รูปแบบการเรียนการสอน2

Page 1








1


2


รูปแบบการเรียนการสอนแบบเส้ นทางเดินเรื่ อง รู ปแบบการเรี ยนรู้การสอนแบบเส้นทาง เดินเรื่ อง (Storyline Method) การเรี ยนรู้ที่ดีควรมี การบูรณาการหรื อเป็ นสหวิทยาการการเรี ยนรู้ที่รวบรวม หลาย ๆ การทางานและการดาเนินชีวิตประจาวันเป็ นการ เรี ยนรู้ที่เกิดขึ้นผ่านทางประสบการณ์ตรงหรื อการกระทา หรื อการมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนเองความคงทนของผลการ เรี ยนร ้​้ข้ ึนอยูก่ บั วิธีการเรี ยนรู ้หรื อวิธีการที่ได้ความรู้มา ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้คุณค่าและสร้างผลงานทีด่ ีได้หากมี โอกาส ได้ลงมือกระทา

การเรี ยนการสอนโดยวิธีการสร้างเรื่ องนี้ ยงั ใช้หลักการเรี ยนรู้และ การสอนอีกหลายประการเช่นการเรี ยนรู้จากสิ่ งใกล้ตวั ไปสู่วิถีชีวิตจริ ง การสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองและการเรี ยนการสอนโดยยึดผูเ้ รี ยน เป็ น ศูนย์กลางรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่มีลกั ษณะบูรณาการเนื้อหา หลักสูตรและทักษะการเรี ยนจากหลายสาขาวิชาเข้าด้วย

3


รูปแบบการเรียนการสอนแบบเส้ นทางเดินเรื่ อง รู ปแบบการเรี ยนการสอนที่มีลกั ษณะบูรณาการเนื้อหาหลักสู ตรและ ทักษะการเรี ยนจากหลายสาขาวิชาเข้าด้วยกันโดยให้ผเู ้ รี ยนได้สร้างสรรค์ เรื่ องขึ้นด้วยตนเองโดยผูส้ อนทาหน้าที่วางเส้นทางเดินเรื่ องให้

การดาเนินเรื่ องแบ่งเป็ นตอนๆแต่ละ ตอนประกอบด้วยกิจกรรมย่อยที่ เชื่อมโยงกันด้วยคาถามหลัก (Key question) ลักษณะของ คาถามหลักที่เชื่อมโยงเรื่ องราวให้ดาเนิน ไปอย่างต่อเนื่องมี 4 คาถาม ได้แก่ ที่ ไหน? ใคร? ทาอะไร? อย่างไร? และมี 4 เหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น?


รูปแบบการเรียนการสอนแบบเส้ นทางเดินเรื่ อง

ผูส้ อนจะใช้คาถามหลักเหล่านี้ เปิ ดประเด็นให้ผเู ้ รี ยนคิดร้อยเรี ยง เรื่ องราวด้วยตนเองรวมทั้งสร้างสรรค์ชิ้นงานประกอบกันไปการเรี ยน การสอนด้วยวิธีการดังกล่าวช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสได้ใช้ประสบการณ์ และความคิดของตนอย่างเต็มที่และมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความรู ้ ความคิดกันอภิปรายร่ วมกันและเกิดการเรี ยนรู้อย่างกว้างขวางช่วยพัฒนา ความรู้ความเข้าใจและเจตคติของผูเ้ รี ยนในเรื่ องที่เรี ยนรวมทั้งทักษะ กระบวนต่างๆเช่นทักษะการคิดทักษะการทางานบการณ์เดิมอย่างกษะ การแก้ปัญหาทักษะการสื่ อสารเป็ นต้นโดยมีกระบวนการเรี ยนการสอน ดังนี้

5


รูปแบบการเรียนการสอนแบบเส้ นทางเดินเรื่ อง ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดเส้ นทางการเดินเรื่องให้เหมาะสม ผูส้ อนจาเป็ นต้องใช้การวิเคราะห์จุดมุ่งหมายและเนื้ อหาสาระของ หลักสู ตรเลือกหัวข้อให้สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของหลักสู ตรที่ ต้องการและจัดเรี ยงการวางแผนการเรี ยนการสอน ขั้นตอนที่ 2 การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผูส้ อนดาเนินการตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ไปตามลาดับ การเรี ยนการสอนแบบนี้ อาจใช้ เวลาเพียงไม่กี่คาบหรื อต่อเนื่องกันเป็ นภาคเรี ยนก็ได้ แล้วแต่วา่ จะใช้เวลานานแค่ไหน แต่ไม่ควรใช้เกิน 1 ภาคเรี ยน เพราะอาจเกิดจากความเบื่อหน่าย ในการจัดกิจกรรมใหม่ ๆ ให้ผเู ้ รี ยนสรุ ปความคิดรวบยอดของแต่ละกิจกรรมก่อนจะขึ้นกิจกรรมใหม่ นอกจากนั้น ควรกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู ้ที การเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนชื่น ชมผลงานและได้รับการปรับปรุ งพัฒนางานงานของตนเอง ขั้นตอนที่ 3 การประเมิน ผูส้ อนใช้การประเมินผลตามสภาพแท้จริ ง คือการประเมินจากการสังเกตการ บันทึกรวบรวมข้อมูลจากผลงาน และการแสดงออกของผูเ้ รี ยน การประเมินจะไม่ เน้นเฉพาะทักษะพื้นฐานเท่านั้น แต่จะรวมถึงทักษะการคิดการทางานการร่ วมมือ การแก้ปัญหาและอื่น ๆ การประเมินให้ความสาคัญในการประสบผลสาเร็ จในการ ทางานของผูเ้ รี ยนแต่ละคนมากกว่าการประเมินผลการเรี ยนที่มุ่งให้คะแนนผลผลิต และจัดลาดับที่เปรี ยบเทียบกับกลุ่มรู ปแบบการเรี ยนการสอนนี้ จะช่ วยให้ผเู ้ รี ยนจะ เกิดความ รู ้ความเข้าใจในเรื่ องที่เรี ยนในระดับที่สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ 6 ได้รวมทั้งได้พฒั นาทักษะกระบวนการต่างๆ


7


8


9


10


11


12


13


14


15


16


17


18


19


20


21


22


23


24


25


26


27


28


29


30


31


32


ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียน 4 ประเภท

33


1

2

3

4 34


35


ประสบการณ์รูปธรรม

การสังเกตอย่างไตร่ตรอง

36


37


38


39


1

2 3 4 40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


66


67


68


69


70


71


72


73


74


75


76


77


78


79


80


81


82


83


84


85


86


87


88


89


90


91


92


93


94


95


96


97


98


99


100


101


102


103


104


105


106


107


108


109


110


111


112


113


114


115


116


117


118


119


120


121


122


123


124


125


126


127


128


129


130


131


132


133


134


135


136


137


138


139


140


141


142


143


144


145


146


147


148


149


150


151


152


153


154


155


156


รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist Theory)

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจาก เดิมที่เน้นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด(Cognitive processes) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยภายในมี ส่วนช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และความรู้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของ ผู้เรียน แนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) หรือ เรียกชื่อแตกต่างกันไป ได้แก่ สร้างสรรค์ ความรู้นิยม หรือสรรค์สร้างความรู้นิยม หรือ การสร้างความรู้ (โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู้, 2544) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้ หรือการสร้างความรู้ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการนาประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดล้อมหรือสารสนเทศใหม่ที่ ได้รับมาเชื่อมโยงกับ ความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม มาสร้างเป็น ความเข้าใจของตนเอง หรือ เรียกว่า โครงสร้าง ทางปัญญา (Cognitive structure) หรือที่เรียกว่า สกีมา (Schema)

157


แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสต์ สรุปเป็นสาระสาคัญได้ดังนี้

1. ความรู้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์ในการ คลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและสามารถนาไปใช้เป็นฐานในการแก้ปัญหาหรืออธิบายสถานการณ์อื่น ๆ ได้ 2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร้างทาง ปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น 3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรียนเอง ภายใต้ ข้อ สมมติฐานต่อไปนี้ 3.1 สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางปัญญา 3.2 ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายใน ให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพื่อขจัดความ ขัดแย้งนั้น Dewey ได้อธิบายเกี่ยวกับลักษณะการไตร่ตรอง(Reflection) เป็นการพิจารณาอย่าง รอบคอบ กิจกรรมการไตร่ตรองจะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์ที่เป็นปัญหา น่าสงสัย งงงวย ยุ่งยาก ซับซ้อน เรียกว่า สถานการณ์ก่อนไตร่ตรอง และจะจบลงด้วยความแจ่มชัดที่สามารถอธิบาย สถานการณ์ดังกล่าว สามารถแก้ปัญหาได้ ตลอดจนได้เรียนรู้และพึงพอใจกับผลที่ได้รับ

158


3.3 การไตร่ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การมีปฎิ สัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา จากแนวคิดข้างต้นนี้กระบวนการ เรียนการสอนในแนวคอนสตรัคติวิสต์ จึงมักเป็นไปในแบบที่ให้นักเรียนสร้างความรู้จากการช่วยกัน แก้ปัญหา (Cooperative problem solving) กระบวนการเรียนการสอนจะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่ ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) นั่นคือประสบการณ์และโครงสร้างทาง ปัญญาที่มีอยู่เดิม ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหานั้นได้ลงตัวพอดีเหมือนปัญหาที่เคยแก้มาแล้ว ต้องมีการ คิดค้นเพิ่มเติมที่เรียกว่า “การปรับโครงสร้าง” หรือ “การสร้างโครงสร้างใหม่” ทางปัญญา (Cognitive restructuring) โดยการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ถกเถียงปัญหา ซักค้านจนกระทั่งหา เหตุผล หรือหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทางปัญญาภายในตนเอง และระหว่างบุคคล ได้ (ไพจิตร, 2543)

159


แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์

จากแนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่เป็นรากฐานสาคัญซึ่งปรากฏจากรายงานของนักจิตวิทยา และ นักการศึกษา คือ Jean Piaget ชาวสวิส และ Lev Vygotsky ชาวรัสเซีย ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ Cognitive Construtivism และ Social Construtivism ดังมีรายละเอียด ดังนี้

1. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive Constructivism) มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget แนวคิดของทฤษฎีนี้ เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือกระทา Piaget เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือ เรียกว่าเกิดการเสียสมดุลย์ทางปัญญา(Disequilibrium) ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring)ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลย์(Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา และ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา (Accomodation) คือ การเชื่อมโยงโครงสร้างทางปัญญาเดิม หรือความรู้เดิมที่มีมาก่อนกับข้อมูลข่าวสาร ใหม่ จนกระทั่งผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลย์ หรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง 2. กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social constructivism) เป็นทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Vygotsky ซึ่งมีแนวคิดที่สาคัญที่ว่า "ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา"

160


รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาที่อาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับช่วงของการพัฒนาที่ เรียกว่า Zone of Proximal Development ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development จา เป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการเรียนรู้ ที่เรียกว่า Scaffolding และVygotskyเชื่อว่าผู้เรียนสร้าง ความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน ในขณะที่ เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural context )

161


สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

ต่อไปนี้จะเป็นสรุปแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสสต์ โดยเน้นเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1.ผู้เรียนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning are active) ความสาคัญของการเรียนตามแนวทฤษฎี คอน สตรัคติวิสต์ เป็นกระบวนการ ที่ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลใหม่กับประสบการณ์ที่มีมาก่อนหรือความรู้เดิมของ ผู้เรียน และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ แนวคิดที่หลากหลายเป็นสิ่งที่มีค่าและจาเป็น (Multiple perspective are valued and necessary) ตามแนวทางทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ กล่าวว่า ผู้เรียนจะต้อง สร้างแนวคิดของตนเอง แนวคิดนี้จาเป็นต้องประกอบด้วยแนวคิดที่หลากหลายและ กว้างขวาง อาจมาจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ โดยที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ เช่น ครู กลุ่มเพื่อน นักเขียน และหนังสือ เป็นต้น ทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรวบรวมแนวคิดที่หลากหลายและสังเคราะห์สิ่งเหล่านี้เป็นแนวคิดที่บูรณาการ ขึ้นมาใหม่ 2.การเรียนรู้ควรสนับสนุนการร่วมมือกันไม่ใช่การแข่งขัน (Learning should support collaboration , not competition) จากการแลกเปลี่ยนแนวคิดที่หลากหลายนั้นหมายถึง การร่วมมือ ในระหว่างที่มีการ ร่วมมือ ผู้เรียนต้องมีการสนทนากับคนอื่นๆเกี่ยวกับเรื่องที่กาลังเรียนรู้ กระบวนการนี้คือ การร่วมมือและ แลกเปลี่ยน หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งเป็นการทาให้ผู้เรียนตกผลึกและกลั่นกรองสิ่งที่สร้างขึ้นแทนความรู้

162


ภายในสมอง มาเป็นคาพูดที่ใช้ในการสนทนาที่แสดงออกมาภายนอกที่เป็นรูปธรรม และส่งเสริมการสังเคราะห์ ความรู้ที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ และการสร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง 3.ให้ความสาคัญกับการควบคุมตนเองตามระดับของผู้เรียน (Focuses control at the leaner level) ถ้าผู้เรียนลงมือกระทาในบริบท การเรียนรู้ โดยการร่วมมือกับผู้เรียนคนอื่น และผู้สอน และจาเป็นต้องควบคุม กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองมากกว่าการที่เรียนในลักษณะที่เป็นผู้รับฟัง (Passive listening) จากการ บรรยายของผู้สอน นี่แสดงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน 4.นาเสนอประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตรงกับสภาพที่เป็นจริงหรือประสบการณ์การเรียนรู้ในชีวิตจริง (Provides authentic,real-world learning experiences) ความรู้ที่ถูกแยกออกจากบริบทในสภาพจริง ในระหว่างการสอนสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่ไม่ใช่สภาพจริงนั้น มักจะเป็น สิ่งที่ไม่มีความหมายต่อผู้เรียนมากนัก แต่ สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ใน สถานการณ์ต่างๆที่อยู่ในบริบทของสภาพจริง ดังนั้นประสบการณ์ การเรียนรู้ที่ประยุกต์ไปสู่ปัญหาในชีวิตจริง (Real world problems)จะช่วยสร้างการเชื่อมโยงที่แข็งแกร่ง และส่งผลให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์สิ่งที่ได้ เรียนไปสู่สถานการณ์ใหม่ในสภาพชีวิตจริงได้

163


การออกแบบการสอนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ข้อตกลงเบื้องต้นของการออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) Bednar etal (1991) ได้ให้ข้อตกลงไว้ดังนี้

1.การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้างจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็น กระบวนการสร้าง สิ่งที่ขึ้นแทนความรู(้ Representation)ในสมองที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างขึ้น 2.การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การเรียนรู้เป็นการแปลความหมาย ตามสภาพจริง (Real world) ของแต่ละคน" การเรียนรู้เป็นผลจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของ แต่ละคน 3.การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทา (Learning active) การเรียนรู้เป็นการที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทา ซึ่งเป็น การสร้าง ความหมายที่พัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานของประสบการณ์ 4.การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) ความหมายในการเรียนรู้เป็นการต่อรอง จากแนวคิด ที่หลากหลาย "การพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเอง ได้มาจากการร่วมแบ่งปัน แนวคิดที่ หลากหลายในกลุ่ม และในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนการสร้างสิ่งที่แทนความรู้ในสมอง(Knowledge representation) ที่สนองตอบต่อแนวคิดที่หลากหลายนั้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ในขณะที่มีการแลกเปลี่ยน

164


เรียนรู้โดยการอภิปรายเสนอความคิดเห็นที่หลากหลายของแต่ละคน ผู้เรียนจะมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ความรู้ของตนด้วยและสร้างความหมายของตนเองขึ้นมา 5.การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) ควรเกิดขึ้นในสภาพชั้นเรียนจริง (Situated or anchored) " การเรียนรู้ต้องเหมาะสมกับบริบทของสภาพจริง หรือสะท้อนบริบทที่เป็นสภาพจริง" 6. การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็นการบูรณาการเข้ากับ ภารกิจการเรียน (Task) ไม่ควรเป็นกิจกรรมที่แยกออกจากบริบท การเรียนรู้ " การวัดการเรียนรู้ เป็นวิธีการที่ ผู้เรียนใช้โครงสร้างความรู้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้เกิดการคิดในเนื้อหาการเรียนรู้นั้น ๆ "

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่สังเคราะห์ขึ้น มีดังนี้ 1.ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน

ซึ่งเป็นขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของนักเรียน โดยการทบทวนความรู้เดิมและพยายามกระตุ้นให้นักเรียน ระลึกถึงประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเนื้อหาใหม่ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสร้างสถานการณ์ ยกตัวอย่าง ใช้เกม ใช้คาถาม ฯลฯ เพื่อเป็นแรงจูงใจในการเรียนเนื้อหาใหม่และเพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้าง โครงสร้างใหม่ทางปัญญา ครูผู้สอนจะต้องค้นหาและระลึกถึงความรู้และประสบการณ์เดิม

165


2.ขั้นสอน

2.1 ขั้นเผชิญสถานการณ์ปัญหา ซึ่งเป็นแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล ครูผู้สอนเสนอสถานการณ์ที่เป็นปัญหาที่ สัมพันธ์กับบทเรียนและสอดคล้องกับชีวิตประจาวัน เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนเป็น แรงจูงใจให้นักเรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งนักเรียนทาความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและหาแนวทางใน การแก้ปัญหา 2.2 ขั้นกิจกรรมไตร่ตรองระดับกลุ่มย่อย เป็นขั้นตอนที่สมาชิกในกลุ่มย่อย เสนอแนวทางแก้ปัญหาของตนเอง ทีอ่ าจเป็นไปได้ต่อกลุ่มย่อย ครูผู้สอนจะต้องพยายามกระตุ้นให้นักเรียนสะท้อนความคิดออกมา เพราะการ สะท้อนความคิดเป็นการแสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจของนักเรียนว่ามีมากน้อยเพียงใด ที่ช่วยให้สมาชิกเห็น แนวทางแก้ปัญหาของคนอื่นมากยิ่งขึ้น 2.3 เสนอแนวทางแก้ปัญหาต่อทั้งชั้น เป็นขั้นตอนที่กลุ่มย่อยเสนอแนวทางการแก้ปัญหาและแสดงให้เห็นจริง ถึงความสมเหตุสมผล ในขั้นนี้กลุ่มย่อยจะมีส่วนช่วยทาให้ทุกคนมีความพร้อมที่จะนาเสนอแนวทางแก้ปัญหา ต่อทั้งชั้น พร้อมทั้งตอบข้อซักถามและชี้แจงเหตุผล นักเรียนทุกคนจะได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายและ ตรวจสอบถึงความถูกต้องและเหมาะสมในแนวทางการแก้ปัญหาประเมินทางเลือกถึงข้อดีข้อจากัดของแต่ละ ทางเลือกและสรุปแนวทางเลือกทั้งหมด เพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์อื่นๆ

166


3 ขั้นสรุปนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการและกระบวนการแก้ปัญหา ในเรื่อง ที่เรียนและครูผู้สอนช่วยเสริม แนวคิดหลักการความคิดรวบยอดและกระบวนการแก้ปัญหาให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 4 ขั้นฝึกทักษะและนาไปใช้ เป็นขั้นที่ให้นักเรียนฝึกทักษะจากใบงานที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น ที่มีสถานการณ์ที่ หลากหลายหรือที่นักเรียนสร้างสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับสถานการณ์เดิม นักเรียนเลือกทางเลือกที่เหมาะสม เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสามารถอธิบายวิธีแก้ปัญหาของตนเองได้

