เรื่องเล่า ของต้นไม้
เรื่อง - ภาพ : Minute of Promise ภาพ : Ame Coco
ค�ำน�ำ หนังสือการ์ตูนเล่มนี้ส�ำเร็จได้ด้วยดีต้องขอขอบคุณทุกๆ คน ไม่ว่าจะเป็น เพื่อนๆ ที่ช่วยกันให้ความคิดเห็น ให้ก�ำลังใจ ตลอดจนช่วยแก้ไขจุดบกพร่องของ การ์ตนู เล่มนีใ้ ห้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ทัง้ ยังต้องขอขอบคุณคุณพ่อผูท้ ำ� ให้โปรเจคหนังสือการ์ ตูนเล่มนีส้ ำ� เร็จลงไปได้ดว้ ยดี สุดท้ายนี้ หวังว่าหนังสือการ์ตนู เล่มนี้ สามารถให้ความ บันเทิงและประโยชน์แก่ผู้อ่านได้จนถึงตอนสุดท้ายนะคะ :)
สารบัญ
หน้า
อากาศ สิ่งส�ำคัญที่ขาดไม่ได้
7
ป่าไม้ ที่พักพิงอันแสนเงียบสงบ
25
แม่น�้ำ แหล่งรวมชีวิต
47
ซ่อนตัว
71
รักษา ก่อนจะสาย
93
ตอนที่ 1 อากาศ สิ่งส�ำคัญที่ขาดไม่ได้
6
7
8
9
10
11
1212
13
14
15
16
17
18
19
อะไรคือ อุณหภูมิอากาศ ?
ท�ำไมโลกถึงมีหลายฤดูกาล?
อุณหภูมิอากาศ (Air temperature) คือสิ่งที่ใช้ศึกษาสภาพ อากาศ (weather) เพราะอุณหภูมิ อากาศนัน้ เปลีย่ นแปลงได้ตามช่วงเวลา ที่เปลี่ยนไป เช่น ปี ฤดูกาล เดือน วัน และชั่วโมง
ฤดูกาล (Seasons) เกิดจาก โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ ในฤดูรอ้ น โลก เอียงขัว้ เหนือเข้าหาดวงอาทิตย์ ท�ำให้ซกี โลกเหนือกลายเป็นฤดูร้อน และซีกโลก ใต้กลายเป็นฤดูหนาว หกเดือนต่อมาโลกหมุนไปอยู่ อีกด้านหนึ่ง ท�ำให้โลกเอียงขั้วใต้เข้าหา ดวงอาทิตย์ ท�ำให้ซีกโลกใต้กลายเป็น ฤดูร้อน และซีกโลกเหนือกลายเป็นฤดู หนาว
การวัดอุณหภูมิอากาศโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์
การหมุนรอบตัวเองของโลก ท�ำให้ มุ ม ที่ แ สงอาทิ ต ย์ ส ่ อ งลงมาที่ พื้ น ผิ ว โลก เปลี่ยนแปลงไป โดยตอนเที่ยงจะมีอุณหภูมิ สูงกว่าตอนเช้าและตอนเย็นที่มีอุณหภูมิต�่ำกว่า เพราะแสงถูกกรองโดยชั้นบรรยากาศ เพราะโลกมีสัณฐานกลมขนาดใหญ่ โลกหมุนรอบตัวเองไปทางทิศตะวันออก และมีสภาพภูมิประเทศและสิ่งปกคลุมพื้นผิว ที่แตกต่างกัน ท�ำให้มีผลกระทบต่อภูมิอากาศ ตามปัจจัยเหล่านี้ - พื้นดินและพื้นน�้ำ - ระดับสูงของพื้นที่ (Elevation) - ละติจูด - ปริมาณเมฆ และอัลบีโดของพื้นผิว สัณฐาน คือ รูปทรง หรือ ลักษณะ อัลบีโด คือ ความสามารถในการสะท้อนแสงของวัตถุ
20
ฤดูกาลต่างๆ ทั้งสี่ ได้แก่ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว
ถ้าหากพื้นผิวของโลกมีสภาพเป็นทรงกลมทั้งหมด ทุกที่ของโลกก็จะ มี 4 ฤดู แต่เพราะพื้นผิวโลกมีสภาพแตกต่างกัน เช่น ภูเขา ที่ราบ ทะเล มหาสมุทร ซึ่งมีผลต่อสภาพลมฟ้าอากาศ ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอิน โดจีน ล้อมด้วยมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจีนใต้ จึงตกอยูใ่ นอิทธิพลของลมมรสุม (Monsoon) ท�ำให้ประเทศไทยมี 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูร้อน: ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน: ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึงปลายเดือนตุลาคม ฤดูหนาว: ตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 21
ตอนที่ 2 ป่าไม้ ที่พักพิงอันแสนเงียบสงบ
22
23
24
25
26
26
27
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
ต้นไทร นักบุญแห่งป่า นักฆ่าแห่งพงไพร
โป่ง คืออะไร?
