วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2555
1
ในโอกาสจัดพิมพ์วารสารสมาคมแพทย์มสุ ลิม ประจ�ำปี 2554-2555 นับเป็นเวลากว่า 30 ปี ที่สมาคมแพทย์มุสลิมได้ยึดมั่นในจรรยา บรรณและยืนหยัดท�ำหน้าที่เพื่อสังคมมุสลิมและประชาชนทั่วไป โดยมี วัตถุประสงค์หลัก ได้แก่ การให้บริการทางการแพทย์แก่ประชาชน เผยแพร่ ความรูด้ า้ นสุขภาพอนามัยแก่ประชาชน ส่งเสริมความรูท้ างการแพทย์ทเ่ี กีย่ ว กับศาสนาอิสลาม ส่งเสริมความรู้ทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุขแก่ สมาชิกและผู้ประกอบวิชาชีพอื่นๆ และส่งเสริมความสามัคคีและจริยธรรม ระหว่างสมาชิกและผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนช่วยเหลือสมาชิกให้ได้รบั ความเป็นธรรมในการประกอบอาชีพ การท�ำงานในทุกสาขาอาชีพทีส่ จุ ริตและอยูใ่ นครรลองแห่งศาสนาอิสลามถือเป็นอะมานะห์(ความ รับผิดชอบ) และอะมานะห์น้นั มิได้มีความหมายในการท�ำงานให้ลุล่วงเพียงอย่างเดียว หากแต่ต้องตั้งอยู่ บนพื้นฐานแห่งเจตนาหรือเนียตที่บริสุทธิ์ด้วย จึงจะได้รบั ผลตอบแทนเป็นทวีคูณ ณ อัลลอฮ์ พระผู้เป็น เจ้า และอะมานะห์ที่ยิ่งใหญ่ คือความรับผิดชอบในการรักษาและดูแลสุขภาพร่างกายของผู้ได้รับความ ทุกข์ยากจากอาการเจ็บป่วยให้มพี ลานามัยที่ปกติสมบูรณ์ ข้าพเจ้าขอเป็นก�ำลังใจในความตัง้ ใจของสมาคมแพทย์มสุ ลิมทีม่ งุ่ มัน่ สูก่ ารเป็นศูนย์รวมของมุสลิม ที่มีวิชาชีพด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อร่วมแรงร่วมใจกันเสริมสร้างสุขภาพให้กับประชาชนและ สร้างแรงจูงใจให้พ่นี ้องมุสลิมที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ทกุ แขนง รวมทั้งผู้ท่อี ยู่ในสายงานวิชาชีพด้าน อืน่ ได้เข้ามามีบทบาทและส่วนร่วมในการด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ บรรลุการมีสขุ ภาพทีด่ ขี องชาวไทยมุสลิมโดย ไม่คิดมูลค่าและพยายามร่วมกันผลักดันให้เกิดโรงพยาบาลมุสลิมขึ้นในประเทศไทย ข้าพเจ้าขอดุอาอฺ (ขอพร) จากเอกองค์อลั ลอฮ์ พระผูเ้ ป็นเจ้า โปรดดลบันดาลประทานความส�ำเร็จ ในการท�ำงานเพื่อสังคมแก่สมาคมนี้ และโปรดอ�ำนวยให้การด�ำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง บรรลุผลตาม วิสัยทัศน์และพันธกิจที่วางไว้ทกุ ประการ
(นายอาศิส พิทักษ์คุมพล) จุฬาราชมนตรี
สาร สมาคมแพทย์มุสลิมเกิดจากการรวมตัวของบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขมีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำประโยชน์ด้านสาธารณสุขให้กับ ประชาชน โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิม ซึง่ เป็นการช่วยเสริมการท�ำงานของภาค รัฐอีกทางหนึ่ง อันจะช่วยให้พ่นี ้องชาวไทยได้เข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้ มากขึ้น การจัดพิมพ์หนังสือแสดงกิจกรรม และผลงานของสมาคมแพทย์ มุสลิม เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ นับว่าเป็นประโยชน์แก่สมาชิกและผู้ ที่เกี่ยวข้องอย่างยิ่ง ผมขอขอบคุณแทนพี่น้องชาวไทยทุกท่าน ที่ท่านได้สละ เวลาเพื่อให้บริการทางการแพทย์ และเผยแพร่ความรู้ด้านการแพทย์และสุขภาพให้แก่ประชาชนตลอด ระยะเวลา ๒๕ ปีท่ผี ่านมา ในโอกาสนี้ ผมขอพรต่อเอกองค์อลั เลาะห์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา โปรดประทานพรให้คณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิมทุกท่าน ประสบแต่ความสุข ความเจริญ มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง เพื่อจะได้ ร่วมกันพัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป
(นายแพทย์ประดิษฐ สินธวณรงค์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
สารที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมแพทย์มุสลิม
กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ ส มาคมแพทย์ มุ ส ลิ ม จั ด ท� ำ ก็ คื อ วารสารแพทย์ มุสลิม เพื่อรวบรวมบทความทางวิชาการแพทย์เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม และ ข้อมูลข่าวสารทางการแพทย์และสาธารณสุขที่น่าสนใจเพื่อเป็นวิทยาทานแก่ สาธารณชนทั่วไป นับเป็นประโยชน์แก่ผู้ได้รบั และน�ำไปศึกษาเป็นอย่างมาก เรื่องของการแพทย์ในปัจจุบันมีความก้าวหน้ามาก พอๆ กับเรื่องโรคภัย ไข้เจ็บทีม่ มี ากยิง่ ขึน้ ฉะนัน้ การมีความรูเ้ กีย่ วกับการแพทย์และสาธารณสุข จึง มีความจ�ำเป็นส�ำหรับทุกคน เพื่อจะได้รู้จักลู่ทางในการป้องกันตัวเองและ ครอบครัวให้ห่างไกลจากโรคร้าย เป็นการสร้างความสุขให้เกิดแก่ชวี ิต สมดัง ค�ำกล่าวที่ว่า “ความไม่มโี รคเป็นลาภอันประเสริฐ” ขอเอกองค์อัลเลาะห์ (ซ.บ.) ทรงโปรดประทานให้สมาคมแพทย์มุสลิมมีความเจริญก้าวหน้า ขอให้แพทย์มสุ ลิมและอาสาสมัครทุกท่านได้รว่ มมือร่วมใจกันท�ำงานด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ และขอพระองค์ ทรงโปรดให้สมาคมได้บรรลุผลสู่การมีสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลมุสลิม ในโอกาสที่ประเทศของเรา ได้เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในอีก 2 ปีขา้ งหน้า เพือ่ ขยายงานออกไปและอ�ำนวยความสะดวกแก่สมาชิกของ ประชาคมทุกชาติและทุกศาสนา
(ท่านผู้หญิงสมร ภูมิณรงค์) ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมแพทย์มสุ ลิม
สารจากอดีตนายกสมาคมแพทย์มุสลิม
สมาคมแพทย์ มุ ส ลิ ม ได้ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมการกุ ศ ลเพื่ อ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาวะให้กับประชาชน โดยเฉพาะชนชาวมุสลิมอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน กว่า 30 ปี ที่ผ่านมาผู้ที่ร่วมท�ำกิจกรรมกับสมาคมโดยเฉพาะท่านที่อาสา สมัครเข้าเป็นคณะกรรมการบริหารสมาคมมาโดยตลอด ส่วนใหญ่ยังเป็นคน หน้าเดิมที่หลายคนแม้เข้าสู่วัยสูงอายุแล้ว แต่ก็ยังยอมอุทิศเวลาทั้งส่วนตัว และของครอบครัวเข้ามาช่วย ให้งานของสมาคมก้าวเดินต่อไปได้ด้วยดี ในขณะที่ปัจจุบันวงการมุสลิมเรามีคลื่นลูกใหม่วัยหนุ่มสาวส�ำเร็จ การศึกษาเข้ามาสู่วิชาชีพด้านสาธารณสุขมากขึ้นเรื่อยๆแต่ท่านเหล่านั้น หลายท่านยังคงไม่ก้าวเข้ามาร่วมงานกับสมาคมอาจจะด้วยความรู้สึกห่างเหินไม่รู้จักไม่คุ้นเคยหรือจะ ด้วยเหตุผลอื่นใดก็ตาม แต่ด้วยความเป็น อุมมะห์มุสลิม เราเป็นเหมือนพี่น้องกันที่สามารถพูดคุยกันได้ ทุกโอกาส จึงอยากชักชวนให้ทุกท่านเข้ามาพูดคุยให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของ สมาคมซึ่งมีเป็นประจ�ำทุกเดือนเพื่อรับช่วงงานต่อจาก “คนหน้าเดิม” ในการช่วยกันจรรโลงภารกิจเพื่อ ส่วนรวมของสมาคมแพทย์มุสลิมให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไปรวมทั้งหลายชุมชน มุสลิมในประเทศไทยต่อไป ขออัลเลาะห์ซุบฮานะฮูวะตะอาลา โปรดประทานพรให้ท่านมีร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพดีทั้งทาง กายและจิตใจ สามารถประกอบกิจการงานที่อยู่ในแนวทางของศาสนาส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
(นายแพทย์มนัส วงศ์เสงี่ยม) อดีตนายกสมาคม
สารนายกสมาคมแพทย์มุสลิม
ขอสรรเสริ ญ แด่ เ อกองค์ อั ล เลาะฮ์ ซุ บ ฮานะฮู ว ะตะอาลา ผู ้ ท รง ประทานความดีงามแก่สมาคมแพทย์มุสลิม ตลอดระยะเวลา 2 ปี ห ลั ง จากกระผมได้ รั บเกี ย รติ ให้ เป็ น นายก สมาคมแพทย์มุสลิม รู้สึกซาบซึ้งถึงความเสียสละ ความสมัครสมานสามัคคี และความบริสุทธิ์ใจของ กรรมการ อนุกรรมการ และอาสาสมัครของสมาคม ที่ได้ร่วมมือกันท�ำกิจกรรมต่างๆ ด้วยสหสาขาวิชาชีพ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและประเทศชาติอย่างมากมาย อยากเชิญชวนบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขรุน่ ใหม่ๆ ให้เข้ามาร่วมกิจกรรมกับพวกเรา มาเป็นครอบครัวเดียวกัน ขอต้อนรับด้วยความ ยินดีเป็นอย่างยิ่ง ขอขอบคุณท่านอาจารย์นายแพทย์มนัส วงศ์เสงี่ยม ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ที่ท่านได้เสียสละเวลา มาให้คำ� แนะน�ำแก่กรรมการของสมาคมอย่างต่อเนือ่ ง ขอขอบคุณคุณทวีศกั ดิ์ จัน่ มณี ตลอดจนครอบครัว จั่นมณี และคณะกรรมการมัสยิดอิมาร่อตุ๊ดดีน ที่ได้เอื้อเฟื้ออาคารสถานที่ตั้งของสมาคม สุดท้ายนี้ขอวิงวอนต่อเอกองค์อัลเลาะฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ได้ทรงตอบแทนความดีงามของ เราทั้งหลายตามกุศลเจตนาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ขอประทานแนวทางที่เที่ยงตรงแก่เรา ขอประทาน ความเจริญก้าวหน้าให้สมาคมแพทย์มุสลิม และให้พวกเรามีสุขภาพดี อามีน
(นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์)
นายกสมาคม
คณะกรรมการบริหารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2555
นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคม
นายแพทย์การุณ พุฒภาวนา อุปนายก คนที่ 1
นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี อุปนายก คนที่ 2
นางดรุณี มิตรอารีย์ อุปนายก คนที่ 3
ดร.บุหลัน ทองกลีบ เลขาธิการ
พันเอกหญิงกฤษณา บุญชม รองเลขาธิการ
พันเอกเภสัชกรชลิต สายฟ้า เหรัญญิก
นายแพทย์นิติวุฒิ วงศ์เสงี่ยม ประธานวิชาการ
นางสาวภัทรชนิดร์ หวังผล กรรมการวิชาการ
แพทย์หญิงฟาติมะห์ จั่นมณี ประธานกิจกรรม
นางนงลักษณ์ ฮูเซ็น กรรมการกิจกรรม
นางพรรณี ศิวะบวร กรรมการกิจกรรม
นางสาวอนัญญา ราบเรียบ กรรมการกิจกรรม
นางจุไรรัตน์ มูฮ�ำหมัด กรรมการกิจกรรม
นายณรงค์ รื่นพิทักษ์ ปฏิคม
นางสาวจรวยพร สุกุมลจันทร์ ผู้ช่วยปฏิคม
นายอภิศักดิ์ กองนักวงษ์ นายทะเบียน
นางจิราภรณ์ ม่วงพรวน ประชาสัมพันธ์
คณะกรรมการบริหารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2556 - 2557
นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคม
นายแพทย์การุณ พุฒภาวนา อุปนายก คนที่ 1
นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี อุปนายก คนที่ 2
นางดรุณี มิตรอารีย์ อุปนายก คนที่ 3
นางสาวนภาภรณ์ เซ็นสม เลขาธิการ
พันเอกเภสัชกรชลิต สายฟ้า เหรัญญิก
นางสาวภัทรชนิดร์ หวังผล วิชาการ
แพทย์หญิงฟาติมะห์ จั่นมณี ประธานกิจกรรม
นางพรรณี ศิวะบวร กรรมการกิจกรรม
นางนงลักษณ์ ฮูเซ็น กรรมการกิจกรรม
นางสาวอนัญญา ราบเรียบ กรรมการกิจกรรม
นายณรงค์ รื่นพิทักษ์ ปฏิคม
นางสาวจรวยพร สุกุมลจันทร์ ผู้ช่วยปฏิคม
นางจิราภรณ์ ม่วงพรวน ประชาสัมพันธ์
นางสาวโชตินารถ ด�ำรงศาสน์ นายทะเบียน
www.manonnont.com
หางหุนส น วนจํ น ากัด ดีนนทรานนส DEEEN TRAANS LIIMITED D PAR RTNERSSHIP ประะกอบธุรกิจทางดดานการจจัดสงสินค น าและพพัสดุภณ ัณฑท่วั ประเทศ รวมมถึงบริการขนข ก องยายบบานยายสสํานักงาาน ตลอดด 24 ชัวโมง ่ว ไมเวนวันหยุดราชกาารใหบริการทั ก ้งภาครั ภ ฐแลละเอกชนน เรามีรถทุ ร ก า อาทิ รถกระบบะหลังคคาสูง-ทึบ ประเภทไไวคอยบบริการทาน รถบรรรทุกเล็ก รถบรรรทุกใหญ ญ รถมีลิฟท ฟ ทาย เปนตน รววมทั้งมีพนั พ กงานขขนยาย และโกดั แ งจั ง ดเก็บสินคาไวคคอยบริการ ก ทานสามารถ น ถมั่นใจไดดวา สินคคาของททานถึงทีหมายอย ่ห ยางปลอดภัย
หหางหุนสสวนจํากััด ดีนทรรานส ตังอยู ง้ ที่ 32/5 หมูมูที่ 3 ถนนนเทศบาาลสาย 2 ตํตาบลละะหาร อําเภอบางบบัวทอง จังหวัดนนทบุ น รี 111100 โทร. 0-2964 0 4-72155 , 0855-0423191 แฟฟกซ. 0-2964-7217 อีเมลล ม :poootae_taae@hotm tmail.com m ติดตตอคุณสสมคิด ปูเตะ
สรุปกิจกรรมสมาคมแพทย์มุสลิม ตั้งแต่ มกราคม 2554 ถึง พฤษภาคม 2556 1.การผ่าตัดท�ำสุหนัตหมู่ ซึ่งสนับสนุนโดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย (สสม.) พศ.2554 ท�ำสุหนัตรวม 490 ราย พศ.2555 ท�ำสุหนัตรวม 844 ราย พศ.2556 (ถึง พฤษภาคม 2556) ท�ำสุหนัตรวม 601 ราย
สรุปผลการท�ำสุหนัต โครงการท�ำสุนัตหมู่ (ขริบอนามัย) เพื่อเยาวชนมุสลิม โดย สมาคมแพทย์มุสลิม วันที่ 3 เมษายน 2554 – 14 พฤษภาคม 2554 *****************************
ครั้งที่
วัน/เดือน/ปี
1
3 เมษายน 2554
2
10 เมษายน 2554
3
13 เมษายน 2554
4
14 เมษายน 2554
5
24 เมษายน 2554
6
30 เมษายน 2554
สถานที่
มัสยิดเราฎอฏิ้ลยันนะห์ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ มัสยิดบางอุทิศ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี โรงเรียนเทศบาลต�ำบลปริก ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา โรงเรียนอั้ลฮิดายะตุ้ลอิสลามิ ยะห์(ตลาดขวัญ) ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี โรงเรียนพัฒนอิสลาม ต.ท่าแร้ง อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี
จ�ำนวนผู้เข้ารับ บริการ (ราย) 61
หมายเหตุ*
60
รวมต่างด้าว 2 ราย
108
รวมต่างด้าว 1 ราย
54 45 28
* ผู้รับบริการส่วนหนึ่งเป็นผู้ใหญ่ และชาวต่างศาสนิกด้วย วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
13
7
1 พฤษภาคม 2554
โรงเรียนศาสนธรรมวิทยา มัสยิดสวนพลู เขตธนบุรี กรุงเทพฯ สมาคมแพทย์มุสลิม ซ.สุวรรณมณี เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ
8
8 พฤษภาคม 2554
9
14 พฤษภาคม 2554 มัสยิดซอลาฮุดดีน ต.นาคา อ.สุข ส�ำราญ จ.ระนอง รวมผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น ส่งสนับสนุนค่าใช้จ่าย จ�ำนวน
66
รวมเด็กต่างด้าว 2 ราย และเด็กไทยไม่มีหลัก ฐาน 1 ราย
12 56 490 477
ไม่มีหลักฐาน 13 ราย
โครงการท�ำสุหนัตหมู่ (ขริบอนามัย) เพื่อเยาวชนมุสลิม โดย สมาคมแพทย์มุสลิม วันที่ 31 มีนาคม – 6 พฤษภาคม 2555 ครั้งที่
14
วัน/เดือน/ปี
1
25 มีนาคม 2555
2
31 มีนาคม 2555
3
7 เมษายน 2555
4
8 เมษายน 2555
สถานที่
ผู้เข้ารับบริการ
สมาคมแพทย์มุสลิม 101 ซ.สุวรรณมณี แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มัสยิดเราดอตุ้ลยีนาน (ปลาย คลอง) ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอ เมือง จังหวัดตราด มัสยิดอัลนุสเราะห์ ต�ำบล ประสงค์ อ�ำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
17 ราย
มัสยิดมิฟตาฮุ้ลญันนะห์ (บ้านแหลมสอม) ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
104 ราย 38 ราย
45 ราย
5
9 เมษายน 2555
6
21 เมษายน 2555
7
22 เมษายน 2555
8
28 เมษายน 2555
9
28 เมษายน 2555
10
5 พฤษภาคม 2555
11
6 พฤษภาคม 2555
12
13 ตุลาคม 2555
โรงเรียนมิสบาฮุดดีน ต�ำบลก�ำ พวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัด ระนอง มัสยิดอัลยุสรอสามัคคี ต�ำบลชะ ไว อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง
80 ราย 140 ราย
มัสยิดยะมิอุ้ลอิสลาม บางมะเขือ เขตพระโขนง กรุงเทพฯ มัสยิดยามิอุ้ลอิสลาม ต�ำบลคลอง ตะเคียน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
55 ราย
มัสยิดนูรุ้ลยะมาล ต�ำบลลุมพลี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มัสยิดยามีอุลค็อยรียะห์ บ้านครัว เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
89 ราย
มัสยิดอิดดฮาดร์อูลูมุดดีน (แสน แสบฝั่งใต้) เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม ต�ำบลเชิงเนิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง รวมผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น
106 ราย
43 ราย
42 ราย
85 ราย 844 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
15
สรุปผลการท�ำสุหนัต สมาคมแพทย์มุสลิม โครงการท�ำสุหนัตหมู่ (ขริบอนามัย)เพื่อเยาวชนมุสลิม วันที่ 17 มีนาคม – 6 พฤษภาคม 2556 ครั้ง ที่
16
วัน/เดือน/ปี
1 2
17 มีนาคม 2556 30 มีนาคม 2556
3
31 มีนาคม 2556
4
6 เมษายน 2556
5
7 เมษายน 2556
6
8 เมษายน 2556
7
21 เมษายน 2556
8
27 เมษายน 2556
9
4 พฤษภาคม 2556
10
5 พฤษภาคม 2556
11
6 พฤษภาคม 2556
สถานที่
ผู้เข้ารับบริการ
โรงเรียนบางอ้อศึกษา โรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มัสยิดดารุ้ลอิสลาม ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี มัสยิดนูรุ้ลฮิบาดะห์ ต�ำบลเชิงเนิน อ�ำเภอเมือง จังหวัด ระยอง มัสยิดริดวานุ้นอิสลาม แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ มัสยิดบางอุทิศ (แม่บาง) แขวงวัดพระยาไกร เขต บางคอแหลม กรุงเทพฯ มัสยิดอัลฮูดา เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มูลนิธิพัฒนาศรัทธาชน ต.เวียง พางค�ำ อ.แม่สาย จ.เชียงราย องค์การบริหารส่วนต�ำบลบาง หมาก ต.บางหมาก อ.กันตัง จ.ตรัง มัสยิดมิฟตาฮุ้ลญันนะห์ (บ้านแหลมสอม) ต.หนองทะเล อ.เมือง จ.กระบี่ โรงเรียนมิสบาฮุดดีน ต.ก�ำพวน อ.สุขส�ำราญ จ.ระนอง รวมผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น
44 ราย 48 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
102 ราย 47 ราย 40 ราย 58 ราย 74 ราย 60 ราย 41 ราย 18 ราย 69 ราย 601 ราย
2. การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ เพื่อให้การตรวจรักษา การเจาะเลือดหาระดับน�้ำตาลและ ไขมัน การจ่ายยา และการให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชน โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ปี พศ.2554 ออกหน่วยแพทย์รวม 17 ครั้ง เฉพาะผู้รับบริการตรวจเลือดหรือรับยา 649 ราย ปี พศ.2555 ออกหน่วยแพทย์รวม 28 ครั้ง เฉพาะผู้รับบริการตรวจเลือดหรือรับยา 1412 ราย ปี พศ.2556 (ถึง พค. 2556) รวม 10 ครั้ง เฉพาะผู้รับบริการตรวจเลือดหรือรับยา 303 ราย 3.การปฏิบัตหน้าที่เป็นฝ่ายบริการทางการแพทย์ งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ฮ.ศ.1433 และ ฮศ.1434 โดย นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี เป็นประธานฝ่ายบริการทางการแพทย์ทั้ง 2 ปี กิจกรรมในงานเมาลิด กลางประกอบด้วย 3.1.ให้บริการทางการแพทย์ ตรวจรักษา จ่ายยาแก่ประชาชนที่มาร่วมงานที่เกิดการเจ็บป่วย 3.2.ตรวจหา แนะน�ำ และรักษาปัจจัยเสี่ยงที่ท�ำให้เกิดโรค ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิต สูง ไขมันในเลือดสูงและโรคหัวใจ เป็นต้น 3.3.เพื่อให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินโดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกคือ โรง พยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ ส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานครโดยจัดเตรียมรถพยาบาลฉุกเฉินพร้อมเจ้า หน้าที่ 3.4.จัดนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรังที่พบบ่อย โดยเฉพาะในผู้สูงอายุ 3.5.ให้ค�ำปรึกษาปัญหาสุขภาพ เรื่องอาหารและยา 3.6.จัดประกวดสุขภาพเด็ก เพื่อกระตุ้นให้มีการตื่นตัวดูแลสุขภาพร่างกายตั้งแต่เยาว์วัย 4. การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เยียวยาหลังมหาอุทกภัย ปี 2554 เพื่อให้การตรวจรักษา ดูแล สุขภาพ มอบถุงยังชีพ และมอบเงินช่วยเหลือแก่ผู้ประสบอุทกภัย ครั้งที่ 1 วันที่ 13 พ.ย.54 ณ ต.ลุมพลี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา น�ำโดย นพ.ชาติชาย วงษ์อารี พญ.ฟา ติมะห์ จั่นมณี ผู้รับบริการ 118 ราย ครั้งที่ 2 วันที่ 19 พ.ย.54 ณ มัสยิด ต.คูบางหลวง ปทุมธานี น�ำโดย โดย พญ.ฟาติมะห์ จั่นมณี ผู้รับบริการ 89 ราย ครั้งที่ 3 วันที่ 3 ธ.ค.54 มัสยิดยะมาลุ้ลอิสลาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา น�ำโดย นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ และ พญ.ฟาติมะห์ จั่นมณี ผู้รับบริการ 70 ราย ในการนี้ยังได้มอบเงินช่วยเหลือ 100 ครอบครัว ครอบครัวละ 300 บาท 5 การร่วมเป็นวิทยากร การจัดงาน ร่วมงานการกุศล ฯลฯ 5.1 สมาคมแพทย์มุสลิม ร่วมกับ สสม. ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง บทบาทของแพทย์ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
17
ไทยมุสลิมต่อการสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย ในวันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน 2554 ณ ห้องประชุมมูลนิธิ เพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ถนนรามค�ำแหง กรุงเทพฯ กรรมการสมาคมร่วมเป็นวิทยากร 2 ท่าน คือ นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์ และ นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี 5.2 สนับสนุนการจัดงาน “มุสลิม ณ บางกอก:ความเรืองรองแห่งมหานครกรุงเทพ” ซึ่งจัด โดย มูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามเพื่อการศึกษาและพัฒนา (วกพ) ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร หอศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดกรุงเทพ สภาศิลปวัฒนธรรมมุสลิมสยาม และ องค์กรเครือข่าย ในวันที่ 12-13 พฤษภาคม 2555 เพื่อเป็นการเผยแผ่อิสลามและแสดงคุณค่าทาง วัฒนธรรมของมุสลิมในด้านต่างๆ รวมทั้งการท�ำคอตั่นด้วยโดยในวันเสาร์ที่ 12 พค.2555 ซึ่งเป็นวันแรก ของงาน มีการแสดงทางวัฒนธรรมมลายู ชุด “ขบวนฉลองการเข้าสุหนัด ร�ำสิละเดี่ยวและกระบี่กระบอง” ทั้งนี้สมาคมฯ ได้เป็นผู้สนับสนุนการจัดงาน จ�ำนวนเงิน 30000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) และมีสมาชิก สมาคมเข้าร่วมงานด้วยน�ำโดย นายแพทย์เกษมสุข โยธาสมุทร 5.3 เป็นเจ้าภาพร่วมจัดงาน Thailand Hajj Umrah and Halal Travel 2012 มูลนิธิ วัฒนธรรมเพื่อการศึกษาและพัฒนา มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาคมแพทย์มุสลิม แห่งประเทศไทย และคณะกรรมการอิสลามประจ�ำกรุงเทพมหานคร ร่วมกัน จัดงาน “ประเทศไทย ฮัจย์ อุมเราะฮ์และฮาลาลทราเวล ” ขึ้นที่มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ในวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม 2555 โดยมีท่านจุฬาราชมนตรี เป็นประธานในพิธีมูลนิธิวัฒนธรรมอิสลามเพื่อการศึกษาและ พัฒนา (วกพ) เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการท�ำฮัจย์และอุมเราะฮ์ ตลอดจนถึงการจัดบริการ ท่องเที่ยวที่ด�ำเนินการโดยมุสลิม มีผู้มาร่วมงานประมาณ 300 คน 5.4 ร่วมงานวางศิลารากฐานมัสยิดกลางจังหวัดมุกดาหาร วันที่ 1กันยายน 2555 ในการนี้ สมาคมแพทย์มุสลิมได้เดินทางไปร่วมงาน น�ำโดยนายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคม แพทย์หญิง ฟาติมะห์ จั่นมณี และนายแพทย์นิติวุฒิ วงศ์เสงี่ยม และสมาชิกสมาคมจ�ำนวน 2 คันรถตู้ ได้ให้บริการ ตรวจรักษาจ่ายยาแก่ผู้ที่เดินทางมาร่วมงานและเกิดอาการเจ็บป่วยขึ้น รวมทั้งให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีผู้มีอาการเป็นลมหลายรายเนื่องจากอากาศร้อน และมีอาการเจ็บหน้าอก 1 ราย ได้ให้การรักษาเบื้อง ต้นแล้วส่งตัวไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลมุกดาหาร และในโอกาสนี้สมาคมแพทย์มุสลิมได้ร่วมบริจาคเพื่อ สร้างมัสยิดมุกดาหาร จ�ำนวนเงิน 10000 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน) 5.5 ร่วมเป็นวิทยากรบรรยาย ในการเสวนา เรื่อง “หะลาลหะรอมทางการแพทย์” เมื่อ 20 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมนูโวซิตี้ กรุงเทพ ซึ่งจัดโดย สสม.