167


5 ขั้นประเมินผล

ขั้นนี้จะประเมินผลจากการทาใบงาน จากการทาแบบฝึกหัดในบทเรียนและจากสถานการณ์ที่นักเรียนสร้าง ขึ้น นอกจากนั้นครูผู้สอนอาจใช้การสังเกตในการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อเป็นการตรวจสอบระดับความรู้ ของนักเรียนในเรื่องที่เรียนว่านักเรียนมีความรู้ความสามารถตามเกณฑ์ที่ได้ตั้งไว้หรือไม่มากน้อยเพียงใด เพื่อ เป็นข้อมูลในการสอนซ่อมเสริมให้กับนักเรียนที่ยังไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนที่จะทาการสอนเนื้อหา อื่นๆต่อไป

168


169


170


171


172


173


174


175


176


177


178


179


180


181


182


183


184


185


186


187


188


อ้างอิง บ้านจอมยุทธ. (2543). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivist theory). สืบค้นวันที่ 1 กันยายน 2562. จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-2/constructivist_theory/01.html ประภัสรา โคตะขุน. (2553). รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสต์. สืบค้นวันที่ 1 กันยายน 2562. จาก https://sites.google.com/site/prapasara/khorngsrang-raywicha-m-1?fbclid=IwAR3jmloIddhJEBqMaArbJglHGnE7_76136rZ3SvPg_fHCe14mCnYEdCD2M อมรินทร์ อาพลพงษ์. การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามแนวทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2559 อนุชา โสมาบุตร. (2556).ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory). สืบค้นวันที่ 1 กันยายน 2562. จาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/constructivist-theory/

189


190


191


192


193


194


195


196


197


198


199


200


201


202


203


204


205


206


207


208


209


210


211


212


213


214


215


216


217


218


219


220


221


222


223


224


225


226


227


228


229


230


231


232


233


234


235


236


237


238


239


240


241


242


243


244


245


246


247


248


249


250


251


252


253


254


255


256


257


258


259


260


261


262


263


264


265


266


267


268


269


270


271


272


องค์ประกอบสำคัญในกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ

273


274


275


บทคัดย่อ

276


Abstract

277


278


279


280


281


282


283


284


285


286


287


288


289


290


291


292


293


294


295


296


297


298


299


300


301


302


303


304


305


306


307


308


309


310


311


312


313


314


315


316


317


318


319


320


321


322


323


324


325


326


327


328


329


330


331


332


333


334


335


336


337


338


ผลของการจัดการเรียนรู้อิงแนวคิดจิตตปัญญาวิชาจิตวิทยาสาหรับครูที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นาตนเอง ของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน

Effects of Contemplative Learning in Psychology for Teachers on Learning Achievement and Self-Directed Learning Readiness of Students with Different Learning Levels of Achievement

อรรถพล ปัญจะเพ็ชรแก้ว

339


340


341


342


343


344


ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ผลของการจัดการเรียนรู้อิงแนวคิดจิตตปัญญาวิชาจิตวิทยาสาหรับครูที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยการชี้นาตนเอง ของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน

345


346


347


348


349


350


351


352


353


354


355


356


357


358


359


360


361


362


363


364


365


366


367


368


369


370


371


372


373


374


375


376


รูปแบบการเรี เรียนการสอนตามแนวคิดสมองเปนฐาน (Brain Brain Based Learning : BBL) การเรียนรูตามรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดสมองเปนฐาน หมายถึง การเรียนรูที่ใ ช โครงสรางและหนาที่ของสมองเปนเครื่องมือในการเรียนรู โดยไมสกัดกั้นการทํางานของสมอง แตเปนการ สงเสริมใหสมองไดปฏิบัติหนาที่ใหสมบูรณที่สุด การเรียนรูตามแนวคิดสมองเปนฐาน เปนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการของสมองแต ละชวงวัย เปนการนําองคความรูเรื่องสมองมาใชเปนฐานในการออกแบบกระบวนการเรียนรู โดยมีที่มา จากศาสตรการเรียนรู 2 สาขา ดังนี้

ที่มาของ าของการเรี การเรียนรูต ามแนวคิดสมองเปนฐาน

ความรูทางประสาทวิทยา

แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู

(Neurosciences) Neurosciences)

(Learning Learning Theories)

377


หลักการสําคัญของการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐาน 1) สมองเรียนรูพรอมกันทุกระบบ 2) การเรียนรูมีผลมาจากดานสรีรศาสตร 3) สมองเรียนรูโดยการหาความหมายของสิ่งที่ 4) สมองคนหาความหมายโดยการคนหาแบบแผน 5) อารมณมีผลตอการเรียนรูอยางมาก 6) กระบวนการทางสมองเกิดขึ้นทั้งสวนรวมและสวนยอยในเวลา 7) สมองเรียนรูจากการปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม 8) สมองเรียนรูทั้งในขณะที่รูตัวและไมรูตัว 9) สมองใชการจําอยางนอย 2 ประเภท 10) สมองเขาใจและจดจํา 11) สมองจะเรียนรูมากขึ้นจากความทาทาย ไมขมขู 12) สมองแตละคนเปนเอกลักษณเฉพาะตัว

378


Active Processing กระตุนใหผูเรียนกระตือรือรน

Orchestrated Immersion สรางบรรยากาศการเรียนรู

Relaxed Alertness กําจัดความกลัวของผูเรียน

องคประกอบของการเรียนรู โดยใชสมองเปนฐาน

379


ขั้นที่ 5 ขั้นนําความรูไปใช (Application)

ขั้นที่ 4 ขั้นอภิปราย (Discussion)

ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติ (Action)

ขั้นที่ 2 ขั้นปรับความรู (Relaxation)

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมความรู (Preparation Preparation)

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐาน

380


วิทยานิพนธ ผลของการจัดการเรียนรูโดย ดยใช ใชสมองเปนฐานที่มีตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผูเขียน : นางสาวจิรารัตน บุญสงค

381


(1)

ชื่อวิทยานิพนธ์ ผู้เขียน สาขาวิชา ปีการศึกษา

ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นางสาวจิรารัตน์ บุญส่งค์ จิตวิทยา 2558 บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคม ศึกษาของนั กเรี ย นชั้น มัธ ยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลั งการจัดการเรียนรู้โ ดยใช้ส มองเป็นฐาน 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการ เรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน และ3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความคิด สร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มคี ะแนนเฉลี่ยสะสมวิชาสังคมศึกษาสูง ปานกลาง และ ต่​่า หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้น มัธ ยมศึกษาที่ปี 2/2 โรงเรี ย นกอบกุล วิ ทยาคม อ่ าเภอสะเดา จังหวั ดสงขลา ซึ่งเป็นโรงเรียนใน ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 รวมนักเรียน ทั้งสิ้น 32 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ส มองเป็ น ฐาน จ่ า นวน 8 แผน 16 ชั่ ว โมง 2) แบบทดสอบวั ด ผลสั มฤทธิ์ท างการเรี ย นวิช าสั ง คมศึกษามีค่ าความเชื่ อมั่น .78 และ3) แบบทดสอบวัด ความคิ ด สร้างสรรค์มีค่าความเชื่อมั่น .61 ใช้แบบแผนการทดลองแบบทดสอบก่อนและหลังแบบกลุ่มเดียว (One Group Pre-test Post-test) สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) และ One - way MANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับการจั ดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส่าคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2. นั กเรียนที่ได้รับการจั ดการเรียนรู้โ ดยใช้ส มองเป็นฐาน มีความคิด สร้างสรรค์หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยส่าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความคิดสร้างสรรค์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมวิชาสังคมศึกษาระดับสูง ปานกลาง และต่​่าหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส่าคัญที่ระดับ .05

382


(3)

Thesis Title Author Major Program Academic Year

Effects of Brain Based Learning Activities on Achievement and Creativity of Grade Eight Students Miss Jirarat Bunsong Psychology 2015 ABSTRACT

The objectives of this study were 1) to compare of achievement social studies subject of grade eight students before and after taught with brain based learning activities 2) to compare of creativity of grade eight students before and after taught with brain based learning activities. and3) to compare the achievement social studies subject and creativity of grade eight students with an average on social studies subject among high, medium and low, group of students that taught with brain based learning activities. The samples were 22 students of grade eight students in the second academic semester 2016 from Kobkulwitayakom School, Sadao District, Songkhla Province with cluster sampling. The research instruments consisted of 1) 8 Brain Based Learning lessons plan of plan. 2) Test of social studies achievement with the reliability of .78 and3). Test of creativity with the reliability of .61. The statistics used in this study were mean and standard deviation T-test and One - way MANOVA The findings were as follows 1. After social studies achievement with brain based learning activities score higher than before of at a statistically significant level of .01 2. After creativity with brain based learning activities score higher than before of at a statistically significant level of .01

3. The social studies achievement and creativity scores of grade eight students with different levels of grade; high, medium and low, group of students didn’t show any significant differences level of .05. Keywords: Brain Based Learning, Creativity, Achievement.

