DG09-December-6

Page 1

๐๖


คณะอนุกรรมการจัดทำ� สารผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641 บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย)

PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th ผู้ช่วยบรรณาธิการ อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Naruchol Arpornrat Mobile: 08-1603-8865 E-mail:naruchol.arpornrat@gmail.com ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com กองบรรณาธิการ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail.com อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb.net อน.จินดา จรรญาศักดิ์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP. Chinda Chanyasak Mobile : 08-1883-7103 E-mail : chinda@vorrawut.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail.com อน.สุรินทร์ ชัยวีระไทย (นเรศวร) PP.Surin Chaiveerathai Mobile: 08-9858-8009 E-mail : prachamati_s@hotmail.com อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ (แม่สาย) PP.Apichai Keelawut Mobile: 08-1681-7988 E-mail: akeelawat@yahoo.com อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สุนิพิฐ คงเมือง (ล้านนาเชียงใหม่) Rtn.Sunipit Kongmuang Mobile: 08-1796-8447 E-mail : sunipit@gmail.com

December 2009

The Rotary Club Officer Report Month เดือนแห่งการรายงาน นายกฯ และ เลขาฯรับเลือก


กษัตริย์ของฉัน – มิตรของโรตารี (My King - A friend of Rotary) โดย พระยาศรีวิสารวาจา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศไทย และ กรรมการ บริหารโรตารีสากล (By PHYA SRIVISAR Former Foreign Minister of Thailand : Director,Rotary International

เฉกเช่ น เดี ย วกั บ ประเทศสวี เ ดนและ เดนมาร์ก องค์อุปถัมภ์ของโรตารีในประเทศไทย คือพระมหากษัตริย์ สโมสรโรตารีในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งในปี 1930 โดยถูกยอมรับว่าไม่เหมือน สิ่งนำ�เข้าจากตะวันตกอื่นๆ แต่เป็นสิ่งที่สามารถ ผสมกลมกลื น กั บ จิ ต วิ ญ ญาณของชาวสยามได้ อย่างไกล้ชิดยิ่ง เมื่ อ ไม่ น านมานี้ น ายกสโมสรโรตารี กรุงเทพคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเปรมบุร ฉัตร ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของพระมหากษัตริย์ องค์กอ่ นคือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั และเป็นโอรสของของผู้ว่าการภาคโรตารีคนแรก ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผูว้ า่ การภาคก่อนหน้านีไ้ ด้แก่พระองค์เจ้า พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่ น นราธิ ป พงศ์ ป ระพั น ธ์ ซึ่ ง เคยดำ � รง ตำ�แหน่งประธานสมัชชาสหประชาชาติในปี 1955 และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรม หมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ซึ่งเคยดำ�รงตำ�แหน่งผู้ สำ�เร็จราชการแทนพระองค์เมื่อครั้ง ร.9 ยังทรง พระเยาว์อยู่ ร.9 ทรงประสูติที่เมือง Cambridge รัฐ Massachusetts สหรัฐอเมริกา ในเดือนธันวาคม ปี 1927 พระองค์ทรงศึกษาที่ Switzerland จนถึง ปี 1951 และเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี 1946 ในปี 1950 ทรงเข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ ทั้งสองพระองค์มีพระราชธิดา 3 พระองค์และพระราชโอรส 1 พระองค์ พระมหากษัตริย์ของไทยเปรียบเสมือน ผู้รับใช้และผู้ปกครองของประเทศ พระองค์และ พระราชินี – ซึ่งเป็นองค์ประธานของสภากาชาด แห่งประเทศไทย - เคยเสด็จพระราชดำ�เนินให้ ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน จากอัคคีภัยและอุทกภัย นอกจากนั้นพระองค์ยัง

2 1

ทรงจั ด ตั้ ง กองทุ น ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ ว ยโรคโปลิ โ อ อหิวาตกโรคและโรคเรื้อน และโรงพยาบาลอีก หลายแห่ง พระองค์ยังทรงสนับสนุนในกิจกรรม ทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม และทรงส่ง เสริมการศึกษาอีกด้วย พระองค์เปรียบเสมือนโซ่ ข้อกลางระหว่างประชาชนและรัฐบาล ในการสร้าง เสถียรภาพและความยุติธรรม อาจมีประเทศไทยเพียงประเทศเดียวที่ เห็นพระมหากษัตริย์ทรงฉลองพระองค์อย่างเรียบ ง่าย ไม่สวมฉลองพระบาท โกนพระเกศา และ เสด็จบิณฑบาตไปตามถนนหนทางต่างๆ ในเมือง หลวง ในขณะที่พระองค์เสด็จอุปสมบทเมื่อไม่ นานมานี้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ชายไทยทุกคนคาดหวังว่า จะได้อุปสมบทสักครั้ง อี กไม่ น านท่ า นอาจได้ พ บเห็ น กษั ต ริ ย์ พระองค์ นี้ ด้ ว ยตั ว เอง เนื่ อ งเพราะในเดื อ น มิถุนายน ที่จะถึงนี้พระองค์จะเสด็จประพาสรอบ โลกเพื่อสัมพันธไมตรีอันดี

ธันวาคม ๒๕๕๒


เรื่องจากปก (About Our Cover and Other Things) - พฤษภาคม 1960

อาจมีใครสักคนถามว่า “คุณเคยเห็น พระแก้วมรกตแล้วหรือยัง?” นั่นเป็นสิ่งที่คุณ ต้องไปชม หรือคุณอาจพบข้อความในโฆษณา ที่เขียนว่า “นั่นเป็นความเพลิดเพลินเพียงครึ่ง เดียวเท่านั้น” ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหนในเมืองที่มี ผู้คนประมาณ 700,000 คน คุณอาจเดินผ่าน ถนนหลายสายทีเ่ ต็มไปด้วยร้านรวงมากมายจน มาถึงพระบรมมหาราชวังทีม่ กี �ำ แพงล้อมรอบติด กับแม่น้ำ�เจ้าพระยา ผ่านจากพระบรมมหาราช วังออกมา คุณก็จะมาถึงจุดที่ช่างภาพถ่ายเป็น ภาพหน้าปก และก่อนที่คุณจะมาถึงวัดพระแก้ว อันเป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกต - อาคาร ทรงสูงที่มีหลังคาซ้อนกัน ซึ่งตั้งอยู่ทางด้าน ซ้ายของพระบรมมหาราชวัง ภายในพระอุโบสถ คุณจะเห็นองค์พระซึ่งมีความสูงประมาณ 2 ฟุต แกะสลักจากหินประดับ และประดิษฐานอยู่บน พระที่นั่งสีทอง ... ณ ที่แห่งนี้คือสถานที่พิเศษ ของชาวสยามทีน ่ บั ถือพุทธศาสนา จากภาพคุณ จะเห็นพระมหากษัตริย์ของชาวสยามเสด็จมา สักการะองค์พระแก้วมรกต ... ช่างภาพคือ Chester “Blackie” Kronfeld หัวหน้าช่างภาพ Pan American Airways ...

เกี่ยวกับผู้เขียน

พระยาศรีวิสารวาจาเกิดที่กรุงเทพ ประเทศไทย สำ�เร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ประเทศอังกฤษ ท่านเป็นหุ้นส่วนอาวุโสของ สำ�นักงานกฎหมายกรุงเทพฯ นอกจากนั้นท่าน ยังเป็นองคมนตรีที่ถวายคำ�ปรึกษาต่อพระมหา กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย อีกทั้งยังได้เคย รับใช้ประเทศของท่านในฐานะรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่ า งประเทศ รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงการคลัง และสมาชิกรัฐสภา ท่านได้ รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ถึงสาม อย่าง พระยาศรีวสิ ารวาจาเป็นสมาชิกก่อตัง้ ของ สโมสรโรตารีกรุงเทพซึ่งก่อตั้งเมื่อปี 1930 (พ.ศ. 2473) และปัจจุบันเป็นกรรมการบริหารโรตารี สากล(ในขณะนั้น)

ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท – บุรุษผู้ทรงรักครอบครัว ผู้เป็นที่เคารพ รักของประชาชนของพระองค์ (His Majesty – A Family Man Beloved of His People) พระองค์ทรงเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วของประชาชนทัว่ ประเทศ พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระราชินีที่ทรงพระสิริโฉมงดงาม พระราช ธิดาทั้ง 3 พระองค์ มีพระชันษา 9, 5 และ 2 พระชันษา ตามลำ�ดับ และพระสยามมกุฏราชกุมารวชิราลงกรณ์ พระชันษา 7 ที่ทรงเป็น ทีร่ กั ของมหาชนชาวสยาม และพระองค์กร็ กั พสกนิกรของพระองค์เช่น เดียวกัน เมื่อพระองค์เสด็จพระราชดำ�เนินเยือนสถานที่ต่างๆ ภายใน ประเทศ ซึ่งมีขนาดทัดเทียมกับประเทศฝรั่งเศส แต่มีประชากร มากกว่าเกือบครึ่ง เราจะเห็นผู้คนเป็นจำ�นวนนับร้อยนับพันเฝ้ารับ เสด็จตามเส้นทางที่พระราชดำ�เนินผ่าน ในภาคอีสาน – ซึ่งไม่เคยมี พระมหากษัตริย์พระองค์ใดเคยเสด็จมาก่อน – ผู้คนเป็นจำ�นวนมาก ต้องเดินทางด้วยเท้าเป็นเวลาถึง 3 วันเพื่อมารอรับเสด็จ บ่อยครั้งที่ เราจะเห็นภาพทีพ ่ ระองค์ทรงสนทนากับชาวบ้าน เพือ่ ทรงเข้าใจปัญหา ความต้องการ และความคาดหวังของพวกเขา สิ่งเหล่านี้ทำ�ให้เวลา เสวยพระกระยาหารของพระองค์ต้องล่าช้าออกไปเป็นเวลาหลายๆ ชัว่ โมง และเมือ่ เสด็จกลับพระนครพระองค์จะทรงพระราชทานคำ�ชีแ้ จง ต่างๆ ที่พระองค์รับทราบมาให้แก่รัฐบาล เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่า นั้น พระองค์ได้เสด็จพระราชดำ�เนินมาแล้ว 60 จังหวัดจาก 72 จังหวัด ทั้งนี้เพื่อทำ�ความเข้าใจและช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์ เมื่อครั้งที่เสด็จทรงพระสำ�ราญบริเวณชายทะเล พระองค์ยัง ใช้นั้นเวลาเสด็จเยี่ยมพื้นที่ใกล้เคียง หนึ่งในสถานที่เหล่านั้นพบว่ามี การแพร่ระบาดของอหิวาตกโรค ซึ่งพระองค์ได้มีพระบัญชาให้มีการ ฉีดวัคซีนแก่ประชาชนด้วย


My King A friend of Rotary

สำ�หรับความจงรักภักดีแล้ว ในหลายบทบาทนั้นมีโรตารีอยู่ด้วย (For Royalty Many Roles – Rotary Among Them) ระบอบการปกครอง ทีพ ่ ระมหากษัตริยท์ รงอยูภ่ ายใต้รฐั ธรรมนูญของประเทศไทย นั้น พระองค์ทรงเป็นผู้ปกป้องศาสนา(พุทธ) และทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ศาสนาต่างๆ ทรงเป็นผู้ บัญชาการเหล่าทัพ ทรงเป็นผู้ดูแลความเป็นอยู่ของอาณาประชาราษฎร์ และทรงเป็นนักดนตรี สิ่งเหล่านี้คือพระลักษณะของพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน จากพระราชภารกิจอันหลากหลายนั้น พระองค์ ยังทรงสละเวลาให้แก่สมาชิกโสมสรโรตารีกรุงเทพ “พระราชทานเวลาของพระองค์เป็น อันมาก ในการให้ช่วยเหลือในกิจกรรมต่างๆ และเกื้อกูลเป้าหมายขององค์กรของเรา” เมื่อครั้ง ที่บรรดาประธานโรตารีสากลเดินทางมาเยือนประเทศไทย พวกเขาพบว่าความสำ�เร็จของเป้า หมายต่างๆ ของ โรตารีนั้นส่วนหนึ่งนั้นเกิดจากพระองค์ * บทความพิเศษ จากนิตยสาร ดิโรแทเรียน ประจำ�เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ แปลโดย อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ และ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง Thank you to Peter Schmidtke Editorial Coordinator Publications Department Rotary International for providing the original document.

2 3

ธันวาคม ๒๕๕๒


RI.President’s Letter

RI.President John Kenny Year 2009-10

December 2009 My fellow Rotarians: The idea of the family of Rotary is a simple one, and one that we celebrate every December during Family Month. Every Rotarian is part of the Rotary family – but our family is much larger than just our 1.2 million members. The family of Rotary includes every one of the men, women, and children who are involved in our work: the spouses and children of our members, our Rotary Foundation program participants and alumni, and all of those who are part of our programs, in the tens of thousands of Rotary communities around the world. แนวคิดเรื่องครอบครัวของโรตารีนั้นเป็นเรื่องที่ ธรรมดามาก เราจึงจัดงานฉลองในเดือนธันวาคม ทุกๆ ปีเป็นเดือนแห่งครอบครัวโรตารี โรแทเรียน ทุกคนนั้น ถือเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวโรตารี แต่ ค รอบครั ว ของเรานั้ น เป็ น ครอบครั ว ที่ ใ หญ่ มากกว่ า การมี ส มาชิ ก 1.2 ล้ า นคนเท่ า นั้ น ครอบครัวโรตารีนั้นยังได้ รวมถึงชายหญิงและ เด็กๆ ทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำ�งานของ เรา นั่นคือ คู่ครองและบุตรหลานของสมาชิกเรา ผู้ร่วมโครงการต่างๆ ในโปรแกรมของมูลนิธิโรตา รีและศิษย์เก่า ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรม ต่างๆ ของเรา ทุกคน ในชุมชนของโรตารีนับหมื่น ชุมชนทั่วโลก The youngest generation of the Rotary family is composed of our Rotaract clubs and Interact clubs, the participants in our Rotary Youth Leadership Awards program, our Ambassadorial Scholars, and our more than 8,000 Rotary Youth Exchange students every year. As in any family, our youth are our brightest promise for the future. Of course, it is my sincere wish that many of these young people go on to become Rotarians in good time. But Rotary is a part of them even today – and they are a part of us. คนรุน ่ เยาว์วยั ทีส่ ดุ ในครอบครัวโรตารีนัน ้ ประกอบ ด้วยสโมสรอินเตอร์แรคท์ และสโมสรโรตาแรคท์ ผู้ ร่วมโครงการทุกคนในโปรแกรมรางวัลเยาวชนผูน ้ �ำ ของโรตารี นักศึกษาทุนทูตสันถวไมตรีของเรา และ นักเรียนแลกเปลี่ยนโรตารีอีกมากกว่า 8,000 คน ทุกๆ ปี เช่นเดียวกับครอบครัวทั่วๆ ไป เยาวชน นั้ น คื อ ความหวั ง อั น สดใสที่ สุ ด สำ � หรั บ อนาคต แน่นอนครับ นี่คือความปรารถนาอย่างจริงใจของ ผม ที่อยากเห็นคนรุ่นหนุ่มสาวเหล่านี้จ�ำ นวนมาก กลับมาเป็นโรแทเรียนในเวลาทีเ่ หมาะสม แม้ในทุก วันนี้โรตารีเป็นส่วนหนึ่งของพวกเขาอยู่แล้ว และ พวกเขาก็คือส่วนหนึ่งของพวกเราด้วย My wife, June, and I have been married for over 40 years, and I have been a Rotarian for nearly as long. Although women were not eligible for Rotary club membership at that time, June has been a part of the Rotary family from the day I first entered the Rotary Club of Grangemouth. There is no question that my Rotary service has demanded a great

ธันวาคม ๒๕๕๒

deal of both of us since then – but there can be no question that we have both reaped more than we have sown. ผมกับ คุณจูน ภรรยาของผม แต่งงานกันมานาน กว่า 40 ปีแล้ว และผมก็เป็นโรแทเรียนมานาน เกือบจะเท่ากัน แม้วา่ ในสมัยนัน ้ สุภาพสตรียงั ไม่มี สิทธิเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี แต่คุณ จูน ก็ได้เข้า มาเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวโรตารี นับตั้งแต่วัน ที่ผมเริ่มเข้ามาเป็นสมาชิกในสโมสรโรตารี เกรนจ์ เม้าท์ เราทั้งสองก็ได้ทุ่มเทในการทำ�งานให้โรตารี อย่างมากพอควร แต่โปรดอย่าได้สงสัยเลยว่า เรา ทั้งสองจะได้หวังผลคืน มากกว่าที่เราทั้งสองได้ หว่านลงไป I believe that Rotary club membership can and should enhance our home lives and family interactions. As we work to attract more and younger qualified members, we would do well to remember that today’s young professionals are often balancing work and family responsibilities. Adding in a commitment to Rotary service should complement, never compete with, those responsibilities. By scheduling meetings outside of the workday, planning activities that involve family members, and welcoming family members whenever possible, we help to ensure that every Rotary family will feel a true part of the greater Rotary family. ผมเชื่ อ มั่ น ว่ า สมาชิ ก ภาพในสโมสรโรตารี นั้ น สามารถเสริ ม สร้ า งชี วิ ตในบ้ า นของเรา และมี กิจกรรมระหว่างครอบครัวร่วมกันได้ ในขณะที่เรา แสวงหาสมาชิกวัยหนุ่มสาวที่มีคุณสมบัติให้เพิ่ม จำ�นวนขึ้นนั้น เราต้องจดจำ�ให้ดีด้วยว่า คนหนุ่ม สาววัยทำ�งานทุกวันนี้ มักจะให้ความรับผิดชอบต่อ ครอบครัวและการทำ�งานอย่างมีสมดุลเสมอ นอก เหนือจากการมุ่งมั่นให้บริการโรตารีในหน้าที่ที่รับ ผิดชอบได้เสร็จสิน ้ ไป โดยไม่ตอ้ งมาแข่งขันกัน การ จัดตารางเวลาทีจ่ ะไปประชุมนอกเหนือเวลาทำ�งาน การวางแผนกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สมาชิ กใน ครอบครัว และการดูแลสมาชิกในครอบครัวเท่าที่ สามารถ จะช่วยให้เรามั่นใจได้ว่าครอบครัวโรตารี ทุกครอบครัวจะมีความรูส้ กึ เสมือนว่าเป็นส่วนหนึง่ ของครอบครัวโรตารีที่ยิ่งใหญ่อย่างแท้จริง Every club should strive to achieve a balanced interaction between Rotarians and their families – and the family of Rotary. Only by working together, as a family, can we ensure that the Rotary of today grows into an even stronger Rotary of tomorrow. ทุกๆ สโมสร ควรมุ่งมั่นให้มีกิจกรรมร่วมกันอย่าง สมดุล ระหว่างโรแทเรียนและครอบครัว – และใน ครอบครั ว ของโรตารี ด้ ว ยการทำ � งานร่ ว มกั น เสมือนหนึง่ ครอบครัวเดียวกัน และเราก็จะสามารถ สร้างความมั่นใจได้ว่า โรตารีในวันนี้จะเติบโตขึ้น เป็ นโรตารี ที่ เ ข้ ม แข็ ง ยิ่ ง ขึ้ น ในวั น พรุ่ ง นี้ อ ย่ า ง แน่นอน John Kenny President, Rotary International (Translation by PP Pichet Ruchirat – December 1, 2009)

5 4


District Governor’s Letter สารผู้ว่าการภาค : เดือน ธันวาคม 2552 มวลมิตรโรแทเรียนโรตารีแอนน์ และ ท่านสุภาพบุรุษโรตารี ที่รักทุกท่าน เดือนธันวาคม โรตารีสากลกำ�หนด ให้เป็นเดือนแห่งครอบครัวสุขสันต์ ครอบครัว ของโรตารี ในแง่ขององค์กรก็ประกอบไปด้วย โรแทเรียน, คู่สมรส, ลูกหลานที่เข้ามามีส่วน ร่วมในงานโรตารี, ศิษย์เก่าโรตารี, อินเตอร์ แรคท์, โรตาแรคท์, นักเรียนทุนทูตสันทว ไมตรี, เยาวชนที่เข้าร่วมอบรมในโครงการ เยาวชนผู้นำ� และนักเรียนแลกเปลี่ยนของภาค เป็นต้น ท่านประธานโรตารีสากลมีนโยบายที่ อยากจะเห็นทุกกิจกรรมของโรตารีที่เกิดขึ้นใน ภาค เป็นกิจกรรมที่มีครอบครัวของโรตารีมี ส่วนร่วมด้วยทั้งหมดหากเป็นไปได้ โดยเฉพาะ กลุ่ ม หนุ่ ม สาวและเยาวชนนี้ เ ป็ น อนาคตอั น สดใสขององค์กรเรา ดิ ฉั นได้ เ ข้ า ร่ ว มงานประชุ ม Zone Institue ที่ ก รุ ง มนิ ล า(Manila) ประเทศ ฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 27 – 29 พฤศจิกายน ที่ ผ่านมา โดยได้เชิญชวนสมาชิกในภาคเรารวม กันลงทะเบียนเข้าประชุมถึง 26 คน การไป ประชุ ม ครั้ ง นี้ มี นั ย ยะสำ � คั ญ ที่ ว่ า ปี ห น้ า นี้ ประเทศไทยจะเป็ น เจ้ า ภาพจั ด งานนี้ ที่ กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 19 - 21 พฤศจิกายน 2553 พวกเราโรแทเรียนไทยจาก 4 ภาคร่วมใจ กันไปประชาสัมพันธ์งานนี้ โดยรวมโรแทเรียน ไทย 4 ภาค ลงทะเบียนเข้าประชุม 116 คน จากผู้เข้าประชุมทั้งหมดประมาณ 1,200 คน ห้ อ งจั ด เลี้ ย งแกรนด์ บ อลรู ม เล็ ก ไปถนั ด ตา เพราะเขาคาดการณ์ผู้เข้าร่วมประชุมเพียง 800 คน เท่านั้น ดังนั้นความไม่สะดวกทั้งหลายอัน เกิดจากการที่ผู้สนใจเข้าประชุมเกิดความคาด การณ์เป็นบทเรียนที่พวกเราจะต้องคำ�นึงถึง เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับการจัดงานในปีหน้านี้ และ จากการที่ภาค 3350 เป็นพี่ใหญ่เจ้าภาพจัดงาน ไปตั้ ง บู๊ ท ลงทะเบี ย นล่วงหน้า เตรียมชุดลง ทะเบียนไป 200 ชุด หมดในพริบตาไปเรียบร้อย ไม่ต้องสงสัยเลยว่าปีหน้านี้จะมีมวลมิตรโรแท เรียนจาก Zone 6B, 7A สนใจมาเมืองไทยกัน ล้นหลาม ท้ายนี้ในโอกาสส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับ ปีใหม่ 2552 นี้ ดิฉันขออัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง หลายในสากลโลก ช่วยดลบันดาลให้มวลมิตร โรแทเรี ย นและครอบครั วโรตารี ทุ ก ท่ า นจง ประสบแต่ความสุขความเจริญ คิดหวังสิ่งใดได้ ดังใจ และขอให้ทุกท่านช่วยกันรวมใจรวมพลัง

4 5

สร้างความเข้มแข็งให้กับภาค 3360 ของเราให้ สู่จุดสูงสุดที่เราหวังให้ได้ค่ะ

อนาคตโรตารีอยู่ในมือท่าน

( แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ) ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553 Dear Rotary Anns and Gentlemen, December is Rotary Family Month. Rotary family includes the Rotarians, their spouses, their children, the old faces, Interacts, Rotaracts, Rotary Embassadorial Scholarship , and so on. The policy of the Rotary International president is to have all activities organized in such a way that involve all Rotary family members, especially the youths who represent the future of RI. Twenty six members from our district and I participated in the Zone Institute convention at Manila, The Philippine between November 27 – 29, 2009. Out of the 1,200 participants, 116 were Thai Rotarians representing Thailand’s four districts. In the Manila Zone Institute convention, the convention room was crowded. The host had projected that the number of the participants would be only 800. However, thousand actually attended the meeting. The inconvenience of the crowding should provide the district 3350, the host for the Zone institute convention in Bangkok next year, with a consideration in improving the next year convention. The Zone Institute convention will be held in Bangkok, Thailand during November 19-21, 2010. In the Manila convention, the district 3350 had offered over 200 registration spaces for those interested. Nevertheless, the spaces were quickly filled; the Rotarians from Zone 6B, 7A are looking forward to next year convention in Bangkok. Lastly, for this coming New Year 2010, I hope that god will bless all Rotarians and Rotary family to be successful in what they aim or wish for. As always, I hope the collaboration from everyone will strengthen our 3360 district and bring it the best of our effort. The Future of Rotary Is In Your Hands

ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓

DG.Waewdao Limlenglert

ธันวาคม ๒๕๕๒


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๖ เดือนธันวาค

สารบรรณ

2. สารประธานโรตารีสากล 3. สารผู้ว่าการภาคฯ 5. บอกอ บอกกล่าว 6-7 ใจถึงใจ 8 ปฎิทินภาค 9. สารเลขาฯภาค 10-11 สถิติการเข้าประชุม 12-13 DGN’s Corner 14-15 คุยกันที่ขอบเวที

ธันวาคม ๒๕๕๒

16 สารสนธิ 17-19 เสียงนกเสียงกา 20-23 Behind the Scene 24-25 At a Glance 26-29 บ้านเลขที่3360R.I. 30-33 1 ใน 100 34-35 Youth Corner 36-37 เอกพาแอ่ว 38 Z00m inside 3360

พระบรมมหาราชวัง และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) เม ปกของนิตยสาร “ดิ โรแทเรียน” ประจำ�เดือนพฤษภาคม ที่มีบทคว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กับ โรตารี *ช่างภาพ Chester “Blackie” K American Airways ”

7 6


Editor’s Note

คม ๒๕๕๒

39 เล่าขานตำ�นาน 40-43 รวมภาพกิจกรรม 44 มุม สบาย สบาย 45 DG.Activities ปกหลัง แทนคำ�นับพัน

มื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ เป็นภาพหน้า วามพิเศษ เกี่ยวกับองค์พระบาท Kronfeld หัวหน้าช่างภาพ Pan

6 7

“สิง่ ทีเ่ ป็นคุณอนันต์ อาจมีโทษมหันต์” เมื่อมีขาวย่อมมีดำ� มีดีที่คู่กับเลว ธรรมชาติสร้างสิ่ง ที่ตรงข้ามกันมาให้เปรียบเทียบ ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราคงไม่ สามารถบอกได้ว่าอีกสิ่งหนึ่งนั้นจะเป็นเช่นไร เทคโนโลยีที่มีคุณอนันต์สามารถพัฒนาโลก ให้เจริญ ก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้ได้ กำ�ลังกลายเป็นผู้ที่ทำ�ให้อัตรา เร่งของความเสื่อมโทรมของโลกมีค่าสูงขึ้น จนคาดการณ์ว่า เราทุกคนจะได้ประสบพบเจอ ผลกระทบของโลกร้อนในช่วง ชีวิตนี้เป็นแน่แท้ ท่ามกลางโลกแห่งข่าวสาร และการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว จนเราไม่รู้ว่ามันจะไปสิ้นสุด ณ ที่ตรงไหน หลายคน เริม่ กลัวและมองในแง่ลบถึงผลร้ายๆ ทีจ่ ะมีตอ่ ผูค้ น โดยเฉพาะ เยาวชนทั้งหลาย ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงเหล่ า นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ สติ ปั ญ ญา และ วิจารณญาณ ของแต่ละคนที่จำ�นำ�มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จากคอลัมน์ “At a glance” โดย อน.ศุภรี ฉัตรกันยา รัตน์ ในสารฯ ฉบับก่อนหน้านี้ได้แนะนำ�ถึงความร่วมมือ ระหว่าง องค์กรโรตารี กับเครื่องมือสืบค้น (Search Engine) เช่น Google ว่าจะทำ�การบันทึกนิตยสาร “The Roatarian” ทุกฉบับย้อนหลัง เผยแพร่ให้ทุกคนได้อ่านทางอินเตอร์เนต และเพียงปลายนิ้วคลิก บทความที่แสนจะมีคุณค่า สำ�หรับชาวไทยทั้งมวลก็มาอยู่ต่อหน้า และสารฯ ฉบับนี้ได้ ตระเตรียมพร้อมประสานงานล่วงหน้า เพื่อนำ�เสนอบทความ ในวาระที่แสนจะเป็นสิริมงคล เช่น เดือนธันวาคมนี้ ขอขอบคุณท่านเจ้าของคอลัมน์ ทีไ่ ด้ช่วยเหลือในการ ดำ�เนินการแปลและตรวจทานโดย ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง ตลอดจนทีมงานของนิตยสาร “ดิ โรแทเรียน” ที่ช่วยทำ�การ คัดลอกรูปสี ส่งผ่านเครือข่ายโยงใยของโลก มาให้อย่างทัน ท่วงที เหรียญยังมีสองด้าน ทุกสรรพสิ่งมีดีมีเลว อยู่ที่เรา เลือกที่จะใช้จะมอง สำ�หรับปีใหม่ที่จะมาถึงนี้ ขอให้สิ่งดีๆ ที่ มีอยู่มากมายรายรอบตัวเราให้เด่นชัด จนบดบังสิ่งร้ายๆ ที่มา แย่งความสนใจไปเสียสิ้น ขอความสงบสุข และ สุขสันต์ ทุกวัน ทุกโมงยาม จง มีมายังโรแทเรี่ยนทุกท่าน ตลอดปีขาลที่จะมาถึงนี้ครับ

อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย

ธันวาคม ๒๕๕๒


ใจถึงใจ 50 ปี แห่งการบริการชุมชน “สโมสรโรตารี ฉลอง 50 ปี งานอาชีพของตนเองก็ไม่ค่อยได้สนใจ ทำ�เท่าใด เกือบจะกลายเป็นคนแปลกหน้าในบริษัท เชียงใหม่” สโมสรโรตารีเชียงใหม่ เป็นสโมสรลำ�ดับ ที่ 3 ในประเทศไทย ก่อตั้งและได้รับการ Charter เมื่อ 14 ตุลาคม 2502 โดยสมาชิกก่อตั้งกลุ่มแรกที่ ได้ลาจากโลกนี้ไปแล้วทั้งหมด คงเหลือแต่ปณิธาน ของโรตารีที่สืบทอดต่อกันมา “Service Above Self ” นับเป็นกลุ่มสมาชิกที่ภาระกิจสำ�คัญในการก่อตั้ง และดำ � รงอยู่ ข องสโมสรฯ จากนั้ น สมาชิ ก ใน Generation ที่ 2 ก็เริ่มมีบทบาทเข้ามารับช่วงต่อใน การนำ�และบริหารงานสโมสรฯ สร้างความเข้มแข็ง ให้สโมสรฯ เป็นอย่างมากในช่วง 20 ปีที่ให้หลัง ปัจจุบน ั การบริหารงานและการนำ�สโมสรฯ ก็เปลีย่ น มือไปอยู่ในกลุ่มสมาชิกใน Generation ที่ 3 ด้วย การนำ�เอาโครงสร้างการบริหารแบบใหม่ โดยใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลที่รวดเร็วและทันสมัย เข้ามาช่วยในการตัดสินใจและ การทำ�งาน รวมถึง การวางแผนอนาคตของสโมสรฯ ในระยะยาว การ เพิ่มสมาชิกในกลุ่ม Young Generation เพื่อรับการ ถ่ายทอดอุดมการณ์ของโรตารีตอ่ ไป นัน ้ เป็นตำ�นาน ของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ที่เก่าแก่ที่สุดของภาค 3360 ของเรา 1 ปีล่วงหน้าในการเตรียมจัดงานเฉลิม ฉลอง ฯ โดยการจัดตั้งคณะกรรมการทำ�หน้าที่ฝ่าย บริหาร กำ�หนดรูปแบบของงานฯ และให้คำ�แนะนำ� เกี่ยวกับประเพณีปฎิบัติของโรตารี ซึ่งส่วนมากจะ เป็ น สมาชิ ก อาวุ โ สของสโมสรฯ ร่ ว มเข้ า เป็ น กรรมการ และมีคณะทำ�งานอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจะ ทำ�งานในรายละเอียดของการเตรียมงานทั้งหมด โดยแบ่งเป็นฝ่ายต่าง ๆ ตามภาระกิจงาน เช่น ฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ฝ่ายต้อนรับและลงทะเบียน ฝ่ายจัด ทำ�หนังสือที่ระลึก ฝ่ายการเงิน เป็นต้น โดยมีการ ประชุมคณะทำ�งานหลายครั้งมาก แต่งานทั้งหมดก็ มาเข้มข้นเอาในช่วง 3 เดือนก่อนกำ�หนดวันจัดงาน จริง เริ่มจากฝ่ายประชาสัมพันธ์ที่รับผิดชอบการ เชิญแขกสโมสรฯ ทั้งในและต่างประเทศ โดยใช้ทั้ง จดหมายเชิญ และ E-Mail เป็นหลัก และเริ่มปลุก ระดมการมีส่วนร่วมของสมาชิกในสโมสรฯ เหมือน การปลุกระดมมวลชนเลยทีเดียว รวมถึงการขอรับ บริจาคการสนับสนุนจัดทำ�หนังสือ และจัดงานฯ ฝ่ายจัดทำ�หนังสือทีร่ ะลึกจะดูแลเนือ้ หาของหนังสือ, รู ป สมาชิ ก พร้ อ มโรตารี แ อนด์ , กิ จ กรรมและ บทความทั้ ง หลายมากมาย ทำ � เอาผู้ รั บ ผิ ด ชอบ ประสาทจะกินไปตาม ๆ กัน ทั้งได้รับเสียงจาก สวรรค์ลอยตามลมมาว่า “ จะทำ�งานโรตารีเป็น อาชีพหลักหรืออย่างไร ” ใกล้เข้ามาจนเหลือเวลาอีก 1 เดือน ก่อน วันงานฯ คณะทำ�งานก็เริ่มหายใจเข้า ออกเป็นงาน

ธันวาคม ๒๕๕๒

ของตัวเองไปเสียแล้ว และแล้วงานพิธกี ารและกำ�กับ เวที ก็เป็นเรื่องสำ�คัญที่สุดขึ้นมา เพราะเพิ่งจะเรียบ เรียงขั้นตอนต่าง ๆ ได้อย่างลงตัวโดยต้องไปร่วม กิ น บุ ฟ เฟ่ ข นมจี น น้ำ � ยากั น หลายต่ อ หลายครั้ ง สุดท้ายก็ได้ขอใช้บริการจากทีมงานของสมาชิกของ สโมสรฯ ที่เป็นมืออาชีพทางด้านนีอ้ ยู่จึงได้เข้าที่เข้า ทางและง่ายขึ้น แต่ก็ต้องไปเสียเวลาไปกำ�กับและ กำ�หนด Script ของ Presentation และ Theme ของงานรวมถึงการแสดงที่ Surprised ทุกคนทั้ง คณะทำ�งานและผู้ร่วมงานในวันนั้นแบบนาทีต่อ นาที เริ่ ม ต้ น สั ป ดาห์ ที่ เ ป็ น วั น จั ด งาน แขก สโมสรฯก็เริ่มเดินทางเข้ามา ชุดแรกก็เป็นเพื่อน โรตาเรียนจากประเทศมาเลเซีย และจากนัน ้ ก็ทยอย เดินเข้ามามากขึ้น สมาชิกในฝ่ายต้อนรับจำ�นวน มากและคณะทำ�งานก็เริ่มใช้ชีวิตอยู่กับสนามบิน เชียงใหม่ เข้าๆ ออกๆ จนพนักงานรักษาความ ปลอดภัยสนามบินจำ�หน้าได้ทีเดียว แขกผู้ใหญ่ของ โรตารีก็ทยอยเข้ามาพักในโรงแรมที่เตรียมไว้ให้ และแล้วงานสังสรรค์ Wellcome Party ในคืนวัน ศุกร์สุดสัปดาห์ก็เริ่มต้นขึ้นที่ร้านอาหารริมน้ำ�ปิง ท่ า มกลาง บรรยากาศของโรตารี ที่ เ ริ่ ม คละคลุ้ ง อบอุ่นไปด้วยมิตรภาพจากบุคคลที่ไม่เคยพบเห็น หน้ากันมาก่อนทั้งจาก ญี่ปุ่น มาเลเซีย สิงคโปร์ ออสเตรเลี ย ได้ พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น หัวเราะกันอย่างมีความสุข นับเป็นงานทีส่ นุกสนาน และเปี่ยมด้วยมิตรภาพอย่างยิ่ง เช้าวันงานในวันที่ 17 ตุลาคม 2552 แขก สโมสรฯ บางท่านก็ถูกปลุกและเริ่มต้นไปดูกิจกรรม ของโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ในชุมชนที่ อบต.แม่ วิน อ.แม่วาง ด้วยรถ Mini Bus จำ�นวน 2 คัน, ส่วนโรตาเรียนบางท่านก็รว่ มออกกำ�ลังกายด้วยการ ออกรอบตีกอล์ฟ และท่องเที่ยวในตัวเมือง ส่วน คณะทำ�งานก็ยังยุ่งเหยิงกับการควบคุมการจัดและ ตกแต่งสถานที่ การกำ�หนดที่นั่งของแขกเชิญพิเศษ การซ้อมการแสดงบนเวทีครั้งแรก และเป็นครั้ง เดียว ตรวจสอบอาหารว่าง, เครื่องดื่ม และของที่ ระลึกให้พร้อมที่จะบริการ ช่วงบ่ายๆ สมาชิกฯ และ โรตารี แ อนด์ ไ ด้ นั ด หมายกั น มาถ่ า ยรู ป หมู่ เ ป็ น ที่ ระลึกตั้งแต่เวลา 16.00 น. และเตรียมพร้อมที่จะ ต้อนรับแขกสโมสรฯ งานก็เริ่มขึ้นแบบสบาย ๆ สมาชิกทุกท่านก็มีอารมณ์ร่วมของการเป็นเจ้าภาพ ที่ดีในการต้อนรับ โดยเริ่มต้นจากเครื่องดื่ม Wine และ Beer ในช่วง มิตรภาพสังสรรค์ จนใกล้กำ�หนด เวลาของการเริ่มพิธีการ คณะทำ�งานก็ต้องลุ้นกัน หน้าเขียวหน้าเหลืองกันอีกครัง้ หนึง่ เมือ่ ทัง้ แขกเชิญ

8 9


พิเศษและ Guest Speaker ของเรายังมาไม่ถึง แต่ด้วย Spirit ของโรตารี ทุ ก อย่ า งก็ ทั น เวลาพอดี แสงไฟเริ่ ม หรี่ ล ง และ Presentation ที่บอกกล่าวถึงตัวตนของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ก็ เริ่มต้นขึ้น ใช้เวลา 7 นาทีพอดี จากนั้นขบวนนำ�นายกสโมสรฯ ก็เริ่มเดินเข้าสู่ห้องจัดเลี้ยงพร้อมกลองสะบัดไชยพร้อมทั้งกล่าว ต้อนรับและเปิดงาน RID. John Lawence ซึ่งเป็นเพื่อนร่วม โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์กันมาก็ให้เกียรติมาร่วมกล่าวและนำ� ดื่มเพื่อโรตารีสากล และแล้ว Guest Speaker ของเรา อดีต ประธานโรตารีสากล ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ก็เดินทางมาถึงและ ขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ จนได้เวลาอันสมควร อาหารค่ำ�และการ แสดงก็เริม่ ต้น ตามด้วยการกล่าวแสดงความยินดีจากผูแ้ ทนของ โรตารีภาคต่างๆ และจบลงด้วยการร้องเพลงประสานเสียง Rotary Rotary ของสมาชิกสโมสรเชียงใหม่ทั้งหมดทำ�เอาผู้ร่วม งานและสมาชิกบ้างท่านน้ำ�ตาซึมกันไปทีเดียว การทำ � งานทั้ ง หมดของคณะทำ � งานและสมาชิ ก สโมสรฯ อันยาวนาน ก็เพื่อต้อนรับเพื่อนโรตาเรียนที่มาร่วม แสดงความยินดีให้ได้รับเกียรติและความสุขมากที่สุด แต่ก็อาจ มีความผิดพลาดและบกพร่องอยู่บ้าง ก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย และจะถือเป็นบทเรียนทีอ่ าจจะมีโอกาสได้แก้ตวั ในงานครบ รอบ 100 ปีของสโมสรเชียงใหม่ อีกครั้งก็เป็นไปได้ อน.พัลลภ ลาศุขะ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

9 8

D.3360 R.I. I’ve found the past issue of the Rotarian that quite interesting.The Issue of May 1960 has published one aritlce “My king, a friend of Rotary” Bhumibol Adulyadej (King of Thailand.), Thailand But we also need a photos with high resolution to go along with the article. If there is any possible to have some staff scan some page of this issue for above purpose. And also would like to invite you to visit our special issue of September that we’ve promoted this event “A day in the life of Rotary” to the whole district of 3360 R.I. http://issuu.com/naisooru/docs/september-3 Hello- I will scan those pages for you. One question first-- to verify, you would like the cover along with pages 8-13? If you do not have the magazine with you to verify, I can scan those pages and send the .jpgs to you for your approval. Thank you! Peter Schmidtke

เบื้องหลังความสำ�เร็จ อยู่ที่ทีมงานที่เข้มแข็ง

เปิดทุกหน้าเลย สุดยอดมากๆ สีสันสวยงาม ไม่เข้ม อ่านง่าย สบายตาผูส้ งู วัยคงพอใจมากๆ ส่วนภาพทีว่ าง ก็ดดู มี าก ๆ คงจะ ลบคำ�พูด ที่บอกว่าดูไม่รู้เรื่อง ไปได้แน่นอน นี่แหละมือโปรจริง จดหมายขอบคุณจาก ดิโรแทเรียน ๆ ขอชื่นชม ๆๆๆ และชื่นชม และเลือกภาพแปรอักษร ได้เจ๋ง ที่ได้ส่งภาพเข้าร่วมโครงการ “A day in the life of Rotary” มากๆ นี่แหละสายตาของคนมีศิลป ยกนิ้วให้ 2 นิ้วเลยเอ้า เมื่อวันที่ 10 ตุลาคมที่ผ่านมาและทีมงานแสดงความสนใจ ภาพที่ลงในหน้าเสียงนกเสียงกา ที่มีคณะกรรมการกับขันโตก โครงการของโรตารีแม่สายและ New Port Irvine Ca. ทั้งที่ หนะ ชอบมากๆๆๆ ที่เอามาวางตรงนั้น ชายแดนท่าขี้เหล็กและกรุงย่างกุ้ง ซึ่งเป็นโครงการเกี่ยวกับ น้ำ� แต่ยังเสียดายอีก 1 ภาพ ที่ไม่ได้เอามาลงให้ ซึ่งถือเป็นภาพ สะอาดในสถานเลี้ยงเด็กกำ�พร้ากว่า 60 แห่ง สำ�คัญมากๆ ที่นฤชล เน้นขอให้ลง ตั้งแต่ครั้งแรก ที่ได้คุยกัน Thank you so much for your e-mail and attached คือภาพ ทีมีโรตาแรคท์บนเวทีทั้งหมดและคณะกรรมการ อย่าง photos taken on October 10th showing your club’s recent น้อยลงในหน้ากิจกรรม ก็ยังดี ฮือๆๆๆๆ เสียดายมาก ๆ service activities! (we received all three photos) เพราะเราถือว่างาน RYLA ครั้งนี้ น้อง ๆ โรตาแรคท์ คือกลุ่ม We will be considering your photo(s) for a section in an บุคคลที่ช่วยให้งานนี้สำ�เร็จเป็นอย่างยิ่ง upcoming issue of The Rotarian magazine which will ผชบก.นฤชล อาภรณ์รัตน์ showcase aspects of Rotary life over a one-day period. Unfortunately, we cannot promise publication upfront due เมื่อวันอาทิตย์ไปที่ศูนย์โรตารีเห็นมีสารผวภ. ของทุกภาคตั้งอยู่ to our limited editorial space and large inventory of ของภาค 3360 ไม่มี นึกว่าคนแย่งกันเอาไปอ่านหมด ที่ไหนได้ submissions. ของภาคเราส่งไปแค่ 2 ฉบับเท่านั้น คุณดนุชาบอกว่าต้องเก็บ Thank you again for thinking of The Rotarian. เข้าห้องสมุดเพราะมีเพียง 2 เล่ม ภาคอื่นเขาส่งกันไป 20-30 Peter Schmidtke Editorial Coordinator Publications ฉบับ คนภาคอื่นเลยอดอ่าน ก็ให้อ่านออนไลน์ละกัน มุ่ยติดของ Department ตัวเองไปเล่มหนึ่งเลยมอบให้ท่านพิเชษฐ์ รุจิรัตน์ไป เพราะท่าน ไม่เคยเห็นสาร ผวภ. ของเราเลย ท่านได้แต่แปลสารจาก Hello. Lovely photos. Is the orphanage in ประธานโรตารีสากลให้ วันหลังฝ่าย ปชส. คงต้องขอเอ็กซตร้า Myanmar? Is there any challenge in going to Myanmar? แล้วล่ะค่ะ เพราะทุกวันนี้ของตัวเองเอาไปแจกหมดเลย We would love to hear more information. อน.จันทนี เทียนวิจิตร Great! To confirm, is the orphanage in Rangoon? I will speak with Rtn. Warring. I’m very interested. I โอ้โฮ... แก้ไขเพียบ... เป็นการทดสอบ แสดงว่าอ่านและตรวจ think we will run something on this in a future issue, สอบกันจริง.... (มุกเดิมๆ... แฮ่ม) as we have such limited space in this special issue. We ขอบคุณทุกท่าน และจะแก้ไข ตบแต่ง ตามการร้องขอจากทุก will likely run a small photo, but please do not be ท่าน ยกเว้นหน้าการจัดภาพ ระหว่างจัดภาพไป ก็นึกขอบคุณ disappointed in that, because as I said, I am interested คนจัดเดิม(น้องสุนิพิฐ) ที่คงจะเหนื่อยเหมือน บอกอ ตอนนั้น in doing more. Janice Chambers เลย สำ�หรับหน้า ใจถึงใจ ที่ตกหล่น ตรวจเจอเมื่อเสร็จสรรพ แล้ว ถ้าจะเพิ่มอีกหนึ่งภาพ คงต้องแก้ทั้งหน้า.... รึว่าจะลบ จดหมายขอความร่วมมือจาก ดิโรแทเรียน ข้อความทิ้งดี... จะได้เนียนๆ สุดท้าย มองโลกในแง่ดี ฉบับก่อน ขอต้นฉบับบทความพิเศษในอดีต เกี่ยวกับประเทศไทยและพระ หน้า ก็มีแล้วนี่ ปลอบใจครับ คงไม่ว่ากัน..... มหากษัตริย์ไทย เพื่อนำ�มาตีพิมพ์ ในฉบับวันพ่อแห่งชาติ ฉบับ ขอบคุณอีกครั้ง สำ�หรับการใส่ใจ ในผลงานของทุกท่าน จะได้ นี้ ซึ่งก็ได้รับการอำ�นวยความสะดวกเป็นอย่างดี ออกมาดีเยี่ยมสมที่เราได้คาดหวังไว้ครับ As and editor of District Governor’s Letter of

ธันวาคม ๒๕๕๒


ปฏิทินภาค หยุดโปลิโอด้วยมือเรา ๒๕๕๒-๒๕๕๓

อน.ดร.สุรพล นธการกิจกุล ประธานอนุกรรมการ โปลิโอพลัส ภาค 3360 โรตารีสากล

โปลิโอ (Polio) เดิมเรียกว่า โรค ไขสันหลังอักเสบ เป็นโรคติดต่อในเด็ก มี สาเหตุมาจากได้รับเชื้อไวรั สโปลิ โ อเข้ า สู่ ร่างกายทางปาก อาการป่วยมีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน มี อาการตึงกล้ามเนื้อที่คอ เชื้อเข้าสู่ประสาท แล้วจะเป็นอัมพาต กล้ามเนื้ออ่อนลีบเล็ก ลงและอาจเสียชีวิตได้ การป้องกันสามารถ ทำ�ได้โดยหยอดวัคซีนโปลิโอทางปากในเด็ก อย่างน้อย 3 ครั้งในอายุ 1 ปี และหยอด กระตุ้นอีก 2 ครั้งเมื่ออายุ 1 ปีครึ่งและ 4 ปี สถานการณ์ผู้ป่วยโปลิโอทั่วโลก มี รายงานผู้ ป่ ว ยในประเทศที่ พ บมากคื อ ไนจีเรีย อินเดีย ปากีสถาน และ อัฟกานิสถาน และประเทศในภูมภิ าคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่กลับมีการระบาดใหม่ ได้แก่ บังคลาเทศ เนปาล อินโดนีเซีย และ พม่า ตราบใดทีย่ งั คงมีผูป้ ว่ ยโปลิโอสายพันธุ์ ก่อโรครุนแรง (wild poliovirus) และจาก เชื้อวัคซีนที่กลายพันธุ์ (Vaccine Derived Polio Virus; VDPV) แม้เพียงประเทศใด ประเทศหนึ่ง ทุกประเทศบนโลกใบนี้ ย่อม มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคโปลิโอได้เสมอ ถึง แม้นว่าประเทศไทยไม่พบผู้ป่วยโปลิโอมา กว่า 12 ปี เจตนารมณ์ของโรตารีสากลที่ได้ ทำ�การรณรงค์ขจัดโปลิโอเป็นปีที่ 16 โดย การสนับสนุนการบริจาคจากสมาชิกโรแท เรียนและมูลนิธิบิลล์เกตและเมลินดา (Bill & Melinda Gates Foundation Challenge Grant) การรณรงค์ให้ผู้ปกครองนำ �บุตร หลานอายุ ต่ำ � กว่ า 5 ปี ม ารั บ การหยอด วัคซีนโปลิโอชนิดกิน (Oral Polio Vaccine: OPV) โดยเฉพาะเด็กในกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มักจะได้รับวัคซีนไม่ครบและ เด็ก ด้อ ยโอกาส ที่เสี่ยงต่ อ การได้ รั บ เชื้ อ โปลิโอ ตลอดจนเด็กกลุ่มเสี่ยงที่อาจได้รับ

ธันวาคม ๒๕๕๒

เชื้อจากนอกประเทศ (imported case) จาก กลุ่ ม แรงงานต่ า งชาติ เช่ น พม่ า ลาว กัมพูชา ซึ่งอายุต่ำ�กว่า 15 ปี ได้รับการ หยอดวั ค ซี น อย่ า งทั่ ว ถึ ง โดยให้ มี ก าร ประสานงานร่วมกันในทุกภาคส่วนได้แก่ สโมสรโรตารี ใ นประเทศไทย กระทรวง สาธารณสุข กรุงเทพมหานคร เทศบาล โรง พยาบาล สถานีอนามัย และศูนย์บริการ สาธารณสุข และอาสาสมัครเพือ่ ป้องกันโรค โปลิ โ อพร้ อ มกั น ทั่ ว ประเทศและขจั ด ภั ย โปลิโอให้หมดสิ้นไปจากโลกนี้ จึงกำ�หนดให้ มี วั นให้ ภู มิ คุ้ ม กั นโรคแห่ ง ชาติ (SubNational Immunization Day - SNIDs) ติดต่อกัน 2 ครั้ง คือ หยอดวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 1 23 ธันวาคม 2552 หยอดวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 2 27 มกราคม 2553 นายกสโมสรและกรรมการมูลนิธิ โรตารี โปรดชักชวนให้สมาชิกของท่านเข้า ร่วมกิจกรรมดังกล่าวโดยพร้อมเพรียงกัน แสดงความจำ�นงเป็นอาสาสมัครร่วมกับ หน่วยงานสาธารณสุขในท้องถิ่นของสโมสร ของท่าน ทำ�กิจกรรมรณรงค์หยอดวัคซีน โปลิโอแก่เด็กในโครงการ “หยุดโปลิโอ ด้วย มื อ เรา” โดยประสานกั บ เจ้ า หน้ า ที่ ง าน ควบคุมโรค สำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลชุ ม ชน หรื อ สำ � นั ก งาน สาธารณสุ ข อำ � เภอ สโมสรสามารถ ดาวน์โหลด เอกสารประกอบและสื่อรณรงค์ การกวาดล้างโปลิโอจากเว็บไซต์ของศูนย์ โรตารีในประเทศไทย www.rotarythailand. org หรือสำ�นักงานประสานการกวาดล้าง โรคโปลิโอ กระทรวงสาธารณสุข www. thaigcd.ddc.moph.go.th/vac เพื่อให้ลูก หลานของเราปลอดภัยจากโรคโปลิโอ

11 10


District’s Secretary มิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน เวลาได้ผ่านไปอย่างรวดเร็ว เหมือนดังติดปีกบิน จะถึงครึ่งปีหลังของโรตารีปี 2009-2010 แล้ว การเยี่ยมสโมสรโรตารีอย่างเป็นทางการ ของท่านผู้ว่าการภาค 3360 ของเรา ได้เสร็จสิ้นไปแล้ว 59 สโมสร ตั้งแต่ต้นเดือนพฤศจิกายน ยังคงเหลือแต่สโมสร โรตารีเวียงจันทน์เป็นสโมสรสุดท้าย ซึ่งเป็นสโมสรโรตารีที่อยู่ในต่างประเทศ ที่เป็น ประเทศเพื่อนบ้านของเรา ที่ห่างไกลออกไปพอควร การเดินทางไปเยี่ยมอย่างเป็น ทางการของท่านผู้ว่าการภาคฯจึงจำ�เป็นจะต้องมีการวางแผนลวงหน้าให้ดี เช่นเดียว กับการทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ของสโมสรโรตารี จะต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เพื่อให้โครงการเหล่านั้นบรรลุตามเป้าหมายที่เราได้วางไว้ โรตารีสากลก็มีนโยบายการทำ�งานในเรื่องต่างๆไว้ล่วงหน้า ดังจะเห็นได้จาก การสรรหาผู้บริหารในระดับต่างๆ นับตั้งแต่ ประธานโรตารีสากล ผู้ว่าการภาค หรือ แม้แต่นายกสโมสร โรตารี ก็ต้องมีการสรรหาไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมตัววางแผน การทำ�ธุรกิจส่วนตัว ควบคู่ไปกับการทำ�งานให้กับองค์โรตารีให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ไปพร้อมกัน โรตารีสากลจึงได้ส่งแบบฟอร์มเสนอรายชื่อนายกสโมสรและเลขานุการ สโมสร สำ�หรับปีบริหาร 2010-2011 มายังเลขานุการสโมสรโรตารี เพื่อกรอกข้อมูลต่างๆ และส่งกลับไปตามที่อยู่ที่พิมพ์ไว้บนหน้าซองที่โรตารีสากลแนบมาให้ ภายในเดือน ธันวาคมนี้ เพื่อที่ทางโรตารีสากลจะได้นำ�เอารายชื่อนายกสโมสรโรตารีและเลขานุการ สโมสร ไปจัดพิมพ์ลงใน หนังสือ Rotary International Directory ให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน เพื่อความสะดวกของการค้นหาหรือติดต่อของโรแทเรียนทั่วโลก จึงขอความร่วมมือมายังสโมสรโรตารีทุกสโมสรในภาค 3360 กรอกข้อมูลต่างๆ ลงในแบบฟอร์ม และจัดส่งไปตามที่อยู่บนหน้าซองจดหมายที่มีมาให้ หากท่านมีข้อ สงสัยประการใด กรุณาสอบถามได้ทุกเมื่อ ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ เลขานุการภาค 3360 ปี 2552-2553

อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ สโมสรโรตารีช้างเผือก

Dearly Beloved Fellow Rotarians, How quickly time has flown by, as if soaring with wings, already we have reached the last half of the Rotary year of 2009-2010. Commencing in early November of 2009, the District Governor of 3360 has officially visited 59 different clubs, with the Rotary Club of Vien Tian being the only club that the Governor has yet to visit. Though situated in a neighboring country, a visit to the Rotary Club of Vien Tian involves much traveling and requires thorough planning; much like all of Rotary’s various community-oriented projects, which require much planning ahead, in order for each and every project to reach our desired aims and goals. Throughout time, Rotary International has continued to advocate the concept of planning ahead, as seen in the meticulous manner with which suitable candidates are selected for different positions prior to each Rotary year. From the President of Rotary International, to the different District Governors, and each and every Club President; each honorable position is selected ahead of time through a refined selection process, allowing each individual to prepare themselves for the many responsibilities that lay ahead of them in their personal affairs and their dedication to Rotary. For this reason, Rotary International has distributed forms for nominating Club Presidents and Club Secretaries for the year 2010-2011, to be returned to the address provided on the attached envelopes within the month of December. Rotary International will then process this information and include it in the Rotary International Directory, enabling each and every Rotarian around the world to access the most current information and contact details. Thus we would like to request that each club within District 3360 please fill out the aforementioned form and have it returned to Rotary International, at the provided address, within the stated time frame. All questions and enquiries are always welcomed. Yours in Rotary. PP. Siriluck Chaiyawong District Secretary 3360 Rotary International2009-2010

10 11

ธันวาคม ๒๕๕๒


สถิติการเข้าประชุม ท่าน นายกสโมสร เลขานุการสโมสรโรตารีทุกท่าน ขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการจัดส่งคะแนนการประชุมมายังคณะ เลขานุการภาค ตามกำ�หนดระยะเวลา แต่ยังมีบางสโมสรที่ยังล่าช้าในการจัดส่งคะแนนการ ประชุม ท่านสามารถจัดส่งมาทาง e-mail ที่ siriluck24@hotmail.com หรือ Fax. ที่ 053-043263 ส่วนไปรษณียบัตรนั้นก็ยังคงส่ง เพื่อรอลุ้นรางวัลการส่ง ก่อน สิบอันดับแรก หากท่านมีข้อสงสัยประการใด กรุณาติดต่อมาที่เลขานุการภาค 3360 ได้ที่ 081-8845679 ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนพฤศจิกายน ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน % อันดับ หมายเหตุ 1 16274 Kamphaengphet กำ�แพงเพชร 16 76.10 2 25135 Chomtong Chiangmai จอมทอง 12 70 3 23182 Chamadhevi จามะเทวี 10 66 4 23201 Changpuak Chiang Mai ช้างเผือก 21 71 5 16262 Chiang Mai เชียงใหม่ 57 59.14 6 60808 Chiangmai Doi Suthep ดอยสุเทพ 3 50 7 16264 Chiangmai West เชียงใหม่ตะวันตก 27 55 8 26048 Chiangmai East เชียงใหม่ตะวันออก 12 78 9 29283 Chiang Mai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 32 68.75 10 51245 Chiangmai South เชียงใหม่ใต้ 13 75 11 16263 Chiang Mai North เชียงใหม่เหนือ 29 74.07 12 50481 Chiangmai Phuping เชียงใหม่ภูพิงค์ 15 51.75 13 53170 Chiang-Mai Airport เชียงใหม่แอร์พอร์ต 12 60.41 14 16261 Chiangkam เชียงคำ� 22 88.63 6 ส่งเร็ว 2 15 16265 Chiang Rai เชียงราย 30 79.31 ส่งเร็ว 3 16 52387 Chiang Rai North เชียงรายเหนือ 21 88.09 8 17 28751 Chiang Saen เชียงแสน 13 76.56 ส่งเร็ว 3 18 57289 Doiprabaht ดอยพระบาท 19 88.46 7 19 16312 Tak ตาก 10 85.34 20 70997 Thoen Downtown เถินดาวน์ทาวน์ 18 65 21 50326 Thawangpha ท่าวังผา 10 78.75 22 23050 Nan น่าน 43 74.42 23 57910 Nakron Nan นครน่าน 10 70 24 64215 Nakorn Thoeng นครเทิง 17 78 25 65762 Nakron Hariphunchai นครหริภุญชัย 10 60 26 27553 Naresuan นเรศวร 33 58.10 27 22008 Pua ปัว 21 98.96 3 ส่งเร็ว 3 28 21495 Fang ฝาง 18 97.22 29 16291 Payao พะเยา 13 57.50 30 16292 Phan พาน 27 53.60 ส่งเร็ว 2

