Dg-10-Sep-3

Page 1

03

Generation X Y Z ต่างวัย ใจเดียว www.rotary3360.org


สโมสรโรตารีแม่สอด & เมืองฉอด

สนับสนุนสารผู้ว่าการภาคฯ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔


สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓

September 2010 เดือนแห่วชนรุ่นใหม่ New Generation Month

Content สารบรรณ

2-3. สารผู้ว่าการภาคฯ 4. ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 5. สารเลขาฯภาค 6-7. สถิติการเข้าประชุม 8-9. DGE’s Corner 10. สนเทศโรตารี 11. คุยกันที่ขอบเวที

12-14. กิจกรรม Activities 17. สารประธานโรตารีสากล 18. พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส 19. บทบรรณาธิการ 20. ใจถึงใจ 21-22. เสียงนกเสียงกา 23-25. สกู๊ปพิเศษ

คณะอนุกรรมการจัดท�ำสารฯผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641

บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย) PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ)

PP.Prayoon Sirinaphaphan Mobile: 08-1783-5123 E-mail: payoon_siri@hotmail. com อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suvannee Sirinaphaphan Mobile: 08-1960-6737 E-mail:suwannee_siri@hotmail. com

กองบรรณาธิการ

ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail. com

26-27 บ้านเลขที่3360R.I. 28-30. รอบด้าน บ้านเรา 31-32 At a glance 33-34 มุมเยาวชน Youth Corner 35. Z00m inside 3360

อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb. net อน.ยศวัจน์ นิธิแัญญาวัฒน์ (เชียงใหม่ภูพิงค์) PP. Yosawat Nithipanyawat Mobile : 08-1961-9816 E-mail : nyosawat.gmail.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail. com

อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล (เชียงใหม่) Rtn.Sunti Laopanichkul Mobile: 08-1611-8779 E-mail : santi@rotary3360.org รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) Rtn.Jeeranan Jantanaket Mobile : 08-1671-3444 E-mail : je_ranan@hotmail.com


ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔

สารจากผู้ว่าการภาค กันยายน 2553 สวัสดีมิตรโรแทเรียนและโรตารีแอนน์ทุกๆท่าน ! กันยายน เดือนแห่งชนรุ่นใหม่ ปีนี้โรตารสากลให้ความส�ำคัญกับชนรุ่นใหม่ มติคณะ กรรมการบริหารโรตารีสากล ให้บริการชนรุน่ ใหม่เป็นบริการทีห่ า้ ร่วมกับอีกสีบ่ ริการ ซึง่ เป็นฐานราก ในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ของโรแทเรียนภาค 3360 ได้เตรียมการล่วงหน้าตัง้ แต่ตน้ ปี โดยรวมกิจกรรม เกี่ยวกับเยาวชนมารวมอยู่ในคณะกรรมการเยาวชนภาคประกอบด้วย โรเทอร์แรค อินเทอร์แรค แลกเปลี่ยนเยาวชน ไรล่า แลกเปลี่ยนชนรุ่นใหม่(New generation Exchange) และเยาวชนรุ่น เยาว์(Eary Act) เพื่อสร้างอนาคตของโรตารีตามนโยบายในศตวรรษที่สอง มิตรโรแทรเรียนครับ ! แม้ กันยายน เดือนแห่งสมาชิกภาพจะผ่านพ้นไปแล้ว หลายๆท่าน ได้ไปร่วมการอบรมแลกเปลีย่ นประสบการณ์เรือ่ งการเพิม่ สมาชิกในทีป่ ระชุม แต่มเี รือ่ งส�ำคัญทีอ่ ยาก ให้ทุกสโมสรรับทราบ ผลจากมติของสภานิติบัญญัติเมื่อปลายเมษายน 2553 เกี่ยวกับเรื่องสมาชิก ภาพ ท�ำให้คณะกรรมการบริหารของโรตารีสากลมีมติเตรียมรวมภาคโรตารีที่มีสมาชิกโรแทเรียน ไม่ถึง 1,200 ท่าน โดยดูสถิติแนวโน้มการเพิ่ม/ลด สมาชิกย้อนหลังห้าปีของแต่ละภาคเป็นแนวทาง ปรากฏว่าเฉพาะในเอเชียโซน 6 มีภาคที่อยู่ในข่ายถูกยุบรวม 33 ภาค ประเทศไทยอยู่ในโซน 6B มี 2 ภาคที่จะต้องถูกยุบรวม คือ ภาค 3360 และ 3340 โดยสถิติของภาค 3360 สมาชิกลดลงต่อเนื่อง ในสี่ปีที่ผ่านมา แม้จะเพิ่มสมาชิกในปี 2552-53 แต่เป็นเพราะก่อตั้งสโมสรใหม่ จึงอยู่ในข่ายถูกยุบ รวมแน่นอน โรตารีสากลได้ส่ง RID.K.R.Revindran มาประชุมอย่างเป็นทางการกับ ผวภ ผวล 3340, 3360 เมื่อ 17 กันยายน 2553 ที่ผ่านมา แจ้งมติดังกล่าวให้ทราบ อย่างไรก็ตามเราขอโอกาสสุดท้าย คือเสนอแผนแก้ไขระยะยาว 3 ปี ที่สามารถแสดงให้เห็นว่า ปีนี้(2553-54) สามารถเพิ่มสมาชิกสุทธิ เป็น 1,400 ท่าน ปีต่อไป(2554-55)เพิ่มสุทธิ 10%เป็น1,540 ท่าน และปี 2555-56 เพิ่มอีก 10% เป็น 1,690 ท่าน โดยไม่มีสโมสรสมาชิกต�่ำกว่า 10 ท่าน, และสโมสรน้อยกว่า 20 ไม่เกิน 10 สโมสร ในปีนี้ และทุกสโมสรต้องมีสมาชิก 20 ท่านขึ้นไปภายใน 30 มิถุนายน 2554 ภาคได้ตั้งคณะท�ำงาน เฉพาะกิจ วาระ 3 ปี “คณะกรรมการแก้ไขวิกฤตสมาชิกภาพ ภาค 3360 โรตารีสากล” มี อผภ. ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ เป็นประธาน โดยเริ่มท�ำงานตั้งแต่ 17 กันยายน 2553 ท่านนายกทุกสโมสร คงจะได้รับหนังสือแจ้งจาก ผวภ แล้ว ทุกท่านต้องช่วยกันอย่างเต็มก�ำลังทุกสโมสร จึงมีโอกาสรอด ขอให้กำ� ลังใจและขอพรจากผลบุญทีเ่ ราบ�ำเพ็ญประโยชน์เพือ่ ชุมชนมาช้านาน บันดาลให้เราประสพ ความส�ำเร็จฟันฝ่าวิกฤตได้ในที่สุด ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี ภาค 3360 โรตารีสากล

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


Messages from District Governor September 2010 Rotary District 3360 Dear Fellow Rotarians and Rotary Anns, September is designated as ‘New Generation Month’. This year Rotary International is focusing on expanding to youth and young adults since they are the future of Rotary. Approved by the Council on Legislation, New Generations have been officially recognized as the fifth Service Avenue added to the existing original four which form the foundation of Rotarians’ public services. District 3360 early prepared from the beginning of this current Rotary year to include youth related activities into Youth Committee consisting of Rotaract, Interact, Youth Exchange, RYLA, New Generation Exchange and EarlyAct to strengthen RI’s second century of service above self. My fellow Rotarians, though August – the Month of Membership passed by, many members participated in the training and exchanging of ideas for membership growth and retention strategies. However, there is very important decision taken at the Council on Legislation April 2010 to eliminate or change district boundaries if a district falls below 1,200 members (previously 1,000) determined by a trend forecast based on the past five years membership growth statistics. It appears there are 33 districts in Asia Zone 6 including Thailand in Zone 6 Section B having 2 districts: 3360 and 3340 will probably to be eliminated or merged. Statistics showed members of 3360 District constantly decreased since the past four years despite the effort to grow our membership during 2009-2010. However, they are new established clubs so we are very likely to be merged. Officially meeting between RID.K.R.Revindran sent by RI with DG. and DGE. 3340 as well as 3360 on 17 September 2010 notified us the merger resolution yet we made an earnest request and presented our 3 years membership growth plan that by 2010-2011, net members will increase to 1,400 then add 10% for the coming two years having 1,540 and 1,690 net members by 2011-2012 and 2012-2013 respectively. As per our long term solution, there will be no clubs with fewer than 10 members; there will not be more than 10 clubs with members less than 20 moreover every club must increase up to 20 members within 30 June 2011. According to this solution, District then formed ‘Membership Crisis Management Committee of Rotary District 3360’ as a 3-year special task force. PDG. Pairoj Uerprasert was appointed as Head of Committee. The special task force mission started since 17 September 2010 onwards. All Club Presidents would shortly be informed. I expect you all to provide full cooperation and contribution to retain existing members and be proactive in recruiting new members because together we can save our District. I encourage you to grow your clubs. I really believe we can do it. When our spirit is strong, everything else is secondary. May we be blessed, may all good deeds we did on service to community for years will, in return, help us accomplish our goals sooner. Yours in Rotary Service, DG. Dr. Virachai Chamroendararasame Rotary International District 3360


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


สวัสดีครับ มิตรโรแทเรียน ที่เคารพรักทุกท่าน กว่าที่สารฉบับนี้จะถึงมือทุกท่านก็คงจะเป็นปลายเดือนตุลาคมหรือย่างเข้าพฤศจิกายน เลขานุการทุกสโมสรคงจะเริ่มได้รับแบบฟอร์มรายงานครึ่งปีหลังบ้างแล้ว และในเวลาใกล้เคียงกัน น่าจะได้รับแบบฟอร์มการแจ้งชื่อนายกสโมสร-เลขานุการปี 2011-2012 จากโรตารีสากล นั่นเป็น สัญญาณว่าท่านนายกสโมสรคงไม่ลมื ทีจ่ ะจัดการประชุมใหญ่ประจ�ำปีของสโมสร (ธรรมนูญของโรตา รีบัญญัติไว้ว่า การเลือกตั้งนายกต้องกระท�ำก่อนรับหน้าที่ไม่เกิน 2 ปี แต่ไม่ต�่ำกว่า 18 เดือน) เพื่อ เลือกตั้งเจ้าหน้าที่สโมสรภายในไม่เกิน 31 ธันวาคม 2553 และต้องแจ้งชื่อในแบบฟอร์มส่งกลับไป อน.วีระพงษ์ โตแสงชัย ยัง RI เป็นการยืนยันและมั่นใจว่าสโมสรท่านจะมีรายชื่อนายก-เลขานุการสโมสร ตีพิมพ์ในท�ำเนียบ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ทางการ (RI Official Directory) ฉบับต่อไป รายงานครึ่งปีแรกและการช�ำระค่าบ�ำรุง RI ซึ่งเลยก�ำหนดส่ง ส�ำหรับปีนี้นับเป็นปีที่ภาค 3360 เรามีปัญหาวิกฤติ ภายในสิ้นเดือน กรกฏาคม 2553 นั้น ปัจจุบัน มี 39 สโมสร ที่ สมาชิกภาพที่ไม่คาดคิดให้ต้องรวมพลังกันแก้ไข เนื่องจาก ช�ำระแล้ว ยังขาดอีก 22 สโมสร จึงขอย�้ำเตือนให้ท่านรีบด�ำเนิน นโยบาย RI ที่จริงจังกับเรื่องการพัฒนาสมาชิกภาพทั่วโลก ซึ่ง การส่งรายงานและช�ำระค่าบ�ำรุงเสีย หากพ้น 31 ธันวาคม 2553 ภาค 3360 และภาค 3340 เป็น 2 ภาคใน 98 ภาคทั่วโลก ที่อยู่ สโมสรทีม่ ยี อดค้างช�ำระเกินตัง้ แต่ 250 USD.ขึน้ ไป จะมีผลท�ำให้ ในกลุ่มเสี่ยงอาจถูกยุบรวมภาค เพราะจ�ำนวนสมาชิกน้อยกว่า สโมสรนั้นๆถูก Terminate ทันที ส�ำหรับสโมสรที่ได้ส่งรายงาน เกณฑ์ทตี่ งั้ ไว้ เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมามีกรรมการบริหารโรตา และค่าบ�ำรุงแล้ว ขอช่วยกรุณาส่งส�ำเนารายงานและหลักฐาน รีสากล RID.K.R. Ravindran ได้มาประชุมอย่างเป็นทางการกับผู้ การช�ำระเงินให้เลขานุการภาคด้วย ว่าการภาคทัง้ 2ภาค ชีแ้ จงเหตุผลการยุบรวมภาคในโลก จึงเป็น 2. ค่าบ�ำรุงภาคปีละหนึ่งครั้ง ซึ่งมีก�ำหนดช�ำระ 31 กรกฏคม ที่มาที่ผู้ว่าการภาคได้เชิญประชุมด่วนในการหาแนวทางแก้ไข 2553 ปัจจุบันยังมีสโมสรอีก 29 สโมสรที่ยังไม่ได้ส่งค่าบ�ำรุง จึง ปัญหาเร่งด่วนนี้ และได้แต่งตั้ง อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐเป็น ใคร่ขอความกรุณาสโมสรที่ยังไม่ได้ส่งรีบด�ำเนินการช�ำระเพื่อที่ ประธานคณะกรรมการ Critical Membership Management ภาคจะได้น�ำไปใช้บริหารกิจกรรมภาคต่อไป มี อผภ.อีก 8 ท่าน เป็นแกนส�ำคัญในการดูแลพืน้ ทีภ่ าคทัง้ 8 โซน 3. ส�ำหรับคะแนนการประชุมประจ�ำเดือน มีสโมสรที่ส่งตาม นอกจากนี้ ภาคได้เชิญนายกสโมสร/ตัวแทนทุกสโมสร ประชุม ก�ำหนดไม่เกิน 15 วันของเดือนถัดไป 30 สโมสร จึงเป็นค�ำขอ ด่วน Intercity Meeting ที่ จ.พิจิตร เมื่อ 2 ต.ค ที่ผ่านมา ได้ ความร่วมมือท่านเลขานุการสโมสรได้ส่งภายในก�ำหนด เพื่อให้ ระดมความคิดนายกสโมสรสร้างแผน 3 ปี ร่วมกับผู้ว่าการภาค คะแนนประชุมทั้งภาคสามารถตีพิมพ์ได้ทันสารผู้ว่าการภาค ทั้ง 3 พร้อมเซ็นต์บันทึกข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันที่จะพัฒนา เดือนถัดไป สโมสรทีม่ คี ะแนนประชุมประจ�ำเดือน กันยายน 100 สโมสรในภาคให้มีจ�ำนวนสมาชิกมากกว่าเกณฑ์ที่ RI ตั้งไว้ใน % มี 4 สโมสร มีคะแนนมากกว่า 80% มี 21สโมสร คะแนน แต่ละช่วงเวลา ภายในสิ้นปี 2553-2554 จะต้องไม่มีสโมสรใน 60%-80% มี 30 สโมสร และต�่ำว่า 60% มี 10 สโมสร ส่วน ภาคมีสมาชิกต�่ำกว่า 10 คน สโมสรที่มีขนาดต�่ำกว่า 15 คน ต้อง คะแนนเฉลี่ยทั้งภาคในเดือน กันยายน 74.18 % สถิติที่น่าสนใจ เพิ่มให้ถึง 15 คน ต�่ำกว่า 20 คน เพิ่มให้ถึง 20 คน สโมสรที่มี อีกประเด็นหนึ่งคือ เมื่อเทียบจ�ำนวนสมาชิกเดือนกรกฎาคมกับ มากกว่า 20 คนให้เพิม่ อย่างน้อย 3-4 คน ปัญหาทีท่ า้ ทายภาคคือ เดือน กันยายนมีสโมสรที่จ�ำนวนสมาชิกเพิ่ม 15 สโมสร รวม ภายใน 30 มิถุนายน 2554 ภาคต้องมีสมาชิกไม่ต�่ำกว่า 1,400 เพิ่ม 42 คน จ�ำนวนสมาชิกเท่าเดิม 29 สโมสร สมาชิกลดลง คน และ 1,560 คนภายใน 30 มิถุนายน 2555 และ 1,690 คน 17 สโมสร ลดจ�ำนวน 41 คน สโมสรที่มีสมาชิกเพิ่มมากที่สุด ภายใน 30 มิถุนายน 2556 ถือเป็นเกณฑ์ที่ปลอดภัยและภาค 2 อันดับแรกเท่ากัน 7 คน คือ 1. สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ จะได้น�ำเสนอแผนสมาชิกภาพให้กับ RI ขณะนี้มีจ�ำนวนสโมสร 2. สโมสรโรตารีดอยพระบาท ทั้งนี้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นที่ให้ มากกว่าครึ่งของภาคที่ได้เซ็นต์ MOU เรียบร้อยแล้ว จึงขอเชิญ เห็นภาพกว้าง ยังต้องปรับเปลี่ยนตามเวลาและจ�ำนวนที่เปลี่ยน ชวนสโมสรที่ยังไม่ได้ลงนามรีบด�ำเนินการโดยด่วน ไปตามที่แจ้งจ�ำนวนสมาชิกใน SAR ด้วย อน.วีรพงศ์ โตแสงชัย ส่วนภารกิจหลักของเลขานุการสโมสรในเรื่อง เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2553-2554 1. การส่งรายงานครึ่งปีหลังงวดที่ 2 (Semi-annual Report) ท่านเลขาทุกสโมสรอาจจะได้รับจาก RI แล้ว โดยมีก�ำหนดการ ส่งรายงานและช�ำระเงิน ตั้งแต่ 1-31 มกราคม 2554 ส�ำหรับ


รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน สิงหาคม ของ สโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน สิงหาคม ของสโมสรโรตารีภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 1

83309

Chalawan Phichit

ชาลวัน พิจิตร

20

85.00

12

2

23201

Changpuak Chiang Mai

ช้างเผือกเชียงใหม่

26

73.85

3

16262

Chiang Mai

เชียงใหม่

63

61.03

4

16263

Chiang Mai North

เชียงใหม่เหนือ

29

89.82

9

5

5

16265

Chiang Rai

เชียงราย

27

98.15

2

3

6

52387

Chiang Rai North

เชียงรายเหนือ

21

80.95

7

16261

Chiangkam

เชียงค�ำ

26

78.26

8

53170

Chiang-Mai Airport

เชียงใหม่แอร์พอร์ท

15

51.11

9

60808

Chiangmai Doi Suthep

เชียงใหม่ดอยสุเทพ

4

91.67

10

26048

Chiangmai East

เชียงใหม่ตะวันออก

11

75.00

11

50481

Chiangmai Phuping

เชียงใหม่ภูพิงค์

17

51.96

12

83408

Chiangmai San Sai

เชียงใหม่สันทราย

27

88.15

13

51245

Chiangmai South

เชียงใหม่ใต้

12

77.08

14

29283

Chiangmai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 29

81.61

15

16264

Chiangmai West

เชียงใหม่ตะวันตก

26

61.54

16

28751

Chiangsaen

เชียงแสน

17

95.99

17

25135

Chomtong

จอมทอง

11

67.27

18

57289

Doiprabaht

ดอยพระบาท

29

76.52

19

21495

Fang

ฝาง

19

73.68

20

16274

Kamphaengphet

ก�ำแพงเพชร

18

84.45

21

30057

Kawila Chiang Mai

กาวิละ เชียงใหม่

16

72.00

22

83351

Khek River, Wangthong

ลุ่มน�้ำเข็ก

27

44.44

23

24886

Lab Lae

ลับแล

10

70.00

24

16277

Lampang

ล�ำปาง

28

68.30

25

16278

Lamphoon

ล�ำพูน

11

72.67

26

50294

Lanna, Chiang Mai

ล้านนาเชียงใหม่

24

91.82

27

52390

Mae Fha Louang

แม่ฟ้าหลวง

9

40.00

28

16281

Mae Hong Sorn

แม่ฮ่องสอน

10

29

16283

Mae Sariang

แม่สะเรียง

30

16280

Maechan

แม่จัน

5

7

7

3 1

11 6 15

3

3

8 10

13

6

8

100.00

1

9

13

83.33

13

33

71.09

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


รายงานการประชุมประจ�ำสัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือน สิงหาคม ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจ�ำปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จ�ำนวน % อันดับ ส่งเร็ว 31

