การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ. 2491-2500)
นายณัฐพล ใจจริง
วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2552 ลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
THAI POLITICS IN PHIBUN´S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER (1948-1957)
Mr. Nattapoll Chaiching
A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy Program in Political Science Faculty of Political Science Chulalongkorn University Academic year 2009 Copyright of Chulalongkorn University
หัวขอวิทยานิพนธ โดย สาขาวิชา อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก
การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา(พ.ศ. 2491-2500) นายณัฐพล ใจจริง รัฐศาสตร รองศาสตราจารย ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด
คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ………………………………………….. คณบดีคณะรัฐศาสตร (ศาสตาจารย ดร.จรัส สุวรรณมาลา) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………ประธานกรรมการ (ศาสตราจารย ดร.ไชยวัฒน ค้ําชู) …………………………………………... อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก (รองศาสตราจารย ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด) …………………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีระ สมบูรณ) …………………………………………… กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ) …………………………………………… กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย (รองศาสตราจารย ดร.นครินทร เมฆไตรรัตน)
ง
ณัฐพล ใจจริง: การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใตระเบียบโลก ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2491-2500) (THAI POLITICS IN PHIBUN’S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER(1948-1957)อ.ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ: รองศาสตราจารย ดร.กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด, 284 หนา.
ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯที่กอตัวขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯไดเขา มามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามดวยการใหความ สนับสนุนกลุม การเมืองทัง้ กลุมตํารวจและกลุมทหารมีผลทําใหการเมืองไทยในชวงเวลา ดังกลาวมีเสถียรภาพและสามารถดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการได ตอมา สหรัฐฯให การสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหกลับขึน้ มามีความสําคัญทางการเมือง ในขณะที่ รัฐบาลเริ่ม ถอยหางออกจากนโยบายของสหรัฐฯ ทามกลางความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบัน กษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหารในชวงปลายรัฐบาลนัน้ สงผลใหสหรัฐฯตัดสินใจให การสนับสนุนกลุมการเมืองใหม คือ สถาบันกษัตริยและกลุมทหารใหขึ้นมีอํานาจแทนเพื่อให การเมืองไทยมีเสถียรภาพและดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป ดังนัน้ บทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยในชวงเวลานัน้ จึงเปนปจจัยชีข้ าดสําคัญที่ทาํ ใหกลุม การเมืองใด ไดรับชัยชนะทางการเมือง ทัง้ นี้ การสนับสนุนกลุมการเมืองใหมของสหรัฐฯนี้ไดนําไปสูการ ปกครองแบบเผด็จการทหารและทําใหไทยไดกลายเปนสวนหนึง่ ของระเบียบโลกของสหรัฐฯที่ แนบแนนยิ่งขึน้ ในเวลาตอมา
สาขาวิชา รัฐศาสตร ปการศึกษา 2552
ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่อ อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ
จ
# # 4881903924 : MAJOR POLITICAL SCIENCE KEYWORDS : THAI POLITICS / PHIBUNSONGGRAM / UNITED STATES NATTAPOLL CHAICHING: THAI POLITICS IN PHIBUN´S GOVERNMENT UNDER THE U.S. WORLD ORDER(1948-1957). ADVISOR : ASSOC.PROF. KULLADA KESBOONCHOO MEAD,PH.D., 284 pp. Under the U.S. World Order which was emerged after the end of the World War II, the United States government has taken its role in intervening Thai politics. This thesis discovers that the U.S. government had supported both Police and Military groups in the Phibun’s government which prompted the political situation in Thailand become stable. This dynamic enabled the Thai government to pursue foreign policies that complied with the U.S. interest. In the same time, the U.S. government was behind the resurgence of the Monarchy back to the political sphere. Whereas the Phibun’s government began to keep distance from the U.S. influence over Thailand’s policies amidst the conflict between the Phibun’s government with the Monarchy, the Royalist and the Military. the U.S. government decided to turn its support towards the newly political groups than the Phibun’s government: that are the Monarchy and the Military. Such policy allowed the U.S. government to maintain the political stability and retain its policies in Thailand. As a result, the role of the U.S. government in the Thailand’s political situations is the decisive factor in deciding the triumphant result of any political actor among the Thai politics. It must be noted that the role of the U.S. government in supporting the newly political groups brought about the authoritarian regime in Thailand as well as it sowed the seed connecting the Thai state with the U.S. world order more closely in the following decades.
Field of Study : POLITICAL SCIENCE Academic Year : 2009
Student’s Signature Advisor’s Signature
ฉ
กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ชิ้นนี้ไมสามารถสําเร็จลงได หากปราศจากความชวยเหลือของหนวยงานและ บุคคลจํานวนมากที่ใหแกขาพเจา โดยเฉพาะอยางยิง่ โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สํานัก งานกองทุนสนับสนุนการวิจัยที่ใหทนุ สนับสนุนการวิจยั ของขาพเจาตลอด 3 ปสุดทายในการเรียน ขาพเจาขอขอบพระคุณ “ครู” รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด อาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ ผูที่ทาํ หนาที่มากกวาการเปนเพียงอาจารยที่ปรึกษา แตไดอุทิศตนรวมเดินทางไปบนเสนทางการ คนควาและอดทนตอความดื้อรั้นของขาพเจาตลอดระยะเวลาหลายปที่ผานมา รวมทั้ง ความชวย เหลือที่สาํ คัญจาก ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล อาจารยที่ปรึกษาอีกทานทีใ่ หโอกาสขาพเจาไดเขาชั้น เรียนอันมีสวนเปดโลกทัศนทาํ ใหขาพเจาหลุดพนจากเพดานความคิดที่ดํารงอยูก ับขาพเจามานาน หลายป ตลอดจนไดใหความชวยเหลืออื่นๆในการวิจยั ทีม่ หาวิทยาลัย Wisconsin-Madison และ ในสหรัฐฯ ตลอดจน ศ.ดร.ไชยวัฒน ค้าํ ชู รศ.ดร.นครินทร เมฆไตรรัตน ผศ.ดร.วีระ สมบูรณ และ ผศ.ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ กรรมการวิทยานิพนธที่ใหคําแนะนําซึง่ มีคณ ุ คาแกขาพเจาในปรับปรุง วิทยานิพนธชนิ้ นี้จนสําเร็จ ขาพเจาขอขอบพระคุณ ศ.ดร.อนุสรณ ลิ่มมณี Prof. Kewin Hewison รศ.ฉลอง สุนทรวณิชย รศ.วีณา เอี่ยมประไพ Assoc. Soren Ivarsson ผศ.สุวิมล รุงเจริญ ผศ.ดร.นิติและผศ.ดร. พวงทอง ภวัครพันธุ ผศ.เทอดสกุล ยุญชานนท คุณเสถียร จันทิมาธร ดร.สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล คุณสุพจน แจงเร็ว ผศ.ธเนศ วงศยานนาวา ดร.เกษม เพ็ญภินันท อาจารยจีรพล เกตุจุมพล อาจารยศิวะพล ละอองสกุล ดร.ธนาพล ลิม่ อภิชาต อาจารยสุระ พัฒนะปราชญ ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ เผือกสม อาจารยวารุณีย โอสถารมย ดร.ฐาปนันท นิพฏิ ฐกุล ดร.เกงกิจ กิตติเรียงลาภ ดร.พรสันต เลี้ยงบุญเลิศชัย คุณกมลทิพย จางกมล คุณธนาพล อิว๋ สกุล คุณเดนดวง วัดละเอียด คุณดาวเรือง แนวทอง และคุณจักรี ไชยพินิจ ที่ใหความชวยเหลือแกขาพเจามานานหลายป ขอบคุณอยางมาก สําหรับ คุณสมฤดี วินิจจะกูล คุณปยนุช ศรีปนวงศ David Dettmann ดร.พัชรี เชิญชอ และคุณพล เทพ ธนโกเศส ผูใหความชวยเหลือแนะนําใหขาพเจาอยูร อดปลอดภัยในการวิจัยที่รัฐวิสคอนซิน รัฐแมรีแลนด และวอชิงตัน ดี.ซี. ขอบพระคุณ “ปา”-จีรวัสส ปนยารชุน และคุณนิตย พิบูลสงคราม เปนอยางสูงทีใ่ หคําสัมภาษณและตอนรับขาพเจาดวยความเมตตาอยางไมรูเหน็ดเหนื่อย สุดทายที่จะลืมมิไดคือ พีรญา ใจจริง ผูเปนกําลังใจและใหรอยยิ้มในยามที่ขาพเจาออนลา และไดแบงเบาภาระงานบานในหลายปทผี่ านมา และคุณคาจากงานวิจัยชิน้ นี้ ขอยกใหกับพอ ผู ลวงลับ และแม ผูเปนครูคนแรกของขาพเจา
สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย………………………………………………………………………… ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................ จ กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................... ฉ สารบัญ...................................................................................................................... ช บทที่ 1 บทนํา………………………………………………………………………………. 1.1 ความสําคัญของการศึกษา………………………..………………………….. 1.2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ………..………………………………………. 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา…………….……………………………………… 1.4 สมมติฐานในการวิจัย………………………………………………………….. 1.5 นิยามคําศัพท………..………………………………………………………... 1.6 ขอบเขตการศึกษาวิจยั และระเบียบวิธวี ิจัย……………………………………. 1.7 วัตถุประสงคการวิจัย……………………..…………………………………… 1.8 ขอจํากัดของการศึกษา…..……………………………………………………. บทที่ 2 จากรูสเวลทถึงทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2……………………. 2.1 นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย…...……. 2.2 การเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2……………………………………. 2.3 ความรวมมือและการแตกสลายของพันธมิตรชวงสงครามระหวาง“กลุมปรีดี” และ“กลุมรอยัลลิสต”……………….…………………………………………. 2.4 “กลุมรอยัลลิสต”กับการเมืองในราชสํานักและการแสวงหาการสนับสนุนจาก อังกฤษ…………………………………………………………………………. 2.5 การกอตัวของ“พันธมิตรใหม”ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.”.. 2.6 การลมสลายของ“กลุมปรีดี”…………………………...……………………… บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยงภายในการเมืองไทย…..……… 3.1 การรัฐประหาร 2490: ความสําเร็จของความรวมมือของคณะรัฐประหารกับ “กลุมรอยัลลิสต”…………...…………………………………………………..
1 1 5 19 20 21 22 25 25 26 26 31 33 41 51 54 62 62
ซ
สารบัญ (ตอ) 3.2 ความลมเหลวในการตอตานการรัฐประหารและการสิ้นสุดความชวยเหลือ “กลุมปรีดี”ของสหรัฐฯ…………………………………………………………... 3.3 การรุกคืบของ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะสถาปนิกทางการเมือง.………………. 3.4 แผนการใหญของ “กลุมรอยัลลิสต” ……………………..…………………….. 3.5 จอมพล ป.กับการลมแผนทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”……………….… 3.6 รัฐบาลจอมพล ป.กับความลมเหลวในการเปดไมตรีกับ“กลุมปรีดี”…………… 3.7 “กลุมรอยัลลิสต”กับการสถาปนารัฐธรรมนูญที่ปฏิเสธกองกองทัพ…….……… บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมือง 2493 - 2495……………..……..…………………………..………. 4.1 สัญญาณจากวอชิงตัน ดี.ซี……..……………………………….…………….. 4.2 การถูกตอตานกับการกาวเขาหาสหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป………………… 4.3 สหรัฐฯกับความชวยเหลือทางการทหารแกไทย……………………………….. 4.4 ความขัดแยงในคณะรัฐประหารทามกลางการรุกของ“กลุมรอยัลลิสต”…….…. 4.5 “กลุมรอยัลลิสต”กับ“กบฎแมนฮัตตัน”แผนซอนแผนในการโคนลมรัฐบาล.…… 4.6 การรัฐประหาร 2494 กับการยุติบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”….. 4.7 ความขัดแยงระหวางสถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป…………………….. 4.8 การแขงขันและการสรางพันธมิตรทางการเมืองของกลุมตํารวจและกลุมทหาร.. 4.9 การปราบปรามขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป…………….…. บทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงใหกลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 2496 – 2497….…………..………...…………………………………………….. 5.1 นโยบายตางประเทศของไอเซนฮาวรตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย…….. 5.2 “เอกอัคราชทูตนักรบ”กับการสราง“ปอมปราการ”ทางการทหารในไทย….……. 5.3 เพนตากอนกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมทหาร……………………………… 5.4 ซีไอเอกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมตํารวจ……………….………………….. 5.5 ความชวยเหลือจากสหรัฐฯกับการแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร.… 5.6 ถนนทุกสายมุงตรงสูวอชิงตัน ดี.ซี………………………………………………
66 70 74 77 79 85 87 87 90 95 101 105 112 116 120 122 124 124 128 132 133 136 138
ฌ
สารบัญ (ตอ) บทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยกับจุดเริ่มตนสงครามจิตวิทยาในไทย 2497………………. 6.1 สหรัฐฯกับการตอตานคอมมิวนิสตในไทย…………..………………………… 6.2 จากความลมเหลวสูโอกาส: สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับ การเขาหาสหรัฐฯ……………………………………………………………….. 6.3 ยูซิสกับสงครามจิตวิทยา………………….……………………………………. 6.4 สงครามจิตวิทยากับการสถาปนาอํานาจของสถาบันกษัตริย…………………. บทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตยของรัฐบาลจอมพลป. ปลายทศวรรษที่ 2490..……………………………...……………………………………………….. 7.1 บริบทการกอตัวของนโยบายเปนกลางของรัฐบาลจอมพล ป………….……. 7.2 นโยบายการทูตสองทางของรัฐบาลจอมพล ป……………….……………… 7.3 วิสัยทัศนใหมทา มกลางความขัดแยงของ“ขุนศึก” ……….………………….. 7.4 การสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทางออกทางการเมือง……………...……. 7.5 การพยายามเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจอมพล ป……….…………………… 7.6 การคากับจีนและความไมพอใจของสหรัฐฯ……………………………………. 7.7 หนังสือพิมพกับการตอสูทางการเมืองและการตอตานสหรัฐฯ………..………. 7.8 ความไมพอใจของสหรัฐฯตอการเปดรับวัฒนธรรมจากจีนของไทย…………… บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรทามกลางความขัดแยงกับ“กลุมรอยัลลิสต”…………….. 8.1 การตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”ของรัฐบาลจอมพล ป……………….……...……. 8.2 พันธมิตรทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป.และกลุมตํารวจกับ“กลุมปรีดี”..… 8.3 การเลือกตั้งและการทําลายการเลือกตั้ง 2500 ของ“กลุมรอยัลลิสต”และกลุม ทหาร………………………………………………………………………….. 8.4 การกลับมาของปรีดี พนมยงคกับความตืน่ ตระหนกของ“กลุมรอยัลลิสต”และ ความวิตกของสหรัฐฯ………………...………………………………….…...…. 8.5 ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”….….…... บทที่ 9 “ไตรภาคี”กับภาวะกึง่ อาณานิคมและการลมสลายของประชาธิปไตยไทย…….….. 9.1 สัญญาณความไมพอใจของวอชิงตัน ดี.ซี.ตอรัฐบาลจอมพล ป…….………… 9.2 จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต”กับการแสวงหาการสนับสนุนจากสหรัฐฯ... 9.3 การเมืองสองหนาของจอมพลสฤษดิ์………………………..………...………..
143 143 146 152 155 161 161 164 168 175 181 185 189 194 197 197 203 206 213 217 222 222 223 225
ญ
สารบัญ (ตอ) 9.4 การรุกทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” กับการสราง พันธมิตรระหวางรัฐบาลกับคณะราษฎร……………….……..………………. 9.5 จากการเมืองสามเสาสูก ารเมืองสองขั้ว: รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ “กลุมปรีดี”กับ สถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร…………...…. 9.6 บนเสนทางของ“ไตรภาคี” สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพกับ การดํารงภาวะกึ่งอาณานิคม………...…………..…………………………… บทที 10 สรุป………………………………………………….……………………………. รายการอางอิง……………………………………………………………………………… ประวัติผูเขียนวิทยานิพนธ………………………………………………………………….
227 235 241 248 253 284
บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญของการศึกษา ในปจจุบัน การศึกษาประวัตศิ าสตรนิพนธของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ไดกลายเปนประเด็นศึกษาสําคัญของนักวิชาการผูสนใจศึกษาตามแนว ทางประวัติศาสตรภูมิปญญาที่เขาไปศึกษาการเขียนประวัติศาสตรแหงชาติของประเทศตางๆใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในชวงสมัยแหงการมีปฏิสัมพันธกับจักรวรรดินิยมวา ผูคนใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตมกี ารสรางคําอธิบายตอตนเองอยางไรอันจะทําใหเห็นถึงผลกระทบของ อิทธิพลจักรวรรดินิยมทีม่ ีตอการกอรูป และปฏิสัมพันธตอ ภูมิปญญาอันมีตอการเขียนประวัติ ศาสตรนิพนธของชาติตางๆ กระนัน้ ก็ดี การศึกษาประวัติศาสตรนิพนธไทยในชวงแหงการเผชิญ หนากับจักรวรรดินิยมนัน้ ยังคงตกอยูในแกนกลางแหงความเงียบงัน และไดรับผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวนอย ในขณะทีง่ านนิพนธทางประวัติศาสตรของไทยยังคงรักษาแนวทางใน การผลิตซ้ําการเขียนประวัตศิ าสตรที่เนนย้าํ การตอตานอาณานิคมเพื่อรักษาความเปนเอกราช ของไทยตอไป1 หากเรานําขอสังเกตขางตนที่มีตอประวัตศิ าสตรของไทยมาพิจารณาควบคูไปกับบริบท ทางประวัติศาสตร ผานงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทย ทัง้ การเมืองการปกครองและความ สัมพันธระหวางประเทศในประเทศของไทยแลว ขอสังเกตขางตนมีคุณูปการตอการกลับมาทบ ทวนความรูความเขาใจที่มีตอ ตนเองทามกลางบริบทขึน้ มาใหม โดยเฉพาะอยางยิง่ ตอประวัติศาสตรการเมืองการปกครองและประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางประเทศของไทยวาไดรับ ผลกระทบจากความรูท ี่เกิดขึ้นภายใตบริบทและไดรับผลกระทบจากการสรางองคความรูของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการสรางองคความรูในทางการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศ ของไทยอยางไร โดยเฉพาะอยางในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 ทั้งนี้ ขาพเจาตองการสํารวจ ปญหาที่เกิดขึ้นภายในงานนิพนธดานการเมืองการปกครองของไทย ที่ไดรับผลกระทบจากศึกษารัฐศาสตรแบบอเมริกันภายใตแนวทางการพัฒนาการเมือง โดย 1
Laurie J. Sears, “The Contingency of Autonomous History,” in Autonomous Histories Particular Truths, ed. Laurie J. Sears (Wisconsin: Center for Southeast Asian Studies University of Wisconsin, 1993), pp. 3-4.; Thongchai Winichakul, “Writing At The Interstices: Southeast Asian Historians and Postnational Histories in Southeast Asia,” in New Terrains in Southeast Asia History, Abu Talib Alimad and Tan Liok Ee, eds. (Singapore: Singapore University Press, 2003), pp. 3-27.
2
เฉพาะอยางยิง่ แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”(Bureaucratic Polity)ที่มีอทิ ธิพลครอบงําความรูใน งานประวัติศาสตรนิพนธดานการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ตามแนวการศึกษาแบบดั้งเดิมซึ่งรักษาคําอธิบายหลักถึงวิเทโศบายของไทยกับจักรวรรดินิยมอัน แสดงถึงปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทยเปนสําคัญ ในทีน่ ี้ ขาพเจาขอเริ่มตนจาก ขอสรุปจากการงานวิจัยทีศ่ ึกษาสถานภาพและพัฒนาการ ของวิชารัฐศาสตรไทยของนครินทร เมฆไตรรัตน และขอสรุปจากงานวิจัยของศุภมิตร ปติพัฒนที่ สํารวจพัฒนาการขององคความรูการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศในไทย2 สําหรับพัฒนา การขององคความรูของวิชารัฐศาสตรไทยนั้น นครินทร สรุปวา องคความรูของวิชารัฐศาสตรไทย เกิดขึ้นภายใตสภาพแวดลอมการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีสหรัฐฯเปนผู มีบทบาทนําในทางการเมืองระหวางประเทศและการสรางองคความรูข องวิชารัฐศาสตร โดย รัฐบาล หนวยงานและนักวิชาการจากสหรัฐฯไดเขามีสวนอยางมากในการชวยเหลือ สนับสนุน การจัดตั้งคณะรัฐศาสตรขึ้นที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรในเวลา ตอมา โดยเฉพาะอยางยิง่ ชวงทศวรรษที่ 2510 ซึ่งเปนชวงสําคัญของสงครามเย็นทีท่ วีความรุน แรงมากขึ้น ทัง้ นี้ รัฐบาล หนวยงานและนักวิชาการจากสหรัฐฯไดเขามีสวนอยางมากในการ เผยแพรความรูและการทําการวิจัยภายใตแนวการศึกษารัฐศาสตรแบบวิทยาศาสตรที่เนนการ ศึกษาพฤติกรรมศาสตรและมีการนําเขาหลักการ แนวคิด กรอบทฤษฎีจากสหรัฐฯเขามาแทนที่ ศึกษาแบบเดิมที่เนนสถาบันทางการเมืองทําใหเกิดการสรางองคความรูแบบใหมใหกับวิชา รัฐศาสตรของไทย กลาวโดยสรุป นครินทร เห็นวา การศึกษารัฐศาสตรแบบวิทยาศาสตรมีผล ทําใหการศึกษาการเมืองการปกครองไทยทีเ่ คยเนนความสําคัญกับการสรางองคความรูเกี่ยวกับ สถาบันทางการเมืองเสื่อมคลายลง และที่สําคัญนครินทรไดตั้งขอสังเกตถึงขอสรุปขององค ความรูในการเมืองการปกครองไทยวา การศึกษาการเมืองการปกครองของไทยยังคงตกอยู ภายใตคําอธิบายวา การเมืองการปกครองของไทยเปน“การเมืองในระบอบอํามาตยาธิปไตย” ตามแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”ของเฟรด ดับลู. ริกส(Fred W. Riggs)ที่ยงั คงทรงพลังในการสราง คําอธิบายและเปนแนวทางในการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยจวบกระทัง่ จนปจจุบนั
2
นครินทร เมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตรไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทางการ เมือง,” รัฐศาสตรสาร 21, 1 (2542): 23-75.; ศุภมิตร ปติพัฒน, “ความสัมพันธระหวางประเทศ: พัฒนาการ และความกาวหนาขององคความรู,” คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550.
3
ดวยเหตุนี้ เขาจึงเรียกรองให มีการศึกษาความเปลีย่ นแปลงของสัมพันธภาพทางอํานาจระหวาง สถาบันกษัตริยและรัฐบาลในการเมืองไทยเสียใหม3 สําหรับการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศซึง่ เปนสาขาหนึ่งของวิชารัฐศาสตรนนั้ ศุภมิตร ปติพัฒนสรุปวา การศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย ยังคงไดรับผลจาก เปลี่ยนแปลงของแนวการศึกษาในระดับสากลไมมากนัก งานศึกษาสวนใหญตกอยูภายใต การศึกษาตามแนวการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมที่เนนการศึกษาความ สัมพันธระหวางรัฐตอรัฐโดยใชวิธีการวิเคราะหทางประวัติศาสตร ซึง่ ใหความสําคัญตอ การประเมินคุณคาและบรรทัดฐานที่รองรับการจัดระเบียบความสัมพันธระหวางประเทศผาน การศึกษาประวัติศาสตรการทูตและเรื่องการรักษาเอกราชของรัฐมากกวาแนวการศึกษาแบบ วิทยาศาสตร ที่เนนการศึกษาพฤติกรรมของรัฐในระบบระหวางประเทศ ตัวแบบการตัดสินใจของ ผูนํา ความมั่นคงและยุทธศาสตร เปนตน ศุภมิตร เสนอขอเรียกรองทีท่ า ทายใหการศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศของไทยเปดรับความรูใหมจากระดับสากล และใหมกี ารถกเถียง แลกเปลี่ยนความรูกับสาขาวิชาอื่น หรือแม กระทัง่ ภายในวิชาความสัมพันธระหวางประเทศเอง เขาสรุปวา “ [การถกเถียงแลกเปลี่ยนทางวิชาการ] แทบจะมิไดกอใหเกิดผลสะเทือนหรือ เปลี่ยนแปลงใดๆในแนวทางการศึกษา IR ที่เคยเปนมาในประเทศนี้ [ไทย]” 4 ทั้งนี้ ขอสรุปจากงานวิจัยทัง้ สองชิ้นชี้ใหเห็นวา ปญหาของแนวทางการศึกษาวิชา รัฐศาสตรทั้งการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทยมีความแตกตางกัน คือ การศึกษาการเมืองการปกครองของไทยประสบกับปญหาการรับแนวทางการศึกษา รัฐศาสตรแบบอเมริกันมากเกินไปจนทําใหละเลยการศึกษาแบบดั้งเดิม คือ การศึกษาเรื่อง สถาบันทางการเมืองของไทยไป ในขณะทีป่ ญหาการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทย นั้นตกอยูภายใตการศึกษาแบบดั้งเดิมมากเกินไป โดยปราศจาการถกเถียงแลก เปลีย่ นความรู และคําอธิบายกับสาขาวิชาอื่นๆดวย อยางไรก็ตาม งานวิจัยทั้งสองชิ้นที่ประเมินพัฒนาการของ องคความรูของวิชารัฐศาสตรไทยนัน้ มีจุดรวมที่ตองตรงกัน คือ ตองการเรียกรองใหมีการปรับ เปลี่ยนการศึกษาภายในสาขาวิชาของตน สําหรับการเมืองการปกครองของไทยนัน้ ควรมีการ ประเมินผลกระทบจากการนําหลักการและแนวคิดการศึกษารัฐศาสตรแบบอเมริกัน โดยควรหัน กลับมาใหความสนใจกับสัมพันธภาพทางอํานาจระหวางสถาบันทางการเมืองภายในการเมือง ของไทยเสียใหม สวนการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมนั้น สมควรมีการเปดรับ 3
นครินทรเมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตรไทยในบริยทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง,” หนา 40. 4 ศุภมิตร ปติพัฒน, “ความสัมพันธระหวางประเทศ: พัฒนาการและความกาวหนาขององคความรู,” หนา 68.
4
และถกถียงแลกเปลี่ยนกันภายในแนวการศึกษาของตนเพื่อปรับเปลี่ยนความรูและคําอธิบายเสีย ใหมเชนกัน สําหรับ ขาพเจาขอเสนอวา หัวใจของปญหาคําอธิบายในการศึกษาการเมืองการ ปกครองของไทย คือ แนวคิดของรัฐศาสตรแบบอเมริกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ แนวคิดเรื่อง “อํา มาตยาธิปไตย” ที่กาํ เนิดขึ้นในชวงทศวรรษที่ 2510 มีอิทธิพลในการครอบงําแนวทางการวิจยั องค ความรูเกีย่ วกับการเมืองไทยที่เนนความสําคัญของบทบาทของกองทัพที่เปนอุปสรรคตอการสราง ประชาธิปไตยไทยมีผลทําใหงานวิจยั ที่สรางองคความรูในสมัยตอมาเดินตามแนวคิดขางตนจน นําไปสูขอสรุปวา การเมืองไทยเปน“การเมืองในระบอบอํามาตยาธิปไตย”และสําหรับการศึกษา ความสัมพันธระหวางประเทศนั้นยังคงตกอยูภายใตการศึกษาแบบดั้งเดิมที่รักษาคําอธิบายที่วา ชนชั้นนําไทยการดําเนินนโยบายโอนออนผอนตามขอเรียกรองของมหาอํานาจที่คกุ คามเอกราช ของไทยและชนชั้นนําไทยยอมเสียผลประโยชนสว นนอยเพื่อรักษาผลประโยชนสว นใหญ นั่นก็คือ เอกราชและอธิปไตยของไทยเอาไวอนั เปนความเสียสละที่สูงสงของชนชั้นนํา โดยคําอธิบาย ดังกลาวนัน้ ไดรับอิทธิมาจากคําอธิบายประวัติศาสตรแบบที่ถูกเรียกวา“ราชาชาตินยิ ม”5
5
โปรดดูคําอธิบายทํานองดังกลาวใน Neon Snidvongs, “The development of Siam's Relations with Britain and France in the Reign of King Mongkut, 1851-1868,” (Doctoral dissertation, University of London, 1961).; Rong Syamananda, An Outline f Thai History,(Bangkok: Chulalongkorn University, 1963).; M.L.Manich Jumsai, History of Anglo-Thai relations,(Bangkok: Chalermnit, 1970).; Namngern Boonpiam, “Anglo-Thai relations, 1825-1855: a study in changing of foreign policies,” (Doctoral dissertation, University of Nebraska-Lincoln, 1979).; แถมสุข นุมนนท, “การเจรจาทางการทูต ระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909,” ชุมนุมบทความวิชาการถวายพระวรวงศเธอ กรมหมื่นนราธิป ประพันธพงศในโอกาสที่พระชนมมายุครบ 80 พรรษาบริบูรณ 25 สิงหาคม 2514,(กรุงเทพฯ: โครงการตํารา สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2514), หนา 1-14.; แถมสุข นุมนนท, การทูตสมัยรัตนโกสินทร (กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528).; เพ็ญศรี ดุก, การตางประเทศกับเอกราชและ อํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม),(กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2527).; ประภัสสร เทพชาตรี, นโยบายตางประเทศไทยจากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษ ใหม,(กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543) เปนตน และดูขอโตแยงของธงชัย วินิจจะกูลที่มีตอโครง เรื่องหลักในคําอธิบายของประวัติศาสตรไทยซึ่งมีผลกระทบตอคําอธิบายความสัมพันธระหวางประเทศดวย เชนกัน ใน ธงชัย วินิจจะกูล, “ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสูราชาชาตินิยม ใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน,” ศิลปวัฒนธรรม 23 (พฤศจิกายน 2544): 56-65.
5
1.2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ภายใตบริบทการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯ ในฐานะ ศูนยกลางของระบบทุนนิยมโลกเริ่มขยายอิทธิพลไปยังสวนตางๆของโลก รวมทัง้ เอเชียตะวันออก เฉียงใตและไทยผานการจัดระเบียบโลกทางเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร รวมถึงความตอง การสรางความรูเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย ดวยการจัดตั้งสถาบันวิจยั ความรู การ ใหทนุ อุดหนุนการวิจยั ที่ผลิตความรู คําอธิบายและงานวิชาการผานสถาบันวิจัยทั้งในและนอก มหาวิทยาลัยอยางมากซึ่งมีผลตอการดํารงอยูของชุดความรูหรือคําอธิบายบางอยางที่ถูกคัดสรร ผลิตซ้ํา และการสรางแนวการวิเคราะหทสี่ อดคลองกับความตองการและผลประโยชนของแหลง ทุนอุดหนุนการวิจัยหาความรูผานมูลนิธิ เชน สมาคมเอเชีย มหาวิทยาลัยชั้นนํา สถาบันวิชาการ รัฐบาลสหรัฐฯ เชน กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม ยูซอม(United States Operations Mission: USOM)และบริษัททุนเอกชนขนาดใหญของสหรัฐ เชน บรรษัทคารเนกี้ (Carnegie Corporation) บรรษัทแรนด(Rand Corporation) และมูลนิธิรอคกี้เฟลเลอร (Rockefeller Foundation) เปนตน โดยการจัดตั้งสาขาวิชาแบบพื้นทีศ่ ึกษา(Area Studies) สถาบันวิจัยในมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยขึ้น ทัง้ นี้ ในชวงแรกของ สงครามเย็นไดมีการเริ่มตนโครงการผลิตความรูเกีย่ วกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยขึ้นที่ มหาวิทยาลัยคอรแนลเปนแหงแรกในป 2490 และมีการจัดตั้งโครงการดังกลาวในมหาวิทยาลัย หลายแหงในเวลาตอมา จากนั้น นักวิชาการชาวอเมริกันที่สนใจไทยศึกษาในหลายสาขาวิชาทัง้ ประวัติศาสตร รัฐศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไดกําเนิดขึ้นอยางมากในชวงทศวรรษที่ 2500-2510 เชน เจมส อินแกรม(James Ingram) จอรช วิลเลี่ยม สกินเนอร(George William Skinner) เดวิด ไวแอตท(David Wyatt) เฮอรเบิรต พี. ฟลลิปส(Herbert P. Phillips) เดวิด เค. วิลสัน(David K. Wilson) วิลเลี่ยม เจ. ซิฟฟน(William J. Siffin) คอนสแตนส เอม. วิลสัน (Constance M. Wilson) แลดด เอม. โทมัส(Ladd M. Thomas) คลาก ดี. แนร(Clark d. Neher) และเฟรด ดับบลู. ริกส(Fred W. Riggs)6 เปนตน ดังนัน้ กลาวไดวา รัฐบาลสหรัฐฯและหนวยงาน
6
โปรดดูรายละเอียดใน แถมสุข นุมนนท, “เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย,” การทูตสมัย รัตนโกสินทร, หนา 57-66.; อานันท กาญจนพันธุ, “บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสราง กระบวนทัศนดานไทยศึกษา,” ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย,( กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2538), หนา 308-347.; นครินทร เมฆไตรรัตน, “วิชารัฐศาสตร ไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง”.
6
ตางๆมีสวนสําคัญดวยการไดทุมเทงบประมาณในการสรางความรูเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียง ใตและไทยภายใตบริบทของสงครามเย็นขึน้ มา7 ไมแตเพียงแคองคความรูเกีย่ วกับไทยจะตกอยูภายใตบริบทการเมืองระหวางประเทศ และการพยายามสถาปนาความรูแบบที่สหรัฐฯตองการขึ้นมาเทานัน้ แตองคความรูด ังกลาวยัง ตกอยูภายใตบริบทการเมืองของไทยดวยเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ หลังการรัฐประหาร 2490 ที่ พลังของ“กลุมรอยัลลิสต”กลับขึ้นมามีอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง8 ซึ่งพวกเขาไมแตเพียงมี บทบาทในการชวงชิงอํานาจทางการเมืองจากคณะราษฎรกลับคืนมาเทานัน้ แตพวกเขาพยายาม สรางการรับรูใหมขึ้นดวยการพยายามอธิบายวา คณะราษฎรไดการดําเนินโนบายตางประเทศ ผิดพลาดจนเปนเหตุใหไทยเกือบจะสูญเสียเอกราชซึง่ เหลาบรรพกษัตริยไดรักษามาเพื่อแสดงให เห็นวาพระปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยตั้งแตพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวและ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัวไดทรงเปดพระราชไมตรีกับชาติตะวันตกรวมทัง้ สหรัฐฯ นั้นเปนสาเหตุที่ทาํ ใหไทยรอดพนจากการตกเปนผูแพสงครามในสงครามโลกครั้งที่ 2 9 ดวยการที่ “กลุมรอยัลลิสต”ไดรื้อฟนการเขียนถึงพระปรีชาสามารถและการทีท่ รงมีพระราชดําริที่เปนเสรี นิยมของพระจอมเกลาฯทีท่ รงไดมีพระราชไมตรีอันดีกับสหรัฐฯเพื่อแสดงใหเห็นถึงพระปรีชา 7
Sears, “The Contingency of Autonomous History,” p. 4. งานวิจัยของนักวิชาการที่ทํางานวิจัย ใหกับรัฐบาลสหรัฐฯและบรรษัทขนาดใหญในชวงทศวรรษที่ 2500 เชน David A. Wilson, Political Tradition and Political Change in Thailand,(S.I.: The Rand Corporation, 1962); David A. Wilson, Trip for AACT to Thailand,(Bangkok: USOM, 1968); Fred Von der Mehden and Fred W. Riggs, Evaluation of the VSO: Interviews with VSO and Villagers,(Bangkok: USOM, 1967); David A. Wilson, Fred Von der Mehden and Paul Trescott, Thinking about ARD,(S.I.: USOM , 1970) เปนตน 8 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง (พ.ศ.2491-2500),(กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2550).; ณัฐพล ใจจริง, “คว่ําปฏิวัติ-โคนคณะราษฎร: การกอตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข’,” ฟาเดียวกัน 6, 1 (มกราคม-มีนาคม 2551): 104-146. 9 งานเขียนของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่วิพากษความสัมพันธไทยกับญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ของ คณะราษฎร เชน หลุย คีริวัต, ประชาธิปไตย 17 ป,(พระนคร: โรงพิมพวิบูลยกิจ, 2493) เปนตน อยางไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธไทยกับญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้นยังคงมีขอถกเถียงที่สลับซับซอน และการถกเถียงยังดําเนินตอไป โปรดดูบทความตางๆใน Thai-Japanese relations in historical perspective eds. Chaiwat Khamchoo and E. Bruce Reynolds (Bangkok: Innomedia, 1988).; พ.อ.หญิง นงลักษณ ลิ้มศิริ, ความสัมพันธญี่ปุน-ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จากงานคนควาวิจัยของนักวิชาการญี่ปุน-ตะวันตกไทย: บทสํารวจสถานภาพแหงความรู, (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549) เปน ตน
7
สามารถของพระจอมเกลาฯที่เปนปฐมบทของความสัมพันธอนั ดีระหวางไทยกับสหรัฐฯที่มีความ ยาวนาน10 ตอมา เมื่อสหรัฐฯมีความตองการสรางความรูเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางไทยกับ สหรัฐฯ เจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ และนักวิชาการสหรัฐฯ ไดผลิตงานนิพนธทาง ประวัติศาสตรความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯที่มีจุดเริ่มตนจากพระปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทย ซึ่งคําอธิบายดังกลาวไดยอมรับแนวทางคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน แอบบอต โลว มอฟ แฟท(Abbot Low Moffat)(1961) และเอ. บี. กริสโวลด(A.B. Griswold)(1961) ผูรับทุน อุดหนุน จากสมาคมเอเชีย11 เพื่อยืนยันวา พระมหากษัตริยทรงเปนจุดเริ่มตนของสัมพันธ ไมตรีระหวาง ไทยกับสหรัฐฯที่มีมาอยางยาวนาน ตอมา คอนสแตนส เอม. วิลสัน(Constance M. Wilson)ซึ่ง เปนนักวิชาการที่กําเนิดขึ้นในชวงการจัดตั้งสถาบันวิชาการที่คนควาวิจยั เกี่ยวกับไทยในชวง สงครามเย็น เขาไดศึกษาการสรางความเปนสมัยใหมของไทยในรัชสมัยพระจอมเกลาฯขึ้น ซึ่ง แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยในการปรับตัวรับความเปนสมัย ใหม12 เปนตน ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา ในชวงบุกเบิกของการสรางความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและไทยศึกษาของนักวิชาการอเมริกนั นัน้ นักวิชาการในรุนบุกเบิกยังไม 10
Seni and Kurit Pramoj, “The King of Siam Speaks,” Type written, 1948; Seni Promoj , “King Mougkut as a Legislator,” Journal of Siam Society 38 (1950): 32-66 อางใน Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam,(Ithaca, New York: Cornell University Press , 1961), p. x. ทั้งนี้ พี่นอง ปราโมชไดแปลพระราชหัตถเลขาและประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ออกเปนภาษาอังกฤษในชวงป 2491 ซึ่ง แสดงความปรีชาสามารถและการมีพระราชดําริเปนสมัยใหม ตอมา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดปาฐกถาเรื่อง “King Mougkut as a Legislator“ ตอที่ประชุมนักการทูตที่มารับฟง ณ สยามสมาคมโดยมี พระองคเจาธานี นิวัตฯ ในฐานะนายกสยามสมาคมฯกลาวนําปาฐกถา ตอมา ปาฐกถาชิ้นนี้ถูกตีพิมพ ภายใตชื่อ คิงมงกุฏใน ฐานะทรงเปนนักนิติศาสตร,(พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492) จากนั้น ปาฐกาถาดังกลาวไดถูกตีพิมพใน วารสารสยามสมาคมในป 2493 (ตามขอมูลขางตน) 11 Moffat, Mongkut, The King of Siam ; A.B. Griswold, King Mongkut of Siam,(New York: The Asia Soceity, 1961) งานของกริสโวลดถูกแปลเปนไทย โปรดดู ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล(แปล) พระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจากรุงสยาม (King Mongkut of Siam),(พระนคร: โรงพิมพมหากุฏราชวิทยาลัย, 2508) สวนงานของมอฟแฟท โปรดดู นิจ ทองโสภิต, แผนดินพระจอมเกลาฯ (Mongkut the King of Siam), (กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2520). 12 Constance M. Wilson, “State and Society in the reign of Mongkut, 1851-1868: Thailand on the Eve of Modernization,” (Doctoral dissertation, Cornell University, 1970). งานศึกษาของคอน สแตนส เอม. วิลสันเปนตัวอยางงานวิจัยที่ตกอยูภายใตกระแสทฤษฎีการสรางความเปนสมัยใหมอันเฟองฟู อยางมากในชวงทศวรรษที่ 2510 มีผลทําใหการวิจัยของเขาเปนการเก็บขอมูลเพื่อยืนยันทฤษฎีดังกลาวเปน สําคัญ
8
สามารถอานภาษาไทยได พวกเขาจึงจําเปนตองพึ่งงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทยที่เขียนเปน ภาษาอังกฤษเปนหลัก ดวยเหตุนี้ คลังความรูที่พวกเขาหยิบยืมและเขาถึงไดยอมหนีไมพนการใช ความรูจากงานเขียนของพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เชน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช13 เปนตน ซึ่งพวก เขามีสามารถเขียนงานนิพนธทางประวัติศาสตรเปนภาษาอังกฤษและสามารถตีพิมพบทความ เหลานั้นในวารสารสยามสมาคมซึ่งเปนวารสารของสยามสมาคมที่ถูกจัดตั้งแต กลางพุทธ ศตวรรษที่ 24 นั้น ดังนั้น คลังคําอธิบายประวัติศาสตรไทยของ“กลุมรอยัลลิสต” จึงเปนขอตอ สําคัญของการสืบทอดคําอธิบายของพวกเขาไปยังผูอา นในโลกภาษาอังกฤษจนกระทั่งการมาถึง ของความกระหายใครรูเรื่องเกี่ยวกับไทยของนักวิชาการอเมริกันในชวงสงครามเย็น ดวยเหตุที่นกั วิชาการและผูสนใจชาวตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิง่ นักวิชาการชาว อเมริกันกําลังอยูในชวงสําคัญของการสรางองคความรูและคําอธิบาย พวกเขาจึงยากที่จะหลีก พนการรับเอาคําอธิบายแบบดํารง“ราชานุภาพ”ของพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เขาไปใน การสรางองคความรูของพวกเขาดวย ดังนัน้ ดวยบริบทของการเมืองระหวางประเทศในชวง สงครามเย็น และผลประโยชนของสหรัฐฯ ผนวกกับบริบททางการเมืองของไทยที่สถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”กลับมามีอํานาจทางการเมืองอีกครั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง ดวย ขอจํากัดของการเขาถึงความรูของนักวิชาการอเมริกันมีผลทําใหการสรางองคความรูแ ละ คําอธิบายที่มตี อการ เมืองการปกครองของไทยและความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯจึงซึมซับรับ อิทธิพลจากคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” หรือแบบ“ราชาชาตินิยม”ที่ดํารงอยูก อนหนาเขาไป ในเบื้องแรกของการสรางองคความรูเกี่ยวกับไทยของสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม บริบทจากการเมืองระหวางประเทศและการเมืองภายในของไทยในชวง หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยอมมีอิทธิพลตอการสรางองคความรูของงานวิจยั การเมืองการปกครอง ของไทยดวยเชนกัน ในชวงทศวรรษที่ 2510 ซึ่งเปนชวงเวลาสําคัญของการสรางองคความรู 13
Prince Damrong Rachanuphap, “The Introduction of Western Culture in Siam,” Journal of Siam Society 20 (1926-1927): 89-100.; Prince Dhani Nivat, “The Old Siamese Conception of the Monarchy,” Journal of Siam Society 36 (1947): 91-106.; Seni Promoj, “King Mougkut as a Legislator,” Journal of Siam Society 38 (1950): 32-66.; Prince Dhani Nivat, Collected articals (Bangkok: The Siam Society, 1969).; Prince Damrong Rachanuphap, Miscellaneous articals: written for The Journal of Siam Society (Bangkok: The Siam Society, 1962).; Seni and Kukrit Promoj, A King of Siam Speaks (Bangkok: The Siam Society, 1987) เปนตน นอกจากนี้ พระราชวงศยังไดเขียนบทความ และหนังสือที่ตีพิมพนอกประเทศไทยดวย เชน Prince Dhani Nivat, “The Reign of King Chulalongkorn,” Journal of World History 2 (1954): 46-66.; Prince Chula Chakrabongse, Lord of Life,(London: Alwin Redman Limited, 1960). เปนตน
9
เกี่ยวกับการเมืองการปกครองของไทยจากนักวิชาการอเมริกัน ในขณะไทยตกอยูภายใตการ ปกครองแบบเผด็จการทหาร ทําใหบริบทดังกลาวมีอทิ ธิพลตอการกอรูปความเขาใจของ นักวิชาการอเมริกันที่ไดนําปญหาในบริบทที่ดาํ รงอยูสรางคําอธิบายยอนหลังลงไปในอดีต โดย การศึกษาการเมืองไทยสมัยใหมที่เริ่มตนทีก่ ารปฏิวัติ 2475 ชิ้นสําคัญในชวงทศวรรษดังกลาวได ใหภาพบทบาทของกองทัพเขาแทรกแซงการเมือง เชน เดวิด เอ. วิลสัน(David A. Wilson) เฟรด ดับลู. ริกสโดยเฉพาะอยางยิง่ กับแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”(Bureaucratic Polity)ของริกสที่ให ภาพการเมืองไทยวา ภายหลังการปฏิวัติ 2475 การเมืองไทยถูกครอบงําจากกองทัพอยาง ตอเนื่อง ซึ่งแนวคิดของริกสมอี ิทธิพลครอบงําการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยมาตั้งแต ทศวรรษ 2510 เปนตนมา14 ทั้งนี้ เดวิด มอรเรลและชัยอนันต สมุทวาณิช ลิขิต ธีระเวคิน สุจิต บุญบงการ ไดผลิตงานวิจัยที่สรางคําอธิบายทีเ่ ดินตามแนวคิดของริกสซึ่งมองการปฏิวัติ2475เปน จุดเริ่มตนของ“อํามาตยาธิปไตย”ที่มีแตกองทัพเปนตัวแสดงหลักเพียงตัวแสดงเดียวเทานั้นที่ สรางปญหาใหกับประชาธิปไตยไทย แมแตนักประวัตศิ าสตรอยางเดวิด เค.ไวแอตท(David K. Wyatt) ก็ยังเห็นวากองทัพเขาครอบงําการเมืองไทยตัง้ แตการปฏิวัติ 2475 ทําใหสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”หมดบทบาททางการเมืองไทยไปจวบกระทั่งหลัง 2500 สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”จึงสามารถกลับมามีบทบาททางการเมืองอีกครั้งหนึง่ 15 อยางไรก็ตาม ขาพเจา เห็นวา การใชแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”เปนแนวทางในการศึกษาการเมืองการปกครองของไทย อยางยาวนานนั้นไดสรางปญหาใหกับคําอธิบายในการเมืองการปกครองของไทยที่เห็นแตเพียง ปญหาจากบทบาทของทหารในการแทรกแซงการ เมืองเปนอุปสรรคทีส่ ําคัญที่สุดตอการสราง ประชาธิปไตย แตงานวิจยั ที่เดินตามแนวคิดดังกลาวกลับมองไมเห็นบทบาทของสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะที่เปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญยิง่ ภายในการเมืองของไทย ดวย
14
David A. Wilson, Politics in Thailand,(Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962).; Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of Bureaucratic Polity,(Honolulu: East-West Center, 1967). 15 David Morell and Chai-anan Samudavanija, Political Conflict in Thailand: reform, reaction, revolution,(Cambridge, Massachusetts : Oelgeschlager, Gunn & Hain, Publishers, 1981).; Likhit Dhiravegin, Thai Politics: Selected Aspects of Development and Change,(Bangkok: TRISciences Publishing House, 1985).; Suchit Bunbongkarn, “Political Institution and Processes,” in Government and Politics of Thailand, ed. Somsakdi Xuto ( Singapore: Oxford University Press, 1987), pp. 41-74.; David K. Wyatt, Thailand: A Short History,(Bangkok: Thai Watana Panich and Yale University Press, 1984).
10
ตอมา เบนเนดิกท แอนเดอรสัน(Benedict R.O’G Anderson)ไดเคยตั้งขอสังเกตถึง ความไมเพียงพอของการศึกษาเรื่องสถาบันกษัตริยซงึ่ มีบทบาททางการเมืองอยางมากใน ศตวรรษที่ 2016 แตการศึกษาในหัวขอดังกลาวยังคงคอนขางตกอยูในความเงียบ แมในเวลา ตอมาจะมีการศึกษาเรื่องสถาบันกษัตริย เชน เบนจามิน บัทสัน (Benjamin A. Batson) และบรูส แมคฟาแลนด ล็อกฮารท(Bruce McFarland Lockhart) เปนตน แตงานทั้งสองชิ้นเปนการศึกษา ที่มองวาสถาบันกษัตริยถ ูกกระทําทางการเมืองภายหลังปฏิวัติ 2475โดยไมพิจารณาวาสถาบัน กษัตริยเปนตัวแสดงทางการเมืองทีม่ ีฐานะเปนผูกระทําทางการเมืองสําคัญหลังการปฏิวัติ 2475 ดวยเชนกัน17 ดวยเหตุที่ แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”มองเห็นแตเพียงกองทัพเปนตัวแสดงหลักในการ เมืองไทย ทําใหแอนเดอรสันเริ่มตั้งคําถามถึงความเหมาะสมของการใชแนวคิดดังกลาวในการ อธิบายการเมืองไทย18 ตอมา ทักษ เฉลิมเตียรณไดบุกเบิกการศึกษาสถาบันกษัตริยก ับการเมือง ชิ้นสําคัญขึ้น ซึ่งเขาสรุปวาบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยเริ่มตนภายหลังการปฏิวัติ 2500 ภายใตระบอบเผด็จการทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต แตดวยเหตุที่ เขาไดใชการ รัฐประหาร 2500 เปนจุดเริ่มตนบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยทําใหงานของเขาปราศ จากความเคลือ่ นไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ภายหลังการปฏิวัติ 2475 ทั้งที่เปน ชวงเวลาทีน่ าสนใจ19 อยางไรก็ตาม ภายหลังจากงานของเขาแลว การศึกษาเรื่องดังกลาวยังคงมี ความคืบหนานอย จนอีกเกือบสองทศวรรษตอมา เควิน ฮิววิสนั (Kevin Hewison) ไดชี้ใหเห็นถึง ปญหาจากแนวคิด“อํามาตยาธิปไตย” ที่ครอบงําการศึกษาการเมืองการปกครองของไทยอยาง ยาวนานนั้นมีผลทําใหบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะตัวแสดงทาง 16
Benedict R.O’G Anderson, “The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies,” in The Study of Thailand, ed. Elizier B.Ayal (Athens, OH: Ohio University Center for International Studies, Southeast Asia Program, 1979), p. 193. 17 Benjamin A. Batson, The End of the Absolute Monarchy in Siam,(Singapore: Oxford University Press, 1984).; Bruce McFarland Lockhart, “Monarchy in Siam and Vietnam,1925-1946,” (Doctoral dissertation, Cornell University, 1990). 18 Anderson, “The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies,” p. 216. 19 Thak Chaloemtiarana, Thailand: The Politics of Despotic Paternalism (Bangkok: Thammasat University Press, 1979). โปรดดูการศึกษาที่ใหภาพความเคลื่อนไหวที่สําเร็จและลมเหลวของ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ในการเมืองไทยชวง 2475-2500 ใน Nattapoll Chaiching, “The Monarchy and the Royalist Movement in Thai Politics, 1932-1957,” in Saying the Unsayable: Monarchy and Democracy in Thailand, eds. Soren Ivarsson and Lotte Isager (Copenhagen: NIAS Press), forthcoming 2010
11
การเมืองไดหายไปจากการวิเคราะหการเมืองไทย เแมการปฏิวัติ 2475 ไดโคนระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยลงแตก็ไมไดหมายความวา สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”จะพาย แพ แตพวกเขายังคงมีพลวัตรการที่สําคัญอยูภายในการเมืองตอไป20 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ภายใต แนวคิด“อํามาตยาธิปไตย”นัน้ ทําใหคําถามถึงบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”ภายหลังการปฏิวตั ิ 2475 ไดหายไป สําหรับ ปญหาคําอธิบายในการศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินิยมนัน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในแนวการศึกษาแบบดั้งเดิม การศึกษาสวนใหญยงั คงดํารงคําอธิบายหลักที่ สําคัญ คือ การยอมรับคําอธิบายที่วา ชนชัน้ นําไทยในอดีตมีพระปรีชาสามารถ มีความเสียสละที่ สูงสงและมีความสุขุมคัมภีรภาพในการวิเทโศบายเพื่อรักษาเอกราชของไทยดวยนโยบายโอน ออนผอนตาม เชน กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ(พระองคเจาวรรณไวทยากร) นิออน สนิทวงศ รอง ศยามานนท ม.ล.มานิต ชุมสาย น้ําเงิน บุญเปยม แถมสุข นุมนนท และเพ็ญศรี ดุก เปนตน21 ไมแตเพียงงานนิพนธเกีย่ วกับความสัมพันธระหวางประเทศของไทยเทานั้นที่ยอมรับคําอธิบาย 20
Kevin Hewison, “The Monarchy and democratization”,Political Change in Thailand: Democracy and Paticipation,” in Political Change in Thailand: Democracy and Paticipation, ed.,Kewin Hewison (London: Routledge, 1997), pp. 58-74. 21 พระองคเจาวรรณไวทยากร, “วิเทโศบายของสยาม,”พิมพครั้งแรกในหนังสือพิมพประชาชาติ วันที่ 3 ตุลาคม 2475, ใน อนาคตแหงสยาม,(พระนคร: บรรณกิจ, 2489),หนา 15-75.; พระองคเจา วรรณไวทยากร, ประวัติการทูตไทย,(พระนคร: อุดม, 2486). งานนิพนธเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางประเทศ การวิเทโศบาย และประวัติการทูตของพระองคเจาวรรณไวทยากร ถือเปนแบบการอธิบายสําคัญที่พระราชวงศชั้นสูงทรง พยายามสรางคําอธิบายการวิเทโศบายของชนชั้นนําในระบอบสมบูรณายาสิทธิราชยเขาสูระบอบประชาธิป ไตย ทั้งนี้ ในงานชิ้นหนึ่งทรงไดยกความคิดของ เอ็ดมันด เบอรก จากปาฐกถาเรื่อง สุนทรพจนวาดวยการ ประนอม (Speech on Conciliation)ที่เบอรกอธิบายการปฏิวัติในอเมริกาวาเปนการประนอม(conciliation) จากนั้นก็ทรงพยายามอธิบายเทียบเคียงการปฏิวัติ 2475 เขากับการวิเทโศบายที่โอนออนผอนตามของพระ จอมเกลาฯและพระจุลจอมเกลาฯที่พระองควรรณฯทรงเห็นวาเปนการประนอมเพื่อเปนแนวทางที่คณะราษฎร ยึดถือตอไป (โปรดดู พระองคเจาวรรณไวทยากร, “คุณานุสรณพระปยะมหาราช,” ใน ชุมนุมพระนิพนธ,(พระ นคร: ประชาชาติ, 2483),หนา 186-193. จากนั้น แนวทางคําอธิบายแบบโอนออนผอนตามทํานองดังกลาวก็ ถูกรับตอมาโดยนักวิชาการในชวงตอๆมา เชน Neon Snidvongs, “The development of Siam's relations with Britain and France in the reign of King Mongkut, 1851-1868”.; Rong Syamananda, An Outline f Thai History.; M.L.Manich Jumsai, History of Anglo-Thai relations.; Namngern Boonpiam, “AngloThai relations, 1825-1855: a study in changing of foreign policies”.; แถมสุข นุมนนท, “การเจรจา ทางการทูตระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909”.; แถมสุข นุมนนท, การทูตสมัยรัตนโกสินทร,หนา 2.; เพ็ญ ศรี ดุก, การตาง ประเทศกับเอกราชและอํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงคราม). เปนตน
12
ความปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทย แตในงานของนักวิชาการตางประเทศไดรับคําอธิบาย ดังกลาวเขามาเชนกันนําไปสูการอางอิงระหวางกันไปมาในสาขาประวัติศาสตร การเมืองการ ปกครอง ความ สัมพันธระหวางประเทศของไทยเชนเดียวกันจนกลายเปนความรูทวั่ ไปที่แทบไมมี ใครตั้งขอสังสัย เชน ดี. จี. อี. ฮอลล(D.G.E. Hall) โดนัล อี. นูชเตอรลนิ (Donald E. Nuecterlein) เดวิด เอ.วิลสัน และเดวิด เค. ไวแอตท แมกระทัง่ งานของ เฟรด ดับลู.ริกส เปนตน 22 ทั้งนี้ งานวิชาการของนักวิชาการกลุม ขางตนไดกลายเปนแมแบบของการสรางแนว คําอธิบายในการวิจัยและการเรียนการสอนของนักวิชาการและนิสิตนักศึกษาไทย โดยเฉพาะ อยางยิ่ง เมื่อนักวิชาการจากไทยที่รับทุนการศึกษาจากสหรัฐฯและรัฐบาลไทยเดินทางไปศึกษา ที่สหรัฐฯภายใตบริบทของสงครามเย็นในชวงทศวรรษที่ 2510-2520 ภายใตการกํากับดูแลของ คณาจารยที่เชีย่ วชาญเรื่องไทยและอางอิงงานวิชาการของนักวิชาการกลุมขางตนยอมมีผลตอ การสรางคําอธิบายความสัมพันธไทยและสหรัฐฯในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึง 2500 ที่ สวนใหญมุงอธิบายที่ปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯที่เนนมิติความมั่นคงเพื่อตอตานภัย คอมมิวนิสต และสรางคําอธิบายยอนถอยหลังลงไปวาทัง้ ไทยและสหรัฐฯมีความสัมพันธระหวาง กันอันตอเนื่องยาวนานนับตัง้ แตพระจอมเกลาฯ จากนัน้ ทั้งคูก็ไดรวมมือกันอยางเทาเทียมภายใต ความเห็นพองตองกันถึงภัยคุกคามจากคอมมิวนิสตเพือ่ รักษาเอกราชเปนภาพที่สวยงามราบรืน่ ยิ่ง ตลอดจนการศึกษาของนักวิชาการอเมริกันที่ผลิตผลงานในชวงเวลาดังกลาว เชน วิวัฒน มุง การดี ชาตรี ฤทธารมย เดวิด เอ.วิลสัน วนิดา ตรงยังกูล อภิชาติ ชินวรรโณ อดุลยศักดิ์ สุนทรโร จน และอาร. เซิล แรนดอฟ(R. Sean Randolph)เปนตน23 เปนตน และเมื่อคําอธิบายดังกลาวที่ 22
D. G. E. Hall, A History of South East Asia,(London: Macmillan, 1968).; Donald E. Nuecterlein, Thailand and The Struggle for Southeast Asia,(New York: Cornell, University Press, 1967); Wilson, Politics in Thailand.; Wyatt, Thailand: A Short History.; Fred W. Riggs, Thailand: The Modernization of A Bureaucratic Polity,(Honolulu: East-West Center, 1967). แมงานของ เฟรด ดับบลู. ริกสจะเนนการสรางศึกษาถึงบท บาทของกองทัพในการเมืองไทย แตเขาไดใหภาพเปรียบเทียบถึงวิเทโศบาย ของชนชั้นนําระหวางพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯกับพระเจามินดง เมื่อจักวรรดินิยมกดดันแตชนชั้นนํา สยามมีปรีชาสามารถในการโอนออนผอนตามเพื่อรักษาเอกราชของไทย จากนั้นชนชั้นนําไทยก็เริ่มตนสราง ความเปนสมัยใหมใหเกิดขึ้น โปรดดูใน “Chapter 1 The Modernization of Siam and Burma,” pp. 15-64. ทั้งนี้ ริกส ใชงานของ ฮอลล(Hall) และ มอฟแฟท(Moffat) เปนแหลงขอมูล โดยฮอลลและมอฟแฟท ไดอางอิง คําอธิบายพระปรีชาสามารถของชนชั้นนําไทยมาจาก“กลุมรอยัลลิสต” โปรดดูเชิงอรรถและบรรณานุกรมของ ตําราเหลานี้ 23 Chatri Ritharom, “The Making of the Thai-U.S. Military Alliance and the SEATO Treaty of 1954: A study in Foreign Involvement,” (Doctorial dissertation, American University, 1969).;David A. Wilson, The United States and the Future of Thailand, (New York: Praeger Publishers, 1970).; Wiwat
13
เกิดขึ้นภายใตบริบทของการเมืองระหวางประเทศในชวงสงครามเย็นตลอดจนการรับอิทธิพลของ คําอธิบายที่มมี ากอนหนา ดังนัน้ คําอธิบายความสัมพันร ะหวางไทยกับสหรัฐฯทีเ่ กิดขึ้นในชวงนี้ จึงมีสวนในการรักษาและผลิตซ้ําคําอธิบายที่แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาของชนชัน้ นําไทย แต ขาพเจาเห็นวาคําอธิบายดังกลาวเปนเพียงการกลาวถึงความจริงเพียงบางสวนเกีย่ วกับการ วิเทโศบายของชนชัน้ นําไทยเทานัน้ แตมีสว นอําพรางผลประโยชนที่ชนชั้นนําไทยเหลานัน้ ไดรับ จากการเขามีปฏิสัมพันธกับจักวรรดินิยมและปญหาความขัดแยงทางการเมืองภายในของไทย อยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจนกระทั่งถึงทศวรรษ ที่ 2520 จากการที่ไทยเขาไปมีปฏิสัมพันธกบั สหรัฐฯ ในขณะที่ ปจจุบันมีกระแสการทาทายคําอธิบายความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดิ นิยมที่อธิบายที่เนนความปรีชาสามารถของชนชัน้ นําไทยจากนักวิชาการประวัติศาสตรและ ความสัมพันธระหวางประเทศแลวก็ตาม เชน การศึกษาของธงชัย วินิจจะกูล พบวา มีคําอธิบาย ของราชสํานักหรือคําอธิบายของ“กลุมรอยัลลิสต” ในเรื่องการเสียดินแดนทีท่ รงพลังอยางมากใน การสรางคําอธิบายในประวัติศาสตรไทยทีเ่ ขาเรียกวา คําอธิบายประวัติศาสตรแบบ“ราชา ชาตินิยม”24 และการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับจักวรรดินิยมในยุค“จักรวรรดิอังกฤษ” ของ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด 25 ทัง้ สองคนไดนําเสนอคําอธิบายใหมทโี่ ตแยงคําอธิบายหลักของ ความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินิยม Mungkandi, “In Search of Security: Thailand and The United States, 1945-1950,” (Doctoral dissertation, Harvard University, 1975).; Vanida Trongyounggoon Tuttle, “Thai-American Relations,1950-1954,” (Doctoral dissertation, Washington States University, 1982).; Apichat Chinwanno, “Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954,” (Doctoral dissertation, Oxford University, 1985).; Adulyasak Soonthornrojana , “The Rise of United States-Thai Relations,1945-1954,” (Doctoral dissertation, University of Akron ,1986).; R. Sean Randolph , The United State and Thailand : Alliance Dynamics,1950-1985 (Berkeley : Institution of East Asian Studies University of California,1986) ยกเวนงานของ Surachart Bamrungsuk ,United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947 – 1977 ( Bangkok : Duang Kamol,1988). 24 Thongchai Winichakul, Siam mapped: a history of the geo-body of a nation,(Chiang Mai: Silkworm books, 1995).; ธงชัย วินิจจะกูล, “ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสู ราชาชาตินิยมใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน,” ศิลปวัฒนธรรม 23 (พฤศจิกายน 2544): 56-65. 25 Kullada Kesboonchoo Mead, The rise and decline of Thai absolutism,(London: The School of Oriental and African Studies, University of London, 2000).
14
กุลลดา เกษบุญชู มี้ดไดทาทายคําอธิบายความสัมพันธระหวางไทยกับจักรวรรดินยิ มวา เมื่ออํานาจของจักรวรรดินิยมแผมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยในปลายพุทธศตวรรษที่ 23 ชนชัน้ นําในราชสํานักหรือกลุมของพระจอมเกลาฯนัน้ มิไดขัดขืนอํานาจของจักรวรรดิ แตชน ชั้นนํากลุมนี้กลับทําตนเปนตัวแสดงที่เชื้อเชิญอํานาจของจักรวรรดินยิ มเขาสูไทยเพื่อเปน เครื่องมือในการทําลายอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจของชนชั้นนําที่เปนปรปกษตอกลุม ตนเองลง เมื่ออํานาจจักรวรรดินิยมเขามาในไทยไดจึงทําการเปลีย่ นแปลงและครอบงํากิจกรรม ทางเศรษฐกิจเพื่อตอบสนองตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมในยุค ”จักวรรดินิยมอังกฤษ”เรืองอํานาจโดยกลุม ของพระจอมเกลาฯก็ไดประโยชนทางเศรษฐกิจจาก จักรวรรดินิยมเชนกัน สวน ธงชัย วินจิ จะกูลไดเสนอคําอธิบายทีท่ าทายตอเนื่องวา ภายหลังที่ชนชัน้ นําไทยได ชักจูงใหอํานาจจักรวรรดิเขาสูไทยแลว ตอมา เกิดความขัดแยงระหวางไทยกับจักรวรรดินิยมใน เรื่องการแขงขันกันขยายดินแดนแตปรากฎวาชนชั้นนําของไทยพายแพ สงผลใหชนชั้นนําของราช สํานัก เชน กรมพระยาดํารงราชนุภาพไดทรงงานนิพนธทางประวัติศาสตรไทยขึ้นหลายฉบับ ดวย ทรงพยายามนําความรูสึกปวดราวรวมสมัยแตตองดํารง“ราชานุภาพ”ตอไปดวยการทรงสรางคํา อธิบายรวมสมัยทีย่ อนถอยหลังลงไปถึงการรบระหวางไทยกับพมา เพือ่ เยียวยาความรูสึก ตระหนกตกใจของชนชัน้ นําขณะนั้นและดํารง“ราชานุภาพ”ตอไปดวยคําอธิบายทํานองวา ชนชั้น นําไทยมีพระปรีชาสามารถในวิเทโศบายจึงจําเปนตองโอนออนผอนตามและเสียสละดินแดนของ บางสวนเพื่อรักษาเอกราชของไทยไว จากนั้น ในสมัยตอๆมา นักวิชาการไทยโดยเฉพาะอยางยิง่ นักวิชาการ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ไดรับเอาคําอธิบายดังกลาวเขามาเปนแบบแผนของงานนิพนธทาง ประวัติศาสตร การเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศอยางตอเนื่อง ทัง้ นี้ ขอ เสนอของกุลลดา เกษบุญชู มี้ดและธงชัย วินิจจะกุลมีความเห็นสอดคลองกันวาไทยในชวงเวลา แหงการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชยตกอยูภายใตสภาวะ“กึ่งอาณานิคม”ของจักรวรรดิ นิยม26 จากที่ไดพรรณนามาขางตน จะเห็นไดวา ปญหาของการสรางคําอธิบายของการเมือง การปกครองของไทยที่ผานมารวมทั้ง การศึกษาการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 นั้นตกอยูภายใตคําอธิบายแบบ“อํามาตยธิปไตย”ที่เห็นวา กองทัพเปน ตัวแสดงเดียวในการสรางปญหาใหกับการเมืองของไทย โดยปราศจากการพิจารณาสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”วามีบทบาททางการเมืองอยางไร อีกทัง้ ปญหาของคําอธิบายของ 26
Thongchai Winichakul, “Siam’s Colonial Conditions and the Birth of Thai History ” Paper presented to the Conference, “Unraveling the Myths of Southeast Asia Historiography”(24-26 November 2006) in honor of Professor Barend Jan Terwiel.
15
ความสัมพันธระหวางประเทศแบบดั้งเดิมที่ศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศในระดับรัฐตอรัฐ ครอบงําการศึกษาความสัมพันธระหวางประเทศของไทยมีสวนทําใหการศึกษาในชวงตอมามิให ความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยมากเทาที่ควร ตลอดจนมีสวนในการอํา พรางผลประโยชนที่ชนชั้นนําไทยขณะนั้นไดรับจากการเขามีปฏิสัมพันธกับสหรัฐฯดวยเชนกัน ดังนัน้ ดวยปญหาที่คําอธิบายของการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของ ไทยที่ผา นมาจึงเปนเพียงภาพความจริงสวนหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ ของการเมืองไทยภายใตปฏิสัมพันธ ระหวางไทยกับสหรัฐฯเทานัน้ ตอมา แอนเดอรสันไดเคยเรียกรองใหมีการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯ ในชวง“สมัยอเมริกัน“(American Era)ขึ้นมาเฉพาะ27 เนื่องจาก เขาเห็นวาสหรัฐฯไดเริ่มเขามา ครอบงําการเมืองไทยตัง้ แตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผานความชวยเหลือทางการทหารใหแก กองทัพและตํารวจของไทยเพื่อตอตานคอมมิวนิสตในชวงสงครามเย็นอันมีผลลึกซึง้ ทีท่ ําให การเมือง เศรษฐกิจและสังคมของไทยมีการเปลี่ยนแปลงอยางมหาศาล ตอมากุลลดา เกษบุญชู มี้ดไดเรียกรองใหมกี ารทบทวนและวิพากษการศึกษาประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางไทย และสหรัฐฯใหม แทนที่จะพิจารณาแตเพียงความสัมพันธเรื่องนโยบายความมัน่ คงในระดับรัฐ แต ควรพิจารณาพลวัตรและการพัฒนาการเมืองของไทยในบริบทของสมัยอเมริกาดวย โดยแนวทาง การศึกษานี้ไดเสนอคําอธิบายใหมวา ปฏิสัมพันธระหวางสหรัฐฯในฐานะที่เปนศูนยกลางระบบ ทุนนิยมกับไทยในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม รัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต และรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจรนั้นเปนปฏิสัมพันธที่ไมเทาเทียมกัน โดยสหรัฐฯไดจัดวางให ไทยมีความสําคัญในฐานะเปนฐานรองรับการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและเปน ประเทศยุทธศาสตรปฏิบัติการจิตวิทยาในชวงสงครามเย็น จากนัน้ สหรัฐฯไดผลักดันแนวคิดการ พัฒนาเขาสูไทยเพื่อเปลี่ยนแปลงไทยใหเปนไปตามผลประโยชนของสหรัฐฯซึ่งบทบาทของสหรัฐฯ ที่ไดเกิดขึ้นกอใหเกิดการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองภายในของไทยอยางสําคัญ28
27
Benedict R.O’G Anderson, “Introduction,” in In The Mirror, eds. Benedict R.O’G Anderson and Ruchira Mendiones (Bangkok: Duang Kamol, 1985), p. 19. 28 Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist of Thai-U.S. relation,” Asian Review 16 (2003): 45-67.;กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุนปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550).; กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, ความขัดแยง ทางการเมืองไทย ขามไปใหพนพลวัตภายใน,(กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา, 2552) และโปรดดู กระแสการโตแยง ในการศึกษาประวัติศาสตรนิพนธสงครามเย็นใน Soravis Jayanama, “Rethinking the Cold War and the American empire,” Asian Review 16 (2003): 1-43.
16
ทั้งนี้ การศึกษาการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของบทบาท ของสหรัฐฯที่เขามามีปฏิสัมพันธกับไทยชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.24912500 นัน้ สามารถแบงการศึกษาไดเปน 3 กลุม คือ การศึกษากลุม แรกเนนศึกษาเฉพาะการ เมืองไทยภายในชวงเวลาดังกลาว เชน สุดา กาเดอร สุชนิ ตันติกุล สุเพ็ญ ศิริคูณ ประทีป สาย เสน สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล วิวัฒน คติธรรมนิตย นิก อนูอา นิก มาหมูด(Nik Anuar Nik Mahmud) และสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ29 เปนตน แมงานกลุมนี้เนนการศึกษาการเมือง ภายในชวงเวลาดังกลาวที่ใหภาพการเมืองที่มีความละเอียดในเหตุการณหรือความเคลื่อนไหว ของกลุมการเมืองก็ตาม แตยังไมใหความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยและ ปฏิสัมพันธของกลุมการเมืองตางๆกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิง่ การไมนาํ บทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”มาเปนตัวแสดงในการศึกษาการ เมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวอยางเพียงพอ กลุมที่สองไดเนนศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาว แต การศึกษาในกลุมนี้ตกอยูภายใตคําอธิบาย 2 แบบ คือ คําอธิบายแบบแรก เปนคําอธิบายของ อุดม ศรีสุวรรณที่เกิดขึ้นในป 2493 30 เขาเสนอคําอธิบายวา ความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯ ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันมีผลทําใหไทยมีลักษณะเปน “กึ่งเมืองขึ้น” อยางไรก็ตาม ขอเสนอจากคําอธิบายดังกลาวยังขาดการคนควาเพื่อพิสูจนขอเสนอ ดัง กลาวโดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงสมัยรัฐบาลของพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 วามี ขอเท็จจริงเชิงประจักษเชนไร สําหรับคําอธิบายแบบที่สองเปนการศึกษาทีม่ ุงความสัมพันธ ระหวางประเทศที่เนนมิติความมัน่ คงเพื่อตอตานภัยคอมมิวนิสตซึ่งเปนการศึกษาความสัมพันธ ระหวางรัฐตอรัฐฯระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวงสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามทีเ่ นนแตเพียงมิติ ทางการทหาร การตอสูกับภัยที่มาคุกคามเอกราชเปนสําคัญ ซึ่งเปนการศึกษาทีม่ ีฐานคติวา 29
สุดา กาเดอร, “กบฎแมนฮัตตัน,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516).; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองรัฐประหาร 2490,” (วิทยานิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517).; ประทีป สายเสน, กบฎวังหลวงกับ สถานะของปรีดี พนมยงค. (กรุงเทพฯ: อักษรสาสน, 2532).; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความ ขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492. (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, 2535).; Somsak Jeamteerasakul, “The Communist Movement in Thailand,” (Doctoral Dissertaion Monash University, 1993).; วิวัฒน คติธรรมนิตย, กบฎสันติภาพ. (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคบไฟ, 2539).; Nik Anuar Nik Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup. (Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998).; สุธาชัย ยิ้ม ประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย. 30 “อรัญญ พรหมชมพู” (อุดม ศรีสุวรรณ), ไทยกึ่งเมืองขึ้น . (พระนคร : โรงพิมพอุทัย, 2493).
17
ความสัมพันธระหวงไทยกับสหรัฐฯวางอยูบ นความเทาเทียมกัน คําอธิบายดังกลาวนี้เฟองฟูมาก ในชวงทศวรรษ 2510-2530 เชน ชาตรี ฤทธารมย เดวิด เอ. วิลสัน วิวัฒน มุงการดี วนิดา ตรง ยังกูล ทูตเติล อภิชาติ ชินวรรโณ อดุลยศักดิ์ สุนทรโรจน และ อาร. เซิล แรนดอฟ 31 เปนตน คําอธิบายจากงานเขียนเหลานี้กอใหเกิดชุดของคําอธิบายความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯทีม่ ี แนวโนมมองขามบทบาทของสหรัฐฯที่เขาแทรกแซงการเมืองไทยดวยการใหการสนับสนุนกลุม การเมืองตางๆและปญหาทีเ่ กิดขึ้นจากปฏิสัมพันธระหวางกันในชวงเวลาดังกลาว สวนการศึกษาในกลุม ที่สามนั้นมีการพยายามนําบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทย เขามาพิจารณา เชน แฟรงค ซี. ดารลิ่ง(Frank C. Darling )ศึกษาความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯ ในทางการเมืองและการทหาร แตดวยเหตุที่เขาทํางานเปนนักวิจยั ใหกับซีไอเอ(The U.S. Central Intelligence Agency: CIA)มีผลทําใหความรูที่ไดจากงานของเขามีแตเพียงภาพความชวยเหลือ ตางๆของสหรัฐฯในทางบวกที่มีตอไทย โดยเขาสรุปวา ปญหาการเมืองไทยขณะนัน้ เกิดขึ้นจาก ความขัดแยงทางการเมืองภายในของไทยระหวางกลุมทหาร กลุมตํารวจและรัฐบาลที่ชวงชิง อํานาจกันจนกระทัง่ เขาเรียกการเมืองในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามวา “การเมืองสาม เสา” (The Triumvirate)โดยปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ใน ฐานะตัวแสดงทางการเมืองเขามาพิจารณา และโดยเฉพาะอยางยิง่ การปราศจากการนําบทบาท ของสหรัฐฯที่แทรกแซงการเมืองไทยเขามาพิจารณาเปนมูลเหตุของปญหาการเมืองของไทย ขณะนั้น32 แมกระทั่ง ในงานศึกษาชิน้ ลาสุดที่ทาํ การศึกษาความสัมพันธไทยและสหรัฐฯในสมัย รัฐบาลจอมพล ป. ในชวงเวลาเดียวกันของแดเนี่ยล มารก ไฟนแมน(Daniel Mark Fineman)ก็ ยังคงใหนา้ํ หนักกับกลุมทหารเปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญตอไปนั้นยิ่งเปนการตอกย้ํา ความคิด“อํามาตยาธิปไตย” แมวา เขาจะไดศึกษาบริบทการเมืองระหวางประเทศในสมัย อเมริกันเรืองอํานาจทีม่ ีผลกระทบตอการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ก็ตาม แตดวยเหตุที่ เขาขยายชวงเวลาของการศึกษาตอจากทักษ เฉลิมเตียรณที่เคยศึกษาความสัมพันธระหวาง 31
Chatri Ritharom, “The Making of the Thai-U.S. Military Alliance and the SEATO Treaty of 1954: A study in Foreign Involvement ”. ; Wilson, The United States and the Future of Thailand.; Wiwat Mungkandi, “In Search of Security: Thailand and The United States, 1945-1950”. ; Vanida Trongyounggoon Tuttle, “Thai-American Relations,1950-1954”. ; Apichat Chinwanno, “Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954”.; Adulyasak Soonthornrojana, “The Rise of United States-Thai Relations, 1945-1954”. ; R. Sean Randolph , The United State and Thailand : Alliance Dynamics, 1950-1985. ยกเวนงานของ Surachart Bamrungsuk , United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947 – 1977. 32 Frank C. Darling, Thailand and the United States,(Washington, D.C.: Public Affaris Press, 1965).
18
กองทัพในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกบั สถาบันกษัตริยในการเมืองไทยหลังการรัฐประหาร 2500 ขึ้นไปอีกจนถึงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกทั้ง เขายอมรับขอสรุป ของทักษทวี่ า สถาบันกษัตริยเริ่มมีบทบาททางการเมืองภายหลังการรัฐประหาร 2500 ทําให การศึกษาของเขาละเลยตัวแสดงทางการเมืองที่สาํ คัญยิง่ คือ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”ในการเมืองไทยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ดวยเชนกัน33 ขาพเจาเห็นวา การศึกษาของทักษ เฉลิมเตียรณและแดเนี่ยล มารก ไฟนแมน มีปญ หา ในการละเลยตัวแสดงทางการเมืองภายในและบทบาทของสหรัฐฯไป กลาวคือ การศึกษาของ ทักษละเลยถึงบทบาทของ สหรัฐฯกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งเปนตัวแสดงทาง การเมืองที่สาํ คัญในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เนื่องจาก ทักษสรุปวา สถาบันกษัตริยม ีบทบาททางการเมืองภายหลังการรัฐประหาร 2500 อีกทัง้ ไมมีการ นําบทบาทของสหรัฐฯที่เขามาแทรกแซงการเมืองไทยอยางตอเนื่องในชวงรัฐบาลจอมพล ป. โดยเฉพาะอยางยิง่ การกอตัวของความรวมมือแบบ“ไตรภาคี”(The Tripartite)* ระหวางสหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพที่นาํ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรวมมือกันในการรัฐประหารโคนลม รัฐบาลจอมพล ป.ในป 2500 ในขณะทีก่ ารศึกษาของไฟนแมนนั้น แมจะเขาไดนําบทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอการเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป.เขามาพิจารณาก็ตาม แตการศึกษาของเขาก็ ยังคงขาดการนําบทบาทและความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” เขามา พิจารณาในการศึกษาสงผลใหภาพการเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวจากการนําเสนอของเขาได ละเลยตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญไปอยางนาเสียดาย ดวยเหตุที่ การศึกษาการเมืองไทยในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม พ.ศ. 2491-2500 ที่ผานมามุง ศึกษาเนนแตเพียงการเมืองภายในภายใตแนวคิด “อํามาตยธิปไตย”เปน สําคัญโดยปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะตัวแสดง 33
โปรดดู Thak, Thailand: The Politics of Despotic Paternalism; Daniel Mark Fineman, A Special Relationship: The United State and Military Government in Thailand 1947-1958,(Honolulu: University of Hawaii Press, 1997). *
ขาพเจาไมเห็นดวยกับคําวา “การเมืองสามเสา”( The Triumvirate) ของแฟรงค ซี. ดารลิ่ง(Frank C. Darling, Thailand and the United States) เนื่องจาก เขาใชคําดังกลาวในความหมายของกลุมการเมือง ภายในของไทย 3 กลุมในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม คือ กลุมจอมพล ป. กลุมพล ต.อ.เผา ศรี ยานนท และกลุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ดวยเหตุที่ คําดังกลาวเนนการเมืองภายในทําใหบทบาทของสหรัฐฯ ในฐานะอํานาจภายนอก และสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งเปนตัวแสดงทางการเมืองที่สําคัญอีกตัว หนึ่ง หายไปจากการศึกษาการเมืองในชวงดังกลาว นอกจากนี้ คํานี้ถูกใชกันอยางแพรหลายในงานวิจัยที่ศึกษา การเมืองไทยในสมัยดังกลาวจึงมีสวนทําใหสหรัฐฯ และสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” หายไปจากการ รับรูในฐานะตัวแสดงทางการเมืองดวยเชนกัน
19
สําคัญทางการเมือง อีกทั้ง งานวิจยั ที่ผา นมีแนวโนมไมใหความสําคัญกับบทบาทของสหรัฐฯที่มี ตอการเมืองไทยและปฏิสัมพันธของกลุมการเมืองตางๆกับสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาวอยาง เพียงพอ ในขณะที่ การศึกษาความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯในชวงสมัยดังกลาวมุง เนนความ สัมพันธในลักษณะรัฐตอรัฐที่วางอยูบนความสัมพันธทเี่ สมอภาคในมิติการตอสูกับภัย คอมมิวนิสตทจ่ี ะมาคุกคามเอกราช โดยมิไดใหความสําคัญกับความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกัน ระหวางสหรัฐฯในฐานะศูนยกลางของทุนนิยมโลกซึง่ มีสว นสําคัญในการจัดระเบียบโลกภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 กับไทย ดังนัน้ จะเห็นไดวา ปญหาสําคัญของการศึกษาปฏิสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯในชวง สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 จากการสํารวจวรรณกรรมขางตนนัน้ คือ การ หายไปของบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยและบทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุม รอยัลลิสต” ในการเมืองไทยภายใตบริบทระเบียบโลกของสหรัฐฯ 1.3 กรอบแนวคิดในการศึกษา กรอบแนวคิดในการศึกษาครัง้ นี้ เปนการใชแนวคิดเรื่องระเบียบโลกของสหรัฐฯ ซึ่ง แนวคิดดังกลาวเห็นวา ในชวงเวลาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯมีฐานะศูนยกลาง ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยสหรัฐฯมีความตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมดวยการเขาไปมีสวนในจัดระเบียบโลกดวยการสรางกติกาทางการคาและ การเงินที่ทาํ ใหเกิดการยอมรับสกุลเงินดอลลารเปนสกุลเงินหลักและการผลักดันใหระบบเศรษฐ กิจของประเทศตางๆเปดรับการเขาไปลงทุนของสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯไดพยายามเขาไปฟนฟูภูม-ิ ภาคยุโรปตะวันตกและเอเชียโดยเฉพาะอยางยิ่งญี่ปนุ ดวยเหตุที่ สหรัฐฯตองการทําใหญี่ปนุ มี การฟน ตัวทางเศรษฐกิจจึงจําเปนตองดึงเอาภูมิภาคที่เปนอาณาบริเวณรอบนอกของเอเชีย โดย เฉพาะอยางเอเชียตะวันออกเฉียงใตซึ่งรวมทั้งไทยใหกลายเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติและ ตลาดรองรับสินคาเพื่อใหเขามาเปนสวนหนึ่งของระเบียบโลกของสหรัฐฯ ชวงเวลาดังกลาวจึงเปน ครั้งแรกที่สหรัฐฯใหความสําคัญกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมทัง้ ไทยภายใตโครงการขอที่สี่ (Point Four)ของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีแฮรี่ เอส. ทรูแมน(Harry S. Truman) ตอมา สหรัฐฯเห็นวา ความเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสตและขบวนการชาตินิยมที่เกิดขึน้ อยางมาก ในประเทศยากจนทั่วโลกซึ่งรวมถึงจีนและอินโดจีนเปนอุปสรรคตอการขยายตัวของระบบ เศรษฐกิจแบบทุนนิยมตามทีส่ หรัฐฯตองการ สหรัฐฯจึงไดเริ่มใหความสําคัญกับมิติเรือ่ งความ มั่นคงดวยความชวยเหลือทางการทหารเพื่อตอ ตานการขยายตัวของคอมมิวนิสต โดยสหรัฐฯได ใหความชวยเหลือทางการทหารตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมทัง้ ไทยมากยิ่งขึน้ โดยเฉพาะ
20
อยางยิ่งในสมัยประธานาธิบดี ดไวต ดี. ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower)ที่มีตอไทยซึ่งไทย ถูกกําหนดใหกลายเปนศูนยกลางของปฏิบัติการทางการทหารเพื่อตอตานคอมมิวนิสต ตอมา สหรัฐฯไดเรียกรองใหไทยยอมรับการเปดเสรีการลงทุนและแนวคิดในการพัฒนาเพือ่ การพัฒนา เศรษฐกิจควบคูไปกับการตอตานคอมมิวนิสต 34 ในขณะที่ สหรัฐฯไดเริ่มตนจัดระเบียบโลกตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนนั้ เปน ชวงเวลาที่ไทยอยูในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึง่ มีการตอสูทางการเมืองภายในอยางเขมขน ของหลายพวกหลายกลุมการเมือง ดังนัน้ การศึกษาการเมืองภายในของไทยในชวงเวลาดังกลาว จึงเลือกใชแนวคิดเรื่อง กลุม เปนแนวคิดในการจัดแบงกลุมการเมืองตางๆภายใตรัฐบาลภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทั่งการลมสลายของรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงครามในป 2500 ทั้งนี้ กลุมการเมืองในชวงเวลาดังกลาวนัน้ สามารถจําแนก กลุมการเมืองสําคัญไดดังนี้ “กลุม ปรีดี” “กลุมจอมพล ป.” และ “ ‘สถาบันกษัตริย’และ ‘กลุมรอยัลลลิสต’ ” 1.4 สมมติฐานการวิจัย นับแตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทมีบทบาทสําคัญตอไทยโดยเริ่ม จากการพยายามแสวงหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจและตอมาสหรัฐฯไดเขามามีบทบาทในการ เมืองของไทยดวยการใหความสนับสนุนกลุมการเมืองภายในผานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามซึ่งมีทงั้ กลุมตํารวจ และกลุมทหาร เพื่อใหการเมืองไทยมีเสถียรภาพและรวมตอตาน คอมมิวนิสตกบั สหรัฐฯ จากนั้น สหรัฐฯไดใหการสนับสนุนสถาบันกษัตริย เพื่อทําใหการเมืองไทย มีเสถียรภาพทางการเมืองและดําเนินนโยบายตามความตองการของสหรัฐฯตอไป ดวยเหตุที่ สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยผานการใหการสนับสนุนกลุมการเมืองภายใน มากเทาไร ยิ่งเปนปจจัยชี้ขาดสําคัญที่ทาํ ใหกลุมการเมืองนัน้ ๆไดรับชัยชนะทางการเมืองเหนือ 34
กรอบแนวคิดดังกลาวสรุปจาก William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955,(London: University of Wisconsin Press, 1984).; Jim Glassman,Thailand at the Margins.(New York: Oxford University Press, 2004).; Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist of Thai-U.S. relation,”: 45-67.; กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การ เมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุนปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหง ประเทศไทย, 2550).;Christian Reus-Smit, American Power and World Order.(Cambridge: Polity Press, 2004).; Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy,” Environment and Planning 37 ( A 2005): 1527-1544.;George C. Herring, From Colony To Supper Power.(New York: Oxford University Press, 2008).
21
กลุมการเมืองอื่นมากขึ้นเทานั้น ดังนั้น บทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองไทยในชวงวลาดังกลาว จึงมีผลกระทบโดยตรงตอการปกครองของไทยที่ยงิ่ เปลีย่ นไปในทิศทางการปกครองแบบเผด็จ การทหารและทําใหไทยไดกลายเปนสวนหนึง่ ของระเบียบโลกของสหรัฐฯที่มีความแนบแนนยิง่ ขึ้น ในเวลาตอมา 1.5 นิยามคําศัพท ในการศึกษาครั้งนี้ ผูว ิจัยไดใชแนวคิดเรื่องกลุมเปนแนวทางในการทําความเขาใจพลวัตร ทางการเมืองของไทย โดยในชวงเวลาที่ทาํ การศึกษานัน้ มีกลุมการเมืองดํารงอยูหลายกลุม แตมี กลุมการเมืองที่สําคัญในขณะนั้นมีอยู 3 กลุม ดังนี้ “กลุมปรีดี” หมายถึง กลุมบุคคลที่ใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงคและบุคคลแวดลอม ปรีดี ทั้งนี้ กลุม บุคคลดังกลาว ประกอบดวยสมาชิกบางสวนในคณะราษฎรทั้งที่เปนพลเรือน และ กลุมทหารในกองทัพบก เรือและตํารวจ สมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรจากภาคอีสาน อดีตสมาชิกใน ขบวนการเสรีไทย นักศึกษาในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองที่เคยรวมงานในขบวน การเสรีไทยและ/หรือปญญาชนบางสวนทีม่ ีแนวคิดโนมเอียงไปในทางสังคมนิยม โดยกลุมดัง กลาวนี้ไมสนับสนุนจอมพล ป.ใหมีอํานาจ “กลุมจอมพล ป.” หมายถึง กลุมบุคคลที่ใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทั้งนี้ กลุมบุคคลดังกลาว ประกอบดวย สมาชิกบางสวนในคณะราษฎร โดยเฉพาะอยางยิ่งที่สวนเปน กลุมทหารที่เคยบริหารประเทศรวมกับรัฐบาลจอมพล ป.ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 และตอมา เมื่อเกิดการรัฐประหาร 2490 “กลุมจอมพล ป.” นี้ไดกลายเปนสวนหนึ่งของคณะรัฐประหาร ซึง่ ภาย ในคณะรัฐประหารนี้ สมาชิกสวนใหญเปนกลุมทหารในกองทัพบกที่มิไดมีสวนเกี่ยวของกับ คณะราษฎร แตพวกเขายังคงใหการสนับสนุนจอมพล ป. ตอมา ไดเกิดความแตกแยกภายใน คณะรัฐประหารทําใหเกิดการแบงแยกภายในของกลุม ทหารในกองทัพบกเปนสองกลุมยอยที่ สําคัญคือ คายราชครู ซึ่งมีจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล.ต.อ.เผา ศรียานนท เปนแกนนํา กับคาย พล ท.กาจ กาจสงคราม และเมื่อคายราชครูมีชัยเหนือคายพล ท.กาจ ทําใหคายราชครู เริ่มมี อํานาจเหนือคณะรัฐประหารมากขึ้น ตอมา ไดเกิดความขัดแยงในการแยงชิงอํานาจทาง การเมืองภายในคณะรัฐประหารระหวางกลุมตํารวจทีม่ ีพล ต.อ.เผา เปนแกนนําซึ่งเปนสวนหนึง่ ของคายราชครู กับกลุมทหารบกที่มีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตหรือคายสี่เสาเทเวศนไดเกิดขึ้น จึงทํา ใหคณะรัฐประหารตอมาถูกแบงออกเปนสามกลุมสําคัญในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. คือ “กลุมจอมพล ป.” “กลุมตํารวจ”ของพล.ต.อ.เผา และ “กลุมทหาร”ของจอมพลสฤษดิ์ ซึ่งสอง
22
กลุมหลังมีความขัดแยงในการชวงชิงความเปนผูน ําทางการเมือง จนกระทั่งเกิดการลมสลายของ รัฐบาลจอมพล ป.ในป 2500 “ ‘สถาบันกษัตริย’และ‘กลุมรอยัลลิสต’ ” ในทีน่ ี้ ‘สถาบันกษัตริย’ หมายถึง กลุมบุคคล ตางๆที่อยูภายในแวดวงของราชสํานัก เชน ผูสาํ เร็จราชการแทนพระมหากษัตริย และ/หรือ อภิรัฐมนตรี และ/หรือ คณะองคมนตรี และ/หรือ พระราชวงศ ฯลฯ สวนคําวา ‘กลุมรอยัลลิสต’ หมายถึง นักการเมืองในพรรคประชาธิปตย เชน ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช หรือ ขาราชการทัง้ ทหารและพลเรือน ฯลฯ ซึง่ เปนกลุมบุคคลที่มีความภักดีตอ สถาบันกษัตริย พวกเขามีความตองการสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยและพวกตนมีอาํ นาจทางการ เมืองเหนือกลุม อื่นๆในขณะนั้น อยางไรก็ตาม “กลุม รอยัลลิสต”ในชวงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลงจนถึงการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทมหิดลยังหาไดมีเอกภาพ เปนหนึง่ เดียวกัน เนื่องจากพวกเขายังคงมีความตองการสนับสนุนราชตระกูลที่แตกตางกันจวบ กระทัง่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมพิ ลอดุลยเดชไดทรงบรมราชาภิเษกในป 2493 แลว แต กระนัน้ ก็ดี พวกเขามีความเห็นที่ตองตรงกันวา ทัง้ “กลุม ปรีดี”และ “กลุมจอมพล ป.”ทั้งคูเปนภัย ตอการความมัน่ คงทางการเมืองของพวกตน โดยกลุมดังกลาวแมในขณะนั้นจะยังไมมีอํานาจทาง การเมืองและ/หรือการทหารโดยตรง แตดวยเหตุที่พวกเขามีความชอบธรรมทางการ เมืองใน ฐานะที่เปนสวนหนึ่งหรือมีความเกี่ยวของโดยตรงหรือออมที่ใหการสนับสนุนสถาบันกษัตริย ในทางการเมือง กลุม การเมืองนี้จงึ เปนตัวแปรสําคัญในการรวมมือกับกลุมใดกลุมหนึ่งเพื่อ ทําลายกลุม ที่เปนปรปกษทางการเมืองในขณะนั้นลงเพื่อสถาปนาความมั่นคงทางการเมืองให พวกของตนตอไป นอกจากนี้ ดวยเหตุที่ชวงเวลาของการศึกษาในหัวขอดังกลาวนี้เปนชวงเวลานานถึง 10 ป ซึ่งบุคคลทีถ่ กู ลาวถึงในงานวิจยั ชิ้นนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งบุคคลที่ดํารงตําแหนงในราชการทหาร และตํารวจยอมมีความเปลีย่ นแปลงในยศ ในทีน่ ี้ ผูว ิจยั จึงขอเรียกบุคคลตางๆที่สาํ คัญดวย ยศ ทางการทหารหรือตํารวจในระดับสูงสุดที่เขาไดรับ 1.6 ขอบเขตการศึกษาวิจยั และระเบียบวิธวี ิจัย งานวิจยั ชิ้นนี้ พยายามเสนอคําอธิบายใหมในการเมืองการปกครองไทยและความ สัมพันธระหวางประเทศของไทยกับสหรัฐฯ ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงการรัฐประหาร 2500 ดวยวิธกี ารทางประวัติศาสตร เพื่อโตแยงคําอธิบายคําอธิบายการเมืองการปกครองไทย แบบ“อํามาตยาธิปไตย“ ที่ใหภาพตัวแสดงทางการเมืองแตเพียงบทบาทของกองทัพในทาง การเมืองอันปราศจากบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” และบทบาทของสหรัฐฯ
23
ในฐานะตัวแสดงในการเมืองไทย ดวยการพยายามนําตัวแสดงดังกลาวขางตนกลับมาพิจารณา เปนตัวแสดงทางการเมืองทีม่ ีความสําคัญในการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวาง ประเทศของไทยภายใตบริบทของระเบียบโลกของสหรัฐฯตั้งแตหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จนถึง การลมสลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามในป 2500 งานวิจยั ชิ้นนีม้ ี จํานวน 10 บท ดังนี้ บทที่ 1 เปนบทนําที่ชี้ใหเห็นถึงปญหาของการศึกษา การเมืองการปกครองของไทยที่ตกอยูภายใตคําอธิบายแบบ“อํามาตยาธิปไตย” โดยเฉพาะอยาง ยิ่งการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 ที่มองเห็นแตเพียง บทบาทของทหารซึ่งเปนตัวแสดงในทางการเมืองเพียงตัวเดียวที่สรางปญหาใหกับการเมืองไทย แตปราศจากการนําบทบาทของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” กับบทบาทของสหรัฐฯที่มี ตอการเมืองไทยเขามาเปนปจจัยความเขาใจทางการเมืองไทย บทที่ 2 จากรูสเวลทถงึ ทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนบทที่ใหภาพการเริ่มใหความสนใจของสหรัฐฯทีม่ ีตอ ภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยในฐานะที่เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติและตลาด รองรับสินคาของสหรัฐฯและญี่ปุนภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯที่กอตัวขึ้น และในบทดังกลาว แสดงใหเห็นวาตัวแสดงทางการเมืองของไทยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดมีการเผชิญหนา กันระหวาง “กลุมปรีดี” ซึ่งเปนกลุมที่สหรัฐฯเคยใหความชวยเหลือในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีความขัดแยงกับ “กลุม รอยัลลิสต” ที่ไดฟนตัวกลับมาชวงชิงอํานาจทางการเมืองจาก“กลุม ปรีดี” บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยงภายในการเมืองไทย เปนบทที่ให ภาพ “กลุมจอมพล ป.”ที่เคยหมดจากอํานาจไปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรวมมือกับ “กลุม รอยัลลิสต”ทําการรัฐประหารขับไล “กลุมปรีดี”ออกไปจากการเมืองสําเร็จ โดยสหรัฐฯมิไดมี นโยบายใหความชวยเหลือ”กลุมปรีดี”ที่มนี โยบายไมสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯให กลับมามีอาํ นาจในการเมืองไทยอีกตอไป สําหรับ บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมืองของไทย 2493-2495นั้น เมื่อสหรัฐฯไดสูญเสียจีนไป สหรัฐฯไดเริ่มใหการสนับสนุน ทางการทหารแกรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทําใหรัฐบาลมีความสามารถทางการทหารใน การปราบปราม“กลุมปรีดี”และ ”กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งเปนปรปกษทางการเมืองลงไดอยางายดาย สวนบทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 24962497 นัน้ เปนบทที่ใหภาพวา สหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวรใหความสําคัญกับไทยมาก ยิ่งขึ้นทางการทหาร โดยสหรัฐฯไดเขามาใหการสนับสนุนกลุมการเมืองสําคัญ คือ กลุมทหารและ กลุมตํารวจใหกาวขึน้ มามีอาํ นาจทางการเมือง โดยสหรัฐฯหวังใหกลุมทั้งสองรักษาเสถียรภาพ ทางการเมืองใหกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม แตในขณะเดียวกัน ภายใตความชวยเหลือ ของสหรัฐฯทําใหกลุมทหารและกลุมตํารวจมีความสามารถในการแขงขันทางการเมืองมากยิง่ ขึ้น
24
อันสรางปญหาใหกับรัฐบาลดวยเชนกัน สําหรับบทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริย กับจุดเริ่มตน สงครามจิตวิทยาในไทย 2497 นั้นแสดงใหเห็นวาสหรัฐไดเริ่มหันมาใหความสําคัญกับการ สนับสนุนสถาบันกษัตริยดว ย แทนที่สหรัฐฯเคยใหการสนับสนุนแตเพียงกลุม ทหารและกลุม ตํารวจเทานั้น โดยการสนับสนุนสถาบันกษัตริยของสหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐมุงหวังการบรรลุ สงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตในไทย สงผลใหสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”เริ่มมี โอกาสในการทาทายทางการเมืองตอรัฐบาลจอมพล ป.ไดอีกครั้ง สวนบทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตยของรัฐบาลจอมพล ป.ปลาย ทศวรรษ 2490 ใหภาพการปรับเปลี่ยนทั้งนโยบายตางประเทศและการเมืองภายในของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามทีเ่ คลื่อนไปสูการถอยหางออกจากสหรัฐฯแตหันไปไปเปดไมตรีกับจีน และการปฏิเสธการยอมรับแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการ พรอมๆกับ รัฐบาลไดสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทีท่ ําใหเกิดกระแสการโจมตีการครอบงําไทยของสหรัฐฯ สงผลใหสหรัฐฯไมพอใจรัฐบาลมากยิ่งขึน้ บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรของรัฐบาลและ“กลุม ปรีดี”กับความขัดแยงตอ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น แสดงใหเห็นถึงปญหาทางการเมืองของรัฐบาลจอม พล ป.ที่เกิดขึ้นจากความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”กับ กลุมทหาร ทําใหรฐั บาลและกลุมตํารวจหันไปสรางพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี”เพื่อตอตานความ เคลื่อนไหวขางตน ดวยการพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคต ขึ้นใหมซงึ่ สรางไมพอใจใหกบั สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” บทที่ 9 “ไตรภาคี” กับภาวะกึง่ อาณานิคมและการลมสลายของประชาธิปไตยไทย บทดังกลาวใหภาพความรวมมือระหวาง สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพในการตอบโตการดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการ รัฐประหาร เมือ่ 16 กันยายน 2500 เพื่อทําใหไทยกลับไปดําเนินนโยบายตามความตองการของ สหรัฐฯตอไป และปดทายดวยบทที่ 10 ซึ่งเปนบทสรุปที่ยนื ยันวา การเมืองไทยในชวงดังกลาว มิไดแตเพียงบทบาทของกองทัพเทานั้นทีส่ รางปญหาใหกับการเมืองไทย แตสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”และสหรัฐฯนั้นมีสว นในการสรางปญหาใหกับการเมืองในชวงเวลาดังกลาวอยาง สําคัญเชนกัน การวิจยั ครั้งนี้ ขาพเจาไดคนควาและใชหลักฐานทัง้ ในประเทศไทย คือ หอจดหมายเหตุ แหงประเทศไทย หอจดหมายเหตุแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กองบรรณสาร กระทรวงการตาง ประเทศ และศูนยเอกสารแหงประเทศไทย(TIC)ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเอกสาร จดหมายเหตุจากตางประเทศของสหรัฐฯ เชน หอจดหมายแหงชาติสหรัฐฯ(NARA) ศูนยขอมูล ของสํานักงานขาวกรองกลาง(CIA) หองสมุดแหงรัฐสภาสหรัฐฯ(Library of Congress) หอสมุด ประธานาธิบดีไอเซนฮาว(Eisenhower Library) หองสมุดของสมาคมประวัติศาสตรแหงมลรัฐ วิสคอนซิน(The Historical Society of Wisconsin) และเอกสารจดหมายเหตุของอังกฤษ คือ หอ
25
จดหมายเหตุแหงชาติอังกฤษ(NA)เปนหลักฐานชั้นตนในการดําเนินการศึกษาวิจัยครั้งนี้ นอกจากนี้ ยังใชขอมูลชั้นตนที่ตพี ิมพแลวและเอกสารชัน้ รองจาก สํานักวิทยบริการ หองสมุด คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหอสมุดปรีดีพนมยงค และหองสมุดคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รวมทัง้ หอสมุดกลาง(Memorial Library)แหงมหาวิทยาลัยวิสคอนซินเมดิสัน ตลอดจนสัมภาษณบุคคลสําคัญเปนแหลงขอมูลในการคนควาวิจัยดวย 1.7 วัตถุประสงคการวิจยั 1.เพื่อศึกษาบทบาทของสหรัฐฯที่มีตอการเมืองและกลุม การเมืองตางๆของไทยในสมัย รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม(พ.ศ.2491-2500) 2.เพื่อศึกษากลุมการเมืองของไทยในชวงเวลาดังกลาวภายใตปฏิสัมพันธกับระเบียบโลก ของสหรัฐฯ 1.8 ขอจํากัดของการศึกษา การศึกษาการเมืองไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามภายใตระเบียบโลกของ สหรัฐฯ พ.ศ.2491-2500 ชิ้นนี้เปนการวิจัยที่มีความแตกตางๆไปจากงานวิจัยสวนใหญที่ดํารงอยู กอนหนานีท้ ี่ใหความสําคัญกับการใชเอกสารและเอกสารจดหมายเหตุของไทยเปนสําคัญ แตการ วิจัยครั้งนี้ ผูว จิ ัยไดใชเอกสารจดหมายเหตุจากหลายแหลง เชน เอกสารทางการทูต เอกสารของ กระทรวงการตางประเทศ รายงานขาวของสํานักขาวกรอง รายงานระดับสูงของประธานาธิบดี ของสหรัฐฯ และเอกสารทางการทูตของอังกฤษเปนหลักฐานสําคัญในการสรางคําอธิบายและให ภาพการเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวนอกเหนือจากการคนควาจากเอกสารของไทยแตเพียง แหลงเดียว เพือ่ ใหเกิดภาพพลวัตรทางการเมืองของไทยทีม่ ีความสลับ ซับซอนภายใตระเบียบ โลกของสหรัฐฯในชวงเวลาดังกลาวทีม่ ิอาจหาไดจากเอกสารของไทย กระนั้นก็ดี แมวาเอกสาร ตางๆจากสหรัฐฯและอังกฤษจะใหขอมูลที่มีความแตกตางไปจากเอกสารของไทย แตควร ตระหนักวาหลักฐานเหลานีย้ อมมีขอจํากัดหลายประการ เชน ผูบนั ทึกหรือผูเขียนรายงานใน ขณะนั้นอาจตกอยูภายใตอคติหรือการมุงบรรลุเปาหมายบางประการ ฯลฯ ซึ่งขอตระหนักเหลานี้ ยอมไมแตกตางไปจากปญหาที่ดํารงอยูในเอกสารของไทยเชนเดียวกัน ดังนัน้ ภาพการเมืองไทย ที่ปราฎจากงานวิจยั ชิ้นนี้ ยังคงรอการยืนยันและโตแยงหรือถกเถียงจากการคนควาวิจัยที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตตอไป
บทที่ 2 จากรูสเวลทถึงทรูแมน: การเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 2.1 นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย เมื่องสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง สหรัฐฯเปนประเทศฝายชนะสงครามทีไ่ ดรับ ความเสียหายจากภัยสงครามนอย ในขณะที่อังกฤษเสียหายจากสงครามอยางหนัก อีกทั้ง สหรัฐฯมีศักยภาพทางการทหาร มีเศรษฐกิจที่ดีและมีความมัง่ คั่ง สงผลใหสหรัฐฯมีศักยภาพที่จะ ผงาดขึ้นมีอทิ ธิพลตอโลกภายหลังสงครามอยางไมยาก ทัง้ นี้ ในเดือนกรกฎาคม 2488 กอน สงครามโลกจะจบสิ้นลงในเอเชียไมนาน สหรัฐฯไดมีสวนสําคัญในการผลักดันการจัดระเบียบโลก เพื่อใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมผานขอตกลงเบรตตันวูดส(Bretton Woods System)และการจัดระเบียบการคาและการเงินระหวางประเทศ1 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีความ ตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมของโลกภายหลังสงครามโลกครงที่ 2 ทําใหในเวลาตอมา สหรัฐฯไมตองการใหลัทธิคอมมิวนิสตขยายตัวซึ่งจะกลายมาเปนอุปสรรค ขัดขวางการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลก เนื่องจาก ขณะนั้นผูก ําหนดนโยบายระดับสูงของ สหรัฐฯภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เห็นวาการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตและชาตินิยมสุดขั้ว ที่เบงบานในประเทศยากจนและประเทศอาณานิคมในขณะนั้นเปนอุปสรรคตอผลประโยชนของ สหรัฐฯ2 ในเวลาตอมา ขอตกลงตางๆและความตองการของสหรัฐฯไดกลายเปนระเบียบโลกที่มี ผลกระทบกับสวนตางๆของโลก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได ควรบันทึกดวยวา ในฐานะที่ไทยเปนสวนหนึง่ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยตกอยูภายใตอิทธิพลของจักวรรดินิยมอังกฤษซึ่งเปนเจา อาณานิคมทีม่ ีดินแดนในอาณัติอยางกวางขวางในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน อินเดีย พมา และมาลายู โดยอังกฤษมีอทิ ธิพลทางการเงินและการคาตอไทยในขณะนั้นอยางมาก เมื่อเกิด
1
รังสรรค ธนะพรพันธ, กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย: บทวิเคราะหเชิง ประวัติศาสตรการเมือง พ.ศ.2475-2530,(กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2532), หนา 3-13. 2 Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity: International Trade , Communism, and the Marshall Plan,” in Politics and Policies of the Truman Administration, Barton J. Bernstein (Chicago: Quadrangle Books, 1972), p. 93.; นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล) อเมริกาอเมริกาอเมริกา,(กรุงเทพฯ: โกมลคีมทอง, 2544),หนา 94.
27
ในชวงสงคราม โลกครั้งที่ 2 ไทยไดตกอยูภายใตอิทธิพลของญี่ปุน3 และในชวงปลายสงครามโลก ครั้งที่ 2 นโยบายของสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลท(Franklin D. Roosevelt)ที่มีตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะอยางยิง่ ตออินโดจีนนั้น เขาให ความเห็นใจขบวนการชาตินิยมตอตานอาณานิคมของเหลาขบวนการกูชาติของเวียดมินห ลาว และกัมพูชาเปนอยางมาก สหรัฐฯในขณะนั้นมีความตองการใหภูมิภาคอินโดจีนอยูภ ายใตภาวะ ทรัสตีของสหประชาชาติ โดยสหรัฐฯสนับสนุนใหโอเอสเอส (the US Office of Strategic Services: OSS)ใหความชวยเหลือขบวนการกูชาติเหลานั้นในการตอสูกับเจาอาณานิคมอยาง ฝรั่งเศส อยางไรก็ตาม นโยบายดังกลาวไดยุติลงพรอมกับการอสัญกรรมของประธานาธิบดี รูสเวลท4 เมื่อ แฮรี่ เอส. ทรูแมน(Harry S. Truman)รองประธานาธิบดีไดขึ้นดํารงตําแหนงแทน ประธานาธิบดีรูสเวลทซงึ่ ถึงแกอสัญกรรมอยางฉับพลันในเดือนเมษายน 2488 และตอมาเขา ไดรับชัยชนะในการเลือกตั้งเปนประธานาธิบดี(12 เมษายน 2488–20 มกราคม 2496) นโยบาย ตางประเทศของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีทรูแมนนัน้ ไดเปลี่ยนแปลงนโยบายจากการตอตาน อาณานิคมไปสูการพยายามแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ อุปสรรคทางการคา และการดอยความ เจริญของโลกที่ประธานาธิบดีทรูแมนเห็นวาเปนอุปสรรคตอสันติภาพ เขาไดแถลงใหความสําคัญ กับเรื่องเศรษฐกิจเปนสิง่ สําคัญลําดับแรกของรัฐบาลของเขาตอสภาคองเกรสในตนเดือน พฤษภาคม 2489 และ 2490 โดยขามีนโยบายรักษาสันติภาพใหกับโลก5 ตอมาในเดือนตุลาคม 2490 เขาไดประกาศนโยบายวา สหรัฐฯตองการแสวงหา“สันติภาพและความมั่งคั่ง” ดวยการ ปองกันการปฏิวัติมิใหเกิดขึน้ ในโลก ดังนัน้ สหรัฐฯจึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองเขาไปมีบทบาทจัด ระเบียบเศรษฐกิจของโลก ดังนัน้ นโยบาย ตางประเทศสําคัญของสหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีท รูแมน คือ การผลักดันนโยบายการเปดเสรีการคาเพื่อขยายขอบเขตการคาและโอกาสในการ
3
Herbert A. Fine, “The Liquidation of World War II in Thailand,” The Pacific Historical Review 34, 1 (February, 1965): 65. 4 George McT. Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam,(New York: Alfred A. Knopf, 1986),p. 3-4.; Gary R. Hess, “Franklin Rosevelt and Indochina,” The Journal of American History 59, 2 (September, 1972): 353-368.; Dixee R. Bartholomew-Feis, “The Man on The Ground: The OSS In Vietnam, 1944-1945,” (Doctoral dissertation, The Ohio State University, 2001). 5 Athan Theoharis, “The Rhetoric of Politics: Foreign Policy , Internal Security and Domestic Politics in the Truman Era,” in Politics and Policies of the Truman Administration, pp. 204205.
28
ลงทุนดวยการขจัดอุปสรรคทางการคา6 คําประกาศของประธานาธิบดีทรูแมนนั้นมีสอดคลองกับ เนื้อหาสาระในเอกสารวางแผนระดับสูงของสหรัฐฯที่มีรอ งรอยของความวิตกถึงความเสื่อมโทรม ทางเศรษฐกิจในโลกที่จะทําใหการดํารงอยูของประชาชนในสหรัฐฯเกิดความวุน วายจากพวก คอมมิวนิสตและพวกชาตินยิ มสุดขั้วในประเทศยากจน เอกสารดังกลาวเห็นวาพวกชาตินิยมสุด ขั้วนั้นมีความมุงหมายใหมกี ารปรับปรุงมาตรฐานชีวิตของมวลชนอยางทันทีและทําการผลิตเพื่อ ตอบสนองความตองการภายในประเทศ ดังนัน้ ในสายตาของผูกําหนดนโยบายระดับสูงของ สหรัฐฯขณะนัน้ เห็นวา พวกชาตินิยมสุดขั้วและลัทธิคอมมิวนิสต คือ ภัยคุกคามตอระเบียบโลก ของสหรัฐฯ 7 จากนัน้ ตนทศวรรษที่ 2490 โวหารการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯไดเริ่ม ขยายตัวทําใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยตอสันติภาพของโลก8 ทั้งนี้ ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 กอนที่สงครามจะจบสิน้ ลงในภูมิภาคเอเชีย สหรัฐฯได เริ่มมองเห็นความสําคัญของไทย โดยในตนป 2488 เจาหนาที่ในกระทรวงการตางประเทศของ สหรัฐฯ ไดเริ่มรายงานความเห็นที่เกี่ยวกับไทยวา ไทยจะมีความสําคัญตอนโยบายของสหรัฐฯใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เนื่องจากไทยสามารถเปนตลาดสินคาและผูขายวัตถุดิบไดเปน อยางดี เชน ยางและดีบุกใหกับสหรัฐฯโดยตรง แทนที่สหรัฐฯจะตองซื้อวัตถุดิบผานตลาดผูกขาด ในดินแดนอาณานิคมของอังกฤษ อีกทั้ง การคาระหวางสหรัฐฯกับไทยซึ่งเปนประเทศที่เปนเอก ราชจะทําใหสหรัฐฯไมถูกมองวาเปนจักวรรดินิยม9 ตอมาปลายป 2488 สหรัฐฯไดเริ่มกอตัว 6
Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity : International Trade , Communism , and the Marshall Plan,” in Politics and Policies of the Truman Administration, pp. 8082. คําวา “สันติภาพของโลก” ในความหมายของสภาที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ(The Council of Economic Advisers) หมายถึง สหรัฐฯจะปกปองมิใหโลกเกิดการปฏิวัติ สวนคําวา“การทําใหโลกมั่งคั่ง” หมายถึง การทําใหสหรัฐฯเปนผูนําของเศรษฐกิจทุนนิยมของโลก; William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955,(London: University of Wisconsin Press,1984); Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy,” Environment and Planning 37 (A 2005): 1527-1544. 7 Thomas G. Paterson, “The Quest for Peace and Prosperity : International Trade , Communism , and the Marshall Plan,” p. 93.; นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล) อเมริกา อเมริกา อเมริกา, หนา 18-19. 8 Arlene Becker Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” (Doctoral dissertation, Northern Illinois Univeristy, 1980), p. 567. 9 “Landon’s Memorandum Postwar Status of Thailand,10 January 1945,” in Intelligence and the War against Japan: Britain, America and the Politics of Secret Service, Richard J. Aidrich (Cambridge: Cambridge University Press , 2000), pp. 320-321.
29
นโยบายตางประเทศตอไทย โดยสหรัฐฯยอมรับอํานาจอธิปไตยและความเปนอิสระของไทย แต สหรัฐฯมีความตองการใหไทยเปดประตูใหสหรัฐฯเขามามีอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจใน ไทย สหรัฐฯความตองการใหไทยผลิตขาวปอนใหกับตลาดโลก และตองการสนับสนุนใหไทยมี การปรับปรุงเศรษฐกิจและดําเนินการคาระหวางประเทศบนกรอบพหุภาคี กลาวโดยสรุป นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอไทยนัน้ สหรัฐฯมีความตองการให ไทยมีฐานะเปนแหลงทรัพยากร ธรรมชาติและเปนตลาดรองรับสินคา ตลอดจนสหรัฐฯตองการ เขามามีอทิ ธิพลเหนือไทย10 ภายหลังสงครามสิ้นสุด ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯไดเริ่มตนขึ้นอีก ครั้ง รัฐบาลทรูแมนไดสง ชารล ดับบลู. โยสต(Charles W. Yost) อัคราชทูต และเคนเนท พี. แลน ดอน(Kenneth P. Landon)เจาหนาที่มาเปดสถานกงสุลสหรัฐฯขึ้นในไทยในเดือนสิงหาคม 248811 ในชวงเวลาหลังสงคราม อดีตเจาหนาที่โอเอสเอสหลายคนที่เคยรวมงานกับขบวนการเสรี ไทยในชวงสงครามยังคงปฏิบัติงานอยูในไทย12 เชน เจมส ทอมสัน(James Thomson)∗ อเล็ก ซานเดอร แมคโดนัล(Alexander MacDonald)∗ วิลลิส เบิรด(Willis Bird)∗ วิลเลี่ยม ปาลมเมอร
10
Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 2-3.; Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration, pp.3-4. 11 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 25-26. 12 E. Bruce Reynolds, “The Opening Wedge: The OSS in Thailand,” in George C. Chalou, eds. The Secrets War: The Office of Strategic Services in World War II,(Washington D.C.: National Archives and Record Administration, 1992),pp. 328-350. ∗
เจมส ทอมสัน อดีตโอเอสเอสเคยชวยงานสถานกงสุลสหรัฐฯภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง ในตําแหนง general attaché ตอมาเขาไดเปดธุรกิจผาไหมขึ้นในไทย เคนแนท พี. แลนดอน-อดีตมิสชันนารี ชวยใหเขามีความใกลชิดกับพวกเชื้อพระวงศ (Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 47.). ∗ อเล็กซานเดอร แมคโดนัล อดีตโอเอสเอส ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดรวมทุนกับอดีตเสรี ไทยตั้งหนังสือพิมพบางกอก โพสต(Bangkok Post)โดยความคิดในการตั้งหนังสือพิมพมาจากการสนทนากับ ปรีดี พนมยงค โดยเขาใหสนับสนุนปรีดี และเขาเปนแกนนําของกลุมชาวอเมริกันที่สนิทสนมกับอดีตเสรีไทย เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามจะกลับมาสูการเมือง บางกอก โพสตไดโจมตีจอมพล ป. เมื่อเกิดการ รัฐประหาร 2490 แลว กระแสการวิจารณจอมพล ป.ก็ไดลดลง(Ibid.,pp. 47-49.)และโปรดดูประวัติการจัดตั้ง บางกอก โพสตในประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ), (กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง, 2542).
30
(William Palmer)∗ และ โฮวารด ปาลมเมอร(Howard Palmer)∗ เปนตน ตอมาเอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน (Edwin F. Stanton) ∗ ถูกสงมารับตําแหนงอัคราชทูตและเอกอัคราชทูตในเวลาตอมา ∗
วิลลิส เบิรด อดีตโอเอสเอส เคยปฏิบัติงานในจีนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 กับนายพลวี เดอรแมร เขาจบการศึกษาดานการเงินจากวารตัน(Wharton School of Finance) เขามาไทยทันทีภายหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 เขาทําธุรกิจนําเขาสงออกสินคา เชน ยาฆาแมลง เครื่องแกว วัสดุกอสราง กระดาษ อุปกรณสํานักงาน และเครื่องจักร ตอมาเขาทําธุรกิจสงออกดีบุกและยาง (ตอมาเขาทําธุรกิจคาอาวุธ) ในชวงแรกๆภายหลัง สงครามโลกนั้น เขาใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงค จากนั้น เขาไดใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาทํางานใหกับซีไอเอและมีความสนิทสนมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท ในป 2502 เขาไดตั้งบริษัทยูนิเวอรแซล กอสราง(Universal Construction Company) เพื่อรับงานกอสรางตามโครงการของยูเซด(USAID)เพื่อการ สรางถนนในลาวและไทย รวมทั้งไดตั้งบริษัทเบิรดแอร(Bird Air) รับจางขนอาวุธของสหรัฐฯใหกับลาวและ กัมพูชา (Ibid.,p. 49-51.) ตอมาแตงงานกับนองสาวของพล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา อดีตโอเอสเอส(พล.ต.ต.อํารุง สกุลรัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี,[กรุงเทพฯ: บริษัท วงการ จํากัด, 2526],หนา 74-75.) เขามีนองชายชื่อวิลเลี่ยม เอช. เบิรด (William H. Bird) อดีตโอเอสเอส เปนผูแทนของ บริษัทแคท แอร(Civil Air Transport:CAT หรือ Air America)รับจางขนอาวุธของซีไอเอใหกับกองพล 93 ของก็กหมินตั๋งในจีนตอนใต (Peter Dale Scott, The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, [New York: The Bobbs-Merrill, 1972], p. 208.) ∗
วิลเลี่ยม ปาลมเมอร อดีตโอเอส เคยปฏิบัติงานในไทย เขาจบกฎหมายจากฮารวารด เคยรวมงาน กับวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) เขาเคยเปนกงสุลไทยในสหรัฐฯระหวางป 2488-2493 ทํา หนาที่เปนตัวแทนของรัฐบาลไทยกับสหรัฐฯ (Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 51-52). ∗
โฮวารด ปาลมเมอร อดีตโอเอสเอส นองชายของวิลเลี่ยม เขามีความสนิทสนมกับอดีตเสรีไทย ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดทําธุรกิจเกี่ยวกับภาพยนต โดยเปนตัวแทนใหกับบริษัทอาร.เค.โอ.ฟลม (R.K.O Film)ในการนําภาพยนตเขามาเผยแพรวิถีชีวิตแบบอมริกัน(Ibid., pp. 51-52.). ∗
สหรัฐฯ ไดแตงตั้ง เอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน มาเปนอัคราชทูตตอมา เขาดํารงตําแหนงเอกอัคราชทูต สหรัฐฯประจําไทยคนแรก เขาทําการถวายสาสนเมื่อ 9 พฤษภาคม 2490 และดํารงตําแหนงจนถึงมิถุนายน 2496 เขามีภูมิหลังเปนมิสชันนารีมากอน เคยทํางานในจีน 20 ป เขามีลักษณะการทํางานทางทูตแบบเกา ไม สันทัดเรื่องไทยมากนัก เขาไมชอบรัฐบาลทหารและไมนิยมจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขามีความสนใจปญหา ในจีน เมื่อจีนเปนคอมมิวนิสต เขาเห็นวา สหรัฐฯควรใหความชวยเหลือทางการทหารแกไทยในการตอตาน คอมมิวนิสต เขาเห็นวา ความชวยเหลือของสหรัฐฯจะสรางมิตรภาพใหกับไทยซึ่งสหรัฐฯจะไดรับประโยชนใน ระยะยาว (กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0004 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอรจ ฮัตเชสัน เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐ อเมริกาประจําประเทศไทย, Yost to Direk Chaiyanam รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 26 มีนาคม 2489.; Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 25-29.).
31
สแตนตันไดบันทึกวา เจาหนาที่ของสถานทูตสหรัฐฯในไทยในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 มี เพียง 5 คน แตในป 2489 ทีเ่ ขามารับตําแหนงผูแทนสหรัฐฯประจําไทยนัน้ สถานทูตฯมีเจาหนาที่ 12 คน ตอมาป 2496 ซึ่งเปนปสุดทายที่เขาปฏิบัติหนาที่นนั้ เขามีเจาหนาที่สงั กัดสถานทูตฯ ภายใตความดูแลถึงเกือบ 200 คน 13 2.2 การเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ควรบันทึกดวยวา โครงสรางอํานาจทางการเมืองของคณะราษฎร ในชวงที่กองทัพญี่ปุน เดินทัพเขาไทยนัน้ หรือในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อยูในชวงรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึง่ เปนรัฐบาลที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมทหารหรือ “กลุมจอมพล ป.” ในขณะทีก่ ลุม พลเรือนหรือ “กลุมปรีดี” ซึ่งมีปรีดี พนมยงค-คูแขงขันทางการเมืองคนสําคัญของจอมพล ป. เปนผูน ํา-ไดถูกกัน ออกจากอํานาจของรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก เขาไมเห็นดวยกับการเปนพันธมิตรกับญี่ปุนของ รัฐบาล ตอมาชวงปลายสงครามโลกนั้น ปรีดีและกลุมของเขาใหการสนับสนุนฝายสัมพันธมิตร จากนั้น “กลุมปรีดี”จึงไดแยกตัวออกรัฐบาลจอมพล ป. มาดําเนินการตอตานรัฐบาลและกองทัพ ญี่ปุน และตอมา เขาและกลุม ไดสรางพันธมิตรเชื่อมตอกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่อยูในประเทศและ พวกที่ลี้ภัยอยูน อกประเทศเกิดเปน“ขบวนการเสรีไทย”จนสามารถทําใหรัฐบาลหมดอํานาจลงได สําเร็จสงผลให “กลุมจอมพล ป.” ที่เคยมีอํานาจในชวงสงครามโลกถูกลดบทบาทหายไปในชวง ปลายสงครามโลกนัน้ เอง14 นับแตสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในกลางเดือนสิงหาคม 2488 จนถึงการรัฐประหาร 2490 นั้น ไทยมีรัฐบาลที่เขาบริหารประเทศขณะนั้นถึง 8 คณะ ดังนี้ ควง อภัยวงศ(1 สิงหาคม 2487-17 กรกฎาคม 2488 ) ทวี บุณยเกตุ (31 สิงหาคม -16 กันยายน 2488) ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช(17 กันยายน 2488–24 มกราคม 2489) ควง(31 มกราคม -18 มีนาคม 2489) ปรีดี พนมยงค(24 มีนาคม-8 มิถนุ ายน 2489, 11 มิถุนายน-29 สิงหาคม 2489) พล.ร.ต.ถวัลย ธํารง
13
Neher, Ibid.,p. 29-30.; Edwin F. Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World,(New York: Harper & Brothers Publishers, 1956), p. 265. 14 Sorasak Ngamcachonkulkid, “The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics,” (Doctoral dissertation, University of Wisconsin-Madison, 2005).; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ , ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492.; E. Bruce Reynolds, Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II,(Cambridge: Cambridge University Press, 2005).
