การเขียนแบบชิ้นส่วนมาตราฐาน

Page 1

9

การเขียนแบบชิ้นส่ วนมาตรฐาน (Standard Part Drawing) ชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล ที่ประกอบเข้าด้วยกันเป็ นเครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์ต่าง ๆ อันได้แก่ เพลา, ลิ่มส่ งกาลัง , ตลับลูกปื น , ซีล , สายพานและล้อ สายพาน, สลัก เกลียว , นัต , สไปล์น , เฟื อง, สปริ ง ชิ้นส่ วนการป้ องกันคลายตัว เช่น แหวนสปริ ง , แหวนล็อก และอื่น ๆ ชิ้นส่ วนที่กล่าวมานี้ได้ มีการกาหนดเป็ นชิ้นส่ วนมาตรฐานให้มีรูปร่ าง พิกดั ขนาด วัสดุ ผิวความหยาบ สภาพที่ผา่ น กรรมวิธีต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกต่อการผลิต การประกอบ การถอดเปลี่ยนให้สามารถทางานได้ รวดเร็ วยิง่ ขึ้น ดังนั้นการเขียนแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลให้ถูกต้องจึงเป็ นสิ่ งสาคัญในการสื่ อ ความหมายแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ตั้งแต่การผลิตชิ้นส่ วนจนถึงการถอดเปลี่ยนเพื่อซ่อมบารุ ง อีกทั้ง สามารถเลือกใช้ชิ้นส่ วนมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง สาหรับการเขียนแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล ที่จะกล่าวในหน่วยนี้จะกล่าวถึงเฉพาะชิ้นส่ วน มาตรฐานที่สาคัญ ๆ คือ สลักเกลียวและนัต (Screw and Nut) ตลับลูกปื น (Bearing) สลัก (Dowel Pin) แหวนรองและแหวนล็อก (Washer and Retaining Rings) 1.1 สลักเกลียวและนัต (Screw and Nut) ในการประกอบชิ้นงาน สลักเกลียวและนัตจะเป็ นชิ้นส่ วนมาตรฐานที่มีหน้าที่ทาให้ชิ้นงาน นั้นยึด ติดกัน โดยอาศัยการขันอัดให้ชิ้นงานติดกัน และสามารถคลายออกได้โดยไม่เกิดความเสี ย หาย นอกจากนี้สลักเกลียวยังมีบทบาทหน้าที่อย่างอื่นอีก เช่น การส่ งกาลังการเคลื่อนที่ ป้ องกันการ รั่วซึ ม ใช้ในการผ่อนแรง โดยสลักเกลียวและนัตจะประกอบไปด้วยเกลียวนอกและเกลียวใน เกลียวนอก (External Thread) คือ เกลียวที่เกิดขึ้นด้านนอกของผิวงานที่มีลกั ษณะเป็ นแท่ง หรื อเพลา ซึ่งมีรูปร่ างลักษณะของเกลียวนอก ดังรู ปที่ 1.1 เกลียวใน (Internal Thread) คือ เกลียวที่เกิดขึ้นที่ผวิ ด้านในของรู ซึ่ งมีรูปร่ างลักษณะของ เกลียวใน ดังรู ปที่ 1.1 เกลียวนอก (External Thread) เกลียวใน (Internal Thread)

รู ปที่ 1.1 รู ปร่ างลักษณะของเกลียว


10 1.1.1 ชนิดของสลักเกลียว สลักเกลียว (Screw) เป็ นเกลียวนอกจะมีลกั ษณะเป็ นแท่งหรื อเพลา โดยปลายด้านหนึ่งจะ เป็ นเกลียว และปลายอีกด้านหนึ่งโดยปกติจะเป็ นหัว ซึ่ งจะมีบางชนิดที่ไม่มีหวั หรื ออาจจะเป็ น เกลียวทั้งสองด้าน สลักเกลียวมีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิด ซึ่ งได้แสดงชนิดของสลักเกลียวไว้ ดังรู ปที่ 1.2 สลักเกลียวหัวสี่ เหลี่ยม (Square head bolt)

สลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม (Hex head bolt)

สลักเกลียวฝัง (Slotted screw and Socket screw) Socket screw

Slotted screw

สลักเกลียว 2 ปลาย (Stud Bolt)

สกรู (Screw)

รู ปที่ 1.2 ชนิดของสลักเกลียว


11 1.1.2 ชนิดของนัต เป็ นเกลียวใน (Nut) จะมีลกั ษณะคล้ายแหวน โดยผิวของรู จะเป็ นเกลียว ใช้สวมแล้วขันเข้า กับสลักเกลียว ซึ่ งจะต้องมีขนาดและมาตรฐานที่เหมือนกันจึงจะสามารถขันเข้ากันได้ ซึ่ งนัตจะมีอยู่ ด้วยกันหลายชนิด ดังรู ปที่ 1.3

นัตหกเหลี่ยม (Hex Nut)

นัตหกเหลี่ยมพร้อมแหวน (Hex Flange Nut)

นัตหัวหมวก (Cap Nut)

นัตผ่าร่ องปิ้ น (Castle Hex Nut)

นัตสี่ เหลี่ยม (Square Nut)

นัตหางปลา (Wing Nut)

รู ปที่ 1.3 ชนิดของนัต


12 1.1.3 ส่ วนประกอบของเกลียว เกลียวจะมีอยูห่ ลายชนิด เช่น เกลียวยอดแหลม เกลียวสี่ เหลี่ยม เกลียวสี่ เ หลี่ยมคางหมู เกลียวกลม เป็ นต้น ในหน่วยนี้จะกล่าวถึงเฉพาะเกลียวยอดแหลมหรื อเกลียวสามเหลี่ยม ซึ่ งเป็ นเกลียวที่ใช้งาน ทัว่ ๆ ไปจะมีอยู่ 2 ระบบ คือ เกลียวระบบเมตริ ก เรี ยกว่า เกลียวเมตริ ก และเก ลียวระบบอังกฤษ เรี ยกว่า เกลียววิธเวิร์ธ จะมีส่วนที่ต่างกันคือมุมองศาของยอดแหลมของเกลียว เรี ยกว่ามุมเกลียว ถ้า เป็ นเกลียวเมตริ ก จะมีมุมเกลียว 60 ◦ แต่ถา้ เป็ นเกลียววิธเวร์ ธ จะมีมุมเกลียวอยูท่ ี่ 55◦เกลียวโดยทัว่ ไปจะประกอบด้วยเกลียวนอกและเกลียวใน ซึ่งเกลียวที่จ ะประกอบกันได้น้ นั ต้องเหมือนกันและ เท่ากันทั้งเกลียวนอกและเกลียวใน ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของเกลียวนอกและเกลียวใน จึงเหมือนกัน ดังนั้นการกาหนดส่ วนประกอบต่าง ๆ ของเกลียวนอกและเกลียวใน ก็จะไม่ต่างกันเพียง แต่จะใช้สัญลักษณ์อกั ษรไม่เหมือนกันเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้มี ข้อแตกต่างกันเป็ นจุดสังเกตเท่านั้นเอง คือ เกลียวนอกจะใช้อกั ษรสัญลักษณ์เป็ นตัวพิมพ์ใหญ่ ซึ่ งแสดงส่ วนประกอบต่างๆ ของเกลียวนอก ไว้ ดังรู ปที่ 1.4 แต่ถา้ เป็ นเกลียวในจะใช้อกั ษรสัญลักษณ์เป็ นตัวพิมพ์เล็ก ซึ่ งแสดงส่ วนประกอบ ต่าง ๆ ของเกลียวใน ดังรู ปที่ 1.5 ส่ วนประกอบของเกลียวนอก D : เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลียว (Major Diameter) D1 : เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลียว (Minor Diameter) D2 : เส้นผ่าศูนย์กลางพิตช์ (Pitch Diameter) 0 : มุมเกลียว (Angle of Thread) H : ความสู งของเกลียว P : ระยะพิตช์ (Pitch) คือ ระยะจากยอดเกลียวหนึ่งถึงยอดเกลียวหนึ่ง ซึ่ งเป็ นตัวกาหนดความหยาบหรื อความละเอียดของเกลียว