18
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
กิจกรรมสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554-2556
กิจกรรมออกให้บริการทางการแพทย์ พ.ศ. 2554 กิจกรรมการออกหน่วยแพทย์ตรวจรักษาตรวจเลือดให้ค�ำปรึกษาโดยไม่คิดมูลค่า ครั้งที่ 1 วันที่ 4 มีนาคม 2554
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 24 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 22 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 20 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 22 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 32 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 36 ราย
มูลนิธิดารุสลาม เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 22 ราย
โรงรียนมินฮาจญ์อิสลาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้รับบริการ 37 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 13 ราย
งานชมรมผู้เกษียณอายุมูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทยมีผู้รับบริการ 33ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ผู้รับบริการ 21 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 17 ราย
ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ต�ำบลลุมพลี อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ครั้งที่ 2 วันที่ 1 เมษายน 2554
ครั้งที่ 3 วันที่ 6 พฤษภาคม 2554 ครั้งที่ 4 วันที่ 3 มิถุนายน 2554
ครั้งที่ 5 วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 ครั้งที่ 6 วันที่ 7 กรกฎาคม 2554 ครั้งที่ 7 วันที่ 9 กรกฎาคม 2554
ครั้งที่ 8 วันที่ 23 กรกฎาคม 2554 ครั้งที่ 9 วันที่ 9 กันยายน 2554
ครั้งที่ 10 วันที่ 17 กันยายน 2554 ครั้งที่ 11 วันที่ 7 ตุลาคม 2554
ครั้งที่ 12 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554
ครั้งที่ 13 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2554
20
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ผู้รับบริการ 118 ราย
ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ต�ำบลคูบางหลวง จังหวัดปทุมธานี มีผู้รับบริการ 89 ราย
ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ณ สุเหร่าเขียว ต�ำบลบางบัวทอง อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี ผู้รับบริการ 50 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ผู้รับบริการ 23 ราย
ให้การฟื้นฟูเยียวยาหลังน�้ำลด มัสยิดยะมาลุ้ลอิสลาม ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้รับบริการ 70 ราย
ครั้งที่ 14 วันที่ 19 พฤศจิกายน 2554 ครั้งที่ 15 วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 ครั้งที่ 16 วันที่ 2 ธันวาคม 2554 ครั้งที่ 17 วันที่ 3 ธันวาคม 2554
กิจกรรมท�ำสุหนัต ครั้งที่ 1 วันที่ 3 เมษายน 2554
มัสยิดเราฎ่อติ้ลญันนะฮ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 61 ราย
มัสยิดบางอุทิศ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 60 ราย
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ มัสยิดนูรุลอิสลาม ต�ำบลพุมเรียง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีผู้รับบริการ 108 ราย
โรงเรียนเทศบาลต�ำบลปริก ต�ำบลปริก อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา มีผู้รับบริการ 54ราย
มัสยิดฮิดาย่าตุ๊ลอุมม๊ะฮ์ (ตลาดขวัญ) ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี มีผู้รับ บริการ 45 ราย
โรงเรี ย นพั ฒ นาอิ ส ลาม ต� ำ บลท่ า แร้ ง อ� ำ เภอบ้ า นแหลม จั ง หวั ด เพชรบุ รี มี ผู ้ รั บ บริการ28 ราย
โรงเรี ย นศาสนธรรมวิ ท ยาสวนพลู มั ส ยิ ด สวนพลู เขตธนบุ รี กรุ ง เทพฯ มี ผู ้ รั บ บริ ก าร 66 ราย
ครั้งที่ 2 วันที่ 10 เมษายน 2554 ครั้งที่ 3 วันที่ 13 เมษายน 2554 ครั้งที่ 4 วันที่ 14 เมษายน 2554 ครั้งที่ 5 วันที่ 24 เมษายน 2554 ครั้งที่ 6 วันที่ 30 เมษายน 2554
ครั้งที่ 7 วันที่ 1 พฤษภาคม 2554
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
21
ครั้งที่ 8 วันที่ 8 พฤษภาคม 2554 อาคารสมาคมแพทย์มสุ ลิม เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีผู้รบั บริการ 12 ราย
ครั้งที่ 9 วันที่ 14 พฤษภาคม 2554 มัสยิดซอลาฮุดดีน ต�ำบลนาคา อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัดระนอง มีผู้รับบริการ 56 ราย
22
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
กิจกรรมออกให้บริการทางการแพทย์ พ.ศ. 2555 กิจกรรมการออกหน่วยแพทย์ตรวจรักษาตรวจเลือดให้ค�ำปรึกษาโดยไม่คิดมูลค่า ครั้งที่ 1 วันที่ 6 มกราคม 2555
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 21 ราย
งานวัฒนธรรมอิสลาม มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 58 ราย
มัสยิดดารุ้ลเอี๊ยะซาน คลอง 20 จังหวัดฉะเชิงเทรา มีผู้รับบริการ 39 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 16 ราย
โรงเรียนมิศบาฮุ้ลอุลูม เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 34 ราย
มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ศู น ย์ ก ลางอิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทย มี ผู ้ รั บ บริ ก าร 16 ราย และมั ส ยิ ด อั ต ตั๊ ก วา คลองสองต้นนุ่น เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 45 ราย
โรงเรียนมินฮาจญ์อิสลาม ต�ำบลส�ำเภาล่ม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้รับบริการ 45 ราย
มัสยิดอะมะดียะฮ์ อ�ำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้รับบริการ 79 ราย
งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ณ ศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คลองเก้า เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 285 ราย ตรวจเลือด 26 ราย
มัสยิดอัลอิตติฮาด จังหวัดชลบุรี มีผู้รับบริการ 16 ราย
มัสยิดอับดุลลานุสรณ์ อ�ำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี มีผู้รับบริการ 54 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 25 ราย
ครั้งที่ 2 วันที่ 21 - 22 มกราคม 2555 ครั้งที่ 3 วันที่ 22 มกราคม 2555
ครั้งที่ 4 วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2555 ครั้งที่ 5 วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555 ครั้งที่ 6 วันที่ 2 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 7 วันที่ 3 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 8 วันที่ 7 มีนาคม 2555
ครั้งที่ 9 วันที่ 14 – 17 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 10 วันที่ 19 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 11 วันที่ 3 เมษายน 2555
ครั้งที่ 12 วันที่ 4 พฤษภาคม 2555
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
23
ครั้งที่ 13 วันที่ 1 มิถุนายน 2555
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 13 ราย
มัสยิดอิบาดุรเราะห์มาน คลอง 2 ต�ำบลคูคต จังหวัดปทุมธานี มีผู้รับบริการ 61 ราย
มัสยิดนูรุนยากีน ต�ำบลคูขวาง อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี มีผู้รับบริการ 139 ราย
มูลนิธิดารุสสลาม เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 27 ราย
โรงเรียนอัลอิสลามียะห์ ต�ำบลเปร็ง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีผู้รับบริการ 28 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 15 ราย ตรวจเลือด 7 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย เนื่องในงาน Haj & Umrah มีผู้รับบริการ 24 ราย ตรวจเลือด 9 ราย
สนามกีฬาหัวหมาก เนื่องในงานเด็กก�ำพร้า มีผู้รับบริการ 56 ราย ตรวจเลือด 17 ราย
มูลนิธิดารุสสลาม เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 18 ราย
งานวางศิลารากฐานมัสยิด จังหวัดมุกดาหาร มีผู้รับบริการ 97 ราย ตรวจเลือด 11 ราย
มูลนิธิเพื่อศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย มีผู้รับบริการ 15 ราย ตรวจเลือด 8 ราย
งานชมรมข้ า ราชการเกษี ย ณมุ ส ลิ ม มู ล นิ ธิ เ พื่ อ ศู น ย์ ก ลางอิ ส ลามแห่ ง ประเทศไทย มีผู้รับบริการ 20 ราย ตรวจเลือด 10 ราย
ให้บริการผู้ประสบมหาอุทกภัย อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี มีผู้รับบริการ 78 ราย
ครั้งที่ 14 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
ครั้งที่ 15 วันที่ 17 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 16 วันที่ 23 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 17 วันที่ 30 มิถุนายน 2555 ครั้งที่ 18 วันที่ 6 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 19 วันที่ 8 กรกฎาคม 2555
ครั้งที่ 20 วันที่ 28 กรกฎาคม 2555 ครั้งที่ 21 วันที่ 11 สิงหาคม 2555 ครั้งที่ 22 วันที่ 1 กันยาน 2555
ครั้งที่ 23 วันที่ 7 กันยายน 2555
ครั้งที่ 24 วันที่ 15 กันยายน 2555 ครั้งที่ 25 วันที่ 29 กันยายน 2555
24
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
กิจกรรมท�ำสุหนัต (2555-2556) ครั้งที่ 1 วันที่ 25 มีนาคม 2555
อาคารสมาคมแพทย์มุสลิม มีผู้รับบริการ 17 ราย
มั ส ยิ ด เราดอตุ ้ ล ญี น าน (ปลายคลอง) ต� ำ บลวั ง กระแจะ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ตราด มีผู้รับบริการ 104 ราย
มัสยิดอัลนุสเราะห์ ต�ำบลประสงค์ อ�ำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีผู้รับบริการ 38 ราย
มั ส ยิ ด มิ ฟ ตาฮุ ้ ล ญั น นะห์ (บ้ า นแหลมสอม) ต� ำ บลหนองทะเล อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด กระบี่ มีผู้รับบริการ 45 ราย
โรงเรียนมิสบาฮุดดีน ต�ำบลก�ำพวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัดระนอง มีผู้รับบริการ 80 ราย
มัสยิดอัลยุสรอสามัคคี ต�ำบลชะไว อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง มีผู้รับบริการ 140 ราย
มัสยิดยะมีอุ้ลอิสลาม บางมะเขือ แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 55 ราย
มัสยิดยามิอุ้ลอิสลาม ต�ำบลคลองตะเคียน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผู้รับบริการ 43 ราย
มั ส ยิ ด นู รุ ้ ล ยะมาล ต� ำ บลลุ ม พลี อ� ำ เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา มีผู้รับบริการ 89 ราย
มัสยิดยามีอุลค็อยรียะห์ บ้านครัว เขตราชเทวี กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 42 ราย
มัสยิดอิดดฮาดร์อูลูมุดดีน (แสนแสบฝั่งใต้) เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 106 ราย
มัสยิดนูรุลอิสลาม ต�ำบลเชิงเนิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง มีผู้รับบริการ 84 ราย
โรงเรียนบางอ้อศึกษา แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 44 ราย
ครั้งที่ 2 วันที่ 31 มีนาคม 2555 ครั้งที่ 3 วันที่ 7 เมษายน 2555 ครั้งที่ 4 วันที่ 8 เมษายน 2555 ครั้งที่ 5 วันที่ 9 เมษายน 2555
ครั้งที่ 6 วันที่ 21 เมษายน 2555 ครั้งที่ 7 วันที่ 22 เมษายน 2555 ครั้งที่ 8 วันที่ 28 เมษายน 2555 ครั้งที่ 9 วันที่ 29 เมษายน 2555
ครั้งที่ 10 วันที่ 5 พฤษภาคม 2555 ครั้งที่ 11 วันที่ 6 พฤษภาคม 2555 ครั้งที่ 12 วันที่ 13 ตุลาคม 2555
ครั้งที่ 13 วันที่ 17 มีนาคม 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
25
ครั้งที่ 14 วันที่ 30 มีนาคม 2556
โรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 48 ราย
มัสยิดดารุลอิสลาม ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี มีผู้รับบริการ 102 ราย
มัสยิดนูรุ้ลฮิบาดะห์ ต�ำบลเชิงเนิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง มีผู้รับบริการ 47 ราย
มัสยิดริดวานุ้นอิสลาม แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 40 ราย
มัสยิดบางอุทิศ (แม่บาง) แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 58 ราย
มัสยิดอัลฮูดา เขตหนองจอก กรุงเทพฯ มีผู้รับบริการ 74 ราย
มูลนิธิพัฒนาศรัทธาชน ต�ำบลเวียงพางค�ำ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีผู้รับบริการ 60 ราย
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลบางหมาก ต� ำ บลบางหมาก อ� ำ เภอกั น ตั ง จั ง หวั ด ตรั ง มีผู้รับบริการ 41 ราย
มั ส ยิ ด มิ ฟ ตาฮุ ้ ล ญั น นะห์ (บ้ า นแหลมสอม) ต� ำ บลหนองทะเล อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด กระบี่ มีผู้รับบริการ 18 ราย
โรงเรียนมิสบาฮุดดีน ต�ำบลก�ำพวน อ�ำเภอสุขส�ำราญ จังหวัดระนอง มีผู้รับบริการ 69 ราย
ครั้งที่ 15 วันที่ 31 มีนาคม 2556 ครั้งที่ 16 วันที่ 6 เมษายน 2556 ครั้งที่ 17 วันที่ 7 เมษายน 2556 ครั้งที่ 18 วันที่ 8 เมษายน 2556
ครั้งที่ 19 วันที่ 21 เมษายน 2556 ครั้งที่ 20 วันที่ 28 เมษายน 2556
ครั้งที่ 21 วันที่ 4 พฤษภาคม 2556 ครั้งที่ 22 วันที่ 5 พฤษภาคม 2556 ครั้งที่ 23 วันที่ 6 พฤษภาคม 2556
26
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
27
28
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
29
30
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
รายนามบุคลากรที่ร่วมกิจกรรม สมาคมแพทย์มุสลิม แพทย์ ทันตแพทย์
นพ.มนัส วงศ์เสงี่ยม นพ สวัสดิ์ รามบุตร พญ.ฟาติมะห์ จั่นมณี นพ.นิติวุฒิ วงศ์เสงี่ยม นพ.ปกรณ์ ฮูเซ็น นพ.มะตาเอ ศรีมาเล็ก นพ.อัจฉริย สาโรวาท นพ.สุวิทย์ รักสลาม พญ.อลิศรา อนันนับ นพ.เกษมสุข โยธาสมุทร นพ.ถาวร สาลี พญ.นัสริน พัฒนาพรรณ์ พญ.ศุภรณี ขาววิจิตร
นพ.การุณ พุฒภาวนา นพ.อัสนี โยธาสมุทร นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ ทพ.สานิตย์ น้อยนงเยาว์ นพ.กษิดิษ ศรีสง่า นพ.ชาติชาย วงษ์อารี นพ.อะห์หมัด อาฟันดี้ นพ.นันทวัฒน์ รักษมณี พญ.ฮูดา โต๊ะมางี นพ.มารุต มาเลิศ นพ.อามีน แสมา นพ.อนุตรศักดิ์ รัชตะทัต นพ.สัญญา สุระ
เภสัชกร พยาบาล และบุคลากรอื่น
พอ.ภก.ชลิต สายฟ้า
ภก.เฉลิมชัย มัสอูดี ดร.บุหลัน ทองกลีบ คุณดรุณี มิตรอารีย์ คุณอนัญญา ราบเรียบ คุณสุภาภรณ์ นาคนาวา คุณมยุรี พึ่งพระเดช คุณเนาวรัตน์ สีผิว คุณณรงค์ รื่นพิทักษ์ คุณไลลา หริ่มเพ็ง คุณอนุชา ราบเรียบ คุณดารุณี ศาสนกุล
คุณนงลักษณ์ ฮูเซ็น คุณพรรณี ศิวะบวร ดร.นารีมาลย์ นีละไพจิตร คุณนภาภรณ์ เซ็นสม คุณภัทรชนิดร์ หวังผล คุณจิราภรณ์ ม่วงพรวน คุณประไพพักตร์ พึ่งพระเดช คุณชลธิชา ลักษมีนา คุณอภิศักดิ์ กองนักวงษ์ คุณนริศรา มาเลิศ คุณเสงี่ยม บู่ทอง คุณจรวยพร สุกุมลจันทร์ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
31
คุณรัศมี น้อมศาสน์ คุณมานพ หริ่มเพ็ง คุณวลี เลี้ยงรัศมี คุณวัชระ บุญมาเลิศ คุณศิรินันท์ ตระกูลกองโต คุณนรากิจ หริ่มเพ็ง คุณอัจฉริยานี ศรีสง่า คุณศาสตรา อาด�ำ คุณมาเรียม สุขถาวร คุณฮาวา ปฏิมาพร คุณโชตินารถ ด�ำรงศาสน์
32
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
คุณสาโรช โก๊ะแอ คุณอร่าม บุญมาเลิศ คุณสุวัฒนา สวัสดิภาพ คุณสุวรรณา รังสิยะวงศ์ คุณชัยชนม์ สายฟ้า คุณอวยชัย นีละไพจิตร คุณจิรินันท์ สีโทมี คุณชนิกานต์ จงมนตรี คุณสิริกาญจน์ สุขไสว คุณจุไรรัตน์ มูฮ�ำหมัด คุณอุดมลักษณ์ ศิริสมรรถนะ
หน่วยแพทย์งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 การบริการทางการแพทย์ เวลา 8.00-17.00น.วันที่ 23-26 มีนาคม พ.ศ.2556
วัดความดันโลหิต 16 19 ตรวจรักษา 28 26 รับยาและเวชภัณฑ์ - ลดไข้/แก้ปวด 20 12 - แก้เมารถ 16 10 - แพ้อากาศ 14 6 - แก้ไอ 3 2 - พลาสเตอร์ยา 24 15 - ยาความดัน(ยาที่คนไข้กนิ อยู่) 2 4 - ยาเบาหวาน 4 3 - ยาดม 160 76 - เจลล้างมือ 100 80 แนะน�ำไปโรงพยาบาลรักษาต่อ 6 4 เป็นลมให้นอนพัก 2 แพ้สัตว์กดั ต่อย (หนอน) ส่งต่อโรงพยาบาล (ฉุกเฉิน) 1 1 รวม
รวม
26 มี.ค. 56
25 มี.ค. 56
24 มี.ค. 56
รายการ
23 มี.ค. 56
ผลการปฏิบัตงิ านงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ปี 2556 ณ ศูนย์บริหารกิจการ อิสลามแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คลองเก้า เขตหนองจอก กรุงเทพฯ ผู้ให้บริการ
15 19
18 68 1 นพ.ชาติชาย วงษ์อารี 29 102 2 นพ.สัญญา สุระ 3 นางไลลา หริ่มเพ็ง 8 16 56 4 นายมานพ หริ่มเพ็ง 4 3 33 5 นายพันธิเมธา พาลีขันธ์ 7 4 31 6 นางสายพิณ แหวนทองค�ำ 1 2 8 7 นางลลิตา มูซา 16 10 65 8 นางสาวสุนีนุช ชวดเลาะ 1 1 8 9 นางสาวรัตนา โปษกานนท์ 1 1 9 10 นายพิสฐิ รัตนปานนท์ 70 180 486 11 นายสมยศ สัตย์ลักษณ์ 60 100 340 2 3 15 4 5 11 1 1 1 1 4 1,237 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
33
หน่วยแพทย์งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 การบริการทางการแพทย์ เวลา 17.00-22.00น.วันที่ 23-26 มีนาคม พ.ศ.2556 วันเสาร์ท่ี 23 มีนาคม พ.ศ. 2556 ผู้ให้บริการ 1. นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ 2. นพ.ชาติชาย วงษ์อารี 3. นพ.สัญญา สุระ 4.ทพ.สานิตย์ น้อยนงเยาว์ 5. คุณดรุณี มิตรอารีย์ 6. คุณพรรณี ศิวะบวร 7. คุณนงลักษณ์ ฮูเซ็น 8. คุณจุไรรัตน์ มูฮ�ำหมัด 9. คุณอนันญา ราบเรียบ 10. คุณนภาภรณ์ เซ็นสม 11. คุณโชตินารถ ด�ำรงศาสน์ 12. คุณณรงค์ รื่นพิทักษ์ 13. คุณจรวยพร สุกุมลจันทร์ 14. คุณรัศมี น้อมศาสน์ 15. คุณกรรณิกา เทศประสิทธิ์ 16. คุณชลธิชา ลักษมีนา 17. คุณเสงี่ยม บู่ทอง 18. คุณอนุชา ราบเรียบ
นายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม จากคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ประธานฝ่ายการแพทย์งานเมาลิดกลาง รองผู้อ�ำนวยการ รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ รพ.กระบี่ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม อุปนายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม เลขาธิการสมาคมแพทย์มสุ ลิม นายทะเบียนสมาคมแพทย์มสุ ลิม ปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม ผู้ช่วยปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม สถาบันโรคทรวงอก รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม
ผู้รับบริการ 1. ตรวจเช็คความดันโลหิต 2. ตรวจรักษา 3. ตรวจเลือดหาระดับน�้ำตาลและไขมัน
34
40 ราย 35 ราย 10 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
หน่วยแพทย์งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 การบริการทางการแพทย์ เวลา 17.00-22.00น.วันที่ 23-26 มีนาคม พ.ศ.2556 วันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2556 ผู้ให้บริการ 1. นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม จากคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล 2. นพ.ชาติชาย วงษ์อารี ประธานฝ่ายการแพทย์งานเมาลิดกลาง รองผู้อ�ำนวยการ รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ 3. นพ.มะตาเอ ศรีมาเล็ก รพ.กรุงเทพ 4. ทพ.สานิตย์ น้อยนงเยาว์ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 5. คุณดลญา ไวยศิลป์ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 6. คุณศิรินนั ท์ ตระกูลกองโต สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 7. คุณนงลักษณ์ ฮูเซ็น กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 8. คุณจุไรรัตน์ มูฮ�ำหมัด สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 9. คุณอนันญา ราบเรียบ กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 10. คุณนภาภรณ์ เซ็นสม เลขาธิการสมาคมแพทย์มสุ ลิม 11. คุณโชตินารถ ด�ำรงศาสน์ นายทะเบียนสมาคมแพทย์มสุ ลิม 12. คุณณรงค์ รื่นพิทักษ์ ปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 13. คุณจรวยพร สุกุมลจันทร์ ผู้ช่วยปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 14. คุณลัดดาวัลย์ สุนทรา สถาบันราชานุกูล 15. คุณเสาวลักษณ์ ช่วงสมบูรณ์ สถาบันราชานุกูล 16. คุณเสงี่ยม บู่ทอง สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 17. คุณอนุชา ราบเรียบ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม ผู้รับบริการ 1. ตรวจเช็คความดันโลหิต 2. ตรวจรักษา 3. ตรวจเลือดหาระดับน�้ำตาลและไขมัน
69 ราย 49 ราย 10 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
35
หน่วยแพทย์งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 การบริการทางการแพทย์ เวลา 17.00-22.00น.วันที่ 23-26 มีนาคม พ.ศ.2556 วันจันทร์ท่ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2556 ผู้ให้บริการ 1. นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม จากคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล 2. นพ.ชาติชาย วงษ์อารี ประธานฝ่ายการแพทย์งานเมาลิดกลาง รองผู้อ�ำนวยการ รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ 3. พญ.ฟาติมะห์ จั่นมณี ประธานกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 4. นพ. อนุตรศักดิ์ รัชตทัต สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 5. นพ.นิติวุฒิ วงษ์เสงี่ยม สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 6. คุณดรุณี มิตรอารีย์ อุปนายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 7. คุณสิริกาญจน์ สุขไสว สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 8. คุณอนันญา ราบเรียบ กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 9. คุณนภาภรณ์ เซ็นสม เลขาธิการสมาคมแพทย์มสุ ลิม 10. คุณโชตินารถ ด�ำรงศาสน์ นายทะเบียนสมาคมแพทย์มสุ ลิม 11. คุณณรงค์ รื่นพิทักษ์ ปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 12. คุณจรวยพร สุกุมลจันทร์ ผู้ช่วยปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 13. คุณลัดดาวัลย์ สุนทรา สถาบันราชานุกูล 14. คุณเสาวลักษณ์ ช่วงสมบูรณ์ สถาบันราชานุกูล 15. คุณเสงี่ยม บู่ทอง สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 16. คุณอนุชา ราบเรียบ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 17. คุณชลธิชา ลักษมีนา รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ 18. คุณหทัยรัตน์ เบียมิน รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ 19. คุณกรรณิกา เทศประสิทธิ์ รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ 20. คุณรัตนา โปษกานนท์ สถาบันโรคทรวงอก 21. คุณดารุณี ศาสนกุล รพ.พระนั่งเกล้า 22. คุณรัศมี น้อมศาสน์ สถาบันโรคทรวงอก 23. คุณจิรภัทร์ เปลื้องนุช สถาบันราชานุกูล ผู้รับบริการ 1. ตรวจเช็คความดันโลหิต 56 ราย 2. ตรวจรักษา 49 ราย 3. ตรวจเลือดหาระดับน�้ำตาลและไขมัน 10 ราย 36
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
หน่วยแพทย์งานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 การบริการทางการแพทย์ เวลา 17.00-22.00น.วันที่ 23-26 มีนาคม พ.ศ.2556 วันอังคารที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556 ผู้ให้บริการ 1. นพ.อนุสรณ์ ตานีพันธ์ นายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม จากคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล 2. นพ.ปกรณ์ ฮูเซ็น รพ.สมิติเวช ศรีนครินทร์ 3. พญ.พริตา เหลืองชูเกียรติ รพ.เลิศสิน 4. นพ.อัสนี โยธาสมุทร สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 5. พญ.ฟาติมะห์ จั่นมณี ประธานกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 6. คุณดรุณี มิตรอารีย์ อุปนายกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 7. คุณนงลักษณ์ ฮูเซ็น กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 8. คุณรัศมี น้อมศาสน์ สถาบันโรคทรวงอก 9. คุณอนันญา ราบเรียบ กรรมการกิจกรรมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 10. คุณนภาภรณ์ เซ็นสม เลขาธิการสมาคมแพทย์มสุ ลิม 11. คุณโชตินารถ ด�ำรงศาสน์ นายทะเบียนสมาคมแพทย์มสุ ลิม 12. คุณณรงค์ รื่นพิทักษ์ ปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 13. คุณจรวยพร สุกุมลจันทร์ ผู้ช่วยปฏิคมสมาคมแพทย์มสุ ลิม 14. คุณดารุณี ศาสนกุล รพ.พระนั่งเกล้า 15. คุณเสาวลักษณ์ ช่วงสมบูรณ์ สถาบันราชานุกูล 16. คุณเสงี่ยม บู่ทอง สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 17. คุณอนุชา ราบเรียบ สมาชิกสมาคมแพทย์มสุ ลิม 18. ภก.ปนัดดา ฮูเซ็น รพ.นพรัตนราชธานี 19. คุณชลธิชา ลักษมีนา รพ.เวชการุณย์รัศมิ์ ผู้รับบริการ 1. ตรวจเช็คความดันโลหิต 2. ตรวจรักษา 3. ตรวจเลือดหาระดับน�้ำตาลและไขมัน
70 ราย 40 ราย 20 ราย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
37
การประกวดสุขภาพเด็กงานเมาลิดกลางแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีฮิจเราะฮศักราช 1434 (23 - 26 มีนาคม 2556) รายนามผู้ได้รับรางวัล กลุ่มที่ 1 (เด็กอายุ 2 - 4 ปี) รางวัลที่ 1 เด็กชายพัศวีร์ วงษ์อารี รางวัลที่ 2 เด็กหญิงดิษยา รุ่งแสง รางวัลที่ 3 เด็กชายอาดิ้ล พุ่มเพชร กลุ่มที่ 2 (เด็กอายุ 5-8 ปี) รางวัลที่ 1 เด็กหญิงเจนจิรา บัสบา รางวัลที่ 2 เด็กชายณัฐธีร์ เลาะมะ รางวัลที่ 3 เด็กชายเมธัส อิบบราฮีม กลุ่มที่ 3 (เด็กอายุ 9-12 ปี) รางวัลที่ 1 เด็กหญิงฟิรดาว วงษ์สมุ ิตร รางวัลที่ 2 เด็กหญิงกชพร โต๊ะซา รางวัลที่ 3 เด็กหญิงนริศรา ฮิมมีน
38
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
สารบัญ ประวัติความเปนมาของสมาคมแพทยมุสลิม The story and activity of Thai Muslim Medical Assocoation เรื่องนารูกับหมอกษิดิษ-ความตายคืออะไร โดย นายแพทยกษิดิษ ศรีสงา มะเร็งรายอาจปองกันได โดย นายแพทยมนัส วงศเสงี่ยม โอกาสของมุสลิมไทย โดย รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน สุขภาพของผูประกอบพิธีฮัจย โดย นายแพทยอนุสรณ ตานีพันธ การเขาสุหนัต โดย นายแพทยชาติชาย วงษอารี ขั้นตอนการดําเนินการทําสุหนัต (ขริบอนามัย) ของสมาคมแพทยมุสลิม โดย ทีมกิจกรรม สมาคมแพทยมุสลิมโลก โดย นายแพทยอนันตชัย ไทยประทาน อาการผิดปกติของมือที่เกี่ยวกับการทํางาน โดย ผศ.นพ.อัจฉริย สาโรวาท แม...หนูปวดทอง โดย นายแพทยนติ ิวุฒิ วงศเสงี่ยม อยาหลงเชื่อผลิตภัณทเครื่องสําอางคอวดอางรักษาโรค โดย ดรุณี มิตรอารีย การดูแลจิตวิญญานเมื่อปวยเปนมะเร็ง โดย จิราภรณ มวงพรวน (รื่นพิทักษ) ฝาวิกฤต...สุขภาพ โดย อภิศักดิ์ กองนักวงษ มาตรฐานหนวยแพทยเคลื่อนที่สมาคมแพทยมุสลิม โดย นายแพทยอนุสรณ ตานีพันธ ขอบังคับสมาคมแพทยมุสลิม วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2555
57 63 67 71 77 81 95 108 123 129 135 139 143 147 151 155 55
อาอีซะฮ รสดี ดิฉัน/ชิมไปบนไป/ชอง3/ชอง5/ชอง9
เปดบริการนานกวา 40 ป
ขาวหมกไก ซุปหางวัว กวยเตี๋ยวแกงไก-เนื้อกวยเตี๋ยว ลูกชิ้น เนื้อสด เปอย ตับ เนื้อสะเตะ นายจาดเจาเกา ปอเปยะสด-ทอด ยําสลัด ลูกชิ้นปง มะตะบะ หัวมุมถนนตานี บางลําภู เปด 8.00 - 17.00 น. โทร.02-282-6378/02-433-6612/02-435-8328
รานบุษบา เปดยางมุสลิม บริการอาหารไทย / เปดยางสไตลฮองกง บริการสง และรับจัดนอกสถานที่ 151/4 ถ.นครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 02-669-2232, 084-160-2505
56
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2555
ประวัติความเปนมา และการดําเนินงานของ สมาคมแพทยมุสลิม
ประวัติความเปนมา และการดําเนินงานของ สมาคมแพทยมุสลิม สมาคมแพทยมสุ ลิม กอตั้งขึ้นเมื่อเกือบ 30 ปที่แลว จากแนวคิดรวมกันที่วา มุสลิมเราที่กาว เขามาสูวชิ าชีพดานการแพทยและสาธารณสุข กระจายตัวอยูท่วั ประเทศก็มีจํานวนไมนอย ทั้งแพทย พยาบาล เภสัชกร นักวิทยาศาสตรการแพทย รวมทั้งสาขาวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวเนื่องดวยการบริการดาน สุขภาพแกประชาชน จากสภาพที่กระจายตัวกันอยูทั่วไปแบบตางคนตางอยูนี้ หากมารวมตัวกันทํา ประโยชนดานสาธารณสุขใหกับประชาชน โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิม โดยเสริมการทํางานของภาครัฐ อีกทีหนึ่ง ก็คงจะยังประโยชนใหกับประชาชนผูยากไรจํานวนมาก และทั้งยังเปนการปฏิบัติตามหลัก การของศาสนาอิสลาม ที่สอนใหมุสลิมมีความสามัคคี รวมมือกัน และใหชวยกันชวยเหลือผูที่ดอย โอกาส รองศาสตราจารยนายแพทยสมมาส มิตรอารีย แพทยมุสลิมอาวุโส ที่เปนที่รูจกั เคารพนับถือ ทัว่ ไปในแวดวงบุคลากรสาธารณสุขมุสลิมในยุคนัน้ จึงไดเปนแกนนําชักชวนใหคนเหลานัน้ มารวมพบปะ ปรึกษาหารือถึงแนวคิดดังกลาว สถานทีร่ วมประชุมกันมีทงั้ ทีส่ หายอิสลามสมาคม ใกลๆ วชิรพยาบาล และทีบ่ านลาดพราวของอาจารยหมอสมมาสเอง ในทีส่ ดุ จึงลงเอยดวยการจัดตัง้ ชมรมแพทยมสุ ลิมขึน้ มา เมื่อ 20 พฤศจิกายน 2525 โดยมีผูเขารวมชมรมประมาณ 300 คน หลังจากดําเนินกิจกรรมตาม วัตถุประสงคและเปาหมายของชมรมไดระยะเวลาหนึ่ง จึงไดแปรสภาพจากชมรม เปนสมาคมแพทย มุสลิม และรับอนุญาตใหจดทะเบียนเปนสมาคมไดเมื่อ วันที่ 22 กุมภาพันธ 2531 โดยมีวัตถุประสงค ตามตราสารอยางเปนทางการดังนี้ 1. ใหบริการทางการแพทยแกประชาชน 2. เผยแพรความรูดานสุขภาพอนามัยแกประชาชน 3. สงเสริมความรูทางการแพทยท่เี กี่ยวกับศาสนาอิสลาม 4. สงเสริมความรูทางการแพทยและการสาธารณสุขแกสมาชิก และผูประกอบวิชาชีพอื่นๆ 5. สงเสริมความสามัคคีและจริยธรรมระหวางสมาชิกและผูประกอบวิชาชีพทางการแพทย และสาธารณสุข 6. ชวยเหลือสมาชิกใหไดรบั ความเปนธรรมในการประกอบวิชาชีพ 7. สมาคมแพทยมสุ ลิมไมเกี่ยวของกับการเมือง องคาพยพแหงสมาคมแพทยมุสลิม ประกอบขึ้นดวยบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข จากทุกแขนงวิชา รวมทัง้ ผูอ ยูใ นสาขาอืน่ ทีส่ นใจรวมในกิจกรรมของสมาคมฯ การตัง้ ชือ่ วาสมาคมแพทย มุสลิมนั้นเปนเพียงใหเปนชื่อที่กะทัดรัด เขาใจงายเทานั้น มิไดหมายความวามีแตเฉพาะแพทยเทานั้น ผูที่รับหนาที่เปนนายกสมาคมทานแรกคือ รองศาสตราจารยนายแพทยสมมาส มิตรอารีย 58
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
และทานตอมาคือ นายแพทยสมัย ขาววิจิตร ศัลยแพทย จากโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ซึ่งขณะนี้ ทั้ง สองทานก็ไดกลับไปสูความเมตตาของอัลเลาะหซบุ ฮานะฮูวะตะอาลา แลว ผูรับชวงเปนนายกสมาคมคนตอมาคือ นายแพทยอนุสรณ ตานีพันธ แพทยอายุรกรรม จาก โรงพยาบาลวชิรพยาบาล และเมื่อหมดวาระการทําหนาที่แลว ก็มาถึงนายกสมาคมคนตอมาคือ นาย แพทยชาติชาย วงษอารี ศัลยแพทย (ปจจุบันเปนรองผูอํานวยการโรงพยาบาลเวชการุณยรัศมิ์) ผูร บั หนาทีน่ ายกสมาคมทานตอมาคือ นายแพทยมนัส วงศเสงีย่ ม อายุรแพทยจากสถาบันโรคทรวงอก และนายกสมาคมคนปจจุบนั (2554-2557) คือ นายแพทยอนุสรณ ตานีพนั ธ อายุรแพทยระบบการหายใจ จากคณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช วิสัยทัศน สมาคมแพทยมุสลิม มุงมั่นสูการเปนศูนยรวมของมุสลิมที่อยูในสาขาวิชาชีพดานการแพทย และสาธารณสุข เพื่อรวมแรง รวมใจ ชวยกันสรางเสริมสุขภาพใหกบั ประชาชน พันธกิจ สรางแรงจูงใจ ชักชวนพีน่ อ งมุสลิมทีเ่ ปนบุคลากรสาธารณสุขทุกแขนง รวมทัง้ ผูท อี่ ยูใ นวิชาชีพ อืน่ ใหเขามามีสว นรวมในการดําเนินกิจกรรม ไปสูเ ปาหมายการมีสขุ ภาพดีของชาวไทยมุสลิม พรอมทัง้ รวมกันผลักดันใหเกิดโรงพยาบาลมุสลิมขึ้นในประเทศไทย สํานักงานที่ทําการของสมาคมแพทยมุสลิม ตระกูล “จั่นมณี” โดยเภสัชกรทวีศักดิ์ จั่นมณี ซึ่งขณะนั้นรับราชการอยูที่สํานักงานคณะ กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ไดบริจาคที่ดิน 200 ตารางวา และเงินจํานวน 2 ลาน บาท ใหจดั สรางอาคาร 2 ชัน้ ติดกับมัสยิดอิมารอตุด ดีน ในซอยสุวรรณมณี ถนนประชาอุทศิ กรุงเทพฯ และไดจดั พิธเี ปดปายอาคารเมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2535 โดยมีนายแพทยอดุ มศิลป ศรีแสงนาม รัฐมนตรี วาการกระทรวงสาธารณสุขในยุคนัน้ เปนประธานในพิธี ทามกลางผูร ว มงานทีเ่ ปนทูตานุทตู จากประเทศ มุสลิม และผูมเี กียรติจํานวนมากเขารวมงาน รถพยาบาลของสมาคมแพทยมุสลิม โดยทีส่ มาคมฯ จําตองมีรถสวนกลางไวใชในการนําบุคลากรทางการแพทย อุปกรณการแพทย และเวชภัณฑ ไปใหบริการประชาชนตามชุมชนตางๆ นาย ฮูเซ็น เอ ซัคลู แหงราชอาณาจักรซาอุดี อารเบีย ในขณะนั้น จึงไดบริจาครถตู 1 คัน มูลคาประมาณ 5 แสนบาท ใหใชในกิจการ ดังกลาวและ ตอมาเมื่อรถคันนี้เสื่อมสภาพลงจากการใชงานเปนเวลานาน สมาคมฯก็ไดรับรถตูอีกหนึ่งคัน โดยผาน ทางคณะกรรมการมัสยิดอิมารอตุดดีน วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
59
บัดนี้รถคันดังกลาวก็ไดสิ้นสภาพลงเชนกัน จากการนําออกใชงานบริการประชาชนเปนเวลา นานกวา 10 ป ทางคณะกรรมการสมาคมฯจําเปนตองจําหนายออกไป ขณะนีจ้ งึ ยังไมมรี ถใชงานประจํา สมาคมฯ จําเปนตองเชารถตูเปนการชั่วคราวทุกครั้งที่ออกใหบริการทั้งบริการตรวจรักษาโรค และการ บริการทําสุหนัตหมู ตามชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ กิจกรรมของสมาคมแพทยมุสลิม 1. การออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ สมาคมแพทยมสุ ลิมจัดหนวยแพทยเคลือ่ นที่ ออกใหบริการรับปรึกษา ปญหาดานสุขภาพ และ ตรวจรักษาโรค ตามมัสยิดหรือชุมชนตางๆ ตามที่อิหมามหรือผูนําชุมชนแสดงความจํานงขอมา และ ไดจัดใหบริการตรวจรักษาโรคเปนประจํา ที่มูลนิธิเพื่อศูนยกลางอิสลามแหงประเทศไทยทุกวันศุกรตน เดือน และยังใหบริการตรวจหาระดับไขมัน และนํ้าตาลในเลือดดวย 2. การรวมกิจกรรมงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย สมาคมแพทยมุสลิม รวมจัดกิจกรรมในงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย โดยจัดใหมีการให บริการทางการแพทย เชน การตรวจรักษาโรค การตรวจวัดระดับไขมัน และนํ้าตาลในเลือด และใหคํา ปรึกษาทางดานสุขภาพ รวมทั้งจัดนิทรรศการใหความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรการแพทยอสิ ลาม การ สรางเสริมสุขภาพตามแนวทางอิสลาม และการประกวดสุขภาพเด็ก ฯลฯ 3. การทําสุหนัตหมู สมาคมแพทยมสุ ลิมจัดหนวยแพทยออกใหบริการทําสุหนัตหมูแ กเยาวชนมุสลิมในชุมชนมุสลิม ทัง้ ในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดชวงปดภาคเรียนตนป และปลายป เปนประจําทุกป โดยไมคดิ คาใชจา ย ใดๆ จนถึงขณะนีม้ ผี เู ขารับบริการผาตัดทําสุหนัตกับสมาคมแพทยมสุ ลิมไปแลว นับหมืน่ รายในจํานวน นี้มีผูใหญรวมอยูดวย 4. จัดพิมพเอกสารวิชาการ สมาคมแพทยมสุ ลิมไดนาํ เสนอขอเขียนทางวิชาการ และบทความดานสุขภาพในวารสารและ สิง่ พิมพของหลายองคกรมุสลิม รวมทัง้ รวมในการสัมมนาวิชาการ ใหความรูด า นสุขภาพผานทางสือ่ สิง่ พิมพ วิทยุ และโทรทัศน เปนครั้งคราว คาใชจายในการดําเนินงาน สมาคมแพทยมสุ ลิมไดรบั การสนับสนุนคาใชจา ยในการดําเนินงานจาก ผูม จี ติ กุศลบริจาคเงิน ใหเปนครั้งคราว และไดรับการสนับสนุนการจัดบริการสรางเสริมสุขภาพ จากแผนงานสรางเสริมสุข ภาวะมุสลิมไทย (สสม.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) และสํานักงานหลัก ประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.)
60
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ความคาดหวังของสมาคมแพทยมุสลิม สมาคมแพทยมสุ ลิมเปนหนวยงานสาธารณกุศลหนวยหนึง่ ในสังคมมุสลิมไทย ทุกคนทีเ่ ขามา รวมงานตางไมไดมงุ หวังสิง่ ตอบแทนทางวัตถุใดๆ สิง่ ทีจ่ รรโลงจิตใจคือความภาคภูมใิ จตอการทีไ่ ดอทุ ศิ เวลาและความเหนือ่ ยยากทางกาย ทําประโยชนใหกบั สังคม เราหวังทีจ่ ะไดรบั การสนับสนุนจากสังคม ประชาชนอะไรได อีก ตามความถนัดแและความชอบของแต ละคน และจากบุคลากรทางการแพทย ละสาธารณสุขรุนใหม ไฟแรงทั้งหลาย ใหกาวเขามารวมมือ รวมใจ ทางนผู หลักผูใหญทุกทานที ่สงาสารของท านลงพิมพในวารสารเล มนี้ ซึ่งลทํเลาะห าใหกรรมการ เปนพลัขอขอบคุ งผลักดันณให านของสมาคมฯเดิ นหน ตอไป ผลตอบแทนที ่จะไดรับจากอั ซุบฮานะฮูวะ และสมาชิ กของสมาคมได เกียรติในโลกนี และกําลั้ งดัใจจากท านเปนอยลากุงยิรอานที ่ง ่วา:ตะอาลานั ้น ยิ่งใหญกวราับใดๆ งโองการจากอั
ขอขอบคุณวิทยากรทุกทานที่ไดเขียนบทความที่มีคุณคาทางวิชาการและนาสนใจอยางยิ่ง ตองขอ อภัเจ ยดาวยหากว างการตรวจตดนวฉบั อาจมีกาารแก ไขบ างโดยมิดไดแล บอกกล ว การแกจไะทรงเห็ ขเพียงเพืน่อให มี (มุฮัมามัในระหว ด) จงประกาศเถิ า บพวกท นจงทํ างานเถิ วอัลาเลาะห การงาน ความถู กตาอนเอง งตามหลั กภาษาและเพืต่อของพระองค ความสะดวกในความเข าใจของผูศอรัาทนเท กษา านจะถูก ของท และศาสนทู และบรรดาผู ธาก็านัเ้นห็โดยที นดวย่ยังคงรั และพวกท เจตนารมณ องทางนผู เขียนไวผใหูทครงรอบรู รบถวนทุใกนสิ ประการ องขออภั ยในความผิ ดพลาดที ่อาจเกิจดะทรงแจ ขึ้นในการงแก นํากลับขไปยั พระองค ่งเรนและต ลับ และสิ ่งเป ดเผย แล วพระองค จัดพิมพวารสารเลมนี้ และหากทานจะกรุ ณาแจ งใหทราบด ยจะเปานได นพระคุ พวกท านในสิ ่งที่พววกท ทําณไวอยางยิ่ง วารสารเลมนี้จะไมเกิดขึ้นไดเลยหากวาไมไดรับทุนสนับสนุนการจัดพิมพ ขอขอบคุ ณเปนอยางมาก (อัต-เตาบะฮ 9 : 105) ตอทานที่สนับสนุนการจัดพิมพครั้งนี้ และทางผูจัดพิมพจะไดจายแจกวารสารเลมนี้ใหหมดตามกําหนด โดยเร็ว
ขอขอบคุณ บริษัท แอสตราเซนเนกา (ประเทศไทย) จํากัด ขอขอบคุณ บริษัท แกล็กโซสมิทไคลน (ประเทศไทย) จํากัด
101 ประชาอุทิศ 23 (ซอยสุวรรณมณี) แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320 101 Pracha–Utit 23 Road (Soi Suwanmanee) Samsen–Nork Huay–Kwang Bangkok 101 ประชาอุทศิ 23 ( ซอยสุวรรณมณี ) แขวงสามเสนนอก เขตห้ ว10320 ยขวาง กรุ งเทพมหานคร 10320 101 Pracha–Utit 23โทรศั Roadพ(ทSoi02-274-3768 Suwanmanee) Samsen–Nork Huay–Kwang Bangkok 10320 โทรสาร 02-274-3768 โทรศัTel&Fax พท์ 02-274-3768 โทรสาร 02-274-3768 02-274-3768 Tel&Fax 02-274-3768 www.thaimuslimmed.com www.thaimuslimmed.com วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
61
อภินันทนาการ จาก
ทายาทฮัจยีอับดุลฆอนี(มณี) ฮัจยะหอนงค(ฟอ) โยธาสมุทร อุทิศให
อัลมัรฮูมฮัจยีอับดุลฆอนี(มณี) ฮัจยะหอนงค(ฟอ) โยธาสมุทร ที่นอนราชเทวี
ผลิตที่นอนคุณภาพเพื่อสุขภาพของทานมานานกวา 50 ป ที่นอนและหมอนเพื่อ สุขภาพ สําหรับผูปวย ชนิดตาง ๆ เชน หมอนกันกรดไหลยอน หมอนรองคอ www.rvsleeping.com
สํานักงานใหญ สี่แยกราชเทวี ใกลสะพานลอยราชเทวี โทร. 02-2157977 02-2193148 081-4224235 มาบุญครองชั้น 5 B21-22 โทร. 081-4990919 สาขาราชพฤกษ 110/3-5 ถนนราชพฤกษ บางขนุน บางกรวย นนทบุรี โทร. 081-4223904 02-4233178-9 เฉลิมชัย มัสอูดี 081-4223465 62
www.rajdheveebed.com
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
The Story and Activities of Thai Muslim Medical Association
The Story and Activities of Thai Muslim Medical Association The Thai Muslim Medical Association is an assembly of the Muslim healthcare personnel aiming to provide medical services for the Muslim people. It was set up on November 20, 1982 with 300 registered members at the beginning. This assembly has organized mobile medical units for continuously giving medical services, free of charge, to people living in the Muslim communities in various areas around Bangkok and the suburbs as well as in some provinces. The budget for all expenses comes from donations by many charitable Muslims in Thailand as well as from some governmentsupport organization. The objectives of the Association are as follows: 1. To give healthcare services to people 2. To provide health education to people 3. To provide medical knowledge to people, according to the Islamic principle 4. To enhance medical education and healthcare knowledge of the members in order to preserve quality of care 5. To keep unity among its members of various healthcare professions 6. To help its members performing their professional duties 7. The Association has no political concerns Vision: The Thai Muslim Medical Association desires to be a source of inspiration and encouragement for The Muslim healthcare professions and those in other fields to take part in the process of giving medical care and health promotion to the Muslim people as well as people from all walks of life. The Association will endeavor to set up a Muslim Hospital in Thailand. MUSLIM MEDICAL ASSOCIATION 101 Pracha–Utit 23 Road (Soi Suwanmanee) Samsen–Nork Huay–Kwang Bangkok 10320 Tel&Fax +662-274-3768 www.thaimuslimmed.com 64
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
Various activities of the association at the present 1. The mobile medical units have been set up and provided medical service, free of charge, for the poor people in different Muslim communities around Bangkok and in some provinces continuously all year round. The unit was also set up at the Foundation of Islamic Centre of Thailand and medical services have been in action every First Friday of the month. 2. The association has provided the circumcision surgery, free of charge, for the Muslim boy and men in various Muslim communities both in Bangkok and in some provinces in every region of Thailand, Up to this moment at lease 10,000 circumcision cases had been done by our team from the Muslim Medical Association. 3. Health promotion actions and academic meeting have been performed and the association has distributed health information for people by participating in healthcare seminars and has given healthcare education to Muslim people through all media outlets. 4. The association continuously takes part in the Maulid Festival of Thailand every year. The activities include providing medical services, poster presentation to give health education, general medical check up, blood test, and many other activities. To look to the future, we are looking forward to the collaboration of the Muslim people from various sectors to give helping hands supporting the work of the association in order to reach its goal for the good health of Thai people.