32
นาวาสวัสดิ์(23 สิงหาคม 2489–30 พฤษภาคม 2490, 30 พฤษภาคม–8 พฤศจิกายน 2490)15 ซึ่ง จะเห็นไดวา การเมืองในชวงภายหลังสงครามโลกจนถึงการรัฐประหารนั้น เปนเวลาไมถึง 2 ปครึ่ง แตมีความผันผวนอยางมากจนทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลไปถึง 8 ชุด ไมนานหลังจากญี่ปุนประกาศยอมแพสัมพันธมิตรเมื่อ 14 สิงหาคม 2488 ไทยไดมีการ ประกาศสันติภาพ(16 สิงหาคม 2488) ซึง่ มีสาระสําคัญที่ทาํ ใหคําประกาศสงครามระหวางไทย กับฝายสัมพันธมิตรเปนโมฆะ ในขณะนั้น ไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 อยูภายใตการควบคุมของกองทัพอังกฤษ ซึ่งมีลอรด หลุย เมาทแบตแตนท (Louis Mountbatten)เปนผูบัญชาการทหารสูงสุดฝายสัมพันธมิตรในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออก เฉียงใต ตอมา รัฐบาลทวี บุญยเกตุไดสงผูแ ทนเดินทางไปเจรจากับอังกฤษที่เมืองแคนดี้ ศรีลังกา เพื่อยกเลิกสถานะสงครามระหวางกัน แตอังกฤษมีความประสงคที่จะลงโทษไทย เนื่องจากไทย เคยประกาศสงครามกับอังกฤษและทําใหอังกฤษไดรับเสียหายดวยขอตกลงสมบูรณแบบ (Formal Agreement)ที่มีขอบังคับจํานวน 21 ขอ ซึ่งมีเนือ้ หาครอบคลุมดานกิจการทหาร การ จายคาปฏิกรรม สงคราม และการควบคุมการคาขาว ดีบุกและยางพารา ขอตกลงของอังกฤษ เหลานี้ทาํ ใหไทยตกอยูในฐานะผูแพสงครามและเสียเปรียบอังกฤษเปนอยางมาก ความวิตกที่ อังกฤษจะลงโทษไทยทําให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช อดีตทูตไทยประจําสหรัฐฯ ในระหวางการ เดินทางกลับมาไทยเพื่อดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนใหม เขาไดเสนอใหขาวใหอังกฤษโดยไม คิดมูลคา จํานวน 1,500,000 ตันเพื่อสรางความพึงพอใจใหกับอังกฤษเพิ่มเติมขึ้นอีก 16 อยางไรก็ตาม สหรัฐฯในฐานะแกนนําในฝายสัมพันธมิตรมีความตองการที่จะเขามามี อิทธิพลในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแทนอังกฤษจึงไดใหความชวยเหลือไทยใหพน จาก ฐานะของผูแพสงคราม โดยสหรัฐฯเห็นวา ไทยมีฐานะเพียงรัฐที่ศัตรูยดึ ครอง(an enemyoccupied state)เทานัน้ และไทยมิไดเปนศัตรูกับสหรัฐฯในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนัน้ สหรัฐฯ จึงไมตองการเรียกรองคาเสียหายใดๆจากไทย นอกจากนี้ สหรัฐฯยังไดเขามาแทรกแซงความตก ลงระหวางไทยกับอังกฤษซึง่ ทําใหขอตกลงสมบูรณแบบที่อังกฤษเสนอแกไทยถูกลดทอนความ 15
วิจิตร วิชัยสาร, “รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี (31 สิงหาคม – 16 กันยายน 2488),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516).; สิริ รัตน เรืองวงษวาร, “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521).; บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534). 16 โปรดดูรายละเอียดสาระสําคัญของขอตกลงสมบูรณแบบ ใน John Coast, Some Aspects of Siamese Politics,(New York: International of Pacific Relation, 1953),pp. 30-31.
33
แข็งกราวลง เนื่องจาก สหรัฐฯไมตองการใหอังกฤษกลับเขามามีอทิ ธิพลทางการเมืองและ เศรษฐกิจตอไทยอีกครั้ง 17 ในชวงปลายสงครามโลกนั้นเอง สหรัฐฯไดเริ่มเห็นถึงความสําคัญของ ไทยในฐานะแหลงทรัพยากรอันมีความอุดมสมบูรณที่จะสามารถฟน ฟูความอดหยากและฟน ฟู เศรษฐกิจของโลกภายหลังสงครามได ในชวงเวลานัน้ รัฐบาลไทยหลายชุดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังคงตองเผชิญหนากับ ปญหาเศรษฐกิจและสังคม เชน ภาวะเงินเฟอ ความขาดแคลนสินคา และเงินตราตางประเทศ โดย เฉพาะอยางยิง่ ปญหาเรื่องการสงขาวจํานวนมหาศาลใหอังกฤษในราคาที่ตายตัวและ ทันเวลา ในขณะที่ ราคาขาวในตลาดโลกมีราคาสูงกวาราคาที่ตองสงมอบใหองั กฤษ ยิง่ สงผลให รัฐบาลตองเผชิญหนากับปญหาการกักตุนขาวและลักลอบสงออกนอกประเทศโดยผิดกฎหมาย อันกอให เกิดปญหาการขาดแคลนขาวภายในประเทศและการเกิดตลาดมืดมากยิง่ ขึ้น รวมทัง้ ปญหาโจรผูรายมีความชุกชุมในชวงเวลาดังกลาวดวย ปญหาตางๆเหลานี้สรางความปนปวน ใหแกไทยภายหลังสงครามโลกเปนอยางยิง่ 18 2.3 ความรวมมือและแตกสลายของพันธมิตรชวงสงครามระหวาง“กลุมปรีดี” และ “กลุมรอยัลลิสต” เมื่อความรวมมือระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ในนาม“ขบวนการเสรีไทย” บรรลุเปาหมายในการกดดันใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกาวลงจากอํานาจและตอตาน 17
โปรดดู ความชวยเหลือและความสัมพันธระหวางขบวนการเสรีไทยและโอเอเอส ใน E. Bruce Reynolds, Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II,(Cambridge: Cambridge University Press, 2005).; “State Department Document -Postwar Status of Thailand, 10 January 1945,” อางใน The United State and Thailand: Alliance Dynamics,1950-1985, Randolph ,R. Sean, p. 7.; วิจิตร วิชัยสาร, “รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี(31 สิงหาคม–16 กันยายน 2488),” หนา 52-54.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, pp.30-32.; Fine, “The Liquidation of World War II in Thailand,” p. 82. 18 สมศักดิ์ นิลนพคุณ, “ปญหาเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ การแกไขของรัฐบาล ตั้งแต พ.ศ.2488-2498,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปกร, 2527),หนา 96-105.; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,”หนา 19-23.;โปรดดู การศึกษาปญหาอาวุธขนาดเล็กที่แพรหลายในไทยหลังสงครามใน Chalong Soontravanich. “The small arms industry in Thailand and the Asian crisis,” in Hegemony, Technocracy, Networks, eds. Takeshi Hamashita and Takashi Shiraishi(Kyoto: The Networks, 2002), pp. 1-20.
34
กองทัพญี่ปนุ สําเร็จ ตอมา เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิน้ ลง การเปนพันธมิตรระหวางกันก็แตก สลายลงดวยเชนกัน เนื่องจากทัง้ สองกลุม ตางมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกัน โดย“กลุม รอยัลลิสต”ที่เปนเสรีไทยในอังกฤษ มีวัตถุประสงคทางการเมืองเพื่อปลดปลอย พระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยตอตานการปฏิวัติ 2475 และไดเคยถูกคณะราษฎรเนรเทศออกไปไปนอก ประเทศ และ“กลุมรอยัลลิสต”บางสวนที่ถกู จองจําไวในเรือนจําใหไดรบั อิสรภาพใหกลับมาเปน ผูนําในการเมืองไทยอีกครั้ง ในรายงานของนาย ทหารไทยผูห นึง่ เสนอตอกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐฯ เขาไดรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต”ที่เปนเสรีไทยในอังกฤษมีแผนการทวง ทรัพยสนิ ของของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯที่รัฐบาลยึดไปกลับคืนโดยแกนนําของกลุม ดังกลาว คือ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี อดีตสมเด็จพระราชินีของพระปกเกลาฯและกลุมพระ ราชวงศ โดยเฉพาะอยางยิง่ ราชสกุลสวัสดิวัตน 19 ในรายงานจากนายทหารไทยถึงกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯฉบับดังกลาวได รายงานอีกวา “กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษ มีเปาหมายในการรื้อฟนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ใหเกิดขึ้นใหม พวกเขาไดเคยเคลื่อนไหวเจรจาขอการสนับสนุนจากอังกฤษและสหรัฐฯ ผาน ลอรด หลุยส เมาทแบตแตนและน.อ.มิลตัน ไมล แหงโอเอสเอส เพื่อใหทงั้ 2 ประเทศใหสนับสนุน การฟน ฟูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยในไทยอีกครั้ง20 นอกจากนี้ ในรายงานฉบับดังกลาว รายงานวา “กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษมีความตองการเปลี่ยนแปลงการสืบสันตติวงศจากสาย สมเด็จพระพันวษาอัยยิกาเจาหรือราชสกุลมหิดล กลับมาสูสายของสมเด็จพระศรีสวรินทราบรม
19
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Major Arkadej Bijayendrayodhin to Gentleman of the Foreign Relations Washington D.C., 16 September 1945 ในรายงานเชื่อวา กลุม ดังกลาวขอการสนับสนุนจากอังกฤษ และโปรดดู การฟองรองคดีระหวางรัฐบาลและพระปกเกลาฯใน สุพจน แจงเร็ว, “คดียึดพระราชทรัพยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ,” ศิลปวัฒนธรรม 23, 8 (มิถุนายน, 2545): 6380. 20 “นายฉันทนา”(มาลัย ชูพินิจ), X.O.Group: เรื่องภายในขบวนการเสรีไทย,(พระนคร: โรงพิมพไทย พานิช วรรธนะวิบูลยและจําลองสาร, 2489), หนา 264.;กลุมเสรีไทยในอังกฤษสวนที่เปน”กลุมรอยัลลิสต” นั้น มีสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ทรงเปนแกนนํา กลุมดังกลาวประกอบขึ้นจาก พระราชวงศที่หลบหนีออกจาก ไทยกอนการถูกจับกุมความผิดฐานเกี่ยวของกับการกบฎตอตานการปฏิวัติ 2475 เชน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน และสมาชิกของกลุมที่เปนพระราชวงศ เชน ม.จ.กอกษัตริย สวัสดิวัตน ม.จ.การวิก จักรพันธ ม.จ.จิ รีดนัย กิตติยากร ม.จ.กิตตินัดดา กิตติยากร และม.จ.ภีศเดช รัชนี เปนตน; สรศักดิ์, ขบวนการเสรีไทยกับความ ขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวางพ.ศ. 2481-2492,หนา 120.
35
ราชินี หรือราชสกุลจักรพงษ ดวยการกดดันใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทมหิดลทรง สละราชย และผลักดันใหพระองคเจาจุลจักรพงษขึ้นครองราชยแทน21 อยางไรก็ตาม การกดดันรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใหลงจากอํานาจในชวงปลาย สงครามโลกครั้งที่ 2 สรางไดเกิดความไมพอใจอยางรุนแรงใหกับ“กลุมจอมพล ป.”โดยเฉพาะ อยางกลุมทหารเปนอันมาก เนื่องจาก รัฐบาลพลเรือนหลังสงครามที่ “กลุมปรีดี”ใหการสนับสนุน ไดทอดทิ้งกองทัพไทยไวในสมรภูมิที่เชียงตุง ทําใหกองทัพตองหาหนทางเดินทางกลับกรุงเทพฯ เองโดยมิไดรับความชวยเหลือใดๆจากรัฐบาล พวกเขาเห็นวารัฐบาลไมเคารพเกียรติภูมิของ กองทัพ อีกทัง้ รัฐบาลไดปลดทหารประจําการลงจํานวนมากและมีการประนามวารัฐบาลจอมพล ป.และกองทัพเปนผูนาํ พาไทยเขารวมสงครามโลกจนเกิดความเสียหายแกประเทศ ทั้งหมดนี้ ลวนสรางความไมพอใจใหกบั กองทัพเปนอยางมาก อีกทั้ง เสรีไทยไดกาวขึน้ มาเปนผูถือครอง อาวุธทัดเทียมกองทัพ ในขณะที่ ภาพลักษณของกองทัพถูกเหยียดหยามจากเสรีไทยและนักการ เมืองทีเ่ คยเปนเสรีไทย22 เมื่อควง อภัยวงศ สมาชิกทีเ่ ปนกลุมพลเรือนในคณะราษฎรไดรับการสนับสนุนจากปรีดี พนมยงคใหขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีแทนจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาไดออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมความผิดในป 2488 ใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ผูเคยตอตานการปฏิวัติ 2475 ตามขอตกลง ตางตอบแทนที่ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”ในอังกฤษไดทรง รวมมือกับขบวนการเสรีไทยในชวงปลายสงครามโลกครัง้ ที่ 2 23 สงผลให“กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งเปน ฝายตรงขามทางการเมืองกับคณะราษฎรสามารถเดินทางกลับยังประเทศและเขาสูก ารตอสูทาง การเมืองไดอกี ครั้ง ซีไอเอรายงานวา การนิรโทษกรรมครั้งนีท้ ําใหความขัดแยงในการควบคุมการ เมืองไทยระหวางคณะราษฎรกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยเปนปญหาที่หยั่งรากลึกนับแตการปฏิวัติ 2475 นัน้ ไดกลับมาปะทุอีกครั้งภายหลังสงครามโลก ดวยเหตุที่การปลดปลอยนักโทษ“กลุมรอยัล 21
NARA , RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250 , Major Arkadej Bijayendrayodhin to Gentleman of the Foreign Relations Washington D.C., 16 September 1945 ใน รายงานบันทึกวา สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีทรงตองการใหพระองคเจาจุลจักรพงษหยากับชายาที่เปนชาว ตาง ประเทศ และมาเสกสมรสกับพระขนิษฐาคนเล็กตางมารดาของพระองคเพื่อใหเกิดความชอบธรรมในการ สืบราชบัลลังกของสองราชตระกูล โดยพวกเขาตองการใหอังกฤษสนับสนุนราชบัลลังกของพระมหากษัตริย ไทยพระองคใหม ในขณะนั้น ภาพลักษณของพระองคเจาจุลจักรพงษนั้นทรง“นิยมอังกฤษ เต็มอังกฤษ”(กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483 ถึง 2495,[กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง จํากัด, 2537],หนา 71.). 22 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 54-55. 23 ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์,(กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิช ชิ่ง,2543),หนา 517-518.
36
ลิสต”กระทําในสภาพการเมืองแบบเปดกวางและพวกเขายังคงมีความเจ็บแคนคณะราษฎรอยาง ลึกซึ้งทําใหการปลดปลอยดังกลาวแทนทีจ่ ะกลายเปนการปลดปลอยพลังของความรวมมือ แต กลับกลายเปนพลังของการตอตาน และพวกเขาไดรวมกันบอนทําลาย“กลุมปรีดี”ลงในที่สุด เนื่องจาก พวกเขาตองการกําจัดคณะราษฎรทั้งหมด ทั้งนี้ ในราย งานของอดีตเจาหนาที่โอเอส เอสคนหนึ่งไดรายงานวา ในชวงสงครามไมมี“กลุมรอยัลลิสต” ผูใดทีจ่ ะกลาตอกรทางการเมือง กับจอมพล ป.ในขณะทีพ่ วกเขาไดแตเรียกรองใหปรีดี พนมยงคชวย เหลือพวกเขาเทานั้น แต ในชวงหลังสงครามนัน้ พวกเขารวมตัวกันมีอํานาจมากพอทีท่ าทายอํานาจทางการเมืองของปรีดี ผูที่เคยชวยปลดปลอยพวกเขาแลว24 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ความเปนพันธมิตรระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” ในชวง สงครามโลกครั้งที่ 2 เปนเพียงความรวมมือชั่วคราวที่ทงั้ สองคูตางไดรับประโยชน ทัง้ นี้ การหมด อํานาจลงของ”กลุมจอมพล ป.” ทําให“กลุมปรีดี” สามารถกลับเขาสูอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง สวน“กลุมรอยัลลิสต”ดูเหมือนจะไดประโยชนจากความรวมมือมากกวา เนื่องจาก ไมแตเพียง พวกเขาสามารถทําลายอํานาจของจอมพล ป. พิบูลสงครามและ“กลุม จอมพล ป.”ซึ่งเปนกลุมที่ แข็งแกรงในคณะราษฎรและไดเคยมีบทบาทในการปราบปรามการตอตานของพวกเขาอยาง รุนแรงลงไดเทานัน้ แตพวกเขายังไดรับเกียรติยศ บรรดาศักดิ์ตางๆที่เคยถูกถอดลงจากการทํา ความผิดฐานกอการกบฎในอดีตกลับคืนเทานั้น แตพวกเขารับสิทธิในการตอสูทางการเมือง กลับคืนมา พรอมกับการไดประโยชนจากการที่รัฐบาลนิรโทษกรรมและปลดปลอยสมาชิกของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยพลาดพลั้งถูกจับกุมตกเปนนักโทษการเมืองใหกลับมาเปนกําลังหนุนใหกบั กลุมของตนในการตอสูกับคณะราษฎรภายหลังสงครามโลกอีกดวย ดังนัน้ การตอสูระหวาง“กลุม รอยัลลิสต”กับคณะราษฎรครั้งนี้ คณะราษฎรเหลือแตเพียง“กลุมปรีดี”เทานั้น ทั้งนี้ โครงสรางอํานาจทางการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีกลุมการเมือง สําคัญ 2 กลุม คือ “กลุมปรีดี”ซึ่งประกอบดวยสมาชิกบางสวนในคณะราษฎร สมาชิกสภาผูแทนฯ จากภาคอีสาน อดีตเสรีไทย และนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง กับ“กลุม รอยัลลิสต” ซึ่งประกอบดวย พระราชวงศ บุคคลผูจงรักภักดี อดีตนักโทษการเมือง และอดีตเสรี ไทย ทั้งสองกลุมนี้มีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกัน โดยกลุมแรกใหความสําคัญกับหลัก 6 ประการของคณะราษฎรจนถึงมีความคิดที่โนมเอียงไปในทางสังคมนิยม และพวกเขาสนับสนุน การปกครองระบอบประชาธิปไตย สวนกลุมหลังนัน้ มีกลุมยอยภายในหลายกลุม และขาดเอก ภาพทางความคิดและการนํา เนื่องจาก พวกเขามีความคิดทางการเมืองที่แตกตางกัน นับ ตัง้ แต การสนับสนุนการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย การเปลี่ยนแปลงการสืบสันตติวงศ การ 24
NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA– RDP 82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation ”.
37
ตอตานคณะราษฎร การทวงทรัพยสินกลับคืน การฟน ฟูเกียรติยศและเพิ่มอํานาจทางการเมือง ใหกับสถาบันกษัตริยและการตองกลับมาสูการตอสูทางการเมือง อีกทัง้ ภายใน“กลุม รอยัลลิสต” เองนัน้ ยังคงอยูในระหวางการชวงชิงความเปนผูน ํากลุม ระหวางสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ผู ทรงสนับสนุนราชสกุลจักรพงษ กับ สมเด็จพระเจาวรวงศเธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูสนับ สนุนราชสกุลมหิดล จนกระทั่ง กรมพระยาชัยนาทนเรนทรไดรับการสนับสนุนจาก พระราชวงศ และ“กลุมรอยัลลิสต”จํานวนหนึง่ ใหทรงเปนคณะผูสําเร็จราชการฯภายหลังการสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวอานันทมหิดล ดังจะกลาวตอไปขางหนา หลังการปลดปลอยนักโทษการเมืองไดไมนาน ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดเปนแกนนําใน รวบรวมอดีตนักโทษการเมืองที่เปน“กลุมรอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว นิมิตรมงคล นวรัตน ร.ท.จงกล ไกรฤกษ และสอ เสถบุตร มารวมจัดตั้งพรรคกาวหนาในปลายป 2488 เพื่อการเคลื่อนไหวตอ ตานคณะราษฎรในชวงที่ปรีดี พนมยงคเปนผูนาํ โดยม.ร.ว.คึกฤทธิ์ แกนนําคนหนึ่งของ“กลุม รอยัลลิสต” ประกาศตัวตนในบทความเรื่อง “ขาพเจาเปนรอยะลิสต” ที่เรียกรองการเพิ่มอํานาจ การเมืองใหพระมหากษัตริยและรื้อฟนเกียรติยศของราชวงศกลับคืน25 ทั้งนี้ สมาชิกของพรรค กาวหนาเปนพระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต” โดยพรรคการเมืองนี้มีนโยบายสําคัญ คือ ตอตาน คณะราษฎร 26 ในการตอสูทางการเมืองกับรัฐบาล“กลุมปรีดี” นั้น “กลุมรอยัลลิสต”ไดใชแผนการ สกปรกเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้งดวยการสรางความเสือ่ มเสียใหกับผูส มัครจากพรรคการเมืองที่ สนับสนุนรัฐบาล∗ ทั้งนี้ รัฐบาลหลายชุดภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เชน รัฐบาลทวี บุณยเกตุ รัฐบาล 25
สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492, หนา 189-190.; ประชามิตร 12 ธันวาคม 2488 อางใน บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททาง การเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,” หนา 63. 26 Coast , Some Aspects of Siamese Politics, p. 31. ∗
เชน แผนการตอสูทางเมืองของโชติ คุมพันธจากพรรคกาวหนา กับทองเปลว ชลภูมิจากพรรคแนว รัฐธรรมนูญ ในการเลือกตั้งซอมในป 2488 พรรคกาวหนาใชแผนสรางความเสื่อมเสียใหกับทองเปลว ดวยการ ใหสมาชิกพรรคฯนําสีไปขีดเขียนตามที่สาธารณะ วัด เรียกรองใหประชาชนเลือกทองเปลวเลอะเทอะไปทั่วที่ สาธารณะ อีกทั้งได พวกเขาไปตะโกนใหประชาชนเลือกหมายเลขคูแขงที่กอความรําราญอันทําใหประชาชน เกิดความรูสึกรังเกลียดทองเปลวอยางมากและหันมาเลือกโชติซึ่งเปนคูแขงขันแทน นอกจากนี้ ในเชาตรูวัน เลือกตั้ง พรรคกาวหนาไดใชใหสมาชิกพรรคฯไปตบประตูและตะโกนเรียกใหประชาชนตามบานเลือกทองเปลว พฤติกรรมเหลานี้สรางความโกรธใหกับประชาชนมาก ประชาชนจึงลงคะแนนใหกับโชติ พรรคตรงกันขามแทน (“นายประชาธิปตย”, กลวิธีหาเสียงเลือกตั้ง [พระนคร: มิตรนราการพิมพ, 2511],หนา 124.; ร.ท.จงกล ไกร ฤกษ, ศิลปการเลือกตั้ง [พระนคร: สํานักพิมพประพันธสาสน, 2517],หนา 124-128.; ปรีดี พนมยงค, “คํานิยม” ใน ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย, พุทธปรัชญาประยุกต [กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2517],หนา (6)-(7).)
38
ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช และรัฐบาลควง อภัยวงศที่ถกู จัดตั้งขึ้นลวนไดรับการสนับสนุนจากปรีดี พนมยงค เนื่องจากปรีดีมีกลุมสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ใหการสนับสนุนเขามาก ทําใหเขามี อิทธิพลที่สามารถใหการสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลอยางไมยากนัก อยางไรก็ตามในเวลาตอมา ปรีดีไดตัดสินใจยุบ“ขบวนการเสรีไทย”ที่เปนฐานใหการสนับสนุนอํานาจทางการเมืองของเขา สงผลใหอํานาจของเขาถูกทาทาจากควง อภัยวงศ อันมีเหตุมาจากการที่เขาไมใหสนับสนุนให ควงกลับเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง เนื่องจาก เขาเห็นวา ควงมีความเปนอิสระในการตัดสินใจสูง ไมยอมทําตามคําแนะนําของเขา แตสุดทายแลว ควงไดรับการสนับสนุนจากสภาผูแทนฯใหเปน นายกรัฐมนตรีไดสําเร็จ27 ความขัดแยงครั้งนี้เปนสาเหตุทที่ ําใหควงแยกตัวออกจากคณะราษฎร ไปแสวงหาการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมรอยัลลิสต” และควงสามารถจัดตั้งรัฐบาลของ เขาที่ไมไดรับการสนับสนุนจาก“กลุมปรีดี”ไดสําเร็จเมื่อตนป 2489 โดยควงไดรับความชวย เหลือ จาก“กลุมรอยัลลิสต” หลายคนเขารวมรัฐบาล เชน พระยาศรีวิสารวาจา อดีตขาราชการใน ระบอบเกาที่มคี วามคิดอนุรกั ษนยิ มอยางมาก เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาอัศวราชทรงศิริ และม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนตน28 ดวยเหตุที่ ปรีดีตัดสินใจยุบเลิกขบวนการเสรีไทย ซึง่ ถือวาเปน กองกําลังที่มสี วนในการปกปองรัฐบาล“กลุมปรีดี”ลง ในขณะที่ “กลุมรอยัลลิสต”กลับมีพลังทาง 27
สิริรัตน เรืองวงษวาร, “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,”,หนา 215-216. 28 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,”ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท , 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ,์ หนา 543.; ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมาย เหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ),(กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิ่ง, 2542),หนา 156.;รายชื่อ คณะรัฐมนตรีของควง อภัยวงศชุดนี้ โปรดดู สิริรัตน , “บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 – 2491,”หนา 219-220. ควงไดตั้งคณะรัฐมนตรีที่ไมมี สมาชิก “กลุม ปรีดี”และพรรคสหชีพ พรรคแนวรัฐธรรมนูญรวมคณะรัฐมนตรีเลย แตมี“กลุมรอยัลลิสต”มากที่สุด เชน พระยา ศรีวิสารวาจาเปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวง ยุติธรรม พระยาศรีเสนาฯเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย พระยาอัศวราชทรงศิริเปนรัฐมนตรีวาการ กระทรวงเกษตราธิการ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนรัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ ทั้งนี้ ในสายตาของ โยสต อุปทูตสหรัฐฯเห็นวา พฤติกรรมทางการเมืองดังกลาวของควงนั้น สะทอนใหเห็นวา เขาไดแยกตัวออก จากคณะราษฎรแลว เนื่องจาก การที่ควงนําพระยาศรีวิสารฯและ“กลุมรอยัลลิสต”กลับเขารวมคณะรัฐมนตรี เปนการทาทายตออํานาจของปรีดี พนมยงคเปนอยางมาก เนื่องจาก ปรีดี เห็นวาพระยาศรีวิสารฯเปนศัตรูที่ทํา ใหเขาตองถูกเทรเนศออกไปเมื่อ 2476 โยสต เห็นวา ควงนั้นปราศจากความรูในทางการเมือง และไมขวนขวาย ในการอานหาความรูเพิ่มเติม จนเปนที่รูกันดีวา เขาเปนคนไมอานหนังสือ แมแตรายงานจากหนวยงานราชการ ถึงรัฐบาล หากเลี่ยงไดเขาก็จะไมอานรายงานนั้น แตเขาเปนคนที่มีไหวพริบในการโตเถียงและการยอนคําพูด (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, ”Khuang Aphaiwong Cabinet”, 6 Febuary 1946 ).
39
การเมืองมากขึ้น ทําใหเขาตระหนักวา กลุม การเมืองของตนปราศจากฐานสนับสนุนอํานาจ เวลา ตอมา ปรีดีและ“กลุมปรีด”ี ไดจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้น 2 พรรคที่สําคัญ คือ พรรคแนวรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนการรวม ตัวกันสมาชิกคณะราษฎรทั้งสวนพลเรือนและทหารทีย่ ึดถือหลัก 6 ประการของ คณะราษฎร 29 สวนพรรคสหชีพ เปนการรวมตัวกันของสมาชิกสภาผูแทนฯจากภาคอีสาน และ อดีตเสรีไทย ยึดถือนโยบายสังคมนิยมและตอตานจอมพล ป. พิบูลสงครามเพื่อใชพรรคการเมือง ทั้งสองพรรคตอสูทางการเมืองกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคลือ่ นไหวรวมตัวกันทางการเมืองอยาง เขมขนภายหลังสงครามโลก 30 ในขณะเดียวกัน ตนเดือนกุมภาพันธ 2489 กอนที่จะมีการจัดตั้งพรรคประชาธิปตยไม นาน สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานความเคลือ่ นไหวทางการเมืองระหวางควง อภัยวงศกับ พระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” ที่มกี ารพัฒนาความสัมพันธอนั แนบแนนมากยิ่งขึน้ ทั้งนี้ กลุมดัง กลาวประกอบดวย พระองคเจาภาณุพนั ธฯ เจาพระยาศรีธรรมธิเบศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ ปราโมช สมบูรณ ศิริธร เทียม ชัยนันท เลียง ไชยกาล และใหญ ศวิตชาติ เปนตน ในเวลาตอมา พวกเขาไดจัดประชุมทางการเมืองเพื่อเตรียมการจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นที่บานของ พระพินิจชนคดีเพื่อรวมมือกันตอตานคณะราษฎร โดยไดรับเงินทุนกอนแรกในจัดตั้งพรรค การเมืองจากพระพินิจชนคดี 31 ในที่สุด พรรคประชาธิปตยไดถูกจัดตั้งขึ้นในเดือนเมษายนป 29
NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”. ในรายงานฉบับนี้ให ขอมูลวา แกนนําของพรรคแนวรัฐธรรมนูญ คือ ปรีดี พนมยงค โดยมีพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ เปน เลขาธิการทั่วไป สวนทองเปลว ชลภูมิเปนเลขาธิการพรรคฯ ทั้งนี้ นโยบายของพรรคฯ คือ หลัก 6 ประการของ คณะราษฎร 30 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”.; “เคานโยบายของคณะ พรรคสหชีพ,” ใน พรรคการเมือง, หยุด แสงอุทัย (พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494), หนา 555-548. รายงานของ สถานทูตสหรัฐฯใหขอมูลวา เดือน บุนนาค และถวิล อุดล เปนเลขาธิการพรรคฯ เปนแกนนําของพรรคสหชีพ โดยมีสมาชิกสําคัญของพรรคฯ เชน ทองอิน ภูริพัฒน ไต ปาณิกบุตร จําลอง ดาวเรือง เตียง ศิริขันธ ซึ่งเปน สมาชิกสภาผูแทนราษฎรภาคอีสาน มีความใกลชดิ คณะราษฎร ที่ทําการพรรคฯตั้งที่บานของทองอิน ภูริพัฒน ผูเปนแกนนําพรรคที่แทจริง พรรคฯดังกลาวนี้ มีสมาชิกสภาผูแทนฯราว 45-60 คน และสมาชิกพฤฒิสภาราว 915 คน นโยบายสําคัญของพรรคฯ คือ หลัก 6 ประการ และความคิดสังคมนิยม ที่ใหความสําคัญกับสหกรณ การสงเสริมการเกษตร มีความตองการความรวดเร็วในการดําเนินการทางการเมือง และตอตานจอมพล ป. พิบูลสงคราม(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”). 31 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State ,26 April 1946.; ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต,(กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543), หนา 84.; อนุสรณในงาน
40
เดียวกันนัน้ เอง โดยปราศจากนโยบายพรรคฯที่มีความชัดเจน เนื่องจาก สมาชิกในพรรคฯมีความ ตองการทีห่ ลากหลาย เชน สมาชิกบางสวนมีความตองการกลับสูระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย บางสวนตองการรัฐบาลที่ซื่อสัตย บางก็ตองการมีผนู ําที่เขมแข็งอยางเชนจอมพล ป. พิบูล สงคราม แตบางสวนก็ไมตองการจอมพล ป.อีก อยางไรก็ตาม กลาวโดยสรุป นโยบายของพรรค ประชาธิปตย คือ คานเพื่อคานเทานัน้ 32 จากรายงานของอดีตโอเอสเอสคนหนึ่งรายงานวา รัฐบาลควง อภัยวงศเปนรัฐบาลอนุรักษนยิ มและมีความพยายามทําลายฐานทางการเมืองของ ปรีดี พนมยงคที่มาจากอดีตเสรีไทยและนักการเมืองฝายซาย จากนัน้ “กลุมปรีดี”นําโดยพรรคสห ชีพและสงวน ตุลารักษ ไดเริ่มดําเนินการตอบโตรัฐบาลควง โดยไดสนับสนุนใหกรรมกรจีนและ คนชั้นลางในกรุงเทพฯลุกฮือขึ้นกอความไมสงบตอตานรัฐบาลควงเพื่อเปนการโตตอบ33 ไมนาน จากนั้น ความขัดแยงดังกลาวนําไปสูการทีร่ ัฐบาลควงพายแพเสียงสนับสนุนในสภาผูแทนฯทําให ควงตองลาออกตําแหนงนายกรัฐมนตรีทดี่ ํารงตําแหนงไดเพียงไมถงึ สองเดือนนี้สรางความไม พอใจใหควงเปนอยางมาก34 จากนั้น ปรีดี พนมยงคไดกา วมามีบทบาททางการเมืองโดยตรง ในฐานะนายกรัฐมนตรี คนถัดมา ดวยเหตุความพายแพในสภาผูแทนฯไดสรางความไมพอใจของควง อภัยวงศและ“กลุม รอยัลลิสต”มาก ทําใหพวกเขาตัดสินใจจัดตั้งพรรคประชาธิปตยขึ้นในตนเดือนเมษายน 2489 โดยผลงานทางการเมืองในชวงแรกเริ่มของพรรคประชาธิปตย คือ การตอบโตรัฐบาลปรีดีทันที พระราชทานเพลิงศพ ณเมรุวัดธาตุทอง 4 มิถุนายน 2526,(กรุงเทพฯ: เรื่องชัยการพิมพ, 2526).; อนุสรณใน งานพระราชทานเพลิงศพ นายจําลอง ธนะโสภณ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม 27 มีนาคม 2527,(กรุงเทพฯ: วรวุฒิ การพิมพ 2527).; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250 , Memorandum of Conversation Kumut Chandruang, K.P. Landon, “Developing Political Party in Bangkok ,” 6 Febuary 1946. พระพินิจชนคดี(ดานยกเซง หรือเชื้อ อินทรทูต) เขาเปนพี่เขยของม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เขาเคยรับขาราชการตํารวจ ตอมาถูกปลดออกจากราชการ เขาเคยเปนพอคาที่แสวงหากําไรในชวง สงครามโลกครั้งที่ 2 และเปนหัวหนาคนหนึ่งของกลุมคนจีนที่สนับสนุนก็กหมินตั๋ง และใหเงินสนับสนุนคนจีน ในบันทึกการสนทนาฉบับนี้ สถานทูตสหรัฐฯระบุวา กุมุท จันทรเรืองเปนตัวแทนปรีดี พนมยงคอยางไมเปน ทางการ 32 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”; Jayanta Kumar Ray, Portraits of Thai Politics,(New Delhi: Orient Langman, 1972), p. 119 . 33 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Alexander McDonald to Campbell, 12 Febuary 1946 . 34 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 543.
41
โดยพรรคประชาธิปตยไดกลาวหารัฐบาลปรีดีและเหลาเสรีไทยวา รวมกันยักยอกเงินจากงบ สันติภาพของเสรีไทย แตผลการสอบสวนโดยคณะกรรมธิการของสภาผูแทนฯปรากฏวา ขอ กลาวหาจากพรรคประชาธิปตยไมเปนความจริง อยางไรก็ตาม ขอกลาวหาของพรรค ประชาธิปตยไดสรางความเสื่อมเสียใหรัฐบาลปรีดีเปนอยางมาก และไดกลายเปนชนวนของ ความขัดแยงระหวาง“กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต”ในเวลาตอมา35 ผนวกกับเมื่อรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 ไดถูกประกาศใชนําไปสูการเลือกตั้งนัน้ ยิง่ กอใหเกิดการเผชิญหนากันโดยตรงระหวาง “กลุมปรีดี”กับ“กลุมรอยัลลิสต”ผานพรรคการเมืองที่แตละฝายสนับสนุนมากยิง่ ขึ้น สําหรับบทบาทในการตอสูทางการเมืองของพรรคประชาธิปตยในชวงแรกเริ่มของการกอ ตัวนัน้ พวกเขาพยายามโฆษณาชวนเชื่อในการหาเสียงการเลือกตั้งเมื่อตนป 2489 วา การเสด็จ นิวัตรพระนครในเดือนธันวาคม 2488และการเสด็จเยาวราชของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั อานันทมหิดล เปนผลงานของพรรคประชาธิปตยเพื่อชวงชิงผลงานจากรัฐบาลปรีดี พนมยงค นอกจากนี้ พวกเขายังไดพยายามอางวา พระมหากษัตริยเขาทรงใหการสนับสนุนพรรคฯของตน แตผลการเลือกตั้งปรากฎวา พรรคสหชีพและแนวรัฐธรรมนูญซึ่งเปนพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลปรีดี ยังคงไดรับชัยชนะ จากนัน้ พวกเขาจึงไดเริ่มรณรงคตอไปวา การเลือกตั้งครั้งนี้ไมบริสุทธิ์ยุติธรรม พรอมๆกับการโจมตีปรีดีวาเปนคอมมิวนิสต และการเริ่มตนแผนการโกงการเลือกพฤติสภา ม.จ.ศุภสวัสดิฯ์ ทรงบันทึกวาควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยเปนผูที่ไมรูจักผิดชอบชั่วดี 36 2.4 “กลุมรอยัลลิสต” กับการเมืองในราชสํานักและการหาความสนับสนุนจากอังกฤษ การกลับสูการเมืองของไทยของ “กลุมรอยัลลิสต”ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมแต เพียงสรางปญหาใหกับการเมืองไทยเทานัน้ แตนาํ มาซึ่งปญหาการเมืองภายในราชสํานักดวย เชนกัน เนื่องจาก “กลุมรอยัลลิสต”ขณะนั้นมีหลายกลุม โดยแตละกลุม ก็ใหการสนับสนุนราชสกุล 35
บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์,”หนา 72-73. และ “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,”ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 544. ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดกลาวหาวาปรีดี พนม ยงคและเสรีไทยทุจริตเงินดําเนินการที่สหรัฐฯสงให 500,000 ดอลลาร ตอมาคณะกรรมธิการสภาผูแทนราษฎร ไดตรวจสอบโดยเชิญบุคคลจํานวนมากมาใหปากคํา เชน เจมส ทอมสัน หนึ่งในอดีตโอเอสเอสไดใหปากคําวา การกลาวหาของพรรคประชาธิปตยทําใหเขาเจ็บปวดมาก แทนที่พรรคประชาธิปตยและ “กลุมรอยัลลิสต”จะ สํานึกในบุญคุณของเสรีไทยแตกลับกลาวหาวาพวกเสรีไทยทุจริต สุดทาย ผลการสอบสวนของสภาฯปรากฎวา ปรีดีรับเงินมาเพียง 49,000 ดอลลารเทานั้น และไมมีการทุจริตเงินดังกลาว 36 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 547-549.
42
ที่แตกตางกันใหขึ้นมามีอํานาจในราชสํานัก เชน ราชสกุลจักรพงศ บริพัตร หรือยุคล ซึ่งราชสกุล ขางตนยังคงมีอิทธิพลและไดรับการสนับสนุนจาก“กลุม รอยัลลิสต”มากกวาราชสกุลมหิดลที่หา ง เหินจากการเมือในราชสํานัก ทามกลางการแขงขันภายในราชสํานักของเหลาพระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”ตางๆ ทําใหเกิดกระแสขาววา กอนทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯจะ เสด็จนิวัตรพระนคร ในเดือนธันวาคม 2488 นั้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา พระองคอาจจะ ทรงสละราชยสมบัติ และมีความเปนไปไดที่พระองคเจาจุมภฎแหงราชสกุลบริพัตรจะขึ้น ครองราชยแทน อีกทั้ง ในขณะนั้น ปรีดี พนมยงคในฐานะผูสําเร็จราชการแทนพระมหากษัตริยได แสดงความสนิทสนมกับราชตระกูลอื่นทีม่ ีโอกาสสืบสันติวงศในลําดับถัดไป เชน การที่เขาไดเคย ไดเดินทางไปพบพระองคเจาจุมภฎฯ และเขาเคยไปเทีย่ วกับพระองคเจาภาณุพนั ธแหงราชสกุล ยุคคลดวย37 แมตอมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯทรงนิวัตรพระนครในเดือนธันวาคม 2488 แตความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”ก็มิไดลบเลือนไป แตกลับยิ้งปริ ราวมากยิง่ ขึ้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ตัง้ แตเดือนพฤษภาคมถึงตนมิถุนายน 2489 เกิด ความเหินหางกันระหวางพระมหากษัตริยแ ละปรีดี พนมยงค เนื่องจากเกิดการปลอยขาวภายใน ราชสํานักโดยพระราชวงศและพรรคประชาธิปตย ทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดบันทึกถึงบรรยากาศ ที่เย็นชาในชวงเวลาดังกลาวทีพ่ วกเขาไดรับจากพระมหากษัตริยและพระราชชนนี เมื่อพวกเขา กลาวถึงปรีดี พนมยงคตอหนาพระพักต ในรายงานของสถานทูตฯไดวเิ คราะหวา พระราชวงศ และพรรคประชาธิปตยพยายามใชพระมหากษัตริยเปนเครื่องมือในการแบงแยกระหวาง คณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”เพื่อทําการตอตานรัฐบาลปรีดี ในรายงานไดแสดงความหวังวา ปญหาความเย็นชาและความขัดแยงระหวางราชสํานักและรัฐบาลจะลดลงเมื่อพระองคทรงเสด็จ เดินทางไปยังตางประเทศ38 แตปญหาดังกลาวมิไดเปนไปตามความคาดหวังที่สถานทูตสหรัฐฯหวังไว แตความ ขัดแยงกลับยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทฯทรงสวรรคต ดวยการถูกยิงดวยพระแสงปนอยางมีเงื่อนงําในเชาของวันที่ 9 มิถุนายน 2489 ไมกี่วันกอน พระองคจะทรงออกเดินทางกลับไปยังสวิสเซอรแลนด∗ จากนัน้ การสวรรคตที่เกิดขึ้นไดกลาย 37
NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Yost to Secretary of State, 24 November 1945. 38 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 6 June 1946 . ∗ ทันทีที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯทรงเสด็จสวรรคต รัฐบาลปรีดี พนมยงคไดเสนอให สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาภูมิพลอดุลยเดชสืบสันตติวงศ โดยรัฐสภามีมติเปนเอกฉันท แตดวยเหตุที่
43
เปนจุดเปลี่ยนทางการเมืองที่สําคัญอันทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาหมดอํานาจลงอยาง รวดเร็ว และเหตุการณดังกลาวไดเปดโอกาสให“กลุมจอมพล ป.”กลับมามีโอกาสทางการเมืองอีก ครั้ง โดยเฉพาะอยางยิง่ เปนโอกาสที่ดียิ่งของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ใชประเด็นดังกลาวเปนหนทางใน การกลับมามีอํานาจทางการเมืองของพวกเขายิง่ นําไปสูปญหาความปนปวนทางการเมืองอยาง รุนแรงในการเมืองไทยนานกวาทศวรรษตอไป ไมนานหลังการสวรรคต รัฐบาลปรีดี พนมยงค ไดแถลงขาวดังกลาวตอสาธารณชนวา พระมหากษัตริยทรงสวรรคตจากอุบัติเหตุ จากนั้น รัฐบาลไดสั่งใหคณะแพทยและตํารวจเขาชัน สูจนพลิกศพ แต กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูทรงเปนพระประยูรญาติชั้นผูใหญทที่ รงมีความ สนิทสนมกับราชสกุลมหิดล และตอมาทรงเปนผูสําเร็จราชการแทนพระมหากษัตริยน นั้ พระองค ทรงไมอนุญาตใหคณะแพทยและตํารวจของรัฐบาลเขาทําหนาที่ 39 จากนัน้ ปรีดีไดขอลาออกจาก ตําแหนงนายกรัฐมนตรี อยางไรก็ตาม รัฐสภายังคงเลือกเขากลับไปเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้งใน วันที่ 11 มิถุนายน 2489 การกลับมาสูอาํ นาจของปรีดีครั้งนีท้ ําใหเกิดความเชื่อมโยงกันของพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ระหวางพระองคเจาธานีนิวัตฯ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและพรรค ประชาธิปตย ไดรวมมือในการปลอยขาวลือโจมตีวา ปรีดปี ลงพระชนมพระมหากษัตริย40 การ ปลอยขาวดัง กลาวยิ่งทําใหสาธารณชนทีไ่ มมีโอกาสรับรูขอเท็จจริงนัน้ มีความสงสัยในรัฐบาล ปรีดีมากยิง่ ขึ้น
พระองคยังทรงยังไมบรรลุนิติภาวะ รัฐสภาจึงไดตั้งคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคชั่วคราว คือ พระสุธรรม วินิจฉัย(ชม วณิกเกียรติ) พระยานลราชสุวัจน(ทองดี วณิคพันธุ)และนายสงวน จูฑะเตมีย (ประเสริฐ ปทมะ สุคนธ, รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองป(2485-2517),[พระนคร: ชุมนุมชาง, 2517], หนา 535, 543.)จากการที่ รัฐบาลไดแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการฯแทนนี้สรางความไมพอใหใหกับราชสํานัก เนื่องจาก ราชสํานักตองการ มีสวนในการจัดการแตงตั้งผูสําเร็จราชการฯดวยตนเอง (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 11 June 1946 ) ตอมา เกิดการประนีประนอมระหวางรัฐบาลปรีดีกับ ราชสํานักดวยการแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการฯจํานวน 2 คน ในระหวางนั้น สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีทรง เดินทางกลับมาไทยและทรงมีพระราชประสงคเปนคณะผูสําเร็จราชการฯดวย(NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 August 1946”). แตสุดทายราชสํานัก ไดเสนอชื่อ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เปน ตัวแทน สวนคนที่ 2 คือ พระยามานวราชเสวี(ปลอด ณ สงขลา)ตัวแทนของรัฐบาล(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 18 June 1946). 39 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 550. 40 Ibid., หนา 550,558.
44
ในชวงเวลาเดีวกัน สถานทูตอังกฤษไดรายงานวา พระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” ใช สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษเปนเปาหมายของการปลอยขาวลือโจมตีรัฐบาลปรีดี พนมยงค ภายหลังการสวรรคตไดเพียง 2 วัน ทูตอังกฤษไดรายงานเมื่อ 11 มิถนุ ายน 2489วา พระองคเจา ธานีนวิ ัตฯไดมาพบทูตอังกฤษอยางรีบเรงดวยรถยนตทหารอังกฤษเพือ่ แจงแกเขาวา พระองคทรง เชื่อวาพระบาท สมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ ทรงถูกลอบปลงพระชนม ทรงอางวาทรงเห็นพระ บรมศพดวยพระองคเอง แตรัฐบาลปรีดีกลับประกาศวา การสวรรคตเปนอุบัติเหตุ ทรงแสดง ความกังวลวาพระมหากษัตริยพระองคใหมจะไมไดทรงราชย เนื่องจาก ทรงเชื่อวา มีนักการเมือง ที่ครองอํานาจอยูจะสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น จึงทรงเรียกรองใหกองทัพทหารอังกฤษประจําการอยู ในประเทศไทยตอไป41 แตสถานทูตอังกฤษไมตองการเกีย่ วของกับเรื่องลึกลับซับซอนภายในราช สํานักไทย และทูตอังกฤษไดเตือนพระองคเจาธานีนิวัตฯวา ไมทรงควรปลอยใหอารมณครอบงํา จิตใจ ทูตอังกฤษเห็นวา พระองคทรงมาจากฝายที่ตองการดําเนินการรุนแรง42 ในขณะเดียวกัน โยสต อุปทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดสงภรรยาและหลานของเขามายัง สถานทูตฯ พรอมกลาวหาวาปรีดีมีความเกีย่ วของกับการสวรรคต แตเขาไมเชื่อขาวดังกลาว43 อยางไรก็ตาม โยสต เห็นวา มีความเปนไปไดที่กองทัพอังกฤษจะเขาแทรกแซงหากรัฐบาลปรีดีไม สามารถควบคุมสถานการณได44 นอกจากนี้ โยสตไดรายงานสถานการณการเมืองในราชสํานัก ภายหลังการสวรรคตตออีกวา เกิดการเหอเหิมของกลุม พระราชวงศหลายตระกูล โดยเฉพาะ อยางยิ่ง“กลุมรอยัลลิสต”ที่นําโดยราชสกุลสวัสดิวัตน ทีม่ ีสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี และ ม.จ.ศุภสวัสดิ์ เปนแกนนําที่ใหการสนับสนุนราชสกุลจักรพงษใหขึ้นมีอาํ นาจเหนือราชสํานักแทน 45
41
กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 331. Ibid., หนา 332. ทั้งนี้ “พระองคเจาไทย” ที่เอกสารอังกฤษรายงานนั้น ปรีดี พนมยงคเห็นวา หมายถึง พระองคเจาธานีนิวัตฯ(ปรีดี พนมยงค, ชีวประวัติยอของนายปรีดี พนมยงค,[กรุงเทพฯ: คณะ อนุกรรมการศึกษาวิจัยและประมวลผลงานของศาสตราจารย ดร.ปรีดี พนมยงค, 2544], หนา 158-168). 43 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, “Footnotes on the King’s Death,” 14 June 1946.; “A Memorandum on a certain aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภ สวัสดิ์, หนา 550. 44 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 11 June 1946 . 45 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 26 June 1946. 42
45
สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา การสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯเปน ประหนึง่ เงาดําทมึนที่บดบังทุกสิง่ ทุกอยาง เกิดการขาวลือที่สกปรกที่เชือ่ มโยงคดีไปสูป รีดี พนม ยงคและพวกมีความเกี่ยวของกับการสวรรคต46 ตอมา สแตนตันไดเขาพบปรีดี นายกรัฐมนตรีใน ขณะนั้น และไดบันทึกการพบครั้งนั้นวา ปรีดีอยูในอารมยโกรธเนื่องจากถูกกลาวหาจากพระ ราชวงศและพรรคประชาธิปตย โดยเฉพาะอยางยิ่งจาก ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ที่จะทําให พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช ผูทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคใหมและพระ ราชชนนีใหตอตานเขา ปรีดแี จงตอไปอีกวา ความสัมพันธระหวางเขากับพระราชชนีนั้นอยูใน ระดับแย และเขามีความวิตกวา ความสัมพันธที่ยา่ํ แยนจี้ ะเกิดกับพระมหากษัตริยพระองคใหม ดวย เนื่องจาก เขากําลังถูกใสรายดุจเดียวกับเหมือนกับที่เคยเกิดขึน้ ในสมัยพระมหากษัตริยใน พระบรมโกฐ47 หลังจาก ขาวลือเกี่ยวกับการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทฯถูกลอบปลงพระ ชนมไดแพรสะพัดไปในสังคมกอใหเกิดกระแสตอตานปรีดี พนมยงคอยางรุนแรง นักหนังสือพิมพ รวมสมัยชาวอเมริกันและอดีตโอเอสเอสคนหนึ่งไดบนั ทึกถึงบทบาทของหนังสือพิมพทา มกลาง การตอสูทางการเมืองขณะนัน้ วา หนังสือพิมพไทยจํานวน 35 ฉบับขณะนัน้ มีเพียงไมกี่ฉบับ เทานัน้ ที่รายงานขาวอยางเที่ยงตรง นอกนั้นไดรับการอุดหนุนจากกลุม การ เมืองที่เปนปรปกษตอ กันทั้งสิน้ เชน “กลุมรอยัลลิสต” รัฐบาลและกลุมทหาร การรายงานขาวขณะนัน้ ดุเดือดและมุง ทําลายลางศัตรูทางการเมืองโดยไมคํานึงถึงจริยธรรมใดๆ48 และเมื่อเกิดวิกฤตการณการเมือง จากการสวรรคตที่รัฐบาลปรีดี ยังไมสามารถสรางความกระจางใหกบั สาธารณชน ทามกลางการ ตอสูทางการเมืองที่แหลมคมยิ่งทําใหหนังสือพิมพที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมการเมืองตางๆ เคลื่อนไหวสรางขาวทีเ่ ปนปรปกษกับรัฐบาลมากยิ่งขึน้ เพียงไมกี่วนั ภายหลังการสวรรคต เริ่มเกิด
46
Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 169. NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Death of the King of Siam,” 13 June 1946.ขอความที่สแตนตัน ทูตสหรัฐฯรายงานการสนทนากับปรีดี พนมยงคไมกี่วันหลังการสวรรคตมีวา “…he(ปรีดี พนมยงค) was violently angry at the accusation of foul play leveled againt himself and most bitter at the manner in which he alleged that the Royal Family and the Opposition, particularly Seni Pramoj, had prejudiced the King and especially the Princess Morther againt him… his relations with the Princess Mother were hopelessly bad and he feared greatly that his relations with the new King would be poisoned in the same manner as had his relations with King Ananda .” 48 Alexander Macdonald, Bangkok Editor,(New Yor: The Macmillan Company,1950), p.57. 47
46
ขาวลือในสังคมวา พระมหากษัตริยถูกปลงพระชนม49 แมในเวลาตอมา รัฐบาลปรีดจี ะไดตั้ง คณะกรรมการสอบสวนกรณีสวรรคตขึ้นเพื่อดําเนินการสรางความกระจางแกสาธารณชน50 แตก็ ดําเนินการสอบสวนไปดวยความยากลําบาก ตอมา รัฐบาลยังไมสามารถสรางความกระจางถึง สาเหตุการสวรรคตทําใหสาธารณชนได ยิง่ ทําใหสาธารณชนเกิดความเคลือบแคลงสงสัยมาก ยิ่งขึ้น แมปรีดี จะสามารถรักษาตําแหนงนายกรัฐมนตรีตอไปทามกลางวิกฤติการณหลังการ สวรรคตไดก็ตาม แตประชาชนทัว่ ไปยังคงเชื่อวาพระมหากษัตริยถกู ลอบปลงพระชนม51 อยางไรก็ตาม พระราชวงศหลายคน เชน พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ พระองคเจาจุมภฎฯ พระองคเจาภาณุพนั ธฯ ซึ่งเปนกรรมการในคณะกรรมการสืบสวนกรณีสวรรคตนี้ตางทรงมีเปา หมายทางการเมืองรวมกัน คือ ความไมพอใจคณะราษฎร ดังรายงานของซีไอเอไดราย งานวา พระองคเจาภาณุพนั ธ ทรงเปนหนึ่งในผูท มี่ ีโอกาสขึน้ ครองราชยเปนลําดับที่ 3 ตอจากพระองค เจาจุมภฎฯ-ทรงไมพอพระทัยปรีดี พนมยงค เพราะปรีดีไมไดใหการสนับสนุนการคาสวนพระองค ทรงกลาววาทรงมีพระประสงคตองการเลนการเมือง52 จากนัน้ พระองคทรงใหการสนับ สนุนพรร คประชาธิปตย และทรงใชหนังสือพิมพเปนเครื่องมือตอสูทางการเมือง โดยทรงวาจางให บรรณาธิการใชหนังสือพิมพทําลายลางนักการเมืองของคณะราษฎร เนื่องจากทรงไมพอพระทัยที่ คณะราษฎรโคนลมระบอบเกาดวยการโจมตีวาคณะราษฎรเปนศัตรูของ“กลุมรอยัลลิสต” อีกทัง้ ทรงไดเขียนบทความหลายชิ้นดวยตนเอง โดยใชนามปากกาวา“จันทวาทิตย”53 ทรงเคยกลาวกับ
49
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 18 June 1946.; Macdonald, Bangkok Editor, p. 57-58.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการ เมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516,(กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543),หนา 234. ทั้งนี้ หนังสือพิมพอิทธิ ธรรม ของชื้น โรจนวิภาต เปนหนังสือพิมพฉบับแรกที่โจมตีรัฐบาลกรณีสวรรรคต 50 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 39-40. คณะ กรรมการฯ ชุดดังกลาวมีประธานศาลฎีกาเปนประธาน ประกอบดวยตัวแทนมาจาก 4 กลุม คือ กลุมผู พิพากษาและอัยการ ศาลอุธรณ ศาลอาญา และกรมอัยการ กลุมผูแทนรัฐสภาจากประธานพฤฒิสภาและสภา ผูแทนฯ กลุมพระราชวงศ เชน พระองคเจาจุมภฎฯ พระองคเจาภาณุพันธฯ และพระองคเจาธานีนิวัตฯ และ กลุมสุดทายมาจากตัวแทนของ 3 เหลาทัพ โดยคณะกรรมการชุดนี้ถูกตั้งขึ้นเมื่อ 18 มิถุนายน 2489 51 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A005800020009-4, 4 July 1946, “Political crisis subside”. 52 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R000100410004-5, 13 November 1946, “Internal Politics”. 53 Macdonald, Bangkok Editor, p. 58.
47
นักหนังสือพิมพชาวอเมริกนั วา “กลุมรอยัลลิสต” มีความภูมิใจที่ไดโจมตีรัฐบาลปรีดีและกลุมของ เขา 54 นับแตการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ รัฐบาลปรีดี พนมยงค สูญเสียความเชื่อมั่นและไดรับความไมพอใจจากสาธารณชน ขาราชการ และทหาร อีกทั้งถูก โจมตีจากหนังสือพิมพอยางหนัก ทําใหรัฐบาลเกิดความวิตกถึงปญหาความมัน่ คงทางการเมือง ทําใหรัฐบาลแตงตั้ง พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส อดีตอธิบดีกรมตํารวจและเสรีไทยใหเปนผูบัญชา การทหารบกในกลางเดือนมิถุนายน 2489 เพื่อควบคุมสถานการณและปองกันการรัฐประหาร55 ในปลายเดือนเดียวกัน รัฐบาลไดจับกุมนักการเมือง และนักหนังสือพิมพ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ได ปลอยขาวลือโจมตีรัฐบาลไดหลายคน 56 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา เมื่อรัฐบาลประกาศภาวะ 54
Ibid., p. 59. ตอมา พระองคเจาภาณุพันธฯทรงจัดตั้ง บริษัท สหอุปกรณการพิมพ ขึ้นและทรงเปน เจาของหนังสือพิมพหลายฉบับ เชน เกียรติศักดิ์ และประชาธิปไตย อีกทั้ง ทรงมีนักหนังสือพิมพภายใตการ อุปถัมภ เชน เชน ร.ท. สัมพันธ ขันธะชวนะ(“สําเนียง‘ตาหมอหลอ’ ขันธชวนะ,” ใน ชีวิตการตอสูของ นักหนังสือพิมพที่นาสนใจ, ราเชนทร วัฒนปรีชากุล [กรุงเทพฯ: ศูนยรวมขาวเอกลักษณ, ไมปรากฎปพิมพ], หนา 260-262). ประวัติของสําเนียง ขันธชวนะหรือ‘ตาหมอหลอ’ เขาจบการศึกษาระดับมัธยมปที่ 4 เคยเปน ครูประชาบาลที่จังหวัดราชบุรี ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาไดเขาสูวงการหนังสือพิมพ เคยดํารงตําแหนง บรรณาธิการเกียรติศักดิ์ เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเขียนขาวคดีสวรรคต ในชวงป 2490 เกียรติศักดิ์มียอด จําหนายดีมากจากขาวคดีสวรรคต ตอมาหนังสือพิมพมีปญหาทางการเงินในชวง 2498 เขาจึงไปรวมงานกับ หนังสือพิมพขาวดวนจนถึงป 2500 เขายายไปทํางานกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชที่สยามรัฐ) และไสว พรหมมิ (อนุสรณในงานณาปนกิจศพ นายไสว พรหมมิ ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 1 กุมภาพันธ 2526,(สระบุรี: โรง พิมพปากเพรียว, 2526),หนา 51.ประวัติของไสว พรหมมิ (2459-2525) เคยทํางานที่เกียรติศักดิ์ และ ประชาธิปไตย ใชนามปากกาวา ‘อานนท’ เปนคอลัมนิสตที่เขียน“การเมืองนอกเวที” เคยเขียนบทความวิจารณ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามอยางหนักในกรณีซื้อรถถังเบรนกิ้น ในระหวางที่เขารวมงานกับเกียรติศักดิ์นั้น หนังสือพิมพฉบับดังกลาวถูกปดเนื่องจากไปโจมตีกรณีสวรรคต จากนั้น พระองคเจาภาณุพันธฯไดทรงซื้อ กิจการประชาธิปไตย เพื่อใหเขาเขียนขาวโจมตีปรีดี พนมยงคในกรณีสวรรคตและการสถาปนามหาชนรัฐตอไป 55 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 28 June 1946. 56 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 31 July-15 August 1946”.; สุวิมล รุง เจริญ,“บทบาทของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526),หนา 30.; เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา,(พระนคร: รวมสาสน, 2501), หนา 478-486. เชน เลียง ไชยกาล ส.ส. โชติ คุมพันธุ ส.ส. ทองนันท วงศสังข ส.ส. สกลนคร ประยูร อภัยวงศ ส.ส. พิบูลสงคราม แดง วงศสุวรรณ ผูสมัครส.ส. สงขลา ประชาธิปตย สวนบรรณาธิการหนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน ดําริห ปทมะศิริ-บรรณาธิการ
48
ฉุกเฉินเมื่อ 1 กรกฎาคม และมีการเซ็นเซอรหนังสือพิมพนั้น ไมไดชวยใหความปนปวนทาง การเมืองที่ถกู ปลุกเราจาก“กลุมรอยัลลิสต”คลี่คลายลงไปไดเลย แตกลับยิ่งทําใหสถานการณ ย่ําแยลง เนื่องจาก“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงเคลื่อนไหวเพื่อกอวินาศกรรมทางการเมืองตอรัฐบาล ปรีดี โดยไมคิดถึงผลประโยชนสวนรวม ตอมา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชไดประกาศวา เขาจะถูกจับ เร็วๆนี้ และแจงวา พรรคประชาธิปตยไดรับการติดตอจากกองทัพใหตอตานรัฐบาล57 ตอมา รัฐบาลปรีดี พนมยงคไดจับสมาชิกแกนนําของพรรคประชาธิปตยหลายคน เชน ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและเลียง ไชยกาล กับบรรณาธิการหนังสือพิมพของ “กลุม รอยัลลิสต”อีก 2 คน เนื่องจากรวมกันขยายขาวที่เปนเท็จ ปรีดีไดแจงกับสแตนตัน ทูตสหรัฐฯ ในขณะ นัน้ วา หากขาวลือเกีย่ วกับการสวรรคตไมจบลงเร็วๆนี้จะเกิดปญหายุง ยากทางการ เมือง 58 สแตนตันยังคงรายงานตอไปวา การสนทนาครั้งนี้ ปรีดอี ยูในอารมณโกรธ และบอกกับเขาวา ขาวลือเหลานี้ เกิดขึ้นจากความรวมมือระหวางพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองการ ปลอยขาวลือหวังสรางความเคลือบแคลงใจตอตัวเขาใหกับสาธารณชน โดยขณะนัน้ รัฐบาลปรีดี ไดตอบโตดวยการใชวิธกี ารเซ็นเซอรหนังสือพิมพเพื่อตอตานการปลอยขาวลือดังกลาว59 หลังการสวรรคตของพระมหากษัตริยเพียงหนึ่งเดือน สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา เกิด ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่นาํ โดยพระองคเจาจุมภฎฯ ผูทรงเปนหนึ่งในกรรมการ สืบสวนการสวรรคตและทรงมีสิทธิในการขึน้ ครองราชลําดับที่ 2 ตอจากราชสกุลมหิดลนั้น ไดทรง ใหการสนับสนุนการแจกอาวุธปนคาไบนและกระสุนเพือ่ เตรียมการรัฐประหารลมรัฐบาลปรีดี พนมยงคที่ยงั ไมยอมใหความกระจางถึงสาเหตุการสวรรคตเพื่อผลักดันใหพระองคเจาจุมภฎฯขึ้น ครองราชยแทนราชสกุลมหิดล อีกทั้ง พระองคทรงตองการหมุนระบอบการเมืองของไทยใหกลับ ไปสูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยอีกครั้ง โดยทรงมีแผนเปดโอกาสใหอังกฤษกลับมามีอทิ ธิพล ตอไทยอีกครั้ง สําหรับ ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตย มีทา ทีใหสนับสนุนการเตรียม ประชาธิปไตย ยอดธรรม บุญบันดาล-บรรณาธิการเสรี สมัย เรืองไกร-บรรณาธิการสหภาพ และร.ท.สัมพันธ ขันธะชวนะ บรรณาธิการเกียรติศักดิ์(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP7801617A005800020001-2, 1 April 1946- 29 June 1946, “Premier move to restrain Army”). 57 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 3 July 1946.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 58 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 6 July 1946. 59 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 8 July 1946 .
49
รัฐประหารของพระองคเจาจุมภฏอยางลับๆ อยางไรก็ตาม แผนการรัฐประหารของพระองคเจา จุมภฎและพรรคประชาธิปตยถูกระงับไป เนื่องจาก รัฐบาลลวงรูความเคลื่อนไหว และเตรียมการ ตอตานการรัฐประหารดังกลาวแลว 60 เมื่อการรณรงคเลือกตั้งทัว่ ไปตามรัฐธรรมนูญ 2489 เริ่มตนขึ้น พรรคประชาธิปตยซงึ่ ตองการชัยชนะในการเลือกตั้งดวยทุกวิธีการไดใชประโยชนจากการสวรรคตเปนประเด็นในการ โจมตีทางการเมือง โดยควง อภัยวงศไดรวมมือกับ“กลุมรอยัลลิสต”กลาวหาวา คณะราษฎรมีแต ความผิดพลาด และปลอยขาวโจมตีวาปรีดี พนมยงคอยูเบื้องหลังการสวรรคตผานการกระซิบ และการเขียนขอความสนเทหแจกจายไปตามหนวยราชการและบุคคล61 อยางไรก็ตาม รัฐบาล ปรีดีไดพยายามแกไขสถานการณดวยคําสัง่ ของกระทรวงมหาดไทยทีส่ ั่งการใหผูวา ราชการ จังหวัดชี้แจงวาขอกลาวหาทีไ่ มถูกตองจากพรรคประชาธิปตย ดวยเหตุที่ พรรคประชาธิปตยได ใชแผนการสกปรกในการโจมตีรัฐบาล รัฐบาลจึงมองวาพรรคประชาธิปตย คือ ศัตรูทางการ เมือง 62 ไมแตเพียง ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับพรรคประชาธิปตยเทานัน้ แตภายในพรรค ประชาธิปตยเกิดความขัดแยงภายในพรรคประชาธิปตยระหวางไถง สุวรรณทัตกับพระยาศรี วิสารวาจา ซึ่งทั้งคูลงสมัครรับเลือกตั้งในเขตเดียวกันทําพรรคประชาธิปตยตัดสินใจใหไถงถอนตัว จากการแขงขัน แตไถงปฏิเสธ ไมนานจากนัน้ เขาถูกขวางระเบิดในระหวางการหาเสียงทําใหเขา เสียขาขางหนึง่ ไป จากนัน้ พรรคประชาธิปตยไดใชรถหาเสียงโฆษณากลาวหาวาปรีดอี ยูเบื้อง หลังการระเบิดใสไถง ดวยเหตุที่ เหตุดังกลาวเกิดกอนลงคะแนนเสียงการเลือกตั้งเพียง 2 วัน แต บางคนเห็นวา คนที่ไดประโยชนจากเหตุการณนี้ คือ พรรคประชาธิปตย นัน่ เอง แมวา ผลการ เลือกตั้งในเดือนสิงหาคม 2489 ปรากฎวาพรรคการเมืองที่สนับสนุนรัฐบาลพายแพใหกับพรรค ประชาธิปตยในเขตกรุงเทพฯแตรัฐบาลยังคงไดรับความนิยมจากประชาชนในเขตชนบท63
60
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 30
July 1946 . 61
“A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 549.,สุชิน ตันติกุล , “ผลสะทอนทาง การเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,”หนา 41. 62 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 561-562. และโปรดดู “คําสั่งกระทรวง มหาดไทย,” 29 กรกฎาคม 2489 ใน เบื้องหลังการเมืองยุคทมิฬ, ณรงค ไตรวัฒน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ อุดมศึกษา, 2517), หนา 53-58. 63 “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 563-564.
50
กระนัน้ ก็ดี “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยยังไมลมเลิกความพยายามในการ ทําลายปรีดี พนมยงคและกลุมของเขา ตอมาพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดสงคน ลักลอบบุกรุกเขาไปในพระบรมมหาราชวังเพื่อโจมตีรัฐบาลปรีดีดวยขอกลาวหาวา รัฐบาล บกพรองที่ไมสามารถรักษาความปลอดภัยใหพระมหากษัตริยจนกระทั่งพระองคทรงถูกปลงประ ชนมได 64 ตํารวจสันติบาลนายหนึ่งบันทึกวา “กลุมรอยัลลิสต”ไดใชกรณีสวรรคตโจมตีรัฐบาล โดยเริ่มจากประเด็นรัฐบาลถวายการอารักขาไมเพียงพอ ตอมากลายเปนการโจมตีปรีดีวาเปนผู บงการใหเกิดการสวรรรคต เปนพวกสาธารณรัฐ และเปนคอมมิวนิสต65 แมปรีดีจะถูกโจมตีอยาง รุนแรงจากการสวรรคต แตปรากฎวา เขามิไดเสนอคําอธิบายใดๆในการปฏิเสธขอกลาวหาตางๆ ที่เกิดขึ้น แตเขากลับตัดสินใจลาออกในเมือ่ 21 สิงหาคม ดวยเหตุผลที่เปนทางการ คือ เขามี ปญหาสุขภาพและตองการพักผอน แตสถานทูตสหรัฐฯรายงานวา สาเหตุที่แทจริง คือ เกิด ความสัมพันธที่ตึงเครียดระหวางปรีดีกับพระมหากษัตริยพระองคใหมและเหลาพระราชวงศ เนื่องจาก ปรีดีไดทราบวา เกิดความรวมมืออยางลับๆภายในราชสํานักกับ“กลุมรอยัลลิสต” และ พรรคประชาธิปตยเพื่อทําลายลางเขา66 แม ปรีดีจะลาออก โดยมีพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ ผูที่ปรีดีไววางใจและไดสนับสนุนใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีแทนก็ตาม แตมิไดหมายความ วาแผนการของ”กลุมรอยัลลิสต”ที่มุงทําลายลางอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุม ของเขาจะ ยุติลงๆได 64
Ibid., ผลการสอบสวนในทางลับนั้น ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯทรงไดบันทึกวา บุคคลที่บุกรุกเขาไปใน พระบรมมหาราชวังมีความใกลชิดกับพรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต” โดยบุคคลดังกลาวนั้นเคยทํา งานกับควง อภัยวงศ สวนนองสาวของเขาทํางานกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดังนั้น การสรางเหตุการณบุกรุก ดังกลาว ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯทรงเห็นวา พรรคประชาธิปตยตองการทําใหสาธารณชนเขาใจวารัฐบาลปรีดี พนมยงค นั้นชั่วชา 65 เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 451-452.; Coast , Some Aspects of Siamese Politics, p. 35. 66 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 August 1946”.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000100410004-5, 13 November 1946, “Internal Politics”.ในรายงานฉบับนี้รายงานวา กอนที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช-พระมหากษัตริย พระองคใหมจะเสด็จจากไทยไปในกลางสิงหาคม 2489 นั้น ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯ ทรงเปนพระราชวงศเพียงไมกี่ พระองคที่ทรงเห็นใจปรีดี พนมยงคทรงไดเริ่มสืบหาปริศนาของสาเหตุของการสวรรคต ( NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”; “A Memorandum on a Certain Aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์, หนา 564.)
51
2.5 การกอตัวของ “พันธมิตรใหม ”ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.” เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง รัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตองเผชิญหนา กับศึกสองดาน ดานหนึง่ คือ การกลับมาสูการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” และอีกดาน คือ ความ ไมพอใจของ“กลุมจอมพล ป.” ที่ตองการกอบกูเกียรติภูมิกองทัพกลับคืน ผนวกกับการสวรรคตที่ รัฐบาลปรีดีและกลุมของเขายังไมสามารถสรางความกระจางแกสาธารณชนได ยิ่งทําใหรัฐบาล สูญเสียความสามารถในการนําทางการเมือง ในขณะที่ การสวรรคตไดกลายเปนเสมือนสิ่งดึง ดูดใหเกิด“พันธมิตรใหม”ที่ไมนาเปนไปไดระหวาง“กลุมรอยัลลิสต”กับ“กลุมจอมพล ป.”ไดรวม มือกันเพื่อโคนลมอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุมของเขา ทั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯไดบันทึก เรื่องราวในชวงเวลาดังกลาววา เมื่อ 8 กรกฎาคม 2489 เพียงหนึง่ เดือนภายหลังการสวรรคต ม. ร.ว.เสนีย ปราโมชไดไปพบกับจอมพล ป. และชักชวนให “กลุมจอมพล ป.”รวมมือกับพรรค ประชาธิปตยเพื่อขับไลปรีดีและกลุมของเขาใหออกจากอํานาจทางการเมือง67 จากนั้น“กลุมรอยัล ลิสต”ไดฉวยโอกาสจากการสวรรคตมาเปนประเด็นโจมตีรัฐบาลในขณะนั้นอยางรุนแรง หลังจากที“่ กลุมรอยัลลิสต”ไดเริ่มตนปลอยลือขาวโจมตีรัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุม ของเขาอยางตอเนื่องตั้งแตกลางป 2489 ทําใหสาธารณชนไดเสื่อมความนิยมในตัวปรีดีและ รัฐบาลของกลุม ของเขาลงมาก จนกระทัง่ ในปลายปนนั้ เอง หนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ สนับสนุนพรรคประชาธิปตยไดรายงานขาวลือที่เกิดขึ้นขณะนั้นวา จอมพล ป.พิบูลสงครามจะทํา การรัฐประหาร โดยใหม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนนายกรัฐมนตรี สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ขาวลือที่ ปรากฎบนหนาหนังสือพิมพในชวงนัน้ สะทอนใหเห็นวา จอมพล ป. ยังคงไดรับความนิยมจาก กองทัพและสังคม จากนัน้ หลวงวิจิตรวาทการ หนึ่งในสมาชิก“กลุมจอมพล ป.”ไดรวมสราง กระแสความตองการผูน ําที่เขมแข็งใหกับสาธารณชนเพื่อแกไขปญหาตางๆทีเ่ กิดขึ้นหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ยงั ไมบรรเทาลง โดยหลวงวิจิตรวาทการเรียกรองใหจอมพล ป. กลับมา เปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แตจอมพล ป. ไดกลาวปฏิเสธการกลับสูการเมือง68
67
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 68 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000200150009-8 , 17 December 1946, “Alleged Responsibility for Plot to Overthrow,”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000200470008-4, 18 January 1947, “Attack on Government by ProPhibun Element,”; NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”.
52
ปลายเดือนกุมภาพันธ 2490 พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี สมาชิกคนหนึ่งใน“กลุมจอมพล ป.” ไดซื้อศรีกรุง เพื่อใชหนังสือพิมพฉบับดังกลาวเปนกระบอกเสียงเรียกรองใหจอมพล ป. พิบูล สงครามกลับสูการเมือง69จากนัน้ ขาวการพยายามหันกลับมาสูการเมืองไทยอีกครั้งของ จอมพล ป.ไดกลายเปนประเด็นสําคัญทางการเมืองผานหนังสือพิมพหลายฉบับ ตอมา เมื่อ 11 มีนาคม ทอมสัน(Thompson) ทูตอังกฤษขณะนั้นไดเขาพบกับ พล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี และปรีดี พนมยงค เขาไดแสดงความกังวลของอังกฤษตอกิจกรรมทางการเมือง ของจอมพล ป. และแจงตอรัฐบาลไทยวา อังกฤษไมตองการใหจอมพล ป. กลับเขาสูก ารเมืองอีก 70 ความเคลื่อนไหวของ“กลุมจอมพล ป.”ที่ตองการผลักดันใหจอมพล ป. กลับสูการเมืองสราง ความวิตกใหกบั ทูตอังกฤษและสหรัฐฯ โดยทูตของทั้ง 2 มหาอํานาจไดรวมกันทําบันทึกชวยจํา เสนอตอรัฐบาลพล.ร.ต.ถวัลยวา หากจอมพล ป. กลับมาสูการเมืองจะมีผลตอความสัมพันธไทย กับสหรัฐฯและอังกฤษ71 ในขณะที่ยงั มีความเห็นไมลงรอยบนหนาหนังสือพิมพตอ กรณีในการกลับมาสูก ารเมือง ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เชน มหาชน และสัจจา ทีม่ ีเขมมุงโนมเอียงไปทางสังคมนิยมลง บทความโจมตีการพยายามกลับมาสูก ารเมืองของจอมพล ป.72 ในขณะทีศ่ รีกรุงซึ่งเปนหนังสือ พิมพที่ไดรับการสนับ สนุนจาก“กลุมจอมพล ป.”ใหการสนับสนุนการกลับมาของจอมพล ป.73 ตอมาเมื่อ17 มีนาคม 2490 จอมพล ป. ใหการสัมภาษณขนาดยาวกับศรีกรุงวา เขาอาจจะ กลับมาสูก ารเมืองเพื่อกอบกูชื่อ เสียง74 โดยเกียรติศักดิ์ ซึ่งเปนหนังสือพิมพของ“กลุมรอยัลลิสต” ใหการสนับสนุนการกลับมาของจอมพล ป.และพรรคธรรมาธิปตยซึ่งมีนโยบายอนุรกั ษนยิ มทาง การเมือง75 นอก จากนี้ แนวหนาไดรายงานขาววา การกลับสูการเมืองของจอมพล ป.จะประสบ 69
สยามนิกร, 23 กุมภาพันธ 2490. 70 Nik Anuar Nik Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, (Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998), p.10. 71
Ibid., p. 12-13. 72 มหาชน, 10 มีนาคม 2490.; สัจจา, 17 มีนาคม 2490. 73 ศรีกรุง, 15 มีนาคม 2490. 74 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948,”; สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการ รัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 18. 75 เกียรติศักดิ์, 22 มีนาคม 2490. ทั้งนี้ การกลับสูการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามนั้น เขาได จัดตั้งพรรคธรรมาธิปตย (Conservative Party) ขึ้นในเดือนมีนาคม 2490 โดยมีนโยบายอนุรักษนิยมเชน การ ประกาศนโยบาย“เทิดทูนองคพระมหากษัตริยและเชิดชูพระบุญญาบารมี” ใหการสนับสนุนก็กหมินตั๋ง ตอตาน
53
ความสําเร็จหากรวมมือกับพรรคประชาธิปตย 76 ทั้งนี้ ตลอดเดือนมีนาคมนั้นเอง หนังสือพิมพ หลายฉบับเริ่มราย งานขาวความเคลื่อนไหวของนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”เขาพบจอมพล ป. อยางลับๆอยางตอ เนื่อง 77 ปลายเดือนมีนาคม 2490 ทูตอังกฤษไดรายงานกลับไปยังลอนดอน วา จอมพล ป. พิบูล สงครามพยายามกลับสูก ารเมืองอีกโดยมีนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”เชน ควง อภัยวงศ หัวหนา พรรคประชาธิปตย และทหารชั้นผูใหญหลายคนเขาพบเสมอ โดยควงไดแสดงทาทีสนับสนุน จอมพล ป.อยางชัดเจน ทูตอังกฤษไดความกังวลถึงการกลับมาของจอมพล ป. วาจะปกครอง แบบเผด็จการและละเมิดสหประชาชาติ และเห็นวา จอมพล ป. ควรยุติการเคลื่อนไหวทางการ เมือง78 เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามแสดงความตองการกลับสูก ารเมือง ทําใหพรรคสหชีพซึ่ง เปน“กลุมปรีดี”ไดแสดงการตอตานการกลับมาของจอมพล ป. เมื่อ 7 เมษายน 2490 ที่ทองสนาม หลวง โดยรวมมือกับนักศึกษาฝายซายในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองหลายคน เขารวมอภิปรายโจมตีจอมพล ป. ดวยประเด็นการนําไทยเขาสูสงครามโลกครั้งที่ 2 สงผลทําให ญี่ปุนยึดครองไทย ทําใหคนไทยเสียเสรีภาพ และถูกทหารญี่ปุนฆาตายจํานวนมาก พรอมมีการ เขียนรูปจอมพล ป.ในชุดทหารยืนอยูบ นกองหัวกะโหลก ทัง้ นี้ การตอตานดังกลาวไดอยูในสายตา ของจอมพล ป. โดยเขาไดนั่งรถยนตสังเกตการณรอบสนามหลวง อยางไรก็ตามกระแสตอตาน ครั้งนี้มีตํารวจถือปนรักษาการณอยูอยางใกลชิด แตการตอตานจอมพล ป. ก็หาไดรับความเห็น พอง เนื่องจาก ในระหวางการปราศัยเกิดเหตุวิวาทระหวางผูสนับสนุนและคัดคานการกลับมา ของจอมพล ป.ดวยเชนกัน79 คอมมิวนิสต และเรียกรองใหสรางความเขาใจที่ถูกตองตอจอมพล ป.ในชวงสงครามเสียใหม โดยมีพระองคเจา วรรณไวทยากรใหการสนับสนุนดานการตางประเทศ โดย จอมพล ป. เปนหัวหนาพรรค สวนแกนนํา คือ ขุน นิรันดรชัย พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี และสมาชิกกลุมทหารในคณะราษฎร ซึ่งขณะนั้นเปนสมาชิกพฤฒิสภา จํานวน 30-40 คน (หลักการและนโยบายของชุมนุมธรรมา ธิปตย, [พระนคร: โรงพิมพสหการพานิช], 2490.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 April 1947”). 76 แนวหนา, 22 มีนาคม 2490. 77 สมุทร สุรักขกะ, 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507,(พระนคร: โรงพิมพสื่อการ พิมพ, 2507),หนา 377. 78 กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 330-331. 79 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948,”; นครสาร, 7 เมษายน 2490.; กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, ประชาธิปไตยสมัย พล.ต.อ.เผา ศรียานนท (กรุงเทพฯ: กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, 2529),หนา 38-39. กรุงเทพวาร
54
2.6 การลมสลายทางการเมืองของ“กลุม ปรีดี” การเคลื่อนไหวเพื่อหยัง่ กระแสทางการเมืองในชวงเดือนเมษายนของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ เขามีความมัน่ ใจในการไดรับการตอบรับจากสาธารณชน “กลุมรอยัลลิสต”และพรรค ประชาธิปตยมากขึ้น สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา 16 เมษายน 2490 มีขาววา ควง อภัยวงศและ จอมพล ป. รวมมือกัน 80 ในกลางเดือนเมษายน กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เห็นวา การ กลับมาสูก ารเมืองของจอมพล ป. ครั้งนี้ ไดรับความรวมมือและคุมกันจากควง และพรรค ประชาธิปตย และวิเคราะหตอไปวา มีความเปนไปไดที่จอมพล ป. จะมอบหมายใหพรรค ประชาธิปตยจัดตั้งรัฐบาล เนื่องจากเปนพรรคการเมืองที่มีความนิยมสหรัฐฯ โดยความรวมมือ ดังกลาวจะใหผลตอบแทนทีค่ ุมคาใหกับจอมพล ป. ในการกลับสูการเมืองและเปนโอกาสทอง ของพรรคประชาธิปตยที่จะไดเปนรัฐบาล81 ดังนัน้ การตอสูทางการเมืองกลุมการเมืองสําคัญหลัง สงครามไดในชวง 2490 จึงเปนการตอสูระหวางกลุมการเมืองสําคัญ 3 กลุม คือ“กลุม ปรีดี” ซึ่งมี พรรคสหชีพและพรรคแนวรัฐธรรมนูญซึ่งเพิ่งกาวเขามามีอํานาจทางการเมือง กับกลุม ตอตาน รัฐบาลเชน “กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งมีพรรคประชาธิปตยและอดีตนักโทษการเมืองและ“กลุมจอมพล ป.” ซึ่งมีนายทหารนอกประจําการระดับสูงหลายคนที่เคยมีอํานาจในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 82 โดยสองกลุมหลังไดรวมมือเปน“พันธมิตรใหม”ขึ้นเพื่อโคนลมปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาให ออกไปจากการเมือง ควรบันทึกดวยวา การสวรรคตทําใหสาธารณชนมีความเห็นอกเห็นใจในความสูญเสีย ของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”มาก และชวงเวลาดังกลาวไดกลายเปนโอกาสสําคัญที่ “กลุมรอยัลลิสต”สามารถใชเงื่อนไขดังกลาวกลับมามีอํานาจทางการเมืองได แตปญ หาสําคัญ สําหรับพวกเขา คือ ไมมกี ําลังในการยึดอํานาจ ในขณะที“่ กลุมจอมพล ป.”มีความตองการกลับสู อํานาจทางการเมืองเชนกัน แตพวกเขาปราศจากขออางในการสรางความชอบธรรมตอ
ศัพท, 9 เมษายน 2490. กลุมบุคคลที่ตอตานการกลับมาของจอมพลป. พิบูลสงครามนี้มาจากสมาชิกพรรคสห ชีพ เชน พร มะลิทอง สวนนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมืองที่เขารวมมี อันดับ รองเดช เสนาะ พานิชเจริญ และรวม วงศพันธ เปนตน 80 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. 81 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p.17. 82 “A Memorandum on a certain aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947,” ใน ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศสนิท, 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์ , หนา 542.
55
สาธารณชนทําใหทั้งสองกลุม มีความจําเปนที่จะตองรวมมือกันเปนพันมิตรเพื่อกลับคืนสู การเมือง ดวยเหตุนี้ แกนนํา“กลุมจอมพล ป.” ซึ่งมี จอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ท.กาจ กาจ สงคราม นายทหารนอกราชการ ไดเริ่มความเคลื่อนไหวทางลับเพื่อกอการรัฐประหารขึ้น พวกเขา ไดติดตอจอมพล ป.พิบูลสงครามใหรับรูถงึ การพยายามรัฐประหารและไดประสานงานกับพรรค ประชาธิปตย ตอมา ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยไดใหสัมภาษณสนับสนุนจอมพล ป. ใหกลับมามีอาํ นาจอีกครั้ง 83 จากนั้น แผนการสั่นคลอนความชอบธรรมของรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ก็เริ่มตน ดวยการทีพ่ รรคประชาธิปตยเปดอภิปรายทัว่ ไปเปนเวลา 9 วัน ระหวาง 19-27 พฤษภาคม 2490 โดยมีการถายทอดวิทยุกระจายเสียงใหสาธารณชนรับฟงทําใหความ นิยมที่มีตอรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลยเสื่อมมากยิ่งขึ้น แมรัฐบาลขณะนัน้ จะสามารถไดรับความ ไววางใจจากรัฐสภาก็ตาม แตรัฐบาลก็ไมสามารถหยุดยัง้ ความไมไววางใจจากสาธารณชนได 84 ทั้งนี้ ปลายเดือนพฤษภาคม 2490 ในรายงานของ คณะกรรมการประสานงานการสงครามของ กองทัพเรือสหรัฐฯ(The State-War-Navy Coordinating Committee: SWNCC) ไดรายงาน สภาพการเมืองไทยขณะนั้นวา รัฐบาลของ“กลุมปรีดี”ยังไมมีความมัน่ คง เนื่องจาก แตเพียง รัฐบาลตองเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจหลังสงครามเทานัน้ แตยงั ตองเผชิญกับปญหาความ แตกแยกระหวาง“กลุมจอมพลป.”กับ“กลุมปรีดี” ซึ่งกลุมแรกมีอํานาจมากกวาและมีความ พยายามจะฟน ฟูอาํ นาจทหารใหกลับขึ้นมาอีกครั้ง85 83
บุณฑริกา บูรณะบุตร, “บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์(พ.ศ.24752490),”หนา 183. เลื่อน พงษโสภณ ส.ส.พรรคประชาธิปตย เปนผูประสานงานรวมกับ “กลุมจอมพล ป.” ตอมาเมื่อควง อภัยวงศประกาศใหการสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงครามและทําการฟองรองใหการเลือกตั้ง ป 2489 เปนโมฆะ เขาจึงถูกจรูญ สืบแสง ผูเปน“กลุมปรีดี” ตบใบหนาที่บริเวณสภาผูแทนราษฎร (สมุทร สุรักขกะ , 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507, หนา 379.; เกียรติศักดิ์, 13 พฤษภาคม 2490). 84 สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมืองของการรัฐประหาร พ.ศ.2490”, หนา 18. ทั้งนี้ ประเด็นการ เปดอภิปรายโจมตีรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ จากพรรคประชาธิปตย คือ 1.รัฐบาลไมสามารถ รักษาความสงบเรียบรอยไดมีโจรผูรายเพิ่มมากขึ้น 2. รัฐบาลไมสามารถรักษานโยบายการเงินของชาติได 3. รัฐบาลดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจผิดพลาด 4.รัฐบาลไมอาจสรางความนาเชื่อถือจากนานา ชาติได 5.รัฐบาล แทรกแซงขาราชการประจํา 6.รัฐบาลไมสามารถรักษาฐานะของขาราชการใหอยูในระดับที่สม ควรได 7.รัฐบาล ไมปรับปรุงการศึกษาของชาติ 8.รัฐบาลไมสามารถคนหาขอเท็จจริงกรณีสวรรคตได(สรุปขออภิปรายของพรรค ประชาธิปตยในญัตติเปดอภิปรายทั่วไปในนโยบายของรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 34,[พระนคร: โรงพิมพ ยิ้มศรี, 2490]). 85 NARA, RG 59 Record of Division of Research 2 Far East 1946-1952, Lot 58 d 245 Box 2, “SWNCC Second Phase Study on Siam,” 29 May 1947.
56
อยางที่กลาวมาขางตนแลววา ความรูสึกของสาธารณชนภายหลังการสวรรคตนั้นได กลายเปนการเปดทางโลงใหกับการกลับคืนสูอํานาจทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” พวกเขา ไมแตเพียงรวมมือกันในการปลอยขาวโจมตี“กลุมปรีดี”เทานัน้ แตพวกเขายังไดใชพรรค ประชาธิปตยเพื่อตอสูในทางการเมืองกับพรรคที่สนับสนุนรัฐบาลดวย อีกทัง้ พระราชวงศชนั้ สูง อยางพระองคเจาภาณุพนั ธฯ ทรงตองการสนับสนุนการตั้งพรรคแนวกษัตริยนิยมเพิม่ ขึ้นอีก86 นอกจากนี้ “กลุมรอยัลลิสต”ยังมีแผนที่ตองการทําลายคณะราษฎรลง โดยพวกเขาสงบุคคลแตง กายคลายตํารวจไปติดตามทหารเรือเพื่อใหเกิดความไมไววางใจกันระหวางกัน 87 เมื่อความขัดแยงระหวาง “กลุมปรีดี”และ“กลุมจอมพล ป.” มีความแหลมคมมากขึน้ เรื่อยๆ ทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตองการสนับสนุนใหพล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ขึ้นเปน นายกรัฐมนตรีคนใหมแทนพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์เพื่อแกปญหาสถานการณที่รัฐบาลตก เปนรองทางการเมืองและทําการตอตานการรัฐประหารที่อาจจะเกิดขึน้ ดวยการเตรียมใช มาตรการตอตานที่ตรงไปยัง“กลุมจอมพล ป.”และ“กลุมรอยัลลิสต”88 เมื่อโอกาสการรัฐประหาร ใกลเขามา รัฐบาลไดรับรายงานความเคลือ่ นไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยเปนอดีตนักโทษ การเมืองที่เคยตอตานการปฏิวัติ 2475 ไดมารวมมือกับ“กลุมจอมพล ป.”89 โดยรัฐบาลไดสั่งการ ใหตํารวจออกหาขาวการโคนลมรัฐบาลจาก“กลุมรอยัลลิสต” เชน การติดตามโชติ คุมพันธุ อดีต นักโทษการเมืองและส.ส.พรรคประชาธิปตย เปนตน90 ในเดือนตุลาคม 2490 หนึ่งเดือนกอนการรัฐประหารจะเกิดขึ้นนัน้ การตอสูทางการเมือง และการเมืองภายในราชสํานักยิง่ ทวีความเขมขนมากขึน้ ซีไอเอไดรายงานวา“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยกับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชมิไดมีความตองการรวมมือในฟน ฟูประเทศรวม กับรัฐบาล แตพวกเขาตองการเพียงแกแคนคณะราษฎร โดยพวกเขาเห็นวา จอมพล ป. พิบูลสงครามและปรีดี พนมยงค คือ ศัตรูคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองทําลายดุจเดียวกันเฉก 86
ชาติไทย, 17 กรกฎาคม 2490. พระองคเจาภาณุพันธฯทรงประกาศวา สาเหตุที่ทรงตั้งพรรค การเมืองเพื่อตองการเพื่อชวยเหลือประชาชนที่ “น้ําตาเช็ดหัวเขา” และรําลึกถึงคุณราชวงศจักรี 87 ปรีดี พนมยงค,“คํานิยม” ใน พุทธปรัชญาประยุกต, ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย (กรุงเทพฯ: ประจักษ การพิมพ, 2517), หนา (5)-(6). 88 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 August 1947,”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R000800350009-0, 12 August 1947, “Prospective Changes in Government ,”; กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 333. 89 ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 511-512. 90 นครสาร, 11 สิงหาคม 2490.
57
เชนที่พวกเขาไดเคยทํากับจอมพล ป.ในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 มาแลว แตขณะนี้พวกเขา กําลังตองการทําลายลางปรีดี91 ในขณะเดียวกัน สถานทูตสหรัฐฯและกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานวา ผลการสอบสวนคดีสวรรคตมีความคืบหนามากขึ้นจนมีแนวโนมที่จะ สามารถระบุผทู ี่ตกเปนผูตองสงสัยในคดีสวรรคตได แตรัฐบาลพล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิย์ ัง ไมดําเนินการใดๆเพราะหากรัฐบาลประกาศผลการสอบสวนออกไปจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ภายในสถาบันกษัตริย จะทําใหพระองคเจาจุมภฎฯหรือพระองคเจาภาณุพันธฯเปนผูมีสิทธิขึ้น ครองราชยสมบัติตอไป92 ทัง้ นี้ กลุมของพระองคเจาจุมภฏฯมีเพิม่ ความคึกคักมากขึน้ ในชวงเวลา ที่ผลการสอบสวนการสวรรคตมีความคืบหนา สวนกลุมของม.จ.โสภณภราไดย สวัสดิวัตน พระ เชษฐาของสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ทรงตองการตัง้ หนังสือพิมพที่สนับสนุน“กลุมรอยัล ลิสต”ขึ้น93 ตอมา ตํารวจไดจับกุมบุคคลที่ปลอยขาวโจมตีรัฐบาล โดยสถานทูตสหรัฐฯและ หนังสือพิมพไทยขณะนั้นรายงานวา พระองคเจาภาณุพันธฯ พระราชวงศหลายคนและ“กลุม รอยัลลิสต” รวม ทัง้ พรรคประชาธิปตยมีความเกี่ยวของกับเหตุการณดังกลาว94 ความรวมมืออยางใกลชิดระหวางควง อภัยวงศกับ“กลุม รอยัลลิสต”นั้น ปรีดี พนมยงคได เคยกลาวเตือนควงในฐานะเพื่อนที่เคยรวมปฏิวัติ 2475 วาใหควงระวังพีน่ องตระกูลปราโมชทีจ่ ะ ยุยงใหเขามีความทะเยอทะยานและใชเขาเปนเครื่องมือทางการเมืองทําลายเจตนารมณของการ
91
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4, 30 October 1947, “The Political Situation”. 92 NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Thamrong Nawasawat and Edwind F. Stanton, 31 March 1948.; Landon to Butterworth, “Assasination of King Ananda,” 22 April 1948.และโปรดดูการอภิปรายในเรื่องดังกลาวอยางพิศดารใน สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล,“ขอมูลใหม กรณีสวรรคต:หลวงธํารงระบุชัดผลการสอบสวน ใคร คือ ผูตองสงสัยที่แท จริง,””บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี่ยวกับกรณีสวรรคตและขาวลือเรื่องแผนการใหญของพี่นองปราโมช,” “วาดวยจดหมายเปดเผยความลับกรณีสวรรคตของ‘ปรีดี’ ที่เพิ่งเผยแพร,” ฟาเดียวกัน 7,3 (กรกฎาคมกันยายน 2552): 60-93. 93 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-0045R001000270005-0, 22 October 1947, “Activities of Royalist Groups”. 94 NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretry of State, 10 October 1947.; ศรีกรุง, 3 ตุลาคม 2490. บุคคลที่ถูกจับ คือ พ.อ.พระยาวิชิตฯ ภรรยา และนางละหมอม ใน ฐานหมิ่นประมาทและไขขาวเท็จที่โจมตีรัฐบาลพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงควาอยูเบื้อง หลังการสวรรคต
58
ปฏิวัติ 2475 เพื่อบรรลุเปาหมายของ“กลุมรอยัลลิสต”95 ควรบันทึกดวยวา ซีไอเอวิเคราะหวา ควง ผูไดเคยพายแพทางการเมืองใหกับปรีดนี นั้ เขาไดพบโอกาสทีจ่ ะใชการสวรรคตและความรวมมือ กับ“กลุมจอมพล ป.”เปนเครื่องมือที่จะเปลี่ยนความพายแพมาสูช ัยชนะได96 ทัง้ นี้ ซีไอเอได รายงานในปลายเดือนตุลาคม 2490 กอนการรัฐประหารไมนานวา สถานการณการตอสูใน การเมืองไทยระหวางคณะราษฎรและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยหยั่งรากลึกยังคงดําเนินตอไป แมวา ปรีดีจะมีเพื่อนใน“กลุมรอยัลลิสต”อยูบาง เนื่องจาก เขาเคยชวยเหลือพระราชวงศในชวงสงคราม โลกครั้งที่ 2 ใหรอดพนจากการปราบปรามจาก“กลุมจอมพล ป.”แต“กลุมรอยัลลิสต”สวนใหญ ไมเคยจดจําความชวยเหลือจากปรีดีเลย97 ชวงเวลาดังกลาว ซีไอเอรายงานวา สถานการณกอนการรัฐประหารนั้น“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยไดทาํ การบิดเบือนทุกอยางที่ปรีดี พนมยงคไดกระทําหรือกลาวตอ สาธารณชน ดังนัน้ สิง่ เดียวที่ปรีดีและกลุม ของเขาจะสามารถรักษาอํานาจไดคือ การถอยไปอยู เบื้องหลังทางการเมืองและผลักดันใหเกิดการแตกหักกับ“กลุมรอยัลลิสต” ดวยการตัดสินใจ สนับสนุนใหพล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ผูที่กลาจับกุมเชื้อพระวงศชั้นสูงอยางกรมพระยาชัยนาท นเรนทร เมื่อครั้งทีท่ รงเปนแกนนําของ “กลุมรอยัลลิสต”ในการตอตานการปฏิวัติ 2475 ในป 248198 ในชวงแหงความคืบหนาในการสอบสวนการสวรรคต สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา นักการเมือง“กลุมปรีดี” ทีม่ คี วามคิดไปในทางสาธารณรัฐไดมาประชุมรวมกันในปลายเดือน ตุลาคม เพื่อเตรียมการจัดตั้งพรรคสาธารณรัฐขึ้น99 ในชวงตอนปลายของการมีอํานาจทางการเมืองของปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาเปน ชวงที่พวกเขาไมมีความมัน่ คงทางการเมือง เนื่องจาก พวกเขาตกอยูภ ายใตการทาทายอํานาจ จาก“กลุมจอมพล ป.”และ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตางตองการกลับมามีอาํ นาจทางการเมืองอีกครั้ง 95
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000520003-4 , 30 October 1947, “The Political Situation”. 96 NARA, CIA Records Search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000270007-8, 21 October 1947, “Possible Political Developments”. 97 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R001000520003-4 , 30 October 1947, “The Political Situation”. 98 Ibid.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R001000680005-5, 5 November 1947, “The Political Situation-View of Nai Tieng Sirikhan”. 99 NARA, RG 59 Central Dicimal file 1945-1949 Box 7251, “Forthnigty Summary of Political Events of Siam for the period 1-15 April 1948”. ในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯฉบับดังกลาวบันทึกความ เคลื่อนไหวทางการเมืองของ “กลุมปรีดี”ในชวงกอนการรัฐประหาร 2490 วา ทองเปลว ชลภูมิไดใหสัมภาษณ แกหนังสือพิมพเมื่อ 29 ตุลาคม 2490 โดยกลาวถึงการพยายามตั้งพรรคสาธารณรัฐวา ไมขัดตอรัฐธรรมนูญ
59
และดวยเหตุการณการสวรรคตอยางปริศนาที่รัฐบาลปรีดีและกลุมของเขายังไมยอมสรางความ กระจางใหกับสาธารณชน ทําใหทั้งสองกลุม ขางตนไดใชโอกาสดังกลาวรวมมือกันโจมตีและโคน ลมอํานาจทางการเมืองของปรีดีและกลุมของเขาลงในเวลาตอมาอยางไมยากนัก แมในตนเดือน พฤศจิกายน 2490 กอนการรัฐประหารจะเกิดขึ้นไมกี่วนั พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัสไดกลายเปน บุคคลที่ปรีดีและกลุมของเขาใหการสนับสนุนใหเปนผูนาํ ใหมเพื่อกอบกูสถานการณที่พวกเขาตก เปนรองทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป. ”100 อีกทัง้ รัฐบาลในขณะนัน้ เตรียมแผนการแตกหักกับ“กลุมจอมพล ป.”ที่เตรียมการรัฐประหารขับไลรัฐบาล101 แตดูเหมือน วา การชิงไหวชิงพริบในการชวงชิงอํานาจระหวางกันนั้น ฝายตอตานรัฐบาลสามารถรัฐประหาร โคนลมอํานาจของปรีดีและกลุมของเขาลงไดสําเร็จในคืนวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 อยาง งายดาย นอกจากนี้ ควรบันทึกดวยวา ในดานการเมืองระหวางประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ภายหลังทีส่ หรัฐฯไดเคยชวยเหลือจากปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาเพื่อการตอตาน“กลุม จอมพล ป.”และญี่ปุน อีกทัง้ สหรัฐฯไดชวยเหลือมิใหไทยตกเปนผูแพสงครามก็ตาม แตความ รวมมือระหวางสหรัฐฯและไทยที่เคยสนับสนุนขบวนการชาตินิยมปลดแอกเอกราชในอินโดจีน ในชวงปลายสงครามโลกไดแปรเปลี่ยนไป เมื่อสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีทรูแมนให การสนับสนุนใหฝรั่งเศสไดกลับมาครองอินโด-จีนอีกครัง้ 102 สงผลใหไทยจําตองคืนดินแดน บางสวนในอินโดจีนที่ไดมาในชวงสงครามโลกกลับคืนสูฝ รั่งเศส แมรฐั บาลไทยหลังสงครามโลก ไมมีความตองการคืนดินแดนดังกลาวจึงนําไปสูขอพิพาทระหวางไทยกับฝรั่งเศส ตอมา แมมกี าร จัดตั้งคณะกรรมเจรจาไกลเกลี่ยขอพิพาทระหวางกัน แตรัฐบาลไทยยังไมสามารถเห็นถึงการ สนับสนุนจากสหรัฐฯที่จะทําใหไทยไดประโยชนในขอพิพาทดังกลาว∗ ซึ่งอาจสะทอนใหเห็นถึง 100
“จดหมายของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ ถึง นายสุชิน ตันติกุล วันที่ 1 มีนาคม 2514,” ใน “ผลสะทอนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490,”สุชิน ตันติกุล, หนา 171.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันท, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 561. 101 วิชัย ประสังสิต, ปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏจลาจลในสมัยประชาธิปไตยแหงประเทศไทย (พระ นคร: โรงพิมพบริษัทรัฐภักดี จํากัด, 2492), หนา 192.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 39. 102 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 4. ∗
ปรีดี พนมยงคไดเดินทางไปรวมเจรจากับฝรั่งเศสที่วอชิงตัน ดี.ซี.ในสหรัฐฯ ตอมาเขาไดโทรเลขถึง คณะรัฐมนตรีในเดือนมิถุนายน 2490 เขารายงานผลการเจรจาขอพิพาทเรื่องดินแดนกับฝรั่งเศสวา “อิทธิพล ในทางการเมืองยังครอบงําอยู เรื่องจึงไมสําเร็จ เปนธรรมดาที่ประเทศใหญ เขาจะตองเอาใจเพื่อนประเทศใหญ ดวยกันไวกอน เสียสละชาติเล็กไป”(สิริ เปรมจิตต, ชีวิตและงานของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์, [กรุงเทพฯ: โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ, 2521], หนา 613)
60
ความไมพอใจของสหรัฐฯที่มตี อปรีดี พนมยงคและรัฐบาลของพวกเขา ในชวงเวลาเดียวกันนัน้ ปรีดีไดเคยใหการสนับสนุนทางอาวุธของเสรีไทยที่ไดรับมาจากสหรัฐฯในชวงสงครามโลกใหกับ กองทัพเวียดมินหอยางลับๆเพื่อสนับสนุนการปลดแอกจากฝรั่งเศส และเมื่อเกิดขอพิพาทดินแดน ระหวางไทยกับฝรั่งเศสขึ้น ทําใหปรีดีเห็นดวยกับแนวคิดในการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออก เฉียงใตตามขอเสนอของเวียดมินห โดยรัฐบาล“กลุมปรีดี”รับอาสาเปนแกนนําในการจัดตั้งองคกร ดังกลาวขึ้นในไทย เพื่อเพิม่ อํานาจตอรองกับมหาอํานาจในภูมิภาคโดยมีไทยเปนแกนนํา อีกทัง้ ไทยตองการใชองคกรดัง กลาวในตอรองกับฝรั่งเศสเรื่องขอพิพาทดินแดนอีกทางหนึ่งดวย103 ตอมา ผูแทนจากขบวนการกูช าติในภูมิภาคหลายประเทศไดมาประชุมในไทย และไดทําบันทึก เสนอขอจัดตั้งองคกรใหแก สแตนตัน ทูตสหรัฐฯประจําไทยขณะนัน้ โดยพวกเขาหวังสงบันทึก การจัดตั้งองคกรผานสหรัฐฯไปยังสหประชาชาติ แตสหรัฐฯไมเห็นดวยในการจัดตั้งองคกร ดังกลาว โดยกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯสั่งการใหทูตสหรัฐฯคนดังกลาวสงบันทึกขอจัดตั้ง องคกรคืนกลับไปยังเหลาขบวนการชาตินิยม เนื่องจาก สหรัฐฯไมเห็นดวยกับการจัดตั้งสหพันธ ทางการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต104 กระนัน้ ก็ดี รัฐบาลของ “กลุม ปรีดี” ยังคงดําเนินการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียง ใตในไทยตอไปจนสามารถจัดตั้งไดสําเร็จเมื่อเดือนกันยายน 2490 ทามกลางความไมพอในของ สหรัฐฯก็ตาม ตอมา ตนเดือนพฤศจิกายน 2490 กอนการรัฐประหารไมกี่วนั จากรายงานของซีไอ เอไดรายงานทัศนะของ“กลุมปรีดี” ที่มีตอขบวนการชาตินิยมเพื่อปลดแอกเอกราชจากฝรั่งเศส กลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา “กลุมปรีดี”แสดงความคาดหวังวา โฮจิมินหจะนําการปลดแอกในอิน 103
โปรดดู ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน,( กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเทียนวรรณ, 2529), หนา 88-89.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของ ขาพเจา, หนา 562.; “นายเมือง เดิมชื่อเถื่อน”(ถวิล อุดล), กบฎแบงแยกอิสานในคดีเตียง ศิริขันธ,(พระนคร: ประเสริฐอักษร , 2491), หนา 19-23.; Charles F. Keyes, Isan: Regionalism in Northeastern Thailand, data paper no.65, Southeast Asia Program Department of Asian Studies, Cornell University (Itahaca, New York : Cornell University ,1967), p. 31.; E. Bruce Reynolds, “Thailand and The Southeast Asia League” paper presented at the International Conference on Thai Studies in Bangkok, 22-24 August 1984, pp.1-18.; Kobkua Suwannathat - Pain, Politics and National Interests: Negotiations for The Settlement of The Franco-Siamese Territorial Dispute 1945-1947,(Tokyo: Sophia University , 1994). 104 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A005900030003-8, 10 January 1947, “Request for U.N. intervention reture to Indochinese nationalists”; กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 404.; NARA, CIA Records search Tool (CREST) , CIA-RDP82-00457R000600330001-2, 27 May 1947, “ Notes on Current Situation”.
61
โดจีนไดสําเร็จ ในรายงานบันทึกตอไปดวยน้ําเสียงที่ไมพอใจที“่ กลุมปรีดี” เห็นโฮจิมินหเปนพวก รักชาติบานเมือง และไดวิจารณวา“กลุมปรีดี” เปนพวกไรสํานึกที่มองไมเห็นวาโฮจิมนิ ห คือ คอมมิวนิสต 105 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ไมแตเพียงปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาจะตองเผชิญหนากับ ปรปกษทางการเมืองภายในจาก“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมจอมพล ป.” เทานั้น แตการทีพ่ วกเขา ดําเนินนโยบายที่ขัดขวางความตองการของสหรัฐฯทําใหพวกเขาตองเผชิญหนากับศึกหลายดาน ทั้งนี้ ในชวงเวลาแหงการเริม่ ตนของสงครามเย็นนัน้ ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา ปรีดีและกลุม ของเขานัน้ มีนโยบายบริหารประเทศโนมเอียงไปในทางสังคมนิยม อีกทั้ง การดําเนินนโยบายตาง ประเทศของปรีดีและรัฐบาลของพวกเขาไมสอดคลองคลองกับความตองการของสหรัฐฯอีกแลว ดังจะเห็นไดจากความนิ่งเฉยของสหรัฐฯ เมื่อ ปรีดี อดีตพันธมิตรผูเคยรวมมือกันอยางใกลชิดใน การตอตาน“กลุมจอมพล ป.”และญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถูกรัฐประหารโคนลมใหพน ออกไปจากอํานาจทางการเมืองไทย และตามดวยการที่สหรัฐฯปฏิเสธการใหความชวยเหลือเขา และกลุมของเขาใหกลับคืนสูอํานาจอีก อีกทัง้ เมื่อสถานการณเปลีย่ นแปลงไป สหรัฐฯใหความ สนใจปญหาคอมมิวนิสตมากขึ้น ทําใหปรีดีตองเผชิญหนากับความแข็งแกรงของ“กลุมจอมพล ป.”ที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนในเวลาตอมา106 ดังที่จะกลาวตอไปขางหนา
105
NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R001000650008-5, 4 November 1947, “Free Thai view on Ho Chi Minh”.บุคคลในรายงาน คือ สุจิต หิรัญพฤกษ เลขานุการของ อรรถกิตติ์ พนมยงค รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศและเปนนองชายปรีดี พนมยงค ตอมา ปรีดีได บันทึกความทรงจําวา เขาเชื่อวามีความสัมพันธระหวางการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใตกับการลม สลายของอํานาจทางการเมืองเขา เนื่องจาก “นักลาอาณานิคมทั้งรุนเกาและใหมไดกลาวหาขาพเจาวาเปน ผูนําเหลากบฎในการตอตานรัฐบาลอาณานิคมและเปนศูนยกลางของลัทธิคอมมิวนิสตในภูมิภาคนี้”(ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 90 ). 106 Coast, Some Aspects of Siamese Politics, pp. 49-50.
บทที่ 3 การรัฐประหาร 2490: จุดเริ่มตนของความขัดแยง ภายในการเมืองไทย 3.1 การรัฐประหาร 2490: ความสําเร็จของความรวมมือของคณะรัฐประหารกับ “กลุมรอยัลลิสต” นับตั้งแต เมื่อเกิดการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯ กระแส ความรูสึกของสาธารณชนมีความเห็นอกเห็นใจสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ผูเพิง่ กลับสู ฉากการเมืองไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดไมนานนั้นไดเพิ่มมากขึ้น ทําใหตัวแสดงทาง การเมืองเดิมที่เคยมีอาํ นาจในชวงแหงการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แตประสบ ความลมเหลวในการกลับสูอาํ นาจทางการเมืองภายหลังการพายแพหลายครั้งในชวงหลังปฏิวัติ 2475 สามารถกลับมาเปนตัวแสดงทางการเมืองอีกครั้งภายหลังสงครามโลกไดอีกครั้ง พวกเขา ไดประโยชนอยางมากจากกระแสความเห็นอกเห็นใจที่เกิดขึ้นทําใหอทิ ธิพลทางการเมืองของพวก เขาไดแปรเปลี่ยนไปในทางเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และทําใหพวกเขามีความมัน่ ใจมากขึ้นในการชวง ชิงอํานาจทางการเมืองคืนจากคณะราษฎรดวยการทาทายอํานาจปรีดี พนมยงคและรัฐบาลของ “กลุมปรีดี” ความไมสามารถของรัฐบาลของ“กลุมปรีดี”ในสรางความกระจางในเรือ่ งการสวรรคต ใหกับสาธารณชน ผนวกกับการแขงขันทางการเมืองที่เขมขนเปดโอกาสใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ใช ประเด็นสวรรคตเปนประเด็นโจมตีรัฐบาลอยางตอเนื่องนั้นทําใหพวกเขามีความเขมแข็งทางการ เมืองมากขึ้น อีกทั้ง ความไมพอใจของ“กลุมจอมพล ป.”ที่คุกครุนจากการสูญเสียอํานาจและ เกียรติภูมิภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความตองการกลับสูอํานาจทางการเมืองอีกครั้งอัน นําไปสูการกอตัวของ“พันธมิตรใหม”ที่ไมนา เชื่อมารวมมือกันโคนลมอํานาจของ “กลุม ปรีดี” ออกไปดวยการรัฐประหารไดสําเร็จ แตการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 เปนการปดฉาก การเมืองที่อยูใ นมือของคณะราษฎร และไดกลายเปนการเปดฉากการตอสูทางการเมืองระหวาง คณะรัฐประหาร*กับ”กลุมรอยัลลิสต” ที่แตละกลุมมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกันภายใน “พันธมิตรใหม” ตอไป *
คณะรัฐประหาร เปนกลุมทหารที่สนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงครามประกอบขึ้นจากทหารบกเปน สําคัญ โดยสามารถแบงออกไดเปนสองสวน คือ สวนหนึ่งมาจากคณะราษฎร เชน จอมพล ป. พล ท.กาจ กาจ สงคราม พ.ท.กาน จํานงภูมิเวท พ.อ.นอม เกตุนุติ ร.อ.ขุนปรีชารณเสฏฐ แตสมาชิกสวนใหญเปนนายทหารที่ มิไดเปนสวนหนึ่งของคณะราษฎร เชน จอมพลผิน ชุณหะวัณ พล ต.อ.เผา ศรียานนท พล ท.สวัสดิ์ ส. สวัสดิ์
63
ดังนัน้ การรัฐประหาร 2490 ถือไดวาเปนจุดผลิกผันทางการเมืองที่สาํ คัญที่ทําใหเกิดการ อํานาจที่เคยอยูในกลุมภายในของคณะราษฎรสิ้นสุดลง แตกลับเปนจุดเริ่มตนกลุมผูถือครอง อํานาจใหม คือ คณะรัฐประหารและสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทั้งนี้ แมการรัฐประหาร 2490 คณะรัฐประหารจะเปนกลุมบุคคลผูด ําเนินการยึดอํานาจดวยกําลัง แตการรัฐประหารครั้งนี้ ไมอาจสําเร็จได หากปราศจากสถาบันกษัตริยโดยเฉพาะอยางยิง่ บทบาทของกรมพระยาชัยนาท นเรนทร ผูสําเร็จราชการฯและทรงมีบทบาทในการรับรองการรัฐประหารอยางแข็งขัน1 ขณะนัน้ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรทรงเปนเพียงหนึ่งในคณะผูสาํ เร็จราชการฯตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 แตทรงลงนามพระนามประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ที่เกิดจากการรัฐประหารแตเพียงผู เดียวอยางรวดเร็ว 2 ดังนัน้ แมวาตลอดคืนของวันยึดอํานาจนั้นจะปราศจากการตอตานของ รัฐบาลชุดเกา และการรัฐประหารสําเร็จไดอยางงายดายจากการใหการรับรองของผูสําเร็จราช การฯแลวก็ตาม แตสิ่งที่คณะรัฐประหารยังคงตองการตอไป คือ การไดรับการยอมรับจาก สาธารณชน กองทัพและตางประเทศ ดวยเหตุนี้ นายทหารใน คณะรัฐประหารจึงไปเชิญจอมพล ป. พิบูลสงครามเปนผูนาํ ของคณะรัฐประหาร3 ในชวงเชาวันรุง ขึ้น 9 พฤศจิกายน “กลุมรอยัลลิสต”นําโดยควง อภัยวงศและม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ไดเขาแสดงความยินดีกับคณะรัฐประหาร จากนั้น พวกเขาไดรับมอบหมายจากคณะ รัฐประหารใหจัดตั้งรัฐบาลใหมขึ้น ตอมา ในชวงบาย บานของควงเนืองแนนไปดวยสมาชิกพรรค ประชาธิปตย และ“กลุมรอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พระองคเจา ภาณุพันธฯ โชติ คุมพันธุ เลือ่ น พงษโสภณ และขุนคงฤทธิศึกษากร เปนตน พระองคเจาภาณุ พันธฯ ทรงใหสัมภาษณวา ทรงไมเคยหัวเราะอยางที่ตองการมานานแลว และขณะนี้พระองคทรง
เกียรติ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาศ จารุเสถียร พล ต.อ.ไสว ไสว แสนยากร พล ท.บัญญัต เทพหัสดินฯ พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท พล ต.ประมาณ อดิเรกสาร เปนตน สวน ใหญนายทหารในคณะรัฐประหารมิไดผูกพันธกับหลักการของการปฏิวัติ 2475 และการปฏิเสธอํานาจของ สถาบันกษัตริย เวนแตนายทหารบางคนที่มีความใกลชิดกับแกนนําสําคัญในคณะราษฎร เชน พล ต.อ.เผา ผุ เคยเปนนายทหารติดตามจอมพล ป. เขาไดรูเห็นและเคยรวมตอตานอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต”มากอน 1 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 210 . 2 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ 6 ตุลารําลึก, 2550), หนา 96-100. 3 อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัด เทพศิรินทราวาส 17 มีนาคม 2507,(พระนคร : โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี, 2507),หนา 47.
64
สามารถแยมพระสรวลไดแลว4 สวนหลุย คีรีวัตร อดีตนักโทษการเมือง“กลุมรอยัลลิสต” คนหนึ่ง ไดกลาวสนับสนุนการขึ้นมามีอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต” วา “ไมมีใครดีกวานายควงแลว”5 แมบทบาทในการยึดอํานาจดวยการใชกําลังจะเปนหนาที่ของคณะรัฐประหาร แตงาน รางรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ตกเปนหนาทีข่ อง“กลุมรอยัลลิสต” เนื่องจากพวกเขาตองการแนใจ รูปแบบการเมืองทีพ่ วกเขาตองการ∗ สงผลใหรัฐธรรมนูญฉบับนี้เพิม่ อํานาจทางการเมืองใหแก สถาบันกษัตริยมากขึน้ 6 ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต”ในการฟนฟูอํานาจสถาบันกษัตริย นั้นทําใหหนังสือพิมพขณะนั้น เชน สัจจา ไดวิจารณรัฐธรรมนูญฉบับนี้วา รัฐธรรมนูญไดเพิ่ม อํานาจทางการเมืองใหสถาบันกษัตริยม ากกวารัฐธรรมนูญที่ถกู ลมไป7 สถานทูตอังกฤษได รายงานผูอยูเบื้องหลังรัฐประหารครั้งนี้วา คือ พระราชชนนีของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิ พล 8 โดยหนังสือพิมพไทยรวมสมัยไดพาดหัวขาวขณะนั้นวา“ในหลวงรูปฏิวัติ 2 เดือนแลว” ทั้งนี้
4
Bangkok Post, 10 November 1947.; นครสาร, 10 พฤศจิกายน 2490.; ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีว ลิขิต, หนา 101. 5 เสรีภาพ, 15 พฤศจิกายน 2490. ∗
ขอมูลที่ “กลุมรอยัลลิสต” เขารางรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 ทูตสหรัฐฯไดรับการบอกเลาจาก จอมพล ผิน ชุณหะวัณ พลต.อ.เผา ศรียานนท และพล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ แกนนําในคณะรัฐประหาร โดย “กลุม รอยัลลิสต” ที่เขารวมรางรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวมีรายชื่อตอไปนี้ ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นักการเมืองและนักหนังสือพิมพ พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ อธิบดีศาลฎีกา พระ ยารักตประจิตธรรมจํารัส อดีตกรรมการศาลฎีกา พ.อ.สุวรรณ เพ็ญจันทร เจากรมพระธรรมนูญทหารบก พระ ยาอรรถการียนิพนธ ร.อ.ประเสริฐ สุดบรรทัด เลื่อน พงษโสภณ สมาชิกสภาผูแทนฯจากพรรคประชาธิปตย และเขมชาติ บุญยรัตพันธ(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 November 1947”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 25 November 1947, สยามนิกร, 11 พฤศจิกายน 2490.; ยวด เลิศฤทธิ์, “ระลึกถึงมือกฎหมายคณะรัฐประหาร 2490,” ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายเขม ชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 25 กุมภาพันธ 2538 (กรุงเทพฯ: 2538); Kobkua Suwanathat-Pian , King, Country and Constitution: Thailand’s Political Development 1932 – 2000,(New York: Routledge Curzon, 2003), p. 223. 6 ขาวโฆษณาการ 10, 11 (พฤศจิกายน 2490): 1063.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโท กาจ กาจสงคราม (เทียน เกงระดมยิง) ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 20 เมษายน 2510(กรุงเทพฯ: กรมการทหารสื่อสาร, 2510). 7 สัจจา, 10 พฤศจิกายน 2490. 8 Nicholas Tarling, “Britain and the Coup 1947 in Siam,” Paper presented to International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University, Bangkok 20-24 May 1996, p. 3.
65
พล ท.กาจ กาจสงครามใหคาํ สัมภาษณแกหนังสือพิมพตอ มาวา เขาไดเคยสงโทรเลขลับรายงาน แผนรัฐประหารใหพระองคทรงทราบลวงหนา 2 เดือนกอนลงมือรัฐประหาร9 จากนั้น ม.จ.จักรพันธเพ็ญศิริ จักรพันธ เปนผูแทนคณะรัฐประหารเดินทางไปรายงาน ความสําเร็จในการรัฐประหารและนําหนังสือพิมพที่ลงขาวการรัฐประหารถวายใหกบั พระมหากษัตริยทรงทราบที่สวิสเซอรแลนด10 ไมนานจากนั้น พระองคไดทรงสงพระราชหัตถเลขาถึงคณะ รัฐประหารโดยทรงแสดงความพอพระราชหฤทัยกับการรัฐประหารครั้งนีว้ า“...ฉันรูสกึ พอใจยิง่ นัก ที่ไดทราบวา เหตุการณที่บังเกิดขึ้นนีม้ ิไดเสียเลือดเนื้อและชีวิตของคนไทยดวยกันเลย”11 ในขณะ ที่ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯประจําไทยวิจารณวา การรัฐประหารที่เกิดขึน้ และสาระในรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 เปนการหมุนเวลาถอยหลัง12 ราว 1 สัปดาหหลังการรัฐประหาร จอมพลผิน ชุณหะวัณแกน นําคนสําคัญในคณะรัฐประหารไดกลาวอางวา เขาไดทาํ รัฐประหารตัดหนาเสรีไทย“กลุมปรีดี” ที่ มีแผนการจะประกาศวา ใครคือบุคคลที่สังหารพระบาทสมเด็จพระเจาอยูในพระบรมโกฐ และจะ ทําการสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น13 สําหรับทาทีของประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐฯและอังกฤษมีทาทีไมรับรองรัฐบาลใหม สองวันหลังการรัฐประหาร ทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดเขาพบจอมพล ป. พิบูลสงครามโดยสแตน ตัน ทูตสหรัฐฯไดปฏิเสธการรับรองรัฐใหมหลังการรัฐประหาร14 สวนทูตอังกฤษใหความเห็นวา 9
เอกราช, 10 พฤศจิกายน 1947. สัจจา, 15 พฤศจิกายน 2490.; สัจจา, 20 พฤศจิกายน 2490 . 11 “(สําเนา) พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลดุลยเดช ถึง จอมพล ป. พิบูล สงคราม 25 พฤศจิกายน 2490,” ใน เบื้องหลังการสวรรคต ร. 8, วิชัย ประสังสิต (พระนคร: ธรรมเสวี , 2498), หนา 305. ตอมา พึ่ง ศรีจันทร อดีตประธานสภาผูแทนราษฎรชุดที่ถูกโคนลมไปใหสัมภาษณกลาวตําหนิ พระองคที่มีจดหมายแสดงความยินดีกับการรัฐประหาร(ประชาธิปไตย, 2 ธันวาคม 2490) จากนั้น สัจจา, 6 ธันวาคม 2490 พาดหัวขาววา “ในหลวงพอพระทัยที่ไมชิงอํานาจ” 12 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p.209-210. 13 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 16 November 1947. 14 ไทยใหม, 16 พฤศจิกายน 2490. ตอมา วิลลิส เบิรด อดีตโอเอสเอสที่อยูในไทยขณะนั้น ไดรายงาน การรัฐประหารครั้งนี้ กลับไปยังวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) อดีตหัวหนาหนวยโอเอสเอส (O.S.S.)วา กลุมทหารสมัยสงครามโลกไดทําการรัฐประหารครั้งนี้สําเร็จอยางไมนาเชื่อ(Richard J. Aldrich, “Legacies of Secret Service : Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950,” in The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation, eds. Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley [London: Frank Class , 2000], p. 132.) 10
66
อังกฤษยังไมควรรับรองรัฐบาลใหมที่ตั้งขึน้ และการรัฐประหารครั้งนี้ ไดรับการสนับสนุนจาก เจานายชัน้ ผูใหญ 15 ในบทบรรณาธิการของนิวยอรคไทมส(New York Times) ฉบับ12 พฤศจิกายน 2490ไดวิจารณการรัฐประหารในไทยโดยพาดขอความวา “Setback in Siam” ซึ่ง เปนการหมุนเวลาทางการเมืองยอนหลังและรัฐธรรมนูญฉบับนี้กําหนดพระมหากษัตริยมีอํานาจ ทางการเมืองเปนการเดินออกจากเสนทางของระบอบประชาธิปไตย16 ดวยเหตุที่ คณะรัฐประหารตองเผชิญหนากับปญหาการรับรองรัฐใหมหลังการรัฐประหาร จากนานาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิง่ กับมหาอํานาจอยาง สหรัฐฯ อังกฤษ และจีน สถานการณ ดังกลาวจึงเปนโอกาสอีกครั้งของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่สามารถกาวขึน้ มีอํานาจทางการเมืองได สําเร็จ คณะรัฐประหารจําเปนตองผลักดันใหควง อภัยวงศและพรรคประชาธิปตยเปนตัวแทน ของ“กลุมรอยัลลิสต”จัดตั้งรัฐบาลใหมไดสรางความพอใจใหกับ พระราชวงศและ“กลุมรอยัล ลิสต”มาก17 จากนัน้ คณะรัฐประหารไดสงผูแทนหลายคนไปชี้แจงความจําเปนในการรัฐประหาร กับสถานทูตมหาอํานาจตาง เชน พ.อ.หลวงสุรณรงคและคณะ ไปพยายามโนมนาวสถานทูต สหรัฐฯ ควงไปทําความเขาใจกับสถานทูตอังกฤษ สวน ม.จ. ภาคีไนย จักรพันธุ และม.จ.นิทัศน จิรประวัติ ไปชีแ้ จงแกสถานทูตจีน18 แตมหาอํานาจตางๆ ยังคงไมใหการรับรองรัฐบาลใหม จนกวาจะมีการจัดการเลือกตั้งใหแลวเสร็จ19 3.2 ความลมเหลวในการตอตานรัฐประหาร และการสิ้นสุดความชวยเหลือ“กลุมปรีด”ี ของสหรัฐฯ การชิงรัฐประหารตัดหนา กอนการเริ่มแผนการปราบปรามกลุมตอตานโดยรัฐบาล พล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ทําใหปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาตัง้ ตัวไมติดและแตกกระจัด กระจายอยางฉับพลัน ปรีดีในฐานะหัวหนากลุมตองหลบหนีการรัฐประหารจากรุงเทพฯไปยัง หนวยนาวิกโยธินของกองทัพเรือที่สัตหีบเพื่อตั้งหลักรวบรวมกําลังเพือ่ เตรียมการตอตานการ รัฐประหาร ไมกี่วันหลังการรัฐประหาร ปรีดีและพล ร.ต.ถวัลย อดีตนายกรัฐมนตรีที่เพิ่งถูกโคนลม 15
กนตธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 335. 16 Bangkok Post, 13 November 1947. 17 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 23-24.; สัจจา, 17 พฤศจิกายน 2490. 18 ประชาธิปไตย, 10 พฤศจิกายน 2490.; ประชากร, 11 พฤศจิกายน 2490.; Mahmud, The November 1947 Coup: Britain , Pibul Songgram and the Coup, p. 23 . 19 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 211.