รู ปที่ 1.4 ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของเกลียวนอก


13

รู ปที่ 1.5 ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของเกลียวใน

ส่ วนประกอบของเกลียวใน d : เส้นผ่าศูนย์กลางของยอดเกลียว (Major Diameter) d1 : เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลียว (Minor Diameter) d2 : เส้นผ่าศูนย์กลางพิตช์ (Pitch Diameter) h : ความสู งของเกลียว 0 : มุมเกลียว (Angle of Thread) p : ระยะพิตช์ (Pitch) คือระยะจากยอดเกลียวหนึ่ง ถึงยอดเกลียวหนึ่ง

1.1.4 หลักการอ่านแบบเกลียว เนื่องจากเกลียวเป็ นชิ้นส่ วนมาตรฐาน ดังนั้นในการอ่านและเขียนแบบเกลียวนั้น จาเป็ น จะต้องกาหนดขนาดของเกลียวโดยอ้างอิงจากมาตรฐาน ซึ่ งขนาดเกลียว (Screw Dimension) สามารถกาหนดขนาดต่าง ๆ ของเกลียวได้ตามตารางมาตรฐานการกาหนดขนาดเกลียว ดังตารางที่ 1.1 หรื อตามสู ตรมาตรฐานข้างล่างนี้ การกาหนดขนาดเกลียวเมตริก - ISO ใช้ งานทัว่ ไปโดยใช้ สูตรดังนี้ เส้นผ่านศูนย์กลางระบุของเกลียว D =d ระยะพิตช์ P ความลึกฟันเกลียวของเกลียวนอก h3 = 0.6134 ∙ P ความลึกฟันเกลียวของเกลียวใน H1 = 0.5413 ∙ P ความโค้ง โคนฟัน R = 0.1443 ∙ P Ø - พิตช์ d2 = D2 = d – 0.6495 ∙ P Ø - แกนเกลียวนอก d3 = d – 1.2269 ∙ P Ø - แกนเกลียวใน D1 = d – 1.0825 ∙ P Ø - สว่านเจาะรู แกนเกลียว = D–P มุมแหลมของเกลียว 60º พื้นที่หน้าตัดรับแรง

𝜋

𝑑 2 +𝑑 3

4

2

𝑆= ∙

2


14

ตารางมาตรฐานการกาหนดขนาดเกลียว ตาม DIN 13-19 (1999-11) Ø แกนเกลียว

ความลึกของ เกลียว

ความ Ø ความ ขนาด พิตช์ Ø พิตช์ โค้ง รู เจาะ กว้างปาก เกลียว P d2= D2 เกลียว เกลียว เกลียว เกลียว โคน แกน ประแจ D=d ฟัน เกลียว (s) นอก ใน นอก ใน R d3 D1 h3 H1 M5 M6 M8 M10 M12 M16 M20

0.8 1 1.25 1.5 1.75 2 1.5

4.48 4.02 5.35 4.77 7.19 6.47 9.03 8.16 10.86 9.85 14.70 13.55 18.38 16.93

4.13 4.92 6.65 8.38 10.11 13.84 17.29

0.49 0.61 0.77 0.92 1.07 1.23 1.53

0.43 0.54 0.68 0.81 0.95 1.08 1.35

0.12 0.14 0.18 0.22 0.25 0.29 0.36

4.2 5.0 6.8 8.5 10.2 14.0 17.5

8 10 13 17 19 24 30

ความ หนาหัว สลัก เกลียว (k)

ความ หนา ของ นัต (m)

3.5 4 4.5 5 7 10 13

4 5 6.5 8 9.5 13 16

ตารางที่ 1.1 ตารางมาตรฐานการกาหนดขนาดเกลียว (รศ.บรรเลง ศรนิล และ รศ.สมนึก วัฒนศรี ยกุล. 2555 : 190) เมื่อได้ขนาดต่าง ๆ ของส่ วนประกอบของเกลียวจากสู ตร หรื อตารางมาตรฐานแล้ว จึงจะ นาขนาดดังกล่าวไปใช้ประกอบในการเขียนแบบ เกลียว ซึ่งการเขียนแบบเกลียวนั้น นิยมเขียนแบบ โดยการใช้สัญลักษณ์ ของเส้น แทนการเขียนเกลียวที่คล้ายของจริ ง ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและ ประหยัดเวลาในการเขียนแบบการเขียนแบบเกลียวจะเขียนออกมาเป็ นภาพฉาย ส่ วนใหญ่จะแสดง แค่ 2 ภาพ คื อ ภาพด้านหน้าแ ละภาพด้านข้าง หรื อ ภาพด้านหน้าและภาพด้านบน ซึ่งได้ แสดงการ


15 เขียนแบบสัญลักษณ์เกลียว นอกไว้ ดังรู ปที่ 1.6 และแสดงการเขียนแบบสัญลักษณ์เกลียว ในไว้ ดัง รู ปที่ 1.7

การแสดงภาพฉาย ภาพด้านหน้าและ ภาพด้านบน ของเกลียวนอก

การแสดงภาพฉาย ภาพด้านหน้าและ ภาพด้านข้าง ของเกลียวนอก

รู ปที่ 1.6 แสดงการเขียนแบบสัญลักษณ์เกลียวนอก

รู ปที่ 1.7 แสดงการเขียนแบบสัญลักษณ์เกลียวใน


16 1.4.5 หลักเกณฑ์ การเขียนแบบเกลียว ซึ่งมีหลักเกณฑ์การเขียนแบบเกลียวนอกและเกลียวใน พร้อมรายละเอียดดังนี้ 1) เส้นยอดเกลียวของเกลียวนอกและเกลียวในให้เขียนด้วยเส้นเต็มหนา (0.50 มม.) ส่ วนเส้นโคนเกลียวเขียนด้วยเส้นเต็มบาง (0.25 มม.) ดังรู ปที่ 1.8 2) เส้นสุ ดเกลียวนอกและเกลียวในให้เขียนเส้นเต็มหนา (0.50 มม.) ดังรู ปที่ 1.8 เส้นยอดเกลียว

