โครงการวางแผนการใขประโยชนพื้นที่ชายฝงอยางบูรณาการ

หนวยงานรับผิดชอบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาฟนฟูทรัพยากรและที่ดินชายฝงทะเลใหชัดเจน สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานการจัดการที่ดินชายฝงทะเลเนนการอนุรักษ ทรัพยากรชายฝงทะเลใหเกิดสมดุลและใชประโยชนอยางยั่งยืน

กิจกรรม (1) จัดทําแผนประสานการปฏิบัติการการใชประโยขนพื้นที่ชายฝงทะเล (2) ผลักดันใหจังหวัดนํากลยุทธและมาตรการการใชประโยชนพื้นที่ชายฝงทะเลไปบรรจุไวใน ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด (3) เปดโอกาสใหภาคประชาชนและภาคเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาและการใชประโยชน และแกไขปญหาพื้นที่ชายฝงทะเลในทองถิ่นของตนเอง ระยะเวลาดําเนินการ 5 ป (พ.ศ. 2555-2559) งบประมาณ

30 ลานบาท (6 ลานบาทตอป)

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 1 ดานการรักษาสมดุลทางธรรมชาติ การอนุรักษ และการใชประโยชนที่ดิน อยางยั่งยืน (พันธกิจที่ 1.1 มาตรการ 1.1.2)

98


เอกสารประกอบการประชุมเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอ (ราง) แผนปฏิบตั ิการบริหารจัดการที่ดินเชิงบูรณาการ พ.ศ. 2553/54-2559

52. ชื่อโครงการ

โครงการรวบรวมและปรับปรุง กฎระเบียบ/ กฎหมายที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงทะเล

หนวยงานรับผิดชอบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง หนวยงานสนับสนุน

-

วัตถุประสงค

เพื่อปรับปรุงกฎ ระเบียบ และเสนอมาตรการ โดยเฉพาะมาตรการเรงดวนใน การหยุด/ลดปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล

กิจกรรม (1) เรงรัดการออกพระราชบัญญัติสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (2) จัดทําผังเมืองรวม (3) สรางกลไกการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด ระยะเวลาดําเนินการ 2 ป (พ.ศ.2554-2555) งบประมาณ

5 ลานบาท

ความสอดคลองกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดิน ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม (พันธกิจที่ 2.2)

99


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.