67
อํานาจลง พวกเขามีความคิดที่จะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิน่ และแผนการใชกําลังจากนาวิกโยธิน ที่สัต หีบ จํานวน 3,700 คนและเรือรบจํานวน 5 ลําเขาตอตานการรัฐประหาร20 ในเวลาตอมา เมื่อกลุม ของเขาเริ่มรวมตัวกันได เตียง ศิริขันธ อดีตเสรีไทยและสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎรของพรรคสหชีพ รวมตัวจัดตั้ง“คณะพลเมืองใหม”เพื่อตอตานรัฐประหารและทําการแจกใบปลิวตอตาน ในเขต กรุงเทพฯ-ธนบุรีประนามการรัฐประหารวา “คณะทหารผูทําการรัฐประหารทั้งหลาย…การกระทํา ของทานผูอางวาเปนผูรักชาติและกระทําการเพื่อประเทศชาติและปกปองระบอบประชาธิปไตย นั้นเปนสิง่ ที่ไมถูกตอง การกระทําของกรมขุนชัยนาทไมถกู ตองเพราะไมปฏิบัติตามวิถีทาง รัฐธรรมนูญ” และไดกลาวประนามจอมพลผิน ชุณหะวัณวา ทําเพื่อประโยชนสว นตัว21 หนังสือพิมพขณะนั้นไดรายงานวา “กลุมปรีดี”อดีตเสรีไทยนําโดยเตียง ศิริขันธ จําลอง ดาวเรือง ทองอินทร ภูรพิ ัฒน ไดรวมกําลังคนในภาคอีสานเตรียมประกาศภาคอีสานใหเปนอิสระ22 การเกิดความเคลื่อนไหวตอตานการรัฐประหารของ“กลุม ปรีดี” ในอีสานนั้นสรางความ วิตกใหกบั ทําใหรัฐบาลควง อภัยวงศและคณะรัฐประหาร รัฐบาลไดออกพระราชกําหนดคุม ครอง ความสงบสุข 2490 ที่มอบอํานาจใหคณะรัฐประหารใชอํานาจทางทหารปราบปรามผูที่มี พฤติกรรมเปนภัยตอรัฐบาล ดวยอํานาจที่รฐั บาลมอบใหทําใหทหารสามารถตรวจคนและไดจับ “กลุมปรีดี”ไปถึง 41 คน23 สวนคณะรัฐประหารตองจัดทําใบปลิวโปรยทีจ่ ังหวัดตางๆในอีสานทํา ความเขาใจกับประชาชนเพือ่ ระงับตอตานรัฐบาล 24 สําหรับความเคลื่อนไหวของ“กลุมปรีดี” นอก ประเทศไทยนัน้ ม.จ.ศุภสวัสดิ์ฯ ผูแทนไทยประจําสหประชาชาติขณะนั้น พระองคไดทรงขอ ลาออกจากตําแหนง เนื่องจาก ทรงไมสามารถรวมงานกับรัฐบาลใหมไดและทรงประกาศวา
20
พล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ, “เกิดมาแลวตองเปนไปตามกรรมคือกฎธรรมชาติ,” ใน อนุสรณในงาน พระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516,(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ชวนพิมพ, 2516), หนา 159.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, 18 December 1947. 21 หจช.สบ. 9.2.3/8 ขาวรัฐประหาร 2490 แฟมเอก วีสกุล.; เสรีภาพ, 15 พฤศจิกายน 2490. 22 ประชากร, 12 พฤศจิกายน 2490.; เสรีภาพ, 12 พฤศจิกายน 2490.; เสรีภาพ, 25 พฤศจิกายน 2490.; ร.ต.อ.เฉียบ (ชัยสงค) อัมพุนันทน, มหาวิทยาลัยของขาพเจา, หนา 73. 23 ราชกิจจานุเบกษา (แผนกกฤษฎีกา) 64, 56 (ฉบับพิเศษ 22 พฤศจิกายน 2490).; เสรีภาพ, 4 ธันวาคม 2490.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 December 1947”; “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 15-31 December 1947”. 24 ชาติไทย, 20 พฤศจิกายน 2490.
68
รัฐบาลชุดเกายังคงดํารงอยู 25 ปลายเดือนพฤศจิกายน สงวน ตุลารักษ เอกอัคราชทูตไทยประจํา นานกิง กลาววิจารณการรัฐประหารในไทยอยางรุนแรงและประกาศไมยอมรับคําสัง่ จากคณะ รัฐประหาร โดยเขายืนยันวารัฐบาลเกายังดํารงอยูในไทย และเขาไดตดิ ตอกับปรีดี พนมยงคซงึ่ หลบหนีออกจากไทยแลว 26 ในขณะที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” เรียกรองใหนานาชาติเขาใจความจําเปนในการรัฐประหารโคนลมรัฐบาล27 ปรีดี พนมยงคไดตัดสินใจเดินทางออกจากไทยเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2490 เพื่อเตรียม การจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิน่ และการตอตานการรัฐประหารตามแผนการ ดวยความชวยเหลือจาก ร.อ.เดนิส(Dennis)ทูตทหารเรืออังฤษและน.ท.กาเดส(Gardes)แหงรัฐนาวีสหรัฐฯ ผูเปนมิตรเกา ในชวงสงครามโลกไดชวยนําเขาออกนอกประเทศโดยเรือบรรทุกน้าํ มันของสหรัฐฯเพื่อขึ้นฝงที่ มาลายา28 จากนั้น ทอมสัน ทูตอังกฤษไดแจงใหควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรีคนใหมทราบวา อังกฤษไดชวยปรีดีออกนอกประเทศสําเร็จ โดยควงไดตอบกลับวาทูตอังกฤษวา เขามีความยินดี ที่ปรีดีออกนอกประเทศแลว29 ในปลายเดือนเดียวกันนัน้ ทูตอังกฤษแสดงความไมเห็นดวยกับ แผนการตอตานการรัฐประหารของปรีดี จึงไดแนะนําใหเขากลาวกับกลุมของเขาใหยุติการ ตอตานผานวิทยุในสิงคโปร 30 สําหรับแผนการของปรีดี พนมยงคในการจัดตั้งรัฐบาลผลัดถิ่นนัน้ เขาคาดหวังความชวย เหลือจากสหรัฐฯพันธมิตรเกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 แตปรากฏวา สหรัฐฯไมรับการตอบรับ ความคาดหวังของเขา โดยในเดือนธันวาคม 2490 ปรีดีประสานงานใหอรรถกิตติ์ พนมยงค อดีต รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ผูเ ปนนองชายของปรีดีขณะนัน้ อยูในตางประเทศเขา พบวิลเลีย่ ม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan) อดีตหัวหนาโอเอสเอสในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อขอใหสหรัฐฯสนับสนุนอาวุธใหปรีดกี ลับสูอํานาจอีกครั้ง ปรีดีมแี ผนตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึน้ ทางตอนเหนือของไทย แตกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯตัดสินใจไมสนับสนุนปรีดีใหกลับสู อํานาจอีกตามคําขอ สหรัฐฯไดแตแสดงความเสียใจกับการรัฐประหารที่เกิดขึ้น และมีความ 25
Bangkok Post, 11 November 1947.; ประชากร, 12 พฤศจิกายน 2490.; ประชากร, 25 พฤศจิกายน 2490. 26 หจช.สบ. 9.2.3/8 ขาวรัฐประหาร 2490 แฟมเอก วีสกุล. 27 ประชากร, 25 พฤศจิกายน 2490. 28 Richard J. Aldrich, “Legacies of Secret Service : Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950,” in The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation, eds. Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley (London : Frank Class, 2000), p. 132. 29 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 28. 30 Ibid., p. 30.
69
ตองการสงเสริมใหไทยมีเสถียรภาพทางการเมืองตอไป31 ดังนัน้ จะเห็นไดวา สหรัฐฯได เปลี่ยนแปลงนโยบายจากเดิมที่สหรัฐฯเคยใหความชวยเหลือแกเขาและกลุมในชวงสงครามโลก ไปสูความนิง่ เฉยกับการรัฐประหารในไทยนี้อาจเปนผลมาจากการที่รฐั บาลของ“กลุมปรีดี”ดําเนิน นโยบายที่ไมสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯดวยการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียง ใตเมื่อกันยายนปเดียวกัน ไมแตเพียงการรับรูและทาทีของสหรัฐฯที่มตี อปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาไดเปลี่ยน แปลงไป เห็นไดจากปรีดีประสบความความลมเหลวที่จะไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐฯใหเขา กลับสูอํานาจอีกครั้ง ตอมา ในปลายเดือนพฤษภาคม 2491 เขามีแผนการเดินทางจากสิงคโปรไป ยังสหรัฐฯ ในระหวางการเดินทาง เขาไดแสดงวีซาขอเขาสหรัฐฯที่สถานกงสุลสหรัฐฯประจําเซี่ยง ไฮและที่นนั่ เขาไดพบกับนอรแมน เอช. ฮันนาห(Norman H. Hannah)เจาหนาที่ซีไอเอปฏิบัติ หนาที่ในตําแหนงรองกงสุลสหรัฐฯ ฮันนาหไดปฏิเสธการอนุญาตใหเขาเดินทางเขาสหรัฐฯดวย การกระชากหนังสือเดินทางไปจากมือเจาหนาทีก่ งสุลและขีดฆาวีซา ของเขามิใหเขาเดินทางเขา สหรัฐฯไดอีก32 จะเห็นไดวา ทาทีของสหรัฐฯที่มีตอปรีดีและกลุมของเขานั้นมิไดเปนไปในลักษณะ เห็นอกเห็นใจเหมือนดังในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อีก แมปรีดีและกลุมของเขาจะไดรับความ ชวยเหลือจากอดีตเจาหนาทีโ่ อเอสเอสหรือมิตรเกาชาวอเมริกันที่เคยรวมมือกันในการตอตาน กองทัพญี่ปนุ ในชวงสงครามโลกก็ตาม แตเจาหนาที่ของสหรัฐฯที่ปฏิบตั ิงานตามนโยบายใหมของ สหรัฐฯในสมัยประธานาธิบดีทรูแมนนั้นกลับมีปฏิกริยาตอปรีดีและกลุมของเขาที่แข็งกราวและไม เปนมิตรอีก ดังนัน้ จากสิ่งทีป่ รีดีและกลุมของเขาไดรับการตอบสนองของสหรัฐฯ สะทอนใหเห็น วา ภายใตบริบทใหมในชวงแรกเริ่มของสงครามเย็นนัน้ สหรัฐฯมิไดเลือกปรีดีและกลุมของเขาเปน พันธมิตรเฉกเชนในชวงสงคราม โลกครัง้ ที่ 2 อีกตอไป
31
NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Howard Palmer and Kenneth P. Landon, 21 December 1947.; Neher, “Prelude to Alliance : The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p.55-56. 32 ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 108-109. ปรีดี พนมยงค ไดบันทึกวา ในเวลาตอมาเขาไดทราบวา นอรมัน ฮันนาหทํางานใหกับซีไอเอ และในเวลาตอมา ฮันนาหไดยายจากสถานกงสุลสหรัฐฯประจําฮองกงไปประจําที่สถานเอกอัครราชทูตกรุงเทพฯ โดยฮันนาหมี บทบาทสนับสนุนใหตํารวจจับภริยาและบุตรชายของเขาในกรณี “กบฎสันติภาพ”เมื่อป 2495
70
3.3 การรุกคืบของ “กลุมรอยัลลิสต”ในฐานะสถาปนิกทางการเมือง ภายหลังการรัฐประหารเสร็จสิ้น คณะรัฐประหารจําเปนตองสนับสนุนให ควง อภัยวงศ ซึ่งเปนตัวแทนของ“กลุมรอยัลลิสต” ขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลรอยัลลิสตเพื่อการ สรางการยอมรับจากสาธารณชนและนานาชาติ โดยจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนา คณะรัฐประหารไดทําหนังสือมอบอํานาจของคณะรัฐประหารใหกับรัฐบาลควงเพื่อบริหาร ประเทศ การมอบอํานาจดังกลาวจากคณะรัฐประหารไดสรางความพอใจใหกับ“กลุมรอยัลลิสต” มาก จากนัน้ ควงไดประกาศความเปนอิสระของรัฐบาลรอยัลลิสตจากคณะรัฐประหาร 33 เขาได จัดสรรตําแหนงในคณะรัฐมนตรีใหกับเชื้อพระวงศดํารง ขุนนางในระบอบเกา และอดีตนักโทษ การเมือง “กลุมรอยัลลิสต”ใหดํารงตําแหนงในคณะรัฐมนตรีมากอยางไมเคยมีมากอนนับตัง้ แต การปฏิวัติ 2475 34 ดวยเหตุที่ทงั้ สองกลุมมีเปาหมายทางการเมืองที่แตกตางกันและมีหวาดระแวงระหวาง กันจึงเปนจุดเริ่มตนของความแตกแยกภายใน“พันธมิตรใหม” โดย“กลุมรอยัลลิสต”มีความตอง การสถาปนาระบอบการเมืองที่เพิ่มอํานาจใหกับสถาบันกษัตริยและทําใหพวกเขามีอํานาจทาง การเมืองอยางยั่งยืน อีกทั้งสามารถขจัดคูแ ขงทางการเมืองของพวกเขาออกไปจากการเมือง ในขณะที่จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหารกลับมีความตองการกลับสูอาํ นาจทาง การเมืองและไมตอ งการให“กลุมรอยัลลิสต” เขามาเปนคูแขงทางการเมืองทีพ่ วกเขาเสี่ยงชีวิตใน การใชกําลังเขายึดอํานาจมา สําหรับความสัมพันธทางการเมืองระหวางคณะรัฐประหารกับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น ฝาย หลังมิไดไววางใจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตแกนนําของคณะราษฎรที่เคยปราบปรามการกอ กบฎของพวกเขาอยางรุนแรงมากอน โดยกรมพระยาชัยนาทนเรนทร อดีตแกนนําการกบฎของ “กลุมรอยัลลิสต” ผูที่เคยถูกถอดอิศริยศและถูกคุมขังจากการตอตานการปฏิวัติ 2475 และการ ตอตานรัฐบาลจอมพล ป.ในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดรับการปลดปลอยภายหลังสงคราม ตอมา พระองคทรงกาวขึ้นมาเปนผูสาํ เร็จราชการฯภายหลังการสวรรคต ในฐานะที่พระองคทรง เปนพระราชวงศชั้นผูใหญและมีความสนิทสนมกับราชสกุลมหิดลทรงไดแจงกับทูตอังกฤษเปน 33
ศรีกรุง, 15 พฤศจิกายน 2490. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500),หนา 105 -106. เชื้อพระวงศดํารงตําแหนงรัฐมนตรีหลายคน เชน ม.จ.วิวัฒนไชย ไช ยันต ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และม.ล.เดช สนิทวงศ สวนขุนนางในระบอบเกา เชน พระยา ศรีวิสารฯ(เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) รวมทั้งอดีตนักโทษการเมือง เชน ม.จ.สิทธิพร กฤดากร พระยาศราภัยพิพัฒน (เลื่อน ศราภัยวานิช) และสอ เสถบุตร เปนตน 34
71
สวนตัวเมื่อกลางเดือนธันวาคม 2490 วา ทรงไมเคยไววางใจ จอมพล ป. และปรีดี พนมยงคเลย ทรงเห็นวา ขณะนั้นรัฐบาลควง อภัยวงศท“ี่ กลุมรอยัลลิสต”ใหการสนับสนุนนัน้ ถูกคณะ รัฐประหารครอบงํา ทรงมีความคิดตองการกําจัดจอมพล ป.35 ดังนัน้ ความแตกแยกระหวาง “พันธมิตรใหม”เห็นไดจากรัฐบาลควง และ“กลุมรอยัลลิสต” มีความตองการรางรัฐธรรมนูญฉบับ ใหมขึ้นเพื่อจัดสรรอํานาจทางการเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยและทําใหพวกเขาใหมีอํานาจทาง การเมืองอยางลึกซึง้ ตลอดจนตองการกําจัดคณะรัฐประหารใหออกไปจากการเมืองดวยกติการ การเมืองทีพ่ วกเขาจะรังสรรคขึ้นตอไป แมในชวงดังกลาว คณะรัฐประหารจะอยูเบื้องหลังฉากการเมืองอยางเงียบๆราวกับเปนผู คุมครองรัฐบาลควง อภัยวงศก็ตาม แตพวกเขาไดเริ่มรับรูถึงการเริ่มถูกหักหลังจาก“กลุมรอยัล ลิสต”ที่จะกีดกันใหพวกเขาออกไปจากการเมือง พวกเขาจึงไดปลุกกระแสการตอตานรัฐบาลควง ดวยการแจกจายใบปลิวไปตามสถานที่ราชการและสาธารณะโจมตีควงและ“กลุมรอยัลลิสต”วา มีความตองการทําลายจอมพล ป. ดวยการพยายามทําใหพน จากอํานาจ36 แมรัฐบาลควงจะถูก โจมตีแตดวยความสามารถของควงในการพูดหาเสียงและความชวยเหลือทางการเงินจากพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ผูมีความมัง่ คั่ง สงผลใหการเลือกตั้งในปลายเดือนมกราคม 2491 นั้น พรรคประชาธิปตยไดรับการเลือกตั้งมากที่สุด คือ ประมาณ 50 คน จากจํานวน 99 คน37 จากนั้น ตนเดือนมีนาคม สหรัฐฯและอังกฤษไดใหการรับรองรัฐบาลควงที่มาจากการเลือกตั้งและ ติดตามดวยประเทศอื่นๆใหการรับรองรัฐบาลในเวลาตอมา 38 ชัยชนะในการเลือกตั้งในตนป 2491 ของพรรคประชาธิปตยที่ไดรับความชวยเหลือจาก พระราชวงศและ “กลุมรอยัลลิสต”เปนเสมือนการประกาศอิสระจากการครอบงําของคณะ รัฐประหาร พวกเขามีความมั่นใจในการควบคุมการเมืองและกลไกลทางการเมืองผานสภา ผูแทนราษฎร วุฒิสภาและรัฐบาลแทนคณะรัฐประหารมากขึ้น จากนั้น โครงการคืนอํานาจ ทางการเมืองและเศรษฐกิจกลับสูสถาบันกษัตริยก็ไดเริ่มตนขึ้น รัฐบาลควง อภัยวงศไดออก 35
Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 49. 36 สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), หนา 124-125. 37 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 44. 38 Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 60.; Frank C. Darling, Thailand and the United States (Washington D.C.: Public Affaires Press, 1965), p. 63.
72
กฎหมายคืนทรัพยสินและใหความเปนอิสระแกสํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริยที่เปน แหลงผลประโยชนสาํ คัญกลับคืนสูสถาบันกษัตริยอีกครั้งหลังจากที่หนวยงานดังกลาวเคยถูก คณะราษฎรโอนมาเปนของรัฐบาลหลังการปฏิวัติ 247539 จากนั้น พวกเขาไดเปดการรุกทาง การเมือง ดวยการเริ่มตนออกแบบระบอบการเมืองตามสิ่งทีพ่ วกเขาตองการอีกครั้งเพื่อสถาปนา ระบอบการเมืองทีท่ ําใหพระมหากษัตริยท รงมีพระราชอํานาจทางการเมืองและทําให“กลุมรอยัล ลิสต”มีความไดเปรียบในทางการเมืองกวากลุมการ เมืองอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ การกําจัดคณะ รัฐประหารทีเ่ ปนคูแขงทางการเมืองที่จะสรางอุปสรรคใหกับพวกเขาในการครองอํานาจทาง การเมืองอยางถาวรใหออกไปจากระบอบการเมืองทีพ่ วกเขาใฝฝนผานการจัดตั้งสภาราง รัฐธรรมนูญ40 ขึน้ เพื่อดําเนินการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมอันจะสรางกติกาทางการเมืองที่สถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเปรียบขึ้น สาระสําคัญในรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมซึ่งตอมา คือ รัฐธรรมนูญบับ 2492 หรือ รัฐธรรมนูญฉบับรอยัลลิสตเปนการออกแบบที่พยายามสถาปนาการเมืองที่ใหอํานาจแกสถาบัน กษัตริยและสรางความไดเปรียบทางการเมืองใหกับ “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยมาก เชน ในรางรัฐธรรมนูญทีพ่ วกเขารังสรรคขึ้นนัน้ จะเปนครัง้ แรกในประวัติศาสตรที่มีการประกาศชื่อ ระบอบการเมืองทีพ่ วกเขาตองการขึ้นวา“การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีพระมหากษัตริย เปนประมุข” จากนัน้ พวกเขาใหบัญญัติใหพระมหากษัตริยทรงมีพระราชอํานาจสวนพระองค ตามพระราชอัธยาศัยในทางการเมือง เชน การกําหนดใหมีคณะองคมนตรีและสมาชิกวุฒิสภาที่ มีมาจากพระราชอํานาจที่พระมหากษัตริยท ี่จะทรงเลือกและแตงตั้งประธานองคมนตรี องคมนตรี ตลอดจนทรงมีพระราชอํานาจในการทรงเลือกและแตงตั้งสมาชิกวุฒสิ ภาทั้งหมดไดอยางอิสระ โดยมีเพียงประธานองคมนตรีเปนผูสนองพระบรมราชโองการ การใหพระองคทรงมีพระราช อํานาจอํานาจทางการทหารดวยการกําหนดใหทรงเปนผูบ ังคับบัญชาสูงสุดของทหารทั้งปวง ตลอดจนใหพระองคทรงมีพระราชอํานาจในการสถาปนาฐานันดรศักดิ์ เปนตน ในขณะที่ ราง 39
พอพันธ อุยยานนท, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.; สมศักดิ์ เจียม ธีรสกุล, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย คือ อะไร” ฟาเดียวกัน 4, 1 (2549): 67-93. 40 โปรดดูรายชื่อสภารางรัฐธรรมนูญ ใน คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495, หยุด แสง อุทัย (พระนคร: โรงพิมพชูสิน, 2495), หนา 224-232.; แถมสุข นุมนนท, “50 ป พรรคประชาธิปตยกับการเมือง ไทย,” 2539, หนา 51-52. คณะผูรางรัฐธรรมนูญนี้ประกอบดวยสมาชิก 9 คน คือ เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาศรีวิสารวาจา พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี พระยาอรรถการียนิพนธ หลวงประกอบนิติสาร ม.ร.ว.เสนีย นายสุวิชช พันธเศรษฐ และเพียร ราชธรรมนิเทศ โดยคณะผูรางรัฐธรรมนูญสวนใหญเปนขุนนางในระบอบเกา และนักกฎหมายที่เปน“กลุมรอยัลลิสต”
73
รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวกลับการพยายามจํากัดอํานาจของคณะรัฐประหารออกไปจากการเมือง ดวยการหามขาราชการประจําเปนสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผูแทนราษฎร อีกทั้ง ขาราชการประจําเปนรัฐมนตรีมิได ซึ่งสงผลใหคณะรัฐประหารถูกกีดกันออกไปจากการเมือง41 ในสายตาของทูตตางประเทศอยางสแตนตัน ทูตสหรัฐฯ ไดบันทึกความเห็นของเขาตอ ผลการรังสรรคระบอบการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ผานรางรัฐธรรมนูญใหมวา รางรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมไดฟน ฟูอํานาจใหกับพระมหากษัตริย และรางรัฐธรรมนูญดังกลาวประสบความสําเร็จ ในอําพรางอํานาจทางการเมืองของพระมหากษัตริยที่เคยเห็นอยางชัดเจนในรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ใหแทรกลงอยางลึกซึง้ ยากแกการสังเกตุพบ เขาเห็นวาแนวความคิดในการเพิม่ อํานาจทาง การเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยในการควบคุมการเมืองไทยนั้นคลายคลึงกับสิ่งทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระปกเกลาฯทรงเคยมีพระราชดําริทางการเมืองถึงการปกครองในอุดมคติที่ทรงมีพระราช ประสงคไวเมือ่ กอนการปฏิวัติ 247542 ทามกลางการรุกคืบทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ใน การยึดอํานาจกรเมืองจากคณะรัฐประหาร สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดตั้งขอสังเกตถึงเปาหมายทาง การเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”วา พวกเขามีแผนการทางการเมืองที่ไปไกลเกินกวาจะใหการ สนับสนุนคณะรัฐประหารดังเดิมแลว43 ไมแตเพียง “กลุมรอยัลลิสต”จะเขาครอบงําการออกแบบระบอบการเมืองที่อาํ นวยให สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ใหเปนตัวแสดงทางการเมืองสําคัญแตเพียงกลุม เดียว ดวย การกีดกันคณะรัฐประหารออกจากการเมืองเทานัน้ แตพวกเขายังมุง สรางระบอบการเมืองที่ไม ประนีประนอมกับความคิดอื่นๆในสังคมไทย เชน เสรีนยิ ม โดยเฉพาะอยางยิง่ สังคมนิยม ดวย เหตุท่ี พวกเขาไมใหสนใจปญหาความเดือดรอนของประชาชนในภูมภิ าค ทําใหสมาชิกสภาผูแทน ฯจากภาคอีสานไมพอใจรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมของ“กลุมรอยัลลิสต”อยางมาก สแตนตัน ทูต สหรัฐฯเห็นวา “กลุมรอยัลลิสต”สนใจแตเพียงประโยชนจากการยึดกุมอํานาจทางการเมืองภายใต กติกาที่เขาออกแบบขึ้นใหมากที่สุด เพื่อทําใหพวกเขามีอํานาจไดอยางมั่นคง ดวยการจัดตั้ง พรรคการเมืองของพวกเขาชื่อ พรรคกษัตริยนิยมตามแนวคิดของพวกตนขึ้น เพื่อเขาชิงชัยทาง
41
มุกดา เอนกลาภากิจ, “รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง: ศึกษารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2492,” (วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542) . 42 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 January 1948”. 43 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”.
74
การเมืองรวมกับพรรคประชาธิปตยเพื่อใหพวกเขาสามารถครองเสียงในสภาผูแทนฯใหไดมาก ที่สุดเทาที่จะทําได44 3.4 แผนการใหญทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” สถานการณการเมืองหลังการรัฐประหาร 2490 ทําให “กลุมรอยัลลิสต”กลับขึ้นมาเปนตัว แสดงทางการเมืองที่สาํ คัญ และทําให“กลุมรอยัลลิสต”มีสวนสําคัญในการออกแบบระบอบ การเมืองที่อํานวยประโยชนใหพวกเขากลายเปนตัวแสดงทางการเมืองหลักและการสนับสนุน ความมัง่ คงทางการเมืองใหกบั สถาบันกษัตริยและพวกตน แตความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัล ลิสต”มิไดมุงใหการสนับสนุนราชสกุลมหิดลเพียงราชสกุลเดียว เนื่องจาก“กลุมรอยัลลิสต” ขณะนั้นมิไดมคี วามเปนเอกภาพ ทําให “กลุมรอยัลลิสต”สําคัญที่นาํ โดยควง อภัยวงศและพรรค ประชาธิปตยที่เปนรัฐบาลนัน้ มีมนั่ ใจในอํานาจตอรองและมีความอิสระในการตัดสินใจที่จะเลือก สนับสนุนราชสกุลใดใหมีอํานาจในราชสํานักได เนื่องจาก ขณะนัน้ ผลการสืบสวนกรณีสวรรคตมี แนวโนมที่จะสามารถตัง้ สมมติฐานผูตองสงสัยที่จะตองรับผิดชอบตอการสวรรคตฯไดแลว ทําให ควง ในฐานะนายกรัฐมนตรีมีความตองการเปดเผยผลการสอบสวนนี้ออกสูสาธารณชนซึ่งจะทํา ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในราชสํานักอยางใหญหลวง ดวยเหตุนี้ พรรคประชาธิปตยและ“กลุมรอยัลลิสต”มีอิทธิพลและเปนตัวแปรสําคัญที่จะ กําหนดทิศทางการเมืองของราชสํานักในขณะนั้น สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชมีแผนการแตกหักกับคณะรัฐประหาร โดยพวก เขามีแผนการสนับสนุนใหพระองคเจาจุมภฏฯจากราชสกุลบริพัตรขึ้นครองราชยแทนราชสกุล มหิดล เนื่องจาก ขณะนั้นยังไมมีการบรมราชภิเษกผูใดใหเปนพระมหากษัตริยอยางเปนทางการ และพวกเขามีตองการฟน ฟูอํานาจของพระมหากษัตริยท ี่มีอยูก อนการปฏิวัติ 2475ใหกลับมาอีก ครั้งเพื่อสรางอํานาจนําทางการเมืองที่ยงั่ ยืนใหแกพวกเขาเพื่อทําใหกลุมของเขากลายเปนแกนนํา ของ“กลุมรอยัลลิสต”ทั้งมวลพรอมกับเปนผูนําของประเทศ ดวยแผนการหมุนกลับระบอบ การเมืองของควงทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหารคัดคานแผน ทางการเมืองดังกลาวอยางหนักทําใหจอมพล ป.ตองหันกลับไปเปนพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี” เพื่อ 44
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251,” Summary of Political events in Siam January 1948”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 11 February 1949. ผูไดรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ป 2491ในนามของพรรคกษัตริย นิยม คือ ร.ท. สัมพันธ ขันธะชวนะ ส.ส.นครราชสีมา (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, แผนชิงชาติไทย: วาดวยรัฐและการ ตอตานรัฐสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2491-2500), หนา 435).
75
รวมกันขับไลควงและยุติแผนการของ“กลุมรอยัลลิสต” ตอมา แมคโดนัล อดีตโอ.เอส.เอส.และมี ความคุนเคยกับปรีดี พนมยงคไดแจงขาวตอ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯวา จอมพล ป.ไดสงผูแทนมา แจงกับเขาวา จอมพล ป.มีความคิดที่จะจัดตั้งรัฐบาลผสมระหวางปรีดี พนมยงคและพล ร.ต. ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิก์ ับกลุมของเขาเพือ่ กันควงที่ไดรบั การสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต” ออกไปจากการจัดตั้งรัฐบาล เนื่องจาก จอมพล ป.ตองการคัดคานแผนการของ“กลุม รอยัลลิสต” ที่จะสถาปนาพระมหากษัตริยพระองคใหม รายงานของสถานทูตสหรัฐฯบันทึกตอไปวา ควง ตองการจะเปดเผยถึงบุคคลที่จะตองรับผิดชอบตอการสวรรคต สแตนตันเห็นวา การเปดเผย ดังกลาวจะทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในราชสํานักอยางสําคัญ ตอมา แลนดอน เจาหนาที่ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ผูคนุ เคยกับการเมืองไทยเห็นวา แมจอมพล ป. และปรีดีจะเปนคูปรปกษทางการเมืองกันภายในคณะราษฎร แตทั้งคูแ สดงการคัดคานการรื้อฟน อํานาจของพระมหากษัตริย แลนดอนวิเคราะหวา ทัง้ จอมพล ป.และปรีดีไมมีปญหากับ พระมหากษัตริยพระองคปจจุบัน เพราะขณะนั้นพระองคทรงพระเยาวและไมมีฐานอํานาจ การเมือง45 ทามกลางการดําเนินการแผนการใหญของ“กลุมรอยัลลิสต” สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ในตนเดือนกุมภาพันธ 2491 มีสมาชิกคณะราษฎรจํานวนหนึ่งไดมาปรึกษาจอมพล ป. พิบูล สงครามถึงความกังวลการขยายอิทธิพลทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่อยูเบื้องหลังรัฐบาล ควง อภัยวงศ ทําใหคณะราษฎรตองการใหจอมพล ป. กับปรีดี พนมยงครวมมือกันตอตานแผน ทางการเมืองดังกลาว46 ตอมามีการจัดประชุมรวมกันระหวางคณะราษฎรกับคณะรัฐประหาร หลายครัง้ ภายในเดือนกุมภาพันธเพื่อไกลเกลี่ยความขัดแยงอันเกิดจากการรัฐประหาร 2490 และผนึกกําลังเพื่อตอตานแผนการใหญของควงและ“กลุมรอยัลลิสต”ที่จะการฟน ฟูระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยขึ้นใหมซงึ่ พล ต.อ.เผา ศรียานนทแกนนําคนหนึ่งของคณะรัฐประหารและ นายทหารผูใกลชิดกับจอมพล ป.และคณะราษฎรเห็นวา แผนการดังกลาวเปนการชิงอํานาจทาง การเมืองไปจากคณะรัฐประหารและทําลายคุณูปการทางการเมืองตางๆทั้งหมดที่คณะราษฎรได
45
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 January 1948”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 5 February 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Landon to Butterworth, 20 February 1948. 46 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 9 February 1948.
76
สรางมาตัง้ แตหลังการปฏิวตั ิ 2475 ใหมลายลง47 คณะรัฐประหารตองการใหมีแกไขรัฐธรรมนูญ ฉบับใหมทถี่ ูกรางขึ้นจาก“กลุมรอยัลลิสต”และสั่งการใหมีการสอดสองความเคลื่อนไหวทาง การเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”48 แมวา คณะราษฎรและคณะรัฐประหารจะพยายามกดดันควง อภัยวงศและ“กลุมรอยัล ลิสต” ออกไปจากจัดตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเปดโอกาสใหจัดตั้งรัฐบาลผสมระหวางจอมพล ป. พิบูล สงครามกับปรีดี พนมยงคและพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ แตควงมีความมัน่ ใจการสนับสนุน ทางการเมืองจาก“กลุมรอยัลลิสต”ที่มีมากกวาแรงกดดันดังกลาว49 ตอมา เมื่อควงไดรับชัยชนะ การเลือกตั้งเมือ่ ปลายเดือนกุมภาพันธ 2491 ทามกลางแรงกดดันจากคณะราษฎรและคณะ รัฐประหารก็ตาม แตเขายังคงไดรับการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยผา นจากอภิรัฐมนตรี(หรือ องคมนตรีในเวลาตอมา)และจาก“กลุมรอยัลลิสต”ในวุฒิสภาทีพ่ ระมหากษัตริยทรงแตงตั้ง ทั้งหมดกับสมาชิกสภาผูแทนฯของพรรคประชาธิปตยในสภาผูแทนฯทําใหเขาสามารถจัดตั้ง รัฐบาลของเขาไดสําเร็จ 50 ในขณะเดียวัน ทาทีของกรมพระยาชัยนาทฯ ในฐานะผูส ําเร็จราชการ ฯ ยังคงทรงไมพอพระทัยตอจอมพล ป. และทรงไมเห็นกับความคิดของจอมพล ป.ในการฟนฟู คณะราษฎรทีเ่ คยโคนลมอํานาจของสถาบันกษัตริยใหกลับมาทาทายพวกเขาอีกครั้ง51 47
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 1-15 February 1948”.มีการประชุม คณะราษฎรและคณะรัฐประหารที่บานของร.ท.ขุนนิรันดรชัยหลายครั้ง สมาชิกที่เขารวมประชุม เชน พล ท. พระประศาสนพิทยุทธ พล ท. มังกร พรหมโยธี พล ท. ประยูร ภมรมนตรี และหลวงนฤเบศมานิตย ในการ ประชุมครั้งหนึ่งเมื่อ 14 กุมภาพันธ ไดมีความพยายามไกลเกลี่ยความขัดแยงที่เกิดขึ้นจากการรัฐประหาร 2490 และยืนยันหลักการของการปฏิวัติ 2475 ตอไป โดยผูแทนของคณะรัฐประหาร คือ พล ต.อ.เผา ศรียานนท พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท และนายทหารระดับกลางอีก 6 คน โดย พล ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ สมาชิก คณะราษฎรคนหนึ่งที่เขาประชุมไดบันทึกการประชุมที่นําโดยพล ท.มังกร พรหมโยธี พล ต.อ.เผา และ พล ต.ท.ละมาย วา “แลเสียงที่คุณเผา คุณละมายวา นายควงไปไมรอด เดินกับพวกเจา 100% ” (อนุสรณใน งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, [กรุงเทพฯ : โรง พิมพชวนพิมพ],หนา 159) 48 หจช.สร. 0201.18/5 สํานักงานโฆษณาการคัดและตัดขาวหนังสือพิมพ (เมษายน – กันยายน 2492).;เกียรติศักดิ์, 20 กุมภาพันธ 2492. 49 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 17 February 1948 . 50 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-29 February 1948”. 51 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Prince Rangsit and Stanton, 10 March 1948.
77
3.5 จอมพล ป.กับการลมแผนทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” เมื่อการกดดันของคณะราษฎรและคณะรัฐประหารที่มตี อความเคลื่อนไหวและแผนการ ทางการของควง อภัยวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”ไมไดผล เนื่องจาก ควงมีความไดเปรียบเหนือกวา ในฐานะผูท ี่จะกําหนดอนาคตของสถาบันกษัตริยใหไปในทิศทางใด ทําใหพวกเขาไดรับการ สนับสนุนจากกลุมราชสกุลและพระราชวงศที่ตองการมีอํานาจในราชสํานักใหมหรือคงยังมี อํานาจตอไป ควงและ“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงเดินหนาออกแบบระบอบการเมืองดวยการราง รัฐธรรมนูญใหมที่เพิ่มอํานาจใหสถาบันกษัตริย และทําใหพวกเขาไดเปรียบในการแขงขันทาง การเมือง ตลอดจนการกําจัดคูแขงใหออกไปจากการเมือง ในที่สุด เมื่อคณะรัฐประหารยื่นคําขาดใหควง อภัยวงศในฐานะนายกรัฐมนตรีลาออกใน วันที่ 6 เมษายน 2491 ทันที การยืน่ คําขาดขับไลรัฐบาลควงที“่ กลุมรอยัลลิสต”ใหการสนับสนุน ลงจากอํานาจครั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา เหตุการณดังกลาวสรางความไมพระทัยใหกับ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสาํ เร็จราชการฯเปนอยางมาก โดยทรงพยายามใหความชวยเหลือควงดวย การทรงไมรับจดหมายลาออก และทรงสัง่ การใหวุฒิสภามีมติใหระงับการลาออกของควงเพื่อทา ทายอํานาจของคณะรัฐประหารแตความพยายามของพระองคไมเปนผล ทําใหทรงบริพาทยจอม พล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหารวา “ปญหาทางการเมืองเกิดจากทหารและนักการเมือง ที่ชั่วราย” ทรงกลาววา รัฐบาลของจอมพล ป. และคณะรัฐประหารจะตองถูกโคนลมลง สถานทูต รายงานตอไปวา ทรงมีแผนการที่ใชฐานกําลังทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”ในรัฐสภาทัง้ สมาชิกวุฒิสภาทีท่ รงแตงตั้งและสมาชิกสภา ผูแทนฯของพรรคประชาธิปตย ดําเนินการตอตานรัฐบาลตอไป52 การกลับเขามีอํานาจของจอมพล ป. พิบูลสงครามสรางความไมพอใจใหกับสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” อยางมาก แตกลับไมไดรับการตอตานจากประเทศมหาอํานาจ อยางรุนแรงเหมือนการรัฐประหาร 2490 อีก เนื่องจาก ประเทศตางๆมีความวิตกกับผลประโยชน ที่ประเทสของตนอาจไดรับการกระทบกระเทือนหากไมใหการรับรองรัฐบาลจอมพล ป. สําหรับ อังกฤษมีความกังวลเรื่องการสงขาวตามขอตกลงสมบูรณแบบกับไทยวาจะไดรับผลกระทบ สวน ฝรั่งเศสกังวลเรื่องดินแดนในอินโดจีนที่ไทยคืนใหกับฝรัง่ เศสจะกลายเปนประเด็นความขัดแยง ระหวางกันขึน้ อีก สวนสหรัฐฯวิตกวาหากไมรับรองรัฐบาลใหมจะทําใหสหภาพโซเวียตเทานั้นที่มี 52
NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State , 7 April 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 8 April 1948.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memorandum of Conversation Prince Rangsit and Stanton, 9 April 1948.
78
ความสัมพันธกับไทย ดังนัน้ สหรัฐฯเห็นวาการไมรับรองรัฐบาลจอมพล ป.จะสรางปญหาที่ไม จําเปนตามมามากกวา ไมกวี่ ันตอมา เมื่อรัฐบาลจอมพล ป.ไดรับการลงมติรับรองจากรัฐสภา และมีการประกาศการดําเนินการตามพันธสัญญานานาชาติดังเดิม การประกาศดังกลาวทําให มหาอํานาจตางๆลวนรับรองรัฐบาลจอมพล ป.ทันที 53 ควรบันทึกดวยวานโยบายของสหรัฐฯที่ วอชิงตัน ดี.ซี. ในชวงสงครามเย็นไดเปลี่ยนแปลงจากชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งในอดีต สหรัฐฯ เคยตอตานรัฐบาลจอมพล ป.มาเปนการใหการรับรองรัฐบาลของเขา เนื่องจาก ชวงเวลาดังกลาว สถานการณการตอสูระหวางก็กหมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสตจนี มีแนวโนมที่ฝา ยแรกกําลัง เสียเปรียบ ทําใหสหรัฐฯมีความตองการมีอทิ ธิพลตอไทยเพื่อทําใหไทยรวมมือกับสหรัฐฯในการ ตอตานคอมมิวนิสตในเอเชียมีผลทําใหสแตนตัน ทูตสหรัฐฯทีเ่ คยแสดงการตอตานจอมพล ป. ได เปลี่ยนทาทีที่เคยแข็งกราวมาเปนการกลาวชื่นชมจอมพล ป.ซงเปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางของ นโยบายใหมของสหรัฐฯวา จอมพล ป.มีความเปนผูน ําและใหการสนับสนุนสหรัฐฯ54 แมรัฐบาลควง อภัยวงศจะพนจากอํานาจไป แตคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมของ “กลุมรอยัลลิสต”ยังคงทํางานตอไป เนื่องจาก จอมพล ป. พิบูลสงครามมิไดลมเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 ลมเลิกรัฐสภา และคณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมท“ี่ กลุมรอยัลลิสต”สนับสนุน การจัดตั้ง เนื่องจาก จอมพล ป.อาจจะเชื่อมั่นวา เขาจะสามารถควบคุมสมาชิกสภาผูแทนฯได และอาจมีความวิตกวา หากลมเลิกรัฐธรรมนูญจะทําใหรัฐบาลของเขาตองกลับไปเผชิญหนากับ การไมไดรับการรับรองจากนานาชาติอีก ตอมา บางกอกโพสต( Bangkok Post) ไดรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยยังคงมีอทิ ธิพลในการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึง่ แนวโนมของสาระในรัฐธรรมนูญนัน้ จะสกัดกั้นการมีอํานาจทางการเมืองของคณะรัฐประหาร55 แม จอมพล ป. นายกรัฐมนตรีคนใหมไดเสนอให คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญที“่ กลุมรอยัล ลิสต”ใหการสนับสนุนใหยึดถือรัฐธรรมนูญ 2475 เปนแบบในการรางก็ตาม56 แตการดําเนินการ รางรัฐธรรมนูญภายใตแนวคิดของ“กลุมรอยัลลิสต” ยังดําเนินไปในทิศทางที่เพิ่มอํานาจใหกับ สถาบันกษัตริยและสรางความไดเปรียบทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”ตอไป
53
Mahmud, The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup, p. 67-68. Kullada Kesboonchoo Mead, “A revisionist history of Thai-U.S. relation,” Asian Review 16 (2003), p. 52. 55 Bangkok Post, 10 April 1948. 56 นครสาร, 27 เมษายน 2491. 54
79
3.6 รัฐบาลจอมพล ป.กับความลมเหลวในการเปดไมตรีกับ “กลุม ปรีดี” การกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีอีกครั้งของจอมพล ป. พิบูลสงครามในครั้งนี้ เขาไดรับ ความชืน่ ชมจากมหาอํานาจตะวันตก เนือ่ งจาก เขาไดประกาศยอมรับและทําตามพันธสัญญา ตางๆที่ไทยไดเคยตกลงกับนานาชาติ ใหการสนับสนุนสหประชาชาติ และที่สําคัญรัฐบาลของเขา ประกาศความตองการทีจ่ ะมีความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯ57 อยางไรก็ตามรัฐบาลของเขา ยังคงตองเผชิญหนากับการตอตานจากปรปกษทางการเมืองหลายกลุม เชน “กลุมรอยัลลิสต” และ“กลุมปรีดี” ไมแตเพียง ความขัดแยงระหวางกลุมเทานัน้ แตยงั มี ความขัดแยงระหวาง กองทัพและภายในกองทัพบก มีผลทําใหรัฐบาลของเขาในชวง 2491จนถึง 2494 ถูกตอตานจาก กลุมตางๆอยางมาก การทาทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งแรก ซึ่งตอมาเรียกวา “กบฏ เสนาธิการ” ไดเริ่มกอตัวขึ้นในกลางป 2491 ไมกี่เดือนหลังจากที่เขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี การตอตานรัฐบาลเกิดจากความรวมมือระหวาง “กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เคยรวมมือกัน ใน“ขบวนการเสรีไทย” ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 58 ซีไอเอไดรายงานวา แผนการรัฐประหาร ดังกลาววามี 2 วิธี คือ การใชกําลังทหารจากกรมปนตอสูอากาศยานภายใตการสั่งการของพล.ท. ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ เพื่อจับกุมนายกรัฐมนตรีและแกนนําคณะรัฐประหารและแผนที่สอง คือ การใชกาํ ลังโดยตรงตอคณะรัฐมนตรีของจอมพล ป.ทัง้ หมด หากแผนการสําเร็จจะมีการ จัดตั้งรัฐบาลผสมระหวาง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” 59 อยางไรก็ตาม แผนการรัฐประหาร ดังลาวไมประสบความสําเร็จ เนื่องจากรัฐบาลรูความเคลื่อน ไหวลวงหนาจึงทําการจับกุม
57
“Department of State Policy Statement on Indochina, 27 September 1948” in Foreign Relations of the United States 1948 Vol.6, (Washington: Government Printing Office, 1974), p. 47.; แถมสุข นุมนนท, “ขบวนการตอตานอเมริกา สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม,” ใน รวมบทความประวัติศาสตร 2 (มกราคม 2524): 50. 58 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP79-01082A000100010020-7, 11-17 May 1948, “Intelligence Highlights”. 59 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R002100340008-7,1 December 1948, “Operational Plans of the Abortive Countercoup d’etat Group” รัฐบาลชุดใหมตาม รายงานฉบับนี้ระบุวาพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดยธารักษ จะดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี โดยมีควง อภัยวงศ เปนรองนายกฯ ทวี บุญยเกตุเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร ดิเรก ชัยนามเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ และประภาศ วัฒนสารเปนรัฐมนตรีชวยมหาดไทยแตเมื่อแผนรัฐประหารลมเหลว ควง อภัยวงศ ถูกจับตามองจากรัฐบาลเปนอยางมาก
80
ผูเกี่ยวของเมือ่ 1 ตุลาคม 2491 ตัดหนาแผนรัฐประหารจะเกิดขึ้น60 จากนัน้ รัฐบาลไดนํากําลัง ทหารไปเฝาทีห่ นาสถานทูตอังกฤษและสหรัฐฯเพื่อปองการกลุมผูเกี่ยวของหลบหนีเขาไปใน สถานทูต61 สถานทูตสหรัฐฯเห็นไดวา เสถียรภาพทางการเมืองของจอมพล ป.ในฐานะ นายกรัฐมนตรีครั้งนี้หา งไกลจากในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มาก62 ทามกลางความขัดแยงหลายดานที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตองเผชิญทัง้ จาก “กลุมปรีดี” และ “กลุมรอยัลลิสต” แตจอมพล ป. เลือกที่จะมีไมตรีกบั ปรีดี พนมยงคอดีตมิตรเกา เมื่อครั้งปฏิวัติ 2475เพื่อรวมมือในการตอตานการขยายอํานาจของ “กลุม รอยัลลิสต” ตนเดือน กุมภาพันธ 2492 จอมพล ป. ไดแถลงขอความผานวิทยุที่สื่อถึง “กลุมปรีดี”วา ปรีดี คือ สมาชิก
60
ในทางเปดเผยนั้น นายทหารสําคัญที่เกี่ยวของ คือ พล.ต.สมบูรณ ศรานุชิตและพล.ต.เนตร เขมะ โยธิน แตจากรายงานจากสถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ มีกลุมที่เกี่ยวของ คือ “กลุมรอยัลลิสต” นําโดยพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ เปนแกนนํา และมีควง อภัยวงศ พ.ท.รวย อภัยวงศ และพระองคเจาภาณุพันธฯเขารวม และกลุมที่ 2 คือ “กลุมปรีดี” มี พล.ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ พล.อ.อดุล อดุลเดชจรัส ดิเรก ชัยนาม หลวงอรรถกิตติ พล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพ หลวงนฤเบศมานิต พล ร.ท.ทหาร ขํา หิรัญ พ.ต.อ. บรรจงศักดิ์ ชีพเปนสุข พ.ต.ต.จําเนียร วาสนาสมสิทธิ์ พ.ต.ต.หลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท พล.ต.เนตร เขมะโยธิน โดยมีปรีดี พนมยงคอยูเบื้องหลัง (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Bangkok to Secretary of State, 7 October 1948.) จากบันทึกของตํารวจนายหนึ่งเชื่อวา “กลุมปรีดี”ติดตอ กับพล.ต.หลวงสรานุชิตและพล.ต.เนตร ผาน ร.ต.ต สุจิตร สุพรรณวัฒน อดีตนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตรและการเมือง ภายหลังพายแพ ร.ต.ต.สุจิตร หนีกลับไปหาปรีดีที่จีน (โปรดดู พล.ต.ต.อํารุง สกุล รัตนะ, ใคร เผาไมดี วา อตร., หนา 52-53). ซึ่งสอดคลองกับบันทึกของปรีดีไดบันทึกถึงเหตุการณนี้วา“...คนที่ หลบหนีการจับกุม[กรณี “กบฎเสนาธิการ”]มาได ไดสงตัวแทนมาหาขาพเจาเพื่อวางแผนกอการอภิวัฒนโคน ลมรัฐบาลปฏิกริยาอีกครั้งหนึ่ง[กรณี “กบฎวังหลวง” ]…” (ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน, หนา 112-116. โดยพล.ท.ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษนั้นมีความสนิทกับควง มานาน เมื่อพ.ท.รวย ถูกรัฐบาลจอมพล ป.จับกุมในเหตุการณครั้งนี้ พระองคเจาภาณุพันธฯไดออกมาคัดคาน การจับกุมดังกลาว (NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Political Survey of the First Six Months of the Phibun Regime May-October 1948,” 22 November 1948). 61 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Bangkok to Secretary of State , 7 October 1948. 62 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, “Political Survey of the Frist Six Months of the Phibun Regime May-October 1948,” 22 November 1948.
81
แรกเริ่มของคณะราษฎรและเปนเพื่อนเขา เขาตองการใหปรีดีกลับมารวมงานกับรัฐบาลเพื่อให การเมืองมีความเปนเอกภาพ 63 ทามกลางชวงเวลาที่คณะรัฐประหารไมสามารถควบคุมกลไกลทางการเมืองตาม รัฐธรรมนูญได “กลุมปรีด”ี ยังคงทาทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอไป ประกอบกับ “กลุมรอยัลลิสต”สามารถยึดกุมกลไกลทางการ เมืองที่สําคัญเอาไวได อีกทัง้ พวกเขากําลังสราง ระบอบการเมืองที่จะเอื้อประโยชนใหกบั สถาบันกษัตริยแ ละพวกเขาใหไดเปรียบทางการเมือง อยางถาวรเหนือกลุมตางๆแมกระทัง่ คณะรัฐประหารผานการรางรัฐธรรมนูญใหมทจี่ ํากัดคณะ รัฐประหารใหออกไปจากการเมือง ทําใหจอมพล ป. มีความตองการรวมมือกับปรีดี พนมยงคและ กลุมของเขาเพื่อตอสูกับ“กลุมรอยัลลิสต” แตความรวมมือระหวางกันไมประสบความสําเร็จ เนื่องจาก ปรีดีและกลุมมีแผนการตรงกันขามกับความตองการของจอมพล ป.64 ตนเดือน กุมภาพันธ 2492 กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานวา ปรีดีไดเดินทางกลับเขามาใน ไทยเปนครัง้ แรกหลังการรัฐประหาร 2490 แตมิไดมุงมาเพื่อเจรจากับจอมพล ป. แตเขามาเพื่อ ทวงอํานาจคืนจากจอมพล ป.65 ไมกวี่ ันจากนัน้ เมื่อรัฐบาลไดลวงรูความเคลื่อนไหวตอตานรับ บาลของปรีดีและกลุมทําใหจอมพล ป.ออกแถลงการณทางวิทยุเพื่อเตือนความเคลื่อนไหว ดังกลาว66
63
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State , 8 February 1949. 64 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01082A000100020022-4, 9–15 February 1949, “Intelligence Highlights No.39”; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 9 February 1949. สถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอรายงานตรงกันวา แกน นําคนหนึ่งของ“กลุมปรีดี”แจงวา จอมพล ป. พิบูลสงครามไดสงผูแทนไปพบกับแกนนําของกลุมเพื่อขอใหพวก เขากลับมารวมมือกับจอมพล ป. โดยพวกเขาตีความวา การสงสัญญาณของจอมพล ป.ผานวิทยุในตนเดือน กุมภาพันธ 2492 คือ ความพยายามสื่อกับพวกเขาถึงความตั้งใจของจอมพล ป.ที่มีตอปรีดี พนมยงคและกลุม อยางไรก็ตาม ขอเสนอจากจอมพล ป.ไมสามารถตกลงกันไดเปนมติของ“กลุมปรีดี” ได 65 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Reed to Butterworth, “Siam Politics,” 9 February 1949. 66 จอมพลป. พิบูลสงครามไดแถลงผานวิทยุเมื่อ 12 กุมภาพันธ 2492 ในหัวขอ “ประเทศจะมีจลาจล หรือไม” โดยแถลงการณดังกลาวไดเปรียบเทียบไทยกับประเทศเพื่อนบานที่มีเหตุการจราจลและประเทศไทยก็ กําลังจะมีขึ้น และเมื่อ 16 กุมภาพันธ 2492 เรื่อง “สถานการณของโลกเกี่ยวกับการจลาจลในประเทศอยางไร” เนื้อหากลาวถึงอันตรายของคอมมิวนิสตที่เขาแทรกซึม(สมุทร สุรักขกะ, 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507, หนา 447).
82
เมื่อการเจรจาระหวางกันไมเปนผลและมีแนวโนมจะเกิดความรุนแรงขึน้ รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามไดขออนุมัติตอ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสาํ เร็จราชการฯเพื่อประกาศภาวะฉุก เฉิน แตผูสําเร็จราชการฯและพระราชวงศทรงไมเห็นดวยกับการประกาศภาวะฉุกเฉินของรัฐบาล เนื่องจาก พวกเขาไมตองการใหจอมพล ป.มีอํานาจเด็ดขาดจากการประกาศภาวะฉุก เฉิน67 อยางไรก็ตาม ในที่สุดรัฐบาลสามารถประกาศภาวะฉุกเฉินไดสําเร็จ และนําไปสูการจับกุม“กลุม ปรีดี”ไดบางสวน68 แตกระนัน้ ปรีดี พนมยงคยังคงเดินหนาแผนการกลับสูอํานาจตอ ไปดวยการ ขอความชวยเหลือจากรัฐบาลก็กหมินตัง๋ เนื่องจากจีนไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. และตองการ สนับสนุนการโคนลมรัฐบาล69 ไมแตเพียง ความไมพอใจของรัฐบาลก็กหมินตั๋งตอการกลับมาเปน นายกรัฐมนตรีของจอมพล ป.เทานัน้ แตยังไดสรางความไมพอใจใหกับชุมชนชาวอเมริกัน ผูเ คย เปนโอเอสเอส.ที่เคยรวมงานกับเสรีไทยในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกดวย โดยเฉพาะอยางยิง่ วิลลิส เบิรด70 ในขณะที่ ในระดับนโยบายนัน้ สหรัฐฯนอกจากจะไมใหการสนับสนุนการโคนลม
67
NA, FO 371/76281, Thompson to Foreign Office, 21 February 1949.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01082A000100020021-5, 16-23 February 1949, “National emergency declaration believed cover for domestic unrest ”. 68 NA, FO 371/76281, Thompson to Foreign Office, 25 February 1949.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457r002600450006-2, 25 April 1949, “ Additional Information Concerning the 26 February 1949”. พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเขาจับกุม “กลุมปรีดี” เชน พ.อ.ทวน วิชัยขัท คะและนายทหารระดับกลางอีก 2-3 คน เนื่องจากเคลื่อนไหวเตรียมการรัฐประหาร 69 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01090A000500010009-7, 7-13 September 1948, “The Chinese National Government regards Siam with increasing disfavor”. สําหรับเงินทุนในการดํานินการนั้นในเอกสารดังกลาวรายงานวา ปรีดี พนมยงคไดยืมเงินจากเค. ซี. เยห (K. C. Yeh) ผูชวยรัฐมนตรีฝายการเมืองของกิจการระหวางประเทศของรัฐบาลก็กหมินตั๋ง จํานวน 50,000เหรียญ สหรัฐฯ และจากสงวน ตุลารักษ ที่ฝากไวที่ National City Bank of New York จํานวน 40,000 เหรียญสหรัฐฯ เพื่อซื้อเรือจากฮองกง กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯวิเคราะหวา สาเหตุที่ รัฐบาลจีนใหการสนับสนุน เนื่องจากตองการมีอิทธิพลเหนือไทย โดยปรีดีมีแผนการที่จะกลับกรุงเทพฯดวยการกอการรัฐประหาร(NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 box 7251, Reed to Butterworth, “Political Intervention of Pridi Banomyong,” 30 September 1948) 70 NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin, ”Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950 .; Anusorn Chinvanno, Thailand’s Policies toward Chaina, 1949-1954, (Oxford: St. Antony’s College, 1992), p. 51.
83
รัฐบาลจอมพล ป.แลว แตสหรัฐฯกลับมีความตองการสนับสนุนใหรัฐบาลจอมพล ป. มีความ เขมแข็ง71 เมื่อ ปรีดี พนมยงคและกลุม ของเขาเดินทางจากจีนมาไทยเพื่อปฏิบตั ิการทวงอํานาจคืน ในเหตุการณที่เรียกกันตอมาวา “กบฎวังหลวง” ดวยการโดยสารเรือปราบเรือดําน้าํ (Submarine Chaser)ชื่อ เอส.เอส. บลูบริ ด(S.S. Bluebird) ซึ่งมีกับตันเรือ ชื่อ จอรช นิลลิส(George Nellis) และนายเรือทัง้ หมดเปนชาวอเมริกัน เรือดังกลาวไดแลนออกจากฮองกง มารับปรีดีและคณะ จํานวน 8-9 คนทีก่ วางตุง ประเทศจีน พรอมลําเลียงอาวุธหลายชนิด เชน ปนบารซูกา ปนสะเต็น ปนการบิน ลูกระเบิดมือ และกระสุนจํานวน 40 หีบที่ไดรบั การสนับสนุนจากโอเอสเอสในจีน จากนั้น เรือก็มุงตรงมายังสัตหีบ72 สําหรับการเตรียมแผนเคลื่อนไหวในประเทศนัน้ ปรีดี พนมยงคติดตอกับกลุมผานวิจิตร ลุลิตานนทอยางตอเนื่อง และมีการประชุมวางแผนกันภายในกลุม เขาไดใหทวี ตะเวทิกุล ทาบทามขอความสนับสนุนจากพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตแตไดรับการ ปฏิเสธ ทัง้ นี้ แผนการใชกําลังในการกลับคืนสูอํานาจของปรีดีนี้ ทวีไมเห็นดวยและพยายามโนม นาวใหปรีดีลมเลิกแผนดังกลาวเพื่อใหเขาสามารถกลับมาไทยตอไปได แตเขาคงยืนยันดําเนิน แผนการชิงอํานาจคืนตอไป73 แมเปนที่รับรูกันวากําลังหลักของการพยายามรัฐประหารดังกลาว คือ ทหารเรือจากหนวยนาวิกโยธิน ชลบุรี ของพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรัญและเหลาเสรี ประกอบดวย
71
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-01090A000500010009-7, 7-13 September 1948, “The Chinese National Government regards Siam with increasing disfavor”. 72 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R002700370010-5, 4 May 1949, “Participation of Former United States Navy Ship in the Attempted 26 February Coup”; อนุสรณ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, หนา 173174.;ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ) (กรุงเทพฯ: โพสต พับ ลิชชิ่ง, 2542),หนา 162-163.; พล.ต.ต.อํารุง สกุลรัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี,หนา 53).จากเอกสารซีไอเอ ให ขอมูลวา ภายหลังความพายแพ กัปตันนิลลิสไดหลบซอนที่บานของประสิทธิ์ ลุลิตานนท จากนั้น เขาไดรับการ ชวยเหลือเดินทางกลับไปสูฮองกงและกลับสูสหรัฐฯ สวนเรือเอส.เอส.บลูเบิรดนั้นไดเขาสูนานไทยเมื่อ 7 กุมภาพันธ 2492 เพื่อสงปรีดี พนมยงคและลําเลียงอาวุธขึ้นฝงเมื่อ 24 กุมภาพันธ จากนั้นออกจากฝงไทยเมื่อ 2 มีนาคม มุงหนาสูไซงอน อินโดจีน ภายหลัง เรือดังกลาวถูกขายใหกองเรือลาดตระเวนของฝรั่งเศสตอไป 73 ประสิทธิ์ ลุลิตานนท, จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ), หนา 150,161162.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516, หนา 180.
84
ทหารบก ตํารวจ และนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง74 แตจากหลักฐานใน การสนทนาระหวางปรีดีและพล.ร.ต.สังวร สุวรรณชีพไดใหขอมูลที่สอดคลองกับหลักฐานของซีไอ เอวา การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ ไดรับความชวยเหลือจากก็กหมินตัง๋ และอดีตโอเอสเอส75 อยางไรก็ตาม รัฐบาลจอมพล ป.สามารถปราบปรามการตอตานครั้งนีล้ งได 76 ไมกวี่ ันจากนั้น คณะรัฐประหารตัดสินใจปราบปรามแกนนําของ“กลุมปรีดี” ดวยการสังหารอดีตรัฐมนตรี 4 คนที่ บริเวณบางเขนอยางเหี้ยมโหด รวมทั้ง การสังหารทวี ตะเวทิกุลและพ.ต.อ.บรรจงศักดิ์ ชีพเปนสุข 77
แมสหรัฐฯจะมีนโยบายสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ตาม แตความชวย เหลือของอดีตโอเอสเอสที่ใหแกปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาในการตอตานรัฐบาล ทําให จอมพล ป.เกิดความไมไววางใจสหรัฐฯเปนอยางมาก ประกอบกับชวงเวลาดังกลาว สหรัฐฯไดสง ทูตทหารเดินทางเขามาประจําการในไทยจํานวนมากขึน้ ยิง่ สรางความกังวลใหกบั จอมพล ป. มากยิง่ ขึ้นวา สหรัฐฯสนับสนุนปรีดีและหันหลังใหกับรัฐบาลของเขา78
74
สุเพ็ญ ศิริคูณ, “กบฏวังหลวง (26 กุมภาพันธ 2492),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2518), หนา 54-55. 75 โปรดดู การบอกเลาของความชวยเหลือของปรีดี พนมยงคถึง ความชวยเหลือจากก็กหมินตั๋งและ อดีตโอเอสเอสใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516 , หนา 175, 181. 76 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R002600450003-5, 25 April 1949, “Political Activities Resultant on the 26 February Coup”. การประชุมกลุมเล็กระหวางภายใน คณะ รัฐประหารมี พล ร.ต.หลวงพลสินธวาณัติก พล.ท.ผิน และน.อ. ม.จ.แรงอาภากร โดยม.จ.แรงอาภากร เห็นวา การเมืองไทยจะไมสงบจนกวาปรีดีและแกนนําจะถูกกําจัด 77 ชาญวิทย เกษตรศิริ และ ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต บรรณาธิการ, ปรีดี พนมยงค และ 4 รัฐมนตรี อีสาน + 1,(กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร, 2544).ซีไอเอรายงานวา ผูลงมือสังหาร 4 รัฐมนตรี คือ พ.ต.ลั่นทม จิตรวิมล โดยมี พ.ต.อ.หลวงพิชิตธุรการเปน ผูสั่งการให พ.ต.ลั่นทม ลงมือสังหาร(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP8200457R002600450004-4, 25 April 1949, “Added Information Concerning the Murder of the ExMinister”). 78 NA, CO 54462/3, Thompson to Foreign Office, 29 November 1949.; NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin,” Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950.
85
3.7 “กลุมรอยัลลิสต” กับการสถาปนารัฐธรรมนูญที่ปฏิเสธกองทัพ ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในชวงเวลาดัง กลาวไดสรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. พิบูลสงครามเปนอยางมาก สแตนตัน ทูตสหรัฐฯได รายงานวา จอมพล ป.ไดเคยถกเถียงกับกรมพระยาชัยนาทฯ ผูสําเร็จราชการฯ เกีย่ วกับเนื้อหา สาระในรางรัฐธรรมนูญฉบับที“่ กลุมรอยัลลิสต”ดําเนินการรางและเรียกรองใหพระองคในฐานะ ผูสําเร็จราชการฯมีความระมัดระวังในการไดรับคําปรึกษาและการใหขอแนะนําตอองคมนตรี ตลอดจนการมีบทบาทในทางการเมืองของสถาบันกษัตริย ในขณะนี้ เขาเริ่มเห็นความแผน ทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”ในการรางรัฐธรรมนูญ เขาจึงมีความตองการใหมีการตั้ง คณะกรรมการรางรัฐธรรมนูญใหมอีกครั้ง หรืออยางนอยขอใหรัฐสภาทําการแกไขรางรัฐธรรมนูญ ฉบับที”่ กลุมรอยัลลิสต”ไดรางขึ้น 79 ในระหวางที่รฐธรรมนูญฉบับใหมทถี่ ูกรางโดย “กลุมรอยัลลิสต” ถูกเสนอเขาสูการ พิจารณาในรัฐสภาที่ดารดาษไปดวย“กลุมรอยัลลิสต”ทั้งในวุฒิสภาและสภาผูแทนราษฎร จอม พล ป. พิบูลสงครามยังคงยืนยันกับทูตสหรัฐฯวา เขานิยมรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 มากกวาเพราะมีความเปนประชาธิปไตยมากกวาฉบับของ“กลุมรอยัลลิสต” เขาเห็นวา สาระใน รางรัฐธรรมนูญฉบับใหมเปนการลดอํานาจของประชาชนแตกลับไปขยายอํานาจของสถาบัน กษัตริย เขาเห็นวาเปนทิศทางการเมืองที่ไมถูกตองและมีขอความที่ซอนเรนบางประการอยู ภายในรัฐธรรมนูญ เขาเห็นวารัฐธรรมนูญฉบับใหมนจี้ ะนําไปสูปญหาทางการเมือง80 ในที่สุด รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวหรือ รัฐธรรมนูญ 2492 ที่เพิม่ อํานาจใหพระมหากษัตริยใ นทางการเมือง แตกีดกันคณะรัฐประหารออกไปจากการเมืองไดถูกประกาศใชสําเร็จ81 แมในระหวางการ พิจารณาจะมีการคัดคานจากนายทหารจํานวนหนึ่งในคณะรัฐประหารและสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจากอีสานที่นาํ โดยเลียง ไชยกาล ฟอง สิทธิธรรม ชื่น ระวิวรรณ และสมาชิกสภาผูแทนฯ จากภาคอีสานอื่นๆก็ตาม82 แตก็ไมอาจตานทานเสียงใหการสนับสนุนรัฐธรรมนูญจาก“กลุมรอยัล 79
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 725, Stanton to Secretary of State, 9 February 1949. 80 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Memorandum of Conversation Phibun and Stanton, 1 March 1949. 81 ราชกิจจานุเบกษา 66, 17 (23 มีนาคม 2492). 82 ในการประชุมรัฐสภาเพื่อพิจารณารับรัฐธรรมนูญ 2492นี้ ชื่น ระวีวรรณ และเลียง ไชยกาล ได อภิปรายวิจารณรัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจพระมหากษัตริยมีอํานาจในทางการเมืองวา “รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไมใชประชาธิปไตยอันแทจริง แตมีลัทธิการปกครองแปลกประหลาดแทรกซอนอยู ลัทธินี้ คือ ลัทธินิยมกษัตริย” และ“ รางรัฐธรรมนูญฉบับนี้เขียนไวโดยปรารถนาจะเหนี่ยวรั้งพระมหากษัตริย เขามาพัวพันกับการเมืองมาก
86
ลิสต”ที่ทว มทนในรัฐสภาได ไมแตเพียงเทานัน้ “กลุมรอยัลลิสต”ยังไดรุกคืบทางการเมืองดวยการ เตรียมจัดตั้งพรรคการเมืองที่มีแนวทางแบบกษัตริยนยิ มเพิ่มเติมขึน้ อีก จากเดิมที่มมี ีเพียงพรรค ประชาธิปตยและพรรคกษัตริยนิยม83 ซีไอเอรายงานวา เมือ่ รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวผานการ พิจารณาของรัฐสภา “กลุมรอยัลลิสต”มีความมัน่ ใจมากขึ้นในการคุมกลไกลทางการเมือง ทําให พวกเขาเริ่มใชอํานาจที่เหนือกวาคณะรัฐประหารดวยการเสนอแนวคิดจัดตั้งรัฐบาลผสมรอยัล ลิสต ระหวางพรรคประชาธิปตยและคณะรัฐประหาร โดยพวกเขามีแผนผลักดันใหเจาพระยาศรี ธรรมาธิเบศ แกนนําสําคัญใน“กลุมรอยัลลิสต” เปนนายกรัฐมนตรีแทนจอมพล ป. และลด ตําแหนงจอมพล ป.ลงเปนเพียงเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม สวนตําแหนงรัฐมนตรีอื่นๆ จะตกเปนของพรรคประชาธิปตยทั้งหมด 84 ความสําเร็จในการสถาปนาระบอบการเมืองภายใต รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวทีเ่ พิ่มอํานาจทางการเมืองใหสถาบันกษัตริยส รางความพอใหกับพระ ราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต”เปนอันมาก 85 ดังนัน้ นับแตหลังการรัฐประหาร 2490 “กลุมรอยัลลิสต”มีความไดเปรียบทางการเมือง เหนือคณะรัฐประหาร เนื่องจาก พวกเขาสามารถเขาคุมกลไกลทางการเมืองและการออกแบบ ระบอบการเมืองผานรัฐธรรมนูญ 2492 ทําใหพวกเขาไดเปรียบในการแขงขันและมีอํานาจทีย่ ั่งยืน การรุกคืบของ“กลุมรอยัลลิสต”ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหาร และนายกรัฐมนตรีแสวงหาความรวมมือกับ“กลุมปรีดี”เพื่อตอตานการขยายอํานาจของ“กลุม รอยัลลิสต” แตไมประสบความสําเร็จ อีกทัง้ “กลุมปรีดี” ไดกอการรัฐประหารที่ลมเหลวเพื่อ ตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไมแตเพียงทําใหกลุมของเขาบอบช้ําจากการตอสูและ เสียแกนนําที่สาํ คัญไปหลายคนเทานัน้ แตยังทําลายโอกาสในการพยายามสรางความรวมมือ ระหวาง รัฐบาลจอมพล ป.กับ“กลุมปรีดี”เพื่อยุติแผนการขยายอํานาจของ “กลุมรอยัลิสต” ประสบความลมเหลว แตกลับเปดทางใหกับ“กลุมรอยัลลิสต” เดินแผนการทางการเมืองของ ตนเองตอไปได เกินไป โดยการถวายอํานาจมากกวาเดิม … ยังงี้ไมใชรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มันเปนรัฐธรรมนูญพระมหา กษัตริยอยางชัดๆทีเดียว” (ธงชัย วินิจจะกูล, ขามใหพนประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม,( กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณสถาน 14 ตุลา, 2548), หนา 21. 83 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Stanton to Secretary of State, 11 February 1949. 84 NARA, CIA Records search Tool (CREST) ,CIA-RDP82-00457R002500140001-2, 15 March 1949, “Faction involved in political maneuvering in connection with the draft constitution and the amnesty bill”. อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวประกาศใชสําเร็จเมื่อ 23 มีนาคม 2492 85 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร, เจ็ดรอบอายุกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร, (พระนคร: พระจันทร, 2512 ), หนา 118. พระองคทรงเรียกขานการเมืองหลังการรัฐประหาร 2490 วา “วันใหมของชาติ”
บทที่ 4 สูภาวะกึ่งอาณานิคม: การมาถึงของสหรัฐฯและการปราบปรามปรปกษ ทางการเมืองของไทย 2493-2495 4.1 สัญญาณจากวอชิงตัน ดี.ซี.ถึงไทย จากการที่สหรัฐฯ มีความตองการสนับสนุนการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ไปทั่วโลก ประธานาธิบดีทรูแมนไดเริ่มตนแผนกระตุนการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกผานโครงการ ขอที่สี่ สหรัฐฯมีความตองการสนับสนุนใหโลกกาวเขาสูยุคแหงการพัฒนาโดยใหมีโครงการ โยกยายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นายทุน เกษตรกรและชาวนาสหรัฐฯไปยังภูมิภาคตางๆเพื่อ ขยาย การลงทุนของสหรัฐฯออกไปทั่วโลก โดยผานการใหความชวยเหลือแกประเทศกําลัง พัฒนาใหสามารถใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในประเทศนัน้ และขยายอิทธิพลของ การใชสกุลเงินดอลลารออกไปยังสวนตางๆทั่วโลก โครงการของประธานาธิบดีทรูแมนเปนการ ผสมผสานกิจกรรมระหวางประเทศเพื่อใหเกิดการขยายตัวการคาและลดอุปสรรคการลงทุนของ ภาคเอกชนสหรัฐที่จะเคลื่อนยายการลงทุนไปยังในสวนตางๆของโลกใหไดรับสะดวกมากยิ่งขึน้ 1 สําหรับนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอไทยภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นั้น สหรัฐฯ ตองการใหไทยยอมรับระเบียบการเงินระหวางประเทศที่มีสกุลดอลลารเปนหลักเพือ่ ลดอิทธิพล ของอังกฤษและสกุลเงินปอนดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตลง และพยายามผลักดันใหไทย กลายเปนแหลงทรัพยากรและเปนตลาดรองรับสินคาจากประเทศอุตสาหกรรม เมื่อไทยตอง เผชิญหนากับปญหาการรักษาคาเงินบาทภายหลังสงครามโลก หลังการรัฐประหาร 2490 รัฐบาล ควง อภัยวงศไดขอคําปรึกษาการแกปญหาคาเงินจากสถานทูตสหรัฐฯ และดวยเหตุที่ สหรัฐฯมี นโยบายสงเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลกแบบทุนนิยมที่มีสหรัฐฯเปนผูน ํา สถานทูต สหรัฐฯจึงสนับสนุนใหไทยเปลี่ยนการผูกคาเงินบาทจากเงินปอนดไปสูสกุลดอลลารไดสําเร็จในป
1
Gilbert Rist, The History of Development: From Western Origins to Global Faith,(London: Zed Books, 1999), pp. 71-77.; Samuel P. Hayes, Jr., “The United States Point Four Program,” The Milbank Memorial Fund Quarterly 28, 3 (July 1950): 27-35, 263-272.
88
2492 2 จากการเปลี่ยนแปลงนี้ ซีไอเอรายงานวา สหรัฐฯสามารถเขามามีอทิ ธิพลตอไทยแทนที่ อังกฤษไดสําเร็จ3 ตั้งแตชวงตนทศวรรษ 2490 สหรัฐฯไดเริ่มเขามาครอบงําระบบการเงิน การคาของไทย และทําใหไทยกลายเปนแหลงทรัพยากรและเปนตลาดรองสินคาของสหรัฐฯและญี่ปนุ และ ตอจากนัน้ สหรัฐฯก็เริ่มเขามาครอบงําทางการทหารของไทยดวยความชวยเหลือทางการทหาร และขอตกลงทางการทหารเพื่อทําใหไทยกลายเปนปอมปราการทางการ ทหารของสหรัฐฯในการ ตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีผลทําใหไทยมีความเปนอิสระในการ ตัดสินใจลดนอยลงเรื่อยๆ แมสหรัฐฯจะมิไดใชรูปแบบการเขายึดครองดิน แดนเพื่อบงการการ ปกครองอยางเบ็ดเสร็จเฉกเชนที่จกั รวรรดินิยมกระทําในอดีต แตดวยนโยบายและบทบาทของ สหรัฐฯทีม่ ีตอไทยในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2491-2500 ซึ่งมีสว นสําคัญใน ฐานะปจจัยชีข้ าดชัยชนะของกลุมการเมืองของไทยที่จะตองดําเนินการตามความตองการของ สหรัฐฯเทานั้นถึงจะสามารถมีอํานาจทางการเมืองตอไปได อันสะทอนใหเห็นวา ในชวงเวลา ดังกลาวไทยไดเคลื่อนเขาสูภ าวะที่ดูประหนึง่ กึง่ อาณานิคมภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯทีเ่ ห็น ไดชัดเจนยิ่งขึน้ ในการเมืองไทยในสมัยถัดมา บริบทการเมืองระหวางประเทศในชวงเวลาตนทศวรรษที่ 2490 สถานการณในจีนเริม่ เขา สูภาวะคับขัน เนื่องจากกองทัพของก็กหมินตั๋งที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนนัน้ ไดเริ่มสูญเสียพืน้ ที่ใน การครอบครองใหกับกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจีนมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหสหรัฐฯเริ่มมีความวิตก ในชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตจีนและชัยชนะนี้ยอมหมายถึงการขยายตัวของลัทธิทางการเมือง ที่เปนภัยตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมตามที่สหรัฐฯตองการ ดวยเหตุนี้ สหรัฐฯดําเนินการยับยัง้ การขยายตัวของสิง่ เปนอุปสรรคตตอความตองการของสหรัฐฯ ในเดือน กุมภาพันธ 2492 ดีน จี. อัชเชอรสัน(Dean G. Acheson)รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตาง ประเทศไดสั่งการถึงสถานทูตสหรัฐฯในไทยวา สถานการณในเอเชียมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว เขาตองการจัดใหมีการประชุมคณะทูตสหรัฐฯประจําภูมิภาคเอเชียทีก่ รุงเทพฯหรือการ ประชุมทีน่ ําโดยฟลลิปส ซี. เจสสัป(Phillip C. Jessup)นีไ้ ดเกิดขึ้นในกลางเดือนกุมภาพันธป ถัดไป การประชุมดังกลาวเปนไปเพื่อระดมความคิดเห็นในการตอสูกบั คอมมิวนิสต และตอตาน
2
Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 72, 328-329, 391. 3 NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP67-00059A000500080009-9, 17 May 1948 , “Review of the World Situation”.
89
ปฏิรูปที่ดินทุกรูปแบบในภูมิภาค อัชเชอรสันตองการใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยคุกคามอยาง แทจริงตอภูมิภาคเอเชีย4 เมื่อสหรัฐฯมีนโยบายตองการสงเสริมการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม สหรัฐฯจึงตองทําใหคอมมิวนิสตกลายเปนภัยที่คุกคามสันติภาพและภูมิภาคตางๆของโลกและ ดวยโครงการขอที่สี่ทําใหสหรัฐฯเริ่มตนใหความสนใจที่จะปรับปรุงเศรษฐกิจของไทย ในเดือน มิถุนายน 2492 ทูตพาณิชยของสหรัฐฯในกรุงเทพฯไดกลาวถึงแนวทางการดําเนินการตาม แนวทางโครงการขอที่สี่ในไทยวา สหรัฐฯตองการใหไทยมีความมัน่ คงทางการเมืองและเศรษฐกิจ ตลอดจนมีการสงเสริมการซือ้ ขายวัตถุดิบในการผลิตสินคาระหวางไทยกับสหรัฐฯ ดวยการ ชวยเหลือแกไทยนี้เปนสวนหนึง่ ของนโยบายเศรษฐกิจระดับโลกของสหรัฐฯเพื่อสงเสริมการ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโลก5 ในชวงตนๆทศวรรษ 2490 สหรัฐฯยังคงเห็นวาไทยเปนเพียง แหลงทรัพยากร และตลาดรองรับสินคาทีส่ ําคัญสําหรับสหรัฐฯเทานั้น แตสําหรับทางดานความ มั่นคงนั้น สหรัฐฯยังคงมองวาไทยยังไมมนี โยบายตางประเทศที่อยูเคียงขางกับสหรัฐฯอยาง ชัดเจน 6 จากโครงการขอที่สี่ ทําใหสหรัฐฯไดมีนโยบายตอไทยจํานวน 4 ประการ คือ ทําใหไทยมี การพัฒนาเศรษฐกิจ ทําใหไทยเปนมิตรทีซ่ ื่อสัตย ทําใหไทยรวมมือในตอตานคอมมิวนิสต และ ทําใหไทยเปนขอตอทางการคาที่สําคัญระหวางสหรัฐฯกับญี่ปุน7 สหรัฐฯไดใหสนับสนุนการเพิ่ม ผลผลิตการเกษตรดวยเทคโนโลยีชลประทาน ปรับปรุงระบบการขนสง ผลักดันใหไทยมีนโยบาย สงเสริมการลงทุนในแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ขจัดการผูกขาดทางการคาที่เปนอุปสรรคตอ ผูประกอบการเอกชนของสหรัฐฯ และทําใหไทยรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ สหรัฐฯไดกําหนดเงื่อนไขในความชวยเหลือตอไทยวา ไทยจะไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ อยางตอเนื่อง “ตราบเทาที่รฐั บาลไทย ยังยอมรับและหลีกเลี่ยงที่จะขัดแยงอยางสําคัญตอ
4
NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958 Acherson to American Embassy Bangkok , 4 February 1949 5 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” pp. 159-160. 6 “Basic U.S. Security Resource Assumptions, 1 June 1949,” in Foreign Relations of the United States 1949 Vol.1, (Washington DC.: Government Printing Office,1976), pp.339-340. 7 Neher, “Prelude to Alliance : The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 171.
90
ประเทศมหาอํานาจอยางสหรัฐฯ”8 ตอมาไทยเปนประเทศแรกที่ไดรับความชวยเหลือในโครงการ เงินกูจากธนาคารโลกเพื่อสรางระบบชลประทานและทางรถไฟเพื่อปรับปรุงเศรษฐกิจ9 เมื่อกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจีนมีชัยชนะอยางตอเนือ่ งเหนือกองทัพก็กหมินตั๋ง กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. มีคาํ สั่งถึงสถานทูตและกงสุลสหรัฐฯในเอเชีย ตะวันออกไกลวา สหรัฐฯมีนโยบายเศรษฐกิจที่คาดหวังกับเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยสหรัฐฯมีแผนความชวยเหลือที่มิใชเปนเพียงการชวยเหลือเทานัน้ แตเปนการชวยเหลือที่ เตรียมความพรอมใหกับสหรัฐฯในการดําเนินความสัมพันธกับประเทศตางๆในภูมิภาคนี้ตอไป10 ในที่สุดเมื่อ สาธารณรัฐประชาชนจีนสถาปนาขึน้ เมื่อเดือนตุลาคม 2492 ในปลายเดือนธันวาคม ประธานาธิบดีทรูแมนไดอนุมัติใหสภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯ(National Security Council: NSC)เริ่มตนการศึกษาการวางนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชีย ซึง่ มีผลทําให นโยบายปองกันการขยายตัวของคอมมิวนิสตในเอเชียของสหรัฐฯมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น 11 4.2 การถูกตอตานกับการกาวเขาหาสหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป. การกาวขึ้นมามีอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบลู สงครามดวยการรัฐประหาร รัฐบาล“กลุมปรีดี” และลมรัฐบาลควง อภัยวงศที่ไดรับการสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต”ทําให รัฐบาลจอมพล ป. ตองเผชิญหนากับการถูกทาทายจากกลุมการเมืองหลายกลุม มีผลทําใหตั้งแต ป 2491 รัฐบาลจอมพล ป.มีความจําเปนทีจ่ ะตองแสวงหาอาวุธทีท่ นั สมัยเพื่อเสริมสรางศักยภาพ การทหารเพื่อปราบ ปรามกลุมตอตานดวยหลายวิธีการ เชน การจัดซือ้ อาวุธจากตางประเทศ12
8
“Policy Statement Prepared in the Department of State, 15 October 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6,(Washington D.C.: Government Printing Office,1976), pp. 1533-1534. 9 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “ธนาคารโลกกับพัฒนาการเศรษฐกิจของไทย,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517). 10 Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 166. 11 The Pentagon Papers,(New York: The New York Times,1971), p. 9. 12 เริ่มมีหลักฐานการแสวงหาอาวุธใหกับกองทัพเพื่อปองกันการตอตานรัฐบาลตั้งแตเดือนมิถุนายน 2491 ตอมาตนป 2492 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดสงนายทหารไปติดตอ วิลลิส เบิรดเพื่อใหชวยซื้ออาวุธ มูลคา 1,000,000 เหรียญใหกองทัพไทย(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP8200457R001600460010-7, 28 June 1948, “Colonel Phao Sriyanon possible trip to the United state for
91
และการสงผูแทนรัฐบาลเดินทางไปขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯตั้งแต 2491 แตการขอความ ชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯ ในชวงแรกไมไดรับการตอบสนอง เนื่องจาก สหรัฐฯยังไมเห็น ความจําเปนในการใหความชวยเหลือและรัฐบาลไทยไมมีเหตุผลทีช่ ัดเจนในการขออาวุธ13 จวบกระทั่ง สถานการณในจีนเมื่อกองทัพก็กหมินตั๋งถอยรนจากการรุกรบของกองทัพ พรรคคอมมิวนิสตจีนอยางตอเนื่อง สหรัฐฯไดเปลี่ยนแปลงการสนับสนุนทางการทหารมูลคา 75,000,000 ดอลลารที่เคยใหกับกองทัพก็กหมินตัง๋ ไปสูการใหการความชวยเหลือแกประเทศ ตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อตอตานคอมมิวนิสตแทน ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจึงสบโอกาสที่จะไดรับอาวุธสมัยใหมตามที่คาดหวัง ในปลายเดือนกันยายน 2492 รัฐบาลไดรับรายงานจากสถานทูตไทยในสหรัฐฯวา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางอาวุธ แกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตแตประเทศนัน้ ๆจะตองมีภัยคอมมิวนิสตคุกคามและตองมีการ ลงนามขอตกลงความรวมมือกับสหรัฐฯกอน กรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธ(พระองคเจาวรรรไวท ยากร)เอกอัครราชทูตไทยประจําสหรัฐฯ ไดแจงเรื่องดังกลาวใหรัฐบาลทราบ ไมนานจากนัน้ จอม พล ป. ใหความเห็นชอบที่จะขอความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯเพื่อตอตานคอมมิวนิสต คุกคาม14 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีนโยบายใหการสนับสนุนใหฝรั่งเศสคงมีอํานาจเหนืออาณานิคมใน อินโดจีนตอไปได โดยสหรัฐฯสงสัญญาณในปลายป 2492 ที่ใหการสนับสนุนรัฐบาลจักรพรรดิ เบาไดที่ฝรั่งเศสตั้งขึ้น จากนัน้ สหรัฐฯไดใหการสนับสนุนทางการทหารแกฝรั่งเศสเพือ่ ตอตาน เวียดมินหที่สหรัฐฯเห็นวาเปนพวกคอมมิวนิสตมากยิง่ ขึ้น15 เดือนตุลาคมปเดียวกัน สหรัฐฯไดหยัง่ arms purchases”; CIA-RDP82-00457R002400490002- 4, 4 Mar 1949, “Siamese Requests for Arms through Willis H. Bird”). 13 รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเคยสง พล.ต.หลวงสุรณรงค พ.ต.ม.จ.นิทัศนธร จิรประวัติ และ พล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เดินทางไปขอความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯใน ตนเดือน เมษายน 2491แตไม มีความคืบหนาใด(หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, พจน สาร สิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 21 พฤษภาคม 2492). 14 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1102-344-301-401-9301 ไทยขอความชวยเหลือ ดานวุธยุทธภัณฑจากสหรัฐฯ 2493-2494, พจน สารสิน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 1 สิงหาคม 2492.;หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, เอกอัครราชทูตไทย ประจํา วอชิงตัน ดีซี ถึง กระทรวงการตางประเทศ 30 กันยายน 2492.; เอกอัครราชทูตไทยประจํา วอชิงตัน ดี.ซี. ถึง กระทรวงการตางประเทศ 30 กันยายน 2492. โดยจอมพล ป. พิบูลสงครามตอบรับความคิดนี้เมื่อ 5 ตุลาคม 2492 15 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 35.; The Pentagon Papers, p. 5.
92
ทาทีไทยผานพจน สารสิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศขณะนัน้ วา รัฐบาลไทย จะใหสนับสนุนรัฐบาลเบาไดตามสหรัฐฯหรือไม16 อยางไรก็ตาม เมื่อสหรัฐฯยังไมอนุมัติความ ชวยเหลือทางอาวุธที่รัฐบาลไทยรองขอ จอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีจึงยังคง สงวนทาทีไมตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯในเรือ่ งดังกลาว การรับรองรัฐบาลเบาไดของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเกิดขึ้นทามกลางการ ประชุมทูตสหรัฐฯในเอเชียทีม่ ีฟลลิปส ซี. เจสสัปเปนเอกอัครราชทูตผูมีอํานาจเต็มเปนหัวหนา การประชุมในเดือนกุมภาพันธ 2493 และกลายเปนประเด็นการตอรองระหวางสหรัฐฯกับรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม เนื่องจาก เมื่อรัฐบาลโฮจิมนิ หไดรับการรับรองจากจีนและสหภาพโซ เวียต แตสหรัฐฯกลับใหการรับรองรัฐบาลเบาไดที่ฝรั่งเศสใหการสนับสนุนในตนเดือนกุมภาพันธ 2493 ทันที พรอมการใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแกฝรั่งเศสจํานวน 10,000,000 ดอลลารเพื่อปราบปรามขบวนการของโฮจิมินห 17 ในวันรุงขึ้น หลังจากทีส่ หรัฐฯ รัฐบาลเบาไดแลว สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดเขาพบจอมพล ป.และพจน สารสิน เพื่อโนมนาวใหไทย รับรองรัฐบาลเบาไดตามสหรัฐฯ โดยจอมพล ป. ไดประกาศวารัฐบาลไทยจะรับรองเบาได แต พจน สารสินไมเห็นดวย เนือ่ งจาก เขาเห็นวารัฐบาลเบาไดจะพายแพแกโฮจิมินห 18 ในชวงเวลาดังกลาว เมื่อประธานาธิบดีทรูแมนดําเนินนโยบายตามโครงการขอที่สี่และ การเริ่มตนการสกัดกั้นการแพรขยายของคอมมิวนิสตที่ขดั ขวางการขยายตัวของทุนนิยม จากนัน้ เขาไดสงคณะทูตทีน่ ําโดย ฟลลิปส ซี. เจสสัป ที่ปรึกษาดานนโยบายตางประเทศของเขาเปนเอก อัคร ราชทูตผูม ีอํานาจเต็มมาสํารวจสภาพทั่วไปของภูมภิ าคเอเชียและจัดประชุมคณะทูตสหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ ระหวาง 13-15 กุมภาพันธ 249319 เมื่อเจสสัป
16
หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, พจน สารสิน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 15 ตุลาคม 2492. 17 The Pentagon Papers, p. 9-10. 18 “The Ambassador in Thailand (Stanton) to the Secretary of State, 8 February 1950,” Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 724. 19 หจช.กต. 73.1.1 / 77 กลอง 5 การประชุมหัวหนาคณะทูตอเมริกันในตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ (2492-2493) วรรณไวทยากร เอกอัครราชทูต ประจําวอชิงตัน ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2492.;ในตนเดือนมกราคม 2493 พล.ร.ท. รัสเซลล เอส. เบอรกีย ผูบัญชาการกองเรือ พิเศษที่ 7 แหงคาบสมุทรแปซิกฟกไดเดินทางมาไทยเพื่อสํารวจปากน้ําเจาพระยาและไดแจงกับจอมพล ป. พิบูลสงครามวา ปากแมน้ําเจาพระยาตื้นเกินไปสําหรับเรือเดินสมุทร สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางเทคนิก ในการขุดลอกสันดอนปากแมน้ํา จากนั้น เขาไดเดินทางไปพบ ฟลลิปส ซี. เจสสัปที่ฮองกง(ไทยประเทศ, 11 มกราคม 2493.; ประชาธิปไตย, 14 มกราคม 2493). และโปรดดูรายชื่อ คณะทูตจํานวน 14 คน ในเอเชียตะวัน
93
เดินทางมาถึงไทยเมื่อ 11 กุมภาพันธ เขาแจงแกจอมพล ป.พิบูลสงครามวา สหรัฐฯไดใหการ รับรองรัฐบาลเบาไดแลว และสหรัฐฯตองการใหไทยรับรองตามสหรัฐฯ แตจอมพล ป. ไดยื่นขอ แลกเปลี่ยนกับสหรัฐฯวารัฐบาลของเขาตองการความชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯใหกับ กองทัพและตํารวจของไทยเพื่อใชในการปองกันการแทรกซึมของคอมมิวนิสต20 ประเด็นหลักในการประชุมคณะทูตสหรัฐฯที่นาํ โดยฟลลิปส ซี. เจสสัปครั้งสําคัญนี้ คือ ปญหาจีนคอมมิวนิสต และขบวนการชาตินิยมที่ตอตานอาณานิคม พวกเขาเห็นวาขบวนการ ชาตินิยมในอินโดจีนไดรับการสนับสนุนจากคอมมิวนิสต 21และเห็นรวมกันถึงความจําเปน เรงดวนในการใชสงครามจิตวิทยาในภูมิภาค ความชวยเหลือที่สหรัฐฯจะใหกับประเทศในภูมิภาค จะตองตอบสนองตอผลประโยชนทางการเมืองของสหรัฐฯในระยะยาว สวนปญหาเฉพาะหนานัน้ ใหสหรัฐฯใชปฏิบัติการจิตวิทยาเพื่อสรางความชอบธรรมในการตอตานคอมมิวนิสต โดยสหรัฐฯ จะตองรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและสรางแบบแผนการคากับภูมภิ าค ตะวันออกไกลขึ้นใหม 22 นอกจากนี้ ที่ประชุมเห็นพองกันวา สหรัฐฯควรใหความชวยเหลือทาง เศรษฐกิจผานองคการระหวางประเทศเพือ่ เบี่ยงเบนไมใหเห็นวัตถุประสงคทางการเมืองของ สหรัฐฯ 23 สแตนตัน ทูตสหรัฐประจําไทยในฐานะเจาภาพการจัดประชุม บันทึกวา การประชุม คณะทูตครั้งนี้ มีความสําคัญเปนอยางยิง่ ตอการกําหนดนโยบายระยะยาวตอภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตของสหรัฐฯ 24
ออก ออสเตรียเลีย และนิวซีแลนด ไดใน หจช.กต.73.1.1 / 77 กลอง 5 การประชุมหัวหนาคณะทูตอเมริกันใน ตะวันออกไกลที่กรุงเทพฯ(2492-2493). 20 “The Ambassador in Thailand (Stanton) to the Secretary of State, 17 February 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 739.; NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State, 27 February 1950.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 238. 21 Ibid., p. 234-235. 22 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State 13 February 1950.; NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State, 15 February 1950. 23 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Stanton to Secretary of State 15 February 1950. ความเห็นของคณะทูตสวนใหญที่เสนอใหสหรัฐฯอําพรางตนเองอยูเบื้องหลัง องคการระหวางประเทศนั้น มีผลทําใหคณะทูตบางสวนเห็นวาแผนดังกลาวคือการที่สหรัฐฯพยายามเปน “จักรวรรดินิยม” 24 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 235.
94
ทันทีที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามไดเสนอขอแลกเปลี่ยนในการไดรับความชวยเหลือทาง อาวุธจากสหรัฐฯแลกกับการรับรองรัฐบาลเบาได ฟลลิปส ซี. เจสสัป ไดยอมรับขอแลกเปลี่ยน จากไทย จากนั้น รัฐบาลจอมพล ป.ไดจัดมีการประชุมคณะรัฐมนตรีขึ้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ 2493 ซึ่งมีผูบัญชาการ 3 เหลาทัพเขาประชุมรวมดวย ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเห็นพองกับการรับรอง รัฐบาลเบาได เพื่อแสดงใหเห็นวาไทยเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ 25 อยางไรก็ตาม คณะรัฐมนตรียังคงไมประกาศมติดังกลาว ในขณะเดียวกัน มีขาวรั่วไหลออกมาสูสาธารณะวา รัฐบาลจอมพล ป.จะใหการรับรองรัฐบาลเบาได เสียงไทย ซึ่งเปนหนังสือพิมพทมี่ ีจดุ ยืนไป ในทางตอตานสหรัฐฯไดวิจารณวา“กอดเบาได เพื่อเงินกอนใหญ”26 แมตอมา รัฐบาลไดออก แถลงการณปฏิเสธก็ตาม27 แตสุดทายแลว รัฐบาลไดประกาศรับรองรัฐบาลเบาไดอยางเปน ทางการเมื่อ 28 กุมภาพันธ 28 ตอมาอีกไมกวี่ นั ตนเดือนมีนาคม ประธานาธิบดีทรูแมนไดอนุมัติ ความชวยเหลือทางการทหารในรูปอาวุธใหกับกองทัพไทยมูลคา 10,000,000 ดอลลารในทางลับ ทันที 29 อัชเชอรสัน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ ไดบอกเหตุผลแกสแตนตัน ทูต สหรัฐฯประจําไทยวา สาเหตุที่สหรัฐฯใหความชวยเหลือทางอาวุธแกไทยนัน้ เพื่อเปนการจูงใจไทย ใหมีความมัน่ ใจที่จะตอบสนองตอนโยบายสหรัฐฯตอไป30 ทั้งนี้ ความชวยเหลือทางอาวุธแกไทยนี้ สหรัฐฯตองการใหเปนความลับ31 แตปรากฎวา หนังสือพิมพไทยหลายฉบับไดนําขาวดังกลาวไป ตีพิมพ ตอมารัฐบาลขอรองใหหนังสือพิมพอยาลงขาวดังกลาว32 25
แนวหนา, 15 กุมภาพันธ 2493. ผูบัญชาการ 3 เหลาทัพที่เขารวม คือ จอมพลผิน ชุณหะวัณ พล.ร.อ.สินธุ กมลนาวิน และพล.อ.ท.ขุนรณนภากาศ 26 เสียงไทย, 23 กุมภาพันธ 2493. 27 ธรรมาธิปตย, 24 กุมภาพันธ 2493. 28 Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 238.; J. Alexander Caldwell, American Economic Aid to Thailand,(London: Lexington Books, 1974),p.4.กนต ธีร ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทยระหวางปพุทธศักราช 2483-2495, หนา 410. ตอมา พจน สารสินไดขอ ลาออกในวันที่ 1 มีนาคม 2493 29 NARA, RG 84 box 6 Top Secret General Records 1947-1958, Webb to American Embassy Bangkok, 7 March 1950. 30 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Acheson to Bangkok, 12 April 1950. 31 หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่องอเมริกาใหอาวุธแกไทย, นายวรการ บัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี วันที่ 11 เมษายน 2493. 32 หจช.(2)สร. 0201.96 / 3 กลอง 1 การแพรขาวเกี่ยวกับอเมริกันชวยเหลือแกไทย(21 เมษายน – 9 พฤษภาคม 2493) เชน เกียรติศักดิ์ ฉบับ 22 เมษายน 2493 พาดขาววา “กองทัพไทยจะฟนดวยอาวุธ 10 ลาน
95
หลังการจัดประชุมคณะทูตของฟลลิปส ซี. เจสสัป เพื่อกําหนดนโยบายทางการเมืองและ เศรษฐกิจของสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต สหรัฐฯไดสงคณะ กรรมการพิเศษทางเศรษฐกิจที่มนี ายอาร. อัลแลน กริฟฟน(R. Allen Griffin) นักธุรกิจดานสื่อ มวลชนทัง้ หนังสือพิมพและวิทยุในแคลิฟอรเนียผูมงั่ คั่งเปนหัวหนาเดินทางมาสํารวจสภาพ เศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเขามาสํารวจไทยในชวง 4-12 เมษายน 249333 เขาได เสนอใหสหรัฐฯใหความชวยเหลือแกไทยโดยมีเปาหมายทางการทหารและการเมือง ดวยการทํา ใหไทยกลายเปนพืน้ ทีท่ างยุทธศาสตรในการตอตานการขยายอิทธิพลของจีนที่จะแผลงมาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต และสหรัฐฯจะตองทําใหไทยคงการตอตานคอมมิวนิสตเอาไวเพื่อทําให ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯแนบแนนยิง่ ขึ้น 34 นิวยอรค ไทมส(New York Times) หนังสือพิมพ ชั้นนําในสหรัฐฯไดราย งานวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯใหการยกยอง ขอเสนอของกริฟฟนเปนอยางมาก 35 4.3 สหรัฐฯกับความชวยเหลือทางการทหารแกไทย เมื่อสงครามเกาหลีปะทุขนึ้ ในเดือนมิถุนายน 2493 ประธานาธิบดีทรูแมนไดวางแผน ปฏิบัติการลับดวยการจัดตั้งกองกําลังกึ่งทหารเพื่อสกัดกัน้ การแผของคอมมิวนิสตในภูมิภาค เอเชีย36 โดยใหเจาหนาที่การทหารและซีไอเอเดินทางมากรุงเทพฯเพื่อพบวิลลิส เบิรด อดีตโอเอส เอสเพื่อประสานงานการสืบความเคลื่อนไหวของกองทัพโฮจิมนิ ตในอินโดจีนรวมกับกองทัพ ฝรั่งเศส การพบกันครั้งนี้ เบิรดไดแจงกับตัวแทนซีไอเอวา รัฐบาลไทยพรอมจะรวมมือกับสหรัฐฯ แตขาดประสบการณและอุปกรณ แตผูแทนจากสหรัฐฯชุดนี้ยงั ไมตอบรับขอเสนอดังกลาว ตอมา เบิรดไดจัดการใหผูแทนซีไอเอพบกับตัวแทนจากตํารวจและทหารไทยเปนการสวนตัว เมื่อผูแทนซี ไอเอเดินทางกลับไปเจรจาการใหความชวยเหลือจากซีไอเอ ขณะนัน้ ไทยและสหรัฐฯยังไมมี ดอลลาร” เสียงไทย ฉบับ 26 เมษา มีบทความเรื่อง “การชวยเหลือของโจร” และหลักไชย ฉบับ 23 เมษายน พาดหัวขาววา “ไทยจะเปนฐานทัพชวยเบาได ” เปนตน 33 “The Ambassador in Thailand(Stanton)to the Secretary of State, 12 April 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.79.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, pp. 249-250. 34 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Lacy to Rusk, “Thailand Military Aid Program,” 25 July 1950. 35 New York Times, 15 September 1950. 36 Harry Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action,(London: Westview Press, 1988), p. 174.
96
ขอตกลงทางการทหาร ซีไอเอจึงไดหลบเลีย่ งปญหาดังกลาว ดวยการใหความชวยเหลือทาง การทหารแกไทยในทางออมผานการจัดตั้งบริษัทเอกชน ชื่อ เซาทอีส เอเชีย สัพพลาย(South East Asia Supplies)หรือซีสัพพลายที่เมืองไมอามี่ ฟลอริดา ดวยเงินจํานวน 35,000,000 ดอลลาร เพื่อใหการสนับสนุนทางการทหารแกไทยในทางลับ 37 ตอมาในปลายป 2493 กรม ตํารวจไทยไดเสนอใหกระทรวงการตางประเทศแตงตั้ง พอล ไลโอเนล เอ็ดวารด เฮลลิแวล (Paul Lionel Edward Helliwell)∗เปนกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทย ณ เมืองไมอามี่ เพื่อเปนผูป ระสานงาน ระหวางซีไอเอและกรมตํารวจ38 จากนั้น ตนป 2494 เบิรดไดตั้งบริษัทชื่อเดียวกันขึ้นในไทยโดย จดทะเบียนเปนบริษัทการคาทีน่ ําเขาและสงออกสินคาเพื่อปกปดภารกิจลับ ในทางเปดเผยแลวซี สัพพลายทํา งานตามสัญญาใหกับรัฐบาลไทย แตภาระกิจที่แทจริง คือ ทําหนาที่รับขนสงอาวุธ ของสหรัฐฯรายใหญที่สุดในไทยดวยเครื่องบินขนาด 4 เครื่องยนตใหแกกองทัพก็กหมินตั๋งในจีน ตอนใตและใหการสนับสนุนตํารวจไทยในทางลับ ดวยการจัดตั้ง การฝกและสนับสนุนอาวุธใหกับ ตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดน 39 ทั้งนี้ ซีสพั พลายมีภารกิจคูขนานในไทยมี 2 ประการ ประการแรก คือ การใหความ ชวยเหลือกองพล 93 ของก็กหมินตั๋งภายใตการนําของนายพลหลีมี่ ที่เริ่มตนในป 2494 ใหทํา 37
Thomas Lobe and David Morell, “Thailand’s Border Patrol Police : Paramilitary Political Power ” in Supplemental Military Forces: Reserve , Militarias, Auxiliaries Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (Berverly Hills and London: SAGE,1978), p.156. ∗ พอล ไลโอเนล เอ็ดวารด เฮลลิเวล อดีตโอเอสเอสในจีน เปนคนกวางขวางและมีอิทธิพลในการ กําหนดนโยบายของสหรัฐฯ เขามีล็อบบี้ยิสตที่ใกลชิดกับรองประธานาธิบดีจอนหสัน( Lyndon Baines Johnson) เชน ทอมมี คอโคลัน(Tommy Corcoran) และเจมส โรว(James Rowe)ที่ปรึกษาของรอง ประธานาธิบดีจอนหสัน(Scott, The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, p. 211) เขามีเครือขายเชื่อมโยงระหวางซีไอเอและซีสัพพลายกับองคกรอาชญากรรมในการคาฝน สํานักงาน ใหญของซีสัพพลายที่ไมอามี่ โดยมีเขาเปนหัวหนา และเขาเคยเปนกงสุลไทยประจําไมอามี ตั้งแต 2494 เขามี บทบาทสําคัญในการประสานงานระหวางสหรัฐฯและไทย ทั้งนี้ ระหวางที่เขาเปนกงสุลใหไทยชวง 2498-2499 เขาไดเปนเลขานุการบริษัท American Banker’s Insurance Company ในรัฐฟลอริดาทําหนาที่สงผานเงิน จํานวน 30,000ดอลลารในการจัดหาบริษัทล็อบบี้ยิสตในวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อคาฝน (Ibid., p. 211). 38 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1102-344-202-522-9401 กรมอเมริกาและแปซิกฟกใต กองอเมริกาเหนือ การแตงตั้ง กงลุสใหญกิตติมศักดิ์ ณ เมือง ไมอามี สหรัฐอเมริกา 2494-2522, นายวรการ บัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 16 ธันวาคม 2493. 39 Scott , The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War, p. 194.; Nicholas Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, (Singapore: Singapore University Press, 2005), p.159 .
97
หนาทีโ่ จมตีและกอกวนกองทัพของพรรคคอมมิวนิสตจนี ในแถบตอนใตของจีน โดยซีสัพพลาย รวมมือกับตํารวจไทยไดสงกําลังอาวุธและกําลังบํารุงใหกองพล 93 ผานบริษัทแคท แอร(Civil Air Transport :CAT หรือ Air America)ที่รับจางทํางานใหกบั ซีไอเอ โดยมีตํารวจพลรมและตํารวจ ตระเวนชายแดนที่ซีสพั พลายใหการฝกการรบแบบกองโจรไดเขารวมปฏิบัติภาระกิจรวมกับกอง พล 93 ในการแทรกเขาซึมตามชายแดนของไทยกับเพื่อนบาน เชน หนวยก็กหมิน๋ ตั๋งที่รัฐฉานมี กําลังพล 400 คนทําหนาที่หาขาวในประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว และกัมพูชา ซึง่ ดําเนินการดวย เงินราชการลับของสหรัฐฯจํานวน 300,000บาทตอเดือน40 สําหรับภาระกิจประการที่สองของซีสัพพลาย คือ การสนับสนุนตํารวจไทยนั้น เบิรด อดีตโอเอสเอส เปนผูรับผิดชอบการฝกปฏิบัติการตํารวจพลรม(Parachute Battalion)รุนแรกขึ้นที่ คายเอราวัณ ลพบุรีในเดือนเมษายน 249441 ตอมาซีไอเอไดสง ร.อ.เจมส แลร(James William Lair) และร.อ.เออรเนส ชีคค(Ernest Jefferson Cheek) เขามาเปนครูฝกซึ่งมีฐานะเปน ขาราชการตํารวจ ทําหนาทีฝ่ กตํารวจพลรมตามหลักสูตรการรบแบบกองโจร มีการฝกการใช อาวุธพิเศษ การวางระเบิดทําลาย การกอวินาศกรรม ยุทธวิธีและการกระโดดรม42 ตอมามีการ 40
พ.อ.กาญจนะ ประกาศวุฒิสาร, ทหารจีนคณะชาติ ก็กหมินตั๋ง ตกคางทางภาคเหนือประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: สยามรัตนพริ้นติ้ง, 2546), หนา 39-40.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ พีวาทิน พับลิเคชั่น จํากัด, 2532), หนา 169. 41 พล.ต.ต. นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย,(กรุงเทพฯ: กองบรรณาธิการนิตยสารโลห เงิน , 2530), หนา 10.; Thomas Lobe,United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, (Monograph Series in World Affaires University of Denver,1977), p. 19 ,fn.13, P.129.; พันศักดิ์ วิญญรัตน, “CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,” สังคมศาสตรปริทัศน (กุมภาพันธ 2517): 17-18. เดือนตุลาคม 2493 มีรายงานของฝรั่งเศสวา ฝรั่งเศสไดสงปฏิบัติการลับเขาไปในภาคอีสานของ ไทยเพื่อติดตามกิจกรรมของพวกเวียดมินห(Christopher E. Goscha, Thailand and the Southeast Asian Networks of the Vietnamese Revolution, 1885-1954,[Richmond, Surrey: Curzon,1999], p. 324.; Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p.159.) 42 หจช.(3) สร. 0201.14 / 14 กลอง 1 จางชาวตางประเทศเปนครูฝกหัดตํารวจพลรม(21 ธันวาคม 2496–18 มกราคม 2502) พล ต.อ.เผา ฯรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี วันที่ 15 ธันวาคม 2496.; 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536),(กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536), หนา 68 . เจาหนาที่ที่ซี ไอเอหรือซีสัพพลายสงเขามาปฏิบัติงานในไทย เชน เจมส วิลเลี่ยม แลร(James William Lair) สอนการใชอาวุธ , จอหน แอล. ฮารท(John L. Hart), ปเตอร โจสท(Pete Joost), เออรเนส เจฟเฟอรสัน ชีคค(Ernest Jefferson Cheek), วอลเตอร พี. คูซมุค(Walter P. Kuzmuk) สอนการกระโดดรม, นายแพทยจอหนสัน(Dr. Johnson), พอล(Paul), โรว ร็อกเกอร(Rheu Rocker) สอนกระโดดรม, กรีน(Gene), ริชารด ฟาน วินสกี(Richard Van Winkee) และ ชารล สทีน(Charle Steen) บุคลากรเหลานี้ เคยทํางานกับกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯมากอน พวกเขามีประสบการณมากในปฏิบัติการกึ่งทหาร ดานการใชอาวุธ การขาว การบํารุงรักษาวิทยุสื่อสารและ
98
ขยายโครงการฝกตํารวจตระเวนชายแดนอยางเรงดวนในคายฝกที่อาํ เภอจอหอ นครราชสีมา จํานวน 7,000 คนเพื่อปองกันการแทรกซึมของคอมมิวนิสตทางอีสานและทางใตของไทย43 ตั้งแต นั้นมา กรมตํารวจและที่ปรึกษาอเมริกนั ทีเ่ ขามาในฐานะเจาหนาที่ของซีสัพพลาย ไดรวมมือได ขยายคายฝกในอีกหลายแหง เชน อุบลราชธานี อุดรธานี และเชียงใหม 44 นอกจากนี้ ซีสัพพลาย ไดชวยเหลือในการฝกกองกําลังพลเรือนกึง่ ทหารในการรบนอกแบบ การแทรกซึม และการให อาวุธแกตาํ รวจตระเวนชายแดน เชน ปนคารไบน มอรตา บาซูกา ระเบิดมือ อุปกรณการแพทย ตอมาพัฒนาเปน เปนรถเกราะ รถถัง และเฮลิคอปเตอร 45 ทั้งนี้ ความชวยเหลือของซีไอเอที่ใหกบั ตํารวจนัน้ เปนความลับมาก แมแต สแตนตัน ทูตสหรัฐฯก็ไมรูเรื่องความชวยเหลือดังกลาว ตอมา เมื่อเขารูเรื่องราวดัง กลาว แตเขาก็ไมมีอํานาจแทรกแซงกิจกรรมตางๆได ความชวยเหลือในทาง ลับนี้สรางความไมพอใจใหกบั เขามาก46 สําหรับความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯแกกองทัพไทยนัน้ เมือ่ กองทัพเกาหลี เหนือบุกเกาหลีใตในเดือนมิถุนายน 2493 นั้น กระทรวงการตางประเทศและกลาโหม สหรัฐฯได ตกลงกันในตนเดือนกรกฎาคมปเดียวกันที่จะสงคณะกรรมาธิการรวมระหวางกระทรวงการตาง ประเทศ และกลาโหม(United States Military Survey Team)เดินทางมาสํารวจเอเชียตะวันออก เฉียงใต โดยมีจอหน เอฟ. เมลบี(John F. Melby)ผูชวยพิเศษของผูชว ยรัฐมนตรีวา การกระทรวง การตางประเทศ ฝายกิจการตะวันออกไกล และพล.ร.อ.เกรฟ บี. เออรสกิน(Graves B. Erskine) ผูบังคับการกองพลนาวิกโยธินที่ 1 คายเพลเดลตัน แคลิฟอรเนีย เพื่อสํารวจสถานะทางทหารใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่จะถูกคอมมิวนิสตคุกคาม โดยสหรัฐฯมีแผนการใหความชวย เหลือทางการทหารแกกองทัพบกไทยดวยอาวุธสําหรับ 9 กองพล และสําหรับกองทัพเรือและ
พาหนะ การกระโดดรม แตพวกเขาไมมีประสบการณดานงานตํารวจเลย นอกจากนี้ เจาหนาที่ของซีสัพพลาย มาจาก สายลับ และเจาหนาที่ของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ(พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรม ไทย, หนา 209.; Lobe ,United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23). 43 Ibid., p.20. ตอมาไดจัดตั้งตํารวจตระเวนชายแดนขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 5 มีนาคม 2495 เพื่อทําหนาที่ตรวจตราและระวังรักษาชายแดน(หจช.มท. 0201.7/17 กรมตํารวจแจงวาเนื่องจากกรมตํารวจได ตั้งกองตํารวจรักษาดินแดนขึ้นใหมจึงขอใหนําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี พล ต.อ.เผา ศรียานนท รัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงมหาดไทย ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 28 เมษายน 2495). 44 พล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), หนา 39. 45 Thomas Lobe and David Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” in Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (Berverly Hills and London: SAGE,1978), p. 157. 46 Tarling , Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p. 158.
99
กองทัพอากาศเปนอาวุธและการฝกการทหาร47 จากนั้น รัฐบาลจอมพล ป.ไดตอบสนองทาทีของ สหรัฐฯดวยการตัดสินใจเสนอที่จะสงทหารไทย 4,000 คนเขารวมสงครามเกาหลี 48 ทาที่ดังกลาว ของรัฐบาลจอมพล ป.สรางความประทับใจใหประธานาธิบดีทรูแมน เปนอันมาก49 เมื่อคณะกรรมาธิการรวมระหวางกระทรวงการตางประเทศและกลาโหม สหรัฐฯเดิน ทางเขามาสํารวจฐานทัพอากาศดอนเมือง กรมอูทหารเรือ และกรมทหารปนใหญ ฯลฯ ในชวง 21 สิงหาคม – 28 สิงหาคม 2493 คณะกรรมาธิการฯประเมินวากองทัพไทยเหมาะสมที่จะเขารวม สงครามเกาหลี 50 ตอมา สหรัฐฯไดสงคณะที่ปรึกษาใหความชวยเหลือทางการทหารแหงสหรัฐฯ หรือแมค(United States Military Assistance Advisory Group: MAAG)*เดินทางมาถึงไทยใน เดือนตุลาคม เพื่อเตรียมการทําขอตกลงวาดวยความรวมมือทางการทหารระหวางไทยและ สหรัฐฯ ซึง่ ตอมา สหรัฐฯและไทยไดลงนามในขอตกลงดังกลาวเมื่อ 17 ตุลาคมปเดียวกัน51 สาระสําคัญในขอตกลง คือ สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางการทหาร โดยอาวุธยุทธโธปกรณ ทั้งหมดจะโอนกรรมสิทธิ์ไมไดหากไมไดรับความยินยอมจากสหรัฐฯ52 ขอตกลงทางการทหาร ระหวางไทยกับสหรัฐฯฉบับนี้มีความสําคัญมากในฐานะที่เปนจุดเริ่มตนของการที่ไทยไดตกเขาสู ระเบียบโลกของสหรัฐฯ 47
Library of Congress, Declassified CK3100360771, Memorandum For President, 10 July 1950.; กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 1105-344-301-401-9301 ไทยขอความชวยเหลือดานวุธ ยุทธภัณฑจากสหรัฐฯเพื่อรวมรบในสงครามเกาหลี 2493-2494, วรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 26 กรกฎาคม 2493. 48 เดลิเมล, 21 กรกฎาคม 2493. 49 Harry S. Truman, Years of Trial and Hope, 1946-1952 Vol 2., (New York: A Signet Book, 1965), p. 423. 50 หจช.กต. 73.7.1/87 กลอง 6 คณะสํารวจอเมริกันเดินทางมาประเทศไทย(2493), Stanton to Minister of Foreign Affaire, 9 August 1950.; หจช.(3) สร. 0201.13.1/2 ขออาวุธจากอเมริกา หรือเรื่อง อเมริกาใหอาวุธแกไทย, นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี 26 กันยายน 2493. *
ตอมาแมค( MAAG)ไดเปลี่ยนชื่อเปน คณะที่ปรึกษาใหความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐ อเมริกาหรือจัสแมค(Joint United States Military Advisory Group: JUSMAG) ในเดือนกันยายน 2497 51 จันทรา บูรณฤกษ และปยะนาถ บุนนาค, “เรื่อง ผลกระทบทางการเมืองจากความสัมพันธไทยสหรัฐอเมริกา(พ.ศ.2463-2506)” รายงานวิจัยทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521, หนา 152. 52 หจช.สร. 0201.96 / 8 กลอง 2 ขอตกลงเกี่ยวกับการชวยเหลือทงการทหารแกประเทศไทยของ สหรัฐฯ (6 กันยายน 2493-28 กันยายน 2498).
100
ในชวงเวลานัน้ สหรัฐเห็นวา นโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามที่ ไดใหการรับรองรัฐบาลเบาได การไมรับรองจีนแดง และการกระตือรือรนในการสงทหารเขา สงครามเกาหลีนั้น สหรัฐฯถือวา รัฐบาลไดแสดงการผูกพันตนเขากับการตอตานคอมมิวนิสตและ เปนการแสดงความมิตรกับสหรัฐฯอยางชัดเจน ดังนัน้ สหรัฐฯตองการสรางความแนบแนน ระหวางกันเพือ่ ใหรัฐบาลสนับสนุนนโยบายของสหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตในเอเชียตะวันออก ไกลใหดํารงอยูตอไป แตการเมืองไทยที่ผา นมาภายใตรฐั บาลจอมพล ป.กลับไมมีเสถียรภาพทาง การเมือง เนื่องจาก รัฐบาลตองเผชิญหนากับการพยายามรัฐประหารบอยครั้ง เปนเหตุใหรัฐบาล ไมมีความตอเนื่องในการดําเนินนโยบายตามสหรัฐฯ ดังนั้น สหรัฐฯตองการที่จะทําใหรัฐบาลมี เสถียรภาพทางการเมืองและมีเศรษฐกิจทีเ่ ขมแข็ง53 ทัง้ นี้ ไทมส(Time) ซึ่งเปนนิตยสารชั้นนํา วิเคราะหวา รัฐบาลของจอมพล ป. ไดแสดงทาทีอยางชัดเจนในการตอสูกับคอมมิวนิสตเพื่อหวัง ที่จะไดรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ54 ดังที่ไดเห็นมาแลววา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตั้งอยูทา มกลางการทาทายอํานาจ จากกลุม การเมืองตางๆ และเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในจีน สงผลใหสหรัฐฯมีนโยบายขยายการ ตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อปกปองการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ทําใหรัฐบาลจอมพล ป.เห็นหนทางทีจ่ ะไดรับการสนับสนุนอาวุธแบบใหมจาก สหรัฐฯ เพื่อปรับปรุงสมรรถนะทางการทหารอันจะทําใหรัฐบาลสามารถรักษาอํานาจทางการ เมืองไวได แตในชั้นแรกนั้น สหรัฐฯยังคงไมตอบสนองตอคําขอความชวยเหลือทางอาวุธจากไทย และเมื่อสหรัฐฯตองการใหไทยรับรองรัฐบาลเบาได รัฐบาลไดเสนอขอแลกเปลี่ยนใหสหรัฐฯให การสนับสนุนทางการทหารของไทย อีกทัง้ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจสงทหารไปสงครามเกาหลียงิ่ สรางความมัน่ ใจใหกับสหรัฐฯมากยิ่งขึน้ สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา ตราบเทาที่ รัฐบาลจอม พลป. ยังคงสนับสนุนสหรัฐฯ ตราบนัน้ สหรัฐฯยังสามารถใหความชวยเหลือตอไปได 55
53
“Policy Statement Prepared in the Department of State, 15 October 1950,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6,pp.1529-1530. 54 หจช.กต. 80 / 29 กลอง 3 บทความเกี่ยวกับประเทศไทยในหนังสือพิมพ, Times, 17 October 1950. 55 “Stanton to The Secretary of States, 19 March 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp. 1599-1601.; Coast, Some Aspects of Siamese Politics, p. 51.