ธันวาคม ๒๕๕๒

13 12


หมายเหตุ 1. สโมสรโรตารีที่ส่งคะแนนการประชุมมาเป็นอันดับที่ 1 คือ สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ อันดับ สอง คือ สโมสรโรตารีเชียงคำ� และสโมสรโรตารีพาน อันดับที่ 3 คือ สโมสรโรตารีเชียงราย สโมสร โรตารีดอยพระบาท และสโมสรโรตารีปัว 2. สโมสรโรตารีที่มีคะแนนการประชุมมาเป็นอันดับ 1 คือ สโมสรโรตารีศิลาอาสน์ อันดับ 2 คือ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ อันดับ 3 คือ สโมสรโรตารีปัว 3. *ค่าเฉลี่ย* หมายถึงเฉลี่ยจากคะแนนการประชุมที่ท่านส่งมาให้จากเดือนก่อนๆ เนื่องจากท่าน ส่งคะแนนล่าช้า * จำ�นวนสมาชิกทั้งสิ้น 1,187 คน ช่องหมายเหตุ คือ ค่าเฉลี่ยของการส่งคะแนนของแต่ละสโมสรฯ รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนพฤศจิกายน ของสโมสรโรตารี Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน 31 23541 Phrae แพร่ 22 32 24741 Phichai พิชัย 15 33 16297 Phisanulok พิษณุโลก 49 34 27084 Muang Chod เมืองฉอด 17 35 65185 Muang Thoen เมืองเถิน 23 36 16280 Maechan แม่จัน 31 37 29389 Maewang Lampang แม่วัง 17 38 24956 Mae Sod แม่สอด 22 39 16283 Mae Sariang แม่สะเรียง 13 40 16282 Maesai แม่สาย 27 41 16281 Mae Hongson แม่ฮ่องสอน 13 42 52390 Mae Fha Louang แม่ฟ้าหลวง 9 43 24886 Lab Lae ลับแล 10 44 50294 Lanna ล้านนา 25 45 16277 Lampang ลำ�ปาง 29 46 16278 Lampoon ลำ�พูน 12 47 50650 Wangchan วังจันทน์ 26 48 51392 Wiangkosai เวียงโกศัย 21 49 31711 Wiangsa เวียงสา 12 50 52394 Sri Song Kwai ศรีสองแคว 15 51 25165 Sila-Asana ศิลาอาสน์ 28 52 16307 Sawankaloke สวรรคโลก 26 53 25680 Sawankhalok North สวรรคโลกเหนือ 22 54 22010 Song สอง 14 55 27741 Sanpatong สันป่าตอง 14 56 30612 Sarapee สารภี 12 57 24965 Sukhothai สุโขทัย 23 58 30057 Hang Dong หางดง 10 59 16317 Uttaradit อุตรดิตถ์ 26 60 74261 Vientiane เวียงจันทน์ 10

12 13

ภาค 3360 % 61.96 70.34 81.25 77.50 77 91.94 68.47 75.27 57.69 87.03 70 88.25 50 87 71 53 67.50 58.40 83.33 75 100 60.58 78 92.86 75 75.25 68.20 65 99.03 68.33

โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 อันดับ หมายเหตุ

5

9

10

ส่งเร็ว 1

8

1 4

2

ธันวาคม ๒๕๕๒


DGN’s Corner เอกลักษณ์ของโรตารี

ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ

เอกลักษณ์พิเศษของโรตารี คือ การกำ�หนด วิสัยทัศน์ในการบริหารและการให้บริการ โดยเริ่มจาก ประธานโรตารีสากลแต่ละปีจะกำ�หนดคติพจน์(Theme) ของตนเป็นธงนำ�ในการบริหารและการให้บริการ เช่น Be a Friend,Sow the Seed of Love ,Lead the way และล่าสุดคือ The Future of Rotary is in Your Hands ซึ่งคติพจน์ต่างๆเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นวิสัยทัศน์ต่อการ บริหารและบริการของ โรตารีทั่วโลกในแต่ละปี โดย ประธานโรตารีสากลจะส่งผ่านให้กับผู้ว่าการภาคในการ อบรมผู้ว่าการภาครับเลือก(International Assembly) อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารเสนอ ภารกิ จ (Mission)และเป้ า หมาย(Objective หรือ Goal)เพื่อนำ�ไปปฏิบัติอีกด้วย Vision = คติพจน์ของแต่ละปี Mission = การขยายสโมสร การเพิม่ สมาชิก Objective = เพิ่มสโมสรภาคละ 1-2 สโมสร /เพิ่มสมาชิกให้ได้อย่าง ๑ คนสุทธิหรือ ๑๐ % ฯลฯ ส่วนการกำ�หนดกลยุทธ (Strategy) นั้น เป็น ภาระของแต่ละสโมสรและภาค ซึ่งนำ�โดยนายกแต่ละ สโมสรและผู้ว่าการภาคแต่ละภาค สโมสรใดหรือภาคใด ไม่มีกลยุทธใน การบริหารก็ยากที่จะทำ�พันธกิจให้บรรลุ วัตถุประสงค์ได้ แม้ว่าภายในสโมสรอาจจะมีมิตรภาพใน หมู่สมาชิกที่แน่นแฟ้น มีเปอร์เซ็นต์การประชุมสูง แต่ มิได้ก่อให้เกิดพลังในการให้บริการแล้ว ก็ปราศจาก วิญญาณของโรตารี เป็นเพียงการที่หมู่เพื่อนสนิทมา พบปะกันเท่านั้นเอง ส่วนเอกลักษณ์เฉพาะของโรตารี นอกจาก จะมีสัญลักษณ์ฟันเฟือง ๒๔ ซี่ ซึ่งมีความหมายว่าให้ บริการ ๒๔ ชั่วโมง องค์กรโรตารียังมีเอกลักษณ์เฉพาะ อีกคือ ทุกสโมสรต้องมีการประชุม มีการแบ่งหน้าที่ใน องค์กร และที่สำ�คัญดังที่กล่าวมาแล้วคือต้องมีการจัด

กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์

นอกจากนี้เอกลักษณ์เฉพาะอีกอย่างหนึ่งก็ คือ การดำ�รงตำ�แหน่งใดใดของโรตารีจะมีอายุเพียง ๑ รอบปี บ ริ ห ารเท่ า นั้ น ยกเว้ น บางตำ � แหน่ ง เช่ น กรรมการบริหารโรตารีสากล(Board of Director) มีระยะ เวลา ๒ ปี หรือประธานมูลนิธิภาคฯ ๓ ปี เป็นต้น

วัฒนธรรมองค์กร

แม้ ว่ า เอกลั ก ษณ์ ข องโรตารี จ ะมี ลั ก ษณะ เฉพาะที่ เ ป็ น ประเพณี ป ฏิ บั ติ ด้ ว ยระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ เดียวกันก็ตาม แต่ในสโมสรแต่ละแห่งก็จะมีวัฒนธรรม แตกต่างกันไป ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ๑) ขนาดของสโมสรและ วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร ๒) ที่ตั้งของสโมสร ๓)กำ�หนด วัน เวลา ในการประชุมสโมสร ๔) อัตราค่าบำ�รุง และ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ๕)วิธีการดำ �เนินการประชุมประจำ � สัปดาห์ ๑) ขนาดของสโมสรและวิ สั ย ทั ศ น์ ข องผู้ บริหาร หมายถึงจำ�นวนสมาชิกของสโมสรโรตารีหนึ่งๆ ที่มีมากหรือน้อยเพียงใด สโมสรเล็กอาจจะมีสมาชิกต่ำ� กว่าสิบ จนถึงสโมสรใหญ่ที่มีสมาชิกจำ�นวนเป็นร้อย จนถึงหลายร้อยคน ดังนั้น ขนาดของสโมสรมีส่วน สัมพันธ์ใน การสร้างวัฒนธรรมองค์กร ในขณะเดียวกัน วิสัยทัศน์และภาวะผู้นำ �(Leadership) ของผู้บริหาร สโมสรก็มีส่วนสำ�คัญในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมของ สโมสรให้เกิดพลัง กล่าวคือ หากผูบ้ ริหารสโมสรขาดวิสยั ทัศน์หรือขาดภาวะผู้นำ�ก็ทำ�ให้สโมสรมีแต่ทรงกับทรุด ไม่มีกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ใดใด อดีตประธานโรตารี สากลท่านหนึ่ง(ขออภัยผมจำ�ชื่อท่านไม่ได้) ได้เปรียบ เปรยผู้บริหารเช่นนี้ว่าเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของช้อน และส้อม(forks and Spoons) คือ มาเพื่อพบปะและรับ ประทานอาหารเท่านัน ้ แต่ถา้ ผูบ้ ริหารสโมสรมีวสิ ยั ทัศน์ มีภาวะผู้นำ�ดี จัดกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ผลักดัน

ธันวาคม ๒๕๕๒

สมาชิกให้ทำ�กิจกรรมครบทั้ง ๔ ฝ่ายได้ก็เป็นสัญลักษณ์ ของกุญแจและอุปกรณ์เครื่องมือ(Keys and Tools) ที่ พร้อมลงมือให้บริการชุมชนและบริการมนุษยชาติ ๒) ที่ตั้งสโมสร บ่งบอกถึงรสนิยมโดยรวม ของสมาชิกสโมสร หลายๆสโมสร ใช้สถานที่ห้องประชุม ของโรงแรม มีตั้งแต่โรงแรมระดับ ห้าดาวถึงไม่มีดาว หลายสโมสรใช้ภัตตาคาร ร้านอาหาร บ้างก็ใช้อาคาร สถานที่ทางศาสนา และบางสโมสรก็มีสถานที่เป็นของ ตนเอง โดยการเช่าหรือจัดซือ้ เช่นในสหรัฐอเมริกาหรือ ในอาร์เจนตินา เป็นต้น ๓) วันและเวลาในการประชุม บางสโมสรใช้ ช่วงเวลาอาหารเช้า เช่น สโมสรในสหรัฐอเมริกาหรือ ยุโรป (ภาค3360เราก็มีคือ สโมสรเชียงใหม่ดอยสุเทพ) โดยประชุมกันก่อนจะเริม่ ทำ�งานประจำ�วัน สโมสร โรตา รีในกรุงเทพฯโดยมากจะประชุมมื้อกลางวัน ส่วนสโมสร ในต่างจังหวัดมักประชุมในช่วงค่ำ�หรือมื้อเย็น ๔) การกำ�หนดอัตราค่าบำ�รุง และค่าใช้จ่าย ในการดำ�รงอยู่ของสโมสรย่อมต้องมีค่าบำ�รุงและค่าใช้ จ่าย โดยเฉพาะค่าบำ�รุงภาคและ ค่าบำ�รุงโรตารีสากล ทั้งสองอย่างนี้มีอัตราตายตัวเท่ากันทุกสโมสร(ยกเว้น สโมสรที่มีสมาชิกต่ำ�กว่า ๑๐ ต้องจ่ายขั้นต่ำ� ๑๐ คน) ส่วนค่าใช้จ่ายอื่นๆภายในสโมสร เช่น ค่าอาหาร ค่า สำ�นักงาน ค่าเอกสาร ฯลฯ ในส่วนนี้เป็นหน้าที่ ที่ สมาชิกสโมสรต้องร่วมกันกำ�หนดว่าจะเรียกเก็บคนละ เท่าใด ๕) วิธีการดำ�เนินการประชุมประจำ�สัปดาห์ แม้จะมีการกำ�หนดไว้ในข้อบังคับของสโมสรว่าวาระการ ประชุมจะประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เช่น การสนเทศ โรตารี การบรรยายพิเศษ ฯลฯ แต่วัฒนธรรมของแต่ละ สโมสรอาจจะแตกต่างกันในประเด็นปลีกย่อย เช่น พิธีเปิดและปิดการประชุม มีวัฒนธรรมองค์กรที่หลาก หลาย บางสโมสรใช้วิธีการปรบมือ บางสโมสรเคาะฆ้อง หรือกระดิ่ง บางสโมสรมีการร้องเพลงชาติ บางสโมสร ไม่มี ฯลฯ และเมื่อหลังเสร็จสิ้นการประชุม เช่น สโมสร เชียงใหม่เหนือก็มีกิจกรรมชมรมข้าวต้ม เป็นต้น ส่วน ระยะเวลาการประชุมนั้นส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง ๑ ถึง ๑ ชั่วโมงครึ่ง ถึงแม้จะแตกต่างไปในรายละเอียด แต่โดย ภาพรวมแล้ ว การประชุ ม ยั ง คงมุ่ ง เน้ นไปที่ มิ ต รภาพ สร้างความรู้ และมุ่งการบำ�เพ็ญประโยชน์ เหมือนกัน หมด

วิเคราะห์กระบวนการ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคของโรตารี

เมื่ อ วิ เ คราะห์ ถึ ง ผลลั พ ธ์ ห รื อ ผลผลิ ต ของ กระบวนการของโรตารีแล้วผมพบว่า ในด้านตัวบุคคล หรือโรแทเรียนผู้เป็นสมาชิกของสโมสรที่ยังคงอยู่กับ โรตารีและผ่านกระบวนการของโรตารีทีไ่ ด้รบั การพัฒนา แนวคิ ด ต่ า งๆ นั้ น ได้ พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เป็ น บุ ค คลที่ มี อุดมการณ์ค่อนข้างสูง มีจุดยืน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มี ภาวะผู้นำ� และเป็นผู้ที่เสียสละเห็นแก่ส่วนรวม ส่ ว นผู้ ที่ มุ่ ง หวั ง ประโยชน์ ส่ ว นตนหรื อ คิ ด ว่าการได้เพื่อนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนนั้น กระบวนการของโรตารีและเวลาจะเป็นตัวกำ�จัดบุคคล เช่นนั้นออกไปจากองค์กรในที่สุด ผมขออนุญาตอธิบายในเชิงวิชาการว่าใน กระบวนการหรือ processของโรตารีนั้น เมื่ออาศัย ปัจจัยนำ�เข้า ซึ่งมีคนที่เป็นสมาชิกของสโมสรเป็นหลัก และมีกระบวนการบริหารจัดการ ตลอดจนกิจกรรม ต่างๆของสโมสร ของภาค และนโยบายของโรตารีสากล เมื่อผ่านขั้นตอนต่างๆเหล่านี้ก็จะได้ผลผลิตและผลลัพธ์ ที่ยอดเยี่ยม ส่วนใดที่เป็นส่วนเกิน ซึ่งหมายถึงสมาชิก ที่ขาดอุดมการณ์และวิสัยทัศน์ก็จะถูกกำ�จัดออกไปโดย ธรรมชาติ หรือแม้แต่สโมสรที่ด้อยประสิทธิภาพก็จะอยู่

14 15


วิสัยทัศน์โรตารี (Rotary Vision)-2

ได้ไม่ยืนยาว อีกทั้งกิจกรรมที่สโมสรร่วมกันกระทำ� ก็จะถูกคัดกรอง จนเป็นที่ยอดเยี่ยมตามคำ�ขวัญที่ว่า “He profit Most Who Serve Best”ซึ่งแปลเป็นไทยว่า “ผู้ได้กุศลมากที่สุดคือผู้ที่บำ�เพ็ญประโยชน์ดี ที่สุด”หรือพูดง่ายๆว่า“ยิ่งให้ยิ่งได้”นั่นเอง ในกระบวนการทีเ่ กิดขึน ้ ตลอดระยะเวลาร้อยกว่าปีของโรตา รีต่อการบริหารจัดการในหลักของการให้บริการนั้น มักจะก่อเกิด แนวคิ ด แนวบริ ห ารและกิ จ กรรมใหม่ ๆ ที่ เ ราเรี ย กว่ า นวั ต กรรม (Innovation) อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น แนวคิดของอาร์ช คลัมป์ ในการ ก่อให้เกิดมูลนิธิโรตารี การก่อเกิดแนวคิดบททดสอบสี่แนวทาง (Four Ways Test) การก่อตั้งโปรแกรมโปลิโอพลัส (Polio Plus) การสร้าง กิจกรรมบริการชุมชนโลก (World Community Service) การจัด กิจกรรมกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน (GSE) การจัดหลักสูตรการแก้ไขปัญหา ข้อขัดแย้งและสันติภาพ (Peace and Conflict Resolution) หรือที่ เปลี่ยนแปลงมากที่สุดก็คือรูปแบบการประชุมที่สามารถประชุมผ่าน ทางอินเตอร์เน็ตที่เราเรียกว่า e-Rotary ได้ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็น นวัตกรรมตามยุคตามสมัย โรตารี เ ราไม่ มี ก ารกำ � หนดดั ช นี วั ด ผลงาน (Keys of Performance Index,KPI) อย่างชัดเจน มีแต่ข้อกำ�หนดหรือเป้าหมาย ของประธานโรตารีสากลที่ให้พยายามดำ�เนินกิจกรรมของสโมสรตลอด จนการให้บริการในระดับหนึ่งเท่านั้น เราจึงต้องอาศัยวิธีประเมินผล เพื่อเพิ่มศักยภาพของสโมสร โดยวิธีการกำ�หนดสโมสรข้างเคียงที่มี ศักยภาพ สูงกว่าเป็นเป้าหมายหรือบรรทัดฐาน(Benchmark) เราอาจวิเคราะห์เพื่อประเมินผลของการบริหารหรือการ บริการในระดับสโมสรที่เป็นรูปธรรมได้ เช่น จำ�นวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้น จำ�นวนกิจกรรมการให้บริการ มูลค่าของกิจกรรมที่ให้บริการ เป็นต้น ส่วนระดับภาคนั้นอาจวิเคราะห์ถึงความสำ�เร็จของจำ�นวนสโมสรและ โรแทเรียนที่เพิ่มขึ้น จำ�นวนผู้บริจาคให้กับมูลนิธิ จำ�นวนสโมสรที่ได้ รับการประกาศยกย่องจากประธานโรตารีสากล(Presidential Citation) เป็นต้น

จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค

15 14

โรตารีมีองค์ประกอบทั้งทางด้านรูปธรรมและนามธรรม ที่ เป็นรูปธรรมก็คือ ตัวบุคคล สโมสร ภาค คณะกรรมการต่างๆ กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ (Procedure) ส่วนที่เป็นนามธรรมก็คือมโน ทัศน์หรือวิสัยทัศน์ (Vision) นั่นเอง การที่โรตารีจะเจริญเติบโตในโลก แห่งการให้บริการ(World of Service)ต่อไปได้นั้น จะต้องวิเคราะห์พื้น ฐานให้รอบด้านทั้งองค์ประกอบภายในและสิ่งแวดล้อมภายนอกกล่าว คือ การวิเคราะห์ภายในซึ่งหมายถึงจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ขององค์กรโรตารีว่าองค์กรของเรามีจุดแข็งและจุดอ่อน ด้านใด มีแนวทางแก้ไขจุดอ่อนขององค์กรได้หรือไม่ ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นสิ่งแวดล้อมของ องค์กรคือการวิเคราะห์โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) นั้นคือการวิเคราะห์เหตุต่างๆที่เป็นโอกาสให้โรตารีเจริญเติบโต หรือ เหตุใดบ้างที่เป็นอุปสรรคแห่งการเจริญเติบโตในการบริหารงานของ องค์กรโรตารี ตลอดจนกิจกรรมการให้บริการทั้งหลายของโรตารีใน แต่ละระดับ นับจากระดับสโมสร ระดับภาค หรือระดับสากล ล้วนมี จุดอ่อน จุดอ่อน (Weakness) ประการแรกคือในด้านของระยะเวลา ของการดำ�รงตำ�แหน่ง เพราะข้อกำ�หนดหรือประเพณีปฏิบัติของ โรตารี ที่ให้คณะกรรมการบริหารของสโมสรหรือของภาคมีอายุการ ดำ�รงอยู่เพียงครบรอบปีบริหาร เมื่อครบวาระก็จะมีการสถาปนา คณะ กรรมการบริหารใหม่ ทำ�ให้กิจกรรมที่ทำ�อยู่อาจไม่มีความต่อเนื่องจน ไม่สามารถประเมินผลหรือวัดคุณค่าของงานได้ จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สองก็คือ ในการบริหารไม่ ว่าจะเป็นระดับใดก็ตาม ผู้บริหารของโรตารีไม่มีอำ�นาจในการให้คุณให้ โทษหรือการสั่งการแบบผู้บังคับบัญชา แต่ในทางกลับกันก็มีจุดแข็ง (Strength) คือสมาชิกเป็นผู้ที่มีความหลากหลายทางอาชีพ ที่สามารถ นำ�จุดเด่นของแต่ละคนมาบูรณาการเพื่อสร้างผลงานให้กับองค์กรได้ อย่างดีเลิศ แต่จะสำ�เร็จได้อย่างแท้จริงต้องมีคณะกรรมการบริหารที่มี คุณภาพด้วย จุดอ่อน (Weakness) ประการทีส่ ามก็คอื จุดอ่อนทีบ่ างท่าน เห็นว่าในการคัดเลือกผู้บริหารหรือผู้นำ�ไม่เปิดโอกาสให้มีการหาเสียง หรือเปิดโอกาสให้สมาชิกลงคะแนนเลือกตั้งโดยตรง ทำ�ให้ไม่ทราบแนว นโยบายการทำ�งานและไม่มสี ว่ นร่วม แต่อย่างไรก็ตามในส่วนนีผ้ มกลับ

มองว่าเป็นจุดแข็ง (Strength) คือไม่ทำ�ให้แตกความสามัคคีหรือแบ่ง ฝักแบ่งฝ่าย เพราะโรตารีเชื่อว่าการที่จะเป็นผู้นำ�ได้นั้นย่อมมาจากผล งานในอดีตของเขาเองที่จะส่งให้เขาได้รับการรับเลือกมิใช่จากการ โฆษณาหาเสียงเพียงชั่วครั้งชั่วคราว แต่กระนั้นก็ตามปัญหาใหญ่ ประการหนึ่งในปัจจุบันของโรตารีไทยเราก็คือการขาดผู้ที่อาสาเข้ามา เป็นผู้นำ� จุดอ่อน (Weakness) ประการที่สี่ก็คือสมาชิกเรามักไม่ค่อย ยึดกฎระเบียบ ไม่ศึกษาให้ถ่องแท้ หรืออาจจะศึกษาเหมือนกันแต่ แทนที่จะเป็นการศึกษาเอาไว้ใช้งานเหมือนเป็นคู่มือหรือ Road Map แต่กลับเป็นการศึกษาไว้เพื่อคอยจับผิดกันจนสโมสรแตก จุดอ่อน (Weakness) ประการที่ห้าก็คือจุดอ่อนที่เรามักไม่ ค่อยพูดถึงซึ่งก็คือความไม่โปร่งใสในโครงการต่างๆของ ผู้ที่ไม่มี อุดมการณ์หรือพูดง่ายๆก็คือหาเศษหาเลยกับโครงการนั่นเอง ซึ่งใน เรื่องนี้ในสมัยท่านพิชัยเป็นประธานโรตารีสากลท่านได้เล่าว่าท่านได้ เคยจับได้แถบอาฟริกาและให้ระงับโครงการดังกล่าวเสีย ซึ่งหลังจาก นั้นมูลนิธิโรตารีก็ได้เพิ่มมาตรการการตรวจสอบอย่างเข้มงวดตั้งแต่ ก่อนอนุมัติโครงการจนโครงการเสร็จสิ้น ดังที่เราจะเห็นได้ว่าในระยะ หลังมีเจ้าหน้าที่ของมูลนิธิโรตารีมาติดตามผลทุกปี จุดอ่อน (Weakness) ประการที่หกซึ่งเป็นจุดอ่อนของ โรตารี ไทยเราโดยเฉพาะคือการทำ�งานที่ไม่เป็นทีมและปัญหาการ ทะเลาะเบาะแว้งกันในเรื่องไม่เป็นเรื่อง มีการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย แต่ อย่างไรก็ตามธรรมชาติคนไทยเราหากมีภัยหรือมีปัญหาร่วมกันเมื่อใด ก็จะหันหน้ามาสามัคคีกัน ฉะนั้น การประชุมใหญ่ปี ๒๐๑๒ ตามความ เห็นของผมจึงไม่น่าเป็นห่วงเหมือนกับที่หลายๆท่านกังวล จุดอ่อน (Weakness) ปลีกย่อยประการหนึ่งเท่าที่ผมสังเกต คือเรื่องขนบธรรมเนียมการจัดที่นั่งในงานพิธีหรืองานเลี้ยง ซึ่งก็เป็น สิ่งดีที่ให้เกียรติผู้มีตำ�แหน่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับภาคทั้งที่เป็นอยู่ และเป็นอดีตผู้ว่าฯ ซึ่งในบางครั้งก็กลายเป็นดูเหมือนว่าเป็นการแบ่ง ชั้นหรือ กีดกันโรแทเรียนธรรมดาไป ทั้งๆที่บางท่านมีอาวุโสในโรตารี เป็นหลายสิบปี ซึ่งในประเด็นนี้ก็รวมไปถึงการเป็นวิทยากรก็เช่นกัน ที่มักจะเชิญอดีตผู้ว่าฯเสียเป็นส่วนใหญ่จนบางครั้งไม่มีที่ให้โรแทเรียน เก่งๆหลายคนได้แสดงความรู้ความสามารถ ทีนีห้ น ั กลับมามองปัจจัยภายนอกทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อองค์กรโรตารีเรา ซึ่งก็คือ อุปสรรคหรือภัยคุกคาม (Threat) แน่นอนที่สุดก็คือภาวะ เศรษฐกิจที่ย่ำ�แย่ของโลกที่อาจถือว่าเป็น Great Depression ครั้งใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อการเพิ่มและรักษาสมาชิกภาพและกระทบต่อองค์กร โรตารีโดยรวม ดังจะเห็นได้จากที่เลขาธิการโรตารีสากลได้ออกมาแจ้ง ข่าวถึงผลกระทบนี้ และได้มีการออกมาตรการหลายอย่างเพื่อแก้ไข ปัญหานี้ อาทิ การลดค่าใช้จ่ายของการเดินทางของเจ้าหน้าที่(ซึ่งรวม ตั้งแต่ประธานฯจนถึงระดับล่างสุด) ซึ่งที่ผ่านๆมาระดับประธานฯหรือ กรรมการบริหาร (Director) นั้นเดินทางด้วยชั้นเฟิร์สคลาส บิสสิเนส คลาส พักโรงแรมหลายดาว เป็นต้น ล่าสุดเมื่อเดือนมกราคมที่ผ่าน มา Trustee ของมูลนิธิโรตารีได้มีมติตัดงบฯ Humanitarian Grant ของปี 2008-09 นี้ลงถึง 16.3 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โอกาส (Opportunity) โรตารีเราเป็นองค์กรที่ได้รับความ เชื่อถือว่าเป็นองค์กรในระดับแนวหน้าของโลกมาอย่างยาวนาน หาก จะเป็นรองก็คงเพียงแค่กาชาดสากลเท่านั้น โรตารีเรามีสมาชิกกว่า ๑.๒ ล้านคน ๒๐๐ กว่าประเทศและเขตภูมิศาสตร์ สมาชิกของเราได้ รับการยอมรับนับถือว่าเป็นผู้มีมีเกียรติสูงในสังคม ที่เห็นได้ชัดการ เป็นโรแทเรียนในญี่ปุ่นหรือสหรัฐอเมริกานั้นเป็นยากมาก ฉะนั้น โอกาสของโรตารีสากลเราในการดำ�รงอยูต่ อ่ ไปอย่างมัน ่ คงจึงยังคงมีอยู่ สูงมาก สำ�หรับโอกาสของโรตารีไทยเรานั้นก็คือการได้รับเกียรติ เป็นเจ้าภาพการประชุมใหญ่โรตารีสากลในปี ๒๐๑๒ ซึ่งผมเชื่อว่า วงการโรตารีเราจะกลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งหนึ่ง สรุป จากจุดแข็งและโอกาสที่ผมกล่าวมาข้างต้น ผมคิดว่าโรตารี เรายังคงมั่นคงและ ยังมีอนาคตที่สดใสอยู่ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยสำ�คัญที่สุดก็คือตัวโรแทเรียนเราที่จะทุ่มเทและเสียสละให้แก่ โรตารี มากน้อยเพียงใด ดังคติพจน์ของประธานโรตารีสากล รับเลือก John Kenny ที่ว่า The Rotary Future is in Your Hands นั่นเอง

ธันวาคม ๒๕๕๒


คุยกันที่ขอบเวที

โปลิโอกำ�ลังจะดับ

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

เสี ย งปรบมื อ ที่ ห นั ก แน่ น จากที่ ประชุม 1970-80 โรตารี คอนเวนชั่น ณ.นคร ชิคาโก แสดงว่าโรแทเรียนจากทุกมุมโลก ใน ที่ประชุมนั้นนับหมื่นคน สนับสนุนข้อเสนอ ของนายแพทย์ อัลเบิร์ท เซบิน ผู้ค้นคิด วัคซีนป้องกันโปลิโอชนิดหยอดทางปาก ที่ ชี้ให้โรตารีเห็นช่องทางที่จะทำ�คุณประโยชน์ ให้แก่มนุษยชาติได้ คำ � ชี้ แ นะนั้ น คื อ การทำ � Mess Immunization Ageinst Polio โรแทเรี ย นจำ � นวนหนึ่ ง ถึ ง กั บ บริจาคเงินให้แก่โรตารีเพื่อทำ�โครงการนี้ใน

ธันวาคม ๒๕๕๒

ที่ประชุมอันทรงเกียรตินี้ เมื่อมีผู้สนับสนุนเป็นจำ�นวนมาก คณะกรรมการ บริหารโรตารีสากลจึง ได้ หยิบยกขึ้นพิจารณา เพราะในปีถัดไป อัน เป็ น ปี ที่ โ รตารี ส ากลจะมี อ ายุ ค รบ 75 ปี โรตารี ก็ตอ้ งการทีจ่ ะทำ�โครงการใหญ่ในแนว ที่สอดคล้องกับ โครงการของสหประชาชาติ “1979 International Year of the Child” อยู่ด้วย แต่เมื่อขอคำ�ปรึกษาไปยังองค์การ อนามัยโลกๆ ยังเห็นว่า การที่จะกวาดล้าง โปลิโอให้สิ้นโลก เป็นโครงการที่จะมีค่าใช้ จ่ายเกินกำ�ลัง จึงมิได้สนับสนุนข้อเสนอของ