“ต้นไทร” ขึ้นอยู่ในเขต ร้อนชื้น มีลักษณะเด่นมากมาย เช่น รากอากาศ ล�ำต้นที่คดเคี้ยว เต็มไปด้วยซอก รู และช่องว่าง มากมาย รูปทรงพุ่มที่กว้างใหญ่ และให้ความร่มรื่น
โป่ง คือดินที่มีรสเค็ม และละเอียดซึ่งเกิดจากแร่ธาตุ และเป็นอาหารของสัตว์ป่าที่กิน หญ้าบางชนิด เช่น กวาง เก้ง กระทิง วัวแดง และ ช้างป่า เป็นต้น โป่ง มีทั้งหมด 2 ชนิดคือ 1. โป่งดิน (Dry lick)
ช้างก�ำลังกินดินโป่ง
2. โป่งน�้ำ (Wet licks)
นอกจากสัตว์ป่าที่กินหญ้าแล้ว พื้นที่โป่งยังมีสัตว์ชนิดอื่นๆ มาใช้ ประโยชน์ด้วยเช่นกัน ซึ่งแบ่งประเภทของสัตว์ได้ดังนี้ 1. สัตว์ท่ีเข้ามาใช้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ โป่งโดยตรง เพื่อมากินแร่ธาตุในโป่ง 2 สัตว์ที่เข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่โป่ง นกดื่มน�้ำในโป่งน�้ำ โดยอ้อม เช่น สัตว์ต่าง ๆ ที่ผ่านเข้ามา เพือ่ คอยล่าเหยื่อ หรือหาสัตว์อื่นที่มากิน โป่งเพื่อกินเป็นอาหาร
40
รากอากาศของต้นไทร
ต้นอ่อนของไทรต้องอาศัยต้นไม้อื่น เพื่อดูดน�้ำจากต้นไม้ต้นนั้น ๆ เมื่อ ต้นไทรโตขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถแย่งน�้ำและแสงแดดได้เต็มที่ ก็จะถึงจุดจบ ของต้นไม้ที่มันอาศัยอยู่จนเจริญเติบโต เมื่อต้นไทรเติบโต ลูกไทรนั้น ถื อ เป็ น อาหารของสั ต ว์ ป ่ า นานาชนิ ด และจากรูปร่างลักษณะของต้นไทรที่คด เคี้ยว และเต็มไปด้วยซอกรูน้อยใหญ่ มากมาย จึงเป็นที่ซ่อนตัวหรือที่อยู่อาศัย ต้นไทรที่โตเต็มที่ และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ของสัตว์และแมลงสารพัดชนิด ไทรเกิด และด�ำรงชีวิตโดยอาศัยความตายของต้นไม้อื่น แต่ก็เป็นผู้ สร้างและหล่อเลี้ยงวงจรชีวิตของป่า ที่ส�ำคัญ “ไทร” ยังเป็นต้นไม้ที่บ่งบอกถึง ความอุดมสมบูรณ์ของป่าและสัตว์ป่าอีกด้วย
41
ตอนที่ 3 แม่น�้ำ แหล่งรวมชีวิต
42
43
44 44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
กังหันน�้ำชัยพัฒนา สิ่งประดิษฐ์จาก ร.9