101
4.4 ความขัดแยงในคณะรัฐประหารทามกลางการรุกของ “กลุมรอยัลลิสต” โครงสรางอํานาจในคณะรัฐประหารชวง 2490-93 ตั้งอยูบ นฐานของอํานาจของ จอมพล ผิน ชุณหะวัณในฐานะเปนผูบ ัญชาการทหารบกและผูนาํ ของคายราชครู และคายของพล ท.กาจ กาจสงครามรองผูบัญชาการทหารบกซึ่งมีนายทหารบกจํานวนหนึ่งที่ใหการสนับสนุนเขา โดยมี จอมพล ป.พิบูลสงครามเปนแกนกลางของความสัมพันธทางอํานาจ ความขัดแยงระหวางจอม พลผินและพล ท.กาจไดเพิ่มขึ้น เนื่องจาก พล ท.กาจมีความตองการดํารงตําแหนงผูบ ัญชาการ ทหารบกแทนจอมพลผิน เขาไดเริ่มขยายอํานาจทางการเมืองดวยการใหการสนับสนุนพรรค ประชาธิปตยและทางเศรษฐกิจเพื่อทาทายคายราชครูทาํ ใหจอมพล ป.ตองเลนบทประสานความ ขัดแยงระหวางจอมพลผินและพล ท.กาจเสมอ56 ตอมา พล ท.กาจไดพยายามโจมตีจอมพลผิน ดวยการเขียนหนังสือชุด“สารคดีใตตุม”เพือ่ กลาวหาวาจอมพลผินฉอราษฎรบังหลวงทําใหจอม พลผินไมพอใจในการเปดโปงจากพล ท.กาจ 57 ปลายเดือนสิงหาคม 2492 จอมพล ป .ตองการให พล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี“กลุมปรีดี” เขารวมคณะรัฐมนตรี โดยหวังวา จะทําใหสหรัฐฯมีความพึงพอใจในการที่จะใหความชวยเหลือทางการทหารและนํานักการเมือง “กลุมปรีดี”กลับมาสูการเมืองเพื่อบัน่ ทอนอํานาจการเมืองของพรรคประชาธิปตย แตขอเสนอ ดังกลาวถูกขัดขวางโดยพล ท.กาจและเขมชาติ บุณยรัตนพันธ เนื่องจาก กลุมของเขาสนับสนุน พรรคประชาธิปตยจึงไมตอง การใหพล ร.ต.ถวัลยกลับมาฟน ฟูพรรคสหชีพและแนวรัฐธรรมนูญ ขึ้นมาเปนคูแขงทางการเมืองกับพรรคประชาธิปตยอีก ซึ่งเหตุเหลานีจ้ ึงไดกลายเปนชนวนความ แตกแยกภายในคณะรัฐประหารหรือในกองทัพบกระหวางจอมพล ป. จอมพลผิน และพล ท.กาจ 58
ไมแตเพียงความแตกแยกในกองทัพบกเทานั้น แตการที่คณะรัฐประหารกลับขึน้ มามี อํานาจอีกครั้งภายหลังการรัฐประหาร 2490 ทําใหกองทัพเรือซึง่ ไดเคยไดรับการสนับสนุนจาก รัฐบาล“กลุมปรีดี”ใหขึ้นมามีอํานาจแทนกองทัพบกตกจากอํานาจลงไปอีก ซึ่งสรางความไมพอใจ ใหกับกองทัพเรือเปนอยางยิง่ และพวกเขามีความตองการที่จะทาทายอํานาจของกองทัพบก นอกจากนี้ ในหวงเวลาดังกลาว รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามตองเผชิญหนากับปญหาความ ขัดแยงภายในกองทัพบกซึ่งเปนฐานกําลังที่ใหการสนับสนุนรัฐบาล มิพักที่จะตองรวมถึงการ 56
“ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 42-45, 60. พล.ท.กาจ กาจสงคราม, สารคดี เรื่อง สถานะการณของผูลืมตัว,(พระนคร: โรงพิมพรัฐภักดี, 2492); “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ, (พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 54.; เสียงไทย, 1 พฤศจิกายน 2492. 58 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R003300290006-5, 22 September 1949, “Communist Strategy and Tactics in Thailand”. 57
102
ตอตานจาก“กลุมรอยัลลิสต”ภายในระบบราชการดวย โดยม.จ.ปรีดีเทพพงศ เทวกุล ปลัด กระทรวงการตางประเทศไดพยายามขับไลนายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ ผูเปนคนสนิทของจอมพล ป.ออกไป ดวยทรงเห็นวา นายวรการบัญชาไมมี ความสามารถในดานการตางประเทศเทาพระองค 59 ทามกลางศึกภายนอกหลายดานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มาจากการทา ทายรัฐบาลของ“กลุมรอยัลลิสต”และ“กลุมปรีดี” 60 ซีไอเอยังคงรายงานวา จอมพล ป. ยังคงเลือก ที่จะรวมมือกับ“กลุมปรีดี”ผูเปนมิตรเกาของเขามากกวา“กลุมรอยัลลิสต” เขาไดประกาศทางวิทยุ ในเดือนธันวาคม 2492 ดวยน้ําเสียงที่ชี้ใหเห็นถึงความเปนไปไดที่จะขอคืนดีกับปรีดี พนมยงค โดยสาเหตุอาจมาจาก เขาตระหนักถึงพลังทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่เขมแข็งขึ้นอยาง รวดเร็วทัง้ ในรัฐบาล รัฐสภาและในสังคม ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ที่ใหอาํ นาจทางการเมือง แกพระมหากษัตริยและสรางความไดเปรียบแก“กลุมรอยัลลิสต”มากกวากลุมการเมืองอื่น61 ในขณะที่ ศึกภายในคณะรัฐประหารนั้นยังคงคุกรุนตอไป โดย พล ท.กาจ กาจสงคราม ประกาศเปนปรปกษกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพลผิน ชุณหะวัณ และพล ต.อ.เผา ศรียา นนทอยางชัดเจน จากนั้น เขาไดรวมมือกับ“กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยเสนอญัตติ อภิปรายเพื่อลมรัฐบาล62 ตอมา สมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแตงตั้งของพระมหากษัตริยได เคลื่อนไหวขัดขวางการบริหารของรัฐบาลดวยการยับยัง้ รางพระราชบัญัติบงบประมาณป 2493 ทําใหสมาชิกคณะรัฐประหารและอดีตคณะราษฎรบางคน เชน พล ต.อ.เผาและพล ท.มังกร พรหมโยธีไปเจรจากับเตียง ศิริขันธ อดีตเสรีไทยและแกนนําสําคัญคนหนึง่ ใน“กลุมปรีดี”เพื่อขอ การสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. เตียงตัดสินใจใหสมาชิกสภาผูแทนฯในกลุมของเขามีมติยนื ยัน
59
NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R002800780003-7, 20 July 1949 , “Opposition to M.C. Pridithepong Devakul ”. 60 NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 box 7251, Hannah to Secretary of State, “View of a Pridi Supporter on Political event in Thailand-Summary of Paper on Thai Political Development written by a Supporter of Pridi Phanomyong,” 30 December 1949. 61 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79-0108A000100020022-4, 12 December 1949 , “Phibul paves way for Pridi reconciliation ”. 62 นครสาร, 1 พฤศจิกายน 2492.; NA, FO 371/76277, Thompson to Foreign Office, 6 December 1949.
103
การประกาศใชงบประมาณเพื่อลมลางมติของสมาชิกวุฒิสภาไดสําเร็จ เนื่องจากเขาไมตองการ ใหพล ท.กาจขึ้นมามีอาํ นาจ63 สําหรับความขัดแยงระหวางกองทัพนัน้ กลางธันวาคม 2492 ซีไอเอรายงานขาววา กองทัพเรือและกองทัพอากาศมีแผนการรัฐประหาร แตแผนการรั่วไหลเสียกอน โดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตไดรายงานเรื่องดังกลาวใหกับจอมพล ป. พิบูลสงครามรับทราบทําใหรัฐบาล ประกาศปลดพล.อ.ท.เทวฤทธิ์พนั ลึกจากตําแหนงผูบัญชาการทหารอากาศ สําหรับสาเหตุของ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ มาจากปญหาการคอรัปชั่นของจอมพลผิน ชุณหะวัณและจอมพล สฤษดิ์ในการจัดซื้ออาวุธใหกองทัพหลายกรณี เชน รถถังเบรนกิน้ ที่อื้อฉาวทําใหนายทหารใน กองทัพบกจํานวนหนึ่งไมพอใจ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้ ซีไอเอเห็นวามีความแตกแยกใน กองทัพบกและระหวางกองทัพดวยเชนกัน64 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามรอดพนจากการพยายามรัฐประหารที่เกิดขึ้นจาก ความรวมมือระหวางกองทัพลงไดก็ตาม แตปญหาทีเ่ ขาตองดําเนินการแกไขอยางรวดเร็ว คือ ปญหาความแตกแยกภายในคณะรัฐประหารซึ่งเปนฐานอํานาจที่ค้ําจุนรัฐบาลของเขานัน้ ทําให จอมพล ป.ตัดสินใจเลือกที่จะสนับสนุนจอมพลผิน ชุณหะวัณมากกวาพล ท.กาจ กาจสงคราม ดังนัน้ เขาสัง่ การใหพล ท.กาจยุติการใหสมั ภาษณ เขียน และตีพิมพ“สารคดีใตตุม”ที่ทําลาย
63
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Memoramdum of Conversation James Thompson and R.H. Bushner, 12 August 1949.; Hannah to Secretary of State, 14 December 1949. 64 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R004000600004-1, 27 December 1949, “Current Political Crisis in Thailand”. ในรายงานฉบับนี้รายงานวา พล.อ.อดุล อดุลเดช จรัสมีความเกี่ยวของกับการพยายามรัฐประหารครั้งนี้ดวย นอกจากนี้ จอมพล ป. พิบูลสงครามไดแจงกับสแตน ตัน ทูตสหรัฐฯวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีความเกี่ยวของกับการคอรรับชันภายในกองทัพบกในการจัดซื้อ รถถังเบรนกิ้น จํานวน 250 คันและเขามีธุรกิจการคาฝนจากรัฐฉานสงไปขายยังฮองกง(NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation P. Phibunsonggram and Stanton, “ Corruption in Army and Government service,” 16 June 1950.; NA, FO 371/84348, Thompson to Mr. Bevin, ”Siam: Annual Review for 1949,” 10 May 1950.; FO 371/92952 Whittington to Foreign Office (Morrison), 16 April 1951). สถานทูตอังกฤษในไทย ไดรายงานวา รถถังเบรนกิ้นเปนยุทโธปกรณตกรุนจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่บริษัทสายฟาแลบซึ่งเปนบริษัท ของจอมพลผิน ชุณหะวัณและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนนายหนาสั่งมาจากศรีลังกา จํานวน 250 คัน แต รถถังเหลานี้ใชการไมไดถึง 210 คัน
104
ความนาเชื่อถือของคณะรัฐประหารแตพล ท.กาจปฏิเสธ65 เขายังคงเคลื่อนไหวเพื่อทาทายอํานาจ ของจอมพลผินตอไป จากนัน้ กลางดึกของ 26 มกราคม 2493 จอมพลผินและพล ต.อ.เผา ศรียา นนทไดรายงานแผนการรัฐประหารของพล ท.กาจตอจอมพล ป. ในวันรุงขึ้น พล ท.กาจถูกจับกุม ฐานกบฎ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผารวมมือกันจับกุมเขา จากนัน้ จอมพล ป.ได สั่งปลดพล ท.กาจจากรองผูบ ัญชาการทหารบกและใหเขาเดินทางออกนอกประเทศ ความพาย แพของพล ท.กาจทําใหความแตกแยกภายในคณะรัฐประหารลดลง66 ภายใตระบอบการเมืองที“่ กลุมรอยัลลิสต”ออกแบบผานรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ทําให จอมพล ป. พิบูลสงครามหันมาสรางความแข็งแกรงของรัฐบาลของเขาในทางการเมืองผานสภา ผูแทนฯ ดวยการพยายามจัดตั้งกลุมการเมืองฝายรัฐบาลชื่อพรรคประชาธิปไตยเพื่อตอสูกับพรรค ประชาธิปตย67 ความเคลื่อนไหวดังกลาวทําให“กลุมรอยัลลิสต”ที่เปนสมาชิกวุฒิสภานําโดย พระ ยาอรรถการียนิพนธ หลวงประกอบนิติสาร และพระยาศรีธรรมราช วิจารณรัฐบาลวา จอมพล ป. ควรลาออกจากตําแนงนายกรัฐมนตรี และใหมีจัดตั้งรัฐบาลผสมทีม่ ีพรรคประชาธิปตยเขารวม รัฐบาลแทน และใหคณะรัฐประหารตองออกไปจากการเมือง68 ความเคลื่อนไหวของสมาชิก วุฒิสภาดัง กลาวทําใหประเทือง ธรรมสาลี สมาชิกสภาผูแทนฯ จังหวัดศรีษะเกษ ไดวิจารณ บทบาทของสมาชิกวุฒิสภาวา “ไมมีความจําเปน ไมไดเปนตัวแทนประชาชน ไมมีประโยชนและ การปกครองภายใตรัฐธรรมนูญ 2492นี้ไมเปนประชาธิปไตย” 69 หนังสือพิมพไทยขณะนั้นได รายงานวา การเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในหลายทางเพื่อ โคนลมรัฐบาลนั้น ทําให พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดสั่งการใหตํารวจสันติบาลสกดรอยความ เคลื่อนไหวของ กรมพระยาชัยนาทฯ ผูสําเร็จราชการฯ และนักการเมือง“กลุมรอยัลลิสต”อยาง ใกลชิด70
65
พิมพไทย, 10 มกราคม 2492.; “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 74-
75. 66
NARA, RG 319 Entry 57, Sgd. Cowen Military Attache Bangkok to CSGID Washington D.C., 28 January 1950.; “รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร ครั้งที่ 12/2493 (วิสามัญ) ชุดที่1 10 กุมภาพันธ 2493,” ใน รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยวิสามัญ พ.ศ.2493 เลม 1,(พระนคร: โรง พิมพรุงเรืองธรรม, 2497), หนา 1624-1627.; “ฟรีเพรสส”, เนรเทศหลวงกาจ,(พระนคร: สหกิจ, 2493), หนา 78-82. 67 เกียรติศักดิ์, 12 มกราคม 2493.; สายกลาง, 14 มกราคม 2493. 68 หลักเมือง, 17 มกราคม 2493. 69 เสียงไทย, 19 มกราคม 2493. 70 ประชาธิปไตย, 20 มกราคม 2493.
105
แมสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” จะประสบความพายแพในการรักษาอํานาจ ใหกับรัฐบาลควง อภัยวงศซึ่งเปนรัฐบาลตัวแทนของพวกตนที่ถกู บังคับลงดวยอํานาจของคณะ รัฐประหารก็ตาม แตพวกเขายังคงประสบความสําเร็จในฐานะที่เปนสถาปนิกทางการเมืองในการ ออกแบบระบอบการเมืองทีท่ ําใหพวกตนไดเปรียบภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 ตอไปซึ่งนําไปสู ปญหาความขัดแยงระหวางผูสําเร็จราชการฯ สมาชิกวุฒสิ ภากับ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงคราม จากการแตงตั้งสมาชิกวุฒิสภาเขามาใหม สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ผูสาํ เร็จราชการฯ ทรงพยายามรักษาฐานอํานาจทางการเมืองของพวกตนในรัฐสภาเอาไวอยางตอเนื่อง โดยทรงได ตั้งบุคคลที่เปน“กลุมรอยัลลิสต”กลับเขามาเพื่อขัดขวางการทํางานของรัฐบาลอยางตอเนื่อง โดย มิไดปรึกษา หารือกับรัฐบาลทั้งทางตรงหรือทางออม อีกทั้ง ที่ผา นมา ผูสําเร็จราชการฯไดทรง ขยายบทบาททางการเมือง ดวยการเขาประทับในการประชุมคณะรัฐมนตรีของจอมพล ป.เสมอๆ ดวย สิง่ ทัง้ หลายเหลานี้ลวนสรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. เปนอยางมาก ตอมาเขาจึง ตอบโตกลับดวยการเรียกรองวา หากผูสาํ เร็จราชการฯยังทรงแทรกแซงทางการเมืองผานรัฐสภา และรัฐบาล นายกรัฐมนตรีกม็ ีความตองการที่จะเขารวมประชุมคณะองคมนตรีดวยเชนกัน 71 4.5 “กลุมรอยัลลิสต” กับ “กบฏแมนฮัตตัน”: แผนซอนแผนในการโคนลมรัฐบาล กลาวไดวา ในชวงตนทศวรรษ 2490 อํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามที่ ตั้งอยูทา มกลาง“กลุมรอยัลลิสสต”และ“กลุมปรีดี” เกิดลักษณะความสัมพันธทางการเมืองของ กลุมการเมืองเหลานี้ที่ในบางครั้งก็มีความรวมมือกันเพื่อตอสูกับอีกกลุม หนึง่ ในกลางป 2493 ซี ไอเอรายงานขาววา “กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเตรียมการรัฐประหาร โดย“กลุมรอยัล ลิสต”ที่มีพรรคประชาธิปตย ขาราชการจํานวนหนึ่งที่เคยใหสนับสนุนปรีดี พนมยงคและ กองทัพเรือที่สนับสนุน“กลุมรอยัลลิสต”ตองการทําการรัฐประหารตัดหนา“กลุมปรีดี” 72อยางไรก็ ตาม สิง่ จําเปนที่จะเปนเครื่องชี้ขาดในความสําเร็จในการรัฐประหารขับไลรัฐบาลจอมพล ป. แต
71
Bangkok Post, 18 December 1950.; NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for November 1950, ” 26 December 1950. 72 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, Monthly Political Report for May 1950, 15 June 1950 .
106
เปนสิ่งทีท่ ั้งสองกลุมขาดอยางมากคือ กําลังที่จะใชยึดอํานาจ ทําใหเวลาตอมา ทัง้ สองกลุมได รวมมือกันวางแผนการรัฐประหารลมรัฐบาล73 ปลายป 2493 การตอสูทางการเมืองระหวาง รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ“กลุม ปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต”ยังคงดําเนินการไปอยางแหลมคม มีกระแสขาววาจะเกิดการ รัฐประหารโคนลมรัฐบาล74 ทามกลางสถานการณดังกลาว หนังสือพิมพที่สนับสนุนรัฐบาล ตั้งแต ปลายป 2493 ถึงตน 2494 เชน ธรรมาธิปต ย และ บางกอก ทริบนู (Bangkok Tribune) ไดลงขาว ประนามบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” พรรคประชาธิปตยและสมาชิกวุฒิสภาอยาง หนัก แมกระทัง่ หนังสือพิมพที่มีจุดยืนทางการเมืองแบบกลางๆ ก็มีความเห็นใจรัฐบาลที่ถกู “กลุม รอยัลลิสต”โจมตีอยางไมมีเหตุผล ในขณะทีห่ นังสือพิมพฝายซายไดประนามสมาชิกวุฒิสภาวา เปนเครื่องมือที่ไมใชวิถีประชาธิปไตยของชนชั้นปกครอง ดังนัน้ การเมืองภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสตที่ใหอํานาจทางแกพระมหากษัตริยในการแตงตัง้ สมาชิกวุฒิสภา ทั้งหมด การแตงตั้งองคมนตรีใหเปนพระราชอํานาจโดยแท และการแทรกแซงทางการเมืองจาก ผูสําเร็จราชการฯ ไดสรางปญหาใหกับการบริหารงานของรัฐบาลเปนอันมาก รัฐบาลจึงมีความ ตองการยุติอํานาจของสมาชิกวุฒิสภาและบทบาททางการเมืองของผูส ําเร็จราชการฯ ดวยการ
73
NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIA-RDP82-00457R006100010001-6, 17 October 1950, “Coup plans by Thai Navy Group”. 74 NARA, RG 468 Mission to Thailand 1950-1954, Entry 1385 Box 7, “Brief Political Survey of Thailand,” 20 November 1950. ในรายงานฉบับนี้ รายงานวา ฝายคานขณะนั้น มี 2 กลุม คือ พรรค ประชาธิปตย ซึ่งมีส.ส.จํานวน 30-35 คน มีนโยบายสนับสนุนผลประโยชนของ“กลุมรอยัลลิสต”และเจาที่ดิน ตอตานคอมมิวนิสตและนิยมตะวันตก แตพรรคฯไมเขาใจสถานการณของโลก พรรคฯรับการสนับสนุนจาก “กลุมรอยัลลิสต” เชน พระยาศรีวิสารฯผูมีบทบาทอยางมากในการรางรัฐธรรมนูญ 2492 สมาชิกสวนใหญของ พรรคฯมาจากพระราชวงศที่มีบทบาทอยางสูงในวุฒิสภา สวน“กลุมปรีดี”เปนกลุมที่กระจัดกระจายจนไมมี ประสิทธิภาพในสภาผูแทนฯ พวกเขาใหการสนับสนุนปรีดี พนมยงคและตอตานจอมพล ป. พิบูลสงคราม พวก เขามีความคิดเสรีนิยม หรือเรียกวา ความคิดกาวหนาทางเศรษฐกิจและปฏิรูปสังคมซึ่งไดรับผลจากแนวคิดใน เคาโครงเศรษฐกิจของปรีดี สมาชิกสวนใหญจบมาจากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง เคยเปนเสรี ไทยมากอน ตอมาไดเคยใหชวยเหลือพวกเวียดมินหอยางใกลชิด กลุมนี้ไดรับการสนับสนุนจากกองทัพเรือ โดยเฉพาะอยางยิ่งพรรคนาวิกโยธิน มีสมาชิกที่เปนส.ส.จํานวน 12-15 คนในสภาผูแทนฯ, NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP78-01617A006100020023-4, 4 December 1950, “ Reported plan for coup”.
107
แกไขรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวแตไมสําเร็จ เนื่องจาก “กลุมรอยัลลิสต”จํานวนมากที่อยูในกลไกล ทางการเมืองนั้นทําการขัดขวางแผนการลดอํานาจของพวกเขา75 ในขณะที่ “กลุม ปรีดี”กับ“กลุม รอยัลลิสต” มีแผนการรวมกันในการรัฐประหารรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ สมาชิกสภาผูแทนฯจํานวนหนึ่งทีน่ ําโดยเตียง ศิริขันธ แกนนําคัญ สําคัญใน“กลุมปรีดี”ไมเห็นดวยกับแผนการดังกลาวของปรีดี พนมยงค เนื่องจาก เตียงและพวก เขามีความเห็นวา ความรวมมือดังกลาวจะนําไปสูสถานการณทางการเมืองที่แยยงิ่ กวาที่เปนอยู ดังนัน้ พวกเขาจึงพยายามหาหนทางสรางความปรองดองระหวางจอมพล ป. และปรีดีเพื่อ ประโยชนของประเทศมากกวาแผนการใชกําลัง76 การพยายามสรางความปรองดองระหวางกัน โดยรัฐบาลดําเนินการผานพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเขาไดใหความชวยเหลือทางการเมืองแก นักการเมืองกลุมของเตียง77อยางไรก็ตาม การเจรจาระหวางทั้งสองกลุมไมสําเร็จ เนื่องจาก ปรีดี ยังคงดําเนินแผนการดังกลาวตอไป สถานทูตอังกฤษและซีไอเอรายงานวา ปรีดีไดลักลอบ เดินทางกลับมาไทยในเดือนกุมภาพันธ 2494 เพื่อเตรียมแผนการรัฐประหาร โดยไดรับความ ชวยเหลือจากเจมส ทอมสัน-เพื่อนสนิทของเตียง และอเล็กซานเดอร แมคโดนัล อดีตโอเอสเอส ั อดีตผู และบรรณาธิการบางกอก โพสต 78 โดยปรีดีพยายามโนมนาวใหพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรญ บังคับการพรรคนาวิกโยธินทีเ่ คยใหการสนับสนุนปรีดีในการกอ“กบฎวังหลวง”ใหเขารวมแผนการ 75
NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “ Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951. 76 NA, FO 371/84352, Far Eastern Department to U.K. High Commissioner in Canada, Australia, New Zealand, India, Pakistan, Ceylon, 14 December 1950. 77 พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดใหการสนับสนุนจารุบุตร เรืองสุวรรณ นักการเมืองกลุมของเตียง ศิริขันธ ลงสมัครสมาชิกสภาผูแทนฯ(NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951). สถานทูตอังกฤษรายงานวา เตียงกําลังหาหนทางใหเกิดการ เจรจาคืนดีกันระหวางจอมพล ป.พิบูลสงครามและปรีดี พนมยงค(NA, CO 537/7115, Whittington to Foreign Office, 27 February 1951.; NA, FO 371/92954, Whittington to Foreign Office, 28 February 1951). 78 NA, CO 537/7115, Whittington to Foreign Office, 26 February 1951. ทูตอังกฤษไดรายงาน วา ร.อ.เดนิส (S.H. Denis)-อดีตทูตทหารเรืออังกฤษ-ไดพบสนทนากับปรีดี พนมยงคในกรุงเทพฯ ปรีดีไดกลาว กับเดนนิสวา เขามีความหวังวาจะกลับมาสูการเมืองในเร็วๆนี้ ตอมา ทูตอังกฤษไดแจงขาวลับมาเรื่องการมาถึง ไทยของปรีดีใหทูตสหรัฐฯทราบเชนกัน(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIARDP79T01146A000100040001-7, 5 March 1951, “Pridi-Phibul Negotiations”).
108
รัฐประหารอีกครั้ง79 ทัง้ นี้ ในปลายเดือนเมษายน 2494 พล ท.กาจ กาจสงคราม ผูเปนคูแขงขันใน ตําแหนงผูบัญชาการทหารบกและตําแหนงทางการเมืองกับจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ. เผา ศรียานนทหรือคายราชครู เขาไดลักลอบกลับมาไทยเพื่อรวบรวมกําลังทหารบกที่ภักดีเพื่อ กอการรัฐประหาร ดวยเหตุที่ “กลุมปรีดี”ไมมีกําลังที่เพียงพอจึงไดมาเจรจาขอรวมมือกับเขาแต การตกลงไมประสบความสําเร็จ80 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ความพยายามในการกอการรัฐประหารของ “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัล ลิสต” และคายของพล ท.กาจ กาจสงคราม แมทงั้ หมดจะมีเปาหมายรวมกันคือ โคนลมรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามและคณะรัฐประหาร แตปญหาหลัก คือ พวกเขาไมมกี ําลังมากเพียงพอ ในการรัฐประหาร ดังนัน้ กองทัพเรือในฐานคูแขงขันของคณะรัฐประหารหรือกองทัพบกจึงเปนตัว แปรสําคัญในความสําเร็จดังกลาว อยางไรก็ตาม ภายในกองทัพเรือนัน้ ก็มีความแตกแยกใน ความนิยมที่มตี อปรีดี พนมยงค กลาวคือ พรรคนาวิกโยธินนําโดยพล.ร.ต.ทหาร ขําหิรัญใหการ สนับ สนุน“กลุม ปรีดี” แตพรรคนาวินนําโดยพล.ร.อ.สินธุ กมลนาวิน ผูบ ัญชาการกองทัพเรือไม นิยมทั้งจอมพล ป. พิบลู สงคราม ปรีดี และพล ท.กาจ กาจสงคราม แตเขาตองการใหกองทัพเรือ ขึ้นมามีอาํ นาจแทนคณะรัฐประหารหรือทหารบกซึง่ เปนคูแขงขัน ดวยเหตุนี้ กองทัพเรือจึงโนม เอียงไปในการสนับสนุน“กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยมากกวา การจับกุมตัวจอมพล ป. พิบูลสงครามในพิธีมอบเรือขุดสันดอน ชื่อ แมนฮัตตัน เมื่อ 29 มิถุนายน 2494 โดยนายทหารเรือกลุมหนึง่ ซึ่งตอมาถูกเรียกวา “กบฎแมนฮัตตัน” นัน้ โดยทัว่ ไป มักรับรูกันวาเปนความพยายามกอรัฐประหารโดยนายทหารเรือสองคน คือ น.อ.อานนท ปุณฑริกานนทและน.ต.มนัส จารุภาจนนําไปสูความบอบซ้าํ ของกองทัพเรือ แตจากหลักฐานในราย งานของสถานทูตสหรัฐฯในชวงดังกลาวนัน้ การพยายามรัฐประหารครั้งนี้เปนการพยายามกอการ ที่มีความสลับซับซอนมากจนถูกเรียกวาเปน “แผนสมคบคิดที่ลึกลับซับซอน”(Machiavellian Conspiracy)81 จากรายงานหลายหนวยงานของสหรัฐฯ ทั้งสถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอ ตลอดจน 79
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146 A0001000 80001-3, 9 March 1950 , “Coup Attempt Possibly in Progress”. 80 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000200010001-9, 28 April 1951, “General Kach’s Return Rumored”. 81 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, R. H. Bushner to Secretary of State, “Current Thai Political Potting,” 26 April 1951. ทั้งนี้ รายชื่อวาที่คณะรัฐมนตรีที่ถูกประกาศในวันนั้นมีหลายกลุม ทําใหสามารถวิเคราะหไดวา การพยายาม รัฐประหารนี้มีความรวมมือของหลายกลุม เชน “กลุมปรีดี” มี พล.ร.ต. ทหาร ขําหิรัญ เปนรองนายกฯ “กลุม รอยัลลิสต” เชน ม.ร.ว.เสนีย เปนรัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ พล.ท.สินาดโยธารักษ เปนรัฐมนตรี
109
บันทึกการสนทนากับบุคคลสําคัญของไทย สรุปไดวา “กบฎแมนฮัตตัน” เปนแผนการรวมกันเพื่อ โคนลมรัฐบาลจอมพล ป. ระหวาง “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัลลิสต” คายของพล ท.กาจ และ กองทัพเรือ อยางไรก็ตาม ดวยเหตุที่ แตละกลุมก็มีความขัดแยงและหวาดระแวงกันระหวางกัน ดังนัน้ แตละกลุมจึงมีแผนทีจ่ ะรัฐประหารตลบหลังซึง่ กันและกัน และเมื่อไมมีกลุมใดมีกําลัง เพียงพอในปฏิบัติการยึดอํานาจ ทําใหกองทัพเรือกลายเปนตัวแปรสําคัญ ดวยเหตุที่ ผูบัญชาการ ทหารเรือขณะนั้น ไมพอใจความเปนอิสระของพรรคนาวิกโยธินที่ใหสนับสนุนปรีดี พนมยงค อีก ทั้ง เขาตองการใหกองทัพเรือมีอํานาจแทนคณะรัฐประหารเขาจึงใหการสนับสนุน“กลุมรอยัล ลิสต”ใหมีอํานาจทางการเมืองแทน เขาไดนําแผนการทีท่ ุกกลุม มาขอความชวยเหลือจาก กองทัพเรือแจงใหควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยและแกนนําคนหนึง่ ใน“กลุมรอยัล ลิสต”ทราบ ตอมา ควงไดนาํ แผนการทัง้ หมดทูลตอพระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการฯ ผูที่ไมทรง โปรดจอมพล ป. และปรีดี พนมยงคใหทรงทราบถึงแผนการตางๆ จากนั้น แผนซอนแผนของ “กลุมรอยัลลิสต”ก็ถูกเตรียมการขึ้น ทั้งนี้ ตามแผนซอนแผนของ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา กองทัพเรือ จะแสดงทาทีใหความชวยเหลือแกทุกกลุม แตไมใหแตละกลุมรูความเคลื่อนไหวซึง่ กันและกัน โดยขั้นแรกกําหนดใหคายของพล ท.กาจ กาจสงครามเขาจับกุมตัวจอมพล ป. พิบลู สงคราม จอม พลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เรือแมนฮัตตัน จากนัน้ จะให“กลุมปรีด”ี ยึดอํานาจ ซอนกลุมของพล ท.กาจ และสุดทาย “กลุมรอยัลลิสต” และกองทัพเรือฝายพรรคนาวินจะยึด อํานาจตลบหลัง “กลุมปรีดี” อีกทีหนึ่ง82 แตปรากฏวา ในเหตุการณที่เกิดขึ้นจริงนัน้ กลุมที่ลงมือ จับกุมตัวจอมพล ป.ไมเปนไปตามแผน เนือ่ งจากกลุมทีล่ งมือกลับกลายเปนทหารเรือของ“กลุม
มหาดไทย สวนนายกรัฐมนตรี คือ พระสารสาสนประพันธ ซึ่งอดีตขาราชการอาวุโส ที่ไมสังกัดกลุมใด(“ไทย นอย”, กบฎ 29 มิถุนายน,[พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494], หนา 54-55). 82 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Tula Bunnag and Hannah, “Current Thai Political Potting,” 26 April 1951. ตุลย บุนนาค เปนบุคคลที่ใหขาวนี้ เขาเปนขาราชการกระทรวงการตางประเทศและ เลขานุการของควง อภัยวงศ หัวหนาพรรรคประชาธิปตย ; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R008000720001-7, 6 July 1951, “Seizure of Premier Phibul by the Thai Navy”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation General Phao, Major Thana Posaynon and N.B. Hannah, ”Recent Attempted Coup d’etat,” 16 July 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Luang Sukhum Naipradit, Nai Charoon Suepsaeng and N.B. Hannah, ”Recent Attempted Coup,” 7 August 1951.
110
ปรีดี”∗ ทามกลางความสับสนในวันนั้น รัฐบาลที่ปราศจากผูน ําไดสงผูแทนไปหาพระองคเจาธานี ฯ ผูสําเร็จราชการฯ ถึง 3 ครั้งเพื่อขอใหทรงสนับสนุนรัฐบาล แตทรงปฏิเสธ เนื่องจากขณะนัน้ ทรงไมแนใจวากลุมที่ลงมือเปนไปตามแผนทีพ่ วกตนตกลงกันไวหรือไม สถานทูตสหรัฐฯตั้ง ขอสังเกตวา แทนที่พระองคจะติดตอกับรัฐบาล แตปรากฎวาทรงติดตอกับควง อภัยวงศ ผูน ํา ฝายคาน เพื่อสอบถามสถานการณที่เกิดขึ้น โดยควงไดบอกกับพระองควา เขา“กําลังรอบางสิง่ บางอยางอยู” ( a waiting one) ตอมา ควงไดทูลตอพระองควา“มันไมใช”(this is not it) จากนัน้ ผูสําเร็จราชการฯไดประกาศสนับสนุนฝายรัฐบาลทันที ดวยการทรงลงพระนามประกาศกฎ อัยการศึกตามคําขอของรัฐบาล83 หลังความลมเหลวของแผนการรัฐประหารของ“กลุม รอยัล ลิสต” ควงไดกลาวอยางหัวเสีย และกลาวประนามการเคลื่อนไหวของนายทหารเรือสองคนนั้นวา “โงเขลาและปญญาออน”เปนการลงมือรัฐประหารอยางไรหลักการ84 ควรบันทึกดวยวา การ ปราบปรามการพยายามกอการรัฐประหารครั้งนี้ กําลังของที่เขาปฏิบัติการปราบราม“กบฎแมน ฮัตตัน”มาจากกองทัพผสมกับตํารวจ โดยพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนมีบทบาทอยางมาก ในการเขาปราบปราม ทั้งนี้ ตํารวจชุดดังกลาวไดรับการฝกจากซีไอเอและไดใชอาวุธที่ไดรับการ สนับสนุนจากจากซีไอเอผานวิลลิส เบิรด เชน ปนบาซูกา ปนคารบิน จํานวน 500 กระบอกและ กระสุนจํานวนมากทําใหรัฐบาลสามารถปราบความพยายามรัฐประหารครั้งนี้ลงไดอยางงายดาย
∗
สาเหตุที่นายทหารเรือกลุมที่ลงมือนั้นถูกพิจารณาเปน“กลุมปรีดี” เนื่องจาก สุภัทร สุคนธาภิรมย อดีตนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง อดีตเสรีไทย ผูมีความใกลชิดปรีดี พนมยงค เปนผู หนึ่งอยูเบื้องหลัง“กบฎแมนฮัตตัน” เขามีความสัมพันธที่ดีกับน.ต.มนัส จารุภา หนึ่งในทหารเรือผูลงมือจับตัว จอมพล ป. พิบูลสงคราม(Somsak, “The Communist Movement in Thailand,” p.340.;วิวัฒน คติธรรมนิตย, กบฎสันติภาพ,หนา 229.) ทั้งนี้ น.ต.มนัส เปนนายทหารเรือคนสนิทของพล ร.ต.ผัน นาวาวิจิตร ผูใหการ สนับสนุนปรีดี พนมยงค (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย, หนา 36,206) โปรดดูรายละเอียดเหตุการณ ดังกลาวโดยละเอียดใน “ไทยนอย”, กบฎ 29 มิถุนายน; สุดา กาเดอร, “กบฎแมนฮัตตัน,” (วิทยานิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2516). 83 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Khuang and Hannah, “ Attempted Coup d’etat 29-31 June 1951,” 9 July 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bushner to Secretary of State, ” Attempted Coup d’etat of 22-30 June and its Aftermath,” 19 September 1951. 84 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, Memorandum of Conversation Nai Khuang and Hannah, “Attempted Coup d’etat 29-31 June 1951,” 9 July 1951.
111 85
สถานทูตอังกฤษรายงานวา หนวยงานของสหรัฐฯไดใหความชวยเหลือรัฐบาลในการปราบการ พยายามรัฐประหารครั้งนี้ 86 ภายหลังความสําเร็จในการปราบปราม จอมพลผิน ชุณหะวัณได แสดงความประทับใจตอความชวยเหลือทางอาวุธอยางมากจากสหรัฐฯ เขาเห็นวา ความ ชวยเหลือทางอาวุธจากสหรัฐฯมีสวนสําคัญในการปราบปรามดังกลาวลงไดสําเร็จ 87 ผลที่ตามมาหลังเหตุการณ คือ บทบาทของปรีดี พนมยงคในการชิงอํานาจคืนครั้งนีจ้ ึง เปนการตอสูทจี่ ะกลับสูการเมืองดวยกําลังครั้งสุดทายของเขา อีกทัง้ กองทัพเรือในฐานะคูแขงกับ คณะรัฐประหารไดถูกลดความเขมแข็งลงอยางรวดเร็ว อาวุธของกองทัพเรือที่ทนั สมัยไดถูก กองทัพ บกและตํารวจยึดไป ในขณะที่ แมรัฐบาลจะปราบปรามปรปกษทางการเมืองลงได แต ปญหาใหมที่ไดเกิดขึ้นภายในคณะรัฐประหารก็มคี วามเดนชัดมากขึน้ คือ การแขงขันทางการ เมืองระหวางจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทมีการเมืองมากยิง่ ขึน้ สถานทูต อังกฤษรายงานวา ความเขมแข็งของทัง้ สองคนทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามตองประสบปญหา การรักษาอํานาจของเขาดวยเชนกัน88 ตนเดือนกรกฎาคม 2494 หนังสือพิมพในไทยไดรายงานขาวอยางตอเนื่องหลายวันวา สหรัฐฯไดใหความชวยเหลือทางอาวุธแกรฐั บาลในการปราบ”กบฎแมนฮัตตัน” เกิดกระแส วิพากวิจารณในสังคมวา “อาวุธอเมริกันฆาเรา”89 ทามกลางขาวในทางลบตอสหรัฐฯที่แพรสะพัด เทอรเนอร อุปทูตสหรัฐฯไดเขาพบจอมพล ป. พิบูลสงครามและไดแสดงความกังวลตอขาว ดังกลาวบนหนาหนังสือพิมพไทย90 ในวันเดียวกันนัน้ กองทัพบกไดปฎิเสธการใชอาวุธที่ไดรับ ความชวยเหลือจากสหรัฐฯในปราบปราม “กบฎแมนฮัตตัน”91 ตอมา สถานทูตสหรัฐฯไดรับ โทรศัพทตอวาการใหการสนับสนุนทางการทหารแกกองทัพและตํารวจไทยจากสตรีไทยคนหนึ่ง
85
“Turner The Charge in Thailand to Mr. Robertson P. Joyce Policy Planning Staff, 7 November 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1634.; พล.ต.ต. อํารุง สกุล รัตนะ, ใครวา อตร.เผาไมดี, หนา 73-74, 92. 86 NA, FO 628/79, Minutes, 1 July 1951. 87 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 5625, Memorandum of Conversation Phin, E.O’Connor and R.H. Bushner, 24 July 1951. 88 NA, FO 371/92956, Whittington to Foreign Office, ”Siam: Political Summary,” 13 July 1951. 89 New York Times, 5 July 1951. 90 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 2 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.1616. 91 “ไทยนอย”, กบฎ 29 มิถุนายน, หนา 168-169.
112
ดวยเสียงสะอืน้ วา “ทําไม อเมริกาจึงใหอาวุธทําใหคนไทยตองตอสูกัน”92 หลัง“กบฎแมนฮัตตัน” แม สแตนตัน ทูตสหรัฐฯผูชว ยทูตทหาร และแมค(MAAG)ไดเสนอใหสหรัฐฯระงับความชวยเหลือ ทางทหารแกไทยก็ตาม93 แต รัฐบาลที่วอชิงตัน ดี.ซี.ยังคงยืนยันความชวยเหลือทางการทหารและ เศรษฐกิจแกไทยตอไป โดยไดใหเหตุผลวา สหรัฐฯตองการใหไทยมีเสถียรภาพทางการเมือง เพื่อที่จะทําใหไทยเปนพันธมิตรที่มีความเขมแข็งในการรักษาเสถียรภาพในเอเชียตะวันออกฉียง ใตตอไป94 ดังนัน้ กลาวไดวา ภายหลัง ”กบฎแมนฮันตัน” เมื่อปรีดี พนมยงคประสบความพายแพ และหมดโอกาสในการกลับสูอ ํานาจทางการเมือง แตสําหรับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น แมพวกเขาจะ ถูกจับตามมองจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามอยางมากก็ตาม แตโอกาสทางการเมือง ภายใตรัฐธรรมนูญบับ 2492 ยังคงอยูขางพวกเขา และพวกเขายังรอเวลาที่พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูจะทรงนิวัตรพระนครในเร็ววัน ทําใหสถานการณทางการเมืองไทยในขณะนัน้ เปนชวงเวลา ที่ตัวละคอนทางการเมืองทัง้ ระหวางรัฐบาลกับ “กลุมรอยัลลิสต” รอเวลาชิงชัยกันทางการเมือง ระหวางกันและกันอีกครั้ง 4.6 การรัฐประหาร 2494 กับการยุติบทบาททางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” ความพยายามใชกําลังเขาเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ประสบ ความลมเหลวไปในเหตุการณ“กบฎแมนฮัตตัน”มิไดทําใหพวกเขายุติบทบาทางการเมือง แตพวก เขายังคงพยายามรักษาฐานอํานาจในกลไกทางการเมืองทีพ่ วกเขาสามารถควบคุมไดตอ ไปเพื่อ โจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามจนนําไปสูความขัดแยงกับรัฐบาลอีกครั้ง สถานทูตสหรัฐฯ รายงานวา กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผูสําเร็จราชการฯและพระองคเจาธานีฯ องคมนตรีในขณะ นั้น สั่งการใชสมาชิกวุฒิสภาเขาขัดขวางการทํางานของรัฐบาล95 ตอมา สถานทูตสหรัฐฯได 92
NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 93, R.H. Bushner to Political Section, ”Thai Reaction to Coup d’etat,” 11 July 1951. สตรีไทยคนดังกลาวได โทรศัพทมาตอวาสถานทูต ชื่อนางสาว สุวรรณ มาลิก เปนครูที่สอนในโรงเรียนแหงหนึ่งในกรุงเทพฯ 93 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 12 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp. 1620-1621. 94 “Analysis and Appreciation of Foreign Military and Economic Assistance Programs for Thailand, 17 July 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.1623-1625. 95 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for December 1950 and January 1951,” 21 February 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum
113
รายงานวา ภายหลังที่รัฐบาลปราบ“กบฎแมนฮัตตัน”ลง “กลุมรอยัลลิสต”ได สมาชิกวุฒิสภาซึ่ง เปน“กลุมรอยัลลิสต”ในรัฐสภาไดโจมตีรัฐบาล เนื่องจาก พวกเขาไมพอใจที่ความพยายามกอการ รัฐประหารของพวกเขาลมเหลว 96 พวกเขาไดอภิปรายวิจารณรัฐบาลทีป่ ราบปรามการพยายาม รัฐประหารดังกลาว และโจมตีความผิดพลาดในการปฏิวัติ 2475 ที่ผานมาอยางรุนแรง จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความไมพอใจอยางยิง่ ตอการโจมตีจาก“กลุมรอยัลลิสต”และไดกลาวตอบโตวา วุฒิสภามุง “ดา” รัฐบาลแตฝายเดียว และหากสมาชิกวุฒิสภาเห็นวาประชาธิปไตยไมเหมาะสม กับการปกครองของไทยก็ใหสมาชิกวุฒิสภาดําเนินการถวายอํานาจการปกครองคืนพระมหา กษัตริยไป 97 ทั้งนี้ สถานการณทางการเมืองในป 2494 ภายใตรัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญ รอยัลลิสตคงมีความคุกกรุน อยูภายในตลอดเวลา แมรฐั บาลจะสามารถปราบปราม “กบฏแมน ฮัตตัน” พรอมกับการปดโอกาสทางการเมืองของปรีดี พนมยงคและจํากัดอํานาจของกองทัพเรือ ลงแลวก็ตาม แต“กลุมรอยัลลิสต” ยังคงอยูและพวกเขามีโอกาสในการทาทายอํานาจรัฐบาลอยู ตลอดเวลา สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ดวยเหตุที่ รัฐธรรมนูญ 2492 เปนผลงานของ“กลุมรอยัล ลิสต” ที่พวกเขาไดออกแบบระบอบการเมืองขึ้นมาเพื่อยึดอํานาจจากคณะรัฐประหาร ดวยการ สรางกติกาการ เมืองที่ทาํ ใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ไดเปรียบทางการเมืองเหนือ กลุมการเมืองอื่นๆอยางมาก98 ดังนั้น บทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต”ภายใตรัฐธรรมนูญนี้จึงเปน เสมือนหนึง่ หอกขางแครของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งหนึ่ง
of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah,” 29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. การขัดขวางการทํางานของรัฐบาลโดย “กลุมรอยัลลิสต” เชน บทบาทของวุฒิสภาที่ยับยั้ง รางกฎหมายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามถึง 31 ฉบับจาก 57 ฉบับ และไดยับยั้งกฎหมายที่สภาผูแทนฯ เสนอ 10 จาก 16 ฉบับ รวมทั้งการตั้งกระทูถามรัฐบาลถึง 67 กระทู (สุชิน ตันติกุล, “ผลสะทอนทางการเมือง ของการรัฐประหาร พ.ศ.2490,” หนา 150-153). 96 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 24 August 1951,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1632. 97 “รายงานการประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ 3 / 2494 วันที่ 27ตุลาคม 2494,” ใน รายงานการประชุม วุฒิสภา สมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2494,(พระนคร: โรงพิมพอําพลวิทยา, 2495), หนา 412-415. วุฒิสภาได วิจารณการปฏิวัติ 2475 วา เปนการกบฎอันเปนเหตุใหใหคุณภาพของสมาชิกสภาผูแทนฯมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากประชาชนไมมีคุณภาพ ไมมีการศึกษาจึงเลือกสมาชิกสภาผูแทนฯที่ไมดี 98 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for November 1950, ” 26 December 1950.
114
ในกลางเดือนสิงหาคม 2494 ไดมีหารือถึงปญหาทางการเมืองดังกลาว ที่ประชุมเห็นวา ควร รัฐประหารลมรัฐธรรมนูญฉบับดัง กลาวเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม99 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา รัฐบาลจอมพล ป.ตองการสรางความเขาใจถึงปญหา การเมืองที่เกิดขึ้นใหกับพระมหากษัตริยท รงทราบจึงสง พล ต.อ.เผา ศรียานนทไปเจรจากับ พระองคทโี่ ลซาน สวิสเซอรแลนดในเดือนสิงหาคม 2494 เพื่ออธิบายปญหาที่เกิดขึ้นจาก รัฐธรรมนูญและบทบาทของ”กลุมรอยัลลิสต” ใหพระองคทรงทราบเพือ่ หาทางแกไขปญหาความ ขัดแยงระหวางกัน 100 ตอมา หนังสือพิมพ เอกสารฝายไทยและสถานทูตสหรัฐฯไดรายงานที่สรุป ไดวา ในเดือนตุลาคม รัฐบาลไดสงพล ต.อ.เผาและกลุม ตํารวจของเขาไดเดินทางกลับไปเขาเฝา พระองคอีกครัง้ เพื่อรับทราบพระบรมราชวินิจฉัย แตปรากฏวา พระองคทรงไมเห็นดวยกับ ความเห็นของรัฐบาลที่เห็นวา ปญหาการเมืองเกิดจากรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวและจากบทบาท ของ“กลุมรอยัลลิสต”แตพระองคไดทรงกลาววิจารณ คณะรัฐประหารและนายกรัฐมนตรี โดยทรง มีแผนการทางการเมืองที่จะจัดตั้งรัฐบาลขึ้นใหมภายหลังทรงเสด็จนิวตั พระนครในปลายป 2494 แลว โดยทรงมีพระราชประสงคใหพระองคเจาธานีฯ เจาพระยาศรีธรรมาธิเบศ หรือ พล.ท.ชิต มัน่ ศิลป สินาด โยธารักษ ผูเปนแกนนําสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต”เปนนายกรัฐมนตรีคนใหมแทน จอมพล ป.101 ในชวงเดือนพฤศจิกายน สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา “กลุมรอยัลลิสต” มีการ
99
เสวต เปยมพงศสานต, “เสวต เปยมพงศสานต,”ใน บันทึก 25 นักการเมือง วิเคราะหการเลือกตั้ง ในไทย, “ใหม รักหมู” และธวัชชัย พิจิตร, บรรณาธิการ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ นพรัตน, 2522), หนา 597. 100 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R008300700010-6, 16 August 1951, “Departure of Lt. Gen. Phao Sriyanon for Europe and England ”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. 101 ชาวไทย, 20 ตุลาคม 2494.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหง เอเชีย, หนา 150-151. กลุมตํารวจที่เดินทางไปกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทในเดือนตุลาคม 2494 มี พ.ต.ท.เยื้อน ประภาวัตร พ.ต.ต.พุฒ บูรณสมภพ พ.ต.ต.อรรณพ พุกประยูร พ.ต.ต.วิชิต รัตนภานุ พ.ต.ต.ธนา โปษยานนท และพ.ต.ต.พจน เภกะนันท.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. รายงานฉบับนี้ รายงานวา สังข พัธโนทัย บุคคลใกลชิดจอมพล ป. พิบูลสงครามไดแจง กับฮันนาหวา บุคคลที่อยูเบื้องหลังในการแนะนําใหพระมหากษัตริยกลับมาตอตานรัฐบาล คือ ม.จ.นักขัตรมง คล กิตติยากร ฮันนาหไดบันทึกในรายงานวา ขอมูลจากสังขนี้ เขาไดตรวจสอบกับแหลงขาวอื่นๆของเขาแลว พบวามีความแมนยํา
115
เคลื่อนไหวทางการเมืองที่คึกคักมาก พวกเขาหวังจะใชการเสด็จนิวัตรพระนครของ พระมหากษัตริยเปนพลังสนับสนุนบทบาททางการเมืองของพวกเขา102 ปลายเดือนพฤศจิกายน 2494 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานกระแสขาวการพยายาม รัฐประหารโดยฝายรัฐบาลกอนพระองคเสด็จนิวัตพระนคร เพื่อปองกันมิให กลุมรอยัลลิสต” รวมมือกับพระองคตอตานการยุติการใชรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสต โดย เปาหมายของการรัฐประหารครั้งนี้ คือ การแกไขรัฐธรรมนูญใหมที่จะลดอํานาจพระมหากษัตริย และวุฒิสภาลง โดยจอมพล ป. มีความคิดในการนํารัฐธรรมนูญ 2475 กลับมาใชใหม103 แตคณะ รัฐประหารยังไมพองดวยถึงทิศทางในอนาคต จวบกระทัง่ ชวงบายของ 29 พฤศจิกายน ทั้งหมด จึงเห็นพองกับความคิดของจอมพล ป. จากนัน้ การรัฐประหารก็เริ่มตนขึ้นในเย็นวันนั้นเองห ดวย การ ที่จอมพลผิน ชุณหะวัณ ในฐานะหัวหนาคณะรัฐประหารที่เรียกตนเองวา คณะผูบริหาร ประเทศชั่วคราวไปเขาเฝาพระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการฯในเวลา 18.00 ขอใหทรงลงนาม ประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 และยุบรัฐสภา แตพระองคเจาธานีฯทรงกริ้วมากที่คณะ รัฐประหารตองการลมรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาว และทรงตรัสถามจอมพลผิน ชุณหะวัณวา จอม พล ป. พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีทราบการดําเนินการนีห้ รือไม จอมพลผินมิไดตอบ คําถามพระองคเจาธานีนิวัตฯ แตตอมา จอมพล ป. จอมพลผินและพล ท.บัญญัติ เทพหัสดินฯ ไดเดินทางกลับมาเพื่อแสดงความพรอมเพรียงของความเห็นชอบของรัฐบาลตอหนาพระพักตร และทาบทามใหพระองคทรงยอมรับการเปนผูสําเร็จราชการฯตอไป แตทรงปฏิเสธ104 102
“Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 29 November 1951,“ in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1638.; PRO, FO 371/92957, Murray to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,”3 December 1951.; Scott to Foreign Office, 4 December 1951. 103 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R009400250011-3, 27 November 1951, “ Possible Coup d’etat”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951.ในเอกสาร รายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทยังไม พรอมที่จะเขารวมการรัฐประหาร อยางไรก็ตามมีรายงานวา ในกลางเดือนพฤศจิกายน กอนการรัฐประหารลม รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 จอมพลสฤษดิ์ไดรับแตงตั้งจากรัฐบาลใหเปนประธานกองสลากคนใหม (NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000500260001-9, 16 November 1951, “Sarit’s position enhanced”). 104 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. จอม พลผิน ชุณหะวัณไดบันทึกความทรงจําถึงสาเหตุของการรัฐประหารครั้งนี้วา เกิดจากปญหาของการเมืองที่เกิด จากรัฐธรรมนูญที่รางโดย“กลุมรอยัลลิสต”ที่กีดดันทหารออกจากการเมือง แตกลับใหอํานาจมากกับ
116
4.7 ความขัดแยงระหวางสถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป. การรัฐประหารที่เกิดเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2494 มีผลใหรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492หรือ รัฐธรรมนูญรอยัลลิสตถูกยกเลิก และมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 ขึ้นใหม แทนนั้นมีผลใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามชุดเดิมและรัฐสภาทีถ่ ูก“กลุมรอยัลลิสต”ครอบงํา ไดสิ้นสุดลง โดยคณะผูบริหารประเทศชัว่ คราวในฐานะองคกรที่มีอาํ นาจสูงสุดไดประกาศไม เปลี่ยน แปลงนโยบายตางประเทศ และอางสาเหตุของการรัฐประหารครั้งนี้วา เพื่อเปนการ ตอตานคอมมิวนิสต แตในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษวิเคราะหวา เบื้องหลังที่แทจริง ของการรัฐประหารครั้งนี้ คือ การตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”นั่นเอง ดวยเหตุนี้ การรัฐประหารครั้งนี้ จึงเปนการชิงไหวชิงพริบตัดหนาแผนการขยายอํานาจของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่จะเขมแข็งมากขึ้น จากการกลับมาของพระมหากษัตริย 105
พระมหากษัตริย ทําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามบริหารงานไดยากลําบาก จนทําให“เกือบตั้งตัวไมติด” คณะรัฐประหารเห็นวา หากปลอยใหการเมืองเปนเชนนี้ตอไป รัฐบาลจะไมสามารถทํางานไดจึงทําการ รัฐประหาร( จอมพล ผิน ชุนหะวัณ, ชีวิตกับเหตุการณ,[พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513],หนา 95). 105 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 29 November 1951,“ in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 1638.; NA, FO 371/92957, Murray to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,”3 December 1951.; Scott to Foreign Office, 4 December 1951.สําหรับ ความเห็นของประชาชนตอสาระในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2475 ที่ถูกประกาศใชใหมหลังการรัฐประหารนั้น เจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 คน ที่มีความเห็นไปในทางฝายซาย ใหการสนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาววา ดีกวารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มาก แตนายทหารที่มีความสัมพันธ กับ“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยกลับเห็นวา รัฐธรรมนูญฉบับที่ถูกลมไปนั้นดีกวา(NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 93, R.H. Bushner to Political Section, ”Public Opinion regarding 29 November Coup,” 11 December 1951.; NA, FO 371/92957, Wallinger to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,” 5 December 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Turner to Secretary of State, 30 November 1951.; NARA, RG 84 General Records, Thailand 1945-1953, Entry UD 3267 Box 99, Colonel D.W. Stonecliffe to Secretary of Defense, “Thailand-Military significance 29 November 1951 Coup d’etat,” 4 January 1952.; NA, FO 371/92957, Foreign Office to Bangkok, 4 December 1951.; Stanton, Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World, p. 270.สังข พัธโนทัย คนใกลชิดจอมพล ป. พิบูลสงคราม เห็นวา เหตุผลสวนหนึ่งของรัฐประหารครั้งนี้ จอมพล ป. ตองการเยียวยาความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและคณะ รัฐประหาร(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November 1951 Coup d’etat,” 11 December 1951).
117
เมื่อการรัฐประหารเกิดขึ้น สถานทูตอังกฤษรายงานวา พระองคเจาธานีฯ ผูสําเร็จราชการ ฯ พยายามติดตอแจงขาวการรัฐประหารใหพระมหากษัตริยทรงทราบ โดยพระองคเจาธานีฯ ได ทรงแจงตอสถานทูตสหรัฐฯวา พระมหากษัตริยทรงไมยอมรับรัฐธรรมนูญ 2475 และทรงแจงวา พระมหากษัตริยอาจจะสละราชยสมบัติ โดยพระองคเจาธานีฯจะไดทรงใหคําปรึกษาทางการ เมืองแกพระองคที่จะมีตอไปภายหลังทีท่ รงเสด็จนิวัตพระนครแลว106 สําหรับทาทีของฝาย รัฐประหาร คือ หากพระมหากษัตริยไมรับรองรัฐธรรมนูญใหมและสละราชยนั้น ไทยก็อาจจะเปน สาธารณรัฐ107 สถานทูตอังกฤษรายงานวา เมื่อพระมหากษัตริยทรงเสด็จนิวัตพระนครเมื่อ 2 ธันวาคม 2494 ดวยเรือพระทีน่ ั่ง พระองคเจาธานีฯทรงมิไดขึ้นไปเขาเฝาเพื่อรับเสด็จ แตจอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีชั่วคราวและรักษาการผูส ําเร็จราชการตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ซึ่งไปรอเขาเฝาแทน แตพระองคไมมีทรงพระราชปฏิสันถารดวย ตอมา จอมพล ป.ไดไปเขาเฝา พระองคเปนเวลาสัน้ ๆเพื่อขอใหทรงรับรองรัฐบาลใหม แตพระองคไมทรงตอบรับขอเสนอจาก รัฐบาล ในวันรุงขึ้น พระองคเจาธานีฯไดเขาเฝาใหคาํ ปรึกษาเปนการสวนพระองคอกี จากนัน้ พระองคเจาธานีฯไดทรงแจงแก สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษวา พระมหากษัตริยกาํ ลังทรงหา หนทางทีจ่ ะคว่ําบาตรการรัฐประหารครั้งนี้ดวยการทรงไมลงพระปรมาธิไภยประกาศใช รัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ที่จาํ กัดอํานาจทางการเมืองของพระองค อยางไรก็ตาม พระองคเจาธานีฯ ทรงเห็นวามีความเปนไปไดที่จะมีการประนีประนอมรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับเขาหากัน108 สถานทูตสหรัฐฯ ซีไอเอและสถานทูตอังกฤษไดรายงานสถานการณชว งเวลาดังกลาววา จอมพล ป. พิบูลสงครามและจอมพลผิน ชุณหะวัณไดเขาเฝาพระมหากษัตริยถงึ 2 ครั้งเพื่อขอให ทรงลงพระปรมาภิไธยรับรองรัฐบาลใหมและประกาศใชรัฐธรรมนูญแตทรงปฏิเสธ ทรงมีพระราช ประสงคใหนํารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ที่ถกู ลมไปกลับมาใชใหม แตจอมพล ป. ไมเห็นดวย เมื่อ การเจรจาไมสาํ เร็จ พระองคทรงใชการสละราชยเปนเงื่อนไขเพื่อตอรองกับจอมพล ป. อันนําไปสู การรางรัฐธรรมนูญใหมในเวลาตอมา109 ในชวงเวลาดังกลาว รัฐบาลมีแผนเตรียมรับมือการ 106
NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 30 November 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Turner to Secretary of State, 30 November 1951 . 107
NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November 1951 Coup d’etat,” 11 December 1951. 108 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190, Turner to Secretary of State, 3 December 1951.; NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 5 December 1951. 109 NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 7 December 1951.; NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1950-1954 Box 4188, Tunner to
118
ตอตานจาก “กลุมรอยัลลิสต” โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดสงตํารวจไปควบคุมและติดตาม ความเคลื่อนไหวของ“กลุมรอยัลลิสต” และแกนนําพรรคประชาธิปตยที่บานพักของพวกเขา เชน พระองคเจาธานีฯ ควง อภัยวงศและม.ร.ว.เสนีย ปราโมช110 ตอมา พระมหากษัตริยไดยินยอม ทรงประกาศรับรองรัฐบาลใหมและรัฐธรรมนูญ 2475 ใหใชชั่วคราวในระหวางการรางรัฐธรรมนูญ ฉบับใหม อยางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญฉบับรางใหมหรือรัฐธรรมนูญ 2475 แกไข 2495 ที่รัฐบาล จอมพล ป.ไดมีสวนสําคัญในการรางนั้นยินยอมตามสนองพระราชประสงคแตบางประการเทานัน้ เชน การใหทรงมีอํานาจในกิจการสวนพระองค เชน การแตงตั้งองคมนตรี เทานั้น แตรัฐบาลไม อนุญาตใหทรงมีอํานาจในการการแตงตั้งวุฒิสภาซึง่ จะสรางปญหาทางการเมืองใหกับรัฐบาล ดังที่ผานมาอีก∗ ดวยเหตุที่สาระที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 แกไข 2495นั้น สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา กอนการประกาศใชและงานเฉลิมฉลองรัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวเพียงหนึง่ วัน ราช สํานักไดแจงกับรัฐบาลวา พระองคไมเห็นดวยกับฤกษยามในการประกาศใชรัฐธรรมนูญและทรง มีพระราชประสงคไมเขารวมงานเฉลิมฉลองตามหมายกําหนดการ สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ทรง ตองการใชการประวิงเวลาเปนเครื่องมือทางการเมืองเพือ่ การตอรองใหม แต รัฐบาลจอมพล ป. Secretary of State, 8 December 1951.; NARA, CIA Records search Tool (CREST),CIARDP79T01146A000600190001-6, 18 December 1951, “King reported prepared to abdicated”. 110 NA, FO 371/92957, Wallinger to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,” 5 December 1951. ในรายงานของซีไอเอรายงานวา เพียงหนึ่งเดือนหลังการรัฐประหาร มีขาราชการระดับสูง“กลุมรอยัล ลิสต” หลายคนเตรียมแผนกอการรัฐประหารซอนขึ้นโดยอาจรวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต(NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000700010001-4, 2 January 1952, “Split in ruling clique presages early Coup”). ∗
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใชเมื่อ 8 มีนาคม 2495 ดวยเหตุที่ รัฐธรรมนูญฉบับนี้เปนการแกไข เพิ่มเติมจากรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ที่ลงพระปรมาภิไธยโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ และไมเคยถูก ยกเลิก ดังนั้น การแกไขรัฐธรรมนูญดังกลาวจึงเปนอํานาจของสภาผูแทนราษฎรเปนสําคัญ ในคําปรารภมี ขอความวา “สภาผูแทนราษฎรไดประชุมปรึกษารางรัฐธรรมนูญสนองพระเดชพระคุณสําเร็จลงดวยดี จึ่งนําขึ้น ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายคําปรึกษาแนะนําดวยความยินยอม พรอมที่จะตราเปนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา จักรไทย พุทธศักราช ๒๔๗๕ แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ได เมื่อและทรงพระราชวิจารณถี่ถวนทั่ว กระบวนความแลว ทรงพระราชดําริเห็นสมควรพระราชทาน พระบรมราชานุมัติ” (โปรดดู [Online]เพิ่มเติม รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวใน เวปไซดของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา www.krisdika.go.th [11 มกราคม 2553]) ดังนั้น จากรายงานทางการทูตหลายชิ้นชี้วา พระองคทรงไมพอพระราชหฤทัยรัฐธรรมนูญฉบับใหม อยางมากนั้นอาจมาจากสาเหตุที่ ทรงไมสามารถใชการลงพระปรมาภิไธยเปนเรื่องมือในการควบคุมทิศทางใน การรางใหเปนไปตามพระราชประสงคได
119
พิบูล-สงครามและคณะรัฐประหารไดตัดสินใจยืนยันการประกาศใชรัฐธรรมนูญในเมือ่ 8 มีนาคม ตอไป ทั้งนี้ ในเวลาบายของ 7 มีนาคม เมื่อรัฐบาลทราบถึงการไมเสด็จเขารวมงาน รัฐบาลไดสง ผูแทนเดินทางไปวังไกลกังวล หัวหิน เพื่อทูลเชิญพระองคทรงมารวมงานประกาศใชรัฐธรรมนูญ ตามหมายกําหนดการของพระองคที่รัฐบาลกําหนดซึ่งพระองคกท็ รงยินยอมทําตาม111 สถานทูต สหรัฐฯไดรายงานวา การทีพ่ ระองคทรงปฏิเสธการเขารวมงานตามหมายกําหนดการนั้นประสบ ความลมเหลว112 ในสายตาของพระองคเจาธานีฯ ประธานองคมนตรี ทรงเห็นวา เหตุการณนี้เปน การประลองกําลังระหวางพระมหากษัตริยกับรัฐบาล แมตอจะทรงผอนตามความตองการของ รัฐบาลก็ตาม แตพระองคเจาธานีฯทรงเห็นวาการโอนออนผอนตามของพระมหากษัตริยเปนสิง่ ที่ ถูกตอง เนื่องจากเวลาที่สมควรในการแตกหักกับคณะรัฐประหารยังไมมาถึง113 แมขณะนั้น สหรัฐฯจะไมมีปฏิกริยาอันใดตอการรัฐประหารที่เกิดขึน้ ในปลายป 2494 แต ภายหลังการรัฐประหาร รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดพยายามใหความสําคัญกับนโยบาย การตอตานคอมมิวนิสตมากขึ้นเพื่อสรางความไววางใจจากสหรัฐฯ114 สถานทูตอังกฤษ ไดตั้งขอ สังเกตทีน่ า สนใจวา ภายหลังที่รัฐบาลจอมพล ป. สามารถปราบปรามกลุมตอตานรัฐบาล ทั้ง “กลุมปรีดี” “กลุมรอยัลลิสต” และกองทัพเรือลงไดก็ตาม แต การปราบปรามดังกลาวกลับทําให เขาตองพึงพิงอํานาจจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่ควบคุมการสั่งการ กองทัพและตํารวจมากยิง่ ขึน้ 115
111
NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185 , Memorandum of Conversation ; Nai Sang Pathanotai, N.B. Hannah , 8 March 1951.คณะผูแทนดังกลาวมี พล ต.อ.เผา ศรี ยานนท จอมพลเรือยุทธศาสตรโกศล ฟน-ผูบัญชาการทหารอากาศ น.อ.ทวี จุลทรัพย; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 112 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 113 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”King, Constitution, Phibun and Coup Group,” 7 March 1951.; NA, FO 371/101166, Whittington to Foreign Office, 10 March 1952. 114 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000600200001-4, 19 December 1951, “1947 coup group gains complete dominance of government”; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State,” Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 115 Tarling, Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War, p. 206.
120
4.8 การแขงขันและสรางพันธมิตรทางการเมืองของกลุมตํารวจและกลุมทหาร อาจกลาวไดวา แมการรัฐประหาร 2494 จะเปนการทําลายฐานอํานาจของสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทีท่ าทายอํานาจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และคณะ รัฐประหารซึ่งเปนความขัดแยงระหวางกลุม ลงก็ตาม แตความขัดแยงภายในกลุม ระหวางคาย ราชครูที่มีจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปนแกนนํา และคายสี่เสาเทเวศนที่มี จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนผูนํามีความเขมขนขึ้น ซีไอเอรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ไดพยายาม แสวงหาการสนับ สนุนจากสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”116 ในขณะที่ พล ต.อ.เผาใน ฐานะทายาททางการเมืองคนสําคัญไดพยายามการขยายฐานอํานาจทางการเมืองของเขา ออกไปดวยพยายามเปนมิตรและแลกเปลี่ยนผลประโยชนกับ“กลุมปรีดี” ผานเตียง ศิริขันธ โดย พล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนกลุมของเตียงในการเลือกตั้งในป 2495 ทําใหสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรภาคอีสานกลุม ของเตียงมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น สงผลใหใหรัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้น จากนั้น รัฐบาลสนับสนุนใหเตียงเขาไปมีบทบาทในการจัดสรรงบประมาณใหกับภาคอีสาน อยางไรก็ตาม ความสัมพันธระหวางเตียงและพล ต.อ.เผานัน้ ยังคงวางอยูบนความไมวางใจกันและกัน 117 หลังการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 แกไข 2495แลว ทําใหคณะรัฐมนตรีชุดเกา ตองพนจากตําแหนง นําไปสูการชวงชิงอํานาจทางการเมืองในการจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง จอมพล ผิน ชุณหะวัณในฐานะแกนนําของคายราชครูไดรับการผลักดันจาก พล ต.อ.เผา ศรียานนทใหขนึ้ เปนนายกรัฐมนตรี ในขณะทีจ่ อมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกลับใหสนับสนุน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชแกน นําคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต” ขึ้นเปนายกรัฐมนตรีคนใหมเขาแขงขันสะทอนใหเห็นวา ดุลอํานาจภายคณะรัฐประหารยังมิไดตกเปนของคายราชครูเสียทัง้ หมด ทําใหตําแหนง นายกรัฐมนตรีมิอาจตกเปนของจอมพลผินได เนื่องจาก แกนนําบางคน เชน จอมพลสฤษดิ์ และ 116
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A000700010001-4 , 2 January 1952, “Split in ruling clique presages early Coup”; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000500340001-8, 23 January 1952, “Reports of Political unrest in Thailand continue”. 117 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ”Internal Political Situation ,” 31 March 1952. ในรายงาน ฉบับนี้ใหขอมูลวา สมาชิกสภาผูแทนฯในกลุมของเตียง ศิริขันธไดรับการเลือกตั้งถึง 25 คนมากเปน 2 เทานับ แตการรัฐประหาร 2490 เนื่องจาก พวกเขาไดรับการสนับสนุนจากพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเตียงไดแจงวา แมพล ต.อ.เผาจะรูดีเสมอวา เขาสนับสนุนปรีดี พนมยงค แตพล ต.อ.เผาจําตองเปนพันธมิตรกับเขาเพื่อ จํานวนสมาชิกสภาผูแทนฯที่จะสนับสนุนรัฐบาลใหมีความมั่นคง โดยเตียงใหเหตุผลถึงการที่เขารวมงานกับ รัฐบาล เพราะเขารูดีวาไมสามารถเปลี่ยนแปลงรัฐบาลไดจนกวาดุลอํานาจจะเปลี่ยนไป
121
พล ท.บัญญัติ เทพหัสดินทรฯ และไมตองการใหคายราชครูมีอํานาจทางการเมืองมากกวานี้ สุดทายแลว ตําแหนงนายกรัฐมนตรีจึงตกกลับไปสูจอมพล ป.พิบูลสงครามอีกครั้ง118 ดังนัน้ จะ เห็นไดวา การกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีของจอมพล ป. หลังการรัฐประหาร 2494 นัน้ เขามี อํานาจทางการเมืองลดลง โดยอํานาจของเขาวางอยูบนความสามารถในการดุลอํานาจภายใน คณะรัฐประหาร ชวงเวลาดังกลาว พล ต.อ.เผา ศรียานนทไมแตเพียงพยายามผลักดันใหตนเองกาวขึ้นไป มีบทบาททางการเมืองภายในอยางโดดเดนดวยการเปนมิตรกับ“กลุมปรีดี”ผานเตียง ศิริขันธเทานัน้ แตเขายังไดพยายามเขาไปมีอิทธิพลในกองทัพอีกครั้ง หลังจากที่เขาไดหันมาทํา หนา ที่ตํารวจเปนเวลานาน119 อีกทั้ง เขายังไดพยายามขยายเครือขายอํานาจทางการเมือง ออกไปนอกประเทศ ดวยการติดตอกับกลุมฝายซายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน การอนุญาต ใหซัน หงอก ทัน ผูนาํ ฝายซายในกัมพูชาเขามาในไทย และรวมมือกับอารีย ลีวีระ บุคคลที่สหรัฐฯ เห็นวาเปนคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ การขยายเครือขายไปยังกลุม การเมืองตางๆของเขาเปนการสราง ฐานอํานาจทีม่ ั่นคงที่ยากแกการโคนลมในอนาคต 120 ไมแตเพียงพล ต.อ.เผา ศรียานนทเทานัน้ ที่พยายามเปนมิตรกับเตียง ศิริขันธ แตจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตก็มีความพยายามเชนเดียวกัน นอกจาก ที่จอมพลสฤษดิ์จะพยายามสราง พันธมิตรกับ“กลุมรอยัลลิสต” แลวเขายังพยายามผูกมิตรกับสมาชิกสภาผูแทนภาคอีสานกลุม ของเตียงดวยการประกาศแกไขปญหาของภาคอีสานและเรียกรองใหเตียงชวยเหลือเขาในทาง การเมือง จนนําไปสูการประชุมระหวางจอมพลสฤษดิ์และเตียง 2 ครั้ง อยางไรก็ตามในทาง เปดเผยนัน้ เตียงปฏิเสธความชวยเหลือจอมพลสฤษดิ์ เนือ่ งจากเขารวมมือกับพล ต.อ.เผาแลว แตในทางลับนั้น เขาไดสงพวกของเขาไปชวยจอมพลสฤษดิ์ 121 ในที่สุดพันธมิตรทางการเมือง 118
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000600110001-2, 7 March 1952, “Political showdown in Thailand reportedly imminent ”; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for March 1952,” 21 April 1952. 119 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001200230001-4, 10 September 1952, “General Phao reportedly negotiating with former Thai army leaders”. พล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามเจรจากับอดีตนายทหารที่เกี่ยวของกับการ“กบฎเสนาธิการ” โดยเขาสัญญาวาจะผลักดันให อดีตนายทหารกลับเขาสูราชการอีกครั้ง แตนายทหารหนึ่งในนั้นปฏิเสธ สวนอีกคนหนึ่งตองการกลับเขารับ ราชการเมื่อไดรับการนิรโทษกรรม 120 NA, FO 371/101168, Chancery to Foreign Office, 21 July 1952. 121 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ” Internal Political Situation,” 9 October 1952.; NARA, RG
122
ระหวางเตียงและพล ต.อ.เผาก็หกั สะบัน้ ลง โดยเตียงหันมาสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์เพื่อในการ ทาทายอํานาจคายราชครูอยางเต็มที122 ่ 4.9 การปราบปรามขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป. ตั้งแต สงครามเกาหลีเริ่มตนขึ้นและรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดสงทหารเขารวม ในสงครามดังกลาวนัน้ ปญญาชนฝายซายหลายกลุมไดเคลื่อนไหวตอตานสงครามเกาหลี สหรัฐฯและรัฐบาลภายใตชอื่ วา“ขบวนการสันติภาพ”และ“ขบวนการกูช าติ” 123 แตความเคลื่อน ไหวดังกลาวกลับมิไดถูกปราบปรามจากรัฐบาลจอมพล ป. ทําให สหรัฐฯเริ่มเกิดความไมไววางใจ ตอความมุง มัน่ ในการตอตานคอมมิวนิสตของไทย เนื่องจาก สหรัฐฯไดรับรายงานเสมอๆวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทมีการติดตอลับๆกับ“กลุมปรีดี”124 ฮันนาห เลขานุการโทประจําสถานทูต สหรัฐฯ∗ ไดพบพล ต.อ.เผาในเดือนสิงหาคม 2495 เพื่อสอบถามถึงทาทีของรัฐบาลไทยในการ ตอตาน“ขบวนการสันติภาพ”และ“ขบวนการกูชาติ”ที่มคี อมมิวนิสตอยูเบื้องหลัง เขาไดแจงกับ พล ต.อ.เผาวา “ หากมีการคุกคามใดๆหรือการลุกฮือใดๆในไทย ตํารวจไทยจะทําอยางไรกับภัย รายแรงที่เกิดขึ้น” อีกทั้ง “ผูมีอํานาจในวอชิงตัน ดี.ซี. คาดหวังวาตํารวจจะสามารถรักษาเสถียร ภาพทางการเมืองภายในของไทยได “ พล ต.อ.เผา ไดตอบเขาวา ขบวนการสันติภาพเปนเพียง “เสือกระดาษ” การรักษาเสถียรภาพการเมืองภายในของไทยเกิดขึ้นจาก “เพื่อนอเมริกันและไทย 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Bangkok to Secretary of State, ”Monthly Political Report for August-September 1952 ,” 27 October 1952. 122 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Tiang Sirikhan and Robert Anderson, ”Internal Political Situation,” 9 October 1952. 123 โปรดดู ความเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสตและกลุมฝายซายในชวงเวลาดังกลาวเพิ่มเติมใน Somsak , “The Communist Movement in Thailand”. 124 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001300150001-2, 13 August 1952, “Phao denies Thai police knew of departure of Peiping delegates”. ∗
นอรแมน ฮันนาห ทํางานใหกับซีไอเอ มีบทบาทในการสนับสนุนใหตํารวจจับภริยาและบุตรชายของ เขาในกรณี“กบฎสันติภาพ”ในป 2495 (ปรีดี พนมยงค, ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐ ราษฎรจีน, หนา 108-109). พูนศุข พนมยงค ภริยาของปรีดี ไดบันทึกวา ในระหวางที่เธอจับกุมถูกคุมขังที่ สันติบาลเธอไดเคยเห็น พล ต.อ.เผา ศรียานนทตอนรับชาวอเมริกัน 2 คน ในยามดึก คนแรกเปนชาวอเมริกันที่ เคยเปนอดีตโอเอสเอสที่เขามาไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คนที่สองคือ ฮันนาห เจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯที่ ทําหนาที่การขาว ซึ่งเคยเปนกงสุลสหรัฐฯผูเคยขีดฆาวีซาปรีดีที่เซี่ยงไฮ (พูนศุข พนมยงค, 101 ปรีดี-90 พูนศุข, [กรุงเทพฯ: ลลิตา สุดา สุปรีดา ดุษฎี วาณี พนมยงค, 2545], หนา 125).
123
ที่จะรวมมือกันในการปองกันภัยคุมคามนี้ ” พล ต.อ.เผาไดกลาวย้าํ กับเขาวา ขอใหรกั ษาการ สนทนาลับสุดยอดนี้ไว นอกจากนี้ พล ต.อ.เผาไดบอกตอไปวา สิง่ สําคัญสําหรับนโยบายของพล ต.อ.เผา คือ ความจริงใจระหวางเขากับฮันนาหและสหรัฐฯ พล ต.อ.เผาขอใหการสนทนานี้เปน ความลับสุดยอด ฮันนาหตอบเขาวา ความรวมมือที่ใกลชดิ ระหวางกันนีจ้ ะตอเนื่องและขยายตัว ตอไป125 จากการที่ สหรัฐฯไดเริ่มสงสัยความเคลื่อนไหวของ พล ต.อ.เผา ศรียานนทติดตอกับ เตียง ศิริขันธ และสุรีย ทองวาณิชย ซึ่งเปน “กลุมปรีดี” ทําใหกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯเริ่มเกิด ความสงสัยตอทาทีของรัฐบาลไทยที่กาํ ลังจะเปลี่ยนฝายจากตะวันตกไปตะวันออกอันจะมีผลตอ ความชวยเหลือทางการทหารที่สหรัฐฯจะใหแกไทย ในตนเดือนพฤศจิกายน 2495 จอมพล ป. พิบลู สงครามสั่งใหทูตทหารที่วอชิงตัน ดี.ซี.ไปชี้แจงใหกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯมีเขาใจที่ถกู ตอง ตอไทย126 ในที่สดุ ตนเดือนพฤศจิกายนนัน้ เอง รัฐบาลจําเปนที่จะตองแสดงความชัดเจนในการ ดําเนินนโยบายตอตานคอมมิวนิสตใหประจักษแกสหรัฐฯนําไปสูการแตกหักกับ“ขบวนการ สันติภาพ”และ“ขบวนการกูช าติ”ที่ไดรับการสนับสนุนจากพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย127 จากนั้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน พล ต.อ.เผาไดเสนอพระราชบัญญัติการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต เขาสูสภาและผาน 3 วาระรวดในวันเดียวอยางไมเคยมีมากอน สแตนตัน ทูตสหรัฐฯเห็นวา การ จับกุมนายทหาร และปญญาชน นักหนังสือพิมพไทยฝายซายจํานวนมาก และการออกกฎหมาย นี้เปนการแสดงความจริงใจเปนครั้งแรกของรัฐบาลจอมพล ป.ในการตอตานคอมมิวนิสต หลังจากที่รัฐบาลเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯมานานหลายป 128 เชา ฉบับ 13 125
NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4186, Memorandum of Conversation General Phao and Hannah, “Current Politics,” 16 August 1952. 126 NA, FO 371/101168, Wallinger to Foreign Office, 27 November 1952.; Wallinger to Foreign Office, 28 November 1952. 127 Somsak, “The Communist Movement in Thailand,” pp. 335-340. ความเคลื่อนไหวของทั้ง สองขบวนการนี้เปนสวนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสตที่มุงโจมตีสหรัฐฯและรัฐบาล มีการออกใบปลิวที่ปลิวโจมตี สหรัฐฯเปน “จักรรดินิยม” “นักบุญที่มือถือสากปากถือศีล โจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามวา “ทําตัวเปน สมุนรับใชจักรวรรดินิยมอเมริกา” “ทําตัวไปอยูใตเบื้องบาทาของจักรวรรดินิยม” ตองการใชไทยเปนฐานทัพใน เอชียและตองการ “สูบ” ทรัพยากรธรรมชาติ และใชไทยเปนฐานทํา “ทําสงครามประสาท” ตอตานคอมมิวนิสต ใบปลิวเหลานี้ สถานทูตสหรัฐฯไดสงกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.(NARA, RG 59 Central Decimal File 19501954 Box 4189, “แถลงการณขบวนการกูชาติ ฉบับที่ 7,” 24 มิถุนายน 2495). 128 “Stanton to The Secretary of States, 14 November 1952,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12,(Washington D.C.: Government Printing Office, 1987), p.657.;
124
พฤศจิกายน ลงการใหสัมภาณของพล ต.อ.เผาวา การจับกุมครั้งนี้ไดรบั แรงกดดันจากสหรัฐฯ และอังกฤษในการปราบปรามคอมมิวนิสต ตอมาสแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดนําคําใหสัมภาษณของ พล ต.อ.เผาทีก่ ลาววา สหรัฐฯอยูเบื้องหลังการจับกุม“ขบวนการสันติภาพ”แจงใหจอมพล ป. ทราบ แตจอมพล ป. ไมไดปฏิเสธขอเท็จจริงดังกลาว เขากลาววา คําใหสัมภาษณของพล ต.อ. เผา “ไมเปนการดี” 129 ในขณะที่ วิทยุปกกิง่ ไดกลาวโจมตีการจับกุม“ขบวนการสันติภาพ”วา การ จับกุมครั้งนี้ไดรับคําสั่งจากจักวรรดินิยมตะวันตก130 ภายหลังการจับกุมขบวนการตอตานสหรัฐฯและรัฐบาลครั้งใหญแลว ในตนป 2496 สแตนตัน ทูตสหรัฐฯไดเรียกรองให สหรัฐฯใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตอไป เขารายงานวา จอมพล ป. ไมแตเพียงมีทา ทางที่เปนมิตร และใหความรวมมือกับสหรัฐฯเทานัน้ แตยังสามารถถวงดุลอํานาจระหวางกลุมทหารได ดังนัน้ การทํางานรวมกันระหวางสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป.จะทําใหนโยบายของสหรัฐฯสําเร็จได อยางไรก็ตาม สแตนตัน ไดเสนอแนะกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศวา สหรัฐฯควรลดการ แทรกแซงทางการเมืองภายในของไทย เพราะขณะนี้ คนไทยมีความรูสึกชาตินยิ มเพิ่มขึน้ เนื่องจาก พวกเขามองวา รัฐบาลไดกลายเปนหุน เชิดของสหรัฐฯแลว 131
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A000900470001-0, 6 December 1952, “Thai Premier concerned over Communist activities”; หจช.บก.สูงสุด 1 / 668 กลอง 24 เรื่อง พระราชบัญญัติการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต พ.ศ.2495 (13-21 พฤศจิกายน 2495). 129 “Stanton to The Secretary of States, 14 November 1952,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p.656.; NA, FO 371/101168, Whittington to Foreign Office, 13 November 1952. 130 หจช.(2) สร. 0201.89 / 10 การสนับสนุนสันติภาพของคอมมิวนิสต(23 พฤศจิกายน 2493-13 มีนาคม 2496) นายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 29 พฤศจิกายน 2495. 131 “Stanton to The Department of States-Summary of Thai Political and Economic Situation as of January 1953-23 January 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, pp.659-660.
บทที่ 5 ไอเซนฮาวรกับการสรางความแข็งแกรงให กลุมทหารและกลุมตํารวจไทย 2496-2497 5.1 นโยบายตางประเทศของไอเซนฮาวรตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทย สหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดี ดไวต ดี.ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower) (20 มกราคม 2496-20 มกราคม 2504) เปนชวงเวลาทีถ่ ือไดวา เปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญของ นโยบายตางประเทศสหรัฐฯตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เนื่องจาก ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมนี โยบายที่เขมขนและมุงตรงตอภูมภิ าคและไทยเปนอยางมากผานความชวยเหลือทาง การทหารและการดําเนินสงครามจิตวิทยาในการตอตานคอมมิวนิสต สาเหตุสาํ คัญของการตัด สินใจดําเนินนโยบายตางประเทศดังกลาวตอภูมิภาคนั้น นับตั้งแตการลมสลายของจีน การเกิด สงครามเกาหลี และการดําเนินนโยบายปราบปรามคอมมิวนิสตในอินโดจีนอยางรุนแรงเนื่องจาก สหรัฐฯวิตกถึงการลมสลายของภูมิภาคตามทฤษฎีโดมิโน ซึง่ มีผลทําใหสหรัฐฯสูญเสียแหลงผล ประโยชนของสหรัฐฯในเอเชียตะวันออกไกล ดวยเหตุนี้ สหรัฐฯจึงจําเปนจะตองทุมงบประมาณ ลงในภูมิภาคเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชนที่ไหลกลับคืนมาสูสหรัฐฯในเวลาตอไป1 และเมื่อ สถานการณในอินโดจีนตึงเครียดมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิง่ เวียดมินหมีแนวโนมทีจ่ ะชนะฝรัง่ เศส สหรัฐฯประเมินวา เวียดมินหจะบุกเขาไทยทางอีสานดวยการสนับสนุนจากจีนเปนเหตุใหสภา ความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯมีนโยบายทําใหการเมืองของไทยมีเสถียรภาพ หาไมแลวไทยอาจไม สามารถตานทานการรุกรานจากคอมมิวนิสตได 2 ดวยเหตุนี้ กระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯ โดย วอลเตอร เบลเดล สมิธ(Walter Bendell Smith)ปลัดกระทรวงฯไดสั่งการใหสถานทูตสหรัฐฯไทยดําเนินการตามนโยบาย ดังนี้ ทําใหรัฐบาลไทยและการตอตานคอมมิวนิสตในไทยมีเขมแข็ง เพิม่ การรับรูเกี่ยวกับสหรัฐฯใน ทางบวกใหกับคนไทย และเพิ่มโอกาสใหนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯประสบความสําเร็จใน ไทยแมจะมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลก็ตาม3 ทั้งนี้ นับตั้งแตไทยไดลงนามในขอตกลงทางการทหาร 1
The Pentagon Papers, p. 6. The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, National Intelligence Estimate Resistance of Thailand, Burma ,and Malaya to Communist Pressures in the event of a Communist Victory in Indochina in 1951, 15 March 1951. 3 NARA, RG 469 Entry 1385, U.S. Policy in Thailand, 7 August 1951. 2
125
สหรัฐฯในป 2493 ทําใหสหรัฐฯไดเริ่มเขามาจํากัดความเปนอิสระในการตัดสินใจของไทยมากขึน้ เรื่อยๆ 4 พรอมกันนัน้ สหรัฐฯยังคงผลักดัน โครงการขอที่สี่ตอไปดวยการใหความชวยเหลือทาง เศรษฐกิจและเทคนิค เพื่อกระตุนใหภูมิภาคนี้สามารถฟน ฟูการคาระหวางกันและเพิม่ การคาโลก เสรี ตลอดจนใหมีการตอตานคอมมิวนิสตดวยการเริ่มนโยบายความชวยเหลือทางการทหารตอ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยแผนปฏิบัติการทางการทหาร และการโฆษณาชวนเชื่อผาน กิจกรรมทางวัฒนธรรมใหกบั ผูคนภายในภูมิภาคใหมากขึ้นเพื่อเปนพลังเกื้อหนุนใหประเทศตางๆ ที่เปนพันธมิตรกับโลกเสรีตอไป สําหรับนโยบายของสหรัฐฯตอไทยนัน้ สหรัฐฯเห็นวา ไทยมี ความสําคัญในฐานะประเทศสงออกขาวและมีทรัพยา-กรที่จะชวยฟน ฟูญี่ปุน และประเทศอื่นๆ ในเอเชีย ดังนัน้ หากสหรัฐฯสูญเสียเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยไปจะมีผลกระทบอยางมาก ทางการเมืองและเศรษฐกิจของญี่ปุนและเอเชียในภาพรวม5 ดังนัน้ สหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรจึงเปนชวงที่ซีไอเอมีบทบาท อยางมากในการดําเนินการสงครามจิตวิทยา การปฏิบัติการลับ การจัดตั้งกองกําลังกึ่งทหารเพื่อ ทําสงครามกองโจร การโฆษณาชวนเชื่อ การดําเนินการทางการเมืองทั่วโลกเพื่อปองมิใหเกิด ทฤษฎีโดมิโนตามที่สหรัฐฯมีความวิตก6 สําหรับไทยนัน้ สหรัฐฯไดใหความสนใจในไทยในฐานะ เปนแหลงยุทธศาสตรที่สําคัญในภูมิภาคอันสะทอนใหเห็นจากสหรัฐฯมีเจาหนาที่ปฏิบัติในไทย ทั้งประจําสถานทูต การขาว การทหารในกลางป 2496 มีจํานวนถึง 245 คน7 ตนเดือนพฤษภาคม 2496สถานการณการสูรบระหวางเวียดมินหกับฝรั่งเศส มีแนวโนมที่ ที่ฝรั่งเศสจะปราชัย สแตนตัน ทูตสหรัฐฯและหัวหนาหนวยแมก(MAAG)ไดเรียกรองใหสหรัฐฯ 4
Neher, “Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand During The 1940s,” p. 327. 5 “1952 Policy Statement by U.S. on Goals in Southeast Asia,” in The Pentagon Papers, pp. 27-29. 6 Michael J. Hogan, Thomas G. Patterson, Explaning the History of American Foreign Relation,(Cambridge: Cambridge University Press, 1991), p. 155. 7 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers, 1953 -1961, Psychological Strategy Board Central Files Series Box 16, Summary of Department of State Revision of PSB-D 23, 24 July 1953. อดีตตํารวจของไทยระดับสูงคนหนึ่งไดบันทึก วา เปอรรี่ ฟลลิปส เปนเจาหนาที่ซีไอเอแตแฝงเขามาในตําแหนงเจาหนาที่สถานทูต ทําหนาที่จารกรรมขาวจาก สถานทูตสหภาพโซเวียตในไทย โดยเจาหนาที่คนดังกลาวปฏิบัติหาขาวในไทยดวยการดักฟงโทรศัพทของ สถานทูตสหภาพโซเวียตในกรุงเทพฯ(พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 226, 157165).
126
สนับสนุนทางการทหารแกไทยเพิ่มขึ้น ตอมา จอหน เอฟ. ดัลเลส(John F. Dulles) รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ไดเสนอความเห็นตอรัฐมนตรีกลาโหมใหเพิม่ สนับสนุนทาง การทหารแกไทย เขาใหเหตุผลสนับสนุนวา ไทยเปนจุดยุทธศาสตรสําคัญในการตอตานการ ขยายตัวคอมมิวนิสตในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยกําลังถูกคุกคามจากพวก คอมมิวนิสตตามพรมแดนในภาคอีสาน 8 ดวยสถานการณที่เลวรายตอความตองการของสหรัฐฯ ที่ตองการตอตานคอมมิวนิสตในเอเชีย ทําใหไอเซนฮาวร อนุมัติแผนการสนับสนุนอยางเรงดวน ทางการทหารแกไทย ดวยการสงเสนาธิการทหารสนับสนุนการฝกการใชอาวุธและเรงใหการ สนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณแกไทย9 จากนัน้ ดัลเลส ไดแจงตอพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯ วา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือในหลายรูปแบบแกไทย เชน อาวุธ การสงนายทหารระดับสูงเขา มาใหความชวยเหลือ การสงเจาหนาที่ไปสังเกตุการณชายแดนไทยถึงความเคลื่อนไหวของพวก คอมมิวนิสตทชี่ ายแดน และสหรัฐฯจะสงอาวุธ กระสุน ใหแกไทยอยางเรงดวนที่สุด10 รายงานการขาวระดับสูงของสหรัฐฯขณะนั้นประเมินสถานการณวา หากเวียดมินหบุก เขาลาวจะทําใหความสามารถในการตานทานของไทยสิน้ สุดลง เนื่องจาก กองทัพบกไทย แมจะ มีกําลังพล ประมาณ 50,000 คน แตมีอาวุธ ยุทโธปกรณต่ํากวามาตรฐานของสหรัฐฯ สวนตํารวจ มีกําลังพล 38,000 คน แตมภี าระกิจหนาที่กวางขวางตัง้ แต การรักษาความสงบภายใน และการ รักษาชายแดน แตขาดแคลนอาวุธหนัก ไมมีหนวยฝกเฉพาะ ขาดแคลนพาหนะ กลาวสรุป สหรัฐฯเห็นวา กองทัพและตํารวจของไทยไมสามารถปราบปรามคอมมิวนิสตที่จะแทรกซึมเขามา ได 11 ดังนั้น ดวยเหตุการณทแี่ ปรผันอยางรวดเร็วในอินโดจีนทําใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรได อนุมัติแผนการของกระทรวงกลาโหมที่มีการคาดการณตามทฤษฎีมิโนวา การสูญเสียประเทศ ใดๆในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตจะนําไปสูการสูญเสียทัง้ ภูมิภาค และยอมมีผลกระทบที่รายแรง ตอเสถียรภาพและความมัน่ คงของยุโรปดวย12
8
“Dulles to Wilson-The Secretary of Defense, 5 May 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 666. 9 The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, Minutes of the 143 rd Meeting of the National Security Council, 6 May 1953. 10 “Memorandum of Conversation by the officer in charge of Thai and Malayan Affaires (Landon), May 6 , 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 672. 11 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T01146A001200150001-3, 19 May 1953, “NIE-96: Thailand’s Ability to withstand Communist Pressure or attacks”. 12 The Pentagon Papers, p. 7.
127
ตอมา ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมอบหมายให ซี. ดี. แจคสัน (C.D. Jackson)ที่ปรึกษา ประธานาธิบดีเตรียมการเสนอแผนการใชไทยเปนฐานปฏิบัติการจิตวิทยาเพื่อตานคอมมิวนิสต ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต13 เขาไดสอบถามโรเบิรต คัตเลอร (Robert Cutler) ผูชวย พิเศษของเขาถึงบุคคลที่เหมาะสมในการดําเนินงานแผนสงครามจิตวิทยาระหวางไทยและสหรัฐฯ คัทเลอรไดเสนอ ชื่อ วิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน(William J. Donovan)∗ เปนทูตสหรัฐฯประจําคนใหม แทนสแตนตัน เนื่องจากโดโนแวนมีประสบการณ และมีความคุน เคยบุคคลสําคัญตางๆในไทย มากกวา เขาจึงมีความเหมาะสมที่จะดําเนินการประสานแผนการที่มีความหลากหลายระหวาง สหรัฐฯและไทยใหสําเร็จได 14 กระแสขาวการตั้งโดโนแวนมาเปนทูตสหรัฐฯคนใหมประจําไทยไดสรางความวิตกใหกับ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมาก เนือ่ งจากรัฐบาลจอมพล ป. เห็นวาโดโนแวน เคยใหการ สนับสนุน “กลุม ปรีดี” ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทําใหรฐั บาลไทยระแวงวา โดโนแวนจะ สนับสนุนปรีดี พนมยงคใหกลับมามีอํานาจทางการเมืองไทยอีก ดวยเหตุนี้ โดโนแวนจึง แสดงออกตอรัฐบาลวา เขาไมสนใจความขัดแยงทางการเมืองภายในและเขาไมใชพวกปรีดี และ ไดแสดงใหรัฐบาลรูวา ความเคลื่อนไหวของอดีตโอเอสเอสพยายามโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. นัน้
13
Dwight D. Eisenhower, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4 NSC summery of discussion, Minutes of the 143 rd Meeting of the National Security Council, 6 May 1953. ∗
วิลเลี่ยม เจ.โดโนแวน (2426-2502) เปนทูตสหรัฐฯประจําไทยระหวางสิงหาคม 2496-สิงหาคม 2497 เขาเปนคนนิวยอรค จบกฎหมายจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เคยเปนอัยการ ตอมาเดินทางมาตะวันออก ไกลในป 2463 เคยเปนที่ปรึกษาเอกอัคราชทูตสหรัฐฯประจําญี่ปุน เคยเขาไปลืบราชการลับในรัสเซียหลังการ ปฏิวัติ ประธานาธิบดีรูสเวลทไดสงไปยุโรปสืบราชการลับจากนาซีและทําหนาที่สืบราชการลับตั้งแตป 2483 (Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan. (New York: Vintage Books,1982), p. 824. 14 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith-Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953.; Memorandum by Robert Cutler , Special Assistant to The President for National Security Affaires to The Chairman of The Operations Coordination Board (Smith), 10 ,August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.686-687.; Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 824.
128
ไมใชสิ่งที่เขาใหการสนับสนุนเลย15 ตอมา สมิธ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ ไดเรียกพจน สาร สิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯมาพบเพื่อยั่งทาทีไทยตอการทีส่ หรัฐจะแตงตัง้ โดโนแวนอีกครั้งหนึง่ พจนไดโทรเลขดวนกลับกรุงเทพฯ ไมกวี่ ันหลังจากนั้น รัฐบาลไทยไดตอบรับทูตสหรัฐฯคนใหม 16 ทั้งนี้ ภารกิจสําคัญที่ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมอบหมายให วิลเลีย่ ม โดโนแวน ปฏิบัติการในเอเชียตะวันออกเฉียงใตโดยเฉพาะตอในไทย คือ การสราง“ปอมปราการ”(Bastion of resistance)ของการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯประจําภูมิภาคขึ้นในไทย โดยใหเขาดําเนิน งานรวมกับหลายหนวยงานของสหรัฐฯ ดังนัน้ เขาจะตองทํางานประสานงานหลายหนวยงานทาง ลับในปฏิบัติการทางสงครามจิตวิทยาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสรางความเปนไปไดที่จะให สหรัฐฯเขามาปฏิบัติการหลายรูปแบบในไทยและใหใชประโยชนจากคนไทยใหมากทีส่ ุด เพื่อ รองรับภารกิจอื่นๆของสหรัฐฯในภูมิภาคทีจ่ ะมีตอไป 17 เขาเห็นวา ภารกิจใหมของเขาในไทย คือ “เอกอัครราชทูตนักรบ”(Warrior-Ambassador)18 5.2 “เอกอัครราชทูตนักรบ”กับสราง “ปอมปราการ” ทางการทหารในไทย สาเหตุ สําคัญที่สหรัฐฯเลือกไทยเพื่อสรางปอมปราการในการตอตานคอมมิวนิสตไมแต เพียงภูมิศาสตรที่เหมาะสมเทานั้น แตซีไอเอไดเคยรายงาน มุมมองของสภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯตอไทยวา ที่ผา นมาไทยดําเนินนโยบายตางประเทศตามสหรัฐฯ โดยไทยไดยอมรับความ ชวย เหลือทางเศรษฐกิจและการทหารจากสหรัฐฯ และไทยไมพยายามเขาไปมีอิทธิพลเหนือ 15
Dwight D. Eisenhower Library, John Foster Dulles Paper 1951-1959, Personnel Series Box 1, Robertson to Secretary of State, Possible designation of General William Donovan as Ambassador to Thailand, 2 June 1953. 16 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0005 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายวิลเลี่ยม เจ. โดโนแวน เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย พจน สารสิน ถึง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ 28 มิถุนายน 2496 และ วรรณไวทยากร ถึง เอกอัครราชทูต ณ กรุง วอชิงตัน 2 มิถุนายน 2493 ถวายสาสน 4 กันยายน 2496 , “Memorandum of Conversation by the officer in charge of Thailand and Malayan Affaires (Landon), 29 July 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, pp.679-680. 17 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire : Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Cutler from W.B. Smith, 11 September 1953.; Anthony Cave Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 824. 18 Ibid., pp. 822-823.
129
ประเทศเพื่อนบานมากเกินไปจนกระทั่งถูกมองจากประเทศอื่นๆวาไทยเปนรัฐบริวารของสหรัฐฯ ดังนัน้ ไทยจึงมีความเหมาะสมในทางยุทธศาสตรที่สหรัฐฯจะดําเนินการสรางปอมปราการ ตอตานคอมมิวนิสตใหเกิดขึ้น 19 ตอมา ตนเดือนสิงหาคม 2496 สภาความมัน่ คง สหรัฐฯไดอนุมัติ ใหใชแผนสงครามจิตวิทยาในประเทศไทย(U.S. Psychological Strategy based on Thailand) โดยโดโนแวนเปนผูริที่สาํ คัญในการเสนอแผนสงครามจิตวิทยาตอไทย20 แผนสงครามจิตวิทยานี้ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณประจําป 1954 จํานวน 1,500,000 ดอลาร21 โดยมีหลายหนวย งานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม สํานักขาวสารอเมริกัน(USIA) และซีไอเอ22 ภาระกิจสําคัญของแผนสงครามจิตวิทยาในไทย คือ สหรัฐฯมีความตองการทําใหกองทัพ และประชาชนไทยใหความรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสต ดวยการลดทอนโอกาสที่ ไทยจะถูกคุกคามจากคอมมิวนิสต การใหความชวยเหลือทางการทหารและขยายปฏิบัติการกอง กําลังกึ่งทหาร(Para-military)เพื่อทําใหไทยกลายเปน “ปอมปราการ”ทางการทหาร การใหความ ชวย เหลือทางเศรษฐกิจระยาวที่มุงเนนไปยังภาคอีสานเพื่อลดทอนการตอตานสหรัฐฯ การใช โครงการจิตวิทยาทําใหคนไทยมีความผูกพันธเปนหนึ่งเดียวเพื่อใหความรวมมือและสนับสนุนใน สิ่งที่สหรัฐฯตองการ อีกทัง้ การขยายกิจกรรมของสหรัฐฯในไทยผานแผนสงครามจิตวิทยา และ การกระตุนใหไทยขยายโครงการสงครามกองโจรและกองกําลังกึง่ ทหาร ตลอดจน การทําใหไทย
19
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP80R01443R000100300007-2, 13 August 1953, “NSC briefing Thailand”. 20 “Memorandum of Conversation at the 161 st Meeting of the National Security , 9 August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p. 685.; Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers, 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service Box 2, Memorandum for James S. Lay, Jr.-Executive Secretary National Security Council, Special Report on Thailand, 12 July 1954. 21 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record, 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), U.S. Psychological Strategy based on Thailand, 8 September 1953. 22 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record, 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16 file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith-Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953.
130
เปนฐานปฏิบตั ิการสงครามจิตวิทยาตลอดทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อขยายอิทธิพลของ สหรัฐฯตอไป 23 ในรายงานของพล.ต.วิลเลีย่ ม เอ็น. กิลโมร((Maj. Gen William N. Gillmore)หัวหนาแมค ไดประเมินวา ความสามารถในการรักษาความมัน่ คงภายในและภายนอกของไทยมีไมเพียงพอ ดังนัน้ สหรัฐฯจะตองใหความชวยเหลือทางอาวุธและที่ปรึกษาทางการทหารแกรัฐบาลไทยซึ่งยัง ผูกพันธกับการตอตานคอมมิวนิสต โดยทัว่ ไปแลวคนไทยนิยมและนับถือคนอเมริกนั สังคมไทย ไมมีปญหาความยากจนและความรูสึกตอตานอาณานิคม สวนนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี มีความนิยมสหรัฐฯ ดวยเหตุนี้ ไทยสามารถที่เปนแหลงทรัพยากรและฐานปฏิบัติการจิตวิทยาที่ ตอบสนองผลประโยชนของสหรัฐฯในภูมภิ าคไดเปนอยางดี 24 ตอมา โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ ประเมินวา รัฐบาลไทยมีทัศนคติที่เปนมิตรกับสหรัฐฯ และยอมรับคําแนะนําและขอเสนอแนะจาก สหรัฐฯ รัฐบาลไทยยังคงตองการความชวย เหลือทางเศรษฐกิจและอาวุธจากสหรัฐฯ25 สวน รายงานของคณะกรรมาธิการพิเศษของสภาผูแทนราษฎรสหรัฐฯประเมินวา ไทยยังคงมี เสถียรภาพทางการเมืองมากกวาประเทศเพื่อนบาน แมไทยจะมิไดเปนประชาธิปไตย แตไทยมี องคประกอบที่เขมแข็งจากการมีประวัติศาสตรที่ยาวนาน ทําใหไทยมีความเหมาะสมที่สหรัฐฯจะ ใชเปนพันธมิตรที่มีประสิทธิภาพได ในขณะที่ประเทศในแถบนี้สว นใหญมีนโยบายตางประเทศ เปนกลาง สําหรับทาทีของไทยนั้นมีแนวโนมทีจ่ ะเขารวมกับประเทศที่มีความเขมแข็งทาง การทหารมากกวา ในรายงานเสนอใหสหรัฐเพิ่มความชวยเหลือทางการทหารแกไทยใหมากขึ้น และย้ําวาการใหความชวยเหลือจะใหกับประเทศที่อยูฝา ยสหรัฐฯมากกวาใหประเทศที่เปนกลาง 26
การประชุมสภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ ครั้งหนึง่ ในป 2497 เห็นวา หากสหรัฐฯ สูญเสียเอเชียตะวันออกเฉียงใตจะมีผลกระทบตอหลายประเทศในโลกเสรี เนื่องจากภูมิภาค 23
“U.S. Psychological Strategy Based on Thailand”(PSB-D23), 14 ,August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12,(Washington : Government Printing Office,1987), pp. 688-691. 24 “Gillmore-The Chief of the Joint Military Mission to Thailand to The Joint Chief Staff, 30 September 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, pp. 695-697. 25 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4187, Donovan to Secretary of State, 17 October 1953. 26 Special Study Mission to Southeast Asia and The Pacific report by Walter H. Judd, Minnesota; Margerite Stitt Church, Illinois; E. Ross Adair, Indiana; Clement J. Zablocki, Wisconsin, 29 January 1954, printed for the used of the Committee on Foreign Affaire,( WashingtonD.C.: United States Government Printing Office, 1954), pp. 56-59.
131
ดังกลาวเปนแหลงทรัพยากร ธรรมชาติที่สาํ คัญ เชน ยาง ดีบุก ขาว การผลิตน้ํามัน และสินคา ยุทธปจจัย รวมทั้งศักยภาพของการเปนตลาดใหกับสินคาอุตสาหกรรมจากประเทศในโลกเสรี ดังนัน้ วัตถุประสงคของสหรัฐฯ คือ การปกปองและโนมนาวใหประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตรว มมือกับประเทศโลกเสรี สําหรับนโยบายของสหรัฐฯตอไทย คือ การทําใหการ เมืองไทยมีเสถียรภาพ และทําใหไทยยังคงผูกพันธกับสหรัฐฯตอไป ดวยการควบคุมทิศทาง การทหาร เศรษฐกิจ ความชวยเหลือทางเทคนิค และการสนับสนุนโครงการโฆษณาชวนเชื่อและ กิจกรรมทางวัฒนธรรมรวมทั้งปฏิบัติการลับตอไป27 ดวยเหตุที่ การตัดสินใจดานการทหารของสหรัฐฯขณะนัน้ ตั้งอยูบนขอมูลและคําแนะนํา จากชุมชนของสายลับของสหรัฐฯ 28 ทําใหตลอดระยะเวลาที่โดโนแวนดํารงตําแหนงทูตสหรัฐฯ ประจําไทย เขาดําเนินการตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯเปนอยางดี โดยการเรียกรองให สหรัฐฯใหการสนับสนุนทางการทหารแกไทยใหมากขึ้นควบคูไปกับการผลักดันใหซไี อเอมีขยาย กลไกในไทยอยางกวางขวาง โดยเขาไดเริ่มจากการประสานกับอดีตโอเอสเอสกลุมเล็กๆและทํา การขยายเครือขายปฏิบัติการของซีไอเอออกไปจากนั้น เขาไดใชวิธีสมัยใหมทางการเมืองและ การทหารในการปราบปราบการกอกบฏและการตอตานคอมมิวนิสตภายในและตามชายแดน ของไทย29 ในชวงที่เขาปฏิบัตหิ นาทีท่ ูตสหรัฐฯ เขาไดริเริ่มงานหลายประการ เชน การจัดตั้ง หมูบานการทหาร การใชสื่อสารมวลชนสมัยใหมทําสงครามจิตวิทยา การใหการสนับสนุนอาวุธ สมัยใหม เครื่องบินไอพน และเรือเร็วใหกบั กองทัพและตํารวจ โดยเฉพาะอยางยิง่ การฝกอบรม ใหกับตํารวจ และการจัดตั้งการขาวทางการทหารขึ้นในประเทศไทย30 ในสายตาของทูตอังกฤษไดประเมินอิทธิพลของสหรัฐฯตอไทยในชวงเวลานัน้ วา สหรัฐฯ มีอิทธิพลตอไทยทางเศรษฐกิจและการทหารมากขึน้ เห็นไดจาก การที่สหรัฐฯสงบุคคลสําคัญ เดินทางมาไทยหลายคน เชน รองประธานาธิบดีริชารด นิกสัน วุฒิสมาชิก วิลเลี่ยม โนวแลนด (William F. Knownland) รวมทัง้ การสงโดโนแวนมาเปนทูตประจําไทยนัน้ ยอมสะทอนใหเห็นวา สหรัฐฯมีความตองการมีอทิ ธิพลโดยตรงตอไทย โดยสหรัฐฯตองการเปลี่ยนใหไทยเปน“ปอม
27
NARA, RG 84 box 2, Top Secret General Record 1947-1958, Statement of Policy by the National Security Council on United States objectives and courses of action with respect to Southeast Asia ,1954. 28 The Pentagon Papers, p.6 . 29 iIbid., p. 825. 30 Ibid., p. 825.
132
ปราการ”ในการตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาค ทูตอังกฤษสรุปวา การดําเนินการตางๆของสหรัฐฯ ในไทยเปนนโยบายตางประเทศที่สาํ คัญของวอชิงตัน ดี.ซี.31 5.3 เพนตากอนกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมทหาร ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดสงสัญญาณสองชวงในตนป 2497ใหฝรั่งเศสทราบวา สหรัฐฯพรอมที่จะชวยเหลือฝรั่งเศสดวยการเขาแทรกแซงอินโดจีนดวยกําลัง แมวาขณะนั้น กองทัพฝรั่งเศสจะออนกําลังลงในอินโดจีนแลวก็ตาม การสงสัญญาณจากสหรัฐฯใหกับฝรั่งเศส ชวงแรกเริ่มตนในเดือนมีนาคมซึ่งเปนชวงเวลากอนที่เดียนเบียนฟูจะแตก เนื่องจาก สหรัฐฯ ไม ตองการใหฝรัง่ เศสแพเพื่อใหฝรั่งเศสสามารถรักษาสถาน ภาพของการเปนหนึ่งในสามมหา อํานาจตอไป 32 ตอมา สหรัฐฯสงสัญญาอีกครั้ง ในเดือนพฤษภาคม เนือ่ งจากสหรัฐฯไมเห็นดวย การเปดการเจรจาสงบศึกของฝรั่งเศสกับเวียดมินห แตฝรั่งเศสขณะนัน้ ไมสามารถตานทานการ โจมตีของกองทัพเวียดมินหไดอีกตอไป จึงนําไปสูการเจรจาสงบศึก ณ กรุงเจนีวาที่เกิดขึ้นใน ปลายเดือนเมษายน แตสุดทายแลว ฝรั่งเศสจําตองลงนามยุติการรบกับเวียดมินหจนไปสูการ แบงเวียดนามออกเปน 2 สวน คือ เวียดนามเหนือ และเวียดนามใตที่เสนขนานที่ 17 จากเหตุการณนที้ ําใหรัฐบาลของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดสรางแนวคิดทฤษฎีโดมิโนสงผลใหสหรัฐฯมี นโยบายจะเขามามีบทบาทตอเอเชียตะวันออกเฉียงใต33 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมคี วามคิดวา หากสหรัฐฯสูญเสียอินโดจีนจะนําไปสูการสูญเสียเสียไทย พมา มาเลซียและเอเชียตะวันออกเฉียงใตทงั้ หมดในเวลาตอไป34 ดวยเหตุนี้ สหรัฐจึงไดใหความชวยเหลือทางการทหารเพิ่มใหแก กลุมทหารไทย ตั้งแตป 2495, 2496 และ 2497 มีมูลคา 12,000,000 ดอลลาร 55,800,000 ดอลลาร และ 38,900,000 ดอลลารตามลําดับ 35 อีกทัง้ กลุมทหารยอมรับใหจัสแมค (JUSMAG)มีฐานะที่ปรึกษาทางการทหาร และสามารถสงเจาหนาทีเ่ ขาไปในหนวยงานตางของ 31
NA, FO 371/112261, Wallinger to Foreign Office, Annual Report on Thailand for 1953, 18 January 1954. 32 Kahin, Intervention: How American become involved in Vietnam, p. 3.; The Pentagon Papers, p. 5-7. 33 David L. Anderson, Trapped by Success: The Eisenhower Administration and Vietnam, 1953-1961,(New York: Columbia University Press, 1991), p. 73. 34 Dwight D. Eisenhower, Mandate For Change, 1953-1956,(New York: Doubleday & Company, 1963), p. 333. 35 Surachart Bamrungsuk, United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947– 1977, p. 57.
133
กองทัพไทย จากนัน้ กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯและกลุม ทหารไทยรวมกันกอตั้งกองบิน ยุทธศาสตรสําหรับชายแดนไทยขึ้น36 ในตนเดือนเมษายน 2497 พล.ร.อ.เออรสกิน ผูช วยปลัดกระทรวงกลาโหมฝาย ปฏิบัติการพิเศษ สหรัฐฯ เรียกรองใหซีไอเอขยายบทบาทที่อยูเบื้องหลังปฏิบัติการลับในไทยให มากขึ้น เนื่องจาก กระทรวงกลาโหม สหรัฐฯเห็นวา ที่ผา นมาบทบาทของซีไอเอจํากัดบทบาท เพียงปฏิบัติการสงครามกองโจรตอตานคอมมิวนิสตเทานั้น 37 ตอมา สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯมีนโยบายสนับสนุนใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมีเสถียรภาพทางการเมืองเพื่อ ความรวมมือกับสหรัฐฯในการทําใหเกิดเสถียรภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทําใหไทย ผูกพันธกับการตอตานคอมมิวนิสตในภูมภิ าคและเปนมิตรกับโลกเสรีตอไป โดยสหรัฐฯใหการ สนับสนุนทางการทหาร เศรษฐกิจ เทคนิกอยางเหมาะสม และใหความสําคัญกับการโฆษณาชวน เชื่อในการตอตานคอมมิวนิสตและปฏิบัติการลับของไทยในประเทศเพื่อนบานตอไป 38 อยางไรก็ ตาม รายงานสําหรับประธานาธิบดีไอเซนฮาวรขณะนัน้ ไดประเมินความสามารถทางการทหาร ของไทยขณะนั้นยังคงอยูในระดับศูนย แมวา สหรัฐฯจะใหความชวยเหลือทางการทหารแกกลุม ทหารที่ผา นมาหลายปก็ตาม แตกลุมทหารสรางแตเรื่องอื้อฉาว39 5.4 ซีไอเอกับการสถาปนาอํานาจใหกลุมตํารวจ สาเหตุที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนกลุมตํารวจเพื่อทําหนาที่ปฏิบัติการลับและการรักษา ชายแดนที่ประชิดกับอินโดจีน เนื่องจาก สนธิสัญญาระหวางไทย-ฝรั่งเศสที่ทงั้ สองฝายลงนาม ตั้งแตป 2436 นั้นไดหา มทั้งสองประเทศมีกําลังทหารตามชายแดนในรัศมี 25 กิโลเมตร ดังนัน้ กองทัพจึงไมสามารถทําหนาที่รักษาดินแดนในบริเวณดังกลาวได ดวยเหตุนี้ สภาความมั่นคง 36
พล.อ. จิระ วิชิตสงคราม, “การชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐอเมริกา,” กลาโหม 1, 1 (มกราคม 2497): 76.; หจช.บก.สูงสุด 7 / 5 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับยศทหาร เชน กฎหมาย ขอบังคับการแตงตัว ขาว เกี่ยวกับการแตงตั้งทหาร ฯลฯ (5 กุมภาพันธ 2495 – 5 เมษายน 2500), บันทึกยอรายงานการประชุมสภา กลาโหม ครั้งที่ 3 เมื่อ 27 เมษายน 2497.; Brown, The Last Hero: Wild Bill Donovan, p. 826. 37 NARA, RG 84 box 1, Top Secret General Records 1947-1958, Memorandum G.B. Erskine to Donovan, 6 April 1954. 38 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service Box 2 , Memorandum for James S. Lay, Jr.-Executive Secretary National Security Council, Special Report on Thailand, 12 July 1954. 39 Library of Congress, CK3100297663, October 1954, Thailand: An American Dilemma.
134
แหงชาติ สหรัฐฯเห็นวา กลุม ตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทมีความยืดหยุน ในการปฏิบัติการ ลับและเปดที่รับภารกิจใหมในการจารกรรมและการรบแบบกองโจรมากกวาทหารที่ถนัดการรบ ในแบบ จึงมอบหมายใหซีไอเอปรับปรุงกําลังตํารวจดวยการผลักดันใหจัดตั้งหนวยงานใหมขนึ้ เชน ตํารวจพลรมเพื่อใหตํารวจมีกําลังที่เปยมดวยสมรรถนะทั้งการรุกและการรับ มีความสามารถ แทรกซึมไปจารกรรมแนวหลังของขาศึกได รวมทัง้ การสนับสนุนจัดตั้งตํารวจตระเวนชายแดน เพื่อดูแลชายแดนของไทยแทนทหาร40 ดวยเหตุที่ ปฏิบัติการของซีไอเอในไทยและภูมิภาคเปนการหาขาวเพือ่ ชวยการกําหนด นโยบายของสหรัฐฯ สงผลใหหนวยสืบราชการลับของสหรัฐฯที่อยูในไทยทั้งในสถานทูตฯและ หนวยงานนอกสถานทูตฯในรูปแบบกิจกรรมตางๆซึ่งมีมากมายจนกระทั่ง “เกลื่อนไปหมด”41 ทัง้ นี้ ปฏิบัติการของซีไอเอมีทงั้ การหาขาว การสงอาวุธ การใชไทยเปนฐานปฏิบัติการลับ การสนับสนุน กลุมการเมืองตางๆ การโฆษณาชวนเชื่อ ภารกิจเหลานีเ้ ปนความลับมาก 42 ในป 2495 ซีไอเอได สงเจาหนาที่จาํ นวน 76 คน แฝงเขามาเปนพนักงานของซีสัพพลายเพื่อฝกการรบใหตํารวจและมี เจาหนาที่ปฏิบัติการลับอีกกวา 200 คนนําโดยจอหน ฮารท(John Hart)∗ หัวหนาเจาหนาที่ซีไอเอ ซึ่งมีความสนิทสนมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท เขาจึงใหการสนับสนุนกลุมตํารวจอยางเต็มที่ 40
Lobe and Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” in Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, eds. Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins(Berverly Hills and London: SAGE, 1978), p.158.; Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 20-23.; พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพล รมไทย,หนา 3.; พล.อ.อ.สิทธิ เศวตศิลา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), หนา 39.; ตอมา เมื่อกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน(ตชด.)ยายไปหัวหินในป 2496 ความสัมพันธระหวาง พระมหากษัตริยกับตชด.ไดเริ่มขึ้น (Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 24). 41 พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, (กรุงเทพฯ: ไมปรากฎ ปพิมพ), หนา 207. 42 ประดาบ พิบูลสงคราม, “ซี.ไอ.เอ กับประเทศไทย,” สราญรมย 24 ( 2517): 334. ∗
จอหน ฮารทเคยรวมงานกับโดโนแวน ทูตสหรัฐฯ เมื่อครั้งที่โดโนแวนเปนหัวหนาหนวยสืบราชการ ลับของสหรัฐฯหรือโอเอสเอสในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ตอมาในชวง 2495 หนวยงานของซีสัพพลายได ขยายตัว รวมทั้งความสัมพันธที่แนบแนนระหวาง พล ต.อ.เผา ศรียานนทกับเขา นอกจากนี้ ทั้งคูมีผลประโยชน รวมทางการเงินและธุรกิจนอกกฎหมาย เชน การคาประเวณีในกรุงเทพฯ(Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 24.; E. Thadeus Flood, The United States and the Military Coup in Thailand : A Background Study,[California: Indochina Resource Center, 1976], p. 1).
135
ดวยเหตุที่ สหรัฐฯมีแผนกําหนดใหตํารวจพลรมรับผิดชอบปฏิบัติการลับและสงคราม นอกแบบ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ จึงแนะนําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตั้งคณะกรรมการขึ้น ชุดหนึง่ ชื่อวา “คณะกรรมการนเรศวร”เปนเสมือนผูวา จางซีสัพพลายใหทํางานตามโครงการทีซ่ ี ไอเอใหความชวยเหลือแกกลุมตํารวจเพื่อเปนการอําพรางบทบาทของซีไอเอ ดังนั้น การฝกและ ความชวยเหลือของซีไอเอจึงเปนความลับ อาวุธที่ซีไอเอสงมาใหแกกลุม ตํารวจมีปน คารไบน ปน มอรตา ปนตอตานรถถัง ระเบิดมือ อุปกรณเสนารักษ รมชูชีพ อุปกรณตั้งคายที่พัก ตลอดจน ปน ใหญ รถถังและเฮลิคอปเตอร 43 ตอมา สหรัฐฯไดสงเจาหนาที่ระดับสูงของสหรัฐฯไดตรวจคาย ปฏิบัติการคายนเรศวรที่ฝกตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนหลายคน เชน อัลแลน เวลช ดัลเลส(Allen Welsh Dulles)ผูอํานวยการซีไอเอ แมกซ บิชอป(Max Bishop)ทูตสหรัฐฯประจํา ไทยคนถัดมา และพล.ร.อ.เออรสกิน ผูแทนประธานาธิบดี ฝายกิจการทหาร เปนตน44 ดังนัน้ ความชวยเหลือของซีไอเอมีผลทําใหกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทมี อํานาจทางการเมืองมากขึ้น45 ทั้งนี้ กําลังพลของตํารวจของพล ต.อ.เผาในป 2496 นัน้ ประกอบ ดวย ตํารวจพลรมจํานวน 300 คน และตํารวจตระเวนชายแดน จํานวน 4,500 คน ซึ่งกองกําลัง ตํารวจที่สหรัฐฯใหการสนับสนุนนี้ติดอาวุธประจํากายและประจําหนวยที่ทนั สมัย มีวทิ ยุสนาม ทํา ใหตํารวจหนวยนี้มีความสามารถในการปราบปรามความไมสงบ การหาขาว ทําการปฏิบัติการ
43
พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 2, 8, 76-77. คณะกรรมการนเรศวร มี สมาชิกในคณะรัฐประหารหลายคนเขารวม เชน จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จอมพลถนอม กิตติขจร พล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี พล ร.ต.หลวงชํานาญอรรถยุทธ สําหรับวิชาที่ซีไอเอฝก ใหตํารวจ เชน ความรูเกี่ยวกับอาวุธ การใชอาวุธ การรบนอกแบบ การหาขาว การกระโดดรม แผนที่ การปฐม พยาบาล อาวุธที่ใชประจํากายและประจําหนวยพลรมและตํารวจตระเวนชายแดน เชน ปน M3-A คารไบน บราวนิ่ง ปนน้ําหนักเบา บาซูกา มอรตา ระเบิดมือ และวัตุระเบิดอื่นๆ.; Lobe , United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23. 44 พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 225-226. อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการ ซีไอเอไดกลาวชมคายนเรศวรวา “…ผลงานที่ขาพเจาไดเห็นนี้เปนความชํานาญที่ยากจะหาเสมอเหมือน และ ยังเปนการดําเนินกิจการที่นับวาเปนเอก ขาพเจาภูมิใจที่มีสวนรวมในกิจการนี้ …”สวนบุคคลสําคัญอื่นๆที่มา เยี่ยมชม เชน วอลเตอร พี. คูสมูล( Walter P. Kusmule)ผูจัดการบริษัทซีสัพพลายสาขาซีไอเอ อัลเฟรด ซี. อีล เมอร จูเนียร( Alfred C. Ulmer Jr.) เจาหนาที่ซีไอเอ พ.อ.แฮรรี แลมเบิรต(Harry Lambert)หัวหนาคณะเสนาธิ การทหารประจํา ฮาวาย พ.อ.อีเดน เอฟ.สวิฟท(Eben F. Swift)กองทหารพลรมที่ 3 พ.อ.โรเบิรต เอช. ซิมเมนน (Robert H. Zimmemn)ที่ปรึกษาทางการทหารประจําไทย; หจช.(3) สร. 0201.21.3/101 กลอง 5 นายอลัน ดัลเลส ผูอํานวยการองคการซีไอเอ (8-11 กันยายน 2499). 45 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1.
136
ตอสูและลาดตระเวนตลอดแนวชายแดนไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ 46 ตอมา ในชวง 2498-2499 พล.ต.อ.เผา มีกําลังตํารวจทัง้ หมดทั่วไประเทศถึง 48,000 คนแบงเปนตํารวจในกรุงเทพฯ จํานวน 10,000 คน การที่ตํารจของพล ต.อ.เผามีอาวุธประจํากายและอาวุธหนักรวมทัง้ รถถังที่สหรัฐฯให การสนับสนุน47 ตรงขามกับกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในขณะนั้น เขามีทหารเพียง 45,000 คนและมีอาวุธที่ลา สมัยกวา เนื่องจาก ที่ผานมาทีป่ รึกษาการทหารจากสหรัฐฯปฏิเสธที่ จะใหอาวุธแกกลุมทหารอยางที่กลุมตํารวจไดรับ48 ตอมา 2497 สหรัฐฯใหความชวยเหลือดวย การมอบอุปกรณสื่อสารและอุปกรณในการสืบราชการลับเพื่อหาขาวใหแกกลุมตํารวจเพิม่ เติม ตลอดจนการสนับสนุนการตั้งกรมประมวลราชการแผนดินซึ่งเปนหนวยงานทําหนาที่ขาวกรอง เพื่อเพิม่ สมรรถนะในการหาขาวนี้ ยิง่ ทําใหกลุมตํารวจมีศักยภาพเหนือกวากลุมทหารมีสว นทําให กลุมทหารเริ่มหวาดระแวงกลุมตํารวจมากยิ่งขึ้น49 5.5 ความชวยเหลือจากสหรัฐฯกับการแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร ความชวยเหลือของสหรัฐฯมีสวนทําใหการแขงขันระหวางกลุมตํารวจทีน่ ําโดยพล ต.อ. เผา ศรียานนทและกลุมทหารที่นาํ โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีความรุนแรงมากขึ้น เชน กรณี การจัดตั้งหนวยพลรม(Parachute Battalion) ในเบื้องแรก จอมพลสฤษดิ์ใหความสนับสนุนเปน อยางดี เนื่องจาก เขาหวังวาหนวยดังกลาวจะกลายเปนฐานกําลังของกลุมทหารตอไป แตปรากฎ วาตอมาหนวยพลรมไดกลายเปนฐานกําลังใหกับกลุมตํารวจแทน อีกทั้งการสรรหาบุคลากรใน การฝกที่เคยมาจากหลายหนวยงานเชน กองทัพบก กองทัพเรือและตํารวจไดเปลี่ยนแปลงไป 46
“Lansdale Memo for Taylor on Unconventional Warfare, July 1961,” in The Pentagon Papers, p.133-134.; Lobe and Morell, “Thailand’s Border Patrol Police: Paramilitary Political Power,” Supplemental Military Forces: Reserve, Militarias, Auxiliaries, p. 157. 47 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1. 48 Alfred W. McCoy, The Politics of Heroin in Southeast Asia,(New York: Harper Colophon Books, 1973), p.138. ตํารวจนายหนึ่งไดบันทึกความกาวหนาของตํารวจไทยขณะนั้นวา “…กําลังตํารวจของ เราเปนหนวยแรกและหนวยเดียวในขณะนั้นที่มีเครื่องแตงกาย มีเครื่องใชประจํากายดีเทากําลังพลสหรัฐและมี เครื่องใชประจําหนวยก็เหมาะสมกับภูมิประเทศและเหตุการณ ตลอดจนอาวุธยุทธภัณฑที่สมบูรณทันสมัยกวา หนวยอื่นๆในสมัยนั้น..” (พล.ต.ต.ทักษ ปทมสิงห ณ อยุทธยา, “บันทึกความทรงจํา,” ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536), [กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน,2536], หนา 75). 49 Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, p. 23.; พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ , 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 171.; พล.ต.ท.ชัยยงค ปฏิพิมพาคม, อธิบดี ตํารวจสมัยหนึ่ง, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแพรพิทยา, 2522), หนา 79.
