DG-10-January-7

Page 1

๐๗

เปิดสวิทช์ มอบชีวิต ด้วยหัวใจ


คณะอนุกรรมการจัดทำ� สารผู้ว่าการภาค ที่ปรึกษา อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูรณ์ (เชียงใหม่) PP.Dr.Boriboon Phornphibul Mobile : 08-9556-4641 บรรณาธิการ

อน.วาณิช โยธาวุธ (แม่สาย)

PP. Vanit Yothavut Mobile : 08-1530-4457 E-mail : vanit@loxinfo.co.th ผู้ช่วยบรรณาธิการ อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Naruchol Arpornrat Mobile: 08-1603-8865 E-mail:naruchol.arpornrat@gmail.com ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผชภ. เอกวุฒิ กาวิละ (หางดง) AG.Ekavuth Kawila Mobile: 08-1881-3300 E-mail: ekavuth@gmail.com กองบรรณาธิการ ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง (เชียงใหม่เหนือ) DGE.Chamnan Chanruang Mobile : 08-1595-7999 E-mail : chamnanxyz@hotmail.com อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP.Dr.Busabong Jamroendararasame Moblie 08-1883-7144 E-mail : busabong@daraweb.net อน.จินดา จรรญาศักดิ์ (เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม) PP. Chinda Chanyasak Mobile : 08-1883-7103 E-mail : chinda@vorrawut.com อน. จันทนี เทียนวิจิตร (ล้านนาเชียงใหม่) PP. Chuntanee Tienvichit Mobile : 08-1783-9977 E-mail : chuntanee@hotmail.com อน.สุรินทร์ ชัยวีระไทย (นเรศวร) PP.Surin Chaiveerathai Mobile: 08-9858-8009 E-mail : prachamati_s@hotmail.com อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ (แม่สาย) PP.Apichai Keelawut Mobile: 08-1681-7988 E-mail: akeelawat@yahoo.com อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ (เชียงใหม่เหนือ) PP.Suparie Chatkunyarat Mobile: 08-1881-4828 E-mail : csuparie@yahoo.com รทร.สุนิพิฐ คงเมือง (ล้านนาเชียงใหม่) Rtn.Sunipit Kongmuang Mobile: 08-1796-8447 E-mail : sunipit@gmail.com

January 2010 The Rotary Foundation Month เดือนแห่งมูลนิธิโรตารี

“โปลิโอ พลัส”

เด็กกว่าสอง พันล้านคน บนโลกนี้ โรตารี เคยอำ�นวย คอยช่วยเหลือ นานกว่า ยี่สิบปี ที่จุนเจือ มุ่งเอื้อเฟื้อ เพื่อให้...ไร้โรคภัย โปลิโอ นิยามว่า...แขนขาลีบ ถึงสิ้นชีพ ถ้าติดเชื้อ เมื่อเป็นไข้ โรคร้ายเกิด กับเด็ก เล็กทั่วไป ขยายสู่ ผู้ใหญ่... ให้พิการ โรตารี กับองค์กร นานาชาติ ร่วมประกาศ ขจัดสิ้น ทุกถิ่นฐาน ระดมเงิน บริจาค นับหมื่นล้าน รณรงค์ ทุกด้าน ต่อต้านมัน เป้าหมาย โรตารี ที่สูงสุด เพื่อมนุษย์ อยู่เย็นเป็น สุขสันต์ ไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ ศาสน์ผิวพรรณ หยอดวัคซีน ป้องกัน อย่างมั่นคง “ยุติ โปลิโอ ในบัดนี้” โรตารี ริเริ่ม และเสริมส่ง ยืนหยัด เต็มพลัง อย่างยืนยง กำ�จัดให้ หมดสิ้นลง...ปฏิญาณ โรตารี ร่วมกับ พันธมิตร พันธกิจ ทรงคุณค่า มหาศาล ของขวัญแด่ มนุษย์ชาติ ประกาศผลงาน โลกชื่นบาน... เมื่อไม่มี ...โปลิโอ

พลวัฒน์ วรเจริญยิ่ง


“โครงการ Polio Plus”

* ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ภาค ๓๓๖๐ โรตารีสากล ร่วมหยอดวัคซีนโปลิโอ กับมวล มิตรโรแทเรี่ยน ใน จ.เชียงใหม่ ที่ชุมชนอิ่มบุญ พร้อมๆ กันกับสมาชิกสโมสรโรตารี จาก ทั่วทุกมุมโลก โดยมีเป้าหมายให้โรคโปลีโอ หมดไปจากโลกใบนี้

ภาพโดย อน.ยศวัจน์ นิธิปัญญาวัฒน์

2 1

มกราคม ๒๕๕๓


RI.President’s Letter สารประธานโรตารีสากล จอห์น เคนนี่-ธค.09

RI.President John Kenny Year 2009-10

January is the month the Romans associated with their two-headed god Janus: one head looking backward to the year that has just passed, and the other looking forward to the year ahead. เดือนมกราคม เป็นเดือนที่ชาวโรมัน ถือว่าเกี่ยวข้องกับ เทพเจ้าเจนัส ผู้มีสองหัว หัว หนึ่งจะมองย้อนหลังไปในปีที่เพิ่งผ่านพ้นไป และ อีกหัวหนึ่งจะมองไปในปีข้างหน้า In Rotary, January is the halfway point of our year of service, and it is also a time for us all to look at both the past and the future. It is the time of year to take stock, to review the goals that we have set for ourselves, and to evaluate how well we have fulfilled those expectations. It is a time to look honestly at our progress and our challenges and to consider the steps we will need to take to complete our planned service successfully. แต่ในโรตารีนั้น เดือนมกราคม เป็นจุด ครึ่งทางของปีบริหารของเรา และยังเป็นเวลาที่เรา ทุกคนจำ�เป็นต้องมองย้อนอดีต และมองอนาคตไป พร้อมกันทั้งสองทาง เป็นเวลาที่เราควรจะต้องเช็ค สต้อค(ผลงาน)ของเรา เป็นเวลาที่เราต้องตรวจ สอบเป้าหมายที่เราตั้งไว้เพื่อตัวเราเอง และเป็น เวลาประเมินผล ว่าสิ่งเราได้กระทำ�ไปนั้น ทำ�ได้ ผลครบถ้วนตามที่เราคาดหมายไว้หรือไม่เพียงใด เป็นเวลาสำ�หรับพิจารณาดูความก้าวหน้า และ ปัญหาท้าทายต่างๆ ของเราอย่างซื่อสัตย์ตรงไป ตรงมา และเป็นเวลาพิจารณาขั้นตอนปฏิบัติการ ที่เราจำ�เป็นจะต้องใช้ เพื่อทำ�ให้โครงการที่เราวาด แผนไว้บรรลุผลสำ�เร็จ I am sure there is much you can be proud of achieving in the last six months. In my travels, I have already seen how much Rotarians can accomplish when they are determined to do so. You have helped bring safe, pure water to those who lacked it, provided food and shelter to those who needed it, and assisted in the educations of those who could not read or write. You have promoted the ideal of service within a context of fellowship, friendship, and high ethical standards. ผมหวังว่า ในเวลาอีกหกเดือนข้างหน้า จะยั ง มี สิ่ ง ที่ ท่ า นจะภู มิ ใ จในความสำ � เร็ จ ได้ อี ก มากมาย ตลอดระยะการเดินทางที่ผ่านมา ผมได้ เห็นผลงานมากมายที่โรแทเรียนได้สร้างสมกันไว้ อย่างมุ่งมั่นตั้งใจให้สำ�เร็จผล ท่านทั้งหลายได้ช่วย จัดการเรื่องน้ำ�สะอาดให้แก่ผู้ที่ขาดแคลน ท่านได้ จัดหาอาหารและให้ที่พักอาศัยแก่บรรดาผู้ยากไร้ และช่วยให้การศึกษาแก่ผู้ที่ไม่สามารถอ่านออก เขียนได้ ท่านทั้งหลายได้ส่งเสริมอุดมการณ์แห่ง การบำ�เพ็ญประโยชน์ ภายใต้บริบทของไมตรีจิต มิตรภาพและมาตรฐานจริยธรรมอันสูงส่ง

มกราคม ๒๕๕๓

Rotarians are able to make changes that will shape the course not only of the months but of the years and decades that lie ahead. This is our privilege. It is also our duty as Rotarians – as caring members of society who are in the fortunate position of being able to help those living in conditions we can barely imagine. โรแทเรียน คือผู้ที่สามารถสร้างความ แตกต่างในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเส้นทางที่จะใช้ ต่อไป ในเวลาไม่เพียงแต่ฃั่วระยะสั้นๆ ไม่กี่เดือน แต่สำ�หรับในปีต่อๆ ไปและทศวรรษต่อๆ ไปด้วย นี่คือสิ่งที่เราถือเป็นเกียรติ เป็นหน้าที่ของเราใน ฐานะโรแทเรียน เป็นสมาชิกของสังคมที่ใส่ใจและ โชคดีที่สามารถให้การช่วยเหลือผู้ยากไร้ ที่ตกอยู่ ในสภาพที่เราแทบคาดไม่ถึง So there is much to be done these next months. Do not waste a moment of that most precious commodity: time. เรายังมีสิ่งที่ต้องกระทำ�อีกมากมายใน เดือนต่อๆ ไปข้างหน้านี้ ดังนั้น โปรดอย่าได้เสีย เวลา แม้แต่ชั่วขณะใดขณะหนึ่งก็ตาม โปรดถือว่า เวลานั้น คือสิ่งมีค่าที่สุดของเรา We are all volunteers serving in a volunteer organization. None of us was compelled to become a Rotarian; each of us chose, and was chosen, to become a member. Every year, every day, each of us chooses to continue the task we have begun, and to continue to put Service Above Self. It is not always the easy path, but I know it is the right one. เราทุ ก คน อาสาสมั ค รมาทำ � งานใน องค์กรอาสาสมัคร ไม่มีใครในพวกเราถูกบังคับให้ มาเป็นโรแทเรียน เราแต่ละคนเลือกที่จะเป็นและ ถูกเลือกให้เป็นสมาชิก เราแต่ละคนเลือกที่จะสาน ต่องานที่เราได้เริ่มต้น และสานต่อไปในการบริการ เหนือตนเอง เส้นทางนี้มิได้เป็นเส้นทางที่สะดวก สะบายเสมอไป แต่ผมทราบดีว่า เป็นเส้นทางที่ถูก ต้อง I wish to take this opportunity to thank you for the Rotary service you have given, the service you are giving, and the service I know you will continue to give in the future. The Future of Rotary Is in Your Hands. ผมขอถือโอกาสนี้ ขอบคุณทุกๆ ท่านที่ ได้ให้การบำ�เพ็ญประโยชน์แก่โรตารี การให้บริการ บำ�เพ็ญประโยชน์ที่ท่านกำ�ลังทำ�อยู่นั้น ผมทราบดี ว่าเป็นสิ่งที่ท่านจะต้องทำ�ต่อไปในอนาคต.เพราะ อนาคตโรตารีอยู่ในมือของท่าน John Kenny–จอห์น เคนนี President, Rotary International–ประธานโรตารี สากล 2009-2010 (pichet3330@gmail.com – 1 January 2010)