16282

Maesai

แม่สาย

28

80.95

32

24956

Maesod-Muang Chod

แม่สอด เมืองฉอด

35

71.67

5

33

29389

Maewang

แม่วัง

19

70.18

8

34

65185

Muang Thoen

เมืองเถิน

23

63.04

35

65762

Nakorn Hariphunchai

นครหริภุญชัย

10

79.17

4

36

57910

Nakorn Nan

นครน่าน

10

60.00

10

37

64215

Nakorn Thoeng

นครเทิง

17

60.00

38

23050

Nan

น่าน

41

68.67

39

27553

Naresuan

นเรศวร

25

64.00

40

16291

Payao

พะเยา

10

62.50

41

16292

Phan

พาน

25

47.00

42

24741

Phichai

พิชัย

14

67.86

43

23541

Phrae

แพร่

21

90.48

8

44

16297

Pitsanulok

พิษณุโลก

60

88.34

10

45

22008

Pua

ปัว

24

100.00

1

46

27741

Sanpatong

สันป่าตอง

14

74.29

47

30612

Sarapee, Chiang Mai

สารภีเชียงใหม่

12

75.00

48

16307

Sawankaloke

สวรรคโลก

25

53.60

49

25680

Sawankaloke North

สวรรคโลกเหนือ

25

77.00

50

25165

Sila-Asana

ศิลาอาสน์

30

92.00

5

51

22010

Song

สอง

14

83.33

14

8

52

52394

Sri Song Kwai

ศรีสองแคว

20

81.00

53

24965

Sukhothai

สุโขทัย

24

72.50

54

16312

Tak

ตาก

10

45.00

55

50326

Thawangpha

ท่าวังผา

10

60.00

56

70997

Thoen Downtown

เถินดาวน์ทาวน์

8

95.00

4

7

57

16317

Uttaradit

อุตรดิตถ์

27

100.00

1

58

74261

Vientiane

เวียงจันทน์ (สปป.ลาว) 10

na

59

50650

Wangchan

วังจันทน์

26

59.94

7

60

51392

Wiangkosai

เวียงโกศัย

21

79.44

7

61

31711

Wiengsa

เวียงสา

12

100.00

8 2 6

9

1

2


อักษรย่อโรตารี (Rotary Abbreviations) ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ 3H Health, Hunger and Humanity POLIOPLUS The program of The Rotary Foundation to immunize the children of the world against poliomyelitis AAM Additional Active Member PP Past President/อน.-อดีตนายกสโมสร AG Assistant Governor/ผชภ.-ผู้ช่วยผู้ว่าการภาค PPE Preserve Planet Earth AM Active Member/สมาชิกสามัญ PR Public Relations/ปชส.-ประชาสัมพันธ์ ANZO Rotary Region consisting of Australia, New Zealand and other places not included in any other region PRID Past Rotary International Director/อกบร.อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล ASIA Rotary Region consisting of Asia PRIT Past Rotary International Treasurer AusAid (Formerly AIDAB) Australian International Development Assistance Bureau PROBUS Professional and Business Club ARHRF Australian Rotary Health Research Fund PSM Past Service Member AVAC Australian Vocational Advisory Committee RAOAF Rotary Australia Overseas Aid Fund CATS Challenging All To Succeed RAWCS Rotary Australia World Community Service CEEMA Rotary Region consisting of Continental European, Eastern Mediterranean and African Zone RBL Rotary Basic Library CICO Club Internet Communication Officer RC Rotary Club/สร.-สโมสรโรตารี Rotary Coordinator/ผู้ประสานงานโรตารี(ระดับโซน) COL Council on Legislation/สภานิติบัญญัติโรตารี RCC Rotary Community Corps /ชุมชนโรตารี D District/ภาค

RCP Rotary Code of Policies/ปนร.-ประมวลนโยบาย โรตารี DG District Governor/ผวภ.-ผู้ว่าการภาค RD Rotary District/ภาคโรตารี DGN District Governor Nominee/ผวล.-ผู้ว่าการภาค รับเลือกปี... RDU Rotary Down Under DGE District Governor Elect/ผวล.-ผู้ว่าการภาครับ เลือก RFE Rotary Friendship Exchange/โครงการแลก เปลี่ยนมิตรภาพโรตารี DICO District Internet Communication Officer RGHF Rotary Global History Fellowship DIK Donations in Kind RHHIF Rotary Heritage and History International Fellowship DLP District Leadership Plan/แผนผู้น�ำภาค RI Rotary International/โรตารีสากล DMDC District Membership Development Chairs/ ประธานพัฒนาสมาชิกภาพภาค RIBI Rotary International in Great Britain & Ireland DPFC District Permanent Fund Chairperson/ ประธานกองทุนถาวรภาค RID Rotary International Director/กบร-กรรมการ บริหารโรตารีสากล DRFC District Rotary Foundation Committee/ ประธานกรรมการมูลนิธิภาค RIP Rotary International President/ประธานโรตารี สากล DRR District Rotaract Representative RIPPR Rotary International President’s Personal Representative EEMA CEEMA + Great Britain & Ireland RIPS Rotary International Population Summit

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


FAIM Fourth Avenue (of service) In Motion (Now RAWCS) RITE Rotary Inter-country Teacher Exchange GBI Rotary Region consisting of Great Britain and Ireland RITS Rotary International Travel Service GETS Governor Elect Training Seminar/การอบรม สัมมนาผู้ว่าการภาครับเลือก ROAR Rotary Organization of Amateur Radio GSE Group Study Exchange/กลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน ROSE Rotary Overseas Summer Exchange GYE Global Youth Exchange ROTA Rotary Overseas Travel Fund IAS International Ambassadorial Scholarship ROTEX Organization of Ex-Rotary Exchange Students ICC InterCountry Committees/ International Covention Comittee-คณะกรรมการ จัดการประชุมใหญ่ โรตารีสากล ROTI Rotarians On The Internet ICO Internet Communications Officers ROVE Rotary Overseas Vocational Exchange ICUFR International Computer Users Fellowship of Rotarians RRFC Regional Rotary Foundation Coordinator/ผู้ ประสานงานมูลนิธิโรตารีระดับภูมิภาค IFCR International Fellowship of Cricketing Rotarians RRVF Rotary Recreational & Vocational Fellowship IFFR International Fellowship of Flying Rotarians Rtn Rotarian/รทร.-โรแทเรียน IFR International Fellowship of Rotarians RV Rotary Volunteers/อาสาสมัครโรตารี IFSR International Fellowship of Skiing Rotarians RVC Rotary Village Corps/หมู่บ้านโรตารี IFYR International Fellowship of Yachting Rotarians RYE Rotary Youth Exchange/เยาวชนแลกแปลี่ยน โรตารี IPAC International Projects Advisory Committee RYLA Rotary Youth Leadership Award/ไรลา IPF Indicative Planning Figure RYPEN Rotary Youth Program of Enrichment

IPP Immediate Past President RYSAP Rotary Youth Self Achievement Program LCS Low Cost Shelters SACAMA Rotary Region consisting of South America (except Guyana, Suriname and French Guiana), Central America, Mexico, and the Spanish-speaking island nations of the Caribbean (except Puerto Rico) MD Matched District SAM Senior Active Member MOP Manual Of Procedure SEP Study Exchange Program MSE Matched Student Exchange SETS Secretary-Elect Training Seminar MUNA Model United Nations Assembly SWSL Save Water Save Lives NCC National Co-ordinating Committee TR The Rotarian/นิตยสารเดอะโรแทเรียน NYSF (Formerly NSSS) National Youth Science Forum TRF The Rotary Foundation/มูลนิธิโรตารี OD Official Directory of Rotary International UNESCO United Nations Educational, Scientific & Cultural Organisation PACE Pacific-Australia Cultural Exchange UNFPA United Nations Population Fund P President/นย.-นายกสโมสร USCB Rotary Region consisting of United States of America, Canada, Bermuda and Puerto Rico PDG Past District Governor/อผภ.-อดีตผู้ว่าการภาค WCS World Community Service/บริการชุมชนโลก PE President Elect/นยล.-นายกสโมสรรับเลือก WCSRN World Community Service Resource Network PETS Presidents-Elect Training Seminar/การอบรม สัมมนานายกสโมสรรับเลือก YEO Youth Exchange Officer/เจ้าหน้าที่โครงการ เยาวชนแลกเปลี่ยน PHF Paul Harris Fellow YEP Youth Exchange Program/โครงการเยาวชนแลก เปลี่ยน PHSM Paul Harris Sustaining Member YIR Yours in Rotary/ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี PN President Nominee/ผวล.-ผู้ว่าการภาครับเลือก ปี ......


สมาชิกภาพ ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2001-02 ประธานคณะกรรมการแก้ไขวิกฤตสมาชิกภาพภาค

องค์กรโรตารีสากลหรือองค์กรใดๆก็ตาม ไม่อาจเข้มแข็ง เจริญเติบโต ก้าวหน้าและด�ำรง อยู่ได้หากปราศจากซึ่งความพร้อม ความเข้มแข็ง และการพัฒนาของสมาชิกในองค์กรนั้นๆ โรตารี สากลถือก�ำเนิดโดยสมาชิกผู้มีอุดมการณ์ พร้อม เสียสละ และตั้งใจจริงในการช่วยเหลือสังคม บน พื้นฐานของ “การให้บริการผู้อื่นเหนือตน” เจริญ ก้าวหน้า เติบโต แข็งแรงตลอดมา ด้วยคุณภาพ ของสมาชิกภาพทีพ่ ร้อมจะเป็นผูบ้ ำ� เพ็ญประโยชน์ อย่างแท้จริง ตลอดระยะเวลากว่า 105 ปี บน ถนนของความเจริญและก้าวหน้านัน้ หาได้พบกับ ความส�ำเร็จทีโ่ รยไปด้วยกลีบกุหลาบ หากมีปญ ั หา นานาประการให้ชาวโรแทเรียนได้ช่วยกันแก้ไข ตลอดมา จากการที่เราจะต้องมีการประชุมสภา นิติบัญญัติกันทุกๆ 3 ปีครั้ง เพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง และปรับปรุงตัวให้ก้าวทันความเจริญของโลกเรา ตลอดมา ปัญหาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของโรตารีในระยะรอบ เวลา 10 ปีที่ผ่านมาก็คือปัญหาสมาชิกภาพของ องค์กรที่ขาดความเข้มแข็ง ขาดการพัฒนา ท�ำให้ องค์กรของเราสูญเสียสมาชิกเป็นจ�ำนวนมากใน แต่ละปีและมีการเพิม่ ขึน้ ในสัดส่วนทีน่ อ้ ยกว่าทีเ่ รา สูญเสียไป ในการประชุมสภานิติบัญญัติปีนี้ COL 2010 เมื่อเดือนเมษายน 2010 ได้มีการแก้ไขใน สาระส�ำคัญของภาคต่างๆของโรตารีสากล จะต้อง มีสโมสรไม่นอ้ ยกว่า 33 สโมสร และสมาชิกไม่นอ้ ย กว่า 1,200 คน แต่ปญ ั หาจะไม่อยูท่ จี่ �ำนวนสโมสร และสมาชิกดังกล่าว หากเรายังต้องเน้นไปทีค่ วาม เข้มแข็งของแต่ละสโมสร แต่ละภาค ซึ่งทางโรตา รีสากลได้ก�ำหนดให้สโมสรที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลแห่งความส�ำเร็จ (Effective Club) จะต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า 20 คน จึงเป็นวิกฤต ที่ส�ำคัญยิ่งของภาค 3360 รวมถึงอีกหลายๆภาค จากข้อมูลของภาคเรา มีสโมสรกว่า 30 สโมสรที่ มีสมาชิกต�่ำกว่า 20 คน

ทางภาค 3360 เราจึงต้องรีบด�ำเนินการ แก้ไขปัญหาวิกฤตในเรื่องนี้อย่างเร่งด่วน และต่อ เนื่อง 3 ปีเพื่อความเข้มแข็งของสโมสรและของ ภาค เราคงไม่อาจนิ่งดูดาย เพื่อจะได้เห็นว่าภาค 3360 ของเราจะต้องไปยุบรวมกับภาคอื่น ท่านผู้ว่าการภาค 3360 ตั้งแต่ปี 201011 ท่านผู้ว่าการภาค นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารา รัศมี, 2011-12 ท่านผู้ว่าการภาครับเลือกช�ำนาญ จันทร์เรือง และ 2012-13 ท่านผู้ว่าการภาครับ เลือกอนุรักษ์ นภาวรรณ ทั้ง 3 ท่านได้ร่วมกัน วางแผนด� ำเนินการ สร้างความแข็งแรงให้กับ สโมสรและภาค 3360 โดยได้แบ่งการดูแลเป็น 7 พื้นที่ ได้ตั้งคณะกรรมการดูแล ตามที่ได้แจ้งไปยัง สโมสรต่างๆแล้ว นับแต่นาทีนี้ผมจึงใคร่ขอเชิญ ชวนมิตรโรแทเรียนทุกท่านได้ร่วมกัน ช่วยกัน ใน การเสนอชือ่ สมาชิกใหม่ทเี่ ข้มแข็งให้แก่สโมสรของ ท่าน เพือ่ ได้ชอื่ ว่าท�ำหน้าทีส่ มาชิกสโมสรโรตารีได้ อย่างสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ขอให้ทุกสโมสร ร่วมกันพัฒนาสมาชิกของสโมสรไปสูแ่ นวทางและ ความส�ำเร็จของการรักษาสมาชิกภาพอย่างจริงจัง ปีโรตารี 2010-13 เราคงได้เห็นภาค 3360 โรตารีสากลที่เข้มแข็งเป็นที่ประจักษ์ใน ผลงาน ทุกสโมสรเป็นสโมสรที่มีประสิทธิภาพ มี สมาชิกมากกว่า 20 ท่านทุกสโมสร ให้เราได้ชนื่ ชม ยินดี ในความส�ำเร็จจากความร่วมมือ ความตั้งใจ จริงของมิตรโรแทเรียนทุกท่านที่มี 3360 อยู่ใน ดวงใจ อีกทั้งจะได้เป็นปีแห่งการวางรากฐานของ ความมัน่ คงเป็นปึกแผ่นของทุกๆสโมสรในภาค เรา คงจะได้มีโอกาสฉลองความส�ำเร็จร่วมกับท่านผู้ ว่าการภาคของเราทีม่ ชี อื่ ว่า “อนุรกั ษ์ นภาวรรณ”

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

“กันยายน”

กันยายน เป็นเดือนทีโ่ รตารี เน้นกิจกรรม ไปที่เยาวชนด้วยวิธีต่างๆ เช่นให้การศึกษา พา ทัศนาจร น�ำอาหารไปให้เด็กก�ำพร้าหรือยากจน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนนักเรียนชั้น มัธยมปลายระหว่างประเทศด้วย การเดินทาง ไปศึกษาเล่าเรียนในประเทศที่ไม่ใช่ประเทศของ ตน ท�ำให้เด็กเหล่านี้ได้เห็นสภาพโครงสร้างและ วัฒนธรรมของสังคมอื่น ช่วยสร้างความเข้าใจ ระหว่างกันและกันให้กระชับ แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น คาเรน เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องนี้ เธอ บันทึกถึงการได้มาเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ที่ ประเทศไทย ได้ รั บ การดู แ ลจากสโมสรโรตารี เด่นชัย ในการให้ทพี่ กั อาหาร และการศึกษาแบบ ไทยไว้ว่า “ก่อนมาเมืองไทย เธอนึกภาพความเป็น อยูข่ องคนไทยไม่ใคร่ถกู เมือ่ มาอยูท่ เี่ ด่นชัยแล้วจึง ได้เห็นความเป็นไปและความแตกต่างได้ชดั เจนขึน้ สิ่งอัศจรรย์ในเมืองไทยของเธอมีอยู่มาก เพียงแค่ หินจิ้งจกที่ไต่อยู่ตามผนังและเพดานบ้าน เธอก็ รู้สึกตื่นเต้นเสียแล้ว ยิ่งตอนฝนตกในตอนเช้า เธอ รู้สึกแปลกตา กับแมลงปีกแข็งนานาชนิดที่เดิน ยั้วเยี้ยอยู่บนพื้นดินเต็มไปหมด สภาพอย่างนี้ไม่มี ให้เห็นที่ แอลเบอร์ตา้ บ้านเกิดในแคนาดา เธอรูส้ กึ อึดอัดกับอ่างล้างมือทีม่ คี ราบน�ำ้ มันจับอยูเ่ ต็ม เธอ พอใจกับธรรมชาติที่เป็นไปของที่นี่ ผีเสื้อหลากสี สีแดง น�้ำเงิน ม่วง ขาว เหลือง ก�ำลังเคล้าดอกไม้ บางตัวก�ำลังแทงงวงลงไปในดอก เสียงดังหึ่งๆ ไม่ เหมือนเสียงของวง ออเครสต้า ทีเ่ ธอเคยสัมผัส ยิง่ หอยทากที่ก�ำลังเคลื่อนตัวกระดืบๆ เข้ามาที่ชาน หน้าห้องของเธอๆ ก็พิศวงกับความพยายามของ มันเป็นล้นพ้น และชื่นชมกับการเคลื่อนที่อย่าง สงบเสงี่ยมของมัน

ความร้อนของอากาศที่นี่ ท�ำให้สุนัขอ้า ปากหอบแฮ่กๆ ลิน้ ห้อย น�้ำลายไหลหยดจากปาก จนนองพืน้ ไปหมด เธอสงสัยว่า ท�ำไมคนไทยจึงทน ความร้อนขนาดนี้ได้ ส�ำหรับเธอแล้ว แม้พัดลม บนเพดานจะช่วยระบายความร้อนในห้องออกไป เหงื่อของเธอก็ไม่เคยหยุดไหล มันยังแตกพลั่กๆ อยู่ตลอดเวลา เสียงพูดของคนไทยเป็นเสียงที่ไหลลื่น นับแต่เธอเข้ามาอยูใ่ นเมืองไทย เป็นเวลาเดือนเศษ เธอได้พยายามจดจ�ำพยัญชนะทั้ง 44 ตัว ซึ่งล้วน เป็นชื่อสัตว์และสิ่งของ ก-ไก่ ข-ไข่ จ-จาน คาเรน เรียนรู้เรื่องสระ และรู้จักผันเสียงด้วยวรรณยุกต์ เธอยังแปลกในที่พยัญชนะไทยถึง 5 ตัวที่ใช้แทน อักษร “เค” ในภาษาของเธอได้ ส่วนสระมีทั้งที่ เขียนอยู่ข้างหน้า ข้างบน ข้างล่าง และข้างหลัง วรรณยุกต์ท�ำให้เสียงของค�ำเปลี่ยนแปลงไป ซึ่ง เป็นเรื่องที่ยากมากส�ำหรับเธอและของเด็กฝรั่ง เธอยังโชคดี ที่มีอาจารย์ จ�ำปา คอยช่วยเหลือ อธิบายให้เข้าใจ ตอนแรกๆ คาเรนเข้าใจว่า “เข้า” “ข้าว” และ “คาว” หรือ วัว ในภาษาอังกฤษก็ อย่างเดียวกัน คือเป็นสัตว์จ�ำพวกเคี้ยวเอื้อง การทักทายของคนไทยก็ช่างประหลาด เขาทักทายกันว่า “กินข้าวหรือยัง” หรือไม่ก็เป็น “ไปไหน” ซึ่งประโยคหลังนี้ใช้ทักกันระหว่างเดิน ทาง เธอเคยรู้สึกฉุนนิดๆ เมื่อมีคนมาทักว่า “ไป ไหน ไปไหน” ทั้งๆที่รู้ว่าเธอก� ำลังเดินทางไป โรงเรียน เมื่ออยู่ไปๆ คาเรนก็ได้เรียนรู้วัฒนธรรม และความเป็นไปของชาวเด่นชัย เช่น เมื่อมีใคร ชวนกินอะไรกับเขา แล้วไม่ยอมกิน เขาจะถือว่า รังเกียจเขา โดยทั่วไปแล้วอาหารไทยอร่อย แต่ที่ คาเรนชอบได้แก่ ผัดผัก และต้มจืดผัก


สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


ร่วมส่งภาพกิจกรรม มาได้ที่ อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์ E-mail : nyosawat.gmail.com รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล E-mail : santi@rotary3360.org “มอบรถวีลแชร์”

สมาชิกสโมสรโรตารีเวียงโกศัย มอบรถ วีลแชร์ซึ่งรับการสนับสนุนจากสโมสร โรตารีล�ำปาง จ�ำนวน 10 คัน ณ โรงแรม ภูมิไทยการ์เด้น เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2553 ที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง งานนี้ ผู ้ ที่ ช ่ ว ยท� ำ กิจกรรมอย่างเข้มแข็งอีกท่านคือท่าน อน.สมบัติ วิสุทธิผล ซึ่งท่านก�ำลังพักฟื้น จากการผ่าตัดใหญ่ ยังไม่ถงึ เดือน ก็ขออา นิสงฆ์ จากการปฏิบัติกิจกรรมนี้ ให้ท่าน ได้หายเป็นปกติโดยเร็ว

“รับสมาชิกใหม่”

สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ท�ำพิธี รับสมาชิกใหม่ จ�ำนวน ๕ คนเมื่อวัน ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ (ซึ่งเป็นครั้งที่ ๒ ส�ำหรับปีบริหารนี้ที่รับไปเมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จ�ำนวน ๗ คน)

“มอบทุนการศึกษา”

สโมสรโรตารีน่านท�ำกิจกรรม มอบทุ น การศึ ก ษาให้ แ ก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นโรงเรี ย นศรี ส วั ส ดิ์ วิทยาคาร ในพฤหัสบดี ที่ 7 กันยายน 2553

“โครงการยายเลี้ยงหลาน”

พิธมี อบทุนการศึกษาและเบีย้ ยังชีพ จานวน 11 ครอบครัว วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม 2553 ณ อุทยานหลวง ราชพฤกษ์ พืชสวนโลก ขอขอบคุณ นย.รัศมี พิทักษ์มโนกุล, อผภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ และสมาชิกสโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ทุกท่าน ที่กรุณาให้เกียรติย้ายการประชุมประจ�ำสัปดาห์ มาเป็นการประชุมสัญจร ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์เพื่อ มอบทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนโครงการยายเลี้ยง หลาน ถึงแม้ว่าจะมีอุปสรรคเรื่องระยะทางและอากาศที่ ร้อนจัด แต่ป้า ๆ ทุกคนก็ยังสู้ ๆ ค่ะ


สโมสรโรตารีเชียงราย

สโมสรโรตารีเชียงรายเหนือ

สโมสรโรตารีจอมทอง

สโมสรโรตารีก�ำแพงเพชร

สโมสรโรตารีแม่วัง ล�ำปาง

สโมสรโรตารีนครน่าน

สโมสรโรตารีตาก

สโมสรโรตารีท่าวังผา น่าน

สโมสรโรตารีเถินดาวน์ทาวน์

สโมสรโรตารีเมืองเกาะคา

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


03 RYLA Rotary Youth Leadship Award

การอบรมผู้นำ�เยาวชน RYLA

ภาค ๓๓๖๐ โรตารีสากล ปีบริหาร ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ๖-๙ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์

www.rotary3360.org



สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงสมิท - กันยายน 2010

RI.President Ray Klinginsmith Year 2010-11

ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก Building Communities – Bridging Continents โรแทเรียนหลายท่านถามผมว่า ผมเลือกคติพจน์ประจ�ำปีบริหารของผมอย่างไร ผมขอ เรียนให้ทราบว่า หลังจากที่ได้ทบทวนคติพจน์ในอดีตทั้งหมดดูแล้ว ผมตกลงใจว่า จะเลือกใช้ ค�ำเพียงไม่กี่ค�ำ เพื่อตอบ สนองวัตถุประสงค์สองประการ คือ ท�ำให้คนภายนอก มองเห็นภาพ วัตถุประสงค์ของเราอย่างย่อๆ และในเวลาเดียวกัน ให้มิตรโรแทเรียนได้ภาคภูมิใจในการเป็น สมาชิกของตนด้วย ผมพยายามค้นหาค�ำทีบ่ รรยายอารมณ์ความรูส้ กึ การสร้างสรรค์และการมีจติ ใจกว้างของ โรแทเรียน เพือ่ จะได้คำ� ทีเ่ หมาะสม ผมคิดอยูต่ ลอดเวลาว่า โรตารีคอื จิตวิญญาณของการให้บริการ เช่นเดียวกับการเป็นองค์กรของสโมสรโรตารี นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราจะต้องแบ่งปันแก่นแท้ของคุณค่าในการ ให้บริการ การมีไมตรีจิตมิตรภาพในความแตกต่าง การมีบูรณภาพเป็นหนึ่งเดียวกันและใช้ความ เป็นผูน้ �ำ ไปแบ่งปันให้กบั ผูค้ นและองค์กรอืน่ ๆ ผมได้ทบทวนวลีและค�ำต่างๆ มากมาย แต่สดุ ท้าย ผมก็เลือกใช้ค�ำเพียง 4 ค�ำส�ำหรับถ่ายทอดภารกิจปัจจุบันของโรตารีและจุดเด่นๆ ในผลงานของ เราที่บรรยายสิ่งที่โรแทเรียนท�ำได้ดีที่สุด นั่นก็คือการช่วย ชุมชนสร้างสรรค์ - สานสัมพันธ์โลก ผมหวังว่าท่านคงเห็นด้วยกับการใช้คำ� 4 ค�ำทีก่ ล่าวมา ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าเราคือใครและ สิ่งที่เรากระท�ำไปในฐานะโรแทเรียน เราคือองค์กรที่เป็นหนึ่งเดี่ยวและแน่นอนว่า เราคือองค์กร หนึ่งที่ดีที่สุดในโลกด้วย เราเป็นผู้สร้างจิตวิญญาณและทรัพยากรต่างๆ ในชุมชนท้องถิ่นของเรา ที่มีความส�ำคัญ และเรายังเป็นผู้แสดงบทบาทส�ำคัญบนเวทีโลก ในโครงการโปลิโอพลัส และใน โครงการบริการระหว่างประเทศต่างๆ โรตารีสามารถเปลีย่ นแปลงโลก และโรแทเรียนยังพยายามเปลีย่ นแปลงในทางทีด่ ตี อ่ ไป สูตรง่ายๆ ทีเ่ ราใช้ เพือ่ ความส�ำเร็จ คือ เราต้องพยายามมุง่ เน้นกระท�ำ ในสิง่ ทีโ่ รแทเรียนปรารถนา ให้ดที สี่ ดุ และสิง่ ทีช่ าวโรแทเรียนสามารถท�ำได้ดที สี่ ดุ ในโลก นัน่ คือการช่วย ชุมชนสร้างสรรค์ สาน สัมพันธ์โลก. เรย์ คลิงกินสมิทธ์ ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)


พลิกวิกฤตเป็นโอกาส เหตุแห่งวิกฤตสมาชิกภาพของโรตารี ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี

ใครคงนึกไม่ถึงว่า โรตารีสากลที่ก่อตั้งมากว่า ศตวรรษจะเกิดวิกฤตสมาชิกภาพ เหตุแห่งวิกฤตเป็นเพราะ ความต้องการความช่วยเหลือของชุมชนในโลก จากโรแท เรียน มากเกินกว่าก�ำลังความสามารถของสมาชิก 1.2 ล้านคนที่มีอยู่ในปัจจุบัน สะท้อนถึงความไม่เข้าใจซึ่งกัน และกัน บวกกับความขัดแย้งและขาดสันติ ในเกือบทุกมุม ของโลก โรตารีเป็นองค์กรหนึ่งที่ชุมชนโลกให้ความส�ำคัญ ว่าสามารถสร้างมิตรภาพ ความเข้าใจและส่งเสริมการอยู่ อย่างสันติภาพทั่วโลก ตามปรัชญาที่โรตารีใช้มานานและ เป็นความภาคภูมิใจของชาวโรแทเรียน อะไรคือสิ่งที่ท�ำให้เกิดวิกฤตสมาชิกภาพอย่าง แท้จริง ? ในการท�ำกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ให้ชุมชน องค์กรโรตารีสากล อาศัยโรแทเรียนที่เป็นสมาชิกของ สโมสรโรตารีกว่า 33,000 สโมสร การด�ำเนินงานของโรตารี สากลต้องใช้ปัจจัยต่างๆรวมถึงเงินด้วย แม้สมาชิกโรแท เรียน จะเป็นอาสาสมัคร ไม่มีผลตอบแทนหรือประโยชน์ อืน่ ๆก็ตาม แต่โรตารีสากลต้องมีคา่ ใช้จา่ ยในส่วนเจ้าหน้าที่ และค่าใช้จ่ายพื้นฐานต่างๆ เป็นต้นทุนการบริหารองค์กร ในภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ สมาชิกโรแทเรียนลด จ�ำนวนลง จ�ำนวนเงินค่าสมาชิกและเงินบริจาคลดลงตาม แม้โรตารีสากล จะบริหารให้ต้นทุนต�่ำสุดแล้วก็อาจไม่พอ เพียงต่อการบริหารภาคของโรตารี ซึ่งมีจ�ำนวน 531 ภาค 33,000 สโมสร และโรแทเรียน 1.2 ล้านคน จึงจ�ำเป็น ต้องหาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม การแก้ปญ ั หาทีน่ า่ จะเป็นไปได้คอื การเพิม่ จ�ำนวน โรแทเรียน เพื่อให้โรตารีสากลมีรายรับจากค่าสมาชิกเพิ่ม ขึน้ พร้อมๆกับลดค่าใช้จา่ ยในส่วนต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นค่าใช้ จ่ายส่วนเจ้าหน้าทีแ่ ละ ส่วนกิจกรรมทีต่ อ้ งดูแลและ พัฒนา ภาคต่างๆทั่วโลก เช่น ค่าใช้จ่ายในการอบรมผู้น�ำภาคทั่ว โลกฯลฯ การลดจ�ำนวนโรตารีภาคลง จึงเป็นแนวคิดใน คราวประชุมสภานิติบัญญัติของโรตารีสากล เมื่อเดือน เมษายน 2553 ที่ผ่านมา และมีมติให้รวมโรตารีภาคใดๆ ก็ตามที่มีโรแทเรียนไม่ถึง 1,200 คน และ/หรือ มีสโมสร โรตารีในภาคไม่ถึง 33 สโมสร โดยยึดถือมาตรฐานสโมสร ขั้นต�่ำต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า 20 ท่าน ด้วยเหตุผลดังกล่าว น�ำมาซึ่งวิกฤตสมาชิกภาพ ของ โรตารีภาค 3360 ของเรา ข้อมูลโดยรวมทั่วโลก มี โรตารีภาคที่ต้องถูกรวม 98 ภาค ใน 531 ภาค และใน โซนเอเชียมี 33 ภาค โดยเฉพาะในประเทศไทย มี 2 ภาค (ใน 4 ภาค) คือ ภาค 3360 และ ภาค 3340 (ภาคตะวัน

ออก) ตาม สถิติย้อนหลัง 5 ปีของภาค 3360 เรามีสมาชิก โรแทเรียนลดลงตลอด ไม่เคยถึง 1,200 คน แม้ปี 25522553 ที่ผ่านมาเราสามารถตั้งสโมสรใหม่ได้ 3 สโมสร แต่ สมาชิก ณ.เดือนมิถุนายน 2553 จ�ำนวน 1,196 ท่าน ใน 58 สโมสร และมีสโมสรทีส่ มาชิกไม่ถงึ 20 ท่านเป็นจ�ำนวน 30 ใน 58 สโมสร จึงไม่สามารถหลุดพ้นการรวมภาคตาม มติสภานิติบัญญัติได้ เราควรแก้ไขอย่างไร ก่อนที่มติรวม ภาคจะมีผลทางปฏิบัติในวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 แม้จะมีการวิเคราะห์และวางแผนเรือ่ งเป้าหมาย สมาชิกภาพเมื่อคราวประชุมภาคต้นปีที่ผ่านๆมา ทั้งใน การอบรมนายกรับเลือก การอมรมผู้ช่วยผู้ว่าการภาคกรรมการภาค อบรมคณะกรรมการบริหารสโมสรและ อบรมการเพิ่มและรักษาสมาชิกภาพ ยังสร้างความตื่น ตัว ในการแก้ปัญหาระดับสโมสรยังไม่ชัดเจน กรรมการ บริหารภาคได้หารือกันหลายครั้ง ได้จัดประชุมระหว่าง เมืองฉุกเฉินขึ้น ในวันที่ 2 ต.ค. 2553 และ มีมติร่วมกัน ว่าภาค 3360 ยังไม่อยากรวมกับภาคอื่นๆ จะพร้อมใจกัน ด�ำเนินการทีช่ ดั เจนเพือ่ ให้รอดพ้นวิกฤต เป็นทีม่ าแห่งการ “พลิกวิกฤตเป็นโอกาส” ถือโอกาสสร้างความเข้มแข็งให้ กับสโมสร ภาค 3360 โดยผู ้ ว ่ า การภาค 3 ปี ต ่ อ เนื่ อ ง คือ ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี, ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง, ผวล.อนุรักษ์ นภาวรรณ ได้ยื่นข้อเสนอต่อ โรตารีสากลว่า ภายในสิ้นปีบริหาร 2553-2554 ภาคจะ มีสมาชิก โรแทเรียน ในภาคไม่น้อยกว่า 1,400 ท่าน ไม่มี สโมสรใดที่สมาชิกน้อยกว่า 10 ท่าน และสโมสรสมาชิก น้อยกว่า 20 ต้องไม่เกิน 10 สโมสร ภายในปี บริหาร 2554-2555(30 มิ.ย.2555) ทุกสโมสรจะมีสมาชิก 20 ท่านขึ้นไป พร้อมทั้งเพิ่มสมาชิก อีกปีละ 10% สุทธิ ณ. 30 มิ.ย. 2555(1,540 คน) และอีก 10%ในวันที่ 30 มิ.ย. 2556(1,960 คน) โดยหวังว่าโรตารีสากลจะได้น� ำไป พิจารณาและยุติการรวมภาคของภาค 3360 ภาค 3360 ได้ตั้งคณะกรรมการแก้ไขวิกฤต สมาชิกภาพภาค 3360 โรตารีสากล เมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2553 โดยมี อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ เป็นประธานฯ มีวาระการท�ำงาน 3 ปี(2553-2556) มี อผภ 7 ท่านเป็น ประธานอนุกรรมการดูแลและ แก้ปญ ั หาร่วมกับสโมสรใน แต่ละพื้นที่ (แบ่งเป็น 7 โซน) ร่วมกับคณะกรรมการอื่นๆ ดังนั้น ภาค 3360 จะมีโอกาสถูกยุบรวมภาคหรือไม่ อยู่ที่ ความร่วมมือของทุกสโมสร (อ่านต่อฉบับหน้า)

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย

สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓

Gen. X Y Z ต่างวัย ใจเดียว Gen-B, Gen-X, Gen-Y, Gen-Z คือชื่อ ยุคสมัยที่จัด แบ่งกลุม่ คนตามช่วงอายุทางวิชาประชากรศาสตร์ทอี่ เมริกนั ชน เขาใช้ และได้เผยแพร่ไปทั่วโลก ‘Gen-B’ (Generation B) หรือ Baby Boomers เป็นกลุ่มคนที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2490-2508 ที่ปัจจุบันจะมีอายุ อยู่ในระหว่าง 45-63 ปี ′Gen-X′ (Generation X) คนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508-2522 อายุ 30-44 ปี เป็นลูกหลานของ Gen-B คนกลุ่ม นี้เรียกได้อีกอย่างว่า Yuppie (Young Urban Professionals) เพราะเกิดมาพร้อมกับความมั่งคั่งของโลก จึงมีความคิดกว้าง มีพฤติกรรมง่าย ๆ สบายดี ให้ความส�ำคัญในเรื่องงานและ ครอบครัวอย่างเท่าเทียมกัน ‘Gen-Y′ (Generation Y) คนที่เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2523-2543 อายุ 9-29 ปี เป็นลูกเป็นหลานของสองกลุ่มข้าง ต้น คนกลุม่ นีม้ คี า่ นิยมทีเ่ ปลีย่ นไปด้วยเติบโตมาท่ามกลางความ เปลีย่ นแปลง ทัง้ จากค่านิยมทีแ่ ตกต่างจากรุน่ ปูย่ า่ ตายายกับรุน่ พ่อแม่ ขณะเดียวกันก็ก้าวไปพร้อม ๆ กับเทคโนโลยีที่เจริญรุด หน้าทั้งคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต และไอที มีคนกล่าวว่า ด้วย ความสับสนและซับซ้อนทีค่ นกลุม่ นีต้ อ้ งรับ จึงตัง้ ค�ำถามอย่าง งง ๆ ถึงตัวเองว่า Why me ? คนกลุ่มนี้จะเป็นตัวของตัวเองสูง ไม่ ชอบมีเงื่อนไข และไม่อยู่ในกรอบ ชอบการสื่อสารแบบไม่เผชิญ

หน้า ขณะเดียวกันก็ชอบความชัดเจนในเป้าหมาย ′Gen-Z′ (Generation Z) กลุ่มอายุน้อยที่สุดใน ปัจจุบัน เป็นผู้ที่เกิดในช่วง พ.ศ. 2537-ปัจจุบัน หรืออายุ 1-16 ปี ในเจเนอเรชัน่ นีจ้ ะเป็นช่วงทีค่ นเกิดใหม่นอ้ ยลง ขณะเดียวกัน ก็จะเติบโตขึน้ ท่ามกลางการเลีย้ งดูทมี่ คี ณ ุ ภาพมากขึน้ และมีคา่ ใช้จ่ายสูงมากยิ่งขึ้นเช่นกัน เจเนอเรชั่นรุ่นล่าสุดมักมีสมาธิสั้น นี่คือข้อมูลเบื้องต้น ส�ำหรับพวกเราเหล่ามวลมิตร โรแทเรียน ว่าจะจัดตัวเองอยู่ในรุ่นใดดี ประมาณการเบื้องต้นว่า จ�ำนวนของรุ่นแรกและ รุ่น ที่สองใน โรตารี น่าจะเป็นตัวเลขที่สูสีกัน ส่วนรุน่ ทีส่ าม น่าจะเป็นเป้าหมายส�ำคัญ แต่กม็ เี งือ่ นไข เยอะตามไปด้วย ส่วนรุ่นล่าสุด คงจะต้องรอดูว่า โรตารีของเรา จะผ่าน ด่านกิจกรรมของ Social Network ทั้งหลาย บนยุคแห่งการ เปลี่ยนแปลง และข้อมูลข่าวสาร ได้หรือไม่ ไม่วา่ จะเป็นชนรุน่ ไหน การรับฟังซึง่ กันและกัน คงจะ เป็นหนทางหนึ่งของการเชื่อมช่องว่างระหว่างรุ่น บอกอ ผู้อยู่ในวัย Gen-B แต่สมัครใจอยู๋ใน Gen-Z


“ถ้าเรามีความอดทนจนให้มันเสร็จสิ้น” รทร.สันติ เหล่าพาณิชย์กุล ประธานประชาสัมพันธ์ภาค -รายงาน