ป่าเก็บน�้ำได้อย่างไรกันนะ? ป่าไม้เป็นแหล่งต้นน�ำ้ และเป็นแหล่งกักเก็บน�ำ้ ต้นไม้ จะคายน�ำ้ ออกมาโดยการระเหย เป็ น ไอ ก่ อ นจะลอยขึ้ น สู ่ ชั้ น บรรยากาศ กลั่นตัวและกลาย มาเป็นฝนตกลงสู่ดิน
แม่น�้ำ แหล่งรวมสัตว์ต่างๆ ในระบบนิเวศ
จากนั้นดินจะดูดซับน�้ำเอาไว้ รากของต้นไม้ที่อยู่ในดินก็จะช่วยปรับ สภาพของดินให้เป็นรูพรุน ท�ำให้น�้ำซึมผ่านได้ ยิ่งมีป่ามาก ดินก็จะยิ่งมีพื้นที่ เพื่อกักเก็บน�้ำได้มากตามไปด้วย
62
นอกจากนี้ป่าไม้ยังมีประโยชน์ในการช่วยป้องกันน�้ำท่วม ซึ่งแต่ละ ส่วนของต้นไม้มีการแบ่งหน้าที่ในแต่ละส่วนดังนี้ (A) ใบไม้ลดแรงของเม็ดฝน ป้องกันดินอัดตัว แน่นเกินไป และให้น�้ำซึมผ่านง่าย (B) กิ่งไม้และล�ำต้นช่วยชะลอการไหลของน�้ำ (C) รากของต้นไม้ช่วยสกัดน�้ำ เพื่อให้มีเวลา ซึมลงดินได้นานขึ้น (D) เศษซากใบไม้ชว่ ยขวางชะลอน�ำ้ กันน�ำ้ ท่วม (E) อินทรียวัตถุจากการย่อยสลายของต้นไม้ ช่วยปรับโครงสร้างของดินให้มีรูพรุน ท�ำให้ ภาพต้นไม้ช่วยซับน�้ำ เก็บกักน�้ำได้ดีขึ้น
กังหันน�้ำชัยพัฒนา คือ หนึ่ ง ในผลงานของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ที่ทรงคิดค้นขึ้นเพื่อแก้ปัญหา ความเดื อ ดร้ อ นจากปั ญ หาน�้ ำ เน่าเสีย ที่เป็นปัญหาใหญ่ใน กังหันชัยพัฒนาก�ำลังบ�ำบัดน�้ำ ประเทศไทยมานาน กรุงเทพมหานคร (กทม.) ที่เป็นศูนย์กลางของประเทศ ด้วยความ เจริญ ท�ำให้นำ�้ เน่า เต็มไปด้วยขยะมูลฝอย สิง่ สกปรกต่าง ๆ สารเคมีปะปน จนกลายเป็นสีด�ำส่งกลิ่นเหม็นเน่าจนสัตว์น�้ำที่เคยอาศัยอยู่สูญพันธุ์ และยัง เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค เมื่ อ กทม. ได้ ติ ด ตั้ ง กังหันน�้ำชัยพัฒนาทั่วกรุงเทพฯ ก็พบว่าสามารถบ�ำบัดน�้ำเสียได้ดี เยี่ยม ท�ำให้สิ่งประดิษฐ์นี้ได้รับ การยอมรับทัง้ ในประเทศและทัว่ โลก และได้รบั รางวัลเหรียญทอง น�้ำเน่าที่เต็มไปด้วยขยะและสิ่งสกปรก เทิดพระเกียรตินานาชาติอีกด้วย
63
ตอนที่ 4 ซ่อนตัว
64
65
66
67
68
69
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
82
83
84
85
การท�ำลายป่ามีผลเสียอย่างไร?