3 2


District Governor’s Letter มวลมิตรโรแทเรียนโรตารีแอนน์ และท่านสุภาพ บุรุษโรตารี ที่รักทุกท่าน สวัสดีปีใหม่ค่ะ ดิฉันหวังว่าทุกๆท่าน คงจะมีความสุขกับการฉลองส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปี ใหม่กบั ครอบครัว หรือญาติสนิทมิตรสหายกัน และ ทุกคนคงพร้อมทีจ่ ะเริม่ ชีวติ ใหม่ทีเ่ ต็มไปด้วยความ พร้อมในปีใหม่หรือปีเสือน่ารักนี้นะคะ ดิฉันได้ไปร่วมงานกาล่าดินเนอร์เพื่อหา รายได้สร้าง ศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ณ หอประชุมอาคาร บุญชูตรีทอง โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัด ลำ�ปาง โดยได้รบั เกียรติจาก พล.ต.ต.อรรถกิจ กรณี ทอง ผบก.ภ.จว.ลำ�ปาง เป็นประธานจัดงานให้โดย การประสานงานอย่างดียิ่งของ 5 สโมสรโรตารีใน จังหวัดลำ�ปางและที่ได้รับเกียรติสูงสุดเป็นอย่างยิ่ง ก็ด้วยได้รับฟังปาฐกถาพิเศษ “วิกฤตโลก–โอกาส ไทย” โดย ฯพณฯ องคมนตรี ศ.นพ.เกษม วัฒน ชัย มีคนมาร่วมงานประมาณ 700 คนและสามารถ หารายได้จากคืนนั้นถึง 4 ล้านกว่าบาท นับเป็น เรื่องน่ายินดียิ่ง ต้องขอขอบคุณ อน.พญ.วรรณ จันทร์ ประธานโครงการฯนี้ ที่ท่านอุทิศกายใจเป็น อย่างยิ่งในการรณรงค์หารายได้ในการนี้ และยังมี รายการหารายได้ต่อไปอีก ที่จะตามมาติดๆ ก็คือ คอนเสิรต์ 8 จังหวัดภาคเหนือ ดิฉันก็อยากจะขอ ให้มวลมิตรโรแทเรียนและช่วยสนับสนุนการจัด งานในทุกๆ จังหวัดที่จะเกิดขึ้นด้วยค่ะ ภายในเดือนนี้ ทุกสโมสรน่าจะได้รับ รายงานครึ่งปีหลัง SEMI ANNUAL REPORT จาก โรตารีสากล แจ้งเตือนให้ส่งค่าบำ�รุง RI ครึ่งปีหลัง ในอัตราท่านละ $ 24.50 X 34 บาท = 833.00 บาท โดยกรุณาทำ�ดร๊าฟสั่งจ่ายในนาม “THE ROTARY INTERNATIONAL” แล้วนำ�ส่งไปยังผู้แทนดูแลการ เงินโรตารีในประเทศไทย ศูนย์โรตารีในประเทศไทย ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 75/82-83 ซอยวัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 และกรุณาชำ�ระให้เรียบร้อยภายในเดือน มกราคม 2553 นี้นะคะ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 นี้ คณะ GSE จากภาค 5730 TEXAS USA. จะเดินทางมาแลก เปลี่ยนมิตรภาพกับภาค 3360 โรตารีสากลเรา ขอ พวกเราชาวโรแทเรียนช่วยกันต้อนรับและแลก เปลี่ยนมิตรภาพอย่างดีด้วยนะคะ ส่วนคณะ GSE จากภาคเรา ที่นำ�โดย อน.เบ็ญจลักษณ์ อัครพสุ ชาติและสมาชิกร่วมทีมอีก 4 ท่าน จะเดินทางไป เยี่ยมเยียนภาค 5730 โรตารีสากลในระหว่างเดือน พฤษภาคม ศกนี้ ในวันเสาร์และอาทิตย์ที่ 13–14 มีนาคม 2553 นี้ ภาคเราจะจัดประชุมใหญ่ประจำ�ปี (District Conference ) ณ หอประชุมนานาชาติ โรงแรมดิ เอมเพรส จ.เชียงใหม่ โดยมี อน.นฤชล อาภรณ์ รัตน์ เป็นประธานจัดงาน และมีสโมสรทุกสโมสร ในจังหวัดเชียงใหม่ร่วมเป็นเจ้าภาพ การประชุม เตรียมงานก็ได้เริ่มมาหลายครั้งแล้วและโปรแกรม ก็น่าสนใจมาก โดยเฉพาะ HOUSE OF FRIENDSHIP

2 3

จุดรวมของมวลมิตรโรแทเรียนก็ได้เตรียมไว้เช่น เดิม ดิฉันจึงขอประชาสัมพันธ์มาล่วงหน้าว่าอยาก ให้พวกเราเตรียมตัวลงทะเบียนล่วงหน้าในอัตรา ท่านละ 1,200 บาท และขอให้ช่วยกันไปประชุม มากๆ เพื่อแสดงพลังสามัคคีของภาคเรา และร่วม ต้อนรับผู้แทนประธานโรตารีสากล PDG.KOU-WEN HSU จากประเทศไต้หวันอย่างสมเกียรติด้วยค่ะ อนาคตโรตารีอยู่ในมือท่าน (แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ) ผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553 Dear Rotarians, Rotary Anns, and Gentlemen I would like to greet everyone in this New Year occasion. I hope that everybody was happy in the end-of-year celebration with his or her families and friends. Everybody should be prompted for 2010, the year of a calm tiger, according to Thai and Chinese calendar year. I attended the Gala dinner, purpose of which was a fundraising for the heart surgery center of the Lampang hospital in commemoration of the king in his 84th birthday at Boonchutritong convention center, Boonvart College, Lampang. The general Auttakit Korntong, in charge of Lampang province, hosted the event. This fundraising was organized by five Rotary Clubs of Lampang. Most importantly, we were honored by the Privy Council Dr. Kasem Wattanachai who gave a special lecture of the topic “Global Crisis – Thailand’s opportunity.” 700 people participated in this fundraising, and over 4 million baht were raised. PP.Dr.Warnnajan has dedicated her passion in hosting the heart surgery project. Eight concerts in eight Northern provinces will be the coming events. I hope that everyone will participate and support, as always. Within this month, every clubs should receive the Semi-Annual Report for the second half of the year from the Rotary International. Every Rotary clubs should send the RI support fee in the amount of $24.5 X 34 = 833.00 Thai Baht. Please give the attention to the envelope in the title “The Rotary International” and send it to the Rotary fiscal agent in Thailand. Rotary Thailand Center 32nd floor, Ocean Tower 2 75/82-83 Wattana, Asoka rd. Wattana, Bangkok 10110 Please do so within this January 2010. In February 2010, GSE from district 5730 Texas, USA will visit our district 3360. We should warmly welcome them and bring about a long lasting relationship. Under this GSE exchange, GSE from district 3360, led by the PP.Benjaluck Auckalapasuchat, together with other four members will visit district 5730 in April. On Saturday and Sunday, March 13th – 14th, 2010, our district will organize a district conference at International convention, De Empress Hotel, Chiang Mai. PP.Naruchon Arpornrat as well as every Rotary Clubs in Chiang Mai will host the conference. The meetings for such conference have been in process. The program we are thinking must be of enthusiast is “House of Friendship. The 1,500 bath registration fee will be required. I hope that this will be in your interest that a lot show up and demonstrate our spirit. In the conference, we will altogether welcome the representative of Rotary International President, PDG. Kou-Wen Hsu from Taiwan. Yours in Rotary

ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๓

มกราคม ๒๕๕๓


CONTENT

สารผู้ว่าการภาค ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ฉบับที่ ๗ เดือนมกรา

ขอเรียนเชิญมวลมิตรโรแทเรียนทุกท่าน ร่วมงานประชุมใหญ่ประจำ�ปีภาค 3360 RI ค่า ท่านละ 1,200 บาท เยาวชนแลกเปลี่ยน ท่านละ 900 บาท (เฉพาะงานเลี้ยงรับรอง ทะเบียนล่วงหน้าภายใน 5 มีนาคม 2553 ถ้าเกินกำ�หนด โรแทเรียน 1,400 บาท เยาว โปรดลงทะเบียนล่วงหน้า: โอนเข้าบัญชี 725-0-04934-8 ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด สา บัญชี น.ส.นฤชล อาภรณ์รัตน์ และ นายบรรจบ สุนทรสวัสดิ์ อน.นฤชล อาภรณ์รัต ประจำ�ปีภาค 3360 RI 2. สารประธานโรตารีสากล 16 สารสนธิ 3. สารผู้ว่าการภาคฯ 17-19 เสียงนกเสียงกา 5. บอกอ บอกกล่าว 20-23 Behind the Scene 6-7 ใจถึงใจ 24-25 At a Glance 8 ปฎิทินภาค 26-29 บ้านเลขที่3360R.I. 9. สารเลขาฯภาค 30-33 1 ใน 100 10-11 สถิติการเข้าประชุม 34-35 Youth Corner 12-13 DGN’s Corner 36-37 เอกพาแอ่ว 14-15 คุยกันที่ขอบเวที 38 Z00m inside 3360

สารบรรณ

มกราคม ๒๕๕๓

5 4


Editor’s Note

“แรงบันดาลใจ Inspiration”

าคม ๒๕๕๓

าลงทะเบียนล่วงหน้า โรแทเรียน งท่านละ 500 บาท โต๊ะจีน) ลง วชนแลกเปลี่ยน 1,000 บาท าขาเทสโก้ โลตัส สันทราย ชื่อ ตน์ ประธานจัดงานประชุมใหญ่ 39 เล่าขานตำ�นาน 40-43 รวมภาพกิจกรรม 44 มุม สบาย สบาย 45 DG.Activities ปกหลัง แทนคำ�นับพัน

ชีวิตของคนเราแต่ละคน แต่ละช่วง เราทุกคนอาจจะ ประสบพบกับความสำ�เร็จ แต่บางครั้งก็อาจจะพบกับความผิด หวังให้รู้สึกท้อแท้ ท้อถอย เช่นเดียวกับการเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี หลายครั้ง เรารู้สึกสนุกสนานกับกิจกรรม กับการประชุม บางครั้งเรารู้ สึกเบื่อๆ อยากๆ หลายท่านผิดหวัง และเลือกที่จะเลิกรา ก้าว เดินออกไปจากโรตารี ยิ่งการทำ�งานต่างๆ ในองค์กรของโรตารี เป็นเรื่อง ของความสมัครใจ จากสมาชิกทุกท่าน ผู้นำ�ในองค์กร ต้องใช้ ทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่ไม่มีตำ�ราใดในโลกสอนได้ ความขัดแย้งทางความคิด หรือวิธีการในการดำ�เนิน การจากการมีกิจกรรม ยิ่งมีกิจกรรมมากเท่าไหร่ ก็สุ่มเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้นมากเท่านั้น หลายครั้งเรารู้สึกว่า ทำ�มากแต่ได้น้อย คือ ทุ่มเทให้ มากแต่ได้รับคำ�ชมน้อย หรือ ทำ�มากและได้มาก คือ รับคำ�ติ ชมมาก หลายๆคน เลือกที่จะไม่ทำ�เสียดีกว่า แต่เมื่อเราลองสัมผัสจากผู้คนรอบข้าง ไม่ต้องอื่นไกล ในสโมสรฯ ในภาคฯ เราจะเห็นผู้คนที่ทุ่มเท และสุ่มเสี่ยงจาก เรื่องดังกล่าวข้างต้นมากกว่ามาก แต่ท่านเหล่านั้นก็ยังเดิน หน้า ต่อไปอย่างไม่ท้อถอย ยิ่งในฐานะ บอกอสารฯ ภาพและบทความต่างหลั่ง ไหลเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย แสดงให้เห็นถึงพลังของการ บำ�เพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นเหนือตน อย่างชัดเจน เป็น “แรงบันดาลใจ หรือ Inspiration” ได้อย่างยอด เยี่ยม และ เมื่อมีโอกาสเข้าร่วมในการประชุมสัมนาต่างๆ ที ภาคฯ ได้ดำ�เนินการก็ยิ่งเป็นการสร้างแรงบันดาลใจเป็น ทวีคูณ สารฯ ฉบับนีไ้ ด้สะท้อนให้เห็นความมุง่ มัน่ ข้างต้น ของ โครงการ“สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ” และขอเป็นกำ�ลังใจให้กับ คณะกรรมการของโครงการนี้ทุกท่าน และแรงบันดาลใจเหล่านี้จะมีอย่างเต็มเปี่ยม ในการ ประชุมสรุปผลงานภาคฯของเรา หรือ District Conference ที่ จ.เชียงใหม่ เดือนมีนาคมนี้

อน.วาณิช โยธาวุธ สโมสรโรตารีแม่สาย

บอกอ ผู้ที่คาดหวังว่าเรา เหล่าโรแทเรี่ยน จะเป็นแรง บันดาลใจให้กันและกัน

4 5

มกราคม ๒๕๕๓


ใจถึงใจ

Behind the scene งานกาลาดินเนอร์ รายได้เพื่อโครงการ “เปิดสวิทช์หัวใจ สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา”

วันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๓ คณะกรรมการโครงการจัดสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ที่ประกอบไปด้วย อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล เป็นประธาน ได้ทำ�ทุกวิถีทางในการระดม ทุนเพื่อจัดสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ในระยะเวลาที่กำ�หนด ชนิดที่ทำ�ทั้งทาง โลกและทางธรรม ใช้ธรรมะนำ�ก็หลายทาง ไม่ว่าจะเดินทางไปหาท่านหลวง ตาบัว ญาณสัมปันโน จังหวัดอุดรธานี, ท่าน ว. วชิรเมธีที่จังหวัดเชียงราย เพื่อขอความเมตตาจากท่านในการหาเงินบริจาคระดมทุน การจัดงานกาลาดินเนอร์ก็เป็นอีกทางหนึ่งในการระดมทุน และ เป็นการจัดงานเพื่อแสดงความขอบคุณแก่ผู้บริจาครายใหญ่คือรายละหนึ่ง แสนบาทขึ้นไป โดยการมอบโล่ห์ประกาศเกียรติคุณ พร้อมทั้งจัดประมูลพระพุทธรูป พระพุทธประทานยศ บารมี ขนาดหน้าตัก ๙ นิ้ว จัดสร้างโดยอาจารย์เฉลิม ชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ สถานที่จัดงานคือ ที่หอประชุมบุญชูตรีทอง โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำ�ปาง ขายบัตรใบละหนึ่งพันบาทหรือโต๊ะละ หนึ่งหมื่นบาท โดยผู้ที่บริจาคห้าหมื่นบาทจะได้รับ บัตรวีไอพีหนึ่งใบ ได้นั่งข้างหน้าด้วย ทำ�ให้โต๊ะที่จัด ไว้ ๗๐ โต๊ะ หรือ ๗๐๐ ที่นั่งได้มีผู้จับจองไว้หมด ทำ�ให้ห้องประชุมดูแคบไปถนัดตา ออกจะแน่นไปนิด หนึง่ แต่เมือ่ คิดถึงว่าขายได้โต๊ะละหมืน ่ คณะกรรมการ ก็ จำ � ยอมให้ แ น่ น ซึ่ ง ก็ ห วั ง ว่ า ผู้ ใ จบุ ญ ที่ ม าร่ ว มงาน คงจะเข้าใจ การจั ด งานในกาลาดิ น เนอร์ ที่ ห อประชุ ม โรงเรียน หลายท่านคงพอจะนึกภาพออกว่ากว่าจะ ให้ทุกอย่างดูหรูหรา พรั่งพร้อมเหมือนโรงแรมสี่ห้า ดาวในเชียงใหม่หรือกรุงเทพคงจะลำ�บากพอสมควร ที่นี่ก็เช่นกัน คณะ กรรมการได้เตรียมงานโดยเฉพาะด้านสถานที่ ที่จะต้องเนรมิตออกมาให้ ดูหรูหราสมกับงานกาลาดินเนอร์ ที่ผู้มาร่วมงานจะต้องแต่งตัวเต็มยศ ประดับไปด้วยเครื่องเพชรสำ�หรับสุภาพสตรี ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะ เก้าอี้ โซฟา อุปกรณ์ต่างๆ ก็ต้องไปหยิบยืมมาจากหลายแห่ง และขนบรรทุกมา โดยทหารที่เป็นเครือข่าย คณะกรรมการต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายเพื่อ ให้มีรายได้เข้าโครงการให้มากที่สุด ในวันงานคณะกรรมการ ต่างมาเตรียมงานที่สถานที่จัดงานตั้งแต่ภาคเช้า สุภาพสตรี บางท่านก็กลับไปอาบน้ำ�แต่งตัวตอนบ่ายแก่เข้าไปแล้ว ส่วน ท่ า นสุ ภ าพบุ รุ ษ ก็ อ าศั ย ผู ก เนคไทใส่ สู ท ทั บ ก็ เ ป็ น อั น ว่ า เรียบร้อย ประธานจั ด งานคื อ พล.ต.ต.อรรถกิ จ กรณ์ ท อง ผบก.ภ.จว. ลำ�ปาง รองประธานจัดงานคือ อผภ. อนุวัตร ภูว เศรษฐ และ ผชภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ และสโมสรโรตารีใน จังหวัดลำ�ปาง อาทิ อน.พ.ต.ท.สมบูรณ์ บูรณพิธ, นยก.สุภา ภรณ์ เสมอเชื้อ, นย.อธิษฐาน วงษ์ใหญ่ และอีกหลายๆ ท่าน ต่างทุ่มเทเพื่องานนี้โดยเฉพาะ เนื่องจากสถานที่ไม่เหมือน โรงแรมก็มสี ิง่ ทีต่ อ้ งปรับปรุงอยูต่ ลอดเวลา แม้กระทัง่ ระบบไฟฟ้า ก็ตอ้ งปรับให้เข้ากัน ต้องมีการตัดไฟฟ้าเพือ่ ต่อเชือ่ มบางจุดทำ�ให้ ไม่มไี ฟฟ้าในช่วงบ่าย แต่คณะกรรมการก็ยงั ทำ�งานกันอย่างขยัน ขันแข็ง จนเมื่อท่านองคมนตรี ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย เดินทาง มาถึงใกล้ห้าโมงเย็นไฟฟ้าก็ยังไม่มา ซักอึดใจหนึง่ ถึงเรียบร้อยทำ�ให้คณะ กรรมการหายใจคล่องคอขึ้น เมื่ออากาศเริ่มเย็นลงแขกทยอยมา ที่จอดรถก็กว้างขวางที่จริงก็ คื อ สนามฟุ ต บอลของโรงเรี ย นนั่ น เอง ด้ า นหน้ า ห้ อ งประชุ ม ก็ มี นิทรรศการอุปกรณ์และเครื่องมือในการผ่าตัดโรคหัวใจที่จำ�เป็นต้องใช้ และตรวจวัดอ็อกซิเจนในเลือดให้แก่ผู้สนใจด้วย ในห้องประชุมก็มี ดนตรีคณะแดงแฟนทาสติกแสดงให้ชม อาหารโต๊ะจีนจากราชบุรีก็ได้ สร้างความประทับใจในความอร่อยให้แก่ผู้ร่วมงาน

มกราคม ๒๕๕๓

6 7


เมื่องานเริ่มคือการนำ�เสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการจัด สร้างศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจ กล่าวรายงานโดย พล.ต.ต.อรรถกิจ กรณ์ทอง ผบก.ภ.จว. ลำ�ปาง โดยผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�ปางได้ กล่าวต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ หลังจากนั้น อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล ประธานโครงการได้กล่าวแนะนำ�องค์ปาฐกพิเศษ ฯพณฯ องคมนตรี ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย กล่าวปาฐกถาเรื่อง “วิกฤติโลก – โอกาสไทย” ซึ่งเป็นหัวข้อที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ฯพณฯองคมนตรี ได้มอบโล่ห์ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ บริจาครายใหญ่ คือตั้งแต่หนึ่งแสนบาทขึ้นไปซึ่งมีมากกว่า ๔๐ ราย และ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบของที่ระลึกแด่ท่าน องคมนตรี เมื่อถึงเวลาประมูลพระพุทธรูป พระพุทธประทานยศ บารมี อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ได้ออกมาบรรยาย สรรพคุณผู้สร้างคือตัว อาจารย์ เ องว่ า เป็ น บุ ค ลากรระดั บโลก เนื่องจากมีสื่อระดับอินเตอร์ได้นำ�ผลงานของท่านออกไปเผย แพร่ระดับโลก สำ�หรับผลงานแต่ละชิ้นจะมีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากไม่ได้มีอยู่ทั่วไปหรือไปหาซื้อที่ไหนก็ได้ การประมูล พระพุ ท ธรู ป ผลงานของอาจารย์ จึ ง ต้ อ งแพง เมื่ อ บรรยาย สรรพคุณเสร็จก็มีผู้ประมูลเริ่มต้นที่สองแสนบาท และเพิ่มขึ้น จนไปสิ้นสุดที่เจ็ดแสนบาท ประมูลโดยผู้บังคับการตำ�รวจภูธร จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนผู้ที่ประมูลรองลงมาคือนายกสมาคม เครื่องปั้นดินเผาจังหวัดลำ�ปาง เมื่อประมูลสู้ไม่ได้ท่านก็บริจาค เงินให้แก่โครงการฯ จำ�นวนสี่แสนบาท หลังจากนั้น ได้มีร้านทองเยาวราช สาขาลำ�ปาง ได้ นำ�เหรียญหลวงพ่อเกษม เขมโก รุน ่ เจ้าสัว ปี 2535 ขอให้อาจารย์ เฉลิมชัยนำ�เสนอการประมูล และก็มีผู้ประมูลได้ในราคาสูงสุด คือหนึ่งแสนบาท เมื่อสรุปแล้วในค่ำ�คืนนี้ได้รับเงินจากการ บริจาค 2.7 ล้านบาท การประมูลพระพุทธรูปและเหรียญ 1.2 ล้านบาท และการขายบัตรที่หักค่าใช้จ่ายแล้วประมาณ 5 แสน บาท รวมได้เงินเข้าโครงการจำ�นวนทั้งสิ้น 4.4 ล้านบาท เมื่องานเลิกพบว่าฝนตกค่อนข้างหนัก นับว่าเป็นฝน หลงฤดูทำ�ให้เกิดความชุ่มชื้นที่ตัวเมืองลำ�ปาง อ้อ..ลืมพูดถึงอีก เรื่องหนึ่งคือเมื่อเดินไปที่นั่งด้านหน้างานต่างก็รู้สึกแสบตากัน เป็นแถว ไม่ใช่อะไรหรอก แสงเพชรจะวูบวาบเข้าตาน่ะ แต่เมื่อ เดินมาข้างหลังก็รู้สึกค่อยยังชั่วหน่อย.

เมื่ อโรแทเรี ย นภาค 3360 ไปประชุ ม Rotary Institute Manila 2009

3360 ลงทะเบียนจำ�นวนเท่ากันคือ 30 คน ซึ่งที่จริงภาค 3360 เราไปฟิลิปินส์เที่ยวนี้ร่วม 40 คน แต่ว่าไม่ได้ลงทะเบียนโดยให้ เหตุผลว่า “ฟังบ่ฮู้เรื่อง” แต่ด้วยสปิริตก็ได้เดินทางร่วมกับคณะ ผวภ.แววดาว ไปฟิลิปินส์จนได้ และที่ได้มากกว่านั้นคือได้รับ ประสบการณ์ด้านการสถานที่ท่องเที่ยวในฟิลิปินส์มากกว่าคนที่ ไปประชุมว่างั้นเถอะ การประชุมครั้งนี้มีโรแทเรียนจากประเทศต่างๆ เข้า ร่วมประชุมถึง 20 ประเทศ รวมทั้งหมด 1,183 คน ประธาน โรตารี สากล จอห์น เคนนี่และคู่สมรสก็ได้มาร่วมประชุมด้วย ตลอดทั้งสองวัน สำ�หรับโรแทเรียนผู้ใหญ่จากประเทศไทยที่ไป ร่วมกล่าวสุนทรพจน์ คือ PRIP. พิชัย รัตตกุล และ PRID. นร เศรษฐ ปัทมานันท์ นำ�เสนอด้านสถานการณ์ทางการเงิน ส่วน อผภ. ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ จากภาค 3350 เป็นรองประธาน คณะกรรมการจัดการประชุม พร้อมกันนี้ได้มีอดีตผู้ว่าการภาค ที่ร่วมเป็นผู้อภิปรายในการประชุมคือ อผภ. ดร. ศุภวัตร ภูว กุล, อผภ.ชัยสิน มณีนันทน์, อผภ. กฤษณ์ อินเทวัฒน์ และ อผภ. ประทีป มาโลตรา การประชุมจัดขึ้นที่โรงแรมดุสิตธานี มนิลา ซึ่งเป็น โรงแรมของคนไทย จะเห็นว่าพนักงานต้อนรับ พนักงานเสิร์ฟ จะแต่งขุดไทยหมด แต่เมื่อไปทักทายเป็นภาษาไทยเขาบอกว่า เป็นคนฟิลิปินส์ มีคนไทยเพียงสองคนเท่านั้น เพลงที่เปิดคลอ ในล็อบบีก้ เ็ ป็นทำ�นองเพลงไทยทำ�ให้รูส้ กึ เหมือนอยูเ่ มืองไทย แต่ เนื่องจากห้องประชุมบรรจุคนได้อย่างพอดีจะบรรจุได้ประมาณ 800 คน เมื่อมีคนมากกว่าหนึ่งพันคนจึงทำ�ให้แออัดพอสมควร แต่เวลาประชุมจริงก็ดูหลวมๆ เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่าผู้คน มักจะแว่บ ออกไปช็อปปิ้งบ้าง ไปเยี่ยมชมสถานที่น่าสนใจบ้าง แต่จะมาแน่นอีกครั้งหนึ่งตอนดินเนอร์ที่ต้องใช้พื้นที่มากกว่าจัด แบบนั่งเรียงแถว ทำ�ให้ที่นั่งล้นออกมาข้างนอกห้องเลยทีเดียว ดิฉน ั ได้มโี อกาสเข้าร่วมประชุมระดับสถาบันนีเ้ ป็นครัง้ แรก มีความประทับใจในเนื้อหาการประชุมและการมีส่วนร่วม ของผู้เข้าร่วมประชุม โดยเฉพาะในกลุ่มย่อยที่มีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง บรรยากาศเต็มไปด้วยมิตรภาพ ได้พบโรแทเรียนต่างชาติที่มีการแลกเปลี่ยนนามบัตรและธง สโมสร ทำ�ให้ได้เพือ่ นเพิม่ ขึน ้ ทัง้ ต่างประเทศและต่างภาค สำ�หรับ ต่างภาคได้มีโอกาสไปร่วมรำ�เซิ้งกับโรแทเรียนอีกสามภาคที่ได้ ขึ้นไปแสดงในงานเลี้ยงภาคค่ำ� พร้อมทั้งร้องเพลง “สวัสดี” เป็นการโปรโมทการประชุมที่กรุงเทพปลายปี 2010 นี้ ภาพที่ ป ระทั บใจของเราชาวโรแทเรี ย นไทยในวั น สุดท้ายของการประชุมคือ เมื่อ อผภ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ผู้ที่จะเป็นประธานจัดงาน Rotary Institute Bangkok 2010 ขึ้น ไปรับธงจัดงานต่อจากเจ้าภาพ และโรแทเรียนไทยทัง้ หมดพร้อม ทั้ง ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล ขึ้นไปโบกธงไทยละลานตาเต็มเวทีและ ล้นลงมาด้านล่างเวที ตัวดิฉันเองขอสละสิทธิ์ไม่ไปร่วมโบกธง ด้วยเพราะต้องการเก็บภาพประทับใจมาฝากมิตรโรแทเรียนที่ไม่ ได้อยู่ในที่ประชุม ปลายปีนี้ 19-21 พฤศจิกายน 2553 ขอเชิญมิตรโรแท เรียนลงทะเบียนประชุมที่จัดจะขึ้น ณ โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ พาร์ค กรุงเทพฯ ค่าลงทะเบียนคนละ 150 ดอลลาร์หรือ 5,100 บาท แต่ถ้าลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2553 จะ ได้รับส่วนลดเหลือเพียง 3,825 บาท ส่วนจะลงทะเบียนที่ไหน อย่างไร สอบถามได้ที่ ผวล.น.พ.วีระชัย เองนะคะ (หรือจะเข้าไป ตรวจสอบข้อมูล ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ http://2010bangkok rotaryinstitute.org/)