16 17


17 16

โรตารีสากลตามที่ศึกษามา เมื่อเป็นเช่นนี้ โรตารีจึงได้แนะนำ�ให้สโมสร โรตารีทั่วโลก ทำ�โครงการให้ภูมิคุ้มกันแก่เด็กๆ ใน ชุมชนของตน โดยมีกองทุน“75 ปีโรตารี” ช่วยเหลือ ส่วน โรตารี สากล ก็เริ่มโครงการ “International Inmunization ทาง 3-H Program ร่วมกับสโมสรโรตารี ในประเทศอินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี ฟิลิปปินส์ และ/ หรือประเทศในคาบมหาสมุทรแปซิฟิคตะวันตก รวม 32 ประเทศไปพร้อมกันด้วย ที่สุดก็ได้ตกลงใจที่จะให้วัคซีน แก่เด็กเกิดใหม่ทุกคนในทุกมุมโลก จนกระทั่งมีอายุครบ 5 ปี ไปจนกระทั่งโรตารีมีอายุครบ 100 ปีในปี ค.ศ. 2005 ต่ อ มาโรตารี ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อโครงการนี้ เ ป็ นโครงการ โปลิโอพลัส ( PolioPlus Program) เมื่อปี 1982 “โครงการกวาดล้างโปลิโอให้สิ้นโลก” ของ โรตารี ได้เริ่มขึ้นแล้ว การหาเงิน หาความร่วมมือจาก องค์การระหว่างประเทศ และการหาความร่วมมือจาก คนในวงการโรตารี คือ โรแทเรียนเอง จึงเป็นเรื่องที่ ต้องเร่งรีบให้เหมาะสมกับเวลาที่มี และต้องมีความ ละเอียดรอบคอบ เพื่อให้การดำ�เนินการโครงการเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ การหาเงินมาให้ซื้อวัคซีนและใช้จ่ายในการ บริหารโครงการเริ่มดำ�เนินไปตั้งแต่ปี ค.ศ.1985 อันเป็น ปีที่โรตารีสากลมีอายุครบ 80 ปี โดยตั้งเป้าการระดม เงินจากบรรดาสมาชิกของโรตารีทั่วโลกในระยะเวลา 3 ปี (1985-1988) ให้ได้ 120 ล้านเหรียญสหรัฐ พร้อมกับ การระดมหาเงิน ก็จะได้ให้ความรู้เรื่องการให้ภูมิคุ้มกัน แก่ประชาชนในชุมชน พร้อมกันไปด้วย เมื่อสิ้นเวลา การระดมเงิน ปรากฏว่าโรตารีได้รับเงินบริจาคทั้งสิ้น ถึง 219.35 ล้านเหรียญฯ มากกว่าที่ได้ตั้งเป้าไว้ถึงเกือบ เท่าตัว เพื่อให้การเป็นไปด้วยความราบรื่น โรตารีได้ ให้เงินก้อนใหญ่มูลค่า 15 ล้านเหรียญฯ แก่ธนาคารโลก เพื่อให้จีนใช้ก่อสร้างโรงงานผลิตวัคซีน ป้องกันโปลิโอ ชนิดหยอดทางปากขึ้นที่เมือง คุนหมิง มณฑลยูนนาน มีความสามารถในการผลิตวัคซีนได้ถึง 100 ล้านโด๊ส ต่อปี เป็นการประหยัดเรือ่ งค่าขนส่งวัคซีนไปยังประเทศ ทีโ่ รตารีจะเข้าไปปฏิบตั กิ ารในประเทศริมของมหาสมุทร แปซิฟิคตะวันตกและในประเทศจีน ซึ่งมีประชากร จำ�นวนมากในเวลาใกล้เคียงกัน นายแพทย์ อัลเบิร์ท เซบิน ผู้มีลิขสิทธิ์ในการผลิตวัคซีนก็ได้ยกค่าลิขสิทธิ์ การผลิตวัคซีน ที่โรตารีจะต้องใช้ทั้งหมดให้แก่โรตารี ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายในการซื้อวัคซีนฯ ลดลงเป็นอันมาก การหาความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก ารด้ า น สาธารณสุขของโลก และศูนย์ควบคุมและป้องกันการ ระบาดโรค ของสหรัฐอเมริกา เช่น WHO, UNICEF และ US Center for Disease Control and Prevention ก็ เป็นได้ด้วยดี ทำ�ให้สามารถทำ�โครงการใหญ่ระดับโลกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากได้ใช้จา่ ยเงินทีร่ ะดมมาได้ เงินก็ได้รอ่ ย

หรอลงไปจนเหลือเพียง 80 ล้านเหรียญฯเศษ โรตารีจึง ได้ตั้ง “ PolioPlus Partners” ขึ้น เพื่อให้โรแทเรียน ได้ เข้าใจจึงพันธะที่จะต้องช่วยกัน ให้โครงการโปลิโอพลัส สำ�เร็จลงด้วยดี และได้ตั้งเป้าหาเงินเพิ่มเติมอีกครั้งที่ 2 ในเวลาเดี ย วกั น ก็ ข อให้ สโมสรโรตารี่ ใ นพื้ น ที่ ๆ ยั ง กวาดล้างโปลิโอไม่สำ�เร็จ ช่วยกันหาทุนทรัพย์มาสนับ สนุนกวาดล้างอีกทางหนึ่งด้วย เมื่อโรตารีประกาศว่า ยังต้องการเงินมาซื้อ วัคซีนอีก 200 ล้านเหรียญฯ ก็มีรัฐบาลของประเทศที่ พัฒนาแล้ว ตลอดจนองค์การการกุศลอื่นๆ ช่วยกัน บริจาคเงินจำ�นวนนี้มาให้ ในพื้นที่ๆไม่มีผู้ป่วยโปลิโอเกิดใหม่แล้วก็ยัง จำ�เป็นที่จะต้องเฝ้าระวังโรค (Surveillance) อยู่ต่อไป โดยต้องหยอดวัคซีนฯ ให้แก่เด็กเกิดใหม่อีกระยะเวลา หนึ่ ง และต้ อ งแจ้ งให้ ศู น ย์ เ ฝ้ า ระวั งโรค ทราบถึ ง สถานการณ์ของโปลิโอให้พื้นที่นั้นเป็นระยะๆ การที่ศูนย์เฝ้าระวังโรคจะให้คำ�รับรองว่าพื้นที่ หรื อ ประเทศใดได้ ป ลอดโรคโปลิ โ อแล้ ว พื้ น ที่ ห รื อ ประเทศนั้นจะต้องไม่มีผู้ป่วยโปลิโอเกิดใหม่ เกิดขึ้นอีก เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน และจะต้องไม่มีผู้ป่วยโรคคอตีบ และ ผู้ป่วยโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่นั้นมากกว่า 9 ราย และ 10 รายตามลำ�ดับอีกด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดความ แน่ใจว่าได้มีการฉีดวัคซีนในพื้นที่นั้นๆ อย่างครบถ้วน การควบคุมโรคโปลิโอในประเทศจีน ซึ่งมีพื้นที่และ จำ�นวนประชากรถึง 1 ใน 4 ของโลกโดยประมาณ ที่ สำ�เร็จลงไปแล้วเมื่อปี ค.ศ. 2000 ต้องใช้เวลาทั้งสิ้นถึง 10 ปี การหยอดวัคซีนให้แก่เด็กจำ�นวนมากๆ ใน พื้นที่ทุรกันดารอันซับซ้อน และไม่มีเส้นทางคมนาคม ไปถึง ย่อมมีเด็กที่ไม่ได้รับการหยอดวัคซีนหลุดออกไป จากกลุ่มอย่างแน่นอน เด็กหลุดกลุ่มเหล่านี้อาจเกิดโรค โปลิโอขึ้นจากการขาดภูมิคุ้มกัน แล้วกลายเป็นปัญหา ในการกวาดล้างขึ้นมาอีก เพราะฉะนั้นการกวาดล้าง โปลิโอระยะสุดท้าย ที่เรียกกันว่า Mop Up จึงมีความ สำ�คัญอย่างยิ่งยวด โดยเฉพาะอย่างยิ่งของโรแทเรียน ทั่วโลก ผู้เป็นเจ้าของโครงการอันใหญ่ยิ่งโครงการนี้ ที่ จะต้องช่วยกันเป็นหูเป็นตา และนำ�เด็กหลุดกลุม่ นี้ ออก มารับการหยอดวัคซีนให้ทั่วถ้วน อันจะมีผลให้โรตารี สามารถปิดโครงการได้เร็วขึ้น เป็นที่น่าเสียดายที่นาย แพทย์ อัลเบิรท์ เซบิน ไม่ได้มชี วี ติ อยูจ่ นโครงการสำ�เร็จ ท่านได้เสียชีวติ ลงจากภาวะ หัวใจของท่านล้มเหลว เมือ่ วันที่ 3 มีนาคา พ.ศ.2536 ด้วยวัย 86 ปี นิตยสารของแพทยสมาคมแห่งอเมริกา ได้ กล่าวถึงโครงการโปลิโอพสัสว่า “เป็นโครงการภาค เอกชน โครงการแรก ที่ทุ่มเทความพยายามการให้ ภูมิคุ้มกันโปลิโอแก่เด็กทั่วโลก เป็นโครงการที่น่ายกย่อง เป็นอย่างยิ่ง ทั้งแสดงให้เห็นว่า ชาวโรแทเรียนทั่วโลก มีความสมานฉันท์ และมีไฟอันแรงกล้าในหัวใจ ควรแก่ การภาคภูมิ

ธันวาคม ๒๕๕๒


ศูนย์โรตารีประเทศไทย FG เดือนธันวาคม 2552 ED สวัสดีครับ...เพื่อนสมาชิกที่รักทุกทาน เดื อ นธั น วาคมนี้ โรตารี จ ะร ว มมื อ กั บ กระทรวง สาธารณสุข ในการรณรงค ห ยอดวั ค ซี น ป อ งกั น โรคโปลิ โ อแก เด็ ก ทั่ ว ประเทศ ในวั น ที่ 23 ธั น วาคม ขอให ส โมสรโรตารี ใ น เขตกรุ ง เทพมหานคร ติ ด ต อ ประสานงานกั บ หน ว ยบริ ก าร สาธารณสุข และสโมสรโรตารีที่อยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร ประสานงานไปยั งหนวยงานสาธารณสุขในจั งหวั ด เพื่อ ทํ า ความเขาใจในการรวมมือใหบริการหยอดวัคซีนแกเด็กในพื้นที่ ของทานอยางทั่วถึง นอกจากนี้ ทานสามารถดาวนโหลดขอมูล ที่ เป น ประโยชน เ กี่ ย วกั บ โครงการตอ ตา นโรคโปลิ โ อ รวมถึ ง ขอมูลการแบงพื้นที่ดูแลของศูนยบริการสาธารณสุข และสโมสร โรตารี ใ นกรุ ง เทพมหานคร ได ที่ เ ว็ บ ไซต ข องศู น ย โ รตารี ฯ www.rotarythailand.org ในเดือนนี้ สโมสรโรตารีทุกสโมสรจะตองสงขอมูลการ ติดตอของนายกและเลขานุการสโมสร ใหกับโรตารีสากลเพื่อ จั ด พิ ม พ ใ นหนั ง สื อ ทํ า เนี ย บทางการ ป 2553-54 (2010-11 Official Directory) ขอใหสโมสรสงแบบฟอรมใหกับโรตารีสากล ผูวาการภาครับเลือกของทาน และศูนยโรตารีฯ แหงละ 1 ชุด เพื่อเปนขอมูลในการติดตอกับสโมสรในปหนา หรือสโมสรจะ

ส ง แบบฟอร ม ดั ง กล า วมาเพื่ อ ส ง ต อ ไปยั ง โรตารี ส ากล ศู น ย โรตารี ฯ ยิ น ดี ใ ห บ ริ ก ารเช น กั น ส ว นสโมสรใดยั ง ไม มี แบบฟอรมขอใหแจงขอมายังศูนยโรตารีฯ ไดครับ มี ข า วฝากจากผู แ ทนดู แ ลการเงิ น โรตารี ส ากลฯ ว า สโมสรใดที่ ยั ง ไม ไ ด ชํ า ระค า บํ า รุ ง โรตารี ส ากลงวด 1 กรกฎาคม 2552 ขอใหรีบชําระโดยดวน เพราะหากเกินวันที่ 31 ธั น วาคม 2552 สโมสรของท า นจะถู ก ยุ บ เลิ ก จากการเป น สมาชิ ก ของโรตารี ส ากล (Terminated) อั ต ราแลกเปลี่ ย น เดือนธันวาคมยังอยูที่ 34 บาทตอ 1 เหรียญครับ เ ขณะนี้ คณะกรรมการแปลของศูนยโรตารีฯ กําลังเรง แกไขปรับปรุงเอกสารชุดคูมือเจาหนาที่สโมสร สําหรับนายก และคณะกรรมการสโมสร ป 2553-54 เพื่อที่จะใหเสร็จสมบูรณ พร อ มส ง ให กั บ ผู ว า การภาครั บ เลื อ กของท า นได ทั น ในเดื อ น มกราคม 2553 ครับ ดวยไมตรีจิตแหงโรตารี อผภ.รัฐประทีป กีรติอุไร ประธานคณะกรรมการบริหารศูนยโรตารีฯ

ขาวจากนิตยสารโรตารีประเทศไทย สโมสรใดมีความประสงคจะมอบนิตยสาร ใหกับหองสมุดของโรงเรียนในพื้นที่ของทาน โปรดแจงชื่อและที่อยูของโรงเรียนมายังศูนย โรตารีฯ ที่โทรสาร 0 2661 6719 หรือ e-mail: rotarythailand@yahoo.com; chadaporn@rotarythailand.org ดวยครับ

เมื่ อ วั น ที่ 18 พฤศจิ ก ายนที่ ผ า นมา ที่ ศู น ย โ รตารี ฯ ได มี ก ารจั ด สั ม มนา “หยุดโปลิโอ ดวยมือเรา” โดยความรวมมือระหวางโรตารีในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข และกรุงเทพมหานคร ในการสัมมนาไดมีการพูดถึง สถานการณของโรคโปลิโอในปจจุบัน, นโยบายและมาตรการกวาดลางโรค โปลิ โ อของประเทศไทย, ความสํ า คั ญ ของการหยอดวั ค ซี น โปลิ โ ออย า ง ตอ เนื่ อ ง รวมถึ ง กิ จ กรรมสนับ สนุน รณรงค แ ละประชาสั ม พั น ธ ข องโรตารี ภาค 3350 ในปนี้จะมีการหยอดวัคซีนครั้งแรกในวันพุธที่ 23 ธันวาคม 2552 และครั้งที่ 2 ในวันพุธที่ 27 มกราคม 2553

ตัวเลขโรตารีไทย

ภาค โรแทเรียน สโมสร 3330 2,000 77 3340 1,267 60 3350 2,439 90 3360 1,194 60 รวม 6,900 287 ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ (พ.ย. 52)

ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ธันวาคม โทรสาร 0 2661 6719 e‐mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org โทร. 0 2661 6720‐1

๒๕๕๒

19 18


“วันพ่อแห่งชาติ”

เสียงนก เสียงกา

สวัสดีครับมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน เสียงนกเสียงกาฉบับนี้ ผม อน.ประยูร ศิรินภา พันธ์ และโรตารีแอนน์ของผม อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ จากสโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ ได้รับ เกียรติมาทำ�หน้าที่ ในการจัดทำ�คอลัมน์เสียงนกเสียงกา ซึ่งที่ผ่านมา ทุกท่านได้ติดตามความ รู้สึก จากมวลมิตรโรแทเรียน ในแง่มุมต่าง ๆ แต่ฉบับนี้ เราจะมารับฟังความรู้สึก ของ บุคคล หลายท่าน ที่มีความรู้สึกต่อผู้เป็นคุณพ่อ ในแง่คิดต่าง ๆ บ้างครับ เพราะสารผู้ว่าการภาคฉบับ นี้ เป็นฉบับเทิดพระเกียรติ เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ และวันเฉลิมพระชนม์พรรษา ของผู้เป็นพ่อ ของแผ่นดิน โปรดติดตามผมมาได้เลยครับ นายภควัฒน์ สมสุด (ขลุ่ย) RYLA จากสโมสรโรตารี อุตรดิตถ์ พ่อคือใคร ในความหมายของ ผม พ่อคือคนที่รักเราเสมอ ไม่ว่าเราจะเป็นใครเป็นอะไร ถึงเราจะเกิดมาสมประกอบ หรือไม่สมประกอบ หรือเรา จะดีจะเลวจะชั่วอย่างไร พ่อก็คอยเป็นห่วง และ คอยปกป้องดูแล ไม่วา่ พ่อจะทุกข์ยากขนาดไหน ถ้าเราเอ่ยปากพ่อก็จะทำ�ให้เสมอ พ่อเป็นยิง่ กว่า สิ่งใดทั้งปวง ทำ�ได้ทุกอย่างแม้ชีวาจะหาไม่ พ่อ ผมก็เช่นกันถึงท่านเป็นตัวอย่างที่ไม่ดีมากนัก บางครั้งท่านอาจดื่มสุราและสูบบุหรี่บ้าง แต่ ท่านก็พยายามทีจ่ ะทำ�ตัวเป็นคนดี เป็นตัวอย่าง ที่ดีให้แก่เรา ท่านเปรียบได้ดั่งวีรบุรุษของเรา และสุดท้ายนี้ผมขอบอกว่า ผมจะเป็นลูกที่ดีของพ่อ ผมรักพ่อครับ นาย ศุ ภ ฤกษ์ สิ ง ห์ ใ จมา RYLA จากสโมสรโรตารี เถินดาวน์ทาวน์ นิ ย ามของคำ � ว่ า พ่ อ พ่ อ คื อ ชายคนหนึ่งที่มีความสำ�คัญ ที่ สุ ดในชี วิ ต ของลู ก ทุ ก ๆคน และเป็ น ผู้ ใ ห้ ทั้ ง ความรั ก

18 19

อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภา ความอบอุ่น ความเมตตาปราณี และความเป็น พันธ์ อยู่อย่างสุขสบายแก่ลูกๆทุกคน แล้วพสกนิกร สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ชาวไทยทุกคน ล้วนมีพ่อคนหนึ่งที่ให้ความ เหนือ ห่ ว งใยพสกนิ ก รชาวไทยทุ ก ครั ว เรื อ น ทุ ก ภู มิ ภ าค ทุ ก พื้ น ที่ รวมถึ ง ชาวเขาชาวดอย พระองค์ทรงห่วงใยและเข้ามาดูแล การดำ�รง ชีวิต ให้ความช่วยเหลือแก่พสกนิกรที่ขาดแค ลนหลายๆปัจจัยที่สำ�คัญและทำ�ให้ความเป็นอยู่ ของประชาชนดีขึ้น เพราะน้ำ�พระทัยอันดีงาม ของพระองค์ที่ยังทรงรักและห่วงใยที่มีต่อพสก นิกรชาวไทยทุกคน จึงขอให้พสกนิกรชาวไทย ทุกคน เคารพนับถือและจงรักภักดีต่อพระองค์ ขอทรงพระเจริญ นาย ณั ฐ พงษ์ ยุ ท ธแสบ RYLAจากสโมสรโรตารีแพร่ พระองค์เหมือนดัง่ เทวดาทีใ่ ห้ ชาวไทยได้ร่มเย็น พระองค์ ทรงงานเพื่ อ บรรเทาความ ทุกข์ร้อนและให้เราลูกหลาน คนไทยมีความสุขและอยูด่ กี น ิ ดี พระองค์ทรงสอนให้คนไทย ได้รู้จัก การพออยู่ พอมี พอกิน พอใช้ และใช้ ความรู้ให้อยู่คู่กับแผ่นดิน เนื่องในวันพ่อนี้ เรา ขอรวบสิบนิ้วยกวันทา ไหว้สาองค์ป้อหลวงทุก คำ�ที่พ่อได้สอนไว้ พวกเราจะนำ�มาปฏิบัติ พวก

ธันวาคม ๒๕๕๒


เสียงนก เสียงกา

เราจะเป็นคนดีตามรอยของป้อหลวง ขอให้เรา ชาวไทยรวมหัวใจเป็นหนึ่งเดียว และอธิษฐาน ให้ป้อหลวงมีความสุขทั้งกายและใจขอพระองค์ ทรงพระเจริญ กรณียกิจป้อหมาย ธ เสด็จไป ทั่วไทย แหล่งหล้า ภาคเหนืออีสาร ภาคกลางลุ่มฟ้า ภาคใต้ราชา ป้อไท้ มุ่งบำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุขไว้ คำ�สอนที่ได้ นานา นายภูเบศ จิตรจริง (เบศ) RYLAจากสโมสรโรตารีแพร่

ผมรู้จักความสร้างสรรค์ และทำ�ให้ผมไม่ลังเลที่ จะสร้างคุณค่าให้ตัวเองและสังคม การได้เป็น โรแทเรียนคนหนึ่งก็นับเป็นสิ่งที่ทำ�ผมมีความ ภาคภูมิใจ ผมดีใจที่ได้เกิดมาแล้วมีชายคนนั้น คอยสร้างให้ผมเป็นคนเต็มคนคอยอยู่เคียงข้าง เสมอ ชายคนนัน ้ วีรบุรษ ุ ในดวงใจของผมตลอด กาลคนนั้นคือ พ่อของผมเองครับ...... รทร.อภิ ญ ญา สุ ข แสงศรี สโมสรโรตารีเวียงโกศัย คนรอบข้าง มักจะถามดิฉัน ว่า “เหรียญที่ห้อยคอ” ชอบ มากหรื อ เห็ น ห้ อ ยไม่ เ คย เปลี่ยนเลย ใช่ ข้าพเจ้าไม่ใช่ แค่ชอบ แต่รักอย่างสุดหัวใจ เป็นเหรียญของในหลวงทรง ยก กล้องกำ�ลังถ่ายภาพ ซึ่งตรงกับอาชีพของ ข้าพเจ้า คือสื่อมวลชน.. ภาพแห่งความงดงาม ยามพระองค์ท่าน ทรงงาน....ทุกหนแห่ง.... ไม่ใช่เพื่อพระองค์เอง แต่เพื่อประชาชนของ พระองค์ ทุกครัง้ ทีข่ า้ พเจ้าเฝ้ามองภาพของท่าน ไม่ว่าจะเห็นจาก ณ ที่ใด เป็นเหมือนกันไหม ว่า มันเหมือนมีอะไรมาจุกตรงอก ฉับพลันไม่ เกิน 2 วินาที น้ำ�ตาแห่ง ความปีติ ก็จะไหล ออกมาเอง โดยไม่ได้นัดหมาย คุณเป็นแบบ ข้าพเจ้าไหม เชื่อว่าเป็น ถ้าคุณคือคนไทยรัก แผ่นดินไทย ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ในหลวงคือจุด ศูนย์รวมของ คนไทย..ที่รักแผ่นดิน.....

เมื่อถึงครา ห้าธันวา มหาราช ชนทั้งชาติ ราษฎร เทิดในหลวง ธ เป็นพ่อ แผ่นดิน ไทยทั้งปวง มิหวั่นทรวง ขอพระองค์ ทรงพระเจริญ นับว่าคนไทยโชคดีที่มีพระมหากษัตริย์ เป็นนัก คิด นักพัฒนา อย่างแท้จริง ทรงยึดมั่นในทศพิ ธราชธรรม ธ ทรงเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของชาว ไทยมากว่า 82 พรรษา เป็นศูนย์รวมใจของไทย ทั้งชาติ และก็อย่าลืมพ่อบังเกิดเกล้าของเราเอง ซึ่งเป็นผู้มีพระคุณอันประเสริฐเช่นเดียวกัน สิ่ง เดียวทีจ่ ะตอบแทนพ่อทัง้ สองได้คอื การทำ�ความ ดี เพราะการทำ�ดีเป็นสิ่งที่พูดได้ง่าย แต่ทำ�ได้ ยากยิ่ ง การทำ � ความดี ยั ง ก่ อให้ เ กิ ด ผลดี ต่ อ รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล ตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติ แต่เมื่อไหร่ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ที่เราขาดสติยั้งคิด กิเลสก็จะเข้ามาครอบงำ�เรา คุณพ่อนิทัศน์ให้ชีวิตผม เปิด จะทำ�ให้เราพบแต่ความเดือดร้อน ความหวัง โลกโรตารีให้แก่ผมโดยการนำ� ของพ่ อ แม่ ที่ มี ต่ อ ลู ก คื อ เห็ น ลู ก เป็ น คนดี พ า เ ข้ า สู่ ส โ ม ส ร โ ร ต า รี ทำ�ความดี ประกอบอาชีพสุจริต ที่สำ�คัญคือ เชียงใหม่ คุณพ่อช่างให้อะไร ลูกๆควรเอาใจใส่ดูแลพ่อแม่ และบอกท่านว่า แก่ผมมากมายเหลือเกิน ผม รักพ่อนะ รักคุณพ่อ ขอให้ปา๊ มีความสุข รักในหลวง แล้วอย่างลืม รักพ่อเจ้า สุขภาพแข็งแรง และมาประชุมสโมสรอย่าง ที่คอยเฝ้า ดูแล ไม่ห่างเหิน สม่ำ�เสมอ สมาชิกหลายท่านอยากได้ยินเสียง ลูกบางคน ไม่สนใจ ทำ�เป็นเมิน หัวเราะที่เป็นเอกลักษณ์ของป๊าทุกสัปดาห์ครับ ไม่เจริญ ชีวิต ยิ่งอับจน นย.อธิษฐาน วงศ์ใหญ่ รทร.จตุรยุทธ พรมนิล สโมสรโรตารีลำ�ปาง สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ ครูบา อาจารย์เลยสอนผมว่า “ตราบใดที่เรายังเดินได้ ไป ถ้าเราทำ�บุญ 3000 บุญจะเกิด คล่อง เราควรสร้างคุณค่าให้ เป็ น คนในชาติ ห น้ า อี ก ถ้ า ชีวิตของเรา ให้เป็นสิ่งมีชีวิต ทำ�บาป 3000 บาปจะไม่ได้เกิด ที่มีคุณค่า มีความคุ้มค่าใน เป็ น คนอี ก เลย แต่ ถ้ า เรา การดำ�รงอยู่ มิใช่เพียงการ ประพฤติปฏิบัติต่อพ่อแม่ให้มี เกิ ด มาเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ แ ย่ ง กั น ความสุข ท่านได้รับแล้ว 100,000 บุญ หากทำ� กินแย่งกันใช้ทรัพยากรโลกไปวันๆ ” นี่คือสิ่งที่ พ่อแม่ทุกข์ใจท่านได้รับ 100,000 บาปด้วยเช่น ชายคนหนึ่งได้พร่ำ�บอกผมมาเสมอตั้งแต่ผมยัง กัน เล็ก ชายคนนี้ได้คอยสอนให้ผมรู้จักคิด สอนให้ วันพ่อปีนีจ้ งึ ขอเชิญชวนให้พวกเราได้

ธันวาคม ๒๕๕๒

20 21


ทำ�ความดีเพือ่ พ่อ และขออโหสิกรรม ในสิง่ ทีเ่ ราอาจจะทำ�ให้ ท่านทุกข์ใจ เพื่อให้เราก็สุข พ่อก็สุข ความสุขก็จะเป็น 2 เท่า นย.เอก อิ่มเจริญ สโมสรโรตารีดอยพระบาท “ คำ�ขวัญวันพ่อ “ ลูกติดเกม ลูกติดเพื่อน พ่อไม่บ่น ลูกมีกิ๊ก ลูกมีแฟน พ่อไม่ว่า ลูกกลับดึก ลูกกลับเช้า พ่อไม่ด่า ลูกติดยา ลูกติดบอล พ่ออภัย พ่อคือผู้ชายคนแรกที่ลูกรัก พ่อคือเสาหลักของครอบครัว พ่อคือผู้สูงส่งเหนือหัว รักพ่อตราบชั่วนิรันดร์ นย.สุภัคกานต์ คงธนศุภธร สโมสรโรตารี ศิลาอาสน์ พ่อ....คำ�นี้มีความหมายยิ่งใหญ่ เกินกว่า จะบรรยายได้หมด ด้วยสองมือพ่อที่คอย อุ้มชู ด้วยความรักที่อบอุ่นของพ่อ ที่มีให้ลูก ตลอดชีวิต พ่อ...ยอมเหนื่อย ยอมทุกข์ ยากลำ�บากเพื่อลูก เพียงเพื่อหวังให้ลูกมีความสุข และเป็นคนดีอย่างที่หวัง พ่อ....ในแผ่นดินสยาม อันร่มเย็น แม้ฝนจะตก ฟ้าจะร้อง น้ำ�จะหลาก แดดจะออก พ่อก็ยังคงทำ�งานหนักอยู่ตลอด เหงื่อทุกหยดของพ่อ แลก ความอยู่เย็นเป็นสุขของพสกนิกรทุกคน พ่อไม่เคยมีแม้แต่คำ�บ่นใดๆเลย พระคุณพ่อยิ่งใหญ่ล้นฟ้า เรามาร่วมกันตอบแทนบุญคุณพ่อ ด้วยการสร้างความรัก ความสามัคคี ปรองดองสมานฉันท์ ร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และใช้ชีวิตด้วยความพอเพียง ตามแนวพระราชดำ�ริของพ่อ พ่อผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูกทุกคน อน.ศิริรัตน์ เจริญวงศ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ใต้ แด่......พ่อ รักของพ่อก่อแกร่งกว่าแท่งผา รวมแผ่นฟ้าแผ่นดินไม่เทียบได้ มีพระคุณล้นเกล้าแต่เยาว์วัย ดวงหทัยลูกรู้อยู่เต็มทรวง รัก รัก รัก รักพ่อจะขอรัก พ่อพิทักษ์ปกป้องแสนห่วงหวง คอยขจัดปัดป้องภัยทั้งปวง ลูกทั้งปวงก้มกราบพ่อขอสุขเทอญ

ทรัพย์มรดกที่ท่านมีมาให้ มากก็ดี ไม่ มากก็อย่ากังวล เมื่อรับมรดกจากท่านมา ยามที่ท่านอยู่ใย วัยที่กำ�ลังก้าวข้ามสู่คำ� ว่า ผู้ชราภาพไม่ว่าคุณพ่อหรือคุณแม่ก็ จงให้ ก ารดู แ ลท่ า นทั้ ง สอง ตอบแทน พระคุ ณให้ ม ากๆ ยามที่ ท่ า นยั ง มี ล ม หายใจอยู่ มีสองมือสองขา ถึงคนเราจะ มีความแตกต่างกัน รวยล้นฟ้าอย่างไร หากทำ�ตัวเหลวไหลก็รักษาทรัพย์สมบัติเหล่านั้นไม่ได้อยู่ดี การตั้งมั่นเป็นคนสร้างคุณความดีเท่านั้นที่จะคงทนต่อทุก สิ่งทุกอย่างได้ ตามที่ท่านทั้งสองเฝ้าบ่มสอนจากปากทุกเมื่อ เชื่อวัน นี่แหละถึงจะเรียกว่าเป็นลูกที่ดีของคุณพ่อคุณแม่ และไม่ทำ�การใดๆ ที่จะทำ�ให้ท่านไม่สบายใจ สิ่งนี้แหละคือ ของขวัญอันวิเศษที่ท่านทั้งสองต้องการจากคนที่ได้ชื่อว่า “ลูก”… นย.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ สโมสรโรตารีแม่สาย เมื่อผมเป็นพ่อ.....มีลูก เป็นสองมือ อุ้มชู เลี้ยงดูลูก เป็นสายใย พันผูก คอยห่วงหา เป็นอ้อมกอด อบอุ่น ค้ำ�จุนมา เป็นสายตา ห่วงใย ใคร่อาทร ยามเจ็บไข้ เฝ้าดูแล ด้วยชีวิต ยามพลั้งผิด ท่านอบรม คอยบ่มสอน ยามเหนื่อยหน่ายกำ�ลังใจไม่สั่นคลอน ยามใดใด ยังอาทร ไม่เปลี่ยนแปร ด้วยความรัก ของพ่อ ที่ยิ่งใหญ่ ด้วยหัวใจ สะอาดใส เป็นแน่แท้ ด้วยชีวิต เพื่อลูก .. เฝ้าดูแล ด้วยสองมือ ไม่ผันแปร เป็นอื่นใด เมื่อผมเป็นลูก......มีพ่อ รักของพ่อบริสุทธิ์ดั่งสายฝน ที่ท่วมท้นไนไจลูกไม่จางหาย ลูกคนนี้จะรักพ่อจนวันตาย ก็ไม่คลายความรักที่ลูกมี รักของพ่อยิ่งใหญ่มีใครเท่า พ่อคอยเฝ้าดูแลเราไม่หน่ายหนี ท่านคอยสอนให้ฉันเป็นคนดี ขอมอบกลอนนี้ให้แด่พ่อเอย เมื่อความรู้สึกเป็นทั้งพ่อ เป็นทั้งลูก สุดบรรยาย มีความหมายลึกซึ้งต้องพึ่งคำ�กลอน