มวลมิตรโรทาเรียนที่เคารพทุกท่านครับ ที่ผมจ่าหัว ไว้คือค�ำกล่าวของผู้ยิ่งใหญ่ใจบุญท่านหนึ่งนามว่าบิล เกตส์ ดู เหมือนว่าบัดนี้ท่านพอจะเดาออกว่าผมจะพูดถึงเรื่องอะไร “If we all have the fortitude to see this effort through to the end, then we will eradicate polio.” — Bill Gates, cochair of the Bill & Melinda Gates Foundation ‘ถ้าเรามีความอดทนที่จะได้เห็นความพยายาม จนกระทั่งมันเสร็จสิ้น เราก็จะขจัดโปลิโอให้หมดไปจากโลกได้ ผม เรา บิลเกตส์ และโรแทเรียนอีก 1.2 ล้านคนทั่ว โลก ก�ำลังพูดถึงเป้าหมายสูงสุดของโรตารีในขณะนี้ คือการขจัด โปลิโอให้หมดสิ้นไปจากโลก ท�ำไมต้องโปลิโอ? เป็นค�ำถามที่ผมถามกับตัวเอง ตั้งแต่วันแรกๆ ที่เริ่มเข้ามาเป็นโรทาเรียน (และเรายังต้องพูด ไปเรื่อยๆอีกหรือ?) เราต่างคิดว่ามันเป็นเรื่องไกลตัว อาจเป็น เพราะประเทศไทยของเราปลอดจากเชื้อร้ายนี้ไปหลายปีแล้ว เมื่อผมได้มาศึกษาเข้าจึงได้รู้ว่า เจ้าเชื้อไวรัสร้ายนี้แม้มีเชื้ออยู่ ในตัวเพียงคนเดียวในโลก ทุกคนที่อยู่ในพื้นที่ต่างๆบนโลกใบ นี้ก็จะตกอยู่ในภาวะเสี่ยงเช่นเดียวกัน ในสถานการณ์ปัจจุบัน ที่คนทั่วโลกรู้จักเจ้าวายร้ายนี้น้อยลงไปทุกที (เพราะมันเหลือ น้อย) นั่นหมายความว่าเราก็จะเริ่มเมินเฉยกับมัน แต่เมื่อมัน ยังไม่หมด เราก็ยังอยู่กับความเสี่ยงเหมือนเดิม นั่นท�ำให้เราต้องยอมที่จะอดทนกับความพยายาม รอบแล้ ว รอบเล่ า หากแต่ ค รั้ ง นี้ เราก� ำ ลั ง ร่ ว มกั น เขี ย น ประวัติศาสตร์การขจัดโปลิโอให้หมดไปจากโลก..ด้วยตัวของ เรา ผมได้ตัดสินใจเขียนใบสมัครเพื่อยื่นขอ PR Grant ต่อโรตา รีสากลในเรื่องโปลิโอเมื่อ 4 เดือนที่ผ่านมา กลางดึกวันที่ 23 ตุลาคม ผมได้รับ email จากผู้ ว่าการภาค นพ.วีระชัยถึงข่าวดี ‘ภาคของเราได้รับ PR Grant เต็มจ�ำนวนตามที่ขอไป ซึ่งเราต้องแข่งขันกับอีก 265 ภาคทั่ว โลก’ นับเป็นความส�ำเร็จขั้นแรกในการท�ำงานร่วมกันระหว่าง คณะกรรมการประชาสัมพันธ์และคณะกรรมการรณรงค์โปลิโอ พลัส เราก�ำลังท�ำงานแข่งกับเวลา ในบ่ายวันเสาร์นนั้ เอง ณ ส�ำนักงานของอน.วีรพงศ์ โตแสงชัย เลขาฯภาค คณะท�ำงาน PR Grant หลายท่านได้มารวมตัวกัน ประกอบด้วย อน.ประยูร ศิรินภาพันธ์ ประธานโปลิโอพลัส, ผชภ.ดร.สุรพล นธการกิจ กุล ที่ปรึกษาโปลิโอพลัส, อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ประธาน มูลนิธิโรตารี, อน.พัลลภ ลาศุขะ ประธานรณรงค์บริจาค 200 ล้านเหรียญ, อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ ประธานการเงิน และ จากฟากประชาสัมพันธ์ รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ ประธาน ประชาสัมพันธ์ภายนอก, อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัจน์ ประธาน

บันทึกภาพและเผยแพร่ภาพกิจกรรม, นย.จันทนี เทียนวิจิตร ประธานประชาสัมพันธ์ภาคปี 2552-53 รวมไปถึงผวภ.นพ.วีระ ชัย-อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี, ผวล.ช�ำนาญ จันทร์เรือง และผวล.ดร.อนุรักษ์ นภาวรรณ ที่ให้เกียรติเข้ามาช่วยให้ แนวทางในครั้งนี้ด้วย เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของแคมเปญนี้ อัน ได้แก่ การส่งเสริมการบริจาคเพื่อสมทบทุน 200 ล้านเหรียญ สหรั ฐ ในการขจั ด โปลิ โ อให้ ห มดสิ้ น ไปจากโลก, การเสริ ม สร้างภาพลักษณ์โรตารีสู่ชุมชนผ่านโครงการโปลิโอ, และ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และเพิ่มจ�ำนวนผู้รับการหยอด วั ค ซี น โปลิ โ อกั บ กลุ ่ ม เสี่ ย ง เราจึ ง ได้ ท�ำ แผนงานเพื่ อ ท�ำ สื่ อ ประชาสัมพันธ์ในพืน้ ที่ 4 โซน ได้แก่ โซนพิษณุโลก, โซนล�ำปาง, โซนเชียงราย และโซนเชียงใหม่ ทัง้ นี้ ภาคได้สนับสนุนให้มกี จิ กรรมเกิดขึน้ อีก 2 กิจกรรม ได้แก่ 1. การเดินรณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอ 15 ธันวาคม ผชภ.จิตมากร รอบบรรเจิด จะเป็นประธานจัดงาน เดินรณรงค์ หยอดวัคซีนโปลิโอ โดยมีขบวนพาเหรดวงโยธวาทิต จากรร. จ่าการบุญ ที่คว้าแชมป์โลกจากประเทศเยอรมนีเดินพาเหรด น�ำหน้าเหล่าโรทาเรียน อินเตอร์แรค พร้อมกับการให้ความรู้ และชักชวนเพื่อเข้ารับการหยอดวัคซีนโปลิโอ 2. การจัดประกวดวาดภาพ’โปลิโอวายร้ายในวัย เด็ก’ ระดับนักเรียน Rtn.Captain John Blair สร.เชียงใหม่ จะท�ำหน้าทีป่ ระธานจัดการประกวด เปิดรับสมัครผลงานตัง้ แต่ บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศผลการตัดสิน ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นวันโรตารีสากล และเพื่อเป็นการร่วมเฉลิมฉลอง 106 ปีโรตารีสากล ในวันงานจะมีการจัดแสดงนิทรรศการภาพวาด พร้อมประวัติผลงานของโรตารี ณ เซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า จ.เชียงใหม่ ในวันนัน้ จะเปิดรับบริจาคโลหิตเพือ่ ช่วยเหลือเพือ่ น มนุษย์ รวมถึงมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กด้อยโอกาส ต่อหน้า สื่อมวลชนอีกด้วย จึงขอเชิญมวลมิตรโรทาเรียนทุกท่านเข้าร่วมกิจกรรม หยอดวัคซีนโปลิโอในพื้นที่ของท่าน และร่วมกิจกรรมใน 2 งานดังกล่าว เพื่อร่วมเป็นหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่ร่วมขจัด โปลิโอให้หมดสิ้นไปจากโลก ท่านสามารถติดตามข่าวสารและ ร่วมกระจายข่าวสารได้จาก

www.rotary3360.org/endpolio

“เพราะเราต่างเชือ่ ว่าเราจะมีความอดทนจนให้มนั เสร็จสิน้ ” “We will have the fortitude to see this effort through to the end, we all will eradicate polio.”

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


สวั ส ดี ค รั บ ผมขอมารายงานตั ว ใน คอลัมน์ เสียงนก เสียงกา ให้สมาชิกโรแทเรียนทั้ง หลายทุกท่านได้อา่ นกัน เป็นฉบับที่ 3 และเป็นฉบับ ทีท่ ำ� ให้ผมรูซ้ งึ้ ถึงสัจธรรม ของผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ทงั้ หลายทีว่ า่ เด็ก สัตว์ สลิง นัน้ ก�ำกับหรือควบคุมยาก ที่สุด โอ้โห! กว่าที่จะประสานหรือติดต่อได้แต่ละ

อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

คนนั้น อื้อฮือ!สุดๆเลย ถ้าไม่ได้โรแทเรียนหลายๆ ท่านช่วยประสานและให้ข้อมูลต่างๆของเด็กให้แก่ ผม ผมคิดว่าคงท�ำให้ผมท�ำงานได้ยากมากเลย ผล งานของคอลัมน์ฉบับนี้ ส่วนหนึ่งก็ได้มาจากโรแท เรียนหลายๆท่านนีแ่ หละครับทีใ่ ห้ความร่วมมือ ผม จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ ที่นี้ด้วยครับ และขอ ขอบคุณเยาวชนแลกเปลี่ยนทุกคน ที่ให้มุมมองอีก ด้านให้เราชาวโรแทเรียนได้รับทราบ

Y0uth Exchange & RYLA Thakdanai Eua-amnuay (Ball). The Rotary Club of Chiang Mai North Sawasdee krab, My name is Thakdanai Eua-amnuay (Ball). I am an exchange student in Arkansas, USA. My sponsor club is the Rotary club of Chang Mai North, District 3360. My host family is McMurray. My parents are Shawn and Ginny McMurray, I have 2 sisters and 1 brother, Katheleen, Magaret and Michael. I am a student at Little Rock Central High School, there are around 1,000 students. The first few weeks was so difficult cause I didn’t have any friend and it was not easy to make new friends and I really missed Thailand so much but now everything is quite fine. I really enjoy myself with a lot of activities. I have soccer practices twice a week and we have a match every Saturday. We are a good team and other students get to know me because of soccer! The last month Orientation at Hot Spring was great fun, I had a great time with other YE students and have so many new friends. We had a chance to do water skiing and ride on a speed boat. My host family are very kind to me, my mom takes care of me like I am her own son. Every night before I go to bed she always hugs me and kisses me on my head, it is so warm and I really.. really appreciate it. I would like to thank The Rotary Club of Chiang Mai North and everyone who supports me. I promise to do my best. Sawasdee from Arkansas krab!

Ploy Phanthitra P. The Rotary Club of Chiang Mai North Hello my name is Ploy, Rotary youth exchange student district 3360. Now I am in Alberta, Canada district 5370. I have been here for almost 2 months and everything is going well. At the first day I arrived, I was shocked and homesick. Everything was so different such as the weather, people, language and time. I started missing everyone in Thailand. Some people told me ‘There is always light at the end of the tunnel’ that made me feel better. Finally, I have passed the hardest thing and start having fun with my life in the foreigner country. I am so proud to be able to publicize Thailand culture and learn Canadian culture as well. Being the exchange student is a fantastic gift for my 17th birthday I have ever had. I have 10 months left in Canada, I am sure it is going to be the most awesome year of my life. YE ,TANAPORN EMSIRANUNT‫‏‬ The Rotary Club of Lanna Chiang Mai ธนพร เอมศิรานันท์ ไปแลกเปลี่ยนที่ประเทศ เยอรมัน ปี09-10 ตอนที่ได้ไปประเทศเยอรมัน ก็ตื่นเต้นมาก ก็ต้องเตรียมตัวหลายๆ อย่าง ไม่ ว่าจะเป็นกระเป๋า ของฝาก เสื้อผ้าต่างๆ ตั๋ว เครื่องบิน ก็ได้ไปถามรุ่นพี่ที่เคยไปมาว่าเราต้อง เอาอะไรไปบ้าง เตรียมตัวยังไงบ้าง ก่อนไปก็ได้ เรียนภาษาพื้นฐานเล็กๆน้อยๆ เตรียมไว้ เมื่อไปถึงประเทศเยอรมณี


แล้วก็ได้อยูก่ บั โฮสต์แฟมืลี่ ก็ตอ้ งปรับตัวหลายๆอย่าง ทัง้ อาหารการ กิน ทัง้ อากาศ และการเดินทาง เพราะทีโ่ น่นไม่ใช้รถยนต์เหมือนบ้าน เรา ส่วนมากคนที่นู่นปั่นจักรยานเอา หรือไม่ก็ขึ้นรถไฟฟ้าเอา เราก็ ต้องไปลองผิดลองถูก ขึ้นรถผิดบ้างหลงบ้างสนุกดี ตอนที่อยู่ที่โน่​่นก็ ได้เจออะไรใหม่ๆหลายๆอย่างทั้งเพื่อนใหม่ ภาษาใหม่ วัฒนธรรม ใหม่ ก็เป็นอะไรที่สนุกดีค่ะ เป็นหนึ่งปีที่ได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์ มากมาย ได้ไปเทีย่ วทีต่ า่ งๆทัง้ ทีโ่ ฮสพาไป และทริปต่างๆของโรตารีก็ สนุกมาก ได้ไปเทีย่ วหลายประเทศทีอ่ ยูใ่ นแถบยุโรป การไปโครงการ แลกเปลี่ยนเป็นประสบการณ์ที่หาซื้อไม่ได้ ได้ลองใช้ชีวิตด้วยตัวเอง ช่วยตัวเองในทุกๆเรื่อง ท�ำให้มีความรับผิดชอบมากขึ้น มีประสบกา รณ์หลายๆอย่าง ที่ท�ำให้มีความมั่นใจมากขึ้น การเป็นนักเรียนแลก เปลี่ยนก็ปีที่มีค่ามาก เป็นปีที่จะไม่มีวันลืมค่ะ :)

Michelle Nicholson Sponsor Club: Space Center D.5890 Host Club: Chiang Mai Airport Well, I have been in Thailand for three months already, and I absolutly love this exotic country! I go to Satit CMU high school and from day one all of the student’s have been so nice and patient with me and my slowly improving Thai. Some of my favorite places to go with friends are Walking Street, Robinson, and Central mall. I have also been to Chiang Mai Night Safarri which was really fun and different from any zoo I’ve ever been too! With all the other exchange student’s in my district, I have attended the Central Trip to Sukothai, Bangkok,etc. It was so much fun and I got to see another part of Thailand that is way different from Chiang Mai! At first, I was scared I wouldn’t like Thai food, but when I arrived I knew that wasn’t the case, it’s the exact opposite really. Some of my favorite foods are Rohdi, Moo Ping, and Bah-mi, they’re alloy mak mak!! I still hope to go to Doi Suthep, Zip-lining in the jungle, ride an elephant, and eat a bug. Thailand is such an amazing country, and I have met some of the nicest and most wonderful people ever, and this is only the beginning!

อภิชญา พรวิเศษศิริกุล The Rotary Club of Chiang Mai North สวัสดีค่ะ หนูชื่ออภิชญา พรวิเศษศิริกุล หรือ แพร เป็นตัวแทนของสโมสรโรตารีเชียงใหม่ เหนือไปเข้าค่าย RYLA ครั้งนี้ค่ะ ค่ายครั้งนี้จัดที่ เขื่อนสิริกิตจังหวัดอุตรดิตถ์ แพรประทับใจค่าย RYLA มากๆ เลยค่ะ เพราะท�ำให้นักเรียนมา พบปะกับเพือ่ นๆ ทีไ่ ม่เคยเจอกันมาก่อน ท�ำให้มี เพือ่ นกันทัว่ ทิศทัว่ ภาคเหนือกันไปเลยค่ะ ภายในค่ายเรามีการแบ่งทีม เป็นสีๆ ตัวแพรเองได้อยู่สีแสด ตอนแรกก็ไม่ค่อยจะสนิทกันเท่าไหร่ หรอกค่ะ เพราะต่างคนต่างทีม่ า คุยกันถูกคอบ้างไม่ถกู บ้าง แต่อยูไ่ ป อยู่มาก็เริ่มมีกิจกรรมเยอะมากขึ้น เช่น วอล์ค แรลลี่ (Walk Rally) กิจกรรม D-HAPPY และต่างๆ อีกมากมาย วิทยากรแต่ละคนก็เต็ม Jocelyn Boeré ที่กันมากๆ อยากบ้าก็บ้ากันให้เต็มที่ค่ะ ไม่มีใครกลัวใครเลย และ Sponsor Club: Lethbridge Sunrise Canada นี่แหละที่เป็นสาเหตุให้เราสนิทกันมากๆ มีอยู่วันนึงเราต้องตื่นตี 4 Host Club: Lanna Chiang Mai เพื่อมาฟังคัมภีร์ของวิทยากร แพรตื่นสายมาก ตื่นตี 5 ทั้งที่คนอื่นๆ Response: I arrived in Chiang Mai, เค้าตื่นตี 4 กันหมด แถมหอพักยังอยู่ไกลจากสถานที่นัดรวมอีก ล�ำ Thailand on August 3rd, 2010. The บากมากๆ แต่เหมือนได้ออกก�ำลังกายไปในตัว วันแรกๆ นี่เราเมื่อย first thing that I really remember is the ล้าขาแขนกันหมดเลยค่ะ พอมาวันหลังๆ มันเริ่มชินเลยไม่มีใครบ่น overwhelming humidity that seemed อะไรเลย เฮฮาปาร์ตี้กันมากกว่า ชอบค่ายนี้มากๆ เลยค่ะ อยากให้มี to almost bombard my very pores as I การจัดค่าย RYLA กันต่อไปนะคะ สวัสดีค่ะ stepped out of the airport. Having grown up in a semi-arid climate, the very air of Chiang Mai was a shock to me. It Brittany Wilcox was like an undeniable – inescapable reminder that I was Sponsor Club-Sitka beginning the adventure of a lifetime; my year on Rotary Host Club-Chiang Mai. Youth Exchange. Almost everyday I am reminded in a new It has been hard sometimes, no question. Living in a way of why I love Thailand so much. It’s country where you do not speak the language is very from the people, the food, my school, challenging, and trying to learn the language has been a my family and so much more. The food struggle too. That being said however, I love being here. in particular always amazes me. Yes, there are foods I The culture of this country: from school, to home life, the dislike but there are also foods I absolutely love. Some incredible sights I have seen: temples, country-side, rice foods I will eat every day. School has never been so fields, and the incredible food all combine into a stunning much! Everyone is so nice and everyone wants to help world that I never knew before. Every day I find new things me learn Thai. Thai is sometimes very difficult to learn to discover; every day I learn something new – not only with the pronunciations and tones but I am learning. My about Thailand and it’s people, but about myself . host sister also helps me learn to speak and read. When I first arrived here, it was so hot! I like that now it is not so hot and I’m not sweating all the time. Each day is better than the last and is full of new adventures.