การประชุมสถาบันโรตารีจัดขึ้นเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ โรตารี ให้แรงบันดาลใจและเสริมสร้างมิตรภาพของเจ้าหน้าที่ โรตารี สากลในโซน แต่ปัจจุบันได้อนุญาตให้โรแทเรียนทั่วไป เข้าร่วมประชุมในฐานะผู้สังเกตการณ์ ซึ่งในปี 2008 โรตารีประ เทศใต้หวันเป็นเจ้าภาพ ต่อมาปี 2009 ประเทศฟิลิปินส์เป็นเจ้า ภาพ และในปี 2010 ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพ ดังนั้น ในปี 2009 ก็จะมีการเชิญชวนโรแทเรียนไทยจากทุกภาคเข้าร่วมลง ทะเบียนให้มากที่สุด เพื่อไปช่วยกันโปรโมทการประชุม Rotary ประชาสัมพันธ์ภาค อน.จันทนี เทียนวิจิตร เกาะติดสถานการณ์ Institute Bangkok 2010 ซึ่งก็มีผลทำ�ให้มีโรแทเรียนจาก สำ�คัญๆ ของภาค 3360 เรา พร้อมรายงานมาให้ได้รบั ทราบความ ประเทศไทยเข้าร่วมลงทะเบียนถึง 116 คน จากภาค 3350 ลง คืบหน้า ต้องขอบคุณแทนทุกท่านด้วย ..บอกอ ทะเบียนมากที่สุดคือ 45 คน ส่วนรองลงมาคือภาค 3330 และ

7 6

มกราคม ๒๕๕๓


ปฏิทินภาค โครงสร้างใหม่ ทุนสนับสนุนมี 2 ประเภท คือ การประชุมระหว่างเมือง District Grants และ Global Grants (District (Intercity Meeting) ภาค 3360 โรตารีสากล ปีบริหาร 2552-2553 Grant สามารถทำ�โครงการขนาดเล็ก ๆ เป็น

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม

เป็ น การประชุ ม เพื่ อ สรุ ป ผลงาน ระหว่างปีของภาค 3360 ปีบริหารของผู้ว่าการ ภาคสาวสวย ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ โดยใน ปีนี้ อน.สุนทร เหมทานนท์ สโมสรโรตารีเวียง โกศัย ได้ให้เกียรติเป็นประธานจัดงานโดยจัด ขึ้น ณ ห้องสักทอง โรงแรมแม่ยมพาเลส จ.แพร่ ในวันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม 2552 มีผู้ ร่ ว มประชุ ม ทั้ ง สิ้ น ประมาณ 170 ท่ า น บรรยากาศของการประชุมเต็มเปี่ยมไปด้วย มิตรภาพอันดี ของมวลมิตรโรแทเรียน คณะ กรรมการจัดงาน 3 สโมสรร่วมต้อนรับ ได้แก่ สโมสรโรตารี เ วี ย งโกศั ย สโมสรโรตารี แ พร่ สโมสรโรตารีสอง หน้าห้องประชุมสักทอง เริ่ม คึ ก คั ก เมื่ อ มิ ต รโรแทเรี ย นทยอยลงทะเบี ย น ฝ่ายรับลงทะเบียนทำ�งานด้วยความเรียบร้อย เตรียมจัดทำ�ป้ายชือ่ ไว้เรียบร้อย (เมือ่ มีการแจ้ง ลงทะเบียนล่วงหน้า) พิธีเปิดเริ่มขึ้นเมื่อเวลา 9.00 ผชภ. บั ญ ญั ติ จั น ทร์ ภิ ร มย์ นายกสโมสร คณะ กรรมการจัดงานเชิญตุงหลากสีสัน เป็นขบวน อย่างสวยงามขึ้นบนเวที และปักชื่อทุกสโมสร พร้อมทั้งมอบให้ทุกสโมสรเป็นที่ระลึกเมื่อเสร็จ สิ้นการประชุม ประธานจัดงานกล่าวรายงาน และกล่าวเปิดประชุมอย่างเป็นทางการ โดย ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ พร้อมทั้งได้ดำ�เนิน การ สรุปผลงานครึ่งปีที่ผ่านมา ผ่าน POWER POINT โดยเปรียบเทียบตามแผนงานที่วางไว้ ล่วงหน้า ในทุกด้าน เมื่อสรุปออกมาแล้วเป็น ไปตามเป้าหมายทุกประการ หลังจากนัน ้ อผภ. นพนธ์ อิ่นคำ� ได้สรุปด้านการเงินของภาคใน ปีบริหาร 2551-2552 เป็นที่เรียบร้อยงบสมดุล ลงตัวเป็นศูนย์ ไม่มียอดยกมา แล้วจึงเป็นการ รายงานการเงินภาคครึ่งปีแรก ปีบริหาร 25522553 โดยประธานการเงินภาค อน.กัญมาศน์ ปานะสูตร ดูจากตัวเลขคร่าวๆ แล้วมียอด ติดลบไม่น้อย ส่วนต่าง ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง เลิศ สปอนเซอร์ตลอดรายการ ได้เวลาของว่าที่ ผู้ว่าการภาคในปีหน้า ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญ ดารารัศมี พร้อมผู้ร่วมอภิปราย ได้มาให้ความ รู้แก่มิตรโรแทเรียนด้วยหัวข้อ “แนวทางการ ทำ�งานของสโมสรในภาคนำ�ร่อง“ (Pilot District 2011-2013) ซึ่ ง เราพอทราบกั น บ้ า งแล้ ว ว่ า ตั้งแต่ปีบริหาร 2553-2554 แนวทางการทำ�งาน ของโรตารี ส ากลและของทุ ก ภาคจะมี ก าร เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านการ บริหารของภาค การขอทุนสมทบในการทำ� โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ ซึ่งเป็นการปรับ เปลี่ยนโครงสร้างใหม่ของมูลนิธิโรตารี ที่เราได้ ยินบ่อยๆ ว่า FUTURE VISION PLAN โดยตาม

มกราคม ๒๕๕๓

ทุนที่ถูกจัดสรรเป็นจำ�นวน 50% ของ DDF ภาค ได้จากเงินบริจาคประจำ�ปีเมื่อ 3 ปีก่อน ส่วน Global Grants เป็นทุนที่สามารถขอรับ การสนับสนุนขั้นต่ำ�ได้ตั้งแต่ U$$ 15,000 และ สูงสุดถึง U$$ 200,000 ซึ่งเป็นการทำ�โครงการ ขนาดใหญ่เพื่อมนุษยชาติที่ยั่งยืน และเกิดประ โยชน์สุงสุดต่อชุมชน แล้วจึงเป็นเวลาของท่าน อผภ.อนุ วัตร ภูวเศรษฐ ดำ�เนินการอภิปรายในเรื่อง “การพัฒนาสมาชิกภาพเพื่อความเข้มแข็งของ สโมสร“ โดยสรุปสโมสรและสมาชิกจะเข้มแข็ง ได้ เคล็ดลับที่สำ�คัญที่สุด คือ ทุกสโมสรต้องมี กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ อีกไม่นานโรตารี ประเทศไทย จะได้เป็นเจ้าภาพจัดงาน Rotary International Convention ในวันนี้ท่าน นร เศรษฐ ปัทมานันท์ ได้บรรยายเรื่อง “การ เตรียมตัวจัดการประชุมใหญ่โรตารีสากล ปี 2012’ตามกำ�หนดการเราจะเป็นเจ้าภาพจัดที่ อิมแพคอารีน่า เมืองทองธานี ผู้ร่วมประชุม ประมาณ 30,000 คน มาจากกว่า 100 ประเทศ อน.ดร.สุ ร พล นธการกิ จ กุ ล ได้ ร ายงาน สถานการณ์โปลิโอพลัส โดยได้แจ้งว่ายังมีผู้ ป่วยจำ�นวน 1,449 คน ณ วันที่ 4 พ.ย 51 ประเทศทีพ ่ บว่ายังมีผูต้ ดิ เชือ้ โปลิโอ คือประเทศ ปากีสถาน ไนจีเรีย อินเดีย และอัฟกานิสถาน ประเทศไทยรณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอ ในวัน ที่ 23 ธ.ค 52 และ 27 ม.ค 53 โครงการบำ�เพ็ญ ประโยชน์ขนาดใหญ่มูลค่าเกือบ 100 ล้าน ของ ภาค 3360 ได้เริม่ ขึน ้ แล้ว ได้แก่โครงการ ”โรตา รี ส ร้ า งศู น ย์ ผ่ า ตั ด หั วใจโรงพยาบาลลำ � ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา“ อน.พญ.วรรณ จั น ทร์ พิ ม พ์ พิ ไ ล ประธานคณะกรรมการ ดำ�เนินการรณรงค์หาทุน ได้เชิญชวนมวลมิตร โรแทเรียนร่วมสร้างกุศลครั้งยิ่งใหญ่ และแจ้ง ความคืบหน้าของจำ�นวนที่ได้รับการสนับสนุน ในขณะนั้นเกือบ 6 ล้านบาท ก่อนปิดการ ประชุม อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ ประธานจัด งานประชุมใหญ่โรตารีภาค 3360 ได้เชิญชวน มวลมิตรโรแทเรียน ร่วมงานประชุมใหญ่ในวัน ที่ 13-14 มี น าคม 2553 ณ ศู น ย์ ป ระชุ ม นานาชาติ โรงแรมดิเอ็มเพรส โดยขอความ ร่วมมือลงทะเบียนล่วงหน้าเพือ่ ความเรียบร้อย และการต้อนรับที่ประทับใจ และจึงมีการจับ รางวัลเป็นโทรศัพท์มือถือ จำ�นวน 20 เครื่อง จากผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ และปิดประชุม ในเวลา 16.30 น. ทุกท่านเดินทางกลับโดย สวัสดิภาพ แล้วเราจะพบกันใหม่ในงานประชุม ใหญ่ประจำ�ปี ภาค 3360 ที่จังหวัดเชียงใหม่ ….ยินดีต้อนรับทุกๆ ท่านค่ะ