And say: “Work (righteousness): soon will Allah observe your work, And His Messenger and the Believers: soon will ye be brought back To the knower of what is hidden and what is open: then will He show you the truth of all that ye did” ( Quran, surah At-Taubah 9 : 105 ) วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
65
อภินันทนาการ จาก ห้องพักหรูมีระดับ
นีนา แมนชั่น และ โมเดิร์นเพลซ (พระราม 7) (บางพลัด) คมนาคมสะดวก บนถนนจรัญสนิทวงศ์ อพาร์ตเมนท์น่าอยู่ โทร. 02-885-5644/02-880-5600
อภินันทนาการ จาก
พาร์ค วิลเลจ อ่อนนุช - สุวรรณภูมิ คอนโดอารมณ์...บ้านเดีย่ ว ห้องหน้ากว้าง 18 เมตร
66
ติดถนนใหญ่ อ่อนนุช เพียง 79 ยูนติ ส�ำนักงานขาย 531 ถ.อ่อนนุช 63/1 เขตประเวศ กรุงเทพฯ โทร. 02-322-5158/02-321-9357 www.parkvillagecondo.com วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เรื่องน่ารู้กับหมอกษิดิษ ความตายคืออะไร ? โดย นายแพทย์กษิดิษ ศรีสง่า
เรื่องน่ารู้กับหมอกษิดิษ - ความตายคืออะไร ? นายแพทย์กษิดิษ ศรีสง่า เมือ่ หลายๆ คนถูกถามว่า ความตายคืออะไร ส่วนมากก็คดิ ว่าเป็นค�ำตอบทีง่ า่ ยมากเลยนัน่ คือ ตาย ก็คือไม่หายใจ หรือหัวใจหยุดเต้นนั่นเอง แต่ในทางการแพทย์แล้ว เรื่องความตายกลับเป็นเรื่องคอขาดบาด ตาย และมีความส�ำคัญมาก มีข้อโต้แย้งกันมากมาย ทั้งทางการแพทย์เอง ทั้งด้านที่เกี่ยวกับกฎหมาย และ รวมทั้งด้านที่เกี่ยวกับศาสนาด้วย ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่าความตายคือ การสิ้นสุดของการมีชีวิตอยู่ ในสมัยก่อน คนเราไม่หายใจ ก็ คือคนตาย ต่อมาค้นพบว่า แม้ไม่หายใจแต่ถ้าหัวใจยังเต้นอยู่ ไม่นานนัก ก็มีบางคนสามารถ กลับมาหายใจ ดังเดิม และฟื้นขึ้นมาใหม่ได้ จึงเริ่มถือว่า แม้จะหยุดหายใจไปแล้ว แต่ถ้ายังมีหัวใจเต้นอยู่ ก็ถือว่ายังไม่ตาย แต่เมือ่ ใดก็ตามหัวใจหยุดเต้น ผูน้ นั้ จึงถือว่าตาย หรือเสียชีวติ ไปแล้ว ซึง่ ความเข้าใจของคนทัว่ ๆไปก็เป็นเช่น นี้มาตลอด แต่ในภายหลัง เมื่อการแพทย์ก้าวหน้ามากขึ้น มีการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะกันได้และพบว่า ในการ เปลี่ยนอวัยวะนั้น ถ้าเอาจากคนที่ตายไปนานๆ อวัยวะมักจะตาย และใช้ไม่ได้ผล ถ้าได้จากคนเป็นๆ จะมี คุณภาพดีกว่า แต่เนือ่ งจากคนเป็นๆ มีไม่มากนักทีจ่ ะยอมมอบอวัยวะของตัวเองไปให้กบั ผูอ้ นื่ เนือ่ งจากเขา ก็ต้องใช้อวัยวะนั้นเช่นกัน ดังนั้น โอกาสที่คนปกติ ที่ยังมีชีวิตอยู่จะให้อวัยวะแก่คนอื่นจึงเป็นไปได้น้อย จึง ไม่มีทางเลือกที่จะต้องใช้อวัยวะคนที่เสียชีวิตแล้วเท่านั้น ดังนั้นจึงมีขบวนการ วิธีการต่างๆมากมายเพื่อ ให้ สามารถน�ำอวัยวะออกจากร่างกายหลังจากเสียชีวิตแล้วให้ไวที่สุด เพื่อให้การปลูกถ่ายอวัยวะได้ผลดี ที่สุด ต่อมาวงการแพทย์พบว่า อวัยวะส�ำคัญทีส่ ดุ ของคนเรา ทีค่ วบคุมการท�ำงานทัง้ หมด ไม่ใช่หวั ใจ แต่ เป็นสมอง คนไข้ที่สมองตายแล้ว มักจะไม่ฟื้น และในที่สุดอวัยวะอื่นๆจะค่อยๆตายตาม ดังนั้น ผู้ใดก็ตาม ที่มีสมองตาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณก้านสมอง ที่มีหน้าที่ควบคุมการหายใจ ควบคุมความดันนั้น เสีย ไป ผู้ป่วยมักเสียชีวิตทุกรายหลังจากนั้น เนื่องจากอวัยวะอื่นๆจะค่อยๆหยุดท�ำงานไปจนหมด และในที่สุด ผู้นั้นก็จะตายหมดทั้งตัว ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดผลดีในการปลูกถ่ายอวัยวะ ทางการแพทย์จงึ เริม่ มีการผลักดันให้การตายนัน้ เริม่ ถือเอาตั้งแต่สมองตายไปแล้ว โดยไม่ต้องสนใจว่า หัวใจยังเต้นอยู่หรือเปล่า ทั้งนี้ ก็เพื่อเอาอวัยวะที่ยังดีๆ อยู่ของคนตายนั้น ไปใช้สำ� หรับคนเป็นที่ก�ำลังรอการรักษาอยู่ต่อไป ซึ่งในการผลักดันอันนี้ ในชั้นแรก ก็ไม่ ค่อยจะเป็นที่ยอมรับกัน แต่ต่อๆมา ก็เริ่มค่อยๆยอมรับกันได้มากขึ้น จนถึงปัจจุบันนี้ กลายเป็นว่า คนเรา จะตายนั้น ไม่ได้อยู่ที่หัวใจ หรือปอดอีกต่อไป แต่ขึ้นอยู่กับสมองเพียงอย่างเดียว ถ้าสมองตาย อย่างอื่นก็ จะตายหมดเสมอ ด้วยวิธีนี้ แพทย์จึงสามารถน�ำชิ้นส่วนของผู้ที่ถือว่าตายแล้วทางการแพทย์นั้น ไปให้คน อื่นๆได้ 68
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
แต่อย่างไรก็ตามในทางด้านศาสนาอิสลามแล้วการตายนั้น คือการที่วิญญาณออกจากร่างไป ซึ่ง บรรดานักปราชญ์ส่วนใหญ่ถือว่า ต้องนับที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ และ หัวใจหยุดเต้นไปแล้วจึงถือว่า วิญญาณออกไปแล้วทั้งหมด ดังนั้น หลักการทางการแพทย์ปัจจุบันจึงยังไม่ตรงกับหลักการอิสลามเราใน ด้านนี้ ดังนั้น การประกาศว่าสมองตายและหยุดช่วยเหลือ หยุดให้การรักษา ในคนมุสลิมจึงถือว่าท�ำไม่ ได้ หรือไม่ควรท�ำเลยทีเดียว แต่ควรจะช่วยจนถึงที่สุดก่อน จนกว่าผู้ป่วยจะค่อยๆ หยุดหายใจ และหัวใจ หยุดเต้น ความดันตกไปแล้ว จนวัดไม่ได้ น่าจะเป็นสิ่งที่ถูกต้องกว่า ข้อคิดอีกข้อหนึ่งคือ คนเรานั้น พระผู้เป็นเจ้าทรงก�ำหนดไว้อย่างแน่นอนแล้วว่า เขาจะตายในวัน ใด เวลาใด ที่ไหน ดังนั้น การที่ถือโอกาสตัดสินแทนพระผู้เป็นเจ้า ให้คนนั้นตายคนนี้อยู่ต่อ จึงเป็นสิ่งที่พวก เราต้องควรระวังและไตร่ตรองให้มากที่สุดครับ วัสลามฯ ที่มา วารสารสุขสาระ
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
69
สมาคมแพทย์มุสลิม ขอเชิญรับบริการตรวจ รักษา ตรวจเลือด รับยา และรับค�ำปรึกษาสุขภาพ ทุกวัน ศุกร์แรกของเดือน เวลา 11.00-14-00 น ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารมูลนิธิเพื่อ ศูนย์กลางอิสลามแห่งประเทศไทย ถนนรามค�ำแหง กรุงเทพฯ ท่านที่ประสงค์จะ ตรวจเลือด ให้อดอาหารและน�้ำ ตั้งแต่ 06.00 น (5 ชม ก่อนเจาะเลือด) ทุกอย่าง......ฟรี 70
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
มะเร็งราย อาจปองกันได โดย นายแพทย ม นั ส วงศ์ เสงี่ ย ม
มะเร็งราย อาจปองกันได นายแพทยมนัส วงศเสงี่ยม เมือ่ เอยถึง โรคมะเร็ง ทุกคนคงเคยไดยนิ หรือรูจ กั พรอมทัง้ อยากจะหลีกเลีย่ งใหไกลตัวมากทีส่ ดุ เพราะเปนโรครายทีส่ ว นใหญมกั รักษาไมหาย มีแตลกุ ลามไปเรือ่ ย ทําใหเกิดอาการไมสบายหลายอยาง ขึ้นมามากมายในรางกาย นับเปนสาเหตุของการตายอันดับหนึ่งของคนไทยที่รองลงมาคือตายจาก อุบัติเหตุ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูงและหลอดเลือดสมอง มะเร็ง เกิดขึ้นที่สวนเนื้อเยื่อหรือเซลลของอวัยวะตางๆในรางกายของเรา ที่ตามปกติก็แบงตัว เพือ่ สรางเซลลใหมทดแทนสวนทีส่ กึ หรอไปเปนประจําอยูแ ลว แตในภาวะผิดปกติมบี างจุดในบางอวัยวะ แบงตัวเร็วกวาปกติมาก และเซลลใหมท่เี กิดก็มีขนาดใหญข้นึ และรูปรางก็ผิดแผกผันแปรไปจากเซลล เดิม เมือ่ แบงตัวนานเขาก็จะเจริญเติบโตขึน้ เปนกอนเนือ้ ใหญขน้ึ มาเบียดบังหรือรบกวนการทํางานตาม ปกติของอวัยวะนัน้ ๆ รวมทัง้ สวนตางๆทีอ่ ยูใ กลเคียงและมักจะลามเขาไปอยูใ นเสนเลือด แลวหลุดลอย ตามกระแสเลือดไปเติบโตอยูในอวัยวะอื่นที่อยูหางไกลออกไป เชนเกิดขึ้นที่ปอดแลวแพรกระจายไปที่ สมอง หรือเกิดทีล่ าํ ไสใหญหรือเตานมแลวแพรไปทีป่ อด ตับ หรืออวัยวะอืน่ เปนตน ทีพ่ บการแพรกระจาย ไดชัดที่สดุ ก็คือไปที่ตอมนํ้าเหลืองที่มีอยูทั่วรางกาย ทําใหคลํากอนไดอยางชัดเจนเชนที่ตอมนํ้าเหลือง บริเวณคอ รองไหปลารา หรือ ที่รักแรเปนตน มะเร็งเกิดไดกบั ทุกอวัยวะในรางกายและมีมากกวา 100 ชนิด ที่พบมาก 3 อันดับแรกในผูชาย คือมะเร็งลําไสใหญ มะเร็งปอด และมะเร็งตับ สําหรับผูหญิงคือ มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งลําไสใหญ คนทุกคนมีเซลลมะเร็งในรางกายพรอมอยูแลว แตไมสามารถแบงตัวเพิ่มอยางผิดปกติได เนื่องจากมีระบบภูมิคุมกันตนเองของรางกายคอยปกปองและทําลายเซลลมะเร็งเหลานั้นเอาไวโดย ตลอด เมือ่ ใดทีร่ ะบบภูมคิ มุ กัน หรือความสมดุลของรางกายเสียไป เชนเปนผลจากอาหารหรือสารพิษ ตางๆที่นําเขาสูรางกาย จากภาวะสิ่งแวดลอมรอบตัว จากพฤติกรรมการใชชวี ิต หรือจากแนวโนมทาง พันธุกรรมของแตละคน เมือ่ นัน้ เซลลมะเร็งก็จะสามารถแบงตัวไดอยางรวดเร็ว และทําใหเกิดเปนกอน มะเร็งขึ้นมาได อาการตางๆของมะเร็งและการตรวจพบในระยะแรก อาการของมะเร็งขึ้นอยูกับแตละอวัยวะที่เปนโรค ถาเปนมะเร็งลําไสใหญมักมีเลือดปนมาใน อุจจาระ หรือถายอุจจาระบอยและมักออกเปนมูกเลือด อาจคลํากอนไดทชี่ อ งทองตอนลางในระยะหลัง นํา้ หนักลดโดยไมทราบสาเหตุ การตรวจพบทีแ่ นนอนคือการสองกลองเขาดูในลําไสใหญ แลวตัดชิน้ เนือ้ มาตรวจ 72
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
มะเร็งปอดจะมีอาการไอเรื้อรัง มักมีเลือดออกรวมดวย นํ้าหนักตัวลดลง สวนใหญจะเกิดในผู ทีส่ บู บุหรีม่ าเปนเวลานาน จากการตรวจเอ็กซเรยทรวงอกจะพบลักษณะของกอนเนือ้ งอกในปอด วินจิ ฉัย แนนอนดวยการตัดชิ้นเนื้อนั้นไปตรวจดวยกลองจุลทรรศน มะเร็งตับอาจมีอาการจุกแนนทีบ่ ริเวณใตชายโครง ถาเปนมากจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง คลําไดกอนที่ใตชายโครงขวา เนื่องจากตับโต มักพบในผูท่มี ีประวัติตับอักเสบจากเชื้อไวรัสบี หรีอ ซี หรือผูดื่มแอลกอฮอลจาํ นวนมากเปนเวลานาน มะเร็งเตานม พบมีกอ นทีเ่ ตานม โดยมักไมมอี าการเจ็บ ระยะเริม่ แรกอาจคลําไมได ตองใชการ ตรวจสแกนดวยวิธีพิเศษ กอนที่เตานมนั้น อาจเกิดจากสาเหตุ 3 ประการคือ 1) อาจเปนซีสหรือถุงนํ้า ที่เตานม ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงขนาดตามรอบเดือน สวนใหญมกั จะเจ็บที่กอน 2) เปนเนื้องอกที่เตา นม ชนิดไมรายหรือไมใชมะเร็ง 3) เปนมะเร็งเตานม สวนใหญของคนที่เปนมะเร็งเตานม ระยะเริ่มแรก จะมีแตกอน ไมมอี าการเจ็บ วินิจฉัยแนนอนไดจากการตัดชิ้นเนื้อจากกอนนั้นไปตรวจ อาการของผูป ว ยมะเร็งปากมดลูกจะมากหรือนอยขึน้ กับระยะของมะเร็ง อาการทีพ่ บบอยไดแก การมีเลือดออกทางชองคลอด โดยเฉพาะหลังวัยหมดประจําเดือน หรือเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ โดย ทัว่ ไปในระยะแรกอาจไมมอี าการผิดปกติและพบไดจากการตรวจคัดกรองดวยการตรวจปากมดลูกโดย สูติแพทย รวมกับวิธีการทางเชลลวทิ ยา การรักษามะเร็ง ในปจจุบัน มี 3 วิธีคือ - โดยการผาตัดเอากอนมะเร็งออกไป - โดยการใหยาหรือสารเคมี อยางที่เรียกกันทั่วไปวาให “คีโม” - โดยการฉายรังสีไปทําลายเซลลมะเร็ง ผูปวยมะเร็งที่สามารถคนพบในระยะแรกสามารถรักษาหายขาดไดดวยการผาตัดและอาจให สารเคมีหรือฉายรังสีรว มดวย ดังนัน้ การตรวจพบมะเร็งในระยะแรกจึงเปนเรือ่ งทีส่ าํ คัญมากในการรักษา ทําอยางไรจึงจะปองกันตัวเองไมใหเกิด มะเร็ง ? คงไมมสี ตู รตายตัวแนนอนวา ทําอยางไรจึงปองกันไมใหเปนมะเร็ง เพราะขึน้ อยูก บั สาเหตุหลาย ประการที่วงการวิทยาศาสตรยังคนพบไมหมด แตมีวิธีการและการปฎิบัติตัวหลายอยางที่อาจจะชวย ใหเราลดความเสี่ยงหรือปองกันตนเองใหมโี อกาสเกิดมะเร็งนอยลงไดบาง การลดปจจัยความเสี่ยงลง บาง ก็คงจะดีกวาการปลอยตัว ปลอยปะ ละเลย และไมสนใจกับการปองกันตนเอง มีรายงานการวิจยั หลายแหงจากตางประเทศระบุวา อยางนอยหนึง่ ในสามของมะเร็งทัง้ หมดที่ เกิดขึ้นในรางกาย เปนสิง่ ที่สามารถปองกันไดดวยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนเรา
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
73
มีขั้นตอน 6 ประการ ที่ อาจจะ ชวยปองกันใหเราปลอดจากการปวยเปนมะเร็ง ขั้นตอนที่ 1 งดสูบบุหรี่ หรืออยูในสิ่งแวดลอมที่มีควันบุหรี่นานๆ บุหรี่เปนสาเหตุสําคัญของ การเกิดมะเร็งที่พิสูจนเห็นไดชัดที่สุด และเปนตนเหตุที่ทําใหมีผูปวยและตายดวยโรคมะเร็งปอดถึง 80-90 เปอรเซ็นต นอกจากนั้นยังอาจทําใหเกิดมะเร็งชนิดอื่นๆอีกเชน มะเร็งในชองปาก มะเร็งกลอง เสียง มะเร็งหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร หรือมะเร็งกระเพาะปสสาวะ เปนตน ผูท่ไี มสูบบุหรี่แต อยูในสิ่งแวดลอมที่มีควันบุหรี่ก็มีโอกาสไดรบั สารพิษจากบุหรี่และเกิดมะเร็งไดเชนเดียวกัน ขั้นตอนที่ 2 เลือกรับประทานอาหารชนิดตางๆที่มีประโยชนตอสุขภาพ แมจะไมมกี ารยืนยัน 100 เปอรเซ็นตวาการเลือกรับประทานอาหาร จะสามารถปองกันมะเร็งไดแนนอน แตเชื่อวาสามารถ จะลดความเสี่ยงจากการเกิดมะเร็งไดในระดับหนึ่ง คือ การกินอาหารทีท่ าํ จากพืช ผักและผลไม รวมทัง้ ถัว่ ชนิดตางๆ เปนประจําสามารถลดความเสีย่ ง จากการเกิดมะเร็งของหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลําไสใหญ ลดอาหารประเภทเนื้อสัตว หรือเนื้อแดง และไขมันสัตวใหนอยลง โดยเฉพาะเนื้อสัตวที่หมัก ดวยเกลือดินประสิว หรือที่ปงหรือยางจนไหมเกรียม เพราะจะมีสารกอมะเร็งเกิดขึ้นมาก หันมาเพิ่ม อาหารประเภทปลาใหมากขึ้นโดยเฉพาะปลาทะเล ระวังอาหารทีม่ เี ชือ้ ราปนปอ น เชนถัว่ ตางๆทีเ่ ก็บไวนาน จนมีเชือ้ ราขึน้ เปนตน เพราะจะมีสาร กอมะเร็งอยูในเชื้อราเหลานั้นและเปนสาเหตุใหเกิดมะเร็งตับได ไมกินอาหารดิบๆสุกๆ ซึ่งอาจมีตัวออนของพยาธิใบไมตบั และทําใหเกิดมะเร็งตับ หรือมะเร็ง ในทอนํ้าดีตับ ขึ้นไดในภายหลัง การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนประจําทําใหเกิดมะเร็งได โดยเฉพาะมะเร็งที่ชองปาก หลอด คอ หลอดอาหาร มะเร็งตับ และไต ซึ่งนับเปนเรื่องที่ดียิ่งที่อิสลามไดมบี ัญญัติหามดื่มแอลกอฮอล หรือสารเปนพิษอื่นๆอยูแลว ไมควรอุนอาหารโดยหอดวยพลาสติก หรือบรรจุวางในจานพลาสติก ใสในเตาไมโครเวฟ เพราะวา เมื่อเกิดความรอนอาจมีสารพิษกอมะเร็งที่เรียกวา ไดอ็อกซิน ออกมาและเขาไปอยูในอาหาร แลวเขาสูรางกายได ควรใชภาชนะประเภทจานแกวทนความรอน หรือเซรามิคจะปลอดภัยกวา อาหารทีอ่ าจจะชวยปองกันการเกิดมะเร็งไดแก อาหารทีม่ เี สนใยมากๆ เชนผักและผลไม และ ถัว่ ตางๆ ถารับประทานตอเนือ่ ง จะชวยลดความเสีย่ งตอการเกิดมะเร็งลําใสใหญ หรือมะเร็งชนิดอืน่ ลง ได มะเขือเทศ ชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งตอมลูกหมาก ขั้นตอนที่ 3 ควบคุมนํ้าหนักตัวไมใหอวนเกินไป และออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งจะ สามารถลดความเสีย่ งจากการเกิดมะเร็งเตานม มะเร็งของมดลูก มะเร็งลําไสใหญ มะเร็งตอมลูกหมาก และอืน่ ๆ ควรออกกําลังอยางนอย 30 นาทีทกุ วัน หรือวันเวนวัน อาจโดยการเดินรอบๆบาน ปน จักรยาน หรือวิ่งชาๆ หรือการเคลื่อนไหวรางกายดวยวิธีตางๆกัน ตามความถนัดของแตละคน
74
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ขั้นตอนที่ 4 ฉีดวัคซีนปองกันโรคติดเชื้อที่อาจทําใหเกิดมะเร็ง โรคติดเชื้อบางชนิดอาจทําให เกิดมะเร็งตามมาได เชนเชื้อไวรัสตับอักเสบ ชนิด บี และ ซี ทําใหเกิดโรคมะเร็งตับ เชื้อไวรัสบางชนิด ในชองคลอดอาจทําใหเกิดมะเร็งปากมดลูก การติดเชือ้ แบคทีเรียบางอยางในกระเพาะ ทําใหเกิดความ เสีย่ งตอโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร การรับเชือ้ พยาธิบางอยางจากอาหารทีไ่ มสกุ มักทําใหเกิดมะเร็งของ ทอนํ้าดีเปนตน โรคติดเชื้อเหลานี้บางอยางจะมีวัคซีนเพิ่มความตานทานตอตานเชื้อโรค จึงควรไดรับ การฉีดวัคซีนปองกันไว โดยสามารถปรึกษาไดจากแพทยตามโรงพยาบาลตางๆ ขั้นตอนที่ 5 ละเวนพฤติกรรมเสี่ยงตอการรับเชื้อโรค เชนไวรัสตับอักเสบ บี และซี สามารถ แพรเชื้อไดทางเพศสัมพันธ ทางการใชเข็มฉีดยารวมกัน และแมแตอาจแพรโดยทางนํ้าลายไดหากเปน จํานวนมาก ดังนั้นในการกินอาหารรวมกันหลายคนหรือในงานอยางที่เรียกกันวา “กินบุญ” ซึ่งลอมวง กินอาหารรวมกันแบบมุสลิม ควรใชชอนกลางในการตักอาหารรับประทานจะเปนการดี ขั้นตอนที่ 6 ตรวจเช็ครางกายตนเองอยูเสมอ วามีอาการผิดปกติใดๆเกิดขึ้นบาง แมวาจะ ไมใชวธิ กี ารปองกันมะเร็ง หากแตเปนวิธกี ารทีอ่ าจทําใหตรวจพบมะเร็งไดในระยะเริม่ แรก การตรวจพบ ในระยะแรกจะชวยใหสามารถรักษาหายขาดได ผูท สี่ บู บุหรีเ่ ปนประจําควรเอ็กซเรยปอดอยางนอยปละ ครัง้ มะเร็งทีส่ ามารถตรวจพบในระยะแรกเริม่ เชน มะเร็งปอด มะเร็งทีผ่ วิ หนัง มะเร็งลําไสใหญ มะเร็ง ตอมลูกหมาก หรือในเพศหญิงอาจสามารถพบ มะเร็งปากมดลูก หรือมะเร็งเตานมในระยะเริ่มแรกได หากพบสิ่งผิดปกติใดๆ ควรตองไปพบแพทยเพื่อตรวจวินิจฉัยตอทันที หลักการของอิสลามไมวาจะเปนเรื่องกินอาหารหรือพฤติกรรมการใชชวี ิตประจําวันนั้น ถาเรา นําไปปฏิบตั ใิ ชอยางถูกตอง ก็จะนําไปสูก ารสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคได กุรอานบอกวาทุกอยาง ที่เปนเรื่องดีที่เกิดขึ้นกับเรานั้น เปนสิ่งที่พระเจาใหมา แตทวาเปนความรับผิดชอบของตัวเรา เปนการ กระทําของเรา และพฤติกรรมการดําเนินชีวติ ของเรา ทีจ่ ะเปนเครือ่ งกําหนดวาสิง่ ทีพ่ ระเจาใหมานัน้ เรา จะรักษาเอาไวหรือจะปฏิเสธไมยอมรับและทําใหเสียหาย ดังโองการที่วา:“ สิ่งดีๆทุกสิ่งที่ประสบแกเจา (มุฮัมมัด) มาจากอัลเลาะห และสิ่งเลวรายตางๆที่ประสบ กับเจานั้น มาจากการกระทําของเจาเอง ” กุรอาน ซูเราะห ที่ 4 อันนิซาห : 79 “ อัลเลาะหจะไมเปลี่ยนแปลงสภาพของกลุมชนใด จนกวาพวกเขาจะเปลี่ยนแปลงตัวของ พวกเขาเองเสียกอน แทจริงอัลเลาะหนั้นเปนผูทรงไดยิน ผูทรงรอบรู ” กุรอาน ซูเราะห ที่ 8 อัล-อัมฟาล :53
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
75
โรงเรียนมิศบาฮุลอุลูม (มูลนิธิวงษอารีอนุสรณ)
21 หมู 16, ถนนรมเกลา แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพ-10510 โทร./ โทรสาร: 02-9194923
เปดสอนศาสนาระดับ เอี๊ยะดาดี – ซานาวี มีทุนเรียนตอตางประเทศ
อํานวยการสอนโดย .... อาจารยอาลี กองเปง – อาจารยใหญ บริหารงานโดย ... มูลนิธิวงษอารีอนุสรณ – ผูรับใบอนุญาต อาจารยไพศาล วงษอารี (B.comm., B.Ed., M.A.- NIDA) – ผูอํานวยการ
โรงเรียนธรรมมิสลาม ทาอิฐ เลขที่ 41/3 ต. ทาอิฐ อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี
อํานวยการสอนโดย นายรังสรรค ทองทา
เปดสอน สามัญ-ศาสนา ตั้งแตระดับ อนุบาล(3ขวบ) – มัธยมศึกษาปท่ี 6 แนวทางการจัดการศึกษา สงเสริมตามความถนัดและสนใจของผูเรียน - ระดับอนุบาล – ประถม มีหองเรียนสงเสริมภาษา - ระดับมัธยมศึกษา สอนระบบติวเตอร สอนทักษะอาชีพ - ระดับมัธยมปลาย เพิ่มเติม สอนซานาวีประยุกต (3 ปจบ) การเปดรับสมัคร ตั้งแตเดือน มกราคม ของทุกป ติดตอสอบถาม/ ขอระเบียบการ หองธุรการ โทรศัพท 02-924-6642 / แฟกซ 02-924-6565 76
วารสารสมาคมแพทยมุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
โอกาสของมุสลิมไทย โดย รศ.ดร. อิ ศ รา ศานติ ศ าสน์
โอกาสของมุสลิมไทย รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ บทความนี้เป็นบทความที่ผมเขียนขึ้นจากรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการใช้บริการด้าน สุขภาพของกลุ่มประเทศตะวันออกกลางในประเทศไทย ของศูนย์นโยบายโลกมุสลิม โดย รศ.ดร.มณิ ศรี พันธุลาภ เป็นหัวหน้าโครงการวิจยั โดยการสนับสนุนของส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) รายงานวิจยั ชิน้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาลักษณะความต้องการเบือ้ งต้นเกีย่ วกับการใช้บริการ ทางด้านสุขภาพของกลุ่มผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง ตั้งแต่ประเภทของผู้ใช้บริการ (เป็นนักท่องเที่ยวหรือมาเพื่อรับการรักษาพยาบาลโดยตรง) ชนิดของการใช้บริการ (รักษาหรือป้องกัน) แรงจูงใจที่มาใช้บริการในประเทศไทยและอุปสรรคต่อการใช้บริการ ผมเชื่อว่าผลวิจัยนี้น่าจะเป็น ประโยชน์แก่พนี่ อ้ งมุสลิมทีอ่ ยูใ่ นวงการแพทย์ไม่มากก็นอ้ ย และน่าจะยิง่ เป็นประโยชน์ถา้ ในอนาคตเรา จะด�ำเนินการให้บริการแก่ลูกค้าหรือคนไข้กลุ่มนี้ ซึ่งมีภูมิหลังทางศาสนาและวัฒนธรรมใกล้เคียงกับ มุสลิมไทยมากกว่าผู้ให้บริการกลุ่มอื่นในประเทศไทย ผลวิจัยชี้ให้เห็นประเด็นที่น่าสนใจหลายประเด็น เช่น จ�ำนวนผู้ใช้บริการที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ มาใช้บริการจ�ำนวนมากที่มีความตั้งใจเดินทางเข้ามารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทยโดยตรง เพราะเคยได้รบั การรักษา พยาบาลหรือมีญาติพี่น้องที่เคยได้รับการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ซึ่ง แสดงให้เห็นว่าคุณภาพการให้บริการทางการแพทย์ของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับของคนกลุ่มนี้ ที่ส�ำคัญคือ การใช้บริการส่วนใหญ่เน้นในรูปแบบของการรักษา (Curative) ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง กว่าการป้องกัน (Preventive) และเกือบ 2 ใน 3 เน้นการรักษาพยาบาลในระดับที่เรียกว่า Moderate และ Complementary โดยบางส่วนเน้นไปในลักษณะเสริมความงามซึ่งมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างมาก ตลอด จนการผูกโยงการให้บริการทางการแพทย์กบั การท่องเทีย่ ว (Medical Tourism) ซึง่ ท�ำให้มคี วามเชือ่ มโยง กับภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ ค่อนข้างมาก อุปสรรคที่ส�ำคัญมากและมีล่ามพี่น้องมุสลิมไทยเป็นกลไกในการบรรเทาหรือแก้ไขคือ ปัญหา ความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งท�ำให้เกิดช่องว่างในการสื่อสารท�ำความเข้าใจระหว่างผู้ให้ บริการและผู้รบั บริการ ปัญหานี้ที่จะมีน้อยลงหรือมีน้อยมากถ้าผู้ใช้บริการเป็นมุสลิม นอกจากนี้ก็เป็นเรื่องของการให้บริการด้านวีซ่า ซึ่งโรงพยาบาลหลายแห่งช่วยอ�ำนวยความ สะดวกให้ และทัศนคติเชิงลบของเจ้าหน้าที่ภาครัฐในบางหน่วยงานที่มีต่อชาวตะวันออกกลางซึ่งเป็น เรื่องที่ต้องช่วยกันแก้ไข เพราะเป็นอุปสรรคต่อการเข้ามาในประเทศไทย ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของผลวิจัยจากชุดโครงการวิจัยไทย-ตะวันออกกลาง (ต่อ มาพัฒนาเป็นชุดโครงการวิจยั ไทย-โลกมุสลิม) ซึง่ เชือ่ ว่าเป็นประโยชน์แก่หลายฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ถึงวันนี้ ได้มีภาคเอกชนหลายแห่งมาขอไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนด�ำเนินงานกิจการของตัวเอง 78
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ตลาดบริการทางสุขภาพแก่ตะวันออกกลางเป็นตลาดขนาดใหญ่มาก ข้อมูลบางแหล่งประมาณ ว่าอาจมากถึง 50,000 ล้านบาทต่อปี โดยมีทงั้ การให้บริการอยู่ในประเทศและการส่งออกการให้บริการ ไปต่างประเทศ ถ้ามุสลิมไทยสามารถมีสว่ นแบ่งนีไ้ ด้จ�ำนวนหนึง่ ทีม่ ากพอและแบ่งสันปันส่วนก�ำไรทีไ่ ด้ ให้แก่สังคม ผมเชื่อว่าเราจะเห็นสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของมุสลิมในประเทศไทยดีขึ้น ปัญหา ต่าง ๆ บรรเทาลง ตั้งแต่ปัญหาความยากจน ปัญหาการศึกษา ปัญหาสิ่งเสพติดและปัญหาอื่น ๆ อีก มาก
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
79
ตรวจรักษาโรคทั่วไป , ท�ำสุหนัต โดย นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี : ศัลยแพทย์ ผู้เชีี่ยวชาญ เวลาท�ำการ 17.00 - 21.00 น. ซอยลาดพร้าว 112 ถนนลาดพร้าว ตรงข้าม มัสยิดสันติชน โทร:080-715-4621, 081-802-6720, 082-446-9479
80
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
สุขภาพของผู้ประกอบพิธีฮัจย์ โดย นายแพทย์ อ นุ สรณ์ ตานี พั น ธ์
สุขภาพของผู้ประกอบพิธีฮัจย์ โดย นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์
การเตรียมตัวด้านสุขภาพ และการดูแลสุขภาพร่างกายตลอดเวลาในช่วงการประกอบพิธีฮัจย์ มี ความส�ำคัญ เพราะจะท�ำให้การประกอบพิธีฮัจย์ มีความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องด้วยการประกอบพิธีฮัจย์ ต้องใช้การเดินทางไกล การไปพักแรมในสถานที่ต่างๆ การประกอบอิบาด๊ะห์ที่ต้องใช้การเดิน (หรือบาง ช่วงอาจต้องวิ่ง) เช่นการสะแอระหว่างเขาสองลูกคือ ซอฟาและมัรวะ ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 450 เมตร 7 เที่ยว รวมระยะทางประมาณ 3.15 กิโลเมตร เป็นอย่างน้อย การวนรอบก๊ะอบ๊ะ (ฏอว๊าฟ) 7 เที่ยวต่อ 1 ครั้ง อย่างน้อยที่สุด 2-3 ครั้ง ประกอบกับโรงแรมที่พักกับมัสยิดหะรอมนับวันจะห่างไกลออกไปเรื่อยๆ เนื่องจากการขยายบริเวณโดยรอบของมัสยิด ท�ำให้ที่พักอยู่ห่างไกลออกไประยะทางเป็นกิโลเมตรขึ้นไป การมีผู้คนจ�ำนวนมากความแออัดยัดเหยียด ท�ำให้การจราจรติดขัดการใช้รถรับส่งเป็นไปด้วยความ ล�ำบาก ไม่สามารถจอดรับส่งในจุดที่ต้องการได้
82
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ระยะทางจากมัสยิดหะรอมถึงมินา 7 กม. ระยะทางจากมินาถึงอะรอฟะห์ 13 กม. ระยะทางจากอะรอฟะห์ถึงมุสดะรีฟะห์ 7 กม. ระยะทางจากมุสดะรีฟะห์ถึงเสาหิน 6 กม. ในปัจจุบันการเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ใช้ระบบการลงทะเบียนล่วงหน้าแต่ละท่านจะทราบ ก�ำหนดการเดินทางค่อนข้างแน่นอน ท�ำให้สามารถเตรียมตัวในด้านต่างๆ ได้ รวมทั้งการเตรียมตัวด้าน สุขภาพด้วย การเตรียมตัวและการดูแลสุขภาพ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ก่อนเดินทาง ตั้งแต่ออกเดินทางไป จนถึงเดินทางกลับบ้าน และหลังจากกลับมาถึงบ้าน (ในประเทศไทยแล้ว) ควรเตรียมตัวอย่างไรก่อนออกเดินทาง ส�ำหรับผู้ที่ไม่มีโรคประจ�ำตัว และไม่ได้รับการตรวจเช็คสุขภาพมาก่อนในระยะเกิน 6 เดือนควร ตรวจเช็คสุขภาพก่อนเดินทางหากพบปัญหาสุขภาพจะได้ป้องกันหรือรักษาได้ทัน
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
83