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


อน. พิมพ์ประไพ พรรณาภพ MPHF ประธานจัด การอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2553-2554

การอบรมผู้นำ�เยาวชน RYLA ภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2553-2554 6-9 ตุลาคม 2553 ณ เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์ เมื่อครั้งที่ดิฉัน อน.พิมพ์ประไพ พรรณาภพ ได้มีโอกาสร่วมเดินทางไปในคณะโรแทเรียนจาก ภาค 3360 โดยการน�ำของ ผวล. นพ.วีระชัย จ�ำเจริญดารารัศมี ช่วงเดือนมิถุนายน 2552 เพื่อเข้าร่วม งาน Rotary International Convention ณ เมืองเบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ ได้มีโอกาสรับทราบ การวางแผนงานต่างๆ ในปีบริหารที่ท่านจะท�ำหน้าที่ผู้ว่าการภาค 3360 และแล้ว 4 สโมสรในจังหวัด อุตรดิตถ์ ก็ได้รบั เกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดงานระดับภาค 2 งาน คือการอบรมสมาชิกภาพ (Membership) ประธานจัดงานคือ ผชภ. จิระยุทธ หิรณ ั ยวัฒน์ สโมสรโรตารีศลิ าอาสน์ และการอบรมผูน้ ำ� เยาวชน RYLA ประธานจัดงานคือ อน.พิมพ์ประไพ พรรณาภพ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ พอกลับมาถึงประเทศไทย ได้แจ้งเรื่องนี้ต่อที่ประชุมสโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ สมาชิกทุกท่าน ต่างก็ยินดีแล้วเราก็เริ่มวางแผนการด�ำเนินงานโดยมีท่าน อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ เป็นที่ปรึกษาของ คณะกรรมการ เราชาวอุตรดิตถ์มีความภูมิใจที่เรามีสถานที่ที่ส�ำคัญคือ เขื่อนสิริกิติ์ อยากให้เยาวชน จากจังหวัดต่างๆได้มาสัมผัส จึงได้เลือกที่แห่งนี้เป็นสถานที่ในการจัดอบรมผู้น� ำเยาวชน RYLA ในปี บริหาร 2553-2554 และก�ำหนดให้วันที่ 7-10 ตุลาคม 2553 เป็นช่วงเวลาจัดการอบรม จากนั้นคณะ กรรมการได้ประชุมวางแผนงานลงรายละเอียดของตารางอบรมตลอดเวลา 3 คืน 4 วัน และมีหัวข้อที่ เราเห็นว่าส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องจัดให้มีก็คือ “ธรรมะกับเยาวชน” โดยได้กราบนิมนต์พระคุณเจ้าคือพระ มหาสมปอง ตาลปุตโต มาเป็นพระวิทยากร ซึ่งพวกเราชาวพุทธทั้งหลายต่างยอมรับว่าท่านมีแฟนคลับ มากมายทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ท่านมีควิ ในกิจนิมนต์อนั ยาวเหยียดเป็นปีเลยทีเดียว แต่เมือ่ ท่าน ได้ทราบถึงเป้าหมายของการอบรมผู้น�ำเยาวชนแล้วท่านก็ได้ให้ความเมตตาต่อดิฉัน (ในฐานะคนอิสาน บ้านเฮาด้วยกัน ) ซึ่งจะมีคิวว่างให้ในวันที่ 7 ตุลาคม 2553 ดังนั้นจึงได้มีการเปลี่ยนแปลงก�ำหนดการ การอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA มาเป็น 6-9 ตุลาคม 2553 หัวใจส�ำคัญอีกเรื่องหนึ่งในการจัดอบรมก็คือ วิทยากรหลักตลอด 4 วัน 3 คืน จ.อุตรดิตถ์มีคนเก่งอีกท่านหนึ่งคือ อาจารย์เกรียงศักดิ์ สถาปนะศิริ ผู้ อ�ำนวยการ สถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จ.เชียงใหม่ ท่านและคณะยินดีรับงานครั้งนี้ให้ พวกเรารู้สึก โล่งอกโล่งใจเป็นก�ำลัง แต่กอ่ นทีจ่ ะมอบเวทีแห่งการอบรมฯให้กบั คณะวิทยากรหลักนัน้ ได้เรียนปรึกษา กับท่าน อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐให้ช่วยทาบทามเรียนเชิญปรมาจารย์ท่านหนึ่งในวงการโรแทเรียน ของเรา ซึ่งจะเป็นใครอื่นไปไม่ได้ นอกจากท่าน อผภ.ดร. ศุภวัตร ภูวกุล เป็นวิทยากรกิตติมศักดิ์เพื่อ มาจุดประกายความเป็นผู้น�ำให้กับเยาวชนผู้เข้าอบรม ซึ่งท่านก็เมตตาแก่ดิฉันรับค�ำเชิญด้วยความยินดี และ จัดเตรียม Presentation มาอย่างเยีย่ มยอด เป็นทีป่ ระทับใจของผูน้ ำ� เยาวชนทัง้ ห้องประชุมพร้อม


District 3360 R.I. Rotary Youth Leadership Award 6-9 October 2010

เพลงที่เด็กๆ เขาร้องติดปากกลับบ้านกันอย่างเพลิดเพลินคือ “ RYLA อยูไ่ หน…….ก็จะไปหา อยูไ่ กลนักหนา แม้ขอบฟ้าบัง คิดถึง กันอยู่ ไม่เคยนึกชัง ใจเรายังคิดถึงกัน ทุกวันคืน ” ดิฉนั ขอกราบ ขอบพระคุณท่านด้วยความซาบซึ้งไว้ ณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ ในส่วนของผู้เข้าอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ได้รับการ สนับสนุนจากสโมสรในภาค 3360 ทั้ง 64 สโมสร ได้มีการ ประชาสัมพันธ์ไปยังสโมสรต่างๆ ในระหว่างเดือนสิงหาคมกันยายน 2553 หมดเขตรับสมัคร 15 กันยายน 2553 มีผู้สมัคร มา 2 สโมสรเท่านั้น เอ๊ะ....จะท�ำไงดี ได้ปรารภกับ อน.ยุทธนา นฤนารถวงศ์สกุล (เชียงใหม่ใต้) ขอค�ำแนะน�ำในฐานะประธาน จัดการอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA (รุ่นพี่) ปีบริหาร 2552-2553 มาก่อนว่ามีเทคนิคอะไรบ้าง ได้รับค�ำแนะน�ำว่าต้องโทรศัพท์ ประสานกันกับนายกของทุกสโมสร หรือบุคลากรที่รับผิดชอบ ในสโมสรไปจนกว่าจะถึงวันอบรมนั่นแหละจึงจะจบ อุปสรรค ปัญหาจะมีให้แก้ไปเรื่อยๆ ดังนั้นการติดต่อสื่อสารของเราทั้ง ทางโทรศัพท์, E-mail และ Fax จึงมีอยู่ตลอดเวลาจนถึงวัน เริ่มการอบรม และแล้วเราก็ได้จ�ำนวนผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 186 คน เป็นเยาวชนแลกเปลี่ยน YE จ�ำนวน 29 คน ดิฉันจึงใคร่ขอ ขอบคุณทุกสโมสรที่ให้ความสนใจ ส่งเยาวชนเข้ารับการอบรม และขออภัยส�ำหรับท่านทีเ่ ราไม่สามารถรับใบสมัครได้อกี เพราะ กระชั้นชิดเวลาแล้ว เราไม่สามารถที่จะเตรียมการได้ทัน เช่น เสื้อ,หมวก,เป้,สื่อ-อุปกรณ์และอื่นๆ ที่เราต้องประสานกับ ฝ่าย ที่รับผิดชอบ เพราะข้อมูลผู้เข้าอบรมจะต้องนิ่งแล้ว เมื่ อ จะถึ ง วั น อบรม ดิ ฉั น ได้ รั บ รายงานจากคณะ กรรมการทุกฝ่ายว่าพร้อมแล้วส�ำหรับการจัดอบรม ความเป็น

ห่วง ก�ำลังใจที่ได้รับจากมิตรโรแทเรียน ทั้งในสโมสรและต่าง สโมสร โดยเฉพาะจากท่านผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารารัศมี และ โรตารีแอนน์ของท่านอน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี ดิฉัน รู้สึกประทับใจและซาบซึ้งมาก คลายความกังวลลงได้ นอกจาก นีต้ ลอดระยะเวลา 4 วัน 3 คืน ของการจับอบรมฯ ทราบว่าท่าน อยูใ่ นระหว่างเยีย่ มสโมสรอย่างเป็นทางการ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดน่าน ท่านเดินทางไป-กลับ มานอนทีค่ า่ ยอบรมกับพวกเราทุกคืน เป็น ขวัญก�ำลังใจให้กบั ผูน้ ำ� เยาวชน ตัง้ แต่เช้าจนบ่ายจึงออกเดินทาง ไปเยี่ยมสโมสรในแต่ละวัน โดยไม่แสดงออกถึงความอ่อนเพลีย เลยสักนิด นอกจากนัน้ ท่านยังให้การดูแลรักษาในฐานะคุณหมอ แก่ผเู้ ข้าอบรมด้วย ในพิธเี ปิดการอบรมอย่างเป็นทางการ ท่านได้ ให้ความรูใ้ นเรือ่ งของ โรตารี ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูเ้ ข้าอบรมมาก ทีเดียว โดยเฉพาะผูเ้ ข้าอบรมทีต่ งั้ ใจมาเข้าอบรมเพือ่ เกียรติบตั ร ทีจ่ ะได้รบั เมือ่ ผ่านการอบรมถือว่า เป็นใบเบิกทางขัน้ แรกของขัน้ ตอนการคัดเลือกของคณะกรรมการ YE ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นผูส้ มัคร ที่จะเข้าสอบคัดเลือกเป็นเยาวชนแลกเปลี่ยน Outbound ของ ภาค 3360 ซึ่งจะมีในสัปดาห์หลังผ่านการอบรมนี้ หลายคนใน จังหวัดอุตรดิตถ์สงสัยว่าค่าย RYLA คือ ค่ายอะไร ท�ำไมต้องมี ธงของโรตารีปักที่ทางแยกวังสีสูบเต็มไปหมด ค�ำตอบก็มาเฉลย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2553 เพราะมีรถที่มีเยาวชนมาจากจังหวัด ต่างๆหลายคันที่มุ่งหน้าไปที่เขื่อนสิริกิติ์ เยาวชนที่มาเข้าค่าย มีทั้งเยาวชนไทยและจากการแลกเปลี่ยนโรตารีสากล หลายๆ คนมาโดยไม่รู้ว่าจะพบอะไรบ้างในค่ายนี้และที่เขามีมาเต็มร้อย ในจิตใจคือมิตรภาพ ตั้งแต่วันแรกของการเข้าค่าย บรรยากาศของการลง

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


ทะเบียน บุคคลทีส่ ร้างสีสนั มากๆ คือบรรดาพวก Inbound จาก ชาติตา่ งๆ พวกเขากระโดดกอดกันด้วยความคิดถึง เพราะโอกาส ที่จะได้พบกันแบบนี้หาไม่ค่อยได้ เมื่อมีการปฐมนิเทศ มีการ จัดพฤติกรรมละลายพฤติกรรม ท่านผู้ใหญ่ใจดีของภาค อผภ. ดร.ศุภวัตร ภูวกุล มาให้ความรูเ้ รือ่ ง “ท�ำไมเราถึงต้องมารวมกัน ณ ที่นี้” บรรยากาศหลังจากจบการบรรยายพิเศษ ความเข้าใจ และมิตรภาพเริ่มปรากฏ ท่านวิทยากรผู้เก่งกาจกับกิจกรรม 3 คือ 4 วัน ของค่าย RYLA ท่านอาจารย์เกรียงศักดิ์ สถาปนะศิริ ผู้ อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จ.เชียงใหม่ และคณะ ได้จัดกิจกรรมให้เยาวชนของค่ายได้อย่างเยี่ยมยอด เยาวชนทั้ง ไทยและเทศทีร่ ว่ มกิจกรรมต่างซาบซึง้ ประทับใจ และทีไ่ ม่แพ้กนั ก็คอื บรรดา Inbound ก็รว่ มกิจกรรมกลุม่ ได้อย่างกลมกลืนและ สนุกสนานมีการกระจาย Inbound ไปตามกลุ่มสีทั้ง 10 กลุ่ม ก่อนการอบรมเราต่างก็กังวลว่ากลุ่ม YE จะเป็นปัญหาให้กับ คนส่วนใหญ่หรือเปล่าหนอ....? แต่ปรากฏว่าเขาน่ารักกันทุก คนต่างก็สร้างพลัง ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ มีความสามัคคีเพื่อ ให้งานกลุ่มส�ำเร็จลุล่วง และที่จะลืมไม่ได้เลย เมื่อหัวหน้ากลุ่ม Inbound คือ Mr. Jesus Rivera Aguirre และสมาชิกทุกคน ของ YE Inbound ทั้ง 29 คนออกมาร่วมกันร้องเพลงชาติไทย และกล่าวว่า “เรารักเมืองไทย” ท�ำเอาทุกคนในห้องประชุมต่าง ก็อึ้งในความสามารถของพวกเขา และปรบมือให้ด้วยเสียงดังที เดียว บางท่านถึงกับน�ำ้ ตาคลอ คงเป็นเพราะปลืม้ ใจแทนคนไทย อีกหลายคนที่ก�ำลังจะลืม รักประเทศไทยของเราไปเสียแล้ว ในคืนสุดท้ายของค่าย ท่านอผภ.ไพโรจน์ เอือ้ ประเสริฐ ได้กล่าวเปิดงาน“ราตรีแห่งความเปลี่ยนแปลง” ในคืนสุดท้าย

ของการอยู่ค่ายพร้อมทั้งท่านได้มอบแสง สี เสียง จากพลุสวยๆ บนท้องฟ้าเหนือสะพานแขวน เป็นทัศนียภาพที่ชาวค่ายตื่นตา ตื่นใจและจะจดจ�ำวันคืนที่สนุกสนานนี้ มิรู้ลืมไปอีกนานแสน นาน ในเวลา 3 คืน 4 วัน ที่พวกเราได้ทุ่มเททั้งกายใจให้กับ การเตรียมงานมาด้วยความเหน็ดเหนื่อย แต่เมื่อตัวแทนของ เยาวชนแต่ละทีมสีออกมาแสดงความรู้สึก ต่อการเข้าค่ายและ บอกเล่าถึงสิ่งดีๆที่ได้รับจากค่าย เช่น ประสบการณ์ ความรู้ มิตรภาพ และบอกว่าเขาจะเก็บสิ่งดีๆที่ได้รับไว้มิรู้ลืม อยากให้ มีค่ายดีๆอย่างนี้อีก อยากอยู่ค่ายนี้ต่อ ยังไม่อยากกลับบ้าน ผล การประเมินระดับความพึงพอใจมีทั้งพอใจมาก และพึงพอใจ มากที่สุด ในทุกรายการประเมิน ความเหน็ดเหนื่อยของพวก เราที่อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จนี้ได้มลายสิ้น ในนามของคณะ กรรมการจัดการอบรม ดิฉันขอขอบพระคุณแขกผู้มีเกียรติและ มิตรโรแทเรียนในภาค 3360 ทุกท่านที่ให้เกียรติมาเป็นก�ำลัง ใจในการอบรมครั้งนี้ พวกเราขอน้อมรับทุกค�ำติชมไว้และขอ ขอบพระคุณผู้ที่ให้การสนับสนุน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในความส�ำเร็จของการจัดการอบรมผู้น�ำเยาวชน RYLA ของ ภาค 3360 ท้ายสุดและสุดท้ายนี้ ท่าน ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญ ดารารัศมี ได้กล่าวขอบคุณด้วยน�้ำเสียงที่นิ่มนวลและรอยยิ้มที่ แสนประทับใจ ต่อคณะวิทยากร คณะกรรมการจัดการอบรม ผู้ ที่ให้การสนับสนุน ผู้น�ำเยาวชน RYLA ทุกคนและปิดการอบรม ผู้น�ำเยาวชน RYLA ของภาค 3360 ซึ่งปิดลงอย่างงดงาม ด้วย ภาพที่ประทับใจมิรู้ลืมของพวกเราทุกคนไปอีกนานแสนนาน


อน.ดร.บุษบง จ�ำเริญดารารัศมี สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม

ตามผู้ว่าเยี่ยมสโมสร

ขณะที่เขียนบทความนี้ ผวภ.นพ.วีระชัย จ�ำเริญดารา รัศมี เยี่ยมสโมสรโรตารีอย่างเป็นทางการครบเกือบทุกสโมสร แล้ว โดยเยี่ยมสโมสรเชียงใหม่ซึ่งเป็น Home Club ของผู้ ว่าการภาคเป็นสโมสรสุดท้าย เพื่อให้มีความหมายว่าไปไหน ต่อไหนแล้วกลับบ้าน อย่างไรก็ตาม เรามีสโมสรใหม่ก่อตั้งขึ้น หลายสโมสรจึงยังคงต้องให้เวลาเพื่อเตรียมความพร้อม จึงขอ จัดสโมสรใหม่ คือลุ่มน�้ำเข็ก และ เมืองเกาะคาเอาไว้ก่อน ทั้ ง ตั ว ผู ้ ว ่ า การภาคและ ผู ้ ติ ด ตามได้ เ ก็ บ เกี่ ย ว ประสบการณ์ที่ล�้ำค่า หลายอย่าง เหล่านี้ล้วนเป็นเรื่องที่ต้องอยู่ ในความทรงจ�ำอีกยาวนาน และที่ส�ำคัญมากไปกว่านั้นท�ำให้ได้ เรียนรูว้ ธิ กี ารบริหารจัดการทีแ่ ยบยล ขององค์กรโรตารีเป็นอย่าง มาก บทเรียนจากการเดินทาง มีหลายเรื่องที่ต้องคิดต้อง เตรียมและต้องจัดการ กล่าวคือ ผูว้ า่ การภาคโรตารีตอ้ งมีสขุ ภาพ ทีด่ แี ละ แข็งแรง เพราะการเดินทางจากบ้านไปเยีย่ มทุกๆสโมสร นั้น รวมระยะทางก็หลายหมื่นกิโล ทั้งทางเรียบ ทางชัน ทาง ใกล้และทางไกล กลางวันและกลางคืน ต้องไป .. จ�ำเป็นต้องมี สุขภาพที่ดีเท่านั้นจึงจะไปรอด ดิฉันเองป่วยเสีย 2-3 ครั้ง สิ่งที่ หล่อเลี้ยงใจผู้ว่าการภาค คงจะเป็นมิตรภาพจากสโมสรโรตารี เราพบว่า ทุกสโมสรรับรองผู้ว่าการภาคด้วยจิตที่เปี่ยมล้น และ ท�ำให้เราเข้าใจความหมายทีแ่ ท้จริงของค�ำว่า “ด้วยไมตรีจติ แห่ง โรตารี” พาหนะและแผนการเดินทาง เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่มี ความส�ำคัญ ผวภ.นพ.วีระชัยขับรถเองอยู่เพียงไม่ถึงเดือน มี ท่านเลขานุการวีรพงศ์ โตแสงชัย ช่วยขับบ้าง แต่ลงเอยด้วย

การจ้างคนขับรถ เพื่อให้ได้มีโอกาสท�ำงานอื่น ดูหนัง ฟังเพลง คุยกัน และนอนพักผ่อนในรถ ระหว่างการเดินทางซึ่งส่วนใหญ่ จะเริม่ เดินทางหลังอาหารเทีย่ ง และกลับหลังสามทุม่ เพือ่ ถึงบ้าน ประมาณเที่ยงคืนถึงตีสอง ท่านที่ต้องขับรถยนต์เอง คงเหนื่อย ไม่น้อย และหากขาดความพร้อมเรื่องพาหนะก็จะต้องใช้ความ อดทนและความพยายามมากขึ้นอีก ดังนั้นจึงขอคารวะอดีตผู้ ว่าการภาคทุกท่าน การเตรียมสุนทรพจน์ เป็นเรื่องที่ส�ำคัญมากเพราะ เป็นภารกิจหลัก สุนทรพจน์ต้องเป็นความรู้เรื่องโรตารีที่ผสาน แล้วกับข้อมูลจริงของสโมสรแต่ละแห่งซึ่งไม่เหมือนกัน ใน บรรยากาศที่ ผู ้ ว ่ า การภาคก� ำ ลั ง กล่ า วสุ น ทรพจน์ นั้ น เป็ น บรรยากาศทีเ่ งียบสนิท ทุกคนจะตัง้ ใจฟังสุนทรพจน์ เป็นโอกาส ของการรับฟังความรู้เรื่องโรตารี ที่เหมาะสมกับสถานะของ สโมสรอย่างแท้จริง ผูว้ า่ การภาคจึงจ�ำเป็นต้องรับฟังข้อมูลใน 2 ชัว่ โมงแรกทีพ่ บกับ นายกสโมสร เลขานุการ และคณะกรรมการ บริหาร เพื่อให้รับทราบถึงสถานะของสโมสร ความหนักอก หนักใจของนายก จุดเด่นและจุดอ่อนของแต่ละสโมสรแล้วน�ำ มาผสานในสุนทรพจน์ซึ่งเตรียมไว้ล่วงหน้าแล้วบางส่วน จึงจะ เกิดความประทับใจได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อเยี่ยมสโมสรสันป่าตอง อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สะท้อนว่า “สุนทรพจน์ของผู้ว่าเป็น เนือ้ ๆทัง้ นัน้ เลย” .... สโมสรศิลาอาสน์สะท้อนว่าเป็นครัง้ เดียวที่ สมาชิกเงียบสนิทฟังสุนทรพจน์อย่างตั้งใจ และหลังสุนทรพจน์ ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกสัมภาษณ์ผู้ว่าการภาค และสมาชิก ทุกท่านได้คุยกับผู้ว่าการภาค แทนการร้องเพลงซึ่งเตรียมไว้ ก่อน และเป็นบรรยากาศที่สนุกสนานมากๆ ที่สโมสรแม่สายมี