137
ตอมา หลัง 2496 กองทัพถูกกันออกจากการฝกตามหลักสูตรพลรมทัง้ หมดไดสรางความไมพอใจ ใหกับจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารเปนอยางมาก 50 ทั้งนี้ ไมแตเพียงความจําเปนทีม่ าจากขอ สนธิสัญญาไทย-ฝรั่งเศสเทานัน้ ทีท่ ําใหสหรัฐฯใหการสนับสนุนกลุม ตํารวจอยางมากเทานัน้ แต สาเหตุอีกประการมาจากความสัมพันธสว นตัวระหวางพล ต.อ.เผา จอมพลสฤษดิ์และเจาหนาที่ ของสหรัฐฯดวย โดยโดโนแวน ทูตสหรัฐฯมีสวนสําคัญในทําใหเกิดการเผชิญหนาทางการเมืองกัน ระหวางกลุมทหารและกลุมตํารวจ เนื่องจาก ในระหวางที่เขาเปนทูตสหรัฐฯประจําไทย เขาให ความสนิทสนมกับกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผามากกวากลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ดังนั้น โดโน แวน ทูตสหรัฐฯและฮารท หัวหนาเจาหนาที่ซีไอเอกับบรรดาเจาหนาทีข่ องซีไอเอในไทยจึงให สนับสนุนกลุม ตํารวจมากกวา ทําใหกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผาสามารถมีกองกําลังที่เขมแข็ง ทัดเทียมกับกลุมทหาร51 อยางไรก็ตาม การที่ ซีไอเอ เลนบทสําคัญในปฏิบัติการลับและทุมความชวยเหลือใหกับ กลุมตํารวจ ทัง้ อาวุธและอาวุธหนักนัน้ สรางความไมพอใจใหกับกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯดวย เชนกัน กระทรวงกลาโหมไดเริ่มทาทายบทบาทของซีไอเอที่มีอิทธิพลเหนือไทย ดวยความ ชวยเหลือใหกบั กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์อยางมากในเวลาตอมาดวยเชนกัน 52 แมวาอดีตที่ ปรึกษาประธานาธิบดีไอเซนฮาวรคนหนึง่ เคยแนะนําโดโนแวน ทูตสหรัฐฯวา อยาใหความ สําคัญ เฉพาะแตกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทเทานัน้ แตตองใหความสําคัญกับกลุมทหารของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตดวย แมในเวลาตอมา โดโนแวนจะพยายามกระจายความชวยเหลือทาง การทหารและสมานไมตรีกบั กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ก็ตาม แตการแขงขันทางการเมือง ระหวางกลุมตํารวจของพลต.อ.เผาและกลุม ทหารของจอมพลสฤษดิก์ บ็ าดหมางเกินกวาที่โดโนแวนจะชวยไดเยียวยาความขัดแยงได และมีความเปนไปไดวายิ่งซีไอเอชวยเหลือกลุม ตํารวจมาก เทาใด กลุมทหารยิง่ ใกลชิดจัสแมกมากขึ้นเทานั้น53 50
NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1957 box 7, Charles N. Spinks to Secretary of State , 6 October 1952.; Conversation with General Sarit Thanarat.; Memorandum of Conversation with General Sarit , General Thanom and Colonel Gerald W. David-MAAG, 4 October 1952.; พันศักดิ์ วิญญรัตน, CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,” สังคมศาสตรปริทัศน (กุมภาพันธ 2517): 17-18. 51 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 2, 129.; Lobe, United States National Security Policy and Aid to The Thailand Police, pp. 23-24. 52 Flood, The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study, p. 1. 53 พันศักดิ์ วิญญารัตน, “CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมั่นคงแหงชาติ,”: 19.; ตอ มาจัสแมค(JUSMAG)ไดแนะนําใหกองทัพไทยจัดตั้งหนวยงานเพื่อตอตานขาวกรอง(Counterintelligence Agency) และทําสงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare)ดวยการตั้งชื่อชื่อวาโรงเรียนรักษาความปลอดภัย
138
5.6 ถนนทุกสายมุง สูว อชิงตัน ดี.ซี. เมื่อแหลงทรัพยากรสําคัญในการกาวขึ้นมามีอํานาจมาจากสหรัฐฯ คูแ ขงขันทางการ เมืองทัง้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทก็ไดเริ่มแขงกันการเขาหาสหรัฐฯมาก ขึ้น ในป 2497 ทัง้ จอมพลสฤษดิ์ และพล ต.อ.เผาไดเดินทางไปเจรจาขอความชวยเหลือจาก สหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐฯไดลดความชวยเหลือทางการทหารแกไทยจากเดิมป 2496 จํานวน 55,800,000 ดอลลารเหลือเพียง จํานวน 38,900,000 ในป 2497 54 เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา การ ใหความชวยเหลือที่สหรัฐฯใหกับมิตรประเทศที่ไมสนิ้ สุด ไมแตเพียงทําใหมิตรประเทศไมสามารถ ตอตานภัยคอมมิวนิสตไดดวยตนเองแลวยังทําใหงบประมาณสหรัฐฯเพิ่มสูงดวย 55 ดังนัน้ คณะ เสนาธิการทหารของไทยนําโดยจอมพลสฤษดิ์ และพล.ต. กิลโมร หัวหนาจัสแมคเดินทางไป วอชิงตัน ดี.ซี. (27 มิถุนายน-9 กรกฎาคม 2497)ดวยเครื่องบินของสหรัฐฯเพื่อขอความชวยเหลือ ทางการทหารเพิ่มเติมจากสหรัฐฯ โดยจอมพลสฤษดิ์และคณะของเขาไดประชุมที่ตึกเพนตากอน ซึ่งเปนทีท่ ําการของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯกับพล.ร.อ.อาเธอร ดับลู. แรดฟอรด ประธานคณะ เสนาธิการผสมของสหรัฐฯ เอช. สตรูฟว เฮนเซล(H. Struve Hensel) ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหม ฝาย กิจการความมัน่ คงระหวางประเทศ นายพล แมทธิว บี. ริดจเวย เสนาธิการทหารบก และประชุม หารือกับคณะเสนาธิการผสม พบกับ สมิท ปลัดกระทรวงการตางประเทศ และไดเขาพบสนทนา กับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร 56 จอมพลสฤษดิ์ใหสัมภาษณเปนภาษา ไทยผานวิทยุเสียงอเมริกา มายังไทยวา ขณะนี้ไทยและสหรัฐฯไดตกลงกันที่จะใหความชวยเหลือแกไทยในการปองกันภัย คอมมิวนิสต ดวยการทําใหไทยเปน “ปอมคาย” ที่แข็งแกรงของโลกเสรี โดยสหรัฐฯจะสง เจาหนาที่การทหารจํานวน 400 นายมาฝกหัดทางการทหารใหกับกองทัพไทยเพื่อขยายกําลังรบ ใหมเพิม่ อีก 4 กองพล และจะสงเครื่องบินฝกมาใหอีก 30 ลํา สวนกองทัพเรือจะไดรบั เรือรบใหม เพื่ออําพรางปฏิบัติการใหกับทั้ง 3 เหลาทัพและโรงเรียนเสนาธิการ โรงเรียนดังกลาวมีเปาหมายการจัดตั้งเพื่อ ปองกันและรักษาความลับทางการทหารใหพนจากการจารกรรม และตอตานการกอวินาศกรรม(หจช.บก.สูงสุด 7 / 6 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ การใหขาวและการสื่อสารตางๆ (19 ตุลาคม 2497 – 18 เมษายน 2500) รายงานการประชุมสภากลาโหม ครั้งที่ 6 / 2499 13 มิถุนายน 2499). 54 Surachart Bamrungsuk, United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947– 1977, p. 57. 55 พล.อ. จิระ วิชิตสงคราม, “นโยบายปองกันประเทศสหรัฐอเมริกา,” กลาโหม 1, 4 (เมษายน 2497): 29-30. 56 หจช.สร. 0201.15 /5 การจัดคณะทูตทหารไปวอชิงตัน(30 มิถุนายน – 10 สิงหาคม 2497).; สยาม นิกร, 4 กรกฎาคม 2497.; เชา, 26 มิถุนายน 2497. คณะเสนาธิการที่ไปดวยมี พล.ท.สุทธิ์ สุทธิสารรณกร พล.ร.ต.หลวงวิเชียรนาวา พล.อ.อ.ทวี จุลทรัพย พล อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ และพล.ต.อนันต พิบูลสงคราม
139
3 ลํา57 ตอมา แอนเดอรสัน รัฐมนตรีชวยกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯผลักดันความชวยเหลือทาง การทหารแกรฐั บาลไทยเพิ่มอีก 25,000,000 ดอลลาร เพื่อสรางความแข็งแกรงใหกองทัพในดาน การปรับปรุงการฝกการใหยทุ โธปกรณ และการเสริมความเขมแข็งใหหนวยรบ58 ตอมา เมื่อโดโนแวน ทูตสหรัฐฯขอลาออกจากตําแหนงภายหลังฝรั่งเศสพายแพที่สมรภูมิ เดียนเบียนฟู สหรัฐฯไดสงจอหน อี. ฟวริฟอย(John E. Peurifoy)∗ มาดํารงตําแหนงเอกอัคราชทูต แทนโดโนแวน ทัง้ นี้ ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯคนใหมมีประวัติการทํางานทีโ่ ชกโชนรวมกับซีไอเอในการ สนับสนุนนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯใหบรรลุดวยการใชกําลังโคนลมดวยการสนับสนุนให พ.อ.คารอส คาสติลโล-อามาส (Carlos Castillo-Armas) รัฐประหารลมรัฐบาลฝายซายของ ประธานาธิบดีจาโคโบ อารเบซ กูซแมน(Jacobo Arbenz Guzman)แหงกัวเตมาลา59 ดังนัน้ การ ที่สหรัฐฯตัดสินใจเลือกตัดสินใจเลือกนักการทูตสายเหยีย่ วตั้งแตโดโนแวน อดีตหัวหนาโอเอสเอส และตอมาฟวริฟอยเขามาประจําการในไทยนัน้ ยอมสะทอนใหเห็นวา สหรัฐมีความตองการบรรลุ ภาระกิจที่สาํ คัญยิ่งในภูมิภาคและในไทย เมื่อสหรัฐฯเปนเสมือนดั่งแหลงขุมทรัพยากรในการสรางฐานอํานาจทางการเมือง พล ต.อ.เผา ศรียานนทและคณะของเขาก็ไดออกเดินทางไปการเดินทางไปยุโรปและมีเปาหมาย ที่สหรัฐฯ (20ตุลาคม-12 ธันวาคม 2497)เชนกัน∗ พล ต.อ.เผาเดินทางไปพบอีเดน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ อังกฤษ จากนัน้ เขาเดินทางตอไปสหรัฐฯเพื่อพบประธานาธิบดี ไอเซนฮาวร จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวย การซีไอเอ โรเบิรตสัน ผูชว ยรัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ ฝายตะวันออกไกล 57
เทอดไทย, 13 กรกฎาคม 2497.; ขาวพาณิชย, 20 กรกฎาคม 2497. 58 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , R.B. Anderson to Sarit , 19 July 1954 . ∗
จอหน อี. ฟวริฟอย (John E. Peurifoy)(2440-2498) มีฉายา“Smiling Jack” จบการศึกษาดาน การบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยอเมริกัน และกฎหมายระหวางประเทศจาก มหาวิทยาลัยจอรช วอชิงตัน รับ ราชการในกระทรวงการตางประเทศตั้งแตป 2471 เคยเปนเอกอัคราชทูตประจํากรีซ(2493) กัวเตมาลา(2496) เขาเปนนักการทูตสายเหยี่ยวผูที่มีบทบาทสําคัญในการปฏิบัติงานรวมกับซีไอเอในการโคนลมรัฐบาลกูซแมนใน กัวเตมาลา ตอมาไดยายมาดํารงตําแหนงทูตประจําไทย และเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุ(15 สิงหาคม 2497 – 12 สิงหาคม 2498)(หจช.(3)กต. 0201.16/9 กลอง 1 ทูตอเมริกันประจําประเทศไทย (30 ธันวาคม 2496 – 14 กุมภาพันธ 2501).; David Wise and Thomas B. Ross , The Invisible Government,(New York: Vintage Books,1974), p.170. 59 Ibid., p. 165. ∗
คณะของพล ต.อ.เผา ศรียานนทประกอบดวย พ.ต.ท. ธนา โปษยานนท พ.ต.ต สุนิตย ปณยวณิช ร.ต.ท. พิชิต วิชัยธนพัฒน ส.ต.อ. สามารถ ชลานุเคราะห ปวย อึ้งภากรณ และประพนธ บุนนาค
140
แอนเดอสัน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหม โดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทย และสแต สเสน(Stassen) ผูอํานวยการ FOA เพื่อขอความชวยเหลือเพิ่มใหกับไทย ในการสนทนาระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับประธานาธิบดีนนั้ ไอเซนฮาวรเห็นวา ไทยเปนมิตรทีด่ ีกับสหรัฐฯ ดังนัน้ สหรัฐฯจะพิจารณาใหความชวยเหลือไทยดวยความเห็นอกเห็น ใจยิ่ง และไอเซนฮาวรไดกลาวเสริมวา การปฏิบัติงานระหวางไทยและสหรัฐฯในประเทศไทยนั้น ไดรับทราบจากโดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทยเสมอ60 ตอมา เขาไดพบ จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการและเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศ จอนห ดัลเลสไดแจงกับเขา วา สหรัฐฯมีตอ งการชวยเหลืออินโดจีนโดยตรงไมตองผานฝรั่งเศสอีกและโนมนาวใหไทยเขารวม สนธิสัญญารวมปองกันเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่จะลงนามทีก่ รุงมะนิลา โดยสหรัฐฯพรอมจะให ความชวยเหลือทางการ ทหาร การเมือง เศรษฐกิจแกประเทศไทยตอไป 61 ตอมา เขาไดพบอัล แลน ดัลเลส ผูอ ํานวยการซีไอเอ เขาไดรองขอใหสหรัฐฯเพิ่มความชวยเหลือตามที่เขารองขอ อัล แลน ดัลเลส กลาวใหการสนับสนุนวา “สหรัฐฯจะสนับสนุนทุกอยางและพอใจในผลงานที่ไทยได ปฏิบัติมา และไมมีประเทศใดแข็งแกรงเทากับไทย” 62 ตอมา เขาไดพบกับโดโนแวน อดีตทูต สหรัฐฯเพื่อทาบทามใหดํารงตําแหนงที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจใหรัฐบาลไทย∗ โดโนแวนไดแนะนํา 60
หจช.(2)กต. 14.3/26 กลอง 4 พล.ต.อ.เผา ศรียานนทเขาพบบุคคลสําคัญของสหรัฐฯ(4-14 พฤศจิกายน 2497), รายงานการสนทนาของพล.ต.อ. เผา ศรียานนท 10 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ, ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497 –14 ธันวาคม 2498). 61 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498 ), บันทึกเรื่องการพบและสนทนาระหวาง พล.ต.อ.เผา ศรียานนท หมอมหลวงชวนชื่น กําภู และน.อ.สิทธิ เศวตศิลา กับนายดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ 4 พฤศจิกายน 2497, รายงานเดินทางฉบับที่ 5 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฝายการเมือง วันที่ 16 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498). 62 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498), รายงานเดินทางฉบับที่ 3 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง วันที่ 7 พฤศจิกายน 2497.; หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงินจากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498). ∗
เมื่อโดโนแวนพนจากตําแหนงทูตสหรัฐฯแลว รัฐบาลไทยไดตั้งโดโนแวนเปนที่ปรึกษาทั่วไปของ รัฐบาลในทางกฎหมายและเศรษฐกิจใหปฏิบัติหนาที่ในสหรัฐฯ เขายอมรับตําแหนงนี้ดวยความเต็มใจ แตไมรับ คาตอบแทนประจําตําแหนง นอกจากคาใชจายในการเดินทาง(สยามนิกร, 19 ธันวาคม 2497)ในบท บรรณาธิการพิมพไทยไดเขียนบทความประชดประชันวา สํานักงานที่ปรึกษาของไทยนี้มิไดตั้งในไทยแตตั้งที่
141
เขาใหรูจักบุคคลสําคัญทางการเมืองเชน พล.ร.อ. เบอรเกน(Bergen) เพื่อนสนิทของรัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงกลาโหมและสมาชิกในสภาคองเกรสอีกหลายคน โดโนแวนแจงวา เขาได ประสานงานใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทราบความตองการของรัฐบาลไทยแลว สําหรับความ ชวยเหลือทางการทหารนั้น รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงกลาโหมจะชวยเหลือแกรัฐบาลไทยใหได มากที่สุด63 ตอมา ดิ อีโคโนมิสต (The Economist)นิตยสารที่มชี ื่อเสียงของอังกฤษฉบับตนเดือน พฤศจิกายน 2497 ไดรายงานขาวการเดินทางเยือนตางประเทศและพบปะคณะผูบริหารของ หลายประเทศของพล ต.อ.เผา ศรียานนทวาเปนการเปดตัวของผูปกครองที่แทจริงของไทย64 ตน เดือนธันวาคม ในระหวางทีพ่ ล ต.อ.เผาอยูที่สหรัฐฯ เขาไดกลาวปราศัยผานวิทยุเสียงอเมริกา (VOA)มายังไทยเพื่อรายงานถึงการเขาพบบุคคลสําคัญของสหรัฐฯหลายคน เชน ประธานาธิบดี โอเซนฮาวร โดโนแวน อดีตทูตสหรัฐฯ และนักธุรกิจทีเ่ คยเกี่ยวของกับไทย และกลาววา ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรไดแนะนําใหเขารูจักบุคคลสําคัญหลายคน 65 เมื่อ พล ต.อ.เผาเดินทาง ถึงไทย เขาประกาศถึงความสําเร็จในการเดินทางไปขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯวา สหรัฐฯจะ ใหความชวย เหลือเศรษฐกิจไทยจํานวน 28,000,000 ดอลลารภายใน 6 เดือน และสหรัฐฯให สํานักงานของโดโนแวนในสหรัฐฯและหลายปที่ผานมาสหรัฐฯไดใหความชวยเหลือไทยทุกอยางตั้งแตการทหาร อาวุธ ทางดานเศรษฐกิจไทยสงวัถุดิบไปขายสหรัฐฯแตตองซื้อสินคาอุตสาหกรรมของสหรัฐฯกลับมา ตลอดจน การทําสงครามจิตวิทยาผานยูซิสเชน หนังสือ ภาพยนต(พิมพไทย, 19 ธันวาคม 2487) ดวยเหตุที่ โดโนแวน ยอมรับตําแหนงที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจใหกับไทย ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯประจําไทยคนใหมไมเห็นดวยที่เขารับ ตําแหนงดังกลาว ตอมา จอหน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ไดแจงใหประธานาธิบดีไอเซน ฮาวรทราบวา โดโนแวนยอมเปนตัวแทนใหรัฐบาลไทยดวยคาจาง 100,000 ดอรลารตอป โดยประธานาธิบดี ไอเซนฮาวรแสดงความไมเห็นกับการตัดสินใจของโดโนแวนเลย (NARA, RG 59 Central Decimal File 19501954 Box 5625, Peurifoy to Secretary of State, 22 December 1954.; Dwight D. Eisenhower Library, Paper of John Foster Dulles 1951-1959, White House Memorandum Series box 1, Memorandum of Conversation with The President, 4 April 1955.; หจช.กต. 81.35 / 50 กลอง 3 ตั้งนายพลโดโนแวนเปนที่ ปรึกษาสภาเศรษฐกิจแหงชาติ (2497-2498), เภา เพียรเลิศ บริภัณฑยุทธกิจ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ถึง รัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ 21 มกราคม 2498.; รัฐบาลไดโอนงบประมาณใหกับสถานทูตไทย ประจําวอชิงตัน ดีซี จํานวน 500,000 ดอรลาร เอกสารระบุวา คาใชจายในราชการลับ(หจช.กต. 81.35 / 50 กลอง 3 ตั้งนายพลโดโนแวนเปนที่ปรึกษาสภาเศรษฐกิจแหงชาติ (2497-2498). 63 หจช.(3)กต. 0201.20.1.1/8 กลอง 1 การเดินทางไปตางประเทศของนายพล.ต.อ.เผา ศรียานนท (29 ตุลาคม 2497-7 เมษายน 2498), รายงานเดินทางฉบับที่ 3 พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 7 พฤศจิกายน 2497. 64 The Economist , 6 November 1954. 65 ศรีกรุง, 11 ธันวาคม 2497.; เชา, 13 ธันวาคม 2497.
142
ชวยเหลือดานอาวุธแกกองอาสาสมัครรักษาดินแดนเปนจํานวนมากโดยสหรัฐฯมีเปาหมายการ ฝกอาสาสมัครปองกันตนเองใหได 120,000 แสนคนใน 40,000 หมูบา นตอไป 66 อยางไรก็ตาม ปญหาจากการที่พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต แขงขันกันเพื่อชวงชิงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ยังคงถูกรายงานตอประธานาธิบดีไอเซนฮาวรอยาง ตอเนื่องวา ทัง้ คูยังโคนลมกันไมได ในขณะที่จอมพล ป. พิบูลสงครามไมสามารถควบคุมกลุม ตํารวจและกลุม ทหารได ทัง้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ตางพยายามรัฐประหารโคนลมกัน เพื่อควบคุมรัฐบาล แตหากทัง้ คูตอสูกันตอไปนั้น ในรายงานเห็นนวา กําลังกลุม ตํารวจของพล ต.อ.เผาจะตานทานความแข็งแกรงของกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ไดยาก รายงานวิจารณวา แมพวกเขาทัง้ สองจะขึ้นมามีอํานาจดวยการวางตัวกักขฬะ แตพวกเขายังรวมมือสนับสนุนรัฐบาล จอมพล ป.ตอไป โดยสหรัฐฯมีแผนใหความชวยเหลือทางการทหารแกกลุมทหารและกลุมตํารวจ จํานวน 80,000คน โดยแยกความชวยเหลือแกกลุมตํารวจ จํานวน 43,000คนใหสามารถปฏิบตั ิ หนาที่ชายแดนทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือได และสําหรับกลุม ทหาร จํานวน 37,000 คน อยางไรก็ตาม สหรัฐฯยังคงใหการสนับสนุนทั้งสองคนตอไป 67
66
ขาวพาณิชย, 12 ธันวาคม 2497.; NARA , RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1954 Box 35 , Donovan to Secretary of State, 22 July 1954.; The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 1953-1961 (Ann Whitman file) box 4, NSC summery of discussion, Potential Political Difficulties for the United States inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army, 20 December 1954. 67 NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1954 box 35, Donovan to Secretary of State, 22 July 1954.; The Dwight D. Eisenhower Library, Paper as President of United States 19531961 (Ann Whitman file) box 4, NSC summery of discussion, Potential Political Difficulties for the United States inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army , 20 December 1954.; Library of Congress, CK3100007533, 20 December 1954, Potential Political Difficulties for the United States Inherent in Supplying Arms to the Thai National Police and Army.
บทที่ 6 สหรัฐฯ สถาบันกษัตริย กับ จุดเริ่มตนสงครามจิตวิทยาในไทย 2497 6.1 สหรัฐฯกับการตอตานคอมมิวนิสตในไทย ไมแตเพียงนโยบายการตอตานคอมมิวนิสตของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรจะใหความ สําคัญกับความชวยเหลือทางการทหารเทานัน้ แตยงั ใหความสําคัญอยางมากกับการใชยุทธศาสตรการโฆษณาชวนเชื่อ(Psychological Strategy)คูขนานไปดวย เนื่องจากคณะที่ปรึกษา ของเขามีความตระหนักวา สงครามเย็นเปนประหนึง่ การแขงขันในการทําสงครามจิตวิทยาและ สงครามอุดมการณที่เปนเสมือนเครื่องมือในการตอสูดุจเดียวกับการใชกําลังทางการทหารและ เศรษฐกิจ ตอมา คณะกรรมการประสานปฏิบัติการ(Operations Coordinations Board: OCB) ถูกจัดตั้งขึ้น หนวยงานนี้รับผิดชอบแผนปฏิบัติการโฆษณาชวนเชื่อและการปฏิบัติการทาง การเมืองอยางลับๆกวา 50 แผนการในยุโรปและประเทศโลกที่สามซึ่งเปนพันธมิตรกับโลกเสรี สงผลใหชว งเวลาดังกลาว สหรัฐฯไดเขาแทรกแซงการเมืองภายในประทศตางๆอยางมากรวมทั้ง การขยายงานดานปฏิบัติการลับดวยการโฆษณาชวนเชือ่ เพื่อสรางภัยคอมมิวนิสตคกุ คามโลกให เกิดขึ้น1 ดวยนโยบายของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทําใหอัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการซีไอเอ ใน ฐานะหนวยงานสําคัญที่รับผิดชอบปฏิบัติการลับของสหรัฐฯไดประกาศวา สหรัฐฯมีนโยบายตอสู
1
Kenneth A. Osgood, “Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960,” (Doctoral dissertation, University of California Santa Barbara, 2001).; Alfred W. McCoy, A Question of Torture: CIA Interrogation from the Cold War to the War on Terror, (New York: Metropolitan Books, 2006),pp. 24-25. ป 2494 ประธานาธิบดีทรูแมนไดตั้งสภายุทธศาสตรทางจิตวิทยา(The Psychological Strategy Board: PSB)มีหนาที่ประสานงาน วางแผนและจัดทําขาวโฆษณาชวนเชื่อใหกับ รัฐบาล หนวยงานนี้อยูภายใตการดูแลของผูอํานวยซีไอเอ ในยุคประธานาธิบดีทรูแมน ปฏิบัติการลับของ สหรัฐฯนั้นสาธารณชนแทบไมมีใครลวงรู เชน การที่ซีไอเอไดจัดอบรมนักจิตวิทยาสหรัฐฯจํานวน 200 คนที่ไป ปฏิบัติการทั่วโลก(ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล) พอล เอม. เอ. ไลนเบอรเกอร(Paul M.A. Linebarger) (เขียน) สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare),[พระนคร: สํานักพิมพวีรธรรม, 2507], หนา 397-400).; Harry Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, (London: Westview Press, 1988), pp. 154-156).
144
กับคอมมิวนิสตดวยสงครามจิตวิทยา∗คณะกรรมการประสานงานปฏิบัติการ(OCB) ไดวางแผน ใหใชผูนาํ ของประเทศเปาหมายที่มีฐานะเปนศูนยกลางของความเชื่อ เพื่อเปนสัญลักษณในการ ทําสงครามจิตวิทยาผานวัถตุทางอุดมการณ เชน สิ่งพิมพ หนังสือ และภาพยนต เปนตน2 ทั้งนี้ ที่ ผานมา กลไกของซีไอเอในสวนที่ทาํ งานเปนนักหนังสือพิมพไดพยายามสรางกระแสการรับรูใน สังคมใหหวาดกลัวภัยคอมมิวนิสต ผานวรรณกรรมที่เปนวัตถุทางอุดมการณ เชน งานเขียนของ เอ็ดวารด อันเตอร(Edward Hunter) นักหนังสือพิมพไมอามี เดลินิวส(Miami Daily News) ได เขียนบทความที่ตอมาพิมพเปนหนังสือชื่อ Brain Washing in Red China เขาเห็นวา งานเขียน ของเขา คือ ปฏิบัติการสําคัญที่มีตอจีนเมือ่ คอมมิวนิสตเขายึดครองจีนไดสําเร็จเพื่อทําให ประชากรทัว่ โลกเกลียดชังคอมมิวนิสต เขาเรียกปฏิบัติการนี้วา สงครามจิตวิทยาที่จะมีผลอยาง มากเหนือคณนับมากเสียยิ่งกวาปฏิบัติการทางทหารในอดีตที่ไดทํามา ตอมา งานชิน้ นีถ้ ูกตีพมิ พ ในภาษาไทยในชื่อ ลางสมองในจีนแดง โดยพิมพจากนิวยอรค เขามาเผยแพรในไทย3 ตอมา 2496 ในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวร งานดานโฆษณาชวนเชื่อไดถกู ผนวกเปนงานของ คณะกรรมการประสานปฏิบัติการ(OCB) โดยคณะกรรมการชุดนี้ปฏิบัติงานภายใตสภาความ มั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ(National Security Council: NSC) โดยมี ปลัดกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เปนประธานฯ และกรรมการคนอืน่ ๆ เชน ผูอาํ นวยการซีไอเอ ปลัดกระทรวงกลาโหม และ ผูอํานวยการยูซิส(USIS) 4
∗
ความหมายของคําวา สงครามจิตวิทยา ในป 2497 คือ สงครามจิตวิทยาประกอบดวยการใชการ โฆษณาชวนเชื่อที่ไดวางแผนไวแลว รวมทั้งกระบวนการการใชขาวสารที่สัมพันธกับการโฆษณาชวนเชื่อในเรื่อง นั้น โดยมีวัตถุประสงคที่จะจูงใจ ความคิดเห็น อารมณ ทัศนวิสัย และพฤติกรรมของขาศึกหรือกลุมตางดาว อื่นๆในแนวทางสนับสนุนใหเกิดสัมฤทธิผลแกประโยชนแหงชาติ ตอเปาหมายหรือภารกิจทางการทหารของ สหรัฐฯ (ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare), หนา 400). 2 Osgood, “Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960,” (Doctorial dissertation, University of California Santa Barbara, 2001),pp.289-307.; ประเวศ ศรีพิพัฒน(แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare), หนา 301-315. 3 Edward Hunter, Brain Washing in Red China: the calculated destruction of men’s minds, ( New York: Vanguard Press,1951).; เอ็ดวารด ฮันเตอร, การลางสมองในจีนแดง, (นิวยอรค: แวนการดอิน คอรปอเรชั่น, 2494). 4 ประเวศ ศรีพิพัฒน (แปล), สงครามจิตวิทยา(Psychological Warfare),หนา 397-400).;Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, pp. 154-156.
145
เมื่อสภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯไดอนุมัติใหใชแผนสงครามจิตวิทยาสําหรับประเทศ ไทย(PSB-D23)ในตนเดือนสิงหาคม 24965 ในปลายปนนั้ เอง โครงการศึกษาลักษณะทางสังคม ไทยอยางเปนระบบเพื่อใชเปนขอมูลในการกําหนดนโยบายตอตานคอมมิวนิสตในไทยของ สหรัฐฯก็ไดเริ่มตนขึ้น ดวยการที่สหรัฐฯสง ลูเชียน เอ็ม. แฮงค ผูอํานวยการสถาบันวิจัยฯจาก มหาวิทยาลัยคอรแนลเขามาทําวิจยั ทัศนคติและความเชื่อของชุมชนเกษตรกรบางชัน มีนบุรี เปน ตน 6 และรวมทั้ง การเขามาสํารวจทัศนคติของคนไทยเกี่ยวกับคอมมิวนิสต โดยมหาวิทยาลัย จอรช วอชิงตัน ในพืน้ ที่ กรุงเทพฯ ภูมิภาคและเขตชายแดน โดยรวมมือกับจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และกระทรวงวัฒนธรรม7 ตอมา โดโนแวน ทูตสหรัฐฯแนะนําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึง่ ทําหนาที่พัฒนาสงครามจิตวิทยารวมกับสหรัฐฯ เพื่อดําเนินการตอตานคอมมิวนิสตในไทยผานสื่อหนังสือพิมพ วิทยุและการอบรมความรู โดยให วัด มหาวิทยาลัย กลุมเยาวชน กลุมวัฒนธรรม ขาราชการและกองทัพเปนกลุมเปาหมายรวมมือ กับสหรัฐฯในการตอตานและทําการหาขาวเกี่ยวกับคอมมิวนิสตในไทย8 ในสายตาของสหรัฐฯ ความพายแพของฝรัง่ เศสที่สมรภูมเิ ดียนเบียนฟูเปนความนาอับ อายทีจ่ ะมีผลทําใหประเทศในเอเชียหันไปมีนโยบายใหการสนับสนุนคอมมิวนิสตแทน ดังนัน้ สหรัฐฯมีนโยบายสกัดกัน้ แนวโนมการเปลีย่ นแปลงดังกลาวดวยทุกวิธกี าร ตอมา สหรัฐฯไดผลัก 5
“Memorandum of Conversation at the 161 st Meeting of the National Security ,9 August 1953,” in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, p.685.; The Dwight D. Eisenhower Library , White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16, file: Southeast Asia (1953-1961), U.S. Psychological Strategy based on Thailand, 8 September 1953.; The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, Office of the Special Assistant for National Security Affaire: Record 1952-1961 NSC series, Briefing Notes Subseries box 16, file: Southeast Asia (1953-1961), Memorandum for General Smith- Chairman of Operations Coordinating Board from Robert Cutler-Special Assistant to the President, 10 September 1953. 6 หจช.มท. 0201.2.1/375 กลอง 4 โครงการศึกษาอบรมระเบียบวิธีวิจัยและปฏิบัติงานวิจัยทาง วิทยาศาสตรสังคม(2496), ลูเซี่ยน เอ็ม แฮงค ถึง ปลัดกระทรวงมหาดไทย 30 พฤศจิกายน 2496.; โปรดดู รายละเอียดใน แถมสุข นุมนนท, “เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย,” การทูตสมัยรัตนโกสินทร,หนา 5766.; และ อานันท กาญจนพันธุ, “บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสรางกระบวนทัศนดานไทย ศึกษา,” ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย, หนา 308-347. 7 เทอดไทย, 1 กันยายน 2497. 8 “Parson to The Secretary of States, the Charge in Thailand, 7 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p. 698.
146
ดันใหมกี ารจัดตั้งองคการสนธิสัญญาปองกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Southeast Asia Treaty Organization: SEATO)หรือซีโตเพื่อการสรางความมัน่ ใจใหเกิดในภูมิภาคอีกครั้ง ∗ อยางไรก็ตาม สหรัฐฯเห็นวาในชวงเวลาดังกลาวจะเปนสูญญากาศของอิทธิพลทางการเมือง ระหวางประเทศมีผลทําใหคอมมิวนิสตมีโอกาสสรางบรรยากาศความรูสึกเปนกลางขึ้น เพื่อสกัด กั้นการขยายอิทธิพลของสหรัฐฯในภูมิภาค และสถานการณดังกลาวจะทําใหไทยเปลี่ยนโยบาย จากการสนับสนุนสหรัฐฯ ไปสูนโยบายที่เปนกลางดวยเชนกัน9 ตอมา สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯไดรายงานวาอิทธิพลของคอมมิวนิสตในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความเขมแข็งมากขึ้น ดังนั้น สหรัฐฯตัดสินใจใหการสนับสนุนทางการ ทหารและเศรษฐกิจใหแกไทยตอไปเพื่อใหไทยมีความเขมแข็งและมีเสถียรภาพทางการเมืองและ ทําใหนโยบายบายที่ตองการทําใหไทยเปนจุดเนนพิเศษในปฏิบัติการลับและปฏิบัติการสงคราม จิตวิทยาในเอเชียตะวันออกเฉียงใตของสหรัฐฯดําเนินตอไปได10 ทัง้ นี้ ในชวงเวลาดังกลาว มี รายงานลับหลายฉบับไดเสนอใหประธานาธิบดีไอเซนฮาวรมีทา ทีที่แข็งกราวในการปฏิบัติการลับ ทางจิตวิทยา รวมทัง้ การสนับสนุนใหสหรัฐฯเขาจัดตั้งองคกรทางการเมืองและกองกําลังกึง่ ทหาร เพื่อทําลายศัตรูของสหรัฐฯ11 6.2 จากความลมเหลวสูโอกาส: สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับการเขาหา สหรัฐฯ ควรบันทึกดวยวา สถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” ไดเขามามีบทบาททางการเมือง อยางชัดเจนตัง้ แตตนทศวรรษ 2490 แมพวกเขาจะมีความไดเปรียบทีไ่ ดทําหนาที่สถาปนิกทาง การเมืองดวยการรวมรางรัฐธรรมนูญถึง 2 ฉบับ คือ ฉบับ 2490 และ 2492 ซึ่งพวกเขาหวังวาผล จาก รัฐธรรมนูญ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสต ทีถ่ ูกสรางขึ้นใหมนนั้ จะสรางความมั่นคง ∗
ซีโตเปนองคการที่กอตั้งขึ้นตามสนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อ 8 กันยายน 2497 ณ กรุงมะนิลา ฟลิปปนส และมีผลบังคับใชเมื่อ 19 กุมภาพันธ 2498 ในชวงสงครามเย็น มีประเทศสมาชิก จํานวน 8 ประเทศ คือ สหรัฐฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ปากีสถาน ไทยและฟลิปปนส โดยสํานักงานใหญตั้งที่ กรุงเทพฯ มีพจน สารสิน ดํารงตําแหนงเลขาธิการทั่วไปคนแรก 9 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP80R01443R000300010010-8, 4 August 1954, “ NSC Briefing–Probable Post–Geneva Communist Policy”. 10 NARA, RG 84 box 2, Top Secret General Record 1947-1958, National Policy approved on 20 August 1954 in connection with a review of U.S. Policy toward the Far East . 11 Rositzke, The CIA’s Secret Operations Espionage, Counterespionage and Covert Action, p. 155.
147
ทางการเมืองใหกับพวกเขา แตสถานการณการเมืองก็มไิ ดเปนอยางทีพ่ วกเขาหวัง เมื่อรัฐบาล ควง อภัยวงศที่พวกเขาใหการสนับสนุนถูกคณะรัฐประหารบังคับใหลงจากอํานาจ(2491) การอยู เบื้องหลัง“กบฎแมนฮัตตัน”(มิถุนายน 2494)ที่ลมเหลว และรัฐธรรมนูญที่พวกเขาฝากความหวัง ถูกรัฐประหารโคนลมลง(ปลาย 2494) มีผลทําใหพวกเขาตองหันกลับมาทบ ทวนวิธกี ารตอสูใหม แทนการปะทะโดยตรงกับรัฐบาล เหมือนดังที่ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรี และ แกนนําสําคัญในสถาบันกษัตริย ทรงเคยเปดเผยตอทูตอังกฤษวา พวกเขากําลังแสวงหาหนใน การตอสูทางการเมืองแบบใหม(2495) 12 กระนัน้ ก็ดี ในกลางป 2496 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา ในชวงดังกลาว เกิดกระแส ขาวความเคลือ่ นไหวของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดเตรียมการกอการรัฐประหาร ทําใหเจาหนาที่ สถานทูตสหรัฐฯไดสอบถามเรื่องดังกลาวจากพระยาศรีวิสารวาจา องคมนตรี แกนนําสําคัญอีก คนหนึ่งในสถาบันกษัตริย ในรายงานฉบับนี้บันทึกวา พระยาศรีวิสารฯไดแสดงอารมณโกรธและ ปฏิเสธแผนการดังกลาว พรอมกลาววา การพยายามกอการรัฐประหารนี้เปนขอกลาวหาจาก รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม 13 อีกไมกวี่ ันตอมา ซีไอเอไดรายงาน วากระแสขาวทีพ่ วกเขา ไดรับรูมากลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.ดังนีว้ า มีขาววาสถาบันกษัตริยใหการสนับสนุนการเตรียมการ กอการรัฐประหาร และในรายงานวิเคราะหวา หากขาวนี้เปนความจริง จอมพล ป.อาจจะขอให พระมหากษัตริยทรงสละราชย 14 อยางไรก็ตาม สุดทายแลว การเตรียมรัฐประหารของ “กลุม รอยัลลิสต”ที่รัฐบาลลวงรูมิเกิดขึ้นแตอยางใด อาจกลาวไดวา ความสัมพันธระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในชวงทศวรรษที่ 2490 นั้นมีลักษณะเปนปฏิปกษตอกัน โดยทัง้ สอง ฝายตางมีความหวาดระแวงทางการเมืองซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ นับตั้งแต พระมหากษัตริยท รง เสด็จนิวัตพระนครเปนการถาวรในปลายป 2494 นั้นทรงไดมีบทบาทในดานการคัดคานหรือ ขัดขวางการดําเนินงานของรัฐบาลในดานตางๆในชวงนัน้ จนอาจจะวิเคราะหไดวา ทรงกลายเปน ผูนําที่มีบทบาทสําคัญในลักษณะเสมือนหนึ่งทรงเปนแกนของพลังตอตานรัฐบาล เชน การทรงไม รับรองการประกาศใชรัฐธรรมนูญใหมหลังการรัฐประหาร 2494 การไมเสด็จเขารวมการเฉลิม ฉลองการใชรฐั ธรรมนูญฉบับ 2495 (มีนาคม 2495) และการไมยอมลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชพระราช- บัญญัติที่มุงปฏิรูปทีด่ ินของรัฐบาล(2496)ซึ่งจะมีผลกระทบตอผลประโยชน 12
NA , FO 371/101168 , Chancery to Foreign Office , 21 July 1952. NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn , George M. Widney , 1 September 1953. 14 NARA , CIA Records search Tool (CREST) ,CIA-RDP79R00890A000100080021-5 , 9 September 1953 , “ Thailand ”. 13
148
ของสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ซึ่งถือครองที่ดินจํานวนมากในประเทศไทย ทัง้ นี้ จาก หลักฐานการสนทนาระหวางความพระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี ในฐานะที่ปรึกษาของพระมหา กษัตริย กับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯ เขาไดแสดงความเห็นคัดคานวา ประเทศไทยไมจําเปนตอง มีกฎหมายปฏิรูปที่ดินเพราะไทยไมมีปญหาความขาดแคลนที่ดนิ 15 ดังนัน้ การแสดงทัศนะดัง กลาวของที่ปรึกษาสวนพระองคอาจเปนสิง่ สะทอนใหเห็นถึงทัศนะของสถาบันกษัตริยและ “กลุม รอยัลลิสต”โดยรวมที่คัดคานการดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.ในการปฏิรูปที่ดนิ ไดเปนอยาง ดี จากความลมเหลวในการตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามที่สถาบันกษัตริยแ ละ “กลุมรอยัลลิสต”อยูเบื้องหลังความพยายามใชกําลังเขาปะทะรัฐบาล เชน กรณี “กบฎแมนฮัต ตัน”(มิถุนายน 2494)ที่ผานมาอาจมีผลทําใหรัฐบาลไมไววางใจและมีการควบคุมกิจกรรมของ พระมหากษัตริย ทัง้ นี้ ในชวงเวลานัน้ สถานทูตอังกฤษรายงานสถานการณวา ในชวงเวลาดัง กลาว พระองคปรากฎตอสาธารณะนอยครั้ง ทรงมีความเครงขรึม และทรงพยายามควบคุม บุคลิกภาพใหเปนไปตามลักษณะแบบจารีตประเพณีเพือ่ ใหเกิดความเคารพจากประชาชน 16 ดวยเหตุที่ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ประสบความพายแพทางการเมืองอยาง ตอเนื่อง อาจมีผลทําใหพวกเขาไดเปลี่ยนวิธกี ารตอสูกบั รัฐบาลขึ้นใหม ดวยการหันไปสราง พันธมิตรกับสหรัฐฯ ซึง่ ในชวงเวลานัน้ สหรัฐฯตกเปนเปาหมายสําคัญของพวกเขาในการแสวงหา การสนับสนุนทางการเมือง เนื่องจาก ในชวงเวลาดังกลาว ไมมีใครปฏิเสธไดวา สหรัฐฯมีบทบาท สําคัญยิ่งในการเมืองระหวางประเทศ อีกทั้ง แกนนําสําคัญหลายคนในสถาบันกษัตริยและ “กลุม รอยัลลิสต” เปนบุคคลที่เคยมีตําแหนงสูงในทางการเมืองและระบบราชการที่เคยมีสว นรวม กําหนดวิเทโศบายของไทยและมีทกั ษะในการวิเคราะหและมีความเขาใจสถานการณทาง การเมืองระหวางประเทศเปนอยางดี มีความเปนไปไดที่พวกเขาเห็นชองทางในสถานการณ ระหวางประเทศที่อาจจะเอื้อประโยชนใหกบั พวกเขาได เชนพระยาศรีวสิ ารฯ องคมนตรี อดีตปลัด ทูลฉลองและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ และม.ร.ว. เสนีย ปราโมช อดีต เอกอัครราชทูตไทยประจําวอชิงตัน ดี.ซี. อดีตนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ 15
NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn , George M. Widney , 1 September 1953. โปรดดูการศึกษาในประเด็นบทบาทของ พระมหากษัตริยในชวงเวลาดังกลาวเพิ่มเติมใน Kobkua Suwanathat-Pian, King , Country and Constitution : Thailand’s Political Development 1932 – 2000, (New York: Routledge Curzon, 2003), pp.137-155. 16 NA , FO 371/112262 , Wallinger to Foreign Office,” Annual Report on Thailand for 1953”, 4 November 1952.
149
ตางประเทศและรองหัวหนาพรรคประชาธิปตย ทั้งนี้ คนแรกมีฐานะเปนที่ปรึกษาอยางเปน ทางการของพระมหากษัตริย สวนคนหลังเปนแกนนําคนสําคัญของ“กลุมรอยัลลิสต” ซึ่งไมนา ประหลาดใจแตประการใดทีพ่ วกเขาจะสามารถทีจ่ ะคิดวิเทโศบายของพวกตนตอมหาอํานาจ อยางเชนสหรัฐฯเพื่อใหไดประโยชนทางการเมือง ซึ่งเห็นไดจากตอมาพวกเขาไดพยายามสราง ความสนิมสนมใกลชิดระหวางสถาบันกษัตริยกับสหรัฐฯขึ้น ดังปรากฎในรายงานทางทางการทูต จากสถานทูตอังกฤษประจํากรุงเทพฯไดรายงานเรื่องดังกลาววา ในกลางป 2496 ไดเกิด เหตุการณที่พระมหากษัตริยไดทรงจัดเลีย้ งอําลาตําแหนงทูตใหกับสแตนตันเปนการสวนพระองค นอกจากนี้ ในรายงานฉบับดังกลาวไดรายงานขอมูลจากการบอกเลาของ สแตนตันวา พระองค ทรงสนพระทัยในความชวย เหลือจากสหรัฐฯที่ใหกับไทยมาก และที่สาํ คัญสถานทูตอังกฤษไดตั้ง ขอสังเกตการเขาใกลชิดระหวางพระองคกบั สหรัฐฯครั้งนีว้ า เปนเรื่องไมปกติทว่ั ไป 17 ตอมา เมื่อสหรัฐฯไดประกาศดําเนินการแผนสงครามจิตวิทยาในไทยแลว โดโนแวน ทูต สหรัฐฯคนใหม ผูมีความคุน เคยกับการเมืองไทยเปนอยางดี เนื่องจากเขาเคยรวมมือกับเสรีไทย ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทําใหเขามีสว นในการรางแผนสงครามจิตวิทยาที่สหรัฐฯจะดําเนินการ ตอตานคอมมิวนิสตในไทย โดยเขาไดรับความไววางใจจากพระมหากษัตริยเปนอยางยิ่ง ทําให เขาไดรับโอกาสเขาเฝาเปนการสวนพระองคอยางนอยถึง 5 ครั้งในชวงเวลาที่เขาดํารงตําแหนง เพียงปเดียว 18 เขาไดบันทึกการเขาเฝาครั้งหนึง่ ในเดือนตุลาคม 2496 วา พระองคทรงมีความ กระตือรือลนทีจ่ ะมีบทบาททางการเมือง แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมอนุญาติใหทรงมี บทบาททางการเมืองตามทีท่ รงมีพระราชประสงค และเมื่อเขาไดเลาความชวยเหลือทาง การทหารและการตอตานคอมมิวนิสตของสหรัฐฯแกไทยถวายใหพระองคทรงทราบ ทรงใหความ สนพระทัยในเรื่องดังกลาวมาก19 เกือบทุกครัง้ ที่ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯเดินทางกลับไปรายงานและรับทราบนโยบายของ สหรัฐฯตอไทยที่วอชิงตัน ดี.ซี. เขามักจะเขาพบสนทนากับพระองคเสมอ ทัง้ นี้ การเดินทางกลับไป สหรัฐฯครั้งหนึง่ ในเดือนธันวาคม 2496 เขาไดเขาเฝาเปนการสวนพระองคกอนออกเดินทาง และ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. เขาไดเสนอแนวคิดใหสหรัฐฯใชประเด็นการคุกคามสถาบันกษัตริยเปนประเด็น 17
NA, FO 371/106890 , Whitteridge to Foreign Office , 10 July 1953. 18 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0002 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอหน อี. เพอรีฟอย เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย วรรณไวทยากร ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 31 มกราคม 2498. โดโนแวนเขาเฝา ครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม 2496 ครั้งที่สองเมื่อ 3 ธันวาคม 2496 ครั้งที่สามเมื่อ 30 มกราคม ครั้งที่สี่เมื่อ13 มีนาคม และครั้งที่หาเมื่อ 14 สิงหาคม 2497 19 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4187, Donovan to Secretary of State, 17 October 1953.
150
สําคัญของปฏิบัติการสงครามจิตวิทยาในไทย สมิธ ปลัดกระทรวงการตางประเทศเห็นดวยกับ ขอเสนอของเขา20 ตอมา เขาไดเสนอความคิดตอประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา สถาบันกษัตริยจะ ทําใหสหรัฐฯบรรลุแผนสงครามจิตวิทยาในการทําใหคนไทยตอตานคอมมิวนิสต ซึ่งประธานา- ธิ บดีไอเซนฮาวรเห็นดวยกับแนวคิดดังกลาว และสัง่ การใหเขาประสานงานแผนดําเนินการกับ รัฐมนตรีวากระทรวงการตางประเทศ 21 การกลับไปวอชองตัน ดี.ซีครั้งนี้ เขาไดผลักดันให สหรัฐฯใหทุมงบประมาณจํานวน 150,000,000 ดอลลารในการทําสงครามจิตวิทยาผานสื่อตางๆ ในสังคมไทยเพื่อสรางความมุงมัน่ ใหคนไทยรวมในการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ 22 ทันทีที่ เขาเดินทางกลับมาถึงกรุงเทพฯ เขาไดเขาเฝาพระองค อีกครั้ง เพื่อรายงานความคืบหนาของแผน สงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตใหทรงทราบ23 โดโนแวน ทูตสหรัฐฯ เสนอแนวคิดใหสหรัฐฯผลักดันใหสถาบันกษัตริยเปนแกนกลาง สําคัญในการดําเนินการตอตานคอมมิวนิสตในไทยมีความสอดคลองกับนโยบายของสหรัฐฯเปน อยางยิ่ง เนื่องจาก ในขณะนัน้ กรรมาธิการพิเศษวาดวยภัยคุกคามคอมมิวนิสตของกระทรวง กลาโหม สหรัฐฯไดเสนอชุดปฏิบัติการทางการเมืองและการทหาร ทีก่ ําหนดให กระทรวงการ ตางประเทศ และซีไอเอ ดําเนินการสรางแนวคิดทําใหคอมมิวนิสตกลาย เปนภัยคุกคามภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เพือ่ สรางความหวาดวิตกใหกับประชาชนประเทศเปาหมายที่สหรัฐฯจะ ทําสงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสต 24 ภายใตการนําของโดโนแวน ทูตสหรัฐฯ ปฏิบัติการลับและสงครามจิตวิทยาของสหรัฐฯใน ไทยไดถูกเชื่อมโยงเขาหากัน ในปลายป 2496 เขาและซีไอเอไดพยายามสรางความคิดแบบเทิด ทูลสถาบันกษัตริยใหกลายเปนอุดมการณสําคัญของตํารวจตระเวนชายแดนและตํารวจพลรมที่ สหรัฐฯใหสนับสนุนใหจัดตั้งขึ้น ไมนานจากนัน้ กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดนไดถูกยาย 20
“Smith to Donovan, 7 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 19521954 Vol.12, pp.704-705. 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Memorandum of Conversation ; General Donovan Philip W. Bonsal Director PSA Lieut. William Vanderheuvel Aid to Ambassador Donovan K.P. Landon officer in charge Thai and Malayan Affaires PSA, 4 January 1954.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Donovan to Secretary of State, 8 January 1954. 22 Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12 (Washington : Government Printing Office,1987), Parson , the Charge in Thailand to The Secretary of States , December 8 , 1953,p.699. 23 กองสารบรรณ กระทรวงการตางประเทศ I 0402-344-202-511-0002 ขอความเห็นชอบในการ แตงตั้งนายจอหน อี เพอรีฟอย เปนเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําประเทศไทย วรรณไวทยากร ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี 31 มกราคม 2498. 24 The Pentagon Papers, p. 37.
151
ไปที่ตั้งหัวหิน ใกลวังไกลกังวล โดยสหรัฐฯมีวัตถุประสงคเพื่อทําใหตํารวจตระเวนชายแดนและ ตํารวจพลรมมีความสัมพันธที่ใกลชิดกับสถาบันกษัตริย 25 การเดินหนาแผนสงครามจิตวิทยาในไทยของสหรัฐฯไดเริ่มตนขึ้นในตนป 2497 นัน้ เอง โดโนแวน ทูตสหรัฐฯไดสั่งการปรับปรุงภารกิจหนาที่ของยูซิสในไทยจากเดิมที่เคยทําหนาที่แต เพียงเผยแพรความรูเกีย่ วกับสหรัฐฯใหยูซสิ กลายเปนเปนกลไกลใหมที่ทาํ หนาที่ปฏิบัติการ สงครามจิตวิทยาเชิงรุกผานการโฆษณาชวนเชื่อผานสื่อตางๆ และขยายเครือขายปฏิบัติการของ ยูซิสออกไปยังภูมิภาคของไทย พรอมการมีหนวยโฆษณาชวนเชื่อยอยๆที่เคลื่อนที่เขาไปในเขต ชนบทโดยเฉพาะอยางยิง่ ภาคอีสานของไทยในเวลาตอมา ไมกี่เดือนหลังจากที่ โดโนแวน ทูตสหรัฐฯไดนําเสนอแนวคิดในการสนับสนุนสถาบัน กษัตริยเพื่อทําสงครามจิตวิทยาใหคนไทยใหตระหนักในการเขารวมตอตานคอมมิวนิสตกับ สหรัฐฯ ในกลางเดือนพฤษภาคม 2497 พระมหากษัตริยไดทรงสงพระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี เปนผูแทนสวนพระองคเดินทางไปพบประธานาธิบดีไอเซนฮาวรทวี่ อชิงตัน ดี.ซี. จากหลักฐาน จากกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดบันทึกเหตุการณดังกลาววา พระยาศรีวิสารฯไดแจงกับ เจาหนาทีท่ ี่ทาํ เนียบขาววา เขาเปนผูแทนของพระมหากษัตริยไทยมีความตองการเขาพบ ประธานาธิบดีเพื่อนําพระบรมฉายาลักษณมาพระราชทานใหและมีขอความที่ทรงฝากขอความ ถึงประธานาธิบดีบางประการดวย ทัง้ นี้ ในชวงแรก เจาหนาที่ทที่ ําเนียบขาวไมอนุญาติเขาใหเขา พบ เนื่องจากไมมีการนัดหมายประธานาธิบดีอยางเปนทางการจากรัฐบาลไทย แตอยางไรก็ตาม ในเวลาตอมา กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดสั่งการให ผูแทนของพระมหากษัตริยไทยเขา พบประธานาธิบดีได โดยกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯใหเหตุผลวา ไทยมีความสําคัญทาง การเมืองในภูมิ ภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไทยจะมีความสําคัญตอนโยบายตางประเทศ ของสหรัฐฯตอไปในอนาคต 26 ดังนัน้ จากหลักฐานของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯฉบับดังกลาวนี้ทาํ ใหสามารถ วิเคราะหไดวา การที่สถาบันกษัตริยไดสงองคมนตรีเปนผูแ ทนสวนพระองค เดินทางออกไปพบ กับประธานาธิบดีสหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.โดยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามไมรับรูนี้ เปนเหตุ การณสําคัญที่แสดงใหเห็นถึงการวิเทโศบายดานการตางประเทศของสถาบันกษัตริยเปนครั้งแรก 25
Lobe, United States National Security Policy And Aid to The Thailand Police, pp.24-
29,fn.16. 26
NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Everett F. Drumright to Merphy,“ Presentation of the King of Thailand’s Photograph to the President ”, 21 May 1954 .อยางไร ก็ตามผูเขียนยังคนไมพบบันทึกการสนทนาระหวาง พระยาศรีวิสารฯกับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร วามีสาระ เปนเชนไร
152
หลังการปฏิวตั ิ 2475 ที่สถาบันกษัตริยไดแสดงเจตจํานงคออกไปภายนอกรัฐไทยโดยรัฐบาลไทย ในฐานะฝายบริหารที่ตองรับผิดชอบตอสภาผูแทนราษฎรไมอาจลวงรูก ารกระทําที่ละเมิด รัฐธรรมนูญดังกลาวไดเลย ทั้งนี้ เหตุการณดังกลาวอาจะเปนตัวอยางที่สะทอนใหเห็นถึงความ พยายามแสวงหาการสนับสนุนจากสหรัฐฯของสถาบันกษัตริย ซึง่ อาจจะเปนหนทางใหมของการ ตอสูทางการเมืองของสถาบันกษัตริยท ี่จะไดประโยชนจากบริบททางการเมืองระหวางประเทศ ในชวงสงครามเย็น ดังที่พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ ประธานองคมนตรี แกนนําสําคัญของสถาบัน กษัตริยไดเคยกลาวไวกับสถานทูตอังกฤษก็เปนไปได 27 ซึง่ ตอมา การสนับสนุนของสหรัฐฯทีม่ ีตอ สถาบันกษัตริยไดกลายมาเปนพลังสนับสนุนที่มีความสําคัญในการชี้ขาดชัยชนะการตอสูทาง การเมืองภายในระหวางสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับรัฐบาลจอมพล ป. ตอไป 6.3 ยูซิสกับสงครามจิตวิทยา ความคิดของโดโนแวน ทูตสหรัฐฯทีม่ ีความตองการใหยซู ิสทําหนาที่การปฏิบัติสงคราม จิตวิทยาเชิงรุกในเขตพืน้ ที่ชายแดนของไทย และปฏิบัติการผานสื่อตางๆ เพื่อทําใหคนไทยเห็น ภาพภัยจากการคุกคามของคอมมิวนิสต โดยเขาตองการจัดตั้งหนวยงานโฆษณาชวนเชื่อ เคลื่อนที่ของยูซิสในภาคอีสานและภาคเหนือ เชน อุบลราชธานี อุดรธานี นครราชสีมา และ ลําปาง28 แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมเห็นดวยกับขอเสนอที่ใหยูซิสตั้งหนวยเคลื่อนที่ อิสระในภูมิภาคโดยปราศจากการควบคุมของรัฐบาล อยางไรก็ตาม รัฐบาลจะจัดตัง้ หนวยงาน ของกรมประชาสัมพันธในภูมิภาคขึ้นและใหยูซิสเขารวมงานดวย โดยยูซิสจะตองสําหรับคาใช จายหมดทัง้ วัสดุ อุปกรณ การดูแลเนื้อหาสาระในการกระจายเสียงการตอตานคอมมิวนิสต 29 ขอเสนอของรัฐบาล สรางความพอใจใหกบั ยูซิสมากที่รฐั บาลใหกรมประชาสัมพันธออกหนาแทน ยูซิส 30 27
28
NA, FO 371/101168 , Chancery to Foreign Office , 21 July 1952.
หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497) Donovan to His Royal Highness The Foreign Minister Aide-Memoire, 29January 1954.; หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497), วรรณไวทยากร ถึง นายกรัฐมนตรี 30 มกราคม 2497. 29 หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497), หลวงชํานาญอักษร เลขาการคณะรัฐมนตรี ถึง รัฐมนตรีวากการะทรวงการตางประเทศ 11 กุมภาพันธ 2497 . 30 หจช.กต. 81.35 / 42 กลอง 2 สํานักขาวอเมริกันขอตั้งสาขาที่อุบล อุดร โคราช และลําปาง(2497) อธิบดี กรมยุโรป และอเมริกา ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 17 กุมภาพันธ 2497.
153
ตอมา ในกลางป 2497 ยูซิสไดตั้งหนวยงานประชาสัมพันธเคลื่อนที่ขนึ้ โดยมีโรเบิรต ลาชเชอร และเจมส เฮนเดอร(James Hender)รับผิดชอบในการดําเนินการโฆษณาชวนเชื่อตาม หมูบานในภาคอีสานดวยกองคาราวานรถจิ๊ปที่มีคณะผูเชี่ยวชาญในการทําสงครามจิตวิทยาออก เดินทางไปทั่วเขตชนบทเพื่อแจกโปสเตอร และสมุดคูมือการตอตานคอมมิวนิสตใหกับกํานัน ผูใหญบานและประชาชนในเวลากลางวัน สวนกิจกรรมในเวลากลางคืนมีการฉายภาพยนต ตอตานคอมมิวนิสตใหกบั ประชาชนในชนบทรับชม ทัง้ นี้ งานโฆษณาชวนเชื่อของยูซิสผานการ กระจายเสียงทางวิทยุในภูมิภาคของไทยนั้น ประสบความสําเร็จมาก อดีตเจาหนาทีข่ องยูซิสคน หนึง่ บันทึกวา รายการตางๆที่ออกอากาศเปนการโฆษณาชวนเชื่อออนๆ แตไมมีคนไทยคนใดรูสึก วาเปนโฆษณาชวนเชื่อแตอยางใด เนื่องจากยูซิสสามารถดําเนินการไดอยางแนบเนียน ทําให ผูฟงคนไทยสวนมากไมรูวา เปนรายการทีส่ หรัฐฯใหการสนับสนุนอยูเบื้องหลัง31 อยางไรก็ตาม การดําเนินการฉายภาพยนตของยูซิสในภูมิภาคนั้น นําไปสูการตั้งกระทู ตอรัฐบาลในสภาผูแทนราษฎรครั้งหนึ่ง แตรัฐบาลชี้แจงอยางเลีย่ งๆวา รัฐบาลมีนโยบายบํารุง ครัวเรือน สงเสริมการศึกษา อบรมและสงเคราะหหัวหนาครอบครัว จึงใหดําเนินการสรางสถานที่ ฝกอบรมหัวนาครอบครัวในจังหวัดและอําเภอตางๆ และมีการนําภาพยนตเรื่องเสียงสาบจากโล กันตออกไปฉายในภูมิภาค32 ตอมา รัฐบาลไดอนุมัติใหนาํ วิชาสงครามจิตวิทยาเขามาสอนใน ระดับมหาวิทยาลัย โดยมีกรมประมวลราชการแผนดินรับผิดชอบการสอนที่ คณะรัฐศาสตรและ อักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะรัฐศาสตร เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โรงเรียนนายรอย นายเรือ นายเรืออากาศและตํารวจ33 ไมแตเพียงเทานัน้ ยูซิสไดจัดทําภาพยนต
31
อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พล.ร.ท.เฉลิม สถิรถาวร ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 27 มีนาคม 2512,(กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมสารบรรณทหารเรือ, 2512), หนา 26-27. พล.ร.ท.เฉลิมไดแปลบทความ ของเมนารด ปารคเกอร โดยปารคเกอรมีภูมิหลังเคยเปนนายทหารประชาสัมพันธในไทย รับรูการปฏิบัติงาน สงครามจิตวิทยาในภาคอีสานของไทย ตอมา เขาผันตัวเองมาเปนนักหนังสือพิมพนิตยสารไลฟ ไดเขียน บทความลง Atlantic วา การตอตานคอมมิวนิสตในภาคอีสานเปนหนาที่ของหนวยงานพลเรือน 2 หนวย คือ สํานักขาว สารอเมริกันยูซิส กับสํานักงานพัฒนาระหวางชาติ(Agency for International Development: AID) ลงในนิตยสารนาวิกศาสตร เดือนมีนาคม 2510 ตอมาถูกพิมพในหนังสืองานศพเลมดังกลาว 32 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร ครั้งที่ 11 / 2496 (สามัญ) ชุดที่1 10 กันยายน 2496 ใน รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ พ.ศ.2496,(พระนคร: บริษัท เสนาการพิมพ, 2499), หนา 860-863. 33 สารเสรี, 28 กรกฎาคม 2497.
154
สงครามจิตวิทยาเรื่อง From Mao to Mekong มีการนําเสนอเรื่องปรีดี พนมยงคกับพวก คอมมิวนิสตไปฉายในวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร 34 การดําเนินการสงครามจิตวิทยาของยูซิสในไทยชวง 2496-97 นัน้ ยูซสิ ไดจัดพิมพ หนังสือตอตานคอมมิวนิสตฉบับกระเปา แจกจายใหวัดทั่วประเทศ จํานวน 19,000 แหง ภายในมี บทความที่เขียนกระตุนใหคนไทยตระหนักถึงคอมมิวนิสตเปนศัตรูทอี่ ยูภายในและภายนอกที่จะ มาคุกคามไทย โดยยูซิสไดคัดสรรหนังสือที่จะแปลที่สอดคลองกับการทําสงครามจิตวิทยาในไทย ตามที่สหรัฐฯตองการเพื่อสรางใหคนไทยเห็นปญหาทางสองแพรง สื่อผานการสื่อสารกับมวลชน ดวยหนังสือราคาถูกที่ไมไดเนนกําไรและแจกจายใหกับคนไทยทั่วประเทศ 35 ทั้งนี้ ควรบันทึก ดวยวา ในชวง 2496-2500 การปฏิบัติการสงครามจิตวิทยาดวยการใชสื่อในฐานะเปนอาวุธทาง อุดมการณของยูซิสในไทย นั้น สามารถจําแนกสื่อออกเปน 2 กลุม ดังนี้ กลุม แรกเปนเอกสาร สิ่งพิมพตอตานคอมมิวนิสตที่ยูซิสสนับสนุนการจัดพิมพเพื่อแจกจายใหแกประชาชน และ ขาราชการทั่วประเทศ และสําหรับหองสมุดตอตานคอมมิวนิสต 36 เชน หนังสือโฆษณาชวนเชื่อ ความกาวหนาและยิ่งใหญของสหรัฐฯ หนังสือหนังสือ สมุดภาพ โปสเตอร-แผนปลิวตอตาน คอมมิวนิสตและภาพยนตตอ ตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ การนําเสนอภาพภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต ในชวงการนําแผนสงครามจิตวิทยามาปฏิบัตินี้ไดเริ่มเห็นรองรอยของการพยายามทําใหสถาบัน กษัตริยใหกลายเปนศูนยกลางของตอตานคอมมิวนิสต เชน หนังสือเลมเล็ก เรื่อง ชะตากรรมของ ราชะ โปสเตอรและแผนปลิว เรื่อง ลัทธิคอมมิวนิสตคุกคามพระมหากษัตริยเปนภาพ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั และพระแกวมรกต และภาพยนตชุดเพื่อไทยเปนไท มีการนําเสนอ เรื่องราวพระราชกรณรียกิจของพระมหากษัตริยเรื่องทรงเสด็จเปดงานวันเกษตรแหงชาติป
34
นายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณแกผูแทนหนังสือพิมพและผูสื่อขาวตางประเทศ,(พระนคร : โรงพิมพ มหาดไทย, 2498), หนา 197-198. 35 Leo Bogart, Premises for propaganda : the United States Information Agency's operating assumptions in the Cold War, (New York: Free Press, 1976),pp. xiii,61-62 36 หจช.(3) สร.0201.23/10 หองสมุดหนังสือสําหรับตอตานคอมมิวนิสต(26 กันยายน – 22 พฤศจิกายน 2498) บุณย เจริญไชย รักษาการรองอธิบดี กรมประมวลราชการแผนดิน ฝายตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง วันที่ 26 กันยายน 2498 , รัฐบาลสั่งการใหมีการตั้งหองสมุดหนังสือ ตอตานคอมมิวนิสตขึ้นในกรุงเทพฯที่หองสมุดประชาชนของสภาวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม (หจช.(3) สร.0201.23/10 หองสมุดหนังสือสําหรับตอตานคอมมิวนิสต(26 กันยายน – 22 พฤศจิกายน 2498) , หลวงวิเชียรแพทยาคม ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฝายการเมือง วันที่ 22 พฤศจิกายน 2498).
155
249737 ทัง้ นี้ รายงานถึงประธานาธิบดีไอเซนฮาวรในปลายป 2498 มีการรายงานวา ยูซิสไดสนับ สนับสนุนใหรฐั บาลไทยทําสงครามจิตวิทยาเพื่อครอบงําลึกลงไปถึงในระดับหมูบา นแลว 38 6.4 สงครามจิตวิทยากับการสถาปนาอํานาจของสถาบันกษัตริย การดําเนินการตามแผนสงครามจิตวิทยาในไทยของสหรัฐมีวัตถุประสงคที่จะครอบงํา การรับรูของคนไทยในเขตชนบทจนถึงระดับหมูบานในภาคเหนือและอีสานของไทย ดวยการ สรางภาพภัยจากคอมมิวนิสตที่จะคุกคามสถาบันกษัตริย จารีตประเพณีและเอกราชของไทยที่ เคยมีมาอยางยาวนานใหลม สลายลง 39 อยางไรก็ตาม ความมุง หวังของสหรัฐฯที่จะทําใหคนไทย ใหเห็นภัยคอมมิวนิสตที่คุกคามสถาบันกษัตริยในขณะนั้นไมมีสมั ฤทธิผลนัก เนื่องจากที่ผานมา เปนเวลานาน รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามมิไดใหความสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยมีความ สําคัญ ซึ่งเห็นไดจาก การสํารวจความรูของคนไทยในชนบทภาคอีสานในป 2497 ของสหรัฐฯนัน้ คนไทยในภาคอีสานไมรูถึงความหมายของสถาบันกษัตริยถึงรอยละ 61 40 ดวยเหตุที่ สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหเขาเปนสวนหนึ่งในการทําสงคราม จิตวิทยาในไทยจึงเปนจังหวะเวลาสําคัญที่เปดโอกาสทางการเมืองใหกับสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” กลับมามีโอกาสทางการเมืองอีกครั้ง ดังความคิดของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช 37
โปรดดูรายละเอียดใน ณัฐพล ใจจริง, “จากสงครามจิตวิทยาแบบอเมริกันสูการสรางสัญลักษณ แหงชาติภายใตเงาอินทรีย” การสัมมนาวิชาการ สงครามเย็นในประเทศไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ 2553 อาคาร มหาจุฬาลงกรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 38 Dwight D. Eisenhower Library , White House Office, National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service box 80, Memorandum for The Operations Coordinating Board Assistants ,”Progress Report on Southeast Asia (NSC 5405 AND portion of NSC 5429/5)”, 2 December 1955. 39 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, Special Report to The National Security Council 1954.; “Parson to The Secretary of States, the Charge in Thailand, 9 December 1953,” in Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12, p. 700.; Library of Congress, CK3100288451, 28 December 1953, Memorandum of Meeting-Operations Cooperating Board Working Group on PSB D-23 – Thailand.; PRO, FO 371/117338, Gage to Foreign Office, 2 August 1955. 40 Bowie, Ritual of National Loyalty: An Anthropology of the State and the Village Scout Movement in Thailand, p. 87.
156
สมาชิกสําคัญคนหนึ่งของ “กลุมรอยัลลิสต” ไดเปดเผยกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯในเดือน เมษายน 2497 ซึ่งเปนชวงเวลากอนที่พระยาศรีวิสารฯ ผูเปนองคมนตรี จะเดินทางไปพบ ประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา พระองคกําลังแสวงหาความนิยมจากประชาชน เนื่องจาก “กลุม รอยัลลิสต”เห็นวาอํานาจทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกําลังออนตัวลง 41 จากคําบอกเลาของควง อภัยวงศ แกนนําคนหนึ่งใน“กลุมรอยัลลิสต” และหัวหนาพรรค ประชาธิปตย ไดใหกับสถานทูตสหรัฐฯรับฟงวา พระองคทรงพยายามเขามามีบทบาททางการ เมืองดวยการทรงขอใหเขาเปนที่ปรึกษาทางการเมืองสวนพระองค จากนัน้ ทรงไดเริ่มตนทาทาย อํานาจของรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการคัดคานและชลอการลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายปฏิรูป ที่ดินเพื่อชวยเหลือคนยากจนของรัฐบาล เนื่องจาก ทรงเห็นวา กฎหมายดังกลาวไมมคี วาม จําเปนเพราะที่ดินในประเทศมีราคาถูกและมีมากมายในชนบท และควงไดเลาตออีกวาพระองค ทรงมีพระบรมราชวินจิ ฉัยวา การควบคุมการถือครองที่ดนิ ตามกฎหมายของรัฐบาลจะสรางความ ไมพอใจใหกับเจาที่ดนิ 42 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ไมแตเพียง สถาบันกษัตริยเริ่มตนการทาทายอํานาจของ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเทานัน้ แต “กลุมรอยัลสิสต”ยังมีแผนการสรางกระแสความนิยม ในพระมหากษัตริยใหเกิดในหมูป ระชาชนเพื่อทาทายอํานาจของรัฐบาลจอมพล ป. ในอีกทาง หนึง่ ดวยการใหจัดโครงการใหพระองคเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบท 43 ควง อภัยวงศในฐานะที่ ปรึกษาทางการเมืองสวนพระองคใหความเห็นวา แผนการการเสด็จเยีย่ มประชาชนที่ “กลุมรอยัล ลิสต”ผลักดันขึ้นนัน้ จะสรางความนิยมใหกับพระองคเปนอยางมาก เขาเห็นวา การเสด็จชนบท เปนการแสดงการทาทายอํานาจรัฐบาล 44 อยางไรก็ตาม ในขณะนัน้ รัฐบาลปฏิเสธทีจ่ ะใหการ สนับสนุนในการเดินทางเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบท อาจมีผลทําใหพระยาศรีวิสารวาจาฯ องคมนตรี แกนนําคนสําคัญในสถาบันกษัตริย ที่ไดเดินทางไปพบประธานาธิบดีไอเซนฮาวรที่
41
NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Kukrit Pramote , George M. Widney , 29 April 1954. 42 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Nai Kwaung , Pierson M. Hall , 12 May 1954 , NARA , RG 59 General Records of Department of State , Central Decimal File 1950-1954 Box 4188 , Bangkok to Secretary of Stat , 4 December 1954 .อยางไรก็ตาม สภาผูแทนราษฎรไดยืนยันการใชกฎหมายดังกลาวจนสามารถประกาศใชไดสําเร็จ. 43 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Kukrit Pramote , George M. Widney , 29 April 1954. 44 NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4187 , Memorandum of Conversation ; Nai Kwaung , Pierson M. Hall , 12 May 1954.
157
วอชิงตัน ดี.ซี.ในเดือนพฤษภาคมปเดียวกัน45 ซึ่งการแสดงการวิเทโศบายของสถาบันกษัตริยใน ลักษณะดังกลาวเชนนี้ออกไปนั้น อาจพิจารณาไดวา การกระทําดังกลาวเปนแสดงเจตนารมยที่ดู เสมือนหนึง่ มีความปดลับบางประการออกไปภายนอกประเทศโดยไมใหรัฐบาลลวงรูในลักษณะที่ อาจมีการตกลงบางประการ และ/หรือ ขอความชวยเหลือจากมหาอํานาจอยางสหรัฐฯใหชวย ผลักดันความตองการของพวกเขาใหสําเร็จ เชน โครงการเสด็จชนบทของพระมหากษัตริย เปน ตน ไมนานจากทีพ่ ระยาศรีวิสารฯเดินทางไปพบประธานาธิบดี พระมหากษัตริยไดทรงจัด งานเลี้ยงอําลาตําแหนงทูตใหกับโดโนแวนเปนการสวนพระองค เขาไดแจงใหพระองคทรงทราบ วา สหรัฐฯมีนโยบายสนับสนุนแผนสงครามจิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตในภาคอีสานของไทย พระองคทรงใหความสนใจแผนสงครามจิตวิทยาในภาคอีสานนีม้ าก ทรงกลาววา ทรงมีพระราช ประสงคเสด็จภาคอีสาน ทูตอังกฤษเห็นวา หากพระองคเขารวมแผนการตอตานคอมมิวนิสตกับ สหรัฐฯนัน้ จะเกิดผลทางบวกแกสหรัฐเปนอยางมาก อีกทั้งจะเปนสาเหตุทที่ ําใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไมสามารถที่จะควบคุมพระราชกรณียกิจของพระองคใหปลอดจากสายตา ประชาชนได และการรวมโครงการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯจะทําใหพระองคมีโอกาส ปรากฎพระองคตอสาธารณะไดบอยครั้งอีกดวย 46 อยางไรก็ตาม จากหลักฐานรวมสมัยของคณะทูตประเทศมหาอํานาจไดบันทึกพัฒนา การของบุคลิกภาพของพระองควา ในตนทศวรรษ 2490 ทูตสหรัฐฯบันทึกวา พระองคทรงเปนคน ขี้อาย(Shyness) 47 แตตอมาในปลายทศวรรษ 2490 ทูตอังกฤษไดบันทึกในทางกลับกันกับทีท่ ูต สหรัฐฯบันทึกวา พระองคทรงสามารถเอาชนะความขี้อาย และเริ่มกลาปรากฏพระองคตอ สาธารณชนมากขึ้น อีกทัง้ กลุมราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” รวมมือกันในการผลักดันแผน ประชาสัมพันธที่จะการสรางกระแสความนิยมของพระองคใหเกิดกับคนไทยในชนบท ทูตอังกฤษ ประเมินวา แผนการของ“กลุม รอยัลลิสต”เปนสมือนการหวานเมล็ดพันธุเพื่อสรางอิทธิพลที่มนั่ คง ใหกับพระองคนี้จะประสบความสําเร็จอยางมาก 48 ตอมา รายงานถึงประธานาธิบดีไอเซนฮาวรในปลายป 2497 ไดประเมินการเมืองไทยวา การเมืองยังคงไมมีเสถียรภาพตอไป ดังนัน้ สหรัฐฯควรใหการสนับสนุนบทบาทสถาบันกษัตริย 45
NARA , RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Everett F. Drumright to Merphy, “ Presentation of the King of Thailand’s Photograph to the President ”, 21 May 1954 . 46 NA, FO 371/112262 , Gage to Foreign Office , 21 August 1954. 47 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4190 , Stanton to Secretary of State , 4 May 1950. 48 NA, FO 371/106884 , Wallinger to Foreign Office , 19 December 1954.
158
ในรายงานเสนอแนะวา แมพระมหากษัตริยจะทรงไรอํานาจและยังไมมีความชัดเจนทาง สัญลักษณในการเมืองของไทย แตทรงมีความกระตือรือลนอยางยิง่ 49 ในตนเดือนกุมภาพันธ 2498 เอช. สรูฟว เฮนเซล(H. Struve Hensel) ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมไดเสนอความคิด ตอกระทรวงการตางประเทศ วา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงมีปญหาชองวางของอุดมการณ ดังนัน้ สหรัฐฯจะตองใชประโยชนจากผูน ําและความเชื่อในผูนาํ ของพวกเขา ชักนําใหพวกเขารวม ตอตานคอมมิวนิสต แตตองอําพรางมิใหพวกเขามองเห็นบทบาทสหรัฐฯ อาณานิคมและคนขาว 50 ตอมา กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯได สั่งการใหยซู ิสในไทยเรงปฏิบัติการครอบงําคนไทย ใหมากขึ้น โดยใชประเด็นจากจารีตประเพณี และความมีเอกราชของชาติเปนประเด็นในการปลุก เราใหคนไทยเห็นภาพรวมกันถึงความชั่วรายของคอมมิวนิสตที่กําลังคุกคามไทย51 เมื่อ สหรัฐฯมีนโยบายตอตานคอมมิวนิสตดวยการสนับสนุนใหสถาบันกษัตริยม ี ความสําคัญนัน้ มีสวนทําใหแผนการเสด็จเยี่ยมประชาชนในชนบทของพระมหากษัตริยไทยที่ “กลุมรอยัลลิสต”พยายามผลักดันมีความชัดเจนยิง่ ขึ้น ในเวลาตอมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามยอมเปลี่ยนทาทีจากที่เคยคัดคานโครงการเสด็จเยี่ยมประชาชนมาเปนความยินยอมให พระองคเสด็จเยี่ยมประชาชน ในกลางป 2498 ทูตอังกฤษรายงานวา แผนเสด็จเยี่ยมประชาชนฯ ของพระองคที่ “กลุมรอยัลลิสต” ผลักดันขึน้ นัน้ เปนแผนประชาสัมพันธที่จะประสบความสําเร็จ อยางมาก52 จากนัน้ โครงการเสด็จเยี่ยมประชาชนไดเริ่มตนในชวงปลายกันยายนจนถึงปลาย พฤศจิกายน 2498 ทั้งนี้ ชวงแรกของการเสด็จนั้น ทรงเสด็จเยี่ยมประชาชนในภาคกลางเปน ชวงเวลาสัน้ ๆครั้งละ 1-2 วัน ตอมา การเสด็จครั้งสําคัญ คือ การเสด็จภาคอีสาน ในชวงเดือน พฤศจิกายน 2498 53
49
Dwight D. Eisenhower Library , White House Office , National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service Box 2 ,“ Thailand : An American Dilemma ” , October 1954. 50 NARA, RG 84 ,Top Secret General Records 1947-1958 Box 3 , Hensel to Dulles , 4 February 1955 . 51 “U.S. Assistance in the Development of Force Adequate to Provide Security in Countries Vulnerable to Communist Subversion(Thailand)1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22,(Washington D.C.: Government Printing Office,1989), p. 820. 52 NA, FO 371/117360 , Gage to Tomlinson , 29 April 1955. 53 ปราการ กลิ่นฟุง, “การเสด็จพระราชดําเนินทองที่ตางจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิ พลอดุลยเดช พ.ศ.2493-2530,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551), หนา 121.
159
หลังจากที่ทรงเริ่มตนโครงการการเสด็จเยี่ยมประชาชนฯในเขตภาคกลางของไทยเมื่อ ปลายเดือนกันยายน 2498 ทําใหพระองคเริ่มกลายเปนจุดสนใจ และแกนกลางของจารีต ประเพณีไทย พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรีไดบอกตอสถานทูตสหรัฐฯในเดือนตุลาคมวา “กลุม รอยัลลิสต”กําลังวางแผนใหพระองคทรงเสด็จเยี่ยมเยียนประชาชนในทั่วทุกภาคเพือ่ สนับสนุน การตอตานคอมมิวนิสตตามความตองการของสหรัฐฯ54 ทัง้ นี้ ความนิยมของประชาชนที่มีตอ พระองคทาํ ใหรัฐบาลพยายามคัดคานแผนการเสด็จเยีย่ มประชาชนฯดวยการตัดลดงบประมาณ และการรับรองความปลอดภัยลงทําใหพระองคทรงไมพอใจรัฐบาล55 อยางไรก็ตาม แผนการ เสด็จภาคอีสานในเดือนพฤศจิกายนดําเนินตอไปทําใหพระองคทรงกลายเปนศูนยกลางของ ความสนใจของคนไทยอยางมาก 56 เดือนธันวาคม 2498 สภาความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯประเมินวากิจกรรมสงคราม จิตวิทยาในไทยที่สหรัฐฯผลักดันนัน้ สามารถกระตุนใหชาวบานในระดับหมูบานตระหนักถึงภัยที่ จะมาคุกคามสถาบันกษัตริย จารีตประเพณี และความมีเอกราชของไทยได 57 ตอมาเมื่อ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเดินทางมาไทยเมื่อเดือนมีนาคม 2499 เขาไดเขาเฝา พระมหากษัตริย และกราบบังคมทูลใหพระองคทรงตระหนักถึงความสําคัญของการตอสูกับ คอมมิวนิสตวา พระองคจะตองทรงมีความแข็งแกรง กระฉับกระเฉงและมีกิจกรรมที่เปยมไปดวย จิตวิญญาณของการตอตานคอมมิวนิสตตอ ไป 58 ในขณะที่ สหรัฐฯชื่นชมและใหความสําคัญกับการรวมตอตานคอมมิวนิสตของสถาบัน พระมหากษัตริย แตในทางกลับกัน ในเวลาตอมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับเริ่มถอย หางออกจากสหรัฐฯ ดวยการเริ่มตนการมีนโยบายตางประเทศที่เปนกลางและกระบวนการ 54
NARA , RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn Vacha , Robert N. Magill , “ The Current Political Situation ”, 12 October 1955. 55 NA, FO 371/117360 , Gage to Tomlinson , 29 April 1955,NARA , RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Memorandum of Conversation ; Phya Srivisarn Vacha , Robert N. Magill , “ The Current Political Situation ”, 12 October 1955. 56 โปรดดูภาพการเสด็จฯดังกลาวทามกลางประชาชนใน เสด็จฯเยี่ยมราษฎร, (กรุงเทพฯ: สํานัก พระราชวัง, 2532). 57 Dwight D. Eisenhower Library , White House Office , National Security Council Staff : Papers, 1948-1961 , Operations Coordinating Board Central File Service Box 80 , Memorandum for The Operations Coordinating Board Assistants ,”Progress Report on Southeast Asia (NSC 5405 AND portion of NSC 5429/5) ”, 2 December 1955. 58 “Memorandum of a Conversation at Government House-Bangkok, 13 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 862.
160
ประชาธิปไตยที่มีการแขงขันทางการเมืองอันนําไปสูการวิจารณสหรัฐฯและรัฐบาลจอมพล ป. อยางหนัก อีกทั้ง กระบวนการทางการเมืองในการเตรียมการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นในตนป 2500นั้น ทําใหรัฐบาลตองหันไปประนีประนอมกลุมการเมืองตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “กลุมปรีดี”และ กลุมฝายซายในสังคมไทยเพือ่ ชัยชนะในการเลือกตั้ง ทําใหสหรัฐฯเริ่มมองเห็นความยอหยอนของ รัฐบาลในฐานะพันธมิตรที่รว มตอตานคอมมิวนิสต ทัง้ นี้ ในบันทึกของรักษาการรัฐมนตรีกระทรวง การตางประเทศถึงสถานทูตสหรัฐฯในกรุงเทพฯในปลายป 2499 ไดแสดงความกังวลใจถึงความ ยอหยอนของรัฐบาลในการตอตานคอมมิวนิสต 59
59
NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Hoover(Acting of Secretary of State) to Bangkok, 4 August 1956.
บทที่ 7 ความเปนกลางและการสรางประชาธิปไตย ของรัฐบาลจอมพล ป.ปลายทศวรรษ 2490 7.1 บริบทการกอตัวของนโยบายเปนกลางของรัฐบาลจอมพล ป. นับตั้งแต การยุติการยิงในสงครามเกาหลี(2496)ที่ไมปรากฎผูชนะและติดตามดวยความ พายแพของฝรัง่ เศสที่เดียนเบียนฟู (2497) มีผลทําใหรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามเกิด ความลังเลในการสนับสนุนที่สหรัฐฯจะใหแกไทยเพื่อตอตานการรุกรานของกองทัพของพรรค คอมมิวนิสตจนี 1 ในปลายปเดียวกันสหรัฐฯไดตั้งขอสังเกตถึงทาทีของรัฐบาลไทยวา แมในดานที่ เปนทางการไทยยังประกาศดําเนินการตามนโยบายของสหรัฐฯตอไป แตในความคิดเห็นของผูน าํ ไทยบางคนนัน้ พวกเขาเริ่มตั้งคําถามถึงความเปนไปไดที่สหรัฐฯจะใหการคุมครองความมัน่ คง ของไทยหลังขอตกลงที่เจนีวาตอไป สหรัฐฯเชื่อวา มีความเปนไปไดที่รฐั บาลไทยจะแสวงหา ทางเลือกใหม 2 เมื่อฝรั่งเศสพันธมิตรสําคัญของสหรัฐฯตองถอนตัวออกไปจากอินโดจีนสงผลใหสหรัฐฯ เกิดความวิตกวา อาจเกิดสูญญากาศทางอํานาจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทําใหสหรัฐฯ สูญเสียอิทธิพลในภูมิภาคไป เนื่องจากภูมิภาคนี้อาจจะถูกคอมมิวนิสตยึดครองตามทฤษฎีโดมิโน ดวยความวิตกเชนนี้ทาํ ใหสหรัฐฯเสนอจัดตั้งระบบความมั่นคงรวมกันระหวางสหรัฐฯกับประเทศ ในเอเชียหรือองคการสนธิสญ ั ญาปองกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต(SEATO)หรือซีโตใน เวลาตอมา เพือ่ การสรางความมัน่ ใจใหเกิดในภูมิภาคอีกครั้ง 3 รัฐบาลไทยไดแสดงใหสหรัฐฯเห็น วาไทยยังคงมีความความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯตอไป ดวยการประกาศตัวเปนประเทศ แรกที่ใหสัตยาบันในสนธิสัญญากอตั้งซีโต ทําใหสหรัฐฯมีความพอใจมาก4 ในขณะที่ภูมิภาคเผชิญหนากับสภาวะสุญญากาศของอํานาจในการเมืองระหวาง ประเทศ จีนไดเริ่มตนโครงการชักชวนใหประเทศตางๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตให
1
NA, FO 371/117338, Gage to Foreign Office, 2 August 1955. NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79R00890A000300050008-1, 5 August 1954 , “NSC briefing”. 3 Leszek Busynki, SEATO: The Failure of an Alliance Strategy,(Singapore: Singapore University Press, 1983), p. 6. 4 สยามรัฐ, 24 กันยายน 2497. 2
162
ความสําคัญกับสันติภาพขึน้ 5 ตอมา รูปธรรมของการรณรงคสันติภาพไดเกิดขึ้นเมื่อ เยาวะฮะราล เนหรู นายกรัฐมนตรีอิเดียและอูนุ นายกรัฐมนตรีพมาไดเดินมาแวะเยือนไทยกอนเดินทางไป ประชุมของกลุม ประเทศไมฝก ใฝฝายใด(Non-Aligned Movement: NAM)∗ ทีก่ รุงโคลัมโบ ศรีลังกา จอมพล ป.พิบูลสงครามใหการตอนรับ โดยผูน าํ ทัง้ สองไดกลาวสุนทรพจนเพื่อโนมนาว ใหไทยเห็นดวยกับการรักษาสันติภาพทามกลางความขัดแยงของโลก6 หนังสือพิมพขณะนั้น เชน เทอดไทย เห็นวา การมาเยือนของผูนาํ ทั้งสองเปนการมายั่งทาทีไทยใหโนมเอียงไปกับกลุม ประเทศไมฝกใฝผายใด7 ในสายตาของสหรัฐฯ แมการเมืองไทยในชวงปลายป 2497 จะปลอดจากการทาทายทาง การเมืองจากลุมภายนอกรัฐบาลก็ตามแตภายในกลับมีความขัดแยงที่เขมขนระหวางจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทซึ่งเปนผูมีอาํ นาจทางการเมืองอยางแทจริง ใน รายงานวิเคราะหแมจอมพล ป.พิบูลสงครามจะเปนนายกรัฐมนตรีแตเขาไมมีอํานาจทาง การเมือง และแมเขาจะมียศจอมพลแตเขากลับไมมีกําลังทหารสนับสนุน ทามกลางความขัดแยง ภายในเชนนี้ สหรัฐฯเห็นวาไทยกําลังตกอยูในสภาวะแหงความเสี่ยงทีจ่ ะคอมมิวนิสตคุกคามได งาย และหากสหรัฐฯสูญเสียไทยยอมหมายถึงสหรัฐฯสูญเสียทัง้ ภูมิภาคตามทฤษฎีโดมิโน อยางไรก็ตาม ในขณะนัน้ สหรัฐฯยังไมตัดสินใจสนับสนุนผูใดระหวางจอมพลสฤษดิ์ และพล ต.อ. 5
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001600530001-5, 25 July 1954 , “Communists pleased with ‘neutralization’ campaign in Southeast Asia”. ∗
กลุมประเทศไมฝกใฝฝายใด(Non-Aligned Movement :NAM) ไดรับการกอตั้งขึ้นเมื่อ 2497 เริ่มตนจากการที่ผูนําของประเทศตาง ๆ ในเอเชีย 5 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย พมา อินเดีย ปากีสถาน และศรี ลังกา ไดมาประชุมกันที่กรุงโคลัมโบเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณระหวางประเทศใน ขณะนั้น และเห็นวา ควรมีการขยายกรอบการประชุมใหกวางออกไป ตอมา ในป 2498 มีการประชุมกลุม ประเทศเอเชีย-แอฟริกาที่เมืองบันดุง อินโดนีเซีย (Bundung Conference) โดยมีผูเขารวมการประชุมเพิ่มขึ้น เปน 29 ประเทศ ประเทศที่เขารวมการประชุมไดเห็นพองกันวา ประเทศในเอเชียและแอฟริกาควรมีการรวมตัว กันเพื่อไมตองถูกครอบงําโดยสหรัฐฯและสหภาพโซเวียตในยุคสงครามเย็น และเพื่อเปนพลังรวมกันในการ ตอตานการเปนอาณานิคมของประเทศมหาอํานาจ ในการนี้ ที่ประชุมไดยอมรับหลักการ 5ประการ(หลักปญจ ศีล)เปนหลักการรวมที่สมาชิกยึดถือกัน ดังนี้ การเคารพในบูรณภาพและอธิปไตยซึ่งกันและกัน การไมรุกรานซึ่ง กันและกัน การไมแทรกแซงซึ่งกันและกันทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจและความเชื่อ การใหความเสมอภาคและ ผลประโยชนอันเทาเทียมกันและการอยูรวมกันอยางสันติ 6 ศรีกรุง, 26 ธันวาคม 2497.; โปรดดูสุนทรพจนของอูนุ นายกรัฐมนตรีพมาและเนหรู นายกรัฐมนตรี อินเดียในงานเลี้ยงตอนรับครั้งนี้ ใน ขาวพาณิชย, 29 ธันวาคม 2497.; ประชาธิปไตย, 30 ธันวาคม 2497.; ประชาธิปไตย, 31 ธันวาคม 2497. 7 เทอดไทย, 28 ธันวาคม 2497.
163
เผาใหขึ้นมาเปนผูมีอํานาจคนใหม เนื่องจาก สหรัฐฯยังคงมองวาทัง้ คูลวนแสดงตนเปน“เด็กดี” (Fair-haired boy)ของสหรัฐฯ ในขณะที่กองทัพไทยตกอยูในการควบคุมของเหลานายพลที่มี ความเฉื่อยชาและไมเขาใจนโยบายของสหรัฐฯ แมสหรัฐฯยังคงสนับสนุนทั้งสองคนตอไปแต สหรัฐฯมีความตองการผลักดันปลดระวางนายทหารระดับสูงของไทยหลายคนที่ตายซากออกไป จากกองทัพ 8 ตนเดือนมกราคม 2498 เมื่อจีนไดเริ่มรณรงคเชิญชวนใหประเทศตางๆเขาประชุมกลุม ประเทศไมฝกใฝฝายใดที่บนั ดง อินโดนีเซียนั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามยังมีทา ทีเปน ปรปกษกับการเชิญดังกลาว9 แมวารัฐบาลยังคงมีความลังเลตอสถานการณการเมืองระหวาง ประเทศในภูมภิ าค แตในระดับที่เปนทางการแลว รัฐบาลยังพยายามสรางความมัน่ ใจกับสหรัฐฯ ถึงความสัมพันธที่แนบแนนตอไป ดวยการแสดงความตองการเยือนสหรัฐฯ และพบปะสนทนา กับประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ดวยเหตุผลวา จอมพล ป. ไมเคยเดินทางออกไปตางประเทศนาน กวา 27 ปตั้งแตเรียนเขาจบการศึกษาดานการทหารปนใหญจากฝรัง่ เศส เขามีความตองการทํา ความคุนเคยกับรัฐบาลในเอเชียและยุโรปทีร่ วมเปนมิตรกันในสหประชาชาติและรวมการตอตาน คอมมิวนิสต 10 เมื่อความผันผวนของบริบทการเมืองระหวางประเทศมีสงู ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม เริ่มมีความไมมั่นใจในความชวยเหลือจากสหรัฐฯ ความเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นอยางรวดเร็วนี้ ทํา ใหจอมพล ป. เริ่มตัดสินใจสงสัญญาณการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไทยขึ้น เห็นไดจาก เขาได เริ่มตนแสดงทัศนะทางการเมืองในการประชุมขาราชการครั้งหนึง่ ในตนเดือนมกราคม 2498 โดย เขาแนะนําใหขาราชการอยาหวงเรื่องการอนุรักษสิ่งเดิมๆเพราะไมมที างรักษาไวได แตใหคิดและ มองไปขางหนา สวนพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดกลาววา โลกเปลี่ยนไป ขาราชการตองหมุนใหทนั โลก และควรมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่ใหประชาชนมีอํานาจในการปกครองมากขึ้น
8
Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, “Thailand: An American Dilemma, October 1954. 9 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001800560001-0, 5 January 1955, “Invitees initially wary of Asian-African Conference”. 10 “Memorandum from the Deputy Under Secretary of State for Political Affaires(Murphy) to The Secretary of States, 5 January 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 807.
164
หนังสือพิมพในขณะนัน้ เห็นวาทัศนะทางการเมืองที่สาํ คัญของผูนาํ ทั้งสอง คือ การไปสู“ยุค ประชาชน”11 ตอมา จอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศในการประชุมสมาชิกสภาผูแ ทนฯที่สนับสนุน รัฐบาลวา เขาจะเรงรัดแผนการปกครองใหมทจี่ ะกระจายอํานาจไปสูป ระชาชน เลิกระบบราชการ ที่เปน“ขุนน้าํ ขุนนาง” แตขาราชการจะตองเปนผูรับใชประชาชน 12 จากนัน้ เขาไดวจิ ารณสาเหตุ แหงความลาหลังของการปกครองของไทยวา เกิดจาก“ระบบศักดินา”ทําใหขาราชการเหินหาง จากประชาชน ดวยเหตุนี้ รัฐบาลของเขามีความตองการทําลายระบบดังกลาวหายไปอยาง เด็ดขาด13 ทั้งนี้ แผนการปรับปรุงการปกครองใหมภายใตรัฐบาลของเขา คือ การเปลีย่ นแปลง การปกครองทีย่ ังคงมีความคิดตามแบบระบบศักดินาไปสูการปกครองที่มีความเสมอภาคเทา เทียมและมุงไปสูความเจริญ14 โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทเห็นวา“ระบบศักดินา” หรือ“ระบบขุน นาง” เปนอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลง เขาเห็นวา หลังการปฏิวัติ 2475 ประชาชนตองการมีสว น ในการปกครอง15 จากนั้นพล ต.อ.เผาไดเสนอแผนที่เรียกวา“แผนปฏิรูปการปกครอง” ตามความ ตองการของรัฐบาลที่ตองการใหการกระจายอํานาจจากสวนกลางไปสูสวนภูมิภาค ผานรูปแบบ การปกครองสวนทองถิ่นและกระบวนการเลือกตั้ง16 7.2 นโยบายการทูตสองทางของรัฐบาลจอมพล ป. แมวาสหรัฐฯมีความตองการทําใหไทยกลายเปนแหลงทรัพยากร และตลาดรองรับสินคา การผลักดันใหไทยเปดรับทุนจากสหรัฐฯเขามาลงทุนในไทยจะประสบความสําเร็จบางสวนดวย การที่รัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามยอมออกกฎหมายสงเสริมการลงทุนตามที่สหรัฐฯผลักดันก็ ตาม แตรัฐบาลยังคงควบคุมการลงทุนอยู เนื่องจากรัฐบาลยังคงรักษาการประกอบการทาง เศรษฐกิจของรัฐในรูปรัฐวิสาหกิจตอไป17 ทําใหสหรัฐฯมีความตองการผลักดันใหไทยเปดการ 11
“บทบรรณาธิการ,” ใน สยามนิกร, 19 มกราคม 2498. สยามรัฐ, 22 มกราคม 2498. 13 ประชาธิปไตย, 15 กุมภาพันธ 2498 14 ไทยใหม, 16 มกราคม 2498 15 ชาวไทย, 18 มกราคม 2498 16 หจช.มท.0201.2.1/571 กลอง 18 แผนปฏิรูปการปครอง(2498) 17 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก,” (กองทุน ปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550), หนา 6-8.; อุกฤษฏ ปทมานันท, “สหรัฐอเมริกา กับเศรษฐกิจไทย(1960-1970),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526). 12
165
ลงทุนใหมากขึ้นอีก ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเขาพบจอมพล ป. เพื่อผลัก ดันแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจใหกับไทยอีกครั้ง ภายหลังที่เขาเขารวมการเปดประชุมซีโตครั้ง แรกในไทยเมือ่ ปลายเดือนกุมภาพันธ 2498 เขาแจงตอจอมพล ป.วา สหรัฐฯตองการใหรัฐบาล ไทยทบทวนกฎระเบียบเพื่อดึงดูดการลงทุนจากสหรัฐฯเพิ่มขึ้นอีก แตจอมพล ป. ไมแสดงทาที ตอบรับความตองการจากสหรัฐฯดังกลาวแตอยางใด18 แมฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯประจําไทยได พยายามเสนอใหรัฐบาลไทยมีการพัฒนาระบบการคลัง การตั้งสํานักงบประมาณ การสงเสริม ความสามารถในการแขงขันทางการคาและอุตสาหกรรมดวยการลดอุปสรรคในการคาและการ ลงทุนเพื่อสงเสริมการลงทุนจากจากสหรัฐฯใหเขามาลงทุนในไทยอีกก็ตาม แต จอมพล ป.มิได ตอบรับขอเสนอกลาวเชนเดิม19 ดังนั้นจะเห็นไดวา แมรัฐบาลจอมพล ป. ยอมรับการเขารวมในซี โต แตรัฐบาลของเขากลับไมตอบสนองการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการเปดการลงทุนจาก ตางประเทศ เนื่องจากจะมีผลกระทบตอฐานทางเศรษฐกิจของกลุมผูนําของรัฐบาล เชน คาย ราชครูที่มีจอมพลผิน ชุณหะวัณกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่ใหการค้ําจุนรัฐบาลอยู การเดินทางไปเยือนสหรัฐฯและประเทศตางๆ(เมษายน-มิถุนายน 2498) โดยเฉพาะ อยางยิ่งสหรัฐฯของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ เขามีความตองการขอบคุณความชวยเหลือที่ สหรัฐฯไดใหแกไทย และดูงานการบริหารงานและระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และพบปะสนทนา กับประธานาธิบดีและบุคคลสําคัญของรัฐบาลสหรัฐฯเพือ่ ปรึกษาปญหาความไมเพียงพอของ งบประมาณของไทย เนื่องจากไทยใชงบประมาณไปทางการทหารถึงรอยละ 40 ทําใหเขามี ตองการขอใหสหรัฐฯเพิม่ ความชวยเหลือทางทางเศรษฐกิจมากกวาการทหาร 20 ทัง้ นี้ กอนที่เขา จะออกเดินทาง เจาหนาที่ของสหรัฐฯพยายามโนมนาวเขาใหดําเนินการปรับปรุงระบบการบริหาร และนโยบายทางเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการอีกครั้ง 21
18
“Memorandum of Conversation between The Sectary of States and Field Marshal P. Pibulsonggram at Government House-Bangkok, 22 February 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 809. 19 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3913, Peurifoy to Secretary of State, 21 March 1955.; “Peurifoy to Prime Minister Pibulsonggram, 21 March 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 813-814.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3913, Pibulsonggram to Peurifoy, 13 April 1955. 20 เชา, 22 ธันวาคม 2497.; หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/16 กลอง 2 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. ไปเยือน อเมริกา พ.ศ.2498 (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2498).; Evening News, 22 April 1955 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Anschutz to Secretary of State, 29 April 1955.
166
แมในดานหนึง่ จอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามแสดงการกระชับไมตรีกับสหรัฐฯดวย การเดินทางไปเยือนสหรัฐฯก็ตาม แตเขามิไดยอมรับการผลักดันขอเสนอจากสหรัฐฯใหไทย ปรับปรุงการบริหารและนโยบายเศรษฐกิจตามที่สหรัฐฯตองการ อีกทัง้ เขาไดเริ่มตนการถอยหาง ออกจากสหรัฐฯ ดวยการสงกรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธ รัฐมนตรีวา การกระทรวงการ ตางประเทศเปนตัวแทนไปประชุมกลุมประเทศไมฝกใฝฝายใดที่บนั ดุง อินโดนีเซีย (18- 24 เมษายน 2498) ในชวงเวลาเดียวกัน 22 อยางไรก็ตาม กอนที่คณะผูแทนไทยจะเดินทางไปประชุม ที่บันดุง อินโดนีเซีย สหรัฐฯไดพยายามเขายับยั้งการเขารวมประชุมของไทย โดยสัง่ การใหฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯเขาพบกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธในเย็นของ 9 เมษายน 2498 ที่สนามบิน ดอนเมือง กอนคณะผูแทนฯทั้งหมดออกเดินทางไปบันดุง แตการยับยัง้ จากสหรัฐฯไมเปนผล23 การประชุมทีบ่ ันดุง อินโดนีเซียนัน้ ที่ประชุม จํานวน 29 ประเทศไดรวมรับรับรอง ”หลักปญจศีล”ที่มีสาระสําคัญในการอยูรวมกันอยางสันติและการไมแทรกแซงกิจการภายใน ระหวางกัน อีกทัง้ ที่ประชุมไดรวมกันประนามลัทธิอาณานิคมในทุกรูปแบบ ในวันสุดทายของการ ประชุม กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ไดบันทึกวา โจวเอินไหล นายกรัฐมนตรีจีนไมมีทาที คัดคานการจัดตั้งซีโตแตอยางใด ทรงเห็นวา คําปราศัยของโจวเอินไหลกลับทําใหบรรยากาศ การเมืองระหวางประเทศในเอเชียผอนคลายลง พระองคไดหาโอกาสสนทนาสวนตัวกับโจวเอิน ไหลเพื่อซักถามถึงความของใจของไทยทีม่ ตี อจีนบางประการ เชน ขาวที่จีนใหการสนับสนุนทาง การเมืองใหกบั ปรีดี พนมยงค โจวเอินไหลไดกลาวปฏิเสธโดยบอกวา ปรีดีเปนเพียงผูพํานักอาศัย คนหนึ่งในจีนเทานั้น และตอคําถามทีว่ า จีนใหสนับสนุนใหเกิดรัฐไทยอิสระทางตอนใตของจีน เขาตอบพระองควา จีนไมมนี โยบายที่จะสนับสนุนรัฐไทยอิสระใหแพรออกไป จากนั้น เขาไดเชิญ คณะผูแทนไทยไปเยือนจีน24 จากทาทีของจีนที่มีตอไทยนัน้ สรางความมหัศจรรยใหกับพระองค 22
หจช.สบ. 5.1.1.2/1 กลอง 1 รายงานการประชุมกลุมประเทศเชีย-อัฟริกา(พ.ศ.2498-2508), ลับ มาก(ภาคผนวก)สรุปผลการประชุมอัฟโฟร-เอเชียน ครั้งที่ 1 ประกอบดวยคณะผูแทนฝายไทย มี กรมหมื่นราธิป พงศประพันธ ม.จ.ดิลกฤทธิ์ กฤดาดร หลวงรัตนธิป หลวงวิเชียรแพทยาคม มนู อมาตยกุล ปวย อึ้งภากรณ สุวิทย บวรวัฒนา วัฒนา อิศรภักดีและเสวี โกมลภูมิ 23 สยามนิกร, 11 มิถุนายน 2498 24 Selected Documents of The Bandung Conference Texts of Selected Speeches and Final Communique of The Asian-African Conference Bandung Indonesia, 18-24 April 1955,(New York: Institution of Pacific Relations,1955).; หจช.สบ. 5.1.1.2/1 กลอง 1 รายงานการประชุมกลุมประเทศเชีย-อัฟ ริกา(พ.ศ.2498-2508), ลับมาก(ภาคผนวก)สรุปผลการประชุมอัฟโฟร-เอเชียน ครั้งที่ 1.; สยามรัฐ, 28 เมษายน 2498.; กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 4.; George McT. Kahin, The Asian-African Conference Bandung Indonesia, April 1955, (Ithaca, New York: Cornell University Press, 1955), pp. 26-27.
167
มาก ทรงบันทึกวา “ โจวเอินไหลแสดงอัธยาศัยไมตรีอันดีแกขาพเจา…มีการกระจายขาวดังกลาว มาไทย ตอมาเมื่อจอมพล ป. ไดยินขาวกระจายเสียงแลว รีบโทรศัพทมาถามขาพเจา ใหขา พเจา รายงานใหทราบ” 25 ดังนั้น เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงครามรับรูถึงทาทีที่เปนมิตรของจีนแลวก็ตาม แตทาทีของจอมพล ป.ในอีกฝากหนึง่ ของโลก เมื่อเขาอยูในสหรัฐฯนัน้ เขายังคงใหสัมภาษณวา ไทยยังคงตองการความชวยเหลือจากสหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตตอไปและสําหรับการประชุมบัน ดุงนัน้ เขา“ไมหวังผลอยางจริงจังนัก”26 ในขณะที่ ซีไอเอประเมินวา ทาทีของไทยหลังการประชุม บันดุง คือ ไทยมีแนวโนมทีจ่ ะมีนโยบายเปนกลาง27 กระนัน้ ก็ดี จอมพล ป. พิบูลสงครามยังคงยืนยันนโยบายที่แนบแนนตอสหรัฐฯตอไป 28 เขาได ใหสัมภาษณที่ วอชิงตัน ดีซี.ผานวิทยุเสียงอเมริกาวา “ขาพเจามาใหคําประกันแกทานอีก ครั้งวา ประเทศไทยจะอยูเคียงขางสหรัฐฯเสมอไป”29 และยังไดกลาวใหความมัน่ ใจกับสภาคองเก รสวา “ประเทศของเราจะอยูกับทานเสมอ” 30 ในขณะที่ ในสายตาของเจาหนาที่กระทรวงการ ตางประเทศทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ไดตั้งขอสังเกตวา การทีจ่ อมพล ป. มาเยือนสหรัฐฯในขณะที่สงกรม หมื่นนราธิปพงศประพันธเขาประชุมที่บันดุงนัน้ สหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลไทยกําลังพยายามอยางยิ่ง ที่จะอาศัยสถานการณการเมืองระหวางประเทศเปนเหตุในการบายเบีย่ งการมีความสัมพันธกับ สหรัฐฯ และสหรัฐฯมีความสงสัยวาอาจมีการตกลงกันบางอยางระหวางจอมพล ป. กับกรมหมืน่ นราธิปพงศประพันธเกีย่ วกับการประชุมบันดงซึง่ เปนผลมาจากปญหาการเมืองภายในไทย สหรัฐฯเห็นวา การดําเนินนโยบายของไทยลักษณะเชนนี้ เกิดจากความไมมั่นใจของไทยวา ซีโต
25
กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 5. 26 สยามนิกร, 26 เมษายน 2498. 27 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002000150001-2, 26 April 1955, “Thai foreign minister reported to have become more neutralist at Bandung”. 28 The Dwight D. Eisenhower Library, Papers as President 1953-1961( Ann Whitman file), International Series box 48, file Thailand(3), Dulles’s Memorandum for The President , Visit of P. Phibulsonggram, 2 May 1955. 29 เชา, 4 พฤษภาคม 2498. 30 หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/16 กลอง 2 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. ไปเยือนอเมริกา พ.ศ.2498 (1 เมษายน–15 พฤษภาคม 2498).; United Press, 5 May 1955.
168
จะสามารถปกปองไทยใหรอดพนหากเกิดปญหาการรุกรานได 31 สอดคลองกับการวิเคราะหของ ทูตอังกฤษวาทาทีของโจวเอินไหลที่บนั ดุงทําใหรัฐบาลไทยคลายความเชื่อมั่นที่มีตอ ซีโต32 ทันทีที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมาไทย เขาไดสอบถามรายละเอียดถึงความเปน มิตรของโจวเอินไหลที่มีตอไทยจากกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ทรงไดแจงวา จีนยินดีตอนรับ ผูแทนไทยไปเยือนจีน33 จากนั้น จอมพล ป. ไดนําเรื่องดังกลาวมาปรึกษาสังข พัธโนทัย คนสนิท ของเขา สังขใหความเห็นวา ไทยไมควรเปนศัตรูกับประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะจีน ดังนัน้ เมื่อ จีนแสดงทาทีเปดกวาง ไทยควรลองเชื่อมไมตรีกับจีน จากนัน้ จอมพลป.ไดกลาววา“โลกกําลัง เปลี่ยนแปลงใหมอีกแลว” 34 7.3 วิสยั ทัศนใหมของจอมพล ป.ทามกลางความขัดแยงระหวาง “ขุนศึก” นับตั้งแตกลางป 2498 การเมืองไทยทามกลางการแขงขันระหวางจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัชตและพล ต.อ.เผา ศรียานนทนั้น พล ต.อ.เผาไดกาวขึน้ มามีอํานาจเหนือจอมพลสฤษดิ์อยาง รวดเร็วเนื่องจากความสามารถในการบริหารของเขาและการสนับสนุนจากซีไอเอ ทําใหเขามี แผนการขจัดคูแขงขันทางการเมืองดวยการรัฐประหารและจับตัวสฤษดิ์ กอนที่จอมพล ป. พิบูล
31
“the Acting Officer in Charge of Thailand and Malayan Affaires(Foster) to The Ambassador in Thailand(Peurifoy), 22 June 1955,” in Foreign Relations of the United States 19551957 Vol.22, pp. 825-827. 32 Nicholas Tarling, “Ah-Ah: Britain and the Bandung Conference of 1955,” Journal of Southeast Asian Studies, 23, 1 (March 1992): 108. 33 กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ, “พบจูเอนไหลที่บันดง,” สราญรมย 25 (2518): 5.; อารี ภิรมย, เบื้องหลังการสถาปนาสัมพันธภาพ ยุคใหม ไทย- จีน,(กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ, 2524), หนา 6. 34 สังข พัธโนทัย, “อานเบื้องหลังสถาปนาสัมพันธไทย-จีน,” ประโคนชัย 26 (กรกฎาคม 2525) อาง ถึงใน กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัติของผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ แมคําผาง, 2532), หนา 258-260. สังข พัธโนทัยเห็นวา ความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯสรางความ เขมแข็งใหกับคณะรัฐประหาร มิใช รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4190, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.H. Hannah, 24 March 1952). สังข ยอมรับวา เขาเคยรวมมือกับสหรัฐฯในการตอตานคอมมิวนิสตอยาง“ลึกซึ้ง” ตอมา เขาเห็น วาการดําเนินตามสหรัฐฯมิไดเกิดประโยชนกับไทย ในขณะที่สหรัฐฯมี “แผนยึดครอง”ไทย โดยเขารับทราบเรื่อง ดังกลาวจากเจาหนาที่ซีไอเอคนหนึ่ง ตอมา เขาไดนําเรื่องดังกลาวเลาใหจอมพล ป.ฟง และสนับสนุนใหจอม พล ป. ตอสูกับสหรัฐฯ(ทองใบ ทองเปาด, คอมมิวนิสตลาดยาว,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคนหนุม, 2517), หนา 271-272.
169
สงครามจะเดินทางกลับจากสหรัฐฯเพื่อยุติการแขงขันในการเปนผูน ําทางการเมืองคนถัดไป35 ใน คืน 13 กรกฎาคม 2498 เขาไดมาที่สถานทูตสหรัฐฯเพื่อขอการสนับสนุนการรัฐประหารจากฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯ แตทูตสหรัฐฯปฏิเสธการสนับสนุนและไดบอกกับพล ต.อ.เผาวา สหรัฐฯยังคง สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป.ตอไป เขาเห็นวาพล ต.อ.เผายังไมเหมาะสมกับตําแหนง นายกรัฐมนตรี แตพล ต.อ.เผามีความเหมาะสมที่จะอยูเ บื้องหลังฉากมากกวา36 และเขาไดแจง ตอพล ต.อ.เผาเพิ่มเติมวา หากกลุมตํารวจพยายามรัฐประหารเพื่อกําจัดจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารไดสําเร็จก็ยากที่จะไดรับการยอมรับจากจัสแมค เนื่องจาก จัสแมคสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ และกลุมทหาร37 เมื่อจอมพล ป.เดินทางกลับมาไทย ฟวริฟอยไดนําเรื่องความพยายาม รัฐประหารของพล ต.อ.เผาแจงใหเขาทราบ38 เมื่อดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศไดรับรายงานในไทยถึงความ พยายามกอการรัฐประหารของพล ต.อ.เผา ศรียานนท เขาไดแจงกับฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯวา สหรัฐฯไมตองการใหมกี ารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม39 ฟวริฟอยไดแสดงความเห็น กลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา เขาเห็นดวยกับดัลเลสที่สหรัฐฯควรใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. ตอไป และสหรัฐฯจะยังคงไดรับประโยชนหากสนับสนุนใหทงั้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหมีการรวมมือกันตอไป อยางไรก็ตาม เขาเสนอแนะตอดัลเลสวา หากมีความจําเปนที่ สหรัฐฯจําเปนตองเลือกสนับสนุนคนใดคนหนึง่ ใหขนึ้ มามีอํานาจแลวนั้น“จะตองเปนไปเพื่อ ผลประโยชนระยะยาวของสหรัฐเทานัน้ ” 40 ไมแตเพียงโลกทัศนที่เปลีย่ นไปของจอมพล ป. พิบูลสงครามจากการที่เขาไดเดินทางไป เห็นความเปลีย่ นแปลงของโลกจากการเดินทางไปเยือนตางประเทศและสหรัฐฯเทานั้น แตปญหา การแขงขันระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ที่ทงั้ คูไดรับการสนับสนุน จากซีไอเอและเพนตากอนก็มีความแหลมคมมากยิ่งขึน้ สงผลใหจอมพล ป. ในฐานะหัวหนา รัฐบาลตระหนักดีถึงความมีเสถียรภาพของรัฐบาลของเขาที่วางอยูบนความเปราะบางที่ดํารงอยู 35
NA, FO 371/106890, Whitteridge to Foreign Office, Annual Review: Report on the general situation in Thailand for 1955, 3 January 1956. 36 “Peurifoy to the Department of States, 14 July 1955,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 827-828.; NA, FO 371/117346, Gage to Tomlinson, 27 July 1955. 37 NA, FO 371/117346, Gage to Tomlinson, 27 July 1955. 38 Ibid. 39 NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal File 1955-1959 Box 3908 , Dulles to Peurifoy , 28 July 1955 . 40 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Peurifoy to Secretary of State, 4 August 1955.
170
ภายในคณะรัฐประหารระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหาร ดังนั้น เขาจึงจําเปนตองแสวงหา ทางออกทางการเมืองที่จะทําใหเขาไดรับการสนับสนุนจากประชาชนอยางกวางขวางมีผลทําให เขาตัดสินใจเปดกวางทางการ เมือง การใหมีบรรยากาศของประชาธิปไตย และใหเสรีภาพในการ นําเสนอขาวของหนังสือพิมพอยางเต็มที่เพื่อนําไทยเขาสูวิถีทางประชาธิปไตยและโดยให ประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง 41 การเปลีย่ นในทาทีของจอมพล ป. ครัง้ นี้ ทําใหหนังสือพิมพ ขณะนั้น เชน สารเสรีประเมินวา หลังการกลับจากการเดินทางตางประเทศของจอมพล ป.ทําให เขามีความคิดใหมทมี่ ีความเปนมิตรและใหความสําคัญของหนังสือพิมพตอประชาธิปไตย โดย เขาไดกลาวในวันชาติ ประจําป 2498 วา “ไมมีใครอยูค้ําฟา” และไดเคยกลาวในที่ประชุมคณะ รัฐประหารวา ประเทศไทยยังลาหลังอยูม าก เขาตองใหสมาชิกคณะรัฐประหารชวยสรางความ เจริญใหกับประเทศและมองไปขางหนา42 และพิมพไทย ไดใหฉายากับจอมพล ป.วา “จอมพลคน ใหม” และเห็นวา “นายกฯของเรามีชวี ทัศนและโลกทัศนที่เปลี่ยนไปจากเดิมมาก”43 เปนตน ในขณะที่ การแขงขันระหวางกลุมตํารวจและกลุมทหารยังไมมีฝา ยใดมีชัยอยางเด็ดขาด ทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามที่จะขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯใหมากขึ้นอีก แตฟว ริฟอย ทูตสหรัฐฯไมสนับสนุนใหพล ต.อ.เผาเดินทางไปสหรัฐฯเพื่อขอเงินสนับสนุนเพิ่มเติมอีก44 เนื่องจาก ฟวริฟอยเห็นวา สหรัฐฯไดใหความชวยเหลือแกทงั้ กลุมทหารและกลุมตํารวจตาม ขอตกลงที่เรียกวา “Sarit and Phao”ที่มีมลู คารวมถึง 53,000,000 ดอลลารเปนพิเศษแลว นอกเหนือความชวย เหลือทางการเงินและอาวุธตามปกติ อีกทัง้ เงินจํานวนพิเศษกอนนีย้ ังไมถกู ใช 45 อยางไรก็ตาม พล ต.อ.เผายังคงยืนยันแผนการเดินทางไปสหรัฐฯ ในตนเดือนสิงหาคม 2498 เพื่อขอความชวยเหลือจากสหรัฐฯอีก46 ในที่สุด เขาไดเดินทางไปขอความชวยเหลือจาก 41
สยามนิกร, 24 มิถุนายน 2498. 42 สารเสรี, 30 มิถุนายน 2498. 43 พิมพไทย, 3 กรกฎาคม 2498. 44 หจช.(2)กต. 1.1/ 48 กลอง 5 การเจรจาขอเพิ่มการใหความชวยเหลือจากสหรัฐฯอเมริกา(25 กรกฎาคม–8 สิงหาคม 2498), บันทึก เอกอัครราชทูตอเมริกัน ไดมาเขาเฝาเสด็จในกรมฯ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ 28 กรกฎาคม 2498. 45 หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงิน จากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498), เฟอริฟอย ถึง จอมพลอากาศ ฟน รณนภากาศฤทธาคนี 30 มิถุนายน 2498. 46 หจช.กค. 0301.9 กลอง 2 / 8 เอกสารสวนตัวนายปวย อึ้งภากรณ ขอความชวยเหลือทางการเงิน จากสหรัฐฯ(9 พฤศจิกายน 2497–14 ธันวาคม 2498) พล ต.อ.เผา ศรียานนทถึง นายกรัฐมนตรี 22 ตุลาคม 2498. การเดินทางไปของ พล ต.อ.เผา ครั้งนี้ ไทยไดรับเงินชวยเหลือพิเศษจํานวน 2,200,000 ดอลลาร เงิน ชวยเหลือจากงบประมาณดานวิชาการ(Technology Cooperation)จํานวน 4,800,000 ดอลลาร ดานการ
171
สหรัฐฯสําเร็จ การเยือนสหรัฐฯครั้งนี้ เขาไดพบบุคคลสําคัญหลายคน เชน ดัลเลส รัฐมนตรีวา กระทรวงการตางประเทศ นายพลแมกซแวลล เทยเลอร(Maxwell Taylor)เสนาธิการทหารบก พล.ร.อ.เออรสกิน ผูช วยรัฐมนตรีกลาโหมดานชวยเหลือทางอาวุธ กอนดอน เกรย( Gordon Grey)ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหมฝายการปองกัน เปนตน47 ในระหวางทีพ่ ล ต.อ.เผา ศรียานนทอยูในสหรัฐฯ ฟวริฟอย ทูตสหรัฐฯที่ไมสนับสนุนพล ต.อ.เผาไดถึงแกอสัญกรรมอยางฉับพลัน(12 สิงหาคม 2498)จากอุบัตเิ หตุจากการขับรถดวย ความเร็วสูงรถชนกับรถบรรทุก ภายหลังจากเขาเดินทางกลับจากการชมการกระโดดรมของ ตํารวจพลรมทีค่ ายนเรศวร หัวหิน ทําใหเขาและบุตรชายคนหนึ่งเสียชีวติ ในที่เกิดเหตุทนั ที48 แม ความตายของเขาจะสรางความตกตะลึงและความสนเทหใหกบั สหรัฐฯก็ตาม แตเจาหนาที่ซีสพั พลายที่ชว ยงานกลุมตํารวจ อยางฮิว แมคคาฟฟ(Hugh McCaffrey) แจค เชอรลี่(Jack Shirley) ที่โดยสารรถกับฟวริฟอยดวย พวกเขาไดรายงานวา ความตายของทูตสหรัฐฯเปนอุบตั ิเหตุ49 ความตายของฟวริฟอยทีก่ รุงเทพฯไดสรางความกดดันใหกับพล ต.อ.เผาทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.มาก เขา ไดบันทึกถึงเรือ่ งดังกลาววา “ในตอนตนมีผูสงสัยระแวงอยูบาง แตเมือ่ สถานีวทิ ยุและโทรทัศนได ประกาศอยางละเอียด ทําใหเจาหนาที่ CIA หายสงสัย และเมื่อมีรายงานยืนยันจากเจาหนาที่ สหรัฐฯที่ปฏิบตั ิงานในหนวยพลรม ซึง่ อยูในเหตุการณอยาง ร.ต.อ.แจค เชอรลี่ และนายแมคคาฟ รี่ เปนผูลงนามแลว ความคลี่คลายจึงเกิดขึ้น”50 อยางไรก็ตาม การขาวทางการทหารของสหรัฐฯ ใหนา้ํ หนักความตายของฟวรีฟอย ทูตสหรัฐฯวา เกิดจากอุบัติเหตุดวยความเปนไปไดเพียงหาสิบ ปองกัน(Defense Support) 29,500,000 ดอลลาร เงินชวยเหลือกองทัพโดยตรง(Direct Forces Support) จํานวน 10,400,000 ดอลลาร และกรมประมวลฯไดใหสายงานของพอล เฮลิเวลดําเนินการประชาสัมพันธ โดย จางวิลเลี่ยม คอสเตลโล ประธานกรรมการบริษัท Television and Radio Correspondent’s Association ประชาสัมพันธประเทศไทยในสหรัฐฯ 47 หจช. สร. 0201.17/16 กลอง 1 การพบปะสนทนาทางราชการในสหรัฐฯของนายพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท(19–30 สิงหาคม 2498), บันทึกการสนทนา ระหวางรัฐมนตรีเผา นายพจน สารสิน และน.อ. สิทธิ เศวตศิลา กับนายฮอลลิสเตอร(Hollister)หัวหนา ICA และ ฟชเจอรรัล ลอเรนท(Filzgerald Lorenz) 12 สิงหาคม 2498 เวลา 10-10.30 น. 48 หจช.(3) สร. 0201.21/ 10 เอกอัคราชทูตอเมริกันและบุตรชายคนเล็กถึงแกกรรมโดยอุปทวเหตุ(12 สิงหาคม – 28 ตุลาคม 2498). 49 หจช.(2)กต. 1.1.6 / 21 กลอง 2 คําตอบกระทูถามของนายอารีย ตันติเวชกุล ส.ส. เรื่องการ มรณะกรรมของนาย จอหน อี. ฟวรีฟอย เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจําประเทศไทย(23–31 สิงหาคม 2498). 50 หจช.(3)สร. 0201.20.1.1/ 20 รายงานการเดินทางไปปฏิบัติราชการตางประเทศของนายพลตํารวจ เอกเผา ศรียานนท (25 สิงหาคม–17 กันยายน 2498), พล.ต.อ.เผา ศรียานนท ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝาย การเมือง 17 กันยายน 2498.