วัคซีน ผู้ประกอบพิธีฮัจย์ทุกคนต้องได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค 2 ชนิดคือวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ประจ�ำปี และวัคซีนป้องกันโรคกาฬหลังแอ่น (โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดร้ายแรง) ยกเว้นในรายที่เคยมี ประวัติแพ้วัคซีน การออกก�ำลังกาย หลังพ้นเดือนรอมฎอนแล้วให้ฝึกออกก�ำลังกายพื้นฐานโดยการวิ่ง หรือเดินเร็วๆ ตามความ เหมาะสมของแต่ละคน โดยค่อยๆ เพิ่มระยะทางไปเรื่อยๆ ให้ถึง 3–5 กิโลเมตรต่อครั้ง สัปดาห์ละ 4–5 วัน วันละ ครึ่ง–1 ชั่วโมง จะท�ำให้ร่างกายโดยรวมแข็งแรงขึ้น กล้ามเนื้อขาแข็งแรง เอ็นและข้อต่อยืดหยุ่น ดี ไม่ปวดเมื่อยและบาดเจ็บได้ง่าย ผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว ผู้ที่มีโรคประจ�ำตัวเช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ หอบหืด ฯลฯ ให้เตรียมยาประจ�ำทุกชนิด เผื่อไปเกินเวลา 10–15 วัน เช่น จะไปอยู่ในประเทศซาอุดิอาระเบีย 20 วัน ให้เตรียมยาไปสัก 30 วัน ขอ เน้นว่าให้เตรียมยาทุกชนิดที่ใช้ประจ�ำ เพราะอาจหาซื้อไม่ได้ในช่วงประกอบพิธีฮัจย์ คนเป็นโรคไตที่ต้องฟอกไต ต้องปรึกษาแพทย์และประสานกับ หัวหน้าคณะน�ำทางเพื่อเตรียมไป รับบริการฟอกไตต่อเนื่องด้วย ยาพื้นฐาน การเตรียมยาพื้นฐานที่อาจใช้บ่อย เช่น ยาแก้ปวดพาราเซตามอล ยาแก้แพ้คลอเฟนนิรามีน ยาแก้ท้องเสียอีโมเดี้ยม เป็นต้น พลาสเตอร์ ปิดแผลมีประโยชน์มาก ใช้ปิดแผลเล็กๆ น้อยๆ และแผล รองเท้ากัดไม่ให้ลุกลามได้ ประวัติสุขภาพ การสรุปประวัติที่ส�ำคัญ ด้านสุขภาพ เช่นโรคประจ�ำตัว เป็นภาษาไทย ก�ำกับด้วยภาษาอังกฤษ (ภาษาทางการแพทย์) และชื่อยาต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษ รายชื่อยาหรือสารที่แพ้ เพราะเป็นข้อมูลเบื้อง ต้น แต่มีความส�ำคัญมากในการรับบริการสุขภาพในต่างประเทศ สิ่งของที่ควรเตรียมไปเพื่อสุขภาพ รองเท้าแตะส�ำรอง ให้พอดีเท้า เพราะอาจซื้อหาได้ยากและคุณภาพไม่ดีเท่า เสื่อผืนเล็กรองนั่ง กระดาษทิชชู่สำ� หรับเช็ดท�ำความสะอาด ลิปมันป้องกันริมฝีปากแห้งแตก โลชั่นทาผิวหรือน�ำ้ มันมะกอก ชนิดไม่มีนำ�้ หอมเจือปน แว่นกันแดด แว่นสายตาควรมีสำ� รองเผื่อหลุดหาย ร่มกันแดด ขวดพลาสติกใส่น�้ำ ขนาดเล็ก 350 ซีซี ใช้พกพา น�้ำหนักไม่มากเกิน สะดวกในการดื่มหรือใช้กินยา เตรียมกระเป๋าย่อยส�ำหรับครองอิหรอม บรรจุของจ�ำเป็นให้ครบ รวมทั้งยาหรือเวชภัณฑ์ที่ต้อง ใช้ด้วย เพราะในระหว่างเดินทางโดยเครื่องบินจะเปิดกระเป๋าใหญ่ไม่ได้แล้ว จนกว่าจะถึงที่พักในมักก๊ะฮ์ หรือมะดีนะห์ แล้วแต่กรณี การจัดสัมภาระให้ใช้กระเป๋าที่แข็งแรง พิจารณาเฉพาะของที่จ�ำเป็น เผื่อน�ำ้ หนักส�ำหรับซื้อของเพิ่มเติม เคยเกิดกรณีกระเป๋าช�ำรุดจากแรงกระแทกต่างๆ ท�ำให้ข้าวของรวมทั้งยา สูญหายไปด้วย 84
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การโดยสารเครื่องบิน ผู้ที่เมาเครื่องบินหรือเคยเมารถ เมาเรือ ให้กินยาไดเมนไฮดริเนต(ดรามามีน) 1 เม็ดก่อนเครื่อง ออก 30 นาที ให้ปฏิบัติตามข้อแนะน�ำของพนักงานอย่างเคร่งครัด การนั่งประจ�ำที่และรัดเข็มขัดนิรภัย จะป้องกันอันตรายจากการพลัดตก หกล้มหรือการบาดเจ็บในช่วงที่เครื่องบินอยู่ในบริเวณที่มีอากาศ แปรปรวนได้ ในระหว่างเครื่องบินขึ้นหรือลง อาจมีอาการปวดแก้วหู ได้ยินเสียงดังในหู หูอื้อ ซึ่งเกิดจากการ ปรับความดันไม่ทันกันระหว่างหูชั้นนอกและหูชั้นกลาง สามารถป้องกันและแก้ไขได้ด้วยการเคี้ยวหมาก ฝรั่ง (ควรเลือกชนิดปราศจากน�ำ้ ตาล) หรือการใช้อุปกรณ์อุดหู(เอียปลั๊ก) ไม่ควรรับประทานอาหารมากเกินไป เพราะจะแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้องได้ ขยับแขน ขาบ่อยๆ เพราะจะเพิ่มการไหลเวียนเลือด ลดอาการปวดเมื่อย และป้องกันเส้นเลือดอุดตันบริเวณขา ป้องกันโรคอิ โคโนมี่คล๊าสซินโดรม(หลอดเลือดขาและปอดอุดตัน)ได้ หมอนรองคอขนาดพอเหมาะหรือเป็นชนิดที่เป่า ลมสามารถปรับเข้ากับสรีระคอได้พอดี จะลดอาการปวดเมื่อยบริเวณคอและไหล่ รวมทั้งยังท�ำให้หลับ สบายด้วย น�้ำบนเครื่องบินมีปริมาณจ�ำกัดมาก ให้ใช้ด้วยความประหยัดอย่างยิ่ง ผู้เขียนเคยประสบกรณี ใช้นำ�้ กันจนหมดเครื่อง ถึงท่าอากาศยาน ณ เมืองจิ๊ดด๊ะฮ์ เดินทางสู่มักก๊ะฮ์ หลังจากผ่านการตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากรแล้วขึ้นรถบัสมุ่งสู่มักก๊ะฮ์ระยะทางประมาณ 86 กิโลเมตร ระวังพลัดหลงรถโดยสารไปขึ้นคันอื่น ถ้าเป็นไปได้ให้จด กท รถ ไว้เพราะรถบัสเหมือนกันหมด อย่ายืนใกล้หรือพิงประตูรถ อาจถูกประตูอัตโนมัติหนีบ หรือพลัดตกจากรถได้ ให้ระวังสัมภาระที่ใส่ใน ช่องเก็บของเหนือศีรษะตกใส่ การเดินทางให้ตามหัวหน้าคณะ การใช้โทรศัพท์ติดต่อในกรณีจ�ำเป็นจะ เป็นประโยชน์มาก ในมักก๊ะฮ์ หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด เพราะอาจได้รับอันตรายจากการเบียดหรือชนได้ ไม่นั่งบนทาง ที่มีผู้คนสัญจรไปมา ระมัดระวังรถชนเวลาข้ามถนน โปรดจ�ำว่าระบบการจราจรทางรถวิ่งตรงข้าม กับประเทศไทย (พวงมาลัยซ้าย) เมื่อข้ามถนนรถจะวิ่งมาจากทางซ้าย
ตัวอย่างป้ายทะเบียนรถในซาอุดิอารเบีย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
85
หาถุงผ้าใบขนาดพอดี ไว้ใส่รองเท้า หากกลัวหายให้น�ำติดตัวเข้าไปในมัสยิดได้ หรือถ้าจะถอดให้จดหรือจ�ำเบอร์ตู้วางรองเท้า (มีตัวเลขก�ำกับทั้งเลขอาหรับและเลขอารบิค) อย่าจ�ำสถานที่ใกล้เคียงเพราะอาจงงและหาร องเท้าไม่พบ การเดินเท้าเปล่าภายนอกมัสยิด หรือตามถนนหนทางจะได้รับอันตรายจาก กรวดหินหรือของมีคมต่างๆ ได้ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ เพราะจะท�ำให้ ไอ และทางเดินหายใจอักเสบได้ง่าย เนื่องจาก ระบบจราจรในซาอุดิอารเบีย อากาศแห้งและมีฝุ่นมาก การสวมหน้ากาก อนามัยช่วยป้องกันฝุ่นได้ ระวังน�้ำร้อนลวกเวลาอาบน�ำ้ อุ่น การตั้งระบบท�ำน�ำ้ ร้อนน�้ำอุ่นอาจแตกต่างจากบ้านเรา ให้รอง น�้ำใส่ขันหรือภาชนะก่อน เพื่อทดสอบระดับความร้อนของน�ำ้ ก่อนอาบ ดื่มน�ำ้ ให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายสดชื่นไม่อ่อนเพลีย (มีบริการน�้ำดื่มซ�ำซ�ำแช่เย็นกระจายอยู่ทั่ว มัสยิด และบริเวณโดยรอบ) ไม่ต้องกลัวปัสสาวะบ่อย เพราะมีห้องน�ำ้ เพียงพอ พักผ่อนให้เพียงพอ ปฏิบัติอิบาด๊ะห์ซุนนะห์ต่างๆ ให้ เหมาะสมกับสภาพร่างกายไม่ตรากตร�ำจน เกินไป เช่น การไปท�ำอุมเราะห์หลายครั้งในระหว่างรอพิธีฮัจย์ บางรายล้มป่วยลง ท�ำให้การประกอบพิธี ฮัจย์ตามวันที่ก�ำหนดไว้เป็นไปด้วยความยากล�ำบาก (ตั้งแต่วันที่ 8 ซุ้ลฮิจยะห์เป็นต้นไป) เตรียมเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับอากาศในแต่ละช่วง เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดปี อุณหภูมเิ ฉลี่ยในรอบปีในเมืองมักก๊ะฮ์ เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สูงสุดเฉลี่ย ( Cํ ) 30.2 31.4 34.6 38.5 41.9 43.7 42.8 42.7 42.7 39.9 35 31.8 ต�่ำสุดเฉลี่ย ( Cํ ) 18.6 18.9 21.0 24.3 27.5 28.3 29.0 29.3 28.8 25.8 22.9 20.2 อุณหภูมเิ ฉลี่ยในรอบปีในเมืองมะดีนะฮ์ เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สูงสุดเฉลี่ย ( Cํ ) 23.0 26.0 30.0 35.0 39.0 42.5 42.5 43.0 41.0 37.5 30.0 25.0 ต�่ำสุดเฉลี่ย ( Cํ ) 12.0 14.0 17.5 22.5 26.0 27.0 28.0 30.0 27.5 22.5 18.0 13.0
86
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ข้อแนะน�ำด้านสุขภาพ ผู้ที่มีโรคประจ�ำตัวต่างๆ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน รับประทานยาสม�ำ่ เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาฉีดลดน�้ำตาล (อินซูลิน) ซึ่งถ้าไม่ได้ฉีด อาจเกิด ภาวะน�้ำตาลสูงในระดับอันตราย หรือ ภาวะเลือดเป็นกรดได้ ควรตรวจระดับน�ำ้ ตาลเป็นระยะ เช่นทุก 7–10 วัน หรือมีอาการผิดปรกติ เช่น อ่อนเพลีย กระหายน�้ำมาก มีอาการหอบเหนื่อย ใจสั่น เป็นลมหรือ ซึม ให้สังเกตอาการจากน�้ำตาลต�ำ่ เช่น ใจสั่น มือสั่น เป็นลม ให้หยุดพักและดื่มน�ำ้ หวาน อมทอฟฟี่ หรือ รับประทานอาหารหรือขนมที่มีน�้ำตาลทันที ดูแลเท้าซึ่งเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ถลอกเป็นแผล เมื่อกลับถึงที่พักให้ ตรวจสอบทันทีว่าเริ่มมีแผลหรือไม่ ผู้ป่วยเบาหวานบางรายไม่ค่อยรู้สึกเจ็บปวด แม้ว่าจะมีแผลที่เท้าขนาดใหญ่ เพราะปลายประสาทชา เมื่อเริ่มมีรอยแดงที่เท้า ให้ปิดบริเวณนั้นด้วยผ้าก๊อส พลาสเตอร์ ปิดแผลจะป้องกันการเกิดแผลได้ ถ้ามี แผลเกิดขึ้นต้องรีบรักษาโดยเร็ว บางรายต้องพบแพทย์เพื่อพิจารณาการรักษา ที่เหมาะสมต่อไป เช่น การตกแต่งบาดแผล หรือการให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย จากประสบการณ์ของผู้เขียนเคยพบ ผู้ป่วยบางรายเกิดแผลรุนแรงจนต้องตัดขา ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็ม รับประทานยาสม�่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ อาจตรวจเช็คความดัน โลหิตเป็นระยะ เช่น ทุก 7 วัน ผู้ป่วยโรคหัวใจ รับประทานยาต่อเนื่อง ยาอมใต้ลิ้นติดตัวเสมอ ถ้ามีอาการแน่นหน้าอกให้หยุดพักทันที ใช้ยาอมใต้ลิ้น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือเจ็บหน้าอกเป็นระยะเวลานานๆ หรือบ่อย หรือมีอาการร่วมเช่น คลื่นไส้–อาเจียน เป็นลม หน้ามืด หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ให้ปรึกษาแพทย์ ทันที ผู้ป่วยโรคหอบหืด หลีกเลี่ยงสิ่งที่กระตุ้นให้หอบ งดสูบบุหรี่ ใช้ยาต่อเนื่องทั้ง ยาสูดและยารับประทาน ถ้ามีอาการก�ำเริบ (เหนื่อยมากกว่าเดิม ผิดปรกติ หายใจมีเสียงหวีด) ให้สูดยาเพิ่มขึ้น และรับประทาน ยา เพรดนิโซโลน 6–8 เม็ดต่อวัน นาน 5–7 วัน จะป้องกันอาการ รุนแรง และท�ำให้อาการก�ำเริบหายไวขึ้น
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
87
ผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงฝุ่น ควันและของที่กระตุ้นให้หอบ ใช้ยาต่อ เนื่องทั้งยารับประทานและยาพ่นขยายหลอดลม ในรายที่มีอาการหอบ เหนื่อยมากกว่าเดิมชัดเจนให้รับประทาน เพรดนิโซโลน 6–8 เม็ดต่อวัน นาน 5–7 วัน และควรปรึกษาแพทย์ถ้ามีอาการรุนแรง ผู้ป่วยโรคไต หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม เนื้อสัตว์ ผักและผลไม้รับประทานพอประมาณ ในรายที่ล้างไตไม่ว่าจะ เป็นทางหน้าท้องหรือการฟอกเลือดต้องท�ำต่อเนื่องตามก�ำหนด ผู้ที่รับประทานยาทางด้านจิตเวช ระบุภาวะหรือโรคที่เป็น รวมทั้งรายการยาที่ชัดเจน เพื่อความสะดวกในการขอรับบริการ ทางการแพทย์เมื่อจ�ำเป็น และง่ายในการชี้แจงกรณีเกิดการตรวจสอบยาเมื่อผ่านพิธีการเข้าเมือง ถ้าเป็น ไปได้ควรมีเพื่อนที่ปรึกษาใกล้ชิดเดินทางไปด้วย สุขภาพจิตใจ ท�ำจิตใจให้สบาย พูดคุยมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมเดินทาง สอบถามเพื่อหาความกระจ่างในประเด็น ที่สงสัยหรือข้อวิตกกังวลต่างๆ หรือโทรศัพท์ติดต่อญาติทางบ้าน การโทรกลับเมืองไทย อาจใช้รหัส +66 เช่นโทรกลับบ้านในเมืองไทย เช่น หมายเลข 0-2434XXXX ให้กด +662434XXXX หรือโทรเข้ามือถือ เช่นเบอร์ 0-81483XXXX ให้กด +6681483XXXX แต่ถ้าโทรในพื้นที่เช่นใน มักกะฮ์ หรือมะดีนะฮ์ กด หมายเลขตามซิมได้เลย หรืออาจจะหาหนังสืออ่าน มีร้านหนังสืออยู่ทั่วไปซึ่งส่วนใหญ่เป็นภาษาอาหรับ แต่ก็มีภาษาอื่นบ้างเช่น อังกฤษ มลายู ฯลฯ การซื้อสินค้าต้องใช้เงินซาอุดิอารเบีย โดยใช้แบ้งค์พันไปแลก ได้ตามร้านแลกเงินซึ่งมีอยู่ทั้วไปตามที่ต่างๆ ในมัสยิดหะรอมในมักก๊ะฮ์ และมัสยิดมะดีนะฮ์ มีอัลกุรอาน แปลไทย และ อังกฤษ และภาษาอื่น บริการวางไว้ตามหิ้งหนังสือต่างๆ โรคลมแดด หรือ ฮีตสโตรค เกิดจากร่างกายไม่สามารถปรับอุณหภูมิกายให้อยู่ในระดับปรกติ โดยอุณหภูมิกายขึ้นสูงจนสู่ ระดับอันตราย เช่นระดับเกิน 40-41 องศาเซลเซียส (ปรกติอุณหภูมิกายอยู่ที่ประมาณ 37 องศา เซลเซียส) สาเหตุเกิดจากร่างกายผลิตความร้อนสูงขึ้นหรือได้รับความร้อนจากภายนอก แต่ไม่สามารถขับ ความร้อนออกนอกร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ มักเกิดขี้นในผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจ�ำตัวต่างๆ เช่น โรค หัวใจ โรคไต อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศร้อนจัด (อุณหภูมิอากาศมากกว่า 37 องศาเซลเซียส) อยู่กลาง แดด เสื้อผ้าปกคลุมไม่เพียงพอ ท�ำให้ความร้อนภายนอกเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย ประกอบกับการขาดน�้ำ ผู้สูง อายุมีแนวโน้มจะขาดน�้ำได้ง่าย เพราะความรู้สึกกระหายเกิดได้ช้ากว่า 88
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
อาการของโรคลมแดด ประกอบด้วย อาการปวดศรีษะ มึนงง เป็นลม เหงื่อไม่ออก ผิวหนัง แดง ร้อนและแห้ง กล้าม เนื้ออ่อนแรง กระตุก คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็วตื้น ซึมลง ชัก และที่รุนแรงสุดคือ โคม่า การรักษา โรคนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ ต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล เมื่อเกิดขึ้นให้ตามบริการ การแพทย์ฉุกเฉิน ในระหว่างรอ ให้น�ำผู้ป่วยเข้าในที่เย็น ร่มแดด พัดลม เช็ดตัวด้วยน�้ำเย็น ประคบน�ำ้ แข็ง บริเวณรักแร้ ขาหนีบ หลัง และ คอ หรืออาบผู้ป่วยด้วยน�ำ้ เย็น (ระวังน�ำ้ เข้าปากและ จมูก) การป้องกัน ดื่มน�้ำให้เพียงพอ อยู่ในที่ร่ม ไม่ตากแดด ปกคลุมร่างกาย ไม่ถอดเสื้อผ้าอยู่ในที่อากาศร้อนนานๆ เพื่อลดการสูญเสียน�้ำจากร่างกาย และป้องกันความร้อนภายนอกเข้าสู่ร่างกาย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
89
หินด�ำ ประกอบด้วยหินย่อยจ�ำนวน 8 ก้อน ถูกประกับฝังรวมกันอยู่ในเบ้าโลหะ ที่มุม หนึ่งของอาคารก๊ะอบ๊ะ
ก๊ะอบ๊ะ
การฏอว๊าฟ การฏอว๊าฟรอบก๊ะอบ๊ะเริ่มจากแนวมุมหินด�ำ วนรอบตามทิศทางที่ไหล่ซ้ายอยู่ด้านใน ถ้า ร่างกายไม่แข็งแรง หลีกเลี่ยงการวนรอบใกล้อาคารก๊ะอบ๊ะ เพราะจะแออัดมาก ให้วนรอบนอก ระยะทาง มากกว่า แต่เดินได้สบายกว่า การสะแอ การสะแอ เดินระหว่างเขาศอฟา (เขาศอฟาอยู่ห่างจากก๊ะอบ๊ะ ประมาณ 800 เมตร) และ มัร วะห์ รวม 7 เที่ยว สิ้นสุดที่เขา มัรวะห์ ระยะทาง เที่ยวละประมาณ 450 เมตร ปัจจุบันท�ำเป็นช่องทาง เดิน ในร่ม ติดเครื่องปรับอากาศ พัดลม และมีจุดบริการน�ำ้ ซ�ำซ�ำ
การเดินสะแอ 90
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การพักแรมอยู่ในต�ำบลมินา ในมินามีโรงพยาบาล 4 แห่ง รวม 970 เตียง ให้บริการทางการแพทย์ได้ครอบคลุมทุกโรค รวมทัง้ โรคลมแดด (ฮีตสโตรค) เต็นท์ทพี่ กั ในต�ำบลมินาค่อนข้างแออัด คับแคบ คงต้องอาศัยความถ้อยทีถอ้ ย อาศัยในการอยูร่ ว่ มกัน ไม่สบู บุหรีใ่ นบริเวณทีม่ คี นอยู่ และทีท่ กี่ ารระบายอากาศไม่ดี รับประทานอาหารที่ ปรุงสุกใหม่ๆ อย่ารับประทาบอาหารค้างเก็บ ผลไม้ควรล้างน�ำ้ ก่อน ดูแลรักษาความสะอาด ทิง้ ขยะให้เป็น ทีเ่ ป็นทางเพือ่ ป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ เช่น เชือ้ ทีก่ อ่ โรค ล�ำไส้อกั เสบ ท้องเสีย
เต้นท์ที่พักในตำ�บลมินา
การตัดผมหรือโกนผมไม่ควรปล่อยเศษผมตามพื้น หรือท่อระบายน�ำ้ ให้จัดเก็บแล้วทิ้งลงถังขยะให้ เรียบร้อย เพราะอาจเกิดการอุดตันของท่อระบายน�ำ้ ได้ อย่าเดินตากแดด เพราะแดดจัดมีความร้อนสูง อาจท�ำให้ไม่สบายได้ง่าย หรือเป็นโรคลมแดดได้ในช่วงที่ไม่สามารถใช้หมวกหรือผ้าโพกศีรษะได้ (ขณะ ครองอิหรอมของชาย) ให้กางร่มป้องกันแดด ดื่มน�้ำให้เพียงพอ เพราะอากาศแห้ง จะสูญเสียน�้ำจาก ร่างกายจากการระเหยไม่รู้ตัว ทายาป้องกันยุงและแมลง ในบางปีและบางช่วงจะมียุงและแมลงโดย เฉพาะอย่างยิ่งถ้าช่วงนั้นมีฝนตก แต่โดยปรกติฝนจะไม่ค่อยตก การไปพักในทุ่งอารอฟะห์ ในอารอฟะห์มีโรงพยาบาล 3 แห่ง รวม 930 เตียง และหน่วยพยาบาลและรถพยาบาลกระจาย อยู่ทั่วพื้นที่ สามารถขอรับบริการได้ทันที มีบริการรถพยาบาลส�ำหรับผู้ป่วยที่จำ� เป็นเพื่อการวูกูฟ(การพัก อยู่ในอารอฟะห์ จนถึงค�่ำวันที่ 10 เดือนซุ้ลฮิจยะห์) การค้างคืนที่มุสดะรีฟะห์ อย่าเดินออกนอกบริเวณเขตที่พักเพราะอาจพลัดหลงกลับไม่ถูก ระมัดระวังถนนด้านหน้ามีรถ บัสขนาดใหญ่วิ่งด้วยความเร็วสูง และ ระมัดระวังการใช้ก๊อกน�้ำร้อนสาธารณะ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
91
การขว้างเสาหินที่มินา ควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของหัวหน้าแคมป์(มักตับ) ที่จะก�ำหนดเวลาขว้างเสาหินแต่ละแคมป์ และให้ไปเป็นหมู่คณะเพื่อความปลอดภัยและไม่พลัดหลง เส้นทางเดินขาไปและกลับไม่ใช่ทางเดียวกัน เนื่องจากการจัดระเบียบการจราจร ปัจจุบันบริเวณเสาหินไม่แออัดยัดเยียดเหมือนก่อน เพราะมีการ ปรับปรุงทางเข้าให้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิมมาก แต่ให้ระวังอันตรายต่อศีรษะ เช่น เศษหินหรือวัสดุต่าง ๆ เช่น ปลายร่มกางแดดทิ่มแทงบริเวณใบหน้าและศีรษะ
เสาหินที่มินา
การพ�ำนักอยู่ในมะดีนะฮ์ มะดีนะฮ์มีความแออัดน้อยกว่ามักก๊ะฮ์มาก เพราะผู้แสวงบุญเดินทางเข้าออกตลอดเวลา ไม่ได้ อยู่ประจ�ำในช่วงเวลาเดียวกัน ถ้ามีปัญหาสุขภาพ สามารถขอรับบริการได้ที่หน่วยแพทย์ไทย ณ เมืองมะ ดีนะฮ์
มัสยิด อัน-นะบะวียะห์
92
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
สุดท้ายแต่ไม่ใช่ท้ายสุดแต่เป็นสิ่งแรกที่ต้องเตรียม แม้ว่าเรื่องสุขภาพจะเป็นส่วนหนึ่งของเสบียงที่ต้องเตรียมไป แต่เสบียงที่สำ� คัญที่สุดคือความ ย�ำเกรง เจตนาและความบริสุทธิ์ใจในการประกอบพิธีฮัจย์ การร�ำลึกและการวิงวอนในวาระต่างๆ และ ขอให้การบ�ำเพ็ญฮัจย์ของท่านเป็นฮัจย์ที่มับรู๊ร
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
93
94
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การเข้าสุหนัต โดย นายแพทย์ ช าติ ช าย วงษ์ อ ารี
การเข้าสุหนัต
โดย นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี เป็นเวลามากกว่า 25 ปีแล้ว ทีผ่ มได้มปี ระสบการณ์ การท�ำสุหนัต ไม่วา่ จะท�ำทีค่ ลินกิ โรงพยาบาล และการเข้าสุหนัตหมู่กับสมาคมแพทย์มุสลิม ผมจึงขอรวบรวมประวัติและเทคนิคการท�ำสุหนัตตั้งแต่สมัย ก่อนจนถึงปัจจุบันมาให้ความรู้กับผู้อ่าน การเข้าสุหนัต คือ การผ่าตัดขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ตามหลักศาสนาอิสลาม มีชื่อเรียกตาม ภาษาอาหรับว่า คิตาน หรือ คอตั่น ซึ่งเป็นอาการนามมาจากค�ำว่า “คอตะนะ”แปลว่า ตัดหรือควั่น (KHATANA = CUT) หรือเรียกตามภาษามลายู ว่า มาโซะยาวี ซึ่งมีความหมายว่า มาโซะ (เข้า) ยาวี (คน พื้นเมืองมลายู) แปลเป็นภาษาไทยง่าย ๆ ว่า เข้าแขก มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า CIRCUMCISION ถ้าเป็น ภาษาใต้ เด็ก ๆ ทางใต้ ก็จะใช้เรียกว่า “ตัดไข่” ค�ำว่าสุหนัต น่าจะมาจากรากศัพท์ภาษามาเลว่า ซูหนัต ภาษาอาหรับว่า ซุนนะ ซึ่งแปลว่า “แนวทางศาสนฑูต” คราวนี้มาถึงค�ำว่า ขริบ หรือ ขลิบ ตอนแรกผมเอง ก็ไม่ค่อยแน่ใจด้วยว่าเดิมเราก็ใช้คำ� ว่า ขลิบ กันมา จนชินทีนี้ระหว่าง “ล” กับ “ร” ต่างกันอย่างไร ก็ว่ากัน ตามความหมายของค�ำที่มีอยู่ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คือ ขลิบ = เย็บหุ้มริมผ้าและของอื่นๆ เพื่อกันลุ่ย หรือเพื่อให้งาม ขริบ = ตัดเล็มด้วยกรรไกร พิจารณากันตามความหมายของค�ำที่มีอยู่ การตัดผิวหนังส่วนปลายที่หุ้มอวัยวะเพศชาย หรือ circumcision ก็น่าจะใช้คำ� ว่า ขริบ ดูจะตรง ตามความหมายดี การขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศนั้นถือ เป็นการผ่าตัดที่คู่กับมนุษย์มายาวนาน อาจถือว่าเก่าแก่ที่สุดก็ว่าได้ เพราะมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ เป็นภาพเขียนว่ามีมาตัง้ แต่สมัยอียปิ ต์โบราณประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว ท�ำกันเฉพาะพวกฟาโรห์และนักบวช ในราชส�ำนัก โดยเหตุทมี่ กี ารขริบเพือ่ รักษาสุขภาพอนามัย รักษาความสะอาด ป้องกันรักษาโรค และเป็นการ แยกระหว่างคนอียปิ ต์กบั คนทีม่ ใิ ช่ชาวอียปิ ต์ ซึง่ นิยมท�ำกันอย่างแพร่หลายในยุคอียปิ ต์โบราณ จนกลายเป็น สัญลักษณ์ทางศาสนาเพราะผูป้ ระกอบพิธกี ารขริบนัน้ มิใช่เป็นนายแพทย์แต่เป็นนักบวชทางศาสนา วิธกี าร ขริบในสมัยก่อนเรียกกันว่า Abrahams Method เพราะเกิดขึ้นในยุคของท่านอับราฮัมสมัยอียิปต์ วิธี Abrahams Method ก็ท�ำโดยการใช้ไม้หนีบคีบหนังหุ้มปลายให้ยืดออกมาโดยมีความยาวพอประมาณ หลังจากนั้นใช้ของมีคมที่มีอยู่ตามยุคสมัยตัดผ่านผิวหนังส่วนปลายองคชาต โดยปล่อยให้เลือดหยุดไหลไป เอง จากยุคอียิปต์โบราณนั้นก็แพร่หลายกันต่อมาจนถึงสมัยปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าทางการแพทย์ การ ขริบนั้นยังถือเป็นหนึ่งในข้อบัญญัติของศาสนายิว อิสลาม และคริสต์บางนิกาย
96
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ภาพการท�ำสุหนัตของชาวคริสต์
ภาพการท�ำสุหนัตสมัยอียิปต์ นอกจากนีก้ ารขริบหนังหุม้ ปลายอวัยวะเพศชายเป็นทีป่ ฏิบตั กิ นั อย่างกว้างขวางในหมูช่ นเผ่าทีถ่ อื ผีสางเทวดาในอาฟริกา หมู่เกาะมาเลย์ นิวกินี ออสเตรเลียและเกาะแปซิฟิก กลุ่มคนพื้นเมืองบางกลุ่มใน อเมริกาใต้และอเมริกากลางก็มีพิธีการท�ำผ่าตัดอวัยวะเพศบางอย่างแก่เพศชายและเพศหญิงเช่นกัน ในชนบางเผ่าการขริบหนังปลายอวัยวะเพศมักจะเป็นพิธกี รรมทีท่ ำ� กับเด็กทีก่ า้ วเข้าสูว่ ยั หนุม่ บางครัง้ ความ เจ็บปวดในการตัดส่วนปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศนี้ได้ถูกใช้เป็นเครื่องเซ่นแก่ภูตผีปีศาจ ขณะเดียวกัน การ ตัดหนังปลายอวัยวะเพศก็เป็นสิง่ ยืนยันถึงความพร้อมในการแต่งงานและความเป็นผูใ้ หญ่และเป็นสิง่ ยืนยัน ว่าบุคคลผูน้ นั้ สามารถทนความเจ็บปวดได้ นอกจากนีแ้ ล้วการตัดหนังปลายอวัยวะเพศชายยังเป็นสิง่ ทีแ่ ยก วัฒนธรรมของคนกลุ่มหนึ่งออกจากกลุ่มคนที่ไม่ได้ท�ำเช่นนั้นด้วย ในหมู่ชาวอียิปต์โบราณ โดยทั่วไปแล้ว เด็กผูช้ ายจะถูกตัดหนังหุม้ ปลายอวัยวะเพศระหว่างอายุ 6-12 ขวบ การผ่าตัดในวัยแรกรุน่ นีเ้ ป็นตัวแทนถึง การเริ่มต้นเข้าสู่ความเป็นผู้ชาย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
97
ในหมู่ชาวอาหรับ การเข้าสุหนัตมีมาก่อนที่จะมีอิสลามเกิดขึ้น (ค.ศ.570) ในหมู่ชาวอาหรับและ ชาวเอธิโอเปียนนัน้ การเข้าสุหนัตจะท�ำหลังจากการเกิดได้ไม่นานหรือบางทีสองสามปีหลังการเกิด อบูฮรุ อ็ ย เราะฮรายงานว่าท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺได้กล่าวว่า “อิบรอฮีมท�ำสุหนัตตนเองหลังจากที่ท่านอายุได้ 80 ปี” อิสลามต้องการให้ชายมุสลิมขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเพื่อที่จะส่งเสริมความสะอาด ท่านศาสดามุ ฮัมมัด(ศล.)ได้กล่าวว่า : “มีการกระท�ำห้าสิ่งที่ใกล้เคียงกับฟิตเราะฮฺ (สามัญส�ำนึก) หรือห้าสิ่งที่เป็นการ กระท�ำตามฟิตเราะฮฺ นั่นคือ การเข้าสุหนัต การโกนขนอวัยวะเพศ การตัดเล็บ การถอนขนรักแร้และการ ขริบหนวด” นักวิชาการหลายคนกล่าวว่าการกระท�ำดังกล่าวเป็นสิ่งจ�ำเป็น นักวิชาการส�ำนักชาฟีอีถือว่า การเข้าสุหนัตควรจะท�ำในวันทีเ่ จ็ดหลังจากทีเ่ ด็กเกิด แต่อชั -เชากานีกล่าวว่า “ไม่มสี งิ่ ใดทีร่ ะบุไว้อย่างชัดเจน ถึงเรื่องเวลา”
การขริบอวัยวะเพศของสตรีตามหลักนิติอิสลาม ศาสนาอิสลามมีกลุม่ ทรรศนะทีย่ งั คงมีอทิ ธิพลและเป็นแบบอย่างให้ชาวมุสลิมยึดถือสืบทอดกันมา โดยแบ่งเป็นกลุ่มหลัก ๆ 4 กลุ่มด้วยกันดังนี้ กลุม่ ทรรศนะชาฟีอี (กลุม่ มัซฮับชาฟีอ)ี ถือว่าการขริบเป็นข้อบังคับ (วายิบ) แก่มสุ ลิมชายและหญิง ทรรศนะนี้ตรงกับทรรศนะของนักปราชญ์กลุ่มใหญ่ (อั้ลยุมฮูร) ของมัซฮับชาฟีอี กลุม่ ทรรศนะฮัมบาลี ถือว่าเป็นข้อบังคบ (วายิบ) แก่มสุ ลิมชาย แต่ไม่เป็นข้อบังคับ (วายิบ) ส�ำหรับ หญิงมุสลิม หากแต่เป็นเพียงสุหนัต (แนวทางปฏิบัติและเกิดผลานิสงฆ์) และถือเป็นเกียรติในสตรีเพศ ซึ่ง เป็นทรรศนะของบรรดาปราชญ์ทางศาสนวิทยาหลายท่าน และได้บันทึกไว้ในต�ำรานิติศาสตร์อิสลาม อัล มุฆนีของท่านอิบนุกุดามะฮ์และ 4 กลุ่มทรรศนะฮานาฟี และ มาลิกี (มัซฮับ ฮานาฟี และ มาลีกี) ถือว่าการ ขริบเป็นเพียงสุหนัต และเป็นเอกลักษณ์แห่งศาสนาอิสลาม
ข้อสรุปการขริบอวัยเพศตามหลักศาสนาอิสลาม บรรดานักปราชญ์ด้านศาสนวิทยาได้สรุปว่าการขริบในสตรีเพศ ไม่ใช่เรื่องบังคับ (วายิบ) ตาม ทรรศนะ ของกลุม่ ทรรศนะ ฮานาฟี มาลิกี ฮัมบาลี และนักปราชญ์กลุม่ หนึง่ ของกลุม่ ทรรศนะ ชาฟีอี (มัซฮับ ชาฟีอี) ดังนั้น สตรีเพศที่ไม่ได้รับการขริบถือว่าไม่บาป และการขริบในเพศชายนั้นเป็นข้อบังคับ (วายิบ) ทางนิ ติ ศ าสตร์ อิ ส ลาม เพราะถื อ เป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องชาวมุ ส ลิ ม และในศาสนาของพระศาสดา อิบรอฮีม ตามทรรศนะของกลุ่มทรรศนะ ชาฟีอี และ ฮัมบาลี เพราะฉะนั้นการที่สตรีเพศไม่รับการขริบ ถือว่าไม่มีความผิด และไม่มีบาปแต่อย่างใด การขริบ คือ การผ่าตัดเอาผิวหนังส่วนปลาย ทีห่ มุ้ องคชาตออก เพือ่ ให้สามารถรูดออกท�ำ ความ สะอาดบริเวณด้านในส่วนปลายองคชาตได้ ซึ่งผิวหนังบริเวณส่วนปลายองคชาตนี้จะมีต่อมที่สามารถผลิต 98
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
สารคัดหลั่งที่มีลักษณะเป็นขุยแฉะสีขาว เรียกว่า smegma หรือ ขี้เปียก การที่ไม่สามารถเปิดหรือไม่เปิด ผิวหนังบริเวณดังกล่าวออกท�ำความสะอาดได้ จะท�ำให้สารคัดหลั่ง ดังกล่าวคั่งค้างอยู่ก่อให้เกิดกลิ่น มีการ ติดเชื้อ บางครั้งหมักหมมจนเกิดเชื้อราขึ้น บางรายเกิดเม็ดผื่นหรือแตกเป็นแผลเรื้อรัง ท�ำให้เจ็บปวดเวลา ที่อวัยวะเพศแข็งตัว การขริบยังรวมถึงกรณีที่มีหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศยาวมากๆ แม้จะสามารถรูดเปิดได้ แต่พอปล่อยก็จะกลับมาปิดเหมือนเดิมท�ำให้ดแู ลรักษาความสะอาดได้ยาก โดยทัว่ ไปการขริบจะท�ำในกรณี ต่อไปนี้ 1.หนังหุ้มปลายไม่เปิด (phimosis) โดยทั่วไปหนังหุ้มปลายจะเปิดได้เอง แต่บางรายไม่สามารถ เปิดออกมาท�ำความสะอาดได้ หนังหุม้ ปลายไม่เปิดอาจเป็นมาแต่กำ� เนิด หรือเกิดจากการอักเสบบริเวณหัว อวัยวะเพศ (balanitis) 2.รูดแล้วติดไม่สามารถรูดกลับได้ (paraphimosis) ผิวหนังหุ้มมีอาการบวมจนไม่สามารถรูดกลับ ได้ ต้องให้แพทย์รูดกลับให้โดยใช้เส้นสองสลึง (frenulum) เป็นตัวช่วยรั้งส่วนหนังหุ้มปลายกับส่วนหัว 3.ตามบทบัญญัตขิ องศาสนาและความเชือ่ เช่น ศาสนาอิสลาม ซึง่ การขริบตามหลักการของศาสนา อิสลามจะต้องท�ำการขริบหนังที่หุ้มปลายให้เปิดปลายองคชาต ออกให้หมด เพื่อประโยชน์ในการท�ำความ สะอาดและรักษาความสะอาด เพราะถ้ายังคงมีหนังหุม้ ปลายอยูจ่ ะเกิดการหมักหมมและรักษาความสะอาด ได้ยากกว่า จะเห็นได้ว่าการขริบนั้นมีข้อดีอยู่ไม่น้อยทีเดียว ซึ่งก็ได้แก่ - ช่วยให้สามารถท�ำความสะอาดอวัยวะเพศได้สะดวกง่ายขึ้น - ป้องกันปัญหาหนังหุ้มปลายไม่เปิด หรือเปิดแล้วรูดได้แต่รูดแล้วติด - ลดปัญหาการติดเชื้อและการอักเสบของทางเดินปัสสาวะในเพศชาย ซึ่งในบริเวณ ผิวหนังที่หุ้ม ปลายอวัยวะเพศนั้นจะมี Langerhann cells ที่มี receptor หรือตัวรับที่สามารถจับกับเชื้อบางอย่างได้ เป็นอย่างดี จากการวิจัยของ Robert Szabo และ Roger Short (2000 AD) พบว่าผู้ชายที่ขริบหนังหุ้มปลาย อวัยวะเพศมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโรคเอสด์น้อยกว่าผู้ชายที่ไม่ได้ขริบ เพราะเชื้อไวรัส HIV จะไป เกาะติดกับตัวรับบริเวณ Langerhann cells และเกิดปฏิกิริยาขึ้นในระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ นอกจากนี้ บริเวณหนังหุม้ ปลายจะมีความบอบบางและง่ายต่อการเกิดแผลอักเสบ และติดเชือ้ โรคติดต่อจากการมีเพศ สัมพันธ์ ข้อเสียของการขริบก็มี คือเป็นในเรื่องของผลการผ่าตัด ซึ่งก็อาจเกิดขึ้นได้จากการผ่าตัดทุกชนิด เช่น ตัดหนังออกมากเกินไป หรือแผลเกิดการอักเสบแต่เกิดได้น้อยมาก ถ้าท�ำอย่างถูกวิธีและใช้หลักปลอด เชื้อในการผ่าตัด