9 8


District’s Secretary มิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน เราได้เริ่มเข้าสู่ครึ่งปีหลังของปีบริหาร 2252-2553 แล้ว ทุกสโมสรโรตา รีในภาค 3360 ได้ทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมที่ ทำ�เฉพาะในสโมสรของท่านเอง หรือกิจกรรมที่ทำ �ร่วมกับมิตรต่างสโมสรในภาค กิจกรรมที่ทำ�ร่วมกับมิตรต่างสโมสรในต่างภาค หรือมิตรต่างสโมสรในต่างประเทศ การ ทำ�กิจกรรมร่วมกับคู่มิตรในต่างประเทศเราสามารถทำ�ได้ในโครงการ การบริการชุมชน โลก ( World Community Services, WCS ) หรือ โครงการ ทุนสนับสนุนสมทบ ( Matching Grant ) สโมสรโรตารีในภาค 3360 หลายสโมสรได้ทำ�โครงการ ทุนสนับสนุนสมทบ ร่วมกับภาคต่างๆในหลายประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีโครงการ การบริการชุมชน โลกทีภ่ าคเราได้ทำ�ร่วมกับประเทศญีป่ ุน ่ สหรัฐอเมริกา ฟินแลนด์ ไต้หวัน และเกาหลีใต้ โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ต่างๆที่เราได้ทำ�เหล่านี้ เป็นการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในวัย ต่างๆให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี ึน ้ ช่วยเหลือเยาชนทีด่ อ้ ยโอกาสให้ได้รบั โอกาสทางการศึกษา มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ ให้มีสุขอนามัยที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยเหลือทางด้านอบรม วิชาชีพให้กับชาวบ้านเพื่อเป็นการพัฒนาอาชีพให้มั่นคง เพิ่มรายได้สู่ครอบครัวและสู่ ชุมชน การทำ�โครงการต่างๆเหล่านี้นอกจากจะเป็นการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสแล้ว ยัง เป็นการประชาสัมพันธ์องค์กรโรตารีไปยังชุมชน และยังเป็นการเสริมสร้างมิตรภาพระ หว่างโรแทเรียนด้วยกัน ,โรแทเรียนกับชาวบ้าน อีกทั้งเป็นการสร้างมิตรภาพระหว่าง โรแทเรียนกับโรแทเรียนในต่างประเทศทั่วโลก ให้สมกับเป็นเดือนแห่งการตระหนักใน โรตารีและกิจกรรมกับคู่มิตรในต่างประเทศ อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี สโมสรโรตารีช้างเผือก อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553

8 9

Beloved fellow Rotarians, As we are now entering the second half of the 2009-2010 Rotary year, it is with great joy that I share with you now the wonderful news that every single Rotary club within District 3360 has independently accomplished so many charitable events and embarked upon numerous projects, both independently and jointly, either in conjunction with other clubs within our District, neighboring Districts, not to mention an array of World Community Services and Matching Grants with our sister clubs abroad. Many clubs within District 3360 have initiated Matching Grant projects with various rotary clubs from across the globe, while World Community Services have been launched with countries such as Japan, United States, Finland, Taiwan, and South Korea, all with the common goal of improving the lives of other community members, disadvantaged individuals, those in need of assistance, and aiding our youths through the provision of educational opportunities and sanitation. Many of the projects have also helped in other areas, such as vocational training, aiding community members in securing career opportunities, increasing income to many households in many communities. Apart from helping disadvantaged individuals, these projects have also helped to increase awareness regarding Rotary, enhancing the bond between fellow Rotarians, between Rotarians and community members, both within and beyond Thailand, in accord with the monthly theme of Rotary Awareness and activities with sister clubs abroad. Yours in Rotary, PP.Siriluck Chaiyawong. District Secretary 3360 Rotary International. 2009 - 2010

มกราคม ๒๕๕๓


สถิติการเข้าประชุม

ท่านนายกสโมสรโรตารีที่รักทุกท่าน ถึงเวลาที่เราจะต้องส่งเงินค่าบำ�รุง RI ครึ่งปีหลังแล้วนะคะ สโมสรที่พร้อมก็จัดส่ง ไปที่ศูนย์โรตารีแห่งปะเทศไทย พร้อมทั้งส่งสำ�เนารายละเอียดมาที่สำ�นักงานผู้ว่าการภาค 1 ฉบับด้วยนะคะ นอกจากนี้ยังมีอีก 4 สโมสรที่ยังไม่ได้ชำ�ระค่าบำ�รุงภาค ขอความกรุณาส่งเงินมาให้ ภาคด้วยค่ะ ต้องขอขอบคุณทุกสโมสรโรตารีทีใ่ ห้ความร่วมมือกับภาคด้วยดีเสมอมา ณ โอกาส นี้ด้วยค่ะ ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี อน.ศิริลักษณ์ ไชยวงศ์ เลขานุการภาค 3360 โรตารีสากล ปี 2552-2553

รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนตุลาาคม ของสโมสรโรตารีภาค 3360 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน 1 16274 Kamphaengphet กำ�แพงเพชร 16 2 25135 Chomtong Chiangmai จอมทอง 10 3 23182 Chamadhevi จามะเทวี 10 4 23201 Changpuak Chiang Mai ช้างเผือก 21 5 16262 Chiang Mai เชียงใหม่ 57 6 60808 Chiangmai Doi Suthep ดอยสุเทพ 3 7 16264 Chiangmai West เชียงใหม่ตะวันตก 29 8 26048 Chiangmai East เชียงใหม่ตะวันออก 20 9 29283 Chiang Mai Thin Thai Ngam เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม 32 10 51245 Chiangmai South เชียงใหม่ใต้ 13 11 16263 Chiang Mai North เชียงใหม่เหนือ 29 12 50481 Chiangmai Phuping เชียงใหม่ภูพิงค์ 15 13 53170 Chiang-Mai Airport เชียงใหม่แอร์พอร์ต 12 14 16261 Chiangkam เชียงคำ� 22 15 16265 Chiang Rai เชียงราย 29 16 52387 Chiang Rai North เชียงรายเหนือ 21 17 28751 Chiang Saen เชียงแสน 13 18 57289 Doiprabaht ดอยพระบาท 19 19 16312 Tak ตาก 10 20 70997 Thoen Downtown เถินดาวน์ทาวน์ 18 21 50326 Thawangpha ท่าวังผา 10 22 23050 Nan น่าน 43 23 57910 Nakron Nan นครน่าน 10 24 64215 Nakorn Thoeng นครเทิง 17 25 65762 Nakron Hariphunchai นครหริภุญชัย 10 26 27553 Naresuan นเรศวร 33 27 22008 Pua ปัว 21 28 21495 Fang ฝาง 18 29 16291 Payao พะเยา 10 30 16292 Phan พาน 27

มกราคม ๒๕๕๓

โรตารีสากล ประจำ�ปี % อันดับ 81.17 9 70 66 72.4 62.82 50 73 68 64.85 82.60 8 73.23 60 75.22 90 98 100 1 87.50 6 55 68 80 78.75 70.70 54 62.80 50 58.10 98.86 2 91.11 5 60 40.50

2552-2553 หมายเหตุ *ค่าเฉลี่ย

เร็วที่ 3 7-1-10 *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย *ค่าเฉลี่ย

เร็วที่ 2 5-1-10 *ค่าเฉลี่ย เร็ว 3 7-1-10 *ค่าเฉลี่ย

11 10


หมายเหตุ 1. สโมสรโรตารีที่มีคะแนนการประชุมมากเป็นอันดับ 1 คือ สโมสรโรตารีศิลา อาสน์ และสโมสรโรตารี เชียงรายเหนือ อันดับ 2 คือสโมสรโรตารีปัว อันดับ 3 คือ สโมสรโรตา รีสอง 2. สโมสรโรตารีที่ส่งคะแนนการประชุมมาเป็นอันดับ 1 คือ สโมสรโรตารีแม่วัง ได้รับวันที่ 4-1-53 อันดับ 2 คือ สโมสรโรตารีดอยพระบาท ได้รับวันที่ 5-1-53 อันดับที่ 3 ได้แก่ สโมสร โรตารีเชียงใหม่ใต้ สโมสรโรตารีนครเทิง สโมสรโรตารีแม่จัน และสโมสรโรตารีล้านนา ได้ รับวันที่ 7-1-53 3. * ค่าเฉลี่ย * หมายถึง ค่าเฉลี่ยของคะแนนการประชุมของเดือนที่มาก่อน หน้านี้ เนื่องจาก ในเดือนนี้ท่านส่งคะแนนมาล่าช้า รายงานการประชุมประจำ�สัปดาห์ คะแนนเฉลี่ย/เดือนตุลาาคม ของสโมสรโรตารี ภาค 3360 โรตารีสากล ประจำ�ปี 2552-2553 Club No. Rotatry Club of ชื่อสโมสร จำ�นวน % อันดับ หมายเหตุ 31 23541 Phrae แพร่ 23 72.83 32 24741 Phichai พิชัย 15 69.72 *ค่าเฉลี่ย 33 16297 Phisanulok พิษณุโลก 52 91.54 4 34 27084 Muang Chod เมืองฉอด 17 69.42 35 65185 Muang Thoen เมืองเถิน 23 75 36 16280 Maechan แม่จัน 31 80.40 7 เร็วที่ 3 7-1-10 37 29389 Maewang Lampang แม่วัง 23 63.76 เร็วที่ 1 4-1-10 38 24956 Mae Sod แม่สอด 22 75.87 *ค่าเฉลี่ย 39 16283 Mae Sariang แม่สะเรียง 14 50 40 16282 Maesai แม่สาย 27 80 41 16281 Mae Hongson แม่ฮ่องสอน 13 61.53 42 52390 Mae Fha Louang แม่ฟ้าหลวง 9 81.40 10 43 24886 Lab Lae ลับแล 10 50 *ค่าเฉลี่ย 44 50294 Lanna ล้านนา 25 60 เร็วที่ 3 7-1-10 45 16277 Lampang ลำ�ปาง 29 71.20 46 16278 Lampoon ลำ�พูน 12 58.44 47 50650 Wangchan วังจันทน์ 25 65.63 48 51392 Wiangkosai เวียงโกศัย 21 53.14 49 31711 Wiangsa เวียงสา 12 80 50 52394 Sri Song Kwai ศรีสองแคว 15 69.63 *ค่าเฉลี่ย 51 25165 Sila-Asana ศิลาอาสน์ 28 100 1 52 16307 Sawankaloke สวรรคโลก 26 53.32 53 25680 Sawankhalok North สวรรคโลกเหนือ 22 78.40 54 22010 Song สอง 14 80 55 27741 Sanpatong สันป่าตอง 14 78.40 56 30612 Sarapee สารภี 12 75.25 57 24965 Sukhothai สุโขทัย 23 74.30 58 30057 Hang Dong หางดง 10 65 *ค่าเฉลี่ย 59 16317 Uttaradit อุตรดิตถ์ 26 94.52 *ค่าเฉลี่ย 60 74261 Vientiane เวียงจันทน์ 10 68.71 *ค่าเฉลี่ย

10 11

มกราคม ๒๕๕๓


DGN’s Corner

ผลของการไม่ชำ�ระค่าบำ�รุง

(The Consequence of Failing to Pay Dues)

ผวล.ชำ�นาญ จันทร์เรือง สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ

หน้าที่และความรับผิดชอบของ การเป็นสมาชิกสโมสรโรตารีทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ อย่างหนึ่งก็คือการชำ�ระค่าบำ�รุง ซึ่งจะ เป็นค่าใช้จ่ายในกิจการของสโมสร การ ชำ�ระค่าบำ�รุงโรตารีสากล และค่าบำ�รุง ภาค หากสมาชิกสโมสรโรตารีหรือสโมสร เองละเลยไม่ชำ�ระค่าบำ�รุงแล้วไซร้ ผลที่ ตามมาของการไม่ชำ�ระค่าบำ�รุงนั้นอาจ เป็นผลทำ�ให้สมาชิกเองหรือสโมสรอาจ สิ้นสุดสมาชิกภาพได้ ดังนี้

ชำ�ระในวันที่ถูกยุบเลิก จ่ายค่าบำ�รุงครึ่ง ปี ทั้ ง หมดที่ เ กิ ด ขึ้ นในช่ ว งที่ ร ะยะเวลา ระหว่ า งการถู ก ยุ บ เลิ ก และการขอคื น สมาชิกภาพ( ประมวลนโยบายของโรตารี 9.020.7.) พร้อมทั้งค่าธรรมเนียมการขอ คืนสมาชิกภาพคนละ 10 เหรียญภายใน 90 วัน ทีถ่ กู ยุบเลิกเพือ่ จะคืนสมาชิกภาพ หากสโมสรมีสมาชิกน้อยกว่า 10 คนจะ ต้องทำ�ตามข้อกำ�หนดการจ่ายอย่างน้อย ที่สุดสำ�หรับสมาชิก 10 คน

การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิก สมาชิกคนใดที่ไม่ชำ�ระค่าบำ�รุง ภายใน 30 วันหลังครบกำ�หนดควรจะได้ รั บ แ จ้ ง เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร จ า ก เลขานุการสโมสร หากยังไม่ชำ�ระเงิน ภายใน 10 วันหลังจากวันที่แจ้งเตือน อาจจะถู ก สิ้ น สุ ด สมาชิ ก ภาพตามการ พิ จ ารณาของคณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการบริหารอาจจะคืนสมาชิก ภาพตามคำ�ร้องและการชำ�ระหนี้ทั้งหมด ของสมาชิกให้แก่สโมสร