172
เปอรเซ็นตเทานั้น51 ไมนานจากนัน้ สหรัฐฯไดสงแมกซ วอลโด บิชอป(Max Waldo Bishop)∗ เขา มาเปนเอกอัคราชทูต(ธันวาคม 2498 – ธันวาคม 2500)คนใหมตอไป สถานทูตอังกฤษวิเคราะหวา ในสายตาของจอมพล ป.พิบูลสงครามเห็นวา คายราชครูที่ นําโดยจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปนกลุมที่แสดงการทาทายอํานาจของ เขาอยางเปดเผย ทําใหเขามีความตองการลดทอนอํานาจของกลุมดังกลาวลงดวยการปรับ คณะรัฐมนตรีในเดือนสิงหาคม 2498 ดวยการยาย พล ต.อ.เผาจากรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงการคลังซึ่งเปนตําแหนงทีพ่ ล ต.อ.เผาหาประโยชนจากการคาทองและฝน และใช ตําแหนงเปนชองทางในการติดตอรับความชวยเหลือจากสหรัฐฯ ใหเปนรัฐมนตรีชวยมหาดไทย แทน และการปรับจอมพลผินจากการควบตําแหนงรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงกลาโหมเปนรองนายกรัฐมนตรีเพียงตําแหนงเดียว ในขณะทีเ่ ขาเปดโอกาสจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต หัวหนาคายสี่เสาเทเวศนเขาไปดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง กลาโหมแทนจอมพลผิน ทําใหคายราชครูเสียใจกับการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งดังกลาว52 อยางไร ก็ตาม แมการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งนี้จะเปนความพยายามลดอํานาจของคายราชครูลง แต ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเห็นวา พล ต.อ.เผาเปนคนที่ไมธรรมดา เขามีความสามารถทัง้ การบริหารและศักยภาพในการทํางาน พล ต.อ.เผายังสามารถเปนคู แขงขันทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์ตอไป53 แผนการตอไปในการจัดดุลอํานาจในรัฐบาลโดยจอมพล ป. พิบูลสงครามไดดําเนินตอไป ดวยการที่เขาพยายามปรับปรุงการควบคุมกลุมทหารและกลุมตํารวจใหมดวยการปฏิเสธแรง กดดันจากคายราชครูที่ตองการกําจัดจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตออกจากตําแหนงผูบัญชาการ ทหารบกและใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทเขาดํารงตําแหนงแทนจอมพลสฤษดิ์ อีกทั้ง จอมพล ป.ได 51
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP75-00149R000600300030-3, 15 August 1955, “Probe Envoy’s Death Ride”. ∗
แมกซ ดับบลิว บิชอป (Max Waldo Bishop)(2451- )จบการศึกษาดานปรัชญาจากมหาวิทยาลัย ชิคาโก ปฏิบัติงานในกระทรวงการตางประเทศที่ญีปุนในฐาะลาม(2478-2481) กงสุลโคลัมโบ-ซีลอน(2488) หัวหนากิจการเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ(2491-2492) เอกอัคราชทูตประจําไทย(ธันวาคม 2498 – ธันวาคม 2500) (หจช. (3)กต.0201.16/9 กลอง 1 ทูตอเมริกันประจําประเทศไทย (30 ธันวาคม 2496 – 14 กุมภาพันธ 2501). 52 NA, FO 371/117346, Whitteridge to Foreign Office, 6 August 1955.; NA, FO 371/117338 , Whitteridge to Foreign Office, 11 August 1955. 53 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, Relationship between General Phao and Prime Minister Phibun, 20 October 1955.
173
ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกะทรวงมหาดไทยเพื่อควบคุมกรมตํารวจซึ่งเปนฐานอํานาจของพล ต.อ.เผาโดยตรง54 จากนัน้ เขาไดลดทอนอํานาจของพล ต.อ.เผาในกรมประมวลราชการแผนดินที่ สหรัฐฯใหการสนับสนุนจัดตัง้ ขึ้นดวยการสัง่ ใหขาราชการที่เคยถูกยืมตัวไปชวยราชการที่กรม ประมวลฯกลับไปปฏิบัติงานที่ตน สังกัดเดิม แมจอมพล ป.ไดพยายามปรับดุลอํานาจทาง การเมืองระหวางสองกลุมใหมแลวก็ตาม แตเขาก็ยังคงไมไววางใจในฐานอํานาจทางเศรษฐกิจ ของทั้งสองกลุม จากนัน้ เขาดําเนิน การทอนฐานอํานาจทางเศรษฐกิจของทั้งสองกลุมลงอีกดวย มติคณะรัฐมนตรี 14 สิงหาคม 2498 ใหสมาชิกคณะรัฐมนตรีตองไมดํารงตําแหนงในธุรกิจของรัฐ และเอกชน55 จากนัน้ จอมพล ป. ไดเปดกวางทางการเมือง ดวยการใหตั้งพรรคการเมือง ให เสรีภาพแกหนังสือพิมพ เขาพยายามมีความใกลชิดประชาชน และสนับสนุนการตอตานการ ผูกขาดอํานาจเศรษฐกิจและการคอรรัปชั่น ตลอดจน เขาไดปฏิเสธอยางชัดเจนถึงแรงกดดันของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ตองการฟน ฟูรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญรอยัลลิสตขึ้นมาใหม สถานทูตสหรัฐฯเรียกนโยบายการเปลี่ยนแปลงขางตนของจอมพล ป.วา วิสัยทัศนใหม 56 ดวยเหตุที่ การแขงขันระหวางขุนศึกทัง้ สองนัน้ ยากแกการเขาใจ สงผลให ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ มีบันทึกถึงบิชอป ทูตสหรัฐฯคนใหม โดยใหขอมูลพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ขุนศึกทัง้ สองวา ทัง้ คูเปนเพื่อนรวมรุน ที่โรงเรียน นายรอยทหารบกและมีธุรกิจบางอยางรวมกัน แตก็มีแขงขันอยางเขมขนเพื่อหาความสนับสนุน จากจอมพล ป.พิบูลสงคราม แมพวกเขาสูก ันแตไมไดเปนศัตรูกัน ทัง้ สองคนยังคงสนับสนุนจอม พล ป. แตจอมพลสฤษดิม์ ักชอบเยาะเยยความภักดีของพล ต.อ.เผาที่มีตอจอมพล ป.อยางแนน แฟน อยางไรก็ตาม จอมพล ป. กลับมีความระแวงพล ต.อ.เผามากกวาจอมพลสฤษดิ์ โดยจอม พล ป. ตองการผนึกอํานาจทางการเมืองของเขาโดยไมตองการอิงกับอํานาจของสองขุนศึกอีก ตอไป ดวยการใชหนทางประชาธิปไตยเปนแนวทางการเสริมสรางอํานาจและความชอบธรรม 54
หจช.มท.0201.2.1.23 / 4 กลอง 3 คําสั่งของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย(จอมพล ป.) เรื่อง ของอํานาจในการออกขอบังคับของมหาดไทยวาดวยการเคลื่อนยายกําลังและเตรียมพรอม(2498). จอมพล ป. พิบูลสงครามไดออกคําสั่งใหอํานาจในการสั่งการใชกําลัง เคลื่อนยายกําลังและการเตรียมพรอมของตํารวจ ที่ เคยเปนอํานาจของรัฐมนตรีชวยมหาดไทยใหเปนของรัฐมนตรีมหาดไทยแทน 55 หจช.(3)สร. 0201.45/51 กลอง 4 การควบคุมองคกรของรัฐและบริษัทในความควบคุมของรัฐ(20 ธันวาคม 2498 – 15 สิงหาคม 2500), สุนทร หงสลดารมย เลขาธิการสภาเศรษฐกิจแหงชาติ ถึง เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 20 ตุลาคม 2498. 56 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State , Phibun-The New Look, 24 August 1955.; NARA, RG 59 General Records of The Department of State ,Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Anschuetz to Secretary of State, 17 September 1955.
174
ใหกับตนเอง อยางไรก็ตาม ดัลเลส ตั้งขอสังเกตุวา ทามกลางการตอสูร ะหวางพล ต.อ.เผาและ จอมพล สฤษดิ์ เมื่อใดจอมพล ป. ไมมีอาํ นาจเมื่อนัน้ เขายังรักษาตําแหนงนายกรัฐมนตรีได แต หากเมื่อใด เขาตองการอํานาจมากขึ้น เมือ่ นั้นเขาจะเสียทัง้ ตําแหนงและอํานาจไป57 เมื่อพล ต.อ.เผา ศรียานนทเดินทางกลับจากวอชิงตัน ดี.ซี.และภายหลังการมรณกรรม ของทูตสหรัฐฯแลว เขารูสึกไดถึงความเหินหางระหวางเขากับสหรัฐฯ เขาไดเคยกลาวกับนอรแมน แอนชูทส(Norman Anschuetz) อุปทูตรักษาการฯ ในเดือนกันยายน 2498 วา เขามีความ ตองการใกลชดิ กับผูแทนของสหรัฐฯตอไป แตเขาคิดวา เขาอาจไมไดรับสนิทแนบแนนจาก ตัวแทนของสหรัฐฯเหมือนเชนในอดีตอีก58 แอนชูทสไดรายงานในฉบับตอมาวา เมื่อมีใดที่เขามี โอกาสสนทนากับพล ต.อ.เผานัน้ พล ต.อ.เผามักจะกลาวชื่นชมความสัมพันธของเขากับสหรัฐฯที่ ผานมาอยางยาวนานอยูเสมอๆ แอนชูทสเห็นวา การที่พล ต.อ.เผาแสดงทาทีดังกลาวเพื่อ ตองการไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐฯตอไป59 ปลายเดือนพฤศจิกายน 2498 สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา การทาทายพล ต.อ.เผา ศรียา นนทตอจอมพล ป. พิบูลสงครามดูเหมือนใกลจบสิ้นลง พล ต.อ.เผาไดถูกหนังสือพิมพของจอม พล ป. วิจารณอยางหนัก ทําใหเกิดสภาพตึงเครียดไปทั่วการเมืองของไทย เห็นไดจาก สํานักงาน ตํารวจทีว่ ังปารุสกของพล ต.อ.เผาไดรับการคุมกันอยางแนนหนาโดยกลุมตํารวจหรือพวกอัศวิน แหวนเพชร เนือ่ งจาก ขณะนัน้ จอมพล ป. ไดรับการสนับสนุนจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเพื่อ จํากัดอํานาจของพล ต.อ.เผา60 ตอมา จอมพล ป. บอกกับแอนชูทสวา กลุมตํารวจพยายามสราง ความตึงเครียดทางการเมืองขึ้น เนื่องจาก พวกเขาอาจจะถูกจับกุมในฐานเกี่ยวของกับการ ฆาตกรรมหลายคดี รวมทัง้ การทําธุรกิจผิดกฎหมาย เชน การขนสินคาเถื่อน การปลอมแปลง ธนบัตรและการคาฝน พวกเขาไดสงจดหมายคุกคามไปยังจอมพลสฤษดิ์จึงทําใหเกิดการเตรียม ความพรอมของกลุมทหาร แอนชูทสแจงกับ จอมพล ป.วา สหรัฐฯไมตองการใหเกิดความรุนแรง ในการตอสูกนั เพื่อชวงชิงอํานาจทางการเมือง เนื่องจาก การตอสูของผูนํากลุม ในรัฐบาลไทยจะ ทําใหสหรัฐฯและไทยสูญเสียความนาเชื่อถือในซีโต และความขัดแยงจะนําไปสูการแทรกซึมของ 57
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, Relationship between General Phao and Prime Minister Phibun , 20 October 1955. 58 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 8 September 1955. 59 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 20 September 1955. 60 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002300130001-1, 29 November 1955, “Political showdown in Bangkok may be near”.
175
คอมมิวนิสตได61 แตการแขงขันระหวางกลุม ทหารและกลุมตํารวจยังดําเนินตอไป เชน ในปลาย เดือนธันวาคม 2498 กองทัพบกภายใตการนําของจอมสฤษดิ์ไดเคลื่อนกําลังอยางไมมีสาเหตุเขา คุมสถานที่สาํ คัญในกรุงเทพฯ โดยมีการตั้งกําลังหนาหนวยทหาร การแขงขันดังกลาวสงผลให จอมพล ป. ตองมีความระมัดระวังตัวมากขึ้นโดยเขาไดเปลี่ยนที่พกั ในเวลากลางคืนอยูเสมอ 62 ดวยเหตุที่ พล ต.อ.เผา ศรียานนทพยายามขอการสนับสนุนจากสหรัฐฯบอยครั้ง และการ ที่เขามีความสัมพันธกับซีไอเอ ทําใหจอมพล ป. พิบูลสงครามมีความไมไววางใจพล ต.อ.เผา เนื่องจาก เขามีความใกลชดิ กับสหรัฐฯมากเกินไป ทั้งนี้ พจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯ ได เคยบอกกับแลนดอน เจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ แผนกกิจการเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่ วอชิงตันดี.ซี. ถึงการขยายบทบาททางการเมืองของพล ต.อ.เผาผานการขอการสนับสนุนจาก สหรัฐฯวา จอมพล ป.ไดเคยบอกโดยออมกับเจาหนาที่สหรัฐฯกรุงเทพฯวา เขา คือ หัวหนารัฐบาล ซึ่งเปนตําแหนงที่เปนทางการของของทางความสัมพันระหวางกัน ดังนั้น สหรัฐฯควรติดตอผาน เขามากกวาการติดตอผานพล ต.อ.เผา จอมพล ป.ไดยกตัวอยางตําแหนงของโดโนแวน อดีตทูต สหรัฐฯประจําไทยและที่ปรึกษาของรัฐบาลไทย ที่มักติดตอโดยตรงกับพล ต.อ.เผา มากกวาเขา พจน เห็นวา จอมพล ป.มีความระแวงความทะเยอทยานทางการเมืองของพล ต.อ.เผาที่จะชิง ตําแหนงนายกรัฐมนตรีไปจากเขา นอกจากนี้ พจนเห็นวา การทีพ่ ล ต.อ.เผาเดินทางไปเยือน ตางประเทศเพื่อกระชับมิตรกับประเทศตางๆและสหรัฐฯเปนการเตรียมตัวเปนนายกรัฐมนตรี นอกจากนี้ แลนดอนไดตั้งขอสังเกตุในการสนทนากับพจนวา พจนไมพอใจทีพ่ ล ต.อ.เผา ขยาย อํานาจของมายังกิจกรรมดานการตางประเทศ พจนมีความระแวงวาพล ต.อ.เผาตองการเปนทูต ไทยประจําสหรัฐฯแทนเขา 63 7.4 : การสรางบรรยากาศประชาธิปไตยทางออกการเมือง ควรบันทึกดวยวา หลายปทผี่ าน รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามตองเผชิญหนากับ ปญหาความขัดแยงทางการเมืองระหวางกลุมการเมืองตางๆ แมตอมา เขาจะสามารถปราบ ปรามกลุมการเมืองตางๆลงไดก็ตาม แตเขายอมตระหนักดีถึงการเปลีย่ นแปลงของปญหาการ 61
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 1 December 1955. 62 พิมพไทย, 30 ธันวาคม 2498.; สารเสรี, 30 ธันวาคม 2498. 63 The Dwight D. Eisenhower Library, OCB Central File Series, OCB 091 Thailand, Landon to Kenneth T. Young, Conversation with Thai Ambassador Sarasin and Kenneth P. Landon, 9 February 1956.
176
เมืองจากความขัดแยงภายนอกคณะรัฐประหารมาสูความขัดแยงภายในระหวางขุนศึกที่สาํ คัญ สองคนที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึน้ คือ พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึง่ มี ความลอแหลมตอความมัน่ คงของรัฐบาลของเขา อีกทั้ง ปญหาความขัดแยงภายในคณะ รัฐประหารซึ่งเปนพลังที่คา้ํ จุนรัฐบาลที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทําใหเขาตระหนักดีถงึ ปญหาที่ เปราะบางทีเ่ ปนเงื่อนไขของเสถียรภาพของรัฐบาล ดังนัน้ การเดินทางไปตางประเทศของจอมพล ป.ทําใหเขาไดเห็นความเปลีย่ นแปลงของโลกและเห็นหนทางใหมในการแกไขปญหาการเมือง เขามีความจําเปนตองแสวงหาการสนับสนุนจากประชาชนอยางกวางขวางเพื่อสรางความชอบ ธรรมใหกับตัวเขาในฐานะผูน ํารัฐบาลมากกวาการพึง่ พิงอํานาจจากสองขุนศึกในการค้ําจุน รัฐบาลทีท่ ําใหเขาเปนเสมือนหนึ่งหุน เชิดของสองขุนศึก สําหรับจอมพล ป.อดีตแกนนําของ คณะราษฎรและอดีตนายกรัฐมนตรีในชวงการสรางกระแสชาตินิยมในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น เขามีความ คุน เคยกับการแสวงหาความสนับสนุนจากประชาชนอยูกอนแลว ดวยเหตุผล เหลานี้ ทําใหเขาตัด สินใจเปดกวางทางการเมือง สนับสนุนใหมีบรรยากาศของประชาธิปไตย และการใหเสรีภาพในการนําเสนอขาวของหนังสือพิมพอยางเต็มที่ เพื่อนําประเทศไทยไปสู วิถีทางประชาธิปไตยและใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมือง ตลอดจนการสรางบรรยากาศแหง เสรีภาพดวยการเปลี่ยนสนามหลวงใหกลายเปนเวทีไฮดปารคแบบที่เกิดในลอนดอน64 นอกจากการไฮดปารคที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมุง สรางใหเกิดบรรยากาศที่เปน ประชาธิปไตยไดเกิดขึ้นครั้งแรกในปลายป 2498 แลวเทานัน้ แตขอมพล ป.ยังหวังวาบรรยากาศ ดังกลาวจะทําใหรัฐบาลจะไดรับการสนับสนุนจากประชาชนใหมีฐานะที่เขมแข็งขึ้น ทั้งนี้ การเปด ปราศัยในครั้งแรกๆเริ่มตนจากการวิจารณนโยบายรัฐบาล เชน การศึกษา การประกันสังคม ตอมาไดเปลี่ยนการปราศัยไปสูการโจมตีทตี่ ัวของจอมพล ป.สลับกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท โดยเฉพาะอยางยิง่ สําหรับพล ต.อ.เผานัน้ ถูกโจมตีจากประเด็นเรื่องการฆาตกรรมการเมือง รัฐมนตรี 4 คนและการโจมตีคายราชครู ตอมาการไฮดปารคไดเปลี่ยนเปนการปราศัยวิจารณ นโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. และเรียกรองใหไทยมีนโยบายที่เปนอิสระจากสหรัฐฯ 65
การที่จอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามผลักดันใหมกี ารสรางเวทีไฮดปารคออกไปทัว่ ประเทศเพื่อสรางบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย แตเวทีการสรางประชาธิปไตยดังกลาวกลับ กลายเปนเวทีที่กลุมการเมืองตางๆใชเปนโอกาสในการเปดสงครามโจมตีคูแขงทางการเมือง เชน 64
Newsweek, 21 November 1955. NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956 , ประจวบ อัมพะเศวต, พลิก แผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, (กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543), หนา 390. 65
177
จอมพล ป.และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรวมมือในการโจมตีพล ต.อ.เผา ศรียานนทและคาย ราชครู สวนพล ต.อ.เผาใชเวทีในการโจมตีคูแขงในคณะรัฐมนตรี ในขณะที่ กลุม ฝายซายใชเปน เวทีในการโจมตีรัฐบาลจอมพล ป. พล ต.อ.เผาและสหรัฐฯ สวน“กลุมรอยัลลิสต”ใชเปนเวที ดังกลาวในการโจมตีรัฐบาล รายงานจากสถานทูตสหรัฐฯเห็นวา จอมพล ป. ไมสามารถควบคุม การไฮดปารคได66 การปราศัยทางการเมืองภายใตบรรยากาศที่มีเสรีภาพนั้นทําใหมีคนมารวมฟงจํานวน มาก ตั้งแตจํานวนนับพันคนและเพิ่มขึ้น“เปนหมื่นและกวาแสนคน”ในเวลาตอมา67 บรรยากาศ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นนีน้ ํามาสูความตื่นตัวทางการเมืองของนิสิตนักศึกษาดวยเชนกัน สถานทูต สหรัฐฯไดรายงานวา นิสิตนักศึกษาเริ่มมีความตืน่ ตัวทางการเมืองมากขึ้น พวกเขาไดมีการ รวมกลุมนิสิตนักศึกษาเคลือ่ นไหวที่แมจะเปนในประเด็นเกี่ยวกับการศึกษา แตสหรัฐฯเห็นวา การ รวมตัวเหลานีม้ ีศักยภาพที่จะนําไปสูการกอตัวของความเห็นสาธารณชนและการเคลื่อนไหวทาง การเมืองตอไป ทัง้ นี้ พวกเขาไดตระหนักถึงอํานาจในการตอรองมากขึน้ จากเดิมทีเ่ คยเปนแต เพียงผูยอมรับคําสั่งไปสูการเรียกรองและแสดงใหเห็นถึงความไมพอใจ ดังเชน เหตุการณการ ประทวงม.ร.ว.สลับ ลดาวัลย เลขาธิการจุฬาลงการณมหาวิทยาลัยเมื่อ 11 สิงหาคม 2498 ของ เหลานิสิตและเหตุ การณนักศึกษาธรรมศาสตรไดประทวงขุนประเสริฐศุภมาตรา คณบดี เศรษฐศาสตร เมื่อ 18 สิงหาคม และกรณีนักศึกษาธรรมศาสตร กวาหนึง่ พันคนไดรวมตัวประทวง ที่หนารัฐสภาเมื่อ 24 สิงหาคมเรียกรองใหจอมพล ป. พิบลู สงครามลาออกจากอธิการบดี โดย ตอมา จอมพล ป.ยอมลาออก เขาใหเหตุผลวา เขาไมสามารถอุทิศเวลาใหกับหนาที่อธิการบดีได อยางเพียงพอในการบริหารงานมหาวิทยาลัย โดยจอมพล ป. เห็นวา การความเคลื่อนไหวของ นิสิตนักศึกษาเปนการกระทําที่เปนประชาธิปไตย68 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ภายใตการสราง 66
พิมพไทย, 5 ตุลาคม 2498. เริ่มลงขาวการเริ่มตนการจัดไฮดปารคที่ลําปาง; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956. 67 Ibid. สําหรับขอมูลจํานวน “เปนหมื่นและกวาแสนคน” (โปรดดู ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดิน ประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 390). 68 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Thai Students Re-emerge as a Significant Political Force ?, 5 October 1955.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Anschuetz to Secretary of State, 27 August 1955. เหตุการณการ ประทวงของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเกิดจากเลขาธิการมหาวิทยาลัยมีนโยบายที่เขมงวดกับนิสิตมาก เกินไป สวนการประทวงของนักศึกษาธรรมศาสตร เนื่องจากคณบดี คณะเศรษฐศาสตรมีนโยบายที่จะรับ นักเรียนจากวิทยาลัยการพาณิชยอัสสัมชัญเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยซึ่งนักศึกษาไมเห็นดวย เนื่องจาก พวกเขาเห็นวา นักเรียนพาณิชยเหลานั้นมีระดับความรูต่ํากวามาตราฐาน
178
บรรยากาศที่ใหเสรีภาพในการแสดงออกทําใหนิสิตนักศึกษาไดเริ่มแสดงออกถึงความคิดเห็นและ พลังทางการเมืองของพวกเขาที่พรอมจะกลายเปนพลังการเมืองที่สาํ คัญตอไป แมบรรยากาศของการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนและนิสิตนักศึกษาไดขยายตัว อยางที่ไมเคยมีมากอน แตกระนั้นก็ดี ความตื่นตัวดังกลาวไดถูกชีน้ ําโดยกลุมทางการเมืองที่ ขัดแยงแขงขันกัน โดยแกนนําไฮดปารคหลายคนไดรับการสนับสนุนทางการเมืองจากบุคคลใน รัฐบาลหลายคนที่ขัดแยงกันในขณะนั้น รวมทัง้ “กลุมรอยัลลิสต”ไดเขามามีบทบาททางการเมือง ในชวงเวลาดังกลาวดวย สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. พิบูลสงครามใหการสนับสนุน นักการเมืองหลายคนใหขึ้นเวทีไฮดปารค เชน พีร บุนนาค และทองอยู พุฒพัฒน รวมทั้ง นักหนังสือพิมพฝายซายหลายคน พวกเขาไดพยายามเรียกรองใหไทยมีนโยบายตางประเทศที่ เปนกลางและมีการปราศัยโจมตีพล ต.อ.เผา ศรียานนท ผูที่กาํ ลังขึน้ มาทาทายอํานาจทาง การเมืองของจอมพล ป. สวนจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดใหการสนับสนุนนักการเมืองฝายซาย หลายคน เชน เทพ โชตินุชิต เพทาย โชตินชุ ิต และชวน รัตนะวราหะ เปาหมายของจอมพล สฤษดิ์ เนนการวิจารณพล ต.อ.เผา ผูเปนคูแขงทางการเมืองของเขาเปนสําคัญ ในขณะที่ “กลุมรอยัล ลิสต”และพรรคประชาธิปตย ใหการสนับสนุน ไถงสุวรรณทัต กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ และเพิ่ม วงศ ทองเหลือเนนการโจมตีทั้งรัฐบาลและตัวบุคคลเชน จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา แตพวกเขา หลีกเลี่ยงการโจมตีจอมพลสฤษดิ์ และเรียกรองใหนํารัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญ รอยัลลิสตกลับมาใชใหม69 ในขณะนัน้ ประชาชนที่เริ่มตืน่ ตัวทางการเมืองจากความไมพอใจที่ถกู ปกครองภายใต คณะรัฐประหารมานานหลายป ความอัดอัน้ ดังกลาวไดนาํ ไปสูรวมตัวกันของประชาชนหลายพัน คนเพื่อทาทายอํานาจของคณะรัฐประหารที่บริเวณทองสนามหลวง พวกเขาเรียกรองใหคณะ รัฐประหารสลายตัว และมีการปราศัยโจมตีไปที่กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เคย ปราบปรามศัตรูทางการเมืองอยางความนาสะพรึงกลัวและมีการแสวงหาประโยชนจากธุรกิจ นอกกฎหมาย จากนัน้ พวกเขาไดเดินขบวนไปวางพวงหรีดที่อนุสาวรียป ระชาธิปไตย และรวม ตระโกนวา “ประชาธิปไตย จงเจริญ คณะรัฐประหารไมเอา คณะรัฐประหารออกไป เราไม ตองการคณะรัฐประหาร” 70 ตอมา 10 ธันวาคม เพิ่ม วงศทองเหลือ นักไฮดปารคที่ไดรับการ 69
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.; พิมพไทย, 6 พฤศจิกายน 2498. 70 สยามนิกร, 10 พฤศจิกายน 2498.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.
179
สนับสนุนจาก”กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยไดนําการชุมนุมกันของประชาชนที่ สนามหลวงและมีการถือปายขอความหลายขอความวา “เราตองการประชาธิปไตย”,“เลิกลัทธิโจร ครองเมือง”,“ ประชาธิปไตยดวยปนจงฉิบหาย” มีกลาวโจมตีงบ ประมาณการทหารรัฐบาล และ พาฝูงชนเดินไปยังลานพระบรมรูปทรงมา ตํารวจไดเขาสกัดการชุมนุม ตอมาเกิดความวุนวายขึ้น เมื่อทหารนอกเครื่องแบบหลายคนใหความคุมครองการชุมนุมที่นาํ โดยแกนนําที“่ กลุมรอยัลลิสต” ใหการสนับสนุนนั้น โดยทหารนอกเครื่องแบบจะใชขวนจามกับตํารวจนอกเครื่องแบบ71 การเปดบรรยากาศประชาธิปไตยและไฮดปารคนําไปสูการการเติบโตของพลังประชา ธิปไตยและการตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนและนิสติ นักศึกษา โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนท ไดตกเปนเปาหมายของการโจมตีจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและ“กลุม รอยัลลิสต” เนือ่ งจาก เขาพยายามทาทายอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. ทําใหจอมพล ป. ไมไววางใจและตองการทําใหพล ต.อ.เผาเสื่อมอํานาจลง ในชวงเวลานั้นจอมพล ป. จึงหันไป แสวงหาการสนับสนุนจากจอมพลสฤษดิ์เพื่อลดอํานาจของพล ต.อ.เผา สงผลใหทงั้ สองคน รวมมือกันในการโจมตีพล ต.อ.เผา ในขณะที่ “กลุมรอยัลลิสต” ไมชอบพล ต.อ.เผาดวยเชนกัน เนื่องจาก เขาเปนบุคคลที่แสดงตนเปนปรปกษกับ“กลุมรอยัลลิสต”อยางตอเนื่อง อีกทั้ง กิจการ ตํารวจและบทบาทของกลุมตํารวจเกีย่ วของกับการควบคุมประชาชนโดยตรงมากกวาทหาร ทํา ใหประชาชนไมพอใจพล ต.อ.เผามากกวาจอมพลสฤษดิ์ ดังนัน้ เขาจึงตกเปนเปาการโจมตีและ เกลียดชังจากรอบทิศ ดังเชน การปราศัยครั้งหนึง่ มีการเรียกรองใหจบั พล ต.อ.เผามาแขวนคอที่ ตนมะขามสนามหลวง และเอามีดเชือดเนือ้ ออกทีละชิน้ จนขาดใจตาย72 นักหนังสือพิมพรวม สมัยบันทึกวา การไฮดปารคไดทําลายความชอบธรรมของพล ต.อ.เผาลง จนกระทัง่ ครั้งหนึ่ง พล ต.อ.เผาเคยกลาวถึงการไฮดปารควา “จอมพล ป.ทําอะไรไมรูทําใหตํารวจเสียหาย”73 การตกเปนเปาการโจมตีจากรอบทิศทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทตระหนักดีวา เขากําลัง ตกอยูในวงลอมของการไฮดปารคที่ทาํ ใหเขาเสื่อมอํานาจลง ดังนัน้ เขาจึงตองการตอบโตดวย เชนกัน ดังการไฮดปารคครั้งหนึง่ ในเดือนธันวาคม 2498 ชวน รัตนวราหะ แกนนําไฮดปารคที่ สนับสนุนจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตไดไฮดปารคโจมตีการทํางานของตํารวจตอผูฟงราว 30,000 71
สารแสรี, 12 ธันวาคม 2498. 72 สารเสรี, 14 ธันวาคม 2498.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Indication of relaxation in Political tensions, 10 February 1956. 73 สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ,(พระนคร: โรงพิมพเจริญ ธรรม, 2500),หนา 98.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 391.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ นายศักดิ์ ไทยวัฒน ณ เมรุพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 30 มิถุนายน 2544,(กรุงเทพฯ: 2544), หนา 152.
180
คน พล ต.อ.เผาไดตอบโตการโจมตีดวยการใชกําลังในระหวางการปราศัย โดยใชกลุมชายฉกรรจ สวมชุดสีนา้ํ เงินเปนเครื่องแบบของคนงานองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ( ร.ส.พ.)ซึง่ เปน รัฐวิสาหกิจที่อยูภายใตการดูแลของคายราชครูและพล ต.อ.เผาทําใหบญ ุ ยัง สันธนะวิทย นักพูด คนหนึ่งถูกแทงบาดเจ็บ74 ตอมา ชวนไดทาํ หนังสือเรียกรองใหจอมพลสฤษดิ์สงทหารมาคุมครอง การปราศัยโจมตีกลุมตํารวจ75 สําหรับบทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต” ที่ไดในการเขารวมการสงครามทําลายความชอบ ธรรมรัฐบาลครั้งนัน้ เนื่องจาก พวกเขามีผลประโยชนเปนของตนเองเชนกัน โดยควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตยและแกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดเคยประกาศวา พรรคฯไม เคยหามสมาชิกสภาผูแทนฯและสมาชิกพรรคประชาธิปตยรวมไฮดปารค76 ตอมา กิตศิ ักดิ์ ศรี อําไพ นักไฮปารคที่รับการสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต”ไดปขึ้นราศัยเรียกรองประชาชนควรให สนับสนุนรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือรัฐธรรมนูญฉบับรอยัลลิสตมากกวารัฐธรรมนูญฉบับ 247577 เนื่องจาก รัฐธรรมนูญฉบับ 2492 นัน้ เปนสิง่ ที่ “กลุมรอยัลลิสต”ไดออกแบบขึ้นซึ่งเปน ประโยชนกับพรรคประชาธิปตยที่จะรื้อฟน รัฐธรรมนูญฉบับดังกลาวและตอมาการรื้อฟน รัฐธรรมนูญฉบับบนี้ไดกลายมาเปนนโยบายหาเสียงในการเลือกตั้งของพรรคประชาธิปตย ไม นานจากนัน้ กิตติศักดิ์ทาทายพล ต.อ.เผาใหขึ้นปราศัยแขงกับเขา เมื่อพล ต.อ.เผาตกลงขึ้น ปราศัยแขง เขาไดทําใหพล ต.อ.เผากลายเปนตัวตลกบนเวทีไฮปารคดวยการสาบานบนเวทีเมื่อ ตนเดือนมกราคม 249978 การตอสูทางการเมืองในไทยที่ในบรรยากาศทีเ่ ปนประชาธิปไตยเกิดขึ้น ตั้งแตปลายป 2498 นั้น สภาความมั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ เห็นวา การตอสูในลักษณะดังกลาวจะ ทําใหการเมืองไทยออนแอลงมาก79 ดังนัน้ อาจกลาวไดวา การไฮดปารคจึงเปนเหมือนเวทีในการทําลายความชอบธรรมของ พล ต.อ.เผา ศรียานนทซึ่งเปนผูทา ทายอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามใหเกิด แกสาธารณชนที่จะมีผลทําใหจอมพล ป.เปนผูมีความชอบธรรมที่โดดเดนและปลดปลอย 74
สารเสรี, 18 ธันวาคม 2498.; พิมพไทย, 19 ธันวาคม 2498.; สารเสรี, 19 ธันวาคม 2498. สารเสรี, 20 ธันวาคม 2498. 76 ลมูล อติพยัคฆ, รอนไปปารีสกับนายควง อภัยวงศ,(พระนคร: คลังวิทยา, 2499), หนา 170. 77 สยามนิกร, 31 มกราคม 2499. 78 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 392.; สยามนิกร, 4 มกราคม 2499.; ชาวไทย, 10 มกราคม 2499. 79 “Staff Study Prepared by an Interdepartment Working Group for the Operations Coordinating Board, 4 January 1956, Analysis of Internal Security in Thailand(Pursuant to NSC Action 1290-d)and Recommend Action,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 845. 75
181
พันธนาการพึง่ พิงทางการเมืองของเขาออกจากคายราชครูไปสูการไดรับการสนับสนุนจาก ประชาชนแทน อีกทั้ง กอใหเกิดกระแสการตอตานสหรัฐฯขึ้นในสังคมไทยเพื่อจะกลายเปนสวน หนึง่ ของสาเหตุที่รัฐบาลจอมพล ป.จะใชเปนขออางในการถอยหางออกจากสหรัฐฯตอไป 7.5 การพยายามเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจอมพล ป. ควรกลาวดวยวา บริบทการเมืองระหวางประเทศนับตัง้ แตการหยุดยิงในสงครามเกาหลี ทําใหจีนเริ่มมีอิทธิพลมากขึ้นและติดตามดวยการพายแพของฝรั่งเศสที่สมรภูมิเดียนเบียนฟูใน อินโดจีน ทําใหสหรัฐฯเริ่มสูญเสียอิทธิพลทางการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียและ เอเชียตะวันออกเฉียงใตลง สงผลให จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความวิตกถึงความเปลี่ยนแปลง การเมืองระหวางประเทศในภูมิภาค ประกอบกับทาทีที่เปนมิตรของโจวเอินไหล นายกรัฐมนตรี ของจีนที่มีตอไทยในการประชุมบันดุง(เมษายน 2498) และปลายป 2498 นั้นเอง สหรัฐฯและจีน มีการประชุมรวมกันทีก่ รุงเจนีวาเพื่อตกลงกันแลกเปลีย่ นพลเรือนของทั้งสองประเทศที่ตกคางอยู ในทัง้ สองประเทศ โดยจีนเรียกรองใหมีการประชุมในระดับรัฐมนตรีตางประเทศระหวางกันตอไป เพื่อใหมกี ารยกเลิกการควบคุมสินคาที่สหรัฐฯใชกับจีนตัง้ แตสงครามเกาหลี โดยสหรัฐฯยินดี ประชุมในระดับรัฐมนตรีแตสหรัฐฯยังคงตองการควบคุมการคากับจีนเชนเดิม80 ไมแตเพียงความเปลี่ยนแปลงของบริบทการเมืองระหวางประเทศที่เริ่มดูเหมือนมีความ คลี่คลายของความขัดแยงลงเทานัน้ แตบริบทดังกลาวก็มีผลกระทบการคาของไทยในฐานะผู สงออกขาวรายสําคัญดวย เนื่องจากนับตัง้ แตสงครามอินโดจีนยุติลงปริมาณการสงออกของขาว ไทยลดลงเชนกัน รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเริ่มมองเห็นวา จีนจะเปนตลาดชวยในการ ระบายขาวที่ลน ตลาดของไทยได รัฐบาลจึงมีความคิดสงออกสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยไปยังกลุม ประเทศคอมมิวนิสตโดยเฉพาะอยางยิง่ ขาว ซึง่ ขณะนั้นสหรัฐฯมีเห็นวา ไทยเริ่มมีความตองการ คากับกลุมประเทศคอมมิวนิสตที่สหรัฐฯไมอนุญาต81 ในปลายป 2498 หอการคาจีนในไทยไดรับจดหมายจากรัฐบาลจีนเรียกรองใหมีการเปด การคาระหวางกัน หนังสือพิมพจนี และไทยไดรายงานจดหมายฉบับดังกลาวอยางคึกโครม 80
สรอยมุกข ยิ่งชัยยะกมล, “นโยบายตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอ สาธารณรัฐประชาชนจีน(1948 - 1957),” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธระหวาง ประเทศ ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544), หนา 84100. 81 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A001600530001-5, 25 July 1954, “Thailand may look to Communist China as market for surplus rice”.
182
สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา มีความเปนไปไดที่จะมีการคาระหวางไทยและจีน82 แมจอมพล ป. ประกาศคัดคานการเปดการคาระหวางกัน แตหนังสือพิมพชิเฉียนยิดเปา(Shih Chien Jih Pao) ซึ่งเปนหนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทตลอดจนหนังสือพิมพจนี ฉบับอื่นๆใหการ สนับสนุนการเปดการคาระหวางกันวา แมวาไทยและจีนจะไมมีความสัมพันธทางการทูตแตไทย สามารถคากับจีนได เนื่องจากที่ผา นมามีการคาอยางลับๆระหวางกันดวยใชการชําระเงินผาน ผานธนาคารในลอนดอนและนิวยอรค และใชเรือของประเทศที่สามขนสินคาเขามาผานฮองกง และสิงคโปรเขาสูไทยได ทัง้ นี้ ปริมาณสินคาจากจีนที่เขาสูตลาดของไทยในป 2497 มีมูลคาถึง 70,000,000บาท ซึ่งสวนใหญเปนสินคาทีม่ ีราคาถูกทําใหพอคาจีนในไทยสามารถขายไดอยาง รวดเร็วและมีกําไรดี83 ดังนัน้ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในการเมืองระหวางประเทศนี้ เปนเหตุ ใหรัฐบาลจอมพล ป. ตองตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทยใหม ดวยเหตุที่ บริบทการเมืองระหวางประเทศเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทําให รัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามตีความวาเหตุการณการเจรจาระหวางสหรัฐฯและจีนทีเ่ กิดขึ้นเปนเสมือนสัญ ญาณของการผอนคลายความขัดแยงระหวางประเทศในภูมิภา ดวยเหตุนี้ รัฐบาลจอมพล ป.จึง เริ่มหันมาเปลีย่ นแปลงนโยบายตางประเทศจากที่เคยเปนปรปกษกับจีนมาเปนมิตร ทัง้ นี้ ในเดือน ตุลาคม 2498 จอมพล ป.ไดหยัง่ ทาทีตอแอนชูทส อุปทูตรักษาการฯถึงการปรับเปลีย่ นทาทีของ สหรัฐฯตอจีน แตแอนชูทสยนื ยันวา สหรัฐฯมีนโยบายตอตานจีนเชนเดิม กระนั้นก็ดี สิ่งที่แอนชูทส ยืนยันนั้น หาไดสรางความมัน่ ใจใหกับจอมพล ป. ผูที่ตคี วามบริบทการเมืองระหวางประเทศ ชวงเวลานัน้ วาเปนชวงโอกาสที่ไทยควรปรับเปลี่ยนนโยบายตางประเทศเสียใหม การหยัง่ ทาที สหรัฐฯจากจอมพล ป.นี้ แอนชูทสไดรายงานเรื่องดังกลาวกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศวา รัฐบาลไทยตีความวาการเจรจาระหวางสหรัฐฯและจีนเปนความปรองดองระหวางกันและรัฐบาล
82
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Harry Conover to Secretary of State, 20 September 1955.; 23 September 1955. 83 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 Entry Thailand 1955-1959 box 3910, Harry Conover to Secretary of State, 30 September 1955.; ไทยใหม, 27 พฤศจิกายน 2498. สินคาจากจีน หลายประเภทเขาขายในกรุงเทพฯ เชน ปากกา หมึก ดินสอสิ่งทอ แปรงสีฟน กระติกน้ํารอน ปากกาหมึกซึม ดินสอ หมึก แปรงสีฟน จักรยาน จักรเย็บผา ลวดโลหะ สิ่งทอ กระดาษ ยาจีน อาหารกระปอง อาหารแหง ทั้งนี้ เหตุผลที่สหรัฐฯไมตองการใหไทยคากีบจีนนอกจาก สหรัฐฯไมตองการใหจีนมีเงินตราตางประเทศแลว สหรัฐฯ ยังไมตองการให สินคาตางๆของจีนมีผลกระทบตอจิตวิทยาของพอคาจีนโพนทะเลที่จะทําใหจีนอางไดวา เนื่องจาก อํานาจอุตสาหกรรมจากจีนใหม(NARA, RG 84 box 1, Top Secret General Records 19471958, Memorandum from Norbert L. Anschuetz to John Jarman, Chinese Communist Trade with Thailand, 26 April 1954).
183
ไทยเกรงวา หากไทยยังคงมีนโยบายที่ไมเปนมิตรกับจีนตอไป ไทยอาจเปนประเทศเดียวทีถ่ ูกกัน ออกจากความสัมพันธระหวางประเทศใหมทกี่ อตัวขึ้นในภูมิภาค84 ที่วอชิงตัน ดี.ซี. ในเดือนพฤศจิกายน 2498 อัลแลน ดัลเลส ผูอํานวยการซีไอเอได รายงานตอประธานคณะเสนาธิการรวมสหรัฐฯวา สถานทูตสหรัฐฯประจําไทยและแหลงขาวของ สหรัฐฯสรุปวา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกําลังทบทวนนโยบายการตอตานคอมมิวนิสต แมกระทัง่ กรมหมืน่ นราธิปฯ รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศก็มที ัศนคติในทางบวกตอ การผอนคลายการมีความ สัมพันธกับจีน อีกทัง้ ขาราชการไทยไดเริ่มเรียกรองใหไทยมีนโยบาย ตางประเทศทีเ่ ปนอิสระ ตลอดจน การควบคุมหนังสือพิมพของรัฐบาลจอมพล ป. ไดผอนคลาย ลงทําใหมกี ารวิพากษวิจารณสหรัฐมากขึน้ พรอมกับเสียงเรียกรองใหไทยมีความสัมพันธกับจีน ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลยอหยอนในการตอตานคอมมิวนิสต นอกจากนี้ยงั เปดโอกาส ใหจัดตั้งพรรคการเมืองที่เรียกรองใหไทยมีนโยบายถอยหางออกจากความแนบแนนกับสหรัฐฯ ไปสูนโยบายตางประเทศเปนกลาง สหรัฐฯเห็นวา จอมพล ป.และผูนาํ หลายคนในรัฐบาลตองการ แสดงใหคนไทยเห็นวา พวกเขามีความเปนอิสระตามหลัก“จิตวิญญาณแหงบันดุง” 85 ไมแตเพียง สหรัฐฯเริ่มเห็นสัญญาณการถอยหางออกจากความแนบแนนกับสหหรัฐฯ เทานัน้ แตสหรัฐฯยังไดเห็นการขยายการติดตอทางการคาระหวางจีนกับไทยดวย แมการคาดัง กลาวจะไมใชสินคายุทธปจจัยและเปนการคาทางออมก็ตาม นายวรการบัญชา อดีตรัฐมนตรีวา การะทรวงการตางประเทศไดเคยกลาวใหการสนับสนุนการเปดการคากับจีนวา การคาทางตรง กับจีนจะไดกําไรมากกวาการคาทางออม ทั้งนี้ หนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตลวนใหการสนับสนุนการดําเนินการดังกลาวของรัฐบาล 86 ตอมานิวยอรค ไทมส( New York Times)ฉบับ 19 พฤศจิกายน 2498 ไดลงขาววิจารณรัฐบาลไทยวา ไทยกําลัง เปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศไปสูความเปนกลาง เนื่องจาก“ประเทศไทยกลัวจะกลายเปน ประเทศเดียวที่ถูกทอดทิง้ ไวแตลําพังในเอเชีย และรูสึกไมแนใจวาใครจะชนะ จึงคอยๆเปลี่ยน ทาทีอยางเงียบๆ”87 การเริ่มเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามครั้งนี้ นํามาสูความเคลื่อนไหวในทางลับที่เปนรูปธรรมดวยการสงทูตลับของรัฐบาลไปยังจีน โดย 84
เรื่องเดียวกัน, หนา 103-106. “Memorandum From the Director of Central Intelligence (Dulles) to the Chairman of the Joint Chiefs Staff(Radford), 18 November 1955,” in Foreign Relations of the United States 19551957 Vol.22, pp. 840-841. 86 Ibid. 87 New York Times, 19 November 1955. 85
184
สถานทูตอังกฤษที่ฮองกงไดรายงานวา ตั้งแตเดือน ธันวาคม 2498 มีกลุมคนไทยไดขามฝงจาก ฮองกงไปจีนหลายคณะ เชน กลุมสอิง้ มารังกูรและอัมพร สุวรรณบล สมาชิกสภาผูแ ทนฯ กลุม เทพ โชตินุชิต หัวหนาพรรคเศรษฐกรกับคณะคนไทย จํานวน 10 คนไดเขาพบเหมาเจอตง พวก เขาไดปราศัยผานวิทยุปกกิง่ เลาถึงสิ่งที่พบเห็นและไดตดิ ตอชักชวนปรีดี พนมยงคและกลุมผูลี้ ภัยทางการเมืองเดินทางกลับไทย เนื่องจากรัฐบาลไทยจะนิรโทษกรรมความผิดให สถานทูต อังกฤษเห็นวา ทูตลับเหลานี้ ไดรับการสนับสนุนจากจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียานนท 88 อยางไรก็ตาม ความเคลื่อนไหวดังกลาวก็มิอาจเล็ดลอดไปจากสายตาของสหรัฐฯได บิชอป ทูตสหรัฐฯ ไดรายงานขาวดังกลาวกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. วา รัฐบาลไทยอยูเบื้องหลังการ ติดตอกับจีน ทูตลับเหลานัน้ ไดรับการสนับสนุนจากจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียา นนท ในรายงานตั้งขอสังเกตวา เมื่อทูตลับเดินทางกลับจากจีนมาไทย พวกเขามิไดถูกจับ กุม ในทันที แมตอมา พวกเขาจะถูกจับกุมดวยขอหาละเมิดพระราชบัญญัติการกระทําอันเปน คอมมิวนิสต แตก็ถูกปลอยตัวในเวลาตอมา โดยทูตลับทัง้ สองชุดไดคําใหสัมภาษณที่สรางความ พอใจใหกับชุมชนชาวจีนในไทยเปนอยางมากมาก89 การถอยหางออกจากความความสัมพันธที่แนบแนนกับสหรัฐฯไปสูการเปดไมตรีกับจีน หาใชเกิดจากบริบทการเมืองระหวางประเทศแตเพียงประการเดียว แตการตัดสินใจดังกลาว เกิด จากปญหาภายในของไทยดวยเชนกัน เนื่องจาก อํานาจของกลุมการเมืองในไทยขณะนั้นวางอยู บนความสัมพันธผลประโยชนกับพอคาจีนในไทย ดังนั้น การเปดไมตรีกับจีนจะกลายเปนแหลง ผลประโยชนทางการคาใหมที่จะเกิดขึ้นกับคายราชครู เชน ประโยชนจากคาพรีเมี่ยมขาวและการ แลกเปลี่ยนเงินตราในการคากับจีน90นอกจากนี้ สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา การเปดไมตรีกับจีน ของรัฐบาลไทยภายใตการสนับสนุนของจอมพล ป. พิบลู สงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนทนนั้
88
NA, FO 371/123645, Thai Nationals Visiting China, 22 February 1956.; โปรดดู ณัฐพล ใจจริง, “ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: ‘การทูตใตดิน’(2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูล สงคราม,” รัฐศาสตรสาร 29 (ฉบับพิเศษ 2551): 29-80. 89 “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State, 23 May 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 875-876. นอกจากพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอม พลผิน ชุณหะวัณอยูเบื้องหลังแลว ยังมี เลื่อน บัวสุวรรณ ผูเปนนายทุนและผูจัดการทางการเมืองใหกับคาย ราชครูเปนคนออกเงินทุนในการเดินทางครั้งนี้ 90 Ibid., p.878.; โปรดดู Kevin Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand,(Connecticut : Yale University, 1989).; สังศิต พิริยะรังสรรค, ทุนนิยมขุนนางไทย พ.ศ. 2475-2503, (กรุงเทพฯ: สรางสรรค, 2526).
185
จะทําใหรัฐบาลจะไดประโยชนจากการแสวงหาการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี”ในการ เลือกตั้งทีจ่ ะมาถึงในตนป 2500 ดวย91 การพยายายามถอยหางจากสหรัฐฯแตกลับพยายามเปดไมตรีกับจีนของไทยนัน้ สภา ความมัน่ คงแหงชาติ สหรัฐฯ เห็นวา จอมพล ป. พิบูลสงครามตีความบริบทการเมืองระหวาง ประเทศผิดที่คดิ วา สหรัฐฯใหความสนใจการสกัดกัน้ คอมมิวนิสตใหกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต และไทยนอยลงจึงหันไปติดตอกับจีน92 ตอมาในตน ป 2499 สถานทูตสหรัฐฯยังคงรายงานวา มี สัญญาณหลายอยางทีท่ ําใหสหรัฐฯเชื่อวารัฐบาลจอมพล ป.กําลังปรับนโยบายตางประเทศไปสู ทางซายและกําลังเพิ่มระดับความสัมพันธกับจีน โดยพล ต.อ.เผา ศรียานนทจะไดรับประโยชน จากการมีความสัมพันธกับจีนในทางการเมือง สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา การดําเนินนโยบาย ตางประเทศของไทยเปนการแสดงใหสหรัฐฯเห็นวารัฐบาลไทยไมยอมผูกมัดกับอํานาจของโลก เสรีอีกตอไป93 7.6 การคากับจีนและความไมพอใจของสหรัฐฯ อยางที่ไดกลาวมาแลววา นโยบายตางประเทศของสหรัฐฯของประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ไดใหความสําคัญกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทงั้ เศรษฐกิจและการทหารและไดมีการผสม ผสานทั้งสองสิ่งเขากันอยางแนบแนนมากยิ่งขึน้ ดังจะเห็นไดจากในปลายป 2498 สภาความ มั่นคงแหงชาติ สหรัฐฯ ไดเสนอแผนการคาและการลงทุนของสหรัฐฯที่มุงตรงตอภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยสหรัฐฯเห็นวา อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจในภาพของภูมิภาครวมอยูใน ระดับต่ํา ดังนัน้ แผนระยะสัน้ ของสหรัฐฯจะสงเสริมสภาพแวดลอมที่อาํ นวยการลงทุนเอกชน การ ประกันการลงทุน และสงเสริมการคากับสหรัฐฯ โดยใหสถานทูตสหรัฐฯในภูมิภาคเปนผูดําเนิน การ โดยสหรัฐฯตองการใหความชวยเหลือทางการทหารมีความเกี่ยวของกับการพัฒนาเศรษฐกิจ 91
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Report of Thai contracts with The Chinese Communist , 21 March 1956. รายงานฉบับนี้ ใหขอมูลวา อัมพร สุวรรณบล สมาชิกสภาผูแทนฯภาคอีสาน ที่รับหนาที่เดินทางไปจีนนั้นเปนเพื่อนของพล.ร.ท.ทหาร ขํา หิรัญ“กลุมปรีดี” 92 The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Paper 1948-1961, OCB Central File Series box 55, National Security Council: Progress Report on United States Objective and Courses of Action with Respect to Southeast Asia by The Operations Coordinating Board (No.5405), 21 December 1955. 93 “the Embassy in Thailand (Magill) to the Department of State , February 8,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 855-856.
186
ตามแผนระยะยาวของสหรัฐฯ และใหหนวยงานตางๆของสหรัฐฯรักษาความสมดุลระหวาง นโยบายทางการทหารและโครงการพัฒนาเศรษฐกิจกับทุนทองถิ่นและรักษาความเปนไปไดใน การลงทุนของสหรัฐฯในภูมภิ าค94 ในขณะที่ สหรัฐฯมีความตองการเดินหนาแผนการคา การลงทุนและการพัฒนาเศรษฐกิจ ตอไทย แตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกลับมีนโยบายที่ไมสอดคลองกับความตองการของ สหรัฐฯดวยการเดินหนาเปดการคากับจีนแทนที่จะทําตามความตองการของสหรัฐฯ ติดตามดวย การที่รัฐบาลจอมพล ป. สั่งใหพจน สารสิน ทูตไทยเขาเขาพบซีบัลด ผูชวยรองรัฐมนตรี ตางประเทศฝายกิจการตะวันออกไกล เมือ่ 6 มีนาคม 2499 เพื่อชี้แจงใหสหรัฐฯทราบถึง ความ จําเปนของไทยที่ตองขายขาวใหกับจีน เนือ่ งจาก ขาวมิใชสินคายุทธปจจัยและไทยมีสิทธิที่จะขอ ถอนตัวออกจากบัญชีรายชือ่ ประเทศที่ไมคากับจีนของสหประชาติเมือ่ ใดก็ได แตซีบัลดใหเหตุผล กับพจนวา สหรัฐฯไมเห็นดวยกับการกระทําของไทย เพราะการคากับจีนจะเปนการสนับสนุนให จีนมีความสามารถในการคุกคามไทยเอง แตพจนแจงตอสหรัฐฯวา ไทยตระหนักในสิ่งที่สหรัฐฯ เตือน แตไทยไมมีทางเลือกอืน่ ที่ดีไปกวานี้ 95 ในวันรุงขึน้ ทีก่ รุงเทพฯนัน้ เอง รัฐบาลจอมพล ป. ได ตัดสินใจวาไทยจะคากับจีน96
94
The Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Paper 1948-1961, OCB Central File Series box 55, National Security Council: Progress Report on Future United States Economic Assistance For Asia by The Operations Coordinating Board (No.5506), 7 December 1955. 95 “Memorandum of a Conversation Between the Thai Ambassador (Pote) and the Deputy Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Sebald), 6 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.858. 96 หจช.(2)กต. 14.3.3/8 กลอง 3 การกักกันสินคาไปยังดินแดนคอมมิวนิสต(22 เมษายน 2497-17 พฤษภาคม 2499), ปุน จาติกวนิช เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศ 8 มีนาคม 2499. ความเห็นกระทรวงตางประเทศ ที่เสนอรายงานเขาสูการประชุมคณะรัฐมนตรีคือ การคากับจีนมิไดนํามาซึ่งการรับรองจีน เชนในอดีตไทยก็เคยคากับจีน แตไมไดมีความสัมพันธทางการทูต และการคาระหวางกันที่เกิดขึ้นกระทําในนามเอกชนมิใชรัฐ ในรายงานเห็นวา สินคาจากจีนถูกมากกวาสินคา จากญี่ปุนซึ่งเปนประโยชนกับคนไทยมากกวา เพราะฉะนั้น กระทรวงฯเห็นวา การคากับจีนพึงทําไดตาม ระเบียบของไทยเอง ไมขัดกับขอหามของสหประชาชาติและสหรัฐฯ โดยไทยสามารถสงออกสินคาที่ไมใชยุทธ ปจจัยได เนื่องจากไมมีขอหามกําหนดไว แตสงออกยางไมได(หจช.(3)สร. 0201.45/42 กลอง 4 เรื่องการลด รายการสินคาที่ไทยหามสงไปประเทศจีนคอมมิวนิสต และแถลงการณเรื่องนโยบายการคาระหวางประเทศ(15 กุมภาพันธ 2499–26 กุมภาพันธ 2500).
187
การตัดสินใจของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามในการเปดการคากับจีนนัน้ ไดสราง ความไมพอใจใหกับสหรัฐฯมาก ไมกี่วนั หลังจากนัน้ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการะทรวงการตาง ประเทศไดถือโอกาสที่เดินทางมาแวะเยือนไทยระหวาง 13-14 มีนาคม 2499 ภายหลังเสร็จสิน้ การประชุมซีโตที่กรุงการาจี ปากีสถาน เขาไดขอพบจอมพล ป.เปนการสวนตัว หลังจากพบปะกัน แลว จอมพล ป. ไดแถลงสุนทรพจนยนื ยันการเปนพันธมิตรกับสหรัฐฯตอไป แมขณะนัน้ จะมีขาว โจมตีไทยวา ไทยกําลังโนมเอียงไปสูความเปนกลางเนื่องจากไทยไมพอใจความชวยเหลือจาก สหรัฐฯและไทยมีความตองการคาขายกับจีนก็ตาม โดยดัลเลส ไดกลาวตอบจอมพล ป.โดย เปรียบเทียบวา ไทยเปนเสมือนประเทศที่อยูกงึ่ กลางระหวางสหรัฐฯกับภูมิภาคเอเชีย และย้าํ วา “ …เราเปนพันธมิตรกันและการเปนพันธมิตรกัน มิใชเพียงเพราะวา เราไดรวมลงนามกันใน กระดาษแผนหนึง่ เทานั้น หากเราไดลงนามในกระดาษแผนนัน้ ดวยเหตุที่เรามีความรูสึกรวมกัน และดวยเหตุทเี่ ราเชื่อมั่นวามีภยันตรายอยูในโลก…”97 ในวันรุงขึ้น ดัลเลส ไดรายงานการสนทนา กับนายกรัฐมนตรีไทยกลับไปประธานาธิบดีไอเซนฮาวรวา จอมพล ป.ไดปฏิเสธการมีนโยบาย ตางประเทศทีเ่ ปนกลางและไมตองการดําเนินนโยบายออกไปจาก“อุงปก”ของสหรัฐฯ แมขณะนี้ ไทยจะมีแนวโนมมีความสัมพันธกับจีนแตยังอยูภายใตการควบคุมของรัฐบาล98 แมจอมพล ป. พิบูลสงครามจะแสดงใหสหรัฐฯมั่นใจวา ไทยจะดําเนินนโยบายตาง ประเทศตามสหรัฐฯตอไปก็ตาม ในเดือนมิถุนายน 2499 รัฐบาลจอมพล ป.ประกาศถอนการ ควบคุมสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยกับจีนเพื่อเดินหนานโยบายการเปดการคากับจีนอยางเต็มตัว ตอมา เจาหนาที่จากสถานทูตสหรัฐฯไดเขาพบกรมหมืน่ นราธิปฯ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการ ตางประเทศเพื่อแสดงความเสียใจอยางสุดซึ้งตอนโยบายตางประเทศของรัฐบาลไทย นอกจากนี้ เขาไดแจงกับฝายไทยวา เมือ่ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดทราบ ขาวการเปดการคากับจีนนัน้ ดัลเลสเกือบจะโทรเลขเพือ่ ขอใหยับยั้งการดําเนินการของไทย ในทันที99 ตอมา จอมพล ป.ใหเหตุผลถึงการเปดการคากับจีนแกนกั ขาวไทยและตาง ประเทศวา ไทยจําเปนตองปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของโลกวา “ในยุโรปและเอเชียมีแตไทยเทานัน้ ทีห่ าม 97
“Memorandum of a Conversationat Government House-Bangkok , 13 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 861.; หจช.(3)สร. 0201.21.3/ 58 กลอง 3, วิทยุสาร (15 มีนาคม 2499). 98
“the Secretary of State to the Department of State to Mr. President , 14 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 865. 99 หจช. กต. 87/46 บันทึกการสนทนาระหวางเสด็จในกรมฯ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ กับ นายแอนชูตส 13 มิถุนายน 2499.; “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State , June 13,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22 , pp. 889-890.
188
การคากับจีน ดังนัน้ เราไมอาจฝนโลกได”100 สุดทาย รัฐบาลจอมพล ป.ไดแถลง การณเรื่อง นโยบายการคาระหวางประเทศ เมื่อ 21 มิถุนายน 2499 เพื่อเปดการคากับจีน101 เกือบจะทันทีที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศเปดการคากับจีน ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯมีปฏิกริยาตอรัฐบาลไทยทันทีวา เขา”รูสึกผิด หวัง” เขาเห็นวา การกระทําของรัฐบาลไทยแสดงใหเห็นถึงความออนแอของโลกเสรี102 ไมกี่วนั จากนั้น เขาไดโทรเลขถึง บิชอป ทูตสหรัฐฯประจําไทยวา สหรัฐฯไมเคยรองขอใหประเทศพันธ มิตรฝนใจทําในสิ่งที่ไมอยากทํา แตสหรัฐฯ“ไมเห็นดวยกับการกระทําของไทยอยางมาก” และได ฝากจดหมายถึงจอมพล ป.วา สหรัฐฯไมเห็นดวยกับไทยมีการคาระดับปกติกับจีน103 หลังจากที่ เขาไดทิ้งชวงการตอบจดหมายกลับดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเปน เวลา 2 เดือน จอมพล ป. ไดตอบกลับดัลเลสวา ไทยยังคงยืนยันการเปดการคากับจีนเนื่องจาก สถานการณการเมืองระหวางประเทศในภูมิภาคไดเริ่มมีนโยบายเปนกลาง และคนไทยมีความ 100
สยามนิกร, 16 มิถุนายน 2499. 101 “Memorandum of a Conversation Between the Thai Ambassador (Pote) and the Deputy Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Sebald), 6 March 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 858. กอนรัฐบาลไทยแถลงการณฉบับดังกลาว จอมพล ป. พิบูล สงครามไดสั่งการใหกระทรวงการตางประเทศจัดรวบรวมปญหาขอเท็จจริงและขอดีและเสียเกี่ยวกับรายการ สินคาที่ไทยจะคากับจีน กระทรวงการตางประเทศไทยไดเสนอตอคณะรัฐมนตรีโดยอางอิงกับขอผูกพันของ สหประชาชาติ ตามมติสมัชชาที่ 500 (สมัยที่ 5) 18 พฤษภาคม 2494 สาระสําคัญขอผูกพันธนั้นหามสงยุทธ ปจจัยรวมทั้งยางและดีบุกคากับประเทศคอมมิวนิสตแตมิไดหามขาวและไม อีกทั้ง สหประชาชาติไดใหแตละ ประเทศกําหนดเอาเองวาสินคาใดเปน”ขอยกเวน” สวนขอผูกพันธของสหรัฐฯ ตามรัฐบัญญัติแบตเติล 2494 ได กําหนดวายุทธปจจัยที่หามคือ ยางและดีบุก แตไมไดหามขาวและไมและสินคาอื่นที่ไมใชยุทธปจจัยแตอยางใด ทั้งนี้ แถลงการณเรื่องนโยบายการคาระหวางประเทศของสํานักนายกรัฐมนตรีเมื่อ 21 มิถุนายน 2499 ได ประกาศยกเลิกการควบคุมสินคาที่ไมใชยทุ ธปจจัย โดยใหเหตุผลวาสงครามเกาหลีไดสงบศึกแลว ดังนั้น การ หามสินคาที่ไมใชยุทธปจจัยจึงไมมีความจําเปน ฉะนั้นเพื่อประโยชนทางการคาทั่วไปสําหรับประชาชนไทย รัฐบาลเห็นวา การสงสินคาไปจําหนายตางประเทศควรยึดหลักปฏิบัติทางการคาทั่วไป กลาวคือ การเปดเสรี ทางการคาที่อนุโลมตามนานาประเทศ(หจช. (2)กต. 1.1.5/19 กลอง 3 สาสนของรัฐมนตรีกระทรวงการตาง ประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับการคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499), แถลงการณเรื่อง นโยบายการคาระหวางประเทศสํานักนายกรัฐมนตรี 21 มิถุนายน 2499). 102 Ibid. 103 “the Department of State to the Embassy in Thailand (Bishop), 23 June 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.892-894.; หจช.(2)กต. 1.1.5 / 19 กลอง 3 สาสน ของรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับการคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499) โทรเลขลับเฉพาะของดัลเลส ถึง จอมพล ป. 25 มิถุนายน 1956.
189
ตองการใหคา กับจีนเพราะปริมาณการสงออกของไทยลดนอยลง รัฐบาลจึงตองทําตามความ ตองการของประชาชน การคาระหวางกันนี้เปนการคาตามหลักสากลที่ไมมียทุ ธปจจัย ไมมีการ สถาปนาความสัมพันธระหวางกัน และไทยยืนยันวาไทยยัง คงยังคงรักษาความสัมพันธกับสหรัฐ ตามเดิมและยืนยันวา “หากจีนมุง มาทางใต มิใชประเทศไทยเปนผูจงู ใหมาเด็ดขาด”104 จาก หลายเหตุการณที่ผานมา ทําใหสหรัฐเริ่มมีความไมแนใจในนโยบายในการเปนพันธมิตรกับ สหรัฐฯของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามมากยิง่ ขึ้น อีกทั้ง เมื่อรองประธานาธิบดีริชารด นิกสัน ไดเดินทางมาเยือนไทยในชวงเวลานัน้ เขาพบจอมพล ป. จากนัน้ เขาไดใหสัมภาษณกับ หนังสือพิมพวา “ไทยจะเปนกลางไมได”105 7.7 หนังสือพิมพกับตอสูท างการเมืองและการตอตานสหรัฐฯ ภายใตบริบทของความผันผวนของการเมืองระหวางประเทศที่ไทยไดเริ่มแสดงทาทีถอย หางออกจากความตองการของสหรัฐฯ ในขณะที่ การตอสูทางการเมืองของกลุมการเมืองตางๆ ทั้ง จอมพล ป. พิบูลสงครามพล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต “กลุมรอยัลลิสต” และกลุมฝายซาย ขณะนัน้ ยังคงดําเนินไปอยางเขมขน ไมแตเพียงพวกเขาไดเขาตอสูทาง การเมืองผานบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตยดวยการโจมตีซึ่งกันและกันบนเวทีการไฮดปารค เทานัน้ แตพวกเขายังมีหนังสือพิมพฉบับตางๆเปนกระบอกเสียงของกลุมตนเองดวยเชนกัน โดย จอมพล ป.ไดใหการสนับสนุนหนังสือพิมพหลายฉบับเพื่อสนับสนุนรัฐบาลและวิจารณ พล ต.อ. เผาและจอมพลสฤษดิ์ เชน ธรรมาธิปตย เสถียรภาพ บางกอก ทรีบูน(Bangkok Tribune) ประชา ศักดิ์ และไฮดปารครายปกษ 106 สําหรับพล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนหนังสือพิมพหลายบับดวย 104
หจช.(2)กต. 1.1.5 / 19 กลอง 3 สาสนของรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ อเมริกันเกี่ยวกับ การคากับสาธารณรัฐประชาชนจีน(9 มิถุนายน – 3 สิงหาคม 2499) นายกรัฐมนตรี ถึง รัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐฯ 2 สิงหาคม 2499. 105 หจช.(3)สร. 0201.21.3/ 89 กลอง 5 รองประธานาธิบดีแหงสหรัฐฯจะมากรุงเทพฯ(4 – 10 กรกฎาคม 2499 ), วิทยุสาร (10 กรกฎาคม 2499).; หจช.(2)กต. 1.2 /กลอง 9 สรุปขาวในประเทศประจํา สัปดาห ของกรมประชาสัมพันธ ระหวางวันที่ 4 ธันวาคม 2498–2 กันยายน 2499. 106 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State , ” Thailand’s Hyde Park-The Phramane Ground Orations, 4 January 1956.; สุวิมล รุงเจริญ, “บทบาท ของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526), หนา 51. สุพจน ดานตระกูล(2466-2552)เปนคน นครศรีธรรมราช เขาเคยเขารวมขบวนการเสรีไทย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาทํางานกับหนังสือพิมพหลาย ฉบับ ตอมาถูกจับ 10 พฤศจิกายน 2495 ในขอหากบฎในและนอกราชอาณาจักรกรณี“กบฎสันติภาพ” จากนั้น
190
งบราชการลับเพื่อใชหนังสือพิมพเปนเครื่องมือในการโจมตีจอมพลสฤษดิ์ เชน ชาวไทย เผาไทย เสรีไทย ไทยเสรี ขาวดวน เชา 2500 และชิเฉียนยิดเปา107 สวนจอมพลสฤษดิ์ใหการสนับสนุน หนังสือ พิมพหลายฉบับเพือ่ สรางฐานอํานาจทางการเมืองของเขาดวยการทําลายพล ต.อ.เผา เชนกัน โดยใชเงินจากสํานักงานกองสลาก จํานวน 30 ลานบาทสนับสนุนหนังสือพิมพ เชน สาร เสรี ไทรายวันและไทรายสัปดาห108 ควรบันทึกดวยวา หนังสือพิมพฉบับตางๆทีท่ ั้งจอมพล ป. พล ต.อ.เผา และจอมพลสฤษดิ์ใหการสนับสนุนนัน้ มีทาทีตอตานสหรัฐฯ เนื่องจาก พวกเขาตองการ แสวง หาการสนับสนุนจากประชาชนในทางการเมือง ดวยเหตุที่ ความขัดแยงทางการเมืองระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตมีสูง ทําใหหนังสือพิมพืไดกลายเปนสวนหนึง่ ของการตอสูทางการเมืองดวยเชนกัน เชน เขาไดรับนิรโทษกรรมโดยรัฐบาลจอมพล ป. ทั้งนี้ เขาเคยรวมงานหนังสือพิมพหลายฉบับ เชน เกียรติศักดิ์ สยามรัฐ สยามใหม และกงหวอปอ หลังนิรโทษกรรมกลับนครศรีธรรมราช และออกหนังสือพิมพเสียงชาวใต ตอมาเขามารวมงานกับประชาศักดิ์ที่จอมพล ป. สนับสนุนการจัดตั้งขึ้นในตําแหนงคอลัมภนิสต (สุพจน ดาน ตระกูล, 80 ป สุพจน ดานตระกูล, [นนทบุรี: สถาบันวิทยาศาสตรสังคม, 2546],หนา 25, 59-60). 107 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Peurifoy to Secretary of State, 6 August 1955 . พล ต.อ.เผา ศรียานนทเตรียมการออกหนังสือพิมพจีนชื่อชิเฉียนยิดเปาตั้งแตกลางป 2497 เพื่อใหเปนกระบอกเสียงของรัฐบาลในหมูคนจีน(NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 4188, Donovan to Secretary of State, 8 May 1954).; NARA, RG 84 General Record, Thailand 19561958 Entry UD 3267 box 112, D.H. Rochlen to The Ambassador, Change in ownership of Sri Krung and Liberty Newspapers, 4 January 1957. กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทที่เขาควบคุมทิศทาง หนังสือพิมพ สําหรับไทยเสรีนั้นมีกลุมบุคคลที่ทําหนาที่บริหารหนังสือพิมพมีทั้ง “กลุมปรีดี”และกลุมตํารวจเชน พ.ต.อ.ชมพู อรรถจินดา ผูอํานวยการ พ.ต.อ.พันศักดิ์ วิเศษภักดี ผูชวยผูอํานวยการ โกมุท จันทร เรือง หัวหนา บรรณาธิการ( ผูเปน“กลุมปรีดี” ) แสวง ตุงคะบรรหาร บรรณาธิการ(อดีตบรรณาธิการเชา) ทั้งนี้ ร็อกเลน ผูเขียนรายงานฉบับนี้เปนเจาหนาที่ซีไอเอ.; หจช.บก.สูงสุด 7/6 กลอง 4 รวมเรื่องเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ การใหขาวและการสื่อสาร(19 ตุลาคม 2497 – 18 เมษายน 2500).; สมบูรณ วรพงษ, บนเสนทางหนังสือพิมพ ,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพื่อนชีวิต, 2527), หนา 35-36. โชติ มณีนอย, “ตอยๆตามกันมากวา 30 ป ,” ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ เฉลิมวุฒิ โฆษิต ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 19 มีนาคม 2526, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพธรรมดา, 2526).พล ต.อ.เผาไดตั้งหนังสือพิมพชาวไทยไวตอสูกับสารเสรีและไทรายวัน ของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต ทั้งนี้ พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ ตํารวจที่ใกลชิดพล ต.อ.เผาไดเคยรับผิดชอบหนังสือพิมพชาว ไทยและเคยรวมเขียนบทความโจมตีจอมพล ป.มากกวาจอมพลสฤษดิ์ ทําใหพล ต.อ.เผาเรียกเขามาตักเตือน (พ.ต.อ. พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 234-235). 108 สมบูรณ วรพงษ, บนเสนทางหนังสือพิมพ,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเพื่อนชีวิต, 2527), หนา 35-36. มีบริษัทธนะการพิมพ เปนเจาของ พล.ต.เนตร เขมะโยธิน เปนผูจัดการ(เสถียร จันทิมาธร และขรรคชัย บุนปาน , กองทัพบกกับประเทศไทย,(กรุงเทพฯ: มติชน, 2526), หนา 83.
191
สารเสรีของจอมพล สฤษดิ์ ไดเริ่มวิจารณพล ต.อ.เผาตั้งแตปลายป 2498 และตอมาก็ไดโจมตีพล ต.อ.เผาอยางหนักและรวมถึงวิพากษรัฐบาลและเริ่มลงขาวโนมเอียงไปทางสังคมนิยม109 การที่ หนังสือพิมพของทัง้ พล ต.อ.เผาและจอมพลสฤษดิ์ตางโจมตีกันอยางรุนแรง แมพล ต.อ.เผาจะมี หนังสือพิมพทใี่ ชตอบโตหลายฉบับมากกวาจอมพลสฤษดิ์ก็ตาม แตสารเสรี ไดรับความนิยมจาก ผูอานมากกวา เนื่องจากกลาขุดคุยพล ต.อ.เผา แตในบางครั้งสารเสรีก็ลงขาวบิดเบือน อยางไรก็ ตาม ดวยเหตุที่สาธารณชนใหความเชื่อถือสารเสรีมากกวาหนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ทําให หนังสือพิมพของจอมพลสฤษดิ์จึงเปนเสมือนเปนหัวหอกในการสรางความเกลียดชังพล ต.อ.เผา ใหกับประชาชน แตในขณะเดียวกันก็ไดสรางกระแสจอมพลสฤษดิ์ใหกลายเปนขวัญใจของ ประชาชน110 สําหรับกระบอกเสียงของ“กลุมรอยัลลิสต” เชน สยามรัฐ และประชาธิปไตย นัน้ หนังสือ พิมพเหลานีม้ ีเปาหมายเพื่อตอตานทัง้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และตัวบุคคลในรัฐบาล เชน จอมพล ป.กับพล ต.อ.เผา ศรียานนทแตไมตอตานจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและไมตอตาน สหรัฐฯ111 สําหรับสยามรัฐนั้นมี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําคนหนึ่งของ“กลุมรอยัลลิสต” เปน เจาของโดยมีนักหนังสือพิมพที่มีความคิดคลายคลึงกันในสังกัด เชน สละ ลิขิตกุล และประหยัด ศ.นาคะนาท112 สวนหนังสือพิมพของกลุม ฝายซาย เชน สยามนิกร และ พิมพไทย มีนโยบาย ตอตานการดําเนินโยบายตามสหรัฐฯ เรียกรองนโยบายทีเ่ ปนกลาง และคัดคานการเปนพันธมิตร ทางการทหารของไทยกับสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ประเด็นการคัดคานการดําเนินนโยบาย 109
ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 412.; สุกัญญา ตีระวนิช, หนังสือพิมพไทย จากปฏิวัติ 2475 สูปฏิวัติ 2516,(กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2526), หนา 96. 110 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 413, 459-460. 111 เรื่องเดียวกัน, หนา 413. 112 “นายรําคาญ” หรือประหยัด ศ.นาคะนาท(2457-2545) เคยเรียนกฎหมายแตไมจบการศึกษา เริ่มตนทํางานหนังสือพิมพตั้งแตป 2477 เขามีความถนัดงานเขียนแนวขบขัน เสียดสี ลอเลียนลงในหนังสือ พิมพหลายฉบับ เชน บางกอกรายวัน(2490) สยามสมัย(2491) พิมพไทยวันจันทร(2493) เขารวมงานกับกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สละ ลิขิตกุล อบ ไชยวสุที่ สยามรัฐสัปดาหวิจารณตั้งแตป 2497 เขาถนัดเขียนเรื่องแนว ลิเก เสียดสีลอเลียนจอมพล ป.(อนุสรณในงานพระราชทนเพลิงศพ นายประหยัด ศ.นาคะนาท ณ ณาปน สถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 22 กรกฎาคม 2545, [กรุงเทพฯ: ไมปรากฎโรงพิมพ, 2545]). 112 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 412.
192
ตางประเทศตามสหรัฐฯ หนังสือพิมพหลายฉบับใหการสนับสนุนดวย เชน สารเสรี ไทยรายวัน และเสถียรภาพ เปนตน 113 การตอสูทางการเมืองที่เกิดขึน้ ไดกลายมาเปนประเด็นการตอตานสหรัฐฯอยางหลีกเลีย่ ง ไมได เนื่องจาก หนังสือพิมพและปญญาชนฝายซายของไทย ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามทีเ่ ขาไปมีความสนิทแนบแนนกับสหรัฐฯ พวกเขาไดเรียกรองใหไทยมีนโยบายตาง ประเทศที่เปนอิสระและวิจารณบทบาทสหรัฐฯมากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอยางยิ่งความชวยเหลือทาง การทหารของสหรัฐฯ114 ทําใหการวิพากษวิจารณบทบาทของสหรัฐฯบนหนาหนังสือพิมพฝาย ซายไดทวีความรุนแรงมากขึ้น เห็นไดจากสยามนิกรไดใชคําวา“จักวรรดินิยมดอลลาร”ในการ วิพากษวิจารณความชวยเหลือของสหรัฐฯวามีผลทําใหไทยถูกควบคุมทางเศรษฐกิจและตอง พึ่งพาสหรัฐฯและพวกเขาไดเรียกรองใหไทยเปนอิสระจากสหรัฐฯ115 กลางเดือนมิถุนายน 2499 กรมตํารวจไดประกาศยกเลิกคําสั่งหามหนังสือพิมพการวิจารณการเมืองระหวางประเทศ116 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานบรรยากาศของหนังสือพิมพไทยขณะนัน้ มีการโจมตีสหรัฐฯอยางหนัก เนื่องมาจากการผอนคลายการควบคุมหนังสือพิมพของรัฐบาล โดยมีหนังสือพิมพฝายซายเปน หัวหอกของการตอตานสหรัฐฯ รวมทั้ง พวกฉวยโอกาสกับพวกนิยมคอมมิวนิสตรวมการตอตาน สหรัฐฯดวย โดยกระแสการโจมตีสหรัฐฯผานหนังสือพิมพประกอบขึ้นจากหลายกลุม ยอยที่มี ลักษณะเปนอิสระ อีกทัง้ หนังสือพิมพบางฉบับที่ไดรับการสนับสนุนจากบุคคลหลายคนใน รัฐบาลรวมทัง้ นายกรัฐมนตรีดวย 117 ทามกลางบรรยากาศการโจมตีกันทางการเมืองและการตอตานสหรัฐฯของหนังสือพิมพ ไทยนัน้ นิวยอรค ไทมส(New York Times) ฉบับปลายเดือนสิงหาคม 2499 ไดพาดหัวขาววา 113
เรื่องเดียวกัน, ประจวบ อัมพะเศวต, หนา 412.; สุวิมล รุงเจริญ “บทบาทของนักหนังสือพิมพใน การเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526), หนา 126-128. 114 Dwight D. Eisenhower Library, White House Office, National Security Council Staff: Papers 1948-1961, Operations Coordinating Board Central File Service box 2, Analysis of International Security in Thailand and Recommended Action, 4 January 1956.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Robert N. Magill to Secretary of State, Press criticism of U.S. Aid Program, 11 January 1956.; Rockwood H. Foster to Young, 23 January 1956. 115 สยามนิกร, 15 มกราคม 2499. 116 หจช.(2)กต. 1.2 /กลอง 9 สรุปขาวในประเทศประจําสัปดาห ของกรมประชาสัมพันธ ระหวางวันที่ 4 ธันวาคม 2498–2 กันยายน 2499. 117 “the Embassy in Thailand (Bishop) to the Department of State, 23 May 23,1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 878.
193
หนังสือ พิมพไทยเปนปรปกษกับสหรัฐฯ และรายงานวา หนังสือพิมพทตี่ อตานสหรัฐฯสวนใหญ อยูใตอิทธิพลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม พล ต.อ.เผา ศรียานนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต โดยไดตั้งขอสังเกตวา แมทั้งสามคนจะประกาศอยางเปนทางการวา ใหการสนับสนุนตะวันตก อยางแข็งขัน แตหนังสือพิมพของพวกเขานั้นกลับทําในสิ่งตรงกันขาม โดยเฉพาะอยางยิง่ การ ตอตานสหรัฐฯ นิวยอรค ไทมสไดวิเคราะหวา เข็มมุง ของหนังสือพิมพขณะนั้นมี 3 กลุม กลุมแรก เปนหนังสือพิมพแบบกลางๆ กลุมที่ 2 เปนปรปกษกับสหรัฐฯในระดับปานกลาง กลุมที่ 3 เปน ปรปกษกับสหรัฐฯอยางรุนแรง เชน สารเสรีของจอมพลสฤษดิ์ มีการใชคําวา “ขุนศึกอเมริกัน” สวนเสถียรภาพของจอมพล ป. ก็โจมตีสหรัฐฯ ชิเฉียนยิดเปาหนังสือพิมพจีนของพล ต.อ.เผาก็ โนมเอียงไปทางการตอตานสหรัฐฯและนิยมคอมมิวนิสตเชนกัน 118 สําหรับสาเหตุที่จอมพล ป.พิบูลสงครามใหการสนับสนุนหนังสือพิมพฝา ยซายใหโจมตี สหรัฐฯนัน้ สุพจน ดานตระกูล ปญญาชนฝายซาย อดีตผูเ คลื่อนไหวโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. ผู เคยถูกจับใน “กบฎสันติภาพ” หลังไดรับนิรโทษกรรมแลว เขาไดรวมงานกับหนังสือพิมพทจี่ อม พล ป.สนับสนุนใหจดั ตั้ง ชื่อ ประชาศักดิ์ เขาไดบันทึกวา หลังจากที่จอมพล ป. ไดเห็นบรรยากาศ ของประชาธิปไตยในที่ตางๆของโลก จอมพล ป.ตระหนักถึงปญหาเอกราชของไทยภายใตการ อํานาจสหรัฐฯ จอมพล ป.เกิดแนวคิดที่พยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และจอมพล ป.ไม พอใจการที่สหรัฐฯครอบงําไทยมากเกินไปจึงมีความคิดที่จะคอยๆเปลีย่ นนโยบายตางประเทศให ถอยหางออกจากสหรัฐฯอยางคอยเปนคอยไป ดวยการสรางกระแสประชามติผานการใชหนังสือ พิมพปลุกเรา ตอมาในป 2499 จอมพล ป.ใหการสนับสนุนทุนจัดตั้งหนังสือพิมพและตั้งชื่อใหวา ประชาศักดิ์ ตอมา จอมพล ป.ไดรับอดีตนักโทษการเมืองกรณี“กบฏสันติภาพ” หลายคนมา รวมงานรวมทัง้ เขาเพื่อรวมกันสรางกระแสประชามติใหประชาชนคลอยตามเพื่อใหรัฐบาลใชมติ มหาชนดังกลาวเปนขออางกับสหรัฐฯในการถอยหางออกจากการดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯ ตองการ119 ทั้งนี้ นิวยอรค ไทมส(New York Times)ในชวงเวลาดังกลาวไดรายงานขาววา คนไทย สวนมากไมพอใจความชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯนี้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ปญญาชน และ กลุมคนทํางาน พวกเขาเห็นวา สหรัฐฯทําใหกลุมตํารวจและกลุมทหารมีอํานาจมากมีผลกระทบ 118
New York Times, 26 August 1956. สุพจน ดานตระกูล, ทนายจําเปน,(กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2516), หนา 16-18, 22-27. สุ พจน เห็นวา จอมพล ป. ไมสามารถออกหนาในการตอตานสหรัฐฯได เนื่องจากจอมพล ป.เปนนายกรัฐมนตรีที่ ตองรักษาความไววางใจจากสหรัฐฯ แตจอมพล ป.ได ดําเนินการทางลับดวยใหขอมูลแกหนังสือพิมพและการ ไฮดปารคเพื่อการเปดความไมเปนธรรมที่สหรัฐฯทํากับไทย สุพจนเห็นวาเปาหมายของจอมพล ป.และเขาตอง ตรงกัน เขาจึงรวมงานคุมทิศทางหนังสือพิมพใหกับจอมพล ป. 119
194
ใหเกิดการริดรอนเสรีภาพของประชาชน พวกเขาเห็นวา สหรัฐฯทําผิดพลาดที่ใหความชวยเหลือ ทางการทหารมากกวาการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ สหรัฐฯยังไดแทรกแซง เสรีภาพของไทยดวยการมีเจาหนาที่ปฏิบตั ิงานในไทยจํานวนมาก 120 7.8 ความไมพอใจของสหรัฐฯตอการเปดรับวัฒนธรรมจีนของไทย ดังไดเห็นมาแลววา การดําเนินการแผนสงครามจิตวิทยาในไทยไมประสบผลสําเร็จ ตามที่สหรัฐฯหวังไว เนื่องจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามยอหยอนในการตอตาน คอมมิวนิสต ดวยการพยายามเปดไมตรีกบั จีน เปดการคาและรับวัฒนธรรมจากจีนเขามาในไทย ทําใหในตนป 2499 สหรัฐฯไดสงดร.ไรเดคเกอร(Leidecker)นักสังคมวิทยาที่เชีย่ วชาญศาสนา พุทธเขามาศึกษาทัศนคติของคนไทยตอความเชื่อที่ยึดเหนี่ยวเพื่อใชในการวางแผนสงคราม จิตวิทยาตอตานคอมมิวนิสตตอไป เนื่องที่ผานมา เมื่อยูซิสดําเนินสงครามจิตวิทยาตอประชาชน มักจะถูกคัดคานจากผูเขารับฟงเสมอ 121 เชน ในการอบรมสงครามจิตวิทยาครัง้ หนึ่งในไทย นิวยอรค ไทมส(New York Times) รายงานวา ชาวนาไทยสวนใหญไมเคยไดยินเรือ่ งคอมมิวนิสต มากอน แตการอบรมไมมีผลครอบงําคนทั้งหมดได เนื่องจากยังคงมี คนไทยบางสวนไมเห็นดวย ทําใหผูเขาอบรมคนไทยบางคนถามเจาหนาที่ยซู ิสวา“ถาคอมมิวนิสตไมดีแลวจะอบรมใหคนไทย รูทําไม ทําไมไมอบรมในสิ่งที่ดีซึ่งชาติเสรีมีมากกวา แตกลับมาอบรมเรื่องคอมมิวนิสตและหาก คอมมิวนิสตไมดีทําไมคอมมิวนิสตจงึ ขยายตัวมาก อะไรเปนจุดออนของเสรีประชาธิปไตย และ ทําไมชาติเสรีจึงกลัวคอมมิวนิสตจนตัวสัน่ ทําไมสหรัฐฯไมทิ้งระเบิดในประเทศคอมมิวนิสตไป เลย ทําไมไมแจกอาวุธใหคนไทยปอง กันตนเอง และบางคนถามวา สหรัฐฯตองการอะไรจาก ประเทศไทย หรือตองการครอบครองประเทศไทยหรือ”122 นอกจากนี้ ในการอบรมสงคราม จิตวิทยาใหกบั ประชาชนของยูซิสครั้งหนึง่ ที่อาํ เภอราษฎรบูรณะ กรุงเทพฯในป 2499 เมื่อการ อบรมเสร็จสิ้นลง ชาวสวนคนหนึ่งไดถามเจาหนาที่ยูซิสวา การที่สหรัฐฯสงอาวุธและเจาหนาทีเ่ ขา มาในไทยนัน้ มุงจะยึดครองไทยหรือ 123 นอกจากนี้ ในชวเวลาดังกลาว สถานทูตสหรัฐฯแจงตอ รัฐบาลวา กลุม ฝายซายไดเขาแทรกซึมเขาขัดขวางการทํางานของยูซสิ 124 120
New York Times, 21 September 1956. สยามนิกร, 18 กุมภาพันธ 2499. 122 New York Times, 18 May 1956. 123 ประชาธิปไตย, 5 พฤษภาคม 2499. 124 หจช.(2)กต. 14.3/76 กลอง 8 หนังสือพิมพกลาวหาวายูซิสชวยหาเสียงใหฝายคาน(1 ธันวาคม 2499 – 13 กุมภาพันธ 2500), บิชอป ถึง นายวรการบัญชา รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 12 121
195
ทามกลางความลมเหลวในการตอตานคอมมิวนิสตของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่ไมแตเพียงเริม่ มีนโยบายตางประเทศถอยหางออกจากสหรัฐฯเทานั้น แตยังพยายามมีไมตรีและ มีการคากับจีน อีกทั้ง การยินยอมของรัฐบาลใหมกี ารนําเขาวัฒนธรรมจากจีนดวยการให ภาพยนตจากจีนเขามาฉายในกรุงเทพฯหลายเรื่อง125 ทําให ฮูเวอร(Hoover)รักษาการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯแสดงความกังวลใจถึงความยอหยอนการ ตอตานคอมมิวนิสตของรัฐบาลไทย126 จากนัน้ รายงานความเคลื่อนไหวของการฉายภาพยนตจนี ในกลางกรุงเทพฯทีม่ ีอยางตอเนื่องถูกรายงานกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. ทําใหสหรัฐฯเกิดความวิตก ตอผลกระทบที่จะมีตอความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนสงครามจิตวิทยาทีก่ ําหนดไว ตอมา 16 พฤษภาคม 2500 โรเบิรตสัน รองอธิบดีกรมการเมืองตะวันออก ไดเรียก พจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯเขาพบเพื่อแจงความกังวลของสหรัฐฯตอความเปลี่ยนแปลงของไทยเริ่มเหิน หางจากความตองการของสหรัฐฯและตั้งคําถามตอไทย 4 ประการ คือ เหตุใดรัฐบาลจอมพล ป. จึงอนุญาตใหคณะคนไทยการเดินทางไปจีน เหตุใดหนังสือพิมพไทยจึงเปนปฏิปกษตอสหรัฐฯ และซีโตมาก เหตุใด บุคคลชั้นนําในรัฐบาลจึงใหการสนับสนุนหนังสือพิมพทโี่ จมตีสหรัฐฯ และ เหตุใด ไทยจึงยินยอมใหมกี ารฉายภาพยนตจีนที่มงุ โฆษณาชวนเชื่อในกรุงเทพฯ127 คําถามของ สหรัฐฯที่ไมพอใจไทยเหลานั้น พจนไดรายงานกลับมายังไทย ในการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อ เดือนพฤษภาคม ที่ประชุมไดมีมติใหพจน แจงยืนยันตอสหรัฐฯวา ไทยยังคงมีนโยบายตอตาน คอมมิวนิสต และจะดําเนินการควบคุมการฉายภาพยนตจีนตอไป128อยางไรก็ตาม การฉาย ภาพยนตจากจีนใจกลางกรุงเทพฯยังคงมีอยางตอเนื่อง ทําให สถานทูตสหรัฐฯไดประทวงการที่ รัฐบาลยอหยอนใหมกี ารฉายภาพยนตดังกลาวและไดกลาวประนามภาพยนตเรื่องหนึง่ ทีก่ ําลัง ฉายทีโ่ รงภาพยนตบรอดเวย แถบเยาวราชขณะนั้นวา เปนภาพยนตที่โฆษณาชวนเชือ่ ปลุกปนคน ธันวาคม 2499. ในกลางเดือนตุลาคม 2499 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา มหาหัด ดาวเรือง สมาชิกของกลุม ฝายซายไดแทรกซึมเขาสูกระบวนการทํางานของยูซิสที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในฐานะลาม จากนั้น เขาทํา การเปลี่ยนแปลงขอความที่เจาหนาที่ยูซิสบรรยายแกคนไทยไปในทางตรงขาม 125 โปรดดูรายชื่อภาพยนตจีนที่ฉายในกรุงเทพฯใน ณัฐพล ใจจริง, “จากสงครามจิตวิทยาแบบ อเมริกันสูการสรางสัญลักษณแหงชาติภายใตเงาอินทรีย”. 126 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Hoover(Acting of Secretary of State) to Bangkok, 4 August 1956 . 127 หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), โทรเลขจากเอกอัคราชทูต ประจํากรุง วอชิงตัน ถึง กระทรวงการตางประเทศ วันที่ 16 พฤษภาคม 2500. 128 หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 5 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 8/2500(29 พฤษภาคม 2500).
196
จีนใหมีความเชื่อวา “ระบบเกาทําใหคนเปนผี ระบบใหมทําใหผีเปนคน” 129 จากนัน้ รักษ ปนยา รชุน รัฐมนตรีชวยวาการะทรวงการตางประเทศมีบนั ทึกถึงจอมพล ป. พิบูลสงครามรายงานเรื่อง การประทวงจากสถานทูตสหรัฐฯ แมตอมา กระทรวงมหาดไทยไดดําเนินการสัง่ การใหควบคุม การฉายภาพยนตจากจีนแดงตามคําประทวงจากสถานทูตสหรัฐฯแลวก็ตาม แตก็ยงั คงมีการ ลักลอบนําเขาและฉายภาพยนตจากจีนในพืน้ ทีน่ อกกรุงเทพฯตอไป จนกระทั่งเดือนสิงหาคม 2500 จอมพล ป. จึงสัง่ การหามฉายภาพยนตจากจีนทัง้ หมด130 ทั้งนี้ สแตนตัน อดีตทูตสหรัฐฯประจําไทยไดบันทึกถึงรอยตอของการเปลี่ยนแปลง นโยบายของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามในชวงดังกลาววา ตัง้ แตไทยเขารวมการประชุมบัน ดุง อินโดนีเซียทําใหไทยมีทา ทีโนมเอียงไปทางจีน ประกอบกับการเดินทางกลับมาจากการ เดินทางตางประเทศของรัฐบาลจอมพล ป. ทําใหเกิดการผอนคลายทางการเมือง การใหเสรีภาพ แกหนังสือพิมพ รวมทั้ง การผอนคลายการคากับจีนสงผลใหสินคาจีนทวมตลาดในไทย ในทัศนะ ของอดีตทูตสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลจอมพล ป.มีความยอหยอนในการตอตานคอมมิวนิสต131 ดังนั้น จะเห็นไดวา ในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. ไดเกิดความพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ ดวย การเปดไมตรีและการคากับจีน รวมทัง้ การยินยอมใหมกี ารนําเขาวัฒนธรรมจากจีนเขามา เผยแพรในไทยดวย ในขณะที่ สหรัฐฯตองการที่จะครอบงําไทยดวยสงครามจิตวิทยาที่มุงสรางภัย คอมมิวนิสตทนี่ าสพึงกลัวใหเกิดกับคนไทย แตปรากฎวา สิ่งที่เกิดขึ้นในไทยทามกลางบรรยากาศ ที่เริ่มเปนประชาธิปไตยกลับกลายเปนไปทาง ตรงขามกับความตองการของสหรัฐฯ นัน่ ก็คือ เกิด กระแสการตอตานสหรัฐฯขึ้นแทน ยิง่ ทําใหสหรัฐฯมีความไมพอใจการดําเนินการทีย่ อหยอนของ รัฐบาลไทยในการดําเนินการตามความตองการของของสหรัฐฯมากยิง่ ขึ้น
129
หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), Bishop to Rak, 29 May 1957. 130 หจช.(3)สร. 0201.23/21 การฉายภาพยนตเกี่ยวกับคอมมิวนิสต หรือนโยบายควบคุมหนังสือพิมพ และภาพยนตจีนแดง(การสนทนาระหวางเอกอัคราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน กับ ผูชวยรัฐมนตรีกระทรวงการ ตางประเทศ สหรัฐอเมริกา)(24 พฤษภาคม – 14 สิงหาคม 2500), รักษ ถึง นายกรัฐมนตรี 3 มิถุนายน 2500. 131 เอ็ดวิน เอฟ สแตนตัน, “ความกดดันของคอมมิวนิสตในประเทศไทย ใน พ.ศ.2492-2496,” รัฏฐาภิรักษ 3, 1 (มกราคม 2504): 14.
บทที่ 8 การหวนคืนของพันธมิตรทามกลางความขัดแยงกับ“กลุมรอยัลลิสต” 8.1 การตอตาน“กลุม รอยัลลิสต” ของรัฐบาลจอมพล ป. แมสภาพการเมืองภายในไทยตน 2499 นั้นมีการแขงขันทางการเมืองระหวางกลุมตํารวจ ของพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับกลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกันอยางเขมขน แตจอมพล ป. พิบูลสงครามยังคงมีความตองการใหมกี ารเปลี่ยนผานอํานาจทางการเมืองอยางสันติดวยการ เลือกตั้งทีจ่ ะมีขึ้นในชวงตนป 2500ในสายตาของสหรัฐฯนัน้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทมีคาดหวังที่ จะเปนนายกรัฐมนตรีคนตอไป ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตองการรักษาอํานาจในการสั่ง การกองทัพตอไป แมวาเสถียรภาพทางการเมืองของไทยจะขึ้นอยูกับสัมพันธภาพของกลุม การเมืองตางๆก็ตามที แตสหรัฐฯยังคงยืนยันวา ไมวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง อยางไร ผูน ําคนใหมของไทยจะตองผูกพันธกับสหรัฐฯตอไป1 ทามกลางการแขงขันทางการเมืองกําลังดําเนินอยูน ั้น รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สนับสนุนใหมกี ารจัดตั้งพรรคการเมืองขึน้ อยางเสรี ทําใหในขณะนั้น ไทยมีพรรคการเมืองจํานวน ถึง 25 พรรคซึ่งสามารถแบงไดเปน 3 กลุม คือ พรรคการเมืองที่สนับสนุนรัฐบาล เชน พรรค เสรีมนังคศิลา มีนโยบายเสรีนิยม ใหความสําคัญกับการสรางสวัสดิการสังคม สวนพรรคฝายคาน ที่เปนอนุรักษนิยม เชน พรรคประชาธิปตย มีนโยบายสนับสนุนประโยชนของชนชัน้ สูง และผูก ตนเองเขากับสถาบันกษัตริย และพรรคคานที่เปนฝายซาย เชน พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรค เศรษฐกร สมาชิกมาจากภาคอีสาน ตอมารวมตัวเปนพรรคแนวรวมสังคมนิยม นโยบายสําคัญ คือ ตองการใหไทยมีนโยบายเปนกลาง2 เมื่อการเลือกตั้งใกลเขามาถึง กลุมการเมืองตางๆในไทยตางมีความเคลื่อนไหวในการ แสวงหาการสนับสนุนเพื่อชัยชนะทางการเมือง ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ แจงใหสถานทูตสหรัฐที่กรุงเทพฯในเดือนพฤษภาคม 2499 ทราบถึงสถานการณการเมืองไทยวา 1
“Staff Study Prepared by an Interdepartment Working Group for the Operations Coordinating Board -Analysis of Internal Security in Thailand (Pursuant to NSC 1290-D) and Recommend Action, 4 January 1956 ,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 850-851. 2 ขอบังคับวาดวยการจัดการ พรรคเสรีมนังคศิลา และกําหนดนโยบายของพรรค พ.ศ.2498 กับ พระราชบัญญัติพรรคการเมืองพ.ศ.2498.(พระนคร: บริษัท ประชาชาง จํากัด, 2499).; David A. Wilson, Politics in Thailand,(Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962), pp.31, 241.
198
สถาบันกษัตริยอาจจะมีสวนเกีย่ วของกับการเลือกตั้งของไทยที่จะมาถึง3 ไมกี่เดือนตอมา หนังสือพิมพไทยขณะนั้นไดรายงานขาวการหาเสียงของพรรคประชาธิปตยวา พรรคฯไดนําพระ ปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยไปใชในการหาเสียงการเลือกตั้งในภาคอีสาน และรายงานตอไป อีกวา พระมหากษัตริยท รงใหการสนับสนุนทางการเมืองแกพรรคประชาธิปตยโดยทรง พระราชทานเงินและเสด็จมาเยี่ยมอีสานเพื่อสนับสนุนพรรคประชาธิปตย จากปญหาดังกลาว จอมพล ป. พิบูลสงครามไดใหสัมภาษณวา รัฐบาลกําลังสืบสวนขอเท็จจริงอยู หากไดความจริง มาจะกราบบังคมทูลใหพระองคทรงทราบ แตเขามั่นใจวาพระองคไมมพี ระราชประสงคที่จะทรง เขาเกี่ยวของทางการเมือง4 อยางไรก็ตาม ในระหวางการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง ในปลายเดือน กรกฎาคม สถานทูตสหรัฐฯรายงานยืนยันสิ่งที่เกิดขึ้นขณะนั้นวา พรรคประชาธิปตยไดเริ่มอางใน ระหวางการหาเสียงในภาคอีสานวา “พรรคประชาธิปตยเปนพรรคของกษัตริย”(King’s Party)5 ควรบันทึกดวยวา เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามไดประกาศเริ่มตนกระบวนการ ประชาธิปไตยในไทยและตองการลาออกจากตําแหนงจอมพลเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง ทําให สยามรัฐซึ่งเปนหนังสือพิมพของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดโจมตีคําประกาศของจอมพล ป.วา เปนสิ่งที่ไมเหมาะสม เนื่องจาก ตําแหนงจอมพลซึง่ เปนตําแหนงพระราชทาน และโจมตีวา จอม พล ป.จะลงสมัครรับเลือกตั้งไมไดรับหากไมไดความยินยอมจากพระมหากษัตริย 6 เมื่อการ พยายามขัดขวางและโจม ตีรัฐบาลจอมพล ป.จาก “กลุม รอยัลลิสต”ไดกลับมาเริ่มตนอีกครั้ง พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเปดฉากตอบโต“กลุมรอยัลลิสต”ในทันที สยามนิกร ฉบับ 4 ธันวาคม 2498 พาดหัวขาวบทสัมภาษณของ พล ต.อ.เผา แกนนําของกลุมตํารวจวา“ไทยไมเจริญเทาสหรัฐฯ เพราะศักดินา” พล ต.อ.เผาไดกลาวเปรียบเทียบการตั้งกรุงเทพฯกับสหรัฐฯในชวงเวลาที่ใกลเคียง กัน แตเขาเห็นวา ไทยมีความเจริญไมมาก ในขณะที่สหรัฐฯมีเจริญมากกวามากมาย เขาเห็นวา ปญหาหลักทีถ่ วงความเจริญ คือ ไทยนั้นมีพวกศักดินาเปนผูปกครอง คนเหลานี้แสวงหาแตมั่งคัง่ และเอาแตประโยชนสวนตน7 สถานทูตสหรัฐฯไดเคยรายงานทาทีของ“กลุมรอยัลลิสต”ที่มีตอ รัฐบาลวา พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี แกนนําคนหนึง่ ใน“กลุมรอยัลลิสต” ผูใหการสนับสนุน พรรคประชาธิปตยไดแสดงความรูสึกที่มตี อรัฐบาลวา เขาไมชอบจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา เขา 3
NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Dulles to Bangkok, 23 May
1956. 4
ศรีกรุง, 21 กรกฏาคม 2499. NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3910, Bangkok to Secretary of State, 30 July 1956. 6 สยามรัฐ, 16 กรกฎาคม 2498. 7 สยามนิกร, 4 ธันวาคม 2498. 5
199
วิจารณวา จอมพล ป.วาเปนคนโงเงาเหมือนกับเหลาสมาชิกสภาผูแทนฯ สวนพล ต.อ.เผานั้นเปน คนกักขฬะและเปนเผด็จการ 8 ดวยเหตุที่ พล ต.อ.เผามักจะเปนหัวหอกในการตอบโต “กลุม รอยัลลิสต”เสมอทําใหพวกเขาเกลียดชังพล ต.อ.เผามาก9 การคุกคืบทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยทําใหรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามจําเปนที่จะตองแสวงหาการสนับสนุนใหกวางขวางดวยการหันไปหาปรีดี พนมยงคเพื่อชัยชนะในการเลือกตั้งทีจ่ ะมาถึง ตอมาเดือนกุมภาพันธ 2499 พล ต.อ.เผา ศรียา นนทสงตัวแทนไปติดตอกับปรีดีที่จีน สถานทูตสหรัฐฯและซีไอเอเห็นวา แกนนําสําคัญในรัฐบาล คือ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผารวมมือกันในการสงผูแทนลับๆหลายชุดไปเยือนจีนเพือ่ ประโยชน ทางการเมือง 2 ประการ คือ ประการแรก รัฐบาลตองการนําปรีดีกลับมาไทยเพื่อตอตาน“กลุม รอยัลลิสต” และประการที่สอง รับบาลตองการปูทางสูการเปดไมตรีกับจีนเพื่อถอยหางออกจาก อิทธิพลของสหรัฐฯ10 อยางไรก็ตาม ตอกระแสขาวการจะกลับมาของปรีดีนั้น ทําใหควง อภัยวงศ แกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต”และหัวหนาพรรคประชาธิปตยใหสัมภาษณวา เขาไมเชื่อวา จอมพล ป.จะสามารถคืนดีกับปรีดีได11 ตอมา พล ต.อ.เผา ศรียานนทและกลุมตํารวจของเขา เชน พ.ต.อ พันศักดิ์ วิเศษภักดี และพ.ต.อ. พุฒ บูรณสมภพ ไดเริ่มตนโครงการนําปรีดี พนมยงคกลับมา ดวยการใชหนังสือพิมพ ของกลุมตํารวจ เชน ไทยเสรี สรางกระแสขาวเพื่อทําใหปรีดีใหกลับมาสูความสนใจของ สาธารณชนอีกครั้งดวยการตีพิมพผลงานของปรีดีเรื่องเคาโครงเศรษฐกิจกลับมาเผยแพรแก สังคมอีกครั้ง12 ควบคูกับการใชเสรีไทย ซึ่งเปนหนังสือพิมพที่มเี ข็มมุงเปนสังคมนิยมมากกวาฉบับ ขางตน ลงขาวใหการสนับสนุนการคาระหวางไทยกับจีนโดยตรง และการเรียกรองใหคนไทย เปดรับฟงวิทยุจากปกกิ่ง สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา หนังสือพิมพ 2 ฉบับที่พล ต.อ.เผาใหการสนับ สนุนมีความโนมเอียงไปทางสังคมนิยม ในรายงานของสถานทูตสหรัฐฯเห็นวา มีความเปนไปไดที่ 8
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Memorandum of Conversation Phya Srivisarn Vacha and Robert N. Magill, The Current Political Situation, 12 October 1955. 9 พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ, ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย,หนา 156-157. 10 “the Embassy in Thailand (Magill) to the Department of State, 8 February 1956,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 854-855.; NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79T00975A002400330001-8, 28 Feb 1956, “Arrested Thai MP reportedly to be charge with treason”. 11 ประชาธิปไตย, 22 เมษายน 2499. 12 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956.; “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 917-918.
200
รัฐบาลจอมพล ป.จะเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศดวยการแสวงหาความมั่นคงใหม โดยเปด ความสัมพันธกับจีน อีกทัง้ จะไดประโยชนจากการนําปรีดีกลับมาเพื่อประโยชนทางการเมือง ภายใน13 ทามกลางการแขงขันทางการเมืองในชวงหัวเลี้ยวหัวตอกอนการเลือกตั้งจะมาถึงนัน้ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยไดเคลื่อนไหวรวมมือกันวิจารณรัฐบาลอยางหนัก โดย พรรคประชาธิปตยไดกลาวปราศัยทีพ่ ิษณุโลกโจมตีรัฐบาลวาเปน“เผด็จการรัฐสภา”ลมเหลวใน การแกไขปญหาคาครองชีพ การคอรรับชั่น14 ตอมา ควง อภัยวงศ หัวหนาพรรคประชาธิปตย ได ประกาศนโยบายการหาเสียงสําคัญ คือ การเรียกรองใหนํารัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือ รัฐธรรมนูญรอยัลลิสตกลับมาใชใหม ซึ่งเขาเห็นวาเปนรัฐธรรมนูญที่สมบูรณที่สุด เขาใหเหตุผล วา “รัฐธรรมนูญ 2492 เปนประชาธิปไตย ไมใชรัฐธรรมนูญเจา ประชาชนเปนผูราง ที่ใหอํานาจ กษัตริยมากเปนเพราะความปรารถนาของประชาชน(สภารางรัฐธรรมนูญ) สวนการมีวุฒิสภา ที่ตั้งโดยกษัตริยนนั้ เปนเพียง ที่ปรึกษาไมมอี ํานาจอยางใด สวนเศรษฐกิจนัน้ ปจจุบนั สูสมัยกอน เปลี่ยนแปลงการปกครองไมได สมัยเจาดีกวา ” ในดานนโยบายตางประเทศของพรรคฯจะยึด ตามกลุมโลกเสรี และการไมยอมรับจีน 15 ตอมา พรรคประชาธิปตยไดเปดเวทีปราศัยที่สนามหลวงโจมตี รัฐบาลและจอมพล ป. พิบูลสงคราม เชน การนําเรือ่ งการเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 2 กับญี่ปุน การทําใหประชาชน เสียชีวิตจากการสรางเมืองใหมทเี่ พชรบูรณ การทําใหประเทศเปนหนีเ้ งินกูสหรัฐฯ 7,000,000,000 บาท การเรียกรองใหรัฐบาลคืนพระทีน่ งั่ อนันตสมาคมใหกับพระมหากษัตริย และกลาวหาวา รัฐบาลทรยศตอประชาธิปไตยบิดเบือนสัจจะที่ใหกบั พระมหากษัตริย 16 ชาวไทย ไดวิจารณนโยบายและขอเรียกรองของพรรคประชาธิปตยวาเปนไปเพือ่ ประโยชนของสถาบัน กษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต” อีกทัง้ สมาชิกพรรคประชาธิปตยคนหนึ่งเปดเผยวา หากพรรคฯ ไดรับชัยชนะการเลือก ตั้ง ควง อภัยวงศมแี ผนที่จะเชิญพระราชวงศและ“กลุมรอยัลลิสต” เชน
13
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, Possible contracts between The Thai Government and Communist China, 8 February 1956. เจาของ หนังสือพิมพและบรรณาธิการเสรีไทย คือ สนิท ธนจันทร เขาเปนขาราชการของบริษัท ไทยโทรทัศน ที่พล ต.อ. เผา ศรียานนท ควบคุมอยู และมีสมุทร สุรักขกะ อดีตกบฏสันติภาพเปนผูชวยบรรณาธิการ 14 ประชาธิปไตย, 15 ธันวาคม 2498. 15 เชา, 2 กุมภาพันธ 2499.; สยามนิกร, 12 สิงหาคม 2499. 16 พิมพไทย, 5 กุมภาพันธ 2499.
201
พระองคเจาวิวัฒนไชย และพระยาศรีวิสารฯ ซึ่งดํารงตําแหนงองคมนตรีอยูในขณะนั้นใหเขามา ดํารงในคณะรัฐมนตรี17 ทาทีของจอมพล ป. พิบูลสงครามตอแนวทางการรณรงคหาเสียงของพรรคประชาธิปตย ที่ใหการสนับสนุนผลประโยชนของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น จอมพล ป. ไดวิจารณ พรรคประชาธิปตยในตนเดือนกรกฎาคม 2499วา ควง อภัยวงศเปนนักฉวยโอกาสทีม่ กั จะเขากับ ฝายตรงขามรัฐบาลเสมอ18 ตอมา ปลายเดือนเดียวกันนัน้ เอง ขาวพาณิชยไดรายงานขาววา ควง และพรรคประชาธิปตยยังคงอางพระนามพระมหากษัตริยไปใชในการหาเสียงเลือกตั้งตอไป19 สยามนิกร รายงานวา สมาชิกพรรคประชาธิปตยคนหนึง่ ไดเคยวิจารณแนวทางการเมืองของ พรรคฯที่รวมมือกับสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”วา “พอไดเปนรัฐบาลก็จะไปเอาพวกเจา ศักดินาเขามาเปนใหญ ดูหมิ่นลูกพรรคตัวเอง ขออะไรก็ไมใหนนั้ ” ทําใหควงตอบขอวิจารณจาก สมาชิกพรรคฯดังกลาววา “เปนความจริง เพราะผูใหญเหลานัน้ มีคุณวุฒิดี เปนที่นา เชื่อถือของ ตางประเทศ” 20 ในสายตาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีมาหลายสมัยและผูนําการตอสูกับ “กลุมรอยัลลิสต”มายาวนาน เขาไดวิเคราะหภาพกลุมการเมืองไทยขณะนัน้ แก บิชอป ทูตสหรัฐฯ วา การเมืองไทยมีกลุมการเมือง 3 กลุม คือ กลุมแรก คือ “กลุมรอยัลลิสต” ตั้งอยูปก ขวาของการ เมืองไทย กลุม ฝายซายตั้งอยูอีกฟากหนึง่ โดยรัฐบาลตั้งอยูตรงกลาง สําหรับจอมพล ป. แลวนัน้ เขาคอนขางกังวลกับบทบาทของ“กลุมรอยัลลิสต” มากกวากลุมฝายซาย เนื่องจากเขาไดเคย ตอสูกับ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ตอตานการปฏิวัติ 2475 มาตลอด แม“กลุมรอยัลลิสต” จะถูกปราบ ปรามลงแลวก็ตามแตเขาไมเคยวางใจ เขายังคงจับตามองความเคลื่อนไหวของกลุมนี้อยางตอ เนื่อง เขาเห็นวา แมวา“กลุม รอยัลลิสต” จะยังไมสามารถครอบงําการเมืองได แต “กลุมรอยัล ลิสต”และพระราชวงศก็สามารถเขาครอบงําระบบราชการได เนื่องจาก พวกเขาอยูในตําแหนงที่ สูงทัง้ ฝายพลเรือนและทหาร ดังนั้น รัฐบาลของเขาไดวางยุทธวิธีในการตอสูทางการเมืองใหม โดยรัฐบาลตองการถอยออกหางจาก“กลุมรอยัลลิสต” 21 กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ วิเคราะหวา สาเหตุที่ จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนทอนุญาตใหปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยได เนื่องจาก รัฐบาล 17
ชาวไทย, 14 กรกฎาคม 2499. สยามนิกร, 9 กรกฏาคม 2499. 19 ขาวพาณิชย, 25 กรกฎาคม 2499. 20 สยามนิกร, 27 กันยายน 2499. 21 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, Prime Minister Pibul’s remarks on the internal Political situation, 1 August 1956. 18
202
ตองการไดรับสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี” ในการเลือกตั้งทีจ่ ะมาถึงในปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 เพื่อครองเสียงขางมากในสภาผูแทนราษฎรใหมีชัยเหนือกวาพรรคประชาธิปตย ที่ไดรับการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทั้งนี้ ในขณะนั้น กระแสความนิยม ของสถาบันกษัตริยในชนบทไดขยายตัวเพิ่มขึ้นมากจากการที่ทรงออกไปเยี่ยมประชาชนตามแผน สงครามจิตวิทยาของสหรัฐฯทําใหอํานาจของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”มีเพิ่มขึ้นจน สามารถทาทายอํานาจของรัฐบาลอีกครั้ง ในรายงานสถานทูตรายงานวา ทัง้ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผามีความไมนิยมสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” สําหรับพล ต.อ.เผานัน้ เขามั่นใจใน การถือไพที่เหนือกวาสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” เนื่องจากเขามี “ปรีดีเปนอาวุธที่ใชใน การตอตานกลุมรอยัลลิสต” 22 รายงานฉบับนี้วิเคราะหวา ปญหาความขัดแยงทางการเมือง ระหวางรัฐบาลจอมพล ป.กับ“กลุมรอยัลลิสต”นั้น มีความเปนไปไดที่จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา อาจมีแผนรวมมือเตรียมการรางรัฐธรรมนูญใหมเพื่อยกเลิกสถาบันกษัตริย ดวยเหตุนี้ ปรีดีจึง ไดรับการรับรองความปลอดภัยจากรัฐบาลในการเดินกลับไทย ความรวมมือระหวางจอมพล ป. และ พล ต.อ.เผาในการตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”นั้น เดลิเมล ฉบับเดือนธันวาคม 2499 ไดพาดหัว ขาวการปราศัยหาเสียงของพล ต.อ.เผาที่เกิดขึ้นครั้งหนึ่งในชวงนัน้ วา“เผาเปดหาเสียง ประกาศ ตัวขับไลพวกขุนนาง”23 นับตั้งแตสหรัฐฯหันมาใหความสําคัญกับสงครามจิตวิทยาในไทยดวยการสนับสนุนให สถาบันกษัตริยมีความสําคัญเพื่อการตอตานคอมมิวนิสต ทําใหสหรัฐฯไมเห็นดวยกับแผนการ สาธารณรัฐของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานนท กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯเห็นวา สถาบันกษัตริยเปนปจจัยทําคัญในการสรางเสถียรภาพทางการเมืองไทยตาม ความตอง การของสหรัฐฯ และหากมีการลมเลิกสถาบันกษัตริยแลว สหรัฐฯเห็นวา การเมืองไทย อาจจะเดินไปสูภาวะยุง เหยิงทําใหคอมมิวนิสตเขาแทรกแซงได24 นอกจากนี้ ความพยายามมี ไมตรีกับจีนและการพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับไทยของรัฐบาลจอมพล ป.ที่สหรัฐฯไมตองการ นี้ไดสรางความไมพอใจใหกบั ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ เปนอยาง ยิ่ง เนื่อง จาก เขาเชื่อวา จีนอยูเบื้องหลังในการสนับสนุนใหปรีดีเดินทางกลับไทย25
22
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Bushner to Young, 19 September 1956.ขอความดังกลาวมีวา “Pridi is my weapon against the Royalist” 23 เดลิเมล, 3 ธันวาคม 2499. 24 Ibid. 25 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 18 October 1956.
203
8.2 พันธมิตรทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป.และกลุมตํารวจกับ “กลุม ปรีดี” เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะนายกรัฐมนตรีและพล ต.อ.เผา ศรียานนทแกนนํา กลุมตํารวจตัดสินใจดึง “กลุมปรีดี”กลับมาเปนพันธมิตรเพื่อตอตาน“กลุมรอยัลลิสต”มีความ คืบหนาจากการที่ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค และชม แสงเงินซึ่งติดตามปรีดี พนมยงคออกไปจีนหลัง “กบฎวังหลวง”ไดเปนตัวแทนปรีดีกลับเขามาไทยเมื่อ 10 เมษายน 2499 โดย พล ต.อ.เผา ศรียา นนทในฐานะอธิบดีกรมตํารวจเปนผูอนุญาตใหพวกเขากลับเขาไทยได 26 ตอมา ร.ต.อ.เฉียบให สัมภาษณวา การกลับมาของเขาตองการนําขาวจากปรีดีมาถึงจอมพล ป. โดยจอมพล ป. ให สัมภาษณในประเด็นดังกลาววา เขาไดรับจดหมายขนาดยาวจากปรีดี และไดมอบจดหมายนี้ ใหแกพล ต.อ.เผาแลวสาระสําคัญของจดหมายจากปรีดี คือ ปรีดีปฏิเสธความเกี่ยวของกับคดี สวรรคต และหวังวารัฐบาลจะนิรโทษกรรมใหกับนักโทษทางการเมืองทัง้ หมดรวมทั้งที่หลบหนี ออกนอกประเทศเพื่อฉลอง 25 พุทธศตวรรษ 27 การกลับมาของร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค ตัวแทนของปรีดี พนมยงคนนั้ สหรัฐฯเห็นวา มีความ เปนไปไดที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับปรีดี พนมยงคอาจจะมีขอตกลงลับระหวางกัน เนื่องจาก หลังจากร.ต.อ.เฉียบกลับไทยไดไมนานหลัง กรมตํารวจก็แจงวาไมมหี ลักฐานเพียงพอ ในการฟองรองเขาในฐานรวมกอการ“กบฎวังหลวง” อีกทั้งจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียา นนทไดเคยสงตัวแทนไปติดตอกับปรีดีที่จีนหลายครั้ง ทัง้ นี้ พล ต.อ.เผาไดเคยกลาวเปนการ สวนตัวกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯครั้งหนึ่งวา รัฐบาลจอมพล ป.จะไมฟองปรีดีในขอหาที่ เกี่ยวของกับการสวรรคต28 การสรางพันธมิตรทางการเมืองระหวางพล ต.อ.เผา ศรียานนทกับ“กลุมปรีดี” ไดปรากฎ ชัดเจนขึ้นในปลายป 2499 โดยพล ต.อ.เผาใหการสนับสนุนทางการเงินแก “กลุมปรีดี” เชน การ ใหความชวยเหลือแกพรรคเสรีประชาธิปไตยของจารุบุตร เรืองสุวรรณ พรรคชาตินิยมของแชม พรหมยงค ตอมา แชมไดใหสัมภาณวา เขาไดเจรจากับพล ต.อ.เผาแลววา เขามีเงื่อนไขกอนที่จะ สมัครเขาเปนสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งเปนพรรครัฐบาลวา เขาตองการนําปรีดี พนมยงคกลับ 26
หจช.กต. 81.16/1 นายเฉียบ ชัยสงค และนายชม แสงเงิน ขอกลับประเทศไทย(2498-2499). เฉียบ ไดทําเรื่องขอกลับเขาไทยตั้งแต 10 พฤศจิกายน 2498 และสามารถกลับถึงเมื่อ 10 เมษายน 2499 27 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956 . 28 “Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson), 2 January 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.911.
204
มาไทย โดยพล ต.อ.เผาไดยอมรับขอเสนอจากแชม สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา สาเหตุที่ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตองการการสนับสนุนทางการเมืองจาก“กลุมปรีดี” เนื่องจาก รัฐบาลตองการมีเสียงสนับสนุนในสภาผูแทนฯมากพอในการมีที่จะ แกไขรัฐธรรมนูญหลังการ เลือกตั้งเพื่อสรางความเปนประชาธิปไตยใหมากยิ่งขึน้ เชน การยกเลิกสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ประเภท 2 และการใหกําหนดมีการเลือกตัง้ นายกรัฐมนตรีโดยตรง เพือ่ เปนการตอตานอํานาจ ของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” และการพยายามสถาปนาสาธารณรัฐ สถานทูตฯเห็น วา ความรวมมือระหวางจอมพล ป.และพล ต.อ.เผาในการนําปรีดีกลับจากจีน มาเพื่อรื้อฟนคดี การสวรรคตเปนเครื่องมือในการลมสถาบันกษัตริย หากแผนการณนสี้ ําเร็จจะเปนการเปลี่ยน แปลงโครงสรางอํานาจทางการเมืองใหมในไทย29 ความขัดแยงทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ“กลุมรอยัลลิสต” มีมาอยางตอเนื่อง อีกทัง้ พวกไดเคยรวมมือกับกลุมอืน่ ๆเพื่อโคนลมรัฐบาลดวย ทําใหจอมพล ป . ไดเคยเผยความในใจกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯหลายครั้งวา เขาไมพอใจ“กลุมรอยัลลิสต” อยางมาก เขาตองการ“แกเผ็ด”(retaliation)ดวยการอนุญาตใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทยเพื่อ ฟนฟูคดีสวรรคตขึ้นใหม สถานทูตฯเห็นวา หากแผนการนี้สําเร็จ จอมพล ป.จะเปนประมุขของรัฐ สวนตําแหนงนายกรัฐมนตรีจะมาจากการเลือกตั้งทางตรง“กลุมปรีดี”และ“กลุมรอยัลลิสต” จะตอ สูกัน โดยมีจอมพล ป. เปนผูร ักษาเสถียรภาพทางการเมือง สถานทูตฯเห็นวา แผนการดัง กลาว จะทํามีผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเมืองของไทย30 แมวา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “กลุมปรีดี” จะรวมมือกันนําปรีดี พนมยงค กลับมาไทยเพือ่ รื้อฟนคดีสวรรคตและแกเผ็ด “กลุมรอยัลลิสต”จะเกิดประโยชนทางการเมืองกับ จอมพล ป. พล ต.อ.เผา ศรียานนทและ“กลุมนายปรีดี”ก็ตาม แตสหรัฐฯเห็นวา การกลับมาไทย ของปรีดีไมเปนประโยชนตอการดําเนินนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯในอนาคตอันใกล จึงแจง ตอพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯวา สหรัฐฯแสดงกังวลตอการกลับมาของปรีดนี ั้นจะสราง อุปสรรคในการใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารของสหรัฐฯแกไทย และขอใหพจน 29
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956.; สารเสรี, 10 ธันวาคม 2499.; “Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) , 2 January 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 911. 30 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956. รายงานฉบับนี้ไดรับการชื่มชมจากดัลเลสวาเปนการวิเคราะหที่ใหภาพ “สมจริง” เปนการ วิเคราะหอยางระมัดระวังที่มีคุณภาพ(NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 15 January 1957).