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
99
การท�ำสุหนัตหมู่ การท�ำสุหนัตส่วนมากจะท�ำกันที่บ้านท�ำกันทีละหลาย ๆ คน เรียกว่า การท�ำ สุหนัตหมู่ ส่วนมาก ก็รวมตัวกันในหมู่พี่น้องและญาติสนิทมาท�ำการเข้าสุหนัต พร้อม ๆ กัน ประโยชน์ของการท�ำสุหนัตหมู่ คือ การเข้าสุหนัตทีละหลาย ๆ คน จะช่วยให้เด็กลดอาการประหม่าและตื่นกลัวลงได้ และเด็กจะรู้สึกไม่โดด เดี่ยว เพราะยังมีเพื่อน ๆ อีกหลายคนร่วมเข้าสุหนัตด้วยกัน ก่อนวันเข้าสุหนัตจะมีการน�ำเด็กออกไปเที่ยว หรือซื้อของขวัญให้ เพื่อเป็นก�ำลังใจและลดอาการตื่นกลัวและเมื่อถึงวันท�ำสุหนัต ก่อนจะถึงพิธีเข้าสุหนัต ก็จะมีขบวนแห่เด็กที่จะเข้าสุหนัตจากบ้านใกล้เคียงมาที่บ้านงานมีการแต่งตัวเด็กที่จะเข้าสุหนัตอย่าง สวยงาม (สมัยผมเข้าสุหนัตผมแต่งชุดอาหรับ) ผู้ที่จะเข้าสุหนัตจะเดินไปกันเอง หรือถ้ามีฐานะหน่อยก็จะมี การขี่คอ ก็แล้วแต่จะจัดหากันมา มีการร้องร�ำท�ำเพลง เพื่อให้เด็กผ่อนคลาย เมื่อขบวนแห่มาถึงที่บ้านงาน ก็จะให้เด็กลงเล่นน�้ำ แช่นำ�้ ผมเข้าใจว่าการลงเล่นและแช่น�้ำ เป็นภูมิปัญญาไทยโบราณ ท�ำให้การท�ำสุหนัต เสียเลือดน้อยและลดอาการปวด เนื่องจากในสมัยนั้น ยังไม่มียาชา ความเย็นจะท�ำให้เส้นเลือดบริเวณ องคชาต หดตัว จึงเสียเลือดไม่มากและยังลดความเจ็บปวดด้วย ประโยชน์อกี ประการหนึง่ ของการท�ำสุหนัต หมู่ คือ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลา การท�ำสุหนัตทีละหลายคน เมื่อคิดโดยรวมแล้วเสียค่าใช้จ่าย น้อยกว่าการท�ำทีละ 1 – 2 คน ในการท�ำสุหนัตหมูก่ จ็ ะมีการท�ำบุญ เลีย้ งอาหารและมีการท�ำพิธที างศาสนา ซึง่ ก็จะท�ำให้ผใู้ หญ่ได้พบปะพูดคุยปรึกษากัน ซึง่ เป็นประโยชน์ทางอ้อมอีกทางหนึง่ แต่ทกุ อย่างทีท่ ำ� ก็ขอให้ ท�ำอย่างมีสติ ไม่สุรุ่ยสุร่าย อะไรที่จะน่าประยุกต์ใช้ได้ก็น่าจะท�ำ เช่น การอาบน�ำ้ แช่น�้ำ อาจจะไม่จ�ำเป็น แล้ว เพราะมียาระงับความรู้สึกใช้แล้วเป็นต้น
100
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เครื่องมือและเทคนิคการท�ำสุหนัตสมัยโบราณ
สาธิตการใช้ต้นกล้วยและใบตองรองเลือดในการท�ำสุหนัตสมัยโบราณ
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
101
การท�ำสุหนัต หรือ มาโซะยาวี โดย แพทย์พื้นบ้าน หรือ โต๊ะมูเด็ง
เด็ก ๆ นอนพักดูอาการหลังท�ำสุหนัต
102
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ในปัจจุบนั มีทางเลือกให้ประชาชนได้เลือกมากขึน้ มีการเข้าสุหนัตหมูโ่ ดยสมาคมแพทย์มสุ ลิมหรือ ทีค่ ลินกิ และโรงพยาบาลมากขึน้ ด้วยเหตุผลทีว่ า่ เป็นทางเลือกทีม่ คี วามปลอดภัยสูงจากการติดเชือ้ หลังผ่าตัด หรือโรคที่ติดต่อทางเลือด เช่น โรคเอดส์ และโรคไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งติดต่อกันทางเลือด หรือ น�้ำเหลือง ถ้าใช้เครื่องมือร่วมกัน โดยไม่ล้างให้สะอาดปราศจากเชื้อ โดยเฉพาะการท�ำสุหนัตหมู่ที่มีการท�ำทีละหลาย คน โอกาสเด็กติดเชือ้ ก็มสี งู ถ้าไม่ใช้เทคนิคการแพทย์ทถี่ กู ต้อง การท�ำสุหนัตทีโ่ รงพยาบาล โดยวิธดี มยาสลบ มีข้อเสียคือ ค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลาเตรียมการก่อนและหลังผ่าตัดมาก เทคนิคการผ่าตัดที่ไม่ถูกต้องตามหลัก ศาสนา พบว่าบางรายเคยท�ำไปแล้ว ต้องกลับมาท�ำใหม่เพราะขริบหนังหุ้มปลายออกน้อยเกินไป
การท�ำสุหนัตหมู่โดยสมาคมแพทย์มุสลิม
แพทย์แนะน�ำรายละเอียดการผ่าตัดแก่ เด็กและผู้ปกครองก่อนเข้าท�ำสุหนัต
เด็ก ๆ พร้อม
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
103
ขึ้นเตียงอย่างมั่นใจ พร้อม รอยยิ้ม
เครื่องมือพร้อม
แพทย์ผ่าตัดด้วยเทคนิคการปลอดเชื้อระดับโรงพยาบาล
พักดูอาการหลังผ่าตัดครึ่งชั่วโมง 104
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
รับยาพร้อมค�ำแนะน�ำก่อนกลับบ้าน
การใช้ยาระงับความรู้สึกในการท�ำสุหนัต การใช้ยาระงับความรู้สึกการท�ำสุหนัตมีอยู่หลายวิธี วิธีหลัก ๆ คือ 1. การใช้ยาชาเฉพาะที่ฉีดบริเวณโคนขององคชาต 2. การใช้วิธีดมยาสลบให้เด็กหลับร่วมกับการฉีดยาชาเฉพาะที่ 3. การใช้ยาชาชนิดป้าย ป้ายที่องคชาต ก่อนผ่าตัด 30 นาที – 1 ชั่วโมง การใช้ยาชาเฉพาะที่ ข้อดี 1. สามารถใช้ได้อย่างปลอดภัย อาการข้างเคียงน้อยมาก (อาการแพ้ยา) 2. ใช้ได้ทุกสถานที่ ไม่ว่าที่โรงพยาบาล, คลินิก หรือ บ้าน โดยเฉพาะการท�ำสุหนัตหมู่ 3. ไม่ต้องใช้วิสัญญีแพทย์ หรือวิสัญญีพยาบาล 4. ประหยัดค่าใช้จ่าย ข้อเสีย 1. เด็กไม่ให้ความร่วมมือเพราะเด็กเจ็บในช่วงฉีดยา ซึ่งเป็นปัญหาส�ำคัญของแพทย์ผ่าตัดมากใน การท�ำสุหนัตหมู่ แพทย์ผู้ผ่าตัดต้องน�ำเทคนิคต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการผ่าตัด เพื่อปลอบประโลมเด็กให้หาย จากการตื่นกลัว ซึ่งถ้าเด็กไม่ให้ความร่วมมืออีก อาจจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม เช่น อายุน้อย (ต�ำ่ กว่า 5 ปี) หรือเด็กไม่ได้เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย และจิตใจ ต้องใช้เทคนิคสุดท้ายก็คือ จับเข่าคุยกัน อันนี้เป็น เทคนิคที่ผมตั้งเอาเอง คือต้องใช้คนจับเข่า 2 ข้าง 1 คน และคนจับมือ 2 ข้าง อีก 1 คน เพื่อไม่ให้เด็กดิ้น ผมอยากจะเน้นเรื่องการเตรียมเด็กเพื่อ เข้ารับการท�ำสุหนัต ขอให้ผู้ปกครองบอกเขาตามความจริงว่า ต้องการท�ำอะไร เพราะเหตุผลใดอย่าโกหกเด็ก ซึ่งผมคิดว่าให้เป็นการปูทางไปสู่ความเข้าใจ และการใช้ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
105
เหตุผล ซึ่งจะเป็นการพัฒนาเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป 2. การใช้ยาชาเฉพาะที่ ทีผ่ ดิ วิธโี ดยใช้ยาทีเ่ ติมยาตีบหลอดเลือดลงไปด้วย เพือ่ ผลในการผ่าตัด โดย ไม่ค�ำนึงถึงผลเสียที่จะตามมา ยาชนิดนี้จะช่วยให้เลือดออกน้อยและฤทธิ์ยาอยู่ได้นาน แต่ข้อเสียก็คือยาชา ชนิดนีเ้ มือ่ ใช้กบั อวยวะส่วนปลายทัง้ หลาย เช่นนิว้ มือ นิว้ เท้า หรือ องคชาต ซึง่ มีเลือดมาเลีย้ งทางเดียวและ ค่อนข้างจ�ำกัด ฤทธิ์ของยาตีบหลอดเลือด อาจท�ำให้อวัยวะส่วนนั้นขาดเลือดไปเลี้ยงและท�ำให้ผิวหนังหรือ อวัยวะ ส่วนนั้นกลายเป็นเนื้อตายเกิดขึ้นได้ จากประสบการณ์ของผม จุดที่พบเนื้อตายก็คือบริเวณที่แทง เข็ม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 ซม. ซึ่งอาการเหล่านี้แม้ไม่เกิดทุกราย แต่ในรายการที่โชคร้าย เกิดขึ้นมาจะท�ำให้เกิดความทุกข์ทรมานพอสมควร เพราะนอกจากแผลจะหายช้าแล้ว ต้องล้างแผลทุกวัน รอให้เนื้อใหม่เข้ามาแทนที่ ต้องใช้เวลาและเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ในการแพทย์แล้วโดยเฉพาะแพทย์ทาง ศัลยกรรม ยาชาชนิดนี้เป็นข้อห้ามที่จะมาใช้ผ่าตัดท�ำสุหนัต 3. อื่นๆ เช่น แพ้ยา ปฏิกิริยาภูมิแพ้ การติดยา พบได้น้อยมาก การวางยาสลบ ข้อดี เด็กจะไม่รู้สึกตัวเลย ไม่เจ็บ ขณะท�ำผ่าตัด ข้อเสีย ต้องท�ำในโรงพยาบาลค่าใช้จา่ ยสูง ใช้เวลาเตรียมการมาก โดยต้องงดอาหารอย่างน้อย 6 ชม. ก่อน ท�ำ ต้องใช้แพทย์หรือพยาบาลวิสญ ั ญี แล้วต้องรอในห้องพักฟืน้ และถ้าเด็กมีไข้หรือเป็นหวัดจะท�ำการผ่าตัด ไม่ได้
การใช้ยาชนิดป้าย ข้อดี ใช้ง่ายสะดวก ผลข้างเคียงน้อย ข้อเสีย ออกฤทธิ์ช้า และไม่ทั่วถึง หมดฤทธิ์ไว เท่าที่ประสบการณ์พบมา ถ้าให้ได้ ผลดี ต้องใช้ยาชาเฉพาะ ที่ฉีดช่วยด้วย โดยสรุปแล้ว ในส่วนตัวของผม การใช้ยาเฉพาะที่ ที่ไม่ผสมยาช่วยตีบของหลอดเลือดเป็นวิธีที่ เหมาะสมที่สุดในการท�ำสุหนัต ไม่ว่าจะเป็นการท�ำสุหนัตที่ทำ� แบบคนเดียว หรือสุหนัตหมู่ ได้ผลดีและ ผล ข้างเคียงน้อย ประหยัด ไม่เสียเวลา โดยเฉพาะถ้าท�ำกับเด็กที่พูดคุยรู้เรื่อง มีความอดทน อายุเด็กที่เหมาะ สมกับการ ใช้ยาระงับความรู้สึกนี้ก็คือ รวม 7 – 10 ปี ผู้ปกครองมีส่วนอย่างมากในความส�ำเร็จของแพทย์ ในการท�ำผ่าตัด การเตรียมตัวเด็กการให้ความรูแ้ ก่เด็กก่อนผ่าตัด และการดูแลรักษาแผลหลังผ่าตัด เป็นสิง่ ที่สำ� คัญควบคู่กันไป
106
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การจัดงานเนื่องในการท�ำสุหนัต (ขริบ) การจัดงานหรือท�ำบุญเนือ่ งในการขริบหรือทีเ่ รียกกันโดยทัว่ ไปว่า “งานสุหนัต” นัน้ ถือเป็นประเพณี ทีน่ ยิ มกระท�ำกันโดยทัว่ ไปทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศรวมทัง้ ในกลุม่ อาหรับด้วยจึงเป็นประเด็นทาง ศาสนาขึ้นมาว่า แล้วการท�ำบุญเข้าสุหนัตนั้นศาสนาจะว่าอย่างไร ? ท�ำได้หรือไม่ ? ผิดศาสนาหรือไม่ ? ท�ำ แล้วจะได้บุญหรือไม่ ? ในเรื่องนี้หลังจากการตรวจสอบทัศนะของนักวิชาการแล้ว ประเด็นแรกก็คือ ไม่มีนักวิชาการบอก ว่า เป็นเรือ่ งทีผ่ ดิ ศาสนาเพราะงานประเภทนีเ้ ป็นงานประเพณี บางท่านก็บอกว่า งานนีไ้ ม่เพียงเป็นงานทาง ประเพณีเท่านั้นแต่ยังเป็นงานทางศาสนาด้วย เพราะโดยธรรมชาติแห่งศาสนาอิสลามให้แสดงและบอก กล่าวสังคมเมื่อตนเองได้รับสิ่งที่ดี โดยหลักการในมัซฮับชาฟีอี เห็นว่า การบอกกล่าวผู้คนถึงการท�ำขริบผู้ชายนั้น สมควรจะกระจาย ข่าวให้ทราบโดยทั่ว ส่วนการขริบของผู้หญิงจะบอกให้ทราบหรือไม่ก็ไม่เป็นข้อต้องห้าม จากข้อมูลนี้ นัก วิชาการจึงลงความเห็นว่า การจัดงานเนื่องในวาระการท�ำสุหนัต (ขริบ) นั้นสมควรกระท�ำ เพราะเป็นการ แสดงความขอบคุณผู้ประทานความโปรดปราณมาให้คือการได้บุตร ท่านนิซารซุอัยบีย์ ผู้พิพากษาศาลกลางมักกะห์ เคยตอบค�ำถามเรื่องการจัดงานเข้าสุหนัต ซึ่งมีคำ� ตอบดังนี้ “เท่าที่ปรากฏว่า การจัดงานเนื่องในการขริบ (สุหนัต) นั้น เป็นกิจที่อนุญาตให้กระท�ำได้ เพราะ เป็นงานทางประเพณี และหลักเดิมของประเพณีนนั้ เป็นการอนุญาต (มุบาห์) ซึง่ ทีจ่ ริงแล้วประเพณีของคน ทัว่ ไปก็มกั จะจัดงานต่าง ๆ และเชิญแขกเหรือ่ มาร่วมงาน ในวาระทีไ่ ด้รบั สิง่ อันเป็นมงคล (เนีย๊ ะอุมะห์) และ งานสุหนัตนี้เรียกว่า “อัลอิซาร” การตอบรับการเชิญถือเป็นการสมควรอย่างยิ่ง (มุสตะหั๊บบะห์) เพราะมี หลักฐานมากมายที่บ่งชี้ให้มีการตอบรับการเชิญ (คือไปร่วมงาน) ตราบใดที่ในงานนั้นไม่มีสิ่งที่เป็นการต้อง ห้าม ดังนั้น หากมีสิ่งต้องห้ามก็ไม่ต้องไปร่วมงาน ยกเว้นคนที่มที ีทา่ สามารถจะห้ามปรามหรือเปลี่ยนแปลง ได้” References: การเข้าสุหนัต โดย อาจารย์อิสมาแอล นะมิ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม ปี 38 – 39 การขลิบในศาสนาอิสลาม ปี 2553 โดย อาจารย์ประสาน (ซารีฟ) ศรีเจริญ การขลิบหนังปลายอวัยวะเพศชาย : ความส�ำคัญทางการแพทย์และศาสนาอิสลาม โดย อาจารย์บรรจง บินกาซัน การใช้ยาระงับความรู้สึกในการท�ำสุหนัต (การขริบปลายองคชาต) โดย นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี ขริบ โดย นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี ***นายแพทย์ชาติชาย วงษ์อารี อุปนายกสมาคมแพทย์มุสลิม รองผู้อำ� นวยการโรงพยาบาล ฝ่ายการ แพทย์ โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ (หนองจอก) ประธานมูลนิธิ วงษ์อารี อนุสรณ์ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
107
ขั้นตอนการด�ำเนินการท�ำสุหนัต (ขริบอนามัย) ของสมาคมแพทย์มุสลิม โดย ทีมกิจกรรม
เพื่อให้การด�ำเนินการท�ำขริบอนามัยเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และรวดเร็ว ควรเตรียมการล่วง หน้าก่อนทีมสมาคมแพทย์มุสลิมเดินทางไปถึง ดังนี้ 1. การประสานงาน - มีการประสานงานระหว่างสมาคมแพทย์มุสลิมกับผู้รับผิดชอบโดยตรงในพื้นที่ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่ - รายละเอียดสถานที่ให้บริการ จ�ำนวนผู้เข้ารับบริการ และแผนที่การเดินทาง - หลักฐานผู้เข้ารับบริการ (ส�ำเนาทะเบียนบ้าน หรือส�ำเนาใบสูติบัตร หรือส�ำเนาบัตร ประจ�ำตัวประชาชน) - จัดคิวผู้เข้ารับบริการ 2. การเตรียมสถานที่ (ดูรายละเอียดในภาคผนวก) 3. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการทราบ และให้ความรู้ 3.1 ขั้นตอนการด�ำเนินการท�ำขริบอนามัยของสมาคมแพทย์มุสลิม 3.2 ให้ความรู้ผู้ปกครองและญาติ เรื่องการท�ำสุหนัต (ก่อนท�ำ ขณะท�ำ และการดูแล เมื่อกลับไปอยู่บ้าน) 4. ซักประวัติ (ตามแบบฟอร์มในภาคผนวก) 5. เตรียมความพร้อมผู้เข้ารับบริการ 5.1 ดูแลให้ได้รับประทานยาก่อนท�ำ 5.2 เตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ 6. เข้ารับบริการท�ำสุหนัตโดยแพทย์ 7. รับยา 8. ห้องสังเกตุอาการก่อนกลับบ้าน
108
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
รูปแบบ การให้บริการท�ำสุหนัตหมู่ สมาคมแพทย์มุสลิม ฐานที่ 1. ลงทะเบียน /ซักประวัติ/ตรวจหลักฐาน ประกอบด้วย - โต๊ะลงทะเบียน 1 ตัว - เก้าอี ้ 2 ตัว - แบบฟอร์มซักประวัติ OPD Card - แผ่นพับความรู้การท�ำสุหนัต - แบบประเมินผลการท�ำสุหนัต - บัตรคิว - พัดลมตามความเหมาะสม ผู้รับผิดชอบ 1 ท่าน ฐานที่ 2. เตรียมความพร้อมเด็กก่อนเข้าท�ำสุหนัต/ ให้สุขศึกษา /ประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย - เก้าอี้สำ� หรับเด็กและผู้ปกครองนั่งฟังสุขศึกษา ตามความเหมาะสม - ไมโครโฟน - พัดลม ตามความเหมาะสม ผู้รับผิดชอบ 1 ท่าน ฐานที่ 3. จัดคิวเด็กรอเข้าท�ำสุหนัต ประกอบด้วย - จัดเก้าอี้ส�ำหรับเด็กและผู้ปกครองนั่งรอ ตามคิว (ให้ผู้ปกครองเข้าพร้อมเด็กด้วย) - ส่งเด็กเข้าพบแพทย์ตามความเหมาะสม - พัดลมตามความเหมาะสม - ดูแลให้ได้รับประทานยา Pre – med ผู้รับผิดชอบ 1 ท่าน ฐานที่ 4. เตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับผ่าตัด ประกอบด้วย - โต๊ะวางเครื่องมือผ่าตัดเล็ก ตามความเหมาะสม 1 ตัว - โต๊ะวางอุปกรณ์แพทย์/เตรียมยาชา/น�้ำยาท�ำความสะอาด ตามความเหมาะสม 1 ตัว - พัดลมตามความเหมาะสม - เก้าอี้ 3 ตัว ผู้รับผิดชอบ 3 ท่าน
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
109
ฐานที่ 5. ท�ำสุหนัต ประกอบด้วย - เตียงที่เหมาะสมส�ำหรับเด็กนอน ตามจ�ำนวนแพทย์ - ผ้าคลุมตัวเด็ก - หมอนหนุน - ที่รองขึ้นเตียง - ไฟส่องสว่าง - สะพานไฟ ปลั๊กสามตา เตียงละ 1 จุด - ผ้าปิดตา - พัดลมตามความเหมาะสม - หนังสือนิทานส�ำหรับเด็ก - ถุงด�ำส�ำหรับใส่ขยะตามจ�ำนวนเตียง ผู้รับผิดชอบ 1. แพทย์ 2. พยาบาล ผู้ช่วย 3. ผู้ช่วยรับส่งเด็ก เข้า–ออก ท�ำสุหนัต และ Complete OPD Card 1 คน 4. ผู้ช่วยเก็บเครื่องมือส่งท�ำความสะอาด 1 คน ฐานที่ 6. รับยา ประกอบด้วย - โต๊ะวางยาตามความเหมาะสม 1 ตัว - ตระกร้าเก็บบัตรคิว และ OPD Card พร้อมประเมินความพึงพอใจ ทุกราย - พัดลมตามความเหมาะสม - เก้าอี้ 2 ตัว ผู้รับผิดชอบ 2 ท่าน ฐานที่ 7. ห้องสังเกตอาการ ประกอบด้วย - ที่นอนส�ำหรับเด็กนอนรอสังเกตอาการก่อนกลับบ้าน จ�ำนวนตามความเหมาะสม - หมอนหนุน - พัดลมตามความเหมาะสม - เครื่งดื่มเติมพลังหลังสูญเสียเหงื่อและน�ำ้ ตา (น�้ำเปล่าส�ำหรับกินยา/น�้ำหวาน/โอวัล ติน/นม) ผู้รับผิดชอบ 1 ท่าน
ฐานที่ 8. ท�ำความสะอาดเครื่องมือ (อยู่ในที่ไม่เปิดเผยมากนัก/ใกล้ก๊อกน�้ำ) ประกอบด้วย - โต๊ะวางอุปกรณ์ทำ� ความสะอาด 1 ตัว - เตาแก๊ส 1 ตัว - พัดลมตามความเหมาะสม - เก้าอี้ 2 ตัว - ผ้ายางปูโต๊ะ 1 ผืน ผู้รับผิดชอบ 2 ท่าน 110
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การจัดเตรียมอุปกรณ์และสถานที่ในการท�ำขริบอนามัย ขอให้พนื้ ทีจ่ ดั เตรียมให้พร้อมก่อนทีท่ มี แพทย์จะไปถึงเพือ่ ความสะดวกในการด�ำเนินการและด�ำเนิน การได้ทันที มีดังนี้ :1.โต๊ะลงทะเบียน อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1.โต๊ะกว้าง 60 ซม. ยาว 2 เมตร หรือขนาดใกล้เคียง 2. เก้าอี้ 2 ตัว 3. พัดลม 1 ตัว 2. บริเวณส�ำหรับให้ความรู้ ขอให้จัดสถานที่ส�ำหรับให้ความรู้ และให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ปกครองและเตรียมความพร้อมเด็กก่อน เข้ารับการท�ำขริบอนามัย เพื่อฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง อาจเป็นเก้าอี้นั่ง หรือนั่งกับพื้น 3.อุปกรณ์สำ� หรับห้องผ่าตัด เป็นบริเวณมิดชิดหรือมีฉากกั้น มีไฟส่องสว่าง อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1.โต๊ะกว้าง 60 ซม. ยาว 2 เมตร สูง 1.00 เมตร หรือใกล้เคียง (เป็นเตียงส�ำหรับท�ำขริบอนามัย) พร้อมเก้าอีเ้ ตีย้ ๆ หรือม้านัง่ ส�ำหรับให้เด็กก้าวขึน้ เตียง หากใช้โต๊ะทัว่ ๆไปต้องเตรียมอิฐบล็อกส�ำหรับต่อขา โต๊ะให้สงู ตามทีก่ ำ� หนดข้างละ 2 ก้อน จ�ำนวน 5–6 ชุด 2.โต๊ะยาวส�ำหรับวางเครื่องมือ ขอให้จัดไว้มุมใดมุมหนึ่งของห้องซึ่งไม่ควรอยู่ใกล้ประตูเข้า ออก 1 ตัว 3. สายไฟ พร้อมเต้าเสียบส�ำหรับใช้ในการท�ำขริบอนามัย จ�ำนวน 5–6 ชุด
4. หมอนใบเล็ก ๆ ส�ำหรับเด็กหนุนนอน ขณะท�ำขริบอนามัย จ�ำนวน 5–6 ใบ
5. พัดลมตามความเหมาะสม
6.ให้พื้นที่จัดหาสัปบุรุษของมัสยิดช่วยดูแลเด็กในห้องท�ำขริบอนามัย เตียงละ 1 คน อนุญาตให้ผู้ ปกครองเด็กเข้าไปกับเด็กได้ 1 คน 4.โต๊ะจ่ายยา อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1.โต๊ะ กว้าง 60 ซม. ยาว 2 เมตร 1 ตัว หรือขนาดใกล้เคียง จ�ำนวน 1 ตัว 2. เก้าอี้ 2 ตัว 3. พัดลม 1 ตัว 5. บริเวณส�ำหรับท�ำความสะอาดเครื่องมือ ขอให้เตรียมบริเวณทีอ่ ยูใ่ นทีม่ ดิ ชิด มีกอ๊ กน�ำ้ อยูใ่ กล้บริเวณทีท่ ำ� ขริบอนามัย ส�ำหรับล้างเครือ่ งมือ อุปกรณ์ที่ต้องเตรียม 1.โต๊ะกว้าง 60 ซม. ยาว 2 เมตร หรือขนาดใกล้เคียง จ�ำนวน 1–2 ตัว วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
111
2. เตาปิกนิกหรือเตาแก๊ส พร้อมถังแก๊ส จ�ำนวน 1 ชุด
6.สถานที่นอนพักสังเกตอาการ ขอให้เตรียมบริเวณทีน่ อนพร้อมหมอนส�ำหรับให้เยาวชนนอนพักหลังท�ำขริบอนามัยแล้ว เพือ่ สังเกต อาการ ประมาณ 1 ชั่วโมง ก่อนให้กลับบ้าน ขอให้เป็นห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกให้จัดหาเครื่องดื่ม เย็นๆ เช่น น�ำ้ ดื่ม น�้ำหวาน ไมโล ส�ำหรับให้เด็กดื่มหลังออกจากห้องท�ำขริบอนามัย หลังเสียเหงื่อจะช่วย ให้สดชื่นเร็ว หมายเหตุ ***ถ้ามีผู้ใหญ่ที่ต้องการท�ำการขริบอนามัย ขอให้เตรียมฉากกั้นหรือห้องที่มิดชิด และแนะน�ำให้โกน และ ท�ำความสะอาดด้วยสบู่เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
112
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
113
แจกบัตรคิว/ลงทะเบียน/ แจกบัตรคิว/ลงทะเบียน/ ซักประวัติ/ และให้ สุขศึกษา ซักประวัติและให้สุขศึกษา เปนบริเวณที่ผูปกครองและ เป็นบริ ่ผู้ปกครองและ เด็กเวณที นั่ง รอเข าทําสุหนัต ตาม เด็กนั่งรอเข้าท�ำสุหนัต ตาม ความเหมาะสม ของสถานที่ ความเหมาะสม ของสถานที่ โตะลงทะเบี - โต๊ะ- ลงทะเบี ยน 1ยตันว1 ตัว - เก้า-อีเก ้ 3าตัอีว้ 3 ตัว - ไมโครโฟน - ไมโครโฟน - โต๊ะ- 1โตตัะว1ส�ตัำวหรัสําบหรัการให้ บการให ยา Pre mod ยา -Pre -med ห้ องทําสุ หนัต ห้องท�ำสุหนัต
จุดจุทีด่ ที2่ 2
ควรเป็ควรเป นบริเวณที ชิด ่มมีดิ ชิด นบริ่มเิดวณที อากาศถ่ ายเทดีามียเทดี พัดลม อมี มีอากาศถ มีพหรื ัดลม แอร์ มีแสงส่องสว่าง ของใช้ที่ หรือแอรแสงสวางเพียงพอ จ�ำเป็น มีดังนี้ ของใชที่จําเปน มีดังนี้ 1.โต๊ะหรือเตียงส�ำหรับเด็ก 1.โตะผ้หรื อเตีมยตังสํ นอน หมอน าคลุ วเด็ากหรับเด็ก หมอน ผาคลุมตัวเด็ก ตามจ�นอน ำนวนแพทย์ ตามจํานวนแพทยำนวน 2.สะพานไฟตามจ� เตียง 2.สะพานไฟตามจํานวนเตียง 3.โต๊3.โต ะส�ำะหรั จัดบเครื งมื่อองมือ สําบหรั จัด่อเครื แพทย์แพทย ใช้ในการท� ำสุหนัาตสุ2หตันัวต 2 ตัว ใชในการทํ เก้าอี้ 3 ตัว เกาอี้ 3 ตัว 4. มีเก้าอี้สำ� หรับเด็กนั่งรอ 4. ามีห้เกอางท�อี้สำสุําหรั คิวก่อนเข้ หนับตเด็กนั่งรอ คิวกอนเขาหองทําสุหนัต
จุดจุทีด่ ที1่ 1
ควรเป็ นห้นอหงโล่ งมีองากาศ ควรเป องโล มีอากาศ ถ่ายเทดี มีที่นอนหมอน ให้ ถายเทดี มีทนี่ อนและ เด็กนอนพัก เพื่อดูอาการ 30 เด็กนอนพั นาที ก่หมอน อนกลับใหควรมี น�้ำเปล่กา เพื่อให้ ดูอเาการ30 น�ำ้ หวาน ด็กดื่ม หลันาที งเสีย อนกลั้ำตา บควรมี เหงื่อ กและน� และเพืน้่อํารัเปล บา ประทานยา น้ําหวาน ใหเด็กดื่ม หลังเสียเหงื่อ และน้ําตา และเพือ่ รับประทานยา
ห้ องสั งเกตอาการ ห้องสังเกตอาการ
รับยา
รับยา
จุดที่ 4 จุดที่ 4
จุดจุดทีที่ 3 ่ 3
เป็นเปบรินเบริ วณทางออกของ เวณทางออกของหอง ห้องท�ำทํสุาหสุนัหตนัทีต่เด็ทีก่เด็ต้กอตงเดิ น นผาน องเดิ ผ่านไปห้ องพัอกงพัสังกเกตอาการ ไปห สังเกตอาการ - โต๊ะ 1 ตัว - โตะ 1 ตัว - เก้าอี้ 2 ตัว - เกาอี้ 2 ตัว
แผนผัง การจัดสถานทีส่ ํ าหรับให้ บริการทําสุ หนัต
บริเวณทําความสะอาด บริเวณท�ำความสะอาด อแพทย์ เครืเครื ่องมื่อองมื แพทย์ เปนที่สําหรับทําความ เป็นที่ส�ำหรับท�ำความ สะอาดเครื่องมือแพทย สะอาดเครื่องมือแพทย์ ควรอยู่ ในที ดิ ชิ้ำดใกล้ ใกลหก้อองก ในที่มควรอยู ิดชิดใกล้ ก๊อ่มกน� ท�ำสุหน้นัํา ตใกลหองทําสุหนัต - โต๊- ะโต1 ะตั1ว ตัว - เก้- าเก อี้ า2อีตั้ 2วตัว - เตาและถั งแก๊งซแก1ซชุ1ด ชุด - เตาและถั
จุดทีจุ่ 5ดที่ 5
การจัดเตรียมเครื่องมือท�ำสุหนัต 1. อุปกรณ์ต่างๆ Non - Sterile 2. เครื่องมือ ผ้า อุปกรณ์ Sterile 1. อุปกรณ์ต่างๆ Non – Sterile ประกอบด้วย - โต๊ะวางเครื่องมือ ขนาด 1-2 เมตร จ�ำนวน 2 ตัว - Betadine Solution - Alcohol 70 % - Xylocaine 2 % - Syringe 3 cc - Needle เบอร์ 20 - เข็มฉีดยา เบอร์ 27 - Tray ส�ำหรับวางอุปกรณ์ - เครื่องจี้ห้ามเลือด + สายจี้ - ถุงมือ เบอร์ 6, 61/2, 7, 71/2 - ผ้ายางปูโต๊ะ 2. เครื่องมือ ผ้า อุปกรณ์ Sterile - ส�ำลี Sterile pack ถุงใหญ่ 1-2 ถุง (ส�ำลี Alcohol) - ผ้า gauze ขนาดเล็ก ห่อแยก - Sofra tulle ตัดตามจ�ำนวนเด็กที่เข้ารับบริการ 1 แผ่น แบ่ง 6 – 7 ชิ้น (1 ชิ้น/1 ราย) - Catgut ขนาด 3/0 ติดเข็ม ตามจ�ำนวนเด็กที่เข้ารับบริการ - Tray ใส่เครื่องมือ Pack Sterile เรียบร้อย ดังนี้ Tray Artery clamp เล็ก โค้ง 1 tray Kocher clamp 1 tray Needle Holder 1 tray กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดเนื้อ อย่างละ 1 tray Skin Forceps 1 tray - ผ้า Sterile ห่อแยกส�ำหรับปูโต๊ะ 2-5 ผืน - หัวจี้ Sterile อบแก๊ส - อุปกรณ์สแตนเลส ต่างๆ ห่อรวมนึ่งฆ่าเชื้อ เช่น ชามรูปไต ถ้วยใส่สำ� ลี ตามจ�ำนวนคนไข้ Tray ส�ำลี gauze 114
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
- Set Sterile ส�ำหรับท�ำสุหนัตเด็ก (ใน Set ประกอบด้วย ถุงมือ ผ้า gauze Tray เล็ก) 1 Set เตรียมไว้ให้เท่าจ�ำนวนผู้รับบริการ และให้เตรียมส�ำรองครั้งละ 20 Set
ชุดเครื่องมือผ่าตัดท�ำสุหนัต (เด็ก) 1. Artery clamp โค้งเล็ก 2 2. Clamp 1 3. กรรไกรตัดเนื้อ 1 4. กรรไกรตัดไหม 1 5. Needle Holder 1 6. Skin Forceps 1 7. Gauze 2 8. ส�ำลีชุบ Betadine 1 9. Sofra tulle 1 10. ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 11. ถุงมือ 2 12. Catgut 1
ตัว ตัว อัน อัน ตัว ตัว ชิ้น ก้อน ชิ้น ชิ้น คู่ ห่อ
ชุดเครื่องมือผ่าตัดท�ำสุหนัต (ผู้ใหญ่) 1. Artery clamp โค้งเล็ก 8 2. Clamp 1 3. กรรไกรตัดเนื้อ 1 4. กรรไกรตัดไหม 1 5. Needle Holder 1 6. Skin forceps 1 7. Gauze 10 8. ส�ำลีชุบ Betadine 1 9. Sofra Tulle ใหญ่ 1 10. ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 11. ถุงมือ 2 12. Catgut 2
ตัว ตัว อัน อัน ตัว ตัว ชิ้น ก้อน ชิ้น ชิ้น คู่ ห่อ
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
115
การท�ำความสะอาดเครื่องมือท�ำสุหนัต สถานที่ ควรอยู่ในบริเวณที่อากาศถ่ายเทดี ห่างจากเด็กเพื่อความปลอดภัยจากหม้อต้ม และเตา แก๊ส อุปกรณ์ 1. เตาแก๊สปิ๊กนิก 2. หม้อต้มเครื่องมือ 3. กาละมังสแตนเลสส�ำหรับล้างเครื่องมือ จ�ำนวน 3 ใบ 4. Tray Sterile ส�ำหรับใส่เครื่องมือต้มแล้ว จ�ำนวน 1 ใบ 5. Forceps Sterile จ�ำนวน 1 ชุด 6. Forceps non - Sterile จ�ำนวน 1 ชุด 7. น�้ำยาล้างเครื่องมือ 8. แปรงล้างเครื่องมือ ขั้นตอนการท�ำความสะอาด 1. เตรียมหม้อต้มน�้ำสะอาดต้มน�้ำให้เดือดนาน 30 นาที ก่อนใส่เครื่องมือ 2. ควรแยกเครื่องมือก่อนท�ำการล้าง เช่น แยกของมีคม หัวจี้ไฟฟ้า เพื่อป้องกัน อันตรายและความเสียหาย 3. กาละมังสแตนเลสใส่นำ�้ 3 ใบ - ใบที่ 1 น�้ำสะอาดล้างเครื่องมือเปื้อนก่อนลงใบที่ 2 - ใบที่ 2 น�้ำยาล้างเครื่องมือผสมน�้ำ - ใบที่ 3 น�้ำสะอาดล้างเครื่องมือหลังผ่านการล้างน�ำ้ ยา 4. รอให้หม้อต้มน�้ำเดือดก่อนต้มเครื่องมือทุกครั้ง ใช้เวลาต้มนาน 15 นาที 5. เมื่อต้มเครื่องมือครบเวลา 15 นาทีแล้วใช้ Forceps Sterile คีบเครื่องมือใส่ Tray Sterile น�ำเครื่องมือไปที่โต๊ะเตรียมเครื่องมือท�ำสุหนัตที่จัดเตรียมไว้
116
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
117
Needle Holder กรรไกรตัดไหม Skin - Forcep
Artery clamp โค้ง
กรรไกรตัดเนื้อ
Kocher clamp
Tray ใส่ผ้า gauze ส�ำลี
ชามรูปไตใส่ Sofra tulle Catgut ถ้วยส�ำลี Betadine
Set Sterile Set Sterile Set Sterile Set Sterile Set Sterile Set Sterile
แผนผังการจัดโต๊ะเตรียมเครื่องมือท�ำสุหนัต (คลุมผ้า Sterile 2 ชั้น)
บริเวณที่ Sterile จัดชุด เครื่องมือที่ผ่านการฆ่าเชื้อ
ลําดับที.่ ..................... เลขประจําตัว...................................................... สถานที่ .............................................................
สมาคมแพทย์มุสลิม MUSLIM MEDICAL ASSOCIATION แบบฟอร์มการขริบอนามัย วันที่ ......................................................... ประวัติส่วนตัว ชื่อ - นามสกุล....................................................................................................................................................อายุ....................ปี บ้านเลขที.่ .................หมู่ที่.................ตรอก/ซอย.....................................................ถนน.............................................................. ตําบล/แขวง...................................อําเภอ/เขต....................................จังหวัด........................................ โทร................................ โรคประจําตัว
�
ประวัติการแพ้ยา �
ไม่มี
� มี ระบุ................................................................
ไม่เคย
� เคย ระบุ.............................................................