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


Interactor มาร่วมต้อนรับผู้ว่าการภาคด้วย สุนทรพจน์จึงเป็น เรื่องเยาวชน ยังจ�ำได้ว่าท่านนายกลงทุนเดี่ยว Grand Piano ที่ สร้างความประทับใจได้มาก มีอีกมากมายแต่ไม่กล่าวได้ทั่วถึง เรื่องนี้ให้บทเรียนมากมายต้องนึกถึงค�ำพังเพยไทย “พูดดีเป็น ศรีแก่ปาก” การรณรงค์การบริจาคเพือ่ มูลนิธโิ รตารี ถือเป็นภารกิจ หลักอีกอย่างหนึง่ ของผูว้ า่ การภาค เพราะการบริจาคเพือ่ มูลนิธิ นั้นเป็นภารกิจหลัก 1 ใน 4 ของสโมสรที่มีประสิทธิภาพ (เพิ่ม และรักษาสมาชิก กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ บริจาคเพื่อมูลนิธิ โรตารี ส่งเสริมการเป็นผู้น�ำในระดับสูงขึ้น) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปีที่ภาค 3360 ก�ำลังจ�ำเป็นต้องขยับฐานะทั้งในเรื่องสมาชิก ภาพ และ เรื่องการบริจาค ซึ่งเป็นที่ทราบโดยทั่วกันว่าเราก�ำลัง ครอง “บ๊วย” ทัง้ สองเรือ่ ง ปีนนี้ บั ว่าโชคดีทดี่ เู หมือนว่าทุกสโมสร มีความตั้งใจที่จะบริจาคอยู่แล้ว แม้อีกส่วนหนึ่งเกิดจากการ บริจาคเพือ่ แลกของแถม (แต่กห็ วังว่าโรแทเรียนจะเข้าใจว่าการ บริจาคนั้นเป็นหน้าที่ ส่วนของแถมนั้นเป็นเพียงผลพลอยได้) เนื่องจากในปีนี้เป้าการบริจาคที่ภาค 3360 ของเรา ถูกก�ำหนดโดย TRF นั้นสูงมาก คงต้องยอมรับเป็นเบื้องต้นผู้ ว่าการภาคจะท�ำสุดความสามารถ ส่วนผลลัพธ์นั้นเป็นเรื่องที่ ทุกสโมสรจะร่วมกันลิขิต ต้องขอขอบคุณในตัวเลขประมาณ การ (เกิน 130,00U$) ที่ทุกสโมสรได้มอบให้ผู้ว่าการภาคใน วันที่ไปเยี่ยมสโมสรอย่างเป็นทางการ ตัวเลขนี้มากกว่าเป้าที่ผู้ ว่าการภาคตั้งไว้แต่ต้นปี คือ 120,000 U$ แต่ยังไม่ถึงเป้าซึ่งถูก ก�ำหนดโดยประธานมูลนิธิโซน 6B ซึ่งตั้งไว้ที่ 150,00 U$ ซึ่งเรา ยังต้องช่วยกันท�ำงานอีกมาก ทั้งการบริจาคเพิ่มเติม สนับสนุน

ให้ผปู้ กครอง YE มีสว่ นร่วมในการบริจาคมากขึน้ หรือแม้กระทัง่ การรณรงค์การบริจาคจากชุมชน หลังการเยีย่ ม ประธานมูลนิธิ ภาค คือ อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ จะเป็นผู้รวบรวม และจะ มีการให้การยกย่องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในงาน Rotary Night ซึ่งจะจัดขึ้นที่แม่สายโดยสโมสรแม่สาย ดัชนีชี้วัดในเรื่อง นี้คือ “ทุกสโมสรจะมีส่วนร่วมในการบริจาค” การให้เวลาในการเยี่ยมสโมสร เป็นเรื่องส�ำคัญ อย่าง น้อยต้องใช้เวลา 60 วัน ตามจ�ำนวนสโมสรที่มีอยู่ในภาค เป็น ภารกิจของผู้ว่าการภาคที่จะต้องให้เกียรติแก่ทุกสโมสร ไม่นำ� สโมสรมารวมกันแล้วเยีย่ ม ด้วยเหตุนที้ ำ� ให้เราต้องออกจากบ้าน ต่อกันเป็นสัปดาห์ เช่น พักที่เขื่อนสิริกิติ์เพื่ออยู่ร่วมการประชุม RYLA ในตอนเช้า เดินทางไปเยี่ยมสโมสรน่าน นครน่าน ปัว ท่าวังผาและเวียงสา และกลับมานอนตอนตีสองของทุกวัน พัก ที่พิษณุโลกเพื่อเยี่ยมสโมสรพิษณุโลก นเรศวร ศรีสองแคว วัง จันทน์ และย้ายมานอนพิจิตรเพื่อเยี่ยมสโมสรชาลวัน เป็นต้น อีกหลายแห่งต้องเดินทางเทียวไปเทียวกลับ ท�ำให้ต้องทิ้งงาน ประจ�ำไปส่วนใหญ่ๆ จึงเข้าใจต่อไปว่าการเป็นผูว้ า่ การภาคโรตา รีนั้นเป็นภารกิจเต็มเวลา ในการนี้เห็นทีจะต้องคารวะ อผภ. วิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา ที่ท่านจัดการตนเองโดยให้ลูกมาดูธุรกิจ แทน ท่านและแอนน์สุจินต์จึงปฏิบัติหน้าที่ได้เต็มร้อย อย่างน่า ชมเชย


How Rotary Exchange Students grow from the YE year.

รทร.จีรนันท์ จันต๊ะนาเขตร์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

ถ้ากล่าวถึงโครงการ วายอี “ Youth Exchange program D3360 ” อาจกล่าวได้ ว่าเป็นโครงการน่ายกย่องเพราะ ภาค 3360 ได้ท�ำโครงการมาอย่างต่อเนื่องยาวนานอีกทั้งยัง สามารถน�ำเอาเด็กเยาวชนไทยมากกว่า 40 คน ในแต่ละปีไปแลกเปลี่ยนกับนานาประเทศทั่ว โลก วันนี้เราลองมาฟังความคิดเห็นของประธานคณะกรรมการโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยน ภาค น้องๆ เยาวชนคนเก่งของภาคที่ไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์มาเล่าสู่กันฟังกับการใช้ชีวิต ในต่างแดน และฟังทัศนะของเด็กแลกเปลี่ยจากนต่างแดนที่มาใช้ชีวิตในบ้านเรานะค่ะ อน. ตุลย์ สุวรรณรัตน์ ประธานคณะกรรมการโครงการเยาวชนแลกเปลีย่ นภาค ท่าน ได้กล่าวถึงโครงการYE ของภาค 3360 ว่า “ภาค 3360 ถือว่าประสบความส�ำเร็จอย่างงดงามในโครงการเยาวชนแลกเปลี่ยน เพราะมีการเติบโตขึน้ ตามล�ำดับ ปัจจุบนั มีการส่งเยาวชนแลกเปลีย่ นไปประเทศต่างๆ ประมาณ เกือบ 50 คน ถือว่าเป็นความส�ำเร็จอย่างยิง่ ถ้าเราพูดถึง YE ในอดีตผูป้ กครองเข้าใจว่าเป็นการ ส่งเด็กไปเรียนภาษาอังกฤษเท่านั้น แต่ปัจจุบันผู้ปกครองเริ่มเข้าใจแล้วว่าเด็ก YE แต่ละคน ต้องท�ำหน้าที่เป็นทูตวัฒนธรรม อีกทั้งยังสามารถพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ผลพลอยได้อีกอย่างก็คือ เมื่อผู้ปกครองเข้าใจในโรตารี่แล้วเราจะได้ผู้ปกครองมาเป็นโรแท เรียน และสนับสนุนโครงการต่างๆ ของโรตารีมากขึ้น ”

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


อย่างไรก็ตาม ท่านประธานคณะกรรมการโครงการ เยาวชนแลกเปลีย่ นภาคยังฝากทิง้ ท้ายว่า ถึงแม้นจ�ำนวนสโมสร ภาคมีเพิ่มมากขึ้น ทางภาคจะพยายามกระจายนักเรียนแลก เปลี่ยนให้ทั่วถึงให้มากที่สุด

“ ประตูบานใหญ่สู่โลกกว้าง ประตูแห่งการ เรียนรู้ ของการใช้ชีวิตตลอดหนึ่งปีในต่างแดน ”

รตมน จิรานุกรม สาวน้อยหน้าใสและน้องจิรเวช ศิรี เลิศ ทั้งสองคือนักเรียนแลกเปลี่ยน Rebound ดิฉันได้มีโอกาส สนทนากับ ทั้ง 2 เพียงระยะเวลาสั้นๆ ท�ำให้ดิฉันทึ่งในความ สามารถหลายด้านทั้งเกี่ยวกับวิธีคิด วิธีพูด การน�ำเสนอเรื่อง ราวต่างๆ ที่น้องทั้ง 2 ได้ไปสัมผัสมา ดูน้องๆ ช่างเป็นบุคคลที่ ทรงคุณค่า และน่าภาคภูมิใจของภาค 3360 ของเราจริงๆ ลอง มาฟังดูว่าทั้ง 2 ได้ประสบการณ์อะไรจากการเป็นนักเรียนแลก เปลี่ยนบ้าง เริ่มที่น้องรตมน เธอกล่าวว่า “หนึง่ ปีกบั การใช้ชวี ติ นักเรียนแลกเปลีย่ น ณ ประเทศ ฝรัง่ เศส เหมือนกับการก้าวผ่านประตูบานใหญ่สโู่ ลกกว้าง ประตู แห่งการเรียนรู้ ไม่เพียงแต่ในด้านทักษะภาษา หากรวมถึงทักษะ การใช้ชีวิต การใช้ชีวิตตลอดหนึ่งปีเต็มบนดินแดนที่เราไม่เคย แม้แต่จะจินตภาพถึงสภาพแวดล้อม บ้านเมือง ความเป็นอยู่ การปรับตัวสู่วิถีชีวิตในดินแดนตะวันตกแห่งนี้ในฐานะทูตทาง วัฒนธรรม ท�ำให้ได้ฝึกความอดทนอย่างมาก ท�ำให้ได้เข้าใจถึง ความหมายแก่นแท้ของค�ำว่า ‘ชีวิต’ เพราะชีวิตจริงไม่ได้โรย ด้วยกลีบกุหลาบ การต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทัง้ กับ เพือ่ นๆ ทีโ่ รงเรียน กับสมาชิกในครอบครัวอุปถัมภ์ ตลอดจนผูค้ น มากหน้าหลายตาในต่างแดนไม่ใช่เรือ่ งง่าย แต่สดุ ท้ายสิง่ ทีไ่ ด้รบั กับมามัน ‘คุ้มค่า’ เหลือเกิน สิ่งส�ำคัญที่สุดที่ได้รับจากการเป็น นักเรียนแลกเปลีย่ นคงหนีไม้พน้ ประสบการณ์ชวี ติ และมิตรภาพ เป็นความงดงามอีกช่วงหนึง่ ของเวลาทีม่ คี า่ เกินกว่าจะลืมเลือน” ลองมาฟังประสบการณ์ตา่ งแดนของน้องจิรเวชกันบ้าง นะคะ “จากที่ผมได้ได้พบปะพูดคุย กับผู้คนมากหน้าหลาย ตาจากนานาประเทศ ผมคิดว่าผมได้อะไรดีๆกลับมาเยอะเลย ครับ ไม่ว่าจะเป็นการวางตัวในสังคมที่เป็นระดับสากลหรือ ประสบการณ์ทางด้านความแตก ต่างระหว่างวัฒนธรรมท้อง ถิ่นของประเทศนั้นๆและประเทศไทย มุมมองความคิด ความ คิดเห็นของผู้คนประเทศอื่นๆ รวมถึงการมองและแก้ปัญหาที่ ต่างจากคนไทย การไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนท�ำให้ผมมีความ มัน่ ใจมากขึน้ ทีจ่ ะเดินเข้าไป เพือ่ ยืน่ มือให้ความช่วยเหลือแก่คน ที่ดูเหมือนจะต้องการ โดยที่เราไม่เคยรู้จักเพราะเมื่อลองย้อน นึกถึงตอนที่ตนเองยังเป็นเด็กอยู่ ต่างแดนที่ไม่รู้เรื่อง ไม่รู้ราว อะไรมากมายแต่ก็ยังมีผู้คนให้ความเชื่อเหลือเสมอมา และการ ไปเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของผมยังสอนให้ผมรู้ค่าของวันและ

เวลามากขึ้น อีกด้วย มีคนเคยบอกผมว่า “ The more you do the much more you get.” มันช่วยให้ผมคิดและหาอะไรท�ำ อยู่ ตลอด พยายามไม่ให้ตัวเองว่างและท�ำตัวให้เป็นประโยชน์ แล้วก็ยังได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่แตกต่างและใหม่ๆ อยู่ตลอด เวลาครับ ” หลายท่านอาจจะอยากทราบนะค่ะว่าเมื่อน้องๆกลับ มาแล้วได้ทำ� อะไรกันบ้าง น้องรตมน บอกว่า นอกจากช่วยเหลือ งานเยาวชนแลกเปลีย่ นของภาคแล้ว น้องก็เลือกทีจ่ ะเรียนซ�้ำอีก ปีหนึง่ ชดเชยช่วงทีห่ ายไปใช้ชวี ติ นักเรียนแลกเปลีย่ นทีป่ ระเทศ ฝรั่งเศส ถ้าถามว่ากลับมาเมืองไทยแล้วได้ท�ำอะไรบ้าง ณ ตอน นีค้ งหนีไม่พน้ การพยายามปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเราให้ดที สี่ ดุ ในการ เตรียมตัว สอบเข้ามหาวิทยาลัยที่หวังไว้ค่ะ ส่วนน้องจิรเวช กล่าวว่า หลังจากกลับมาเมืองไทย ผมได้เข้าไปช่วยงาน Rotary Youth Exchange อยู่สองงาน คือ Pre-departure outbound 2010-2011 orientation เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ณ จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นงานที่ พี่ๆ Rebound ที่พึ่งจะกลับมาจากต่างประเทศสดๆร้อนๆ จะ มาช่วยเพิ่มความมั่นใจของน้องๆที่ ก�ำลังจะออกเดินทางรวมถึง สอนและก�ำชับเกีย่ วกับการปรับตัว ให้เข้าหาสังคมใหม่ ให้เหมาะ สมต่อประเทศนัน้ ๆ ส่วนอีกงานหนึง่ ก็พงึ่ จบไปเมือ่ สัปดาห์ทผี่ า่ น มา คือการสอบคัดเลือกนักเรียนแลกเปลีย่ นรุน่ ใหม่ 2011-2012 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ในงานก็จะมีการสอบสัมภาษณ์ ตอบค�ำถาม ต่างๆของท่านผู้ปกครองของน้องๆ รวมถึงการท� ำกิจกรรม ละลายพฤติกรรม ซึ่งทั้งสองงานก็จบไปด้วยเสียงหัวเราะและ รอยยิ้มครับ เมือ่ มาถึงตรงนีเ้ ชือ่ เหลือเกินว่าทัง้ ผูป้ กครองและน้องๆ ทีจ่ ะไปโครงการแลกเปลีย่ น คงอยากทราบว่ารุน่ พี่ มีอะไรฝากถึง น้องๆ รุ่นหลังบ้าง รตมน ได้ฝากรุ่นน้องว่า “เราหวังว่าอยากจะได้อะไรกลับมาจากการไปเป็น นักเรียนแลกเปลี่ยนบ้าง เมื่อหวังแล้วก็พยายามคว้ามันมาให้ ได้ ใช้โอกาสนี้ให้คุ้ม คนที่ไม่ประสบความส�ำเร็จในชีวิตไม่ใช่คน ที่ไม่มีโอกาส แต่คือคนที่ปล่อยให้โอกาสมันผ่านไปอย่างไร้ค่า ต่างหาก เก็บเกี่ยวสิ่งดีๆ มาให้ได้มากที่สุด เพราะแม้แต่เหรียญ กลมๆ ยังมีสองด้าน โลกกลมๆ ใบนี้ก็เช่นกัน มีทั้งด้านดี และ ด้านร้าย อยู่ที่นั่นไม่มีใครมาคอยควบคุมเรา อิสระ เสรีเต็มที่ สิง่ ทีจ่ ะควบคุมเราได้กม็ แี ต่เพียงตัวของเราเอง ทุกอย่างอยูท่ เี่ รา เลือก หวังว่าน้องๆ จะได้รับสิ่งดีๆ ประสบการณ์ดีๆ และความ ทรงจ�ำดีๆ กลับมานะคะ” รุ่นพี่อีกคน จิรเวช ก็ฝากถึงน้องๆ เช่นกันว่า “ก็อยากให้น้องๆทุกๆคนที่มีโอกาสลองไปดูนะครับ เป็นเหมือนรางวัลและประสบการณ์ครั้งหนึ่งของชีวิต น้องๆที่ กล้าๆกลัวๆไม่ต้องหวั่นอีกละครับ หลับตาตัดสินใจไปเลยครับ หลายสิง่ มากมายภายใน1ปีนี้ ทีผ่ มเจอะเจอมาทัง้ ความสุข ความ


“ประตูบานใหญ่ สู่โลกกว้าง ประตูแห่งการเรียนรู้ ของการใช้ ชีวิตตลอดหนึ่งปี ในต่างแดน”

ทุกข์ สมหวัง ผิดหวัง รอยยิ้มที่ได้จากมิตรภาพ น�้ำตาที่เกิดการ จากลา มันท�ำให้ผมแข็งแกร่งขึน้ และท�ำให้เรือ่ งต่างๆ ต่อไปจาก นี้เป็นเรื่องง่ายๆไป เลย ซึ่งส�ำหรับตัวของผมเองการไปแลก เปลีย่ นเป็นการตัดสินใจทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เท่า ทีผ่ มเคยท�ำมา ณ จุด นี้ ทั้งนี้ก็อยากจะขอขอบคุณ Rotary มา ณ ที่นี้ด้วยครับ ที่ได้ มอบประสบการณ์ที่หล่อหลอมให้มาเป็นผมในวันนี้ ” “ ฉันโชคดีมากที่ถูกส่งมาอยู่เมืองไทย มันเป็นชีวิตที่ แตกต่างจากประเทศแคนนาดาของฉันมาก ” นีค่ อื ค�ำพูดทีอ่ อก มาจากแววตาทีส่ ดใสและใบหน้าทีเ่ ต็มไปด้วยรอยยิม้ แห่งความ สุขจากสาวน้อยที่ชื่อ” Jocelyn boere หรือชื่อเล่นเป็นภาษาไทยในนาม “น้องสายรุ้ง” นั้นเอง เธอเดินทางมาจากประเทศแคนนาดา เธอยังได้พูดถึงเมืองไทยอีกว่า “บรรยากาศสบายๆ ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ใจดี อบอุ่น และคอยช่วยเหลือเธอในทุกๆ ด้าน ท�ำให้มอี ทิ ธิพลต่อภาพรวม ของการใช้ชวี ติ ของเธอและท�ำให้ชวี ติ ของเธอได้เปลีย่ นแปลงใน ทางที่ดีขึ้นมากๆ ” กับค�ำถามทีด่ ฉิ นั ได้ถามน้องสายรุง้ ทิง้ ท้ายว่า จะ/ฝาก

อะไรถึงน้อง ๆ YE ที่จะไปอยู่ต่างแดนบ้าง เธอตอบว่า “ ฉันคิดว่าสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีต่ อ้ งท�ำคือ การพยายามที่ จะไม่หวังสิง่ ใดๆ เมือ่ คุณจะออกไปเพือ่ แลกเปลีย่ น ให้คณ ุ เขียน สิ่งที่คุณคาดหวังในปีที่จะถึง เกี่ยวกับประเทศที่จะไปหลังจาก นั้นก็ให้ขย�ำมันทิ้งไว้บนเครื่องบิน นี่เป็นสิ่งที่ดี ถ้าคุณพยายาม จะไม่คาดหวังมันจะมีสงิ่ ทีค่ ณ ุ ได้คาดหวังรออยูแ่ ล้ว และทีส่ ำ� คัญ ให้คณ ุ ตอบทุกสิง่ ทุกอย่าง ด้วยค�ำว่า “YES” ยังมีหลายสิง่ หลาย อย่างในโครงการทีค่ ณ ุ จะได้เจออีกมาก อย่ากลัวทีจ่ ะท�ำสิง่ ใดสิง่ หนึ่งแม้ว่ามันจะผิดก็ตาม ฉันเองก็รู้ว่าเคยท�ำผิดหลายครั้ง สิ่ง ที่ส�ำคัญที่สุด คือ คุณต้องพยายาม ที่จะเปิดรับสิ่งใหม่ ถ้าจะมี อะไรเกิดขึ้นก็ช่างมัน ” ชีวิตที่ไม่มีการต่อสู้อาจจะดูเหมือนว่า ปลอดภัย แต่ จะเป็นชีวิตที่ไร้ซึ่งแก่นสาร และความมุ่งหมาย ถ้าเราไม่กล้า เสี่ยง ไม่ผจญภัยกับมัน เราจะไม่เติบใหญ่และไม่สามารถเจริญ รุดหน้าต่อไปได้ ชีวติ ต้องสูน้ ะค่ะ ขอเป็นก�ำลังใจให้นอ้ งๆ ทีผ่ า่ น การคัดเลือกและยังไม่ผ่านการคัดเลือกทุกคน “ ลุกขึ้นมา และ สู้ต่อไป ความส�ำเร็จรออยู่แค่เอื้อมค่ะ