205
แจงความกังวลนี้แกจอมพล ป.วา “นายกรัฐมนตรีของไทยจะตองไมเปนปรปกษกับปฏิกริยา สหรัฐฯ[ที่สหรัฐฯไมตองการใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทย]ดวยการดําเนินการ[ที่นายกรัฐมนตรี ไทย]จะกูชื่อเสียงใหปรีด”ี 31 ไมกี่วนั หลังจากที่จอมพล ป. ไดรับทราบสัญญาณเตือนจากวอชิงตัน ดี.ซี. เขาไดปฏิเสธกับบิชอป ทูตสหรัฐฯวา ขาวลือที่รัฐบาลจะเชิญปรีดีกลับมาไทยนัน้ ไมมีมูล 32 อยางไรก็ตาม แผนการกลับมาไทยของปรีดี พนมยงคยังคงคืบหนาตอไป ตนป 2500 ใน บันทึกติดตอภายในของกระทรวงการตางประเทศ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. รายงานวา มีความเปนไปไดที่ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจะอนุญาตใหปรีดีเดินทางกลับไทยโดยเขาจะไดรับการปลด ปลอยใหเปนอิสระ รายงานฉบับดังกลาววิเคราะหวา ปญหาการเมืองภายในของไทยมีความ เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย สหรัฐฯเห็นวา ปรีดีเปนตัวแทนของจีน ที่จะสงเสริมกิจกรรมของคอมมิวนิสตในไทยอีก และหากสหรัฐฯยอมใหรัฐบาลจอมพล ป.นําปรีดี กลับมาไดจะเปนแรงกระเพือ่ มทําใหไทยปรับนโยบายตางประเทศหันไปสูจีน ดังนัน้ สหรัฐฯจํา ตองตอบโตการกระทําของรัฐบาลไทย33 ความคืบหนาของการเดินทางกลับมาไทยของปรีดีได กลายเปนประเด็นตอสูทางการเมืองของไทยกอนการเลือกตั้งทีก่ ําลังจะเกิดขึ้นในปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 ทําให“กลุมรอยัลลิสต” มีความตระหนกตกใจมาก และทําใหพรรคประชา ธิปตยใชประเด็นดังกลาวตอตานรัฐบาลอยางหนักเพื่อยับยั้งแผนการดังกลาวของรัฐบาล34 ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ทําใหเกิดการกอ ตัวของพันธมิตรที่นาตืน่ เตนระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ“กลุมปรีดี” เพื่อนําปรีดี พนมยงคกลับมาเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นมาใหม35 ไมแตเพียงการแสวงหาการสนับสนุนจาก “กลุมปรีดี” เทานัน้ แตจอมพล ป.ไดพยายามแสวงหาการสนับสนุนจากนักศึกษาฝายซายใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรดวยการกลาวปราศัยตอนักศึกษาดวยการชูนโยบายรัฐบาลอันโนม เอียงไปในทางสังคมนิยมเมือ่ ตนเดือนกุมภาพันธ 2500กอนการเลือกตั้งจะเกิดขึ้นไมนาน เขา เรียกรองใหนกั ศึกษาเขามามีสวนรวมทางการเมืองในการรักษาระบอบประชาธิปไตย และรักษา 31
“Memorandum From the Deputy Director of the Office of southeast Asia Affaire(Kocher) to the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) ,January 2 ,1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 912. 32 “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, January 8 , 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 911. 33 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Kocher to Robertson, Courses of Action in anticipation of possible return to Thailand of Pridi Phanomyong, 2 January 1957. 34 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 8 January 1957. 35 NA, FO 371/129610, Chancery to Foreign Office, 12 January 1957.
206
หลักวิชาและหลักเหตุผลเปนสําคัญ มิใชการโจมตีรัฐบาลอยางปราศจากหลักวิชาและไรเหตุผล เฉกเชน พรรคประชาธิปตยไดกระทํา เขาไดกลาวสนับสนุนใหเลิกพระราชบัญญัติการกระทําอัน เปนคอมมิวนิสต และกลาวแกนักศึกษาถึงอนาคตทางการเมืองของไทยวา “เราไมควรไปถึงขั้น คอมมิวนิสต หากไปในรูปสังคมนิยมก็พอ”36 ตอมา จอมพล ป.ไดมอบเงินจํานวน 300,000 บาท ผานสังข พัธโนทัย คนสนิทของจอมพล ป.เพื่อสนับสนุนการจัดพิมพวารสารของนักศึกษาที่ชื่อ นิติศาสตรรับศตวรรษใหม 37 ในขณะที่ การตอสูทางการเมืองของไทยนัน้ ไดทวีความเขมขนมากขึน้ ทําใหสหรัฐฯไดเฝา จับการการตอสูอยางใกลชิด ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สัง่ การใหสถานทูต สหรัฐฯในไทย รายงานความเคลื่อนไหวของกลุมการเมืองในไทยใหมากขึ้น โดยเฉพาะ“กลุมปรีด”ี กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมตํารวจของพล ต.อ.เผา ศรียานนทซงึ่ เปนกลุมภาย ในคณะรัฐประหาร กับสถาบันกษัตริยก ับ“กลุมรอยัลลิสต”38 สถานทูตอังกฤษรายงานวา “กลุม รอยัลลิสต” และควง อภัยวงศไมตองการใหจอมพลป.พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาสามารถ บรรลุแผนการนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อฟนฟูคดีสวรรคตอีกครั้ง39 8.3 การเลือกตั้งและการทําลายการเลือกตั้ง 2500 ของ “กลุมรอยัลลิสต” และกลุมทหาร นับตั้งแตรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามสงผูแทนฯเขาประชุมกลุมประเทศไมฝกไฝฝาย ใดที่บันดุง อินโดนีเซีย ตลอดจนการพยายามเปดไมตรีและการเปดการคากับจีน ซึง่ สะทอนให เห็นวารัฐบาลกําลังพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ ผนวกกับการแขงขันทางการเมืองในชวง แหงการหาเสียงเลือกตัง้ ที่ไดเริ่มตนขึ้นสงผลใหเกิดกระแสการเรียกรองใหไทยมีนโยบายที่เปน กลางและกระแสโจมตีสหรัฐฯมากขึน้ ในสังคมไทยทําใหความสัมพันธไทยและสหรัฐฯเริ่มเสื่อม ทรามลง แตรัฐบาลก็ยงั ไมมแี นวทางที่จะปรับปรุงความสัมพันธระหวางกันอยางจริงจัง ในขณะที่ เสียงวิพากษวจิ ารณสหรัฐฯบนหนาหนังสือพิมพไทยไดสรางมติมหาชนที่ไมพอใจสหรัฐฯมากขึ้น 36
จอมพล ป. พิบูลสงคราม, “คําปราศรัย เรื่อง แนวนโยบายของรัฐบาล 4 กุมภาพันธ 2500 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,” ใน สิริ เปรมจิตต, ประวัติศาสตรไทยในระบอบประชาธิปไตย 30 ป,(พระนคร: เกษมบรรณากิจ, 2505), หนา 466-476.; สยามรัฐ, 6 กุมภาพันธ 2500. 37 Kasian Tejapira, Commodifying Marxism: The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958,(Kyoto: Kyoto University Press, 2001), p. 135. 38 NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 box 3908, Dulles to Bangkok, Political reporting from Thailand, 24 January 1957. 39 NA, FO 371/129610, Nai Pridi and his Followers, 27 March 1957.
207
เรื่อยๆ 40 เมื่อการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ 2500ใกลจะมาถึง การรณรงคหาเสียงดวยการโจมตี สหรัฐฯไดทวีความรุนแรงมากขึ้นอีก นิวยอรค ไทมส (New York Times) ไดรายงานขาวสถาน การณการเมืองไทยขณะนั้นวา พรรคการเมืองฝายซายไดรวมกันประนามสหรัฐฯวา สหรัฐฯเปน จักรวรรดินิยมทําใหคนไทยกลายลงเปนทาส 41 อีกทั้ง หนังสือพิมพฝา ยซายวิจารณวา ความ ชวยเหลือของสหรัฐฯเปนการทําใหไทยเปนหุน กระบอก ทําใหคนรวยมัง่ คั่งยิง่ ขึ้นแตทาํ ใหคนจน ยิ่งจนลง และวิจารณตอไปวา ความชวยเหลือของสหรัฐฯเปนไปเพื่อการสูบทรัพยากร การลาง สมอง ดังนัน้ ความชวยเหลือจากสหรัฐฯ คือ การแทรกแซงกิจการภายใน และขัดขวางความ สัมพันธไทยกับจีน 42 หลังการเลือกตั้งในปลายเดือนกุมภาพันธ 2500 สถานทุตอังกฤษประเมินวา ความนิยม ของพล ต.อ.เผา ศรียานนทเริ่มเสื่อมลงอยางมากและยากทีฟ่ น ฟูความนิยมใหกลับมาดังเดิม และ รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายตางประเทศที่มีตอสหรัฐฯและจีน เพื่อใหมีผลตอการเลือกตั้งในไทย 43 อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย ตอจีน ทําใหสหรัฐฯไมพอใจ เพราะเห็นวา ไทยเริ่มหันเหออกจากสหรัฐฯ และสหรัฐฯตอง การ ยับยั้งไทยมิใหเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศมากไปกวานี้ 44 ผลการเลือกตัง้ ในวันที่ 26 กุมภาพันธ 2500 ปรากฎวา พรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งเปนพรรค รัฐบาล ไดรับการเลือกตั้งถึง 82 คนจาก 160 คน สวนพรรคฝายคาน เชน พรรคประชาธิปตย ได เพียง 28 คน พรรคฝายซาย เชน พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรคเศรษฐกร พรรคอิสระ และพรรค ขบวนการไฮดปารค ไดรับเลือกจํานวน 23 คน 45 อยางไรก็ตามหลังการเลือกตั้ง หนังสือพิมพ ขณะนั้นไดรายงานความยุง เหยิงและการทุจริตในการเลือกตั้งของรัฐบาลหลายรูปแบบ เชน การ
40
NA, FO 371/112261, Gage to Selwyn Lloyd, Thailand: Annual Review for 1956, 11 February 1957. 41 New York Times, 29 January 1957. 42 NARA, RG 84 General Record, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 112, USIS Bangkok to USIA Washington, The Press in Thailand, 13 February 1957. 43 NA, FO 371/112261, Gage to Selwyn Lloyd , Thailand: Annual Review for 1956, 11 February 1957. 44 หจช.(3) สร. 0201.45/55 รักษ ปนยารชุน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ ถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝายการเมือง 25 มกราคม 2500, อางถึงใน สรอยมุกข ยิ่งชัยยะกมล, “นโยบาย ตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามตอสาธารณรัฐประชาชนจีน(1948 - 1957),” หนา 72-73. 45 Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 913.
208
ทุจริตการเลือกตั้งดวยใช “ไพไฟ” และใช “พลรม”* ขมขูและเวียนการลงคะแนนเสียงในการ เลือกตั้ง ซึง่ ทําใหรัฐบาลและการเลือกตั้งครั้งนี้สูญเสียความชอบธรรมในสายตาสาธารณชนมาก 46 อยางไรก็ตาม การทุจริตในการเลือกตั้งที่เกิดขึ้นหาไดเกิดจากรัฐบาลแตเพียงฝายเดียว โดย แกนนํานักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและนักหนังสือพิมพขณะนั้นบันทึกวา พรรค ประชาธิปตยไดรวมทุจริตในการเลือกตั้งดวยเชนกันโดยใชยุทธวิธีการ“ยอนรอยเอาแบบเดียวกัน” ดวยการสงสมาชิกพรรคประชาธิปตยสวมรอยติดแหนบตราไกเลียนแบบพรรคเสรีมนังคศิลาทํา การทุจริตดวยในการเลือกตัง้ ใหขยายตัวออกสูวงกวางเพื่อทําใหการเลือกตั้งครั้งนัน้ เปนโมฆะ 47 ในเดือนมีนาคม 2500 หลังการเลือกตั้งสิน้ สุดลง พล ต.อ.เผา ศรียานนทถูกโจมตีจาก “กลุมรอยัลลิสต” จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมปญญาชนฝายซายที่ทาํ งานในหนังสือพิมพได รวมมือกันสรางกระแสโจมตีพล ต.อ.เผาอยางหนัก สถานทูตอังกฤษรายงานความเคลื่อนไหวของ พล ต.อ.เผาวา เขาไดเจรจาออนวอนใหสหภาพแรงงานที่เปนฝายซายสนับสนุนเขาเพื่อทําลาย ความนิยมของจอมพลสฤษดิ48์ ทั้งนี้ จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาเคยใหการสนับ สนุนความเคลือ่ นไหวและสวัสดิการใหกับสหภาพแรงานและกลุมแรงงานตางๆซึง่ เปนแนวรวม หนึง่ ของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย49 การเจรจาดังกลาวของพล ต.อ.เผาอาจทําผานสังข พัธโนทัย คนสนิทของจอมพล ป. กับสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตที่ปฏิบัติงานในสหภาพแรงงานและ กลุมแรงงานตางๆที่ใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก รัฐบาลไดออกพระราชบัญญัติ แรงงาน การสนุนสนุนใหมวี นั แรงงานและการใหสวัสดิการแกคนยากจนและกรรมกรไทย 50
*
“ไพไฟ” หมายถึง การใชบัตรเลือกตั้งปลอม สวน “พลรม” หมายถึง กลุมบุคคลที่เวียนลงคะแนน ใหกับพรรคเสรีมนังคศิลาดวย“ไพไฟ”หรือบัตรเลือกตั้งปลอมหลายครั้ง 46 พิมพไทย, 27 กุมภาพันธ 2500. 47 หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, โครงการประวัติศาสตรบอกเลาถนนราชดําเนิน, สัมภาษณ สุวิทย เผดิมชิต, อดีตประธานนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(2499-2500)และนักขาวของ หนังสือพิมพสยามนิกรในขณะนั้น, 3 มกราคม 2544. 48 NA, FO 371/136020, Whittington to Foreign Office, 20 March 1958.; สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง,(กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ 6 ตุลารําลึก, 2544), หนา 36-41. 49 สังศิต พิริยะรังสรรค, ประวัติการตอสูของกรรมกรไทย,(กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529), หนา 198-223. 50 โปรดดู [Online]หัวขอ ถามตอบพายัพ วนาสุวรรณ หัวขอจอมพล ป.กับนายกทักษิณ 31 สิงหาคม 2548 ใน www.manager.co.th/Politics/PoliticsQAQuestion.asp?QAID=5246(เขาถึง 11 กันยายน 2552) ใหขอมูลวา ผูแทนของพรรคคอมมิวนิสตที่ปฏิบัติงานในสหภาพแรงานที่ประชุมกับพล ต.อ.เผา ศรียานนท คือ ประสิทธิ์ เทียนศิริ สุน กิจจํานง อยางไรก็ตาม สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง, หนา 39. ให
209
ในชวงเวลาเดียวกันนัน้ เอง “กลุมรอยัลลิสต” ก็ไดเริ่มตนแผนการทําลายการเลือกตัง้ โดย ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” และสมาชิกคนสําคัญของพรรคประชาธิปตย ไดยื่นฟองตอศาลเพื่อทําใหการเลือกตั้งครั้งนี้เปนโมฆะ51สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ความเคลื่อนไหว ในการตอตานและการพยายามทําใหการเลือกตั้งครั้งนี้เปนโมฆะนี้เปนความรวมมือกันระหวาง “กลุมรอยัลลิสต” พรรคประชาธิปตยและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต52 ความไมพอใจของประชาชน ไดเพิ่มขึ้น แมรัฐบาลพยายามกอบกูสถานการณความยุง เหยิงดังกลาว ในกลางดึกของคืน 1 มีนาคม 2500 หลักฐานจากเอกสารของไทยหลายชิน้ และเอกสารจากสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. พิบูลสงครามเรียกประชุมนายทหารจาก 3 เหลาทัพและตํารวจ เพือ่ ในการประชุมวางแผนการ ประกาศภาวะฉุกเฉิน พล ต.อ.เผา ศรียานนทเสนอใหมีการเสนอใหจับกลุมที่อยูเบื้องหลังการ ความวุนวายทางการเมือง เชน พระมหากษัตริย รัฐมนตรี และนักการเมืองบางคน เชน ควง อภัย วงศ แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”แตจอมพลสฤษดิ์ ไดคัดคานขอเสนอการจับบุคคลตางๆที่ พล ต.อ.เผา เสนอ53 ตอมาในวันรุงขึน้ (2 มีนาคม )รัฐบาลตัดสินใจประกาศภาวะฉุกเฉินทําให จอมพลสฤษดิ์มีอํานาจสูงสุดในการรักษาความสงบเรียบรอย 54 ทันที ที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามประกาศภาวะฉุกเฉิน กระแสความไมพอใจใน การเลือกตั้งและการประกาศภาวะฉุกเฉินไดปรากฎขึ้นภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยแรกที่สุด โดยนิสิตของคณะรัฐศาสตรเปนแกนนําในการคัดคานผลการเลือกตั้ง พวกเขาประทวงดวยการ
ขอมูลวา สุวิทย เนียมสา แกนนําคนสําคัญในกลุมแรงงานมีความสนิทสนมกับสังข พัธโนทัย คนสนิทจอมพล ป. พิบูลสงครามดวยเชนกัน 51 สยามนิกร, 2 มีนาคม 2500.; สยามนิกร, 4 มีนาคม 2500 หนังสือพิมพไดรายงานการประชุม ระหวางควง อภัยวงศ ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชและพรรคประชาธิปตยมีมติวา ใหฟองการ เลือกตั้งครั้งนี้ใหเปนโมฆะ โดยมีทนายความจาก“กลุมรอยัลลิสต” คือ พระยาอรรถการียนิพนธ พระยาปรีดีนฤ เบศร เสงี่ยม วุฒิวัย และกลุมทนายความ อีกจํานวน 20 คนเขารวมดําเนินการ 52 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 2 March 1957 . 53 หจช.สบ. 9.2.3/14 เลม 5 .; ไทยใหม, 2 มีนาคม 2500.; สยามรัฐ, 2 มีนาคม 2500.; และโปรดดู รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500,(พระนคร: โรง พิมพรวมมิตรไทย, 2506), หนา 1032-1033. พล.จ.วัลลพ โรจนวิสุทธิ์ไดรายงานเรื่องดังกลาวกับสหรัฐฯวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทเคยสั่งใหจับกุมพระมหากษัตริย (NARA , RG 59 General Records of Department of State , Entry Thailand 1955-1959 Box 3909 , Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut , Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957). 54 ราชกิจจานุเบกษา, 74, 22 (ฉบับพิเศษ 2 มีนาคม 2500): 2-3.
210
ลดธงชาติลงครึ่งเสาเพื่อเปนการประทวงรัฐบาล 55 ตอมา เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะ ผูรักษาความสงบเรียบรอยทราบขาวการชุมนุมที่จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย เขาไดเดินทางไปพบ กลุมนิสิต พรอมกลาวใหการสนับสนุนการประทวงวา การเลือกตั้งนี้เปน“การเลือกตั้งสกปรก สกปรกดวยกันทัง้ นัน้ ” เมื่อนิสิตไดตะโกนถามเขาวา เมือ่ การเลือกตั้งสกปรกแลวควรจะทําอยาง ไร เขาตอบวา “ไมใชหนาที่ผมจะจัดการ ถาผมจะจัดการก็ตองรัฐประหารหรือปฏิวัติลา งใหหมด เลย มันจะแยกันใหญ หรือคุณจะใหผมทํา” กลุมนิสิตไดรองตะโกนวา “เอาเลย เอาเลย” และ ถามเขาวา นิสติ จะเดินขบวนประทวงรัฐบาลไดหรือไม เขาตอบกลับวา“นิสิตจะเดินขบวนก็ไดไม ผิด” นิสิตคนหนึ่งเรียกรองใหจอมพลสฤษดิ์คุมกันการเดินขบวน แตจอมพลสฤษดิ์กลาวตอบวา “ตามใจคุณ คุณจะเดินกันไปเดี๋ยวนีก้ ็ได แตผมไมขอเดินกับคุณ แตจะรับรองความปลอดภัยให และถาคุณจะไปทางไหนก็บอกดวย ผมจะใหทหารหลบไปอีกทาง” จากนัน้ ขบวนของนิสิตนับพัน คนไดเดินออกจากจุฬาลงกรณฯ ไปยังสนามหลวง56 ตอมา ในเวลาบายของวันเดียวกันที่บริเวณ สนามหลวง มีนักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยรวมทัง้ ประชาชนไดเขารวมการประทวงกับนิสิต จุฬาลงกรณฯ ขบวนการชุมนุมไดเคลื่อนไปวางพวงหรีดไวอาลัยตอประชาธิปไตยที่อนุสาวรีย ประชาธิปไตย จากนัน้ นิสิตจุฬาลงกรณฯไดนําขบวนนิสติ นักศึกษาและประชาชนเขาพบควง อภัยวงศ แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” และหัวหนาพรรคประชาธิปตยเพื่อรวมการตอสูกับรัฐบาล 57 เมื่อความรวมมือที่ใกลชิดและการเตรียมแผนการอยางเปนระบบของ“กลุมรอยัลลิสต” และ จอมพลสฤษดิ์ ไดเริ่มตนขึ้น ควงไดประกาศวา “จากนี้ไปทุกสิง่ ขึ้นอยูก บั สฤษดิ”์ 58 ทั้งนี้ สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษไดตั้งขอสังเกตที่ตรงกันวา เหตุใด สถานการณการ ประกาศฉุกเฉินทําให จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะผูบ ัญชาการทหารบกและผูรักษาความสงบ 55
หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, โครงการประวัติศาสตรบอกเลาถนนราชดําเนิน, สัมภาษณ สุวิทย เผดิมชิต, อดีตประธานนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(2499-2500)และนักขาวของ หนังสือพิมพสยามนิกรในขณะนั้น, 3 มกราคม 2544. ในขณะนั้นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรอยูในระหวางการ หยุดการบรรยายเพื่อเตรียมการสอบปลายภาค ตอมานักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยไดเขารวมในภายหลัง; ไทรายวัน, 3 มีนาคม 2500.; สวาง ลานเหลือ, 37 ปแหงการปฏิวัติ, (กรุงเทพฯ: นิตยสารพระเพลิง-อาชญา กรรม, 2512), หนา 464.; หาสิบปรวมใจรักรัฐศาสตรเพื่อชาติไทย,(กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานกึ่งศตวรรษ รัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541), หนา 36 . 56 สารเสรี, 3 มีนาคม 2500. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเปนคนที่มีทักษะในการพูดดี มีศิลปการหวาน ลอม (อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิริ นทราวาส 17 มีนาคม 2507,[พระนคร: โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี, 2507],หนา 26). 57
58
พิมพไทย, 2 มีนาคม 2500.
NARA, CIA Records search Tool (CREST), Current Intelligence Bulletin ,CIARDP79T00975A00300100001-6, 3 May 1957,“ The situation in Bangkok”.
211
เรียบรอยมีอํานาจในการปราบปรามการชุมนุมทางการเมือง แตปรากฎวา เขากลับไมดําเนินการ ตามกฎหมายที่ใหเขารักษาความสงบ แตเขากลับใหการสนับสนุนการชุมนุมทางการเมืองทีท่ ําให รัฐบาลสูญเสียความชอบธรรม ในขณะที่ ภาพลักษณของเขามีความโดดเดนมากยิง่ ขึ้นในสายตา ของนิสิตนักศึกษาและประชาชนทันที ตรงขามกับพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดตกเปนเปาของการ โจมตีอยางมากจากหนังสือพิมพและการปราศัย ไฮดปารค59 นอกจากนี้ เหตุการณดงั กลาวทําให กลุมฝายซายเห็นวา จอมพลสฤษดิ์กลายเปนศูนยกลางของสัญลักษณในการตอตานรัฐบาลและ สหรัฐฯ ทําใหจอมพลสฤษดิ์ไดรับการตอบรับจากปญญาชน นักหนังสือพิมพและนิสติ นักศึกษา ฝายซายมาก จากเหตุการณดังกลาวนีท้ ําใหจอมพลสฤษดิ์กลายเปน“อัศวินมาขาวของ ประชาชน”60 ควรบันทึกดวยวา “กลุมรอยัลลิสต”บางคนไดเขาไปมีบทบาทในการสอนในระดับ มหาวิทยาลัยมีผลทําใหพวกเขาสามารถจัดตั้งองคกรเพื่อเปนฐานการเมืองของพวกเขาภายใน มหาวิทยาลัยไดอยางไมยากนัก เชน ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชเปนอาจารยพเิ ศษสอนกฎหมายใน คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในชวง ปลายทศวรรษ 250061 และที่มหาวิทยาธรรมศาสตร ม.ร.ว.เสนียไดเคยพยายามจัดตั้งกลุม นักศึกษานิติศาสตรที่มหี ัวอนุรักษนิยมเปนฐานทางการเมืองใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”62 สําหรับ เบื้องหลังของการประทวงของนิสิตที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนัน้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ม. ร.ว.เสนียและพระยาอรรถการียนิพนธอยูเบื้องหลังการประทวงของนิสิตที่จุฬาลงกรณฯ63 หลัง ความวุนวายภายจากการประทวงของนิสิตนักศึกษาและประชาชนหลังการประกาศภาวะฉุกเฉิน 59
NARA, RG 84 General Records, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, Bishop to Secretary of State, 3 March 1957.; NA, FO 371/129610, Gage to Foreign Office, 3 March 1957.; หนังสือพิมพของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมีสวนสําคัญในการลดความนาเชื่อถือของพล ต.อ.เผา ศรียานนท(NA, FO 371/129610, Adam to Selwyn Lloyd, 6 March 1957).; James Ockey, “Civil Society and Street Politics in Historical Perspective,” in Reforming Thai Politics, ed. Duncan McCargo(Copenhagen: Nodic Institution of Asian Studies: 2002), pp.107-123. 60 สมบูรณ วรพงษ , ยึดรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยา ลมรัฐบาลพิบูล,(พระนคร: เจริญธรรม, 2500), หนา 208-213. ; เฉลิม มลิลา, “รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย,” (วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518), หนา 115-118. 61 ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต,(กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543), หนา 104. 62 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 373-374. 63 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 2 March 1957 .
212
นั้น สถานทูตอังกฤษไดรายงานวา มีความรวมมือกันอยางลับๆระหวาง “กลุมรอยัลลิสต” และ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในการเคลื่อนไหวโคนลมรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม64 สําหรับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชแกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต” ผูมสี ยามรัฐเปนกระบอก เสียง เขาไดเขียนบทความโจมตีและทําลายความชอบธรรมของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ใหเกิดกับประชาชนอยางสม่าํ เสมอนัน้ ตอมา สยามรัฐ ฉบับ 12 มีนาคม 2500 ใน“คอลัมอันธ พาล“ ไดเขาไดเขียนบทวิจารณถึง การที่บชิ อป ทูตสหรัฐฯไดแจงกับจอมพล ป. พิบูลสงครามวา การเลือกตั้งในสหรัฐฯ ทีช่ ิคาโก ในสหรัฐฯ ก็มีการแยงหีบบัตรลงคะแนนเหมือนกับที่เกิดในไทย เขาไดเขียนวา “มันชางสอนกันดีจริงวะ เพราะคบกุยมะริกันยังงีน้ ี่เองถึงไดมาเสียคน มีชื่อเสียงที่ ไมเรียบรอย เอาเมื่อตอนแกจะเขาโลง- บ.ก.หนาใหม”65 ตอมา ตํารวจไดจับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เมื่อ 2 เมษายน 2500 ฐานละเมิดกฎหมายอาญา มาตรา 134 ในขอหาหมิน่ ทูต66 แม บิชอป ทูตสหรัฐฯจะปฏิเสธความเกี่ยวของกับการแจงความจับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช แกนนําของ“กลุมรอยัลลิสต”ก็ตาม แตผูที่แจงความใหตํารวจดําเนินคดีกบั ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ คือ เจาหนาทีส่ ถานทูตสหรัฐฯ 67 การจับกุม ม.ร.ว.ศึกฤทธิ์ ของรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามได สรางความไมพอใจใหกับ“กลุมรอยัลลิสต”มาก ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช แกนนําคนหนึ่งของ “กลุม รอยัลลิสต”และพี่ชายของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ไดวิจารณ รัฐบาลวาทําตัวเหมือนเปนเมืองขึน้ ของสหรัฐฯ และเขาตําหนิบทบาทของบิชอปวาเปนแทรกแซงกิจการภายในของไทย 68 ตอมา จอมพล ป.ได
64
NA, FO 371/129610, Adam to Selwyn Lloyd, 6 March 1957. 65 สยามรัฐ, 6 เมษายน 2500 66 หจช.(2)กต. 14.3/89 กลอง 9 การดําเนินคดีเกี่ยวกับบทความที่ตีพิมพในหนังสือพิมพที่มีการกลาว รายนายบิชอป เอกอัคราชทูตสหรัฐอเมริกาประจําไทย(4 เมษายน–19 มิถุนายน 2500). ตํารวจสงฟองม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมชเมื่อ 5 เมษายน ในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาฐานหมิ่นประมาททูต ตามมาตรา 134 ตามประมวลกฎหมายอาญา เมื่อมีการพิจารณาคดีที่ศาลแขวงพระนครเหนือ ศาลตัดสินใหเขามีความผิด ในขอหาหมิ่นประมาท ลงโทษจําคุก 1 เดือน ปรับ 500 บาท แมตอมา ตํารวจไดอุธรณคดีตอศาล จากนั้นศาล ไดใหยกโทษจําคุกและปรับเปนเงินเขาเพียงอยางเดียว แตเขาไมยอมรับแตตองการสูคดีตอไปในชั้นฎีกา (สยามรัฐ, 24 มิถุนายน 2500.; สยามรัฐ, 1 ธันวาคม 2500).ภายหลังการรัฐประหาร 2500 “คณะปฏิวัติ”สั่ง การใหตํารวจและอัยการยุติการดําเนินคดีกับเขา 67 สยามนิกร, 4 เมษายน 2500.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bangkok to Secretary of State, 3 April 1957.; U. Alexis Johnson, The Right Hand of Power,(New Jersey: Prentice-Hall, 1984), pp. 266-267. 68 สยามนิกร, 4 เมษายน 2500.
213
วิจารณสยามรัฐวาเปนกระบอกเสียงใหกบั พรรคประชาธิปตย และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ มีบทบาทในการ เขียนบทความปลุกเราใหนิสติ นักศึกษาเดินขบวนประทวงและบุกมาที่ทาํ เนียบรัฐบาล69 8.4 การกลับมาของปรีดี พนมยงคกบั ความตื่นตระหนกของ “กลุมรอยัลลิสต”และความ วิตกของสหรัฐฯ หลังจากที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามพยายามมีนโยบายตางประเทศทีถ่ อยหาง ออกจากสหรัฐฯ ดวยการพยายามเปดไมตรีและการคากับจีน ทามกลางกระแสการโจมตีสหรัฐฯ และความวุนวายจากการเลือกตั้งซึ่งมีผลกระทบบตอเสถียรภาพของรัฐบาลอยางมาก ในเดือน มีนาคม 2500 สหรัฐฯไดวางแผนปฏิบัติการของสหรัฐฯตอไทย(Outline Plan of Operations With Respect to Thailand) ที่มกี ารกําหนดเปาหมายเปนพิเศษตอไทยวา ประการแรก ปองกัน มิใหไทยทีพ่ ึ่งพาเศรษฐกิจจากกลุมประเทศคอมมิวนิสต ประการที่สอง ผลักดันใหไทยหันกลับไป ใหความรวมมือกับสหรัฐฯ ประการที่สาม ผลักดันใหไทยมีการพัฒนาเศรษฐกิจ ประการที่สี่ สนับ สนุนกิจกรรมสงครามจิตวิทยา และประการที่หา เปดโอกาสกลุมผูน าํ ใหมของไทยทีป่ ระชาชน นิยมชมชอบ และมีความนิยมสหรัฐฯ เขาสูโครงสรางอํานาจทางการเมืองของไทย 70 การเอาชนะความขัดแยงระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามกับ สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” ของรัฐบาลดวยแผนการนําปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟน คดีสวรรคตขึ้นใหมนนั้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดเคยกลาวเปนการสวนตัวในกับเจาหนาที่สถาน ทูตสหรัฐฯวา สาเหตุที่รัฐบาลยินยอมใหปรีดีเดินทางกลับไทยเพราะปรีดีเปนผูบริสุทธิ์ในคดีการ สวรรคต เขาเสริมวา ที่ผานมาขอกลาวหาวาปรีดีเกี่ยวของกับการสวรรคตนั้นเปนขอกลาวหาทาง การเมืองเพื่อทําลายปรีดีในทางการเมือง ดังนัน้ ตํารวจตองการใหปรีดีเดินทางกลับมาไทยเพื่อ ขึ้นใหการในศาลเกี่ยวกับคดีดังกลาวใหม71 ในที่สุดสัญญาณของการจะเดินทางกลับไทยของปรีดี และการรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นใหมมีความชัดเจนมากยิง่ ขึ้น ในปลายเดือนมีนาคม 2500 ร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคตัวแทนของปรีดี ไดแจงกับพล ต.อ.เผาวา “นายปรีดีตองการรวมมือกับรัฐบาล
69
คนเมือง, 30 เมษายน 2500, อางถึงใน สยามรัฐ, 3 พฤษภาคม 2500. “Outline Plan Prepared by an Interdepartmental Committee for the Operations Coordination Broad, 20 March 1957- Outline Plan of Operations With Respect to Thailand,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 913-915. 71 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Magill to Secretary of State, 7 December 1956 . 70
214
ทํางานใหกับประเทศชาติ” 72 ทาทีของร.ต.อ.เฉียบ สอดคลองกับทาทีของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ที่ประกาศวา ปรีดีสามารถเดินทางกลับมาไทยไดหากปรีดีตองการ สถานทูตอังกฤษเห็นวา คําให สัมภาษณของแกนนํารัฐบาลนี้เปนเสมือนการสงสัญญาณยืนยันการเปนพันธมิตรกับ“กลุมปรีดี” 73
ตอมา เมื่อ พูนสุข พนมยงค ภรรยาของปรีดี พนมยงคไดเดินทางกลับถึงไทยเมื่อ 3 เมษายน 2500 เธอไดใหสัมภาณวาปรีดีอยากกลับไทย สวนความสัมพันธระหวางจอมพล ป. กับ ปรีดี นั้น เธอกลาววา “ความสัมพันธกับจอมพล ป.พิบูลสงครามนัน้ เราไมมีอะไรกัน ทานอยาก ใหทุกคนรวมมือกันชวยเหลือประเทศชาติ ” และปรีดีตองการกลับมาอุปสมบทในโอกาส 25 พุทธศตวรรษ 74ทั้งนี้ พล ต.อ.เผาไดใหสัมภาษณถึงการกลับมาของพูนสุขวา คนไทยทุกคนมีสทิ ธิ กลับประเทศ สวนปรีดีจะมีความผิดหรือไมนั้นขึน้ กับเจาหนาที่ หากไมมีความผิด ปรีดีก็มีสิทธิ เต็มที่เหมือนคนไทยทุกคน75ตอมาสแตนดารด(Standard) หนังสือพิมพในฮองกง ฉบับ 9 เมษายน 2500 รายงาน ขาววาปรีดีและพูนสุขจะกลับไทยมาสูคดีการสวรรคตในประเทศไทย 76 จากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา ศรียานทไดผลักดันใหแผนการนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยใหมีความคืบหนาตอไป ดวยการสนับสนุนให คณะศิลปนไทยที่มี สุวัฒน วรดิลก อดีตนักศึกษาธรรมศาสตร คณะนักกีฬาบาสเก็ตบอลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและคณะกรรมกรไทยในสังกัดของรัฐบาลนําโดยสังข พัธโนทัยไดเดินทางไปยังจีนในเดือน เมษายน 2500 การกระทําดังกลาว ประหนึง่ การสงสัญญาณบางอยางจากรัฐบาลจอมพล ป. ถึง ปรีดี พนมยงค ทัง้ นี้ ในชวงเวลานัน้ จอมพล ป.ไดกลาวอนุญาตใหปรีดซี ึ่งลี้ภัยอยูท ี่จนี เดิน ทาง กลับมาสูคดีทถี่ ูกกลาวหาในกรณีสวรรคตในไทยไดผานหนาหนังสือพิมพดวย 77 ความคืบหนาของการสรางพันธมิตรระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “กลุม ปรีดี” นั้นยิ่งมีความชัดเจนขึน้ เมื่อร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคคนสนิทของปรีดี พนมยงคไดใหตอบ 72
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Secret Thailand, 21 March
1957. 73
NA, FO 371/129610, Nai Pridi and his Followers, 27 March 1957. 74 พิมพไทย, 4 เมษายน 2500. 75 เชา, 5 เมษายน 2500. 76 หจช.(2)กต. 1.1/47 กระทรวงการตางประเทศขอใหกระทรวงมหาดไทยสืบสวนติดตามขาวของ นายปรีดี พนมยงคและนางพูนสุข พนมยงคขอกลับประเทศไทย และเรื่องนายหลุย พนมยงคขอตอหนังสือ เดินทางออกนอกประเทศ(19 เมษายน 2498–18 พฤษภาคม 2500), รักษ ปนยารชุน รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงการตางประเทศ ถึง นายกรัฐมนตรี, 20 เมษายน 2500. 77 ณัฐพล ใจจริง, “ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: ‘การทูตใตดิน’(24982500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม,”: 29-80.
215
คําถามแกหนังสือพิมพเมื่อถูกถามวา “กลุมปรีดี” คิดกอการรัฐประหารอีกไหม เขาตอบวากลาว วา “ใครขืนคิดก็โงเต็มที เพราะเทากับเปดชองใหจักรพรรดินิยมตางชาติฉวยโอกาส รัฐบาลไม ควรเพงเล็งนายปรีดี แตควรจะใหความสนใจกับความเคลื่อนไหวของพวกเจามากกวา ”78 ใน ขณะเดียวกัน หนังสือพิมพหลายฉบับที่สนับสนุนรัฐบาลหลายฉบับไดวิจารณบทบาททางการ ของพรรคประชาธิปตยและสยามรัฐที่โจมตีรัฐบาลตลอดเวลาเปนไปเพื่อเปดโอกาสทางการเมือง ให“กลุมรอยัลลิสต”กลับมาครองเมือง สยามรัฐ ไดตอบโตขอกลาวหาดังกลาวดวยการลงบท สัมภาษณควง อภัยวงศ แกนนํา”กลุมรอยัลลิสต”และหัวหนาพรรคประชาธิปตยไดกลาวตอบโต ขอวิจารณดังกลาววา “ไมมีเจาองคไหนยุง การเมืองเลย กรมหมื่นพิทยลาภฯ(พระองคเจาธานี นิวัตฯ)ก็สนใจแตของโบราณ สวนพระองคเจาภาณุพนั ธฯก็เลนภาพยนต จะเอาเจาองคไหนเปน ผูนํา ”79 จากการรุกคืบทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีและพล ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะแกนนํากลุมตํารวจเพื่อตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ดวยการนําปรีดี พนมยงคกลับมาจากจีนเพื่อรือ้ ฟนคดี สวรรคตขึ้นใหมไดสรางความตระหนกใหกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” ที่เปนพันธมิตร กับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตแกนนําของกลุม ทหารมาก สถานทูตอังกฤษไดรายงานขาวลับที่ไดมา วา สถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กับจอมพลสฤษดิ์ไดรวมมือกันกําหนดแผนโตกลับรัฐบาล ดวยการมีการจัดประชุมลับขึ้นเมื่อ16 เมษายน 2500 ในรายงานฉบับนี้ใหรายชื่อบุคคลที่เปนสวน หนึง่ ของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”เขารวมวางแผนการรัฐประหารครั้งนี้กบั จอมพล สฤษดิ์หลายคน เชน พระองคเจาธานีฯ ประธานองคมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช และม.ร.ว.คึก ฤทธิ์ ปราโมช แกนนํา”กลุมรอยัลลิสต” และไดรายงานตอไปวา ที่ประชุมเห็นชอบในการกอ รัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. แตพวกเขายังไมกําหนดวันเวลาที่แนนอน สําหรับบุคคลที่ เหมาะสมเปนนายกรัฐมนตรีภายหลังการรัฐประหารนัน้ พระองคเจาธานีนิวัตฯเสนอใหพระมหา กษัตริยเปนผูท รงชี้ขาด80 ทาทีของพระมหากษัตริยในชวงเวลาดังกลาวนัน้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา พระองคทรงไมพอพระราชหฤทัยอยางมากทีพ่ ล ต.อ.เผามีนโยบายติดตอกับจีนและ กลุมฝายซาย อีกทั้งมีความพยายามที่จะนําปรีดีกลับมาไทย ทรงเห็นวามีความเปนไปไดที่จอม พล ป.และพล ต.อ.เผามีแผนการที่เปนการคุกคามสถาบันกษัตริย 81 78
สยามนิกร, 18 เมษายน 2500. สยามรัฐ, 21 เมษายน 2500. 80 NA, FO 371/129610, Gage to Foreign Office, 17 April 1957. 81 “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 918. 79
216
ไมแตเพียง สถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต”ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามเทานัน้ แตสหรัฐฯก็ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. เชนกัน ในปลายเดือนเมษายน 2500 สหรัฐฯไดแสดงทาทีตอถึงประเทศพันธมิตรที่หนั ไปคากับจีนวา สหรัฐฯไมเคยมีความตองการผอน คลายการคากับจีน เพราะจะทําใหสินคายุทธปจจัยตางๆไหลเขาสูจนี ดังนัน้ สหรัฐฯยังคงยืนยัน นโยบายการตอตานจีนและการคว่ําบาตรกับจีนตอไป 82 ตนเดือนพฤษภาคม สถานทูตสหรัฐฯใน กรุงเทพฯรายงานวา รัฐบาลจอมพล ป.ไดแสดงทาทีและใชยุทธวิธที างการเมืองที่ใหการสนับ สนุนการปรับปรุงความสัมพันธกับจีนในทางลับ แมจอมพล ป.จะแสดงความไมเกีย่ วของกับการ ดําเนินการดังกลาว แตสถานทูตฯไมเชื่อวา จอมพล ป.จะไมใหความเห็นชอบในการดําเนินการ นโยบายดังกลาว สหรัฐฯเห็นวา การดําเนินการนโยบายเปดไมตรีกับจีนของรัฐบาลจะทําใหความ นากลัวของภัยคอมมิวนิสตจีนที่จะรุกรานไทยลดลงไปมาก สถานการณดังกลาว จะทําใหสหรัฐฯ ประสบกับความยากลําบากที่จะหมุนนโยบายตางประเทศของไทยใหกลับมาใหเหมือนเดิมตามที่ สหรัฐฯตองการ 83 ในอีกฝากหนึ่งของโลก ที่วอชิงตัน ดี.ซี. โฮเวิรด พี. จอหน(Howard P. John) ผูชวยรองรัฐมนตรีตางประเทศไดเรียกพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯเขาพบเพื่อแจงใหไทย ทราบอยางเปนทางการวา สหรัฐฯไมตองการใหไทยเพิม่ ความสัมพันธกับจีนและไมตองการให ปรีดี พนมยงคกลับมาไทย84 กลางเดือนพฤษภาคม 2500 บิชอบ ทูตสหรัฐฯไดบอกเกจ ทูตอังกฤษวา เขาไดรับคําสั่ง จากกระทรวงการตางประเทศทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.ใหเตือนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามวา สหรัฐฯ ไมพอใจการติดตอกับจีนและการนําปรีดี พนมยงคกลับมาไทย เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา หากปรีดี กลับมาจะทําใหเกิดปญหากระทบกับเสถียรภาพทางการเมืองของไทย และหากรัฐบาลของจอม พล ป. ยังดําเนินการในสิง่ ทีส่ หรัฐฯไมเห็นชอบตอไป สหรัฐฯจะมีปฏิกริยาในทางลบตอสิ่งที่จะ เกิดขึ้นตอไป 85
82
“Embargo on trade with the People’s Republic of China, 20 April 1957,” in Document ‘s on American Foreign Relations 1957,(New York: Council on Foreign Relation, 1957), p. 345. 83 NARA, RG 59 Miscellaneous Lot files No.60 D 50 Subject Files Relating to Thailand 1955-1959 box 1, Magill to Young, Some Aspects of the Situation in Thailand, 2 May 1957. 84 “the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.917. 85 NA, FO 371/129611, Gage to Foreign Office, 15 May 1957.ขอความดังกลาวมีวา “United State Government would react unfavorably to any such development”
217
8.5 ความขัดแยงระหวางรัฐบาลกับสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” สถานทูตสหรัฐฯไดวิเคราะหวา สาเหตุสําคัญที่สุด ที่ผลักดันใหรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามติดตอกับจีน คือ ปญหาที่เกิดขึ้นภายในการเมืองไทยและการแสวงหานโยบาย ตางประเทศทีเ่ หมาะสมทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ในชวงเวลานั้น พล ต.อ.เผา ศรียา นนทและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตตางกําลังแขงขันกันเปนทายาททางการเมืองดวยการแสวงหา ความสนับสนุนกลุมฝายซายทัง้ ในกรุงเทพและภาคอีสาน โดยจอมพลสฤษดิ์ไดแสวงหาการ สนับสนุนจากกลุมฝายซายในอีสานกับสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” แตพล ต.อ.เผาขาม ไปติดตอกับปรีดี พนมยงคและจีนเพื่อการตอสูทางการเมือง อีกทัง้ เมือ่ รัฐบาลจอมพล ป.ไดมี พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสฉลอง 25 พุทธศตวรรษเพื่อปลดปลอยแกนนําที่เคยตอตาน รัฐบาลและผูนาํ กลุม ฝายซายทีเ่ คยถูกจับกุมจากความขัดแยงทางการเมืองที่ผา นมานัน้ สถานทูต สหรัฐฯเห็นวา การกระทําของรัฐบาลจอมพล ป.เปนจุดเริ่มตนของสัญญาณความเสือ่ มถอยทาง การเมืองภายในของไทย 86 ในชวงเวลาดังกลาว ความขัดแยงระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับสถาบัน กษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต”ยังคงดําเนินไปอยางเขมขน จอมพล ป.ยอมรับวารัฐบาลของเขา กําลังถูกโจมตีจาก “กลุมรอยัลลิสต”และพระราชวงศทรี่ วมมือกันตอตานงานฉลอง 25 พุทธ ศตวรรษที่รัฐบาลจัดขึ้น ดวยการทีพ่ ระมหากษัตริยทรงถอนตัวออกจากการสนับสนุนงานฉลองฯ โดยใหสาเหตุวา พระองคทรงประชวรอยางฉับพลัน ทัง้ ที่ กอนหนานี้ ทรงไดยืนยันวาจะทรงเสด็จ มารวมงานฯใน 12 พฤษภาคม 250087 สาเหตุดังกลาวทําใหหนังสือพิมพของฝายรัฐบาล เชน ไทยเสรี ฉบับ 17 พฤษภาคม 2500 ที่ไดเขียนวิจารณบทบาททางการเมืองของสถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต”ที่ไมเขารวมงานฉลองดังกลาวโดยอางวาทรงประชวร ในขณะที่ สยามรัฐ กระบอกเสียงของ“กลุมรอยัลลิสต”ไดพยายามชักจูงใหประชาชนไมรว มงานดังกลาวดวย88 ทําให 86
“the Department of State to the Embassy in Thailand(Bishop), 3 May 1957,” “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.917-921. 87 หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 1 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 5/2500(8 พฤษภาคม 2500).; โปรดดู คําแปลเอกสารของสถานทูตอังกฤษชื่อ “the King and I” โดยสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ที่รายงานถึงปญหา ความขัดแยงดังกลาว, อางถึงใน ณัฐพล ใจจริง,“ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: การทูต ใตดิน(พ.ศ.2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม,” รัฐศาสตรสาร 29, ฉบับพิเศษ (2551): 29-80. 88 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา 1016.; “ไทยนอย”และกมล จันทรสร, วอเตอรลูของจอมพลแปลก, (พระนคร: บริษัท แพร พิทยา และ บริษัทโ อเดียนสโตร, 2503), หนา 67-68.
218
ไทยเสรี ถูกรองเรียนจาก“กลุม รอยัลลิสต” วาหมิ่นประมาทสถาบันกษัตริย จากเหตุการณนี้ สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา จอมพล ป. ดูจะขมขื่นมากกับความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ใชราชบัลลังกและกฎหมายที่คุมครองพวกเขาเปนเกราะกําบังในการตอสูทาง การเมืองกับรัฐบาล89 ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2500 สัญญาณของการจับขัว้ ทางการเมืองไทยไดเริ่มแตก ออกเปน 2 ขั้ว คือ ขั้วแรก จอมพล ป.พิบูลสงคราม และพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดรวมมือกับ “กลุมปรีดี”เพือ่ ตอสูกับสถาบันกษัตริย กับ“กลุมรอยัลลิสต”และจอมสฤษดิ์ ธนะรัชต ทูตอังกฤษ รายงานวา พล ต.อ.เผาเปรียบเสมือนกับ“สถาปนิกทางการเมือง”ของรัฐบาล ขณะนัน้ พล ต.อ. เผาไดเริ่มรณรงคตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และ พรรคประชาธิปตย ทูตอังกฤษเห็นวา แผนทางการเมืองของจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาเปนการ ยุทธวิธที างการเมืองที่มีความเสี่ยงมาก 90 กลางเดือนพฤษภาคม ทัง้ จอมพล ป.และพล ต.อ.เผา กําลังเตรียมแผนการใหมในการตอตานกลุมที่เปนปรปกษรัฐบาลตอไป โดยพล ต.อ.เผาไดอยู เบื้องหลังการสงคณะผูแทนไปติดตอปรีดี พนมยงคที่จีนเพื่อเตรียมการใหปรีดีกลับมารื้อฟน คดี สวรรคตขึ้นใหมเพื่อตอบโตความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และจอมพล สฤษดิ์ 91 ตอมา ทูตอังกฤษไดรับรายงานการขาวจากหนังสือพิมพ ออปเซอรฟเวอร(Observer) ซึ่งลงบทสัมภาษณของพูนสุข พนมยงค ภริยาของปรีดี พนมยงคที่กลาวตอบขอซักถามของ นักขาวเกีย่ วกับกรณีสวรรคตวา หากนักขาวตองการรูความจริงเกีย่ วกับการสวรรคต ควรไปถาม พระมหากษัตริยไทยรัชกาลปจจุบัน ทูตอังกฤษบันทึกวา ขณะนัน้ หนังสือพิมพในไทยไดใชเรื่อง สวรรคตโจมตีราชสํานักอยางหนัก เขาเห็นวา เรื่องสวรรคตเปนเรื่องออนไหว และสัง่ หาม เจาหนาที่ของสถานทูตฯรายงานขาวใดๆทีเ่ กี่ยวของกับเรือ่ งการสวรรคตอีก92 ตนเดือนมิถุนายน 2500 แมกระแสขาวการกลับไทยของปรีดี พนมยงคจะเริ่มจางหายไป จากหนาหนังสือพิมพก็ตาม แตความความเคลื่อนไหวของกลุมคนไทยที่เดินทางเขาสูจีนกลับมี ความคึกคักมากขึ้น ขณะนัน้ “กลุมปรีดี” และกลุมฝายซายที่มีความสัมพันธกับปรีดีไดใหการ สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเพิ่มขึ้น ทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทเปดการรุกตอ 89
“the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State , 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp.920-921. 90 NA, FO 371/129611, Gage to Tomlinson, 12 May 1957. 91 NA, FO 371/129611, Gage to Foreign Office, 15 May 1957.; “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State , 24 May 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 920-921. 92 NA, FO 371/129653, Whittington to Foreign Office, 15 May 1957.
219
สถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ที่ใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมากขึ้น สถานทูต อังกฤษไดรายงานวา สถานทูตไดรับรายงานกระแสขาวที่ยงั ไมยืนยันวา พล ต.อ.เผามีแผนการที่ จะทําใหพระมหากษัตริยทรงสละราชยสมบัติดวยคดีสวรรคตและสถาปนาสาธารณรัฐขึ้น ในชวง เวลาดังกลาว สถานทูตอังกฤษรายงานตออีกวา หนังสือพิมพฝา ยซายไดวิจารณสถาบันกษัตริย พระราชวงศ และกองทัพไดอยางอิสระโดยตํารวจมิไดดําเนินการควบคุมๆใด แตพวกเขากลับให การสนับสนุนการวิจารณเหลานัน้ ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ยังคงรักษาความรวมมือกับ “กลุม รอยัลลิสต”อยางใกลชิด สถานทูตอังกฤษเห็นวา จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต”นั้นลวงรู แผนการของจอมพล ป.และพล ต.อ.เผาวาจะดําเนินไปในทางทิศทางใด 93 ในตนเดือนมิถนุ ายนปเดียวกัน ซึง่ เปนเดือนที่พระมหากษัตริยพระองคกอ นไดสวรรคตไป อยางปริศนาเมื่อ 11 ปที่แลว ณ บริเวณทองสนามหลวงไดมีการปราศัยครั้งสําคัญของ “ชางงา แดง”94 ผูพยายามบอกเปนนัยวา “ใคร”อยูเบื้องหลังการสวรรคตดังกลาว ตอมา ในกลางเดือน นั้นเอง นักขาวไดนําการปราศัยของ “ชางงาแดง” มาถามควง อภัยวงศ แกนนํา“กลุมรอยัลลิสต” เขาไดตอบขอซักถามดังกลาววา หนังสือพิมพไมควรเอาเรื่องดังกลาวมาขยายความ95 นอกจากนี้ ในชวงเวลาเดียวกันไดมีการนําบันทึกลับของพระยาศรยุทธเสนียมาเปดเผยในหนาหนังสือพิมพ เพื่อชี้ ใหเห็นวามีการสรางพยานเท็จเพื่อกลาวหาปรีดี พนมยงคและพวกวาเกีย่ วของกับการ สวรรคตของพระมหากษัตริย 96 “กลุมรอยัลลิสต”ไดพยายามกดดันใหรัฐบาลจอมพล ป.พิบูล สงครามจับกุม“ชางงาแดง”ที่ไดปราศัยดังกลาว ตอมา ตํารวจจับและปรับเงิน“ชางงาแดง” ดวย ความผิดเพียงการปรับฐานละเมิดกฎหมายที่ใชเครื่องขยายเสียงโดยมิไดรับการอนุญาตจากทาง ราชการเทานัน้ การดําเนินการของรัฐบาลดังกลาวไดสรางความไมพอให“กลุมรอยัลลิสต”มาก97 93
NA, FO 371/129611, Adam to Tomlinson, 8 June 1957. 94 ซีไอเอบันทึกบทบาทของ “ชางงาแดง” หรือสงา เนื่องนิยมวา เขามีบทบาททางการเมืองตั้งแต 2490 ดวยการแจกใบปลิวการเมืองลึกลับหลายครั้งในนามของ “ชางงาแดง” “ชางงาดํา”และ“Buddha’s disciples” ตอมาเขาถูกตํารวจจับเมื่อ 9 มกราคม 2492 เนื่องจากเปนผูแจกใบปลิวที่วิจารณรัฐบาลหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 และเขามีบทบาทเรียกรองใหจอมพล ป. พิบูลสงครามคืนดีกับปรีดี พนมยงค ทั้งนี้ภูมิหลัง ของเขา เคยเปนเจาหนาที่ในสหอาชีวะกรรมกรแหงประเทศไทยและอดีตขาราชการกรมโฆษณาการ เอกสารชิ้น นี้ใหขอมูลวา สงาเปนสมาชิกคนชั้นกรรมาชีพหรือพรรคคอมมิวนิสตไทย(NARA , RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7251, Summary of Political events in Siam January 1948). ในชวงป 2500 เขาเปน สมาชิกของพรรคศรีอาริยเมตไตรยของร.ต.อ. เฉียบ ชัยสงคคนสนิทของปรีดีดวย 95 ชาวไทย, 16 มิถุนายน 2500. 96 ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 435-436. 97 สยามรัฐ, 30 มิถุนายน 2500
220
ความพยายามกลับมาเปนพันธมิตรทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูล สงครามกับปรีดี พนมยงคและ“กลุมปรีด”ี ที่ไดเริ่มตนไปแลวมีความคืบหนาเปนอันมาก ทําให ปาล พนมยงค ผูเปนบุตรชายคนโตของปรีดี เมื่อเขาไดรับนิรโทษกรรมและไดมาขอลาบวชกับ จอมพล ป. เมือ่ 24 มิถนุ ายน 2500 ที่วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏิ์ โดยจอมพล ป.ผูเปนมิตรเกา ไดฝากขอความผานปาลไปยังบิดาของเขาวา “บอกคุณพอของหลานดวยนะวา ลุงอยากให กลับมาชวยลุงทํางานใหชาติ ลุงคนเดียวสูศักดินาไมไหวแลว” 98 ในชวงเวลาดังกลาว รายงาน ของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานสถานการณทางการเมืองไทยที่ไดรับรายงานมา วา มีขาวที่ลือกันทั่วไปในสังคมวา มี“บุคคลสําคัญอยางมาก” ที่ไมมีใครคาดคิดอยูเบื้องหลังการ สวรรคตไดแพรสะพัดไปทั่วสังคม99 โดยม.ร.ว.เสนีย ปราโมชแกนนําคนหนึง่ ของ“กลุมรอยัลลิสต” ไดบันทึกเหตุการณในชวงเวลาดังกลาววา ควง อภัยวงศเคยบอกกับเขาวา “จอมพล ป. จะหา เรื่องในหลวง”100 ตนเดือนกรกฎาคม 2500 หนังสือพิมพในฮองกง ชื่อ ฮองกงไทเกอรสแตนดารด (Hong Kong Tiger Standard) ไดนาํ คําใหสัมภาษณของปรีดี พนมยงคใน ตากงเผาซึ่งเปนหนังสือพิมพ ในจีนมารายงานตอวา ปรีดกี ลาววา จักรวรรดินิยมอเมริกาขัดขวางการมีความสัมพันธระหวาง ไทยกับจีน และเขายอมรับวา เขาไดติดตอกับบุคคลสําคัญยิ่งในไทยเพือ่ การเดินทางกลับมาตอสู คดีสวรรคตในไทย101 ตอมา สถานทูตอังกฤษรายงานวา พล ต.อ.เผา ศรียานนทยังคงมีการติด 98
ไทรายวัน, 26 มิถุนายน 2500.; ประจวบ อัมพะเศวต, พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา 410.; พูนศุข พนมยงค, ชีวิตของลูกปาล. ใน อนุสรณนายปาล พนม ยงค,(กรุงเทพฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525), หนา 76. 99 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. 100 ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช, ชีวลิขิต, หนา 104. 101 หจช. 80/158 กลอง 10 นายปรีดี พนมยงคใหสัมภาษณหนังสือพิมพเกี่ยวกับประเทศไทย(2500). Hongkong Tiger Standard, 9 June 1957. คณะวัฒนธรรมไทยจํานวน 40 คน ไดเดินทางกลับมาจากจีน คอมมิวนิสตในเดือนกรกฎาคม 2500 โดยมีตํารวจมารับไปสอบสวน พรรคประชาธิปตยไดโจมตีรัฐบาลวา การ ที่รัฐบาลไมจับกุมเปนการแสดงใหเห็นวา ไทยกําลังผอนคลายในการตอตานจีนคอมมิวนิสต จากนั้น สุวัฒน วรดิลก หัวหนาคณะวัฒนธรรมไดแถลงขาววา เขาไดพบกับปรีดี พนมยงค ซึ่งมีความตองการกลับประเทศไทย และเขาไดบันทึกไววา จอมพล ป. พิบูลสงครามมีความสนใจเรื่องที่เขาไดเดินทางไปจีนมาก และจะสงคนมา นัดใหไปนอนคุยกันที่บางแสนสักคืน แตการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเกิดขึ้นกอน(สุวัฒน วร ดิลก, ชีวิตในความทรงจํา,[กรุงเทพฯ: กลุมวรรณกรรมเพื่อชีวิต, 2517],หนา 71.; New York Times, 3 August 1957).
221
ตอกับปรีดีในจีนผาน“กลุมปรีดี”ในไทยตอไป โดยพล ต.อ.เผาหวังที่นาํ การตัดสินคดีสวรรคตที่ผิด พลาดของศาลมาโจมตีราชสํานัก ทําให“กลุมรอยัลลิต” รวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเพื่อ โตตอบกับจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา102 ปลายเดือนกรกฎาคม ดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ มีบนั ทึกถึง สถานทูตสหรัฐฯในกรุงเทพฯที่พรรณนาถึงความตกต่ําทางการเมืองของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ในขณะที่ ดัลเลสเห็นวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดรับความนิยมจากประชาชนมากยิ่งขึ้น นอก จากนี้ จอมพลสฤษดิ์ยังไดรบั การสนับสนุนจาก“กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยเพื่อ ตอตานแผนนําปรีดี พนมยงคกลับมาไทยของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผา 103 โดย สถานทูตอังกฤษในวอชิงตัน ดี.ซี.ไดรายงานกลับไปลอนดอน ยืนยันถึงความเห็นของสหรัฐฯวา พล ต.อ.เผากําลังเสื่อมความนิยมทางการเมืองตรงกันขามกับจอมพลสฤษดิ์ที่มีอนาคตทาง การเมืองมากกวา104 ดังนัน้ จะเห็นไดวา สหรัฐฯมีความไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป. ที่พยายาม ถอยหางออกจากสหรัฐฯ ดวยการเปดไมตรีกับจีน และสหรัฐฯไมเห็นดวยกับแผนการสาธารณรัฐ ของจอมพล ป.และพล ต.อ.เผา เนื่องจาก สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหมีสวน สําคัญในการทําสงครามจิตวิทยาคนไทยใหรวมตอตานคอมมิวนิสต จะเห็นไดวา ความตองการ ของสหรัฐฯมีความสอดคลองกับพันธมิตรใหมที่เกิด ขึ้นระหวางสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัล ลิสต”กับจอมพลสฤษดิ์มากกวาแผนการของจอมพล ป. พล ต.อ.เผาและ“กลุมปรีด”ี อีกทัง้ สหรัฐฯมีความตองการสนับสนุนใหกลุมผูนําใหมทนี่ ิยมสหรัฐฯกาวขึน้ มามีอํานาจในการเมืองไทย เพื่อตอบสนองนโยบายของสหรัฐฯตอไป 105
102
NA, FO 371/129611, Adam to Selwyn Lloyd, 12 July 1957. 103 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Dulles to Bangkok, 25 July 1957. 104
NA, FO 371/129611, Snellgrove to Foreign Office, United States views about The Prospect in Thailand, 31 July 1957. 105 “Outline Plan Prepared by an Interdepartmental Committee for the Operations Coordination Broad-Outline Plan of Operations With Respect to Thailand, 20 March 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, pp. 913-915.
บทที่ 9 “ไตรภาคี” กับภาวะกึ่งอาณานิคมและ การลมสลายของประชาธิปไตยไทย 9.1 ความไมพอใจของวอชิงตัน ดี.ซี.ตอรัฐบาลจอมพล ป. สถานการณทางการเมืองหลังการเลือกตั้งนัน้ สหรัฐฯเห็นวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ไดรับความนิยมทางการเมืองเพิม่ ขึ้นและหนังสือพิมพที่เปนกระบอกเสียงของเขาก็ไดรับความ นิยมสาธารณชนมากเชนกัน ในขณะที่ความนิยมของพล ต.อ.เผา ศรียานนทตกต่ําสุดขีด แมวา พล ต.อ.เผาจะไดรับสนับสนุนจาก จอมพล ป. พิบูลสงครามและสมาชิกสภาผูแทนราษฎร“กลุม ปรีดี”เพื่อตอตานความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”และจอมพลสฤษดิ์ก็ ตาม ในขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ไดสรางกลุม ปรปกษกับรัฐบาลจอมพล ป.ดวยการเปนพันธมิตรกับ สถาบันกษัตริย และ“กลุมรอยัลลิสต” เนือ่ งจาก พวกเขาไมตองการใหปรีดี พนมยงคกลับมาไทย เพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นอีกครั้ง สวนจอมพลสฤษดิ์ตองการมีชัยชนะเหนือคูแขงทางการเมืองของ เขา คือ พล ต.อ.เผา นอกจากนี้ จอมพลสฤษดิ์ยังแสดงตนสนับสนุนนโยบายตางประเทศที่เปน กลางเพื่อใหไดรับสนับสนุนจากกลุม ฝายซายดวย ตอมา เขาไดตั้งพรรคสหภูมิซึ่งเปนการรวมตัว ของสมาชิกสภาผูแทนภาคอีสานจํานวนหนึง่ เพื่อสนับสนุนเขาในสภาผูแทนฯ ในสายตาของ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการะทรวงการตางประเทศ ไดยา้ํ กับทูตสหรัฐฯในไทยวา ความชวยเหลือทาง การทหารที่สหรัฐฯใหกับกองทัพทําใหจอมพลสฤษดิ์มีความเขมแข็งทางการเมืองมากกวากลุม การเมืองอืน่ ๆ1 ในเดือนมิถุนายน 2500 สหรัฐฯเห็นวา ฉากการเปลี่ยนผูนาํ กลุมใหมไทยเริ่มมีความชัด เจนขึ้น นัน่ คือ ภาพของจอมพลสฤษดิท์ ี่ไดรับความนิยมจากประชาชนมากขึ้นทําใหเขากําลังกาว ขึ้นมามีอาํ นาจแทนจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาแลว สหรัฐฯวิเคราะหวา หากมีการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองก็มิทาํ ใหนโยบายตางประเทศของไทยเปลีย่ นแบบถอนรากถอนโคน แตการเปลี่ยน แปลงดังกลาวเปนเพียงการผลัดเปลี่ยนผูน ํารัฐบาลเทานั้น 2 ในชวงเวลาเดียวกัน ซีไอเอ ได ประเมินสถานทางการเมืองของทายาททางการเมืองคนตอไปวา ความนิยมของสาธารณชนที่มี
1
NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1950-1957 box 59, Dulles to Embassy London and Embassy Bangkok, 21 April 1957. 2 “National Intelligence Estimate-Problem Developments in Thailand, 18 June 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 924.
223
ตอพล ต.อ.เผา เขากําลังอยูใ นความเสื่อม ในขณะทีจ่ อมพลสฤษดิ์ไดรับความนิยมอยางมาก 3 นอกจากนี้ ในบันทึกติดตอภายในของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ ทีว่ อชิงตัน ดี.ซี. ได สะทอนใหเห็นถึง ความไมพอใจและไมวางไวใจของสหรัฐฯที่มีตอรัฐบาลจอมพล ป.วา นโยบาย ตางประเทศของรัฐบาลในหลายปที่ผานมาเริ่มมีนโยบายความสัมพันธออนๆกับจีน และรัฐบาล พยายามอยางยิ่งที่จะเปนอิสระออกจากนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯ ดังนั้น สหรัฐฯจําตองที่ จะหยุดยั้งความสัมพันธระหวางไทยกับจีน โดยสหรัฐฯไดสงสัญญาณไมพอใจหลายครั้งผานพจน สารสิน ทูตไทยประจําสหรัฐฯและมอบ หมายใหบิชอป ทูตสหรัฐฯประจําไทยแจงความไมพอใจ ของสหรัฐฯใหกับจอมพล ป.และผูนําคนอื่นๆในรัฐบาลทราบ นอกจากนี้ สหรัฐฯตองการสงคณะ บุคคลที่จะไปเยือนไทยเพื่อแจงความไมพอใจนี้ใหจอมพล ป. ทราบโดยตรงอีกดวย เนื่องจาก สหรัฐฯไมพอใจที่จอมพล ป. เลนบทสองนัยยะดวยการยินยอมใหพล ต.อ.เผาติดตอกับจีนและ อนุญาตใหปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทย ในขณะที่อีกดานหนึ่งจอมพล ป. ก็ประกาศ อยางเปดเผยยืนยันการเปนมิตรชิดใกลกับสหรัฐฯและตอตานการมีความสัมพันธกับจีน4 9.2 จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” กับการแสวงหาความสนับสนุนจากสหรัฐฯ ภาวะลอแหลมตอเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามเริ่มตนขึ้น เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตกับ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรี และ“กลุมรอยัลลิสต” จัดการประชุมลับเมื่อ 16 เมษายน 25005 วันรุงขึน้ จากการประชุมแผนการรัฐประหาร จอมพล สฤษดิ์ไดสง ร.อ.สมหวัง สารสาสน เปนตัวแทนมาหยั่งทาทีสถานทูตสหรัฐฯ∗ เพื่อแสวงหาการ สนับสนุนการรัฐประหาร ซึง่ จะผลักดันใหจอมพลสฤษดิ์เปนนายกรัฐมนตรี แมในทางเปดเผย 3
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP85S00362R000600010001-3, 25 June 1957, “Probable Development’s in Thailand”. 4 “Memorandum From the Assistant Secretary of State for Far Eastern Affaire (Robertson) to the Secretary of State, 3 July 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p. 929. 5 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 19 April 1957. โปรดดูรายงานการรประชุมลับระหวางจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” ใน NA, FO 371/129610 , Gage to Foreign Office, 17 April 1957. ∗
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเคยพยายามผูกไมตรีกับบิชอป ทูตสหรัฐฯ ในตนเดือนตุลาคม 2499 เขา ไดเคยสงจดหมายลับไปหาบิชอป เพื่อขอติดตอกับบิชอปเปนการสวนตัว และตองการเชิญบิชอปมาสนทนากับ กลุมทหารของเขา แตบิชอปไมตอบสนองการติดตอในทางลับของจอมพลสฤษดิ์ เขากลาวตอบปฏิเสธวา สถานทูตสหรัฐฯจะติดตอกับไทยผานกระทรวงการตางประเทศและนายกรัฐมนตรี ตามชองทางที่เปนทางการ
224
จอมพลสฤษดิ์จะปฏิเสธความทะเยอทยานก็ตาม นอกจากนี้ พวกเขามีแผนตั้งพรรคสหภูมิขึ้นเพื่อ สนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ในสภาผูแทนฯ ร.อ.สมหวังแจงกับเจาหนาที่สถานทูตสหรัฐฯวากลุมทหาร ไมพอใจรัฐบาลจอมพล ป.และคาดวารัฐบาลจะตั้งอยูไดไมนาน แมพล ต.อ.เผาจะนําการตอตาน แตเขามั่นใจวาจอมพลสฤษดิ์จะเปนฝายชนะ จากนัน้ รัฐบาลใหมจะถูกตั้งขึ้นโดยนายพลจํานวน ราว 4-5 คน ร.อ.สมหวังแจงวา สาเหตุที่เขาตองมาติดตอสถานทูตสหรัฐฯ เพื่อขอการสนับสนุน จากสหรัฐฯ เนือ่ งจาก“บุคคลสําคัญ”คนหนึง่ ในไทยเห็นวา ทัศนคติของสหรัฐฯมีความสําคัญมาก ในการรับรองการรัฐประหารและรัฐบาลใหม ดังนัน้ รัฐบาลใหมจะตองไดรับการสนับสนับสนุน จากสหรัฐฯ 6 ตอมาในปลายพฤษภาคมนัน้ เอง จอมพลสฤษดิ์ไดสงทูตทหารและทหารคนสนิท มาพบบิชอป ทูตสหรัฐฯอีก เพื่อแจงใหสถานทูตฯทราบวา จอมพลสฤษดิ์ตระหนักดีวา จอมพล ป. และพล ต.อ.เผามีแผนการที่จะกําจัดเขา หากจอมพล ป. และพล ต.อ.เผาการเคลือ่ นไหวตอตาน เขาจะชิงลงมือกอน โดยจอมพลสฤษดิ์จะอางวา การกระทําของเขาเปนการปกปอง“กลุมรอยัลล สิสต” และพวกตอตานคอมมิวนิสตกับพวกนิยมสหรัฐฯใหรอดพนจากแผนการของจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา ไมกวี่ ันหลังจากนัน้ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดรายงานกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี.วา เกิด ความรวมมือในการขับไลรัฐบาลระหวางจอมพลสฤษดิ์ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตย7 สถานทูตอังกฤษเปนเปาหมายในขอการสนับสนุนแผนการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตลําดับตอไป ในเดือนมิถนุ ายน จอมพลสฤษดิ์ไดสง ร.อ.สมหวัง สารสาสนเปนตัว แทนมา พบขอการสนับสนุนการรัฐประหารจากทูตอังกฤษ ร.อ.สมหวังอางวา กลุมทหารของจอมพล สฤษดิ์ไดรับการสนับสนุนจากกองทัพบก เรือ อากาศและพลเรือนขัดขวางแผนการของจอมพล ป. พิบูลสงครามและพล ต.อ.เผาที่ตองการใหพระมหากษัตริยท รงสละราชยและนําไปสูการจัดตั้ง สาธารณรัฐ พวกเขามีแผนการรัฐประหารที่ตองการใหจอมพลสฤษดิ์เปนนายกรัฐมนตรี โดยมี ควง อภัยวงศ แกนนําของ “กลุมรอยัลลิสต”เปนรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดใหม จากนัน้ ร.อ. สมหวังไดเสนอขอแลกเปลี่ยนกับอังกฤษวา หากอังกฤษใหการสนับสนุนการรัฐประหาร รัฐบาล เทานั้น หากกลุมทหารจะติดตอสถานทูตสหรัฐฯใหดําเนินการผานทูตทหารเทานั้น การติดตอครั้งนี้ จอมพล สฤษดิ์สงพ.อ.บุญมาก เทศบุตร เปนผูถือจดหมายไปใหบิชอป(NARA, RG 84 General Records, Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, Sarit to Bishop, 9 October 1956.; Bishop to Sarit , 12 October 1956). 6 NARA, RG 59, Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Memorandum of Conversation Captain S. Sarasas and Amos Yodes, Internal Politics, 15 April 1957. 7 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Tremblay to Secretary of State, 20 May 1957.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3908, Bishop to Secretary of State, 29 May 1957.
225
ชุดใหมของพวกเขาที่ตงั้ ขึ้นจะเปดโอกาสใหอังกฤษกลับเขามีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดวยการยินยอมอังกฤษมีฐานะเปนผูชวยและที่ปรึกษารัฐบาล ในรายงานของสถานทูตอังกฤษ บันทึกวา ตัวแทนของจอมพลสฤษดิ์คนนี้ไดเคยแอบไปพบบิชอป ทูตสหรัฐฯแลว แตไมไดรับการ สนับสนุน เพราะบิชอปใหการสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. แตทูตอังกฤษรายงานวา ความ พยายามในการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์อาจจะไดรับการสนับสนุนจากจัสแมค เพราะจัส แมคสนับสนุนกลุมทหาร8 ตอมา เกิดกระแสขาวในสังคมวา “พรรคประชาธิปตย พวกศักดินา และจักรวรรดินิยม รวมมือกันเพื่อลมลางรัฐบาล” ทําใหควงออกมาปฎิเสธขาวดังกลาว 9 9.3 การเมืองสองหนาของจอมพลสฤษดิ์ การปลุกกระแสการโจมตีความสัมพันธไทย-สหรัฐฯและการเรียกรองใหถอนทหาร จัสแมคออกจากไทยในชวงการหารณรงคหาเสียงเลือกตั้งแตปลายป 2499 จนถึงปลายเดือน กุมภาพันธ 2500 ที่ผานนัน้ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเชื่อวา ทหารกลุมของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตอยูเบือ้ งหลังการใหขาวแกหนังสือพิมพฝา ยซายในการโจมตีความชวยเหลือทางการ ทหารที่สหรัฐฯใหกับไทย10 ตอมา เมื่อจอมพลสฤษดิ์ไดกลายเปนศูนยกลางของการตอตาน รัฐบาลจอมพล ป.และสหรัฐฯทําใหจอมพลสฤษดิ์ไดรับการสนับสนุนจากกลุมฝายซายอยางมาก อยางไรก็ตาม สิ่งที่เขาแสดงออกเพื่อหาการสนับสนุนทางการเมืองกับความตองการที่แทจริงของ เขานัน้ มีความแตกตางกันเห็นไดจาก เมื่อจอมพลสฤษดิ์ไดยื่นขอเรียกรองตอรัฐบาลวา เขามิได เรียกรองใหจัสแมคถอนทหาร เขาเพียงแตเรียกรองใหรัฐบาลลดงบประมาณทางการทหารเทานัน้ แตปรากฎวาการแถลงขาวในที่สาธารณะนั้น จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารของเขากลับให สัมภาษณหนังสือพิมพ วา พวกเขาเรียกรองใหจัสแมคลดจํานวนเจาหนาที่ในประเทศไทยลง สถานทูตสหรัฐฯวิเคราะหวา การกระทําของสฤษดิ์และกลุมทหาร คือ ยุทธวิธที างการเมืองของ 8
NA, FO 371/129611, Adam to Tomlinson, 8 June 1957. จากรายงานใหขอมูลวา บุคคลอื่นๆที่ จะเขารวมเปนคณะรัฐมนตรี เชน ม.จ.วิวัฒนไชย เจาพระยาศรีธรรมธิเบศ กรมหมื่นนราธิปฯจะเปนรัฐมนตรีวา การกระทรวงการตางประเทศ สวนปวย อึ้งภากรณจะเดินทางกลับมาจากอังกฤษเพื่อรับตําแหนงในคณะ รัฐมนตรีชุดใหม 9 สยามนิกร, 9 มิถุนายน 2500. 10 หจช.(3)สร. 0201.13.1/27 กลอง 4 แถลงการณสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องคาใชจายตามความตก ลงวาดวยการชวยเหลือทางการทหาร ระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐฯ(17-26 มิถุนายน 2500), บันทึกของ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ถึงนายกรัฐมนตรี 18 มิถุนายน 2500 และ แถลงการณ เรื่องคาใชจายตามความตกลง คาใชจายตามความตกลงวาดวยการชวยเหลือทางการทหาร ระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหรัฐฯ18 มิถุนายน 2500
226
จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารเพื่อแสวงหาความชืน่ ชอบจากสาธารณชนและการสนับสนุนจาก เหลานักการเมืองฝายซาย ความเคลื่อนไหวของกลุมทหารนี้สรางความไมพอใจใหกับจอมพล ป. เปนอยางมาก 11 การแสดงตนเปนปรปกษกับรัฐบาลและสหรัฐฯของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตทําใหเขาได รับความนิยมชมชอบจากปญญาชนและกลุมฝายซายมาก ตอมา เขาไดการสรางพันธมิตรกับ สมาชิกสภาผูแ ทนฯภาคอีสานฝายซาย ดวยการจัดตั้งพรรคสหภูมิขึ้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2500 เพื่อเปนฐานการเมืองของเขาภายในสภาผูแ ทนฯ เขาไดมอบหมายใหสกุ ิจ นิมานเหมินทร เปน หัวหนาพรรค โดยมีสงวน จันทรสาขา นองชายตางมารดาของเขาเปนเลขาธิการพรรคฯ และมี แกนนําสําคัญของพรรคฯ คือ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรภาคอีสานฝายซาย เชน ญาติ ไหวดี อารีย ตันติเวชกุล และสอิ้ง มารังกูร เปา หมายของพรรคฯ คือ การลมรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ทําลายพล ต.อ.เผา โจมตีซีโต และตอตานสหรัฐฯ 12 แมวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารจะเลนบทตอตานสหรัฐฯอยางตอเนื่อง โดย พวกเขาใหสมั ภาษณตอสาธารณวา พวกเขาสนับสนุนใหจัสแมคถอนทหารออกจากไทย แต ในทางลับแลว ปรากฎวา เขาไดแสดงทาทีอยางลับๆแกพล.ต.อาร. ซี.พารทริค (R.C. Partridge) หัวหนาจัสแมคในไทยวา ขอเรียกรองตางๆของเขาที่มีตอ จัสแมคที่ปรากฎในที่สาธารณะนั้นไม เปนความจริง ดังบันทึกการสนทนาทีพ่ ล.ต.พารทริคที่ไดรายงานการในการสนทนากับจอม พลสฤษดิ์ครั้งสําคัญซึ่งทําใหสหรัฐฯเขาใจทาทีที่แทจริงของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหาร ดัง รายงานในกลางเดือนกรกฎาคม 2500 พล.ต.พารทริคไดถามเขาที่บานสี่เสาเทเวศนวา “กองทัพบกตองการใหที่ปรึกษาทางการทหารของจัสแมคถอนตัวออกจากไทยหรือ ?” จอม พลสฤษดิ์ตอบวา “ ไม” ตอมา นายพลแหงกองทัพสหรัฐฯถามเขาอีกวา “กองทัพตองการใหจัส แมคลดขนาดลงหรือ?” จอมพลสฤษดิ์ ไมตอบคําถามแตกลาววา “ใหมาคุยกันวันหลัง” คําถาม สุดทายทีน่ ายพลคนดังกลาวถาม คือ “ทําไม[จอมพลสฤษดิ์]จึงใหสัมภาษณแกหนังสือพิมพวา ตองการใหจัสแมคถอนหรือลดกําลังทหารของสหรัฐฯในไทยลง” จอมพลสฤษดิ์ตอบวา “ขาวบน หนาหนังสือพิมพเชื่อถือไมได” 13 จากนัน้ บันทึกการสนทนาระหวางนายพลทั้งสองคนเกีย่ วกับทา 11
NARA, RG 469 Entry Thailand subject files 1955-1959 box 59, Theodore A. Tremblay to Secretary of State, 21 June 1957. 12 NARA, RG 59 Entry Thailand 1956-1958 box 3909, Bishop to Secretary of State, 5 August 1957. 13 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Memorandum for Record conversation between Major General R.C. Partridge and Field Marshal Srisdi on 16 July 1951; Bishop to Secretary of State, 31 July 1957.
227
ที่แทจริงของนายพลไทยถูกรายงานกลับไปยังกระทรวงการตางประเทศและกระทรวง กลาโหม สหรัฐฯ ซึง่ สะทอนใหเห็นวา สหรัฐฯรับทราบถึงการเลนบทการเมืองสองหนาของจอมพล สฤษดิ์ เพื่อหวังไดรับการสนับสนุนจากสังคม แตมิไดมีความตองการใหสหรัฐฯถอนทหารจริงตาม ที่เขา กลาวแกสาธารณะ สถานทูตอังกฤษในวอชิงตัน ดี.ซี. รายงานวา ความคิดเห็นของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯตอรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามวา รัฐบาลไทยกําลังคอยๆ ปรับนโยบายตางประเทศ เนื่องจาก ความจําเปนทางการเมืองภายในที่รัฐบาลจะตองรักษาอํานาจและผูนาํ ไทยตีความ สถานการณระหวางประเทศดวยมุมมองที่มีความลังเลสงสัยในความชวยเหลือจากสหรัฐฯตอ ไทยในการตอตานอิทธิพลของจีนสงผลใหรัฐบาลเริ่มเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศ เห็นได จาก การที่รัฐบาลยินยอมใหคณะผูแทนไทยหลายคณะเดินทางไปจีน การเปดสัมพันธทางการคา กับจีน การยินยอมใหภาพยนตจีนเขามาฉายในไทย รวมทั้ง การเปดโอกาสใหพนู สุข พนมยงค ภริยาของปรีดี พนมยงคเดินทางกลับจากจีนมาไทยพรอมการประกาศวาปรีดีจะกลับไทย การ เพิกเฉยตอบทบาทของหนังสือพิมพสว นใหญที่กระตุนใหคนไทยตอตานสหรัฐฯ ซีโตและเรียกรอง ใหไทยมีนโยบายตางประเทศที่เปนกลาง ตลอดจน รัฐบาลนิรโทษกรรมใหกับอดีตนักโทษทาง การเมืองซึ่งสวนใหญเปนพวกฝายซายและคอมมิวนิสตใหออกมาจากที่คุมขัง จากตัวอยางการ ดําเนินการทั้งหลายเหลานี้ของรัฐบาล สถานทูตอังกฤษไดรายงานทาทีของกระทรวงการตาง ประเทศ สหรัฐฯทีว่ อชิงตัน ดี.ซี.วา สหรัฐฯ ไมพอใจการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศของไทย มากและมีความตองการให“นโยบายตางประเทศของไทยกลับไปสูสงิ่ ทีถ่ ูกตองตามที่สหรัฐฯ ตองการ”14 9.4 การรุกทางการเมืองของจอมพลสฤษดิ์ และ“กลุมรอยัลลิสต” กับ การสรางพันธมิตร ระหวางรัฐบาลกับคณะราษฎร ชวงของการตอสูทางการเมืองที่ปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในกลางเดือน สิงหาคม 2500 จอมพล ป. พยายามจํากัดฐานอํานาจทางเศรษฐกิจของพล ต.อ.เผา ศรียานนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ดวยมติคณะรัฐมนตรีที่ใหรฐั มนตรีทุกคนถอนตัวออกจากธุรกิจ การคาของรัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชน แตจอมพลสฤษดิ์ไมยอมปฏิบัติตาม เขาไดนํากลุม ทหาร 14
NA, FO 371/129611, A.J. de La Mare to Tomlinson, 7 July 1957. เดอ ลาแมร เปนทูตอังกฤษ ประจําสหรัฐฯไดเขาพบเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศสหรัฐฯที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตอมา เขาได รายงานทาทีของเจาหนาที่สหรัฐฯกลับไปยังลอนดอน; Snellgrove to Foreign Office,United States views about The Prospect in Thailand, 31 July 1957.
228
ทหารหรือคายสี่เสาเทเวศน ซึ่งเปนกลุมทหารที่สนับสนุนเขาลาออกจากคณะรัฐมนตรี โดยเขาได ลาออกจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมเมื่อ 20 สิงหาคม แมเขาใหสัมภาษณปฏิเสธวา การ ลาออกของเขาไมเกี่ยวของกับการใหรัฐมนตรีถอนตัวออกจากธุรกิจของรัฐและเอกชน แตเกิดจาก ความไมพอใจรัฐบาลเพียงเทานั้น สวนจอมพลผิน ชุณหะวัณและพล ต.อ.เผา ศรียานนท แกนนํา ของคายราชครูยินยอมถอนตัวออกจากธุรกิจ โดย พล ต.อ.เผาไดทําตามความตองการของ จอมพล ป. ดวยการประกาศถอนตัวออกจากการคา เพื่อดํารงตําแหนงอธิบดีตํารวจและรัฐมนตรี มหาดไทยตอไป จากนัน้ กลุม ตํารวจมีการเตรียมความพรอมเพื่อตอบโตความเคลื่อนไหวจาก กลุมทหารของจอมพลสฤษดิ์ทันที 15สถานทูตสหรัฐฯรายงานในปลายเดือนสิงหาคมวาจอมพล ป. พยายามแกปญ หาการคอรรับชั่นที่เกิดขึ้นภายในรัฐบาลซึ่งมีผลกระทบใหเกิดความแตกแยก ภายในรัฐบาล เนื่องจาก เขามีความตองการจํากัดอิทธิพลของจอมพลสฤษดิ์ และควบคุม พล ต.อ.เผาเพื่อสรางความมั่นคงภายในรัฐบาล16 ในขณะเดียวกัน “กลุมรอยัลสิ ต”ไดเปดการรุกทางการเมืองตอรัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงครามดวยการอภิปรายทัว่ ไปในปลายเดือนสิงหาคม 2500 (26-27 สิงหาคม)โดยพรรคฝาย คานที่นาํ โดยพรรคประชาธิปตย เปนผูเสนอญัตติ ขอกลาวหาหนึง่ ตอรัฐบาล คือ รัฐบาลจอมพล ป. ไมสามารถรักษากฎหมายบานเมืองเปนเหตุใหเกิดความไมสงบเรียบรอยและไดมีการหมิ่น 15
หจช.คค. 0201.1.1 กลอง 13 บันทึกการประชุมคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 23/2500(14 สิงหาคม 2500).;สารเสรี, 21 สิงหาคม 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State , 20 August 1957.; John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. มติ คณะรัฐมนตรีเมื่อ 14 สิงหาคม 2500 ใหรัฐมนตรีถอนตัวจากองคกรธุรกิจทั้งรัฐบาลและเอกชน โดยรัฐมนตรีที่ ลาออกมีดังนี้ จอมพลผิน ชุณหะวัณ รัฐมนตรีเกษตร พล ต.ท.ละมาย อุทยานานนท รัฐมนตรีชวยกระทรวง เกษตรและสหกรณ พล ต.อ.เผา ศรียานนท รัฐมนตรีมหาดไทย หลวงบูรณกรรมโกวิท รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงมหาดไทย พล.ท.บัญญัติ รัฐมนตรีวาการะทรวงคมนาคม ลาออกจากตําแหนงประธานกรรมการ กรรมการของ องคการธุรกิจและบริษัทของรัฐกวา 20 แหง(เชา, 31 สิงหาคม 2500) หลังสิ้นสุดระยะเวลาให รัฐมนตรีลาออกจากการคาแลว จอมพล ป. พิบูลสงครามสั่งการใหรัฐมนตรีและการคาแยกกันเด็ดขาด เขาเห็น วา ตําแหนงรัฐมนตรีเปนตัวแทนประชาชน ไมควรยุงเกี่ยวกับการคา และสั่งการใหทุกหนวยงานดําเนินการ แกไขกฎระเบียบที่กําหนดใหรัฐมนตรีตองดํารงตําแหนงประธาน ผูอํานวยการในรัฐวิสาหกิจทั้งหมด เพื่อมิให รัฐมนตรียุงเกี่ยวกับการคาอีก(สยามนิกร, 1 กันยายน 2500) ธุรกิจของคายราชครูในกิจการอุตสาหกรรม การเงินและการคา มีมูลคารวม 266 ลานบาท สวนธุรกิจของคายสี่เสาเทเวศนในอุตสาหกรรม การเงินและ การคา มีมูลคารวม 305.5 ลานบาท (Kevin Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand, [Connecticut: Yale University, 1989], p. 82.; สังศิต พิริยะรังสรรค, ทุนนิยมขุนนาง ไทย พ.ศ. 2475-2503, หนา 245-253, 262-268. 16 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 31 August 1957.
229
พระบรมเดชานุภาพขึน้ ในประเทศ17 การอภิปรายในสภาผูแ ทนฯของพรรคประชาธิปตยมีการ หยิบยกประเด็นการอภิปรายขอกลาวหานี้วา หนังสือพิมพของพล ต.อ.เผา ศรียานนทไดมีการลง ขอความโจมตีสถาบันกษัตริยในหนังสือพิมพวา พระมหากษัตริยท รงใหเงินสนับสนุนพรรค ประชาธิปตยจํานวน 700,000 บาทและรัฐบาลเตรียมการจับกุมพระองค 18 สําหรับการรับมือความเคลื่อนไหวทางการเมืองของสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ ในสายตาของเทพ โชตินุชิต หัวหนาพรรคเศรษฐกรซึ่งเปนพรรคฝายซายนัน้ เขาเห็นวา จอมพล ป.และพล ต.อ.เผา ศรียานนท มีแผนการโตกลับ”ฝายศักดินา” ดวยการสรางพันธมิตรกับกลุมแรงงาน แต “จักวรรดินิยมสหรัฐฯ” คัดคาน ทําใหรัฐบาลอยูในภาวะ“กลืนไมเขา คลายไมออก” จากนัน้ รัฐบาลและกลุมแรงงานจึง ติดตอกับแบบ“ใตดิน” สวน“ฝายศักดินา”นั้น เขาเห็นวา “กลุมรอยัลลิสต”ตองการกลับไปสูการ ปกครองทีพ่ วกเขามีอํานาจแบบเดิม โดยมีพรรคประชาธิปตยใหการสนับสนุน แมพรรค ประชาธิปตยพยายามทําตนเปนฝายคาน แตเขาเห็นวา พรรคประชาธิปตยคานเพือ่ ใครและทําสิ่ง ใด ตอไปประชาชนก็อาจจะรู 19 ตอมา พล ต.อ.เผาไดรวมมือกับสมาชิกสภาผูแทนฯจํานวน 1214 คนที่มาจากพรรคเศรษฐกรและเสรีประชาธิปไตยซึง่ เปน “กลุมปรีดี” เตรียมการจัดตั้งพรรค การเมืองที่เปน“สังคมนิยมปกขวา” ใหสนับสนุนรัฐบาล20 นอกจาก การที่พล ต.อ.เผา ศรียานนทไดประสานงานสรางพันธมิตรกับกลุมแรงงานและ นักเมืองฝายซายแลว ในตนเดือนกันยายน 2500 กอนที่เขาจะถูกรัฐประหาร เขาไดหนั ไปหา คณะราษฎร ดวยการชักชวนสมาชิกคณะราษฎรใหกลับมาสูการเมืองอีกครั้งขึ้น โดยพล ต.อ.เผา ไดเชิญพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรีสนทนากับเขาเปนการสวนตัว โดยหลัง การสนทนาครั้งนี้ พล ร.ต.ถวัลยไดเปดเผยวา การพบดังกลาวเปนเรื่องสวนตัว ไมอาจเปดเผยได แตไมใชเรื่องการคา21 จากนั้น พล ต.อ.เผาไดเชิญใหพล ร.ต.ถวัลย ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษา ของพรรคเสรีมนังคศิลา ความเคลื่อนไหวในการสรางพันธมิตรกับคณะราษฎรของรัฐบาลนี้ จอม พล ป. พิบูลสงคราม ในฐานะนายกรัฐมนตรีไดยืนยันการรื้อฟนความสัมพันธระหวางตัวเขากับ 17
เปดอภิปรายทั่วไปเมื่อ 29 สิงหาคม 2500 รวม 2 วัน 2 คืน โดยพรรคประชาธิปตย และกลุมสหภูมิ ในที่สุดตองปฏิวัติ, (พระนคร: โรงพิมพประยูร, 2501). 18 รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา1023-1035.; “ไทยนอย” และกมล จันทรสร, วอเตอรลูของจอมพลแปลก, หนา 67-68. 19 ชาวไทย, 29 สิงหาคม 2500. 20 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957. 21 ไทรายวัน, 6 กันยายน 2500.
230
คณะราษฎรวา เขาไดเคยพยายามชักชวนพล ร.ต.ถวัลยใหเขารวมรัฐบาลของเขาหลายครั้งแลว22 ตอมา จอมพล ป. และพล ต.อ.เผา มีแผนในการจัดตั้งพรรคการเมืองขนาดเล็กเพือ่ ทอนกําลังทาง การเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต” และพรรคประชาธิปตยในสภาผูแทนฯลง โดยจอมพล ป.ไดให สัมภาษณวา เขาไดชวนพล ร.ต.ถวัลย และดิเรก ชัยนาม สมาชิกคณะราษฎรมาเขารวมพรรค เสรีมนังคศิลาดวย23 นอกจากนี้ พล ต.อ.เผากลาวถึงความพยายามฟน ความสัมพันธกับ คณะราษฎรเพื่อตอตาน “กลุมรอยัลลิสต”วา แมเขาไมใชสมาชิกคณะราษฎรแตเขาสนับสนุน จอมพล ป.ในการตอตานความเคลื่อนไหวทางการเมืองของ“กลุมรอยัลลิสต” มานานหลายป อีก ทั้ง เขามีบทบาทในฐานะผูป ระสานงานการติดตอระหวางจอมพล ป.กับปรีดี พนมยงคดวย 24 การพยายามพิสูจนความบริสุทธิ์ในคดีสวรรคตใหปรีดีของพล ต.อ.เผานัน้ เขาไดเปดเผยกับ สถานทูตสหรัฐฯวา “รัฐบาลไมมีหลักฐานที่เอาผิดกับนายปรีดีในฐานะที่เกีย่ วของกับการสวรรคต ได” เขากลาววา ที่ผา นมาปรีดียังคงติดตอกับพล ร.ต.ถวัลยและดิเรกอยูเสมอ ปรีดีตอ งการใหมี การพิจารณาคดีของเขาขึ้นมาใหมและตองการใหรัฐบาลออกพระราชบัญญัติที่สามารถทําใหคดี นี้มีความคืบหนาขึ้นอีกครั้ง25 ดังนัน้ ประเด็นการรื้อฟน คดีสวรรคตขึ้นมาใหมอกี ครั้งจึงเปนเสมือนจุดแตกหักระหวาง รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามกับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” กับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต หลังจากมีการอางกระแสขาววา รัฐบาลเตรียมการจับกุมพระมหากษัตริยในการเปดอภิปรายไม ไววางใจในการประชุมสภาผูแทนฯตัง้ แตปลายเดือนสิงหาคม ไมกวี่ ันหลังจากนัน้ เมือ่ 6 กันยนยน 2500 หรือเพียงราว 10 วันกอนการรัฐประหารที่จะเกิดขึ้น จอมพล ป.ไดปฏิเสธขาว 22
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3911, Bishop to Secretary of State, 10 September 1957. 23 สยามนิกร, 13 กันยายน 2500 24 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957. 25 NARA, RG 84 Thailand 1956-1958 Entry UD 3267 box 106, R.G. Cleveland to Secretary of State, 4 September 1957. ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา กอนหนาที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตจะทําการรัฐประหาร เมื่อ 16 กันยายน 2500 ไมนาน จอมพลป. พิบูลสงครามไดติดตอกับปรีดี พนมยงคในจีนเพื่อการรื้อฟนคดี สวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหมนั้น มีความคืบหนาเปนรูปธรรมมากขึ้น โดยจอมพล ป.มอบหมายใหสังข พัธโนทัย คนสนิทของเขาเปนผูดําเนินการฝากขอความแกทนายความ 2 คนเปนผูรับผิดชอบคดีสวรรคตใหกับปรีดี เดินทางไปพบปรีดีที่จีนเมื่อเดือนสิงหาคม 2500 หลังคณะทนายความเดินทางกลับมาไทยในตนเดือน กันยายน เพียงสองสัปดาหหลังจากนั้นก็เกิดการรัฐประหาร (สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง, หนา 31-35,78).
231
เตรียมการจับกุมพระมหากษัตริย และในวันเดียวกันนั้นเอง จอมพลสฤษดิ์ไดประกาศลาออกจาก รองหัวหนาพรรคเสรีมนังคศิลาและกลาววา เขา“ไมอดทนกับแผนการตอตานกษัตริย” ของจอม พล ป.และพล ต.อ.เผา26 ตอมา จอมพลสฤษดิ์ ไดปฏิเสธการเขาการประชุมของจอมพล 4 คนที่ รวมตกลงกันเพื่อจับกุมพระมหากษัตริย และเขาไดปฏิเสธความเปนไปไดที่รัฐบาลจะเชิญพล ร.ต.ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ์กลับมารวมงานในรัฐบาลอีก27 สําหรับผลกระทบจากขาวทีถ่ ูกเปดเผย ในสภาผูแทนฯที่วา ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและควง อภัยวงศรับเงิน 700,000บาทจากพระมหา กษัตริยเพื่อใหพรรคประชาธิปตยใชเปนทุนทางการเมืองนัน้ สงผลให ม.ร.ว.เสนีย ตองการลาออก จากรอพรรคฯ แตควงในฐานะหัวหนาพรรคฯไมอนุญาต และในชวงเวลาดังกลาว ชาวไทยอาง รายงานขาวจาก สเตรทไทมส( Strait Times) วา จอมพลสฤษดิ์เตรียมกอการรัฐประหารโดยมี แผนใหควง อภัยวงศเปนนายกรัฐมนตรี28 ตนเดือนกันยายน 2500 เมือ่ การตอสูทางการเมืองระหวางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ”กลุมปรีดี” กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตได เดินทางมาใกลถึงจุดแตกหักนัน้ ดัลเลส รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดแสดง ทาทีที่แตกตางไปจากความตองการของบิชอป ทูตสหรัฐฯในไทย โดยดัลเลสไดมีบันทึกถึงบิชอป ที่ไดเรียกรองใหสหรัฐฯทบทวนความชวยเหลือทุกโครงการที่ใหไทยหากจอมพลสฤษดิ์กาวขึน้ มา เปนนายกรัฐมนตรี แตดัลเลสมิไดตอบสนองขอเรียกรองของบิชอปในประเด็นดังกลาว แตกลับ เนนประเด็นเสถียรภาพทางการเมืองของไทยเปนสําคัญ และดัลเลสแจงตอบิชอปอีกวา บิชอป ยอมรูดีวา สหรัฐฯตองการสนับสนุนและสงเสริมใหเกิดเสถียรภาพทางการเมืองในไทย แตรัฐบาล ของจอมพล ป. ไมสามารถตอบสนองตอความตองการของสหรัฐฯได อีกทัง้ รัฐบาลไทยตองการให ไทยถอนตัวออกจากซีโต และมีแนวโนมความสัมพันธที่พยายามใกลชิดกับจีน นอกจากนี้ ดัลเลส
26
ขาวพาณิชย, 6 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 27 ชาวไทย, 8 กันยายน 2500. ในชวงเวลาดังกลาว มีจอมพลในกองทัพไทยอยู 5 คน คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล ผิน ชุณหะวัณ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรโกศล จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต จากการเปดเผยในการประชุมสภาผูแทนฯในปลายเดือนสิงหาคม 2500 ถึงการประชุม 4 จอมพล เพื่อจับกุมพระมหากษัตริยนั้น การประชุม 4 จอมพลดังกลาวนั้น จอมพล ป. มิไดเขา รวมประชุมดวย(โปรดดู รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก)และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500, หนา1023- 1035). 28 ชาวไทย, 8 กันยายน 2500. ส.ส.ของพรรคสหภูมิ นายทหาร ขาราชการ พอคาบางคนไปพบจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตที่บานสี่เสาเทเวศนในชวงเชาวันนั้น โดยมีกลุมพอคาจีนนั้น นําโดยสหัส มหาคุณ นายก สมาคมพอคาจีน (สยามรัฐ, 8 กันยายน 2500).
232
ไดประเมิณสถานการณการตอสูทางการเมืองในไทยวา จอมพลสฤษดิ์มีความเปนไปไดที่จะไดรับ ชัยชนะในการตอสูครั้งนี้ 29 จากนั้น สหรัฐไดสงเจาหนาที่ระดับสูงของกระทรวงการตางประเทศมาเยือนไทยเพือ่ โนม นาวใหไทยหันกลับสูเสนทางที่สหรัฐฯตองการ ในตนเดือนกันยายน 2500 คริสเตียน เอ. เฮอร เทอร(Christian A. Herter) ปลัดกระทรวงการตางประเทศและเจมส พี. ริชารด เจาหนาที่ระดับ สูงในกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดเดินทางมาแวะสนทนากับพระมหากษัตริย การสนทนา ในวันนัน้ ในรายงานฉบับดังกลาวบันทึกวา นับเปนครัง้ แรกที่พระองคไดทรงถกเถียงปญหาการ เมืองไทยกับเจาหนาที่ระดับสูงที่มาจากสหรัฐฯ จากนัน้ เฮอรเทอรไดเขาสนทนาพบกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยจอมพล ป.ในฐานะนายกรัฐมนตรีไดพยายามอธิบายถึงปญหาของรัฐบาลที่ ไดรับแรงกดดันจากพรรคการเมืองฝายคานและฝายซาย ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงระหวาง ประเทศหลายประการ แตเฮอรเตอร มิไดกลาวตอบสนองสิ่งที่จอมพล ป.พรรณนามา แตเฮอร เทอรกลาวยืนยันแตเพียงนโยบายตางประเทศของสหรัฐฯที่ตอตานจีน 30 ดังนัน้ จะเห็นไดวา ในชวงเวลาดังกลาวนี้ สหรัฐฯเลือกที่จะใหความสําคัญกับสถาบันกษัตริยมากกวาการพยายาม เขาใจปญหาของรัฐบาลโดยสหรัฐฯยังคงยืนยันการตอตานจีนตอไปในขณะที่ไทยพยายามเปด ไมตรีกับจีน กลางเดือนกันยายน 2500 ไมกี่วนั กอนการรัฐประหาร สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารมีความมัน่ ใจในการไดรับความสนับสนุนจากสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต” อีกทั้งการไดรับความสนับสนุนจากจัสแมค ทําใหพวกเขามีความ มั่นใจมากยิง่ ขึน้ สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา ความัน่ ใจดังกลาวของกลุมทหารถือเปนจุดเปลี่ยนที่ สําคัญที่ทาํ ใหพวกเขายกระดับการตอตานรัฐบาลอยางฉับพลันดวยการถอนตัวออกจากพรรค เสรีมนังคศิลาซึ่งถือเปนการแยกตัวออกจากรัฐบาลอยางชัดเจน นอกจากนี้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานตออีกวา ภายใตรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ “กลุมรอยัลลิสต”มี“ความขม 29
NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3913, Dulles to Bangkok, Possibility f Field Mashal Sarit’s Acession to Power, 3 September 1957. 30 “the Embassy in Thailand(Bishop) to the Department of State, 9 September 1957,” in Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22, p.930-931.; NARA , RG 59 General Records , Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Dulles to Bangkok , 25 September 1957. ผูเขียนยังคน ไมพบหลักฐานเกี่ยวกับบันทึกการสนทนาระหวางเฮอรเทอรกับพระองค อยางไรก็ตาม ควรบันทึกดวยวา ตอมา ฮอรเทอรไดเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในรัฐบาลของประธานาธิบดีไอเซนฮาวร ถัดตอจาก ดัลเลสที่ถึงแกอสัญกรรมไป โดยเขาไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศในชวงที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเสด็จเยือนสหรัฐฯในป 2503
233
ขื่น”และเปน“ปรปกษ” กับจอมพล ป. จึงทําใหพวกเขาตัดสินใจใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ แมขณะนั้น พวกเขาจะมองจอมพลสฤษดิ์ดวยสายตาระแวดระวังดวยเชนกัน เนื่องจาก จอม พลสฤษดิ์เปนพันธมิตรทางการเมืองกับพวกฝายซายและพวกนิยมคอมมิวนิสต31 ตอมา 10 กันยายน เพียงหกวันกอนการรัฐประหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตไดเปดการ รุกทางการเมืองดวยการดึงสมาชิกสภาผูแ ทนฯฝายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใหถอนตัว จากการสนับสนุนรัฐบาลเพือ่ ทําใหรัฐบาลขาดเสถียรภาพสงผลใหจอมพล ป.เรียกประชุม สมาชิกสภาผูแ ทนฯประเภท 1 และ 2 ของพรรคเสรีมนังคศิลาทั้งหมดเพื่อยับยัง้ การลาออกไป สังกัดพรรคสหภูมิของจอมพลสฤษดิ์ โดยจอมพล ป.ใหสัมภาษณกับสยามนิกรวา “ขอใหเลน การเมืองกันอยางเปดเผย อยาใชกาํ ลังทําลายกัน”32 ในวันเดียวกันนัน้ สถานทูตสหรัฐฯได รายงานวา จอมพลสฤษดิ์ไดเรียกประชุมกลุมทหารของเขาและประกาศ 2 ยุทธวิธีในการโคนลม รัฐบาลจอมพล ป.วา วิธีแรก คือ กลุม ทหารของเขาทัง้ หมดลา ออกจากสมาชิกสภาผูแทนฯ ประเภท 2 และวิธที ี่สองนัน้ หากมีความจําเปนเขาจะใชกําลังกําจัดพล ต.อ.เผา33 ทันทีที่ จอม พลสฤษดิ์ประกาศทาทีแข็งกราวตอรัฐบาล ในชวงเวลานัน้ ควง อภัยวงศ แกนนํา“กลุมรอยัล ลิสต” และหัวหนาพรรคประชาธิปตยไดการประกาศสนับสนุนการลาออกจากสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร ประเภท 2 ของกลุมทหารวา การกระทําดังกลาวเปนสิ่งที่ถกู ตองซึ่งจะทําใหรฐั บาลตอง เผชิญกับปญหาเสถียรภาพทางการเมืองอยางรุนแรง โดยหนังสือพิมพขณะนัน้ ไดรายงานวา พรรคประชาธิปต ยไดเรียกประชุมลับเตรียมความพรอมของสมาชิกสภาผูแทนฯจํานวน 20 คน โดยไมมีการแถลงขาวเกีย่ วกับการประชุมลับครั้งนี้ 34 สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตมคี วามมัน่ ใจในความเปนตอใน การตอสูกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ดวยการกระดับการกดดันขึ้นไปสูการ“ขมขู”ให นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี และพล ต.อ.เผา ศรียานนทลาออกภายใน 13 กันยายน 2500 แต จอมพล ป. ปฏิเสธคําขูของจอมพลสฤษดิ์ แตเขายินยอมแตเพียงการปรับคณะรัฐมนตรีเทานัน้ จากนั้น จอมพลสฤษดิ์ ไดกลาววิจารณการบริหารงานของรัฐบาล โดยกลุมทหารไดนําประเด็น การหมิน่ พระบรมเดชานุภาพทีพ่ รรคประชาธิปตยซงึ่ เปนพันธมิตรของพวกเขาไดเคยเปดประเด็น อภิปรายในสภาผูแทนฯแลวนัน้ ใหกลับมาเปนประเด็นสาธารณะอีกครั้ง รวมทั้งนําระเด็นการ 31
NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 11 September 1957. 32 สยามนิกร, 12 กันยายน 2500. 33 สยามนิกร, 12 กันยายน 2500.; ขาวพาณิชย, 12 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 34 สยามรัฐ, 12 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 13 กันยายน 2500.; สยามนิกร, 14 กันยายน 2500.
234
อภิปรายอื่นๆที่พรรคประชาธิปตยวิจารณในสภาผูแทนฯเพื่อใชทําลายความชอบธรรมของรัฐบาล 35 สถานทูตสหรัฐฯไดรับรายงานขาวจากแหลง ขาวในกองทัพไทยวา จอมพลสฤษดิย์ ังไม ตัดสินใจรัฐประหาร แตหนวยงานตางๆภายใตการสั่งการของกลุมทหารมีการเตรียมพรอมแลว 36 ตอนบายของวันเดียวกันนั้น กลุมตํารวจของพล ต.อ.เผาไดมีการเตรียมพรอมรับมือกับความ เคลื่อนไหวของกลุมทหารดวยการสงตํารวจนอกเครื่องแบบเฝาสังเกตการณทหี่ นากองพลที่ 1 รวมทัง้ การเตรียมเรือและเฮลิคอปเตอรของกลุมตํารวจเพื่อปฏิบัติการตอตานกลุมทหาร ในขณะ ที่ กลุม ทหารของจอมพลสฤษดิ์มีความเคลื่อนไหวอยางคึกคัก พวกเขาไดประชุมกันที่หอประชุม กองทัพภาคที่ 1 ในเวลาค่ําของวันเดียวกันนั้นเอง การประชุมดังกลาว นําโดยจอมพลประภาส จารุเสถียร พวกทหารในคายสี่เสาเทเวศนของจอมพลสฤษดิ์ไดเรียกรองใหพล ต.อ.เผาลาออก จากทุกตําแหนง แตพล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ สมาชิกของคายราชครู ผูเปนบุตรชายของจอมพล ผิน ชุณหะวัณและนองภรรยาของพล ต.อ.เผา ศรียานนท ไดโตแยงในที่ประชุมวา การยื่นคําขาด ตอรัฐบาล เชนนี้ คือ การกบฎ37 อยางไรก็ตาม คําคัดคานจากพล.อ.ชาติชายไมสามารถทําให ความตองการของคายสี่เสาเทเวศนยุติลงได ตอมา จอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารมิไดเรียกพล อ. ชาติชายใหรับรูปฏิบัติการของพวกเขาอีกตอไป ทั้งนี้ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดรายงานถึงสถานการณ ชวงหัวเลีย้ วหัวตอกอนการลมสลายของรัฐบาลจอมพล ป.วา จอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” มีแผนที่เตรียมการมาเปนอยางดี 38 35
สารเสรี, 14 กันยายน 2500.; ไทรายวัน, 14 กันยายน 2500. 36 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 11 September 1957. 37 สารเสรี, 14 กันยายน 2500.; ไทรายวัน, 14 กันยายน 2500.; ผิน ชุนหะวัณ, ชีวิตกับเหตุการณ, (พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513), หนา 109. ทั้งนี้ ภายในคายสี่เสาเทเวศนนั้น มีนายทหารบางคนยังคง ภักดีกับคายราชครูอยู แตไมกลาเปดเผยตัว นายทหารคนนี้คาดวาเปนพล อ.กฤษณ สีวะรา เขาไดสงจดหมาย ลับถึงพล ต.อ.เผา ศรียานนทวา “ลับที่สุด กราบพี่เผาที่เคารพ กระผมกราบขอรอง 2 ขอ 1 อยาลาออกจาก อธิบดีตํารวจเปนอันขาด 2 อยาลาออกจากเลขาธิการคณะรัฐประหาร และพรรคเสรีมนังคศิลา พี่เผากรุณาเชื่อ ผม พวกเด็กๆที่เปนสมาชิกรป.[คณะรัฐประหาร]ยังเคารพรักพี่เผาอยู กระผมสนับสนุนพี่เผาแนนอน พ.อ.เกรียง ไกร[อัตตะนันทน]ที่มาเปนผบ.ร.1 รอ.คนใหมก็เปนอันหนึ่งอันเดียวกับผม และเปนเด็กของคุณปาผิน กระผม เปนคนเสนอเขามาเอง ฉะนั้น กระผมควบคุมได กรุณาอดทน การเมืองไทยเปนอยางนี้เอง และกระผมกราบ ขอรองพี่เผาอยาดื่มมากนัก เพราะสุขภาพจะทรุดโทรมและขาดความรอบครอบ ที่กราบมานี้ดวยความเคารพ และหวังดีจริงๆเคารพ ก.” (เสถียร จันทิมาธร, ชาติชาย ชุณหะวัณ ทหาร‘นัก’ประชาธิปไตย, [กรุงเทพฯ: มติชน, 2541], หนา 143-144). 38 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 13 September 1957.
235
ไมแตเพียง คายสี่เสาเทเวศนของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตจะเคลื่อนไหวกดดันรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงครามเทานั้น เมื่อ13 กันยายน 2500 “กลุมรอยัลลิสต” ไดมีความเคลื่อนไหวที่ บริเวณสนามหลวงเพื่อสรางกระแสความเกลียดชังใหเกิดกับรัฐบาลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา คูขนานไปดวย โดยกิตติศักดิ์ ศรีอําไพ นักไฮดปารคที่พรรคประชาธิปตยใหการสนับสนุนการ ปราศัยขับไลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา ไมแตเพียงเทานั้น กลุมฝายซายไดกลายเปนแนวรวม มุมกลับใหกับจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัลลิสต” ดวย ชวน รัตนวราหะ นักไฮดปารคจากพรรค แนวรวมสังคมนิยมไดปราศัยสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ และวิจารณรัฐบาลทําใหประชาชนที่มารับ ฟงการปราศัยที่สนามหลวงไดเคลื่อนตัวไปลอมทําเนียบรัฐบาล ทําใหเกิดการปะทะกันระหวาง ตํารวจกับฝูงชน เมื่อพวกเขาเขาไปในทําเนียบฯได มีการรองตะโกนวา “ประชาชนชนะแลว” “ทําเนียบของเรา” “นี่คือบานของเรา” “เอาเผาไปแขวนคอ” “จอมพล ป. ออกไป สฤษดิจ์ งมาหา ประชาชน” จากนัน้ พวกเขาไดเดินทางไปพบจอมพลสฤษดิ์ ที่บานสี่เสาเทเวศน 39 สถานทูต สหรัฐฯไดประเมินสถานการณทางการเมืองวา จอมพลสฤษดิ์ไดรับความนิยมทางการเมืองมาก กวาพล ต.อ.เผา เนื่องจากเขาไดมีการดําเนินการสรางพันธมิตรทางการเมืองกับ “กลุมรอยัล ลิสต”และพวกฝายซายมากอนหนานี้แลว 40 9.5 จากการเมืองสามเสา สูการเมืองสองขั้ว: รัฐบาลจอมพล ป. กลุมตํารวจและ“กลุม ปรีดี” กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต” และกลุม ทหาร นับตั้งแตราวกลางทศวรรษ 2490 ความขัดแยงทางการเมืองไทยตั้งอยูบนความสัมพันธ เชิงแขงขันทางการเมืองระหวางจอมพล ป. พิบูลสงครามกับ กลุม ตํารวจและกลุมทหารหรือ การเมืองสามเสา โดยทั้งพล ต.อ.เผา ศรียานนท ผูน ํากลุม ตํารวจและจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ผูนํากลุม ทหารตางไดรับความชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯยิง่ ทําใหทั้งสองขุนศึกมีความ เขมแข็งมากขึน้ อันทําใหความขัดแยงแขงขันระหวางขุนศึกทั้งสองเพิ่มสูงตามไปดวย อีกทัง้ พล ต.อ.เผาไดเคยแสดงทาทีทะเยอทยานทางการเมืองทําใหจอมพล ป. ไมไววางใจและไดเคย รวมมือกับจอมพลสฤษดิ์ในการพยายามทําลายอํานาจทางการเมืองของพล ต.อ.เผาลง แตเมื่อ สถาบันกษัตริยและ”กลุมรอยัลลิสต”ทาทายอํานาจทางการเมืองของรัฐบาลและการที่จอม พลสฤษดิ์แสวงหาการสนับสนุนจากสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต” ทําใหจอมพล ป.หัน กลับมารวมมือกับพล ต.อ.เผารื้อฟนความสัมพันธกับ“กลุมปรีดี” เพือ่ ตอสูกับความเคลื่อนไหว 39
พิมพไทย, 16 กันยายน 2500.; สารเสรี, 16 กันยายน 2500. NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 40
236
ทางการเมืองของสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต” ทําใหความขัดแยงทางการเมืองไทยในชวง ปลายทศวรรษ 2490 กลายเปนการตอสูร ะหวางการเมืองสองขั้ว คือ รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ“กลุมปรีดี” กับ สถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร ทัง้ นี้ สถานการณ ความขัดแยงทางการเมืองในชวงเดือนสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. นั้น ลอนดอน ไทมส (London Times)ไดวิเคราะหวา วิกฤติการณการเมืองของไทย เกิดขึ้นจากความขัดแยงระหวาง สถาบันกษัตริยกับรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจากจอมพล ป. สนับสนุนใหปรีดี พนมยงคกลับจากจีน มาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตขึ้นใหม 41 สองวันกอนความขัดแยงระหวางสองขั้วการเมืองจะเดินไปสูความแตกหักดวยการ รัฐประหาร สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานสถานการณทางการเมืองของไทยขณะนัน้ วา จอมพล ป. พิบูลสงครามในฐานะผูน ํารัฐบาลไดเขาเฝาพระมหากษัตริยเมื่อ 15 กันยายนเพื่อขอรองให พระองคทรงไกลเกลี่ยความขัดแยงดวยการขอพระบรมราชานุญาตใหทรงเรียกพล ต.อ.เผา ศรียา นนทและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตมาไกลเกลี่ยความขัดแยงรวมกับจอมพล ป.เพื่อรักษาเสถียร ภาพทางการเมืองใหกับรัฐบาลตอไป สถานทูตสหรัฐฯรายงานตอไปวา พระองคทรงปฏิเสธ ขอเสนอดังกลาวของจอมพล ป. ตอมา พล ต.อ.เผา แกนนําสําคัญของกลุมตํารวจ ไดรายงาน ขาวใหจอมพล ป. ทราบวา จอมพลสฤษดิ์แกนนําของกลุมทหารไดเคลื่อนยายหนวยทหารเขามา ภายในและรอบๆกรุงเทพฯเพื่อเตรียมการรัฐประหารแลว เมื่อจอมพล ป. ตองเผชิญหนากับการ ตอตานรัฐบาล เขาไมมีฐานกําลังอืน่ ใดในการตอตานการรัฐประหารนอกจากการพึง่ กําลังตํารวจ ของพล ต.อ.เผา ทําใหเขาตัดสินใจสนับ สนุนใหพล ต.อ.เผาดํารงตําแหนงอธิบดีกรมตํารวจตอไป จากนั้น พล ต.อ.เผาสัง่ การใหกําลังตํารวจพลรมทีห่ ัวหิน ประจวบคีรีขันธ เตรียเคลื่อนกําลังเขา กรุงเทพฯทําการตอตานการรัฐประหารของกลุมทหาร เนื่องจาก พล ต.อ.เผาไดรแู ผนกอการ รัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ และในเย็นวันนัน้ จอมพล ป. สั่งการใหพล ต.อ.เผาเตรียมการ จับกุมจอมพลสฤษดิ์และกลุม ทหารดวยขอหากบฏ ในตลอดคืนที่วกิ ฤตินั้น พล ต.อ.เผาไดสั่งการ กลุมตํารวจใหเคลื่อนกําลังตํารวจพลรมและตํารวจตระเวนชายแดนกําลังอยางลับๆเพื่อเตรียม การตอตานการรัฐประหารทีจ่ ะเกิดขึ้น42 ทามกลางสถานการณตึงเครียดในกรุงเทพฯ ทัง้ พล ต.อ.เผา ศรียานนทและจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชตสั่งการใหกลุม ตํารวจและกลุมทหารเตรียมความพรอมในการเผชิญหนากัน สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา มีความเปนไปไดที่จะเกิดความรุนแรงจากการปะทะกันของกําลังทัง้ 41
หจช.กต. 80/189 กลอง 12 สรุปขาวจากรอยเตอร (2500). NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957.; John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 42
237
สองฝาย โดยทาทีของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารไมตองการการประนีประนอมกับรัฐบาลจอม พล ป. พิบูลสงครามอีกตอไป ในขณะที่ รัฐบาลและสมาชิกสภาผูแทนฯของพรรคเสรีมนังคศิลา สนับสนุนใหพล ต.อ.เผาจับจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารดวยขอหากบฎ สถานทูตสหรัฐฯรายงาน วา “กลุมรอยัลลิสต”และพรรคประชาธิปตยผลักดันใหจอมพลสฤษดิ์เดินหนาแผนการรัฐประหาร ขับไลรัฐบาล 43 ในวันสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตเรียกรองให จอมพล ป. มาพบเขาและกลุมทหารทีห่ อประชุมกองทัพบกในตอนเชา 16 กันยายน 2500 แต จอมพล ป.ปฏิเสธ เนื่องจาก เขารูวา จอมพลสฤษดิ์มีแผนจับตัวเขา44 เมือ่ จอมพล ป. ไมหลงกล ของจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหาร ทําใหพวกเขาตองเดินทางมาพบจอมพล ป.ที่ทําเนียบรัฐบาล พรอมยืนยันคําขาดใหรัฐบาลจอมพล ป.ทัง้ คณะลาออก แตเขาขอผลัดการใหคําตอบแกคําขาด ของกลุมทหารในวันรุงขึ้น จากนัน้ เขาเดินทางไปเขาเฝาพระมหากษัตริยอีกครั้ง โดยจอมพล สฤษดิ์ใหสัมภาษณถงึ การเขาเฝาดังกลาววา พระองคจะใหขอคิดดีๆแกจอมพล ป.45 ทัง้ นี้ จาก เอกสารของไทยและสหรัฐฯ ไดใหรายละเอียดในการเขาเฝาครั้งสําคัญกอนการรัฐประหารจะ เกิดขึ้น วา จอมพล ป. ไดขอพระบรมราชนุญาตใหทรงมีพระบรมราชโองการใหปลดจอม พลสฤษดิ์ฐานยื่นคําขูใหรัฐบาลลาออก แตทรงมีพระราชดํารัสกับจอมพล ป.วา “เอ ก็เห็นเขาเปน คนดีๆนี่นา” ทัง้ นี้ เอกสารของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดรายงานเรื่องราวดังกลาวตอ รักษาการรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐวา พระมหากษัตริยไทยไดทรงมีพระราช ดํารัสใหจอมพล ป.ปรึกษาจอมพลสฤษดิ์และกลุมทหารเพื่อการตัดสินใจทางการเมือง จากนั้น ทรงมีพระบรมราชวินจิ ฉัยใหจอมพล ป. ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี แตจอมพล ป.ปฏิเสธ เนื่องจาก เขาเห็นวา พระบรมราชวินิจฉัยตามวิธกี ารทีพ่ ระองคเสนอแกเขานัน้ ไมใชวิถที างตาม รัฐธรรมนูญ46
43
NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 15 September 1957. 44 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 45 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 16 September 1957.; ขาวพาณิชย, 17 กันยายน 2500.; สารเสรี, 17 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 17 กันยายน 2500. 46 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Howard P. Jones to Acting Secretary of State(Murphy), 17 September 1957.; ชาวไทย, 18 กันยายน 2500.; คําสัมภาณของ พล.ท. สุรจิต จารุ เศรณี แกนนําคณะปฏิวัติใน พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ,(พระนคร: มานิตย ชินตระกูล, 2502), หนา 434 .
238
หลังการเขาเฝาพระมหากษัตริยแลว จอมพล ป. พิบูลสงครามออกจากการเขาเฝา พระมหากษัตริยดวยใบหนาที่เครงขรึม นักขาวที่ไดพบเห็นเขาขณะนั้นจึงไดสอบถามผลการเขา เฝาดังกลาว แมเขาปฏิเสธการใหรายละเอียดของพระราชดํารัส แตเขาไดประเมินลวงหนาไดวา จะเกิดอะไรขึ้นกับรัฐบาลของเขา จากนั้น จอมพล ป.ตัดสินใจที่จะตอตานการรัฐประหารของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตอมา พล ต.อ.เผา ศรียานนทและกลุมตํารวจไดเขาประชุมเตรียมแผนการกับ จอมพล ป. จากนัน้ เขาเรียกประชุมสมาชิกสภาผูแทนฯประเภทที่ 1 ของพรรคเสรีมนังคศิลา โดย มี พล ต.อ.เผา ศรียานนท จอมพลผิน ชุณหะวัณ จอมพลอากาศฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี และ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรฯเขารวมประชุมดวย47 ในอีกฝากหนึง่ ความเคลื่อนไหวของจอม พลสฤษดิ์และกลุมทหารไดมีการจัดประชุมกันที่กองพล 1 เวลา 15.00 น พวกเขาไดปรึกษาถึง แผนการตอบโตรัฐบาลที่สนับสนุนใหพล ต.อ.เผาและกลุมตํารวจเตรียมการจับพวกเขาฐาน ความผิดกบฎ 48 เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไดเตรียมการตอตานการรัฐประหารดวยการขอมติ จากที่ประชุมคณะรัฐมนตรีนัดพิเศษเพื่อตอตานการรัฐประหาร พล ต.อ.เผาเสนอใหใชตํารวจพล รม และตํารวจตระเวนชายแดนเปนกําลังหลักในการตอตานการรัฐประหาร และเมื่อกลุมทหาร จับรหัสวิทยุของกลุมตํารวจถอดความไดวา พล ต.อ.เผาสั่งการใหตํารวจตระเวนชายแดนทุกคาย และหนวยพลรมทุกหนวยเตรียมพรอมรอฟงคําสัง่ สถานทูตสหรัฐฯไดรบั รายงานจากแหลงขาวที่ เปนนายทหารไทยวา ขณะนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหารลวงรูแผน การตางๆของ รัฐบาลและกลุม ตํารวจแลวเพียงแต กลุมทหารรอการตัดสินใจปฏิบัติการเทานัน้ 49 ในกลางดึก ของ 16 กันยายน เวลาราว 22.00 ที่คายนเรศวร หัวหินซึ่งเปนฐานของตํารวจพลรม กองกําลัง สําคัญของกลุม ตํารวจนัน้ ไดมีความเคลื่อนไหวเตรียมความพรอม โดยรถแลนดโรเวอรของตํารวจ
47
สยามนิกร, 17 กันยายน 2500.; สารเสรี, 17 สิงหาคม 2500.; อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พล เรือโท ประสงค พิบูลสงคราม ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุ 5 กุมภาพันธ 2546,(กรุงเทพฯ: ไมปรากฎโรงพิมพ, 2546), หนา 129. 48 พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ, หนา 413. การลาออกของส.ส. ประเภท 2 กลุมทหารของจอม พลสฤษดิ์ ธนะรัชตทําใหพล ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะเลขาธิการพรรคเสรีมนังคศิลาไมพอใจมาก โดยพ.ต.อ. วิเชียร สีมันตระ ส.ส. กาญจนบุรีไดรวมสนับสนุนใหรัฐบาลจับกุมส.ส.ประเภท 2 ซึ่งเปนกลุมทหารฐานกบฎใน ราชอาณาจักร ในสถานการณนี้ พ.ต.อ.พุฒ บุรณสมภพไดสั่งการใหตํารวจเตรียมกําลังใหเตรียมพรอม ทั้ง อาวุธและกระสุนเพื่อตอตานการรัฐประหาร(พ.ต.อ.พุฒ บูรณสมภพ , 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย, หนา 175). 49 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 20 September 1957.; พยงค อรุณฤกษ, ยุคปฏิวัติ, หนา 413-414.