รทร.เชาวรินทร์ ตายัน สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันออก คำ�ว่า “พ่อ” ความหมายในพจนานุกรม ชีวติ ของลูก มีความหมายเกินกว่าจะเขียน หรือร้อยเรียง ให้คำ�อธิบายถึง ความหมายได้ . ....แต่ ส่ื อ ความหมายได้ ด้วยความรู้สึกว่า “พ่อ” คือผู้ก่อกำ�เนิดเกิดชีวิตใหม่ “พ่อ” คือผู้ให้ความรักและศักดิ์ศรี อน.วีรวิทย์ ฉันทวรางค์ เลขานุการสโมสรคนเก่ง ของสโมสร “พ่อ” คือผู้ให้ธรรมและความดี โรตารีสุโขทัย แบบอย่างมีความเจริญให้เดินตาม. อย่าไปคาดหวังสิ่งใดๆ จากคุณพ่อคุณแม่ เพียงแค่ท่านให้ ด้วยจิตคารวะและทูลเกล้าถวายแด่ “พ่อของแผ่นดิน” มอบร่างกายของเรานี้ก็ควรจะดีใจแล้ว อย่าไปหวังอะไรกับ และขอคารวะบูชาแด่พ่อทุกคน

21 20

ธันวาคม ๒๕๕๒


Behind the scene

“รักษ์น้ำ� สร้างฝาย ถวายในหลวง”

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

สวัสดีค่ะมวลมิตรโรแทเรียนทุก ท่าน เดือนนี้เป็นเดือนธันวาคม เป็น เดือนที่ชาวไทยทั่วประเทศ และทั่วโลก ต่ า งชื่ น ชมยิ น ดี ที่ จ ะได้ ร่ ว มใจกั น ทำ�ความดีเป็นพิเศษ เพื่อเฉลิมฉลอง และถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวัน เฉลิมพระชนม์พรรษา พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช หรื อ ในหลวงของเรา เช่ น กั น เพื่ อ เป็ น การเทิ ด พระเกี ย รติ พ ระองค์ ท่ า น คอลั ม น์ ข้ า งหลั ง ภาพ ได้ นำ � บทความ จากบุ ค คลซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การดำ � เนิ น กิจกรรม โครงการตามแนวพระราชดำ�ริ พต.อำ�นาจ เลี่ยวปรีชา จากสโมสรโรตา รีล้านนาเชียงใหม่ ซึ่งโรตารีภาค 3360 ของเราได้ ทำ �โครงการตามแนวพระ ราชดำ�ริ ติดต่อกันมาเป็นเวลา 3 ปี ได้แก่ โครงการสร้างฝายถวายในหลวง โปรด ติดตามเรามาได้เลยค่ะ 1.ความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความสำ�คัญของการอยู่ รอดของ “ป่าไม้” ความอยู่รอดของป่า ไม้คือน้ำ�อันเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสนออุปกรณ์ อันเป็นเครื่องมือที่จะใช้ประโยชน์ฟื้นฟู ป่าไม้ที่ได้ผลดี โดยให้ใช้ฝายกั้นน้ำ� หรือ เรียกว่า cheek Dam “ฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร” หรืออาจเรียกว่า “ฝายชะลอความชุ่ม ชื้น” กองทั พ บก ได้ ร่ ว มกั บ ส่ ว น ราชการและภาคเอกชน ประชาชน ได้ พิจารณาร่วมกันสนองแนวพระราชดำ�ริ ดังกล่าว ทั้งนี้โดยมุ่งหวังให้ประโยชน์ต่อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ป่ า ไม้ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอั น เป็ น ต้ น น้ำ � ลำ � ธาร การ

ธันวาคม ๒๕๕๒

ป้องกันอุทกภัยและไฟป่า การกักเก็บน้ำ�เพื่ออุปโภคและ บริ โ ภค รวมทั้ ง ก่ อให้ เ กิ ด ความหลาก หลายทางชีวภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อประชาชน และเป็นการเจริญรอยตาม เบื้ อ งยุ ค ลบาท ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว โดยกำ�หนดให้มีการสร้าง ฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร เพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟู ทรั พ ยากรธรรมชาติ ป่ า ไม้ แ ละสิ่ ง แวดล้อมในพื้นที่กำ�หนดไว้ เพื่อสนอง พระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเพื่อสนับสนุน ตอบนโยบายของรัฐบาลให้บงั เกิดผล โดย เฉพาะโครงการอบรมผู้นำ�เยาวชนโรตารี (RYLA) โดยมีเป้าหมายในการ บูรณาการ ก่อสร้างฝายต้นน้�ำ ลำ�ธารแบบผสมผสาน จำ � นวน 14 ฝายในพื้ น ที่ ห ลั ง สถานี โทรทัศน์ช่อง 7 ดอยสุเทพ ระหว่างวัน ที่ 20-24 ตุลาคม 2552 ที่ผ่านมา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อชะลอการไหลและลด ความรุนแรงของกระแสน้ำ�ในลำ�ธาร ไม ให้ ไ หลหลากอย่ า งรวดเร็ ว และทำ � ให้ น้ำ�ซึมลงดินได้มากขึ้น เพิ่มความชุ่มชื้น ส่งผลให้เกิดความหลากหลายของระบบ นิเวศป่าต้นน้ำ�ลำ�ธาร 2.2 เพื่อลดความรุนแรงของการ เกิ ด การชะล้ า งพั ง ทลายของดิ น และ สามารถกักเก็บตะกอนและซากพืชทีไ่ หล ลงมา กับน้ำ�ในลำ�ธาร ซึ่งจะช่วยยึดอายุของ แหล่งน้ำ�ตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง และ ทำ�ให้มีปริมาณและคุณภาพของน้ำ�ที่ดี ขึ้น 2.3 เพื่อกักเก็บน้ำ�ไว้เป็นแหล่ง

22 23


น้ำ� สำ�หรับใช้ในการอุปโภค บริโภค ของมนุษย์และ 3.5 ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางด้าน สัตว์ป่า ตลอดจนการเกษตรกรรม ชีวภาพให้แก่พื้นที่ 3.6 เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของน้ำ�และแหล่ง 3. ประโยชน์ของฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร น้�ำ เพือ่ การอุปโภคบริโภคของมนุษย์และสัตว์ปา่ ต่าง 3.1 ช่วยเก็บกักน้ำ�ชะลอไว้ให้อยู่บนพื้นผิว ๆ ตลอดจนมีน้ำ�ใช้เพื่อการเกษตรกรรมอีกด้วย ดินได้นานขึ้น น้ำ�มีเวลาซึมผ่านผิวดินลงสู่ใต้ดิน (Infiltration) มากขึ้นดินสามารถเก็บ (อุ้ม) น้ำ�ไว้ 4. วิธีดำ�เนินการ 3.2 ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่า เนือ่ งจาก 4.1 ขั้นการเตรียมการ การกระจายความชุ่มชื้นมากขึ้น สร้างระบบการ 4.1.1 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนองค์กรภาค ควบคุมไฟป่า ด้วยแรงป้องกันไฟป่า ป่าเปียก (Wet รัฐ ภาคเอกชน สถานบันการศึกษา นักวิชาการ Fire Break) สือ่ มวลชนและประชาชนทัว่ ไป เข้าร่วมก่อสร้างฝาย 3.3 ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และ ตามแนวพระราชดำ�ริ ลดความรุนแรงของกระแสน้ำ�ในลำ�ห้วยทำ�ให้ระยะ 4.1.2 สำ�รวจสภาพพื้นที่ และรูปแบบของ เวลาการไหลของน้ำ� เพิ่มมากขึ้น ความชุ่มชื้นมี ฝายต้นน้ำ�ลำ�ธารที่เหมาะสมกับภูมิประเทศมาก เพิ่มขึ้น และแผ่กระจายความชุ่มชื้นออกไปเป็นวง ที่สุด กว้างในพื้นที่ทั้งสองฝั่งของลำ�ห้วย 4.1.3 จัดประชุมหน่วยงานที่เข้าร่วมโครง 3.4 ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่าง ๆ ที่ การฯ ได้แก่ มลฑลทหารบกที่ 33 กำ�นัน ผู้ใหญ่ ไหลลงมากับน้ำ�ในลำ�ห้วยได้ดี เป็นการช่วยยืดอายุ บ้าน ประชาชนตำ�บลดอนแก้ว อปพร.ตำ�บลดอน แหล่งน้ำ�ตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง คุณภาพของน้ำ� แก้ว พลังแผ่นดิน กองพันพัฒนาที่3 กองพันทหาร มีตะกอนปะปนน้อยลง ปืนใหญ่ที่ 7 กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3

23 22

ธันวาคม ๒๕๕๒


ข้างหลังภาพ

กองพันสัตว์ต่าง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อ เตรียมการดำ�เนินการก่อสร้างตามโครงการดังกล่าว ต่อไป 4.2 ขั้นการดำ�เนินการ 4.2.1 ดำ�เนินการก่อสร้างฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร แบบท้องถิ่นเบื้องต้นหรือที่เรียกทั่วไปว่า “ฝาย แม้ ว ” (แบบผสมผสาน) ซึ่ ง ก่ อ สร้ า งด้ ว ยวั ส ดุ ธรรมชาติทีม่ อี ยู่ เช่น กิง่ ไม้และท่อนไม้ลม้ ขอนนอน ไพร ขนาบด้วยก้อนหินขนาดต่างๆในลำ�ห้วย ซึ่ง เป็นการก่อสร้าง แบบง่าย ๆ ก่อสร้างในบริเวณ ตอนบนของลำ �ห้วยหรือร่องน้ำ � ซึ่งสามารถดัก ตะกอนชะลอการไหลของน้ำ� และเพิ่มความชุ่มชื้น บริเวณรอบฝายได้เป็นอย่างดี โดยพื้นที่ในการ ดำ�เนินการเหมาะสมสำ�หรับการก่อสร้างฝายผสม ผสานแบบกระสอบ

ธันวาคม ๒๕๕๒

4.2.2 ดำ�เนินการสร้างฝายตามจำ�นวนที่ กำ�หนดไว้ 4.2.3 เมื่อดำ�เนินการแล้วเสร็จ ปักป้าย โครงการ “รักษ์น้ำ� สร้างฝาย ถวายในหลวง” 5. ผลการดำ�เนินการ การดำ�เนินการก่อสร้างฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร ได้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ เ กิ น เป้ า หมายที่ ตั้ ง ไว้ โ ดย ทำ�การก่อสร้างฝายทั้งหมด และทุกภาคส่วนมีส่วน ร่ ว มสนองตามแนวพระราชดำ � ริ โดยร่ ว มกั น ก่อสร้างฝายต้นน้ำ�ลำ�ธาร สร้างความชุ่มชื้นให้แก่ พื้นที่ดอยสุเทพ ดักตะกอนจากการชะล้างพังทลาย ของดิน ลดความรุนแรงของกระแสน้ำ�ในลำ�ห้วย ทำ �ให้ ร ะยะเวลาการไหลของน้ำ �ในช่ ว งฤดู แ ล้ ง ยาวนานขึ้น ลดการเกิดไฟป่า รวมทั้งเพิ่มความ

25 24


24 25

หลากหลายทางชีวภาพแก่พื้นที่ประชาชนในพื้นที่ และสุดท้าย ปีหนูกำ�ลังจะผ่านพ้นไป ปีวัว ได้รับประโยชน์จากการสร้างฝายต้นล้ำ�ลำ�ธาร เห็น กำ�ลังจะเยื้องย่างมา ถือโอกาสนี้ส่งความสุข สู่ทุก ความสำ�คัญของพื้นที่ต้นน้ำ�ลำ�ธารและพร้อมที่จะ ท่านด้วยบทกลอนปีใหม่ เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ และสิง่ แวดล้อม ในพืน ้ ที่ ได้ฤกษ์เปิดศักราช 2553 ดอยสุเทพ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ตลอดไป การบู สุขสราญสนองจิตไม่คิดหาย รณาการให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมตอบสนอง ให้ได้ดั่งที่จิตตั้งไม่เว้นวาย ตามนโยบายของรัฐบาล และเพื่อถวายเป็นราชสัก สุขไม่หาย ทุกข์มลายหายหมดไป การะเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ขอมวลมิตรโรแทเรียนทุกๆ ท่าน เนือ่ งในวันเฉลิมพระชนม์พรรษา พระบาท สุขสำ�ราญดั่งที่คิดจิตสุขสม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มี ปีใหม่นี้ ขอให้ท่านสุขภิรมย์ พระชนม์มายุครบรอบ 82 พรรษา ขอพระองค์ทรง สุข สุข สมตลอดปีนี้ด้วยเทอญ พระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมฯลฯ

ธันวาคม ๒๕๕๒


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

ธันวาคม ๒๕๕๒

26 27


โรตารีถือเป็น เดือน แห่งการรายงาน นายกรับเลือกและเลขานุการ (Rotary Club Officer Report) เพื่อเตรียมทำ�งานในปีต่อไป ทุกสโมสรจะต้องส่งชื่อก่อนวันที่ 15 ม.ค. นี้ เท่าที่สำ�รวจยังขาดอยู่ประมาณ 20 สโมสร รีบหน่อยนะคะ

เดือนนี้มีเรื่องให้เล่ามากมาย ทั้งในโอกาสที่เป็น เดือนสุดท้ายแห่งปี ใครต่อใครก็เตรียมฉลองส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ สำ�หรับคนไทยพิเศษยิ่งกว่านั้นเป็นการ เฉลิมฉลองวันพ่อ และมีวันหยุดมากมาย เหลือเวลา ทำ�งานไม่กีว่ น ั (รองจากเดือนเมษายนซึง่ จะมีวน ั หยุดเยอะ ที่สุด) โรตารีถือเป็นเดือนแห่งการรายงาน นายกรับเลือก และเลขานุการ (Rotary Club Officer Report) เพื่อเตรียม ทำ�งานในปีต่อไป ทุกสโมสรจะต้องส่งชื่อก่อนวันที่ 15 ม.ค. นี้เท่าที่สำ�รวจยังขาดอยู่ประมาณ 20 สโมสร รีบหน่อยนะ คะ

27 26

ธันวาคม ๒๕๕๒


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

ในช่วงวันที่ 25-26 พ.ย. 2552 มีการประชุม GET (Governor Elect Training) ที่กรุงมะนิลา เป็นรอบที่ผู้ว่าการภาครับเลือกของ Zone 6B 7A และ 10 B จะไปเข้ารับการฝึกอบรมอย่างย่อแต่เข้มข้นเพื่อเตรียมตัวไปอบรม ใหญ่พร้อมกันทั้ง 530 ภาคในเดือนมกราคม 2553 ที่ แซนดิเอโก และในวัน ที่ 27-29 พ.ย. มีการประชุมสถาบันโรตารี (Rotary Institute Seminar) ของ ทั้ง 3 Zones ว่าเรื่อง GET เสียก่อน ผวล.จากทุกภาคเข้าร่วมประชุม ไม่มีผู้ใด ขาด แต่ spouse ขาดไป 2 คน เป็นคนไทยเสียทั้งคู่ ดิฉันเลยฉายเดี่ยว และ เป็นครั้งแรกที่ความรู้สึกเปลี่ยนไปบ้างเล็กน้อย ด้วยเหตุที่เคยแต่วางตัวเป็น โรแทเรียน คราวนี้เขาสั่งให้เป็น spouse เลยบทบาทสับสนเป็นบางครั้ง เพราะเป็นเรื่อง “หลังบ้านคุยกัน” นอกจากจะจัดโปรแกรมให้หลังบ้านได้ ทำ�ความรู้จัก สนิทสนมกัน เขายังสอนวิชาโรตารีพื้นฐาน และวิชาว่าด้วย การวางตัวในฐานะ spouse อีกด้วย น่าสนใจไม่น้อย เราเดินทางถึงมะนิลาในเย็นวันที่ 24 เริ่มด้วยงานเลี้ยงต้อนรับ เรา โชคดี มีเพื่อนดี PDG.Lina ซึ่งเป็น RFE ที่เคยมาพักที่บ้านหลายครั้ง ขับรถ มารับ ส่งที่โรงแรม พาไปงานเลี้ยง เพราะเวลาลงเครื่องนั้นเกือบทุ่ม หาก มาตามปกติคงต้องมาล้างจานในงานเลี้ยง PDG.Lina ก็จัดการเสียจนมาทัน นั่นแหละ เช้าวันที่ 25 เป็นวันแรกของการประชุม เขาจัดชั้นเรียนให้อยู่ห้อง เดียวกับ ผวล. ทำ�ให้เราได้เห็นบรรยากาศของการประชุมของ ผวล. หลัง จากนั้นจับแยกห้อง รวมห้อง สลับที่นั่ง สลับกลุ่ม แต่เป็นการอบรมเข้มทั้ง วัน ตอนเย็นมีงานเลี้ยง สนุกสนานมาก คนฟิลิปปินส์เก่งร้องรำ�ทำ�เพลง ช่วยให้บรรยากาศครึกครื้นได้มาก วันที่ 26 เป็นวันทัศนศึกษาเพื่อให้สนิทสนมกัน ดิฉันได้รับโอกาส พิเศษ ได้รับเชิญเข้าร่วมฟังหัวข้อ The Future Vision ร่วมกับ ผวล. เลย ได้แต่มาส่งกรุ๊ปแล้วแยกไปประชุม และมารับกรุ๊ปหลังประชุม ภาคกลางคืน เป็นวันรับปริญญาซึ่งจัดได้หรูหรามาก วัดความตื่นเต้นจาก spouse พบว่า ตื่นเต้นมากราวกับว่าเป็นผู้ได้รับปริญญาเสียเอง ทั้งๆที่ไม่ใช่หรอก เขาให้ ผวล. ต่างหาก เพราะ ผวล. เรียนหนังสือตั้งแต่ 8.00 – 18.00 น. แล้วต่อ

ธันวาคม ๒๕๕๒

28 29


29 28

งานกลางคืนทุกคืน สรุปว่ามีงานทั้งสามคืนและ เรียนเต็มสองวัน วันที่ 27 พ.ย.เป็น pre-institute มีการ สัมมนาในหัวข้อต่างๆแล้วแต่จะเลือกลงทะเบียน พวกเราเข้าประชุมมูลนิธิกันหลายคน ทั้งนี้เพราะ เป็ น ส่ ว นที่ จ ะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงมากที่ สุ ด โดย เฉพาะอย่างยิ่งในภาคที่เป็น pilot เช่น 3360 น่า ชื่นชมโรแทเรียนทั้งหลายที่ให้ความสนใจเพราะจะ มีประโยชน์อย่างยิง่ ในช่วงปรับเปลีย่ น อผภ.อนุวตั ร ภู ว เศรษฐ พร้ อ มเต็ ม ที่ ที่ จ ะรั บ หน้ า ที่ ป ระธาน trainer ของภาค ผ่านการอบรมเรียบร้อย ตอนบ่ายของวันที่ 27 เป็นพิธีเปิดที่หรูหรา และรุงรังไปในตัวเพราะมีที่นั่งไม่เพียงพอ ผู้เข้า ร่วมประชุมจากฟิลิปปินส์กว่า 500 คน ใต้หวัน 260 คน ไทย 160 คน ที่อื่นๆอีก รวมกันกว่า 1000 คน แต่ห้องประชุมจุได้ 700 ที่นั่ง หลับตานึกภาพความ โกลาหลได้เลย ที่ยิ่งไปกว่านั้นคือหลังพิธีเปิด ทุก คนต้องออกจากห้องประชุมมาทาน cocktail เพื่อ ให้เจ้าหน้าที่จัดโต๊ะ แล้วกลับเข้าไปงานเลี้ยงใหม่ อีก ในวันถัดมาเป็นการประชุมเต็มวัน กลาง คืนมีงานเลี้ยงแต่งชุดประจำ�ชาติ วันนี้แหละที่คน ไทยแต่งตัวชุดเซิ้ง จะไปแสดงบนเวทีเพื่อเชิญชวน ให้โรแทเรียนมาร่วมประชุมสถาบันโรตารีที่ไทยจะ เป็นเจ้าภาพในเดือน พ.ย. ของปีหน้า สาวๆจาก 3360 ได้แสดง spirit ร่วมแจมบนเวทีได้เป็นอย่าง ดี ใครเป็นใครคงมีผู้ถ่ายภาพมามากมาย เราได้อะไรมาจากมะนิลา … นี่เป็นคำ�ถาม

ใหญ่ คนเป็นพัน คงได้พันเรื่องนั่นแหละ การ ประชุมแบบนี้เป็นที่นัดพบกันระหว่างผู้นำ�โรตารี เป็นโอกาสของการ update ข้อมูล เป็นที่พบ ระหว่างคนที่เล็งๆจะทำ�โครงการด้วยกัน pilot ก็ อยากเจอ pilot ส่วนคน non-pilot ก็สงสัยเหมือน กันว่าจะเอายังไงกันนี่ เราพบทั้ง PDG. George Lim, PDG. Porite, และ DGE. Surgeon จากภาค 3500 จากใต้หวัน เป็นสัญญาณว่าเราน่าจะมีโอกาส ทำ �โครงการน้ำ � ร่ ว มกั น ในปี ห น้ า เนื่ อ งจาก โครงสร้างใหม่เปลี่ยนแปลงไปมาก ภาคต้องการ สโมสรที่ เ ข้ ม แข็ ง มาประสานให้ ห ลายๆสโมสร ทำ�งานร่วมกัน หน้าที่ของ spouse ก็คือ ต้องรู้ว่า spouse ของ DGE Surgeon มีหน้าที่เที่ยวใน ประเทศต่างๆปีละ 6 ครั้ง และภาค 3500 ตั้งใจจะ ทำ�งานร่วมกับภาคเรา “หลังบ้านต้องคุยกับหลัง บ้าน” ไปตามระเบียบ สำ�คัญอยู่ที่ว่า ทุกสโมสรต้องเริ่มสำ�รวจ ข้อมูลของตนเอง ว่าพร้อมที่จะทำ� MOU กับภาค เพื่อขอทุนสนับสนุนในการทำ�โครงการไหม????? หลังเดือนมกราคม 2553 เราจะเริ่มทำ�งานด้วยกัน อย่างน้อยๆทุกสโมสรต้องมีคณ ุ สมบัตพ ิ ืน ้ ฐานทีค่ รบ นายกและเลขาต้องเข้าประชุม และทำ� MOU กับ ภาค ตอนนี้ ส่งชือ่ นายกรับเลือกและเลขานุการ สโมสรก่อนแล้วกัน นะคะ ส่งรูปกิจกรรม spouse มาให้ดูด้วยค่ะ

ธันวาคม ๒๕๕๒


หนึ่ง ใน ๑๐๐

อน.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนา เชียงใหม่

โรแทเรียนในภาค ๓๓๖๐ ไม่มใี ครทีไ่ ม่รู้ จัก อผภ. ดร. ศุภวัตร ภูวกุล ผู้ที่มีบทบาทใน วงการโรตารีอย่างเข้มแข็ง โดยท่านเป็นประธาน สภาอดีตผูว้ า่ การภาคในประเทศไทย เป็นตัวอย่าง ที่ดีของโรแทเรียน จนได้รับฉายาว่าซุปเปอร์แมน ฉายานี้ไม่ได้เรียกกันเฉพาะโรตารีในประเทศไทย เท่านั้น ภาคอื่นๆ ในต่างประเทศก็เรียกท่านว่า ซุปเปอร์แมนแม้ในการประชุมสถาบันโรตารีทีป่ ระ เทศฟิลิปินส์เมื่อเร็วๆ นี้ แสดงให้เห็นว่าบทบาท ของท่านเป็นที่ยอมรับของโรแทเรียนทั้งในระดับ ภาคและระดับโซน ในโอกาสที่เราจัดทำ�สารผู้ ว่าการภาคฉบับวันพ่อ เราจะพาท่านไปพบกับอีก หลายบทบาทของ อผภ. ดร. ศุภวัตร ภูวกุล ซึ่ง เป็นพ่อผู้บำ�เพ็ญประโยชน์ทั้งต่อครอบครัว ต่อ

สังคม และการกุศลอื่นๆ เราไปพบกับท่านเลยค่ะ ๑ ในร้อย : สารผู้ว่าการภาคฉบับนี้เป็นฉบับวัน พ่อ คอลัมน์ ๑ ในร้อยขอถือโอกาสสัมภาษณ์คุณ พ่อผู้บำ�เพ็ญประโยชน์ ท่านเปรียบเสมือนเป็นพ่อ ของเราชาวโรแทเรียนจึงอยากรู้จักและรับฟังการ ทำ�งานของท่านเพื่อเป็นแนวทางให้แก่พวกเรา อผภ. ศุภวัตร : ขอบคุณมากที่ให้โอกาสผมได้ แบ่งปันเรื่องราวบางอย่าง ผมเคยได้รับรางวัลพ่อ ดีเด่นแห่งชาติเมื่อปี ๒๕๓๗ และได้รับรางวัลนัก สังคมสงเคราะห์ดีเด่นของสภาสังคม สงเคราะห์ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ นานพอๆ กันนี่แหละ ๑ ในร้ อ ย : แสดงว่ า ท่ า นทำ � งานด้ า นสั ง คม

บทสัมภาษณ์ ธันวาคม ๒๕๕๒

อผภ.ศุภวัตร ภ 30 31


สงเคราะห์ นานมาแล้ว อผภ. ศุภวัตร : มากกว่า ๓๐ ปี ปัจจุบันเป็นประธานภาค ๙ ของ สภาสังคมสงเคราะห์ ดูแลด้านสังคมสงเคราะห์ในแปด จังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ในร้อย : ท่านได้รับหลายรางวัล พวกเราไม่ค่อยได้ทราบกัน อผภ. ศุวัตร : ไม่ได้บอกใคร ๑ ในร้อย : ท่านมีลูกกี่คน อผภ. ศุภวัตร : มีลูก ๔ คน หลาน ๑๐ คน น่าภูมิใจมากที่ หลานสิบคนนี้ เรียนเก่งหมดทุกคน สอบเข้าเรียนที่ไหนก็สอบ ได้ ๑ ในร้อย : ภาษิตเขาบอกว่ามีลูกดีถือว่ามีบุญ มีหลานดีก็ยิ่งมี บุญใหญ่ อผภ. ศุภวัตร : ลูกทั้ง ๔ คนได้พึ่งพาหมด ทุกวันนี้ลูกก็ดูแล อย่างดี ผมไม่ต้องการสนับสนุนเรื่องเงินทองจากลูก มีรายได้ ส่วนตัวนิดๆ หน่อยๆ แต่ที่ต้องการคือเราเป็นคนทางเหนือ เดือนเมษายนต้องการให้เขามาดำ�หัวตามประเพณี ต้องการอย่าง เดียว ซึ่งเขาก็ดูแลดี บางคนก็เอาเงินมาให้ เราก็รับเอาไว้ ถ้า มากก็คืนเขาไป แต่ก็ต้องรับเอาไว้เพราะไม่อย่างนั้นจะขาดตอน เพราะเมื่อเขาเอามาให้เราก็ต้องรับเอาไว้ในฐานะเป็นพ่อ ตั้งแต่ แม่ยังมีชีวิตอยู่เขาก็เอามาให้ จริงๆ เราไม่ต้องการเอาเงินของ ลูก ๑ ในร้อย : ตอนที่ท่านเลี้ยงลูกเล็ก ๆ เหนื่อยไหมคะ อผภ. ศุภวัตร : ไม่เหนื่อย แต่ช่วงนั้นก็ทำ�งานหลายอย่าง เคย ล้มลุกคลุกคลานมาหลายเรื่อง เคยทำ�น้ำ�อัดลมยี่ห้อโฟร์สตาร์ หรือว่าสี่ดาว ตอนนั้นขาดทุนจนสิ้นเนื้อประดาตัวหมดเลย ขาย รถยนต์และขายของทุกอย่าง ใช้หนี้พอดีๆ มีเงินเหลือศูนย์บาท แล้วก็ไปกูเ้ งินธนาคารกรุงเทพพาณิชยการมาเริม่ ดำ�เนินงานใหม่ ตอนนั้นสู้กับบริษัทคูลเลอร์ บริษัทไบร์เลย์ บริษัทวังสิงห์คำ� สู้ กันจนคู่แข่งล้มกันไป เราก็ยังไม่ล้มเราสู้แล้วเราภาคภูมิใจนึกว่า เราชนะ เหตุผลที่ล้มเพราะรัฐบาลเก็บภาษีน้ำ�อัดลมขวดละ 10 สตางค์ ภาษีให้เทศบาลอีก 1 สตางค์ เท่ากับว่าหนึ่งโหลเราต้อง เสียเงินไปอีก 1.32 บาท ในขณะที่โหลหนึ่งเราขาย 8 บาท ถ้า ไม่ต้องเสียภาษี 1.32 บาทก็คือกำ�ไรของเรา ทุกคนที่ล้มเพราะ ภาษีตัวนี้ เมื่อก่อนที่เราทำ�ไม่มีภาษีเราก็ได้กำ�ไรตัวนี้ พอเริ่ม ภาษีทกุ คนก็ขาดทุน กว่าจะเลิกเราช้ากว่าคนอืน ่ เลยเสียหายมาก การทำ�ธุรกิจถ้าคิดว่าเราคิดว่าขาดทุนก็ควรจะเลิกทันทีเพราะเรา ยังมีทรัพย์สน ิ อยูจ่ �ำ นวนมาก พอทำ�ไปจนกลายเป็นขาดทุนสะสม ๑ ในร้อย : ท่านเริ่มทำ�ธุรกิจอะไร อผภ. ศุภวัตร : เคยร่วมงานกับพี่เขย เจ้ากุลวงศ์ ณ เชียงใหม่ ไปตั้งร้านอาหารในงานฤดูหนาวจังหวัดเชียงใหม่ ตอนนั้นจัดที่ โรงเรียนยุพราช เราจ้างกุ๊กคนจีนจากโรงแรมใหญ่มาทำ�อาหาร ให้ 3 คน ดังมากคนเต็มร้านทุกวัน การที่เราเอาหัวหน้ากุ๊กโรง แรมใหญ่ๆ มาก็มีค่าจ้างกุ๊กสูงมาก ชื่อเสียงดี สุดท้ายหักกลบลบ หนี้ กำ�ไรเป็นอุปกรณ์หม้อ จาน ชาม แต่เราก็ใช้ไม่ได้เพราะเรา ไม่ได้มีอาชีพขายอาหาร (หัวเราะ) ตอนหลังก็ร่วมกับเจ้ากุลวงศ์อีก ไปทำ�โรงสีเล็ก ชาวนาเอาข้าว มาสีเขาเอาข้าวสารไป รำ�ข้าวก็เป็นของเรา ก็อยู่ได้ซักพักหนึ่ง แต่เนือ่ งจากเราไม่ได้ไปควบคุมแน่นหนา ต่อมามันก็รัว่ ไหลก็ตอ้ ง หยุดกิจการอีก และก็ทำ�อีกอย่างหนึ่งคือ Maltose ที่เขาทำ�ท็อฟ ฟี่ ภาษาจีนเรียกว่าแบะแซ เราเอาเมล็ดข้าวที่หักครึ่งซึ่งราคา ต่�ำ มาหมักกับมอลท์ เราเอามอลท์มาแช่น้�ำ ให้งอกออกมาเหมือน ถั่วงอก แล้วก็เอามาตำ�กับข้าวที่เรานึ่งแล้ว เมื่อข้าวที่นึ่งแล้วได้

