03sketchcommand

Page 1

บทที่ 3 การใชงานคําสั่งใน Sketch Command การออกแบบโมเดลในโปรแกรม Solidworks2005 ใหไดเต็มประสิทธิภาพนั้น เริ่มตนเราจะตอง เรียนรูการใชงานของคําสั่งเบื้องตนในการสราง Sketch 2D กอน เพื่อเตรียมความพรอมและความเขาใจถึง ขั้นตอนการใชงานในคําสั่งการสราง Profile Sketch ตางๆโดยเมื่อเราทราบถึงวิธีการใชงานของแตละคําสั่ง แลว เราจะสามารถนําความเขาใจไปพิจารณาคําสั่งตางๆ ที่จะใชในการออกแบบโมเดล เพื่อใหสามารถใช โปรแกรมไดอยางมีประสิทธิภาพสวนประกอบ คําสั่งพื้นฐานในการสราง Sketch 2D จะแบงคําสั่งออกเปน 2 สวนคือ - Sketch Entities คือคําสั่งในการสราง Sketch โดยจะประกอบไปดวยคําสั่งตางๆ ดังนี้ Line ,Circle, Rectangle, parallelogram, Polygon , Center point Arc,3 Point Arc, Tangent Arc, Ellipse, Spline ,text เปนตน - Sketch Tools คือคําสั่งที่ใชในการชวยการสราง Sketch ใหมีความสมบูรณมากขึ้น ซึ่งจะ ประกอบดวยคําสั่งตางๆดังนี้ Sketch Fillet, Sketch Chamfer, Sketch Mirror, Sketch Trim, Linear Step and Repeat, Circular Step and Repeat เปนตน 3.1 การสรางชิ้นสวนใหม บน Standard ทูลบาร หรือคลิกที่ File> New บนเมนูบารในการสราง 1. คลิกปุม New ไฟลชิ้นสวนใหมกลองขอความ New Solidworks Document จะขึ้นมาคลิก Tutorial 2. เลือกไอคอน Part คลิก OK หนาตางของชิ้นสวนใหมขึ้นมา

ภาพที่ 3.1 การเปดไฟลใหม Part


12 3.2 คําสั่ง Sketch Entities บนสเกทชทูลบารหรือคลิก การเปดสเกทช 2 มิติ โดยการคลิกปุมสเกทช Insert>Sketch บนเมนูบาร ในการเปดสเกทชจะเปนการเปดบนระนาบดานหนา(Front plane) ซึ่งระนาบ ดานหนาจะเปนหนึ่งใน 3 ระนาบที่เปนคาเริ่มตนที่แสดงอยูในกลองโครงสรางการจัดการฟเจอร (Feature Manager Design Tree) 3.2.1 การแสดงสถานะของการสเกทช สเกทช(Sketch) คือสวนประกอบพื้นฐานในการออกแบบกําหนดรูปราง และขนาดของ ชิ้นสวน>part) 3 มิติ ซึ่งจะสรางจากคําสั่งพื้นฐาน เชน Line, Arc, Circle, Ellipse, Rectangle หรือ Polygon เปนตนเมื่อการเปดสเกทชเริ่มทํางานโปรแกรมจะแสดงสถานะตางๆ ที่เกี่ยวของขึ้นมาดังนี้

ภาพที่ 3.2 เมนูคําสั่ง Sketch แถบสถานะดานลาง(StatusBar)ของหนาตาง จะแสดงคําวา Editing Sketch หมายถึงการ ทํางานอยูในสวนของการสรางและแกไขสเกทชจะอยูที่มุมลางซายของหนาจอ

คือ สัญลักษณของการยืนยันในการสเกทช(Confirmation Corner)จะขึ้นมา


13 3.2.2 การเขียนเสนตรง 1. คลิก Line หรือคลิกที่ Tools>Sketch Entity>Line เพื่อเริ่มเขียนเสนตรง 2. คลิกเริ่มทีจ่ ุด 0,0 Origin ลากเมาสขึ้นไปทางขวา ในระนาบ X-Yโดยโปรแกรม จะ บอกขนาดพิกัด ระยะทาง 1.19 mm เปนเสนตรง ในการกําหนดขนาดสามารถกลับมาแกไขภายหลังได