เส้นสุดเกลียว

เส้นสุดเกลียว

เส้นโคนเกลียว

120º เส้นโคนเกลียว ความลึกของฟันเกลียว

เส้นยอดเกลียว

รู ปที่ 1.8 การเขียนแบบเกลียวนอกและเกลียวใน 3) ระยะห่างระหว่างเส้นยอดเกลียวและเส้นโค นเกลียวคือความลึกของฟันเกลียว (h) ค่าความลึกของฟันเกลียวสาหรับเขียนแบบประมาณ 8/10 ของระยะพิตช์ หรื อ 0.8P ดังรู ปที่ 1.8 4) ในกรณี ที่เป็ นเกลียวในแบบไม่ทะลุชิ้นงาน อนุโลมให้เขียนมุมปลายดอกสว่าน ของรู เจาะเท่ากับ 120° (มุมปลายดอกสว่าน 118º ) ดังรู ปที่ 1.8 5) เกลียวนอกและเกลียวในที่มองไม่เห็นหรื อเกลียวที่ถูกบังให้เขียนตามข้อ กาหนดดังนี้ 5.1) เกลียวนอก : เกลียวนอกที่ถูกบังโดยเฉพาะเส้นโคนเกลียวให้เขียน เส้นยอดเกลียวด้วยเส้นเต็มหนา และเขียนโคนเกลียวด้วยเส้นประ กรณี ที่ถูกบังทั้งหมดให้เขียนเส้น ยอดเกลียวและเส้นโคนเกลียวด้วยเส้นประให้เลย 3/4 ของวงกลมเล็ก ดังรู ปที่ 1.9

เกลียวนอกที่ถูกบังทั้งหมด

เกลียวนอกที่ถูกบังเฉพาะเส้นโคนเกลียว

รู ปที่ 1.9 การเขียนแบบเกลียวนอกที่ถูกบัง


17 5.2) เกลียวใน : เกลียวในที่ถูกบัง ให้เขียนเส้นยอดเกลียว เส้นโคนเกลียว และเส้นอื่น ๆ ด้วยเส้นประโดยให้เขียนเส้นโคนเกลียวให้เลย 3/4 ของวงกลมเล็ก ดังรู ปที่ 1.10

เกลียวในแบบไม่ทะลุ

เกลียวในแบบทะลุ

รู ปที่ 1.10 การเขียนแบบเกลียวในที่ถูกบัง 6) ความยาวเกลียวนอกจะวัดตั้งแต่ปลายเกลียวจนถึงเความยาวเกลียวนอกจะวัด ตั้งแต่ปลายเกลียวจนถึงเส้นสุ ดเกลียว ส่ วนเกลียวในที่เป็ นเกลียวไม่ทะลุ จะต้องกาหนดความลึก ของรู เจาะ (l1) และความลึกเกลียว (l) ดังรู ปที่ 1.11

เกลียวนอก

เกลียวใน

รู ปที่ 1.11 การกาหนดความยาวเกลียวและความลึกเกลียว 7) การเขียนแบบเกลียวเป็ นภาพตัด ให้เขียนเส้นลายตัดให้บรรจบถึงเส้นยอด เกลียว สาหรับเกลียวนอกที่ถูกตัดถึงบริ เวณเส้นสุ ดเกลียว ให้แสดงเส้นสุ ดเกลียวด้วยเส้นประ ดัง รู ป ที่ 1.12

รู ปที่ 1.12 การเขียนแบบภาพตัดเกลียว


18 8) การเขียนภาพตัดเกลียวประกอบกัน ให้เขียนเส้นยอดเกลียวของเกลียวนอกทับ เส้นโคนเกลียวของเกลียวใน และเส้นโคนเกลียวของเกลียวนอกต้องอยูใ่ นแนวเดียวกันกับเส้นยอด เกลียวของเกลียวใน ดังรู ปที่ 1.13

รู ปที่ 1.13 การเขียนภาพตัดเกลียวประกอบกัน 9) การเขียนแบบหัวสลักเกลียวและการจับยึด 9.1) การจับยึดชิ้ นงานด้วยสลักเกลียวและนัต เราสามารถจับยึดได้หลาย ลักษณะรวมทั้งการใช้สลักเกลียวในการล็อกตาแหน่ง ดังรู ปที่ 1.14

สลักเกลียว และนัต

สลักเกลียวฝัง และนัต

สลักเกลียวหัว หกเหลี่ยม

สลักเกลียว หัวฝัง

สลักเกลียวล็อก

รู ปที่ 1.14 การเขียนภาพการจับยึดด้วยหัวสลักเกลียวและนัตแบบต่าง ๆ


19 9.2) การเขียนสลักเกลียวหัวผ่า ร่ องบนหัวผ่าสลักเกลียวให้เขียนทามุม 45° ดังรู ป ที่ 1.15

รู ปที่ 1.15 การเขียนแบบสลักเกลียวหัวผ่า 9.3) การเขียนแบบสลักเกลียวหัวสี่ เหลี่ยม มีข้ นั ตอนการเขียนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างเส้นศูนย์กลางและสร้างวงกลมขนาดแส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความกว้างของประแจ ดังรู ปที่ 1.16 (ก) ค่าความกว้างของประแจให้ดู ตารางมาตรฐานเกลียว ดัง ตารางที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 2 สร้างรู ปทรงหัวสลักเหลี่ยมสี่ เหลี่ยม โดยใช้บรรทัดสาม เหลี่ยม 45ºพร้อมลากเส้นร่ างจากมุมสี่ เหลี่ยมไปยังภาพด้านหน้า ดังรู ปที่ 1.16 (ข) ขั้นตอนที่ 3 สร้างส่ วนโค้งแสดงส่ วนที่โดนปาดลบมุม หัวสลักเกลี่ยวจะ แบ่งออกเป็ นสองส่ วน จากนั้นให้แบ่งครึ่ งทั้งสองด้าน วัดขนาดรัศมีเท่ากับ 1/2e จากจุด แบ่งครึ่ งทั้ง สองด้านลงมาด้านล่าง ใช้วงเวียนสร้างส่ วนโค้ง ดังรู ปที่ 1.16 (ค) ขั้นตอนที่ 4 สร้างเส้นการแสดงปาดมุมออกโดยใช้บรรทัดสามเหลี่ยม 30º ลากเส้นจากจุดเริ่ มต้นส่ วนโค้งทั้งสองด้าน ดังรู ปที่ 1.16 (ง)

รู ปที่ 1.16 ขั้นตอนการเขียนสลักเกลียวหัวสี่ เหลี่ยม


20 9.4) การเขียนแบบสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม มีข้ นั ตอนการเขียนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างเส้นศูนย์กลางและสร้างวงกลมขนาดแส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความกว้างของประแจ ดังรู ปที่ 1.17 (ก) ค่าความกว้างของประแจให้ดู ตารางมาตรฐานเกลียว ดัง ตารางที่ 1.1 ขั้นตอนที่ 2 สร้างรู ปทรงหัวสลักเหลี่ยมหกเหลี่ยม โดยใช้บรรทัดสาม เหลี่ยม 60º พร้อมลากเส้นร่ างจากมุมสี่ เหลี่ยมไปยังภาพด้านหน้า ดังรู ปที่ 1.17 (ข) ขั้นตอนที่ 3 สร้างส่ วนโค้งแสดงส่ วนที่โดนปาดลบมุม หัวสลักเกลี่ยวจะ แบ่งออกเป็ นสองส่ วน จากนั้นให้แบ่งครึ่ งทั้งสองด้าน วัดขนาดรัศมีเท่ากับ 1/2e วัดขนาดรัศมี เท่ากับ 3/4e จากจุดกึ่งกลางลงมาด้านล่าง ใช้วงเวียนสร้างส่ วนโค้ง ดังรู ปที่ 1.17 (ค) ขั้นตอนที่ 4 สร้างเส้นการแสดงปาดมุมออโดยใช้บรรทัดสามเหลี่ยม 30º ลากเส้นจากจุดเริ่ มต้นส่ วนโค้งทั้งสองด้าน ดังรู ปที่ 1.17 (ง)