เวลาก็มีปฏิกริยาเป็นน้ำ�ตาล นำ�ไปเคี่ยวในกะทะโดยเคี่ยวให้งวด แล้วก็ส่งไปขายยังสิงคโปร์ เขาก็เอาไปทำ�ขนมหลายอย่าง เดี๋ยว นี้ทุกวันนี้ก็ยังใช้อยู่ เคยเห็นไหมขนมเป็นรูปตุ๊กตาเขาก็ใช้อันนี้ เหตุผลที่เจ๊งเพราะเราทำ�ตราติดที่ปี๊บ มีชื่อฝรั่ง ชื่อจีน และมีรูป ช้างอยูบ่ นแท่น ต่อมาเราเห็นว่ารูปช้างเท้ามันวางลอยไม่ตดิ แท่น ต่อมาเราก็เปลีย่ นให้เท้าช้างอยูต่ ดิ แท่น พอส่งไปสิงคโปร์เขาบอก ว่าของเราเป็นของปลอม ก็เลยขายไม่ได้ มันเป็นของเหลวก็ไม่ สามารถเก็บได้นาน ก็เลยขาดทุนสองสามงวดเลยเจ๊งไปเลย ๑ ในร้อย : มีเรื่องน่าสนใจหลายเรื่อง อผภ. ศุภวัตร : ยังมีมากกว่านัน ้ ตอนหลังก็มาทำ�โรงย้อม พ่อตา แม่ยายขายเส้นด้ายไปให้สันกำ�แพง ลำ�พูน ป่าซาง สันป่าตอง ชาวนาเมื่อหลังฤดูทำ�นาและเก็บเกี่ยวข้าวก็เอากี่กระตุกใต้ถุน เรือนมาทอผ้า ด้าย ทุกวันนีเ้ ราก็ขายชาวนา เคยคิดจะหยุดหลาย ครั้งเพราะงานก็มีปัญหา ทางราชการก็บอกว่าถ้าคุณหยุดก็จะ กระทบกระเทือนต่อชาวนา หลังฤดูการเก็บเกี่ยวชาวนาก็จะไม่มี งานทำ� ตอนนั้นที่สันกำ�แพงก็มีร้านพรหมชนะ ร้านชินวัตรที่ เป็นลูกค้าใหญ่ของเรา เขาซื้อเส้นด้ายเป็นลูกๆ ไปให้ชาวนาทอ ผ้าโดยคำ�นวณว่าผ้าหนึ่งผืนจะใช้เส้นด้ายเท่าไหร่ โดยชั่งเป็นน้ำ� หนัก แล้วเขาก็จ่ายค่าแรงให้กับชาวนา ทำ�ให้ชาวบ้านแถวนั้นก็ มีงานทำ� จริงๆ ถ้าผมทำ�งานอื่นอาจจะได้กำ�ไรมากกว่านั้น แต่ เมื่อทางราชการขอไว้เราก็ยังทำ�จนถึงปัจจุบัน แต่ก็ตั้งตัวได้ เพราะงานนี้ ต่อมาก็มาทำ�ร้านขายหนังสือ เครื่องเขียน และทำ� โรงพิมพ์ ตอนนี้ลูกชายรับช่วงต่อไปแล้ว ๑ ในร้อย : ร้านรัตนผลตั้งมาปีไหนคะ อผภ. ศุภวัตร : ประมาณปี 2502 ก่อนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิด เป็นอาชีพใหม่ที่ผมทำ� ที่ผมทำ�มานี่เป็นอาชีพใหม่หมด ๑ ในร้อย : ท่านทำ�ธุรกิจหลายอย่าง อผภ. ศุภวัตร : ตอนเป็นนักเรียนผมชอบทำ�โน่นทำ�นี่ ผมเคย ทำ�ตุ๊กตาสโนไวท์ ๗ ตัว ทำ�เหมือนเปี๊ยบเลย ๑ ในร้อย : ท่านใช้อะไรทำ� อผภ. ศุภวัตร: ใช้ดินเหนียว ผมเอาดินจากที่บริเวณกำ�แพงดิน ซึ่งเป็นดินเหนียวที่ดีมากมาทำ�เป็นตุ๊กตา โดยใช้สีทาบ้านทาเป็น สีแดง สีเขียว สีเหลือง กลมกลืนกันสวยงามมาก เอาลวดมาใส่ ตรงหัวเป็นที่แขวน เหมือนของนอกเปี๊ยบเลย มีเรื่องที่น่าภาค ภูมิใจมากคือมีป้าคนหนึ่งเขามาบอกแม่ผมว่าลูกเขาอยากได้ ตุ๊กตาที่ศุภวัตรทำ� ทั้งที่ตอนหลังผมเลิกทำ�แล้วแต่เมื่อเขาอยาก ได้ผมก็ทำ�ให้ เป็นความภาคภูมิใจอย่างหนึ่ง และผมก็ทำ�แปรง ขายด้วย ก่อนสมัยสงครามโลกแปรงเขานำ�เข้ามาจากเมืองจีน เป็นแปรงไม้สองข้างตรงกลางเป็นขนแปรง ระหว่างสงครามโลก ไม่มีแปรงเหล่านี้ขาย ผมก็ไปเก็บเส้นผมตามร้านตัดผมมาร้อย และทำ�เป็นแปรง ทุกงานต้องใช้แปรง เช่น งานทาสี ผมก็นั่ง ทำ�เอากาวใส่ ตัดให้ตรง งานนี้ทำ�เงินให้กับผมเยอะ และผมเคย ทำ�ลูกแบดมินตันขายด้วย ๑ ในร้อย : เรียกลูกขนไก่ อผภ. ศุภวัตร : จริงๆ เป็นขนเป็ด ซื้อมาจากเป็ดที่เขาขายใน ตลาดวโรรส ทำ�ใส่กล่องอย่างดีมีตราด้วย พี่เขยคนที่สามชอบตี แบดมินตัน เอาลูกแบดมินตันที่ผมทำ�ไปตี ทีนี้หัวเกือบแตก (หัวเราะ) เราไม่ได้คิดถึงน้ำ�หนัก ขนไก่ที่ผมทำ�นี่หนักกว่าของ จริงไปสามเท่า ขนไก่มีน้ำ�หนักของมัน น้ำ�หนักประมาณเท่ากับ สตางค์แดงหนึง่ ตัว ของเราเท่ากับสตางค์แดงสามตัว เราทำ�อย่าง ดีใส่กล่อง พี่เขยกลัวผมเสียใจบอกว่า “ตี๋ลูกขนไก่ทำ�ไมมันหนัก” (หัวเราะ) ไปตีที่หลังโรงเรียนช่องฟ้า

ภูวกุล พ่อดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ.๒๕๓๗ 31 30

ธันวาคม ๒๕๕๒


หนึ่ง ใน ๑๐๐

๑ ในร้อย : เราก็ปรับน้ำ�หนัก อผภ. ศุภวัตร : ปรับยาก เวลาเจาะขนไก่ไม่ได้เจาะตรงๆ ต้อง เจาะเฉียง มีจุกก๊อก มีหนังและย้อมให้เป็นสีแดงด้วย ๑ ในร้อย : รู้สึกท่านอยากทำ�นั่นทำ�นี่ตั้งแต่เรียน อผภ. ศุภวัตร : ตอนเป็นนักเรียนผมยังหล่อพระแจกด้วย ที่บ้าน ขายตะกั่วเอาไปหลอมให้ร้อนละลายโดยเอาใส่กระป๋องนมข้น ใช้ ดินเหนียวที่กำ�แพงดินอัดเป็นโมลด์ วิธีท�ำ ก็คือเอาดินเหนียวที่อัด เป็นรูใส่ไว้ในเตาอั้งโล่ เอาขี้เถ้ากลบไว้แล้วก็ไปโรงเรียน พอกลับ มาดินก็สุกมันก็เป็นโมลด์ ทีนี้เอาไปตั้งเตาตะกั่วละลาย เทออกมา มันก็เย็นเป็นพระแล้ว แจกพระสนุก แต่ก็บอกเขาว่าพระทำ�เอง (หัวเราะ) เพือ่ นก็ชอบ นัน ่ 64 ปีผา่ นมาแล้ว การฝีมอื ของนักเรียน โรงเรียนมงฟอร์ตทุกชิ้นที่ผมทำ�ไม่ได้เอากลับบ้าน บราเดอร์ไม่ได้ ให้เอากลับถูกเอาเข้าห้องโชว์ของโรงเรียน ผมปั้นทั้งรถ ตุ๊กตา และอีกหลายอย่าง ๑ ในร้อย : ท่านขยันตั้งแต่เด็กเลย พอมาทำ�งานก็ทำ�กิจกรรม เยอะแยะ ท่านทำ�กิจกรรมอะไรก่อน อผภ. ศุภวัตร : เข้ามาโรตารีก่อน ๑ ในร้อย : ใครเชิญเข้ามา อผภ. ศุภวัตร : เข้าโรตารีเมื่ออายุ 34 ปี เมื่อ พ.ศ. 2505 สโมสร โรตารีเชียงใหม่เพิ่งตั้งได้สองปี ฯพณฯ ท่านพิชัย รัตตกุลมาพร้อม คุณเยี่ยม ตันไพฑูรย์ดิถี ตอนนั้นสโมสรโรตารีเชียงใหม่กำ�ลังจะ ล้ม คุณเยี่ยมเป็นญาติของคุณปรีชา วัชรวุฒิกุล ซึ่งเป็นเพื่อน สนิทกันกับผมแต่ผมเข้าก่อนคุณปรีชาปีหนึ่ง เข้ามาได้เดือนกว่า ก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานบริการสโมสรเลย เขาเห็นผมทำ�งาน ช่วยสโมสร วิ่งไปโรงพิมพ์ไปโน่นไปนี่ ออกข่าวเลยกลายเป็น บริการสโมสร ทำ�สารสโมสรด้วย ทำ�ให้สโมสรโรตารีเชียงใหม่ก็ เริ่มฟื้นตั้งแต่ตอนนั้น ๑ ในร้อย : ตอนนั้นมีสมาชิกกี่คน อผภ. ศุภวัตร : ยี่สิบคนได้ ๑ ในร้อย : ท่านเป็นนายกปีไหน อผภ. ศุภวัตร : เป็นสองครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2510 - 2511 และ พ.ศ. 2514 - 2515 ๑ ในร้อย : และเป็นผู้ว่าการภาค อผภ. ศุภวัตร : ปี 2520 - 2521 ภาค 330 มีประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ๑ ในร้อย : ต้องเดินทางไปทุกที่ใช่ไหมคะ อผภ. ศุภวัตร : ไปหมด ไปเยี่ยมทุกสโมสร 100 % ๑ ในร้อย : ตอนนั้นมีกี่สโมสร อผภ. ศุภวัตร : ประมาณ 60 สโมสร เดินทางโดยพาหนะทุกชนิด คือ รถยนต์ รถไฟ เรือ เครื่องบินใหญ่ เครื่องบินเล็ก และรถม้า ทุกชนิดเลย เช่น บางแห่งอยู่ในบรูไนถ้าขับรถยนต์เส้นตรงต้อง ขับรถไปสองสามชั่วโมง ในความเป็นจริงต้องขับรถอ้อมเขาเป็น วัน เขาเลยไปขอยืมเครื่องบินของบริษัทเชลล์ บินข้ามไปใช้เวลา 10-15 นาที เขาจัดการให้เสร็จ ยืมรถ ยืมเครื่องบินให้หมด เรา ไม่เคยนั่งเรือบินเล็กก็มานั่งคราวนั้น บินเลียบฝั่งทะเลเหนือต้น มะพร้าวไม่เท่าไหร่ ยังคิดในใจว่าถ้าตกก็ตกลงทะเล (หัวเราะ) ๑ ในร้อย : ถือว่าเป็นประสบการณ์ที่ยอดเยี่ยมเลย อผภ. ศุภวัตร : เยอะมาก ตอนไปอบรมผู้ว่าการภาครับเลือกที่ Boca Raton สหรัฐอเมริกา ขณะนั่งอบรมมีคำ�ถามขึ้นมาว่าในสมัยที่ท่านเป็นผู้ว่าการภาค ท่านจะตั้งกี่สโมสร ผมจำ�ได้แม่นที่ผู้ว่าการภาครับเลือกประเทศ อังกฤษบอกว่าผมไม่สามารถจะตั้งได้ซักสโมสร ส่วนมากจะไม่ตั้ง อีกคนหนึ่งพูดจะตั้งหนึ่งสโมสร พอเวียนมาถึงผมๆ ก็บอกว่าจะ ตั้งเจ็ดสโมสร พวกเขามองผมเลย หาว่าเราโม้ เพราะ ฯพณฯ พิชัยบอกว่าเราจะตั้ง 6-7 สโมสร เขาก็มองเราใหญ่เลย แต่เมื่อ มาเป็นผู้ว่าการภาคแล้วเราก็ตั้งได้ 7 สโมสร อีกเรื่องหนึ่งคือก่อน หน้านี้ไม่มีใครบริจาคเงินให้มูลนิธิโรตารี ผมไปก็เริ่มให้มีการ

ธันวาคม ๒๕๕๒

บริจาค บางสโมสรไม่บริจาคเพราะไม่กล้าเนื่องจากคนที่ซีเนียร์ กว่าคืออดีตนายกทั้งหลายไม่บริจาคเลย ไม่กล้าบริจาคเกรงว่าจะ ข้ามหน้าข้ามตา เพราะฉะนั้นเราจะต้องไปทำ�ลายตัวนี้ให้ได้ ผม ก็ไปพูดทั้งสองฝ่าย ไปถึงที่บ้านเขาเลย บ้านเศรษฐีมาเลย์เซีย บรูไน ไปพูดกับเขาเลย ให้เขาช่วยบริจาค ถ้าคนนี้บริจาคต่อไป ก็ได้ เป็นครั้งแรกที่ได้ และผมก็เป็นผู้ว่าการภาคคนแรกที่ได้ทำ� สารผู้ว่าการภาค ๑ ในร้อย : ทำ�เองเหมือนที่ ฯพณฯ พิชัยเคยถามคราวที่ท่านมา งานสโมสรเชียงใหม่ครบรอบ 50 ปี อผภ. ศุภวัตร : ทำ�เองหมดเลย เดือนละฉบับ ตอนเป็นผู้ว่าการภาคมีเรื่องสนุกอีกเยอะ ยังไม่ได้เล่าให้สมาชิก ในสโมสรฟัง เหมือนในหนังทาร์ซาน เขาพาไป long house ที่ นั่นบ้านเขาพื้นเป็นน้ำ�ทะเลที่ไม่ลึก เวลาเขาจะสร้างบ้านต้องยก สูงจากพื้นน้ำ�แล้วหน้าบ้านก็เท่ากัน คนที่มีเงินหลังบ้านจะยาว คนไม่มีเงินก็พื้นที่หลังบ้านจะสั้น ข้างหน้าบ้านก็จะต้องทำ�ลาน พื้นเพื่อเป็นที่สังสรรค์กันและมีหลังคาตรงลานนั้น แต่ละบ้านก็ จะมีสะพานให้พ้นจากน้ำ�และก็เดินไป ทีนี้เข้าไปในบ้านก็ต้องผ่าน หลังคา เราก็เข้าไปดูในบ้านหลังหนึ่ง มีแต่ไหเล็กๆ เยอะแยะ ก็ ไปเปิดดู เขาใส่ข้าวสาร ของกินของใช้ เช่น พวกมะเขือเทศ มันเทศ ไป long house เขาบอกว่าตอนกลับห้ามลาเด็ดขาด เพราะเขาบอกว่ามันมีประวัติเมื่อ 30 ปีก่อน ถ้าเราไปลาเขาแล้ว เขาชอบเราเขาจะตัดหัวเราเพื่อไปย่อเป็นที่ระลึก ห้ามลาเด็ดขาด เวลาจะกลับก็ทำ�ยิ้มๆ แล้วก็เดินกลับมา ๑ ในร้อย : ขืนลาแล้วยุ่งเลย รัฐนี้หรือเปล่าที่เคยดูทีวีว่าในบ้าน จะมีกะโหลกเก็บไว้ อผภ. ศุภวัตร : ใช่เขาเอาเก็บไว้ในเข่งสาน ตอนผมกับปิยะนาถ ไปก็เดินผ่านไม้ทีนี้ปิยะนาถก็เอาส้นเท้าไปตกใส่หลุมของไม้เสีย หลักไป เอาหัวไปชนกับเข่งนั้น แล้วแหงนไปดูมันเป็นกะโหลกหัว คนหมดเลย แต่เป็นหัวใหญ่ ไม่ได้ย่อ เป็นของบรรพบุรุษของเขา นี่เขาอยู่ชายทะเลไม่ได้เอาฝัง วันนั้นตกใจหลายเรื่อง ตั้งแต่นั่งเรือซึ่งมีในเรือมีนายกสโมสรกับ นักหนังสือพิมพ์ เรือเล็กขนาดตั้ง 50-60 แรงม้า เรือลำ�เล็กนิด เดียว พอวิ่งไวมันก็ตีใส่น้ำ�ผนังมีสิทธิ์หลุดได้เพราะแรงมันมาก เหลือเกิน ผมบอกปิยะนาถนั่งหลังๆ แล้วถอดรองเท้าเพื่อเตรียม พร้อมหากเรือพลิกเราก็ว่ายน้ำ�เลย (หัวเราะ) ก่อนจะขึ้นบกเรา ก็ได้ยินเสียงกลองเหมือนในหนังทาร์ซานเปี๊ยบเลย อยู่ในป่า เขา กำ�ลังตีฆ้องกลองต้อนรับ เห็นเป็นต้นไม้เดินไปไกลมาก เรามอง ไม่เห็นหมู่บ้าน และเมื่อถึงหมู่บ้านตอนจะขึ้นบ้านมีบันได 3 ขั้น เขาให้ผมเดินนำ�หน้า พอจะขึ้นบนบ้าน เขาบล็อคไว้ไม่ให้ขึ้น ผม ก็ถามว่าทำ�ไม เขาให้ผมเอามือแตะตรงนี้หน่อย ผมแตะปั๊บ นั่น เป็นด้ามมีดแหลมๆ มันแทงลงไป ใต้บันไดเป็นหมูตัวหนึ่ง หมูตัว นั้นตายทันที เขาทำ�พิธีสังเวย รับเราเหมือนพระเจ้าแผ่นดินเลย พอแทงหมูลงไปหมูมันร้อง ยังจำ�เสียงมันได้เลย วันนั้นตลอดวัน สะดุ้งตั้งหลายครั้ง ๑ ในร้อย : ไปเยี่ยมสโมสรหรือเยี่ยมใคร อผภ. ศุภวัตร : สโมสรพาเราไปเยี่ยม long house หมูตัวนั้นเขาเอาไปทำ�อาหารมื้อเที่ยงให้เราทาน หนังยังเหนียว อยู่เลย (หัวเราะ) แล้วเขาก็เอารูปที่ต้อนรับเราไปลงหนังสือพิมพ์ ผมก็ตัดหนังสือพิมพ์มาลงในสารผู้ว่าการภาคด้วย ผมฆ่าหมูตัว แรกและตัวเดียว แล้วที่ long house ลานพิธีต้อนรับก็กว้าง มี โต๊ะประธานขึ้นเป็นชั้นๆ ให้ผมนั่งข้างบน ปิยะนาถนั่งใกล้ๆ พอ นั่งเสร็จเขาเอาหมวกมาให้ใส่เหมือนในหนังทาร์ซาน มีขนอะไร ด้วย นั่งเป็นประธานสองคนไม่มีใครนั่งด้วย แล้วก็มีคนมารำ�ด้วย มีดปลายไม่แหลมแต่ดูมีความคมมาก เวลาเขาเอามีดตีกับพื้น เสียงดังมาก มารำ�ใกล้ๆ เราด้วยทำ�ให้เราสะดุง้ ตัง้ หลายครัง้ นายก โรตารีก็อยู่แถวนี้ เขาก็มารำ�ใกล้ๆ แล้วเอามีดด้านแบนฟาดกับ พื้น ใกล้ๆ เรา สะดุ้งทุกที (หัวเราะ) จากนั้นเขาเอากระด้งเหมือน

33 32


32 33

ของคนเชียงใหม่มาให้ผมและปิยะนารถคนละอันแล้วให้เก็บของ มาใส่ 7 ชิ้น แล้วเขาให้ปิยะนาถตามคนนั้นออกไปผมก็ตามอีก คนหนึ่ง ไปไหว้ผีบ้านผีเรือน เหมือนคนเชียงใหม่เราเลย ตอน นั่งกับพื้นเอาไก่มาเวียนบนศีรษะ เอาไก่มาชนเราอีกขณะว่า คาถา สะดุ้งอีก เนื้อไก่ที่เรากินก็คงเป็นไก่ตัวนี้อีก ไก่ก็เหนียวๆ อยู่ (หัวเราะ) วันนั้นตกใจหลายเรื่อง วิธีที่รำ�เขาเอาฆ้องมาตี เหมือนที่เชียงใหม่เราฟ้อนผีมด เราเห็น ตั้งแต่เด็ก ผมก็เลยรำ�กับเขาได้ เขาเลยชอบใจใหญ่ ผมพูดคำ� เมืองเลยตอนกล่าว เป็นครัง้ แรกทีพ ่ ดู คำ�เมือง เขาแต่งตัวเหมือน นุ่งผ้าซิ่น รำ�ผีมดเหมือนของเราเลย ๑ ในร้อย : เรื่องโรตารีท่านประทับใจอะไรอีกบ้าง อผภ. ศุภวัตร : ผมเรียนรู้จากโรตารีเพราะผมจบ มัธยมหก ก็ มาหัดฝึกพูดจากสโมสรโรตารี ผมดูตัวอย่างของ ฯพณฯ พิชัย, ท่านเยี่ยม ตันไพทูรย์ดิถี, จากสมาชิกสโมสรธนบุรีที่เราเชิญมา รวมทั้งคุณวัย วัฒนกุล หัดพูดหัดทำ�งาน ชีวิตนี้เติบใหญ่มาจาก โรตารี แล้วก็การที่เป็นผู้ว่าการภาคไปเข้าอบรมที่โรตารีสากล ผมถือว่าเป็นประโยชน์มหาศาล เขาสอนให้เราพูดในทีช่ มุ ชน เอา ตัวอย่างมาให้เราดู ผมรู้สึกว่าเป็นประโยชน์กับผมหมด เพราะ ผมเรียนมาน้อย ในขณะที่ผู้ว่าการภาคคนอื่นเขาบอกว่าไม่เห็น มีอะไรเลย เนื่องจากเขามีความรู้อยู่แล้ว เขาเลยรู้สึกว่าไม่ได้รับ อะไรเพิ่มเติม แต่ผมได้รับมาก ๑ ในร้อย : เห็นมีงานสภาสังคมสงเคราะห์ อผภ. ศุภวัตร : มีการสรรหาประธานภาค 9 แล้วผมก็ชนะการ เลือกตั้ง ทำ�มา 30 กว่าปี ๑ ในร้อย : ท่านแบ่งเวลาอย่างไรคะ อผภ. ศุภวัตร : ขอให้ใจเรานิ่ง ครอบครัวเรามีสุข ไม่มีการด่า ว่าหรือทะเลาะกัน ใจเรานิ่งเราทำ�อะไรได้เยอะมาก หลักการของ ผมคือ ผู้ชายเราอย่าไปแกว่งเท้าหาเสี้ยน ถ้าเราไม่มีปัญหาเรา สามารถทำ�งานได้เยอะ ทุกวันนี้มีงานเยอะมาก ๑ ในร้อย : ท่านเป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ฟินแลนด์ด้วย มีที่มา อย่างไรคะ อผภ. ศุภวัตร : ผมได้รับแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนประธานโรตารี สากลไป Conference ต่างๆ ในต่างประเทศ ถึง 9 ครั้ง ผมรู้สึก เองว่าดีมาก และที่ผมภาคภูมิใจมากคือผมเป็นตัวแทนไปภาค 3350 เพราะกรุงเทพมีคนเก่งเยอะ ผมเป็นตัวแทนประธานโรตา รีสากลไปพูดที่กรุงเทพ ภาค 3350 เวลาผมไปก็จะมี ฯพณฯ พิชัย มาฟังทุกครัง้ ก็ได้รบั คำ�ชม ซึง่ ปกติการจะได้รบั คำ�ชมจาก ฯพณฯ พิชัยมีน้อย (หัวเราะ) ๑ ในร้อย : ที่มาของการเป็นกงสุล อผภ. ศุภวัตร : ผมดังจากโรตารี ผมก็ไปประชุมโรตารีในต่าง ประเทศแม้ไม่เกี่ยวกับผม ทำ�ให้ได้ความรู้ และก็ทำ�ให้คนรู้จัก ๑ ในร้อย : เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์มีเงินเดือนไหม อผภ. ศุภวัตร : กงสุลนี่มีเกียรติ ไม่มีเงินเดือน ค่าใช้จ่ายเรา ต้ อ งออกเองหมด ครั้ ง หลั ง ไปฟิ น แลนด์ ไ ปเป็ น แขกของ ประธานาธิบดี ท่านรับผมที่คล้ายกับจวนของท่าน ทุกวันนี้เขา เปิดให้คนเข้าไปเที่ยวส่วนหนึ่ง ส่วนที่เป็นไพรเวทเอาไว้รับแขก ของท่านซึ่งกว้างขวางมาก ท่านรับผู้นำ�ต่างประเทศอย่างไรก็ ต้อนรับผมอย่างนั้นเลย กลับมาก็สามารถเช็คข้อมูลวีธีการ ต้อนรับได้ ผมโชคดีเป็นกงสุลของฟินแลนด์ไม่ค่อยมีปัญหามาก นัก เพราะคนฟินแลนด์ในภาคเหนือมีไม่มาก ๑ ในร้อย : หน้าที่หลักของกงศุลกิติมศักดิ์ทำ�อะไรคะ อผภ. ศุภวัตร : ดูแลคนของเขา ๑ ในร้อย : ท่านดูแลรักษาสุขภาพอย่างไร ผมออกกำ�ลังกายด้วยการตีกอล์ฟ อาทิตย์หนึ่งผมตีห้าครั้งเป็น อย่างน้อย ผมมีเพื่อนหลายกลุ่ม ถ้าเวลาหนึ่งก็จะเป็นเพื่อนกลุ่ม หนึง่ อีกเวลาหนึง่ ก็จะเป็นอีกกลุม่ หนึง่ บางอาทิตย์ผมตีสามรอบ 27 หลุม ตอนเช้าผมกับปิยนารถไปตีกอล์ฟ 9 หลุม แล้วกับมา

เปิ ด ร้ า นแปดโมง ตอนบ่ า ยผมไปตี กั บ อธิการบดี ดร.โชติ อีก 18 หลุม ชีวิตมีความสุข เงินทองที่ผม กับปิยนารถหาได้มา ผมมอบให้เขาดูแลหมดผมไม่เก็บเอาไว้ นอกจากเวลาเราต้องจ่ายเงินเยอะๆ ปิยนารถก็ให้ผมเซ็นเช็ค ผมไม่เคยถามเขาว่าเอาเงินไปใช้อะไร ๑ ในร้อย : อยากให้ตีความที่พูดเมื่อกี้ อผภ. ศุภวัตร : ความไว้วางใจที่เรามีให้เขา เราก็ได้รับความไว้ วางใจกลับมา ผมซื้อตู้เซฟมาให้เขา ผมไม่เคยเปิดเลยจนเธอ เสียไปได้ปีกว่าถึงมาให้ลูกสาวเปิด บอกลูกสาวว่าอาปาไม่เคย เปิดตู้เซฟเลย ๑ ในร้อย : ปีนี้ท่านอายุเท่าไหร่ อผภ. ศุภวัตร : 82 เมื่อวันลอยกระทงที่ผ่านมา ๑ ในร้อย : ท่านยังดูกระฉับกระเฉง คล่องแคล่วว่องไว เป็น ตัวอย่างที่ดี อผภ. ศุภวัตร : เราต้องเป็นคนดี ถ้าเราพูดอะไรแล้วจะมีเสียง ดัง ได้รับการตอบสนองที่ดี แล้วเราก็มีพื้นกำ�ลังใจที่มหาศาลที่ คนอื่นทำ�ไม่ได้แต่เราทำ�ได้ มันดีมากๆ เราคิดว่าเราต้องเป็นคน ดี ๑ ในร้อย : ได้รับข้อคิดหลายๆ อย่างและก็ฟังเพลิน อผภ. ศุภวัตร : ที่ภาคภูมิใจคือ เมื่อเร็วๆ นี้พี่สาวของปิยนา รถ คุณวศิน ศิริพันธ์ เขียนจดหมายให้ผมฉบับหนึ่งห้าบรรทัด สุดท้ายผมจำ�ได้ว่าเขามีความภาคภูมิใจในน้องเขยคนนี้มาก เขา ก็ชื่นชมว่าเป็นน้องเขยที่ดี ผมชอบมาก ผมเข้าใจว่าผมดีจริงๆ ไม่ใช่ดีเล่นๆ (หัวเราะ) ๑ ในร้อย : ได้รับฉายาเป็นซุปเปอร์แมน อผภ. ศุภวัตร : ผมพาภรรยาไปไหนไปด้วยกันหมด ไปเต้นรำ� ไปเยี่ยมทุกสโมสร เป็นผู้ว่าการภาคที่เอาคู่สมรสไปทุกสโมสร 100 % ซึ่งผมทำ�เสมอคือ เมื่อผมรับโล่ห์หรือของที่ระลึกต่างๆ ผมจะนำ�ไปมอบให้ ปิยนารถทันทีเมื่อลงจากเวที ผมถือว่าเธอมี ส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ผมได้รับเกียรตินั้น ณ ที่ประชุมนั้นทุกๆ คน ก็มองและชื่นชอบ ผมคิดว่าเป็นการปฏิบัติตนที่ดี เราได้กำ�ลังใจ จากที่ประชุมอีกมากมาย เช่นนี้ได้สะท้อนรวมถึงความนับถือที่ เขามีให้กับเรา เพราะฉะนั้นความดีมันไม่ได้หายไปไหนเพียงแต่ เราจะใช้เป็นหรือเปล่า ถ้าคุณจันทนีไม่มีความดี เขาก็คงไม่ได้ ตั้งคุณมาทำ�หน้าที่นี้หรอก ก็ต้องมีความดี ความสามารถของ เรา อีกเรื่องหนึ่ง ผมไปหัดยิงปืน ผมก็เอาภรรยาไปหัดด้วยและเขา ยิงปืนแม่นกว่าผม เพื่อนถามว่าไม่กลัวเหรอเอาภรรยาไปยิงปืน ผมบอกจะไปกลัวอะไรเพราะเราไม่มีอะไรที่ต้องกลัว ปืนนี่นะถ้า เราพกปืนจะทำ�ให้ใจเรานิ่ง ๑ ในร้อย : เคยเห็นท่านบรรยายหลายแห่งโดยใช้ Power point presentation ที่มีการตกแต่งด้วย Animation น่ารัก ทราบว่า ท่านทำ�เอง อผภ. ศุภวัตร : ใช่ผมทำ�เอง ผมไปเรียนมาและก็เอามาฝึกทำ� จนคล่อง อันนี้ไม่ยาก ง่ายกว่าสมัยที่ผมทำ�แผ่นใสเยอะ นิสัย ชอบทำ�นั่นทำ�นี่ติดตัวมาตั้งแต่ผมเป็นนักเรียน เราใช้เวลาพูดคุยกับ อผภ. ดร. ศุภวัตร อย่างเต็มอิ่ม ฟังท่าน เล่าเรื่องราวต่างๆ อย่างเพลิดเพลิน ได้เห็นตัวอย่างของการเป็น พ่อ เป็นสามีที่ดี เป็นผู้ที่บำ�เพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่น และที่สำ�คัญ คือการดำ�รงชีวิตที่เป็นตัวอย่างของเราชาวโรแทเรียนได้เป็น อย่างดี.