ภาพที่ 3.3 การสเกทชเสนตรง 3. แลวกด แปน Enter เพื่อ ออกจากการทํางานของการเขียนเสนตรง 3.2.3 การเขียนสเกทชรูปสีเ่ หลี่ยม 1. คลิก Rectangle

หรือคลิกที่ Tools>Sketch Entity>Rectangle เพื่อเริ่ม

เขียนรูปสี่เหลี่ยม 2. คลิกเริ่มที่จุด 0,0 Origin ลากเมาสขึ้นไปทางขวา ในระนาบ X-Yโดยโปรแกรม จะบอก ขนาดพิกัดX 36 mm. Y 24.59 mm. ดังรูป

ภาพที่ 3.4 การสเกทชสี่เหลี่ยม 3. แลวกดแปน Enter เพื่อออกจากการทํางานของการเขียนรูปสี่เหลี่ยม


14 3.2.4 การใชคําสั่ง Polygon การใชคําสั่ง Polygon เปนการใชคําสั่งที่เขียนรูปดานเทาหลายดาน ซึ่งสามารถกําหนดดาน ตั้งแต 3 ดานจนถึง 40 ดาน โดยสามรถกําหนดการเขียนใหรูปดานตางๆอยูในวงกลม (Inscribed) หรือ สามารถเขียนในรูปดานตางๆใหอยูนอกวงกลม (Circumscribed) โดยใชเสนผาศูนยกลางของวงกลมเปน ตัวกําหนดขนาด ซึ่งเมื่อเรานําเมาสไปคลิกคําสั่ง Polygon เมาสจะแสดงสัญลักษณ และมีขั้นตอนการใชงานของคําสั่ง Polygon ดังนี้ 1. คลิกคําสั่ง Polygon หรือนําเมาสไปที่ Tools>Sketch Entities> Polygon จากนั้น ทางซายมือจะปรากฏ Properties ของคําสั่ง Polygon ในสวนของ Parameters ทําการกําหนดจํานวนดาน(N) ที่ตองการ นําเมาสไปวาง ณ ตําแหนงใดๆคลิกเมาสซายใน Graphic Area

ภาพที่ 3.5 การสเกทชรูปหกหลี่ยม 2. ทําการลากเมาสไปในทิศทางที่ตองการพอประมาณ จะมีระยะและมุมองศาบอกอยู จากนั้นคลิกเมาสขวาเลือก Select เพื่อออกจากคําสั่ง Polygon


15 3.2.5 การใชคําสั่ง Circle หรือคลิกที่ Tools>Sketch Entity>Circle 1. คลิก คลิกเริ่มที่จุด 0,0 Origin ลากเมาสไปทางขวา ในระนาบ X-Yโดยโปรแกรม จะบอกขนาดพิกัด รัศมี ดังรูป

ภาพที่ 3.6 การสเกทชรูปวงกลม 2. การปอนคา ใสคารัศมีที่ตอง แลวกด แปน Enter

ภาพที่ 3.7 การกําหนดคาพารามิเตอรของคําสั่ง Circle 3.2.6 การใชคําสั่ง Centerpoint Arc การใชคําสั่ง Centerpoint Arc เปนการสรางสวนโคงโดยการกําหนด จุดศูนยกลางของ สวนโคง และลากเมาสเพื่อเลือกขนาดรัศมีและมุมองศาที่เริ่มตน ดวยเมาสซายและเลือกมุมสิ้นสุดสวนโคง ดวยคลิกเมาสอีกครั้ง ซึ่งเมื่อเรานําเมาสไปคลิกคําสั่ง Centerpoint Arc เมาสจะแสดงสัญลักษณ และมี ขั้นตอนการใชงานของคําสั่ง Centerpoint Arc ดังนี้


16 1. นําเมาสไปคลิกคําสั่ง Centerpoint Arc หรือนําเมาสไปที่ MenuBar คลิก Tools >Sketch Entities> Centerpoint Arc จากนั้น คลิกเมาสซายบริเวณ จุดOrigin เปนจุดศูนยกลาง ทํา การลากเสนเมาสออกจากจุดศูนยกลางของสวนโคงพอประมาณ จะมีรัศมี ®สวนของเสนโคงขึ้นมา 2. คลิกเมาสซายหนึ่งครึ่ง เพื่อเปนจุดเริ่มตนของการสรางสวนโคง จากนั้นลากเมาสไปตาม รัศมีสวนโคงที่มีมุมองศาเปนตัวกําหนดจุดสิ้นสุดของสวนโคงโดยการคลิกเมาสซายหนึ่งครึ่ง

ภาพที่ 3.8 การสเกทชเสนโคงโดยคําสั่ง Centerpoint Arc 3. ทําการกําหนดขนาดรัศมี หรือ มุมที่ตองการใน Parameter และ แลวกด แปน Enter

ภาพที่ 3.9 การกําหนดคาพารามิเตอรของคําสั่ง Centerpoint Arc 3 2.7 การใชคําสั่งTangent Arc การใชคําสั่ง Tangent Arc คือการสรางสวนโคงโดยการใชจุดสัมผัสของ Sketch เปน ตัวกําหนด จุดเริ่มตนของการสรางสวนโคง และลากเมาสเพื่อทําการเลือกรัศมีและมุมในการกําหนดขนาดและ สวนโคง ซึ่งเมื่อเรานําเมาสไปคลิกคําสั่ง Tangent Arc เมาสจะแสดงสัญลักษณ และมีขั้นตอนการใชงานดังนี้


17

1. คลิกคําสั่ง Tangent Arc หรือนําเมาสไปที่ MenuBar คลิก Tools >Sketch Entities> Tangent Arc จากนั้นคลิกเมาสซายบริเวณจุดสัมผัสของ Sketch แลวทําการลากเมาส ไปยังจุดที่ตองการหรือสามรถเชื่อมตอกับ Sketch ก็ได

ภาพที่ 3.10 การสเกทชเสนโคงโดยคําสั่ง Tangent Arc 2. เมื่อเราทําการลากสวนโคงไปยังอีกตําแหนงหนึ่ง จะมีมุมและรัศมีบอกขนาดของสวนโคง ที่ไดทําการสรางอยู จากนั้นคลิกเมาสซายเพื่อสิ้นสุดการสรางสวนโคง 3. ทําการกําหนดขนาดรัศมี หรือ มุมที่ตองการใน Parameter และ แลวกด แปน Enter

ภาพที่ 3.11 การปอนคาพารามิเตอรในคําสั่ง Tangent Arc 3.2.8 การใชคําสั่ง 3 Point Arc การใชคําสง 3 Point Arc เปนการสรางสวนโคงโดยการกําหนดจุดอางอิง 3 จุดคือ จุดเริ่มตน จุดสุดทายและจุดกึ่งกลางของสวนโคงตามลําดับ ซึ่งจะใชรศั มี และมุมองศาเปนตัวกําหนดสวนโคง ซึ่งเมื่อเรานําเมาสไปคลิก คําสั่ง 3 Point Arc เมาสจะแสดงสัญลักษณ และมีขั้นตอนการใชงานดังนี้


18

1. นําเมาสไปคลิกคําสั่ง 3 Point Arc หรือนําเมาสไปที่ MenuBar คลิก Tools >Sketch Entities>3 Point Arc จากนั้นคลิกเมาสซายตําแหนงที่ตองการสรางเสนราง แลวทําการ ลากเมาสไปในทิศทางที่ตองการซึ่งจะมีระยะความหางของจุดเริ่มตนและจุดทายของสวนโคง

ภาพที่ 3.12 การสเกทชเสนโคงโดยคําสั่ง 3 Point Arc 2. คลิกเมาสซายหนึ่งครึ่ง จากนั้นทําการลากสวนโคง ซึ่งจะมีมุมและรัศมีบอกขนาดของ สวนโคงที่ไดทําการสรางอยู และเมาสซายเพื่อสิ้นสุดการสรางสวนโคง 3 . ทําการกําหนดขนาดรัศมี หรือ มุมที่ตองการใน Parameter และ แลวกด แปน Enter

ภาพที่ 3.13 การปอนคาพารามิเตอรในคําสั่ง 3 Point Arc 3.2.9 การใชคําสั่ง Spline การใชคําสั่ง Spline เปนการสรางเสนโคงรัศมีใดๆแบบตอเนื่อง โดยการกําหนดจุดอางอิง และนําเมาสไปคลิกตามตําแหนงตางๆ ก็จะแสดงเปนเสนโคงตามลําดับของตําแหนงที่กําหนดจุดอางอิงและ ลากเมาสไป คลิกคําสั่ง Spline เมาสจะแสดงสัญลักษณ และมีขั้นตอนการใชงานของคําสั่ง Spline ดังนี้


19

1. คลิกคําสั่ง Spline หรือนําเมาสไปที่ MenuBar คลิก Tools >Sketch Entities> Spline จากนั้นนําเมาสไปวาง ณ ตําแหนงใดๆคลิกเมาสซายเพื่อสราง Sketch ทําการลากเมาสไป ตํ า แหน ง ที่ ต อ งการแล ว คลิ ก เมาส ซ า ยจากนั้ น ลากเมาส ไ ป ณ ตํ า แหน ง ต อ ไป ที่ ต อ งการสร า งเส น โค ง แบบตอเนื่อง

ภาพที่ 3.14 การสเกทชเสนโคงโดยคําสั่ง Spline 2. เมื่อถึงจุดสิ้นสุดของเสนโคง ใหคลิกเมาสขวาเลือก Select เพื่อออกจากคําสั่ง Spline 3.3 การใชคําสั่ง Sketch Tools 3.3.1 การใชคําสั่ง Mirror Entities การใชคําสั่ง Mirror Entities เปนการทําสําเนาหรือคัดลอก Sketch ที่สรางขึ้นโดยใช หลักการของการสองกระจก ซึ่งจะตองกําหนดเสนอางอิง Centerline ซึ่งมีขั้นตอนการใชงานดังนี้ 1. คลิก Sketch สรางรูปเสนวงกลม 2. สเกทชเสน Centerline เพื่อเปนตําแหนงอางอิงกึ่งกลาง


20

ภาพที่ 3.15 การสเกทชเสน Centerline 3. จากนั้นนําเมาสไปคลิกที่คําสั่ง Mirror Entities หรือนําเมาสไปคลิกที่ Tools>Sketch Tools > Mirror Entities เลือกสวนที่จะทําสําเนา Arc1 ในชอง Entities To Mirror และในชอง Mirror About เลือกCenterline Line 2 เปนกระจกสะทอน แลวกด แปน Enter

ภาพที่ 3.16 การกําหนดคาพารามิเตอรของคําสั่ง Mirror


21 3.3.2 การใชคําสั่ง Sketch Chamfer การใชคําสั่ง Sketch Chamfer เปนการลบมุมแบบเปนเหลี่ยมของ Profile Sketch ซึ่ง สามารถที่จะกําหนดขนาดของความกวางและความสูง หรือความกวางและมุมองศาได โดยมีขั้นตอนการใช คําสั่งดังตอไปนี้ 1. ทําการสเกทชรูปสี่เหลี่ยม ขนาด 60x60 mm ขึ้นมา 2. คลิกคําสั่ง Sketch Chamfer หรือนําเมาสไปคลิก Tools>Sketch Tools > Chamfer จะปรากฏ Properties Manager ของคําสั่ง Sketch Chamfer ดานซายมือ เพื่อใหเราระบุระยะของมุมที่ ตองการจะลบมุมซึ่งสามารถกําหนดไดมากกวา 1 ครั้ง 3. เมื่อกําหนดระยะของมุมเรียบรอยแลว ใหนําเมาสไปคลิกที่มุมหรือเสน 2 เสน ที่ ตองการจะทําการลบมุมดังรูป

ภาพที่ 3.17 การกําหนดคาพารามิเตอรของคําสั่ง Chamfer


22 3.3.3 การใชคําสั่ง Sketch Fillet การใชคําสั่ง Sketch Fillet เปนการลบมุมของ Profile Sketch ซึ่งสามารถที่จะกําหนด รัศมีของสวนโคงโดยการคลิกเลือกเสน 2 เสน โดยมีขั้นตอนการใชคําสั่งดังตอไปนี้ 1. ทําการสเกทชรูปสี่เหลี่ยมขึ้นมาดังรูปขางลางนี้

ภาพที่ 3.18 การกําหนดคาพารามิเตอรของคําสั่ง Fillet 2. นําเมาสไปคลิกที่คําสั่ง Sketch Fillet หรือนําเมาสไปคลิก Tools>Sketch Tools > Fillet ก็จะปรากฏ Properties Manager ของคําสั่ง Sketch Fillet ทางดานซายมือเพื่อใหเราระบุรัศมีของ สวนโคง ที่ตองการลบมุมซึ่งสามารถกําหนดรัศมีสวนโคงไดมากกวา 1 ครั้ง 3. เมื่ อกํ าหนดรัศมีส วนโค งเรี ยบรอยแลว ใหนําเมาสไ ปคลิกที่ มุมหรือเสน 2 เสน ที่ ตองการจะทําการลบมุมดังรูป


23

ภาพที่ 3.19 การลบมุม ดวยคําสั่ง Fillet 3.3.4 การใชคําสั่ง Offset Entities การใชคําสั่ง Offset Entities คือการสราง Profile Sketch จากขอบหรือผิวชิ้นงานให เหมือนกับตนแบบโดยกําหนดระยะเยื้องจากเสนรอบรูปเดิมและทิศทางระหวางตําแหนงที่ตองการกับขอบ ชิ้นงานเดิม โดยจะมีขั้นตอนการใชคําสั่งดังตอไปนี้ 1. ทําการสราง Sketch ตนแบบดังรูป นําเมาสไป Select หรือเสนที่ตองการ Offset

ภาพที่ 3.20 การสเกทชรูปตนแบบ 2. คลิกคําสั่ง Offset Entities หรือนําเมาสไปที่ Menu Bar Tools>Sketch Tools > Offset Entities จะปรากฏ Properties ของคําสั่ง Offset Entities ขึ้นมา ทางดานซายมือเพื่อใหเรากําหนด ระยะหางและทิศทางของการทําสําเนา 3. แสดง Properties Sketch ได ทํ า การ Offset โดยมี ร ะยะห า งออกมา Sketch เดิ ม 10 mm


24

ภาพที่ 3.21 การใชคําสั่ง Offset Entities 3.3.5 การใชคําสั่ง Trim Entities การใชคําสั่ง Trim Sketch เปนคําสั่งที่ใชในการตัดเสนขอบชิ้นงานที่ได โดยมีขั้นตอนการ ใชคําสั่งดังตอไปนี้ 1. เมื่อเราสรางรูปสเกทชเสน ที่ไมตอเนื่องหรือทับกันดังรูป

ภาพที่ 3.22 การสเกทชเสนทับกัน


25 2. นําเมาสไปคลิก Trim Entities หรือนําเมาสไปที่ Menu Bar Tools>Sketch Tools > Trim เมาสจะแสดงสัญลักษณ จากนั้นนําเมาสไปวางในสวนของเสนที่ตองการตัดหรือลบ เสนจะแสดงเปนสี เขียวเมื่อนําเมาสไปวางบนเสน 3. คลิกเมาสซายเพื่อลบหรือตัดเสน สามารถทําไดมากกวา 1 จุด หรือ 1เสน

ภาพที่ 3.23 การใชคําสั่ง Trims ตัดเสนทับกันออก 3.3.6 การใชคําสั่ง Liner Step and Repeat การใชคําสั่ง Liner Step and Repeat เปนการทําสําเนา รูปสเกทช จากตนแบบใหไปเปน ในแนวนอนและแนวตั้ง ซึ่งเราสามารถที่จะกําหนดจํานวนของ Profile ระยะหาง Profile และมุมของ Profile โดยมีขั้นตอนการใชงานดังตอไปนี้ 1. ทําการสเกทช รูปวงกลม ขึ้นมาดังรูปขางลางนี้ 2. นําเมาสไปวางที่ Profile ที่ตองการทําสําเนาคลิกเมาสซายหนึ่งครั้ง


26

ภาพที่ 3.24 การกําหนดพารามิเตอรในคําสั่ง Liner Step and Repeat 3. นําเมาสไปคลิก Liner Step and Repeat หรือนําเมาสไปคลิกที่ Tools>Sketch Tools > Liner Step and Repeat จะปรากฏกลองขอความของคําสั่ง Liner Step and Repeat ขึ้นมาเพื่อใหเรา กําหนดคาตางๆลงไป 4. คลิกปุม Preview เมื่อถูกตองตามตองการใหคลิกปุม OK

ภาพที่ 3.25 การ Preview ในคําสั่ง Liner Step and Repeat


27 3.3.7 การใชคําสั่ง Circular Step and Repeat การใชคําสั่ง Circular Step and Repeat เปนการทําสําเนา Profile Sketch จากตนแบบ ใหเปนลักษณะวงกลม ซึ่งเราสามรถที่จะกําหนดจุดศูนยกลางของการทําสําเนา และสามารถที่จะกําหนดจํานวน ระยะหาง รัศมี และมุม ของ Profile ที่จะทําการสําเนา โดยมีขั้นตอนการใชงานดังตอไปนี้ 1. ทําการสเกทช รูปวงกลม ขึ้นมาดังรูปขางลางนี้ 2. นําเมาสไปวางที่ Profile ที่ตองการทําสําเนาคลิกเมาสซายหนึ่งครั้ง

ภาพที่ 3.26 การกําหนดพารามิเตอรในคําสั่ง Circular Step and Repeat 3. นําเมาสไปคลิก Circular Step and Repeat หรือนําเมาสไปคลิกที่ Tools>Sketch Tools> Circular Step and Repeat จะปรากฏกลองขอความของคําสั่ง Circular Step and Repeat ขึ้นมา เพื่อใหเรากําหนดคาตาง ๆ ลงไป 4. คลิกปุม Preview เมื่อถูกตองตามตองการใหคลิกปุม OK


28

ภาพที่ 3.27 การ Preview ในคําสั่ง Circular Step and Repeat 3.3.8 การใชคําสั่ง Text การใชคําสั่ง Text เปนการสราง ตัวอักษรซึ่งสามารถ เขียนไดทั้งตัวอักษรที่เปนภาษาไทย และอังกฤษ โดยวิธีการสราง Textจะตองสราง Guide เปนแนวเสนทางของตัวหนังสือกอน โดยมีวิธีการใชงาน ของคําสั่งดังตอไปนี้ 1. สราง Guide Line เปนแนวเสนดังรูป 2. นําเมาสไปคลิกที่เสน Guide Line ที่ไดสรางขึ้นดังรูป

ภาพที่ 3.28 การสเกทชรูปวงกลมเปนเสนนําทาง 3. นําเมาสไปคลิกคําสั่ง Text หรือนําเมาสไป Manu Bar คลิกที่ Tools>Sketch Tools> Text จะปรากฏ Properties ของคําสั่ง Text ขึ้นมาเพื่อใหเราพิมพขอความลงไป 4. นําเมาสไปคลิกหนา Use Document’s Font จากนั้นคลิกปุม Font จะปรากฏ Dialog Box Choose Font ขึ้นมาเพื่อใหทําการปรับเปลี่ยน Font และขนาดตัวหนังสือที่ไดพิมพลงไป คลิก OK


29 5. เมื่อทําการปรับตําแหนงและคาตางๆ เรียบรอยแลวคลิกเครื่องหมาย 3 มุมขวาบน

ภาพที่ 3.29 การสเกทชตัวอักษรในวงกลม 3.4 การกําหนดความสัมพันธ Add Relations การสรางความสัมพันธของ Profile Sketch ขึ้นอยูกับลักษณะของเสน บางครั้งในการสรางเสน รางก็เกิดความสัมพันธ แบบอัตโนมัติ เชน เสนในแนวดิ่ง หรือเสนในแนวนอน ซึ่งเมื่อเราทําการราง Sketch ไปแลวสามารถกําหนดความสัมพันธ ไดในภายหลัง โดยการกําหนดความสัมพันธใหกับ Profile Sketch สามารถกระทําได 3 วิธีคือ เลือกคําสั่งจาก Manu Bar เลือกคลิกคําสั่งจาก Sketch Toolbars และคลิกเมาส ขวาเลือก Add Relation ซึ่งกําหนดความสัมพันธมีดวยกันหลายเงื่อนไขขึ้นอยูกับการสราง Sketch นั้นๆ โดยจะแสดงตัวอยางและอธิบายความหมายของความสัมพันธดังตอไปนี้