ผลกระทบของภาวะโลกร้อน
ก า ร ท� ำ ล า ย ป ่ า เป็ น ทั้ ง สาเหตุ แ ละผลกระ ทบของภาวะโลกร้อน เมื่อ ต้ น ไม้ เ หี่ ย วตายไปหรื อ ถู ก เผา คาร์ บ อนไดออกไซด์ ก็ ถู ก ปล่ อ ยออกมาอี ก ครั้ ง ไฟป่าที่ก�ำลังลุกไหม้ต้นไม้ นอกจากนี้ต้นไม้ที่ก�ำลังย่อย สลายยังผลิตก๊าซมีเทน ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีผลกระทบรุนแรงกว่า คาร์บอนไดออกไซด์ การท�ำลายป่าและการเสือ่ มสภาพของป่าจึงท�ำให้เกิดความเสียหาย เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าเพราะก๊าซเรือนกระจกชนิดต่างๆ ถูกปล่อยออกมา (เช่น จากไฟป่า หรือการใช้ต้นไม้ที่ถูกตัดเป็นฟืน) พร้อม ๆ กับที่จ�ำนวนต้นไม้ที่ เป็นตัวดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ลดลง
ก๊าซต่าง ๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซต์ในบรรยากาศนั้น ก่อให้เกิด “ปรากฏการณ์เรือนกระจก” ซึง่ กักเก็บความร้อนเอาไว้และรักษาโลกให้อบอุน่ พอทีจ่ ะหล่อเลีย้ งสิง่ มีชวี ติ หากมีมากเกินไปก็เป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดภาวะโลก ร้อน ก า ร ใ ช ้ เ ชื้ อ เพลิงต่าง ๆ เพื่อตอบ สนองความต้ อ งการ พลังงานของมนุษย์ การ เผาไหม้เชื้อเพลิง ก๊าซ เรือนกระจก และการ ท� ำ ลายป่ า เป็ น สาเหตุ น�้ำแข็งละลายจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น
การปลู ก ป่ า และ การปกป้ อ งป่ า จึ ง เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ภ าวะโลก ร้อนเพิ่มเร็วขึ้น ซึ่งถือเป็น หน้าที่หนึ่งของทุกคน
ของการเกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งมนุษย์เป็นตัวการส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับภาวะ โลกร้อน และทางเลือกทีเ่ ราเลือกกระท�ำในวันนีจ้ ะเป็นตัวก�ำหนดสภาพภูมิ อากาศในอนาคต ถ้าไม่สามารถควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ภาวะโลกร้อนก็ จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จนมีความเป็นไปได้ว่าสภาพอากาศจะเปลี่ยนแปลง แบบทันทีจนสิ่งมีชีวิตไม่สามารถอาศัยอยู่ได้
ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
86
87
ตอนที่ 5 รักษา ก่อนจะสาย
88
89
90
91
9292
93
94
95
9696
97
98
99
100 100
101
102
103
104
105
106 106
107
108
109
110
111
112112
113
114 114
115
ลดภาวะโลกร้อน ไม่ยากอย่างที่คิด
การรีไซเคิล คืออะไร?
การช่วยกันลดภาวะโลก ร้อน เราสามารถช่วยกันได้อย่าง ง่าย ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
“รีไซเคิล” คือ การ แปรรู ป ของที่ ผ ่ า นการใช้ แล้วกลับมาใช้ใหม่ ได้แก่ กระดาษ แก้ ว กระจก อะลูมิเนียม และพลาสติก
1. การประหยัดไฟ เช่น การปิดไฟหรือถอดปลั๊กเครื่องใช้ ปิดไฟ เมื่อไม่ใช้แล้ว ไฟฟ้าต่าง ๆ เมื่อไม่ใช่แล้ว 2. น�ำของที่เหลือใช้มาใช้ใหม่ เช่น การใช้สมุดเล่มเก่าจนหมดเล่ม 3. เก็บรักษาอุปกรณ์การเรียน เช่น ดินสอ ยางลบ เพื่อที่จะไม่ต้อง ซื้อใหม่ ซึ่งช่วยลดปริมาณขยะได้ 4. การแยกขยะ โดย ทิง้ ถังขยะตามประเภท เช่น ขยะ เปียกลงถังสีเขียว ขยะที่น�ำกลับ ไปใช้ใหม่ได้อย่างขยะรีไซเคิลลง ถังสีเหลือง 5. การเป็นแบบอย่าง ที่ดีให้แก่พี่ ๆ น้อง ๆ ในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภาพตัวอย่างถังขยะแต่ละประเภท
116116
กระป๋องอะลูมิเนียมที่ผ่านการรีไซเคิล
การรีไซเคิลเป็นหนึ่งในวิธีการลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพ แวดล้อม ลดการใช้พลังงานและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้น้อยลง และยังลดปริมาณการโค่นท�ำลายป่าไม้ลงด้วย ก า ร น� ำ ก ลั บ ม า ใ ช ้ ใหม่ จึ ง ถื อ เป็ น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ ช่ ว ยเพิ่ ม คุ ณ ภาพให้ กั บ ชี วิ ต สิ่ ง แวดล้ อ มและช่ ว ยรั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไว้ได้ ดีที่สุด ในหนทางหนึ่ง
ขวดพลาสติกที่น�ำมาใช้ใหม่
117
เรื่องเล่า ของต้นไม้ พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 60 หน้า จัดพิมพ์ที่ World print จุลนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิเทศศาสตรบันฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร