1
กําเนิดระบอบประชาธิปไตยแบบอํานาจจํากัด: ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างสถาบันทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยไทย 2475-2490 1 ณัฐพล ใจจริง 2
กาลครั ง. หนึ0งนานมาแล้ ว “อํานาจสูงสุดของประเทศนัน เป็ นของราษฎรทัง หลาย”3 การศึกษาการเมืองไทยตามแนวสถาบันการเมืองแบบดังเดิ $ ม(Old-Institutionalism)ใน ทางรัฐศาสตร์ ที6พจิ ารณาสถาบันการเมืองแต่เพียงกลไกที6มีบทบาทและหน้ าที6ตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญหรื อตามกฎหมาย(Legal-Institutional)เท่านันทํ $ าให้ ดเู สมือนหนึง6 ว่า สถาบัน การเมืองที6ดํารงอยู่ตามกฎหมายเหล่านี $เป็ นองค์กรการเมืองที6ปราศจากชีวิตจิตใจ ปราศจาก ความมุ่งหมายและปราศจากพฤติกรรมทางการเมือง วิธีการศึกษาดังกล่าวทําให้ ความรู้ การเมืองที6ได้ มีลกั ษณะเชิงพรรณนาลักษณะทัว6 ๆไปของสถาบันการเมืองในทางกฎหมายส่งผล ให้ แนวการศึกษานี $ได้ รับความนิยมลดน้ อยลงในเวลาต่อมา อีกทัง$ เมื6อการศึกษารัฐศาสตร์ แบบอเมริกนั หรื อแนวพฤติกรรมศาสตร์ (Behaviouralism)เข้ ายึดครองแนวทางการศึกษา รัฐศาสตร์ ในไทยตังแต่ $ ทศวรรษที6 2510 ยิ6งทําให้ แนวการศึกษาแนวสถาบันการเมืองในไทย แทบไม่เหลือที6ยืนในทางวิชาการ 4
1
บทความนี $ได้ ปรับปรุงจากคําอภิปรายในงานอภิปรายวิชาการเรื6 อง “สถาบันกษัตริ ย์ รัฐธรรมนูญและประชาธิ ปไตย” เนื6องในวันรัฐธรรมนูญ วันที6 10 ธันวาคม 2553 ณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ ตีพิมพ์ใน ฟ้ า เดียวกัน ปี ที6 9 ฉบับที6 1 (มกราคม-มีนาคม 2554), หน้ า 117-137. 2 อาจารย์ประจําภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนนั ทา 3 มาตรา 1 ในธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม(ชัว6 คราว) 2475 4 นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, “วิ ชารัฐศาสตร์ ไทยในบริ บทของประวัติศาสตร์ และการเปลีย+ นแปลงทางการเมื อง,” รัฐศาสตร์ สาร ปี 21, ฉบับ 1 (2542): 23-75.
2
อย่างไรก็ตาม การฟื น$ ตัวของแนวการศึกษาตามแนวสถาบันการเมืองได้ กลับคืนสู่พื $นที6 วิชาการ(bringing Institutions back in)ทางรัฐศาสตร์ มากขึ $นในปั จจุบนั และถูกเรี ยกว่า สถาบันนิยมใหม่(Neo-Institutionalism)ซึง6 เป็ นแนวการศึกษาสถาบันการเมืองที6ผสมผสาน ระหว่างการเมือง ประวัติศาสตร์ และกฎหมายมหาชน ด้ วยวิธีวิทยาในเชิงประจักษ์ ตามวิธีการ คิดแบบอุปนัยนําไปสู่การศึกษาสถาบันการเมืองในเชิงประวัติศาสตร์ ( Historical Institutionalism) กล่าวอีกอย่าง คือ สถาบันนิยมใหม่หาได้ มองว่าสถาบันการเมืองเป็ นเพียง กลไกที6ปราศจากชีวิตจิตใจ และดํารงอยู่ตามกฎหมายเท่านัน$ แต่จะพิจารณาความมีชีวิตของ สถาบันการเมือง ความเป็ นประวัติศาสตร์ โดยมุ่งพินิจถึงปฏิบตั ิการ กระบวนการทางการเมือง การปรับตัว การตัดสินใจ และพฤติกรรมการเมืองของสถาบันการเมืองว่าก่อให้ เกิดความ ขัดแย้ งระหว่างสถาบันการเมืองและมีผลกระทบต่อการดํารงอยู่หรื อเปลี6ยนแปลงระบอบ การเมือง(regime)อย่างไร แนวการศึกษาสถาบันนิยมใหม่จงึ พยายามมุ่งสู่การอธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุและ ผลมากกว่ามุ่งการพรรณนาตามแนวทางแบบดังเดิ $ ม ดังนัน$ แนวการศึกษาใหม่จงึ เปิ ดให้ เห็นถึง บทบาทและปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองต่างๆว่ามีผลกระทบต่อระบอบการเมือง อย่างไร ด้ วยเหตุที6มีการปรับเปลี6ยนเป้าหมายในทางวิชาการให้ ยกระดับขึ $นทําให้ การศึกษา สถาบันการเมืองที6เคยแห้ งแล้ งไร้ ชีวิตชีวาในทางรัฐศาสตร์ จงึ ค่อยๆฟื น$ ตัวกลับมายืนแถวหน้ า เคียงข้ างกับแนวการศึกษาอื6นๆอีกครัง$ หนึง6 5 อย่างไรก็ตาม จากการสํารวจวรรณกรรมที6ศกึ ษา การเมืองไทยสมัยใหม่ตามแนวสถาบันการเมืองพบว่า มีการศึกษาไม่มากชิ $นนัก เช่น งานของ 5
James G. March and Johan P. Olsen , “The New Institutionalism: Organization Factors in Political Life,” American Political Science Review, Vol.78 (1984), pp.734-749.; James G. March and Johan P. Olsen , Rediscovering Institution: The Organizational Basic of Politics, (New York: The Free Press, 1989).; สมเกียรติ วันทะนะ, “ปั ญหาและอนาคต ของการศึกษาการเมื องในแนวสถาบันทางการเมื อง”, รัฐศาสตร์ สาร, ปี 17 ฉบับ 1 (2534), หน้ า 71-89.; T. A. Koelble, “The New Institutionalism in Political Science and Sociology,” Comparative Politics, Vol.27, (1995),pp. 221-244.; P. Hall and R. Taylor , “A Political science and the three new institutionalism, ” Political Studies Vol. 44, (1996), pp. 936-957.; B. Rothstein, “Political Institutions: An Overview,” in A New Handbook of Political Science. H. D. K. R.E. Goodin (ed.). (Oxford, Oxford University Press, 1996) , pp.133166.; Kathleen Thelen , “How Institutions Evolve,” in Comparative Historical Analysis in the Social Sciences, James Mahoney and Dietrich Rueschemeyer (eds.),(Cambridge: Cambridge University Press, 2003), pp.208240.
3
ชาญชัย รัตนวิบลู ย์ เบนจามิน เอ. บัทสัน และนคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์ เป็ นต้ น 6 กระนันก็ $ ดี การศึกษาของนักวิชาการข้ างต้ นให้ นํ $าหนักในการศึกษาสถาบันการเมืองในช่วงระบอบสม บูรณาญาสิทธิราชเป็ นสําคัญ ในขณะที6การศึกษาสถาบันการเมืองในช่วงระบอบประชาธิปไตย ยังคงขาดหายไปในทางวิชาการ ด้ วยเหตุนี $ คําถามในการศึกษาครัง$ นี $ คือ สถาบันกษัตริย์ในฐานะสถาบันการเมืองมี ปฏิกริยาตอบโต้ กบั สถานการณ์ทางการเมืองและสถาบันการเมืองอื6นๆหลังการปฏิวตั ิ 2475 อย่างไรและการปฏิกิริยาดังกล่าวก่อให้ เกิดผลอย่างไรต่อระบอบประชาธิปไตยไทย โดย บทความชิ $นนี $แบ่งเนื $อหาได้ อออกเป็ น 2 ส่วนสําคัญ คือ ส่วนแรกเป็ นเรื6 องปฏิสมั พันธ์ระหว่าง สถาบันทางการเมืองภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญหลังการปฏิวตั ิ 2475 และส่วนที6สองเป็ นเรื6 อง จากระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญ สู่ “ระบอบประชาธิ ปไตย มี พระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข” ภายหลังการรัฐประหาร 2490 ขอบเขตของบทความ คือ การศึกษาความเป็ นมาของปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบัน กษัตริย์ในฐานะสถาบันทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ6งบทบาทของผู้สําเร็ จราชการแทน พระมหากษัตริย์ หรื อคณะผู้สําเร็จราชการแทนพระมหากษัตริย์กบั รัฐบาลและรัฐสภาภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยของไทยในช่วงเวลาระหว่าง 2475-2490 โดยแบ่งช่วงเวลาในการศึกษา ออกเป็ น 2 ช่วงใหญ่ๆ ดังนี $ ช่วงแรกระหว่าง 2475-2478 เป็ นเวลากว่า 3 ปี ในปลายรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยู่หวั และช่วงที6สองระหว่าง 2479-2489 เป็ นเวลาราว 11 ปี ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั อานันทมหิดล โดยบทความชิ $นนี $จึงวางอยู่บนหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญ 6 ฉบับ ดังนี $ ฉบับ 27 มิถนุ ายน 2475 ฉบับ 10 ธันวาคม 2475 ฉบับ 2489 ฉบับ 2490 ฉบับ 2492 และฉบับ 2475 แก้ ไข 2495 โดย แนวทางในการดําเนินเรื6 องจะเลาะเลียบเทียบเคียงกับเทพปกรณัมกรี ก เรื6 อง “กล่องแพนโดร่ า” (Pandora’s Box)7 และนิทาน เรื6 อง “แจ็คกับยักษ์ ”( Jack and the Bean-Stalk) จากหนังสือ 6
ชาญชัย รัตนวิบลู ย์, “บทบาทอภิ รฐั มนตรี สภาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ” , วิทยานิพนธ์ปริ ญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ, 2519.; Benjamin A. Batson, The End of the Absolute Monarchy in Siam. Singapore: Oxford University Press, 1984. นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์, การปฏิวตั ิสยาม พ.ศ.2475. กรุงเทพฯ: ฟ้ าเดียวกัน , 2553. 7
ตํานานเรื6 องกล่าวถูกรจนาขึ $นในยุคกรี กโบราณ โดยกวีชื6อ เฮสิออด(Hesiod) ได้ รจนาว่า เมื6อโลกถูกสร้ างขึ $น โลกในยุค ดึกดําบรรพ์นนดารดาษไปด้ ั$ วยมนุษย์เพศชาย ความยากลําบากในการดําเนินชีวิตของมนุษย์สร้ างความสงสารให้ เกิดกับ
4
ชื6อ English Fairy Tales เป็ นเทพนิยายที6เล่าขานกันในอังกฤษในช่วงปลายศตวรรษที6 19 8 หรื อคนไทยรู้จกั กันในชื6อ “แจ็คผูฆ้ ่ายักษ์ ”ประกอบการดําเนินเรื6 องเพื6อให้ ผ้ อู ่านเกิดความเข้ าใจ
เทพโพรมิธีอสุ (Prometheus) ทําให้ เทพโพรมิธีอสุ ได้ ขโมยไฟจากจากเตาของภูเขาโอลิมปั ส(Olympus) ซึง6 เป็ นสรวง สวรรค์เพื6อนํามาให้ มนุษย์ยงั พื $นโลก ไฟทําให้ มนุษย์มีชีวิตทีด6 ีขึ $น มีความกล้ าหาญและเริ6 มแข็งข้ อต่อปวงเทวา มหาเทพซี อุส(Zeus)ผู้เป็ นใหญ่เหนือปวงเทพไม่พอใจต่อการกระด้ างกระเดื6องของมนุษย์ จึงทรงสร้ างนางแพนโดรา(Pandora) ขึ $น พร้ อมกับมอบกล่องใบหนึง6 แก่นาง และทรงกําชับห้ ามมิให้ นางเปิ ดกล่องใบดังกล่าว จากนันก็ $ สง่ นางลงไปยังโลกมนุษย์ ต่อมานางแพนโดราได้ แต่งงานกับมนุษย์เพศชายแตกลูกหลานหญิงชายสืบต่อกันมาเป็ นเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ ความกระหายใคร่ร้ ูถึงกล่องปริ ศนาที6มหาเทพทรงประทานแก่ของนางแพนโดรานับวันยิง6 ทวีมากขึ $น ในที6สดุ ความเคลือบแคลงสงสัยของนางแพนโดราก็เป็ นฝ่ ายชนะ ทันทีที6สลักชิ $นสุดท้ ายถูกปลดออกจากฝากล่อง กลุม่ ควันสีดําก็ พวยพุง่ ออกมาพร้ อมกับนําพา ความชัว6 ร้ ายต่างๆนาๆก็พวยพุง่ ออกมาจากกล่องสูโ่ ลกมนุษย์ นางตกใจรี บปิ ดกล่องได้ ทนั และเก็บสิง6 เดียวที6มีคณ ุ ค่าเอาไว้ ในก้ นกล่องได้ ตามตํานานเล่าว่า สิง6 นัน$ คือ ความหวัง 8
กาลครัง$ หนึง6 นานมาแล้ ว มีแม่และลูกครอบครัวหนึง6 อาศัยอยูอ่ ย่างยากจนในกระท่อมของหมูบ่ ้ านแห่งหนึง6 วันหนึง6 แม่ให้ ลูกชายชื6อ แจ็ค จูงวัวไปขายที6ตลาดเพื6อหาเงินมายังชีวติ ในขณะที6แจ็คเดินจูงวัวเข้ าในเมือง ระหว่างทางเขาพบชายแก่คน หนึง6 ชายแก่คนนัน$ มีเมล็ดถัว6 หลากสีอยูใ่ นมือ แจ็คจึงขอแลกวัวกับเมล็ดถัว6 เหล่านัน$ เมื6อแจ็คกลับถึงบ้ าน แม่โกรธมากที6 แจ็คแลกวัวกับเมล็ดถัว6 แม่จึงขว้ างถัว6 ออกไปนอกหน้ าต่างกระท่อม พอรุ่งเช้ า เมล็ดถัว6 เหล่านันกลายเป็ $ นต้ นถัว6 ขนาดใหญ่ที6สงู เสียดฟ้ า ด้ วยความอยากรู้แจ็คจึงปี นลําต้ นถัว6 ขึ $นไป บนท้ องฟ้ า ที6นนั6 เขาพบปราสาทที6หรูหราวิจิตรอลังการของยักษ์ ตนหนึง6 แจ็คได้ พบคนรับใช้ ของยักษ์ และเขาเข้ าไปหลบอยู่ ใต้ โต๊ ะอาหารของยักษ์ ภายในปราสาท เมื6อยักษ์ กินอาหารเสร็ จ ก็สงั6 ให้ คนรับใช้ นําของมีคา่ ออกมาชม เช่น แม่ไก่ทองที6 ออกไข่เป็ นทอง ถุงทองที6มีทองไหลมาไม่หมดสิ $น พิณวิเศษที6ดีดเป็ นบทเพลงได้ เอง เป็ นต้ น ยักษ์ นงั6 ดูสมบัติเหล่านันอย่ $ าง อิ6มเอมใจ ดืม6 เหล้ าจนหมดขวด และหลับไปในที6สดุ คนรับใช้ บอกให้ แจ็คหนี และบอกกับแจ็คว่า เอาของมีคา่ เหล่านี $ กลับไปด้ วย เนื6องจาก มนุษย์เป็ นเจ้ าของสิง6 เหล่านันมาแต่ $ ดงเดิ ั $ ม แต่ยกั ษ์ ได้ ขโมยของมีคา่ เหล่านี $มา แจ็คจึงคว้ าสิง6 เหล่านันใส่ $ ถงุ และปื นต้ นถัว6 กลับลงไปยังพื $นดิน เมื6อเสียงพิณหยุดทําให้ ยกั ษ์ ตื6น เมื6อยักษ์ เห็นของมีคา่ ที6ตนขโมยมาหายไปจากโต๊ ะ ยักษ์ ก็ออกวิ6งตามแจ็คไปเพื6อ ฆ่าแจ็ค ด้ วยความตัวเล็กและปราดปรี ยวกว่าแจ็คจึงปี นลงมาถึงพื $นดินก่อนยักษ์ จากนัน$ เขาใช้ ขวานฟั นต้ นถัว6 ครัง$ แล้ ว ครัง$ เล่า ในที6สดุ ต้ นถัว6 ก็ถกู โค่นลงทําให้ ยกั ษ์ ร่วงหล่นตกลงจากฟากฟ้ าและเมื6อยักษ์ ตาย ของมีคา่ จึงกลับคืนสูม่ นุษย์อีก ครัง$ หนึง6
5
ส่ วนที0 1 ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างสถาบันทางการเมืองภายใต้ ระบอบประชาธิปไตย ที0มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญภายหลังการปฏิวัติ 2475 การปรั บตัวของสถาบันกษัตริ ย์ภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยในรั ชสมัย พระปกเกล้ าฯ(2475-2478) การปฏิวตั ิที6เกิดขึ $นเมื6อวันที6 24 มิถนุ ายน 2475 ซึง6 นําโดยคณะราษฎรนับเป็ นครัง$ แรก ของประวัติศาสตร์ การเมืองไทยที6ได้ ปรากฏข้ อความซึง6 มีความเรี ยบง่าย ตรงไปตรงมาตามหลัก ปกครองของระบอบประชาธิปไตยสากลที6ว่า “อํานาจสูงสุดของประเทศนัน เป็ นของราษฎร ทัง หลาย” ซึง6 เป็ นข้ อความที6ยืนยันอํานาจสูงสุดเป็ นของประชาชนแทนความเชื6อเดิมที6ว่า อํานาจสูงสุดอยู่ที6กษัตริย์ แต่ไม่นานจากนัน$ สาระสําคัญของข้ อความดังกล่าวได้ ถกู ทําให้ เกลื6อนกลืนไปด้ วยแรงปรารถนาของเหล่า“ปฏิ ปักษ์ ปฏิ วตั ิ 2475” 9 แม้ รัฐธรรมนูญฉบับแรก ที6สดุ หรื อฉบับคณะราษฎรที6ประกาศใช้ เมื6อวันที6 27 มิถนุ ายน 2475 จะพยายามแก้ ปัญหา ความคลางแคลงใจของผู้ปกครองเก่าจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ด้ วยการบัญญัติว่า “มาตรา ๔ ผูเ้ ป็ นกษัตริ ย์ของประเทศ คื อพระบาทสมเด็จพระปรมิ นทรมหาประชาธิ ปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั การสืบมฤดกให้ให้เป็ นไปตามกฎมนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติ วงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗ และด้วยความเห็นชอบของสภาผูแ้ ทนราษฎร มาตรา ๕ ถ้ากษัตริ ย์มีเหตุจําเป็ นชัว+ คราวทีจ+ ะทําหน้าทีไ+ ม่ได้ หรื อไม่อยู่ในพระ 9
“ปฏิ ปักษ์ ปฏิ วตั ิ 2475” ในช่วงเวลานัน$ หมายถึง “สถาบันกษัตริ ย์และ ‘กลุ่มรอยัลลิ สต์ ’ ” โดยคําว่า สถาบันกษัตริ ย์ หมายถึง บุคคลต่างๆที6อยูภ่ ายในแวดวงราชสํานัก(Palace circles) เช่น ผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระมหากษัตริ ย์ คณะ ผู้สาํ เร็ จราชการฯ หรื อ อภิรัฐมนตรี หรื อ คณะองคมนตรี หรื อ พระราชวงศ์ ฯลฯ ส่วนคําว่า กลุม่ รอยัลลิสต์ ในที6นี $ หมายถึง นักการเมือง หรื อ ข้ าราชการทังทหารและพลเรื $ อน ฯลฯ ซึง6 เป็ นกลุม่ บุคคลที6มีความภักดีตอ่ ราชสํานักและไม่พอใจกับการ ปฏิวตั ิเปลีย6 นระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสูร่ ะบอบประชาธิปไตยและโปรดดู ปฏิบตั ิการรื อ$ สร้ างความหมายของการปฏิวตั ิ 2475 โดยเหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ใิ น ณัฐพล ใจจริ ง, “การรื อสร้าง 2475: ฝั นจริ งของนักอุดม คติ ‘นํ าเงิ นแท้’”. ศิลปวัฒนธรรม ปี 27,ฉบับ 2 (ธันวาคม 2548), หน้ า 79-117.
6
นคร ให้คณะกรรมการราษฎรเป็ นผูใ้ ช้สิทธิ แทน มาตรา ๖ กษัตริ ย์จะถูกฟ้ องร้องคดี อาชญายังโรงศาลไม่ได้เป็ นหน้าที +ของสภา ผูแ้ ทนราษฎรจะวิ นิจฉัย มาตรา ๗ การกระทําใดๆ ของกษัตริ ย์ตอ้ งมี กรรมการราษฎรผูห้ นึ+งผูใ้ ดลงนามด้วย โดย ได้รับความยิ นยอมของคณะกรรมการราษฎรจึ+งจะใช้ได้ มิ ฉะนัน เป็ นโมฆะ” กล่าวโดยสรุป คือ สาระสําคัญที6เกี6ยวกับอํานาจของสถาบันกษัตริย์ในรัฐธรรมนูญฉบับ แรกสุด ได้ ประกาศว่า นับแต่นี $ไปอํานาจสูงสุดเป็ นของประชาชนแล้ ว ดังนัน$ สถาบันกษัตริย์จะ ดําเนินพฤติกรรมการเมืองโดยพละการไม่ได้ หากสถาบันกษัตริย์ทําหน้ าที6ไม่ได้ คณะรัฐบาลจะ เป็ นผู้ใช้ สิทธินนแทน ั$ และหากสถาบันกษัตริย์มีพฤติกรรมกระทําความผิดย่อมต้ องถูกสภา ผู้แทนราษฎรวินิจฉัย ดังนัน$ การปฏิวตั ิ 2475 และรัฐธรรมนูญฉบับ 27 มิถนุ ายน 2475 ได้ จํากัดอํานาจ การเมืองของสถาบันกษัตริย์ไว้ เสียแล้ ว กล่าวอีกอย่างหมายความว่า ข้ อความเหล่านันเปรี $ ยบ ประหนึง6 การจับ“ยักษ์ ” หรื ออํานาจทางการเมืองของสถาบันกษัตริย์ใส่กล่องหรื อการจํากัด พฤติกรรมการใช้ อํานาจการเมืองของสถาบันกษัตริ ย์นนั6 เอง ดังนัน$ สิ6งที6ตงคํ ั $ าถามต่อไป คือ สถาบันกษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อสถานการณ์ทางการเมืองหลังการ ปฏิวตั ิ จากสถานการณ์หลังการปฏิวตั ิในช่วงต้ นๆนัน$ แม้ พระปกเกล้ าฯจะทรงวางพระราช หฤทัยว่า พระองค์ทรงยังคงเป็ นกษัตริย์อยู่เช่นเดิม แต่อํานาจการเมืองที6เคยเต็มเปี6 ยมในเดิม ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ ถกู จํากัดเปรี ยบประหนึง6 ยักษ์ ไม่มีตะบอง นักการทูตร่วมสมัย ผู้หนึง6 บันทึกได้ บนั ทึกว่า พระองค์ทรงไม่ยอมรับรัฐธรรมนูญฉบับแรกที6สดุ นี $และทรงตัดสินใจทํา $ าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ก็ได้ เริ6มต้ น ให้ รัฐธรรมนูญฉบับนี $กลายเป็ นสิ6ง“ชัว+ คราว” 10 จากนันเหล่ การต่อต้ านการปกครองระบอบประชาธิปไตยที6ปกครองโดยประชาชน ของประชาชนและเพื6อ ประชาชน
10
ยาสุกิจิ ยาตาเบ (เขียน) เออิจิ มูราซิมาและนคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์ (แปล) บันทึกของทูตญี6ปนผู ุ่ ้ เห็นเหตุการณ์ปฏิวตั ิ 2475 : การปฏิวตั แิ ละการเปลีย6 นแปลงในประเทศสยาม , (กรุงเทพฯ : มติชน , 2550).
7
ความล้ มเหลวในการปรั บตัวของสถาบันกษัตริ ย์รัชสมัยพระปกเกล้ าฯ นับตังแต่ $ การปฏิวตั ิ 2475 ที6ม่งุ สถาปนารัฐประชาชาติ(Nation State) หรื อ รัฐที6 หมายถึง ประชาชนที6มีความเท่าเทียมกันทังหมดประกอบกั $ นขึ $นมาเป็ นรัฐ และการสร้ างการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยให้ เกิดขึ $น ตลอดจน สร้ างความเสมอภาคทางการเมืองให้ เกิดขึ $นแก่สงั คมไทยด้ วยการทําให้ สถาบันกษัตริย์มีอํานาจการเมืองจํากัดหรื อ เรี ยกอีกอย่าง หนึง6 ว่า “ราชาธิ ปไตยแบบอํานาจจํ ากัด”( Limited Monarchy)เพื6อมิให้ สถาบันกษัตริย์มี พฤติกรรมใช้ อํานาจการเมืองได้ ดงั เดิมอีก จากนัน$ คณะราษฎรผู้นําการปฏิวตั ิ 2475 ได้ ถ่าย โอนอํานาจในการปกครองที6เคยอยู่กบั สถาบันกษัตริย์กลับคืนสู่ประชาชน ด้ วยการบัญญัติใน มาตราที6 1 ของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นสยาม 2475 ว่า “อํานาจสูงสุดของ ประเทศนัน เป็ นของราษฎรทัง หลาย” แต่ความพยายามในการจํากัดอํานาจสถาบันกษัตริย์และ การสร้ างล่าความเสมอภาคให้ กบั พลเมืองกลับถูกต่อต้ านจากเหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 อย่าง รุนแรงเพื6อเปิ ดโอกาสให้ พวกเขาเข้ าจัดความสัมพันธ์ทางอํานาจการเมืองไทยใหม่ แต่ความ พยายามของพวกเขาในช่วงแรกไม่ประสบความสําเร็จหลายครัง$ เช่น การต่อต้ านโครงการ เศรษฐกิจที6ต้องการความเสมอภาคทางเศรษฐกิจของนายปรี ดี พนมยงค์(2476) การ รัฐประหารเงียบด้ วยการออกพระราชกฤษฎีกางดใช้ รัฐธรรมนูญบางมาตราและปิ ดสภา ผู้แทนราษฎร (2476) การพยายามลอบสังหารผู้นําคณะราษฎร(2476)และความพ่ายแพ้ ของ กบฏบวรเดช(2476)11 เหตุการณ์ที6เกิดขึ $นในปี 2476 ซึง6 เป็ นปี ที6พระปกเกล้ าฯทรงพ่ายแพ้ ทางการเมืองอย่าง ต่อเนื6องในการกอบกู้สถานการณ์ทางการเมืองหลังการปฏิวตั ิ 2475 ให้ เกิดประโยชน์กบั ฝ่ าย พระองค์ อาจทําให้ ทรงสามารถประเมินสถานการณ์ทางการเมืองได้ ถึงสัญญาณที6ไม่เป็ นคุณ จึงทรงต้ องการเดินทางออกนอกประเทศ ต่อมา สภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบการในการแต่งตังให้ $ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้านริศรานุวตั ิวงศ์ เป็ นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์เป็ นพระองค์ คําพิพากษาศาลพิเศษ พุทธศักราช 2482 เรื6 องกบฏ , (พระนคร :กรมโฆษณาการ , 2482), ธํารงศักดิ เพชรเลิศอนันต์, 2475 และ 1 ปี หลังการปฏิวตั ,ิ (กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา,2543) และณัฐพล ใจจริ ง, “ ควํ+าปฏิ วตั ิ -โค่นคณะราษฎร : การก่อตัวของระบอบประชาธิ ปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข” ฟ้ าเดียวกัน ปี 6, ฉบับ1 (ม.ค.-มี.ค. 2551), หน้ า 104-146. 11
8
แรกภายใต้ ระบอบประชาธิปไตย โดยสภาผู้แทนฯกําหนดให้ ผ้ สู ําเร็จราชการฯปฏิบตั ิหน้ าที6ใน วันที6พระปกเกล้ าฯเดินทางออกจากไทยหรื อวันที6 12 มกราคม 2477 12 ทังนี $ $ ผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ หมายถึง ผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธย หรื อพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์13 เนื6องจาก ขณะนัน$ พระมหากษัตริย์ยงั ไม่ทรงบรรลุนิติ ภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ ก็ดี หรื อไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี รัฐธรรมนูญในขณะนันรั $ ฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 อนุญาตให้ ดําเนินการดังกล่าวได้ ว่า “มาตรา ๑๐ ในเมื +อพระมหากษัตริ ย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรื อด้วยเหตุใดเหตุ หนึ+งจะทรงบริ หารพระราชภาระไม่ได้ จะได้ทรงตัง บุคคลหนึ+งหรื อหลายคนเป็ นคณะขึ นให้เป็ น ผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ด้วยความเห็นชอบของสภาผูแ้ ทนราษฎร ถ้าหากพระมหา กษัตริ ย์มิได้ทรงตัง หรื อไม่สามารถจะทรงตัง ได้ไซร้ ท่านให้สภาผูแ้ ทนราษฎรปรึ กษากันตัง ขึ น และในระหว่างทีส+ ภาผูแ้ ทนราษฎรยังมิ ได้ตงั ผูใ้ ด ท่านให้คณะรัฐมนตรี กระทําหน้าทีน+ นั ไป ชัว+ คราว”
ความสัมพันธ์ ระหว่ างสถาบันกษัตริ ย์กับรัฐบาลแห่ งรัฐประชาชาติ เมื6อ สภาผู้แทนฯได้ แต่งตังสมเด็ $ จฯ กรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์ ดํารงตําแหน่งผู้สําเร็จ ราชการฯ เนื6องจากพระปกเกล้ าฯทรงเสด็จเดินทางออกนอกประเทศภายหลังทรงพ่ายแพ้ ทาง การเมืองอย่างต่อเนื6อง ด้ วยเหตุผลว่า ทรงต้ องการรักษาอาการพระประชวรที6พระเนตร แต่ 12
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, รัฐสภาไทยในรอบสีส6 บิ สองปี (2475-2517), (กรุงเทพฯ: ช.ชุมนุมช่าง ,2517), หน้ า 127.