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


รทร.จตุรยุทธ พรมนิล สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ

Afghan students raise awareness for polio eradication By Arnold R. Grahl Rotary International News 8 October 2010 ในภาพ สมาชิกของกลุ่มวิชาการของวิทยาลัย ก�ำลังร่วมพูด คุยกับนักธุรกิจในเมืองจาลาลาบัด ปากีสถาน เกี่ยวกับการ ก�ำจัดโรคโปลิโอ (อนุเคราะห์ภาพโดยโครงการเครือข่าย ความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนแห่งโลก)

นักเรียนศึกษาชาวอัฟกานิสถาน กับการให้ความส�ำคัญทีม่ ากยิง่ ขึน้ ต่อการก�ำจัดโปลิโอ

โดย Arnold R. Grahl สารโรตารีสากล ฉบับวันที่ 8 ตุลาคม 2553 เมือ่ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมานี้ นักเรียนนักศึกษาอัฟกันจากหลายสถาบันในเมือง จาลาลาบัดได้ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่อระดมทุนและรณรงค์ให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความ ส�ำคัญในการก�ำจัดโรคโปลิโอให้หมดสิ้นไปจากปากีสถาน นักเรียนนักศึกษาเหล่านี้ล้วนเป็นสมาชิกของโครงการเครือข่ายความร่วมมือ และการแลกเปลี่ยนแห่งโลก ซึ่งรับผิดชอบดูแลโดยสโมสรโรตารีสามเหลี่ยมทองค�ำแห่ง ลา โจลล่า รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ในการให้ความรู้ทางวิชาการต่างๆแก่โรงเรียน มัธยมศึกษาตอนปลายในจาลาลาบัดเป็นจ�ำนวนหกแห่ง ภายใต้การสนับสนุนทางงบ ประมาณจากรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกาเพื่อให้การด�ำเนินโครงการนี้เป็นจุดเริ่มต้น ของการส่งเสริมเทคโนโลยี การพัฒนาหลักสูตรและความร่วมมือในระดับนานาชาติ ในวันที่ 21 กันยายนที่ผ่านมา อับดุล ควอม อัลมาส สมาชิกของสโมสรโรตารี จาลาลาบัด ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโครงการ ได้ร่วมกับฟารี่ โมอินี่ สามชิกสโมสร โรตารีแห่งสามเหลีย่ มทองค�ำลา โจลลา ในการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ ให้ความรูเ้ รือ่ ง การก�ำจัดโปลิโอให้แก่นักเรียนและสมาชิกชุมชนต่างๆในจาลาลาบัดด้วย ส่วนอัลมาส พาร์ดีส ผู้อ�ำนวยการส่วนภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสุข


ได้น�ำเสนอรายละเอียดโครงการดังกล่าวแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ งาน ส่วนนักเรียนนักศึกษาบางส่วนก็ได้ออกให้ความช่วยเหลือ เยาวชนผู้พิการ ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการที่ พ่อแม่ของ พวกเขา ไม่อนุญาตให้พวกเขาเหล่านั้นไปรับวัคซีนโปลิโอตั้งแต่ เยาว์วัย หลังเสร็จสิ้นกิจกรรม เชิงปฏิบัติการดังกล่าวแล้ว นักเรียนนักศึกษาที่ร่วมโครงการ ก็ได้ระดมความคิดกันเพื่อ จัดท�ำโครงการระดมทุน รวมทั้งใช้เวลาอีกสองวันในการเยือน โรงเรียน บริษทั ห้างร้าน บ้านเรือนประชาชน หน่วยราชการ และ ที่ท�ำการพรรคการเมืองต่างๆ โดยพวกเขาได้พร้อมใจกันใส่เสื้อ ยืดสีขาว สกรีนตัวอักษรว่า “ มาร่วมกันก�ำจัดโปลิโอให้หมดไป จากปากีสถาน (Let’s Kick Polio from Pakistan)” เพื่อแสดง ให้เห็นว่าพวกเขาคือส่วนหนึง่ ของผูร้ ว่ มโครงการเครือข่ายความ ร่วมมือและแลกเปลี่ยนแห่งโลกด้วย กิจกรรมแรกในระยะแรกเริ่ม นักเรียนนักศึกษาในแต่ละทีมได้นำ� เสนอสไลด์เกีย่ วกับ โครงการรณรงค์ของพวกเขาให้แก่กลุม่ เป้าหมายในชุมชนต่างๆ ก่อนทีจ่ ะย้อนกลับไปทีศ่ นู ย์ฝกึ อบรมกลางของโครงการเพือ่ พูด คุยหารือเกีย่ วกับผลการปฏิบตั งิ านทีผ่ า่ นมา ทางด้านโมอินกี่ ล่าว ว่า ผลจากกิจกรรมดังกล่าว พบว่าทีมจากห้องปฏิบตั กิ าร แห่งวิทยาลัยฝึกอบรมวิชาการซึง่ น�ำโดย อุลฟัต คาเซมี่ และผูฝ้ กึ อบรมซาฮา โซรับ เป็นทีมที่ชนะเลิศเนื่องจากสามารถระดมทุน ช่วยเหลือได้มากที่สุด โมอินี่กล่าวต่อว่า ทุกสถาบันการศึกษาท�ำได้ดีมาก และเธอก็ภาคภูมใิ จในตัวนักเรียนนักศึกษาเหล่านัน้ มาก เช่นกัน เพราะในที่สุดแล้ว พวกเขาก็เป็นแรงบันดาลใจและสร้างความ เข้มแข็งให้เธอ ด�ำเนินกิจกรรมต่อไปได้เป็นอย่างดี สตีเฟน อาร์ บราวน์ กรรมการสโมสรโรตารีแห่ง สามเหลีย่ มทองค�ำลา โจลลา ได้กล่าวว่า นักเรียนนักศึกษาเหล่า นั้นต่างมีความมุมานะและเพียรพยายามในการ ให้ความรู้เรื่อง

โปลิโอแก่ชาวโลก ซึง่ สิง่ เหล่านีน้ บั ได้วา่ มีคา่ ยิง่ กว่าเงินทุนทีร่ ะดม ได้ 25,000 เหรียญอัฟกานิสถาน (ประมาณ 550 ดอลล่าร์ สหรัฐ) นอกจากนั้นเขายังแสดงความคิดเห็นว่าเด็กเหล่านี้ได้ ติดอาวุธส�ำคัญเป็นข้อมูลข่าวสาร และใช้โอกาสที่มีในการออก ไปให้ความรู้เรื่องโรคโปลิโอ และความส�ำคัญของการรับวัคซีน โปลิโอแก่ชาวบ้านอีกด้วย ทางด้านอัลมาสได้กล่าวเพิม่ เติมว่า นีน่ บั เป็นครัง้ แรก ที่นักเรียนนักศึกษาชาวอัฟกัน ได้ออกมาท�ำกิจกรรมเพื่อระดม ทุนและช่วยเหลือผู้อื่นจากโรคโปลิโอ รวมทั้งได้บอกชาวอัฟกัน ทัง้ หลายถึงความส�ำคัญของกิจกรรมและการให้ความช่วยเหลือ ของพวกเขาในครั้งนี้ หลายเดือนก่อนหน้านี้ สโมสรโรตารีแห่งสามเหลี่ยม ทองค�ำลา โจลล่าได้ให้การสนับสนุนด้านการเงินแก่โครงการ ห้องปฏิบัติการทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งช่วยให้นักเรียนนักศึกษา ในหลายพื้นทีได้ริเริ่มโครงการบริการชุมชนของพวกเขา ทั้ง การซ่อมแซมบ่อน�ำ้ ประจ�ำหมู่บ้าน การซ่อมแซมห้องเรียนและ อุปกรณ์การเรียนการสอน และโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ของ ชุมชน นอกจากนั้นแล้ว สตีเฟน อาร์ บราวน์ ยังให้ความเห็น ว่าโครงการนี้ได้เผยตัวตน คนที่มีความเป็นผู้น�ำทางธรรมชาติ ออกมาและเชื่อว่าผู้น�ำที่ก่อเกิดขึ้นมาในครั้งนี้ จะเป็นผู้ช่วยที่ ส�ำคัญในการด�ำเนินงานโครงการต่อต้านโปลิโอของทีมนักเรียน นักศึกษาต่อไป เขาเสริมอีกว่า โครงการนี้เป็นอะไรที่มากกว่าการ อบรมทางเทคนิคและ วิชาการให้แก่นักเรียนนักศึกษาผ่านทาง อินเตอร์เน็ต เพราะมันได้กลายมาเป็นเครื่องหมายอย่างไม่เป็น ทางการของโครงการไปแล้ว และนักเรียนนักศึกษาเหล่านัน้ ล้วน มีความภาคภูมิใจ ทีได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการเพื่อสังคมนี้ บราวน์กล่าวว่า ท้ายที่สุดแล้วผู้น�ำนักเรียนนักศึกษา หลายคนจากโครงการนี้ ก็ได้กลายมาเป็นผู้เริ่มต้นก้าวย่างที่ ส�ำคัญในการก่อตั้งสโมสรอินเตอร์แร็คต์ในสถาบันของพวกเขา เอง

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


นย.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีกาวิละเชียงใหม่ สวัสดีครับท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ฉบับนี้...ก็เป็นฉบับ ต้อนรับการเปิดเทอมของวัยรุน่ ลูกหลานของพวกเราแล้วซินะครับ... รวมทัง้ ภาค 3360 ของเราก็มี YE เยาวชนต่างแดนมาพ�ำนักศึกษาอยู่ จ�ำนวนมากเช่นกัน (ตามจังหวัดต่างๆ รอบภาค 3660) เลยตัง้ ใจว่าจะ น�ำเอาความรู้สึกนึกคิดของเด็กเหล่านี้น�ำทยอยมาลงในสารผู้ว่าการ ภาคไปเรื่อยๆ ฉบับละ 1-2 คน (ลูกหลาย YE สโมสรไหนสนใจ “น�ำ ความรู้สึกต่อการมาอยู่ในประเทศไทยครังแรก” ก็ลองๆ บอกพวก เขาเขียนส่งมาที่ ekavuth@gmail.com ได้เลย...ยินดีน�ำลงให้ครับ และแน่ น อนว่ า การเป็ น วั ย รุ ่ น ทุ ก ท่ า นต่ า งผ่ า น ประสบการณ์ชวี ติ แบบนีม้ าทัง้ นัน้ รวมทัง้ ผูเ้ ขียนทีก่ �ำลังก้าวข้าม (หรือ ข้ามไปนานแล้วก็ไม่รู้ ฮิฮิ) วัยรุ่นถือเป็นช่วงวันแห่งการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการทางร่างกายและ จิตใจของมนุษย์ เป็นช่วงวัยของการ เร่งเจริญเติบโตทัง้ ในทางชีวะ สรีระ และจิตวิทยา เป็นวัยเร่งสร้างสุข นิสยั เร่งปรับตัว เร่งทางวิชาการ และเริม่ เลือกอาชีพ สรุปแล้วเป็นการ เร่งเจริญเติบโตทุกๆด้าน ค�ำว่า Adolescent มาจากภาษาลาติน Adolescere ซึ่งหมายความว่า To grow up มีวัยรุ่นและพ่อแม่ของ วัยรุ่นจ�ำนวนไม่น้อยที่ต้องเดือดร้อน วุ่นวายไปกับการเปลี่ยนแปลง อย่างมากมายนี้ แต่ในเวลาเดียวกันก็มีวัยรุ่นอีกจ�ำนวนมากที่ผ่าน ระยะของวัยนี้ไปได้โดยไม่มีปัญหาแต่อย่างใด Erikson เป็นผู้หนึ่งที่ มองว่าสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น เป็นเรื่องที่ไม่ใช่ความผิดปกติ หรือเรื่องที่น่าจะเดือดเนื้อร้อนใจมากมายนัก ถึงแม้ Erikson จะใช้ ค�ำว่า “identity crisis” ในการบรรยายถึงวัยรุ่นเขาก็หมายถึง ช่วง ระยะหนึง่ ของพัฒนาการตามปกติ และค�ำนีก้ ก็ ลายเป็นทีย่ อมรับและ ใช้กันโดยทั่วไป การสิ้นสุดของการเป็นวัยรุ่นและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ค่อน ข้างมีความแตกต่างกัน ในแต่ละประเทศหรือตามกลุ่มสังคม ซึ่งจะ เห็นได้จากการที่บุคคลนั้นได้รับความเชื่อมั่นหรือไว้ใจให้ท�ำหน้าที่ หรืองานต่างๆ เช่น การขับขีย่ านพาหนะ การมีความสัมพันธ์ทางเพศ การเป็นทหาร การเลือกตั้ง หรือการแต่งงานเป็นต้น การเป็นวัยรุ่น มักจะสอดคล้องกับการเพิม่ ขึน้ ของเสรีภาพทีไ่ ด้รบั จากพ่อแม่ หรือผู้ ปกครอง หรือสิทธิตามกฎหมาย หรือความสามารถในการตัดสินใจ ในบางเรือ่ งโดยไม่ตอ้ งขอความยินยอม และนีค่ อื ข้อเท็จจริงทีเ่ ป็นตัว ตนของวัยรุ่นเอง แล้วในประเทศไทยอยากให้ท่านโรแทเรี่ยนที่เป็นผู้ ปกครองเด็กเหล่านั้น ได้ทราบข้อมูลที่น�ำมาเรียบเรียงและน่าจะเกิด ประโยชน์บ้าง ส�ำหรับคนที่ต้องการรับรู้ความในของวัยรุ่น ลูกหลาน ของท่านเอง พวกเขามีหลายสิ่งหลายอย่างที่ไม่อยากบอกพ่อแม่ แต่ มักจะคุยกับเพื่อนๆ ในวงแคบๆ มากกว่า เรามาดูว่ามีสิ่งไหนที่เขาได้ ส�ำรวจมาแล้วว่า ใช่เลยแน่ๆ แล้วเราจะแก้ไหมเนี่ย... 8 สิง่ ทีว่ ยั รุน่ จะไม่พดู ให้ พ่อแม่ฟงั แต่จะคุยกับเพือ่ นๆ เสีย

วัยรุ่นคิดอะไรอยู่... อย่ายุ่งกะหนูได้ไหม... มากกว่า (8 Things your teen won’t tell) ซึ่งมี นิตยสาร ฉบับ หนึง่ เล่าให้ฟงั ว่า วัยรุน่ อายุระหว่าง 12-18 ปีนนั้ ในสมองพวกเขาคิด อะไรกันมั่ง ซึ่งหนีไม่พ้นสิ่งต่อไปนี้... 1. “หนูคิดถึงเรื่องเซ็กซ์...บ่อยซะด้วย” ไม่แปลกใจแล้วมั้ง ถ้าบอกว่า “เซ็กซ์” เป็นหัวข้อที่วัยรุ่น หลงใหล...แต่เดี๋ยวก่อนนะครับอย่าคิดว่า วัยรุ่นทั้งหลายจะท�ำตัว ฟอนเฟะไปซะทุกคน การที่พวกเขาสนใจเรื่องนี้ บางทีบางคนก็แค่ อยากรู้อยากเห็น แต่ไม่ถึงกับอยากลองหรือเข้าไปพัวพันกับเรื่อง เซ็กซ์ๆ เอ็กซ์ๆ เต็มตัว ส่วนมากฝ่ายหญิง จะค�ำนึงถึงอารมณ์ความ รูส้ กึ , ความโรแมนติก, ความอบอุน่ ทางใจมากกว่า ตรงข้ามกับ วัยรุน่ ชาย เอาแล้วคิดแล้วว่า โอ้ย ถ้าได้เสียเนื้อเสียตัวจะกระดี๊กระด๊าน่าดู เพราะอยากได้ชื่อว่าเจนสนาม เป็นนักรัก นักล้วงและปากหวานเพื่อ ให้หญิงตายใจ รูไ้ ว้เหอะ แถมวัย รุน่ หญิงน่ะ ชอบถูกแฟนหลอกให้เสีย สาวเพื่อพิสูจน์ว่าเธอรักเขา อยู่เรื่อย....วิธีนี้วัยรุ่นชายถนัดนักแหละ ผิดใจกันเมื่อไหร่เดี๋ยวก็งัดมุกนี้มาใช้ ทั้งที่หากรักจริง ไม่ต้องพิสูจน์ ความรักด้วยวิธนี กี้ ไ็ ด้ สาวๆ จึงควรรูใ้ ห้ทนั พวกอยาก “หลอกกินของ ฟรี” แต่ไม่อยากรับผิดชอบไว้ด้วย ทางที่ดี พ่อแม่ควรเปิดโอกาสให้ ลูกวัยรุ่นพูดคุยเรื่องเซ็กซ์ที่เขาอยากรู้บ้าง ผู้ใหญ่ จะได้ช่วยปลูกฝัง ค่านิยมและความรู้สึกทางเพศที่เหมาะสมให้ เห็นด้วยไหนครับ. 2. “หนูอยากเป็นดารานักร้อง, คนเด่นคนดัง หรือได้อยูใ่ กล้ ซุปเปอร์ สตาร์ก็ยังดี” จะเป็นใครดีล่ะ บริทนีย์ สเปียร์, แบรด พิทท์, จัสติน ทิม เบอร์เลค หรือ พี่เบิร์ด-ธงชัย, หนูจิน-จินตหรา และน้องปี้ เดอะ สตาร์ ไม่ว่ายุคใดสมัยไหน วัยรุ่นมักมีดารา-นักร้องคนโปรด เป็นแม่ แบบของพวกเขาเสมอ ดาราท�ำอะไรเด็กก็ทำ� มัง่ อย่าว่าแต่วยั รุน่ คลัง่ ดาราเพราะผูใ้ หญ่เองก็ยงั ชอบ เหตุนวี้ ยั รุน่ จึงอยากเข้าสูว่ งการบันเทิง เพราะนึกว่าบันเทิงเริงรมย์คงไม่ซเี รียส แถมยังได้เจอคนสวยๆหล่อๆ ใจใครบ้างล่ะจะไม่เคลิบเคลิม้ ส่วนรายได้กเ็ ป็นกอบเป็นก�ำ เห็นดารา ดังๆ มีบา้ นหลังเบ้อเร่อ แถมเรือ่ งซุบซิบนินทาดาราน่ะ สนุกกว่าเรียน หนังสืออีก แล้วท�ำไมจะไม่ชอบล่ะ อือน่าคิดนะข้อนี้ 3. “พ่อแม่น่าจะมีเงินให้หนูใช้ไม่อั้นนะ” โธ่ หนูเอ้ย...พ่อแม่ก็อยากมีเงินเยอะๆ มาปรนเปรอลูก เหมือนกัน แต่จนใจทีฐ่ านะทางเศรษฐกิจไม่เอือ้ อ�ำนวยให้เป็นเศรษฐี พันล้านกันได้ ทุกคนนี่สิ ไม่ใช่ลูกกลุ้มฝ่ายเดียวหรอกนะ พ่อแม่โรแท เรี่ยน ก็กลุ้มด้วยแหละ ใครล่ะอยากเป็นแค่คนหาเช้ากินค�่ำ อยากแต่ มีเงินไหลมาเทมาทั้งนั้นแถมวัยรุ่นสมัยนี้ ขาดความอดทนและไม่รู้ จักค�ำว่า “รอ” ซะด้วยนะ ถ้าเกิดอยากได้ อะไรก็ต้องได้ ไม่มีหรอก ที่จะรอเก็บหอมรอมริบเอง เห็นเอาแต่ใจตัวเองมากกว่า เพราะเด็ก