30 3.4.1 การกําหนดความสัมพันธแบบ Collinear การกําหนดความสัมพันธแบบ Collinear คือการกําหนดความสัมพันธในแนวเสนสเกทช ทับกันหรือแนวเสนอยูในระนาบเดียวกัน

ภาพที่ 3.30 การกําหนดความสัมพันธแบบ Collinear


31 3.4.2 การกําหนดความสัมพันธแบบ Parallel การกําหนดความสัมพันธแบบ Parallel คือการกําหนดความสัมพันธในแนวเสนราง 2 เสน ขนานกัน โดยอางอิงเสนแรกที่ไดทําการ Select เลือกไว โดยจะขนานกันไปตลอดทั้งความยาวเสน

ภาพที่ 3.31 การกําหนดความสัมพันธแบบ Parallel


32 3.4.3 กําหนดความสัมพันธแบบ Perpendicular กําหนดความสัมพันธแบบ Perpendicular Sketch ตั้งฉากกับเสนอางอิงเสนแรกที่ไดทําการเลือกไว

คือการกําหนดความสัมพันธในแนวเสน

ภาพที่ 3.32 การกําหนดความสัมพันธแบบ Perpendcular


33 3.4.4 การกําหนดความสัมพันธแบบ Concentric การกําหนดความสัมพันธแบบ Concentric คือการกําหนดความสัมพันธในวงกลม 2 วง รวมจุด ศูนยกลางเดียวกันกับวงกลมอางอิงวงแรกที่ไดทําการเลือกไว

ภาพที่ 3.33 การกําหนดความสัมพันธแบบ Concentric 3.4.5 การกําหนดความสัมพันธแบบ Coradial การกําหนดความสัมพันธแบบ Coradial คือการกําหนดความสัมพันธในวงกลม 2 วง รวม จุดศูนยกลางเดียวกันและมีขนาดเสนผาศูนยกลางเทากันกับวงอางอิงวงแรก

ภาพที่ 3.34 การกําหนดความสัมพันธแบบ Coradial


34 3.4.6 การกําหนดความสัมพันธแบบ Equal การกําหนดความสั มพั นธแบบ Equal กํ าหนดความสัมพั นธ ใ ห วงกลม มีขนาด เสนผาศูนยกลางเทากันกับวงรีอางอิงวงแรก หรือ การกําหนดความสัมพันธให ความยาวของเสน มีขนาด เทากันกับเสนอางอิงเสนแรกที่ไดทําการเลือกไว

ภาพที่ 3.35 การกําหนดความสัมพันธแบบ Equal


35 3.5.7 การกําหนดความสัมพันธแบบ Horizontal การกําหนดความสัมพันธแบบ Horizontal คือการกําหนดความสัมพันธใหแนวเสนรางกับ เสนรางกับรูปทรงสามมิติ หรือจุดปลายเสน 2 เสน แสดงอยูในระนาบแนวนอน

ภาพที่ 3.36 การกําหนดความสัมพันธแบบ Horizontal


36 3.5.8 การกําหนดความสัมพันธแบบ Vertical การกําหนดความสัมพันธแบบ Vertical คือการกําหนดความสัมพันธใหแนวเสนรางกับเสน ราง เสนรางกับขอบรูปทรงสามมิติ หรือจุดปลายเสน 2 เสน แสดงอยูในระนาบแนวตั้งหรือแนวดิ่ง

ภาพที่ 3.37 การกําหนดความสัมพันธแบบ Vertical


37 3.5.9 การกําหนดความสัมพันธแบบ Tangent การกําหนดความสัมพันธแบบ Tangent คือการกําหนดความสัมพันธในแนวเสน Sketch สัมผัสกับเสนสวนโคงที่สรางจาก Arc หรือ Circle หรือสวนโคงกับสวนโคงใหมาสัมผัสกัน

ภาพที่ 3.38 การกําหนดความสัมพันธแบบ Tangent


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.