สโมสรที่ขอคืนสมาชิกภาพหลัง จากถูกยุบเลิก 90 วันแต่ไม่เกิน 365 วัน จะต้องกรอกแบบฟอร์มการขอคืนสมาชิก ภาพและจ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มการสมั ค ร คนละ 15 เหรียญนอกเหนือไปจากการ ทำ�ตามข้อกำ�หนดข้างต้นดังกล่าว ค่า ธรรมเนี ย มการสมั ค รเป็ น ไปตามข้ อ กำ�หนดการจ่ายอย่างน้อยที่สุดสำ�หรับ สมาชิก 10 คน สโมสรทีถ่ กู ยุบเลิกซึง่ ไม่ช�ำ ระเงิน คงค้างทั้งหมดให้แก่โรตารีสากลภายใน 365 วันเมื่อถูก ยุบเลิกจะสูญเสียใบตรา ตั้งสโมสรต้นฉบับ และไม่สามารถขอคืน สมาชิ ก ภาพได้ ในทำ � นองเดี ย วกั น สโมสรที่ไม่ชำ�ระค่าบำ�รุงภาคอาจจะถูก แขวนสมาชิกภาพหรือยุบเลิกโดยคณะ กรรมการบริหารโรตารีสากล การชำ�ระค่าบำ�รุงภาคราย สมาชิกนั้นเป็นการบังคับต่อทุกสโมสร

การสิ้นสุดสมาชิกภาพของสโมสร 6 เดือนหลังจากครบกำ�หนดวัน ที่ 1 มกราคมหรือ 1 กรกฎาคม สโมสร ที่ค้างชำ�ระ 250 เหรียญหรือมากกว่านั้น จะถูกยุบเลิกสมาชิกภาพจากโรตารีสากล เมื่อสโมสรขอคืนสมาชิกภาพภายใน 90 วันหลังถูกยุบเลิก จะต้องจ่ายเงินที่ค้าง

มกราคม ๒๕๕๓

12 13


ของภาค ถ้าคณะกรรมการบริหารโรตารีสากลได้รับ การยืนยันจากผู้ว่าการภาคว่าสโมสรใดละเลยไม่จ่าย เงินสมทบกองทุนภาคเกิน 6 เดือน โรตารีสากลจะ ระงับการให้บริการต่อสโมสรนั้นและถือว่าสโมสรยัง คงค้างชำ�ระอยู่ การดำ�เนินการกองทุนภาคต้องเป็น ไปตามข้อบังคับโรตารีสากล (ข้อบังคับโรตารีสากล 15.060.3.) คณะกรรมการบริหาร โรตารีสากลอาจ ยุบเลิกสโมสรที่ไม่จ่ายเงินสมทบที่ได้รับอนุมัติแก่ กองทุนภาคได้ (ข้อบังคับโรตารีสากล 3.030.1.) Member termination Any member failing to pay dues within 30 days of the date line should be notified in writing by the club secretary.If the due are not paid within 10 days of the notification date,membership may be terminated,subject to the discretion of club board.The board may reinstate membership upon a member’s petition and payment of all debts to the club. Culb termination Six moths after the 1 January or 1 July deadline,club with obligations of US$250 or more will be terminated from Rotary International. When a club seeks reinstatement within 90 days of termination,it must pay all financial obligations due at the time of termination,all semiannual dues payments that have accrued during the period between termination and reinstatement(RCP 9.020.7.),and a $10 per member reinstatement fee within 90 days of

13 12

termination in order to be reinstated.If the club has fewer than 10 members,it is subject to a 10-member minimum payment requirement. A club that seeks reinstatement more that 90 days but less that 365 days after termination must complete an application for reinstatement and pay a $15 per member application fee in addition to fulfilling the requirements note above.The application fee is also subject to the 10-member minimum payment requirement. Terminated clubs that have not fulfilled their entire financial responsibility to RI within 365 days of termination will lose their original charter and will not be eligible for reinstatement. Similarly,any club that fails to pay district dues may have its membership in RI suspended or terminated by the RI board. All clubs in the district must pay the per capita levy.Once RI Board receives certification from the governor that a club has failed to pay the levy for more than six months,it may suspend RI services to the club while the levy remains unpaid,provided that the district fund has been operated as herein provided.(RIB 15.060.3.)Any club that fails to pay its approved contributions to the district fund may have its membership in RI suspended or terminated by the RI Board.(RIB 3.030.1.)

มกราคม ๒๕๕๓


คุยกันที่ขอบเวที

อน.ศ.นพ.บริบูรณ์ พรพิบูลย์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่

ปีใหม่ขอให้มีความสุข ก่ อ นปี ใ หม่ จ ะเดิ น มาถึ ง ผมนั่ ง พิจารณาปีเก่าพร้อมๆ กับรอฟังเสียงพลุที่ จะถูกส่งขึ้นไปแตกในท้องฟ้า จิตใจใกล้สิ้นปี ไม่ค่อยผ่องใส เพราะตลอดปีที่กำ�ลังจะผ่าน ไป ได้เห็นและได้ยินแต่สิงที่เป็นความขัด แย้ง นับแต่การนำ�สีมาป้ายตัวให้เกิดความ เป็นฝักเป็นฝ่าย การถูกไข้หวัดใหญ่ 2009 และภัยธรรมชาติรุกราน การเผชิญกับภาวะ เศรษฐกิจที่ทรุดโทรมไปทั่วโลก รวมถึงการ เอารัดเอาเปรียบระหว่างกันและกัน อย่าง น่าอดสูด้วย เมื่ อ ถึ ง วั น ปี ใ หม่ ก็ ข อให้ ค วามไม่ ผ่องใสเหล่านั้นจงมลายหายสูญตามปีเก่าไป ด้วย แต่ยงั ไม่ทราบอยูด่ วี า่ ในปี พ.ศ 2553 นี้ เราจะได้พบอะไรกับสิ่งดีๆบ้าง ก็ขอให้ท่านเจริญด้วย ลาภ-ยศ-

มกราคม ๒๕๕๓

สรรเสริญ-สุข โดยทั่วกันก็แล้วกัน ในโรตารี,สมัยที่ อผภ.ศิริ ทรวงแสง เป็นผู้ว่าการภาค 3360 โรตารีสากล เมื่อปี พ.ศ 2535-2536 และผมต้ อ งรั บ หน้ า ที่ เลขานุการภาคในตอนนั้น ท่านประธาน โรตารีสากลคลิฟฟอร์ด ด๊อทเทอแมน ได้มี กำ�หนดการมาเยี่ยมประเทศไทย และจะเดิน ทางขึน ้ มาเชียงใหม่ เพือ่ เยีย่ มภาค 3360 ของ เราด้ ว ย ท่ า นประธานฯคลิ ฟ เป็ น รอง อธิการบดีของมหาลัยวิทยาลัย มีชื่อแห่ง หนึ่งของสหรัฐอเมริกา ท่านเป็นคนยิ้มแย้ม แจ่มใส คุยสนุก และพูดเก่ง เราได้จัดการ ประชุมระหว่างเมืองขึ้นต้อนรับ และฟังคำ� ปราศรัยของท่านด้วยความสนุกสนาน ตอน หนึ่งของคำ�ปราศรัย ท่านได้กล่าวถึงความ สุ ข ที่ แ ท้ จ ริ ง ของคนนั้ น อยู่ ที่ ก ารได้ ช่ ว ย เหลือผู้อื่น ท่านจึงได้ให้อรรถพจน์ ของ

14 15


15 14

ประธานโรตารี ส ากลประจำ � ปี ข องท่ า นว่ า “Real Happiness is helping Others “ ซึ่งผู้ว่าการภาคโรตารี ทั้ง 4 ภาคในประเทศไทยได้แปลว่า “เกื้อกูลแก่กัน สุขสันต์แท้จริง” เป็นอรรถพจน์ทีผ่ มชอบมากอรรถพจน์ หนึ่ง เหมือนๆกับ อรรถพจน์ “Sow the Seed of Love” ของท่านพิชัย รัตตกุล ประธานโรตารีสากล สมัย 254546 อรรถพจน์หรือคำ�ขวัญทั้ง 2 นี้ ผู้ใดนำ�ไปปฏิบัติได้ ย่อมมีความสุข หรือได้รับความสุขอย่างแน่นอน นอกจากอรรถพจน์ที่สร้างความสุขให้แล้ว ยัง มีโครงการที่ผมเห็นว่าจะสร้างความสุขให้แก่ ผู้เข้าร่วม ปฏิบัติได้อย่างเต็มเปี่ยมอีกโครงการหนึ่งคือ โครงการ 3-เอช (3-H Program) ซึ่งเป็นโครงการที่ให้แก่ผู้ด้อย โอกาสในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ-อนามัย, การบำ�บัด ความอดอยากหิวโหย, และการพัฒนาความเป็นมนุษย์ ในทุกๆด้าน ให้เท่าเทียมกัน ความเป็นมาของ “โครงการ 3-เอช” เกิดจาก ปรัชญาในความพยายามทีจ่ ะตัดวงจรอุบาทว์ ทีบ่ ัน ่ ทอน คุณภาพชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้ง หลายให้ได้พ้นทุกข์ วงจรอุบาทว์มีอยู่หลายวงจร แต่ที่ สำ�คัญที่ได้รับการเพ่งเล็งเป็นพิเศษคือ ความเจ็บไข้ได้ ป่วยและพิการ–ความยากจนที่ทำ�ให้เกิดความอดอยาก หิวโหย–ความไม่เท่าเทียมกันในความเป็นมนุษย์ ซึ่ง เป็นปรัชญาที่สั้นๆ ก็จริง แต่ประโยชน์ที่ได้รับจากการ ปฏิบัติให้ลุล่วง เป็นประโยชย์แก่เพื่อนมนุษย์อย่างกว้าง ขวาง ควรแก่ความขอบคุณเป็นอย่างสูง โครงการ 3-เอช เกิดขึ้นในสมัยที่โรตารีสากลมีอายุครบ 70 ปี (1975) โดย ท่านประธานโรตารีสากล ดับเบิลยู.แจ็ค เดวิส (1977-78) เห็นว่า ในโอกาสอันสำ�คัญนี้ โรแทเรียนน่าจะได้เข้าไป มีส่วนร่วมกับโรตารีสากล ในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ในสากล ที่กว้างขวางกว่าที่แต่ละสโมสรฯ ในแต่ละท้อง ทีก่ ระทำ� ซึง่ ท่านประธานโรตารีสากล คนต่อมาคือ ท่าน เคลม เรนูฟ (1978-79) และถัดๆมา อีกได้เห็นสอดคล้อง ด้วย เพราะการกระทำ�ในชาติ และทำ�ให้เกิดสันติสุขขึ้น ในโลกของเราได้ โครงการ 3-เอช โครงการแรกคื อ การให้ ภูมิคุ้มกันโรคโปลิโอแก่เด็กๆในประเทศ ฟิลิปปินส์ 6 ล้านคนเมือ่ ปี 1979-80 แล้วขยายออกไปทัว่ ริมมหาสมุทร แปซิฟิค แล้วกลายเป็น โครงการ โปลิโอ-พลัส เพื่อให้ วัคซีนโปลิโอแก่เด็กอายุต่ำ�กว่า 5 ปี ทุกคนทั่วทั้งโลกใน ปี ค.ศ. 1982 ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดี และได้รับการยกย่อง เป็นอย่างยิ่งในขณะนี้ ความจริงโครงการ 3-เอช มิได้มี อยู่ ใ นวงโปลิ โ อเท่ า นั้ น แต่ ยั ง มี โ ครงการอื่ นในเขต คุ้มครองอีกจำ�นวนมากเช่น โครงการชลประทาน เพื่อ ผลผลิตอาหาร ให้แก่ประชากรในประเทศที่ยากจน ,โครงการให้การศึกษาด้านอาชีพ ,โครงการแขนขา