รู ปที่ 1.17 ขั้นตอนการเขียนสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม 9.5) การเขียนแบบผายปากรู สาหรับหัวสลักเกลียว การผายปากรู สาหรับ รู ฝังสาหรับ สลักเกลียวฝัง จะต้องเขียนตามข้อกาหนด ของอนุกรมมาตรฐาน DIN 74-1, DIN 974-1 และ DIN 974-2 ดังรู ปที่ 1.18

รู ปที่ 1.18 มาตรฐานการผายปากรู สาหรับหัวสลักเกลียว


21 9.6) การเขียนแบบปลายสลักเกลียว (Screw End) ปลายขอองสลักเกลียว จะต้องเขียนตามข้อกาหนดของอนุกรมมาตรฐาน DIN 78 ดังรู ปที่ 1.19

รู ปที่ 1.19 มาตรฐานของปลายสลักเกลียว 9.7) การกาหนดขนาดเกลียว (Threads Dimension) การกาหนดขนาด เกลียวจะต้องกาหนดสัญลักษณ์ของเกลียว คูณด้วยระยะพิตช์ของเกลียว เช่น M12 x 1.75 หมายความว่า M = เกลียวเมตริ กขนาด 12 มม. ระยะพิตช์ 1.75 มม. และ Tr 20 x 4 หมายความว่า Tr = เกลียวสี่ เหลี่ยมคางหมู ระยะพิตช์ 4 มม. เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั มีการกาหนดสัญลักษณ์อื่น ๆ เช่น จานวนปากเกลียว ทิศทางของเกลียว ค่าพิกดั ความเผือ่ ของเกลียว เป็ นต้น ดังรู ปที่ 1.20

รู ปที่ 1.20 การกาหนดขนาดเกลียวรู ปแบบต่าง ๆ 1.4.6 การเขียนแบบสลักเกลียวและนัต การเขียนแบบสลักเกลียวและนัตให้เหมือนกับของจริ งนั้น ทาให้เสี ยเวลาและยุง่ ยากมาก ในทางปฏิบตั ิจึงไม่ใช้ เพื่อความสะดวกและรวดเร็ วจึงนิยมเขียนเป็ นสัญลักษณ์แทนรู ปร่ างแท้จริ ง ของเกลียว การใช้สัญลักษณ์มีวธิ ีการเขียนดังต่อไปนี้


22 1) การเขียนแบบสลักเกลียวหัวหกเหลีย่ ม สลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม เป็ นแท่งสลักเกลียว (เกลียวนอก) ที่มีหวั ลักษณะเป็ นหก เหลี่ยม ซึ่ งส่ วนหัวนี้จะเป็ นส่ วนที่ใช้เครื่ องมือจับเพื่อขันอัดเกลียวให้แน่นในการยึดชิ้นงาน ซึ่ งมี หลักการเขียนแบบสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมดังนี้ 1.1) ส่ วนที่เป็ นสลักเกลียว ซึ่ งจะเป็ นเกลียวตลอดแท่งสลักหรื อไม่ตลอด แท่งสลักก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั ประโยชน์ของการใช้งาน การเขียนแบบจะใช้ตามหลักเกณฑ์การในการ เขียนแบบเกลียว 1.2) ส่ วนที่เป็ นหัวของสลักเกลียวที่เป็ นหกเหลี่ยม จะต้องสัมพันธ์กนั กับ ขนาดของเกลียว โดยจะต้องพิ จารณาการกาหนดขนาดส่ วนประกอบต่าง ๆ ของสลักเกลียว จาก ตารางมาตรฐานการกาหนดขนาดของเกลียว แล้วจึงนารายละเอียดดังกล่าวมาเขียนแบบ 1.3) ส่ วนพื้นที่หน้าตัดของสลักเกลียวหกเหลี่ยมนั้น ในส่ วนที่เป็ นเกลียว จะใช้สัญลักษณ์เป็ นเส้นวงกลม โดยเส้นรอบวงของยอดเกลียวจะเป็ นเส้นเต็มหนาและเขียนเต็ม วงกลม แต่ส่วนที่เป็ นเส้นรอบวงโคนเกลียวเป็ นเส้นเต็มบาง แต่เส้นรอบวงจะไม่บรรจบกัน ซึ่ งจะ เขียนเพียง ¾ ของวงกลม โดยปลายด้านหนึ่งจะพ้นเส้นผ่าศูนย์กลาง และปลายอีกด้านหนึ่งจะไม่ถึง เส้นผ่าศูนย์กลาง ซึ่ งรายละเอียดต่าง ๆ ในการเขียนแบบสลักเก ลียวหัวหกเหลี่ยมได้แสดงไว้ใน ลักษณะการเขียนแบบและการกาหนดขนาดของสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม ดังรู ปที่ 1.21 การกาหนดขนาดส่ วนประกอบต่ าง ๆ ของสลักเกลียวหัวหกเหลีย่ ม D = เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลียว D1 = เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลียว k = ขนาดความหนาของหัวสลักเกลียว s = ขนาดความกว้างของประแจ e = ขนาดกว้างสุ ดของหัวสลักเกลียว เท่ากับ s x 1.155 l = ความยาวของสลักเกลียว b = ความยาวของเกลียว ลักษณะการเขียนแบบและการกาหนดขนาดของสลักเกลียวหัวหกเหลีย่ ม การกาหนดขนาดของส่ วนประกอบต่าง ๆ ของสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม สามารถพิจารณา ได้จากตารางการกาหนดมาตรฐานเกลียว ตารางที่ 1.1


23

เส้นรอบวงยอดเกลียวเป็ นเส้น เต็มหนา เขียนเต็มวงกลม เส้นรอบวงโคนเกลียวเป็ นเส้นเต็ม บาง เขียนไม่เต็มวงกลมเขียนด้วย ส่วนโค้งขนาด ¾ ของเส้นรอบวง

รู ปที่ 1.21 ลักษณะการเขียนแบบและการกาหนดขนาดของสลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม 2) การเขียนแบบนัตหัวหกเหลีย่ ม แป้ นเกลียวหกเหลี่ยม จะมีลกั ษณะคล้ายแหวนมีพ้นื ที่หน้าตัดเป็ นรู ปหกเหลี่ยม และมีรูตรงกลาง ผิวของรู จะถูกตัดเป็ นเกลียวไว้สาหรับสวมขันเข้ากับสลักเกลียว ซึ่งสลักเกลียว และนัตจาเป็ นที่จะต้องเป็ นชนิดเดียวกันและมีขนาดเท่ากัน จึงจะสามารถขันเกลียวเข้าด้วยกันได้ ซึ่งมีหลักการเขียนแบบนัตหัวหกเหลี่ยมดังนี้ 2.1) การเขียนแบบนัตจะกาหนดขนาดต่าง ๆ ของส่ วนประกอบนัต โดย พิจารณารายละเอียด จากตารางมาตรฐานการกาหนดขนาดเกลียวเช่นเดียวกันกับการเขียนแบบสลัก เกลียว แล้วจึงนารายละเอียดนั้นมาเป็ นข้อมูลในการเขียนแบบนัต 2.2) การเขียนเส้นรอบวงของแป้ นเกลียวในส่ วนที่เป็ นเกลียวนั้น จะใช้ วิธีการเขียนแบบ เช่นเดียวกันกับการเขียนแบบสลักเกลียว คือส่ วนพื้นที่หน้าตัดของสลักเกลียวนั้น เส้นรอบวงของโคนเกลียวจะเป็ นเส้นเต็มหนาและเขียนเต็มวง แต่ส่วนที่เป็ นเส้นรอบวงยอดเกลียว เป็ นเส้นเต็มบาง และเส้นวงจะไม่เต็มวง จะเขียนเพียง 3/4 ของวงกลม โดยปลายด้านหนึ่งจะพ้นเส้น ผ่านศูนย์กลาง และปลายอีกด้านหนึ่งจะไม่ถึงเส้นผ่านศูนย์กลาง