ธันวาคม ๒๕๕๒


Youth Corner

เมื่อฉันจากบ้านมา..

จันทิพา เทียนวิจิตร

“ไม่อยากเรียนต่อมหาวิทยาลัยใน ไทยเลย” เป็นความคิดของฉัน หลังจากที่ ได้กลับมาจากการเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ของโรตารีเมื่อ ๔ ปีก่อน ฉันยอมรับตาม ตรงเลยว่ า ในขณะนั้ น ฉั น ไม่ มี ค วาม กระตือรือร้นในการอ่านหนังสือ เพือ่ เตรียม สอบ Admission เลยแม้แต่น้อย การขาด เรียนไปหนึ่งปี ทำ�ให้ไฟแห่งความมุ่งมั่นที่ จะเข้ามหาวิทยาลัยรัฐฯ อันดับหนึ่งของ ประเทศมอดไปเสียหมด มิหนำ�ซ้�ำ ฉันยังมัว แต่ติดใจกับความสนุกและการใช้ชีวิตอย่าง สบายๆ ในฐานะนักเรียนแลกเปลี่ยนในต่าง ประเทศอยู่ ฉันจึงพยายามหาทุกวิถีทาง เพื่อจะได้เรียนมาเรียนต่อต่างประเทศอีก ครั้ง และฉันก็สมหวัง เมื่อฉันได้รับทุนให้ ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่ประเทศ ญี่ปุ่นเป็นเวลา ๔ ปี การจากบ้านมาครั้งนี้ ไม่เหมือน ครั้งก่อน แต่ก็ไม่ได้ลำ�บากซะทีเดียว เพียง แค่คราวนี้ ไม่มีใครมาคอยดูแลเอาใจใส่ คอยจัดการธุระปะปังให้ หรือคอยให้อภิสทิ ธิ์ ว่าเป็นเด็กนักเรียนต่างชาติที่ยังไม่คุ้นเคย กับวัฒนธรรมและภาษา หรือจะให้พดู ง่ายๆ คือ ไม่มีใครเขามาสนใจหรอกว่าฉันจะเป็น อย่างไร ฉันต้องจัดการทุกอย่างเอง รับผิด ชอบตัวเอง ซึ่งสำ�หรับฉันแล้ว นั่นก็ไม่ได้ เป็นเรื่องที่ยากเย็นซักเท่าไหร่ แต่เรื่อง ท้ า ท า ย ที่ ฉั นไ ด้ เ ผ ชิ ญ ม า ต ล อ ด ชี วิ ต มหาวิทยาลัยของฉันก็คือเรื่องที่ฉันจะเล่า ต่อจากนี้ต่างหาก

ธันวาคม ๒๕๕๒

มหาวิทยาลัยที่ฉันเรียนอยู่ เป็น มหาวิทยาลัยเอกชนของญี่ปุ่น นักเรียน ที่ ม าเรี ย นที่ นี่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เด็ ก ที่ ม าจาก ครอบครัวที่มีฐานะ ค่านิยมของที่นี่ค่อน ข้างจะวัตถุนิยมเป็นอย่างมาก และกระแส สังคมก็มีอิทธิพลต่อปัจเจกบุคคลมากอีก เช่นกัน โดยเฉพาะกับบุคคลที่ไร้จุดยืนและ ไม่มีความเป็นตัวของตัวเองอย่างตัวฉันเอง ฉันยอมรับว่าในสองปีแรกทีฉ่ น ั มา อยู่ที่นี่ ฉันไหลตามไปกับกระแสของสังคม ทีน ่ ีเ่ ป็นอย่างมาก เพือ่ นหลายคนของฉันใช้ ของ Brand Name แต่งตัวเท่ห์เก๋ซะจน บางที ก็ เ หมื อ นหลุ ด ออกมาจากนิ ต ยสาร แฟชั่นก็ไม่ปาน ฉันก็เอาอย่างพวกนั้นบ้าง ฉั น อั พ เดทแฟชั่ น อยู่ ต ลอดเวลา ไป Shopping ทุกวันหยุด ซื้อนั่นซื้อนี่เต็มไป หมด ไม่ว่าจะซื้อเสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า เครื่องสำ�อางค์มามากเท่าไหร่ ฉันก็ไม่เคย รู้สึกว่าตัวเองมีพอเลย ฉันทำ�งานพิเศษ อย่างหนักเพื่อหาเงินมาสนองกิเลสตัณหา ของฉันเหล่านี้ บางคนอาจจะมองจุดนี้ว่าดี ทีฉ่ น ั ไม่รบกวนคุณพ่อคุณแม่เรือ่ งค่าใช้จา่ ย แต่ความจริงแล้วคุณพ่อคุณแม่ไม่ได้ปลื้ม และภู มิ ใ จกั บ การทำ � งานหาเงิ น มาได้ มากมายของฉันตรงนี้เลย เพราะว่า หนึ่ง. ฉันทุม่ เวลาให้กบั การทำ�งานพิเศษซะจนผล การเรียนฉันตกลงไปมาก และ สอง. ฉัน ไม่เหลือเงินเก็บเลย ฉันกลายเป็นคนไม่รู้ จั ก เก็ บ ออม มี ม ากก็ ใ ช้ ม าก ไม่ มี ค วาม ประหยัดมัธยัสถ์ และที่สำ�คัญคือ ไม่รู้จักพอ

34 35


35 34

หลังจากเทอมที่ผลการเรียนฉันตกลงอย่าง มาก ฉันก็เลิกทำ�งานพิเศษตามคำ�ขอของคุณพ่อคุณ แม่ ที่ ท่ า นอยากให้ ฉันตั้งใจเรียนมากกว่า โดยคุณ พ่อคุณแม่จะช่วยเรื่องค่าใช้จ่ายจิปาถะที่ฉันต้องการ เพิ่มเป็นพิเศษเอง ฉะนั้นตั้งแต่เทอมนั้นเป็นต้นมา รายรับของฉันก็น้อยลง เพราะฉันเกรงใจไม่กล้าขอ ท่านมาก แต่ฉันก็ยังไม่วายหักส่วนของค่าอาหาร มา เป็นค่า Shopping ค่าใช้จ่ายเที่ยวเล่นสนองกิเลสตัว เองที่ชักจะหนักขึ้นทุกวันๆ นอกจากพฤติกรรมไม่รู้จักพอของฉันแล้ว ฉันยังหลงไปกับเปลือกนอกของตัวเองและพวกพ้อง โดยมักจะหลงคิดไปเองว่าพวกของตัวเองนัน ้ มีรสนิยม เท่ห์ Cool และมองคนที่มีความเป็นตัวของตัวเอ งมากๆ เป็นคนที่ไม่เข้าพวก และคอยวิพากษ์วิจารณ์ หัวเราะเยาะพวกเขาว่าประหลาดบ้าง เสื่อมบ้างอยู่ เสมอ โดยที่ ไ ม่ ไ ด้ ย้ อ นกลั บ มามองดู ตั ว เองเลยว่ า พฤติกรรมที่ตัวเองเป็นอยู่นั่นต่างหากที่ “เสื่อม” จนกระทัง่ วันหนึง่ ในช่วงปิดเทอมฤดูรอ้ น ฉัน กลับประเทศไทย และได้มีโอกาสเข้าไปปฏิบัติธรรม เจริญภาวนาวิปัสสนากรรมฐาน ในช่วงเวลานั้นฉัน ได้มองย้อนกลับมาดูและพิจารณาตัวเอง ฉันเริ่มรู้สึก เหนื่อยหน่ายกับพฤติกรรมที่ฉันเป็นอยู่ มีคำ�ถามเกิด ขึ้นมากมายในสมองของฉันว่า จำ�เป็นด้วยหรือที่จะ ต้องมีของแบรนด์เนมราคาแพงพวกนั้น ทั้งๆที่ตัวฉัน เองก็ยังไม่มีรายได้มากพอที่จะ Afford ของเหล่านั้น อย่างสบายๆ จำ�เป็นด้วยหรือที่ฉันจะต้องมาอดข้าว อดน้ำ�ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเพียงเพื่อจะเอาเงิน ส่วนนั้นไปซื้อของนอกกายที่ตอนนี้แทบจะหาที่เก็บ ไม่ได้ และมันถูกต้องแล้วหรือที่ฉันจะไปดูถูกคนอื่นที่ เค้ารู้จักประมาณตนไม่ใช้ของฟุ่มเฟือยเหมือนอย่างที่ ฉันเป็นอยู่ ฉันทำ�ตัวแบบนั้นไปเพราะอะไร เพราะฉัน

อยากให้คนส่วนใหญ่ยอมรับฉัน? หรือเพราะว่าตัวตน ของฉันเป็นอย่างนั้นจริงๆ? เมือ่ ฉันสังเกตตัวฉันเองว่าก่อนไปอยูใ่ นสังคม นั้น ฉันเคยเป็นคนอย่างไร ภาพ Flashback ที่ออก มานั้นแสดงให้เห็นว่าตัวฉันในตอนนั้นกับตัวฉันใน ตอนนี้ช่างต่างกันเสียมากมาย ฉันจำ�ได้ว่าตอนสมัย มัธยมปลาย เวลาที่ไปซื้อของกับเพื่อนๆ ฉันมักจะ เลือกแล้วเลือกอีก และต่อราคาแล้วต่อราคาอีก เพราะ ว่าฉันกับเพื่อนๆมักจะรู้สึกภูมิใจอยู่เสมอเวลาที่ได้ซื้อ ของดีและถูก โดยเฉพาะใครยิ่งซื้อได้ถูก ก็จะยิ่งภูมิใจ ว่าหาซื้อได้เก่ง และมากไปกว่านั้นคือ ฉันมักจะแต่ง ตัวแบบไม่แคร์ใคร ไม่ว่าเพื่อนจะว่าอย่างไร ถ้าฉัน อยากแต่ ง แบบนี้ ก็ จ ะแต่ ง แบบนี้ ไม่ ต้ อ งมาคอย อัพเดทแฟชั่น หรือหาเสื้อผ้าตามเทรนด์ (ที่เปลี่ยน บ่อยเหลือเกิน) หรือข้าวของมาประดับให้ตัวเองดูสวย เริ่ดในสายตาคนอื่นอยู่ตลอดเวลาแบบนี้ จากการพิจารณาตัวเอง ฉันได้เข้าใจแล้วว่าที่ ฉันเปลี่ยนไปเป็นคนละคนและสูญเสียความเป็นตัว ของตัวเองไปได้มากขนาดนี้ เป็นเพราะว่าจิตใจฉันไม่ หนักแน่นพอที่จะอยู่ในสังคมที่เต็มไปด้วยกิเลสยั่วยุ อย่างนั้นตามลำ�พัง โดยที่ไม่มีใครคอยเตือนสติ ฉัน ควรฝึกตัวเองให้มีสติมากกว่า เพราะสิ่งสำ�คัญในการ ใช้ชีวิตอยู่ในต่างประเทศคนเดียวก็คือ การมีสติ รู้จัก ควบคุมจิตใจของตัวเอง หลังจากนั้น ถึงแม้ว่าฉันจะ ยังต้องกลับไปอยู่ในสังคมนั้นอีกสองปีจนกระทั่งเรียน จบ ฉันก็ได้ใช้วธิ พ ี งึ ระลึกอยูเ่ สมอว่าในเมือ่ พ่อแม่ไว้ใจ ให้เราไปเรียนห่างไกลท่านแล้ว เราก็ควรจะตัง้ ใจเรียน ทำ�หน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด ไม่หลงระเริงเตลิดไปกับ สิ่งยั่วยุต่างๆอย่างไม่ลืมหูลืมตา และที่ฉันได้เล่ามานี้ ก็คือหนึ่งบทเรียนราคา แพงที่ฉันได้รับเมื่อฉันจากบ้านมา ..

ธันวาคม ๒๕๕๒


เอกพาแอ่ว

สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง.

ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีหางดง

สวัสดีครับท่านผู้อ่านที่น่ารักทุกท่าน ต้อนรับสูฉ่ บับเฉลิมฉลองเดือนแห่งความสุข ที่ กำ�ลังก้าวข้ามสู่ปีใหม่ 2010 ปีฉลู..เอกพาแอ่ว.. จึงขอส่งความสุขมาให้ทา่ นผูอ้ า่ นทีน ่ า่ รักทุกคน ให้ประสบแต่ความสุขความเจริญ และร่ำ�รวย ยิง่ กว่าปีทีก่ ำ�ลังจะผ่านไป ฉบับนีก้ ็เลยตัดสินใจ นำ�เสนอสถานที่ซึ่งเป็นผลงานแห่งแรกที่เริ่ม ดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 เพือ่ ร่วมเฉลิม ฉลองวันพ่อแห่งชาติ และตัง้ อยูบ่ นดอยสูง กว่า 1,928 เมตร อุณหภูมิต่ำ�กว่า 5 องศา ในฤดู หนาว และมีชื่อว่าดินแดนแห่งแม่ขะนิ้งยอด ดอย ลองติดตามมาสิครับ • สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง สืบเนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พร้อมด้วยสมเด็จ พระนางเจ้ า พระบรม ราชิ นี น าถ ได้ เ สด็ จ พระราชดำ�เนินเยี่ยมราษฎรที่หมู่บ้านผักไผ่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ และได้เสด็จผ่านบริเวณดอย อ่างขาง ทรงทอดพระเนตรเห็นว่าชาวเขาส่วน ใหญ่ที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ทำ�การปลูกฝิ่นแต่ ยัง ยากจน ทั้งยังทำ�ลายทรัพยากรป่าไม้ต้นน้ำ� ลำ�ธารที่เป็นแหล่งสำ�คัญต่อระบบนิเวศน์ ซึ่ง จะก่ อให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ส่ ว นอื่ น ของ ประเทศได้จงึ ทรงมีพระราชดำ�ริวา่ พืน ้ ทีน ่ ีม้ ภี มู ิ อากาศหนาวเย็น มีการปลูกฝิ่นมาก ไม่มีป่าไม้ อยู่เลยและสภาพพื้นที่ไม่ลาดชันนัก ประกอบ กับพระองค์ทรงทราบว่าชาวเขาได้เงินจากฝิ่น เท่ากับที่ได้จากการปลูกท้อ พื้นเมือง และทรง ทราบว่าที่สถานีทดลองไม้ผลเมืองหนาวของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ ทดลองวิธีติดตา ต่อกิ่งกับท้อฝรั่ง จึงสละพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์จำ�นวน 1,500 บาท เพื่อซื้อที่ดินจาก ชาวเขาในบริเวณดอยอ่างขางส่วนหนึ่งจาก นั้นจึงโปรดเกล้าฯ ตั้งโครงการหลวงขึ้นเป็น โครงการส่วนพระองค์ เมื่อ พ.ศ. 2512 โดย ทรงแต่งตั้งให้ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นผู้รับ สนองพระบรมราชโองการในตำ�แหน่งประธาน มูลนิธิโครงการหลวง ใช้เป็นสถานีวิจัยและ ทดลองปลูกพืชเมืองหนาวชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นไม้ผล ผัก ไม้ดอก เมืองหนาว เพื่อเป็น ตัวอย่างแก่เกษตรกรชาวเขาในการนำ�พืชเหล่า นี้มาเพาะปลูกเป็นอาชีพ ซึ่งต่อมาพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้พระราชทานนามว่า “สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง”

งอน อำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ มีความสูง จากระดับน้ำ�ทะเล 1,400 เมตร และมียอดดอย สูงถึง 1,928 เมตร พื้นที่รับผิดชอบประมาณ 26.52 ตารางกิโลเมตร หรือ 16,577 ไร่ จัดตั้ง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 ตามแนวพระราชดำ�ริใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ว่า “ให้เขาช่วย ตัวเอง” เปลี่ยนพื้นที่จากไร่ฝิ่นมาเป็นแปลง เกษตรเมืองหนาวที่สร้างรายได้ดีกว่าการทำ�ไร่ อย่างเดิม • ปัจจุบน ั ดอยอ่างขางได้เปลีย่ นสภาพจากภูเขา ซึง่ ถูกตัดไม้ท�ำ ลายป่ามาเป็นพืน ้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้ผลกว่า 12 ชนิด ผักเมืองหนาวกว่า 60 ชนิด และไม้ดอกเมืองหนาวมากกว่า 20 ชนิ ด สภาพอากาศเย็ น สบายตลอดทั้ ง ปี อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 16.9 องศาเซลเซียส มีชาวไทยภูเขาเผ่าจีนฮ่อ ไทยใหญ่ มูเซอดำ� และปะหล่อง อาศัยอยู่โดยรอบกว่า 600 ครัว เรือนใน 6 หมู่บ้าน กิจกรรมท่องเที่ยว • ชมแปลงสาธิต ผัก ผลไม้ และไม้ดอกเมือง หนาวภายในศู น ย์ ฯ สามารถขั บ รถวนเป็ น วงกลม ค่าเข้าชมคนละ 50 บาท ยานพาหนะ คันละ 50 บาท อย่าลืมแวะถ่ายรูปที่ระลึก ณ สวน 80 ปี ใจกลาง สถานีเกษตรฯ ที่ตบแต่ง ด้ ว ยดอกไม้อ ย่ า แน่ น หนา อร่ า มตาเหมือ น สรวงสวรรค์ชั้นดุสิต รับรองไม่มีใครลืมความ ประทับใจนี้อย่างแน่นอน • เยี่ยมหมู่บ้านหลวง สัมผัสชีวิตชาวจีนฮ่อ • เยีย่ มหมูบ่ า้ นนอแล สัมผัสวิถชี วี ติ ชาวปะหล่อ ง อดีตชนเผ่าดั้งเดิมของพม่า มีผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมของกลุ่มแม่บ้าน จำ�หน่ายและเยี่ยม ฐานปฏิบัติการนอแล ชมชายแดนไทย-พม่า • เที่ยวบ้านขอบด้ง สัมผัสวิถีชีวิตชาวเขาเผ่า มู เ ซอมี มั ค คุ เ ทศก์ น้ อ ยพาเยี่ ย มชมภายใน หมู่บ้าน • เดินป่าระยะสั้น ชมความงามธรรมชาติของ ผืนป่าปลูกทดแทน • กิจกรรมดูนก ที่มีทั้งนกประจำ�ถิ่นและนกหา ยากต่างถิ่นให้ศึกษาหลากสายพันธุ์ • จุ ด ชมวิ ว -จุ ด กิ่ ว ลมชนิ ด เป็ น ลานชม พระอาทิตย์ขึ้น-ตกดิน และสัมผัสทัศนียภาพ ของถนนทางขึ้นดอยอ่างขาง การเดินทางสู่ดอยอ่างขาง สามารถเดินทางได้ 2 เส้นทาง • เส้นทางที่ 1 จากตัวเมืองเชียงใหม่ใช้เส้น เป็นสถานีวิจัยแห่งแรกของโครงการ ทางหลวงหมายเลข 107 สายเชียงใหม่-ฝาง หลวง ตั้งอยู่บนเทือกเขาแดนลาว ตำ�บลแม่ เลี้ยวซ้ายทางแยกตำ�บลเมืองงาย ตรงเข้าเส้น

ธันวาคม ๒๕๕๒

36 37


37 36

ทางหลวงหมายเลข 1178 ผ่านบ้านอรุโณทัยไปยังศูนย์ฯ คณะของผมก็ใช้เส้นนี้ขาไปเพราะขึ้นจะง่ายกว่าสายอื่น • เส้นทางที่ 2 จากตัวเมืองเชียงใหม่ ใช้เส้นทางหลวง หมายเลข 107 สายเชียงใหม่-ฝาง ถึง กม. 137 แยกบ้าน ปางควาย เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1249 ตรงไป ประมาณ 25 กิโลเมตร หมายเหตุ - ใช้ ร ถยนต์ ไ ด้ ทุ ก ประเภท (ควรเช็ ค สภาพ เครื่ อ งยนต์ ก่ อ นขึ้ น เขา และผู้ ขั บ ขี่ ค วรมี ป ระสบการณ์ เพราะเส้นทางมีความชันมาก) หรือใช้บริการรถยนต์รับจ้าง จุดจอด ณ ปากทางขึ้นดอยอ่างขาง ราคาเหมา 1,000 1,500 บาท หากใช้เป็นขาลงหากรู้ว่ามีการแตะเบรคมากซึ่ง อาจไหม้ได้ ควรแวะพักตามจุดที่เจ้าหน้าที่ ก่อนขับลงอีก ครั้งจะปลอดภัยกว่าเพราะผมก็ทำ�ตามแบบนี้ หลังกลิ่นยาง รถเริ่มไหม้ฉุนจมูกมากๆ ขึ้นมาหวาดเสียวน่าดูเหมือนกัน นึกว่าจะไม่ได้กลับมาเขียนบทความให้อ่านเสียแล้ว ไม่แน่ จริงสายนี้อย่าขับขึ้นมานะครับ เอาแค่เป็นทางสายลงก็โอ เคอยู่ ที่พักและร้านอาหาร บนดอยอ่างขาง • ห้องพักของโรงแรมเครือ AMARI คือ โรงแรม รีสอร์ต ธรรมชาติ อ่างขาง ซึ่งราคาก็สูงมากพอควร แนะนำ�ให้ ตรวจสอบราคาก่อนจาก อินเตอร์เน็ต หรือ โรงแรมโดยตรง Tel : +66 (0) 5345 0110 Fax : +66 (0) 5345 0120 นอก นั้นก็มี ที่พักเรือนพักของเอกชนอื่นๆ ราคาก็มากน้อยต่าง กัน แต่ก็อิงกับช่วงเวลาที่เข้าพัก หากเป็นช่วงหน้าหนาวก็ แพง เริ่ม ธันวาคม มกราคม กุมพาพันธ์ แน่นอนว่าราคา จะสูง หรืออาจกลับมาใช้บริการของ • บ้านพักรับรองภายในศูนย์ฯ ก็มี จำ�นวน 18 หลัง ขนาด พัก 2 คน ราคา 1,000-1,200 บาท/หลัง/คืน ขนาดพัก 6 คน ราคา 1,200-1,800 บาท/หลัง/คืน และขนาดพัก 40 คน ราคา 150 บาท/คน/คืน ราคาอาจเปลี่ยนแปลงได้ • เต็นท์บริการ ขนาด 2-3 คน ราคา 150 บาท/หลัง/คืน

หากรวมถุงนอนราคา 300 บาท/หลัง/คืน ขนาด 4-5 คน ราคา 300 บาท/หลัง/คืน หากรวมถุงนอน ราคา 500 บาท/ หลัง/คืน กรณีนำ�เต็นท์มาเองคิดค่าบริการพื้นที่คนละ 20 บาท • มีร้านอาหารและเครื่องดื่มภายในสโมสรอ่างขาง สถานที่ติดต่อ • สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง บ้านคุ้ม หมู่ 5 ตำ�บลแม่งอน อำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50320 โทร. 0-5345-0107-9 (สำ�รองที่พักล่วงหน้าก่อนเดินทางอย่างน้อย 1 เดือน) นอกนั้นก็มีร้านค้า ร้านอาหารข้างนอกโครงการฯ มีทั้งร้านรวงขายสินค้ามากมาย เหมือน บ้านม้งดอยปุย ที่ เชียงใหม่ ราคาอาหารก็กันเองไม่แพงอย่างที่คิดชิวชิว รสชาติผมว่าอร่อยถูกปากทุกอย่าง สินค้าของที่ระลึกเน้น เสื้อกันหนาว ถุงมือ หมวกไหมพรม นี่มากกว่าอื่นๆ แต่ที่ น่าทึ่งก็มีการขายมันปิ้ง และดื่มน้ำ�ขิง น้ำ�โสม ฯลฯ แก้วละ 10 บาท ถูกแสนถูก สบายกระเป๋าละกัน เลยอยากให้ทั้ง ชีวิตนี้ของทุกท่าน ลองหาโอกาสไปเที่ยว อ่างขาง กันนะ ครับ แล้วท่านจะบอกว่าสวนสวรรค์ในโลกอยู่ใกล้แค่เอื้อม นี้เอง ชาวฝางเองก็อย่าใกล้เกลือกินด่างนะ เสียดายพื้นที่ จำ�กัด หากมาเที่ยวอ่างขางอย่าลืมแวะ สวนส้ม ช.เจริญ ที่ โด่งดังในความอร่อยของท่าน อน.ครรชิต ตติปาณิเทพ แห่ง สโมสรโรตารีฝาง สวนกว้างสุดลูกหูลูกตา แนวต้นส้มที่สาด สีทองจากผลส้ม ดูอร่ามตาเหมือนมีทองคำ�เปลวมาปลิวไสว ท่ามกลางหมอกเมฆ ขอบอกว่าสวยมากๆ และอิ่มอร่อย จากผลส้มที่เด็ดจากต้นสดๆ เดี๋ยวนั้น ก็ขอขอบคุณท่าน ครรชิต ที่ต้อนรับคณะ “เอกพาแอ่ว” ด้วยความประทับใจ ไม่มีวันลืมความอร่อยของส้ม ช.เจริญ ณ ที่นี้ และท้ายนี้ ก็ขอฝาก “สวัสดีปีใหม่ 2553 (2010) ปีขาล แด่มิตรโรแท เรียนทุกท่าน ขอให้สมหวังในทุกๆ สิ่ง ตามที่ตั้งจิตอธิฐาน ไว้ทุกประการ สวัสดีปีใหม่ แล้วพบกันฉบับหน้าครับ

ธันวาคม ๒๕๕๒


เล่าขานตำ�นาน

“ล้านนา รำ�ลึก 700 ปี ที่สูญหาย”

นรินทร์ ลิ้มเล็งเลิศ

นักศึกษาปี 4 สาขาการบัญชี และการเงิน University of Virginia, Charlottesville ,Va., USA.