แบบแสดงความยินยอมทําขริบอนามัย คํารับรองนี้ บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือญาติตอ้ งลงนามแทนเด็กทีเ่ ข้าทําการผ่าตัดทําขริบอนามัย ข้าพเจ้า........................................................................................เป็น � บิดา � มารดา � ผู้ปกครอง � ญาติ ของ เด็กชาย/นาย.................................................................ยินยอมให้ทําการผ่าตัดทําขริบอนามัย ซึ่งแพทย์/เจ้าหน้าที่ ได้อธิบาย ผลกระทบขณะทําและหลังทําการผ่าตัดทําขริบอนามัยให้รับทราบแล้วโดยข้าพเจ้าได้รับทราบคําอธิบายและอ่านข้อความเข้าใจ ตลอดแล้ว จึงลงลายมือชื่อ/พิมพ์ลายนิ้วมือไว้เป็นหลักฐาน ลงนาม.............................................บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง/ญาติ ลงนาม.............................................พยาน/เจ้าหน้าที่ การรักษาที่ได้รับ จํานวนยาชาทีใ่ ช้ � 3 cc � 4 cc � 5 cc � อื่นๆ...................................... วิธีการขริบ � เครื่องจี้ � กรรไกร � ใบมีด � อื่นๆ …................................ จํานวนเข็มที่เย็บ � 6 เข็ม � 8 เข็ม � 10 เข็ม � อื่นๆ …................................ ยาที่ให้ � Pre-med ( Paracetamol + chlorpheniramine อย่างละ 2 ช้อนชา ) � Paracetamol � Amoxy Syrup � Amoxy Capsule � Povidine ทาแผล แพทย์ (Code)...................... พยาบาล (Code)...................... ประเมินความพึงพอใจ ท่านพอใจกับการขริบอนามัยครั้งนี้เพียงใด � มากที่สุด � มาก � ปานกลาง � น้อย � น้อยที่สุด ข้อเสนอแนะ(ถ้ามี)............................................................................................................................................................................ ..........................................................................................................................................................................................................
118
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การปฏิบัติตนหลังเข้ารับการท�ำสุหนัต 1. ให้รับประทานยาแก้ปวดและยาแก้อักเสบทันทีที่ได้รับยา 2.อย่าให้แผลถูกน�้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาปัสสาวะ ถ้าแผลถูกน�ำ้ หรือน�ำ้ ปัสสาวะ ต้องเอาผ้าพัน แผลออกทันที และซับบริเวณแผลด้วยส�ำลีชุบน�้ำต้มสุกอุ่นเบา ๆให้สะอาดและแห้งดี หลังจากนั้นเช็ดตาม ด้วยยาท�ำแผลให้ทั่วแผล แล้วใช้ผ้าพันแผลหรือจะเปิดแผลไว้ก็ได้แต่ต้องระวังอย่าให้สกปรก 3. ถ้าแผลไม่ถูกน�้ำก็ให้เริ่มท�ำแผลได้ หลัง 48 ชั่วโมงไปแล้ว และให้ท�ำแผลทุกวัน วันละ 2-3 ครั้ง แล้วแต่ความสกปรกของแผล ให้ปฏิบัติตัวตามข้อ 3 ไปจนกว่าแผลจะหายประมาณ 1 สัปดาห์
ถาม - ตอบ
หลังท�ำสุหนัตแล้วมีเลือดออกมากจะท�ำอย่างไร ? ตอบ หลังการท�ำสุหนัต อาจมีเลือดซึมออกมาได้บ้างเล็กน้อยจากเส้นเลือดฝอยเล็ก ๆ เลือดเหล่านี้จะ ค่อยๆ แข็งตัวและหยุดเองภายในเวลาไม่เกิน 1 วัน การประคบด้วยความเย็นบริเวณท้องน้อย จะท�ำให้ เลือดหยุดเร็วขึ้น ถ้าเลือดไม่หยุด ให้ไปพบแพทย์ หลังท�ำสุหนัตอวัยวะเพศบวมมากเป็นอันตรายไหม ? ตอบ หลังผ่าตัดอวัยวะเพศบวมใสเกิดจากมียาชาค้างอยู่ ไม่ต้องท�ำอะไรอาการบวมจะหายไปเอง การ ประคบเย็นใน 48 ชั่วโมงแรกจะช่วยไม่ให้อวัยวะเพศบวมมาก แต่ถ้าบวมมาก บวมมีเลือดคั่ง หรือปลาย อวัยวะเพศเย็น อาจมีเลือดออกอยู่ภายใน ให้ไปพบแพทย์เพื่อดูอาการและรักษาต่อไป ไหมที่เย็บไว้ต้องตัดหรือไม่ ? ตอบ ไหมที่เย็บไว้ เป็นไหมละลายจะหลุดไปเอง ภายในเวลา 2 สัปดาห์ โดยไม่ต้องตัดไหม แกะผ้าพันแผลไม่ออกจะท�ำอย่างไร ? ตอบ ถ้าผ้าพันแผลติดแน่นก่อนท�ำแผลให้แช่ก้นด้วยน�ำ้ ต้มสุกที่สะอาดและเย็นแล้ว แล้วค่อยดึงผ้าพัน แผลออก อย่าดึงแรง หรือปล่อยทิ้งไว้จนกว่าผ้าพันแผลจะลุ่ย และหลุดออกมาเอง ในเด็กบางรายหลังท�ำสุหนัตอาจพบว่าบริเวณส่วนปลายของอวัยวะสืบพันธุ์มีลักษณะเหมือนน�ำ้ เหลืองคลุมอยู่เกิดจากปฎิกริยาของร่างกาย บริเวณที่ผ่าตัด และจะค่อยๆ หลุดไปเอง
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
119
แบบประเมินผลการท�ำสุหนัต ขอความร่วมมือผู้ปกครอง ญาติ หรือผู้ดูแลเด็ก ที่มารับการท�ำสุหนัต กรุณาตอบแบบประเมิน ผลการท�ำสุหนัต โดยให้ท่านกาเครื่องหมายถูกในช่อง q และน�ำส่งที่ตู้ไปรษณีย์ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อสมาคมแพทย์มุสลิมจะได้น�ำผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการท�ำสุหนัต ให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ภายหลังการท�ำสุหนัต บุตร/หลาน/เด็กในปกครอง ของท่าน มีอาการเหล่านี้หรือไม่ แผลมีเลือดออก
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
แผลบวมแดง
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
แผลมีหนอง
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
ปัสสาวะไม่ออก
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
แพ้ยารับประทาน
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
แพ้ยาใส่แผล
q ภายใน 24 ชั่วโมงหลังท�ำ q 1 วัน q 2 วันขึ้นไป q ไม่มี
อื่น ๆ โปรดระบุ .................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
120
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ การล้างผักผลไม้ การล้างจะช่วยลดการปนเปือ้ นจากจุลนิ ทรียไ์ ข่พยาธิ และพิษตกค้างของสารเคมีจากปุย๋ และยาฆ่า แมลงในผักผลไม้ออกไปได้มาก (ผักบางชนิด เช่น กะหล�ำ่ ปลี ควรเด็ดออกเป็นใบๆ ก่อน) ให้นำ�้ ก๊อกไหล ผ่านอย่างน้อย 2 นาที หรือใช้สารละลายอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ • น�้ำเกลือ 2 ช้อนโต๊ะพูน ต่อน�้ำ 4 ลิตร • น�้ำส้มสายชูครึ่งถ้วย • น�้ำซาวข้าว (เก็บน�้ำที่ได้จากการหุงข้าวเอาไว้) ใช้ข้าวสาร 2 กิโลกรัม ต่อน�ำ้ 4 ลิตร • น�้ำด่างทับทิม 5 เกล็ดใหญ่ ต่อน�้ำ 4 ลิตร • โซดาท�ำขนม 1 ช้อนโต๊ะ ต่อน�้ำ 4 ลิตร • น�้ำยาล้างผัก ส�ำหรับผลไม้ ควรล้างโดยขัดสีเปลือกผลไม้เบาๆ ด้วยมือหรือใช้ฟองน�ำ้ นาน 2 นาที จะช่วยลดสาร ตกค้างได้ดี
สารพิษตามธรรมชาติในอาหารสดบางชนิด - ลูกเนียงมีสารบางชนิดที่เป็นพิษต่อไต แต่การต้มลูกเนียง 10 นาที จะลดความเป็นพิษได้ถึงร้อย ละ 86 - ผักกูดสด มีสารก่อมะเร็งบางชนิด การต้มผักกูดจะลดความเป็นพิษได้ถึงร้อยละ 40–80 - ผักบางชนิดอาจพบสารที่เป็นพิษได้ ถ้าเป็นการบริโภคสดในปริมาณสูง ได้แก่ มันเทศ เม็ด มะม่ ว งหิ ม พานต์ สะตอ ผั ก หนาม ผั ก เสี้ ย น ยอดมั น เทศ ยอดกระทกรก ยอดเสาวรส ชะอม กระถิน อนึ่งควรกินผักผลไม้สดให้หลากหลายสลับสับเปลี่ยนกันไป หลีกเลี่ยงการกินผัก ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งมากๆ และเป็นเวลานาน เพื่อไม่ให้เสียซึ่งสมดุลของอาหาร และลดโอกาส การรับสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งตกค้างสะสมเพิ่มขึ้น
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
121
อภินันทนาการ จาก
บุญส่ง อพาร์ตเมนท์ 1-2 บริการให้เช่า ห้องพักสะอาด โอ่โถง บริการ อินเตอร์เนต มีห้องแอร์ ห้องพัดลม ในราคา ย่อมเยา ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 02-713-0091-5 บริหารงานโดย คุณปริญญา วงศ์เดอรี
122
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
สมาคมแพทย์มุสลิมโลก โดย นายแพทย์อนั น ตชั ย ไทยประทาน
สมาคมแพทย์มุสลิมโลก Federation of Islamic Medical Associations (FIMA) โดยนายแพทย์อนันตชัย ไทยประทาน สมาคมแพทย์มุสลิมโลก ก่อตั้งเมื่อปี 1981 ที่เมืองออแลนด์โด ประเทศสหรัฐอเมริกาโดยกลุ่ม แพทย์มุสลิมจากทวีปอเมริกาเหนือ โดยมีผู้แทน 10 คนจาก 9 ประเทศ คือ ประเทศอินเดียประเทศ อินโดนีเซีย ประเทศจอร์แดน ประเทศไนจีเรีย ประเทศปากีสถาน ประเทศมาเลเซีย ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศซูดาน ประเทศอังกฤษ วันที่ 10 ม.ค. 1982 สมาคมได้จดทะเบียนที่รัฐอินเดียน่า ประเทศแอฟริกาใต้ และได้ร่างธรรมนูญ ขององค์กร เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร ซึ่งมี นายแพทย์ไซยิด มูบิน อัคตาร เป็นนายกสมาคมคนแรก สมาคมฯ มีการจัดประชุมใหญ่และมีหวั ข้อด้านวิชาการทางการแพทย์อสิ ลามทุกปีเวียนไปในประเทศสมาชิก (ช่วงแรก 2 ปีครั้ง) ครั้งที่ 2 ปี 1983 ครั้งที่ 3 ปี 1985 ครั้งที่ 4 ปี 1987 ครั้งที่ 5 ปี 1988 ครั้งที่ 6 ปี 1989 ครั้งที่ 7 ปี 1990 ครั้งที่ 8 ปี 1991 ครั้งที่ 9 ปี 1992 ครั้งที่ 10 ปี 1993 ครั้งที่ 11 ปี 1994 ครั้งที่ 12 ปี 1995 124
จัดที่เมืองคาร์ทูม ประเทศซูดาน จัดที่เมืองการาจี ประเทศปากีสถาน จัดที่เมืองอัมมาน ประเทศจอร์แดน และในปีนี้เองที่สำ� นักงานใหญ่ได้ถูก ย้ายจากประเทศสหรัฐอเมริกามาอยู่ที่ประเทศจอร์แดน จัดที่เมืองไคโร ประเทศอียิปต์ จัดที่เมืองละฮอร์ ประเทศปากีสถาน จัดที่คาร์ทูม ประเทศซูดาน จัดที่อัมมาน ประเทศจอร์แดน การประชุมครั้งนี้เริ่มมีค�ำฟัตวาทางการแพทย์ เกี่ยวกับเรื่องสมองตาย (Brain Death) เด็กหลอดแก้ว (IVF) การเปลี่ยนถ่าย อวัยวะ (Transplantation) จัดที่เกนท์ติ้งไฮแลนด์ ประเทศ มาเลเซีย ประเทศไทยเริ่มเข้าเป็นผู้สังเกตการณ์ ครั้งแรกในนามสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยมท.) โดยมีคุณศราวุธ ศรีวรรณยศ นายกสมาคมฯสมัยนั้นและนายแพทย์อนันตชัย ไทยประทาน เข้าร่วมประชุม เมืองเดอร์บัน ประเทศแอฟริกาใต้ และได้มีมติย้ายส�ำนักงานใหญ่มาตั้งที ่ ประเทศมาเลเซีย เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ครั้งที่ 13 ปี 1996 เมืองจาร์กาตา ประเทศอินโดนีเซีย ครั้งที่ 14 ปี 1997 เมืองอัมมาน ประเทศจอร์แดน และได้ย้ายส�ำนักงานใหญ่มาที่จอร์แดน ครั้งที่ 15 ปี 1998 เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ครั้งที่ 16 ปี 1999 เมืองเบรุต ประเทศเลบานอน ครั้งที่ 17 ปี 2000 เมืองอิสลามาบัต ประเทศปากีสถาน ครั้งที่ 18 ปี 2001 เมืองชาราเจโว ประเทศบอสเนีย ครั้งที่ 19 ปี 2002 เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ครั้งนี้มีตัวแทนของประเทศไทยเข้าร่วม ประชุม 2 คนในนามสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศ(ยมท.) คือ นายแพทย์ อนันตชัย ไทยประทานและนายแพทย์มะหะหมัดอับดุลนาเซ นิรีย์ เป็นผู้ สังเกตการณ์ โดยมีข้อเสนอจากที่ประชุมให้มีองค์กรจากประเทศไทยที่มี วัตถุประสงค์ด้านแพทย์มาเข้าร่วมอย่างเป็นทางการ ทั้ง 2 ท่านได้กลับมา ปรึกษาหารือ และได้ประสานกับ นายแพทย์สมัย ขาววิจิตร นายกสมาคม แพทย์ในสมัยนั้นให้ส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุมในครั้งถัดไป (สมาคมจันทร์ เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุขได้ก่อตั้งในปีนี้) ครั้งที่ 20 ปี 2003 เมืองโจฮันเนสเบอร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ ครั้งที่ 21 ปี 2004 เมืองอัมมานประเทศจอร์แดน ครั้งนี้สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และ สาธารณสุขส่งตัวแทนมาร่วม 3 คน คือ นายแพทย์อนันตชัย ไทยประทาน นายกสมาคมฯคนแรก ร่วมกับนายแพทย์สุรสิทธิ์ อิสสระชัย และเภสัชกร วิบูลย์ คลายนา และในครั้งนี้ประเทศไทยได้ถูกยกระดับเป็นสมาชิกสมทบ (Associate Member) `ครั้งที่ 22 ปี 2008 เมืองคาร์ทูม ประเทศซูดาน สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข ส่งตัวแทนเข้าร่วม 3 คน คือคุณซุลกิฟลี หะยีเยะ นายกสมาคมฯสมัยนั้น และ นายแพทย์สุรสิทธิ์ อิสสระชัย ครั้งที่ 23 ปี 2009 เมืองเบรุต ประเทศเลบานอน สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข ส่งตัวแทนเข้าร่วม 2 คน คือ นายแพทย์มาหามะ เมาะมุลลาและทันตแพทย์ สัญญา เพ็ญอ�ำมาต ครั้งที่ 24 ปี 2011 เมืองจาร์กาตา ประเทศอินโดนีเซีย สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และ สาธารณสุขส่งตัวแทนเข้าร่วม 10 คน น�ำโดย นายแพทย์โนรมาน มูดอ นายกสมาคมฯคนปัจจุบัน ครั้งที่ 25 ปี 2012 เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และ สาธารณสุขส่งตัวแทนเข้าร่วม 20 คนน�ำโดย นพ.โนรมาน มูดอ นายกสมาคม ครั้งที่ 26 ปี 2013 ปีนี้จัดประชุมที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
125
การพบกันในการประชุมสภาแต่ละครั้งก็จะมีการจัดการด้านธุรการและรายงานการท�ำงานของ ประเทศสมาชิก การประชุมสภาแต่ละครั้งมักจะมีการประชุมทางวิชาการควบคู่กัน (Scientific Meeting) โดยมีการน�ำเสนอวิชาการใหม่ๆหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปีนั้นๆ ท�ำให้ตลอด 32 ปีที่ผ่านมา FIMA ได้มี การพัฒนาขึ้นมาตามล�ำดับ โดยมีสมาชิกประมาณ 22 ประเทศ โดยมีประเทศไทยและอินเดียเป็นประเทศ ล่าสุดที่ได้เป็นสมาชิกเต็มรูปแบบเมื่อ 2 ปี ที่ผ่านมา (หลังเป็นสมาชิกสมทบอยู่ประมาณ 5- 6 ปี) การประชุมทางวิชาการแต่ละครั้งจะมีหัวข้อสับเปลี่ยนกันไปตามมติของสภา อาทิเช่น 2 ปีที่แล้ว ที่ประเทศอินโดนีเซียจัดเรื่อง Aging Medicine หรือ เมื่อปีที่แล้ว (พ.ศ. 2555) มาเลเซียได้เป็นเจ้าภาพใน การจัดประชุมวิชาการโดยหัวข้อในครั้งนี้คือ “Health and the Muslim World ; Meeting the Millennium Development Goals” นอกจากนั้นแล้วยังมี Pre – Congress Work shop ที่น่าสนใจมากมาย หลายเรื่องโดยมีนักวิจัยมุสลิมทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์เข้าร่วมเสนอผลงานวิจัยและอภิปราย อย่างคับคั่ง โดยการประชุมปฏิบัติการนั้นได้แบ่งออกเป็นหลาย workshop ด้วยกัน ได้แก่ บทบาทของ นักศึกษาแพทย์ การพัฒนาแพทย์บัณฑิตโดยการรักษาแบบองค์รวม การฝึกปฏิบัติการเฉพาะทางพิเศษใน โลกมุสลิมส�ำหรับแพทย์ทจี่ บใหม่ อิสลามกับการบ�ำบัดทางจิตวิญญาณโรคจิต การแพทย์ฉกุ เฉินเพือ่ บรรเทา ภัยพิบัติ การปฏิบัติทางการแพทย์อิสลามในด้านการพยาบาลและสหเวชศาสตร์ นอกจากนั้นแล้วยังมีการ ประชุม Pre-congress ของเครือข่ายโรงพยาบาลอิสลาม (Islamic Hospital Consortium) และเครือข่าย วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ (Consortium of Islamic Medical Colleges) อีกด้วย นอกจากนี้ FIMA ยังมีกิจกรรมที่โดดเด่นที่ไปช่วยเวลาเกิดภัยพิบัติในประเทศต่างๆ ตั้งแต่เหตุกา รณ์สึนามิที่ประเทศอินโดนีเซีย ไทย ศรีลังกา แผ่นดินไหวที่ประเทศปากีสถานกับเฮติ น�้ำท่วมใหญ่ที่ ปากีสถาน เป็นต้น นอกจากนี้ FIMA ยังมีชอื่ เสียงในการออกหน่วยแพทย์ภาคสนามเคลือ่ นทีไ่ ปในประเทศยากจนโดย เฉพาะในแอฟริกา เช่นโครงการ FIMA SAVE VISION ปี 2002 ที่ประเทศมาเลเซีย ทีมแพทย์ในภาคใต้จึงได้พูดคุยอย่างจริงจังว่าควรมีองค์กรที่มี วัตถุประสงค์ด้านสาธารณสุขของประเทศไทยเข้าร่วม จึงได้ก่อตั้งสมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และ สาธารณสุขในปี 2003 โดยมี นพ. สมัย ขาววิจิตร นายกสมาคมแพทย์ในสมัยนั้นได้ลงมาร่วมประชุมและ ให้เกียรติเป็นคณะกรรมการชูรอเพือ่ คัดเลือกนายกคนแรกของสมาคมฯ และได้สง่ ตัวแทนสมาคมฯเข้าร่วม ประชุม FIMA ตลอดตั้งแต่ปี 2004 ในฐานะ สมาชิกสมทบ (Associate Member) และได้เป็นสมาชิกเต็ม รูปแบบ(Full Member) เมือ่ ปี 2011 ทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย และได้เข้าร่วมประชุมสภาครัง้ แรก เมือ่ ปี่ 2012 ที่ประเทศมาเลเซียในปีที่ผ่านมา เนื่องจากแต่ละประเทศสามารถส่งองค์กรเป็นสมาชิก FIMA ได้ประเทศ ละ 1 ที่นั่งเท่านั้น ดังนั้นในประเทศใดมีองค์กรด้านการแพทย์หลายองค์กรก็ให้ส่งตัวแทนในนาม Islamic Medical Association (IMA) ของประเทศนัน้ ๆ และใช้ตวั ย่อให้สอดคล้องตามชือ่ ของประเทศ เช่นปากีสถาน 126
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ใช้ชื่อ PIMA (Pakistan Islamic Medical Association ) ประเทศไทยใช้ชื่อ TIMA (Thailand Islamic Medical Association ) ซึ่งในปีนี้การประชุม จะจัดขึ้นที่ประเทศแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่มีการพัฒนา และมีองค์กรการแพทย์ทเี่ ข้มแข็งมาก จึงอยากเชิญเพือ่ นแพทย์ในประเทศไทยเข้าร่วมในการประชุม FIMA ในปี 2013 นี้ ซึ่งเป็นเวทีพบปะประจ�ำปีของพี่น้องแพทย์มุสลิมทั่วโลก อินชาอัลลอฮฺ
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
127
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ พิวรีนในอาหาร ส�ำคัญอย่างไร พิวรีน (Purine) คือสารประกอบชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไปในอาหาร เมื่อผ่านกระบวนการย่อยและ การเผาผลาญอาหารแล้วจะได้เป็นกรดยูริก (Uric acid) โดยปกติร่างกายสามารถขับกรดยูริกออกทาง ปัสสาวะและอุจจาระท�ำให้ยูริกในเลือดมีค่าปกติคือ 3.4-7 มิลลิกรัม/เดซิลิตร แต่ในผู้ป่วยที่มีการท�ำงาน ของไตลดลงจะมีการขับยูรกิ ทางปัสสาวะลดลงหรือมีการสร้างยูรกิ เพิม่ ขึน้ เป็นผลให้มรี ะดับยูรกิ ในเลือดสูง ซึ่งการมีระดับยูริกในเลือดสูงน�ำไปสู่การเกิดโรคเกาต์ ข้ออักเสบ นิ่วในไต รวมถึงเพิ่มความเสื่อมของการ ท�ำงานของไต อย่างไรก็ตามการรับประทานอาหารทีม่ พี วิ รีนต�ำ่ (Purine moderate diet) หรืองดพิวรีน (Purine free diet) และจ�ำกัดอาหารที่มีพิวรีนสูงเป็นแนวทางหนึ่งที่สมารถช่วยลดระดับยูริกในเลือดลงได้ ตัวอย่างอาหารที่มีปริมาณพิวรีนในระดับต่างๆ อาหารที่มีพิวรีนน้อย (0-50 มิลลิกรัม/100 กรัม) สามารถรับประทานได้ ข้าวขาว/ขนมปังขาว ธัญพืชต่างๆ ผักใบ แตงกวา แครอท ผลไม้ต่างๆ ไข่ นมและผลิตภัณฑ์จาก นม ไขมัน/น�้ำมันพืช/เนย เม็ดมะม่วงหิมพานต์ น�ำ้ ตาล/ลูกกวาด วุ้น อาหารที่มีพิวรีนปานกลาง (50-100 มิลลิกรัม/100 กรัม) สามารถรับประทานได้นานๆ ครั้ง ข้าวไม่ชัดสี ข้าวโอ๊ต ถั่วลิสง ถั่วลันเตา ผักโขม ดอกกะหล�่ำ เห็ด สะตอ ชะอม เนื้อวัว เนื้อไก่ ปลากะพงแดง ปลาหมึก/ปู อาหารที่มีพิวรีนสูง (> 150 มิลลิกรัม/100 กรัม ) ควรหลีกเลี่ยง เครื่องในสัตว์ : หัวใจ ตับ ตับอ่อน กึ๋น ปลาไส้ตัน ปลากระตัก ปลาดุก ปลาอินทรีย์ ปลา ทู ปลาแซลมอน หอยขม หอยโข่ง หอยสองฝา กุ้งซีแฮ้ กะปิ ปลาแอนโชวี่ ปลาซาร์ดีน ไข่ปลา น�้ำต้มกระดูก/ซุปก้อน ถั่ว : ถั่วแดง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วด�ำ ยีสต์ ยอดผัก ใจผัก ใบขี้เหล็ก กระถิน หน่อไม้ หน่อไม้ฝรั่ง นอกจากการจ�ำกัดอาหารที่มีพิวรีนสูงแล้ว รับประทานอาหารที่มีไขมันต�่ำร่วมด้วย เพื่อเป็นอีกแนวทาง ที่จะช่วยให้ระดับยูริกในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติได้
128
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
อาการผิดปกติของมือ ที่เกี่ยวกับการท�ำงาน โดย ผศ.นพ.อั จ ฉริ ย สาโรวาท
อาการผิดปกติของมือที่เกี่ยวกับการทำ�งาน ผศ.นพ.อัจฉริย สาโรวาท สาขาวิชาศัลยศาสตร์ตกแต่งฯ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มีอาการผิดปกติของมือที่พบว่าเกี่ยวข้องกับการท�ำงานหลายอย่างที่พบบ่อยมีอยู่ 3 โรค ซึ่งมักจะ เกิดกับคนอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ใช้มือท�ำงานหนักซ�้ำๆ กันเป็นเวลานาน โรคที่พบบ่อยทั้ง 3 โรค นี้คือ นิ้วล๊อค (Trigger finger) อาการปวด ชามือที่เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับ (Carpal Tunnel syndrome) เส้นเอ็นนิ้วหัวแม่มืออักเสบจากการกดรัด (De Quarvain’s disease) 1.นิ้วล๊อค ( Trigger finger ) เป็นโรคที่พบบ่อยอันดับ 1 ในกลุ่มนี้ ซึ่งพบในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะในผู้หญิงที่เป็นแม่ บ้าน, แม่ครัว พนักงานท�ำความสะอาด และในบางอาชีพ เช่น ช่างตัดผม ตัดเสื้อผ้า หมอนวดแผนโบราณ สาเหตุของโรคเกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเส้นเอ็นบริเวณโคนนิ้วมือทางด้านฝ่ามือ (A- pulley) ท�ำให้เกิดผังผืดไปกดรัดเส้นเอ็นทีใ่ ช้ในการงอนิว้ มือ (Flexor tendon) ท�ำให้มอี าการปวดบริเวณโคนนิว้ มือ ทางด้านฝ่ามือบางครัง้ คล�ำได้กอ้ น เหยียดงอนิว้ ล�ำบากบางครัง้ และเหยียดหรืองอนิว้ จะได้ยนิ เสียงคลิก และ ถ้าเป็นมากจะเกิดอาการนิ้วล๊อค คือไม่สามารถเหยียดหรืองอนิ้วได้ การรักษาถ้าเป็นระยะแรก คือเป็นไม่นานมีแค่อาการปวดไม่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวของนิ้ว มือ การรักษาคือให้พักการท�ำงานของมือ 1-2 สัปดาห์ กินยาลดการอักเสบ ลดอาการปวด (NSAID) และ ให้ท�ำกายภาพบ�ำบัดโดยแช่มือในน�ำ้ อุ่น เช้า-เย็น และขยับเบาๆ ท�ำครั้งละ 10-15 นาที อาการก็จะดีขึ้น แต่ถ้ายังไม่หายอาการเป็นมากขึ้น แต่ยังขยับนิ้วมือได้ตามปกติ ก็อาจจะจ�ำเป็นต้องรักษาโดยการฉีดยาส เตียรอยด์ (Steroid ) เข้าบริเวณโคนนิ้วมือ (A- pulley) อาการก็จะดีขึ้น ถ้าเป็นมานานหรืออาการเป็นซ�้ำ หรือมีปัญหาการเคลื่อนไหวของนิ้วมือหรือคล�ำได้ก้อนก็จ�ำเป็นที่จะต้องรักษาโดยการผ่าตัดซึ่งท�ำโดยการ ฉีดยาชาเฉพาะทีแ่ ละผ่าตัดเลาะพังผืดทีร่ ดั เส้นเอ็นออก (รูปที่ 1) หลังผ่าตัดหยุดการใช้มอื ประมาณ 3-7 วัน ตัดไหมหลังผ่าตัด 2 สัปดาห์ หลังจากนัน้ ก็สามารถใช้มอื ได้ตามปกติ เป็นการรักษาทีห่ ายขาดแต่ตอ้ งท�ำโดย แพทย์ทางด้านศัลยกรรมทางมือ เช่น ศัลยแพทย์ตกแต่ง (Plastic Surgeon) ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ (Orthropedic )
130
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
2.อาการปวด ชามือที่เกิดจากเส้นประสาทถูกกดทับ ( Carpal Tunnel Syndrome ) เป็นโรคที่เกี่ยวกับการท�ำงานที่ใช้มือท�ำงานหนักและท�ำซ�ำ้ ๆ กันเป็นเวลานาน พบบ่อยในคนอายุ 40 ปีขนึ้ ไป โดยเฉพาะผูห้ ญิงทีเ่ ป็นแม่บา้ น, แม่ครัว, พนักงานท�ำความสะอาดซึง่ ถ้าใช้เครือ่ งขัดพืน้ ก็มโี อกาส ที่จะเป็นโรคนี้ได้ง่ายยิ่งขึ้นและคนงาน ก่อสร้างถนนที่ใช้เครื่องเจาะถนน สาเหตุของโรคเกิดจากการอักเสบ ของเส้ น เอ็ น บริ เวณข้ อ มื อ ท� ำ ให้ เ กิ ด พังผืดไปกดรัดเส้นประสาทที่รับความ รู้สึกบริเวณนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้และนิ้ว กลาง และกล้ามเนื้อบริเวณฝ่ามือทาง ด้านนิ้วหัวแม่มือ (Thenar Muscle) ท�ำให้เกิดอาการปวด ชาบริเวณนิ้วมือ และฝ่ า มื อ อาการปวดจะคล้ า ยกั บ เหน็บชา ผู้ป่วยจะมีอาการปวดมากใน ตอนกลางคืน บางครัง้ ปวดมากจนนอน ไม่หลับ ส่วนอาการชาและอ่อนแรงมัก รูปที่ 1 จะเป็นมากขึ้นหลังจากใช้มือท�ำงานไป สักระยะหนึ่ง (ขณะท�ำงาน) ในรายที่ เป็นมากจะพบว่ามีกล้ามเนื้อบริเวณ ฝ่ามือด้านหัวแม่มอื (Thenar Muscle) ลีบและท�ำให้การเคลือ่ นไหวของนิว้ หัว แม่มือบกพร่องได้ การรักษา ในระยะแรกถ้ามีอาการ ไม่นาน อาการปวดไม่มาก ชาเป็นบาง ครั้ง รักษาโดยการให้ยาแก้ปวด แก้ อักเสบ (NSAID) พักการใช้มือ 1-2 สัปดาห์ อาจจะใช้ที่ดามข้อมือ (Wrist s u p p o r t ) ร ่ ว ม ด ้ ว ย แ ล ะ ท� ำ กายภาพบ�ำบัด โดยขยับข้อมือ ข้อศอก ข้อไหล่ เบาๆ ครั้งละ 10-15 นาที วันละ 2-3 ครั้ง และแช่มือในน�้ำอุ่นตอนเช้า หลังจากตื่นนอนและขยับ นิ้วข้อมือเบาๆ ประมาณ 15 นาที และให้ยาบ�ำรุงเส้นประสาทพวกวิตามินบี 1, 6, 12 ถ้าอาการเป็นมาก เป็นมานานหรือให้การรักษาเบื้องต้นแล้วไม่ดีขึ้น ก็อาจจะฉีดยาสเตียรอยด์ (Steroid) เข้าในบริเวณข้อมือ วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
131
บริเวณ Carpal Tunnel หรือใช้การผ่าตัดรักษาโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการปวดมากจนนอนไม่หลับ (ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์) หรือมีกล้ามเนื้อบริเวณฝ่ามือทางด้านนิ้วหัวแม่มือลีบ (Thenar Muscle Atrophy) ร่วมด้วย ซึง่ เป็นการผ่าตัดโดยใช้ยาชาเฉพาะทีห่ รือใช้วธิ ฉี ดี ยาชาเข้าเส้นประสาทบริเวณ ต้นแขน (Brachial Plexus Block) หรือบางครั้งใช้วิธีดมยาสลบก็ได้ (รูปที่ 2) หลังผ่าตัดต้องดามข้อมือ 1 สัปดาห์ และตัดไหมหลังผ่าตัด 2 สัปดาห์ อาการปวดจะดีขึ้นเป็นอาการแรก ส่วนอาการชาและอ่อนแรงจะ ค่อยๆ ดีขึ้น ผู้ป่วยควรกินวิตามินบ�ำรุงเส้นประสาท (Vitamin B1, 6, 12) ต่อประมาณ 3-6 เดือน การ ผ่าตัดเป็นการรักษาที่หายขาดแต่ต้องท�ำโดยศัลยแพทย์เฉพาะทางที่เชี่ยวชาญในการผ่าตัดศัลยกรรมทาง มือ (Hand Surgeon) รูปที่ 2
3.เส้นเอ็นหัวแม่มืออักเสบจากการกดรัดบริเวณข้อมือ (De Quarvain’s disease) เป็นโรคทางมือทีพ่ บมากในผูห้ ญิงอายุ 40 ปีขนึ้ ไปทีใ่ ช้มอื ท�ำงานหนักและท�ำซ�ำ้ ๆ กันเป็นเวลานาน เช่น แม่บ้าน แม่ครัว พนักงานท�ำความสะอาด บางครั้งพบในอาชีพช่างตัดผม ช่างตัดเสื้อและทันตแพทย์ หรือศัลยแพทย์ได้ นอกจากนี้ยังพบในผู้ที่ชอบหิ้วของหนักๆ (shopping women) หรือคุณย่า คุณยายที่ 132
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ต้องเลี้ยงหลานเล็กๆ สาเหตุของโรคเกิดจากการอักเสบเรื้อรังของเส้นเอ็นบริเวณข้อมือทางด้านหัวแม่มือ (First Compartment of Extensor Tendon) ท�ำให้เกิดผังผืดไปกดรัดเส้นเอ็น (Extensor Group) ของนิ้วหัวแม่มือ ท�ำให้มอี าการปวดบริเวณข้อมือทางด้านหัวแม่มอื กดทับ เวลาขยับนิว้ หัวแม่มอื โดยเฉพาะถ้างอนิว้ หัวแม่มอื ร่วมกับงอข้อมือมาทางด้านนิ้วก้อยจะมีอาการปวดมากจนบางครั้งถึงกับสะดุ้ง (Frinklestien’s Test) (รูป ที่ 3) รูปที่ 3
การรักษา ถ้าอาการปวดเป็นไม่มาก ไม่มอี าการติดขัดขณะขยับนิว้ หัวแม่มอื ให้พกั การใช้มอื ท�ำงาน 1-2 สัปดาห์ ให้ยาแก้ปวดแก้อักเสบ (NSAID) บางครั้งให้ดามข้อมือและนิ้วหัวแม่มือร่วมด้วย (Thumb Support) ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ปวดมาก ขยับนิ้วหัวแม่มือล�ำบากก็อาจจะต้องรักษาโดยการฉีดยาสเตียรอยด์ หรือการผ่าตัดรักษา (รูปที่ 4) ซึ่งเป็นการผ่าตัดโดยใช้ยาชาเฉพาะที่หลังผ่าตัดพักการใช้มือ 1-2 สัปดาห์ ส่วนใหญ่ไม่ต้องตัดไหมเพราะใช้ไหมละลายเย็บบริเวณผิวหนังชั้นใน การผ่าตัดเป็นการรักษาที่หายขาดแต่ ต้องท�ำโดยศัลยแพทย์ทางมือ เช่น ศัลยแพทย์ตกแต่ง (Plastic Surgeon) หรือศัลยแพทย์กระดูกและข้อ (Orthopedic)
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
133
รูปที่ 4
โรคทางมือที่สัมพันธ์กับการท�ำงานที่พบบ่อยทั้ง 3 โรคนี้สามารถป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ โดยการที่ เราต้องหลีกเลีย่ งการใช้มอื ทีต่ อ้ งเกร็งหรือก�ำมือแรงๆ เป็นเวลานาน โดยการพักมือจากการท�ำงานเป็นช่วงๆ และมีการบริหารนิ้วมือ แขน โดยการขยับเบาๆ ครั้งละ 15-20 นาที วันละ 2-3 ครั้ง ถ้าเริ่มมีอาการก็ควร พักการใช้มือ และท�ำกายภาพบ�ำบัดโดยแช่มือในน�ำ้ อุ่นทุกเช้าและขยับเบาๆ 15-20 นาที และควรปรึกษา แพทย์ทางด้านกายภาพบ�ำบัดร่วมด้วย แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นเป็นมากขึ้นควรไปพบแพทย์เฉพาะทางด้าน ศัลยกรรมทางมือ
134
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
แม่...หนูปวดท้อง โดย นายแพทย์ นิ ติ วุฒิ วงศ์ เสงี่ ย ม
แม่ หนูปวดท้อง นายแพทย์นิติวุฒิ วงศ์เสงี่ยม กุมารศัลยแพทย์ โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า พ่อแม่ผปู้ กครองส่วนใหญ่คงเคยมีประสบการณ์ทลี่ กู ของท่านมีอาการปวดท้อง ถ้ามีอาการไม่มาก ไม่มีอาการต่อเนื่อง ทุเลาลงภายในเวลาไม่นาน ก็อาจเบาใจ แต่ถ้ามีอาการมาก กินยาแล้ว หรือแม้กระทั่ง ไปพบแพทย์แล้วแต่อาการยังไม่ดีขึ้น ท่านคงไม่สบายใจ เป็นกังวลว่าอาจไม่ใช่ปวดท้องธรรมดาแน่แล้ว มีโรคอะไรบ้าง ที่มีอาการปวดท้องเฉียบพลันในเด็ก อาการปวดท้องเฉียบพลันในเด็ก เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการวินิจฉัยโดยเร็ว เพราะถึงแม้ส่วนใหญ่จะ เป็นโรคทีห่ ายได้เอง แต่กม็ สี ว่ นหนึง่ ทีเ่ ป็นโรคทีต่ อ้ งได้รบั การรักษาอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะโรคทางศัลยกรรม ทีต่ อ้ งได้รบั การผ่าตัดรักษา เช่น ไส้ตงิ่ อักเสบ ล�ำไส้กลืนกัน การบาดเจ็บของอวัยวะในช่องท้อง เป็นต้น โดย เฉพาะไส้ติ่งอักเสบ เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดในเด็กที่ต้องได้รับการผ่าตัดกรณีเร่งด่วน ไส้ติ่งอักเสบ คืออะไร ไส้ตงิ่ อักเสบ เกิดจากการติดเชือ้ หรือจากการอุดตันของรูไส้ตงิ่ ท�ำให้ไม่มกี ารระบายสารน�ำ้ ภายใน ไส้ติ่งออกสู่ภายนอก จึงเป็นสาเหตุให้ความดันในรูไส้ติ่งเพิ่มขึ้น ท�ำให้ผนังไส้ติ่งขาดเลือดและทะลุได้
136