383


ตัวอยางแผนการเรียนรู

384


135

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 โดยใช้สมองเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สังคมประชาธิปไตย

เวลา 2 ชั่วโมง

__________________________________________________________________________________________________

สาระสาคัญ สังคมประชาธิปไตย สมาชิกทุกคนจะต้องพึงปฏิบัติตนตามคุณลักษณะของพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.2/2

เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่

ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตยได้ 2. นักเรียนวิเคราะห์คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยได้ สาระการเรียนรู้ ลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตยเป็นระบอบการเมืองการปกครองที่คนส่วนใหญ่ของ ประเทศต้องมีส่วนร่วม เคารพในสิทธิเสรีภาพ ใช้หลักเหตุผลในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง เคารพ กติกาของสังคม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีความเชื่อมั่นในหลักความยุติธรรม นอกจากนี้ การ เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยเป็นพลเมืองที่นาเอาหลักการประชาธิปไตยมาใช้ในวิถีชีวิต กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นนาสู่เข้าบทเรียน (5 นาที) 1.1 ครูแนะนาตนเอง และทาความรู้จักนักเรียน โดยการชวนสนทนา และซักถาม โดยใช้ภาษาทางกาย เหตุการณ์ในการซักถามประจาวัน 1.2 นักเรียนแนะนาตนเองพร้อมแสดงท่าทางที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง โดยครู สังเกตและตรวจความพร้อมของนักเรียน

385


136

2. ขั้นแจ้งกระบวนการเรียนรู้ (5 นาที) 2.1 ครูอธิบายกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานให้นักเรียนทราบ และ เข้าใจ ดังนี้ 2.1.1 เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่นักเรียนจะเรียนกันแบบกลุ่ม 2.1.2 ครูและนักเรียนร่วมกันทางานกลุ่มและช่วยกันสรุปความรู้ที่เรียน 2.1.3 เมื่อเรียนเสร็จมีการทาแบบทดสอบรายบุคคล แล้วนาคะแนนมารวม เป็นคะแนนกลุ่ม 3. ขั้นเสนอความรู้ใหม่ (20 นาที) 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย โดย ครูนาภาพข่าวที่เกี่ยวกับการกระทาของบุคคลทั้งที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย มาให้นักเรียนร่วมกัน วิเคราะห์ จานวน 8 ภาพข่าว 3.2 ครูสุ่มเรียกนักเรียนให้ช่วยกันวิเคราะห์ว่าการกระทาในแต่ละภาพข่าวเป็นการ กระทาที่เหมาะสม และการกระทาใดเป็นการกระทาที่ไม่เหมาะสม 3.3 ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า การกระทาของบุคคลใดบ้างที่สอดคล้องกับวิถี ชีวิตที่อยู่ในสังคมประชาธิปไตย พร้อมสรุปข้อทั้งเสนอแนะการกระทาที่ไม่เหมาะสม ตลอดจนการ แก้ไขให้เหมาะสมได้อย่างไร 4. ขั้นฝึกทักษะ (30 นาที) 4.1 ครู แ บ่ ง นั ก เรี ย นออกเป็ น กลุ่ ม โดยแต่ ล ะกลุ่ ม มี ส มาชิ ก 6 คน เป็ น 5 กลุ่ ม ประกอบด้วยนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน 4.2 นักเรียนเข้ากลุ่มแล้วมอบหมายให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาจับฉลาก แล้ว ร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงเหตุการณ์สังคมประชาธิปไตยที่ได้ลงในสมุดจดบันทึกของตนเอง 4.3 นักเรียนร่วมกันสรุปความคิดเห็นถึงสังคมประชาธิปไตยลงในกระดาษปรุ๊ฟ 5. ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (20 นาที) 5.1 ครูให้นักเรียนช่วยกันซักถามในประเด็นที่ยังไม่เข้าใจ 5.2 นักเรียนจับฉลากออกมานาเสนอตามงานที่มอบหมายให้ 5.3 นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ส่ ง ตั ว แทนออกมาน าเสนอเกี่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ์ สั ง คม ประชาธิปไตยที่ได้ ขณะเดียวกันร่วมกันแก้ไขข้อบกพร่องของแต่ละกลุ่ม

386


137

6. ขั้นสรุปความ (20 นาที) 6.1 ครูมอบหมายใบงานที่ 1 เรื่อง ลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย โดยให้ เวลาทา 5 นาที แล้วแจกใบงานที่ 2 เรื่อง คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย โดยให้นักเรียน ทาเป็นรายบุคคล 6.2 นักเรียนทาใบงานที่ครูมอบหมาย จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ 6.3 ครูขอนักเรียนอาสาสมัคร 2-3 คน ส่งตัวแทนออกมาสรุปความรู้ที่ได้เรียนใน วันนี้ 6.4 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาทั้งหมด 7. ขั้นเกมตอบคาถาม (10 นาที) 7.1 ครูมอบให้นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายบท โดยไม่ปรึกษากัน จากนั้นนักเรียนส่ง กระดาษคาตอบ แล้วเปลี่ยนกันตรวจ 7.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มรวมคะแนน กลุ่มไหนได้คะแนนสูงสุดเป็นกลุ่มที่ชนะ จากนั้น ครูบันทึกคะแนนของแต่ละกลุ่ม

ตารางการวัดและประเมินผล วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมการทางาน 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการ รายบุคคล ทางานรายบุคคล 2. สังเกตพฤติกรรมการทางาน 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการ แบบกลุ่ม ทางานแบบกลุ่ม 3. ประเมินผลงานกลุ่ม

3. แบบประเมินผลงานกลุ่ม

4. การทาแบบทดสอบท้ายบท 4. แบบทดสอบชนิดปรนัย

387

เกณฑ์การวัดและประเมินผล 1. พฤติกรรมการทางาน รายบุคคล อยู่ในระดับปาน กลาง ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2. พฤติกรรมการทางานแบบ กลุ่ม อยู่ในระดับปานกลาง ถือ ว่าผ่านเกณฑ์ 3. ผลงานนักเรียนมีคะแนน รวมเฉลี่ยร้อยละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์ 4. ผลงานนักเรียนมีคะแนน รวมเฉลี่ยร้อยละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์


138

สื่อการเรียนรู้ 1. ภาพข่าว 2. เหตุการณ์ตัวอย่างสังคมประชาธิปไตย 3. กระดาษปรุ๊ฟ 4. ใบงานที่ 1 เรื่อง ลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย 5. ใบงานที่ 2 เรื่อง คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 6. แบบทดสอบท้ายบท

388


139

ภาพข่าว ข่าวที่เกี่ยวกับการกระทาของบุคคลที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย

ประท้วงราคายางพารา

เด็ก 7 ขวบ ช่วยแม่กวาดถนน

ผู้หญิงขับรถรับจ้าง

วางระเบิดสี่แยกราชประสงค์

ขับรถซ้อนสามไม่ใส่หมวกนิรภัย

ขายของริมทางรถ

389


140

เหตุการณ์ตัวอย่างของสังคมประชาธิปไตย คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ถึงพฤติกรรมของบุคคลในเหตุการณ์ว่าการกระทาใดปฏิบัติตามสังคม ประชาธิปไตย และพฤติกรรมใดไม่ปฏิบัติตามสังคมประชาธิปไตย พร้อมบอกเหตุผล 1. มานพเป็นทหารอยู่ในค่ายแห่งหนึ่ง เขามีหน้าที่เป็นครูฝึกให้กับทหารเกณฑ์ ทหารเกณฑ์ ทุกคนกลัวเขามาก เพราะเขาไม่เคยฟังความคิดเห็นของใคร ถ้าหากทหารเกณฑ์คนไหนทาผิดเขาจะ ลงโทษทันที แม้ว่าทหารเกณฑ์คนนั้นพยายามที่จะอธิบายเหตุผลก็ตาม เป็นเพราะเขาคิดเสมอว่า คน ที่ทาผิดจะต้องได้รับการลงโทษไม่มีข้อยกเว้น การที่จะเป็นพลเมืองที่ดีต้องเริ่มจากความมีวินัย เขาจะ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมอย่างเคร่งครัด เช่น เขาจะขับรถใส่หมวกนิรภัยเสมอ เขาไปเลือกตั้ง ทุกครั้งเมื่อมีการเลือกตั้ง หากเขามีเวลาว่างเขามักจะชวนครอบครัวของเขาไปทาบุญที่วัดหรือเมื่อ ชุมชนต้องการความช่วยเหลือเขาจะนาทหารเกณฑ์ของไปช่วยทันที 2. ปิติมีอาชีพขายหมูอยู่ในตลาดสด เขามักจะทะเลาะกับพ่อค้าคนอื่นในตลาดอยู่เสมอ จน พ่อค้าคนอื่นพากันไปแจ้งความ เพราะเวลาเขาขับรถนาหมูมาส่งที่ตลาดเขามักขับด้วยความเร็ว และ จอดรถไม่เป็นระเบียบ จนพ่อค้าคนอื่นมาเตือน เขาก็ไม่รับฟังและเขาบอกว่าเขาจอดรถแบบนี้ทุกวัน ไม่เห็นมีใครจะมาด่าเขา เขาโกรธมากจึงเปิดวิทยุเสียงดังไปทั้งตลาด แต่เขามีนิสัยชอบช่วยเหลือเด็กที่ ยากจน โดยการมอบทุนการศึกษาให้กับโรงเรียนเป็นประจา 3. มงคลเป็ น ผู้ อ านวยการโรงเรี ยนแสงธรรมวิ ท ยา เขาจะรับ ฟัง ความคิด เห็ น ของครู ใ น โรงเรียนเสมอ ถึงแม้บางครั้งเขาก็ไม่ได้นาเอาความคิดเห็นทั้งหมดของครูในโรงเรียนมาปรับปรุง โดย เขาจะเลือกนาสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนให้ได้มากที่สุด เมื่อเด็กนักเรียนทะเลาะกันเขาจะเรี ยกมา พบ เพื่อถามถึงสาเหตุที่ทาให้มีปัญหาและร่วมกันแก้ไข เขามักจะสอนเด็กนักเรียนเสมอว่าให้ปฏิบัติ ตนเป็นพลเมืองดีต่อสังคม โดยพาออกไปเรียนรู้ในชุมชน