24 ข้ อสั งเกต : ในการเขียนแบบสัญลักษณ์เกลียวนอกและเกลียวใน เส้นรอบวงที่เป็ น สัญลักษณ์ของโคนเกลียวและยอดเกลียว จะมีขอ้ แตกต่างกันอยูเ่ ล็กน้อยเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดการ สับสนระหว่างสลักเกลียวและ นัต คือถ้าเป็ นสลักเกลียวเส้นรอบวงที่เป็ นเส้นเต็มบางไม่เต็มวง จะ เขียนกาหนดแทนสัญลักษณ์โคนเกลียว ซึ่ งเขียนอยูว่ งด้านในของสัญลักษณ์เกลียว แต่ถา้ เป็ น นัต เกลียวเส้นรอบวงที่เป็ นเส้นเต็มบางไม่เต็มวง จะเขียนกาหนดแทนสัญลักษณ์ยอดเกลียว ซึ่ งเขียนอยู่ วงด้านนอกของสัญลักษณ์เกลียว ซึ่ งรายละเอียดต่าง ๆ ในการเขียนแบบ นัต หกเหลี่ยมได้แสดงไว้ใน ลักษณะการ เขียนแบบและการกาหนดขนาดของนัตหกเหลี่ยมดัง รู ปที่ 1.22 การกาหนดขนาดส่ วนประกอบต่ าง ๆ ของแป้นเกลียวหกเหลีย่ ม d = เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลียว d1 = เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลียว m = ความหนาของนัต s = ขนาดความกว้างของประแจ e = ขนาดกว้างสุ ดของหัวสลักเกลียว เท่ากับ s x 1.155 ลักษณะการเขียนแบบและการกาหนดขนาดของแป้นเกลียวหกเหลีย่ ม การกาหนด ขนาดของ ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของ แป้ นเกลียวหกเหลี่ยม สามารถ พิจารณาได้จากตารางการกาหนดมาตรฐานเกลียว ตารางที่ 1.1

เส้นรอบวง โคน เกลียวเป็ นเส้น เต็มหนาและเส้นวงจะเต็มวงกลม

เส้นรอบวงยอดเกลียวเป็ นเส้นเต็มบาง และเส้นวงจะไม่เต็มวงกลมเขียนด้วย ส่วนโค้งขนาด 3/4 ของเส้นรอบวง

รู ปที่ 1.22 ลักษณะการเขียนแบบและการกาหนดขนาดของนัตหกเหลี่ยม


25 1.1.7 การประกอบสลักเกลียวและนัต ในการเขียนแบบเกลียวที่เป็ นการประกอบชิ้นงานถ้าเป็ นภาพตัดโดยปกติแล้วในส่ วนที่เป็ น เกลียวและ นัต จะไม่แสดงเส้นลายตัด ซึ่ งได้แสดงรายละเอียดตามตัวอย่าง การเขียนแบบเกลียว ประกอบชิ้นงาน จะต้องใช้ แหวนรอง แหวนรองมีหน้าที่รองสลักเกลียวและนัตให้การบีบอัดยึด ชิ้นงานได้แน่นยิง่ ขึ้น และกันการคลายตัวของเกลียว เนื่องจากแหวนรองจะเพิ่มพื้นที่ผวิ สัมผัสทาให้ เพิม่ พื้นที่ความฝื ด นอกจากนี้ยงั ช่วยลดความเสี ยหายของผิวชิ้นงานในขณะที่ขนั อัดอีกด้วย ดังรู ปที่ 1.23

เส้นตัดจะแสดงที่ ชิ้นงานเท่านั้น

สลักเกลียว นัต และแหวนรอง จะไม่แสดงเส้นตัด

รู ปที่ 1.23 การเขียนแบบเกลียวประกอบชิ้นงานพร้อมแหวนรอง และยังมีแหวนรองบางชนิดสามารถกันการรั่วซึ มได้ ซึ่ งมีลกั ษณะการประกอบการยึด ชิ้นงานด้วยเกลียวที่ประกบด้วยแหวนรองดังรู ปที่ 1.24 แหวนรอง

แหวนรอง

สลักเกลียว

นัต

รู ปที่ 1.24 การยึดชิ้นงานด้วยเกลียวประกบด้วยแหวนรอง


26 1.1.8 การใช้ งานสลักเกลียวและนัต สลักเกลียวหัวหกเหลี่ยม DIN 931, 933, 960 และ 961

ชื่อเรี ยก : สกรู หวั เหลี่ยม M12 x 60 DIN 931 – 5.6

การใช้งาน : ใช้ยดึ ชิ้นส่วนเครื่ องจักรกล โดยมีเกลียวในชิ้นส่วน

สลักเกลียวหัวหกเหลี่ยมพร้อมนัต DIN 934 และ 555

ชื่อเรี ยก : นัตหัวเหลี่ยม M12 DIN 555-10

การใช้งาน : ใช้ยดึ ชิ้นส่วนเครื่ องจักรกล โดยมีรูสาหรับให้สกรู ร้อยผ่านได้

สกรู หวั ทรงกระบอกมีหกเหลี่ยมขันใน DIN 912

ชื่อเรี ยก : สกรู หวั หกเหลี่ยมขันใน M8 x 40 DIN 912 – 10.9

การใช้งาน : ใช้ในงานยึดชิ้นส่วนให้แน่น รับภาระ สูงได้ หัวสกรู เป็ นแบบหัวฝังในชิ้นงาน ทาให้ผิวหน้าชิ้นงานเรี ยบในการขันยึด ต้องใช้ประแจหกเหลี่ยมขันใน


27 สลักเกลียวหัวเรี ยวฝังแบบผ่าหัว DIN 63, 68, 87 และ 963

ชื่อเรี ยก : สกรู หวั เรี ยวฝัง M5 x 30 DIN 936 – 5.6

การใช้งาน : ใช้สาหรับยึดชิ้นส่วนที่รับภาระต่า หัวสกรู ที่เรี ยวจะทาให้ชิ้นงานได้ ศูนย์และทาให้ผิวงานเรี ยบ

สลักเกลียวหัวทรงกระบอกแบบผ่าหัว DIN 64 และ 84

ชื่อเรี ยก : สกรู หวั ทรงกระบอก M6 x 50 - DIN 64 – 5.6

การใช้งาน : ใช้สาหรับยึดชิ้นงานที่รับภาระต่า เนื่องจากหัวสกรู น้ ีใช้ไขควงขันยึด

1.2 ตลับลูกปื น (Bearing) ตลับลูกปื นเป็ นชิ้นส่ วนมาตรฐานอีกชนิดหนึ่งที่ทาหน้าที่ในการรองรับ ภาระการหมุนของ เพลาเพื่อให้การหมุนของเพลาหมุนได้คล่องขึ้น ทาให้เครื่ องจักรกลทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเที่ยงตรง ซึ่ งตลับลูกปื นจะมีรูปร่ างลักษณะ และมีส่วนประกอบต่าง ๆ ของตลับลูกปื น ดังรู ปที่ 1.25 1.2.1 ส่ วนประกอบของตลับลูกปื น 1) แหวนนอก (Outer Races) เป็ นรางวิง่ สาหรับเม็ดลูกปื นที่ผวิ สัมผัสด้านนอก และใช้ในการสวมประกอบกับตัวเรื อน (Housing) 2) แหวนใน (Inner Races) เป็ นรางวิง่ สาหรับเม็ดลูกปื นที่ผวิ สัมผัสด้านใน 3) เม็ดลูกปื น (Ball) จะอยูร่ ะหว่างแหวนนอกและแหวนในเพื่อให้อิสระต่อกันซึ่ ง ทาหน้าที่เป็ นตัวลดแรงเสี ยดทานของแหวนทั้งสองด้วย