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เด็กอายุเท่าไร มีอาการอย่างไร จึงจะสงสัยไส้ติ่งอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบพบได้ทุกช่วงอายุ แต่ในเด็กทารกพบได้น้อยมาก พบได้มากขึ้นจนถึงช่วงวัยรุ่น โดย เฉพาะช่วงอายุ 9-12 ปี ในเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี พบไส้ติ่งแตกทะลุแล้วเมื่อได้รับการวินิจฉัยถึง 80-100% เนื่องจากไม่สามารถบอกอาการได้ชัดเจน และการตรวจร่างกายท�ำได้ยากกว่าเด็กโต การวินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบในเด็ก การถามประวัติโดยละเอียดและการตรวจร่างกายโดยแพทย์ท่ีมี ประสบการณ์ เป็นพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากผูป้ กครองอย่างมาก ผูท้ พี่ าเด็กมาพบ แพทย์ควรเป็นผู้ที่ดูแลใกล้ชิดกับเด็กในช่วงที่เด็กเริ่มมีอาการ อาการมักเริม่ จากปวดทัว่ ๆท้องไม่เฉพาะเจาะจง หรือปวดบริเวณรอบสะดือก่อน ต่อมาอาการปวด ท้องจึงเด่นชัด และปวดต่อเนื่องในระยะเวลาหลายชั่วโมง(มักเกินกว่า 6 ชั่วโมงขึ้นไป) ปวดมากขึ้น บริเวณ ท้องด้านล่างทางขวา ในเด็กเล็กก่อนวัยเรียน อาจบอกได้แค่วา่ ขณะนีป้ วดบริเวณใด หรือไม่สามารถบอกได้เลย บางครัง้ ผู้ปกครองอาจรู้สึกแค่ว่าเด็กไม่สบายตัว เด็กร้องบ่อย หรือมีบางอย่างผิดปกติเกิดขึ้นกับเด็ก และแพทย์จะ สามารถได้ข้อมูลการปวดท้องจากการตรวจร่างกายเท่านั้น อาการไข้ตัวร้อนพบได้บ่อย (ในระยะแรกมักไม่มีไข้ และมักมีอาการปวดท้องน�ำมาก่อนอาการไข้) มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียนได้ หลายคนอาจมีอาการท้องเสีย ท�ำให้วินิจฉัยผิดพลาดได้ ให้ สังเกตว่าท้องเสียในรายไส้ติ่งอักเสบมีลักษณะถ่ายบ่อย แต่ไม่ถึงกับเหลวเป็นน�้ำ ไม่เป็นมูกเลือด และมัก เป็นอยู่ไม่กี่ครั้ง เด็กมักไม่ค่อยเดินหรือเดินตัวงอ ปวดมากขึ้นเมื่อเคลื่อนไหวหรือกระเทือน เมื่อแพทย์สงสัยไส้ติ่งอักเสบ จะท�ำการตรวจอะไรบ้าง การตรวจร่างกายลักษณะที่ส�ำคัญที่สุดคือ กดเจ็บบริเวณท้องน้อยด้านขวา ในรายที่ประวัติหรือ การตรวจร่างกายยังไม่ชดั เจน นอนโรงพยาบาลเพือ่ ดูอาการ และตรวจประเมินต่อเนือ่ งว่าอาการชัดเจนขึน้ หรือทุเลาลง ซึ่งช่วยลดความผิดพลาดในการวินิจฉัยลงได้มาก แพทย์จะท�ำการตรวจเลือด หรือตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆตามความจ�ำเป็น ซึ่งแม้ไม่ใช่การ ตรวจที่จ�ำเพาะ แต่ช่วยให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการวินิจฉัย ในรายที่การวินิจฉัยยังไม่ชัดเจนนัก การ ultrasound หรือ CT scan (เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์) อาจ ช่วยเสริมข้อมูลในการวินจิ ฉัยได้เพิม่ ขึน้ แต่โดยส่วนใหญ่มกั ไม่ตอ้ งท�ำ เพราะข้อมูลทีไ่ ด้อาจไม่ใช่ขอ้ มูลหลัก ในการตัดสิน และข้อจ�ำกัดในการท�ำและอ่านแปลผล
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
137
การรักษาท�ำอย่างไร การรักษามาตรฐานของไส้ตงิ่ อักเสบและไส้ตงิ่ แตกคือการผ่าตัด โดยแพทย์จะเตรียมผูป้ ว่ ยโดยการ งดน�ำ้ งดอาหารประมาณ 6ชัว่ โมงก่อนการผ่าตัด ให้สารน�ำ้ ทางหลอดเลือดด�ำ เพือ่ ทดแทนสารน�ำ้ และเกลือ แร่ที่เสียไป การผ่าตัดโดยทั่วไปท�ำโดยเปิดแผลบริเวณท้องน้อยด้านขวา หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆ จะ พักรักษาในโรงพยาบาลประมาณ 3-5 วัน การวินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบโดยอาศัยข้อมูลจากประวัติ การตรวจร่างกาย และตรวจทางห้องปฏิบัติ การ ยอมรับให้มคี วามผิดพลาดได้ประมาณ 20% (ผ่าตัดไปแล้ว พบว่าไม่ใช่ไส้ตงิ่ อักเสบ) ทัง้ นีเ้ พือ่ หลีกเลีย่ ง ข้อแทรกซ้อนที่จะเพิ่มขึ้นจากความล่าช้าในการวินิจฉัยและรักษา เนื่องจากไส้ติ่งอักเสบเป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องให้การรักษา ประกอบกับอาการในบางช่วงอายุอาจ ไม่ชัดเจน การได้รับการวินิจฉัยและรักษาในเวลาที่เหมาะสม เป็นสิ่งที่สำ� คัญมาก ความใส่ใจในอาการของ เด็กและความร่วมมือของผูป้ กครอง ประสบการณ์และความช�ำนาญของแพทย์ จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญในการดูแล เด็กให้ปลอดภัย หนังสืออ้างอิง ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ เล่ม 46 ภาวะฉุกเฉินในช่องท้องทางกุมารศัลยศาสตร์ ; ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่ง ประเทศไทย ต�ำราผ่าตัดเด็กปวดท้อง ; สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ แนวเวชปฏิบัติ โรคทางเดินอาหารในเด็ก ; ชมรมโรคทางเดินอาหารและโรคตับในเด็ก
138
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
อย่าหลงเชื่อผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอาง อวดอ้างรักษาโรค โดย ดรุณี มิ ต รอารี ย ์
อย่าหลงเชือ่ ผลิตภัณฑ์เครือ่ งสำ�อางอวดอ้างรักษาโรค ดรุณี มิตรอารีย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารและยา ข้อมูลจากศูนย์เฝ้าระวังและรับเรือ่ งร้องเรียนผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ อย. ได้สรุปผลการด�ำเนินการเรือ่ ง ร้องเรียนและการเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สขุ ภาพทางวิทยุและโทรทัศน์ดาวเทียม ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2554–31 กรกฎาคม 2555 ว่ามีเรื่องร้องเรียนจากการโฆษณาทางวิทยุ 45 ครั้ง และโทรทัศน์ดาวเทียม 19 ครั้ง ส่วนการเฝ้าระวังโฆษณาทางวิทยุ พบปัญหาโฆษณาเกินจริงทางวิทยุ 78 ครั้ง และโทรทัศน์ดาวเทียม 219 ครั้ง ซึ่งส่วนใหญ่พบปัญหาการโฆษณาโอ้อวดสรรพคุณผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอ้างรักษาโรค บ�ำรุงสุข ภาพ มาเป็นอันดับ 1 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัญหาการโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงของ ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพยังคงเป็นปัญหาทีส่ ำ� คัญต้องเตือนกันอยูเ่ สมอส�ำหรับผลิตภัณฑ์ทผี่ ดิ ฝาผิดตัว จดแจ้งเป็น ผลิตภัณฑ์อย่างหนึง่ แต่กลับโฆษณาสรรพคุณเป็นผลิตภัณฑ์อกี อย่างหนึง่ ไปซะอย่างนัน้ น�ำไปสูก่ ารร้องเรียน และตรวจสอบการโฆษณาที่ อย. ให้ความส�ำคัญและเฝ้าระวังเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ล่าสุด พบโฆษณา ผลิตภัณฑ์ครีมนวดผิวกาย “ลองกานอยด์” ที่เผยแพร่ทางสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเอกสาร แผ่นพับ ใบปลิว ใบแทรกในกล่อง ฉลากข้างกล่องผลิตภัณฑ์และการโฆษณาทางสื่ออินเทอร์เน็ต รวมทั้งใช้บุคคลในวงการ แพทย์ หรือนักวิจยั บรรยายสรรพคุณว่าผลิตภัณฑ์ “ลองกานอยด์” มีสว่ นผสมจากสารสกัดเม็ดล�ำไยสามารถ ช่วยรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม นิ้วล็อก รูมาตอยด์ และอาการปวดข้อได้
ขอแจ้งให้ทราบว่า การโฆษณาในลักษณะนีเ้ ป็นการโฆษณาอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงและเป็นการกระท�ำทีผ่ ดิ กฎหมาย เพราะผลิตภัณฑ์ “ลองกานอยด์” จดแจ้งไว้เป็นเครื่องส�ำอาง ซึ่งเครื่องส�ำอางเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้เพื่อความ สวยงาม หรือความสะอาดในชีวติ ประจ�ำวันเท่านัน้ ผลิตภัณฑ์ประเภทนีไ้ ม่มสี รรพคุณในการบ�ำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคใดๆ การโฆษณาดังกล่าวเป็นการใช้ขอ้ ความทีโ่ อ้อวด เป็นเท็จเกินจริง ท�ำให้ผบู้ ริโภค เกิดความเข้าใจผิด โดยเมื่อเร็วๆ นี้ เจ้าหน้าที่ อย. ร่วมกับต�ำรวจ ปคบ. ได้เคยตรวจจับผลิตภัณฑ์ลองกา นอยด์ที่อวดอ้างสรรพคุณ ดังกล่าว และยึดของกลาง พร้อมด�ำเนินคดีแล้ว แต่ก็ยังพบการกระท�ำฝ่าฝืน กฎหมายในเรือ่ งโฆษณาอีก ซึง่ อย. จะด�ำเนินคดีปรับอีกเช่นกันโทษฐานโฆษณาขายยาโดยไม่ได้รบั อนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท และหากยังพบฝ่าฝืนโฆษณาซ�ำ้ อีก จะน�ำเข้าคณะกรรมการเพือ่ พิจารณาเพิก ถอนทะเบียนผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางดังกล่าวนี้ต่อไป ฉะนั้น! ผู้บริโภคอย่าได้หลงเชื่อการโฆษณาที่โอ้อวด 140
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เกินจริง เพราะจะเสียโอกาสในการรักษาโรคอย่างถูกต้อง สิ้นเปลืองเงินทองโดยเปล่าประโยชน์ และอาจ เป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ทุกฝ่ายมีส่วนช่วยดังนี้ ผูป้ ระกอบการ อย่าได้โฆษณาผลิตภัณฑ์เครือ่ งส�ำอางโดยอวดอ้างสรรพคุณทางยา เพราะนอกจาก จะมีความผิดฐานโฆษณาเครือ่ งส�ำอางเป็นเท็จเกินจริงแล้ว จะเข้าข่ายเป็นการโฆษณายาโดยไม่ได้รบั อนุญาต มีโทษปรับไม่เกิน 1 แสนบาท และอาจถูกเพิกถอนใบรับแจ้งเครื่องส�ำอางอีกด้วย ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา และสื่อต่าง ๆ ยุติการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพในลักษณะอวดอ้างสรรพคุณเกิน จริง เพราะท่านจะมีความผิดต้องได้รับโทษตามกฎหมาย ขอความร่วมมือนักวิจัย นักวิชาการและสถาบันวิจัยต่างๆ ระมัดระวังในการให้ข้อมูลการวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งมักมีการน�ำไปโฆษณาขยายผลจนเกินจริง ท�ำให้ผู้บริโภคเกิดความเข้าใจ ผิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ที่มา : อย. Report, สุวนีย์ สุขเกษม 4/38/11/55
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
141
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ เมื่อลูกรักมีไข้ตัวร้อน อาการไข้ คือ การทีอ่ ณ ุ หภูมใิ นร่างกายเปลีย่ นแปลงสูงกว่าปกติ ซึง่ มักจะเป็นเหมือนสัญญาณบอก ว่าระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายก�ำลังท�ำงานตามหน้าที่ เพื่อต่อสู้กับเชื้อโรคบางอย่างที่บุกรุกเข้าสู่ร่างกาย อุณหภูมทิ พี่ งุ่ ขึน้ สูงอาจท�ำให้เกิดเป็นลมชักได้ อาการของลมชักในเด็กประกอบด้วยอาการ ตัวแข็ง เกร็ง กระตุก แบบที่ควบคุมไม่ได้ ตัวซีดเขียว และอาจหมดสติได้ อาการจะเป็นประมาณ 1-2 นาที บางคน อาจถึง 10 นาที หากลูกเกิดลมชักจากไข้สูงให้ทำ� การปฐมพยาบาลด้วยการลดไข้แล้วน�ำเด็กไปพบแพทย์ ทันที วิธีการเช็ดตัวลดไข้ 1.เตรียมน�้ำสะอาดธรรมดาและผ้าส�ำหรับเช็ดตัวไว้อย่างน้อย 3 ผืน 2.ห่มผ้าให้เด็ก ถอดเสื้อผ้าออก 3.ใช้ผ้าชุบน�้ำให้ชุ่ม ลูบใบหน้าให้ทั่ว แล้วพักที่ซอกคอ เปลี่ยนผ้าชุบน�ำ้ บ่อยๆ ลูบซ�ำ้ 3-4 ครั้ง 4.ใช้ผ้าชุบน�้ำลูบบริเวณหน้าอก พักไว้สักครู่ แล้วเปลี่ยนผ้าใหม่ 5.ใช้ผ้าชุบน�้ำลูบแขนทีละข้าง โดยลูบจากปลายแขนเข้าหาหัวใจ พักไว้ที่ ข้อพับรักแร้ สักครู่ ท�ำซ�้ำ 2-3 ครั้ง 6.ใช้ผ้าชุบน�้ำลูบขาทีละข้าง โดยลูบจากปลายขาเข้าหาหัวใจ พักไว้ที่ข้อพับใต้เข่าซอกขาหนีบ 7.ใช้ผ้าชุบน�้ำลูบตัวบริเวณด้านหลัง โดยให้ผู้ป่วยตะแคงเริ่มจากต้นคอ เช็ดตัวให้แห้ง สวมเสื้อผ้า ที่ใส่สบายไม่หนามาก การเช็ดตัวลดไข้ ควรท�ำนานประมาณ 10-20 นาที หรือตามความเหมาะ สม ควรเปลี่ยนน�้ำในอ่างบ่อยๆ หลังการเช็ดตัวลดไข้ประมาณ 15 นาทีให้วัดอุณหภูมิซ�้ำ
142
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การดูแลจิตวิญญาณ เมื่อป่วยเป็นมะเร็ง โดย จิราภรณ์ ม่ วงพรวน (รื่ น พิ ทั ก ษ์ )
การดูแลจิตวิญญาณเมื่อป่วยเป็นมะเร็ง จิราภรณ์ ม่วงพรวน (รื่นพิทักษ์) พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
มะเร็ง ใครๆได้ยินค�ำนี้ก็ต้องเกิดอาการขนลุกขนชัน หวาดเสียวในใจลึกๆ ยิ่งได้ยินจากคุณหมอว่า “คนไข้ครับ ผลตรวจชิ้นเนื้อของคุณพบว่าเป็นมะเร็ง” อารมณ์ความรู้สึกที่แสดงออกคงอึ้งไปเลยแน่ๆถ้า ไม่ใช่คุณที่เป็นคนไข้ อาจจะยากที่จะเข้าใจคนไข้ว่ารู้สึกทุกข์ทรมานใจเพียงใด จากการเป็นพยาบาลผู้ให้ค�ำ ปรึกษาปัจจุบันเป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่1A ซึ่งคุณหมอเจ้าของไข้ผู้รักษามะเร็ง (Oncologist) บอก ว่า“เอาอยู่”การรักษาไม่ยุ่งยาก ผ่าตัดเลาะออกทั้งหมดรวมทั้งต่อมน�้ำเหลืองด้วย เหลือไว้เสี่ยงเกินไป อย่า เสียดาย เราคนไข้แสนดีตามใจหมอเลยค่ะด้านการแพทย์แผนปัจจุบนั ยกให้คะ่ แต่ดา้ นจิตใจและจิตวิญญาณ ต้องน�ำค�ำสอนของพระองค์อัลเลาะห์(ซ.บ.) มาเป็นยาสวรรค์บ�ำบัดรักษาเยียวยา แม้ว่าผู้ป่วยจะจบการ ศึกษาพยาบาลเฉพาะทางด้านสุขภาพจิตและจิตเวชจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็พบว่าจิตใจอ่อนแอ ท้อแท้ สิ้นหวังเมื่อทราบว่าตนเองเป็นมะเร็ง พลังสุขภาพจิตประกอบด้วย 3 ด้านคือ ด้านความมั่นคงทางอารมณ์ ด้านก�ำลังใจ และด้านการ จัดการปัญหา บุคคลที่มีพลังจิตดีจะสามารถเผชิญแรงกดดันได้และมีความเชื่อมั่นในตนเองว่าเขาสามารถ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เวลาเผชิญแรงกดดันและมองสิ่งต่างๆที่มากดดันเป็นเชิงบวก ช่วยสร้างก�ำลังใจให้ มากขึ้นในยามที่ยากล�ำบากโดยไม่ยอมแพ้หรือท้อถอยและมีความสามารถในการจัดการปัญหา มีมุมมอง ต่อปัญหาว่าเป็นเรื่องท้าทาย มีวิธีการที่ดีในการแก้ไขปัญหา คุณสมบัติเหล่านี้เป็นสิ่งที่ดีและส�ำคัญของผู้ที่ ป่วยเป็นมะเร็ง นอกจากนีย้ งั ต้องมีความฉลาดทางอารมณ์ทปี่ ระกอบด้วยด้านดี ด้านเก่ง และด้านสุข มีงาน วิจยั ทีศ่ กึ ษาพบว่านักศึกษาพยาบาลทีม่ พี ลังสุขภาพจิตดีจะมีความเครียดน้อยแสดงให้เห็นว่าความแข็งแกร่ง ในชีวิตหรือพลังสุขภาพจิตมีอิทธิพลทางตรงต่อความเครียด (พัชรินทร์ นิบทจันทร์ 2554) คนทีม่ คี วามฉลาดทางอารมณ์ดจี ะสามารถตระหนักรู้ และมีแรงจูงใจในการกระท�ำสิง่ ต่างๆให้บรรลุ เป้าหมายได้อย่างดี มีประสิทธิภาพ มีทกั ษะทางสังคม มีการปรับตัวทีด่ แี ละมีการจัดการกับปัญหาได้เหมาะ สม จึงมีความเครียดน้อยเช่นเดียวกับคนทีม่ พี ลังสุขภาพจิตดี คนเหล่านีจ้ ะผ่านพ้นปัญหาไปได้อย่างมีความ สุข สามารถน�ำเอาประสบการณ์ที่เผชิญปัญหาได้ มายกระดับพลังอึด พลังฮึด พลังสู้ ได้อีกด้วย ท�ำไมยามป่วยต้องมีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ-จิตวิญญาณ มุสลิมที่ดีจะมีศาสนาเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต มีพระองค์อัลเลาะห์(ซบ.) เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว จิตใจ จากหลักการพยาบาลหัวใจส�ำคัญต้องดูแลเป็นองค์รวมครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ การใช้ยามีประสิทธิภาพดีด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์เพียงบางส่วนเท่านั้น จึงจ�ำเป็นอย่าง ยิ่งที่ตอ้ งใช้ศรัทธาทีม่ ีตอ่ พระองค์อัลเลาะห์ (ซบ.) เป็นสิง่ เยียวยารักษาจิตวิญาณให้กา้ วผ่านโรคร้ายที่เผชิญ โดยเริม่ ต้นจากความศรัทธาทีว่ า่ ทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนเกิดมาจากความโปรดปรานของพระองค์อลั เลาะห์ (ซบ.) 144
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เมื่อป่วยก็ท�ำการบ�ำบัดรักษาให้ถูกต้องและดีที่สุด หากแพทย์หมดหนทางเยียวยารักษาพี่น้องมุสลิมทุก ท่านก็พร้อมที่จะกลับไปสู่ความเมตตาของพระองค์ ดังนัน้ ผูม้ จี ติ ใจทีม่ น่ั คงในศาสนาและค�ำสอนของพระองค์กจ็ ะไม่ออ่ นแอและสิน้ หวัง ไม่วา่ จะรักษา หายหรือไม่ มุสลิมทุกท่านก็ต้องมีก�ำหนดเวลาที่ต้องเดินทางกลับไปสู่ความเมตตาของพระองค์ทั้งหมดทั้ง สิ้น ขณะป่วยเรามักได้รับโอกาสนอนพักฟื้นอยู่บนเตียง ได้นอนนิ่งๆ ได้มีเวลาทบทวนและได้มีเวลาอยู่กับ อัลเลาะห์(ซบ.) ได้ขออภัยโทษจากการประพฤติปฏิบัติตนที่ไม่เหมาะสม ผู้ที่มีพลังสุขภาพจิตดีจะมีมุมมอง ว่าช่วงเวลานี้คือมุมบวกจะมีจิตที่มุ่งตรงอยู่กับพระองค์ผู้อภิบาล ผู้ทรงเมตตาต่อบ่าวอย่างหาที่สุดมิได้ ขอ น�ำบทความส่วนหนึ่งจากวารสารสมาคมแพทย์มุสลิม รวบรวมเรียบเรียงโดย นายแพทย์มนัส วงศ์เสงี่ยม ดังนี้ หลักการยึดมั่นในพระเจ้าเป็นพื้นฐานของปรัชญาด้านสุขภาพจิตของอิสลาม ความศรัทธาในพระเจ้า เป็นสิ่งประเสริฐส�ำหรับการมีสุขภาพจิตและวิญญาณที่สมบูรณ์ การยึดมั่นและระลึกในพระเจ้าท�ำให้จิต วิญญาณของเราสงบ ผ่อนคลายและมั่นคง มีโองการจากอัล-กุรอานกล่าวถึงการรักษาภาวะจิตใจไว้ว่า: “บรรดาผูศ้ รัทธา จิตใจของพวกเขาสงบด้วยการร�ำลึกถึงอัลเลาะห์ พึงทราบเถิดด้วยการร�ำลึก ถึงอัลเลาะห์เหล่านั้นท�ำให้จิตใจสงบ” ( อัรเราะอดุ 13:28 ) “โอ้ มนุษย์เอ๋ย! แท้จริงข้อตักเตือน (อัล-กุรอาน) จากพระเจ้าของพวกท่านได้มายังพวกท่าน แล้ว เป็นการบ�ำบัดโรคในหัวใจและจิตวิญญาณของพวกท่านและเป็นการชี้แนวทางและความเมตตา แก่บรรดาผู้ศรัทธา” ( ยูนุส10:57 )
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
145
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ อ้วน (OBESITY) ความอ้วน หรือภาวะอ้วน เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำ� ให้เกิดโรคต่างๆ ตามได้มากมาย เช่น • ผลต่อสุขภาพ มีการศึกษาจนมีหลักฐานแน่ชัดว่า ความอ้วนท�ำให้อัตราการเกิดโรคในระบบต่างๆ มากขึ้น ได้แก่ 1.ความดันโลหิตสูง 2.เบาหวาน หรือในคนไข้ทเี่ ป็นเบาหวานอยูแ่ ล้ว ความอ้วนจะท�ำให้เกิดภาวะดือ้ ต่ออินซูลนิ ฮอร์โมนได้ 3.ภาวะเส้นเลือดแข็งตัว อัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ จะสูงขึ้นทั้งในเพศชาย และเพศหญิงวัยกลางคน ที่มีนำ�้ หนักตัวเพิ่มขึ้น 4.โรคนิ่วในถุงน�้ำดี และการที่มีไขมันแทรกในตับ 5.ระบบทางเดินหายใจ การท�ำงานของปอดจะลดลง บางครั้งถึงกับมีภาวะการหายใจลดลง ท�ำให้ มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในปอด ในคนที่อ้วนมาก ๆ ท�ำให้เหนื่อยง่าย ง่วงนอนอยู่ตลอดเวลา 6.โรคข้อเสื่อม และโรคข้ออักเสบเกาต์ จะมีอุบัติการณ์เพิ่มสูงมากในทั้ง 2 เพศ 7.อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งบางอย่าง จะสูงขึ้น เช่น มะเร็งล�ำไส้ มะเร็งของถุงน�ำ้ ดีและมะเร็งเยื่อบุ มดลูก เป็นต้น • ผลต่อบุคลิกภาพ ความสวยงาม และการยอมรับของสังคม คนที่อ้วนมากๆ จะถูกมองว่ารับประทานเก่ง ไม่สนใจดูแลตัวเอง อาจถูกล้อเลียนได้บ่อย ทั้งหมดที่กล่าวมา พอจะเป็นเหตุผลว่าจะปล่อยให้ตนเอง มีภาวะอ้วนเกิดขึ้นได้อย่างไร • เมื่อไรถึงจะเรียกว่า อ้วนหรือมีภาวะอ้วน ในปัจจุบัน เราใช้ BODY MASS INDEX (BMI) เป็นตัวบอกว่า บุคคลนั้นเกิดภาวะอ้วน จนกระทั้งจะท�ำให้เกิดโรคได้หรือยัง วิธีการค�ำนวณ BMI = น�้ำหนักตัว (เป็นกิโลกรัม) / ส่วนสูงเป็นเมตร2 การรักษาภาวะอ้วน • ควบคุมอาหาร หรือเปลี่ยนลักษณะของอาหารที่รับประทาน ไม่ใช่อดอาหาร ควรรับประทานที่มีเส้นใย มากๆ เช่น ผลไม้ ลดอาหารประเภทแป้ง น�้ำตาล ไขมันปริมาณอาหารที่รับประทาน ก็ควรจะ เหมาะสมกับพลังงานทีใ่ ช้ อย่ารับประทานจุกจิก ถ้าอดไม่ได้ให้เลือกรับประทานผลไม้ทมี่ เี ส้นใยมากๆ เช่น ฝรั่งหรือแอปเปิ้ล • ออกก�ำลังกายให้สม�่ำเสมอ (ถ้าได้เริ่มต้นแล้ว ควรจะท�ำต่อไปเรื่อยๆ อย่างน้อยประมาณ 15 นาที ถึงครึ่ง ชั่วโมง ในแต่ละวัน) • การใช้ยาลดความอ้วน ควรปรึกษาแพทย์ และอยูใ่ นความดูแลของแพทย์ เพราะยาทุกอย่างมีผลข้างเคียงได้ • โรคบางอย่าง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคอ้วนข้อเสื่อมนั้น การลดน�ำ้ หนักตัวลงมา จะท�ำให้ โรคดีขนึ้ หรือง่ายทีจ่ ะควบคุมด้วยยาปริมาณน้อย บางครัง้ จึงจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องใช้ยาลดความอ้วน เพือ่ เป็นการ เริ่มต้นในการลดน�ำ้ หนัก 146
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ฝ่าวิกฤตสุขภาพ ฤๅอดทนผูกขาดต่อ ระบบสุขพาณิชย์ทางการแพทย์ โดย อภิศัก ดิ์ กองนั ก วงษ์
“ฝ่าวิกฤตสุขภาพ ฤ ๅอดทนผูกขาดต่อระบบสุขพาณิชย์ ทางการแพทย์” โดย อภิศักดิ์ กองนักวงษ์ ในเจตคติของระบบสุขภาพ ทุกคนล้วนต้องด�ำรงอยู่ภายใต้สุขภาวะที่ดีนานาทัศนคติที่ได้อธิบาย ถึงกลไกส�ำคัญในการดูแลสุขภาพ ในแนวทางต่างๆซึ่งสามารถเลือกปฎิบัติได้ด้วยภูมิความรู้ ภายในกรอบ ความคิดแห่งพลังทั้ง 5 อันได้แก่ ความศรัทธา ความวิริยะ ความมีสติ ความมีสมาธิ และความถ่องแท้แห่ง ปัญญา ซึ่งถือได้ว่า เป็นพลังแห่งกัลยาณมิตร ของระบบสุขภาพ ความรู้ทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ นั้น เป็นความรู้ประกอบด้วยเหตุผล และเป็นวิทยาศาสตร์ โดยวางรากฐานอยู่บนข้อมูลที่ได้จากการสังเกตุ รักษาคนไข้อย่างเป็น ภววิสัย (Epistemology) ด้วยทฤษฎีองค์ความรู้ (Theory of knowledge) ระบบ การดูแลรักษาสุขภาพในปัจจุบนั แพทย์เป็นผูม้ บี ทบาทพิเศษ ภายใต้ดกี รีแพทยศาสตร์บณ ั ฑิต เนือ่ งจากถูก สะกดด้วยมนต์ขลังทีค่ รอบคลุม วิชาชีพทางการแพทย์ ได้รบั การมอบหมายอ�ำนาจสิทธิขาดให้แก่แพทย์ ใน อันที่จะตัดสินใจว่าสิ่งใดก่อให้เกิดความเจ็บป่วย ใครเป็นผู้ป่วย ใครปรกติดี และควรจัดการอย่างไรดีกับผู้ ป่วย ส่วนแพทย์ภูมิปัญญา หมอยากลางบ้านอื่นๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก เช่น หมอแนวโฮมีโอพาธี หมอรักษา ด้วยการนวดกระดูกสันหลัง และหมอยาสมุนไพร ไทย-จีน ซึ่งมีเทคนิคในการบ�ำบัดรักษาโรค บนพื้นฐาน ของแบบแผนความคิดที่แตกต่างกันไป แต่ให้ผลในการรักษาเหมือนกัน หมอยากลางบ้านเหล่านี้ทั้งหมด ถูกอ�ำนาจทางกฎหมาย กีดกั้นออกมาจากวงการดูแลสุขภาพในอารยประเทศ ภาคภูมิใจในตนเองว่าเป็น ประชาธิปไตย แต่กลับ ไม่จัดระบบทางการแพทย์เพื่อรับใช้สังคม อย่างเสมอภาคด้วยสิทธิเสรีภาพการจัด ระบบทางแพทย์สมัยใหม่มงุ่ ใช้เทคโนโลยีระดับสูงในการตรวจวินจิ ฉัยโรค ซึง่ กลับท�ำให้เสียค่าใช้จา่ ยมากกว่า ปรกติ ท�ำให้ผู้ป่วยตกอยู่ในภาวะเสี่ยงการมองร่างกายผู้ป่วยเป็นคลังขุมทรัพย์ ที่จะสร้างรายได้ให้อย่าง มหาศาลของระบบสุขภาพ การใช้ยาเกินขนาด การรักษาแบบผูกขาด โดยแพทย์เฉพาะทางผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะโรค ซึ่งถือว่าควบคุมเต็มระบบแบบเบ็ดเสร็จในการจัดดูแลผู้ป่วย อันเป็นวิถีแห่งสุขพาณิชย์ทางการ แพทย์ (Medicine for commerce) เราสามารถน�ำอัตลักษณ์ ที่มีอยู่ในวิถีทางการแพทย์แบบอิสลาม ซึ่ง ก�ำหนดเป็นแนวทางแห่งการด�ำเนินชีวติ แห่งมวลมนุษยชาติ เป็นแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) ในการเชื่อมต่อระบบสุขภาพทางการแพทย์ เพื่อเป็นพื้นฐานในการดูแลระบบสุขภาพองค์รวม (Holistic Health)การขับเคลื่อนระบบสุขภาพในงานสาธารณสุข ของการแพทย์แผนไทย อันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะ และเป็นโอกาสของประเทศไทย ทีท่ ำ� ให้สามารถเก็บเกีย่ วผลประโยชน์อย่างเป็นกอบเป็นก�ำ จากประชาคม อาเซียน (AEC) ที่ก�ำลังเกิดขึ้นใน พหุศาสตร์ทางการแพทย์ (Complementary Alternative medicine) ซึ่งเป็นการผสมผสานทางการแพทย์ เป็นตักกศิลาแห่งระบบสุขภาพ เป็นโอกาสของการแพทย์วิถีไทย ซึ่ง เป็น นวัตกรรมแห่งเทคโนโลยีสขุ ภาพโดยการมองแบบรอบด้าน การรวบรวมเรียงล�ำดับ การศึกษาภูมปิ ญ ั ญา ไทย อย่างลึกซึง่ ภายใต้วถิ เี ศรษฐกิจพอเพียง อันเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญเพือ่ ให้เราได้รถู้ งึ วิธปี ฎิบตั ติ อ่ ตนเอง และ 148
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ผู้อื่นอย่างถูกต้อง นั้นหมายถึงเราจะถนอมร่างกายเราให้ทรงสภาพ อวัยวะทุกส่วนท�ำหน้าที่ได้อย่างเหมาะ สม ไม่เสือ่ มสภาพก่อนถึงวัยอันสมควรสัจธรรมอันเป็นทีป่ ระจักษ์ของระบบสุขภาพในวิถแี ห่งอัลอิสลามต่อ วิทยาศาสตร์การแพทย์ อันเป็นประการส�ำคัญได้แก่ วัจนะ ของท่านศาสดา นบีมุหัมมัด(ศ็อลฯ) ได้กล่าวว่า “ผู้ (อัลลอฮฺ) ซึง่ ได้สง่ เชือ้ โรคมา ก็ได้สง่ วิธบี ำ� บัดรักษาด้วย และอัลลอฮฺมไิ ด้สง่ โรคใดๆ มา นอกจากพระองค์ ได้ส่งวิธีการรักษาด้วย นี่คือข้อเท็จจริงที่ปรากฎอย่างชัดแจ้งว่า ทุกโรคที่มีอยู่ในโลกนี้ ย่อมมียารักษาเสมอ ไม่วา่ จะเป็นโรคเก่า หรือโรคใหม่ หรือโรคยังไม่ได้ปรากฎขึน้ บนโลกนีแ้ ท้จริงทุกโรคมียารักษาอยูแ่ ล้วภายใน สัดส่วนร่างกายของเรา กว้างศอก ยาววา หนาคืบ มีข้อกระดูก ที่เรียงร้อยกันกว่า 206 ท่อน มีเส้นเอ็น ที่ ฉวัดเฉวียนเกี่ยวก้อยร้อยกัน มากกว่า 72,000 เส้น มีความซับซ้อนในกลไก โดยพระประสงค์ของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทีไ่ ม่สบั สนประสานเรียบร้อยสอดคล้องกัน เป็นระบบของร่างกาย (Body system) อันประกอบด้วย ระบบพื้นฐานต่างๆ ได้แก่ ระบบกระดูกข้อต่อ ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท ระบบการไหลเวียนโลหิต และน�้ำเหลือง ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบสืบพันธุ์ ซึ่งถือ ได้ว่า เป็นห่วงโซ่ส�ำคัญของกลไกในการด�ำรงชีวิต อยู่อย่างปรกติสุข ความสมดุลย์ ในระบบสุขภาพ ความ สมบูรณ์ ของร่างกายและจิตใจ จะเชือ่ มโยงซึง่ กันและกันของอวัยวะต่างๆ ของระบบร่างกาย อย่างแบ่งแยก ไม่ได้ ทั้ง 5 มิติ อันได้แก่ สุขภาพทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นหลัก พื้นฐานของระบบสุขภาพองค์รวมสู่สุขภาวะ (Holistic Health for Healthy)
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
149
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ ข้อแนะน�ำในการปฏิบัติตนเพื่อลดไขมันในเลือด การหลีกเลี่ยงอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูงเป็นกุญแจในการลดไขมัน ดังนั้นท่านจึงควรทราบว่าใน อาหารแต่ละชนิดมีปริมาณไขมันโคเลสเตอรอลเท่าไรด้วย 1. ลดน�ำ้ หนักตัวถ้าอ้วนหรือมีนำ�้ หนักเกิน โดยลดปริมาณอาหารและออกก�ำลังกาย อาหารที่มีไข มันสูงที่ท่านควรหลีกเลี่ยง เช่น ไข่แดง ไข่นกกระทา เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ที่ติดมันทุกชนิด สมอง สัตว์ อาหารทะเล เช่น หอยนางรม ปลาหมึก 2. เครื่องดื่มจ�ำพวก ขนมหวาน แป้ง และข้าวต่างๆ จะสะสมเกิดเป็นไขมันไตรกลีเซอไรด์ได้ 3. ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน�้ำมัน อาหารทอดเจียว น�ำ้ มันพืชที่สกัดจาก เมล็ดพืชจะมีกรด ไลโนเลอิกที่เป็นตัวน�ำโคเลสเตอรอลไปเผาพลาญสูงกว่าน�้ำมันที่สกัดจากสัตว์ 4. ควรเพิ่มอาหารพวกผักใบต่างๆ และผลไม้บางชนิดที่ให้ใยและกาก เช่น คะน้า ผักกาด ฝรั่ง ส้ม เม็ดแมงลักฯลฯ เพื่อให้ร่างกายได้รับกากใยอาหารมากขึ้น กากใยเหล่านี้จะช่วยให้การดูดซึม ไขมันสู่ร่างกายน้อยลง 5. พยายามเปลี่ยนแปลงวิธีปรุงอาหารเป็นการนึ่ง ต้ม ย่าง อบ แทนการทอดหรือผัด 6. นมเป็นอาหารที่มีคุณค่าสูง หากจะดื่มควรใช้นมพร่องมันเนยแทนนมสด เมื่อเราไม่สามารถงด การรับไขมันจากอาหาร หรือหยุดการสร้างของร่างกายได้ ก็ยังมีวิธีการช่วยเผาพลาญไขมันได้ คือ การออกก�ำลังกาย
การออกก�ำลังกาย เพื่อให้มีผลต่อการเผาผลาญพลังงานและลดปริมาณไขมันในเส้นเลือดนั้น ต้องเป็นการออกก�ำลัง ที่สม�ำ่ เสมอ มีการต่อเนื่องครั้งละ 20-30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง ส�ำหรับการออกก�ำลังที่ดีที่สุด เพือ่ เพิม่ สมรรถภาพของปอดและหัวใจ คือการเดินเร็ว จ๊อกกิง้ การขีจ่ กั รยานแต่ถา้ หากคุณมีอาการของโรค หัวใจอยู่แล้ว หรือมีอายุมากกว่า 40 ปี ขอแนะน�ำให้ปรึกษาแพทย์ก่อนว่าควรออกก�ำลังกายชนิดใดและ มากน้อยเพียงไรจึงจะเหมาะสมส�ำหรับท่าน เพื่อให้แน่ใจว่าจะได้รับประโยชน์อย่างเดียวโดยไม่มีอันตราย ต่อสุขภาพ
150
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
มาตรฐานหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ สมาคมแพทย์มุสลิม โดย นพ.อนุ สรณ์ ตานี พั น ธ์
มาตรฐานหน่วยแพทย์เคลือ่ นที่ สมาคมแพทย์มสุ ลิม โดย นพ.อนุสรณ์ ตานีพนั ธ์
1.การบริการในหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ประกอบด้วย 3 กิจกรรมดังนี้ 1.1 การตรวจรักษาโดยแพทย์ปริญญา หรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ จ่ายยาและเวชภัณฑ์ที่มี คุณภาพและปลอดภัย 1.2 กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคโดยใช้สอื่ ประกอบ เนือ้ หาสาระให้เป็นไปตาม ความต้องการหรือระบาดวิทยา โดยเน้นการเสริมพลังผู้ป่วย ญาติ และชุมชน 1.3 ให้คำ� ปรึกษาปัญหาสุขภาพโดยผูเ้ ชีย่ วชาญสาขาต่างๆ เช่นปัญหาการดูแลผูป้ ว่ ยเรือ้ รัง เป็นต้น 2. ให้มีผู้ประสานงานระหว่างสมาคมแพทย์และพื้นที่ให้บริการ โดยใช้โทรศัพท์มือถือร่วมกับการสื่อสาร อื่นตามความจ�ำเป็น และมีหน้าที่ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มารับบริการทราบ 3. สถานที่ให้บริการต้องเป็นที่สะอาด เป็นสัดส่วน ปราศจากเสียงรบกวน มีแสงสว่างเพียงพอ อาจเป็น ห้องปรับอากาศหรือติดพัดลม ประกอบด้วย ส่วนลงทะเบียนและประเมินผูป้ ว่ ยก่อนตรวจ ส่วนตรวจรักษา โดยแพทย์ ส่วนจ่ายยา โต๊ะให้คำ� ปรึกษาส่วนรอตรวจและรอรับยา ส่วนกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรค 4. เครื่องมือตรวจรักษา ประกอบด้วย เครื่องวัดความดัน หูฟัง ไม้กดลิ้น เครื่องวัดไข้ ไม้เคาะเข่า 5. การบันทึกประวัติผู้ป่วย การประเมิน การวินิจฉัยและการสั่งยาใช้กระดาษแผ่นเดียว (Formatted prescription) 6. ยาที่จ่ายให้ผู้ป่วยต้องมีคุณภาพ ไม่เสื่อมสภาพ ไม่หมดอายุ ไม่จ่ายยาที่ผู้ป่วยแพ้ และไม่เกิด Dispensing error โดยต้องมี Double check การจัดเก็บยาต้องเก็บในสถานที่เหมาะสมเพื่อคงสภาพและคุณภาพ ของยา การป้องกันการคลาดเคลือ่ นทางยา การใช้ยาอย่างคุม้ ค่าไม่สญ ู เสียจากยาหมดอายุโดยใช้หลัก First in First out 7.บุคลากร ประกอบด้วย แพทย์ 1-2 คน 152