390


141

4. แสงเดือนเป็นพนักงานบริษัทถุงมือยาง เวลาตอนเย็นเขามักจะไปเที่ยวผับกับเพื่อน ขับรถ ด้วยความเมาและซ้อนสาม กลับมาถึงบ้านตอนเที่ยงคืนทุกวัน ทาให้เขามาทางานสายเกือบทุกวัน จน หัวหน้าแผนกเรียกมาซักถาม เขาจึงบอกว่าบ้านเขาอยู่ไกลต้องใช้เวลานานกว่าจะรถมาถึงที่ทางาน หัวหน้าแผนกก็ไม่ได้ติดใจเอาเรื่อง เพราะว่าแสงเดือนเป็นคนขยัน เวลาทางานก็ตั้งใจมาก ไม่เคยขาด งาน แม้จะมาสายก็ ตาม และที่สาคัญเขาเป็นที่รักของเพื่อนร่วมงาน เพราะเขาจะมีจิตอาสาในการ ทางานเสมอ 5. พัฒนามีพี่น้อง 5 คน เขาเป็นลูกคนที่ 3 ซึ่งพ่อของเขาจะไม่ชอบเขาเลย เนื่องจากพี่ชาย บอกพ่อว่าเขาชอบไปมีเรื่องที่โรงเรียนทุกวัน พอกลับมาเขาก็โดนพ่อตี โดยที่ไม่รู้ด้วยซ้าว่าพ่อตี เรื่อง อะไร ถึงพ่อจะไม่ชอบเขา เขาก็ไม่เคยโกรธพ่อ เขาคิดเสมอว่าที่พ่อตีเป็นเพราะพ่อเป็นห่วงเขา จนมา วันหนึ่งพ่อของเขาได้ล้มป่วยจนเดินไม่ได้ ไม่มีใครดูแลพ่อเลยสักคนเขาจึงบอกกับพี่น้องของเขาว่า เขา จะดูแลพ่อเอง

391


142

ใบงานที่ 1 เรื่อง ลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตอบให้ที่สอดคล้องกับลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย 1. ชาวบ้ า นร่ ว มกั น ประท้ ว งให้ รั ฐ บาลขึ้ น ราคายางพารา หลั ง จากราคายางพาราปรั บ กิโลกรัมละ 25 บาท โดยขอให้รัฐบาลช่วยประกันราคายางพาราอยู่ที่กิโลกรัม ละ 60 บาท เพื่อมี รายได้ที่เพียงพอ ฝ่ายรัฐบาลได้ออกมาเจรจากับกลุ่มชาวสวนยาง ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................. .............. 2. ผู้บริหารได้ร่วมกับคณะครู แสดงว่าคิดเห็นในการจัดกิจกรรมวิชาการประจาปีการศึกษา โดยแต่ละฝ่ายมีความคิดเห็นที่ต่างกันออกไป บางคนก็เสนอให้จัดบริเวณสนามโรงเรียน บางคนก็เสนอ ให้จัดในอาคารเรียน เสียงส่วนมากให้จัดบริเวณใต้อาคารเนื่องจากประหยัดงบประมาณ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. สุนัขบ้านของมะลิได้ไปถ่ายอุจจาระที่หน้าบ้านของดาว ทาให้ทั้ งสองบ้านมีปากเสียงกัน บ่อยครั้ง จนวันหนึ่งสุนัขของมะลิได้ไปกัดสุนัขที่บ้านของดาว ดาวจึงไปแจ้งความว่ามะลิได้ปล่อยสุนัข ออกมาก่อกวน จนทาให้ สุนั ขของตนบาดเจ็บ หลั งจากนั้นมะลิ ได้ทากรงกั้นไม่ให้ สุนัขออกไปเล่ น ข้างนอก ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. ชาวบ้านอาเภอควนขนุนได้รวมกลุ่ม ร่วมแรงกันผลิตหมอนยางพาราเพื่อสุขภาพขึ้น เป็น การพลิกวิกฤติเป็นโอกาส เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่กาลังประสบปัญหาราคายาง ตกต่า โดยเปิดดาเนินมาแล้วเป็นเวลา 1 ปี ประสบผลสาเร็จ และได้รับคาชื่นชนเป็นอย่างมาก ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

392


143

5. เสรี ได้ช วนคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง และเพื่อนบ้าน ให้ ออกไปใช้สิ ทธิเลื อกตั้ง โดย จะต้องเลือกคนดี ไม่เลือกเสียง และมีนโยบายในการพัฒนาชุมชน เพราะผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจะเป็น ตัวแทนของประชาชน ในการพัฒนาบ้านเมืองต่อไป ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

393


144

เฉลย ใบงานที่ 1 เรื่อง ลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคาตอบให้ที่สอดคล้องกับลักษณะสาคัญของสังคมประชาธิปไตย 1. ชาวบ้ า นร่ ว มกั น ประท้ ว งให้ รั ฐ บาลขึ้ น ราคายางพารา หลั ง จากราคายางพาราปรั บ กิโลกรัมละ 25 บาท โดยขอให้รัฐบาลช่วยประกันราคายางพาราอยู่ที่กิโลกรัมละ 60 บาท เพื่อมี รายได้ที่เพียงพอ ฝ่ายรัฐบาลได้ออกมาเจรจากับกลุ่มชาวสวนยาง ตอบ หลักประนีประนอม 2. ผู้บริหารได้ร่วมกับคณะครู แสดงว่าคิดเห็นในการจัดกิจกรรมวิชาการประจาปีการศึกษา โดยแต่ละฝ่ายมีความคิดเห็นที่ต่างกันออกไป บางคนก็เสนอให้จัดบริเวณสนามโรงเรียน บางคนก็เสนอ ให้จัดในอาคารเรียน เสียงส่วนมากให้จัดบริเวณใต้อาคารเนื่องจากประหยัดงบประมาณ ตอบ การยอมรับเสียงข้างมาก 3. สุ นั ขบ้ านของมะลิ ได้ไปถ่ายอุจระที่หน้าบ้านของดาว ทาให้ ทั้งสองบ้านมีปากเสี ยงกัน บ่อยครั้ง จนวันหนึ่งสุนัขของมะลิได้ไปกัดสุนัขที่บ้านของดาว ดาวจึงไปแจ้งความว่ามะลิได้ปล่อยสุนัข ออกมาก่อกวน จนทาให้สุนัขของตนบาดเจ็บ หลังจากนั้นมะลิได้ทากรงกั้นไม่ให้สุนัขออกไปเล่นข้ าง นอก ตอบ หลักการเคารพเหตุผลและเคารพกฎหมาย 4. ชาวบ้านอาเภอควนขนุนได้รวมกลุ่ม

ร่วมแรงกันผลิตหมอนยางพาราเพื่อสุขภาพขึ้น เป็น

การพลิกวิกฤติเป็นโอกาส เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่กาลังประสบปัญหาราคายาง ตกต่า โดยเปิดดาเนินมาแล้วเป็นเวลา 1 ปี ประสบผลสาเร็จ และได้รับคาชื่นชนเป็นอย่างมาก ตอบ ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5. เสรี ไ ด้ ช วนคนในครอบครั ว

ญาติพี่น้อง และเพื่อนบ้าน ให้ ออกไปใช้สิ ทธิเลื อกตั้ง โดย

จะต้องเลือกคนดี ไม่เลือกเสียง และมีนโยบายในการพัฒนาชุมชน เพราะผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งจะเป็น ตัวแทนของประชาชน ในการพัฒนาบ้านเมืองต่อไป ตอบ อานาจอธิปไตยมาจากประชาชน

394


145

ใบงานที่ 2 เรื่อง คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษาแล้วตอบคาถาม

เจตนาดีเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เขาได้รับคัดเลือกให้เป็นหัวหน้าห้อง ทุกปี เพราะเขารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น แม้ว่าจะมีความคิดเห็นที่ต่างกัน ในทุก ๆ ครั้งเขามักจะตัดสินตามจานวนเสียงข้างมากเสมอ และถึงเพื่อนสนิทจะกล่าวหา ว่า เขาไม่ ยุ ติ ธ รรม ไม่ ช่ ว ยเพื่ อ น แต่ เ ขาก็ ไ ม่ เ คยโกรธ หากเขาเห็ น เพื่ อ นคนใด ต้องการความช่วยเขาจะเข้าไปช่วยทันที เมื่อครูมอบหมายงานให้ทุกคนช่วยกัน เจตนาดีจะแบ่งหน้าที่ให้ทุกคนได้ ทาไม่ว่าจะเป็นเพื่อนสนิทหรือไม่ก็ตาม ทุกคนจะให้ความร่วมมือเป็ นอย่างดี จนได้ เป็นห้องเรียนดีเด่นของโรงเรียน บ้านของเจตนาดีอยู่ห่างกับโรงเรียน 5 กิโลเมตร เขาต้องใช้เวลาในการมา โรงเรียน 30 นาที แต่เขาไม่เคยมาสาย เขาไปทาบัตรประจาตัวประชาชนตามที่ กฎหมายได้กาหนด เวลาว่างเขาจะชวนเพื่อน ๆ ไปที่วัด ไปช่วยกันกวาดลานวัด ปลูกต้นไม้ ทาความสะอาดห้องน้า เมื่อมีเหตุการณ์ในชุมชน เขาก็ออกไปช่วยเหลือ ตลอด จะบริจาคเงินให้กับวัดเพื่อเป็นค่าไฟฟ้า บริจาคเสื้อผ้าให้กับผู้ที่ประสบภัย บริจาคสิ่งของให้กับผู้ยากจน ไปช่วยสอนหนังสือให้เด็กในชุมชน

คาถาม การกระทาใดของเจตนาดีที่แสดงให้เห็นว่า เป็นพลเมืองดีตามสังคมประชาธิปไตย ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