ยังหาเงินไม่ได้ และไม่เคยหาเงินเอง เลยนึกว่าพ่อแม่หา เงินไม่ยาก ก็ลองหาดูมั่งซิ ฮือ เห็นต้วยอย่างมาก 4. “ห้องนอนที่บ้านคือที่พักพิงทางใจที่วิเศษที่สุดเลย” ถ้าวันไหนลูกแขวนป้าย “ห้ามเข้า” หรือ “อย่ารบกวน” ไปจน “อยากอยู่คนเดียว” ไว้หน้าห้องนอน (ไม่รู้มีแถวๆ พิษณุโลก ด้วยใหม่ แต่แถวเชียงใหม่นนั้ มีแน่นอน ฮิฮ)ิ ก็อย่าตกใจหรือเอะอะไป วัยรุน่ นะ ชอบความเป็นส่วนตัวเหลือเกิน๊ ประมาณ ห้องนอนข้า ใคร อย่าแตะ ฉะนัน้ ถ้าพวกเขาขลุกอยูแ่ ต่ในห้องจึงไม่แปลก แต่พอ่ แม่ควร สังเกตเด็กหน่อยว่า พวกเขาอยากอยูใ่ นห้องท�ำอะไรกุก๊ กิก๊ ตามล�ำพัง หรือว่าถูกใครแกล้งให้ผิดหวังหรือเปล่า? อย่าเซ้าซี้ แค่ถามบ้างก็พอ เอาแบบทฤษฎีพอเพียงประมาณนั้นก็ไม่เลวน่ะ 5. “หนูกังวลใจกับภาพลักษณ์ภายนอกตลอดเวลา” วั ย รุ ่ น คนไหนคนนั้ น กั ง วลใจกั บ รู ป ร่ า งหน้ า ตาและ ทรวดทรงองค์เอวทั้งน้าน เพราะใครมั่งล่ะไม่อยากสวยไม่อยากหล่อ ไม่อยากน่ารักน่าเจีย๊ ะ เป็นทีต่ อ้ งตาต้องใจเพศตรงข้าม อย่าว่าแต่วยั รุน่ เป็นงีเ้ ลย แม้แต่ ผูใ้ หญ่กเ็ ป็นเหมือนกัน ไอ้เรือ่ งหมกมุน่ กับน�ำ้ หนัก ตัว, ผิวพรรณและการแต่งเนือ้ แต่งตัว ให้ทนั ยุคทันสมัยตลอดเวลาน่ะ เหมือนโรคระบาด แต่อย่าถึงกับไปดูดไขมันเพราะอยากสวยจนตาย เหมือนที่เคยเป็นข่าวละกัน ถ้าใครไม่รักเราเพราะอ้วนหรือไม่สวยก็ ช่างมันซี หาคนที่รักแบบไม่มีเงื่อนไขเดี๋ยวก็เจอ 6. “เพื่อนคือทุกสิ่งทุกอย่างของหนู” พ่อแม่ได้ยนิ คงเสียใจแย่ แต่ตอ้ งยอมรับว่า สมัยก่อน คนที่ เป็นพ่อแม่วนั นี้ ก็เคยคิดแบบเดียวกับวัยสะรุน่ ตอนนีน้ นั่ แหละ (เรือ่ ง จริงจ๊ะ) ค�ำถามคือ ท�ำไมวัยรุน่ ถึงได้ให้ความส�ำคัญกับเพือ่ นมากกว่า? วิเคราะห์ ดู “วัย” เป็นปัจจัยหนึง่ การได้คลุกคลีกบั เพือ่ นมากกว่าใน แต่ละวันนั่นก็อีกหนึ่ง วัยรุ่นเชื่อว่าขืนพูดอะไรกับผู้ใหญ่ก็มักถูกห้าม

เลยไม่พูด ไม่บอกอะไรให้ฟังดีกว่า เบื่อได้ยินเสียงบ่นหรือต�ำหนิ เลย เก็บไปพูดกับเพื่อนแทน แหมพูดกะเพื่อนมันแสนจะสบายใจกว่ากัน เยอะ 7. “รักมักท�ำให้เจ็บกระดองใจ” เด็กสาววัยรุน่ ไม่รเู้ ป็นไง ชอบเขียนถึงปัญหาเกีย่ วกับความ รักไปขอความเห็นจากสื่อ หรือส่งไปตามเว็บไซต์ตรึมเชียว (เห็นทีจะ ไม่ใช่ทงั้ หมดก็ มีสาวๆ สร.ถิน่ ไทยงาม ไปกระซิบกระซาบหนุม่ แม่สาย ก็เกลือ่ นเวป ฮิฮ)ิ ส่วนค�ำถามมักหนีไม่พน้ ค�ำปรารภว่าไม่เข้าใจแฟน, ท�ำไมเขาถึงทิ้งฉัน หรือมีแฟนเจ้าชู้ ท�ำไง ดีคะ? อะไรท�ำนองนี้ พวก ที่เขียนไปหาสื่อ มักเป็นวัยรุ่นที่มีปัญหาแฮะ คนไม่มีปัญหาไม่เห็น เขียนมาพร�่ำพรรณนาเลย แล้วเรื่องรักก็ท�ำให้พวกเขาเจ็บปวดมาก ที่สุด เฮ้อ...ถ้าเจ็บแล้ว ริรักในวัยเรียนท�ำไมจ๊ะ หนูจ๊ะ... 8. “โลกนี้น่ากลัวจะตาย” วัยรุ่นใช่ว่าจะมีความมั่นใจในตัวเองไปซะทุกคน พวกเขา หวาดระแวงกับสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ แถมไปเรียนหนังสือก็ใช่ว่าจะเจอ เพื่อนที่ดีๆ หรือครูที่ประเสริฐไปซะหมด เหตุนี้จึงถูกเพื่อนจูงจมูกไป ในทางทีผ่ ดิ ง่ายมาก เพราะท�ำผิดแล้วสนุก ท�ำถูกไม่เห็นตืน่ เต้นนีห่ ว่า แถมถ้าเข้ากับเพือ่ นๆไม่ได้ ก็มกั ถูกแกล้ง ถูกเยาะเย้ยหรือถูกกีดกันไม่ ให้เข้ากลุ่ม เห็นไหมล่ะ ว่าโลกมันบัดซบแค่ไหน?

เฮ้า..มาแล้วกับคอลัมน์พิเศษ YE Voice ส�ำหรับเยาวชน แลกเปลี่ยน YE D.3360 วันนี้ขอเสนอสัก 2 คนละกัน ลูกหลานใคร บ้างหนอ ลองอ่านดู (คนไทยก็ฝึกอ่านอังกฤษได้นะครับ) แล้วพบกัน ใหม่ Bye for Now… When I arrived in Thailand, I was surprised because it was very different than what I imagined. But I got to know the city, and I liked. Info fact, I love Thailand. The people here are nice, the makes it feel better. Every day is a different day. Every day something new happens. I love experiencing the inexplicable thing, which I will take with me for the rest of life. Lorena Alquino da Silva

I’m so lucky to come here Thailand!! And also my situation now is lucky too. Because there is no one of exchange students, except me in my school. And I go to the school which is in Lamphun. Most students in my school cannot speak English. So I have to speak in Thai!! I felt nervous a little when I went to my school when I was in Japan. But now here I have a lot of my friends and I have a so fun and great time everyday!! And I love D.3360 inbounds!! I love Thailand and everything!! Aya Nakamoto , Japan

ในเมือ่ วัยรุน่ ยังเป็นวัยทีอ่ อ่ นต่อโลก ไม่นบั ไอ้ทแี่ ก่แดดเกิน วัยใจอาชญากรนะ ผู้ใหญ่อย่างพวกเราๆ ในบ้านจึงควรใส่ใจเขาบ้าง เลี้ยงลูกด้วยเงินน่ะดี แต่อย่าลืมเทใจให้ด้วย เพื่อเด็ก ในวันนี้ จะได้ เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ไม่เมายา ไม่มั่วเซ็กซ์ และไม่หูตึง ไม่แรง เอา พอดีๆ ฮิฮิ ไม่แน่จบ 12 เล่มของสารผู้ว่าการภาค เอกวุฒิ จะเป็น ศิราณี ต่อ 555

สารผู้ว่าการภาค ๓๓๖๐ ฉบับที่ ๓ เดือน กันยายน ๒๕๕๓


นย.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่ สวัสดีค่ะมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ผ่านมาสามเดือนกับปีบริหาร 2553-2554 ทีเ่ ริม่ ต้นมาก็ท�ำให้ ผูว้ า่ การภาคและคณะกรรมการฝ่ายสมาชิกภาพท�ำงานเหนือ่ ยหน่อย เพือ่ รณรงค์เพิ่มสมาชิกให้ได้ 1,400 คนภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2554 เพื่อ ไม่ให้ถูกยุบรวมกับภาค 3340 ที่หัวอกเดียวกัน...***…ทางภาคได้จัดให้มี การประชุมเพื่อแก้ไขวิกฤติสมาชิกภาพของภาคไปแล้ว 2 ครั้ง เพราะเรา จะต้องมีสมาชิกที่มีสมาชิกต�่ำกว่า 20 คนได้ไม่เกิน 10 สโมสร อันนี้แหละ ท้าทายหลายๆ สโมสรเลยทีเดียว...***...สโมสรโรตารีลา้ นนาเชียงใหม่โดย รทร. วาริพินธ์ แซ่แต้ ประธานคณะกรรมการฝ่ายสมาชิกภาพของสโมสร ก�ำลังไฟแรงไม่หยุดฉุดไม่อยู่ เพิ่มสมาชิกภาพไปแล้ว 12 คน ท�ำให้นายก สโมสรหน้าบานไม่หุบอยู่ขณะนี้...***...การอบรมผู้น�ำเยาวชนหรือ RYLA 2010 ระหว่างวันที่ 6-9 ตุลาคม 2553 ทีจ่ งั หวัดอุตรดิตถ์ ทราบว่าคุณภาพ คับแก้ว เด็กๆ ประทับใจผู้ใหญ่ก็หายเหนื่อย ต้องขอยกนิ้วให้ อน. พิมพ์ ประไพ พรรณาภพ ประธานจัดงานและคณะกรรมการทุกท่าน...***… ฟังจาก “น้องเพชร” ที่เข้าอบรมครั้งนี้บอกว่าประทับใจและสนุกมาก เพชรฟังเรื่อง “ธรรมะกับเยาวชน” จากท่านพระมหาสมปอง ตลอดเวลา ไม่เบื่อเลย... เสียงสะท้อนจากเด็กๆ บอกได้ถึงความพึงพอใจที่ได้เข้ารับ การอบรมครั้งนี้ ขอแสดงความยินดีกับคณะกรรมการจัดงานทุกท่านอีก ครั้ง...***… ด้านฝั่งสมาชิกสโมสรโรตารีเวียงโกศัย เน้นมิตรภาพโดยยก ขบวนไปร่วมแสดงความยินดีกับ รทร. บัญชา คูอาริยกุล ผู้จัดการบมจ. ธนาคารกรุงไทย สาขาแพร่ ที่เปิดสาขาอ�ำเภอสูงเม่น เป็นสาขาที่ 3 หลัง จากสาขา 2 ที่บิ๊กซีแพร่ ยังไม่พอรองรับลูกค้าได้เพียงพอ เก่งและมีพาว เวอร์สูงจริงๆ ขอคอนเฟิร์ม...***...ยังอยู่ที่เมืองแพร่.. ขอแสดงความยินดี ที่ท่าน อน. สมบัติ วิสุทธิผล แห่งสโมสรโรตารีเวียงโกศัย ได้กลับจากการ เข้ารับการผ่าตัดอย่างปลอดภัยมาพักฟืน้ ทีโ่ รงแรมภูมไิ ทยการ์เด้น อย่างไร้ กังวล หายแล้วจะมาช่วยท�ำกิจกรรมโรตารีต่อ ตอนนี้ท่านขอร้องให้โรตา รีแอนน์เสาวลักษณ์ วิสุทธิผล มาเป็นโรแทเรียนเต็มตัวเป็นก�ำลังทดแทน แล้ว นี่แปลว่า สายเลือดโรตารีสามารถถ่ายทอดกันได้จริงๆ ...***…นี่เลย นักบุญตัวจริง นย. พะเยาว์ และ อน. ธงชัย ศิริกิจภิญโญกุล แห่งสโมสร โรตารีแพร่ นอกจากจะพาสมาชิกไปบริจาคเงินให้โรงเรียนสอนคนตาบอด สันติจินตนาที่อ�ำเภอเด่นชัยทุกเดือนและมอบรถวีลแชร์อย่างต่อเนื่อง แล้ว ล่าสุดยังพาคนงานพิการขาที่อุปถัมภ์ไว้ไปคลอดบุตรที่โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ สุดยอด Service Above Self จริงๆ... ***…ข้ามไป ฝัง่ พิษณุโลกบ้าง... แม้จะมีธรุ กิจเป็นเจ้าของกิจการร้านอุปกรณ์ เสริมสวย “ศรีพานิช“อยู่ แล้ว แต่ อน. สุนี อุชชิน โรแทเรียนคนสวยและคนเก่งแห่ง สโมสรโรตารีนเรศวร ยังเปิดร้านอาหาร “ศรีสุราษฎร์” น้องใหม่ป้ายแดง เอาใจหนุม่ สาวชาวใต้และชาวเหนือทีช่ นื่ ชอบอาหารปักษ์ใต้...***... ไม่วา่ จะมีกิจกรรมของโรตารีที่ไหนในภาค 3360 สองคู่ชู้ชื่น คนเก่งแห่งสโมสร โรตารีพิษณุโลก จะไปพร้อมกันเสมอคือคู่ของ ผชภ. ชญากานต์ - สุภาพ บุรุษโรตารี นยล. พัฒนา พิทตระพันธ์ และ นย. รัชนี –สุภาพบุรุษโรตารี

ประโลม พรมชู นี่ขนาดไม่หวานให้คนอื่นเห็น ยังมีคนแอบอิจฉาตาร้อน ผ่าวผ่าว...***...ด้าน นย. รัชดา ผ่องธัญญา สโมสรโรตารีวังจันทน์น�ำทีม สมาชิกรวม ๗ ชีวิตทัวร์กรุงเทพฯ แวะเยี่ยมศูนย์โรตารี และร่วมประชุม กับสโมสรโรตารีบางเขน ภาค 3350 สโมสรคู่มิตร ที่ร่วมกันท�ำกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์สร้างสนามเด็กเล่น ณ โรงเรียนบ้านโนนสะอาด จ. พิษณุโลก...***…สโมสรโรตารีเชียงใหม่ฉลองครบรอบ 51 ปีเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2553 ณ โรงแรมคานทารีฮิลล์ เชียงใหม่ มีผู้อาวุโสของสโมสรมา กล่าวถึงความประทับใจของการเป็นสมาชิกสโมสรหลายท่าน โดยเฉพาะ อผภ.ดร. ศุภวัตร ภูวกุล ที่เป็นคนแรกในการท�ำคะแนนประชุม 100 % ติดต่อกันถึง 49 ปี คงจะหาใครมาท�ำลายสถิตินี้ได้ยาก...***…นย. อุณา ชไนเดอร์ ฝากแจ้งว่าสโมสรโรตารีเชียงใหม่ได้ย้ายที่ประชุมมาที่โรงแรม คานทารีฮิลล์ ย่านถนนนิมมานเหมินทร์ จอดรถสะดวก ส่วนวันและเวลา ประชุมเหมือนเดิม...***….สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ น�ำโดย นย. วารุณี ค�ำเมรุ พร้อมเหล่าพี่เลี้ยง..เอ๊ย..มวลมิตรโรแทเรียนในสโมสร อาทิ ผวล. ช�ำนาญ อน. ศุภรี อน. ทศพล อน. ปราโมทย์ ผชภ.ดร. สุรพล ฯลฯ เดิน ทางไปส่งมอบโครงการสัตว์เลี้ยงส�ำหรับอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนที่ อ�ำเภอพร้าว จ. เชียงใหม่ และอ�ำเภอแม่จัน จ. เชียงราย เมื่อวันที่ 24-25 ตุลาคม 2553 ทราบข่าวว่าเป็นทริปบ�ำเพ็ญประโยชน์ทสี่ นุกยิง่ กว่าไปทัวร์ เลยทีเดียว ...ก็จะไม่สนุกได้ยงั ไงเล่า ดูรายชือ่ สมาชิกแต่ละคนสิ ชาวชมรม ข้าวต้มและคนรักไวน์กันทั้งนั้น...***…เคยเห็นความหวานของคู่รักโดย หนุ่มโรตารีในงาน President Salute เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม ตอน นี้หนุ่มโรตารีผู้นี้ก็ตกลงใจที่จะสละโสดกับสาวที่พามาหวานด้วยแล้วเมื่อ 14 พฤศจิกายน.. ขอแสดงความยินดีกับ ผชภ.ดร. กอบกิจ อิสรชีววัฒน์ จากสโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก ที่ยอมใจอ่อนสละโสดแล้ว...***... ที่เชียงรายอากาศเริ่มหนาวแล้ว ท�ำให้ชาวสโมสรโรตารีแม่จันเริ่มมีกลิ่น “อุ่นไอรัก” เพราะสมาชิกร่วมกิจกรรมกันอย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง แม้ขณะ นี้ก็มีสมาชิกกลุ่มหนึ่งไปร่วมโครงการ RFE ที่อริสโซน่า สหรัฐอเมริกา น�ำ ทีมโดย อน. อนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ น่าจะมีกิจกรรมมิตรภาพแน่นเอี๊ยด เพราะมีเสียงบ่นมาว่าไปแล้วไม่ยอมตอบอีเมล์เพื่อนๆ ในสโมสร...***… สโมสรโรตารีแม่จันยังอบอุ่นอยู่เพราะมีมิตรโรแทเรียนต่างสโมสรและ เพื่อนมาเยี่ยมเยียนและประชุมด้วยบ่อยครั้ง ปลายเดือนนี้ก็มีกลุ่มเพื่อน จากโครงการ Roscoe Thai project มากัน 13 ชีวิต ต่อด้วยเพื่อนๆ จาก Alaska ที่มาเยี่ยมแม่จันทุกปี จะมากันเกือบ 10 คนในกลางเดือน พฤศจิกายนนี้ เพือ่ ท�ำโครงการ English Camp ในเขตแม่จนั และเชียงแสน ฝากเชิญชวนมิตรโรแทเรียนในเชียงรายและในภาค 3360 ที่สนใจร่วม กิจกรรม ติดต่อที่ นย.ขวัญจิต เอี่ยวตระกูล ...***…ด้านวันที่ 23 ตุลาคม วันปิยมหาราช สโมสรโรตารีเชียงแสนได้จดั กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ดว้ ย การบริจาครถเข็นผู้ป่วย 3 คัน น�ำทีมโดย นย. ละเอียด ลือศรัทธา...***… ส่วนสโมสรโรตารีแม่สายก�ำลังเตรียมจัดงานประชุมระหว่างเมือง Inter City วันที่ 13 พฤศจิกายน นี้ที่ โรงแรมแม่โขงเดลต้า อ. แม่สาย มี ผชภ. วิชัย ศรีพธูราษฎร์ เป็นประธานจัดงาน ต่อด้วยจัดทัวร์ไปพม่า ที่มีมิตร โรแทเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการถึง 65 ชีวิต ทราบข่าวว่าการเตรียมงาน เหนื่อยมั่กๆ เพราะทุกอย่างต้อง “วีไอพี” ...***…อุทกภัยที่เกิดขึ้นในช่วง ที่ผ่านมารุ่นแรงและก่อให้เกิดความเสียหายกับพี่น้องชาวไทยในหลาย จังหวัด ภาค 3360 โรตารีสากล น�ำทีมโดย ผวภ.นพ. วีระชัย จ�ำเริญดารา รัศมี ร่วมบริจาคเงินและสิ่งของให้แก่ผู้ประสบภัย ขอขอบคุณทุกท่านที่ ร่วมด้วยช่วยกัน... เครือฟ้า


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.