28 4) รังเม็ดลูกปื น (Cage) เป็ นตัวควบคุมเม็ดลูกปื นให้เรี ยงตัวกันอยูใ่ นตาแหน่งเพื่อ ให้เม็ดลูกปื นรับแรงได้เท่า ๆ กัน ภายในตลับลูกปื น 1. แหวนนอก (Outer Races) 2. แหวนใน (Inner Races) 3. เม็ดลูกปื น (Ball) 4. รังเม็ดลูกปื น (Cage) รู ปที่ 1.25 ลักษณะและส่ วนประกอบต่าง ๆ ของตลับลูกปื น (โปรแกรม Solid works 2012 โดย เจริ ญ บุญใบ) 1.2.2 ชนิดของตลับเม็ดลูกปื น เม็ดลูกปื นเป็ นส่ วนประกอบสาคัญของตลับลูกปื นที่มีส่วนสาคัญเนื่องจากเป็ นส่ วนที่จะ ช่วยลดแรงเสี ยดทานระหว่างแหวนนอกและแหวนในทาให้แหวนทั้งสองเป็ นอิสระต่อกัน ซึ่ง สามารถแบ่งตามลักษณะการรับแรงแนวรัศมีและแนวแกน ตลับลูกปื นมีอยูห่ ลายชนิดเพื่อให้เหมาะ กับการใช้งานที่หลากหลาย ดังนี้ 1) ตลับลูกปื นเม็ดกลม (Deep Groove Ball Bearing) มีลกั ษณะเป็ นเม็ดทรงกลม เม็ดลูกปื นชนิดนี้นิยมใช้กนั แพร่ หลาย มีให้เลือกแบบแถวเดียว (Single Row) และแบบสองแถว (Double Row) สามารถรับแรงตามแนวรัศมี ระดับปานกลาง และรับแรงตามแนวแกน ได้เล็กน้อย ดังรู ปที่ 1.26

ลูกปื นเม็ดกลม

ตลับลูกปื นเม็ดกลมรับแรงแนวรัศมี

ตลับลูกปื นเม็ดกลมรับแรงแนวแกน

รู ปที่ 1.26 ตลับลูกปื นเม็ดกลม


29 2) ตลับลูกปื นเม็ดทรงกระบอก (Cylindrical Roller Bearing) มีลกั ษณะเป็ นเม็ด ทรงกระบอกสามารถรับแรงได้ดี โดยเฉพาะรับแรงในแนวรัศมี และยังสามารถใช้กบั งานที่มี ความเร็ วรอบสู ง ๆ ซึ่ งจะใช้งานได้ดีกว่าลูกปื นเม็ดกลม มีลกั ษณะดังรู ปที่ 1.27

ลูกปื นเม็ดทรงกระบอก รับแรงแนวรัศมี

รับแรงแนวแกน

รู ปที่ 1.27 ตลับลูกปื นเม็ดทรงกระบอก 3) ตลับลูกปื นเม็ดทรงเรี ยว (Taper Roller Bearing) มีลกั ษณะคล้ายลูกปื นเม็ดทรง กระบอกแต่เส้นผ่าศูนย์ของปลายทั้งสองข้างจะไม่เท่ากันทาให้เกิดองศาการเอียง สามารถรับแรงได้ ทั้งในแนวรัศมีและแนวแกน นอกจากนั้นสามารถแยกวงแหวนนอกและวงแหวนในออกจากกันได้ อีกด้วย มีลกั ษณะดังรู ปที่ 1.28

ลูกปื นเม็ดเรี ยว

รู ปที่ 1.28 ตลับลูกปื นเม็ดเรี ยว 4) ตลับลูกปื นเม็ดโค้ง (Spherical Roller Bearing) มีลกั ษณะคล้ายลูกปื นเม็ด ทรงกระบอก แต่จะมีลกั ษณะเป็ นแนวโค้ง ใช้งานทัว่ ๆ ไป เหมือนลูกปื นเม็ดกลม แต่รับแรงตาม แนวแกนได้ดีกว่า มีลกั ษณะดังรู ปที่ 1.29

ลูกปื นเม็ดโค้ง

รู ปที่ 1.29 ตลับลูกปื นเม็ดโค้ง


30 5) ตลับลูกปื นเม็ดเข็ม (Needle Roller Bearing) มีลกั ษณะเป็ นเม็ดทรงกระบอก เล็กแต่ยาว สามารถรับแรงตามแนวรัศมีได้อย่างเดียว มีลกั ษณะดังรู ปที่ 1.30

ลูกปื นเม็ดเข็ม

รู ปที่ 1.30 ตลับลูกปื นเม็ดเข็ม 1.2.3 การเขียนแบบตลับลูกปื น การอ่านและเขียนแบบตลับลูกปื น จะใช้วธิ ี การคานวณคล้ายกับการเขียนแบบเฟื อง คือ คานวณหาขนาดของส่ วนประกอบต่าง ๆ จากสู ตรเมื่อได้แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการเขียน แบบหรื อออกแบบ ตลับลูกปื นโดยปกติแล้วจะเป็ นชิ้นส่ วนที่ถูกประกอบไว้ภายในเครื่ องจักร ถ้า มอง ภายนอกจะมองไม่เห็น ฉะนั้นเวลาเขียนแบบส่ วนมาก จะเขียนเป็ น ภาพตัด ซึ่งจะพบมากในการ เขียนแบบภาพประกอบ โดยที่จะไม่แสดงเส้นลายตัดที่เม็ดลูกปื น ดังรู ปที่ 1.31 D = Ø ตลับลูกปื น d' = Ø เม็ดลูกปื น d = Ø รู สวมเพลา b = ความหนาตลับลูกปื น Dm = Ø พิตช์ n = จานวนเม็ดลูกปื น = 3.14 x Dm / 1.5 x d’

รู ปที่ 1.31 การเขียนแบบภาพตัดตลับลูกปื น


31 1.2.4 การใช้ ตารางในการเขียนแบบตลับลูกปื น ตารางที่ 1.2 แสดงขนาดและสัดส่ วนของตลับลูกปื นชนิดต่าง ๆ


32 ตารางที่ 1.2 แสดงขนาดและสัดส่ วนของตลับลูกปื นชนิดต่าง ๆ (ต่อ)


33 ตารางที่ 1.2 แสดงขนาดและสัดส่ วนของตลับลูกปื นชนิดต่าง ๆ (ต่อ)


34 1.3 สลัก (Dowel pin) สลัก เป็ นชิ้นส่ วนเครื่ องกล ใช้สาหรับ จับยึดชิ้นงาน เพื่อให้ชิ้นงานสามารถถอด- ประกอบ ได้ ล็อกตาแหน่ง ของชิ้นส่ วน และเป็ นชิ้นส่ วน ป้ องกัน การเกินกาลังของเพลาส่ งกาลัง เกลียวส่ ง กาลัง ล้อสายพาน และเฟื อง เป็ นต้น 1.3.1 ชนิดของสลัก สลักตามมาตรฐาน DIN ที่ใช้งานโดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็ น 6 ประเภท ดังนี้ 1) สลักทรงกระบอก (Paralell Pins) มีลกั ษณะรู ปร่ างเป็ นแท่งโลหะทรงกระบอก ผ่านการชุบแข็งมาแล้ว ผิวของสลักเป็ นผิวมัน อาจผ่านการเจียระไนหรื อดึงขึ้นรู ปก็ได้ เป็ นสลัก ทรงกระบอกที่ใช้ในงานแม่พิมพ์ สามารถถอดเข้าออกได้บ่อยครั้งโดยสลักไม่เกิดการสึ กหรอ สลัก ทรงกระบอกตามมาตรฐาน DIN มี 5 แบบ แสดงดังรู ปที่ 1.32

DIN EN 28734 (ชุบแข็ง)

DIN EN 8735 (ชุบแข็ง)

DIN EN 8733S

DIN EN 28735

plit Pin - DIN 94

รู ปที่ 1.32 ลักษณะของสลักทรงกระบอก 2) สลักทรงเรียว (Taper Pins) เป็ นสลักที่มีลาตัวเรี ยวด้วย อัตราเรี ยว 1 : 50 ใช้ สาหรับยึดชิ้นงานให้แน่น ป้ องกันการเลื่อนตัว สลักนิรภัย เป็ นต้น จุดเด่นของสลักเรี ยว คือแรงจับ ยึดชิ้นงานจะเกิดจากรู ปทรงของสลักและทาให้เกิดแรงเสี ยดทานในเวลาเดียว กัน ทาให้สามารถ รับภาระการกระแทกและคงความเที่ยงศูนย์ได้ดี สลักเรี ยวตามมาตรฐาน DIN มี 3 แบบ แสดงดังรู ป ที่ 1.33

DIN EN 22339

DIN EN ISO 8737 (เกลียวนอก)

รู ปที่ 1.33 ลักษณะของสลักเรี ยว

DIN EN ISO 8736 (เกลียวใน)


35 3) สลักผ่าข้ าง (Groove Pins) เป็ นสลักทรงกระบอกที่ มีลาตัวผ่าเป็ นร่ องตามทิศ ทางยาวจานวน 3 ร่ อง การเจาะรู เพื่อประกอบสลักนี้เพียงแค่เจาะรู จะให้พอเหมาะแล้วตอกอัดเข้าไป ส่ วนที่เป็ นร่ องบากจะอัดแน่นในเนื้อของรู เจาะทาให้สลักยึดติดแน่น สลักผ่าข้างตามมาตรฐาน DIN มี 9 แบบ แสดงดังรู ปที่ 1.34

DIN EN ISO 8739

DIN EN ISO 8740

DIN EN ISO 88741

DIN EN ISO 8742

DIN EN ISO 8743

DIN EN ISO 8744

DIN EN ISO 8747

DIN EN ISO 8746

DIN EN ISO 8745

รู ปที่ 1.34 ลักษณะของสลักผ่าข้าง 4) สลักปลอกเบ่ ง (Spring Pins) เป็ นสลัก ที่ทาจากสปริ งม้วนขดเป็ นรู ปทรงกระ บอก สลักแบบนี้จะมีปลายเรี ยวเล็กน้อยทั้งสองข้าง สามารถรับภาระในทุ กทิศทางตามแนวรัศมีได้ เท่านั้น การประกอบสลักนี้สามารถทาได้สะดวก เพราะรู สลักไม่ ต้องผ่านการคว้านเรี ยบ เมื่อสวม อัดลงในรู เจาะจะทาให้เกิดการเบ่งตัวของสลักเพื่อยึดชิ้นงานให้แน่น สลักปลอกเบ่งตามมาตรฐาน DIN มี 5 แบบ แสดงดังรู ปที 1.35

DIN EN ISO 8748

DIN EN ISO 8750

รู ปที่ 1.35 ลักษณะของสลักปลอกเบ่ง

DIN EN ISO 8751


36

DIN EN ISO 28752

DIN EN ISO 13337

รปที่ 1.35 ลักษณะของสลักปลอกเบ่ง (ต่อ) 5) สลักแบบเคลฟวิส (Clevis Pin) เป็ นสลักรู ปทรงกระบอก นิยมใช้กบั งานที่เป็ นแกนหมุนหรื อจุดหมุนของแขนโยก เป็ นต้น สลักแบบเคลฟวิสตามมาตรฐาน DIN มีอยู่ 3 แบบ แสดงดังรู ปที่ 1.36

DIN EN 22340

DIN 1445

DIN EN 22341

รู ปที่ 1.36 ลักษณะของสลักแบบเคลฟวิส 6) สลักแบบรีเว็ต (Rivet Pins) แสดงดังรู ปที่ 1.37

DIN 124

DIN 302

DIN 660

DIN 661

DIN 662

DIN 674

DIN 675

DIN 7340

DIN 7341

DIN 6791

DIN 6792

รู ปที่ 1.37 ลักษณะของสลักรี เว็ต


37 1.3.2 การเขียนแบบสลัก 1) การเขียนแบบสลักทรงกระบอก สลักที่ยดึ ชิ้นงานจะนิยมแสดงเป็ นภาคตัด โดยภาคตัดที่แสดงตามแนวยาวจะไม่มี การแสดงเส้นลายตัดแต่อย่างใด แต่ถา้ เป็ นภาคตัดขวาง จะแสดงเส้นลายตัด แสดงดังรู ปที่ 1.38

รู ปที่ 1.38 การเขียนแบบสลักทรงกระบอก 2) การเขียนแบบสลักเรียว สลักเรี ยวจะมีอตั ราเรี ยว 1 : 50 เมื่อจะมีการเขียนภาพ ด้านบน จะฉายขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางด้านเล็กจากภาพด้านหน้า แสดงดังรู ปที่ 1.39

รู ปที่ 1.39 การเขียนแบบสลักเรี ยว


38 3) การเขียนแบบสลัก ผ่าข้ าง สลักร่ องบากต่างๆ เช่น สลักร่ องบากทรงกระบอก สลักเบ่งและสลักที่มีร่องบากอื่นๆ จะต้องเขียนแบบแสดงร่ องบากให้เห็นในแบบงาน แสดงดังรู ป ที่ 1.40

รู ปที่ 1.40 การเขียนแบบสลักผ่าข้าง 4) การเขียนแบบสลัก ปลอกเบ่ ง จะต้องเขียนแบบแสดงหน้าตัดของสลักเบ่งให้ เห็นในแบบงาน แสดงดังรู ปที่ 1.41

รู ปที่ 1.41 การเขียนแบบสลักปลอกเบ่ง 1.3.3 การใช้ ตารางมาตรฐานในการเขียนแบบสลัก ในการเขียนแบบเครื่ องกล ต้องใช้ตารางมาตรฐานมาช่วยกาหนดขนาดของสลักเพื่อนาไป ใช้ในการเขียนแบบ ซึ่ งตารางมาตรฐานจะระบุขนาดและความยาว เพื่อให้ผผู ้ ลิตจัดหาได้อย่าง ถูกต้อง ดังแสดงในตารางที่ 1.3, 1.4, 1.5, 1.6 และตารางที่ 1.7