395


146

เฉลย ใบงานที่ 2 เรื่อง คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษาแล้วตอบคาถาม เจตนาดีเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เขาได้รับคัดเลือกให้เป็นหัวหน้าห้องทุกปี เพราะเขารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น แม้ว่าจะมีความคิดเห็นที่ต่างกัน ในทุก ๆ ครั้งเขา มัก จะตั ดสิ น ตามจ านวนเสี ย งข้ า งมากเสมอ และถึง เพื่ อ นสนิ ท จะกล่ า วหาว่า เขาไม่ ยุติธรรม ไม่ช่วยเพื่อน แต่เขาก็ไม่เคยโกรธ หากเขาเห็นเพื่อนคนใดต้องการความช่วยเขา จะเข้าไปช่วยทันที เมื่อครูมอบหมายงานให้ทุกคนช่วยกัน เจตนาดีจะแบ่งหน้าที่ให้ทุกคนได้ทาไม่ ว่ า จะเป็ น เพื่ อ นสนิ ท หรื อ ไม่ ก็ ต าม ทุ ก คนจะให้ ค วามร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี จนได้ เ ป็ น ห้องเรียนดีเด่นของโรงเรียน บ้ านของเจตนาดีอยู่ห่ างกับ โรงเรียน 5 กิโ ลเมตร เขาต้องใช้เวลาในการมา โรงเรียน 30 นาที แต่เขาไม่เคยมาสาย เขาไปทาบัตรประจาตัวประชาชนตามที่กฎหมาย ได้กาหนด เวลาว่างเขาจะชวนเพื่อน ๆ ไปที่วัด ไปช่วยกันกวาดลานวัด ปลูกต้นไม้ ทา ความสะอาดห้องน้า เมื่อมีเหตุการณ์ในชุมชน เขาก็ออกไปช่วยเหลือตลอด จะบริจาค เงินให้กับวัดเพื่อเป็นค่าไฟฟ้า บริจาคเสื้อผ้าให้กับผู้ที่ประสบภัย บริจาคสิ่งของให้กับผู้ ยากจน ไปช่วยสอนหนังสือให้เด็กในชุมชน คาถาม การกระทาใดของเจตนาดีที่แสดงให้เห็นว่า เป็นพลเมืองดีตามสังคมประชาธิปไตย ตอบ 1. เคารพในเหตุผล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่ว่าจะมีความคิดเห็นที่ต่างกัน ทุก ครั้งเขาจะตัดสินตามจานวนเสียงข้างมากเสมอ 2. เคารพกฎหมาย ไปทาบัตรประตัวประชาชนตามที่กฎหมายได้กาหนด 3. มีจิตสาธารณะ กวาดลานวัด ปลูกต้นไม้ ทาความสะอาดห้องน้า 4. มีคุณธรรมในการดารงชีวิต บริจาคเงินให้กับวัดเพื่อเป็นค่าไฟฟ้า บริจาคเสื้อผ้า ให้กับผู้ที่ประสบภัย บริจาคสิ่งของให้กับผู้ยากจน ไปช่วยสอนหนังสือให้เด็กในชุมชน 5. มีความยุติธรรม แบ่งหน้าที่ให้ทุกคนได้ทาไม่ว่าจะเป็นเพื่อนสนิทก็ตาม

396


147

แบบทดสอบท้ายบท คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง 1. บุคคลใดเป็นพลเมืองดีตามสังคมประชาธิปไตย ก. วิภาลักลอบตัดไม้พยุง เพื่อทาการค้า ข. วิภาคบุกรุกป่าสงวน เพื่อทาที่อยู่อาศัย ค. วิจิตรไปเลือกตั้งทุกครั้ง ที่มีการเลือกตั้ง ง. วิมลเป็นหัวคะแนนหาเสียงให้พรรคการเมือง 2. การกระทาของบุคคลในข้อใดแสดงถึงการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ก. ฤทัยโกรธฤดีจึงไม่พูดด้วย ข. สุชาดาให้ปากกาคืน เมื่อรู้ว่าเป็นของสุนิศา ค. วรรณาทะเลาะกับวรรณีจึงไม่บอกแนวข้อสอบ ง. แก้วใจทาร้ายร่างกายแก้วตาหลังจากที่รู้ว่าแก้วตาขโมยเงิน 3. ชาวบ้านช่วยกัน ตัดหญ้าริมถนน ปลูกดอกไม้ พัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ จัดว่าเป็นพลเมืองดีในข้อใด ก. ปฏิบัติตามกฎหมาย ข. ปฏิบัติตามกฎของสังคม ค. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ง. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 4. ญาดาหยุดรถเมื่อเห็นสัญญาณไฟแดงทั้งที่รถคันอื่นขับผ่านไป จัดว่าเป็นพลเมืองดีในข้อใด ก. ปฏิบัติตามกฎหมาย ข. ปฏิบัติตามกฎของสังคม ค. เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ง. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 5. ข้อใดเป็นหลักการสาคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ก. ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรากฎหมาย ข. การปกครองประเทศเป็นไปตามนโยบายของผู้นา ค. อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ง. นายกรัฐมนตรีมีอานาจเด็ดขาดในการปกครองประเทศแต่เพียงผู้เดียว

397


148

6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสังคมประชาธิปไตย ก. สันติภาพ ข. สันติสุข ค. เสรีภาพ ง. อัตภาพ 7. การปฏิบัติตนของบุคคลในข้อใดที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ก. เปรมสุดาไม่ใส่หมวกนิรภัย ข. ชลธารไม่ตั้งใจฟังขณะที่ครูสอน ค. ดวงใจช่วยสอนแม่ทาความสะอาดบ้าน ง. หนึ่งฤทัยไม่ไปโรงเรียน เพราะไม่ได้ทาการบ้าน 8. สมคิดเปิดเพลงเสียงดังลั่น พ่อของสมคิดตักเตือนให้ลดระดับเสียงเพลงให้เบาลง การกระทาของ พ่อของสมคิดสอดคล้องกับข้อความใด ก. เป็นผู้ที่รู้จักเหตุผล ข. เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม ค. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น ง. เป็นบุคคลที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม 9. เมตตานั่งรถเมล์กลับบ้าน

เมื่อเห็นหญิงตั้งครรภ์จึงลุกขึ้นยืนเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์นั่ง

ก. ความสามัคคี ข. ความเสียสละ ค. ความอดทน ง. ความมีระเบียบวินัย 10. พฤติกรรมบุคคลในข้อใดที่ควรปรับปรุง ก. ตะวันช่วยคนล้มรถ ข. สุทินทางานหลังเลิกเรียน ค. อาทิตย์ชอบไปโรงเรียนสาย ง. ดวงเดือนตั้งใจเรียนหนังสือ

398


149

เฉลย 1. ค

6. ง

2. ข

7. ก

3. ค

8. ค

4. ข

9. ข

5. ก

10. ข

399


150

แบบสังเกต พฤติกรรมการทางานรายบุคคล คาชี้แจง ครูประเมินสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนตามที่กาหนดโดยขีด √ ลงในช่อง การแสดง ความสนใจ ลาดับ ชื่อ – สกุล

ความ คิดเห็น

การตอบ

การยอมรับ

คาถาม

ฟังคนอื่น

ทางาน ตามที่ได้รับ มอบหมาย รวม

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต (...................................................................) ................/.............................../.................. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ

ให้ 4 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง

ให้ 3 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง

ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง

ให้ 1 คะแนน

400


151

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน 18 – 20 14 – 17 10 - 13 ต่ากว่า 10

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

401


152

แบบสังเกต พฤติกรรมการทางานแบบกลุ่ม กลุ่มที่…………….........……………… พฤติกรรม ลาดับ

ชื่อสกุล ความร่วมมือ

การแสดง

การรับฟัง

ความคิดเห็น ความคิดเห็น

ความตั้งใจ

การมีส่วน

ในการ

ร่วมในการ

ทางาน

อภิปราย

รวม

4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 20 1 2 3 4 5 ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต (...................................................................) ................/.............................../.................. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ

ให้ 4 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง

ให้ 3 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง

ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง

ให้ 1 คะแนน

402


153

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน 18 – 20 14 – 17 10 - 13 ต่ากว่า 10

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

403


154

แบบประเมิน ผลงานกลุ่ม คาชี้แจง ครูประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามที่กาหนดโดยขีด √ ลงในช่อง ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5.

รายการประเมิน

4

ระดับคะแนน 3 2

1

เนื้อหาละเอียดชัดเจน ความถูกต้องของเนื้อหา ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย ประโยชน์ที่ได้จากการทากิจกรรม วิธีการนาเสนอผลงาน รวม ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (.................................................................) ................/............................/..................

เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานสมบูรณ์ชัดเจน

ให้ 4 คะแนน

ผลงานมีข้อบกพร่องบางส่วน

ให้ 3 คะแนน

ผลงานมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่

ให้ 2 คะแนน

ผลงานมีข้อบกพร่องมาก

ให้ 1 คะแนน

404


155

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน 18 – 20 14 – 17 10 - 13 ต่ากว่า 10

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

405


156

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 20 ข้อ -----------------------------------------------------------------------------------------------------คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อความใดแสดงถึงคุณลักษณะเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ก. นายประณีต รับสินบนในการประมูลการทาถนน ข. นายเร่งรีบ ชะลอรถเมื่อเห็นไฟกระพริบรีบขับไปทันที ค. นายประนบ ไปช่วยแจกของให้กับผู้ประสบภัยธรรมชาติ ง. นายประหยัด รับฟังความคิดเห็นของคนอื่น แต่ชอบตัดสินตามความคิดของตัวเอง 2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของสังคมประชาธิปไตย ก. เป็นสังคมที่ยึดหลักความเสมอภาค ข. เป็นสังคมที่รับฟังเฉพาะเสียงข้างมาก ค. เป็นสังคมที่ยึดหลักการเคารพเหตุผล ง. เป็นสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 3. การร่วมกันสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่ สอดคล้องกับข้อใด ก. สิทธิ ข. หน้าที่ ค. เสรีภาพ ง. สถานภาพ 4. ข้อใดไม่ได้เป็นการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ ก. สุนารีรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ข. นุดาเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ค. ชลดาซื้อกระเป๋าใหม่ทุกเดือน ง. เฉลิมบุญ เมื่อเจอผู้ใหญ่จะยกมือไหว้เสมอ