239
ไดโบกธงสีเหลือง สงสัญญาณระดมพลทีห่ นาตลาดฉัตรชัย หัวหิน มีการแจกอาวุธปนกล ประจําตัว มีการเพิ่มเวรยามรักษาคายฯและรอฟงคําสัง่ ปฏิบัติการ50 สถานทูตสหรัฐฯ ไดรายงานฉากสุดทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเมื่อวลา 23.00 ของ 16 กันยายนวา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตอาจกอการรัฐประหารขึ้น โดยกลุมทหารไดสั่ง การใหหนวยทหารตางๆเตรียมความพรอมรอฟงคําสัง่ เพื่อตอบโตแผนการใชกําลังของพล ต.อ. เผา ศรียานนทโดยจอมพลสฤษดิ์ถูกคุมกันความปลอดภัยอยางแนนหนาจากทหาร เนื่องจาก เขา กลัวถูกลอบสังหาร ทัง้ นี้ สถานทูตฯเห็นวา สถานการณการเผชิญหนาดังกลาวนัน้ พล ต.อ.เผารูดี วาการตอตานการรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์เปนการเดิมพันที่เขาไมมีอะไรจะเสียอีกตอไป เนื่องจาก กําลังตํารวจของเขานัน้ เทียบกับกลุมทหารไมได 51 กลางดึกราวกอนรัฐประหารจะเริ่มตน หนังสือพิมพไทยรวมสมัยและรายงานทางการทูต ของกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ บันทึกเหตุการณสําคัญดังกลาววา จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และจอมพลถนอม กิตติขจรไดเขาเฝาพระมหากษัตริยท พี่ ระทีน่ ั่งอัมพรสถาน พรอมกับราง ประกาศพระบรมราชโองการที่แตงตั้งใหจอมพลสฤษดิ์เปนผูรักษาพระนครฝายทหาร โดยจอม พลสฤษดิ์ไดอธิบายเหตุผลและความจําเปนใหพระองคทรงทราบ หลังจากที่พระองคทรงรับฟง การรายงานจากจอมพลสฤษดิ์แลวเสร็จ จากรายงานทางการทูตของสหรัฐฯที่รับทราบ รายละเอียดจากนายทหารไทยคนหนึ่งไดบันทึกเรื่องราวนีว้ า พระองคทรงตรัสกับจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวัติวา “You don’t have to explain things. I know. Give me the Decrees and let me sign them. I have only one thing to say to you : From now on don’t do the thing you don’t want the others to do.”52จากนั้น จอมพลสฤษดิ์ไดกลับไปที่กองบัญชาการ และแจงพระราชประสงคใหกลุมทหารทราบ เมื่อเวลา 23.00 น. คณะปฏิวัติสั่งการใหทหารออก ยึดจุดสําคัญในกรุงเทพฯและธนบุรี การรัฐประหารครั้งสําคัญก็ไดเริ่มตนขึ้นในเวลานัน้ เอง53 และ เมื่อกําลังของกลุมทหารปะทะกับกลุมตํารวจที่สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม สงผล
50
พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย,หนา 6. 51 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 16 September 1957. 52 สารเสรี, 18 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. 53 สารเสรี, 18 กันยายน 2500.
240
ใหตํารวจเสียชีวิตจํานวน 8 คน และทหารจํานวน 1 คน54 อยางไรก็ตาม แผนการตอตานการ รัฐประหารของรัฐบาลและกลุมตํารวจไมอาจหยุดยั้งการรัฐประหารครั้งนี้ได ตอมา กลุมทหาร สามารถยึดวังปารุสฯซึ่งเปนศูนยบัญชาการของกลุมตํารวจและยึดรถเกราะของตํารวจได 40 คัน 55 ในกลางดึกนัน้ เอง พล ต.อ.เผาและกลุม ตํารวจไดเขามอบตัวกับคณะปฎิวัติ ตอมา เขาและ พวกถูกสงตัวออกนอกประเทศ สวนจอมพล ป. ไดหลบหนีการรัฐประหารออกจากกรุงเทพฯไปยัง ชายแดนไทย-กัมพูชาทีจ่ ังหวัดตราด∗ ดังนั้น การรัฐประหาร 2500 ครั้งนี้ จึงเปนการปดฉากความ พยายามรื้อฟน คดีสวรรคตใหกลับขึ้นมาสรางความกระจางใหกับสาธารณชนไทยและผูนําคน สุดทายที่มาจากคณะราษฎร ผูเคยทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา สิทธิราชยมาสูร ะบอบประชาธิปไตย แตการรัฐประหารครั้งนีน้ ําไปสูการเริ่มตนของ “พันธมิตร ใหม”ระหวางกองทัพและสถาบันกษัตริย กับสหรัฐฯ หรือกําเนิด“ไตรภาคี”( The Tripartite )ขึ้นใน การเมืองไทย ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา ในชวงเวลาดังกลาวนั้น สหรัฐฯมีนโยบายตอไทยทั้งดาน การทหารและเศรษฐกิจ โดยสหรัฐฯตองการใหไทยเปนฐานปฏิบัติการทางการทหารและสงคราม จิตวิทยาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดจน สหรัฐฯตองการผลักดันใหไทยเปดรับ การคาเสรี เปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของไทยและการเปดการลงทุนจากตางประเทศ ควบคูไป กับการตอตานคอมมิวนิสตกับสหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ในสายตาของสหรัฐฯ การดําเนินงานในชวง ทายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามนั้น รัฐบาลพยายามถอยหางออกจากสหรัฐฯ แตกลับ 54
พล.ต.ต นายแพทย นคร ศรีวาณิช, กําเนิดพลรมไทย, หนา 6.; NARA , RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957. จากหลักฐานที่รวบรวมได พบวา เมื่อทหารจู โจมปอมตํารวจที่มักกะสัน ทหารไดยิงตํารวจตาย 2 คน และตูยามที่ราชวัตร ทหารไดใชดาบปลายปนฟนพล ตํารวจ ทองหลอ ศรกระจาง เสียชีวิต (สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ, หนา 21.; พิมพไทย, 19 กันยายน 2500). 55 สารเสรี, 17 กันยายน 2500.; สมบูรณ วรพงศ, ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูล ฯ, หนา 22. ∗
หลังการพนจากอํานาจดวยการรัฐประหาร 2500 ที่เกิดจาก“ไตรภาคี“ จอมพล ป.พิบูลสงครามได พํานักที่พนมเปญ กัมพูชา ตอมาเขาไดเดินทางไปสหรัฐฯโดยหวังวาจะใชชีวิตปนปลายที่สหรัฐฯ ตอมา เขาได อุปสมบทที่พุทธคยา อินเดีย ทั้งนี้ ควรบันทึกดวย ภายหลังรัฐบาลของเขาถูกรัฐประหารไปแลวระยะหนึ่งมี คณะทูตจากกลุมประเทศแองโกแซกซอนเขาพบเขา และเสนอวา กลุมประเทศแองโกแซกซอนจะสนับสนุนให เขากลับสูอํานาจอีกครั้ง แตเขาปฏิเสธการสนับสนุนดังกลาว จากนั้น เขาตัดสินใจลี้ภัยทางการเมืองอยางถาวร ในญี่ปุนแทนที่จะเปนสหรัฐฯตามที่เขาตั้งใจไวในชวงแรก จนกระทั่งเขาถึงแกอสัญกรรมเมื่อ 11 มิถุนายน 2507 ที่ญี่ปุน(สัมภาษณ นิตย พิบูลสงคราม บุตรชายของจอมพล ป. พิบูลลสงคราม, 28 กุมภาพันธ 2551)
241
พยายามเปดไมตรีและมีการคากับจีน รวมถึงการเปดรับวัฒนธรรมจากจีน เนื่องจาก สหรัฐฯเห็น วา การดําเนินการของรัฐบาลจอมพล ป.มีความยอหยอนในการดําเนินการตอตานคอมมิวนิสต อีกทั้งรัฐบาลพยายามนําปรีดี พนมยงคกลับจากจีนมาไทยเพื่อรื้อฟนคดีสวรรคตเพื่อตอตาน ความเคลื่อนไหวของสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”นั้นยิง่ ไมตอบสนองนโยบายของสหรัฐฯ ซึ่งไมตองการใหไทยมีความสัมพันธกับจีน อีกทัง้ สหรัฐฯตองการสนับสนุนสถาบันกษัตริยใหมี ความสําคัญในการดําเนินสงครามจิตวิทยาในไทย นอกจากนี้ รัฐบาลขณะนั้นไดสญ ู เสียความ นาเชื่อถือจากสาธารณชนจากปญหาเหตุการณการทุจริตเลือกตั้งในตนป 2500 รวมทั้ง รัฐบาล ไมสามารถสรางเสถียรภาพทางการเมืองตามสหรัฐฯ ทําใหสุดทายแลว สหรัฐฯไดใหความ สนับสนุนกลุม ผูนําใหมทนี่ ิยมสหรัฐฯและเปนที่ชนื่ ชอบจากสาธารณชนไทยเพื่อใหไทยดําเนิน ตามนโยบายของสหรัฐฯตอไปในชวงสงครามเย็นทีท่ วีความรุนแรงในภูมิภาคตอไป 9.6 บนเสนทางของ “ไตรภาคี ”: สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและกองทัพ กับการดํารงภาวะ กึ่งอาณานิคม วันรุงขึน้ หลังการรัฐประหาร( 17 กันยายน) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหสัมภาษณวา พระมหากษัตริยทรง“พอพระทัย” 56 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา ตัวแทนของคณะปฏิวัติ ซึ่ง ประกอบดวย “กลุมรอยัลลิต”และนายทหาร เชน พระยาศรีสารวาจา พระยาอภิบาลราชไมตรี (ตอม บุนนาค) พล.ต.อํานวย ชัยโรจน และพ.อ.เฉลิมชัย จารุวัสต ไดมาแจงขาวการรัฐประหารให สถานทูตสหรัฐฯและอังกฤษทราบ บิชอป ทูตสหรัฐฯไดสอบถามตัวแทนฯคณะปฏิวัติวา พระมหากษัตริยทรงยอมรับการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามหรือไม พระยา ศรีวิสารฯ องคมนตรีและหัวหนาตัวแทนฯ ตอบวา พระองคทรงยอมรับการรัฐประหารและทรง แตงตั้งใหจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวตั ิเปนผูรักษาพระนครแลว57 ตอมา พระองคทรงเรียก จอมพลสฤษดิ์เขาเฝาเวลาเทีย่ งคืนในวันเดียวกัน เพื่อรับทราบสถานการณ จอมพลสฤษดิ์ได รายงานถึงความสําเร็จในการรัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม กอนที่เขาจะถวาย บังคมลานั้น สารเสรี ไดรายงานขาววา พระองคไดมีพระราชดํารัสกับจอมพลสฤษดิว์ า “คนไหน ไมดี ควรไลออกไป”58
56
เชา, 18 กันยายน 2500. NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 17 September 1957.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, John C. Guthrie to Secretary of State, 3 December 1957. 58 สารเสรี, 19 กันยายน 2500. 57
242
ทั้งนี้ ซีไอเอ ไดรายงานถึง บทบาทของสถาบันกษัตริยแ ละองคมนตรีในการรัฐประหาร ครั้งนี้วา “ไมใชแคเพียงมีบทบาทริเริ่มในการกอการรัฐประหารเทานัน้ แต ทรงเปนผูผลักดัน สฤษดิ์ใหทําการรัฐประหารดวย เนื่องจากพระองคทรงกลัวแผนการของจอมพล ป.ที่จะนําปรีดี กลับมาจากจีน” 59 หลังการรัฐประหาร หนังสือพิมพในไทยไดรายงานขาววา พระองคทรงสน พระทัยความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองมาก ทรงเรียกจอมพลสฤษดิ์เขาเฝาเพื่อรายงานความ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองตลอดเวลา 60 ทั้งนี้ สิงคโปร สแตนดารด( Singapore Standard )ได รายงานขาวการรัฐประหารในไทย วา สถาบันกษัตริยและองคมนตรีเห็นชอบกับการลมรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยจอมพลสฤษดิ์ หัวหนาคณะปฏิวัตินั้นไดติดตอกับพระมหากษัตริย อยางใกลชิด 61 ตอมาจอมพลสฤษดิ์ไดประกาศ ไมใหจอมพล ป. กลับเขาประเทศอีก สวนปรีดี พนมยงคนั้น หากปรีดีเดินทางกลับจะถูกรัฐบาลจับดําเนินคดีสวรรคต 62 สําหรับคดีหมิน่ ประมาท บิชอป ทูตสหรัฐฯของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชที่เกิดขึ้นในชวงรัฐบาลจอมพล ป.นั้น คณะปฏิวัติสั่ง การใหอัยการยกเลิกการฟองรองดคีดังกลาวตอศาล 63 ทาทีของสหรัฐฯหลังการรัฐประหารนัน้ เมอรฟ(Murphy) รักษาการรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดมีบันทึกถึง บิชอป ทูตสหรัฐฯในไทยสองวันหลังการ รัฐประหารวา สหรัฐฯเห็นวาการรัฐประหารครั้งนี้จะทําใหพระมหากษัตริยมีบทบาททางการ เมืองขึ้นอยางมากเพราะทรงเปนผูริเริ่มเหตุการณดังกลาว และขณะนี้ พระองคทรงเปนประมุข ของรัฐที่ทรงเปนแกนกลางของความเปนเอกภาพและเสถียรภาพทางการเมืองภายในของไทย ดังนัน้ สหรัฐฯจะใชประโยชนจากคุณสมบัติที่พระองคจะทรงมีอิทธิพลทางการเมืองในไทยจากนี้ ไปดวยการพัฒนาความใกลชิดกับพระองค เนื่องจาก สหรัฐฯเห็นวา บทบาททางการเมืองของ พระองคจะกลายเปนสวนหนึ่งของนโยบายของรัฐบาลไทยซึง่ จะมีนัยยสําคัญตอผลประโยชนของ สหรัฐฯ64 59
NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP79R00890A000900010020-5, 21 September 1957, “Thailand”. 60 เดลิเมล, 20 กันยายน 2500. 61 หจช.กต. 80/44 กลอง 4 การวิจารณการเมืองของประเทศไทย(2500). Singapore Standard, 13 November 1957. 62 สารเสรี, 25 กันยายน 2500.; สยามรัฐ, 26 กันยายน 2500.; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 6 November 1957. 63 พิมพไทย, 22 กันยายน 2500. 64 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Acting Secretary of State (Murphy) to Bangkok, 18 September 1957. ในบันทึกดังกลาวสั่งการให บิชอป ทูตสหรัฐฯเขาเฝาพระองค เพื่อแจงทาที ของสหรัฐฯตอการรัฐประหารครั้งนี้ วา สหรัฐฯมีความพอใจที่การรัฐประหารครั้งนี้ไมกอภยันตรายตอสถาบัน
243
ทั้งนี้ สิง่ ทีก่ ลุมผูนําใหมจะตองทําใหสหรัฐฯยอมรับ คือ การจัดตั้งรัฐบาลใหมที่ทาํ ให สหรัฐฯพอใจ โดยคณะปฏิวัติยินยอมใหพระมหากษัตริยทรงเลือกพจน สารสิน ดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีชวงสั้นๆเพื่อจัดการเลือกตัง้ ใหม เนื่องจาก เขาเปนคนที่ทรงไววางพระราชฤทัยและ มีความสัมพันธที่ดีกับสหรัฐ เนื่องจากเขาเปนเลขาธิการซีโต 65จากนัน้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตได กลาวยืนยันกับพล.ต. พารทริค หัวหนาจัสแมควา ไทยจะอยูเคียงขางกับสหรัฐฯ ซีโต ตอไป และ ความสัมพันธไทยกับสหรัฐฯจะดีขึ้นกวาทีผ่ านมา 66 ตอมา ลิงคอลน ไวท โฆษกกระทรวงการ ตางประเทศสหรัฐฯไดแถลงขาวถึงการรัฐประหารในไทยวา การรัฐประหารครั้งนี้ไมกระทบกระ เมือนตอความชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐฯตอไทย67 หลังรัฐประหาร บิชอป ทูตสหรัฐฯ ผูเห็นใจรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามที่ถกู รัฐประหาร เขายังคงแสดงทาทีไมสนับสนุนการรัฐประหารดังกลาว ดวยการรายงานความเห็น ของทูตอังกฤษในไทยวา “การรัฐประหารครั้งนี้จะทําใหไทยถอยหลังไปอยางนอยอีก 100 ป ทํา ใหประชาชนไทยไมรูจักโตและเปนเหมือนเด็ก” แมเขาจะพยายามทีจ่ ะเตือนความจําใหกับ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯถึงความเคลื่อนไหวที่ผา นมาของจอมพลสฤษดิ์และ“กลุมรอยัล ลิสต” ที่ไดรวมมือกันโจมตีสหรัฐฯ ซีโตและจัสแมคก็ตาม แต ดัลเลส รัฐมนตรีวา การกระทรวงการ กษัตริยและราชวงศ สหรัฐฯหวังวา รัฐบาลใหมจะมีเสถียรภาพและสงเสริมความสัมพันธที่ดีระหวางกัน และ สหรัฐฯหวังวาไทยจะยังคงเปนพันธมิตรในการตอตานคอมมิวนิสตตอไป และใหความมั่นใจกับพระมหากษัตริย วาความสัมพันธและผลประโยชนระหวางไทยและสหรัฐฯจะดําเนินตอไปโดยผานพระองค 65 NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 21 September 1957. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใหสัมภาษณวา พระมหากษัตริยทรงแนะนําบุคคลที่มีความเหมาะที่จะเปนนายกรัฐมนตรี ใหกับเขา (ขาวพาณิชย, 21 กันยายน 2500).; NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957.; Eric Kocher to Robertson, Summary of Conversation with General Phao, 4 November 1957. 66 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 20 September 1957. ภายหลังการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามไปได 3 ป จอมพล ป.ให สัมภาษณหนังสือพิมพอาซาฮี เอฟเวนนิง นิวส ในขณะที่เขาไดยายที่ลี้ภัยทางการเมืองจากสหรัฐฯไปที่ญี่ปุนถึง การรัฐประหาอีกครั้งของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตในป 2501วา “ รัฐบาลสฤษดิ์ เปนเผด็จการและจะลมสลายลง อีกไมนาน หรืออยางนอยที่สุดก็อาจจะเหมือนกับรัฐบาลอาณานิคมที่ถูกบงการโดยชาติอื่น” (“Phibul Predicts Sarit’s Downfall,” Asahi Evening News , 2 June 1960.; หจช.(2)กต. 2.1 กลอง 23/314 ปกที่ 2/3 รายงาน ความเคลื่อนไหว จอมพล ป. [18 มิถุนายน 2502 – 17 มิถุนายน 2503] ). โปรดดู เบื้องหลังการรัฐประหาร 2501 ที่สหรัฐฯมีบทบาทอยูเบื้องหลังเพื่อทําใหไทยกาวเขาสู”ยุคแหงการพัฒนา”และการปกครองแบบเผด็จ การทหารในกุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”. 67 สารเสรี, 19 กันยายน 2500.
244
ตางประเทศ พยายามทําใหเขาเขาใจมุมมองของสหรัฐฯตอสถานการณการเมืองในไทยวา สถาบันกษัตริยจะเปนผูนาํ ทางการเมืองทีแ่ ทจริง68 ในสายตาของ ฮันนาห เจาหนาที่ซีไอเอผูปฏิบัติงานในฐานะเลขานุการโทของสถานทูต สหรัฐฯ รายงานวา การรัฐประหารครั้งนี้ เปนการเปดโอกาสให “กลุมรอยัลลิสต” กลับมาเลนบท สําคัญทางการเมืองไทยอีกครั้ง เขาเห็นวา การรัฐประหารครั้งนี้ เปนเสมือนการเปลีย่ นถาย อํานาจจากกลุม หนึง่ ไปยังอีกกลุมหนึ่ง 69 สวนสถานทูตอังกฤษไดรายงาน บทบาทของสถาบัน กษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ในการรัฐประหารวา พระองคมิไดทรงเปนเพียงผูสังเกตการณเทานัน้ 70 ทัง้ นี้ พระองคเจาธานีนิวัตฯ ประธานองคมนตรีไดกลาวกับสถานทูตอังกฤษเปนการสวนตัว วา “การรัฐประหารครั้งนี้คือสิ่งที่พวกรอยัลลิสตตองการ”71ตอมา สถานทูตสหรัฐฯไดรายงานวา พระองคเจาธานีนิวัตฯมีความตองการใหพระมหากษัตริยเพิ่มบทบาทในทางการเมืองในฐานะ ผูใหคําปรึกษาแกรัฐบาลพจน สารสิน พระองคเจาธานีนิวัตฯทรงกลาววา “กลุมรอยัลลิสต” ตองการใหพระมหา กษัตริยท รงมีบทบาทางการเมืองในการเมืองไทยอยางถาวร และ“กลุมรอยัล ลิสต” ตองการใหสหรัฐฯใหความชวยเหลือและมิตรภาพแกรัฐบาลไทยเหมือนเชนเดิม สถานทูตฯ เห็นวา บทบาทของพระองคเจาธานีนิวัตฯเพิ่มสูงขึน้ หลังการรัฐประหาร จากเดิมที่เคยทรงอยูแต เบื้องหลังการเมืองไทย 72 หลังการจัดตั้งรัฐบาลพจน สารสินแลว สถานทูตสหรัฐฯตั้งขอสังเกตถึงความแข็งแกรง ทางการเมืองของ “กลุมรอยัลลิสต”นั้นมีเพิ่มสูงขึน้ เนื่องจาก พระมหากษัตริยไดทรงเลนบทเปน ผูนําของ “กลุมรอยัลลิสต” โดยมีแกนนําสําคัญ เชน พระองคเจาธานีนวิ ัตฯ ประธานองคมนตรี พระยาศรีวิสารฯ องคมนตรี ม.ร.ว.เสนีย ปราโมชและม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เปนตน ตอมา เมื่อ พระยาศรีวิสารฯ ไดออกเดินทางไปประชุมโรตารี่สากล สถานทูตสหรัฐฯเห็นวา พระยาศรีวิสารฯ
68
NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 23 September 1957.; Bishop to Secretary of State, 27 September 1957.; Dulles to Bangkok, Preliminary estimate reading current situation in Thailand, 3 October 1957. 69 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Hannah to Rolland Bushner, Thai Prognostications, 17 September 1957. 70 NA, FO 371/129612, Whittington to Selwyn Lloyd , 22 September 1957. 71 NA, FO 371/129611, Whittington to Foreign Office, 21 September 1957.ขอความดังกลาวมี วา “The Coup is just that the Royalist wanted” 72 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 1 October 1957.
245
เคลื่อนไหวเพือ่ สรางการสนับสนุนและยอมรับใหกับการรัฐประหารทีเ่ กิดขึ้นและรัฐบาลพจน จาก แวดวงระหวางประเทศ73 ไมแตเพียงการใหการสนับสนุนการรัฐประหารและการจัดตั้งรัฐบาลพจน สารสินเทานัน้ แต“กลุมรอยัลลิสต” ไดพยายามขยายอํานาจเขาสูการควบคุมการเมืองมากขึ้นดวยเชนกัน ตน เดือนตุลาคม 2500 สถานทูตสหรัฐฯรายงานวา พระองคเจาธานีนิวัตฯ แจงวา พระมหากษัตริย ทรงมีพระราชประสงคใหพระยาศรีวิสารฯรวมงานกับรัฐบาลใหมที่จะเกิดขึ้นหลังการเลือกตั้งใน ปลายป 2500 แตทรงไมทรงตองการถูกวิจารณวา ทรงกระทําขัดกับรัฐธรรมนูญ สําหรับความสน พระทัยในการเมืองของพระมหากษัตริยน นั้ พระองคเจาธานีนวิ ัตฯแจงกับสถานทูตฯวา พระองค ทรงมิไดมีลักษณะเปนผูเ ขินอายเหมือนแตกอนอีกแลว74 หลังจากที่ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตใชประเด็นการโจมตีสหรัฐฯจนไดรบั การสนับสนุนจาก สาธารณชนอยางมากจนนําไปสูการยอมรับการรัฐประหารครั้งนี้ แตตอ มา คณะปฏิวัติไดสั่งการ ใหหนังสือพิมพยุติการโจมตีสหรัฐฯ เนื่องจาก คณะปฏิวัติไมตองการใหเกิดการกระทบ ความสัมพันธระหวางไทยและสหรัฐฯอีกตอไป 75 สําหรับผลประโยชนทพี่ วกเขาไดรับหลังการ รัฐประหารนัน้ การเมือง ซึ่งเปนนิตยสารของไทยขณะนัน้ รายงานขาววา มีการโอนเงินอยางลับๆ เขาบัญชีของผูมีอํานาจในคณะปฏิวัติ ชือ่ บัญชี “หนุมาน” และบัญชี “สุครีพ” บัญชีละ 150 ลาน บาท76 นอกจากนี้ ทูตอังกฤษตั้งขอสังเกตในเวลาตอมาวา หลังการรัฐประหารไปแลว ความ ชวยเหลือทางการทหารจากสหรัฐฯผานจัสแมค ยังคงดําเนินการตอไปดูราวกับไมเกิดอะไรขึ้น77 สําหรับทัศนะของปญญาชนฝายซายจํานวนหนึ่งที่อยูร วมสมัย เชน สุพจน ดานตระกูล ผู เคยตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามจนถูกจับกุม แตตอมา รัฐบาลไดนิรโทษกรรมความ ผิด เขาไดรวมงานกับจอมพล ป.ในการสรางกระแสใหไทยการถอยออกหางสหรัฐฯ สุพจนได วิเคราะหวา สาหตุที่จอมพล ป. ถูกรัฐประหาร เนื่องจาก จอมพล ป.มีความตองการใหไทยหลุด ออกจากออกจากการครอบงําของสหรัฐฯ เขาเห็นวา สหรัฐฯใหการสนับสนุนจอมพลสฤษดิ์ ธนะ รัชตกอการรัฐประหารเพื่อลมรัฐบาลจอมพล ป. เนื่องจาก รัฐบาลไดเริ่มตนการเปดความสัมพันธ 73
NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Bishop to Secretary of State, 3 October 1957. 74 NARA, RG 59 Central Decimal File 1955-1959 box 3912, Bishop to Secretary of State, 8 October 1957.ขอความดังกลาวมีวา “ King no longer as shy as he had been” 75 การเมือง, 5 ตุลาคม 2500. 76 การเมือง, 30 ตุลาคม 2500. ควรบันทึกดวยวา สัญลักษณประจําตัวจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต คือ หนุมานหาวเปนดาวเปนเดือน 77 NA, FO 371/136020, Whittington to Foreign Office, 20 March 1958.
246
กับจีนเพื่อทําใหไทยหันกลับไปมีนโยบายตางประเทศตามสหรัฐฯดังเดิม78 สวนประจวบ อัมพะ เศวต ปญญาชนฝายซายอีกคนหนึง่ เห็นวา รัฐบาลจอมพล ป. เคยมีนโยบายตางประเทศเขา ใกลชิดกับสหรัฐฯสามารถสรางพอใจใหสหรัฐฯชั่วระยะเวลาหนึง่ แตตอ มา เมื่อรัฐบาลไม ดําเนินการตามความตองการ จากนัน้ สหรัฐฯจึงให “ไฟเขียว” ใหทาํ การรัฐประหารโคนลมรัฐบาล ลง 79 หลังการรัฐประหารลมรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามสงผลใหชะตากรรมของ บิชอป ทูตสหรัฐฯที่สนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป.มีความพลิกผันเปนอยางมาก กลาวคือ ทาทีของ บิชอปในรายงานของเขาที่เขียนกลับไปยังวอชิงตัน ดี.ซี. เขายังคง โจมตีการรัฐประหารครั้งนี้ ตอไปนั้น ไมนานจากนัน้ กระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯไดตัดสินใจหาทูตคนใหมที่สามารถ ทํางานรวมกับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตหรือกลุมผูนําใหมที่ สหรัฐฯใหการสนับสนุนตอไปได ไมนานจากนัน้ กระทรวงการตางประเทศ ที่วอชิงตัน ดี.ซี. มี คําสั่งยายบิชอปกลับไปวอชิงตัน ดี.ซี. และสงยู. อเล็กซิส จอหนสัน มาดํารงตําแหนงทูตสหรัฐฯ ประจําไทยคนใหม โดยจอหนสัน ทูตคนใหมไดบันทึกเรือ่ งราวดังกลาวไววา สาเหตุที่บิชอปถูก ยายเพราะเขาไมสามารถทํางานตอบสนองนโยบายของกระทรวงการตางประเทศทีม่ ีตอไทยหลัง การรัฐประหารได80 ตอมา บิชอปไดทําหนังสือขอลาออกจากกระทรวงการตางประเทศ สหรัฐฯ 81 78 79
สุพจน ดานตระกูล, ทนายจําเปน, หนา 28-29. ประจวบ อัมพะเศวต,พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516, หนา
399, 450. 80
U. Alexis Johnson, The Right Hand of Power,(New Jersey: Prentice-Hall, 1984), pp.266267. จอหนสันบันทึกเพิ่มเติมวา สหรัฐฯเห็นวาไทยเปนพันธมิตรสําคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต แตขณะนั้น ความสัมพันธไทยและสหรัฐฯกําลังเสื่อมลงและกําลังเดินไปสูทางตัน แตบิชอป ไมสามารถทํางานรวมกับ รัฐบาลใหม ราชสํานักและ“กลุมรอยัลลิสต” และคณะทหารของจอมพลสฤษดิ์ได อีกทั้งบิชอปมีความขัดแยง กับม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชซึ่งเปนเจาของสยามรัฐและเปนพระสหายของพระมหากษัตริย ซึ่งทรงใหการ สนับสนุนม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เปนสาเหตุที่ทําให บิชอปตองถูกยายกลับสหรัฐฯ ทั้งนี้ ควรบันทึกดวยวา จอหนสันเปน ทูตสหรัฐฯที่ประสานงานการเสด็จประพาสสหรัฐฯของพระมหากษัตริยไทยสูวอชิงตัน ดี.ซี. ในป 2503 ซึ่งการ ประพาสดังกลาวสรางความมั่นใจใหกับทั้งสองฝายในการดําเนินนโยบายตางประเทศรวมกันตอไปตลอดชวง สงครามเย็น 81 Dwight D. Eisenhower Library, White House Central Files, Office Files 1953-1961 OF 8 F Ambassador and Minister, Gorge V. Allen Box 134, Bishop to The President, 15 November 1957. บิชอป ทูตสหรัฐฯมีความสัมพันธที่ดีกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม เขาไดเคยเรื่องตางเกี่ยวกับเบื้องหลังการ รัฐประหาร 2500 ใหจีรวัสส ปนยารชุน บุตรีของจอมพล ป.ทราบ ตอมา หลังการลาออกจากกระทรวงการ ตางประเทศ เขายึดอาชีพเปนอาจารยสอนในวิทยาลัยเล็กๆแหงหนึ่งในสหรัฐฯ และแมเขาจะพนตําแหนงไป
247
ในสายตาของจอหนสัน ทูตสหรัฐฯคนใหมภายหลังการรัฐประหารไดประเมินวา ความสัมพันธระหวางไทยกับสหรัฐฯหลังการรัฐประหาร 2500 วายังคงไมราบรื่นนัก เนื่องจากใน ไทยยังคงมีการตอตานสหรัฐฯจากกลุมฝายซายตอเนื่องจากรัฐบาลชุดเกาอยูบา ง แตอยางไรก็ ตาม ไทยมีโอกาสทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจได และรัฐบาลพจน สารสินใหความสําคัญกับการตอตาน คอมมิวนิสตอยางเขมแข็งกวารัฐบาลที่ผานมา และเขาเห็นวา สถาบันกษัตริยมีเอกภาพและมี เสถียรภาพ 82 จากทาทีของทูตสหรัฐฯนัน้ เปนไปในทิศทางเดียวกับนโยบายของสหรัฐฯที่ตองการ พัฒนาความสัมพันธที่ใกลชดิ กับสถาบันกษัตริย ผูนาํ ทางการเมืองกลุม ใหมมากยิง่ ขึ้น โดยพ.อ. เอ็ดเวิรด แลนสเดล ผูชวยรัฐมนตรีกลาโหมไดกลาวแกคณะผูแทนของคณะปฏิวัติทถี่ ูกสงมาสราง ความเขาใจใหกับสหรัฐฯภายหลังการรัฐประหาร 2500 วา “สหรัฐฯตระหนักดีถงึ ความสําคัญของ กษัตริย และศาสนาที่มีตอวิถีชีวิตของคนไทย แมสหรัฐฯจะไมสามารถมีนโยบายตางประเทศ โดยตรงตอศาสนาได แตสหรัฐฯจะสนับสนุนกษัตริย “83 ดวยเหตุนี้ การรัฐประหาร 2500 จึงเปนการปดฉากความพยายามรื้อฟนคดีสวรรคตและ ผูนําคนสุดทายที่มาจากคณะราษฎรและโอกาสที่ไทยจะถอยหางออกภาวะที่สหรัฐฯเขามามี บทบาทแทรกแซงกิจการภายในของไทยเพื่อทําใหไทยคงดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการ ตอไป ดวยเหตุนี้ การรัฐประหารดังกลาวจึงเปนการทําใหไทยยังคงเปนประเทศทีอ่ ยูในฐานะกึ่ง อาณานิคมของสหรัฐฯตอไป ไมแตเพียงเทานัน้ การรัฐประหารดังกลาวยังไดเปนจุดเริ่มตนของ ”พันธมิตรใหม”ระหวางสถาบันกษัตริยแ ละกองทัพกับสหรัฐฯหรือกําเนิด“ไตรภาคี”สงผลใหการ เมืองไทยเดินไปสูการปกครองระบอบเผด็จการทหารเต็มรูปแบบในชวงเวลาตอมา ซึ่งการ ปกครองดังกลาวนี้สามารถรักษาเสถียรภาพทางการเมืองไทย พรอมกับการฟน ฟูสถาบันกษัตริย ใหมีความเขมแข็งทางการเมือง อีกทั้ง ไทยถูกทําใหกลายเปนฐานทัพของสหรัฐฯในการคุกคาม ประเทศเพื่อนบานในอินโดจีนตามความตองการของสหรัฐฯได โดยสิ่งเหลานี้มีผลกระทบอยาง มากตอการเมืองภายในและนโยบายตางประเทศของไทยตลอดสองทศวรรษในชวงสงครามเย็น แลว เมื่อเขามีโอกาสมาเยือนไทย เขามักมาเยี่ยมบุตรีของจอมพล ป.เสมอ (สัมภาษณ จีรวัสส ปนยารชุน, 13 กันยายน 2552) 82 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3913, U. Alexis Johnson to Secretary of State , 28 July 1958. ตอมา สหรัฐฯผลักดันใหคณะปฏิวัติปราบปรามปญญาชนฝายซายอยางรุนแรง โปรดดู กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”. ทั้งนี้ การปราบปราม อยางรุนแรงของรัฐบาลถนอมและสฤษดิ์ตามความตองการของสหรัฐฯ เปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิด “เหตุการณ เสียงปนแตก” ในป 2508 นําไปสูสงครามภายในประเทศอยางยาวนาน 83 NARA, RG 59 Entry Thailand 1955-1959 box 3909, Memorandum of conversation Brigadier General Wallop Rojanawisut, Colonel Edward Lansdale and Kenneth T. Young, 24 October 1957.
บทที่ 10 สรุป
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง สหรัฐฯมีบทบาทสําคัญในการผลักดันการจัด ระเบียบโลกขึน้ โดยสหรัฐฯภายใตการนําของประธานาธิบดีทรูแมนใหความสําคัญกับการฟนฟู และสนับสนุนการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมโลกภายใตนโยบายโครงการขอที่ 4 และ ไดเริ่มใหความสนใจตอภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยมากขึ้น ในฐานะทีเ่ ปนแหลง ทรัพยากรและตลาดเพื่อฟน ฟูเอเชียตะวันออกและรองรับสินคาจากสหรัฐฯและญี่ปนุ 1 โดยสหรัฐฯ ไดเริ่มเขามีบทบาทตอการเมืองภายในมากขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อทําใหการเมือง ไทยมีเสถียรภาพ และทําใหไทยดําเนินนโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป สําหรับ ไทยทามกลางบริบทภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ ไทยสามารถรอดพนจาก การเปนผูแพสงครามโลกดวยความชวยเหลือของสหรัฐฯ เนื่องจาก สหรัฐฯภายใตการนําของ ประธานาธิบดีทรูแมนมีตองการเขามีบทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อสนับสนุนการ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมภายใตการนําของสหรัฐฯ โดยสหรัฐฯขณะนัน้ เห็นวา ขบวนการชาตินิยมและการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตที่เกิดขึ้นในภูมภิ าคเอเชียเปนอุปสรรค ตอผลประโยชนของสหรัฐฯ สหรัฐฯจึงใหการสนับสนุนฝรั่งเศสใหกลับเขามีอํานาจในอินโดจีนอีก ครั้งหนึง่ ในขณะที่ รัฐบาลปรีดี พนมยงคและกลุมของเขาที่แมจะเคยมีความสัมพันธที่ดีกับ สหรัฐฯในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ตาม แตดวยเหตุที่ พวกเขามีนโยบายการบริหารที่โนม เอียงไปในทางสังคมนิยมและใหการสนับสนุนขบวนการชาตินิยมปลดแอกของเวียดมินห อัน นําไปสูการจัดตั้งสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใตขึ้นยิง่ ขัดแยงกับนโยบายของสหรัฐฯ ทําให สหรัฐฯไมพอใจพวกเขาและไมใหการสนับสนุน “กลุมปรีดี”ใหมีอํานาจตอไป เมื่อพวกเขาตองเพื่อ เผชิญกับการตอตานทางการเมือง ควรกลาวดวยวา เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลง “กลุมรอยัลลิสต”ไดกลับมาเปนตัว แสดงทางการเมืองไทยอีกครั้ง เมื่อ“กลุม จอมพล ป.”ไดตกจากอํานาจการเมืองไปแลว เมื่อ “กลุม รอยัลลิสต”มีความตองการเขามามีอาํ นาจทางการเมืองจึงนําไปสูการแตกสลายของ“พันธมิตร”ที่ เคยเกิดขึ้นในชวงสงครามโลกระหวาง“กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต” ประกอบกับบรรยากาศ
1
William Borden, The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955.; Jim Glassman, “The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy”: 1527-1544.
249
การเมืองแบบเปดภายหลังสงครามโลก ทําใหทงั้ 2 กลุมไดกลายมาเปนคูปรปกษสําคัญในการ เมืองไทยจนนําไปสูปญหาเสถียรภาพทางการเมือง 2 ไมแตเพียงเสถียรภาพการเมืองภายในที่เกิดขึ้นจาก “กลุมปรีดี” กับ“กลุมรอยัลลิสต” เทานัน้ ที่เปนปญหา แตปญหาการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวอานันทฯที่รัฐบาล ปรีดี พนมยงคและกลุมของเขายังไมสามารถสรางความกระจางใหกับสาธารณชนไดถูก “กลุม รอยัลลิสต”ใชเปนประเด็นทางการเมืองในการโจมตีรัฐบาลขณะนัน้ อยางรุนแรง อีกทัง้ ความไม พอใจของ“กลุมจอมพล ป.” ที่ถูกโจมตีจาก“กลุมปรีดี”วา พวกเขาเปนผูท ี่นาํ ไทยเขาสูส งครามจน เกือบตกเปนประเทศผูแพสงคราม พวกเขามีความตองการกลับเขาสูอาํ นาจอีกครั้งหนึ่ง จึง นําไปสูการเกิดขึ้นของ “พันธมิตรใหม” ระหวาง“กลุมรอยัลลิสต” กับ“กลุมจอมพล ป.”ขึ้น ทําให ปรีดีและกลุมของเขาถูกกําจัดออกไปจากอํานาจทางการเมืองอยางไมยากนักดวยการในการ รัฐประหารเมือ่ 8 พฤศจิกายน 2490 ดวยกําลังของคณะรัฐประหาร โดยสหรัฐฯมิไดมีนโยบาย ชวยเหลือปรีดี และกลุมของเขา ซึ่งมิตรเกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ใหกลับเขาสูอ ํานาจอีก ภายหลังการรัฐประหาร 2490 ไมนาน จอมพล ป. พิบูลสงครามไดขับไลรัฐบาลของ “กลุมรอยัลลิสต”ลงจากอํานาจสําเร็จ การกลับเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีของเขาครั้งนี้ สหรัฐฯไดใหการยอมรับรัฐบาลของเขา แมเขาจะเคยเปนผูประกาศสงครามกับฝายสัมพันธมิตร ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ตาม เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาวสถานการณการเมืองระหวาง ประเทศในภูมภิ าคเอเชียมีความผันผวนอยางมากจากชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสตในจีน สงผล ใหสหรัฐฯสนับสนุนรัฐบาลของเขาใหมีเสถียรภาพทางการเมืองเพื่อทําใหไทยสามารถรวมมือกับ สหรัฐฯตอตานคอมมิวนิสตในภูมิภาคไดอยางราบรื่น นับตั้งแตป 2493 ความใกลชิดระหวางสหรัฐฯกับรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามผาน ความชวยเหลือทางการทหารแกไทยมีความชัดเจนมากขึน้ เมื่อทัง้ สองฝายไดลงนามในขอตกลง ถึง 3 ฉบับในปเดียวกันนัน้ เอง โดยเฉพาะอยางยิ่งขอตกลงความชวยเหลือทางการทหารทีท่ าํ ให ไทยไดเริ่มตกเขาสูเงาภาวะกึ่งอาณานิคมของสหรัฐฯ อีกทัง้ เมื่อสงครามเกาหลีปะทุขึ้น ดวยทาที ของรัฐบาลทีป่ ระกาศสงกองทัพเขารวมสงครามเกาหลีสรางความพอใจใหกับสหรัฐฯเปนอยาง มาก จากนัน้ สหรัฐฯไดขยายความชวยเหลือทางการทหารแกกลุมทหารและกลุมตํารวจมากขึน้ มีผลทําใหรัฐบาลสามารถรักษาเสถียรภาพทามกลางแรงตอตานรัฐบาลไดมากยิ่งขึน้ อยางไรก็ ตาม ความชวยเหลือของสหรัฐฯที่ใหกับรัฐบาลก็นําไปสูก ารแขงขันทางการเมืองระหวางจอม 2
Sorasak Ngamcachonkulkid, “The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics”.; สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ, ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทาง การเมืองภายในประเทศไทย ระหวางพ.ศ. 2481-2492.
250
พลสฤษดิ์ ธนะรัชตในฐานะผูนํากลุม ทหารและพล.ต.อ.เผา ศรียานนทในฐานะผูนาํ กลุมตํารวจที่ เพิ่มมากขึ้นเปนเงาตามตัวอันไดสรางปญหาใหกับรัฐบาลในเวลาตอมาดวยเชนกัน ภายหลังความฝายแพของฝรั่งเศสในสมรภูมิเดียนเบียนฟู ทําใหสหรัฐฯภายใตการนํา ของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรปรับเปลี่ยนนโยบายตอเอเชียตะวันออกเฉียงใตและไทยใหมีความ เขมขนมากยิง่ ขึ้น เนื่องจาก สหรัฐฯขณะนัน้ มีความวิตกถึงปญหาสุญญากาศทางการเมือง ระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตตามทฤษฎีโดมิโนทีจ่ ะทําใหสหรัฐฯสูญเสีย เขตอิทธิพลทางการเมืองในภูมิภาคฯไปอันจะมีผลกระทบตอการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมทําใหสหรัฐฯมีแผนการเปลีย่ นใหไทยกลายเปนปอมปราการของการตอตาน คอมมิวนิสตในภูมิภาคฯ อีกทัง้ สหรัฐฯไดอนุมัติแผนสงครามจิตวิทยา(PSB-D23)เพื่อตอตาน คอมมิวนิสตในไทยอีกดวย ดวยแผนสงครามจิตวิทยาที่เริ่มตนในตนป 2497ทําใหสหรัฐฯเริ่มใหการสนับสนุน สถาบันกษัตริยใหเขามามีสว นรวมในสงครามจิตวิทยาในไทย ทัง้ นี้ การใหความสนับสนุนสถาบัน กษัตริยของสหรัฐฯนีเ้ ปนสิง่ ใหมทมี่ ีความแตกตางไปจากเดิม เนื่องจากที่ผานมาสหรัฐฯเคยให ความชวยเหลือแตเพียงกลุม ทหารและกลุม ตํารวจเทานัน้ ดังนัน้ ดวยแผนสงครามจิตวิทยาของ สหรัฐฯมีสวนสําคัญทําใหสถาบันกษัตริยแ ละ“กลุมรอยัลลิสต” มีความเขมแข็งทางการเมืองมาก ขึ้นและทําใหพวกเขาพรอมที่จะทาทายอํานาจของรัฐบาลไดในเวลาตอมา อยางไรก็ตาม สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศที่ผันผวน ทําใหรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงครามพยายามเปดไมตรีกับจีนซึ่งสรางความไมพอใจใหกับสหรัฐฯ อีกทัง้ การที่รัฐบาล พยายามสรางบรรยากาศประชาธิปไตยในไทยเมื่อปลายป 2498 มีสวนสําคัญในการสรางกระแส ความตื่นตัวทางการเมืองและการเกิดกระแสตอตานสหรัฐฯที่ทวีความเขมขนมากขึ้น ในชวงเวลา นั้นเอง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและกลุมทหาร ผูเปนคูขดั แยงกับกลุมตํารวจไดหันไปสรางพันธ มิตรสถาบันกษัตริยและ“กลุม รอยัลลิสต”เพื่อชัยชนะทางการเมือง ทําใหทงั้ รัฐบาลจอมพล ป. และพล ต.อ.เผา แกนนํากลุม ตํารวจซึง่ ไมตองการใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”กลับมา มีอํานาจทางการเมืองที่จะทาทายอํานาจของรัฐบาลไดอีก พวกเขาจึงหันไปเปนพันธมิตรกับ “กลุมปรีดี” เพือ่ ชัยชนะทางการเมืองเชนกัน ดวยเหตุนี้ ภาพการตอสูทางการเมืองในชวงปลาย รัฐบาลจอมพล ป.จึงเปนภาพของการเมืองที่มีสองขั้ว คือ รัฐบาลจอมพล ป. กลุม ตํารวจและ “กลุมปรีดี” ขั้วหนึง่ กับสถาบันกษัตริย “กลุมรอยัลลิสต”และกลุมทหาร อีกขั้วหนึ่ง ซึ่งพรอมที่จะ เดินไปสูจุดแตกหักทางการเมืองในที่สุด ดังนัน้ การเมืองไทยในชวงเวลาดังกลาวนัน้ จึงหาไดมีแตเพียงบทบาทของทหารเปนตัว แสดงทางการเมืองตัวเดียวที่สรางปญหาใหกับการเมืองไทยตามแนวคิดเรื่อง“อํามาตยาธิปไตย” ที่ครอบงําการศึกษาการเมืองไทยมานานเทานั้น แตสถาบันกษัตริยและ “กลุมรอยัลลิสต”ก็มี
251
บทบาทในทางการเมืองในขณะนั้น เฉกเชนเดียวกับบทบาทของสหรัฐฯในฐานะอํานาจภายนอกก็ ไดเขามีสวนในการใหความสนับสนุนทางการเมืองแกกลุมการเมืองตางๆของไทยทัง้ กลุมทหาร กลุมตํารวจและสถาบันกษัตริยในเวลาตอมา อันมีสวนสําคัญที่ทาํ ใหการตอสูทางการเมืองในชวง ปลายรัฐบาลจอมพล ป.เปนไปอยางเขมขน สุดทายแลว ปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นในชวงปลายรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม นั้น ในสายตาของสหรัฐฯเห็นวา รัฐบาลไดสูญเสียความนิยมจากสาธรณชน อีกทัง้ ที่ผา นมา รัฐบาลก็หาไดดําเนินนโยบายตามความตองการของสหรัฐฯ มีผลทําใหสหรัฐฯตัดสินใจสนับสนุน กลุมการเมืองใหมใหกาวขึ้นมามีอํานาจในการเมืองไทยแทนกลุม การเมืองเดิม เพื่อดําเนิน นโยบายตามที่สหรัฐฯตองการตอไป ไมนานจากนัน้ ความขัดแยงทางการเมืองระหวางสองขั้วได เดินไปสูจุดแตกหักในการรัฐประหารโคนลมรัฐบาลเมื่อ 16 กันยายน 2500 ดังนั้น การรัฐประหาร ครั้งนี้จึงกลายเปนจุดเริ่มตนของการกอตัวของพันธมิตรใหมระหวาง สหรัฐฯ สถาบันกษัตริยและ กองทัพหรือ“ไตรภาคี” ที่ดํารงอยูในการเมืองไทยอยางยาวนานกวา 2 ทศวรรษตอมา กลาวโดยสรุปแลว จะเห็นไดวา ภายใตระเบียบโลกของสหรัฐฯทีก่ อตัวขึน้ ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 นัน้ สหรัฐฯไดเขามามีบทบาทแทรกแซงการเมืองไทยในฐานะเปนปจจัยที่ สําคัญในการสนับสนุนกลุม การเมืองกลุมใดกลุมหนึง่ ใหไดรบั ชัยชนะทางการเมือง และมีสวน สําคัญในการสนับสนุนใหกลุมการเมืองทีไ่ ดรับชัยชนะมีอํานาจทางการเมืองที่มเี สถียรภาพเพื่อ ทําใหกลุมดังกลาวดําเนินนโยบายของไทยใหสอดคลองกับความตองการของสหรัฐฯตอไป ดวย เหตุนี้ การรัฐประหาร 2500 จึงเปนจุดเริ่มตนของการเปดทางโลงใหกบั บทบาทของสหรัฐฯในการ ผลักดันและแสวงหาประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจควบคูไปกับการปราบปรามคอมมิวนิสต ในไทยอันนําไปสูการปกครองระบอบเผด็จการทหารของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชตและจอมพล ถนอม กิตติขจรอยางปราศจากขอกังขา อีกทัง้ ทําใหสถาบันกษัตริยและ“กลุมรอยัลลิสต”ได กลายเปนกลุม การเมืองทีม่ บี ทบาททางการเมืองสําคัญมากยิง่ ขึ้นในการเมืองไทยในเวลาตอมา ตลอดจน การรัฐประหารดังกลาวมีสวนทําใหไทยตกอยูภ ายใตการครอบงําของสหรัฐฯตอไปและ มีผลทําใหไทยกลายเปนฐานทัพที่สําคัญของสหรัฐฯเพื่อการเขาแทรกแซงกิจการภายในของ ประเทศเพื่อนบานในอินโดจีน ซึ่งไมแตเพียง การสรางปญหาความสูญเสียที่ยืดเยือ้ ยาวนานแก ประเทศเพื่อนบานของไทยเทานั้น แตยังไดกลายเปนชนวนใหเกิดความขัดแยงภายในการเมือง ไทยใตรัฐบาลเผด็จการทหารและรัฐบาลพลเรือนอํานาจนิยมกวา 2 ทศวรรษตอมา ซึ่งมีผล สะเทือนอยางลึกซึ้งตอการเมืองการปกครองและความสัมพันธระหวางประเทศของไทยสมัยใหม อยางสําคัญทีส่ ุดชวงหนึง่ ในประวัติศาสตรไทยในระยะใกลนี้ 3 3
โปรดดู กุลลดา เกษบุญชู มี้ด, “การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอมภายใตโครงสรางอํานาจโลก”.; Jim Glassman, Thailand at the Margins.; อุกฤษฏ ปทมานันท, “สหรัฐอเมริกากับเศรษฐกิจไทย(1960-1970)”.;
252
Hewison, Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand.; พอพันธ อุยยานนท, “สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549.; พวงทอง ภวัคพันธุ, สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ‘รัฐไทย’,(กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549).; จุฬาพร เอื้อรักสกุล, “กรณีมายาเกส: ศึกษาการตัดสินใจนโยบายในภาวะวิกฤต,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2529).; Bowie, Rituals of National Loyalty: The Village Scout Movement in Thailand.; Benedict R.O’G Anderson, “Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of the October 6 Coup,” in Bulletin of Concerned Asian Scholars 3, 31(977):, 13-33.; ธงชัย วินิจะกูล, “ความทรงจํา ภาพสะทอนและความเงียบในหมูฝายขวาหลัง การสังหารหมู 6 ตุลา (Memories, Reflections and Silence among the Right-wingers after the October 6 Massacre),” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2550.; ใจ อึ๊งภากรณ สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และคนอื่นๆ, อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง,(กรุงเทพฯ: คณะกรรมการรับรูและสืบพยานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519, 2544).; สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง.; เกงกิจ กิตติเรียงลาภ, “การเมืองวาดวยการ ตอสูทางชนชั้นในประเทศไทยจากพ.ศ.2535-พ.ศ.2549,” (วิทยานิพนธรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551) เปนตน
รายการอางอิง ภาษาไทย 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. กฎบัตรปาซิฟค สนธิสัญญาการปองกันรวมกันแหงเอเชียอาคเนย พิธสี ารตอทายสนธิสัญญาการ ปองกันรวมกันแหงเอเชียอาคเนย และประมวลสนธิสญ ั ญาและอนุสัญญาระหวาง ประเทศบางฉบับ. พระนคร: โรงพิมพพระจันทร, 2497. กนตธีร ศุภมงคล. การวิเทโศบายของไทย ระหวางปพทุ ธศักราช 2483 ถึง 2495. กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิง่ จํากัด, 2537. กมล เข็มทอง. สูอเมริกันแดนสวรรค. พระนคร: โรงพิมพศิลปชัย, 2493. กมล จันทรสร. วิธีกาํ จัดนักการเมืองชั่วจากหนังสือพิมพประชาธิปไตย ฉบับวันเกิดที่ 24 มกราคม 2500. พระนคร: สํานักพิมพประชาธิปไตย, 2500. กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัติของผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึง่ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแมคําผาง, 2532. กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ. ประชาธิปไตยสมัย พล.ต.อ.เผา ศรียานนท. กรุงเทพฯ: กิตติศักดิ์ ศรีอําไพ, 2529. กรุณา กุศลาสัย. คณะทูตใตดินสูปกกิง่ . กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสุขภาพใจ, 2545. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ธนาคารโลกกับพัฒนาการเศรษฐกิจของไทย. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอม ภายใตโครงสรางอํานาจโลก . กองทุน ปรีดี พนมยงค มูลนิธิ 50 ป ธนาคารแหงประเทศไทย, 2550. กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ความขัดแยงทางการเมืองไทย ขามไปใหพนพลวัตภายใน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา, 2552. กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดีลับ คดีปฏิวัตรประเทศไทย 2492.พระนคร : บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492. กาจ กาจสงคราม, พล ท. เรือ่ งของวันชาติ 2492.พระนคร: โรงพิมพรัฐภักดี , 2492. กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดี สําเนาจดหมายของ ‘อมตชน’ กับเรียงความตอบประเด็น เรื่องเกี่ยวกับประเทศชาติและคณะรัฐประหาร 8 พ.ย.2490. พระนคร: บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492.
254
กาจ กาจสงคราม,พล ท. สารคดี เรื่อง กําลังและอํานาจของประเทศชาติ. พระนคร : บริษัท รัฐภักดี จํากัด, 2492. กองบรรณสาร กระทรวงการตางประเทศ เกงกิจ กิตติเรียงลาภ. การเมืองวาดวยการตอสูทางชนชัน้ ในประเทศไทยจาก พ.ศ.2535พ.ศ.2549. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2551. “เกียรติ”(สละ ลิขิตกุล). จี้นายก. พระนคร: สํานักพิมพชัยฤทธิ,์ 2493. “เกียรติ”(สละ ลิขิตกุล). พงษาวดารการเมือง. พระนคร: สํานักพิมพเกียรติศักดิ์, 2493. เกรียงศักดิ์ พิศนาคะ. เลือกตั้งสกปรก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเอเชียการพิมพ, 2517. ขอบังคับวาดวยการจัดการ พรรคเสรีมนังคศิลา และกําหนดนโยบายของพรรค พ.ศ.2498 กับ พระราชบัญญัติพรรคการเมืองพ.ศ.2498. พระนคร : บริษัท ประชาชาง จํากัด, 2499. ขาวโฆษณาการ 10, 11 (พฤศจิกายน 2490) ขาพเจาถูกสัง่ เนรเทศ: เอกสารเกี่ยวกับกรณีสั่งเนรเทศ บรรณาธิการและผูพิมพ ผูโฆษณาของ หนังสือพิมพฉวนหมินเปา. พระนคร: จี้ฮง แซฉั่ว กับ เกีย้ งตง แซโงว, 2494 “คนขาวอิสสระ”. เบื้องหลังคดีเลือด ยุคอัศวินผยอง . พระนคร: โรงพิมพ อักษรบริการ, 2500. ความตกลงวาดวยความชวยเหลือทางการทหารระหวางรัฐบาลแหงประเทศไทยกับรัฐบาล สหรัฐอเมริกา ลงนาม ณ กรุงเทพฯ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2493. พระนคร: โรงพิมพ พระจันทร, 2493. แคลว นรปติ. เยี่ยมปกกิ่ง. พระนคร: อักษรวัฒนา, 2500. คูรสิโอ มาลาปารเต(เขียน) จินดา จินตนเสรี(แปล). เทคนิครัฐประหาร. พระนคร: สํานักพิมพ เกวียนทอง, 2500. โฆษณาการ, กรม. ประมวลคําปราศรัยและสุนทรพจนของนายกรัฐมนตรี , พระนคร : โรงพิมพพานิชศุภผล, 2483. จงกล ไกรฤกษ,ร.ท. อยูอยางเสือ: บันทึกชีวิตนักตอสูท างการเมืองยุคบุกเบิก(2475-2500). เชียงใหม: The Knowledge Center, 2546. จันทรา บูรณฤกษ และ ปยนาถ บุญนาค. การศึกษาผลกระทบทางการเมืองจากความสัมพันธ ไทย-สหรัฐอเมริกา(พ.ศ.2463-2506). รายงานการวิจยั ทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521. “จารึก ชมพูพล”. บันทึกจากบางขวาง. พระนคร: สหบรรณ, 2500. “จารึก ชมพูพล”. สูอิสรภาพ. พระนคร : สํานักพิมพสหบรรณ, 2501.
255
จิระ วิชิตสงคราม,พล อ. การชวยเหลือทางการทหารของสหรัฐอเมริกา. กลาโหม 1,1 (มกราคม 2497) จุฬาพร เอื้อรักสกุล. กรณีมายาเกวซ : ศึกษาการตัดสินนโยบายในภาวะวิกฤตการณ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529. ใจ อึ๊งภากรณ, สุธาชัย ยิม้ ประเสริฐและคนอื่นๆ. อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการรับรูและสืบพยานเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519, 2544. จําลอง อิทธะรงค. ละครการเมือง. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492. เฉียบ อัมพุนนั ท,ร.ต.อ. มหาวิทยาลัยของขาพเจา. พระนคร: ไทยสัมพันธ, 2500. เฉลิม มลิลา. รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518. ชวน รัตนวราหะ. กอนฟาสาง. กรุงเทพฯ: สหมิตรการพิมพ, 2518. ชีวิตและงานของอารีย ลีวีระ.พระนคร: ไทยพณิชการ. 2506. ชีวิตและงานของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ (พิมพแจกในงานครบรอบหกสิบปของหลวงสุขุมนัย ประดิษฐ). พระนคร: หองภาพสุวรรณ, 2507. ชาญวิทย เกษตรศิริ และคนอื่นๆ, บรรณาธิการ. บันทึกการสัมมนาจอมพล ป.พิบลู สงคราม กับการเมืองไทยสมัยใหม. กรุงเทพฯ: โครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2540. ชาญวิทย เกษตรศิริ. 2475 การปฏิวัติสยาม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร, 2543. ชาญวิทย เกษตรศิริ และธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต, บรรณาธิการ. ปรีดี พนมยงค และ 4 รัฐมนตรีอีสาน+ 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร หอ จดหมายเหตุธรรมศาสตร, 2544. ชาตรี ฤทธารมย. นโยบายตางประเทศของประเทศไทย(2488-2497).วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาการระหวางประเทศและการทูต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. ชาย ไชยกาล, พ.อ. สูแดนเสรี (Leap to Freedom). พระนคร: หอวิทยาการ, 2496. ชุมพล โลหะชาล,พล.ต.ท. หนีไปกับจอมพล. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจํา ของผูอยูในเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคมนักขาวแหงประเทศ ไทย, 2516.
256
ชุมสาย ไชยวัต. บทบาททางการเมืองของพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท พ.ศ. 2490 – 2500. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538. โชติ มณีนอย. ตอยๆตามกันมากวา 30 ป. ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ เฉลิมวุฒิ โฆษิต ณ เมรุวัดมกุฎกษัตริยาราม 19 มีนาคม 2526. กรุงเทพฯ : โรงพิมพธรรมดา, 2526. ไชยวัฒน ค้ําชู. รวมบทความสัมมนาของนิสิตวาดวยความสัมพันธระหวางประเทศ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2522. ไชยวัฒน ค้ําชู, บรรณาธิการ. ญี่ปุนศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเซียศึกษา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2540. ไชยวัฒน ค้ําชู. นโยบายตางประเทศญี่ปุน: ความตอเนื่องและความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549. ณัฐพล ใจจริง. วิวาทะของหนังสือ ‘เคาโครงการณเศรษฐกิจฯ’ และ ‘พระบรมราชวินิจฉัยฯ’ กับ การเมืองของการผลิตซ้ํา. จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร 6 (มิ.ย. 2544 - พ.ค. 2545) ณัฐพล ใจจริง. 555 กับ My Country Thailand: ความเคลื่อนไหวทางการเมือง ความคิดทาง เศรษฐกิจและประวัติศาสตรนิพนธแบบชาตินิยมวิพากษของพระสารสาสนพลขันธ. รัฐศาสตรสาร. 25,1 (2547) ณัฐพล ใจจริง. เดือน บุนนาค กับ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง. จุลสารหอ จดหมายเหตุธรรมศาสตร 8 (มิ.ย. 2547-พ.ค. 2548) ณัฐพล ใจจริง. การรื้อสราง 2475: ฝนจริงของนักอุดมคติ ‘น้าํ เงินแท’. ศิลปวัฒนธรรม 27, 2 (ธันวาคม 2548) ณัฐพล ใจจริง. มองคดีการลบชื่อนักศึกษากรณี‘กบฏสันติภาพ’ผานเอกสาร ศาสตราจารย วิจิตร ลุลิตานนท. จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร 10 (มิ.ย.2549 - พ.ค.2550) ณัฐพล ใจจริง. ความชอบดวยระบอบ: วิวาทะวาดวยอํานาจของ‘รัฐฏาธิปตย’ในคําอธิบาย กฎหมายรัฐธรรมนูญ (2475-2500). ศิลปวัฒนธรรม 28, 3 (มกราคม 2550) ณัฐพล ใจจริง. การปฏิวัติ 2475 และ ‘รอยัลลิสต’: การเมืองไทยกับ ‘ระบอบกลายพันธุ’. รัฐศาสตรสาร 28, 1 (2550) ณัฐพล ใจจริง. ความสัมพันธไทย-จีน กับความขัดแยงทางการเมือง: การทูตใตดิน(พ.ศ.24982500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม. รัฐศาสตรสาร 29, ฉบับพิเศษ (2551)
257
ณัฐพล ใจจริง. จากสงครามจิตวิทยาแบบอเมริกันสูการสรางสัญลักษณแหงชาติภายใตเงา อินทรีย. การสัมมนาวิชาการ สงครามเย็นในประเทศไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ 2553 อาคารมหาจุฬาลงกรณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. นายควง อภัยวงศ กับพรรคประชาธิปตย. กรุงเทพฯ: เรืองศิลป, ไมปรากฎปพมิ พ. ณรงค ไตรวัฒน. เบื้องหลังการเมืองยุคทมิฬ. กรุงเทพฯ: อุดมศึกษา, 2517. ดารารัตน เมตตาริกานนท. การเมืองสองฝงโขง: การรวมกลุมทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ. 2476-2494. กรุงเทพฯ: มติชน, 2546. ดําริห ปทมะศิริ. บันทึกความจําและกรณีสวรรคต. พระนคร: สุรียรัตน, 2491. ถนอม กิตติขจร,จอมพล. คําไวอาลัยแดคุณ ปา จอมพล ผิน ชุณหะวัณ. ใน อนุสรณในงาน พระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ วันที่ 7 พฤษภาคม 2516, กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, 2516. ถนอมจิตต มีชื่น. จอมพล ป.พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ(พ.ศ.2495-2500). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2531. ถามตอบ “พายัพ วนาสุวรรณ” หัวขอจอมพล ป.กับนายกทักษิณ 31 สิงหาคม 2548 [ออนไลน] แหลงที่มา: www.manager.co.th/Politics/PoliticsQAQuestion.asp?QAID=5246 [11 กันยายน 2552] แถมสุข นุมนนท. การเจรจาทางการทูตระหวางไทยกับอังกฤษ ค.ศ.1900-1909. ใน ชุมนุม บทความวิชาการถวายพระวรวงศเธอ กรมหมืน่ นราธิปประพันธพงศในโอกาสทีพ่ ระชนม มายุครบ 80 พรรษาบริบูรณ 25 สิงหาคม 2514. กรุงเทพฯ: โครงการตําราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย,2514. แถมสุข นุมนนท. จอมพล ป.พิบูลสงครามกับการสรางชาติ. วารสารประวัติศาสตร 3, 2 (พฤษภาคม–สิงหาคม 2521) แถมสุข นุมนนท. การเมืองและการตางประเทศในประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช, 2524. แถมสุข นุมนนท. ขบวนการตอตานอเมริกาสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม. ใน รวมบทความ ประวัติศาสตร 2 (มกราคม 2524) แถมสุข นุมนนท. ความสัมพันธระหวางไทย-สหรัฐฯอเมริกาภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2525. แถมสุข นุมนนท. การทูตสมัยรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528.
258
แถมสุข นุมนนท. เมื่ออเมริกันศึกษาประวัติศาสตรไทย. ใน การทูตสมัยรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2528. แถมสุข นุมนนท. รายงานการวิจัย เรื่อง 50 ป พรรคประชาธิปตยกับการเมืองไทย. 2539. ทักษ เฉลิมเตียรณ(เขียน) พรรณี ฉัตรพลรักษและ ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข(แปล) การเมือง ระบบพอขุนอุปถัมภแบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2526. ทักษ เสนียวงศ ณ อยุทธยา, พ.อ. อินโดจีน: รัฐสมทบของสหภาพฝรั่งเศส. พระนคร: การพิมพ ทหารผานศึก, 2496. ทักษ ปทมสิงห ณ อยุทธยา, พล.ต.ต. บันทึกความทรงจํา. ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. “ทหารเกา”(สละ ลิขิตกุล). เบื้องหนา-เบื้องหลัง พรรคประชาธิปตย(ลับเฉพาะ-ไมเคยมีการ เปดเผย).กรุงเทพฯ: การะเวก, 2521. ทองใบ ทองเปาด. คอมมิวนิสตลาดยาว. กรุงเทพฯ: คนหนุม, 2517. “เทอดเกียรติ ”และ“เอกซเรย”. ปทานุกรมการเมือง. พระนคร: รัชดารมภ, 2493. เทียน ประทีปเสน. จอมพลป.ขุนศึกผูไรแผนดิน . กรุงเทพฯ: โรงพิมพพัฒนาการพิมพ, 2507. เทียมจันทร อ่าํ แหวว. บทบาททางการเมืองและการปกครองของจอมพลป.พิบูลสงคราม (พ.ศ.2475 - 2487). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521. “ไทยนอย”(เสลา เรขะรุจ)ิ . จลาจล 2492. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2492. “ไทยนอย”(เสลา เรขะรุจ)ิ . กบฏ 29 มิถุนา. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2494. “ไทยนอย” (เสลา เรขะรุจ)ิ และกมล จันทรสร. วอเตอรลขู องจอมพลแปลก. พระนคร: บริษัท แพร พิทยาและบริษัท โอเดียนสโตร, 2503. “ไทยนอย” (เสลา เรขะรุจ)ิ . 25 คดีกบฎ. พระนคร: ประมวลสาสน, 2513. ธงชัย วินิจจะกูล. ประวัติศาสตรแบบราชาชาตินิยม: จากยุคอาณานิคมอําพรางสูราชาชาตินิยม ใหม หรือ ลัทธิเสด็จพอของกระฎมพีไทยในปจจุบัน. ศิลปวัฒนธรรม 23, 1 (พฤศจิกายน 2544) ธงชัย วินิจจะกูล. ชัยชนะของเสรีประชาธิปไตยที่มพี ระมหากษัตริยอยูเหนือการเมือง. ใน ชาญ วิทย เกษตรศิริ, บรรณาธิการ. ธรรมศาสตรและการเมืองเรื่องพืน้ ที.่ กรุงเทพฯ: มูลนิธิ ตําราทางสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2547. ธงชัย วินิจจะกูล. ขามใหพน ประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณสถาน 14 ตุลา, 2548.
259
ธงชัย วินิจจะกูล. ขามไมพน ประชาธิปไตยหลัง 14 ตุลา: ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชน กับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน รัฐประหาร 19 กันยา : รัฐประหารเพื่อ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน, 2550. ธงชัย วินิจจะกูล. ความทรงจํา ภาพสะทอนและความเงียบในหมูฝายขวาหลังการสังหารหมู 6 ตุลา(Memories, Reflections and Silence among the Right-wingers after the October 6 Massacre). สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2550. ธานี สุขเกษม. ความสัมพันธระหวางไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน: วิเคราะหแนวนโยบาย ตางประเทศของไทยที่มีตอจีน พ.ศ.2492-2515. วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการระหวางประเทศและการทูตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2525. “ธิบดี”. จดหมายเหตุประวัตศิ าสตรประชาธิปไตยของสยามใหม. พระนคร: ดารากร, 2493. ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต. แนวความคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจของม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สมัยเปนนายกรัฐมนตรี .รายงานการวิจยั เสนอตอสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2544. นคร ศรีวาณิช ,พล.ต.ต นายแพทย. กําเนิดพลรมไทย. กรุงเทพฯ: กองบรรณาธิการนิตยสาร โลหเงิน, 2530. นครินทร เมฆไตรรัตน. ระบอบรัฐนิยม จอมพล ป.พิบูลสงคราม: การกอรูปของแนวความคิดและ ความหมายทางการเมือง. รัฐศาสตรสาร 14, 1 (กันยายน – เมษายน 2532 ) นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ.2475. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, 2540. นครินทร เมฆไตรรัตน. ความคิด ความรูและอํานาจการเมืองในการปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน, 2546. นครินทร เมฆไตรรัตน. วิชารัฐศาสตรไทยในบริบทของประวัติศาสตรและการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง. รัฐศาสตรสาร 21, 1 (2542) นิจ ทองโสภิต. แผนดินพระจอมเกลาฯ(Mongkut the King of Siam). กรุงเทพฯ: สมาคม สังคมศาสตรแหงประเทศไทย, 2520. นิคัล สมิธและแบล็คคลาก(เขียน) เอก วีรสกุล(แปล). สยาม-เมืองใตดิน. พระนคร: ประชามิตรสุภาพบุรุษ, 2489. นงลักษณ ลิ้มศิริ, พ.อ.หญิง. ความสัมพันธญี่ปุน-ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 จากงาน คนควาวิจัยของนักวิชาการญี่ปุน-ตะวันตก-ไทย : บทสํารวจสถานภาพแหงความรู. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549.
260
นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). ภารกิจของทูตในวอชิงตัน อารยะ ธรรมอเมริกัน. พระนคร: หอวิทยาการ, 2490. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). วิเทโศบายของสยาม. พิมพครั้งแรก ใน หนังสือพิมพประชาชาติ 3 ตุลาคม 2475 ใน อนาคตแหงสยาม. พระนคร: บรรณกิจ, 2489. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). ประวัติการทูตไทย. พระนคร: อุดม, 2486. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). คุณานุสรณพระปยะมหาราช. ใน ชุมนุมพระนิพนธ. พระนคร: โรงพิมพประชาชาติ, 2483. นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร). พบจูเอนไหลที่บนั ดง. สราญรมย 25 (2518) นราธิปพงศประพันธ,กรมหมืน่ (พระองคเจาวรรณไวทยากร).ความรูท ั่วไปในการตางประเทศ. พระนคร: สมาคมนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย,2488. นอม ชอมสกี(เขียน) ภควดี วีระภาสพงษ(แปล). อเมริกา อเมริกา อเมริกา. กรุงเทพฯ: โกมล คีมทอง, 2544. “นายฉันทนา”(มาลัย ชูพนิ ิจ). X.O.Group: เรื่องภายในขบวนการเสรีไทย. พระนคร: โรงพิมพไทย พานิช สํานักพิมพวรรธนะวิบูลย และจําลองสาร, 2489. “นายรํา”(รําพรรณ พุกกะเจียม). ไมมีเสียงหัวเราะจากภาคอีสาน. พระนคร: ชัยฤทธิ์, 2500. “นายเมือง เดิมชื่อเถื่อน”(ถวิล อุดล). กบฎแบงแยกอิสานในคดีเตียง ศิริขันธ. พระนคร: ประเสริฐ อักษร, 2491. นิติศาสตรรับศตวรรษใหม. พระนคร: คณะกรรมการจัดทําวารสารนิติศาสตร, 2500. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. ไอเซน ฮาวร . พระนคร: โชคชัยเทเวศร, 2495. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. ชีวติ นายพล. พระนคร: ผดุงศึกษา, 2499. เนตร เขมะโยธิน,พลตรี. งานใตดนิ ของพันเอกโยธี. พระนคร: ธนะการพิมพ, 2499. บุณฑริกา บูรณะบุตร. บทบาททางการเมืองของพลเรือตรี ถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ.์ วิทยานิพนธ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. ประจวบ ทองอุไร. สิ้นยุคมืด. พระนคร: อักษรบริการ, 2500. ประจวบ อัมพะเศวต. พลิกแผนดินประวัติการเมืองไทย 24 มิถุนายน 2475-14 ตุลาคม 2516. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2543. ประดาบ พิบูลสงคราม. ซี.ไอ.เอ กับประเทศไทย. สราญรมย 24 (2517) ประทีป สายเสน. กบฎวังหลวงกับสถานะของปรีดี พนมยงค. กรุงเทพฯ: อักษรสาสน, 2532.
261
ประภัสสร เทพชาตรี. นโยบายตางประเทศไทยจากยุควิกฤตเศรษฐกิจสูสหัสวรรษใหม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543. ประเวศ ศรีพพิ ัฒน (แปล) พอล เอ็ม.เอ. ไลนบารเกอร(Paul M.A. Linebarger) (เขียน). สงคราม จิตวิทยา(Psychological Warfare). พระนคร: วีรธรรม,2507. ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน. เจียงไคเช็ค: ประมุขของจีนใหม. พระนคร: โรงพิมพรุงนคร, 2490. ประสิทธิ์ ลุลิตานนท. จดหมายเหตุแหงอดีต(อนุสรณในงานพระราชทานดินฝงศพ). กรุงเทพฯ: โพสต พับลิชชิง่ , 2542. ประเสริฐ ปทมะสุคนธ. รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองป(2485-2517). พระนคร: ชุมนุมชาง, 2517. ปราการ กลิ่นฟุง. การเสด็จพระราชดําเนินทองที่ตา งจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิ พลอดุลยเดช พ.ศ.2493-2530. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2551. “ปากเหล็ก”. ปฏิวัติ (Revolution). พระนคร: ป ๘ ๘, 2502. “ปลาทอง”(ประจวบ ทองอุไร) พรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: กาวหนา, 2508. ปรีดี พนมยงค. คํานิยม. ใน ร.ท.สุภัทร สุคนธาภิรมย. พุทธปรัชญาประยุกต. กรุงเทพฯ: ประจักษ การพิมพ, 2517. ปรีดี พนมยงค. ชีวิตผันผวนของขาพเจาและ 21 ปที่ลี้ภัยในสาธารณรัฐราษฎรจีน. กรุงเทพฯ: เทียนวรรณ, 2529. ปรีดี พนมยงค. ชีวประวัติยอของนายปรีดี พนมยงค. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการศึกษาวิจยั และ ประมวลผลงานของศาสตราจารย ดร.ปรีดี พนมยงค, 2544. เปดอภิปรายทัว่ ไปเมื่อ 29 สิงหาคม 2500 รวม 2 วัน 2 คืน โดยพรรคประชาธิปตย และกลุม สหภูมิในที่สุดตองปฏิวัติ. พระนคร: โรงพิมพประยูร, 2501. แปลก พิบูลสงคราม, จอมพล. นายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณแกผูแทนหนังสือพิมพและผูสื่อขาว ตางประเทศ. พระนคร: กรมราชทัณฑ กระทรวงมหาดไทย, 2498. แปลก พิบูลสงคราม, จอมพล. คําปราศรัย เรื่องแนวนโยบายของรัฐบาล 4 กุมภาพันธ 2500 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ใน สิริ เปรมจิตต. ประวัติศาสตรไทยในระบอบประชาธิปไตย 30 ป. พระนคร: เกษมบรรณากิจ, 2505. ผิน ชุณหะวัณ, จอมพล. ชีวติ กับเหตุการณ. พระนคร : โรงพิมพประเสริฐศิริ, 2513. ผิวบุศย อยูพ รหม. ปทานุกรมคําแผลงอเมริกัน(American Slang)มีคําแผลงในวงภาพยนต ทหารบกและการเมือง. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2490.
262
เผา ศรียานนท, พล.ต.อ. ชีวิตในตางแดน. ใน อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึงแก อนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หางหุน สวนจํากัด ไทย สงเคราะหไทย, 2513. เผา ศรียานนท, พล.ต.อ. เรื่องตะวันออก-ตะวันตก. ใน อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึง แกอนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หางหุน สวนจํากัด ไทย สงเคราะหไทย, 2513. เผา ศรียานนท,พล.ต.อ. เหตุการณกอนเปลี่ยนแปลงการปกครอง. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย: บันทึกความทรงจําของผูอยูใ นเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคม นักขาวแหงประเทศไทย, 2516. พวงทอง ภวัคพันธุ. สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ‘รัฐไทย’. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549. พยงค อรุณฤกษ. ยุคปฏิวัติ. พระนคร: มานิตย ชินตระกูล ,2502. พอพันธ อุยยานนท. สํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริยกับบทบาทการลงทุนทางธุรกิจ. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549. พัฒนชาติ เกริกฤทธิ์สะทาน. ยอดอัศวิน พล.ต.อ.เผา ศรียานนท เลม 1-3 . กรุงเทพฯ: ประมวล สาสน, 2519. “พันเมือง”. สยามนําหนา.พระนคร: โรงพิมพอุดม, 2493. พันศักดิ์ วิญญรัตน. CIA ขาวจากสกลนคร: ของฝากถึงสภาความมัน่ คงแหงชาติ. สังคมศาสตร ปริทัศน (กุมภาพันธ ,2517) พิทยลาภพฤฒิยากร, กรมหมื่น. เจ็ดรอบอายุกรมหมืน่ พิทยลาภพฤฒิยากร. พระนคร: พระจันทร, 2512. พิทยาลาภพฤฒิยากร, กรมหมื่น. อัตตชีวประวัต.ิ พระนคร : โรงพิมพตีรณสาร, 2517. เพ็ญศรี ดุก. การตางประเทศกับเอกราชและอํานาจอธิปไตยของไทย (ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ถึง สิ้นสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม). กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2527. พุฒ บูรณสมภพ, พ.ต.อ. ชัยชนะและความพายแพของบุรุษเหล็กแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ: ศูนยรวม ขาวเอกลักษณ, ไมปรากฎปพิมพ. พุฒ บูรณสมภพ,พ.ต.อ. 13 ป กับบุรุษเหล็กแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ: พีวาทิน พับลิเคชัน่ จํากัด, 2532. พูนศุข พนมยงค. ชีวิตของลูกปาล. ใน อนุสรณนายปาล พนมยงค. กรุงเทพฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525. พูนศุข พนมยงค. 101 ปรีดี-90 พูนศุข. กรุงเทพฯ: ลลิตา สุดา สุปรีดา ดุษฎี วาณี, 2545.
263
“ไพศาล มาลาพันธ”(ไสว มาลยเวช). บันทึกนักโทษการเมือง. กรุงเทพฯ: สันติธรรม, 2528. ฟราน ซิสสโตรี่. พระพุทธศาสนาตอบลัทธิมากซิสม. พระนคร: มหามงกุฎราชวิทยาลัย, 2497. “ฟรีเพรสส”. นักการเมือง สามกก เลม 1-4. พระนคร: สหกิจ, 2493. เฟร็ดเดอริค มาติน สเตอรน(เขียน) “ทูนกิ า”(แปล). วงไพบูลยประชาธิปไตย(Capitalism in America: A Classless Society). พระนคร: คาปราพิมพการ, 2496. เฟร็ดเดอริค ลูอิส แอลเล็น(เขียน) “มัสโคเกียน”(แปล). อเมริกันรุดหนา: การเปลี่ยนแปลงครั้ง ใหญในสหรัฐอเมริกาในรอบกึ่งศตวรรษ 1900-1950(The Big Change). พระนคร: สํานักพิมพคาปรา, 2497. ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี, จอมพลอากาศ. ความทรงจําของขาพเจา ที่ระลึกครอบรอบ 85 ป 21 กุมภาพันธ 2527. กรุงเทพฯ: ไมปรากฎทีพ่ มิ พ, 2527. ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี,จอมพลอากาศ. คําไวอาลัย แด ฯพณฯ จอมพล, พลเรือเอก , พล อากาศเอก ผิน ชุณหะวัณ. ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ วันที่ 7 พฤษภาคม 2516. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ, 2516. ภูธร ภูมะธน. ศาลพิเศษ พ.ศ.2476 พ.ศ.2478 และ พ.ศ.2481. วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 252. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั . (สําเนา) พระราชหัตถเลขาขอ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห ัวภูมพิ ลอดุลยเดช ถึงจอมพล ป. พิบูลสงคราม วันที่ 25 พฤศจิกายน 2490. ใน วิชัย ประสังสิต. เบื้องหลังการสวรรคต ร. 8. พระนคร: ธรรมเสวี, 2498. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั . บันทึกพระราชวิจารณ เรื่อ รางรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย แกไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495. ใน หยุด แสงอุทัย. คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495.พระนคร: โรงพิมพชูสนิ , 2495. มาเรีย เยน(เขียน) “ป.ศานติ”(แปล). เหตุเกิดที่เปตา หรือ ชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยจีนระบอบ คอมมิวนิสต. พระนคร: อุณากรรณ , 2500. มารก เอ เทนเนี่ยน (เขียน) ประจิต พันธนะพันธ (แปล). ประตูมีตา (Out secret in safe). พระนคร: โรงพิมพประเสริฐศิลป, 2497. มุกดา เอนกลาภากิจ. รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2542. มนัส จารุภา. เมื่อขาพเจาจี้จอมพล. พระนคร: แพรพทิ ยา, 2502.
264
มนูญ มาคะสิระ. การรักษาอํานาจทางการเมืองของจอมพล ป. พิบูลสงครามระหวาง พ.ศ.24912500. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,2529. มัสสิโม ซัลวาดอริ(เขียน) ประจิต พัธนะพันธ(แปล). ประวัติลัทธิคอมมิวนิสตปจจุบนั (The Rise of Modern Communism). พระนคร: สํานักพิมพวีระธรรม, 2498. “แมลงหวี”่ (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช). เบื้องหลังประวัติศาสตร เลม 1. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ , 2491. ยวด เลิศฤทธิ.์ ระลึกถึงมือกฎหมายคณะรัฐประหาร 2490. ใน อนุสรณในงานพระราชทานเพลิง ศพนายเขม ชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 25 กุมภาพันธ 2538. กรุงเทพฯ: ไมปรากฎทีพ่ ิมพ, 2538. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและขอบังคับการประชุมและการปรึกษาของสภาผูแทนราษฎร พ.ศ.2495. พระนคร: สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2499. รัฐธรรมนูญแหงพระราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แกไขพุทธศักราช 2495[ออนไลน] แหลงที่มา: www.krisdika.go.th [11 มกราคม 2553] รายงานการดูงานในตางประเทศของพล ต.อ.พระพินิจชนคดีและคณะ. พระนคร: ส.การพิมพ, 2496. รายงานการประชุมสภาผูแทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500. พระนคร: รวมมิตรไทย, 2506. ราชกิจจานุเบกษา(แผนกกฤษฎีกา) 64, 56 (ฉบับพิเศษ 22 พฤศจิกายน 2490). ราชกิจจานุเบกษา 66, 17 (23 มีนาคม 2492). ราชกิจจานุเบกษา 74, 22 (ฉบับพิเศษ 2 มีนาคม 2500). รังสรรค ธนะพรพันธ. กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย : บทวิเคราะหเชิง ประวัติศาสตรการเมือง พ.ศ.2475-2530. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศ ไทย, 2532. โรงเรียนสงครามจิตวิทยา. หลักและปฏิบตั ิของลัทธิคอมมิวนิสต. พระนคร: โรงพิมพอุดม , 2497. ละเอียด พิบูลสงคราม, ทานผูหญิง. บันทึกความทรงจํา. ใน เบื้องแรกประชาธิปไตย : บันทึก ความทรงจําของผูอยูในเหตุการณสมัย พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: สมาคมนักขาว แหงประเทศไทย, 2516. ลมูล อติพยัคฆ. รอนไปปารีสกับนายควง อภัยวงศ. พระนคร: คลังวิทยา, 2499. วรรณไว พัธโนทัย. โจวเอินไหล ผูปลูกสัมพันธไทย-จีน. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพ, 2519. วิชัย ประสังสิต. ปฏิวัติ รัฐประหาร และกบฏจลาจลในสมัยประชาธิปไตยแหงประเทศไทย. พระนคร: บริษัทรัฐภักดี จํากัด, 2492.
265
วิจิตร วิชยั สาร. รัฐบาลไทยในสมัยนายทวี บุณยเกตุเปนนายกรัฐมนตรี(31 สิงหาคม–16 กันยายน 2488). วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2516. “วิเทศกรณีย” . เมื่อ…จอมพลป.ลี้ภัย. พระนคร: โรงพิมพ พิบูลยการพิมพ, 2505. วิวัฒน คติธรรมนิตย. กบฎสันติภาพ. กรุงเทพฯ: พคบไฟ, 2539. วีระ สมบูรณ. ความไมรูไรพรมแดน: บางบทสํารวจในดินแดนความคิดทางสังคม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมล คีมทอง, 2541. ศิริ พงศทัต. ธรรมนูญองคการโลก. พระนคร: โรงพิมพไทยเขษม, 2488. “ศิวะ รณชิต”(สุวัฒน วรดิลก). จดหมายจากลาดยาว. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ, 2521. ศุภกาญจน ตันตราภรณ. รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย(ฉบับ ชั่วคราว)พุทธศักราช2490. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2542. ศุภมิตร ปติพัฒน. ความสัมพันธระหวางประเทศ : พัฒนาการและความกาวหนาขององคความรู. คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550. ศุภสวัสดิ์วงศสนิท สวัสดิวัตน ,หมอมเจา. 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ์ .กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง, 2543. ศูนยขอมูลของสํานักงานขาวกรองกลาง สหรัฐฯ(CIA) ศูนยเอกสารแหงประเทศไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (TIC) ศรีวิสารวาจา,พระยา. The Revolution of 1932. ใน อนุสรณในการพระราชทานเพลิงศพ พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ณ เมรุหนาพลับพลาอิสริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 มิถนุ ายน 2511, พระนคร: พระจันทร, 2511. “ส.เจริญจรัมพร”(เตียง ศิรขิ ันธ) ปรัชญาการเมืองสมัยปจจุบัน(Modern Political Philosophies). พระนคร: โรงพิมพอทุ ัย,2492. ส.เทพโยธิน. จลาจลปกษใต. พระนคร: บรรณาคาร, 2494. สังข พัธโนทัย. ชีวิตเปลี่ยน. พระนคร: คลังวิทยา, 2497. สังข พัธโนทัย. ความนึกในกรงขัง. พระนคร: คลังวิทยา, 2499. สังข พัธโนทัย. อานเบื้องหลังสถาปนาสัมพันธไทย-จีน. ประโคนชัย (กรกฎาคม 2525)ใน กรุณา กุศลาสัย, ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัตขิ องผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง. กรุงเทพฯ: แมคําผาง, 2532.
266
สังศิต พิริยะรังสรรค. ทุนนิยมขุนนางไทย พ.ศ. 2475-2503. กรุงเทพฯ: สรางสรรค, 2526. สังศิต พิริยะรังสรรค. ประวัติการตอสูของกรรมกรไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2529. สังวรยุทธกิจ(สังวร สุวรรณชีพ),พล.ร.ต. หลวง. เกิดมาแลวตองเปนไปตามกรรม คือ กฎแหง ธรรมชาติ. ใน อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณยุทธกิจ ณ เมรุ วัดธาตุทอง 29 ธันวาคม 2516. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ, 2516. สมบูรณ วรพงศ. ยึดรัฐบาล: รัฐประหาร 16 กันยายน ลมรัฐบาลพิบูลฯ. พระนคร: โรงพิมพ เจริญธรรม, 2500. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ประวัติศาสตรที่เพิง่ สราง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2544. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. จุดเปลี่ยน 2500: เผา สฤษดิ์ และพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย.ใน ประวัติศาสตรที่เพิง่ สราง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2544. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. 50 ปการประหารชีวิต 17 กุมภาพันธ 2498. ฟาเดียวกัน 3, 2 (เมษายน- มิถนุ ายน 2548) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. หลัง 14 ตุลา. ฟาเดียวกัน 3, 4 (ตุลาคม- ธันวาคม 2548) สมศักดิ์ เจียม ธีรสกุล. สํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย คือ อะไร. ฟาเดียวกัน 4, 1 (มกราคม-มีนาคม 2549) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ขอมูลใหม กรณีสวรรคต:หลวงธํารงระบุชัดผลการสอบสวน ใคร คือ ผูตอง สงสัยที่แทจริง. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี่ยวกับกรณีสวรรคตและขาวลือเรื่อง แผนการใหญของพีน่ องปราโมช. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. วาดวยจดหมายเปดเผยความลับกรณีสวรรคตของ ‘ปรีดี’ ที่เพิ่งเผยแพร. ฟาเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552) สมศักดิ์ นิลนพคุณ. ปญหาเศรษฐกิจของไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ การแกไขของรัฐบาล ตั้งแต พ.ศ.2488-2498. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตรเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปกร, 2527. สมุทร สุรักขกะ. 26 การปฏิวัติไทยและรัฐประหาร สมัย 2089 ถึง 2507. พระนคร: โรงพิมพ สื่อการพิมพ, 2507. สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแยงทางการเมืองภายในประเทศไทย ระหวาง พ.ศ. 2481-2492. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา, 2535.
267
สรอยมุกข ยิง่ ชัยยะกมล. นโยบายตางประเทศไทยของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตอสาธารณรัฐประชาชนจีน (1948 - 1957). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาความสัมพันธระหวางประเทศ ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544. สวาง ลานเหลือ. 37 ปแหงการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: นิตยสารพระเพลิง-อาชญากรรม, 2512. สิทธิ เศวตศิลา, พล.อ.อ. บันทึกความทรงจํา. ใน 40 ป ตชด.(6 พฤษภาคม 2536). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน, 2536. สรุปขออภิปรายของพรรคประชาธิปตยในญัตติเปดอภิปรายทัว่ ไปในนโยบายของรัฐบาลตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา 34. พระนคร: โรงพิมพยิ้มศรี, 2490. สละ ลิขิตกุล. คึกฤทธิ์ขนึ้ ศาล. กรุงเทพฯ: กาวหนาการพิมพ , 2518. เสด็จฯเยี่ยมราษฎร. กรุงเทพฯ: สํานักพระราชวัง, 2532. เสถียร จันทิมาธร และขรรคชัย บุนปาน. กองทัพบกกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2526. เสถียร จันทิมาธร. ชาติชาย ชุณหะวัณ ทหาร‘นัก’ประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: แปลน พับลิชชิ่ง, 2532. เสนาะ รักธรรม, พล.ร.ท., บรรณาธิการ. ความเปนมาแตหนหลังของจอมพลเรือ หลวง ยุทธศาสตรโกศล. กรุงเทพฯ: บํารุงนุกูลกิจ, 2516. เสนีย ปราโมช,ม.ร.ว. คิงมงกุฏในฐานะทรงเปนนักนิติศาสตร. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2492. เสนีย ปราโมช,ม.ร.ว. ตานคอมมิวนิสตสวนตัว. พระนคร: สหอุปกรณการพิมพ, 2496. เสนีย ปราโมช ม.ร.ว. ชีวลิขติ . กรุงเทพฯ: ทิพยวดี ปราโมช, 2543. เสวต เปยมพงศสานต. เสวต เปยมพงศสานต. ใน “ใหม รักหมู” และธวัชชัย พิจิตร. บรรณาธิการ, บันทึก 25 นักการเมือง วิเคราะหการเลือกตั้งในไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ นพรัตน, 2522. เสวต เปยมพงศสานต. ชีวิตการเมือง. กรุงเทพฯ: ครอบครัวเปยมพงศสานต, 2546. สิริ เปรมจิตต. เบื้องหลังชีวิต 8 นายกรัฐมนตรีไทย. พระนคร: บริษัท ศิริอักษร จํากัด, 2492. สิริ เปรมจิตต. ชีวิตและงานของพลเรือตรีถวัลย ธํารงนาวาสวัสดิ.์ กรุงเทพฯ: โรงพิมพ บํารุงนุกูลกิจ, 2521. สิรินทร พัธโนทัย (เขียน) บุญรัตน อภิชาติไตรสรณ(แปล). มุกมังกร.กรุงเทพฯ: เดอะเนชัน่ , 2538. สิริรัตน เรืองวงษวาร. บทบาททางการเมืองของนายควง อภัยวงศ ตั้งแตการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 – 2491. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต แผนกประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521.
268
สิริลักษณ จันทรวงศ ทาคาฮาชิ คัทซูยูกิ และสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. กึ่งศตวรรษ ขบวนการ สันติภาพ. กรุงเทพฯ: ศูนยไทย-เอเชียศึกษา สถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต และชมรม ศึกษาประวัติศาสตรไทยสมัยใหม มหาวิทยาลัยวาเซดะ. สุกัญญา ตีระวนิช. หนังสือพิมพไทย จากปฏิวัติ 2475 สูปฏิวัติ 2516. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา พานิช , 2526. กุศลาสัย. ชีวิตที่เลือกไมได: อัตชีวประวัตขิ องผูที่เกิดในแผนดินไทยคนหนึ่ง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแมคําผาง, 2532. สุชิน ตันติกุล. ผลสะทอนทางการเมืองรัฐประหาร 2490. วิทยานิพนธรฐั ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2517. สุดา กาเดอร. กบฎแมนฮัตตัน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2516. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ตอตานรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ.2491-2500 . วิทยานิพนธอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. แผนชิงชาติไทย. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารําลึก, 2550. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. ฐานะทางประวัติศาสตรของการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน รัฐประหาร 19 กันยน: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุข. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ ฟาเดียวกัน, 2550. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐสาย. ธารประวัติศาสตรประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: พี.เพรส, 2551. สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, บรรณาธิการ. 60 ปประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ 60 ป ประชาธิปไตย, 2536. สุนทร หงสลดารมย. ความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและวิทยาการของสหรัฐฯ. สราญรมย (2498) สุพจน แจงเร็ว. คดียึดพระราชทรัพยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาฯ. ศิลปวัฒนธรรม 23, 8 (มิถุนายน 2545 ) สุพจน ดานตระกูล. ทนายจําเปน. กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2516. สุพจน ดานตระกูล. เหตุเกิดที่ศิริราช. กรุงเทพฯ: สถาบันวิทยาศาสตรสงั คม, 2537. สุพจน ดานตระกูล. 80 ป สุพจน ดานตระกูล. นนทบุร:ี สถาบันวิทยาศาสตรสังคม, 2546. สุเพ็ญ ศิริคูณ. กบฏวังหลวง(26 กุมภาพันธ 2492). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2518.
269
สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (แปล). พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจากรุงสยาม(King Mongkut of Siam). พระนคร: โรงพิมพมหากุฏราชวิทยาลัย, 2508. สุรพล จุลละพราหมณ, พ.ต.ท.(แปล). สงครามเย็น(War of Wits). พระนคร: ผดุงศิลป, 2500. สุลักษณ ศิวรักษ. เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของส.ศิวรักษ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ เสถียรโกเศศ-นาคะประทีป, 2528. สุวิชช พันธเศรษฐ. ชุมนุมนายกรัฐมนตรีอังกฤษ. พระนคร: โรงพิมพสมัยนิยม, 2491. สุวัฒน วรดิลก. ชีวิตในความทรงจํา. กรุงเทพฯ: กลุมวรรณกรรมเพื่อชีวติ , 2517. สุวัฒน วรดิลก. ใตดาวแดง คนสองคุก. กรุงเทพฯ: ลายสือไทย, 2521. สุวิมล รุงเจริญ. บทบาทของนักหนังสือพิมพในการเมืองไทยระหวาง พ.ศ.2490-2501. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. สัมพันธ ขันธะชวนะ,ร.ท. 30 วันในกรงเหล็ก. พระนคร: เกียรติศักดิ์, 2490. หอจดหมายเหตุแหงชาติ ประเทศไทย หอจดหมายเหตุแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หอจดหมายแหงชาติ สหรัฐฯ(NARA) หอจดหมายเหตุแหงชาติ อังกฤษ(NA) หอสมุดประธานาธิบดีไอเซนฮาว (Eisenhower Library) หองสมุดของสมาคมประวัติศาสตรแหงมลรัฐวิสคอนซิน (The Historical Society of Wisconsin) หองสมุดแหงรัฐสภาสหรัฐฯ (Library of Congress) หาสิบปรวมใจรักรัฐศาสตรเพื่อชาติไทย. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานกึ่งศตวรรษรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2541. หัตถีสิงห ราชา. แดนมิตรของปรีดี. พระนคร: โรงพิมพศลิ ปอักษร, 2499. หลักการและนโยบายของชุมนุมธรรมาธิปตย. พระนคร: โรงพิมพสหการพานิช, 2490. หยุด แสงอุทัย. คําอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-95. พระนคร: โรงพิมพชูสนิ , 2495. หลุย คีรีวัต. จอมพลในทัศนะของหลุย คีรีวัต. ใน จอมพลในทัศนะของขาพเจา. พระนคร: โอเดียนสโตร, 2492. หลุย คีรีวัต. ประชาธิปไตย 17 ป. พระนคร: โรงพิมพโอเดียนสโตร, 2493. หลู ชิว ตง(Liu Shaw Tong) (เขียน) ประจิต พัธนะพันธ(แปล). เรื่องจริงจากแดนจีนยุคใหม แหวกมานไมไผ(Out of Red China). พระนคร: โรงพิมพประเสริฐสิน,2497. “แหลมสน”(เสลา เรขะรุจ)ิ บุกบรมพิมาน. พระนคร: สหกิจ, 2492.
270
อนันต พิบูลสงคราม, พล ต. จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2 เลม. กรุงเทพฯ: ตระกูลพิบลู สงคราม, 2540. องคการจัดความรวมมือทางเศรษฐกิจ(อี.ซี.เอ:E.C.A.)การชวยเหลือเศรษฐกิจประเทศไทยจาก สหรัฐอเมริกา. พระนคร: ประชาชาง, 2494. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลโทกาจ กาจสงคราม(เทียน เกงระดมยิง) ณ เมรุหนา พลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 20 เมษายน 2510. กรุงเทพฯ: กรมการทหาร สื่อสาร, 2510. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอกชวง เชวงศักดิ์สงคราม ณ เมรุ หนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 18 มิถนุ ายน 2505. กรุงเทพฯ: กรมชลประทาน, 2505. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ นายเขมชาติ บุญยรัตพันธุ ณ เมรุ วัดธาตุทอง 25 กุมภาพันธ 2538. กรุงเทพฯ : ไมปรากฎทีพ่ ิมพ, 2538. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.โชติ คุมพันธุ. พระนคร: ไมปรากฎที่พิมพ, 2514. อนุสรณพระราชทานเพลิงศพ รอยโท จงกล ไกรกฤษ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม 15 มกราคม 2513. พระนคร: ศูนยการพิมพ, 2513. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก จิระ วิชิตสงคราม ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทรราวาส 26 ธันวาคม 2522. กรุงเทพฯ: ดํารงการพิมพ, 2522. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพนายฉัตร บุญยศิริชัย ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุ 5 พฤศจิกายน 2533. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือโทเฉลิม สถิรถาวร ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 27 มีนาคม 2512. กรุงเทพฯ: โรงพิมพกรมสารบรรณทหารเรือ,2512. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายทองอิน ภูริพฒ ั นและนางสาว อรทัย ภูรพิ ัฒน ธิดา ณ เมรุ วัดมกุฎกษัตริยาราม 9 พฤษภาคม 2505. พระนคร: ไมปรากฎที่พิมพ, 2505. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.ทองเปลว ชลภูมิ ณ เมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 22 พฤษภาคม 2506. พระนคร: โรงพิมพกรมสรรพาสามิต, 2506. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ เทพ โชตินุชิต ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม 26 ตุลาคม 2517. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธ จํากัด, 2517. อนุสรณในงานพระราชเพลิงศพ พระยาโทณวณิกมนตรี(วิสุทธิ์ โทณวณิก) ณ เมรุหนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 21 มีนาคม 2516. กรุงเทพฯ: ศูนยการพิมพ, 2516. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพพลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ณ เมรุ หนาพลับพลา อิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 พฤศจิกายน 2519. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุสภา ลาดพราว, 2519.
271
อนุสรณนายปาล พนมยงค. กรุงเทพ ฯ: อมรินทรการพิมพ, 2525. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพนายประหยัด ศ. นาคะนาท ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัด พระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 22 กรกฎาคม 2545. กรุงเทพฯ: ฟนนีพ่ บั บลิชชิ่ง, 2545. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเอก มังกร พรหมโยธี ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 29 มิถุนายน 2509. พระนคร: โรงพิมพกรมสรรพสามิต, 2509. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลเรือหลวงยุทธศาสตรโกศล ณ เมรุหนาพลับพลา อิศยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 14 มิถนุ ายน 2519. กรุงเทพฯ: น.อ.แสวง บุญยัง (ร.น.) และคนอื่นๆ, 2519. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารยรอง ศยามานนท ณ เมรุวัดธาตุทอง 18 สิงหาคม 2528. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ ดร.รักษ ปนยารชุน 5 กุมภาพันธ 2550. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริน้ ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง, 2550. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ จอมพลผิน ชุณหะวัณ ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุ 7 พฤษภาคม 2516. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ, 2516. อนุสรณ พล.ต.อ.เผา ศรียานนท วันถึงแกอนิจกรรมครบ 10 ป 21 พฤศจิกายน 2513. พระนคร: หจก. ไทยสงเคราะหไทย, 2513. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายเลียง ไชยกาล ณ เมรุ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 18 สิงหาคม 2529. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2529. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ นายศักดิ์ ไทยวัฒน ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร 30 มิถุนายน 2544. กรุงเทพฯ: อมรโปรดัก, 2544. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พันเอก พระยาศรีวิสารวาจา ณ เมรุหนาพลับพลา อิสริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 8 มิถนุ ายน 2511. พระนคร: สํานักทําเนียบ นายกรัฐมนตรี, 2511. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ณ เมรุหนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 17 มีนาคม 2507. พระนคร : โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี,2507 อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวงสังวรยุทธกิจ ณ เมรุวัดธาตุทอง 27 ธันวาคม 2516. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนพิมพ, 2516. อนุสรณฌาปนกิจศพ นายสอิ้ง มารังกูล,อดีต ส.ส.บุรีรัมย และอดีตหัวหนาพรรคไทยรวมไทย . ณ ฌาปนสถาน วัดศุภโสภณ อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย วันเสารที่ 29 เมษายน 2521. กรุงเทพฯ: ประจักษการพิมพ, 2517.
272
อนุสรณในงานพระราชเพลิงศพ พลเรือเอก สินธุ กมลนาวิน ณ เมรุ หนาพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส 15 ธันวาคม 2519. พระนคร : กรมสารบรรณทหารเรือ, 2519. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพพลตรี หลวง วีรวัฒนโยธิน ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร 28 มกราคม 2512. พระนคร : โรงพิมพกรมแผนทีท่ หาร, 2512. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพนายใหญ ศวิตชาติ ณ เมรุ วัดธาตุทอง วันที่ 4 มิถุนายน 2526. กรุงเทพฯ: เรืองชัยการพิมพ, 2526. “อรัญญ พรหมชมพู” (อุดมศรี สุวรรณ). ไทยกึง่ เมืองขึ้น. พระนคร: โรงพิมพอุทยั ,2493. อานันท กาญจนพันธุ. บทบาทของนักวิจัยและทุนวิจัยอเมริกันในการสรางกระบวนทัศนดานไทย ศึกษา. ใน บทบาทของตางประเทศในการสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย , 2538. อารีย ภิรมย. เบื้องหลังการสถาปนาสัมพันธภาพ ยุคใหม ไทย-จีน.กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ, 2524. อุกฤษฏ ปทมนันท. สหรัฐอเมริกากับนโยบายเศรษฐกิจ(1960-1970). วิทยานิพนธรฐั ศาสตร มหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธระหวางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2526. “เอกซเรส”. นายควง อภัยวงศ นายกรัฐมนตรี 4 สมัย. พระนคร: สํานักพิมพบันดาลสาสน, 2511. เอ็ดวิน เอฟ. สแตนตัน. ความกดดันของคอมมิวนิสตในประเทศไทย ในพ.ศ.2492-2496. รัฏฐาภิรักษ 3, 1 (มกราคม 2504) เอ็ดวารด ฮันเตอร. การลางสมองในจีนแดง. นิวยอรค: แวนการดอินคอรปอเรชั่น, 2494. เอฟ เบค และ ดับบลิว กอดิน(เขียน) เลอสรร ธรรมพิชา(แปล). แดงรุแดง(Russian purge and the extraction of confession). พระนคร: โรงพิมพสหชาติ, 2496. เอลิเนอร อิปเปอร (เขียน) “ชนะ ชาญเดชา”(แปล). 11 ป ในคายนักโทษโซเวียต(Eleven years in Soviet Prison). พระนคร: นครไทย, 2497. อิเกอร กูเชนโก (แปล) “ชนะ ชาญเดชา”(แปล). มานเหล็ก หรือ ภายในวงการจารกรรมของ สตาลิน(The Iron Curtain). พระนคร: โรงพิมพนครไทย, 2497. อิศรเดช เดชาวุธ. เบื้องหลังชีวิตนายปรีดี พนมยงค. พระนคร: บริษัทรวมอาชีพ, 2491. อํารุง สกุลรัตนะ,พล.ต.ต. ใครวาอตร.เผาไมดี. กรุงเทพฯ: กิจสยามการพิมพ, 252. ฮิซาฮิโกะ โอกาซากิ(เขียน) ไชยวัฒน ค้ําชู และคนอื่นๆ(แปล). มหายุทธศาสตรสําหรับการปองกัน ประเทศของญี่ปุน( A grand strategy for Japanese defense ). กรุงเทพฯ: ศูนยญี่ปุน ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2535. เฮอรบลอคมองดูคอมมิวนิสต. ไมปรากฎทีพ่ ิมพ: ไมปรากฎปพิมพ.
273
ภาษาอังกฤษ Adulyasak Soonthornrojana. The Rise of United States-Thai Relations, 1945-1954. Doctoral Dissertation University of Arkon, 1986. Aldrich , Richard J., The Key to the South: Britain , the United States ,and Thailand during the Approach of the Pacific War, 1929-1942. Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1993. Aldrich, Richard J., Legacies of Secret Service: Renegade SOE and the Karen Struggle in Burma, 1948-1950. In Richard J. Aldrich, Gary D. Rawnsley and Ming-Yeh T. Rawnsley (eds.), The Clandestine Cold War in Asia, 1945-1965: Western Intelligence, Propaganda and Special Operation. London: Frank Class, 2000. Aidrich, Richard J., Intelligence and the War against Japan: Britain , America and the Politics of Secret Service. Cambridge: Cambridge University Press, 2000. Anderson,Benedict R.O’G., Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of the October 6 Coup. Bulletin of Concerned Asian Scholars 3, 3 Anderson, Benedict R.O’G., The Studies of The Thai State: The State of Thai Studies. In Elizier B.Ayal (ed.), The Study of Thailand. Athens, Ohio: Ohio University Center for International Studies Southeast Asia Program, 1979. Anderson, Benedict R.O’G., Introduction. In Benedict R.O’G Anderson and Ruchira Mendiones, In The Mirror. Bangkok: Duang Kamol, 1985. Anderson David L., Trapped by Success: The Eisenhower Administration and Vietnam, 1953-1961. New York: Columbia University Press, 1991. Anuson Chinvanno. Thailand's Politics toward Chaina, 1949-1954. Oxford: St. Antony's College, 1992. Apichat Chinwanno. Thailand’s Search for Protection: The Making of the Alliance with the United States,1947-1954. Doctoral Dissertation Oxford University, 1985. Bartholomew-Feis, Dixee R., The Man on The Ground: The OSS In Vietnam, 19441945. Doctoral Dissertation The Ohio State University, 2001. Batson, Benjamin A., The End of the Absolute Monarchy in Siam. Singapore: Oxford University Press, 1984.
274
Bogart, Leo. Premises for propaganda: the United States Information Agency's operating assumptions in the Cold War. New York: Free Press,1976. Borden , William. The Pacific Alliance: United States Foreign Economic Policy and Japanese Trade Recovery, 1947-1955. London: University of Wisconsin Press, 1984. Bowie, Katherine A., Rituals of National Loyalty: The Village Scout Movement in Thailand. New York: Columbia University, 1997. Brailey, N.,J., Thailand and the Fall of Singapore: A Frustrated Asian Revolution. Boulder: Westview Press, 1986. Brown, Anthony Cave. The Last Hero: Wild Bill Donovan. New York: Vintage Books, 1982. Busynki, Leszek. SEATO: The Failure of an Alliance Strategy. Singapore: Singapore University Press, 1983. Caldwell, J. Alexander. American Economic Aid to Thailand. London: Lexington Books, 1974. Chalong Soontravanich. The small arms industry in Thailand and the Asian crisis. In Takeshi Hamashita and Takashi Shiraishi (eds.), Hegemony, Technocracy, Networks. Kyoto: The Networks, 2002. Chaiwat Khamchoo and E. Bruce Reynolds., eds., Thai-Japanese relations in historical perspective. Bangkok: Innomedia, 1988. Charivat Santaputra . Thai Foreign Policy. Bangkok: Chareon Wit Press, 1985. Chatri Ritharom. The Making of the Thai-U.S. military alliance and the SEATO Treaty of 1954: a study in Thai decision-making . Doctoral Dissertation Claremmont Graduate School, 1976. Chula Chakrabongse. Lord of Life. London: Alwin Redman Limited,1960. Coast,John. Some Aspects of Siamese Politics. New York: Institute of Pacific Relations, 1953. Darling ,Frank C., Thailand and the United States. Washington D.C.: Public Affaires Press, 1965. Damrong Rachanuphap, Price. The Introduction of Western Culture in Siam . Journal of Siam Society 20
275
Damrong Rachanuphap, Price. Miscellaneous articals: Written for The Journal of Siam Society. Bangkok: The Siam Society, 1962. Dhani Nivat Prince, The Old Siamese Conception of the Monarchy. Journal of Siam Society 36 Dhani Nivat, Prince. The Reign of King Chulalongkorn . Journal of World History 2 Dhani Nivat, Prince. Collected articals. Bangkok: The Siam Society, 1969. Document’s On American Foreign Relations 1957. New York: Council on Foreign Relation, 1957. Dunne, Matthew W., A Cold War State of Mind: Cultural Constructions of Brainwashing in The 1950s. Doctoral Dissertation Brown University, 2003. Eisenhower, Dwight D., Mandate For Change , 1953-1956. New York: Doubleday & Company, 1963. Fifield , R.H., Americans in Southeast Asia: The Roots of Commitment.New York : Thomas Y. Crowell, 1972. Fine,Herbert A., The Liquidation of World War II in Thailand. The Pacific Historical Review 34, 1 Fineman, Daniel Mark. A Special Relationship: The United State and Military Government in Thailand 1947-1958. Honolulu: University of Hawaii Press, 1997. Flood, E. Thadeus. The United States and the military Coup in Thailand: A Background Study. California: Indochina Resource Center, 1976. Foreign Relations of the United States 1948 Vol.6. Washington D.C.: Government Printing Office,1974. Foreign Relations of the United States 1949 Vol.1. Washington D.C.: Government Printing Office,1976. Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6. Washington D.C.: Government Printing Office,1976. Foreign Relations of the United States 1952-1954 Vol.12. Washington D.C.: Government Printing Office,1987. Foreign Relations of the United States 1955-1957 Vol.22. Washington D.C.: Government Printing Office,1989. Glassman, Jim. Thailand at the Margins. New York: Oxford University Press, 2004.
276
Glassman, Jim. The New Imperialism? On Continuity and Change in US Foreign Policy. Environment and Planning 37 Griswold, A.B., King Mongkut of Siam. New York: The Asia Soceity, 1961. Goscha, Christopher E., Thailand and the Southeast Asian Networks of the Vietnamese Revolution, 1885-1954. Richmond, Surrey: Curzon,1999. Hall, D. G. E., A History of South East Asia. London: Macmillan, 1968. Hayes, Jr., Samuel P., The United States Point Four Program. The Milbank Memorial Fund Quarterly 28, 3 Herring, George C. From Colony To Supper Power. New York: Oxford University Press, 2008. Hewison, Kevin. The Monarchy and democratization. In Kewin Hewison (ed.), Political Change in Thailand : Democracy and Paticipation. London: Routledge, 1997. Hewison, Kevin. Bankers and Bureaucrats Capital and the Role of the State in Thailand. Connecticut: Yale University, 1989. Hess, Gary R., Franklin Rosevelt and Indochina. The Journal of American History 59, 2 Hayes, Jr., Samuel P., Point Four in United States Foreign Policy. Annuals of the American Academy of Political and Social Science Vol.268 Aiding Underdeveloped Areas Aboard (March,1950) Jain,R.K., ed., Chaina and Thailand, 1949-1983. New Delhi: Radiant Publishers, 1984. Johnson, U. Alexis. The Right Hand of Power. New Jersey: Prentice-Hall, 1984. Kahin,George McT., The Asian-African Conference Bandung Indonesia April 1955 Ithaca,New York: Cornell University Press, 1955. Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958 . Kyoto University Press, 2001. Keyes, Charles F., Isan: Regionalism in Northeastern Thailand. data paper no.65. Southeast Asia Program Department of Asian Studies, Cornell University Itahaca, New York : Cornell University ,1967. Kobkua Suwannathat – Pain. Politics and National Interests: Negotiations for The Settlement of The Franco-Siamese Territorial Dispute 1945-1947. Tokyo: Sophia University, 1994.
277
Kobkua Suwannathat-Pian. Thailand’s Durable Premier : Phibun through Three Decades 1932 – 1957. Kuala Lumpur: Oxford University Press, 1995. Kobkua Suwanathat-Pian. King , Country and Constitution : Thailand’s Political Development 1932 – 2000. New York: Routledge Curzon, 2003. Kullada Kesboonchoo Mead. A revisionist history of Thai-U.S. relation. Asian Review 16 Kullada Kesboonchoo Mead. The Rise and Decline of Thai Absolutism. New York: Routledge Curzon, 2004. Landon, Kenneth Perry. Siam in Transition : A Brief Survey of Culture Trends in The Five Years since the Revolution of 1932. New York: Greenwood Press, 1968. Lifton , Robert jay., ed., America and the Asian Revolutions. New York: Trans-action Books, 1970. Likhit Dhiravegin. Thai Politics: Selected Aspects of Development and Change. Bangkok: TRI-Sciences Publishing House, 1985. Lobe,Thomas. United States National Security Policy And Aid to The Thailand Police . Monograph Series in World Affaires, Colorado: University of Denver, 1977. Lobe, Thomas and David Morell. Thailand’s Border Patrol Police : Paramilitary Political Power. In Louis A. Zurcher and Gwyn Harries Jenkins (eds.), Supplemental Military Forces : Reserve , Militarias , Auxiliaries. Berverly Hills and London: SAGE, 1978. Lockhart , Bruce McFarland. Monarchy in Siam and Vietnam,1925-1946. Doctoral Dissertation Cornell University, 1990. Mahmud, Nik Anuar Nik. The November 1947 Coup: Britain, Pibul Songgram and the Coup. Selangor Darul Ehasan: Center for Educational Technology Universiti Kebangsaan Malaysia, 1998. McCoy, Alfred W., The Politics of Heroin in Southeast Asia. New york: Harper and Row, 1973. McCoy, Alfred W., A Question of Torture: CIA Interrogation , from the Cold War to the War on Terror. New York: Metropolitan Books, 2006. Mehden, Fred Von der and Fred W. Riggs. Evaluation of the VSO: Interviews with VSO and Villagers. Bangkok: USOM, 1967.
278
Moffat, Abbot Low. Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961. Morell ,David and Chai-anan Samudavanija. Political Conflict in Thailand : reform, reaction, revolution. Cambridge,Massachusette: Oelgeschlager,Gunn & Hain, Publishers,1981. Namngern Boonpiam. Anglo-Thai relations, 1825-1855: a study in changing of Foreign Policies. Doctoral Dissertation University of Nebraska-Lincoln, 1979. Nattapoll Chaiching. The Monarch and the Royalist Movement in Thai Politics, 1932-1957. In Soren Ivarsson and Lotte Isager (eds.), Saying the Unsayable: Monarchy and Democracy in Thailand. Copenhagen: NIAS Press, forthcoming 2010 Neher, Arlene Becker. Prelude to Alliance: The Expansion of American Economic Interest in Thailand during the 1940’s. Ph.D. Dissertation Northern Illinois University, 1980. Neon Snidvongs. The development of Siam's relations with Britain and France in the reign of King Mongkut, 1851-1868. Doctoral Dissertation University of London, 1961. Nuecterlein ,Donald E., Thailand and The Struggle for Southeast Asia, New York: Cornell University Press, 1967. Manich Jumsai, M.L., History of Anglo-Thai relations. Bangkok: Chalermnit, 1970. Ockey, James. Civil Society and Street Politics in Historical Perspective. In Duncan McCargo ( ed.), Reforming Thai Politics. Copenhagen: Nodic Institution of Asian Studies, 2002. Osgood, Kenneth A., Total Cold War: U.S. Propaganda in the Free World 1953-1960. Doctoral Dissertation University of California Santa Barbara, 2001. Paterson, Thomas G., The Quest for Peace and Prosperity: International Trade, Communism, and the Marshall Plan. In Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration. Chicago: Quadrangle Books,1972. Praagh, David Van. Thailand's Struggle for Democracy: The life and Time of M.R.Seni Pramoj. New York: Holmes and Meier, 1996.
279
Randolph, R. Sean. The United State and Thailand : Alliance Dynamics, 1950-1985. Berkeley: Institution of East Asian Studies University of California, 1986. Ray, Jayanta Kumar. Portraits of Thai Politics. New Delhi: Orient Langman, 1972. Reynolds, E. Bruce. The Opening Wedge: The OSS in Thailand. In George C. Chalou(ed.), The Secrets War: The Office of Strategic Services in World War II. Washington D.C.: National Archives and Record Administration, 1992. Reus-Smit ,Christian. American Power and World Order. Cambridge: Polity Press, 2004. Reynolds , E. Bruce. Thailand's secret war: the Free Thai OSS, and SOE during World War II. Cambridge: Cambridge University Press, 2005. Reynolds, E. Bruce. Thailand and The Southeast Asia League. paper presented at the International Conference on Thai Studies in Bangkok, 22-24 August 1984. Riggs, Fred W., Thailand: The Modernization of A Bureaucratic Polity. Honolulu: EastWest Center, 1967. Rist, Gilbert. The History of Development : From Western Origins to Global Faith. London: Zed Books,1999. Rong Syamananda. An Outline f Thai History. Bangkok: Chulalongkorn University, 1963. Rositzke,Harry. The CIA’s Secret Operations Espionage , Counterespionage , and Covert Action. London: Westview Press. 1988. Scott, Peter Dale. The War Conspiracy: The Secret Road to the Second Indochina War. New York: The Bobbs-Merrill, 1972. Sears, Laurie J., The Contingency of Autonomous History. In Laurie J. Sears(ed.), Autonomous Histories Particular Truths. Wisconsin: Center for Southeast Asian Studies University of Wisconsin, 1993. Selected Documents of The Bandung Conference Texts of Selected Speeches and Final Communique of The Asian-African Conference Bandung Indonesia, 1824 April 1955. New York: Institution of Pacific Relations, 1955. Seni and Kurit Pramoj, M.R., The King of Siam Speaks. Type written,1948 In Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961.
280
Seni Promoj, M.R., King Mougkut as a Legislator. Journal of Siam Society 38 In Abbot Low Moffat, Mongkut: The King of Siam. Ithaca,New York: Cornell University Press, 1961. Seni and Kukrit Promoj, M.R., A King of Siam Speaks. Bangkok: The Siam Society, 1987. Somsak Jeamteerasakul. The Communist Movement in Thailand. Doctoral Dissertaion Monash University, 1993. Sorasak Ngamcachonkulkid. The Seri Thai Movement: The First Alliance against Military Authoritarianism in Modern Thai Politics. Doctoral Dissertation University of Wisconsin-Madison, 2005. Soravis Jayanama. Rethinking the Cold War and the American empire. Asian Review 16 Special Study Mission to Southeast Asia and The Pacific report by Walter H. Judd, Minnesota; Margerite Stitt Churc, Illinois; E. Ross Adair, Indiana; Clement J. Zablocki, Wisconsin, 29 January 1954 for the used of the Committee on Foreign Affaire. Washington D.C.: United States Government Printing Office, 1954. Stanton, Edwin F., Brief Authority: Excursion of a Common Man in an Uncommon World. New York: Harper & Brothers Publishers, 1956. Stowe, Judith A., Siam Becomes Thailand: A Story of Intrigue. London: Hurst & Company, 1991. Suchit Bunbongkarn. Political Institution and Processes. In Somsakdi Xuto (ed.), Government and Politics of Thailand. Singapore: Oxford University Press, 1987. Surachart Bamrungsuk. United States Foreign Policy and Thailand Military Rule 1947-1977. Bangkok: Duang Kamol, 1988. Tarling, Nicholas. Ah-Ah: Britain and the Bandung Conference of 1955. Journal of Southeast Asian Studies 23, 1 Tarling, Nicholas. Britain and the coup 1947 in Siam. Paper Presented to International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University Bangkok, 20-24 May 1996.
281
Tarling, Nicholas. Britain, Southeast Asia and the Impact of Korean War. Singapore: Singapore University Press, 2005. Tamada, Yoshifumi. Political Implication of Phibun's Cultural Policy, 1938 – 1941. Final report submitted to the National Research Council of Thailand, 1994. Terwiel, Barend Jan. Field Marshal Plaek Phibun Songkhram. St Lucia: University of Queensland Press, 1980. Thanet Aphornsuvan. The United States and the Coming of the Coup of 1947 in Siam. Journal of the Siam Society 75 Thak Chaloemtiarana. ed., Thai Politics 1932 – 1957. Bangkok:The Social Science Association of Thailand, 1978. Thak Chaloemtiarana. Thailand: The Politics of Despotic Paternalism. Bangkok: Thammasat University Press, 1979. Thamsook Numnonda. Phibunsongkhram's Thai Nation-Building Program during the Japanese Military Presence, 1941-1945. Journal of Southeast Asian Studies 9, 2 Thedeus, Flood E., The United States and the Military Coup in Thailand: A Background Study. Washington D.C.: An Indochina Resourse Center Publication, 1976. Theoharis, Athan. The Rhetoric of Politics: Foreign Policy, Internal Security and Domestic Politics in the Truman Era. In Barton J. Bernstein, Politics and Policies of the Truman Administration. Chicago: Quadrangle Books,1972. Thongchai Winichakul. Siam mapped: a history of the geo-body of a nation. Chiang Mai: Silkworm books, 1995. Thongchai Winichakul. Writing At The Interstices: Southeast Asian Historians and Postnational Histories in Southeast Asia. In Abu Talib Alimad and Tan Liok Ee (eds.), New Terains in Southeast Asia History. Singapore: Singapore University Press, 2003. Thongchai Winichakul. Siam’s Colonial Conditions and the Birth of Thai History.paper presented to the Conference on“ Unraveling the Myths of Southeast Asia Historiography” In honor of Professor Barend Jan Terwiel, 24-26 November 2006.
282
The Pentagon Papers. New York: The New York Times, 1971. Truman, Harry S., Years of Trial and Hope, 1946-1952, Vol. 2. New York: A Signet Book, 1965. Vanida Trongyounggoon Tuttle. Thai-American Relations,1950-1954. Doctoral Dissertation Washington States University, 1982. Vella, Walter F., The Impact of The West on Government in Thailand. Berkeley: University of California Press, 1955. Wilson, Constance M., State and Society in the reign of Mongkut, 1851-186 : Thailand on the Eve of Modernization. Doctoral Dissertation Cornell University, 1970. Wilson, David A., Political Tradition and Political Change in Thailand. S.I.: The Rand Corporation,1962. Wilson, David A., Trip for AACT to Thailand. Bangkok: USOM, 1968. Wilson, David A., The United States and the Future of Thailand. New York: Praeger Publishers, 1970. Wilson, David A., Politics in Thailand. Ithaca, New York: Cornell University Press, 1962. Wilson, David A., Fred Von der Mehden and Paul Trescott. Thinking about ARD. S.I.: USOM,1970. Wise, David and Thomas B. Ross. The Invisible Government . New York: Vintage Books,1974. Wiwat Mungkandi. The Security Sydrome, 1941-1975. In Wiwat Mungkandi and William Warren (eds.), A Century and A Half of Thai-American Relation. Bangkok: Chulalongkorn University, 1982. Wyatt, David K., Thailand: A Short History. Bangkok: Thai Watana Panich and Yale University Press, 1984.
283
สัมภาษณ จีรวัสส ปนยารชุน, 20 มีนาคม 21 เมษายน 22 มิถุนายน 2551และ 13 กันยายน 2552 นิตย พิบูลสงคราม, 28 กุมภาพันธ 2551