39 ตารางที่ 1.3 แสดงขนาดและสัดส่ วนของสลักทรงกระบอก


40 ตารางที่ 1.4 แสดงขนาดและสัดส่ วนของสลักทรงเรี ยว


41 ตารางที่ 1.5 แสดงขนาดและสัดส่ วนของสลักปลอกเบ่ง

ตารางที่ 1.6 แสดงขนาดและสัดส่ วนของสลักผ่าข้าง


42 ตารางที่ 1.7 แสดงขนาดและสัดส่ วนของสลักเคลฟวิส


43 1.3.4 การใช้ งานสลักชนิดต่ าง ๆ ขนาดตามมาตรฐานของสลัก

การนาไปใช้งาน

42

42

Parallel pin DIN 7

45

Taper pin DIN 1

40

Grooved Dowel pin DIN 1473

40

Spring pin DIN 7346 รู ปที่ 1.42 การใช้งานสลักชนิดต่าง ๆ


44 1.4 แหวนรองและแหวนล็อก (Washer and Retaining Rings) แหวนรองและแหวนล็อก เป็ นชิ้นส่ วน ตามมาตรฐานเครื่ องกล ชนิดหนึ่ง แหวนรอง ใช้ สาหรับรองและหนุนสลักเกลียวและนัต เพื่อช่วยให้สามารถขันนัตให้แน่นมากขึ้นและยังสามารถ ทาหน้าที่ป้องกันการคลายตัวของนัตได้อีกด้วย ส่ วนแหวนล็อกใช้สาหรับล็อกตาแหน่งสลักเกลียว และนัตให้อยูต่ าแหน่งที่ตอ้ งการ หรื อทาหน้าที่ล็อกตาแหน่งของชิ้นส่ วนที่อยูบ่ นเพลา (Shafts) หรื อ รู คว้าน (Hubs) เพื่อป้ องกันชิ้นส่ วนหลุดออกจากกัน ลักษณะของแหวนล็อกเพลามีรูปร่ างเป็ นวง แหวนกลม มีหวั สองหัวและเจาะรู ไว้สาหรับเสี ยบปลายของคีมถ่างหรื อหุ บ เพื่อถอดประกอบ แหวนล็อกบนเพลา แหวนรองและแหวนล็อกอาจจะทามาจากโลหะแผ่นเรี ยบ โลหะสปริ งและวัสดุ อื่น ๆ ขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่ งสามารถแบ่งชนิดแหวนรองและแหวนล็อก ดังนี้ 1.4.1 ชนิดของแหวนรอง 1) แหวนกลม (Round Washer) เป็ นแหวนที่ ใช้ในงานเครื่ องมือกล ทัว่ ไป มี ลักษณะแผ่นวงกลม หรื อสี่ เหลี่ยมผิวเรี ยบ และเจาะรู ไว้ตรงกลาง เพื่อใช้สาหรับสอดสลักเกลียวเข้า ไป ดังรู ปที่ 1.43 แหวนรองกลม แบบไม่ลบคม

แหวนรอง กลมแบบลบ คม รู ปที่ 1.43 ลักษณะและการใช้ งานแหวนกลม

2) แหวนสริง (Spring Lock Washer) เป็ นแหวนที่ทามาจากสปริ ง รู ปร่ างคล้าย กับแหวนกลมแต่มีความกว้างของแผ่นวงแหวนแคบกว่าแหวนกลม และ ตัดเนื้อโลหะของวงแหวน ให้ขาดออกจากกันให้เอียงเป็ นมุม ซึ่ งปลายของวงแหวนที่ตดั ออกจะเฉออกจากระนาบของวง แหวน เพื่อใช้เป็ นขอบสาหรับขบกัน ทาให้สามารถป้ องกันการคลายตัวของนัตได้ ดังรู ปที่ 1.44 แหวนสปริ ง

รู ปที่ 1.44 ลักษณะและการใช้งานแหวนสปริ ง


45 3) แหวนสริงแบบยืดหยุ่น (Elastic Washer) เป็ นแหวนที่มีลกั ษณะเหมือนแหวน กลม ทามาจากโลหะสปริ ง รู ปแบบของแหวนรองสปริ งยืดหยุน่ มี 2 ชนิด ชนิดแรกเป็ นแหวนสปริ ง แบบโค้ง ส่ วนอีกแบบเป็ นแหวนสปริ งยึดหยุน่ แบบบิดตัว ดังรู ปที่ 1.45

รู ปที่ 1.45 ลักษณะและการใช้งานแหวนสปริ งแบบยืดหยุน่ 4) แหวนสปริงแบบแฉก ( Fan Disks) เป็ นแหวนที่ทาจากโลหะสปริ ง มีลกั ษณะ มีท้ งั แบบแหวนสปริ งแฉกภายนอก (External) และแฉกภายใน (Internal) ลักษณะการใช้งานเมื่อ ขันนัตให้แน่นฟันของแหวนสปริ งแฉกจะถูกอัดเข้ โดยรอบแหวน ไปด้วย เมื่อเกิดการคลายตัว ของนัต คมของฟันจะจิกเข้าไปในเนื้อของวัสดุของนัต ทาให้ป้องกันคลายตัวของนัตได้ดี ดังรู ปที่ 1.46

รู ปที่ 1.46 ลักษณะและการใช้งานแหวนสปริ งแบบแฉก 5) แหวนพับล็อก (Tap Lock Washers) แหวนล็อกชนิดนี้มี 2 แบบ แบบแรกเป็ น แหวนล็อกแบบยิน่ มีลกั ษณะเป็ นแผ่นยืน่ ออกมาจากแหวน ใช้สาหรับพับให้แนบกับขอบของ ชิ้นงาน ส่ วนตัวแหวนจะพับให้แนบกับด้านข้างของหัวสลักเกลียวและนัต อีกแบบคือแหวนล็อก จมูก มีลกั ษณะเป็ นแผ่นพับตั้งฉากกับตัวแหวน ใช้สาหรับเสี ยบเข้าไปในรู เจาะ ส่ วนตัวแหวนจะพั บ ให้แนบกับด้านข้างของหัวสลักเกลียวเช่นเดียวกัน ดังรู ปที่ 1.47 และรู ปที่ 1.48

รู ปที่ 1.47 ลักษณะของแหวนพับล็อก


46

แหวนล็อกแบบยืน่

แหวนล็อกแบบจมูก

รู ปที่ 1.48 ลักษณะและการใช้งานแหวนพับล็อก 1.4.2 ชนิดของแหวนล็อก (Retaining Rings) 1) แหวนล็อกนอก ตามมาตรฐาน DIN ที่ใช้งานทัว่ ไปแบ่งออกเป็ น 3 แบบ ดัง แสดงรู ปที่ 1.49

DIN 471

DIN 6799

DIN 7993 Type A

รู ปที่ 1.49 แหวนล็อกนอก 2) แหวนล็อกใน ตามมาตรฐาน DIN ที่ใช้งานทัว่ ไปแบ่งออกเป็ น 2 แบบ ดังแสดง รู ปที่ 1.50 แหวนล็อก เพลาใน

DIN 472

DIN 7993 Type B

แหวนล็อก เพลานอก

รู ปที่ 1.50 แหวนล็อกในและการใช้งาน


47 1.4.3 การใช้ ตารางมาตรฐานในการเขียนแบบแหวนรองและแหวนล็อก ตารางที่ 1.8 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนรองกลมและแหวนสปริ ง

ตารางที่ 1.9 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนสปริ งแบบยืดหยุน่

ตารางที่ 1.10 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนแบบแฉก


48 ตารางที่ 1.11 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนล็อกแบบพับ

ตารางที่ 1.12 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนล็อกนอก


49 ตารางที่ 1.13 ขนาด รู ปร่ าง และสัดส่ วนของแหวนล็อกใน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.