406


157

5. ข้อใดไม่ใช่ผลจากการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ก. ทาให้สมาชิกในสังคมอยู่อย่างสงบสุข ข. ทาให้สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ค. ทาให้เกิดความรักและความสามัคคีในสังคม ง. ทาให้สมาชิกในสังคมร่วมมือกันในการหาผลประโยชน์ให้กลุ่มตนเอง 6. การกระทาในข้อใดเป็นการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม ก. การร่วมมือกันป้องกันมิให้บุคคลทาลายสาธารณสถาน ข. การร่วมมือกันช่วยรักษาและบารุงถนนหนทางให้อยู่ในสภาพที่ดี ค. การร่วมมือกันประท้วง เพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมจากผู้ใหญ่บ้าน ง. การร่วมมือกันจัดโครงการให้แก่คนพิการให้ได้รับสิ่งอานวยความสะดวกและมีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น 7. ข้อใดจัดได้ว่าเป็นการทากิจกรรมร่วมกันในกระบวนการทางประชาธิปไตย ก. ประชาชนร่วมมือกันในการป้องกันสาธารณภัยต่างๆ ข. ประชาชนช่วยบารุงถนนหนทางให้อยู่ในสภาพที่ดี ค. ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ง. ประชาชนร่วมมือกันทานุบารุงศาสนสถานให้เป็นสถานที่เหมาะแก่การพัฒนาจิตใจ 8. หากชุมชนของนักเรียนเกิดปัญหา มลพิษทางน้าและอากาศ จากการปล่อยสารเคมีของโรงงาน นักเรียนจะ มีวิธีการช่วยเหลือชุมชนได้อย่างไร ยกเว้นข้อใด ก. ร่วมกันเรียกร้องให้โรงงานหาทางแก้ปัญหา ข. ร่วมกันเรียกร้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหาทางแก้ไข ค. ทุกคนร่วมกันทาการปิดล้อมโรงงาน ไม่ให้มีการเข้าออก ง. ทุกคนออกมารณรงค์เรียกร้องขอความช่วยเหลือจากรัฐบาล 9. ข้อใดไม่ใช่ความสาคัญของกฎหมาย ก. เพื่ออานวยประโยชน์แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ข. สร้างความเป็นระเบียบแก่สังคมและประเทศชาติ ค. ทาให้การบริหารและพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ง. เป็นหลักในการจัดระเบียบการดาเนินชีวิตให้แก่ประชาชน

407


158

10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องถึงกระบวนการในการตรากฎหมาย ก. กฎกระทรวง ออกโดยฝ่ายบริหาร อันได้แก่ รัฐมนตรี โดยความเป็นชอบของคณะมนตรี ข. พระราชกฤษฎีกา พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี หรือฝ่าย บริหาร ค. พระราชกาหนด เป็นกฎหมายที่ออกตามพระราชบัญญัติ หรือพระราชกาหนดอันเป็น กฎหมายแม่บท ง. ข้อบัญญัติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กฎหมายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง ตราขึ้น และใช้บังคับเป็นการทั่วไปภายในเขตอานาจ 11. การแปรญัตติ อยู่ในวาระใดของกระบวนการตราพระราชบัญญัติ ก. วาระที่หนึ่ง ข. วาระที่สอง ค. วาระที่สาม ง. วาระที่สี่ 12. พิทักษ์ทาบัตรประจาตัวประชาชนมาแล้วหกปี พิทักษ์จะต้องไปทาบัตรใหม่ภายในกี่วัน ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน 13. ข้อใดไม่ได้เป็นกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัว ก. การหมั้น ข. การเป็นทายาท ค. การทาพินัยกรรม ง. การทาบัตรประจาตัวประชาชน

408


159

14. ข้อใดไม่ต้องเสียภาษีบุคคลธรรมดา ก. นิติบุคคล ข. บุคคลธรรมดา ค. กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง ง. ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี 15. กฎหมายคุ้มครองแรงงานข้อใดห้ามใช้แรงงานผู้หญิง ก. งานในแหล่งบันเทิงต่างๆ ข. งานในโรงงานผลิตถุงมือยาง ค. งานก่อสร้าง ขุดอุโมงค์ใต้ดิน ง. งานในโรงแรมที่ต้องทาระหว่างเวลา 22.00 – 06.00 น. 16. การปฏิรูปการปกครอง เมื่อวันที่19 กันยายน พ.ศ. 2549 เป็นการยึดอานาจการปกครองจาก คณะรัฐบาลของสมัยใด ก. พลเอกชาติชาย ชุณหวัณ ข. พลเอกสุจินดา คราประยูร ค. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ง. พลเอกสุนทร คงสมพงษ์ 17. ข้อใดไม่ใช่ผลของการปฏิรูปการปกครอง19 กันยายน 2549 ก. มีการประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ข. เกิดมีคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) มีพลตรีจาลอง ศรีเมือง เป็นประธาน ค. มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งพลเอกสุรยุทธ์ จุ ลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 24 18. เหตุการณ์ใดที่เกิดความตื่นตัวของนิสิตนักศึกษาในการเรียกร้องประชาธิปไตยมากที่สุด ก. 14 ตุลาคม 2516 ข. 6 ตุลาคม 2519 ค. 19 กันยายน 2549 ง. 24 พฤษภาคม 2535

409


160

19 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 ก. เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถูกเรียกว่าพฤษภาทมิฬ ข. แต่งตั้งให้นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี ค. มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2535 ง. พลเอกสุจินดา คราประยูร ผู้บัญชาการทหารสูงสุด 20. พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าไหร่ ก. คนที่ 27 ข. คนที่ 28 ค. คนที่ 29 ง. คนที่ 30 *****************************************************************************

เฉลย 1. ง

11. ข

2. ข

12. ง

3. ข

13. ก

4. ค

14. ข

5. ง

15. ข

6. ง

16. ก

7. ค

17. ข

8. ค

18. ก

9. ก

19. ค

10. ค

20. ค

410


161

แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ กิจกรรมที่ 1 การต่อเติมคา (ความคิดคล่องแคล่ว) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนบอกคาที่ขึ้นต้นด้วยคาว่า “น้า” มาให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ 2. ให้เวลาในการทากิจกรรม 3 นาที .........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

411


162

กิจกรรมที่ 2 บอกให้ได้ (ความคิดคล่องแคล่ว) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนบอกถึงสิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม มาให้มากที่สุด 2. ให้เวลาในการทากิจกรรม 3 นาที .........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

412


163

กิจกรรมที่ 3 บอกประโยชน์ (ความคิดยืดหยุ่น) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนบอกประโยชน์ของ “เทคโนโลยี” มาให้ได้มากที่สุด 2. ให้เวลาในการทากิจกรรม 5 นาที .........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

.........................................................................

413


164

กิจกรรมที่ 4 ตั้งคาถามจากคาตอบ (ความคิดยืดหยุ่น) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนตั้งคาถามจากคาตอบ ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ 2. ให้เวลาในการทากิจกรรม 5 นาที ตัวอย่าง ให้ผู้เรียนตั้งคาถามจากคาว่า “ปลา” มาให้มากที่สุด ตอบ 1. อะไรอยู่ในน้า 2. แมวชอบกินอะไร 3. เวลาน้าลดมดชอบกินอะไร 4. ในน้ามี .......ในนามีข้าว ควรเติมอะไรในช่องว่าง คาถาม 1. ให้นักเรียนตั้งคาถามจากคาว่า “ต้นไม้” มาให้มากที่สุด ............................................................................................................................. ................................... ......................................................................................................................................... ....................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................... ............................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................

414


165

คาถาม 2. ให้นักเรียนตั้งคาถามจากคาว่า “นาฬิกา” มาให้มากที่สุด ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................... ............................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................. ... ................................................................................................................................................................

415


166

กิจกรรมที่ 5 ต่อ เติม ภาพจากเส้นคู่ขนาน (ความคิดละเอียดลออ) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนต่อ เติม ภาพ จากเส้นคู่ขนาน ให้มีความสมบูรณ์มากที่สุด 2. ให้เวลาในการทากิจกรรม 10 นาที

416


167

กิจกรรมที่ 6 ตั้งชื่อภาพกัน (ความคิดริเริ่ม) คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนตั้งชื่อภาพที่กาหนดให้ต่อไปนี้

....................................................................................................................

....................................................................................................................

....................................................................................................................

417


อางอิง จิรารัตน บุญสงค. (2559). ผลของการจัดการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐานที่มตี อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2. สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร : http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2016/11077/1/TC1340 วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม. 2559. รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดสมองเปนฐาน. พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน : คลังนานาวิทยา. ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. (2554). การเรียนรูโดยใชสมองเปนฐาน (Brain Based Learning) ตอนที่ 1. สืบคนเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต ศูนยสนับสนุน และพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต : https://isdc.rsu.ac.th/weblog/11?fbclid =IwAR13sF2qOkERFa5fRuyyvMxR7OSFGZ4pxiPbgier-4ivJjwWDjqz5FWZ1wg

418


419


420


421


422


423


424


425


.

426


427


428


429


430


431


432


433


434


435


436


437


438


439


440


441


442


443


444


445


446


447


448


อ้างอิง

449


450


อ้างอิง

451


452


453


454


455


456


๑. ความสามารถพิเศษของคนมีมากกว่ าหนึ่งด้ าน ๒. ความสามารถพิเศษเป็ นสิ่งที่สอนกันได้ จุดแข็งจุดอ่ อน ต่ าง ๆ ก็ล้วนสามารถปรับปรุ งได้ โดยความสามารถพิเศษ จะพัฒนา ตามลาดับขัน้ ตอนตัง้ แต่ ระดับ “มือใหม่ ” ไป จนถึงผู้เชี่ยวชาญ การรับรู้ซงึ่ เป็ น ตัวกระตุ้น ประสาทสัมผัส ความ เชี่ยวชาญใน การใช้ ความสามารถ พิเศษ

กระบวนการ ของ พัฒนาการ

การได้ ฝึก ความสามารถ พิเศษภายใต้ การชี 457้แนะ

การมีโอกาสที่ จะค้ นคว้ าและ เสริ มความ แข็งแกร่ง


๓. สมองมีเอกลักษณ์ เฉพาะตัวเช่ นเดียวกับ ลายนิว้ มือ บุคคลแต่ ละคนเกิดมาพร้ อมกับ ความสามารถพิเศษทุกด้ าน ความสามารถ พิเศษเหล่ านีจ้ ะพัฒนาขึน้ ตลอดเส้ นทาง ชีวิต จากการเรียนรู้ ประสบการณ์ โอกาส อิทธิพลและการศึกษา ในโรงเรียน บุคคล แต่ ละคนจะมีจุดอ่ อน และจุดแข็งต่ างกันไป ในแต่ ละด้ าน

๔. ความสามารถพิเศษจะปรับเปลี่ยนเรื่อยไป ตลอดชีวิต ความสามารถและความต้ องการของ คนนัน้ เปลี่ยนจุดแข็งและจุด458 อ่ อนที่ตนมีได้


ความสามารถทางปั ญญาของมนุษย์ ตาม ทฤษฎีพหุปัญญา แบ่ งออกเป็ น ๘ ด้ าน ได้ แก่ ปั ญญาด้ านภาษา (LinguisticIntelligence)

ปั ญญาด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical – Mathmatical Intelligence)

ปั ญญาด้ านมิติสมั พันธ์ (Visual – Spatial Intelligence)

ปั ญญาด้ านร่างกายและการเคลือ่ นไหว (Bodily – Kinesthetic Intelligence)

ปั ญญาด้ านดนตรี (Musical Intelligence)

ปั ญญาด้ านมนุษย์สมั พันธ์ (Interpersonal Intelligence)

ปั ญญาด้ านความเข้ าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)

ปั ญญาด้ านธรรมชาติวิทยา (Naturalist 459 Intelligence)


ด้ านภาษา (Linguistic Intelligence) จัดกิจกรรมให้ ได้ รับประสบการณ์ตรง เพื่อนามาเขียนเรื่องราว จัดกิจกรรมให้ ได้ พดู ได้ อา่ น ได้ ฟัง ได้ เห็น ได้ เขียนเรื่ องราวที่สนใจ และอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ์กบั ผู้อื่น ครูควรรับฟังความคิดเห็น คาถาม และตอบคาถามด้ วยความเต็มใจ กระตือรือร้ น หนังสือ สื่อการเรียนการสอนเพื่อการค้ นคว้ าที่หลากหลาย

ด้ านตรรกะและคณิตศาสตร์ (Logical – Mathmatical Intelligence) ให้ มีโอกาสได้ ทดลอง หรือทาอะไรด้ วยตนเอง ส่งเสริมให้ ทางานสร้ างสรรค์ งานศิลปะที่ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ ให้ เล่นเกมที่ฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เช่น เกมไพ่ เกมตัวเลข ปริศนา ตัวเลข ฯลฯ ฝึ กการใช้ เหตุผล การแก้ ปัญหา การศึกษาด้ วยโครงงานในเรื่ องที่ นักเรียนสนใจ ยุทธศาสตร์ ในการสอนคือให้ ฝึกคิดแบบมีวิจารณญาณ วิพากษ์ วิจารณ์ ฝึ กกระบวนการสร้ างความคิดรวบยอด การชัง่ ตวง วัด การคิดในใจ การคิดเลขเร็ ว ฯลฯ 460


ด้ านมิติสัมพันธ์ (Visual – Spatial Intelligence) ให้ ทางานศิลปะ งานประดิษฐ์ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ คิดได้ อย่างอิสระ ฝึ กให้ ใช้ กล้ องถ่ายภาพ การวาดภาพ สเก็ตซ์ภาพ จัดเตรียมอุปกรณ์การวาดภาพให้ พร้ อม จัดสิ่งแวดล้ อมให้ เอื ้อต่อ การทางานด้ านศิลปะ ฝึ กให้ เล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ เกมตัวเลข เกมที่ต้องแก้ ปัญหา ให้ เล่นเกมเกี่ยวกับภาพ เกมตัวต่อเลโก้ เกมจับผิดภาพ ฯลฯ ยุทธศาสตร์ ในการสอนคือการให้ ดู ให้ วาด ให้ ระบายสี ให้ คิด จินตนาการ

ด้ านร่ างกายและการเคลื่อนไหว (Bodily – Kinesthetic Intelligence)

เรียนรู้ได้ ด้วยการสัมผัส การเคลื่อนไหวร่างกาย สนับสนุนให้ เล่นกีฬา การแสดง เต้ นรา การเคลื่อนไหวร่างกาย ให้ เล่นเกม เดิน วิ่ง หรือทากิจกรรมที่ต้องใช้ การเคลื่อนไหวร่างกาย ให้ เล่นหรือทากิจกรรมกลางแจ้ ง กีฬา การเคลื่อนไหวประกอบ จังหวะ ยุทธศาสตร์ ในการสอนคือการให้ นกั เรียนปฏิบตั ิจริง ลงมือทาจริง ได้ สมั ผัส เคลื่อนไหว ใช้ ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ และการเรียน ผ่านการแสดงบทบาทสมมุ 461ติ แสดงละคร


ดนตรี (Musical Intelligence) ให้ เล่นเครื่องดนตรี ร้ องเพลง ฟังเพลงสม่าเสมอ หาโอกาสดูการแสดงดนตรี หรือฟังดนตรีเป็ นประจา บันทึกเสียงดนตรีที่นกั เรียนแสดงไว้ ฟังเพื่อปรับปรุงหรื อชื่นชมผลงาน ให้ ร้องราทาเพลงร่วมกับเพื่อนหรือคุณครูเสมอ ๆ ยุทธศาสตร์ ในการสอนได้ แก่ปฏิบตั ิการร้ องเพลง การเคาะจังหวะ การฟังเพลง การเล่นดนตรี การวิเคราะห์ดนตรี วิจารณ์ดนตรี เป็ นต้ น

ด้ านมนุษย์ สัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence) จัดกิจกรรมให้ นกั เรียนได้ เข้ ากลุม่ ทางานร่วมกัน ส่งเสริมให้ อภิปราย เรียนรู้ร่วมกัน แก้ ปัญหาร่ วมกัน สามารถเรียนได้ ดีหากให้ โอกาสในการทางานร่วมกับผู้อื่น ยุทธศาสตร์ ในการสอนได้ แก่การให้ ทางานร่วมกัน การปฏิสมั พันธ์ระหว่างกลุม่ เพื่อน การเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม การจาลองสถานการณ์ บทบาทสมมุติ การเรียนรู้ส่ชู มุ ชน เป็ นต้ น 462


ด้ านความเข้ าใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence) เปิ ดโอกาสให้ ทางานตามลาพัง ทางานคนเดียว อิสระ แยกตัวจากกลุม่ บ้ าง สอนให้ เห็นคุณค่าของตัวเอง นับถือตัวเอง สนับสนุนให้ ทางานเขียน บันทึกประจาวัน หรือทาหนังสือ สนับสนุนให้ ทาโครงงาน การศึกษารายบุคคล ให้ เรียนตามความถนัด ความสนใจ ตามจังหวะการเรียน เฉพาะตน ให้ อยูก่ บั กลุม่ ทางานร่วมกับผู้อื่นบ้ าง ยุทธศาสตร์ การสอนควรเน้ นที่การเปิ ดโอกาสให้ เลือกศึกษา ในสิ่งที่สนใจเป็ นพิเศษ การวางแผนชีวิต การทางานร่วมกับ ผู้อื่น การศึกษารายบุคคล

ด้ านธรรมชาติวิทยา (Naturalist Intelligence) ฝึ กปฏิบตั ิงานด้ านเกษตรกรรมเกี่ยวกับการปลูกพืชหรื อเลี ้ยงสัตว์ ศึกษาสังเกต บันทึกความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ลม ฟ้า อากาศ จัดกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้ อมศึกษา ค่ายสิ่งแวดล้ อม ฯลฯ 463


กิจกรรมมีการเรี ยนรู้ ที่ หลากหลายที่สามารถ ส่งเสริ มเชาวน์ปัญญา หลายๆด้ านให้ เหมาะสม กับขันพั ้ ฒนาการของ ผู้เรี ยน

ส่งเสริ มความเป็ น เอกลักษณ์ของผู้เรี ยน เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา เอกลักษณ์ของตน ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ ของตนเองและเคารพใน เอกลักษณ์ของผู้อื่น

ระบบการวัดผลและ ประเมินผลการเรี ยนรู้ควร มีการประเมินหลายๆ ด้ าน การประเมินจะต้ อง ครอบคลุมความสามารถ ในการแก้ ปัญหา

464


แต่ละคน ควรได้ รับการ ส่งเสริ มให้ ใช้ ปัญญาด้ านที่ ถนัด เป็ นเครื่ องมือสาคัญใน การเรี ยนรู้

ในการประเมินการ เรี ยนรู้ ควรวัดจาก เครื่ องมือที่หลากหลาย เพื่อให้ สามารถ ครอบคลุมปั ญญาใน แต่ละด้ าน

ในการจัดกิจกรรม ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ ควร มีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ สอดรับกับ ปั ญญาที่มีอยูห่ ลาย ด้ าน 465


ตัวอย่ างงานวิจัยของรู ปแบบการเรี ยน การสอนตามทฤษฎีพหุปัญญา หัวข้ อ : การสร้ างกิจกรรมการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ตามทฤษฎี พหุปัญญา เรื่ อง พื ้นที่ผิวและปริ มาตร สาหรับนักเรี ยนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ผู้วิจยั : รชตา เกาะเสม็ด 466


467


468


469


470


471


472


473


474


475


476


477


478


479


480


481


482


483


484


485


แนะนาเว็บแบบทดสอบพหุปัญญาอาชีพ https://guidance.triamudom.ac.th/test /gardner.html

486


อ้ างอิง ทวีศกั ดิ สิริรัตน์เรขา. ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences). [ออนไลน์]. ได้ จาก. https:// www.Babybestbuy.in.th/shop/theory of multiple intelligences [สืบค้ นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562].

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์ การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 6). กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัชตา เกาะเสม็ด. การสร้ างกิจกรรมการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ตามทฤษฎีพหุปัญญา เรื่ อง พื ้นที่ผิวและ ปริมาตร สาหรับนักเรี ยน ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 3. วิทยานิพนธ์นี ้เป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตาม หลักสูตรวิทยาศาสตร์ มหาบัณ ิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ศกึ ษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา; 2559. ศิลป์ ชัย เทศนา. พหุปัญญา : วิถีการเรี ยนรู้ที่แตกต่าง. [ออนไลน์]. ได้ จ าก. http://www.ndr.ac.th /mi/mi_selftest1.htm [สืบค้ นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2562].

487



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.