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
เภสัชกร 1 คน พยาบาล 2 คน บุคลากรอื่นๆ 4 คน หรืออาจเพิ่มตามขนาดการให้บริการ บุคลากรให้แต่งกายตามแบบฟอร์มของสมาคมและติดป้ายชื่อตลอด เวลาขณะปฏิบัติงาน 8.ในการออกหน่วยแพทย์ต้องมี Emergency set พร้อมใช้อยู่เสมอ 9.มีป้ายประชาสัมพันธ์สมาคม ป้ายแจ้งจุดบริการ 10.มีการบันทึกภาพเพือ่ ประกอบการท�ำรายงานกิจกรรม ภาพถ่ายให้ครอบคลุมผูม้ ารับบริการ ผูใ้ ห้บริการ ทราบ วัน และสถานที่ให้บริการรวมทั้งให้เห็นป้ายประชาสัมพันธ์ของสมาคมด้วย แล้วน�ำลงไว้ใน คอมพิวเตอร์
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
153
เกร็ดความรู้เพื่อสุขภาพ โรคเกาต์ โรคเกาต์ เป็นความผิดปกติของร่างกาย โดยมีระดับกรดยูรคิ ในเลือดสูงกว่าปกติ และมีการตกผลึก ของผลึกยูเรทตามเนื้อเยื่อใกล้ๆข้อ และข้อเกิดการอักเสบเป็นครั้งคราว กรดยูริคในระดับสูงนี้ถูกขับออก ทางปัสสาวะอาจท�ำให้เป็นโรคนิ่วหรือท�ำให้ไตอักเสบได้ ประมาณ 95% โรคนี้เป็นในเพศชาย ถ้าเป็นหญิง มักเกิดภายหลังหมดประจ�ำเดือน อาการ เริม่ แรกมีอาการปวดทีข่ อ้ อย่างรุนแรง และมักเกิดกะทันหันมักเป็นตอนรุง่ เช้า มีอาการบวม แดงและร้อนบริเวณข้อ อาการปวดจะเป็นอยูเ่ พียง 2-3 ชัว่ โมงจนถึงหลายวัน หรือเป็นสัปดาห์กไ็ ด้คนทีเ่ ป็น โรคเกาต์นานๆ จะเกิดการพอกพูนของผลึกยูเรทที่เรียกโทพัสอยู่ตามข้อลักษณะเป็นตะปุ่มตะป�่ำ ข้อควรปฏิบัติ 1. รับประทานอาหารตามปกติที่ให้คุณค่าเพียงพอ 2. พักผ่อนให้เพียงพออย่าให้ร่างกายได้รับความเย็นมากเกินไป 3. สวมรองเท้าขนาดเหมาะกับเท้า 4. ควบคุมน�ำ้ หนักของร่างกาย และดื่มน�้ำมากๆ อย่างน้อยวันละ 8 แก้ว 5. ใช้ยาตามแพทย์สั่งเท่านั้น 6. ถ้าได้รบั การผ่าตัด ต้องบอกให้แพทย์ทราบว่าเป็นโรคเกาต์ เพราะอาจกระตุน้ ให้เกิดอาการโรคเกาต์แบบเฉียบพลันได้ อาหารกับโรคเกาต์ 1. อาหารที่ควรงด (มีพิวรีนสูง) - เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ ตับอ่อน ไส้ ม้าม หัวใจ สมอง ลิ้น กะปิ - น�้ำแกรวี่ ปลาดุก ไก่ กุ้ง ปลาซาดีน ปลาซาดีนกระป๋อง - ถั่วแดง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วด�ำ ชะอม กระถิน 2. อาหารที่ควรลด (มีพิวรีนปานกลาง) - ปลาทุกชนิดและอาหารทะเล (เหลือวันละมื้อ) - ถั่วบางชนิด เช่น ถั่วลิสง ถั่วลันเตา ข้าวโอ๊ต - ผักบางชนิด เช่น หน่อไม้ หน่อไม้ฝรั่ง ดอกกระหล�่ำ ผักขม เห็ด
154
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ข้อบังคับสมาคมแพทย์มุสลิม
ข้อบังคับสมาคมแพทย์มุสลิม หมวดที่ 1 ชื่อและเครื่องหมาย ข้อ 1 สมาคมนีม้ ชี อื่ ว่า สมาคมแพทย์มสุ ลิม ใช้ตวั อักษรย่อ ส.พ.ม. ใช้ชอื่ ภาษาอังกฤษว่า Muslim Medical Association ชื่อย่อภาษาอังกฤษว่า M.M.A. ข้อ 2 เครือ่ งหมายของสมาคม เป็นรูปวงกลมมีงพู นั คบเพลิงและดาวเดือนอยูภ่ ายในวงกลม มีชอื่ ของสมาคม เป็นภาษาไทยว่า สมาคมแพทย์มุสลิมอยู่ด้านบนของวงกลม และมีอักษรเป็นภาษาอังกฤษว่า Muslim Medical Association อยู่ด้านล่างของวงกลม ดังรูป ตังอย่างข้างล่างนี้
หมวดที่ 2 วัตถุประสงค์ ข้อ 3 สมาคมมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 3.1 ให้บริการทางการแพทย์แก่ประชาชน 3.2 เผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยแก่ประชาชน 3.3 ส่งเสริมความรู้ทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม 3.4 ส่งเสริมความรู้ทางการแพทย์และสาธารณสุขแก่สมาชิกและผู้ประกอบวิชาชีพอื่นๆ 3.5 ส่งเสริมความสามัคคีและจริยธรรมอิสลาม ระหว่างสมาชิกและผู้ประกอบวิชาชีพ ทางการแพทย์และสาธารณสุข 3.6 ช่วยเหลือสมาชิกให้ได้รับความเป็นธรรมในการประกอบอาชีพ 3.7 กิจการของสมาคมไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง 3.8 ไม่มีการจัดตั้งโต๊ะบิลเลียด
156
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
หมวดที่ 3 ที่ตั้งส�ำนักงาน ข้อ 4 ส�ำนักงานชั่วคราวของสมาคมตั้งอยู่ ณ เลขที่ 51 หมู่ 1 ซอยสุวรรณมณี ถนนประชาอุทิศ แขวง ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
หมวดที่ 4 สมาชิก ข้อ 5 ประเภทของสมาชิกและการสมัครเข้าเป็นสมาชิก สมาชิกแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 5.1 สมาชิกสามัญ 5.2 สมาชิกวิสามัญ 5.3 สมาชิกกิตติมศักดิ์ ข้อ 6 สมาชิกสามัญ ได้แก่ มุสลิมผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับการแพทย์และสาธารณสุข ข้อ 7 สมาชิกวิสามัญ ได้แก่ มุสลิมผู้ประกอบวิชาชีพอื่น ที่กรรมการเห็นสมควรรับเข้าเป็นสมาชิก ข้อ 8 สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ บุคคลผูท้ รงเกียรติหรือทรงวุฒิ หรือมีอปุ การะคุณแก่สมาคมซึง่ คณะกรรมการ เห็นสมควรเชิญให้เป็นสมาชิกเพื่อเป็นเกียรติแก่สมาคม ข้อ 9 สมาชิกต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 9.1 เป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว 9.2 เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย 9.3 ไม่เป็นโรคที่สังคมรังเกียจ 9.4 ไม่ต้องค�ำพิพากษาของศาลถึงที่สุดให้เป็นบุคคลล้มละลายหรือไร้ความสามารถหรือ เสมือนไร้ความสามารถ หรือต้องโทษจ�ำคุก ยกเว้นความผิดฐานประมาท หรือลหุโทษ “การต้องค�ำพิพากษาของศาลถึงที่สุดในกรณีดังกล่าว จะต้องเป็นในขณะที่สมัครเข้าเป็น สมาชิก หรือในระหว่างที่เป็นสมาชิกของสมาคมเท่านั้น” ข้อ 10 ค่าลงทะเบียนและค่าบ�ำรุงสมาคม 10.1 สมาชิกสามัญและสมาชิกวิสามัญ จะต้องเสียค่าลงทะเบียนครั้งแรกคนละ 10 บาท ค่า บ�ำรุงสมาชิกเป็นรายปีๆ ละ 50 บาท ค่าบ�ำรุงสมาคมตลอดชีพ ช�ำระครั้งเดียว 500 บาท 10.2 สมาชิกทั้งสามัญและวิสามัญ ถ้าได้ชำ� ระค่าบ�ำรุงสมาคมโดยสม�่ำเสมอติดต่อกันครบ 10 ปี ให้ถือว่าเป็นสมาชิกตลอดชีพ 10.3 สมาชิกกิตติมศักดิ์ ไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนและค่าบ�ำรุงสมาคมแต่อย่างใดทั้งสิ้น วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
157
ข้อ 11 การสมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคม ให้ผู้ประสงค์จะสมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคม ยื่นใบสมัคร ตามแบบของสมาคมต่อเลขาธิการ โดยมีสมาชิกสามัญรับรองอย่างน้อย 1 คน และให้เลขาธิการติดประกาศ รายชื่อผู้สมัครไว้ ณ ส�ำนักงานของสมาคมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน เพื่อให้สมาชิกอื่นๆ ของสมาคมจะ ได้คัดค้านการสมัครนั้น เมื่อครบก�ำหนดประกาศแล้ว ก็ให้เลขาธิการน�ำใบสมัครและหนังสือคัดค้านของ สมาชิกถ้ามี เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติว่าจะรับหรือไม่รับ เข้าเป็นสมาชิกของ สมาคม และเมือ่ คณะกรรมการพิจารณาการสมัครแล้วผลเป็นประการใด ให้เลขาธิการเป็นผูแ้ จ้งให้ผสู้ มัคร ทราบโดยเร็ว ข้อ 12 ถ้าคณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ ให้รบั ผูส้ มัครเข้าเป็นสมาชิก ก็ให้ผสู้ มัครนัน้ ช�ำระเงินค่าลงทะเบียน และค่าบ�ำรุงสมาคม ให้เสร็จสิน้ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งจากเลขาธิการและสมาชิกเป็นทีเ่ รียบร้อย แต่ถ้าผู้สมัครไม่ช�ำระเงินค่าลงทะเบียน และค่าบ�ำรุงภายในก�ำหนด ก็ให้ถือว่าการสมัครคราวนั้นเป็นอัน ยกเลิก ข้อ 13 สมาชิกภาพของสมาชิกกิตติมศักดิ์ ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่ออกหนังสือตอบรับค�ำเชิญของผู้ที่คณะ กรรมการได้พิจารณา ลงมติให้เชิญเข้าเป็นสมาชิกของสมาคม ได้มาถึงยังสมาคม ข้อ 14 สมาชิกภาพของสมาชิก ให้สิ้นสุดลง ด้วยเหตุดังต่อไปนี้ 14.1 ตาย 14.2 ลาออก โดยยื่นหนังสือเป็นลายลักษณ์อักษรต่อคณะกรรมการ และคณะกรรมการได้ พิจารณาอนุมัติ และสมาชิกผู้นั้นได้ชำ� ระหนี้สินที่ยังติดค้างอยู่กับสมาคมเป็นที่เรียบร้อย 14.3 ขาดคุณสมบัติสมาชิก 14.4 ที่ประชุมใหญ่ของสมาคม หรือคณะกรรมการได้พิจารณาลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ลบชื่อ ออกจากทะเบียน เพราะสมาชิกผู้นั้นได้ประพฤตินำ� ความเสื่อมเสียมาสู่สมาคม 14.5 ไม่ชำ� ระค่าบ�ำรุงตามที่ก�ำหนดไว้ ในระเบียบว่าด้วยการช�ำระค่าบ�ำรุงและเหรัญญิกได้ เตือนเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว 2 ครั้ง การเตือนครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ให้มีระยะ ห่างไม่เกิน 6 เดือน ถ้าสมาชิกผู้นั้นยังไม่น�ำเงินค่าบ�ำรุงที่ต้องช�ำระ หรือเพิกเฉย ละเลยเสีย โดยไม่ชี้แจงเหตุผลให้เป็นที่พอใจของคณะกรรมการ คณะกรรมการมี อ� ำ นาจคั ด ชื่ อ ผู ้ นั้ น ออกจากสมาชิ ก ภาพ และให้ เ ลขาธิ ก ารแจ้ ง ให้ ท ราบเป็ น ลาย ลักษณ์อักษร ผู้ถูกคัดชื่อออกจากสมาชิกด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ ย่อมมีสิทธิขอสมัคร เข้าเป็นสมาชิกได้อีก ในเมื่อได้ช�ำระค่าบ�ำรุงและหนี้สินค้างอยู่ให้เสร็จสิ้นแล้ว
158
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
หมวดที่ 5 สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก ข้อ 15 สมาชิกมีสิทธิและหน้าที่ดังนี้ คือ 15.1 ได้รับบัตรประจ�ำตัวสมาชิก และมีสิทธิประดับเครื่องหมายของสมาคม 15.2 มีสิทธิใช้สถานที่ของสมาคม โดยเท่าเทียมกัน 15.3 มีสิทธิเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�ำเนินกิจการของสมาคมต่อคณะกรรมการ 15.4 มีสิทธิได้รับสวัสดิการต่างๆ ที่สมาคมได้จัดให้มีขึ้น 15.5 มีสิทธิข้าร่วมประชุมใหญ่ประจ�ำปีของสมาคม 15.6 สมาชิ ก สามั ญ มี สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กตั้ ง หรื อ ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง หรื อ ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการสมาคม และมีสิทธิออกเสียงลงมติต่างๆ ในที่ประชุมได้คนละ 1 คะแนนเสียง 15.7 ให้สมาชิกวิสามัญมีสิทธิเลือกตั้งกรรมการของสมาคมได้ 15.8 มีสิทธิร้องขอต่อคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบเอกสารและบัญชีทรัพย์ของสมาคม 15.9 สมาชิกสามัญ มีสิทธิเข้าชื่อร่วมกันอย่างน้อย 1 ใน 3 ของสมาชิกสามัญทั้งหมด ร้องขอต่อคณะกรรมการให้จัดประชุมใหญ่วิสามัญได้ 15.10 มีหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบปฏิบัติและข้อบังคับของสมาคมโดยเคร่งครัด 15.11 มีหน้าที่ปฏิบัติตนให้สมกับเกียรติที่เป็นสมาชิกของสมาคม 15.12 มีห น้าที่ให้ความร่วมมือและสนั บสนุ นการด� ำ เนิ นกิ จการต่ า งๆ ของสมาคมเพื่ อ ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของสมาคม 15.13 มีหน้าที่ร่วมกิจกรรมที่สมาคมได้จัดให้มีขึ้น 15.14 มีหน้าที่เผยแพร่ชื่อเสียงของสมาคมให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย 15.15 สมาชิกผู้ใดย้ายที่อยู่ที่ทำ� งานให้แจ้งย้ายต่อเลขาธิการเป็นลายลักษณ์อักษรโดยเร็วเพื่อ แก้ไขทะเบียนของสมาชิกให้ถูกต้อง
หมวดที่ 6 การด�ำเนินกิจการของสมาคม ข้อ 16 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง ท�ำหน้าที่บริหารกิจการของสมาคม มีจ�ำนวนอย่างน้อย 11 คนอย่าง มากไม่เกิน 15 คน คณะกรรมการชุดนี้ได้มาจากการเลือกตั้งของที่ประชุมใหญ่ของสมาคมและให้คณะ กรรมการชุดนี้เลือกตั้งกันเอง เป็นนายกสมาคม 1 คน อุปนายก 1 คน ส�ำหรับกรรมการในต�ำแหน่งอื่นๆ ให้นายกสมาคมเป็นผู้แต่งตั้งจากผู้ที่ได้รับเลือกตั้งเหล่านั้นให้ด�ำรงต�ำแหน่งต่างๆ ของสมาคมที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งต�ำแหน่งต่างๆ ของกรรมการสมาคมมีชื่อและหน้าที่โดยสังเขปดังต่อไปนี้ 16.1 นายกสมาคม ท�ำหน้าทีเ่ ป็นหัวหน้าในการบริหารกิจการของสมาคม เป็นผูแ้ ทนสมาคมใน วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
159
การติดต่อบุคคลภายนอก และท�ำหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุมคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ของ สมาคม 16.2 อุปนายก ท�ำหน้าที่เป็นผู้ช่วยนายกสมาคม ในการบริหารกิจการของสมาคมปฏิบัติตามที่ นายกสมาคมได้มอบหมายและท�ำหน้าที่แทนนายกเมื่อนายกไม่อยู่หรือไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ 16.3 เลขาธิการ ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับงานธุรการของสมาคมทั้งหมด เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่ของ สมาคมในการปฏิบัติกิจการของสมาคม และปฏิบัติตามค�ำสั่งของนายกสมาคมตลอดจน ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการในการประชุมต่างๆ ของสมาคม 16.4 เหรัญญิก มีหน้าที่เกี่ยวกับการเงินทั้งหมดของสมาคม เป็นผู้จัดท�ำบัญชีรายรับรายจ่าย บัญชีงบดุลของสมาคมและเก็บเอกสารหลักฐานต่างๆ ของสมาคมไว้เพื่อการตรวจสอบ 16.5 ปฏิคม มีหน้าที่ในการให้การต้อนรับแขกของสมาคม เป็นหัวหน้าในการจัดเตรียมสถาน ที่ของสมาคม และจัดเตรียมสถานที่ประชุมต่าง ๆ ของสมาคม 16.6 นายทะเบียน มีหน้าที่เกี่ยวกับทะเบียนสมาชิกทั้งหมดของสมาคม ประสานงานกับ เหรัญญิก ในการเรียกเก็บเงินค่าบ�ำรุงสมาคมจากสมาชิก 16.7 ประธานฝ่ายกิจกรรม มีหน้าที่ด�ำเนินการเกี่ยวกับการไปให้บริการทางการแพทย์ และ ติดต่อแพทย์ และสมาชิกที่จะไปให้บริการในแต่ละครั้ง 16.8 ประชาสัมพันธ์ มีหน้าทีเ่ ผยแพร่กจิ กรรมและชือ่ เสียงเกียรติคณ ุ ของสมาคมให้สมาชิกและ บุคคลโดยทั่วไปให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 16.9 ประธานฝ่ายวิชาการ มีหน้าที่ส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพอนามัยแก่ประชาชน 16.10 ประธานฝ่ายหาทุน มีหน้าที่หาทุนทรัพย์เพื่อการด�ำเนินกิจการของสมาคม 16.11 กรรมการต�ำแหน่งอื่น ๆ ตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม ซึ่งคณะกรรมการเห็นสมควร ก�ำหนดให้มีขึ้น โดยมีจ�ำนวนเมื่อรวมกับต�ำแหน่งกรรมการข้างต้นแล้ว จะต้องไม่เกิน จ�ำนวนที่ข้อบังคับได้ก�ำหนดเอาไว้ แต่ถ้าคณะกรรมการมิได้ก�ำหนดต�ำแหน่งก็ให้ถือว่า เป็นกรรมการกลาง ข้อ 17 คณะกรรมการของสมาคม อยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 2 ปี และอยู่ในวาระได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ข้อ 18 กรรมการอาจพ้นจากต�ำแหน่ง โดยเหตุใดเหตุหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 18.1 ตาย 18.2 ออกตามวาระ 18.3 ขาดสมาชิกภาพ 18.4 ลาออกจากต�ำแหน่งและคณะกรรมการได้อนุมัติแล้ว 18.5 ที่ประชุมใหญ่มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ออกในกรณีที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ สมาคม 160
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
ข้อ 19 ถ้ากรรมการต�ำแหน่งใดว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากออกตามวาระให้คณะกรรมการด�ำเนินการดัง ต่อไปนี้ 19.1 ถ้าต�ำแหน่งนายกสมาคมว่างลง ให้อุปนายกท�ำหน้าที่แทน แล้วให้แต่งตั้งสมาชิกสามัญที่ ได้คะแนนอันดับต่อไป เข้าเป็นอุปนายกแทน 19.2 ต�ำแหน่งกรรมการสมาคม ถ้าต้องว่างลงก่อนครบก�ำหนดตามวาระก็ให้คณะกรรมการแต่ง ตัง้ สมาชิกสามัญคนใดคนหนึง่ ทีเ่ ห็นสมควรเข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทนต�ำแหน่งทีว่ า่ งลงนัน้ แต่ ผู้ที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งแทนอยู่ในต�ำแหน่งได้เท่ากับวาระของผู้ที่ตนแทนเท่านั้น 19.3 ถ้ากรรมการลาออกตัง้ แต่ครึง่ หนึง่ ให้กรรมการทีเ่ หลือเรียกประชุมใหญ่วสิ ามัญเพือ่ เลือก ตั้งกรรมการใหม่ทั้งชุด ข้อ 20 การประชุมของคณะกรรมการ 20.1 ให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง โดยให้จัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 3 ของทุกๆ เดือน ทั้งนี้เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการบริหารกิจการของสมาคม 20.2 การประชุมคณะกรรมการ จะต้องมีกรรมการเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ กรรมการทั้งหมด จึงจะถือว่าครบองค์ประชุม มติของที่ประชุมคณะกรรมการ ให้ถือ คะแนนเสียงมากเป็นเกณฑ์ แต่ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันก็ให้ประธานในการประชุมเป็นผู้ ชี้ขาด
หมวดที่ 7 การประชุมใหญ่ ข้อ 21 การประชุมใหญ่ของสมาคมมี 2 ชนิด คือ 21.1 ประชุมสามัญประจ�ำปี 21.2 ประชุมใหญ่วิสามัญ ข้อ 22 คณะกรรมการจะต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีๆ ละ 1 ครั้ง ภายในเดือนธันวาคมของ ทุกๆ ปี ข้อ 23 การประชุมใหญ่วสิ ามัญ อาจจะมีขนึ้ โดยเหตุที่คณะกรรมการเห็นสมควรจัดให้มขี ึ้นหรือเกิดขึน้ ด้วย การที่สมาชิกสามัญเข้าชื่อร่วมกันของสมาชิกไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของสมาชิกสามัญทั้งหมด ร้องขอต่อคณะ กรรมการให้จัดให้มีขึ้น ข้อ 24 การแจ้งก�ำหนดนัดประชุมใหญ่ ให้เลขาธิการเป็นผู้แจ้งก�ำหนดนัดประชุมใหญ่ให้สมาชิกได้ทราบ และการแจ้งจะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อกั ษรโดยระบุวนั เวลาและสถานทีใ่ ห้ชดั เจนโดยจะต้องแจ้งให้สมาชิก ได้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี จะมีวาระการประชุมดังต่อไปนี้ - แถลงกิจการที่ผ่านมาในรอบปี วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
161
- แถลงบัญชีรายรับรายจ่าย และบัญชีงบดุลของปีที่ผ่านมาให้สมาชิกทราบ - เลือกคณะกรรมการชุดใหม่ เมื่อครบก�ำหนดตามวาระ - เลือกตั้งผู้ตรวจสอบบัญชี - เรื่องอื่นๆ ถ้ามี ในการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี จะต้องมีสมาชิกสามัญเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของสมาชิก ทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม แต่ถ้าเมื่อถึงก�ำหนดเวลาประชุมยังมีสมาชิกสามัญเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ ประชุม ก็ให้ขยายเวลาออกไปอีกครึ่งชั่วโมง แต่เมื่อครบก�ำหนดเวลาที่ขยายออกไปแล้ว ยังมีสมาชิกสามัญ เข้าประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมได้ในครั้งที่ 2 ยกเว้นถ้าเป็นการประชุมใหญ่วิสามัญ ที่เกิดขึ้นจากการร้องขอของสมาชิกสามัญ ไม่ต้องจัดประชุมใหญ่ให้ถือว่าการประชุมเป็นอันยกเลิก ในการ ประชุมใหญ่ให้เลขาธิการบันทึกรายงานการประชุม และให้ประธานของที่ประชุมลงนามรับรองเพื่อรักษา ไว้เป็นหลักฐาน ส�ำหรับการประชุมใหญ่วิสามัญถ้ามีก็ให้ดำ� เนินการเช่นเดียวกันโดยอนุโลม ข้อ 25 ในการประชุมใหญ่ทั้งสามัญและวิสามัญ ให้นายกสมาคมเป็นประธานในที่ประชุม ถ้านายกสมาคม ไม่อยู่ ให้อุปนายกท�ำหน้าที่แทน ถ้าทั้งนายกสมาคมและอุปนายกสมาคมไม่อยู่ ให้ที่ประชุมใหญ่เลือก ประธานเฉพาะการประชุมคราวนั้น ข้อ 26 มติของทีป่ ระชุมใหญ่สามัญและวิสามัญ ให้ถอื คะแนนเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน มีสิทธิลงคะแนนชี้ขาด
หมวดที่ 8 ข้อ 27 การเงินและทรัพย์สิน 27.1 การเงินและทรัพย์สินทั้งหมด ให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เงินสดของ สมาคมถ้ามี ให้นำ� ฝากไว้ในธนาคารใดธนาคารหนึ่งตามแต่คณะกรรมการเห็นสมควร 27.2 การลงนามในตัว๋ เงินหรือเช็คของสมาคมจะต้องมีลายมือชือ่ ของนายกสมาคมหรือผูท้ ำ� การ แทนลงนามร่วมกับเหรัญญิกหรือผู้ท�ำการแทน พร้อมกับประทับตราของสมาคมจึงจะ ถือว่าใช้ได้ 27.3 ให้นายกสมาคมมีอำ� นาจสั่งจ่ายเงินของสมาคม ได้ครั้งละไม่เกิน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่น บาทถ้วน) ถ้าเกินกว่านั้นจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ และคณะกรรมการจะ อนุมัติให้จ่ายเงินได้ครั้งละไม่เกิน 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) ถ้าจ�ำเป็นต้องจ่าย เกินกว่านั้น จะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ของสมาคม 27.4 ให้เหรัญญิกมีอำ� นาจเก็บรักษาเงินสดของสมาคมได้ครัง้ ละไม่เกิน 5,000 บาท (ห้าพันบาท ถ้วน) ถ้าเกินกว่าจ�ำนวนนี้จะต้องน�ำฝากธนาคารในบัญชีของสมาคม 27.5 เหรัญญิกจะต้องท�ำบัญชี รายรับรายจ่ายและบัญชีงบดุลให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการและ การรับหรือจ่ายเงินทุกครั้งจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือของนายกสมาคมหรือ 162
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
27.6 27.7 27.8
ผู้ท�ำการแทนร่วมกับเหรัญญิกหรือผู้ท�ำการแทนพร้อมกับประทับตราของสมาคมทุกครั้ง ผูส้ อบบัญชีจะต้องมิใช่กรรมการหรือเจ้าหน้าทีข่ องสมาคม และจะต้องเป็นผูส้ อบบัญชีที่ ได้รับอนุญาต ผู้สอบบัญชีมีอ�ำนาจที่จะเรียกเอกสารเกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สินจากคณะกรรมการ และสามารถจะเรียกกรรมการหรือเจ้าหน้าที่ของสมาคมเพื่อสอบถามเกี่ยวกับบัญชี ทรัพย์สินของสมาคมได้ คณะกรรมการจะต้องให้ความร่วมมือกับผู้ตรวจสอบบัญชีเมื่อได้รับการร้องขอ
หมวดที่ 9 ข้อ 28 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อบังคับและการเลิกล้มสมาคม 28.1 ข้อบังคับของสมาคม จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้กโ็ ดยมติของที่ประชุมใหญ่เท่านั้น และ องค์ประชุมใหญ่จะต้องมีสมาชิกสามัญเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมดมติของ ทีป่ ระชุมใหญ่ในการให้เปลีย่ นแปลงแก้ไขข้อบังคับจะต้องมีคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิก สามัญที่เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 28.2 การเลิกสมาคม จะเลิกได้โดยมติของที่ประชุมใหญ่ของสมาคม ยกเว้นเป็นการเลิก เพราะเหตุของกฏหมาย มติของที่ประชุมใหญ่ท่ใี ห้เลิกสมาคม จะต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของสมาชิกที่เข้าประชุมทั้งหมด และองค์ประชุมใหญ่จะต้องไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของสมาชิกสามัญ ทั้งหมด 28.3 เมือ่ สมาคมต้องเลิกไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม ทรัพย์สนิ ของสมาคมทีเ่ หลืออยู่หลังจาก ที่ได้ช�ำระบัญชีเป็นที่เรียบร้อยแล้วให้ตกเป็นของส�ำนักจุฬาราชมนตรี
หมวดที่ 10 ข้อ 29 บทเฉพาะกาล 29.1 ให้ใช้ข้อบังคับนี้ตั้งแต่วนั ที่สมาคมได้รับอนุญาตจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเป็นต้นไป 29.2 เมือ่ สมาคมได้รบั อนุญาตจดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลจากทางราชการแล้ว ให้ถอื ว่าสมาชิก ของชมรมแพทย์มสุ ลิมเป็นสมาชิกตลอดชีพของสมาคมแพทย์มสุ ลิม 29.3 ให้ทรัพย์สนิ ที่เป็นของชมรมแพทย์มสุ ลิมอยู่เดิมโอนมาเป็นของสมาคมแพทย์มสุ ลิม 29.4 ให้คณะกรรมการบริหารของชมรมแพทย์มุสลิม ท�ำหน้าที่เป็นกรรมการบริหารของ สมาคม และบริหารกิจการไปจนกว่าจะมีการเลือกตั้งกรรมการบริหารสมาคมชุดใหม่ภายใน 1 ปี
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
163
ปิดท้ายเล่ม........... วารสารสมาคมแพทย์ฉบับนี้ จัดท�ำเพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์กจิ กรรมของสมาคมแพทย์มสุ ลิม ไม่ใช่ เป็นการโอ้อวดแต่ประการใดไม่ แต่ตอ้ งการจะเก็บบันทึกเรือ่ งราวและเหตุการณ์ของความร่วมไม้รว่ มมือในหมู่ สมาชิกและอาสาสมัคร รวมทัง้ ผูม้ อี ปุ การคุณ ผูใ้ ห้การสนับสนุนด้วยปัจจัยต่างๆ ก่อให้เกิดผลลัพธ์ทมี่ องเห็น ได้ดงั ปรากฎอยู่ กิจกรรมหรือผลงานทีเ่ กิดขึน้ จะว่ามากก็มาก จะว่าน้อยก็นอ้ ย ถ้าจะมองว่ามาก ก็เนือ่ งจาก เรารูส้ กึ ว่าเหน็ดเหนือ่ ยพอประมาณ ต้องเสียสละเวลา แรงกาย และความสุขส่วนตนไม่ใช่นอ้ ยเพือ่ กิจกรรมนัน้ แต่ถา้ จะมองว่าน้อยคงเป็นเพราะว่าพอเราหันกลับมาดูผลงานแล้วก็มคี วามคิดว่าเราน่าจะท�ำได้ดกี ว่านี้ ท�ำได้ มากกว่านี้ จะอย่างไรก็ตาม การงานทีด่ ี ภายใต้เจตนาทีบ่ ริสทุ ธิต์ อ่ เอกองค์อลั เลาะฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ย่อม มีคณ ุ ค่าและท�ำให้เราหวังได้วา่ การงานเหล่านัน้ จะส่งภาคผลเกินจะจินตนาการต่ผกู้ ระท�ำได้อย่างแน่นอน ขอ ขอบคุณ รศ.ดร.อิศรา ศานติศาสน์ ประธานมูลนิธสิ ร้างสุขมุสลิมไทย (สสม.) แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิม ไทย ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทีส่ นับสนุนโครงการผ่าตัดท�ำสุหนัตหมูข่ องสมาคมแพทย์มสุ ลิมมาโดยตลอด อยากจะขอเชิญชวนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอีกเป็นจ�ำนวนมากทีย่ งั ไม่ได้มาพบปะพูด คุยกัน ได้มาเจอะเจอกันบ้าง เพือ่ ปรึกษาหารือกันว่าเราอยากจะท�ำกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ประชาชนอะไร ได้อกี ตามความถนัดและความชอบของแต่ละท่าน ขอขอบคุณท่านผูห้ ลักผูใ้ หญ่ทกุ ท่านทีส่ ง่ สารของท่านลงพิมพ์ในวารสารเล่มนี้ ซึง่ ท�ำให้กรรมการและ สมาชิกของสมาคมได้รบั เกียรติและก�ำลังใจจากท่านเป็นอย่างยิง่ ขอขอบคุณวิทยากรทุกท่านทีไ่ ด้เขียนบทความทีม่ คี ณ ุ ค่าทางวิชาการและน่าสนใจอย่างยิง่ และต้อง ขออภัยด้วยหากว่าในระหว่างการตรวจต้นฉบับอาจมีการแก้ไขบ้างโดยมิได้บอกกล่าว การแก้ไขเพียงเพือ่ ให้มี ความถูกต้องตามหลักภาษาและเพือ่ ความสะดวกในความเข้าใจของผูอ้ า่ นเท่านัน้ โดยทีย่ งั คงรักษาเจตนารมณ์ ของท่านผูเ้ ขียนไว้ให้ครบถ้วนทุกประการ ขอขอบคุณผูท้ ชี่ ว่ ยออกแบบการจัดพิมพ์ และผูต้ รวจทานทีม่ าช่วย ตรวจทานกันหลายรอบ แต่กค็ ดิ ว่าอาจมีขอ้ ผิดพลาดหลงเหลืออยูบ่ า้ ง และก็ตอ้ งขออภัยหากมีขอ้ ผิดพลาดเกิด ขึน้ ในการจัดพิมพ์วารสารเล่มนี้ และถ้าท่านจะกรุณาแจ้งให้ทราบด้วยจะเป็นพระคุณอย่างยิง่ วารสารฉบับนีพ้ มิ พ์ขนึ้ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 2000 เล่ม ซึง่ จะเกิดขึน้ ไม่ได้เลยหากว่าไม่ได้รบั ทุนสนับสนุนการ จัดพิมพ์จากท่านผูม้ อี ปุ การคุณทัง้ หลาย ขอขอบคุณเป็นอย่างยิง่ ต่อท่านทีส่ นับสนุนการจัดพิมพ์ครัง้ นี้ และทางผู้ จัดพิมพ์จะได้จ่ายแจกวารสารฉบับนี้ให้หมดตามก�ำหนดโดยเร็ว ขอขอบคุณ บริษัทแอสตร้าเซนเนก้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษทั แกล็กโซสมิทไคล์น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ทีส่ นับสนุนการจัดพิมพ์ครัง้ นีด้ ว้ ย สุดท้ายนีข้ อวิงวอนต่อ เอกองค์อลั เลาะฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ได้โปรดตอบแทนภาคผลความดีงาม แก่ทา่ นทัง้ หลาย และขอให้ทา่ นทัง้ หลายมีสขุ ภาพดี นายแพทย์อนุสรณ์ ตานีพันธ์ บรรณาธิการ 164
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
การกุศลสมาคมแพทย์มุสลิม โปรดโอนเงินเข้าบัญชีกระแสรายวัน ธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทย ชื่อบัญชี สมาคมแพทย์มุสลิม เลขที่บัญชี 0036001686 และโปรดส่งสลิปน�ำฝากพร้อมระบุที่ส่งใบเสร็จรับเงิน มาที่ สมาคมแพทย์มุสลิม เลขที่ 101 ประชาอุทิศ 23 (ซอยสุวรรณมณี) สามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 หรือ แฟกซ์ 02-274-3768 หรือ e-mail : anusornandy@hotmail.com หรือบริจาคโดยตรงที่เหรัญญิกสมาคม พอ.ภก.ชลิต สายฟ้า โทร 0859637992
บริจาคร่วมกิจกรรม
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
165
ãºÍ¹ØÞÒμâ¦É³ÒàÅ¢·Õè ¦È. 81/2552
Copyright © Merck Sharp & Dohme Corp., a subsidiary of Merck & Co., Inc., Whitehouse Station, NJ, USA All Rights Reserved
Committed to Bringing Out the Best in Medicine MSD(Thailand) LTD. The Office at Central World 37th Fl. 999/9 Rama 1 road, Pathumwan, Pathumwan, BKK 10330 Thailand, Tel: (66) 2262 5700 Fax.:(66) 2255 5095
Before prescribing, please consult the full prescribing Information on the nextpage. Reference : 1. Physican Circular 2. M.Luz Garcia Garcia, MD, etal. Montelukast, compared with Fluticasone., for Control of Asthma Among 6- to 14 Year-old Patients With Asthama : The MOSAIC Study. PEDIATRICS, 2005;116(No.2): page 360-369.
Children aged 6 months to 5 years One 4-mg oral granule package mixed with food taken once daily directly in the mouth or mixed with formula or breast milk.
Children aged 2 to 5 years One 4-mg cherry-flavored chewable tablet
Children aged 6 to 14 years One 5-mg cherry flavored chewable tablet
Patients aged 15 years and older One 10-mg tablet
Available for1
1 sthma and A of l ro nt co r Fo Allergic Rhinitis
166
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556
167
รีสอร์ตมุสลิมแห่งแรกของฝั่งธน
ห้องพัก ห้องอาหาร สถานที่จัดเลี้ยง รีสอร์ตบางพลัด เลขที่ 2 ซอย จรัญสนิทวงศ์ 77/1 แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร โทร.0-2885-5737-8 168
วารสารสมาคมแพทย์มุสลิม พ.ศ. 2554 - 2556