ความเป็นล้านนาไม่ได้ถือกำ�เนิดขึ้นพร้อมๆ กับการสร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ เมื่อ ๗๐๐ ปีมาแล้ว แต่ความเป็นล้านนาได้ปรากฎขึ้นเมื่อ ๕๐๐ ปีก่อน ในสมัยพระเจ้าติโลกราช (พศ ๑๙๘๔ ถึง ๒๐๓๐) ในแง่ของการเมือง, สังคม, ศิลปะ,และวัฒนธรรม ในแง่การเมืองพระเจ้าติโลกราชนั้นมีเขต ปริมณฑลแห่งอำ�นาจที่กว้างใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ล้านนา ในยุคนี้ขอบเขตอำ�นาจได้แผ่ไปสู่อณาจักร แพร่, น่าน, และ ล้านช้างบางส่วนทางตะวันออก อำ�นาจได้แผ่ไปทางใต้สู่บริเวณเดิมของอณาจักรสุโขทัย นั่นคืออาณาเขตปัจจุบันของโรตารีภาค ๓๓๖๐ ของเราทั้งหมดนั้น รวมเป็นหนึ่งในขอบเขตล้านนาในสมัย พระเจ้าติโลกราชนั้นเอง ความรุ่งเรือง ยิ่งใหญ่ของล้านนานั้น .สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น ประมาณแปดโมงเช้ากลางฤดู ร้อนที่ท้องฟ้าปรอดโปร่ง สดใส ถนนเส้นห้วยแก้วทางไปวัดเจ็ดยอด วัดพระจำ�รัชกาลพระเจ้าติโลกราช เต็มไปด้วยยวดยานพาหนะ ดังนั้นฉันจึงตัดสินใจไปวัดเจดีย์หลวง กลางเวียง ซึ่งการจราจรไม่คับคั่งนัก แทน แต่คิดผิดการจราจรคับคั่งมาก แต่พอเข้าสู่บริเวณวัดแล้วราวกับเวลาเดินช้าลง เจดีย์หลวงองค์นี้ ซึ่งได้สร้างในสมัยพญาแสนเมืองมา (พศ ๑๙๒๘ – ๑๙๔๔) นั้นใหญ่โตเหลือเกิน แม้แต่ตึกรามบ้านช่อง อุโบสถก็ดูเล็กไปถนัดตา การถ่ายรูปองค์เจดีย์นั้นก็ช่างยากเย็น พยายามตั้งกล้องหลายที แต่ภาพที่ออก มาถ้าเห็นคนก็จะไม่เห็นองค์เจดีย์ ถ้าเห็นองค์เจดียก์ จ็ ะไม่เห็น คน ... ความใหญ่โตแห่งเจดียน ์ ีเ้ ป็นประจักษ์ พยานแห่งความรุ่งเรืองแห่งล้านนาได้ดีแท้ น่าจินตนาการเหลือเกินว่าหากยอดเจดีย์ไม่ได้หักลงไปในสมัย มหาเทวีจิรประภา (พศ ๒๐๘๘) แล้ว เจดีย์ตรงหน้าจะสูงขึ้นไปถึงสวรรค์ไหม ไม่น่าแปลกใจเลยที่นัก วิชาการบางท่าน ให้ทฤษฎีว่า เจดีย์แห่งนี้เป็นสัญลักษณ์ แห่งเขาพระสุเมรุ เทือกเขาสูงสุดอันเป็นที่ตั้ง แห่งสวรรค์ดาวดึงส์ หลังจากทำ�สักการะพระเจดีย์ ฉันก็เดินวนรอบองค์พระเจดีย์ บรรยากาศแห่งอดีตก็ยังเข้ามาใน คำ�นึง... ในสมัยพระเจ้าติโลกราช เจดีย์สูงใหญ่แห่งนี้คงอยู่ในสภาพสมบูรณ์ สุดสวยงามไม่มีที่ติ แสง พระอาทิตย์คงมากระทบสีเขียวมรกตแห่ง “พระแก้วมรกต” และเปล่งประกายมรกตไปทั่วบริเวณศักสิทธิ์ พระแก้วมรกต นั้นท่านเดินทางไกลมาจากเมืองปาตาลี ปุตรา อินเดีย (สร้างในราว พศ ๕๐๐) มาประทับ ทีพ ่ ระธาตุลำ�ปางหลวง ก่อนทีจ่ ะอัญเชิญมาทีพ ่ ระเจดียห์ ลวงในสมัยพระเจ้าติโลกราช (ก่อนที่ จะถูกอัญเชิญ ไปที่เวียงจันทน์ ในสมัยพระไชยเชษฐาแห่งล้านช้าง พศ ๒๐๙๐ และสิ้นสุดที่พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร) นอกจากนั้นแล้วคงมีกลิ่นธูปเทียน ดอกไม้ และเสียงดนตรีล้านนา ที่ช่างฟ้อนวาด ลวดลายไปตามจังหวะ... จินตนาการแห่งอดีตหยุดเวลาทัง้ ปวง ช่างน่าอภิรมย์ ทำ�ให้ลมื เรือ่ งวุน ่ วายทัง้ หมด ในปัจจุบัน และอนาคต ... ฉันดูเวลาและตัดสินใจว่าได้เวลาเดินทางไปต่อที่วัดโลกโมฬี (อ่านต่อฉบับหน้า) The word “Lanna” was not simply a product of Mengrai’s settlement of Chiang mai 700 years ago. Instead, the word encompassing the politics, social, ethnicity, customs, and people’s way of life, theoretically existed 500 years ago under the reign of Tilokaracht the great (1441 – 1487 Ce.). Politically, Tilokaracht had the greatest power among all kings of the Mengrai dynasty, the power of which was widely accepted by all neighboring kingdoms. During Tilokaracht period, the boundary of the kingdom of Mengrai dynasty encompassed every present day locations of our 3360 district. The unity of the kingdom brought uniqueness. The distinctiveness of which is later termed “Lanna.” The voyage to the Lanna’s old day can be best witnessed by doing a field study not by simply reading in an elephant tower. It was 8 am in one summer morning. At first, I prepared to go to Wat Chet Yod, the temple of Tilokaracht the great; however, the traffic on Huay Kaew road was very busy. Accordingly, I chose to do a field study at Wat Chedi Luang, instead. Unfortunately, the traffic along Ku Muang was ridiculous; however, I managed to push through the traffic and arrived at Wat Chedi Luang in a mean time. Inside “wat” area, the time moved slower than outside, somehow. The big pagoda in front of me was built during the reign of king Sanmuangma (1385 – 1401ce). The pagoda’s size was so enormous that the surrounding commercial and residential buildings seemed small. The task of capturing a scene of pagoda was complicated due to the pagoda’s size. The greatness of the pagoda was a perfect remnant manifesting the greatness of the old day Lanna. If the top of the pagoda did not fall down during the time of queen Chiraphrapa (1545 Ce), the pagoda would be incredibly tall. The summit of which may reach the “heaven.” Some historians theorize that this pagoda symbolizes “Mount Meru,” the base of “Daodeung heaven” in the sharing Buddhist and Hindu belief about the universe cosmology. After praying to a Buddhist figure, I walked around the pagoda. Suddenly, the imagination of the past flowed through my thought. During Tilokaracht the great, the pagoda would be in a perfect shape, absolutely manifesting Lanna greatness. The color of the “Emerald Buddha” would glisten and radiate a holy area. The “Emerald Buddha” was brought from Pataliputra, India in 43 BCE to be worshipped in Wat Phrathat Lumpang Luang and then to Wat Chedi Luang during Tilokaracht. The journey of the “Jade Buddha” has been a long story, and the “Emerald Buddha” is today worshipped at a temple at the Bangkok Royal Palace. The past of this area would be filled with the smell of ornaments, flowers, and incense. The sound of Lanna’s traditional instrument like Sabad chai drum would energize the area while the dancer slowly and smoothly danced following the rhythm. The imagination of Lanna’s old day brought away the present and the future… I watched the time and decided it was a time to drive to Lok Moli temple (To be continued....)

ธันวาคม ๒๕๕๒

39 38


Zoom Inside 3360

38 39

Zoom Inside 3360 ด้วยความมานะและเขียนรายงานเก่ง อน.เปี่ยมสุข จันทรัตน์ ผลงาน มากมายเก็บละเอียดยิบ รับถ้วยสมเด็จพระเทพฯ ถิ่นไทยงามจัดพิธีฉลองด้วยวงดุริยางค์ โรงเรียนยุพราชวิทยา อัญเชิญถ้วยพระเทพฯเข้าสู่ห้องประชุม เมื่อวันที่ 5 พย.52 มิตร โรแทเรียนร่วมแสดงความยินดีคับคั่ง ฉลองด้วยความเรียบง่าย ดีใจและเป็นกำ�ลังใจให้ ตลอดสมัยค่ะ....*** ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ รณรงค์ให้มิตรโรแทเรียนร่วมเดินทางไป ประชุม Manila Institute ที่มะนิลา ภาค 3360 ร่วมเดินทางถึง 38 ท่าน แต่ลงทะเบียน ร่วมประชุม 20 กว่าท่าน นอกนั้นเที่ยวด้วยความสนุกสนานค่ะ...*** มิตรโรแทเรียนที่ แจ้งความประสงค์ร่วมบริจาคเพื่อมูลนิธิ จากการเยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการของ ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ กรุณาส่งเงินให้ประธานมูลนิธิ อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ได้แล้ว นะคะ...*** ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี เรียกประชุมคณะกรรมการก่อนการเดิน ทางไปร่วมอบรม Institute หลักใหญ่เรือ่ งมูลนิธแิ ละ Future Vision กลับมาแล้วจะรายงาน การประชุมให้ทราบค่ะ....*** เตรียมพร้อมในการจัดประชุมใหญ่ภาค 3360 District Conference ประธานจัดการประชุม อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ เรียกประชุมคณะกรรมการ แบ่งงานแบ่งหน้าที่แต่ละสโมสรเรียบร้อย เตรียมการแต่เนิ่น ๆ ...*** อาลัยการจากไป ของน้องไนซ์ รทร.สุนิพิฐ คงเมือง ภาค3360 สูญเสียกำ�ลังสำ�คัญ คนหนุ่มอนาคตไกล เสียใจแทนคุณแม่ นย.นิตยา ภู่ยงยุทธ...*** บก.อน.วาณิช โยธาวุธ เดินทางจากแม่สาย ร่วมพิธีสวด รทร.สุนิพิฐ คงเมือง สุดเสียดายร่วมงานกันได้ 5 เดือนกำ�ลังสบาย ๆ มีผู้ ช่วยคนเก่ง จัดเรียบเรียงภาพให้ทุกฉบับ นึกว่าสบาย ๆ แย่เลยต้องทำ�เองอีกแล้ว ..บก. รำ�พึงถึงน้องไนซ์ค่ะ...*** เตรียมจัดงานใหญ่ด้วย 2 ตำ�แหน่ง นายกสมาคมผู้ปกครอง อน.จินดา จรรญาศักดิ์ และนายกสโมสรโรตารีลำ�พูน นย.สมพล เจียรนัย หาทุนให้สโมสรและโรงเรียนส่วนบุญ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ โญปถัมภ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์วงใหญ่ เสาร์ที่ 6 กพ.53 บัตรเพียง 300 บาท เท้าไฟ ถิ่นไทยงาม เตรียมตัวนะคะ...*** เตรียมพร้อมเป็นวิทยากร Inter city อผภ.นพนธ์ อิ่นคำ� เต็มที่กับ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมายค่ะ...*** ประชาสัมพันธ์คนเก่ง อน.จันทนี เทียนวิจิตร ด้วยความ สามารถและมากด้วยมนุษย์สมั พันธ์ รับหน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์ปบี ริหารหน้าต่ออีกปีคะ่ ...*** ชื่นชมสโมสรล้านนาเชียงใหม่ นย.นิตยา ภู่ยงยุทธ กิจกรรมมากมาย เป็นสโมสรที่เข้ม แข็งและเป็นกำ�ลังสำ�คัญของภาค สโมสรโตวันโตคืน...*** เมื่อวันที่ 5 ธค.คุณแม่ของ อน.ชนะ เอกอิสรกุล คุณแม่วัชรี บุญชื่น มอบเงิน 100,000 บาทสมทบทุนสร้างศูนย์โรค หัวใจ ลำ�ปาง กำ�ลังหลักในการหาทุน อน.ชนะ เอกอิสรกุล เตรียมจัดคอนเสริตทีห่ อประชุม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่...*** เสร็จสิ้นการเยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการ ผวภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ ซาบซึ้งอบอุ่นและประทับใจจากการเยี่ยมสโมสรในภาค 3360 จะกำ�หนดวันเพื่อ เดินทางไปเยี่ยมสโมสรโรตารีเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นสโมสรสุดท้าย มิตรโรแทเรียน รอฟัง กำ�หนด ผวภ.แววดาว ลิม้ เล็งเลิศ มีความประสงค์จะจัดขบวนใหญ่ทวั ร์ประเทศลาวค่ะ...*** อน.เบ็ญจลักษณ์ อัครพสุชาติ สโมสรศิลาอาสน์ จะเป็น Team Leader นำ�คณะ GSE แลก เปลี่ยนกับภาค 5730 รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา...*** สโมสรที่ได้รับการคัดเลือกในการส่ง GSE สโมสรเชียงใหม่ – เชียงใหม่เหนือ - ช้างเผือกเชียงใหม่ - เวียงโกศัย...*** ปีบริหาร หน้า มีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อย่าง โครงการ GSE ก็จะไม่มี เปลี่ยนเป็น VTT จะ ต้องหาคู่มิตรต่างประเทศเพื่อทำ� Matching Grant หาทุนในการเดินทางเอง ผู้ที่จะร่วม เดินทางจะต้องมีอาชีพเดียวกันทั้งหมด เมื่อกลับมาแล้วจะต้องร่วมกันทำ�โครงการ 1 โครงการ นโยบายหลาย ๆ อย่างเปลี่ยนไป...*** ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ขอบคุณ นยล.อุณา ชไนเดอร์ ที่กรุณาช่วยแปล อน.พัลลภ ลาศุขะ ช่วยเกลาสำ�นวน Future Vision Plan ทุกสโมสรคงจะต้องเตรียมพร้อมในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใหม่ อน.อนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ จะถ่ายทอดให้มิตรโรแทเรียนในโอกาสต่อไปค่ะ...*** พบกันใหม่ฉบับหน้า ...........เอื้องผึ้ง...........

ธันวาคม ๒๕๕๒


Activities สโมสรศรีสองแคว นย.มนัส จุติพระประสิทธิ์ มอบอุปกรณ์ การศึกษาวงเงิน 10,000.-บาท ให้โรงเรียนวัดหินลาด จ.พิษณุโลก เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 โดย ผอ. สุวรรณ ฮองกุล เป็นผู้รับมอบ

นาย กวิน กู๊ตไชค์ และ นางสาว ชมพู่ ตันตระกูล วายอีจากสโมสรโรตารี เชียงรายเหนือ ร่วมเดิน พาเลช กีฬาสี โรงเรียน สามัคคีวิทยาคม วันที่ 11-14 พย.52

สโมสรโรตารีวัง จันทน์ ต้อนรับ คณะ RFE จาก ประเทศ Australia เมื่อ วันที่ 1-3 พย.52 ที่จังหวัด พิษณุโลก

สโมสรโรตารีน่าน ร่วมกับสโมสร โรตารีแม่วัง ได้บริจาค ข้าวสาร อาหารแห้ง เสื้อผ้า และอื่นๆ ที่ให้ แก่ชุมชนของเผ่ามลาบรี(ตองเหลือง) ณ บ้านห้วยหยวก อ.เวียงสา จ.น่าน และมอบทุนการศึกษาให้ แก่เด็กนักเรียนที่ โรงเรียนสตรีศรี น่าน สโมสรโรตารีพิษณุโลก มอบเครื่องผลิต ก๊าซ ออกซิเจน 4 เครื่อง ให้กับโรงพยาบาล พุทธชินราช ผู้อำ�นวย การโรงพยาบาล เป็น ผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 ที่ ผ่านมา สโมสรโรตารีแม่จัน จัดกิจกรรม ปล่อยปลามหากุศล 50,000 ตัว ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธันวาคม 2552 สโมสรโรตารีแม่จันจัดงานวัน ครอบครัวโรตารี และมอบทุนการ ศึกษา ระดับอุดมศึกษา 20 ทุน รวมเป็นเงิน 158,000.-บาท

ธันวาคม ๒๕๕๒

40 41


สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ ศิลาอาสน์ พิชัย และ ลับแล ร่วมกับ สโมสรโรตารีโตไก ประเทศญี่ปุ่น มอบเครื่องไตเทียม เครื่องสารละลายทางหลอดเลือดดำ� (เครื่องให้น้ำ�เกลือเด็ก) และเก้าอี้สำ�หรับ ผู้ป่วย มูลค่า 602,400 บาท (หกแสน สองพันสี่ร้อยบาทถ้วน) ให้กับ รพ.อุตรดิตถ์ เมื่อวันที่ 24 พย. 2552 ณ ห้องประชุมคอนเวนชั่น รพ.อุตรดิตถ์ สโมสรโรตารีในจังหวัดพิษณุโลก โดย ผชภ.รุ่ ง รานี แสงศิ ริ เป็ น ตั ว แทน แถลงข่าวการรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ แก่เด็กอายุต่ำ�กว่า 5 ปี โดยมีนายนริศ ปิยพฤทธิ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธานร่วมกับนายแพทย์สาธารณสุข จั ง หวั ด พร้ อ มทั้ ง มอบของเล่ น แก่ เด็กๆ ผ่านรองผู้ว่าฯ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านมา

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ ประธาน จัดงานประชุมใหญ่ภาค 3360 ได้ เชิญ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ และ คณะกรรมการ ร่วมประชุมเตรียม งานประชุมใหญ่ครั้งที่ 2/2552 ณ โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว เมื่อวัน ที่ 12 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านมา ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ จัด งาน YE NIGTH ณ บ้านเรือนไทย หลังงาม ย่าน แม่ริม เมื่อวันที่ 8 พ.ย.52 อน.ยุทธนา นฤนาทวงศ์สกุล ประธานจัดอบรมผู้นำ�เยาวชน( RYLA) สรุปผลการจัดงาน และ เลี้ยงขอบคุณคณะ กรรมการจัดงาน และมอบโล่ แก่คณะกรรม โดย ผวภ.แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านมา

41 40

นย.ราตรี พิมพ์พันธุ์ และ อน.สุภาพร เนตรงาม ร่วมทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ที่จ.แม่ฮ่องสอน สามสโมสรโรตารี สร.พระปฐมเจดีย์ ภาค 3330 โรตารีสากล สร.เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม และ สร.แม่ฮ่องสอน ภาค 3360 โรตารีสากล ร่วม กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ ณ โรงเรียนบ้านห้วย เดื่อ จ.แม่ฮ่องสอน ในวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม 2552

ธันวาคม ๒๕๕๒


Activities สโมสรโรตารีเชียงรายเหนือได้ร่วม กันไปบริจาคเครื่องกรองน้ำ� เสื้อผ้า หนังสือและเครื่องกีฬา ให้กับ โรงเรียนสามัญ กินนอนชนเผ่า ซึ่ง สมเด็จพระเทพฯ ได้สร้างมอบ เมื่อ 16 พย.2545 มีนักเรียน 229 คน และครู 19 ท่าน ณ แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว วันที่ 7 ธค.52” สโมสรศิลาอาสน์ จัดกิจกรรม ปล่อยปลามหากุศล เนื่องในวัน พ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2552 ที่ จ.อุตรดิตถ์ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง เลิศ เป็นประธานในพีธีปล่อยปลา

สโมสรโรตารีแม่สาย อบรมวิชาชีพ “การ นวดฝ่าเท้า” วันที่ 15 พฤศจิกายน 2552 นำ� โดย นยล.บัณฑิต รัตนวิมล และ ประธานบริการอาชีวะ อน.นันทวัตร ธาร กกาญจน์ นย.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ นำ�มวลมิตรโรตารี แม่สาย มอบผ้าห่มนวม จำ�นวน 90 ผืน ให้ แก่ผู้ประสบภัยหนาว ณ.มูลนิธิกวงเม้ง และ ร่วมขบวน คณะอินเตอร์แรคโรงเรียนแม่สาย ประสิทธิ์ศาสตร์ จำ�นวน 80 คน และสโมสร อินเตอร์แรคโรงเรียนสุโขทัยจำ�นวน ร่วม 80 คน มอบเครื่องนุ่งห่มให้ผู้ประสบภัยบ้าน พระเจ้าทันใจ ต.บ้านโป่ง อ.แม่สาย จ.เชียงราย ในวันที่ 11 ธันวาคม 2552 สโมสรโรตารีพิษณุโลก มอบเครื่องผลิต ก๊าซ ออกซิเจน 4 เครื่อง ให้กับโรงพยาบาล พุทธชินราช ผู้อำ�นวย การโรงพยาบาล เป็น ผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 ที่ ผ่านมา สโมสรโรตารีแม่จัน จัดกิจกรรม ปล่อยปลามหากุศล 50,000 ตัว ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 5 ธันวาคม 2552 สโมสรโรตารีแม่จันจัดงานวัน ครอบครัวโรตารี และมอบทุนการ ศึกษา ระดับอุดมศึกษา 20 ทุน รวมเป็นเงิน 158,000.-บาท

ธันวาคม ๒๕๕๒

42 43


“กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ดีเด่นปี 2551-2552” สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม ได้ครองถ้วยสมเด็จ พระเทพรัตนสุดา อีกปี จึงได้จัด ฉลองถ้วย ในวันประชุมประจำ� สัปดาห์ เมื่อวันที่ 5 พ.ย 52 ที่ ผ่านมา และ ในโอกาสนี้ ได้ทำ�พิธี รับสมาชิกใหม่ “ดร.จิตรลดา บุรพรัตน์” อน.มนตรี วงศ์เกษม ประธาน อนุกรรมกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน ได้ จัดประชุมเพื่อ สอบคัดเลือก GSE Team Leader และสมาชิกทีม รวม 5 คน เพื่อเดินทางไปแลกเปลี่ยน ณ รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ในช่วงวัน ที่ 15 เมษายน-15 พฤษภาคม 2553 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมเซ็นทาราดวงตะวัน อน.วาริน ไทยธีระเสถียร ได้เหมาโต๊ะจีน จากชลบุรี เลี้ยงพระและเณร จำ�นวน 999 รูป ณ วัดศรีโสดา ร่วมกับสโมสร โรตารีล้านนา และสโมสรโรตารีในจังหวัด เชียงใหม่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในวันเฉลิมพระชนม์พรรษา 5 ธันวาคม 2552 และในโอกาสนี้ ได้จัด กิจกรรม ทอดผ้าป่าสามัคคีเพื่อสมทบทุน ในการสร้างฝายถวายในหลวงด้วย เยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการ 2 สโมสรสุดท้าย สโมสรโรตารี แม่ฮ่องสอน และโรตารี แม่สะเรียง เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552 ณ โรงแรม อิมพีเรียลธารา แม่ฮ่องสอน

คณะของภาค 3360 โรตารี สากล นำ�ทีมโดย ผวภ.แวว ดาว ลิ้มเล็งเลิศ เข้าร่วมการ ประชุมโซน 6 B (2OO9 Manila Zone Institue) ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ 26-29 พย. 2552 ที่ผ่านมา

43 42

ธันวาคม ๒๕๕๒


มุม...สบาย...สบาย

มวลมิตรโรแทเรียน โรตารีแอนน์และสุภาพบุรุษโรตารีที่เคารพ ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 6แล้วครึ่งทางพอดีครับมีสมาชิกหลายท่านได้แนะนำ�ให้เพิ่ม เรือ่ งตลกให้มากหน่อยเพราะอ่านไม่คอ่ ยจะจุใจเลยบางเล่มมี 3 เรือ่ งบางเล่มมีอยู่ 4 เรือ่ ง.... ครับ..ผมจะพยายามเพิ่มให้มากขึ้น........แต่ถ้าเพิ่มเรื่องตลกมากขึ้นผมจำ�เป็นต้องตัดบาง เรื่องออกไป….อย่างนี้ก็แล้วกัน....รายชื่อของผู้ที่ได้รับรางวัลผมจะไม่แจ้งให้ทราบแต่จะส่ง รางวัลไปให้และ เฉลยคำ�ตอบก็จะไม่เฉลยเพราะว่าคำ�ตอบมีอยู่ในสารฉบับที่ผ่านมาจะ ทำ�ให้เพิ่มเรื่องตลกได้อีกประมาณ 2 เรื่องรวมเป็น 6 เรื่องก็คงจะ โอ.เค คำ�ถามฉบับนี้ไม่ยากครับ ของรางวัลเป็นรถยนต์ 3 คันตามคำ�เรียกร้อง Model น่ะครับ พูดถึงของรางวัลมีจดหมายเขียนมาถามว่าขอของรางวัลเลยโดยไม่ตอบคำ�ถาม จะได้ไหม? อืม...*x.y z.-%#@....อันนี้ก็ต้องรอว่าไม่มีคนส่งคำ�ตอบมาร่วมรายการก่อน แล้วของรางวัลเหลือผมจะส่งไปให้น่ะครับอย่าลืมส่งที่อยู่มาให้ผมด้วยน่ะครับ.....สวัสดี

ฉลาดเกิน สันติไปเยี่ยมกฤษณะที่บ้าน ขณะกำ�ลังจะ ล่ำ�ลากลับบ้าน ฝนก็ตก สันติจึงอยู่ค้างคืน บ้านกฤษณะหนึง่ คืน เเล้วอยูๆ่ สันติกห็ ายตัว ไป หนึ่งชั่วโมงให้หลัง สันติก็กลับมา กฤษณะ : นายไปไหนมา สันติ : กลับบ้านไปบอกเมียว่าวันนี้ฝนตก ไม่กลับไปนอนที่บ้าน

อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ สโมสรโรตารีแม่สาย คู่สร้าง คู่สม ชายหญิ ง คู่ ห นึ่ ง หมั่ น กั น มาปี ค รึ่ ง ยั ง ไม่ แต่ ง งานกั น เสี ย ที ญาติ ผู้ ใ หญ่ จึ ง ถามว่ า “ทำ�ไม” หญิงสาวตอบว่า “คุณอาน่าจะรู้ว่า เวลาเขาเมา หนูไม่เต็มใจแต่งงานกับเขา แต่ เวลาเขาสร่างเมา เขาไม่ยอมแต่งงานกับ หนู”

ไม่คืนเงิน เนส : คุณน้าครับ เมื่อเช้านี้ผมมาซื้อของ แล้วคุณน้าทอนเงินให้ผมผิดไป 20 บาทครับ น้าตุ๊ : แล้วทำ�ไมตอนนั้นไม่บอกล่ะ มาพูด ตอนนี้ก็สายเกินไปแล้วล่ะ เนส : ก็ดีครับ ถ้าอย่างงั้น ผมก็ไม่ต้องคืน เงิน 20 บาทที่คุณน้าทอนเกินให้ผมนะครับ ใครจะอยากชิม ยายทองสุกให้หลานสาวเฝ้าอาหารไว้ เมื่อ ยายทองสุกกลับมาในครัวอีกครั้ง ยายทองสุก : แกแอบชิมยำ�ใช่ไหม? หลานสาว : เปล่านะยาย ใครจะอยากชิม เปรี้ยวจะตาย ยายทองสุก : ?????

คำ�ถาม 1 .สภานิติบัญญัติของโรตารีมีหน้าที่อะไร ? 2. ในปีที่ไทยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมโรตารีสากล ใครเป็นประธาน โรตารีสากล ? 3. ใครพูดว่า “โรตารีที่มีอายุเกินร้อยปีนั้นเจริญเติบโตมาโดยอาศัยบ่าของ คนรุ่นก่อน” ? 4. ใน youth corner จิตใต้สำ�นึกที่นักเรียนเเลกเปลี่ยนโรตารีพึงมีคือ อะไร ? 5. ซากเมืองโบราณของราชวงศ์ใด ที่นักโบราณคดีเชื่อว่าจมอยู่ใต้ แม่น้ำ�กก ?

คำ�ถาม Puzzle ธันวาคม ๒๕๕๒

45 44


DG’s Activities

(บนสุด) แพคทีมทัวร์ภาค 3360 นำ�ทีม โดย ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ไปร่วม การประชุมโซน 6 B (2OO9 Manila Zone Institue) ณ กรุ ง มะนิ ล า ประเทศ ฟิลิปปินส์ 26-29 พย. 2552 (กลางขวา) ร่วมบริจาคเงิน US$2,000 ให้กับ นย.ฟ รานซิสโป สโมสรคู่มิตรบูกิตเคียร่าซัน ไรซ์ เพื่อร่วมก่อตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็ก ยากไร้ เ นื่ อ งจากบิ ด ามารดาเสี ย ชี วิ ต จากโรคเอดส์ ใ น ประเทศมาเลเซีย ณ โรงแรมเซาจาน่า และร่วมประชุม ประจำ�สัปดาห์ ณ สโมสรขี่ม้า กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ มาเลเซีย วันเสาร์ที่ 14 พย. 2552 (กลาง) ร่วมขบวน แห่กระทงใหญ่ของสโมสรโรตารี ลำ�พูนโดยมีนักเรียนแลก เปลี่ยนจากประเทศแคนาดา และประเทศเม็กซิโกมาร่วม นั่งในกระทง เมื่อวันอังคารที่ 2 พย. 2552 ณ ถนนรอบ เมืองจังหวัดลำ�พูน (กลางซ้าย) ร่วมเป็นสักขีพยาน ใน การเซ็นต่อสัญญาคู่มิตร ระหว่าง สโมสรฯช้างเผือก เชียงใหม่ และสโมสรฯพอร์ทแครง ประเทศมาเลเซีย วัน จันทร์ที่ 16 พย. 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อ. เมือง จังหวัดเชียงใหม่ (ล่างสุด) บรรยากาศในงานดิน เน่อร์ที่ โรแทเรียนไทย ร่วมกันแสดงวัฒนธรรมและเชิญ ชวนให้มวลมิตรโรแทเรียนต่างประเทศมาร่วมประชุม ที่ เมืองไทยในวันที่ 19-21 พย. 2553 ในโอกาสที่ ประเทศไทย จะเป็นเจ้าภาพจัดในปีหน้านี้

44 45

ธันวาคม ๒๕๕๒


แทนคำ�นับพัน

Ta-Shee Day-Lay! TIBET KumBum Chorten at Gyantse TIBET พระสถูปหมื่นภาพ เมืองกยานสึ ประเทศทิเบต

วัดปาลโช Pelkor Chode ในเมืองกยานสึ ก่อ ตั้งเมื่อปีคศ. ๑๔๑๘ เป็นที่ตั้งของ Kumbum Chorten อันมีชื่อเสียงของทิเบต Kumbum Chorten เป็ น สถาปั ต ยกรรม Masterpiece ของทิเบตในศตวรรษที่ ๑๕ (คศ. ๑๔๔๐) มีความหมายว่า หมื่นสถูป สถูปนี้มีความสูงถึง ๙ ชั้น มีลักษณะเหมือน

ธันวาคม ๒๕๕๒

โดมทองคำ� ครอบอยู่บนดวงตาที่มองออกไปทั้ง ๔ ทิศ และว่ากันว่ามีห้องสวดมนต์ ถึง ๑๐๘ ห้อง โดยรูป ลักษณ์สถูป ถอดแบบมาจากภาพวาด Mandala อ่าน ว่า มัน-ดา-ลา เรียกแบบไทยๆ ว่า มณฑล เป็นรูปวาด ในคติพุทธวัชรยาน แบบทิเบต ที่สื่อหลักการ ปรัชญา และคติธรรมของชาวพุทธที่เชื่อมโยงกันในขอบเขต วงกลมให้มากที่สุด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.