13
ธงประจําตําแหน่งผู้สาํ เร็จราชการแทนพระองค์กําหนดให้ มีขึ $นครัง$ แรกในพระราชบัญญัติธง 2479 สําหรับใช้ เป็ นเกียรติ ยศของผู้ดาํ รงตําแหน่งผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์ ธงนี $มีลกั ษณะเป็ นรูปสีเ6 หลีย6 มจัตรุ ัส พื $นธงสีขาว ตรงกลางของผืนธงมี อาร์ มสีเหลือง กว้ าง 1 ใน 3 ส่วนของความกว้ างของผืนธง ภายในอาร์ มสีเหลืองมีอาร์ มสีธงชาติกว้ าง 3 ใน 5 ส่วนของ ความกว้ างของอาร์ มสีเหลือง เหนืออาร์ มมีครุฑพ่าห์สแี ดงขนาดเท่าอาร์ มสีเหลือง
9
สถานการณ์ดงั กล่าวมิได้ หมายความความสัมพันธ์ ระหว่างสถาบันกษัตริย์และรัฐบาลแห่งรัฐ ประชาชาติจะมีความราบรื6 น ดังจะเห็นได้ จาก ในระหว่างนัน$ แม้ พระปกเกล้ าฯจะมิได้ ทรงประทับอยู่ในไทยก็ตาม แต่ ก็มิได้ หมายความว่า จะทรงยินยอมร่วมมือ หรื อเห็นชอบกับรัฐบาลของรัฐประชาชาติที6รัฐบาล ต้ องการเปลี6ยนแปลงสิ6งตกค้ างจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและสร้ างความเป็ นสมัยใหม่ และความเสมอภาคให้ กบั พลเมืองของระบอบประชาธิปไตย เช่น การที6รัฐบาลพยายาม ผลักดันการแก้ ไขกฎหมายหลายฉบับ แต่ทรงไม่ยอมลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ หลายฉบับที6ลิดรอนอํานาจความเป็ นเจ้ าชีวิต และพระราชทรัพย์ไปจากพระองค์ เช่น รัฐบาล ต้ องการแก้ ไขประมวลกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญาที6เคยกําหนดโทษประหาร ชีวิตนักโทษด้ วยการฟั นคอเป็ นการยิงเสียให้ ตาย แต่ พระองค์ไม่ทรงเห็นชอบกับการแก้ ไข ดังกล่าวของรัฐบาล แต่ทรงต้ องการเป็ นที6ผ้ วู ินิจฉัยเหนือคําพิพากษาของศาลในการปลิดชีวิต นักโทษเพื6อรักษาสถานะของความเป็ นเจ้ าชีวิตไว้ 14 กล่าวอีกอย่างหนึง6 คือ ทรงไม่เห็นด้ วยกับ แนวคิดการเปลี6ยนจาก “คนของกษัตริ ย์” ไปเป็ นคนในรัฐ โดยรัฐบาลของรัฐประชาชาติ ตลอดจน เมื6อรัฐบาลได้ พยายามผลักดันพระราชบัญญัติอากรมรดก แต่พระราชบัญญัติ ดังกล่าวได้ รับการต่อต้ านจากพระองค์อย่างมาก เป็ นต้ น เมื6อความความขัดแย้ งระหว่างพระปกเกล้ าฯ ผู้ทรงเป็ นกษัตริย์พระองค์เก่าในระบอบ ใหม่กบั รัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติดําเนินต่อไป พระองค์ได้ ทรงยื6นข้ อเรี ยกร้ องที6มีมากขึ $น ตามลําดับ และข้ อเรี ยกร้ องหลายข้ อพระองค์ทรงโจมตีรัฐบาลว่า รัฐบาลเป็ นเผด็จการทังที $ 6 แนวคิดเบื $องแรกในการมีสมาชิกสภาผู้แทนฯประเภท 2 ที6มาจากการแต่งตังด้ $ วยพระองค์เอง ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 มาจากพระราชดําริของพระองค์ที6ต้องการควบคุม ทิศทางการเมืองแต่เมื6อทรงพ่ายแพ้ ในเวลาต่อมานัน$ ปรากฏว่า พระองค์ทรงกลับปฏิเสธความ รับผิดจากแนวพระราชดําริ แต่ทรงกล่าวโทษรัฐบาลว่าแนวคิดการแต่งตังสมาชิ $ กสภาผู้แทนฯ เป็ นของรัฐบาลเนื6องจากรัฐบาลต้ องการรวบอํานาจการเมือง15 14
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว , หน้ า156-157. “คําแถลงประธานอนุกรรมการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม” , รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครัง$ ที6 34 / 2475 (วิสามัญ) วันพุธ ที6 16 พฤศจิกายน 2475 , รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสมัยที6 1 พ.ศ.2475 , (พระ นคร : อักษรนิต,ิ 2475 ), หน้ า 359-360. และ“คําแถลงการณ์ของอนุกรรมการร่ างรัฐธรรมนูญ ” , สยามรัฐธรรมนูญการ ปกครองฉบับถาวร พร้ อมด้ วยคําแถลงการณ์ของอนุกรรมการ.(พระนคร : หลักเมือง ,2475 ), หน้ า 2 , “ (สําเนา) พระราช 15
10
ในขณะที6 จอมพล ป. พิบลู สงคราม สมาชิกคณะราษฎรคนสําคัญ และนายกรัฐมนตรี ในเวลาต่อมา ได้ แถลงเปิ ดเผยต่อสภาผู้แทนฯถึงเบื $องหลังการครอบงําการร่างรัฐธรรมนูญของ เหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิว่า“ รัฐธรรมนูญฉบับนี [10 ธันวาคม 2475]ร่ างขึ นในอิ ทธิ พลของ พระมหากษัตริ ย์และพระยามโนฯ ส่วนพวกเราคณะราษฎรนัน นานๆพระยามโนฯ[พระยามโน ปกรณ์นิติธาดา]ก็เรี ยกประชุมถามความเห็น หรื อแจ้งพระประสงค์ ของพระปกเกล้าฯให้ฟัง บางคราวในทีป+ ระชุมนัน ถ้าเราไม่ยอมตามก็ถูกขู่เข็ญอย่างเต็มทีแ+ ละเราก็ต้องยอม” นอกจากนี $ เขายังแถลงยืนยันต่อสภาผู้แทนฯอีกว่า ความต้ องการให้ คงสมาชิกสภาผู้แทนฯที6มา จากแต่งตังด้ $ วยอํานาจของสถาบันกษัตริย์นานถึง 10 ปี แทนที6จะให้ สมาชิกสภาผู้แทนฯทังหมด $ มาจากเลือกตังโดยเร็ $ วนันเป็ $ นพระราชประสงค์ของพระปกเกล้ าฯ หาใช่ความต้ องการจาก คณะราษฎรแต่อย่างใด 16 เนื6องจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญชุดที6ร่าง 10 ธันวาคม 2475 นันเกื $ อบทังหมดเป็ $ นนักกฎหมายที6เป็ นพวกรอยัลลิสต์ มีเพียงนายปรี ดี พนมยงค์คนเดียวที6เป็ น ตัวแทนคณะราษฎร17 ดังที6ได้ กล่าวถึง ขบวนการปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ที6สถาบันกษัตริย์ขณะนันทรงให้ $ การ สนับสนุนข้ างต้ นแล้ ว รวมทังข้ $ อเรี ยกร้ องของพระปกเกล้ าฯข้ างต้ นเป็ นข้ อเรี ยกร้ องที6ละเมิด รัฐธรรมนูญหรื อกล่าวอีกอย่างหนึง6 คือ พระองค์ทรงละเมิดรัฐธรรมนูญ ด้ วยทรงกระทําการด้ วย พระองค์เองเสมือนหนึง6 มีอํานาจเหนือกฎหมายตามระบอบเก่าที6ผ่านพ้ นไป ดุจดังคําแถลงพระ ยาพหลฯ นายกรัฐมนตรี จากคณะราษฎรต่อสภาผู้แทนฯ ที6สรุปข้ อเรี ยกร้ องของพระองค์ก่อน ทรงสละราชว่า ข้ อเรี ยกร้ องต่างๆที6พระองค์ทรงยื6นเสนอมาต่อรัฐบาลและสภาผู้แทนฯนัน“ขั $ ด ต่อการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ”18 บันทึก ข้อแก้ไขต่างๆเพือ+ เสนอต่อรัฐบาลและสภาผูแ้ ทนราษฎร 26 ธันวาคม 2477”, ,แถลงการณ์ เรื6 อง พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงสละราชสมบัติ ,(พระนคร: ศรี กรุง,2478 ) ,หน้ า 89-90. 16 “คําอภิ ปรายของนายกรัฐมนตรี เกี +ยวแก่ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ+มเติ มบทเฉพาะกาล พ.ศ.2483 ”, ใน กรมโฆษณาการ, ประมวลคําปราศรัยและสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี ,(พระนคร : พานิชศุภผล ,2483), หน้ า 148-149. 17 “รายงานการประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร ครัง ที + 1/2475 วันอังคารที + 28 มิ ถนุ ายน พ.ศ. 2475” ,รายงานการประชุมสภา ผู้แทนราษฎร สมัยที6 1 พ.ศ.2475,( พระนคร : อักษรนิต,ิ 2475 ), หน้ า 13-14. คณะกรรมกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ10 ธันวาคม 2475 มีจํานวน 9 คน ประกอบด้ วย พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พระยาเทพวิทรู ฯ พระยามานวราชเสวี พระยา นิติศาสตร์ ไพศาล พระยาปรี ดานฤเบศร์ หลวงสินาดโยธารักษ์ พระยาศรีวิสารวาจา พลเรื อโทพระยาราชวังสัน และนาย ปรี ดี พนมยงค์ 18 แถลงการณ์ เรื6 อง สละราชสมบัติ , หน้ า 177.
11
สุดท้ ายแล้ ว พระปกเกล้ าได้ ทรงสละราชสมบัติในต้ นเดือน มีนาคม 2477แล้ วย่อม หมายถึง สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ที6ทรงเป็ นผู้สําเร็จราชการฯได้ สิ $นสุดลงด้ วย เช่นกัน โดยพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี ได้ ทาบทามให้ สมเด็จฯกรมพระยานริศรา นุวดั ติวงศ์ทรงดํารงตําแหน่งต่อไป แต่ทรงปฏิเสธด้ วยเหตุชรา19 เมื6อความขัดแย้ งระหว่าง สถาบันกษัตริย์จากรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชกับรัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติจบสิ $นลง รัฐบาลได้ รับ การสนับสนุนจากสภาผู้แทนฯซึง6 เป็ นองค์กรผู้ถืออํานาจอธิปไตยแทนประชาชนตามระบอบ ประชาธิปไตยให้ เป็ นรัฐบาลบริหารประเทศต่อไปด้ วยคะแนนเสียงเป็ นเอกฉันท์20 ดังนัน$ หากจะ กล่าวสรุปถึงปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั รัฐบาลและรัฐสภาที6เกิดขึ $นในช่วงนี $ คือ สถาบันการเมืองในระบอบประชาธิปไตยพยายามจํากัดอํานาจการเมืองของสถาบันกษัตริย์ หรื อการพยายามจับ“ยักษ์ ” ใส่กล่องให้ มีพฤติกรรมการเมืองตามคัลลองภายใต้ รัฐธรรมนูญ นัน6 เอง
การปรั บตัวของสถาบันกษัตริ ย์ใต้ รัฐธรรมนูญในรั ชสมัยพระเจ้ าอยู่หัวอานันท มหิดล(2478-2489) เมื6อ พระปกเกล้ าฯ กษัตริย์ที6ทรงมาจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชสละราชสมบัติใน ระบอบประชาธิปไตยแล้ ว รัฐบาลและสภาผู้แทนฯแห่งรัฐประชาชาติได้ พจิ ารณาทูลเชิญ พระองค์เจ้ าอานันทมหิดลขึ $นเป็ นกษัตริย์พระองค์ใหม่ เนื6องจาก พระบาท สมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั อานันทมหิดล ยังทรงพระเยาว์ ไม่สามารถปฏิบตั ิพระราชภารกิจได้ สภาผู้แทนฯจึงได้ ตงคณะ ั$ ผู้สําเร็จราชการฯขึ $น21 ประกอบด้ วย 1.พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าออศคาร์ นทุ ิศ กรมหมื6น อนุวตั รจาตุรนต์22 ประธานคณะผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์ 2.พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ า 19
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว , หน้ า 181. 20 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว, หน้ า 189. 21 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว, หน้ า 184. 22 พันเอก พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าออศคาร์ นทุ ศิ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์(2 ธันวาคม 2426 – 13 สิงหาคม 2478) พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ าน้ องยาเธอ เจ้ าฟ้ าจาตุรนรัศมี ผู้ทรงเป็ นพระอนุชาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า เจ้ าอยูห่ วั พระองค์เจ้ าออศคาร์ นทุ ิศ ทรงเคยดํารงตําแหน่งประธานคณะผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เมื6อ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ได้ ทรงสละราชสมบัติ สภาผู้แทนราษฎร ได้ มีมติ เห็นชอบตามให้ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอานันทมหิดล เป็ นพระมหากษัตริ ย์พระองค์ที6 8 แต่เนือ6 งจากขณะนันทรงมี $
12
อาทิตย์ทิพอาภา23 3.เจ้ าพระยายมราช (ปั น$ สุขมุ ) หลังจากที6สภาผู้แทนฯได้ มีมติแต่งตังคณะ $ สําเร็จราชการฯขึ $นแล้ ว ผู้สําเร็จราชการฯได้ เข้ าปฏิญานตนต่อสภาผู้แทนราษฎร เมื6อ 24 มีนาคม 2477 ว่า “… ข้าพเจ้าได้รับมติ เลื อกตัง จากสภาผูแ้ ทนราษฎรนี รู้สึกว่าเป็ นเกี ยรติ ยศ อันสูงและสําคัญมาก ข้าพเจ้าจะได้ตงั ใจเพียรพยายามทีจ+ ะปฏิ บตั ิ ราชการในหน้าที +นี จน สุดกําลังและสติ ปัญญาทีส+ ามารถจะพึงกระทําได้ ให้ถูกต้องตามระบอบรัฐธรรมนูญจงทุก ประการ เพือ+ ยังความเจริ ญมัน+ คงแก่ประเทศชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์และรัฐธรรมนูญ สืบไป” ควรบันทึกด้ วยว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว บทบาทของสถาบันกษัตริย์ผ่านคณะผู้สําเร็จ ราชการฯในรัชสมัยพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯกับรัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติดําเนินไปได้ ด้วยดี แม้ ว่ารัฐบาลได้ ออกพระราชบัญญัติจดั ระเบียบทรัพย์สินฝ่ ายพระมหากษัตริย์ 2479 แต่คณะ ผู้สําเร็จราชการฯก็ได้ ทรงยอมลงพระนามประกาศใช้ กฎหมายนี $ ซึง6 หมายความคณะผู้สําเร็จฯ ยินยอมให้ รัฐบาลทรงสิทธิในการเข้ ามาสํารวจและจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ ายพระมหากษัตริย์ เพื6อประโยชน์ของรัฐประชาติได้ 24 แต่การที6คณะผู้สําเร็จราชการฯตัดสินใจให้ กฎหมายดังกล่าว มีผลบังคับใช้ นนั $ ทําให้ พระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์ ประธานคณะผู้สําเร็จฯ ได้ รับการกดดันจากพระราชวงศ์ชนสู ั $ งมากจนทําให้ ทรงปลงพระชนม์ตนเอง25 พระชนมายุเพียง 9 พรรษา และกําลังศึกษาอยูใ่ นสวิตเซอร์ แลนด์ ดังนัน$ ตามรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475 สภาผู้แทนฯ มีอํานาจแต่งตังคณะบุ $ คคลเป็ นผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์ จํานวน 3 คน คือพระเจ้ า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าออศคาร์ นุ ทิศ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์ เป็ นประธานคณะผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์ พระเจ้ า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพ อาภา และเจ้ าพระยายมราช (ปั น$ สุขมุ ) ต่อมา พระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์ ทรงปลงพระชนม์พระองค์เอง เมื6อวันที6 13 สิงหาคม 2478 23 พลโท พลเรื อโท พลอากาศโท พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพอาภา ( 24 กรกฎาคม 2447 - สิ $นพระชนม์ 19 พฤษภาคม 2489) ประธานคณะผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั อานันทมหิดล พระองค์ทรง ทําหน้ าที6ผ้ สู าํ เร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระเจ้ าอยูห่ วั อานันทมหิดล ร่วมกับพระเจ้ า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าออศ คาร์ นทุ ิศ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์, เจ้ าพระยายมราช (ปั น$ สุขมุ ), พลเอกเจ้ าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุม่ อินทรโยธิน) และ หลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (ปรี ดี พนมยงค์) และทรงลาออกเมื6อวันที6 31 กรกฎาคม 2487 โดยในระหว่างที6ทรงดํารงตําแหน่ง ผู้สาํ เร็ จราชการแทนพระองค์นนั $ พระองค์ได้ รับการสถาปนาขึ $นเป็ น พระเจ้ า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพอาภา 24 สุพจน์ แจ้ งเร็ ว. “คดียึดพระราชทรัพย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ”. ศิลปวัฒนธรรม 23, 8 (มิถนุ ายน 2545 ), หน้ า 63-80. 25 พระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์ทรงปลงพระชนม์ตนเองเมื6อวันที6 13 สิงหาคม 2478 และควรบันทึกด้ วยว่า ในช่วงเวลานัน$ สมเด็จพระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ ารังสิตประยูรศักดิ กรมขุนชัยนาทนเรนทร (รังสิตประยูรศักดิ รังสิต) พระราชโอรสพระองค์หนึง6 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงเป็ นศูนย์กลางของการยอมรับจากเหล่าพระ
13
ปั ญหาการเมืองในราชสํานักในช่วงของการปรับตัวของสถาบันกษัตริย์ภายใต้ ระบอบ ประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญดังกล่าวนี $ ทําให้ พระยาพหลฯ นายกรัฐมนตรี ขณะนันได้ $ กล่าวถึงเงื6อนงําที6ทําให้ ประธานคณะผู้สําเร็จฯทรงปลงพระชนม์ตนเองต่อสภาผู้แทน ฯว่า “ … พระองค์ [พระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์]ปฏิ บตั ิ งานในหน้าทีป+ ระธาน ผูส้ ําเร็ จราชการด้วยความเรี ยบร้อย แต่พระองค์ ลําบากใจในการปฏิ บตั ิ งานในฐานะทรงเป็ น ผูจ้ ดั การทรัพย์ สินของพระปกเกล้าฯ ได้ทรงถูกเจ้านายบางพระองค์ กล่าวเสียดสีการปฏิ บตั ิ งาน ของพระองค์ ในหน้าทีผ+ ูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ จึงได้ทรงปลงพระชนม์ พระองค์ เอง” 26 ดังนัน$ จะเห็นได้ ว่า เมื6อสถาบันกษัตริย์ในรัชสมัยพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯนันยอมอยู $ ่ ภายใต้ รัฐธรรมนูญ แต่เหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ที6มีพระราชวงศ์และกลุ่มรอยัลลิสต์จํานวน หนึง6 กลับปฏิเสธการยอมรับระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญ และทํากดดัน การปฏิบตั ิหน้ าที6ของประธานผู้สําเร็จราชการฯหรื อ พระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุ รนต์จนพระองค์ต้องทรงปลงพระชนม์ตนเอง ทําให้ รัฐประชาชาติสญ ู เสียประธานคณะผู้สําเร็จ ราชการฯที6ทรงยินยอมนําพาสถาบันกษัตริย์ให้ อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญไปอย่างน่าเสียดาย ต่อมา สภาผู้แทนฯได้ ลงมติเลือกตังซ่ $ อมตําแหน่งที6ว่างในคณะผู้สําเร็จราชการฯและได้ เจ้ าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) แทนพระเจ้ าวรวงศ์เธอ กรมหมื6นอนุวตั รจาตุรนต์ที6 ทรงสวรรคตไป 27 จากนันสภาผู $ ้ แทนฯมีมติแต่งตังให้ $ พระเจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพ อาภา เป็ นประธานคณะผู้สําเร็จราชการฯ28 ทังนี $ $ ตลอดช่วงที6พระองค์เจ้ าอาทิตย์ เป็ นประธาน คณะผู้สําเร็จราชการฯ ทรงให้ การสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ ใต้ รัฐธรรมนูญนี $มีส่วนทําให้ ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์และรัฐบาลกับสภาผู้แทนฯ ราชวงศ์มาก นอกจากนี $ ทรงมีความใกล้ ชิดกับราชสกุลมหิดลด้ วย ต่อมาทรงถูกรัฐบาลจับกุมฐานทรงก่อกบฏต่อต้ าน รัฐบาลและทรงถูกตัดสินลงโทษประหารชีวติ ในปี 2482 แต่รัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติลดโทษให้ พระองค์เพียงจําคุกตลอด ชีวิตและถอดอิสริ ยยศลงเป็ นนายรังสิตประยูรศักดิ หลังสงครามโลกครัง$ ที6 2 รัฐบาลได้ นิรโทษกรรมและคืนอิสริ ยยศให้ พระองค์กลับคืนสูพ่ ระราชวงศ์อกี ครัง$ หลังการสวรรคตของพระเจ้ าอยูห่ วั อานันทมหิดลเมื6อ 2489 ทรงเป็ นผู้สาํ เร็ จราชการ ฯในต้ นรัชกาลปั จจุบนั ต่อมาทรงมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนการรัฐประหาร 2490 ที6ทําให้ สถาบันกษัตริ ย์กลับมามี อํานาจทางการเมืองอีกครัง$ (โปรดดู Edwin F. Stanton , Brief Authority : Excursion of a Common Man in an Uncommon World , [New York: Harper & Brothers Publishers ,1956 ] , p.210 .) 26 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว, หน้ า 205. 27 เมื6อวันที6 21 สิงหาคม 2478 28 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 206.
14
เริ6มเกิดแบบแผนขึ $น เช่น ในปี 2480 ได้ เกิดปั ญหาเรื6 องขายที6ดินของพระคลังข้ างที6 ทําให้ คณะ ผู้สําเร็จราชการฯลาออก แต่สภาผู้แทนฯได้ เลือกตังคณะผู $ ้ สําเร็จราชการฯชุดเดิมกลับเข้ าดํารง ตําแหน่งอีก จากเหตุ เรื6 องปั ญหาการขายที6ดินดังกล่าวมีผลทําให้ พระยาพหลฯในฐานะหัวหน้ า รัฐบาลได้ ลาออกเพื6อแสดงความรับผิดชอบ แต่สภาผู้แทนฯเชื6อมัน6 ในความบริสทุ ธิของรัฐบาล อีกทัง$ คณะผู้สําเร็จราชการฯเห็นด้ วยกับมติของสภาผู้แทนฯจึง ทรงแต่งตังให้ $ พระยาพหลฯ กลับเข้ าเป็ นนายกรัฐมนตรี อีกวาระหนึง6 29 จากเหตุการณ์ข้างต้ นเห็นได้ ว่า ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์ผ่านคณะผู้สําเร็จ ราชการฯในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั อานันท์ฯกับรัฐบาลและสภาผู้แทนฯ ในช่วงดังกล่าวเป็ นตัวอย่างที6สําคัญยิ6งของการวางแบบแผนของปฏิสมั พันธ์ ระหว่างสถาบัน การเมืองภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญ โดยที6สถาบันกษัตริย์และ รัฐบาลให้ ความสําคัญกับสภาผู้แทนฯผู้เป็ นตัวแทนประชาชนอย่างสูง จนอาจกล่าวได้ ว่าเป็ น ช่วงเวลาที6 “ยักษ์ ”ยอมอยู่ในกล่องซึง6 เป็ นตัวอย่างที6น่าศึกษายิ6ง ช่วงปลายทศวรรษ 2470-ปลายทศวรรษ 2480 ราว 11 ปี ภายใต้ รัชสมัยของพระเจ้ าอยู่ หัวอานันทฯเป็ นช่วงของการที6รัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติได้ เดินหน้ าสร้ างความเป็ นสมัยใหม่ (Modern) ความเสมอภาค โดยรัฐบาลและสภาผู้แทนฯฯได้ ผลักดันกฎหมายที6สร้ างความเป็ น ธรรมให้ กบั สังคมอย่างสําคัญ เช่น การพลักดันพระราชบัญญัติให้ ใช้ ประมวลรัษฎากร การยก เลิกเงินค่ารัชปู การ ภาษี สมพัตสร และอากรค่านา30 ตลอดจน การสร้ างความเป็ นสมัยใหม่ ในทางวัฒนธรรม การประกาศรัฐนิยม การเปลี6ยนชื6อประเทศ โดยประธานผู้สําเร็จราชการฯ ทรงให้ การสนับสนุนรัฐบาลในโครงการการเดินหน้ าสู่ความเป็ นสมัยใหม่ ดังเห็นได้ จากพระองค์ ได้ ทรงแต่งกายทันสมัยเป็ นสากล เป็ นต้ น เมื6อสงครามโลกครัง$ ที6 2 คืบคลานเข้ าสู่ไทย โดยญี6ปนยกพลขึ ุ่ $นบกในไทยเมื6อวันที6 7 ธันวาคม 2484 รัฐบาลสมัยจอมพล ป. ได้ เสนอให้ สภาผู้แทนฯตังนายปรี $ ดี พนมยงค์ เป็ น ผู้สําเร็จราชการฯ31แทนเจ้ าพระยายมราช(ปั น$ สุขมุ )ซึง6 ถึงแก่อสัญกรรมไปก่อนหน้ านี $ 32 ต่อมา 29
เลียง ไชยกาล , คําแถลงการณ์ รายงานคณะกรรมการพิจารณา เรื6 อง ซื $อขายที6ดินพระคลังข้ างที,6 (พระนคร: คณะ วัฒนานุกลู , 2480).; ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์ , อ้ างแล้ ว, หน้ า 232-241. 30 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 287-288. 31 เมื6อวันที6 16 ธันวาคม 2484 32 เมื6อวันที6 30 ธันวาคม 2481
15
เมื6อเจ้ าพระยาพิชเยนทรโยธินถึงแก่อสัญกรรมในปี พ.ศ. 2485 คณะผู้สําเร็จราชการฯจึงเหลือ เพียง 2 คน คือ พระองค์เจ้ าอาทิตย์และนายปรี ดีเท่านัน$ ในช่วงเวลาดังกล่าว ความสัมพันธ์ ระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั รัฐบาลค่อนข้ างราบรื6 น เนื6องจากประธานคณะผู้สําเร็จราชการฯมี ความสัมพันธ์ที6ดีกบั รัฐบาล เช่น พระองค์เจ้ าอาทิตย์ อีกทัง$ นายปรี ดี แกนนําในคณะราษฎรได้ มีส่วนร่วมในคณะผู้สําเร็จราชการฯด้ วย และในช่วงท้ ายสงครามโลก จอมพล ป. นายกรัฐมนตรี ได้ พา่ ยแพ้ ต่อสภาผู้แทนฯในการผลักดันพระราชกําหนดระเบียบบริหารนครบาล เพ็ชรบูรณ์และพระราชกําหนดอื6นๆให้ เป็ นพระราชบัญญัติ แต่ความพ่ายแพ้ ดงั กล่าวทําให้ จอม พล ป. ขอลาออกจากตําแหน่งหัวหน้ ารัฐบาลเมื6อ 24 กรกฎาคม 2487 ไม่นานจากนัน$ พระ เจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาทิตย์ทิพอาภาได้ ทรงลาออกจากตําแหน่งเมื6อวันที6 31 กรกฎาคม 2487 ทําให้ สภาผู้แทนฯแต่งตังให้ $ นายปรี ดี เป็ นผู้สําเร็จราชการแทนพระองค์แต่ผ้ เู ดียว 33 อย่างไรก็ตาม ภายหลังที6ญี6ปนยกพลขึ ุ่ $นบกและไทยได้ ยอมเป็ นพันธมิตรกับฝ่ ายอักษะ แล้ ว แต่ในเวลาต่อมาสถานการณ์สงครามในยุโรปเริ6มเปลี6ยนไป เมื6อฝ่ ายอักษะเริ6มตกเป็ นฝ่ าย รับจากรุกรบของกองทัพสัมพันธมิตร มีผลทําให้ นายปรี ดีได้ เริ6มก่อตังขบวนการเสรี $ ไทยขึ $นเพื6อ ต่อต้ านกองทัพญี6ปนุ่ เมื6อจอมพล ป. ลาออกจากตําแหน่งแล้ ว นายปรี ดี ในฐานะผู้สําเร็จ ราชการฯได้ เชิญประธานสภาผู้แทนฯ(พระยามานวราชเสวี)ปรึกษาถึงสถานการณ์ระหว่าง ประเทศและสนับสนุนให้ นายควง อภัยวงศ์ซงึ6 เป็ นรองประธานสภาฯขึ $นเป็ นนายกรัฐมนตรี แทน จอมพล ป.และจากนัน$ ผู้สําเร็จราชการฯได้ มีพระบรมราชโองการแต่งตังให้ $ จอมพล ป. เป็ นที6 ปรึกษาราชการแผ่นดิน34 ในช่วงปลายสงครามโลกครัง$ ที6 2 ที6กําลังจะจบสิ $นลง นายปรี ดี แกนนําสําคัญใน คณะราษฎรและในฐานะผู้สําเร็จราชการฯพยายามปรองดองกับปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 หรื อพระ ราชวงศ์ชนสู ั $ งและพวกรอยัลลิสต์ด้วยการได้ ผลักดันให้ อภัยโทษและคืนฐานันดรศักดิ ให้ แก่ นักโทษการเมืองที6เป็ นเจ้ านายชันสู $ ง เช่น นายรังสิตประยูรศักดิ รังสิต กลับคืนเป็ นกรมขุน ชัยนาทนเรนทร และพวกรอยัลลิสต์ที6เคยเป็ นปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิในหลายกรณี โดยนายปรี ดี คาดหวังให้ เกิดความร่วมมือระหว่างกันเพื6อทํางานให้ รัฐประชาชาติและลบความขัดแย้ งเมื6อ
33
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 437. 34 ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 441.
16
ครัง$ เก่า แต่ความคาดหวังของเขานี $ได้ รับการตอบรับน้ อยมากจากเหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั 35ิ แต่ อะไรคือ รางวัลที6เหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิมอบให้ กบั นายปรี ดีผ้ ปู ลดปล่อยพวกเขาให้ มีอิสรภาพ ไม่นานหลังจากสงครามโลกครัง$ ที6 2 สิ $นสุดลง พระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯทรงได้ แต่งตังให้ $ นายปรี ดีเป็ นรัฐบุรุษอาวุโสมีหน้ าที6มีหน้ าที6ให้ คําปรึกษากิจการราชการแผ่นดิน และทรงได้ ลง พระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ที6สะท้ อนให้ เห็นถึงทรงได้ มีพระราชปณิธานยืนยัน แบบธรรมเนียมทางการเมืองที6ถือกําหนดขึ $น โดยทรงยินยอมเป็ นกษัตริย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญที6 ก่อตัวขึ $นหลังการปฏิวตั ิ 2475 ต่อไป ทังนี $ $ ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ได้ มีบทบัญญัติเกี6ยวกับ การสืบราชสมบัตินนยั ั $ งคงเป็ นไปตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้ วยการสืบสันตติวงศ์ 2467 ที6อยู่ ภายใต้ อํานาจของรัฐสภาที6มีทงพฤฒิ ั$ สภา(วุฒิสภา)และสมาชิกสภาผู้แทนฯที6มาจาการ เลือกตังของประชาชนตามหลั $ กอํานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชนอย่างเต็มที6 ดังปรากฏใน รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ว่า “มาตรา ๑๐ ในเมื +อพระมหากษัตริ ย์จะไม่ประทับอยู่ใน ราชอาณาจักร หรื อด้วยเหตุใดเหตุหนึ+งจะทรงบริ หารพระราชภาระไม่ได้ จะได้ทรงตัง บุคคลคน หนึ+งหรื อหลายคนเป็ นคณะขึ นให้เป็ นผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ดว้ ยความเห็นชอบของ รัฐสภา ถ้าหากพระมหากษัตริ ย์มิได้ทรงตัง หรื อไม่สามารถจะทรงตัง ได้ ให้รัฐสภาปรึ กษากัน ตัง ขึ น และในระหว่างทีร+ ัฐสภายังมิ ได้ตงั ผูใ้ ด ให้สมาชิ กพฤฒิ สภาผูม้ ี อายุสูงสุดสามคน ประกอบเป็ นคณะผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ขึ นชัว+ คราว มาตรา ๑๑ ในกรณี ทีร+ าชบัลลังก์ หากว่างลง และมิ ได้มีผูส้ ําเร็ จราชการแทน พระองค์ ตงั ไว้ตามความในมาตรา ๑๐ ให้สมาชิ กพฤฒิ สภาผูม้ ี อายุสูงสุดสามคนประกอบเป็ น คณะผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ขึ นชัว+ คราว” แต่หลังสิ $นสุดรัชกาลของพระองค์ด้วยโศกนาฏกรรมที6น่าฉงน และเริ6มต้ นรัชกาลใหม่ สิ6ง ที6นายปรี ดีได้ รับการตอบแทนจากเหล่าปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ที6ชิงชังระบอบประชาธิปไตยซึง6 เขาได้ ปลดปล่อยคนเหล่านันออกจากการลงทั $ ณฑ์ ด้ วยเขามีความหวังว่า คนเหล่านันจะลื $ ม ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและยอมปรับตัวอยู่ภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยต่อไป แต่เขา คาดการณ์ผิด และสิ6งที6เขาได้ รับจากคนเหล่านันแทนที $ 6จะเป็ นความร่วมซาบซึ $งใจในความใจ
35
“ The Development of Siamese Politics ” , “A Memorandum on a certain aspect of the Siamese Politics for His Majesty The King, 20 June 1947” , หม่อมเจ้ า ศุภสวัสดิ วงศ์สนิท สวัสดิวตั น , 1 ศตวรรษ ศุภสวัสดิ , (กรุงเทพฯ : อมริ นทร์ พริ น$ ติ $ง แอนด์พบั ลิชชิ6ง, 2543).
17
กว้ างของรัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติ แต่กลับกลายเป็ นว่า เขากลับถูกกล่าวหาจากคนเหล่านัน$ ว่าเขาเป็ นอาชญากรผู้เกี6ยวข้ องกับการสวรรคตของพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯในเวลาต่อมา
การโต้ กลับระบอบประชาธิปไตย: การรัฐประหาร 2490 กับการปลดปล่ อย อํานาจของสถาบันกษัตริ ย์ ทันที ที6สถาบันกษัตริย์ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯ ผู้ทรง ยอมรับแบบธรรมเนียมความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางการเมืองที6คณะผู้สําเร็จราชการฯผู้ เป็ นตัวแทนของพระองค์ได้ ปฏิบตั ิภายใต้ รัฐธรรมนูญ พระองค์ทรงได้ สวรรคตอย่างฉับพลันเมื6อ 9 มิถนุ ายน 2489 ตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ที6เพิง6 ประกาศใช้ ใหม่นนั $ มีบญ ั ญัติกําหนดให้ สมาชิกพฤฒิสภา(ต่อมาเรี ยกวุฒิสภา)ผู้มีอายุสงู สุดจํานวน 3 คน ดํารงตําแหน่งเป็ นคณะ ผู้สําเร็จราชการฯชัว6 คราวเมื6อกษัตริย์มิอาจปฏิบตั ิหน้ าที6ได้ ในครัง$ นัน$ พฤฒิสภาได้ แต่งตัง$ พระ สุธรรมวินิจฉัย พระยานนท์ราชสุวจั น์ และนายสงวน จูฑะเตมีย์ให้ ดํารงตําแหน่งคณะผู้สําเร็จ ราชการฯ แต่คณะผู้สําเร็จราชการฯชุดนี $ ดํารงตําแหน่งเพียงชัว6 คราว ตังแต่ $ วนั ที6 9 มิถนุ ายน – 16 มิถนุ ายน 2489 หรื อราวกว่าสัปดาห์เท่านัน$ 36 เนื6องจาก ฝ่ ายราชสํานักที6ประกอบไปด้ วย พระราชวงศ์ชนสู ั $ งและกลุ่มรอยัลลิสต์จํานวนหนึง6 ที6เคยเป็ นอดีตนักโทษการเมืองผู้เป็ นปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ที6เพิง6 ได้ รับการปลดปล่อยจากการลงทัณฑ์ พวกเขามีความต้ องการเข้ าควบคุม ทิศทางสถาบันกษัตริย์ในรัชกาลใหม่ผ่านผู้สําเร็จราชการฯต่อไปดังจะกล่าวต่อไปข้ างหน้ า อย่างที6ได้ กล่าวมาข้ างต้ นแล้ วว่า หลังสงครามโลกครัง$ ที6 2 รัฐบาลได้ ปลดปล่อยเหล่า ปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ให้ มีอิสระ ดังนัน$ ไม่แต่เพียงในพื $นที6ทางการเมืองไทยหลังสงครามโลกที6 มากด้ วยปั ญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที6มาจากสถานการณ์สงครามเท่านันที $ 6ทําให้ รัฐบาล เผชิญกับปั ญหาต่างๆนานา แต่พื $นที6ทางการเมืองไทยในขณะนันก็ $ พลุกพล่านไปด้ วยเหล่าผู้ที6 ชิงชังระบอบประชาธิปไตย ความเคลื6อนไหวของพวกเขามีส่วนในการสร้ างความปั6 นป่ วนทาง การเมืองหลังสงครามโลกของไทยให้ ทวีความยุ่งยากมากขึ $น ในขณะนัน$ สมเด็จพระเจ้ าวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้ ารังสิตประยูรศักดิ กรมขุนชัยนาทนเรนทร อดีตแกนนําปฏิปักษ์ ปฏิวตั ิ 2475 ในช่วงต้ นของระบอบประชาธิปไตยทรงได้ พ้นโทษจากฐานะนักโทษเด็ดขาดฐานกบฏ ต่อมา 36
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, อ้ างแล้ ว ,หน้ า 535.
18
พระองค์ได้ ทรงกลายเป็ นแกนนําและทรงมีอิทธิพลเหนือกลุ่มรอยัลลิสต์ในขณะนัน$ ภายหลัง สงครามโลกสิ $นสุดลง สมเด็จพระนางเจ้ ารํ าไพพรรณี อดีตพระราชินีของพระปกเกล้ าฯทรงเป็ น เจ้ านายชันผู $ ้ ใหญ่ได้ เสด็จนิวตั จากอังกฤษกลับมาไทย จากรายงานทางการทูตของสหรัฐฯหลัง สงครามโลกได้ รายงานว่า ทรงให้ การสนับสนุนราชสกุลจักรพงษ์ ให้ มีอํานาจเหนือราชสํานัก 37 สถานการณ์ดงั กล่าวจึงนําไปสู่การช่วงชิงการนําทางการเมืองในราชสํานัก อีกทัง$ เมื6อ 9 มิถนุ ายน 2489 ตําแหน่งกษัตริย์ว่างลงอย่างฉับพลันยิ6งมีส่วนเร่งการต่อสู้ทางการเมืองในราช สํานักอย่างแหลมคมมากยิ6งขึ $น ดังนัน$ เมื6อ รัฐธรรมนูญ 2489 บัญญัติให้ ผ้ อู าวุโสจากพฤฒิสภาดํารงตําแหน่งคณะ ผู้สําเร็จราชการฯชัว6 คราวทําให้ กลุ่มการเมืองในราชสํานักไม่พอใจและเร่งให้ เกิดการตังคณะ $ ผู้สําเร็จราชการฯชุดใหม่แทนคณะผู้สําเร็จราชการฯชัว6 คราวที6มาจากพฤฒิสภา การต่อสู้ของ กลุ่มการเมืองในราชสํานักที6เกิดขึ $นขณะนันดู $ ราวกับว่า พวกเขาไม่สนใจความเป็ นไปของชาติ หลังสงครามโลกมากกว่าไปกว่าการจัดการเรื6 องผลประโยชน์ของพวกของตนให้ เสร็จสิ $น ด้ วย การผลักตัวแทนฝ่ ายตนเข้ ากุมคณะผู้สําเร็จราชฯให้ สําเร็จ จากรายงานทางการทูตได้ รายงาน การต่อสู้ในราชสํานักขณะนันว่ $ า สามารถแบ่งกลุ่มการเมืองในราชสํานักได้ ออกเป็ น 2 ปี ก คือ ปี กแรกมีสมเด็จพระนางเจ้ ารํ าไพฯเป็ นแกนนํา ทรงมีความต้ องการดํารงตําแหน่งผู้สําเร็จ ราชการฯเพื6อทบทวนสิทธิที6ควรเป็ น กล่าวคือ ทรงมีความต้ องการให้ สืบสันตติวงศ์หวนกลับคืน มาสู่สายของสมเด็จฯพระพันปี หลวง ในขณะที6 อีกปี กหนึง6 มีแรงผลักดันให้ กรมขุนชัยนาท นเรนทรเป็ นตัวแทนในการทําหน้ าที6ปกป้องสิทธิให้ การสืบสันติวงศ์คงอยูใ่ นสายสมเด็จฯพระ พันวษาต่อไป สุดท้ ายแล้ ว การประลองกําลังของการเมืองในราชสํานักก็จบสิ $นลงด้ วย ราช สํานักได้ เสนอชื6อ กรมขุนชัยนาทนเรนทร เป็ นประธานคณะผู้สําเร็จราชการแต่เพียงพระนาม เดียว ส่วนรัฐบาลได้ เสนอ พระยามานวราชเสวี เป็ นผู้สําเร็จราชการฯอีกคนซึง6 เป็ นตัวแทนของ 37
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Major Arkadej Bijayendrayodhin to Gentleman of the Foreign Relations Washington D.C., 16 September 1945.ในรายงานบันทึกว่า สมเด็จพระนางเจ้ ารําไพพรรณี ทรงต้ องการให้ พระองค์เจ้ าจุลจักรพงษ์ หย่ากับชายาที6เป็ นชาวต่าง ประเทศ(หม่อมอลิสเบธ) และมาเสกสมรสกับพระ ขนิษฐาคนเล็กต่างมารดาของพระองค์เพื6อให้ เกิดความชอบธรรมในการสืบราชบัลลังก์ของสองราชตระกูล โดยพวกเขา ต้ องการให้ องั กฤษสนับสนุนราชบัลลังก์ของกษัตริ ย์ไทยพระองค์ใหม่ ในขณะนัน$ ภาพลักษณ์ของพระองค์เจ้ าจุลจักรพงษ์ นันทรง“นิ $ ยมอังกฤษ เต็มอังกฤษ”(กนต์ธีร์ ศุภมงคล, การวิเทโศบายของไทย ระหว่างปี พุทธศักราช 2483 ถึง 2495, [กรุงเทพฯ: โพสต์ พับลิชชิ6ง จํากัด, 2537],หน้ า 71.).
19
รัฐบาล38 จะเห็นได้ ว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว คณะผู้สําเร็จราชการฯในช่วงเวลานัน$ รัฐบาลยังคงมี ตัวแทนในการดูแลความเป็ นไปของสถาบันกษัตริย์ให้ วางอยู่ใต้ อํานาจอธิปไตยเป็ นของ ประชาชนได้ ไม่นานจากนัน$ รัฐบาลได้ แต่งตังกรรมการสอบสวนคดี $ สวรรคตขึ $น ผลการสอบสวนมี ความคืบหน้ ามากขึ $นจนอาจระบุผ้ ตู ้ องสงสัยได้ คณะกรรมการสืบสวนชุดนี $ประกอบด้ วย เจ้ าหน้ าที6และพระราชวงศ์ระดับสูงที6มี พระองค์เจ้ าธานีนิวตั พระองค์เจ้ าจุมภฏบริพตั ร และ พระองค์เจ้ าภาณุพนั ธ์ยคุ คลร่วมเป็ นกรรมการ เมื6อการสอบสวนคดีดงั กล่าวในช่วงรัฐบาลของ พลเรื อตรี ถวัลย์ ธํารงนาวาสวัสดิ มีความคืบหน้ าที6น่าพึงพอใจ39 ไม่นานจากนัน$ ก็เกิดการ รัฐประหารเมื6อ 8 พฤศจิกายน 2490 การัฐประหารดังกล่าว สําเร็จลงได้ ด้วยการให้ การ ช่วยเหลือของ กรมขุนชัยนาทนเรนทรหนึง6 ในคณะผู้สําเร็จราชการฯที6ทรงรับรองการรัฐประหาร โค่นล้ มรัฐบาลพลเรื อถวัลย์ และทรงลงนามประกาศใช้ รัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ด้ วยพระองค์แต่ เพียงผู้เดียว โดยปราศจากการลงนามของพระยามานวราชเสวี ซึง6 เป็ นหนึง6 ในคณะผู้สําเร็จ ราชการฯ ซึง6 บุคคลท่านหลังนี $เป็ นตัวแทนฝ่ ายรัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติ40 ที6สําคัญคือ การ รัฐประหารครัง$ นี $ได้ กลายเป็ นต้ นแบบของการรัฐประหารที6ได้ รับรองความชอบธรรมจากสถาบัน กษัตริย์จนทําให้ การกระทําที6ผิดกฎหมายนี $ประสบความสําเร็จได้ ไม่ยากนัก ด้ วยเหตุนี $ จึงสามารถวิเคราะห์อย่างไม่ยากว่า บทบาทของกรมขุนชัยนาทนเรนทรซึง6 เป็ นผู้สําเร็จราชการฯอันเป็ นส่วนหนึง6 ของสถาบันกษัตริย์ได้ ทรงละเมิดรัฐธรรมนูญอย่างรุนแรง ที6สดุ ด้ วยการสนับสนุนให้ เกิดการทําลายรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ลง ดังนัน$ บทบาทดังกล่าว 38
NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 11 June 1946.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 26 June 1946.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Yost to Secretary of State, 18 June 1946.; NARA, RG 59 Central Decimal file 1945-1949 Box 7250, Stanton to Secretary of State, “Fortnightly Summary of Political event in Siam for the Period 16-31 August 1946”.; ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 543. เริ6 มปฏิบตั ิหน้ าที6 16 กรกฎาคม 2489 39 โปรดดู สมศักดิ เจียมธีรสกุล, “ข้อมูลใหม่ กรณีสวรรคต:หลวงธํ ารงระบุชดั ผลการสอบสวน ใคร คือ ผูต้ อ้ ง สงสัยที + แท้จริ ง” , “บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี +ยวกับกรณีสวรรคตและข่าวลือเรื +อง แผนการใหญ่ของพีน+ อ้ งปราโมช” , “ว่าด้วย จดหมายเปิ ดเผยความลับกรณีสวรรคตของ ‘ปรี ดี’ ทีเ+ พิ+ งเผยแพร่”, ฟ้ าเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552), หน้ า ............ 40 Edwin F. Stanton , Ibid, p. 210 .
20
ของผู้สําเร็จราชการฯในการสนับสนุนการรัฐประหาร 2490 จึงเป็ นจุดเริ6มต้ นของปั ญหาทาง การเมืองจํานวนมากที6ตามมา กล่าวอีกอย่างได้ ว่า บทบาทของสถาบันกษัตริย์ขณะนัน$ ได้ ทําลายรากฐานความสัมพันธ์ที6เหมาะสมระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั รัฐบาลภายใต้ ระบอบ ประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญที6ก่อรูปร่างในรัชสมัยพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯลงเสีย จนนําไปสู่กําเนิดระบอบการปกครองอันแปลกประหลาดที6มีระบอบที6ชื6อประชาธิปไตย แต่มิใช่ การปกครองของประชาชน โดยประชาชนและเพื6อประชาชนอีกต่อไป หรื อกล่าวอีกอย่างหนึง6 คือ กล่องแพนโดรา ได้ ถกู เปิ ดออกแล้ ว
ส่ วนที0 2 จากระบอบประชาธิปไตยที0มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญ สู่ “ระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข” หลังการรัฐประหาร 2490 กําเนิดระบอบประชาธิปไตยแบบอํานาจจํากัดด้ านกลับของ“ระบอบ ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข” หลังการรัฐประหารที6ฉีกรัฐธรรมนูญ 2489 ที6พระเจ้ าอยู่อานันทฯทรงลงพระปรมาภิไธย ยอมอยู่ใต้ รัฐธรรมนูญแล้ ว ในเช้ าวันรุ่งขึ $นหลังการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 ที6กรมขุนชัยนาทนเรนทร ผู้สําเร็ จราชการฯแต่เพียงพระองค์เดียวที6ลงนาม ประกาศใช้ นนได้ ั $ บญ ั ญัติให้ สถาบันกษัตริย์มีอิสระในการแต่งตังอภิ $ รัฐมนตรี ซงึ6 เป็ นกลไกลของ สถาบันกษัตริย์จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชให้ ฟืน$ กลับมาในระบอบประชาธิปไตยอีกครัง$ กลไกลดังกล่าวประกอบด้ วยประธานอภิรัฐมนตรี และอภิรัฐมนตรี (ภายหลังเปลี6ยนชื6อเป็ น องคมนตรี )ซึง6 มีพระองค์ทรงเป็ นประธานฯ และมีพระองค์เจ้ าธานีนิวตั พระองค์เจ้ าอลงกฎ พระ ยามานวราชเสวีและ พล.ต.อ. อดุล อดุลเดชจรัส เป็ นสมาชิกทําหน้ าที6ผ้ สู ําเร็จการฯในทันที41 เราอาจวิเคราะห์ได้ ว่า ความพยายามของสถาบันกษัตริย์ผ่านผู้สําเร็จราชการฯประสบ ความสําเร็จในการสนับสนุนการรัฐประหาร 2490 ต่อมา พวกเขาได้ เขามาทําหน้ าที6สถาปนิก 41
ประเสริ ฐ ปั ทมะสุคนธ์, , อ้ างแล้ ว, หน้ า 582-583.
21
ทางการเมืองด้ วยการออกแบบระบอบการเมืองที6กําหนดความสัมพันธ์ทางการเมืองใหม่ที6เอื $อ ประโยชน์ให้ กบั พวกเขา เช่น การร่างรัฐธรรมนูญ 2490 และรัฐธรรมนูญ 2492 หรื อ “รัฐธรรมนูญรอยัลลิ สต์ ” ที6พวกเขาได้ ประดิษฐ์ ระบอบการเมืองที6พวกเขาต้ องการขึ $นมาและ เรี ยกนววัตกรรมทางการเมืองนี $ว่า “ระบอบประชาธิ ปไตย มี พระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข” ซึง6 เป็ นข้ อความที6ถกู ประดิษฐ์ ขึ $นใหม่ซงึ6 ไม่เคยมีมาก่อนหลังการปฏิวตั ิ 2475 และอาจกล่าวได้ ว่า ระบอบการเมืองนี $เป็ นระบอบที6ประชาชนมีอํานาจการเมืองลดลง แต่สถาบันกษัตริย์มีอํานาจ มากขึ $น เช่น การแต่งตังสมาชิ $ กวุฒิสภาโดยอํานาจตามพระราชอัธยาศัยของสถาบันกษัตริย์ การแต่งตังอภิ $ รัฐมนตรี (ต่อมาเรี ยกองคมนตรี )ตามอํานาจตามพระราชอัธยาศัย การแต่งตัง$ เหล่านี $ปลอดการควบคุมจากสถาบันการเมืองอื6นที6ตงอยู ั $ ่บนหลักอํานาจอธิปไตยเป็ นของ ประชาชน เช่น รัฐบาลหรื อรัฐสภา กล่าวอีกอย่างหนึง6 คือ ระบอบดังกล่าวเป็ นระบอบการเมือง ที6ประชาชนถูกจํากัดอํานาจ หรื อ “แจ็ค” ถูกจับใส่กล่องเสียแล้ ว จากนัน$ พวกเขาสร้ างคํา ปฏิญาณในการปกป้องรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 นี $อย่างสุดความสามารถว่า “มาตรา ๒๒ ก่อน เข้ารับหน้าที + ผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ซึ+งได้รับการแต่งตัง ตามความในมาตรา ๑๙ หรื อ มาตรา ๒๐ ต้องปฏิ ญาณตนในทีป+ ระชุมรัฐสภา ด้วยถ้อยคําดัง+ ต่อไปนี“ ข้าพเจ้า (ชื +อผู้ ปฏิ ญาณ) ขอปฏิ ญาณว่า จะซื +อสัตย์ สจุ ริ ตและจงรักภักดี ต่อพระมหากษัตริ ย์ (พระบรม นามาภิ ไธย) และจะปฏิ บตั ิ หน้าทีเ+ พือ+ ประโยชน์ ของประเทศและประชาชน ทัง จะรักษาไว้และ ปฏิ บตั ิ ตามซึ+งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ ” ดังนัน$ จากบริบทการเมืองหลังการสวรรคตของพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯ และการ รัฐประหาร 2490 เราสามารถกล่าวได้ ว่า ยิ6งรัฐบาลแห่งรัฐประชาชาติสญ ู เสียการเหนี6ยวรัง$ ให้ สถาบันกษัตริย์ยดึ โยงกับแนวคิดอํานาจอธิปไตยเป็ นของประชาชนมากเท่าไร ก็อาจจะเกิดการ เป็ นปฏิปักษ์ กบั ต่อกันมากขึ $นเท่านัน$ และควรบันทึกด้ วยว่า ก่อนการรัฐประหาร 2490 ปั ญหา ความมุ่งมัน6 ในการคลี6คลายสาเหตุการสวรรคตของพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯโดยรัฐบาลได้ สร้ าง ความวิตกให้ กบั ราชสํานักอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ6งการที6รัฐบาลพลเรื อตรี ถวัลย์เดินหน้ า การสืบสวนหาสาเหตุอย่างต่อเนื6อง42 ดังนัน$ ความคิดของพระราชวงศ์ชนสู ั $ งและกลุ่มรอยัลลิสต์ โปรดดู สมศักดิ เจียมธีรสกุล, “ข้อมูลใหม่ กรณีสวรรคต:หลวงธํ ารงระบุชดั ผลการสอบสวน ใคร คือ ผูต้ อ้ ง สงสัยที + แท้จริ ง” , “บันทึกของเคนเน็ธ แลนดอน เกี +ยวกับกรณีสวรรคตและข่าวลือเรื +อง แผนการใหญ่ของพีน+ อ้ งปราโมช” , “ว่าด้วย จดหมายเปิ ดเผยความลับกรณีสวรรคตของ ‘ปรี ดี’ ทีเ+ พิ+ งเผยแพร่”, ฟ้ าเดียวกัน 7, 3 (กรกฎาคม- กันยายน 2552), หน้ า 60-93. 42
22
ขณะนันจึ $ งต้ องการยุติการเดินหน้ าของรัฐบาลที6จะไขปริศนาดังกล่าวด้ วยการสนับสนุนการ รัฐประหาร 2490 จากนัน$ พวกเขาได้ เข้ าร่วมในร่างรัฐธรรมนูญที6จะสร้ างความมัน6 คงในการ สืบราชสมบัติให้ มากขึ $น น่าสังเกตุว่า จากเดิมที6บทบัญญัติในหมวดกษัตริย์มีเพียงไม่กี6มาตรา แต่ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯและการรัฐประหาร 2490 กลับมีผลโดยตรงต่อการเพิม6 ขึ $นของจํานวนมาตราในหมวดกษัตริย์43 โดยเฉพาะอย่างยิ6งเรื6 อง ที6ว่าด้ วยการสืบราชสมบัติ ตลอดจน การตังผู $ ้ สําเร็จราชการฯกลายเป็ นประเด็นสําคัญที6ถกู บัญญัติในลักษณะที6ราชสํานักสามารถควบคุมทิศทางได้ ให้ ปรากฎรัฐธรรมนูญฉบับ 2490 ฉบับ 2492 และฉบับ 2475 แก้ ไข 2495 อย่างไม่เคยมีมาก่อน ดังตารางเปรี ยบข้ างล่าง 2492
2475 แก้ ไข 2495
มาตรา ๑๐ ในเมื6อพระมหากษัตริ ย์จะไม่ ประทับอยูใ่ นราชอาณาจักรหรื อด้ วย เหตุใดเหตุหนึง6 จะทรงบริ หารพระราช ภาระไม่ได้ จะได้ แต่งตังอภิ $ รัฐมนตรี ขึ $น เป็ นผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ ถ้ า พระมหากษัตริ ย์มิได้ ทรงตังหรื $ อไม่ สามารถจะทรงตังได้ $ ก็ให้ คณอภิรัฐมนตรี เข้ าบริ หารราชการแผ่นดินในหน้ าที6คณะ ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ทนั ที
มาตรา ๑๙ ในเมื6อพระมหากษัตริ ย์จะไม่ ประทับอยูใ่ นราชอาณาจักร หรื อด้ วย เหตุใดเหตุหนึง6 จะทรงบริ หารพระราช ภาระไม่ได้ จะได้ ทรงแต่งตังผู $ ้ ใดผู้หนึง6 ด้ วย ความเห็นชอบของรัฐสภาเป็ นผู้สําเร็ จ ราชการแทนพระองค ◌์ และให้ ประธาน รัฐสภาเป็ นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราช โองการ
มาตรา ๑๗ ในเมื6อพระมหากษัตริ ย์จะไม่ ประทับอยูใ่ นราชอาณาจักร หรื อด้ วย เหตุใดเหตุหนึง6 จะทรงบริ หารพระราช ภาระไม่ได้ จะได้ ทรงแต่งตังผู $ ้ ใดผู้หนึง6 ด้ วยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎร เป็ นผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ และให้ ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็ นผู้ลง นามรับสนองพระบรมราชโองการ
มาตรา ๑๑ ในกรณีที6ราชบัลลังก์วา่ งลง และมิได้ มีผ้ สู ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ตามความในมาตรา ๑๐ ก็ให้ คณะ
มาตรา ๒๐ ในกรณีที6พระมหากษัตริ ย์มิได้ มาตรา ๑๘ ในกรณีที6พระมหากษัตริ ย์ $ ้ สําเร็ จราชการแทน ทรงแต่งตังผู $ ้ สําเร็ จราชการแทนพระองค์ มิได้ ทรงแต่งตังผู พระองค์ตามความในมาตรา ๑๗ ก็ดี ใน ตามความในมาตรา ๑๙ ก็ดี ในกรณีที6
2490 มาตรา ๙ พระมหากษัตริ ย์ทรงแต่งตัง$ อภิรัฐมนตรี เป็ นตําแหน่งสําหรับถวาย คําปรึ กษาในราชการแผ่นดิน
43
โปรดดู ณัฐพล ใจจริ ง. “ความชอบด้วยระบอบ: วิ วาทะว่าด้วยอํานาจของ‘รัฐฏาธิ ปัตย์’ในคําอธิ บายกฎหมาย รัฐธรรมนูญ (2475-2500)”. ศิลปวัฒนธรรม , ปี 28, ฉบับ 3 (มกราคม 2550), หน้ า 79-106.