เทียม ,โครงการป้องกันตาบอด ,โครงการน้ำ�สะอาด ,โครงการธนาคารหมู่บ้าน และโครงการสันติภาพและ แก้ไขความขัดแย้ง ,ผู้ลี้ภัย และ โครงการ พิทักษ์เด็ก และสตรี ฯลฯ เป็นต้น เรื่อง “สุข” และ “ทุกข์” เป็นเรื่องของจิตใจ และอารมณ์ ,จิตหรือใจเป็น นามธรรม ไม่มตี วั ตน อาศัย อยู่ในกาย และเป็นเพียงความนึกคิดที่รับรู้อารมณ์ตื้น ลึกเท่านั้น ใจจึงเป็นที่สร้างสุขและทุกข์ หรือไม่สุขไม่ ทุกข์ที่แท้จริง ความรู้สึกนี้กระเพื่อมอยู่ตลอดเวลา, เกิด ขึ้นแล้วคงอยู่ชั่วครู่ชั่วพักแล้วก็เสื่อมสลายหายไป มี อารมณ์ใหม่เข้ามาแทน, จิตตอนแรกเกิดจากท้องพ่อ ท้องแม่จะผ่องใสประภัสสร เมื่อเติบโตขึ้นตามวัย จิตจะ ไปเกาะเกี่ยวกับสิ่งที่ชอบและไม่ชอบ ทำ�ให้เกิดความ เศร้าหมอง แม้จะเศร้าหมองไปแล้วก็อาจหลุดพ้นออก มาได้ การที่จิตได้รับรู้ความเป็นไปของสิ่งแวดล้อม ภายนอกกายด้วยอายตนะทั้ง 6 จึงทำ�ให้จิตปรุงคิดไป ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง เกิดความยึดถือต่างๆนาๆ ขึ้น เช่นยึดว่านี่เป็นตัวของเรา เราเป็นโน่นเป็นนี่ และ นี่เป็นของเราเป็นต้น ความยึดถือหรืออุปาทาน จึงเป็น เหตุให้ชีวิตเกิดผิดพลาด เศร้าหมอง ไม่เป็น “สุข” ขึ้น ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า “จิตแม้จะเศร้า หมองไปแล้ว ก็อาจหลุดพ้นออกมาได้” เพราะฉะนั้นคน จึงพยายามหาความหลุดพ้นในลักษณะต่างๆกับ ปัญญา ของแต่ละคน. ในวัฒนธรรมของคนจีนที่ท่านประธาน โรตารี คลิฟฟอร์ด ด็อทเทอแมนนำ�มากล่าวซ้ำ� ท่าน บอกถึ ง วิ ธี ทำ �ใจให้ เ ป็ น สุ ข แบบชั่ ว คราวว่ า “ถ้ า จะ หาความสุขสักชั่วโมง ให้งีบหลับ ,ถ้าจะให้นานเป็นวัน ให้ไปนั่งตกปลา ,ถ้าจะเป็นสัปดาห์ให้ลางานไปพักผ่อน ,ถ้าจะให้เป็นเดือนต้องแต่งงานใหม่ ,ถ้าจะให้เป็นปีต้อง ได้รับมรดก , แต่ถ้าจะให้สุขตลอดไปต้องช่วยเหลือเจือ จานผูอ้ ืน ่ ๆ” ผมอยากเรียกการหาความสุขแบบชัว่ คราว นี้ว่าเป็นการหาความสุขแบบโลกๆ ส่วนการจะหาความ สุขในทางธรรมนั้น จำ�เป็นต้องฝึกกล่อมใจให้เชื่องจน สามารถหลุดจากอุปาทานได้ ในโรตารีมีข้อทดสอบ 4 ประการให้เราเที่ยงตรง และมีความคิด คำ�พูดและการ กระทำ�ที่ดีแก่ทุกฝ่าย ซึ่งจะสร้างความเป็นมิตรไมตรีให้ แก่กันและกัน อันจะก่อให้เกิดสุขและสันติขึ้นในสังคม วันปีใหม่ปีนี้ ผมจึงอยากให้มิตรโรแทเรียนทุก ท่านมี “สติ” ระลึกรู้ถึงความมัวหมองที่พากันประดัง เข้ามาอยู่ในจิตใจ แล้วหาทางกำ�จัดมันออกไปเสีย เพื่อ ที่เราจะได้มี “ความสุข” สมความปรารถนาในทุกๆ ประการ “ถ้าใจของเรามีความสุขแล้ว ความทุกข์จาก โลกภายนอกจะเข้ามาอยู่ได้อย่างไร”

มกราคม ๒๕๕๓


ศูนย์โรตารีประเทศไทย FG เดือนมกราคม 2553 ED

อัตราแลกเปลี่ยนโรตารีสากล เดือนมกราคม 2553

อยาลืม กิจกรรมหยอดวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ แกเด็กๆ อายุไมเกิน 5 ปทั่วประเทศ ครั้งที่สอง

วันที่ 27 มกราคม 2553

33 บาท

ตอหนึ่งดอลลารสหรัฐ

ขาวประชาสัมพันธ สโมสรใดที่ยังไมไดสงแบบฟอรมแจงชื่อ นายก-เลขาฯ รับ เลื อ กของสโมสรไปยั ง โรตารีสากล โปรดรีบ ดํ าเนินการ โดยด ว น ข อ มู ล นี้ จ ะถู ก นํ า ไปจั ด พิ ม พ ใ น 2010-11 Official Directory เพื่อเปนขอมูลสําหรับการติดตอกับสโมสรของทาน ในปหนา ทานสามารถสงแบบฟอรมมายังศูนยฯ เพื่อสงตอไป ยังโรตารีสากลไดครับ ตัวเลขโรตารีไทย (ขอมูล: ผูแทนดูแลการเงินฯ - ธ.ค. 52)

บรรยากาศการจัดประชุมสภาอดีตผูวาการภาค 3350 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2552 ณ ศูนยโรตารีฯ มีอดีตผูวาการภาค ผูวาการภาคและ ผูวาการภาครับเลือกมารวมประชุมอยางพรอมเพรียง

ภาค 3330 3340 3350 3360 รวม

โรแทเรียน 1,992 1,273 2,405 1,190 6,860

สโมสร 76 60 90 60 286

ศูนยโรตารีในประเทศไทย 75/82‐83 ชั้น 32 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ซอยวัฒนา ถนนอโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 มกราคม โทรสาร 0 2661 6719 e‐mail: rotaryth@ksc.th.com; www.rotarythailand.org โทร. 0 2661 6720‐1

๒๕๕๓

17 16


เสียงนก เสียงกา

สวัสดีครับ ! สารผู้ว่าการภาคฉบับนี้เป็นฉบับแรกของปี 2553 ก่อนอื่น ผมขออาราธนา พระคุณศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก จง บันดาลให้โรแทเรียนทุกท่าน มีความสุข ความเจริญ มีสุขภาพแข็งแรง คิดสิ่งใด ขอให้สมมาตรปรารถนา ขอให้ อย่าเจ็บ อย่าไข้ อย่าจน อย่าเป็นหนี้ และ รวยๆ ๆๆๆๆๆๆ ยิ่งๆขึ้นทุกท่านนะคร๊าบบบบบบ ตอนนี้เรามาพบกับนิยามคำ�ว่า หัวใจ และความรัก ของโรแทเรียนแต่ละท่านว่ามีมุมมองว่าอย่างไร รทร.ประยูร ศิรินภาพันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่เหนือ อน.พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล ประธาน” โครงการโรตารี สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจถวาย ในหลวง 84 พรรษา” หัวใจเป็นส่วนสำ�คัญที่สุดของ ร่างกาย หากปราศจากหัวใจ ย่อมปราศจากชีวติ เป็นความ ภ า ค ภู มิ ใ จ ที่ ไ ด้ มี โ อ ก า ส ทำ�งานที่ยิ่งใหญ่อีกครั้ง เพื่อถวายเป็นพระราช กุศล ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช จะมีพระชนม์มายุค รบ 84 พรรษา ขอขอบคุณมิตรโรแทเรียน และ ประชาชนคนไทย ที่ได้สนับสนุนโครงการโรตา รีสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ อย่างไม่คาดฝัน นับ ตั้งแต่เริ่มโครงการเป็นเวลาเพียง 6 เดือน เรา ได้รับการสนับสนุนจากผู้ใจบุญเกือบ 300 ราย เป็นจำ�นวนเงินเกือบ 11 ล้านบาทแล้ว ไม่เกิน 5 ปีโครงการจะบรรลุเป้าหมายอย่างแน่นอน หากท่านผูใ้ จบุญได้รว่ มกันสร้างกุศลครัง้ ยิง่ ใหญ่ นี้ด้วยกัน

วันวาน นานแสนนาน ความดี ไม่มีคลาย คุณธรรม เหล่านี้ ใครมีอยู่ คนทุกผู้ คิดถึง ซึ้งไม่หาย ดุจโซ่ทอง ผูกพัน จนวันตาย ไม่แหนงหน่าย จากรัก สามัคคีฯ จงมีความสุข bubpha

อน.ประยูร & อน.สุวรรณี ศิรินภา พันธ์ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ เหนือ

นส.ปาริชาต ตันประคองสุข (ชมพู่) GSE สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ หัวใจกับความรัก เป็นสิ่งที่ ต้องมีคู่กันไปเสมอ ไม่มีทาง ที่จะมีความรักแต่ไม่มีหัวใจ และไม่ มี ท างที่ จ ะมี หั วใจแต่ ไม่มีความรัก ความรักต้องใช้ หัวใจทั้งดวง จึงจะทำ�ให้หัวใจนั้นมีความรักอยู่ อย่างเต็มเปีย่ ม หัวใจกับความรักเกิดขึน ้ ระหว่าง คนสองคน และทั้งสองสิ่งนี้จะเกิดขึ้นได้ต้อง อาศัยทั้งความเข้าใจ ความเชื่อใจ ความไว้ใจ ความเห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกัน ความเสียสละ อน.บุ ป ผา สโมสรโรตารี ความห่วงใย และสิ่งสำ�คัญอื่นๆ อีกมายมาย การที่จะมีความรักเป็นสิ่งที่ไม่ยากนัก แต่การที่ กำ�แพงเพชร มีน้ำ�ใจ เอื้อเฟื้อ คิดเผื่อแผ่ จะรักษาความรักไว้ให้คงอยู่นั้นเป็นสิ่งที่ยากยิ่ง อีกพูดแต่ คำ�รัก สมัครสมาน กว่า ดังนั้นหากใครที่มีความรักอยู่แล้วก็จง สร้างประโยชน์ สร้างสุข ทุก รักษาความรักไว้ให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน

16 17

มกราคม ๒๕๕๓


เสียงนก เสียงกา

ผชภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ สโมสรโรตารี ดอยพระบาท ลำ�ปาง หั ว ใจ และความรั ก ใช้ สัญลักษณ์เหมือนกัน แต่จะ หมายความให้ ลึ ก ซึ้ ง ขนาด ไหนอยู่ ที่ มุ ม มองของแต่ ล ะ ค น แ ต่ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ สำ�หรับผมตอนนี้แวบแรกก็ นึกถึงโครงการ “เปิดสวิทช์หัวใจ สร้างศูนย์ ผ่าตัดหัวใจโรงพยาบาลลำ�ปางเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา” ซึ่งเป็นโครงการใหญ่ของภาค 3360 ของเรา ที่จะช่วยให้คนยากจนมีโอกาสผ่าตัด รักษาโรคหัวใจได้ถว้ นทัว่ เป็นงานยากทีท่ า้ ทาย แต่ด้วยหัวใจและความรักที่มีต่อโรตารีและผู้ ด้อยโอกาส โรแทเรียนทุกคนทุ่มเต็มที่ และ โครงการนี้จะต้องสำ�เร็จแน่นอนครับ นยก.พัฒนา สิทธิสมบัติ สโมสรโรตารี เชียงรายเหนือ หัวใจเป็นตัวแทนแห่งความ รั ก และเป็ น ตั ว แทนของ ความรู้สึกต่าง ๆ ในตัวเรา หัวใจเป็นสะพานเชื่อมความ ผูกพันธุ์ระหว่างเรากับคนที่ เรารั ก ความรั ก ก่ อให้ เ กิ ด ความเมตตา ความกรุ ณ า ความสงสาร และการเสียสละต่อผู้อื่น ทำ�ให้ให้ โลกใบนี้งดงาม และทำ�ให้ชีวิตเราดำ�เนินไป อย่างมีความหมายทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น และแม้ว่าท่ามกลางความเป็นไปนั้นเราจะพบ อุปสรรคต่าง ๆ แต่ด้วยหัวใจและความรักของ เรานั้นเองที่จะพาให้เราก้าวข้ามพ้นมันไปได้ อน.พิมพ์ประไพ พรรณาภพ สโมสรโรตารีอุตรดิตถ์ “ หัวใจและความรักที่มอบให้ กั บ โรตารี เกิ ด จากความ ประทับใจในอุดมการณ์และ บททดสอบสี่ แ นวทางของ โรตารี ในการคิด การกระทำ� และการพูด เป็นความจริง อิงเที่ยงธรรม นำ�ทุกฝ่าย ซึ่ง ก่อให้เกิดความรัก ความศรัทธาเชือ่ ถือ เป็นการ สร้างเกียรติภูมิและชื่อเสียง ให้เป็นที่ยอมรับใน สังคม “ อน.สมชัย นิรชรกุล สโมสรฯช้างเผือกเชียงใหม่ “นี่คุณ เพลาๆบ้างนะกิจกรรมโรตารี ตลอด เวลากว่า 20 ปี ตั้งแต่แต่งงานกับคุณ...เห็นคุณ ทุ่มเทให้กับโรตารีเสียจริง ในสโมสรโรตารีจะมี สักกี่คนที่เป็นอย่างคุณ ? สงสัยคงจะมีเพียงคุณ