23
อภิรัฐมนตรี เข้ าบริ หารราชการแผ่นดินใน หน้ าที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ชัว6 คราว จนกว่าจะได้ ประกาศแต่งตังผู $ ้ สืบสันตติวงศ์ในหน้ าที6พระมหากษัตริ ย์ ต่อไป
พระมหากษัตริ ย์ไม่สามารถทรงแต่งตัง$ ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์เพราะยังไม่ ทรงบรรลุนิตภิ าวะหรื อเพราะเหตุอื6นใดก็ดี ให้ คณะองคมนตรี เสนอชื6อผู้ใดผู้หนึง6 ที6 สมควรดํารงตําแหน่งผู้สําเร็ จราชการแทน พระองค์ตอ่ รัฐสภาเพื6อขอความเห็นชอบ เมื6อรัฐสภาให้ ความเห็นชอบแล้ ว ก็ให้ ประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมา ภิไธยพระมหากษัตริ ย์แต่งตังผู $ ้ นนเป็ ั$ น ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์
กรณีที6พระมหากษัตริ ย์ไม่สามารถทรง แต่งตังผู $ ้ สําเร็ จราชการแทนพระองค์ เพราะยังไม่ทรงบรรลุนิตภิ าวะ หรื อ เพราะเหตุอื6นใดก็ดี ให้ คณะองคมนตรี เสนอชื6อผู้ใดผู้หนึง6 ที6สมควรดํารง ตําแหน่งผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ตอ่ สภาผู้แทนราษฎรเพื6อขอความเห็นชอบ เมื6อสภาผู้แทนราษฎรให้ ความเห็นชอบ แล้ ว ก็ให้ ประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศในพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริ ย์แต่งตังผู $ ้ นนเป็ ั $ นผู้สําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ ในกรณีที6ไม่มีคณะองคมนตรี ให้ คณะรัฐมนตรี ทําหน้ าที6แทนคณะ องคมนตรี ตามความในวรรคแรก
มาตรา ๒๑ ในระหว่างที6ไม่มีผ้ สู ําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ตามที6บญ ั ญัตไิ ว้ ใน มาตรา ๑๙ หรื อมาตรา ๒๐ ให้ ประธาน องคมนตรี เป็ นผู้สําเร็ จราชการแทน พระองค์ไปพลางก่อน ในกรณีที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทนพระองค์ซงึ6 ได้ รับการแต่งตังตามความในมาตรา๑๙ $ หรื อมาตรา ๒๐ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้ าที6 ได้ ด้วยเหตุใดเหตุหนึง6 ให้ ประธาน องคมนตรี ทําหน้ าที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทน พระองค์ชวั6 คราว ในระหว่างที6ประธานองคมนตรี เป็ น ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ตามความใน วรรคแรกก็ดีในระหว่างที6ประธาน องคมนตรี ทําหน้ าที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทน
มาตรา ๑๙ ในระหว่างที6ไม่มีผ้ สู ําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ตามที6บญ ั ญัตไิ ว้ ใน มาตรา ๑๗ หรื อมาตรา ๑๘ ก็ดี ในกรณี ที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ซึง6 ได้ รับ การแต่งตังตามความในมาตรา $ ๑๗ หรื อ มาตรา ๑๘ ไม่สามารถปฏิบตั หิ น้ าที6ได้ ด้ วยเหตุใดเหตุหนึง6 ก็ดี ให้ ประธาน องคมนตรี ทําหน้ าที6ผ้ สู ําเร็ จราชการแทน พระองค์ชวั6 คราว
ในระหว่างที6ประธานองคมนตรี ทําหน้ าที6 ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ ประธาน องคมนตรี จะปฏิบตั หิ น้ าที6ในฐานะเป็ น ประธานองคมนตรี มิได้
24
มาตรา ๑๒ การสืบราชสมบัตใิ ห้ เป็ นไป โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้ วยการ สืบสันตติวงศ์พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และประกอบด้ วยความเห็นชอบของ รัฐสภา
พระองค์ตามความในวรรคสองก็ดี ประธานองคมนตรี จะปฏิบตั ิหน้ าที6ใน ฐานะเป็ นประธานองคมนตรี มิได้ ในกรณีที6ประธานองคมนตรี ไม่สามารถ ปฏิบตั หิ น้ าที6ได้ ด้วยเหตุใดเหตุหนึง6 ให้ คณะองคมนตรี เลือกองคมนตรี คนหนึง6 ขึ $น เป็ นประธานองคมนตรี ชวั6 คราว
ในกรณีที6ประธานองคมนตรี ไม่สามารถ ปฏิบตั หิ น้ าที6ได้ ด้วยเหตุใดเหตุหนึง6 ให้ คณะองคมนตรี เลือกองคมนตรี คนหนึง6 ขึ $นเป็ นประธานองคมนตรี ชวั6 คราว ในกรณีที6ไม่มีคณะองคมนตรี ให้ คณะรัฐมนตรี ทําหน้ าที6แทนประธาน องคมนตรี ตามความในวรรคแรก
มาตรา ๒๒ ก่อนเข้ ารับหน้ าที6 ผู้สําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ซงึ6 ได้ รับการแต่งตัง$ ตามความในมาตรา ๑๙ หรื อมาตรา ๒๐ ต้ องปฏิญาณตนในที6ประชุมรัฐสภา ด้ วย ถ้ อยคําดัง6 ต่อไปนี $ “ข้ าพเจ้ า (ชื6อผู้ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า จะซื6อสัตย์สจุ ริ ตและจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตริ ย์ (พระบรมนามาภิไธย) และจะปฏิบตั หิ น้ าที6เพื6อประโยชน์ของ ประเทศและประชาชน ทังจะรั $ กษาไว้ และ ปฏิบตั ิตามซึง6 รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยทุกประการ”
มาตรา ๒๐ ก่อนเข้ ารับหน้ าที6 ผู้สําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ซงึ6 ได้ รับแต่งตังตาม $ ความในมาตรา ๑๗ หรื อมาตรา ๑๘ ต้ อง ปฏิญาณตนในที6ประชุมสภา ผู้แทนราษฎรด้ วยถ้ อยคําว่า จะซื6อสัตย์สจุ ริ ตและจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตริ ย์ และจะปฏิบตั หิ น้ าที6เพื6อ ประโยชน์ของประเทศ และประชาชน ทังจะรั $ กษาไว้ และปฏิบตั ิ ตามซึง6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทยทุกประการ
มาตรา ๒๓ การสืบราชสมบัตใิ ห้ เป็ นไป โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาลว่าด้ วยการ สืบราชสันตติวงศ์พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และประกอบด้ วยความเห็นชอบของ รัฐสภา การยกเลิกหรื อแก้ ไขเพิ6มเติมกฎมณเฑียร บาลว่าด้ วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระ พุทธศักราช ๒๔๖๗ จะกระทํามิได้ มาตรา ๒๔ พระมหากษัตริ ย์ทรงบรรลุนิติ ภาวะเมื6อพระชนมายุครบสิบแปดปี
มาตรา ๒๑ การสืบราชสมบัตใิ ห้ เป็ นไป โดยนัยแห่งกฎมณเฑียรบาล ว่าด้ วยการ สืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ และประกอบด้ วยความเห็นชอบ ของสภาผู้แทนราษฎร การยกเลิกหรื อแก้ ไขเพิ6มเติมกฎมณเฑียร บาลว่าด้ วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระ พุทธศักราช ๒๔๖๗ จะกระทํามิได้
25
บริ บรู ณ์ มาตรา ๒๒ พระมหากษัตริ ย์ทรงบรรลุนิติ ภาวะเมื6อพระชนมายุครบสิบแปดปี บริ บรู ณ์ มาตรา ๒๓ ในกรณีที6ราชบัลลังก์หากว่าง ลง ให้ คณะองคมนตรี เสนอพระนามผู้สืบ ราชสันตติวงศ์ตามกฎมณเฑียรบาลว่า ด้ วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระ พุทธศักราช ๒๔๖๗ ต่อสภา ผู้แทนราษฎร เพื6อขอความเห็นชอบ เมื6อ สภาให้ ความเห็นชอบแล้ ว ให้ สภา อัญเชิญองค์ผ้ สู ืบราชสันตติวงศ์ขึ $นทรง ราชย์เป็ นพระมหากษัตริ ย์สืบไป แล้ วให้ ประธานสภาประกาศเพื6อให้ ประชาชน ทราบ ในระหว่างที6ยงั ไม่มีประกาศองค์ผ้ สู ืบราช ในระหว่างที6ยงั ไม่มีประกาศองค์ผ้ สู ืบราช สันตติวงศ์ตามมาตรานี $ ถ้ าได้ มีการ สันตติวงศ์ตามมาตรานี $ ถ้ าได้ มีการ แต่งตังผู $ ้ ใดเป็ นผู้สําเร็ จราชการแทน แต่งตังผู $ ้ ใดเป็ นผู้สําเร็ จราชการแทน พระองค์ไว้ ตามความในมาตรา ๑๙ หรื อ พระองค์ไว้ ตามความในมาตรา ๑๗ หรื อ ั $ บตั ิหน้ าที6 มาตรา ๒๐ ก็ให้ ผ้ นู นปฏิ ั $ บตั ิหน้ าที6ผ้ สู ําเร็ จ มาตรา ๑๘ ก็ให้ ผ้ นู นปฏิ ราชการแทนพระองค์ไปพลางก่อนแต่ถ้า ผู้สําเร็ จราชการแทนพระองค์ไปพลาง ไม่มีผ้ สู ําเร็ จราชการแทนพระองค์ดงั6 กล่าว ก่อน แต่ถ้าไม่มีผ้ สู ําเร็ จราชการแทน พระองค์ดงั6 กล่าวนี $ ก็ให้ ประธาน นี $ ก็ให้ ประธานองคมนตรี เป็ นผู้สําเร็ จ องคมนตรี เป็ นผู้สําเร็ จราชการแทน ราชการแทนพระองค์ไปพลางก่อน พระองค์ไปพลางก่อน ในกรณีที6ประธานองคมนตรี เป็ นผู้สําเร็ จ ในกรณีประธานองคมนตรี เป็ นผู้สําเร็ จ ราชการแทนพระองค์ตามความในวรรค ราชการแทนพระองค์ตามความในวรรค ก่อน ให้ นําบทบัญญัตมิ าตรา ๒๑ วรรค ก่อน ให้ นําบทบัญญัตมิ าตรา ๑๙ วรรค สองและวรรคสามมาใช้ บงั คับ สามและวรรคสี6มาใช้ บงั คับ ในกรณีที6ไม่มีคณะองคมนตรี ให้
มาตรา ๒๕ ในกรณีที6ราชบัลลังก์หากว่าง ลง ให้ คณะองคมนตรี เสนอพระนามผู้ สืบราชสันตติวงศ์ตามกฎมณเฑียรบาลว่า ด้ วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระ พุทธศักราช ๒๔๖๗ ต่อรัฐสภาเพื6อขอ ความเห็นชอบ เมื6อรัฐสภาให้ ความ เห็นชอบแล้ ว ให้ ประธานรัฐสภาอัญเชิญ องค์ผ้ สู ืบราชสันตติวงศ์ขึ $นทรงราชย์เป็ น พระมหากษัตริ ย์สืบไป แล้ วให้ ประธาน รัฐสภาประกาศเพื6อให้ ประชาชนทราบ
26
คณะรัฐมนตรี ทําหน้ าที6แทนคณะ องคมนตรี หรื อประธานองคมนตรี แล้ วแต่กรณี
แม้ ในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 หรื อ“รัฐธรรมนูญรอยัลลิ สต์ ”ที6ถกู ร่างขึ $นโดยกลุ่มรอยัล ลิสต์ท่ามกลางความไม่คืบหน้ าของการสอบสวนคดีสวรรคตนันจะบั $ ญญัติให้ การเสนอพระนาม กษัตริย์พระองค์ใหม่จะต้ องเป็ นไปตามกฎมณเฑียรบาลและการแต่งตังผู $ ้ สําเร็จราชการฯนัน$ รัฐสภาจะให้ ความเห็นชอบก่อนก็ตาม แต่การบัญญัติให้ กิจกรรมเหล่านันต้ $ องให้ รัฐสภา เห็นชอบนี $วิเคราะห์ได้ ว่า มิใช่ว่าพวกเขามีความศรัทธาในรัฐสภา แต่เกิดจากในขณะนัน$ พวก เขาสามารถคุมรัฐสภาได้ ต่างหาก ช่วงเวลานันวุ $ ฒิสภาทังหมดมาจากการแต่ $ งตังโดยสถาบั $ น กษัตริย์ ซึง6 ขณะนัน$ มีกรมขุนชัยนาทนเรนทรเป็ นผู้สําเร็จราชการฯ ส่วนสภาผู้แทนฯมีพรรค ประชาธิปัตย์คมุ เสียงข้ างมาก 44 โดยเมื6อรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492 นี $ถูกประกาศใช้ กรมขุนชัยนาทนเรนทรได้ ทรง กลายเป็ นผู้สําเร็จราชการฯแต่เพียงผู้เดียว ดังนัน$ เราอาจวิเคราะห์ได้ ว่า สถาบันกษัตริย์ ขณะนันมี $ ความมัน6 ใจในเสียงสนับสนุนจากรัฐสภาที6มีเกินหนึง6 ที6จะสร้ างความมัน6 คงให้ กบั ช่วง การเปลี6ยนผ่านและการเข้ าสู่“ระบอบประชาธิ ปไตย มี พระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข”ที6พวกเขา ร่วมกันออกแบบขึ $น จึงไม่น่าประหลาดใจที6รัฐธรรมนูญฉบับนี $ มีบทบัญญัติให้ ผู้สําเร็จราชการ ฯต้ องปฏิณาณตนต่อหน้ ารัฐสภารอยัลลิสต์ ว่า จะปกป้องพิทกั ษ์ รัฐธรรมนูญรอยัลลิสต์ชวั6 ฟ้า ดินสลาย ดัง “มาตรา ๒๒ ก่อนเข้ารับหน้าที + ผูส้ ําเร็ จราชการแทนพระองค์ ซึ+งได้รับการแต่งตัง ตามความในมาตรา ๑๙ หรื อมาตรา ๒๐ ต้องปฏิ ญาณตนในทีป+ ระชุมรัฐสภา ด้วยถ้อยคําดัง+ ต่อไปนี“ ข้าพเจ้า (ชื +อผูป้ ฏิ ญาณ) ขอปฏิ ญาณว่า จะซื +อสัตย์ สจุ ริ ตและจงรักภักดี ต่อ พระมหากษัตริ ย์ (พระบรมนามาภิ ไธย) และจะปฏิ บตั ิ หน้าทีเ+ พือ+ ประโยชน์ ของประเทศและ ประชาชน ทัง จะรักษาไว้และปฏิ บตั ิ ตามซึ+งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ ” การเข้ าแทรกแซงการเมืองในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. โดยกรมขุนชัยนาทนเรนทร ใน ฐานะผู้สําเร็จราชการฯเพื6อปูทางการเมืองที6ราบรื6 นให้ กบั สถาบันกษัตริย์ได้ สร้ างปั ญหา ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั รัฐบาลจนนําไปสู่การรัฐประหารปลายปี 2494 ดังเห็นได้ 44
โปรดดูรายชื6อสมาชิกรัฐสภาทังวุ $ ฒิสมาชิกและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใน สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา 2475-2502 (พระ นคร: บริ ษัท ชุมนุมช่าง , 2503).
27
จากหลักฐานที6รวบรวมได้ ตงแต่ ั $ ปลายปี 2493จนถึงก่อนการรัฐประหารนัน$ บางกอกโพสต์ (Bangkok Post)และรายงานของสถานทูตสหรัฐฯประจํากรุงเทพฯได้ รายงานข่าวความขัดแย้ ง ทางการเมืองระหว่างสถาบันกษัตริย์และรัฐบาลในขณะนันว่ $ า ผู้สําเร็จราชการฯได้ ทรงเสด็จเข้ า มาเป็ นนัง6 ประธานในการประชุมคณะรัฐมนตรี ประหนึง6 พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประธานการ ประชุมคณะเสนาบดีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช โดยการดําเนินการก้ าวก่ายทางการเมือง ของผู้สําเร็จราชการฯในการประชุมคณะรัฐมนตรี และการที6ทรงแต่งตังแต่ $ สมาชิกวุฒิสภาที6เป็ น ฝ่ ายต่อต้ านรัฐบาลเข้ าสู่รัฐสภาได้ สร้ างความไม่พอใจให้ กบั จอมพล ป.นายกรัฐมนตรี และ สมาชิกคณะราษฎรเป็ นอย่างมาก45 นอกจากนี $ รายงานทางการทูตได้ รายงานว่า ช่วงเดือน พฤศจิกายน 2494 กลุ่มรอยัลลิสต์มีการเคลื6อนไหวทางการเมืองอย่างมาก รายงานวิเคราะห์ว่า พวกเขาหวังจะใช้ การเสด็จนิวตั รพระนครของพระมหากษัตริย์เป็ นพลังสนับสนุนบทบาทการ ต่อต้ านรัฐบาล46 ด้ วยเหตุนี $ การรัฐประหารเมื6อ 29 พฤศจิกายน 2494 ที6รัฐบาลให้ การสนับสนุนจึง เกิดขึ $นเพื6อยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2492 หรื อ“รัฐธรรมนูญรอยัลลิ สต์ ”ที6จดั ความสัมพันธ์ทางการ เมืองที6ไม่สมดุลระหว่างสถาบันกษัตริยกับรัฐบาลและรัฐสภา เนื6องจาก รัฐธรรมนูญฉบับนี $ได้ สร้ างระบอบการเมืองที6ให้ สถาบันกษัตริย์มีอํานาจการเมืองมาก อีกทัง$ รัฐบาลและรัฐสภา ขณะนันไม่ $ มีหนทางแก้ ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี $ผ่านช่องทางปกติได้ เนื6องจากสมาชิกรัฐสภาส่วน ใหญ่เป็ นพวกรอยัลลิสต์ ทังนี $ $ การรัฐประหารดังกล่าวเกิดขึ $นก่อนพระมหากษัตริย์พระองค์ ปั จจุบนั ทรงเสด็จนิวตั พระนครเพียงไม่กี6วนั เหตุผลอย่างลับๆของการรัฐประหาร คือ การลด อํานาจของสถาบันกษัตริย์ออกจากการเมืองไทย47 จากนัน$ จอมพล ป. หัวหน้ าคณะผู้บริหาร 45
Bangkok Post , 18 December 1950.; NARA, RG 59 General Records of Department of State, Central Decimal file 1950-1954 Box 4184, William T. Turner to Secretary of State, “Political Report for November 1950, ” 26 December 1950. 46 “Turner The Charge in Thailand to The Secretary of States, 29 November 1951,“ in Foreign Relations of the United States 1950 Vol.6, (Washington D.C.: Government Printing Office,1976),p. 1638.; NA, FO 371/92957, Murray to Foreign Office, ”Coup d’etat in Siam,”3 December 1951.; Scott to Foreign Office, 4 December 1951. 47 NARA, CIA Records search Tool (CREST), CIA-RDP82-00457R009400250011-3, 27 November 1951, “ Possible Coup d’etat”.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Memorandum of Conversation Nai Sang Pathanotai and N.B. Hannah, ”29 November1951 Coup d’etat,” 11 December 1951.
28
ประเทศชัว6 คราวและนายกรัฐมนตรี ได้ นํารัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 กลับมาใช้ อีกครัง$ เป็ นช่วงเวลาสันๆ $ 48 โดยรัฐธรรมนูญฉบับนี $ จํากัดอํานาจสถาบันกษัตริย์มากกว่าฉบับที6ถกู ล้ ม ไปแต่ความพยายามจํากัดสถาบันกษัตริย์ผ่านรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคมมิได้ รับการตอบรับ จนนําไปสู่การต่อรองกับรัฐบาลให้ มีแก้ ไขจนกลายเป็ นรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 แก้ ไข 2495 ดังนัน$ อาจกล่าวได้ ว่า การรัฐประหาร 2494 ได้ จดั ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั รัฐบาลและรัฐสภาที6ไม่สมดุลนี $เสียใหม่นี $ รายงานทางการทูตได้ บนั ทึกว่า รัฐประหารครัง$ นี $สร้ าง ความไม่พอใจให้ กบั พวกเขาเป็ นอย่างมาก49 เนื6องจาก รัฐประหารครัง$ นี $เป็ นการยุติระบอบ การเมืองอุดมคติที6พวกเขาได้ เพียรพยายามสถาปนาขึ $น
ส่ วนที0 3 บทส่ งท้ าย ฤาจะเป็ นระบอบอภิมหาอมตะนิรันดรกาล เป็ นเวลายาวนานที6 สังคมไทยให้ ความสนใจกับการจํากัดอํานาจของรัฐ แต่พวกเขามุ่ง แต่เพียงการพยายามจํากัดอํานาจรัฐบาลและรัฐสภาที6มีที6มาแห่งอํานาจจากคติเรื6 องอํานาจ อธิปไตยเป็ นของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย แต่มีน้อยคนนักที6จะตระหนักว่า “ระบอบ ประชาธิ ปไตย มี พระมหากษัตริ ย์เป็ นประมุข” นี $เป็ นประดิษฐกรรมทางการเมืองที6ปรากฎขึ $น เพียงราว 60 ปี เท่านัน$ โดยระบอบดังกล่าว ถือกําเนิดมาจากปฏิกริยาตอบโต้ กบั สถานการณ์ ทางการเมืองและโต้ ตอบกับสถาบันการเมืองอื6นๆที6มีอยู่ตามระบอบประชาธิปไตยของสถาบัน กษัตริย์ บทความชิ $นนี $ได้ แสดงให้ เห็นว่า ท่ามกลางกระบวนการต่อสู้ระหว่างสถาบันกษัตริย์กบั สถาบันการเมืองอื6นๆตังแต่ $ 2475 มีผลทําให้ แนวคิดเรื6 อง “อํานาจสูงสุดของประเทศนัน เป็ น ของราษฎรทัง หลาย” ที6ปรากฎขึ $นจากการปฏิวตั ิ 2475 นี $ ไม่ใช่แต่เพียงถูกลักพาตัวไปจาก 48
ประกาศใช้ ระหว่างวันที6 6 ธันวาคม 2494 - 7 มีนาคม 2495 NA, FO 371/92957, Whittington to Foreign Office, 30 November 1951.; NARA, RG 59 Central Decimal File 1950-1954 Box 4185, Turner to Secretary of State, 30 November 1951 .
49
29
กระบวนการต่อสู้ทางการเมืองที6กล่าวมาข้ างต้ นเท่านัน$ แต่ยงั นําสู่คําอธิบายที6น่าแปลก ประหลาดในทางวิชาการที6นําไปสู่ความสับสนและไม่เป็ นคุณต่อระบอบประชาธิปไตย ดัง ตัวอย่างว่า “ เมื +อมี การรัฐประหารเลิ กรัฐธรรมนูญ ต้องถื อว่า อํานาจอธิ ปไตยทีเ+ คย พระราชทานให้ประชาชน กลับคื นมายังพระมหากษัตริ ย์ผูท้ รงเป็ นเจ้าของเดิ มมาก่อน 24 มิ ถนุ ายน 2475”50 ด้ วยเหตุที6คําอธิบายข้ างต้ นมีความเชื6อว่า สถาบันกษัตริย์ดํารงอยู่เหนือ กาลเวลาไม่เคยเปลี6ยนแปลง การนําความเชื6อมาเป็ นข้ อเสนอย่อมต้ องเผชิญหน้ ากับข้ อโต้ แย้ ง ว่า คําอธิบายข้ างต้ นคิดหรื อสร้ างมาจากรากฐานประการใดระหว่างความเชื6อกับข้ อเท็จจริง ทางประวัติศาสตร์ ที6ว่า ใครมีอยู่ก่อนกันและดํารงอยู่ตลอดเวลาระหว่าง ผู้ปกครองที6มีการ เปลี6ยนแปลงมาหลายราชวงศ์ตลอดประวัติศาสตร์ ไทย กับ ผู้คนที6อาศัยในดินแดนแถบนี $มา อย่างยาวนาน โดยพวกเขามีอยู่ก่อนการก่อตัวของอาณาจักรโบราณต่างๆที6เกิดขึ $นในดินแดน แถบนี $ ด้ วยเหตุนี $ย่อมกล่าวได้ อํานาจการปกครองเป็ นของมนุษย์มาแต่ดงเดิ ั $ ม ก่อนที6อํานาจ นันจะถู $ กแอบอ้ างกลายเป็ นของส่วนตัวหรื อเป็ นมรดกตกทอดโดยผู้ปกครองในประวัติศาสตร์ การเมืองไทย โดยทัว6 ไปแล้ ว ในทางวิชาการรัฐศาสตร์ มีการจําแนกการปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ โดยพิจารณาจากปั จจัยการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน คือ ประชาธิปไตยทางตรง และ ประชาธิปไตยทางอ้ อม แม้ ทกุ วันนี $ เริ6มมีการนําเสนอถึงปั ญหาของ ประชาธิปไตยทางอ้ อมหรื อแบบมีตวั แทน(Representative Democracy) ด้ วยการรื อ$ ฟื น$ ประชาธิปไตยทางตรงขึ $นใหม่แบบที6เรี ยกว่า ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม(Participatory Democracy)ก็ตาม แต่สําหรับ ประเทศไทยที6 พวกรอยัลลิสต์เรี ยกร้ องการว่าการเมืองไทยมี ลักษณะเฉพาะในทํานองที6ว่า “เราไม่เหมื อนใครและไม่มีใครเหมื อนเรา” ด้ วยเหตุนี $ ข้ าพเจ้ าจึงขอเสนอการสร้ างคําอธิบายการเมืองด้ วยการทําให้ ลกั ษณะ เฉพาะแบบไทยๆมีความเป็ นลักษณะทัว6 ไป(generalization)มากขึ $น โดยการกลับหัวกับหาง การสร้ างแนวความคิด(conceptualized) กล่าวคือ โดยทัว6 ไป นักวิชาการตะวันตกมักจะสร้ าง แนวความคิดโดยใช้ ตวั ชี $วัดจากการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน แต่ในทางกลับกัน ด้ วยเหตุที6 พวกรอยัลลิสต์ชอบเรี ยกร้ องว่าการเมืองไทยมีลกั ษณะเฉพาะที6ความแตกต่างจาก ตะวันตก ข้ าพเจ้ าจึงต้ องขอใช้ วิธีการตรงข้ ามกับกระบวนการของนักวิชาการตะวันตก คือ การ 50
บวรศักดิ อุวรรณโณ , กฎหมายมหาชน เล่ม 2 ,(กรุงเทพฯ : นิตธิ รรม, 2538), หน้ า 192.
30
สร้ างแนวคิดแบบไทยๆ โดยจะพิจารณาจากการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสถาบันกษัตริย์ และเหล่ารอยัลลิสต์แทน ดังนัน$ จากกระบวนการสร้ างแนวคิดข้ างต้ น เราจึงสามารถสร้ าง ข้ อความเชิงทฤษฎีเพื6ออธิบายฉายภาพการเมืองไทยที6ผ่านมาในช่วง 2475 -2490 ตามความ ปรารถนาของพวกรอยัลลิสต์ที6พวกเขาเชื6อว่าการเมืองไทยมีความเฉพาะไม่เหมือนตะวันตกได้ ว่า “หากสถาบันกษัตริ ย์และเหล่ารอยัลลิ สต์ เข้ามามี ส่วนร่ วมทางการเมื องมาก ประเทศจะมี การปกครองระบอบ ‘ประชาธิ ปไตยแบบอํานาจจํ ากัด’(Limited Democracy) หรื อ เรี ยกอีก อย่างตามคําศัพท์ในทางรัฐศาสตร์ คื อ ‘ประชาธิ ปไตยเทียม’(Pseudo Democracy) แต่หาก สถาบันกษัตริ ย์และเหล่ารอยัลลิ สต์ ไม่มีส่วนร่ วมทางการเมื อง ประเทศนัน จะมี การปกครอง ‘ประชาธิ ปไตยแบบอํานาจสมบูรณ์ ’(Absolute Democracy)ซึ+งเป็ นประชาธิ ปไตยทีแ+ ท้จริ ง” จากบทความที6ได้ กล่าวมาข้ างต้ น มุ่งแสดงให้ เห็นถึงปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์ กับรัฐบาลของรัฐประชาชาติที6ผ่านในสองรัชกาล คือ รัชสมัยของพระปกเกล้ าฯกับรัชสมัยของ พระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯภายใต้ ระบอบประชาธิปไตย พบว่ามีแต่เพียงสถาบันกษัตริย์ในรัชสมัย ของพระเจ้ าอยู่หวั อานันทฯเท่านันที $ 6ยอมอยู่ภายใต้ ระบอบประชาธิปไตยที6มีกษัตริย์อยู่ใต้ รัฐธรรมนูญที6มีช่วงเวลาราว 11 ปี ทว่านับแต่การรัฐประหาร 2490 เป็ นต้ นไปเรามิอาจจะ สามารถเข้ าใจระบอบการเมืองไทยผ่านแนวคิดการจํากัดอํานาจของสถาบันกษัตริย์หรื อ “ยักษ์ ”ถูกจับใส่กล่องได้ อีกต่อไป แต่เหตุการณ์มนั กลับตละปั ดไปแล้ ว กล่าวคือ อํานาจของ ประชาชนกลับถูกจํากัดมากกว่าหรื อ “แจ็ค”ถูกจับใส่กล่องเสียแล้ ว สุดท้ ายแล้ ว พัฒนาการของปฏิสมั พันธ์ระหว่างสถาบันการเมืองที6มีผลต่อระบอบการ เมืองไทยจนถึงปั จจุบนั จะอยู่ยงยื ั $ นยง หรื อคลี6คลายอย่างช้ าๆ หรื อก้ าวกระโดดไปสู่ทิศทางใด คงต้ องรอประชาชนผู้เป็ นเจ้ าของอํานาจอธิปไตยกําหนดอนาคตของการเมืองไทยต่อไป บทความนี $ มิอาจคาดการณ์ถึงพัฒนาของระบอบการเมืองไทยในเบื $องหน้ าได้ มากไปกว่าการ อธิบายผลลัพธ์ทางการเมืองที6เกิดขึ $นจากความขัดแย้ งระหว่างสถาบันการเมืองที6สําคัญใน ระบอบประชาธิปไตยของไทยอันนําไปสู่ระบอบการเมืองที6จํากัดอํานาจของประชาชนใน ประวัติศาสตร์ การเมืองไทยที6ผ่านมา สุดท้ ายแล้ ว ตามเทพปกรณัมกรี กได้ เล่าว่า แม้ กล่องแพน โดร่าถูกเปิ ดออกแล้ ว และความเลวร้ ายได้ พวยพุง่ ออกสู่สงั คมมนุษย์ก็ตาม แต่ตํานานดังกล่าว ได้ เล่าต่อไปอีกว่า สิ6งที6เหลือในก้ นกล่อง หรื อสิ6งที6ยงั คงอยู่กบั มนุษย์มาจนถึงทุกวันนี $ คือ ความหวัง ดังนัน$ หากประชาชนไทยผู้เป็ นเจ้ าของอํานาจอธิปไตยยังคงมีความหวังตามตํานาน
31
ข้ างต้ นและมีความปรารถนาจะยุติระบอบประชาธิปไตยแบบอํานาจจํากัดแล้ วไซร้ สิ6งเดียวที6 ผู้เขียนจะขอกล่าวในบทส่งท้ ายก็คือ ขอให้ “คณะราษฎรคุม้ ครอง”
*************************************