มกราคม ๒๕๕๓

ค น เ ดี ย ว เ ท่ า นั้ น แ ห ล ะ ” ประโยคเหล่ า นี้ มิ ต รโรแท เรียนมักจะได้ยินจากคู่ครอง ที่ไม่ได้เป็นโรแทเรียนบ่นให้ ฟังอยู่เสมอ....จนบางครั้งถูก ยืน่ คำ�ขาดให้เลือกเอาระหว่าง โรตารีกับคู่ครอง เราเองก็ได้ แ ต่ อ ธิ บ า ย ว่ า นี่ เ ป็ น ก า ร บริการสังคม..ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส...แต่ทาง ครอบครัวก็สวนกลับทันที..ฉันรู้สึกว่ามันมาก เกินไปนะ ...บริการผู้อื่นมากกว่าตัวเอง..มี ที่ ไ หนใครเขาทำ � กั น ..... เราคิ ด ว่ า ที่ เ ราทำ � กิจกรรมโรตารีแบบไม่มีการเบื่อเลย...เพราะ หัวใจของโรตารีมีความรักที่จะมอบให้ผู้ด้อย โอกาส อน.สุ ว รรณี ศิ ริ น ภาพั น ธ์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ หัวใจกับความรัก ถ้าจะถาม ว่าฉันเคยมอบให้ใครบ้างหรือ เปล่ า ต้ อ งขอบอกว่ า เคย เพราะพอได้เป็นนายกสโมสร โรตารีเชียงใหม่เหนือมา 1 ปี ทำ�ให้ฉันรักโรตารี และสนุก ในการที่จะทำ�กิจกรรมต่างๆ ทำ�ให้ฉันมีความสุขมาก ฉัน จึงได้รู้ว่า หัวใจกับความรัก ที่ฉันมีนั้นฉันควร จะต้องแบ่งมาให้คนที่ ด้อยโอกาสที่ยังต้องการ ความรัก ความช่วยเหลืออีกมากมาย ที่เรายัง ไปไม่ถึงพวกเขา และฉันยังได้รับความรักจาก เพื่อนๆโรแทเรียนทุกคน รทร. สุภาพร จันทร์ศิริโยธิน สโมสรโรตารีแม่วัง หัวใจเป็นอวัยวะที่สำ�คัญที่สุด ในร่ า งกาย ทำ �ให้ เ กิ ด การ เคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ ก่อ ให้ เ กิ ด การดำ � เนิ น ชี วิ ต มี ความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด มี จิ ตใจ ความรักเป็นอารมณ์ ความ รู้สึก มีพลังก่อให้เกิดการขับ เคลือ่ นทัง้ ในทางบวกและทาง ลบ ความรู้สึกทางบวกที่ดีงาม ความสุข ความ พึงพอใจเริ่มได้จากคนใกล้ใกล้ สิ่งใกล้ใกล้ รอบ รอบตัวเรา ความรักที่แท้จริงไม่สามารถซื้อ หรือแลกมาได้ด้วยทรัพย์สินเงินทอง ความสุข ที่ได้รับจากการมอบความรักให้กับผู้อื่นเป็น ความสุขที่แท้จริงและยั่งยืน .... ปีใหม่ปีนี้ และ วันนี้ คุณแบ่งปันความรักให้กับใครบ้างแล้ว หรือยัง วันนี้คุณช่วยรณรงค์ให้กับศูนย์ผ่าตัด หัวใจภาคเหนือ ลำ�ปางแล้วหรือยัง

18 19


สวัดดีครับ มวลมิตรโรแทเรียนที่รักทุกท่าน ผมเป็นโรแท เรี่ยนเข้าสู่ปีที่ 5 แล้ว ทำ �โครงการบำ � เพ็ ญ ประโยชน์ ม าหลาย โครงการ โครงการที่นับว่ายากก็ได้แก่ โครงการสร้างฝายถวายในหลวงแต่ก็ผ่าน ไปได้ ด้ ว ยดี มาวั น นี้ ข อออกจากป่ า ตระเวนจัดทัวร์คอนเสิร์ตการกุศล เพื่อ จั ด หาทุ น สบทบในการจั ด ซื้ อ เครื่ อ งมื อ แพทย์ ให้กับโรงพยาบาลลำ�ปาง โดยให้ หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบัน การศึกษา พ่อค้า คหบดี ตลอดจนประชาชน ได้เข้ามามี ส่วนร่วม ในโครงการได้อย่างทัว่ ถึง ครอบคลุม ทัง้ ภาคเหนือ ยังไม่เคยจัดงานแบบนีม้ าก่อนเลยครับ มีผู้ถามว่ามัน ่ ใจหรือ ว่าจะประสบความสำ�เร็จเพราะแม้แต่มอื อาชีพจัด ยังขาดทุน อยู่เสมอ ผมตอบว่าผมมั่นใจว่าทำ�ได้ครับ เพราะแนวทาง การจัดคอนเสิร์ตที่ผมจะทำ�นั้น คือการเดินออกไปบอกบุญ กับประชาชนผู้ใจบุญ ผมไม่ได้ไปขายบัตรเพื่อชวนให้ไปดู คอนเสิร์ต ผู้ที่สนับสนุนบัตรชมคอนเสิร์ตนั้นเขาเกิดศัรทธา ในโครงการฯ ส่วนดนตรีนั้นเป็นเพียงการตอบแทนด้วยการ ให้ความสุขเท่านั้นครับ แต่อย่างไรก็ดี ความสำ�เร็จนั้นมัน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายด้านด้วยกัน และที่สำ�คัญก็คือ กำ�ลังใจครับ ผมก็ขอให้มวลมิตรทุกท่านช่วยให้ก�ำ ลังใจ ด้วย การไปช่วยกันเชียร์ งานนี้โรแทเรี่ยนเข้าชมพรีทุกท่านครับ ติดตามความคืบหน้าและรายระเอียดกิจกรรมได้ที่ WWW. rotarylanna.org ส่วนเพื่อนสมาชิกล้านนาทุกท่านครับ ตลอดปีนี้ผมขอลาการประชุมสโมสร เพื่อไปทำ�หน้าที่ที่ได้ ตั้งใจ นายกสโมสร นิตยา ภู่ยงยุทธ ก็ตามไปด้วย ดังนั้น ขอฝากสโมสรให้ท่าน จันทนี เทียนวิจิตร รักษาการครับ ข้อคิด......ชีวิตคนเราสั้นมาก.....ถ้าวันนี้เป็นวันสุดท้ายของ อน.เสริมพงษ์ วงศ์สมานจิต สโมสรโรตารีศรีสองแคว โรตารี คือ องค์กรบำ�เพ็ญประโยชน์องค์กรหนึ่งที่ผมได้รู้จัก เรา....เราอยากจะทำ�อะไร อย่างได้เรียนรูเ้ รือ่ งราวและกิจกรรมขององค์กรเมือ่ ประมาณ 30 ปี มาแล้ว แต่เคยได้ยน ิ ชือ่ เสียงมานาน อน.ธัชพล ผดุงเดชพสุธร (อน.วิเชียร คล่องบำ�รุง สโมสร โรตารีลำ�ปาง) กว่านั้น ผมเคยเขียนไว้ในอุดมการณ์ของ หัวใจและความรัก ตนเองเมื่อเริ่มงานใหม่แห่งชีวิตว่า “เรา ผมคิดว่าคำ�ว่า “หัวใจและความรัก” ใน จะเป็นโรแทเรียน” กาลเวลาที่ผ่านไป ทัศนคติของผมคือ การมอบสิ่งดีดีให้แก่ จนถึงวันหนึ่งแห่งเดือนกุมภาพันธ์ 2543 คนที่เรารัก มันเป็นความรู้สึกที่ออกมา เพือ่ นคนหนึง่ ทีค่ ุน ้ เคยกันชวนไปเป็นแขก จากส่วนลึกในจิตใจของคน การที่เราจะ ของสโมสรโรตารีศรีสองแคว และนั่นคือ มอบความรัก ให้ใครสักคนนั้น มันย่อม จุ ด เ ริ่ ม ใ น ก า ร จุ ด ป ร ะ ก า ย ฝั น แ ห่ ง เกิดขึ้นมาจากความจริงใจและความรู้สึก อุดมการณ์ของตนเองทีถ่ กู กำ�หนดไว้แล้ว ผมเข้ามาสูอ่ งค์กร นี้ในนามสมาชิกสโมสรโรตารีศรีสองแคว ตามกฎเกณฑ์ของ ที่บริสุทธิ์ ความรักนั้นแบ่งได้หลายแบบ คือ อาจจะมาจาก โรตารีสากล ด้วยศรัทธาที่มีต่อองค์กรโรตารีมาแต่ต้นและ การให้ การแบ่งปัน การช่วยเหลือ และอื่นๆอีกมากมายที่ ด้วยมิตรภาพที่ดีของเพื่อน ๆ ในสโมสร ซึ่งต่างได้ช่วยกัน เราพอจะทำ�ได้ อย่างสังคมเราในปัจจุบันนี้ เรามีปัญหาเกิด พัฒนาศักยภาพของผมจากสภาพทารกแรกเกิดในสโมสรฯ ขึ้นมากมายก็ เพราะคนเราไม่รักกัน สังคมจึงวุ่นวาย ทะ จนเติ บโตพอยื น และเดิ นได้ ใ นแนวทางของการบำ � เพ็ ญ เละวิวาทกันเกือบทุกวัน ถ้าหากเรามีความคิดแชร์ความรูส้ กึ ประโยชน์ให้ชุมชนในนามองค์กร โรตารี ผมประทับใจตลอด ต่อกัน เสมือนทุกๆคนคือคนครอบครัวของเรา (ครอบครัว มาว่าความรักและความสามัคคีของเพื่อนทุกคนในสโมสรฯ ที่อบอุ่น) เราก็จะมีแต่ความรักความห่วงใย และปรารถนา คือผลึกกำ�ลังแห่งความสามารถที่เราจะร่วมกันทำ�อะไรต่าง ดีต่อกัน และอยากจะให้ทุกๆอย่างทุกๆสิ่งแบบไม่มีเงื่อนไข ๆ ให้กับภาค 3360 อย่างเชื่อมั่นบนความศรัทธาที่เรามีต่อ ผู้นำ�ภาคของเรา “ ท่านผู้ว่าการาภาคแววดาว ลิ้มเล็งเลิศ” อน.สุมาลี กัญจินะ สโมสรโรตารี ล้านนาเชียงใหม่ ความรักคือ โชคอย่างหนึ่งเพราะใช่ว่าทุกคนจะมีได้ ความรักเป็นได้ทั้งมือและผ้าพันแผลเวลา เสียใจ ความรักคือ สิ่งเติมเต็มให้ชีวิตไม่รู้สึกขาด อะไรไปอย่างนึง ความรักคือ ความหวัง กำ�ลังใจ และ ศรัทธาในกันและกัน ความรัก มีความลับอยู่อย่างหนึ่งว่าไม่ได้ รักในสิ่งที่ทำ�ให้เรามีความสุขแต่มีความ สุขใน สิ่งที่เรารักต่างหาก ความรักคือ ศิลปะ ที่คนมีรักเท่านั้นที่จะเข้าใจและเห็น คุณค่า อน.ปิยวดี ฤกษะเสน สโมสรโรตารีตาก หากจะให้นิยามคำ�ว่ารัก คำ�ๆ นี้ จะมีความหมายกว้างมากๆ ซึ่งคนทั่วๆ ไป มักจะให้ความหมายของ คำ�ว่ารักอย่างง่ายๆ อาทิ รักคือการให้ , รักคือการเสียสละ ,รักคือการให้อภัย แต่ อย่างไรก็ตาม เมื่อมองไปถึงพื้นฐาน... ความหมายของคำ�ว่ารัก ก็คอื การยอมรับ ซึ่งกันและกันที่จะทำ�ให้อีกฝ่ายรู้สึกดี และ มีความสุข ไม่ว่าจะเป็นการดูแลเอาใจใส่, การใช้เวลาร่วมกัน, การพูดจากันด้วย เหตุผลมากกว่าการใช้อารมณ์, เคารพในสิทธิของแต่ละฝ่าย ซึง่ การใส่ใจในความรูส้ กึ และการสร้างความสุข เป็นอีกหนึง่ พื้นฐานสำ�คัญ ที่จะทำ�ให้ความรักมั่นคง และยั่งยืนยาวนาน

อน.ชนะ เอกอิสรกุล สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่

19 18

มกราคม ๒๕๕๓


Behind the scene

อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่ถิ่นไทยงาม สวัสดีใหม่ 2553 ปีวัวกำ�ลังผ่านพ้นไป ในขณะที่ ปี เ สื อ ผ่ า นเข้ า มา 1 ปี ห มุ น เวี ย น เปลี่ยนไปด้วยเวลาอันรวดเร็ว เช่นเดียว กับ สารผู้ว่าการภาคผ่านไปแล้ว 6 ฉบับ ข้อมูลต่าง ๆ ภายในภาค ยังคงมีเรื่องเล่าสู่ทุกท่านอย่าง ต่อเนื่อง ในฉบับนี้ ข้างหลังภาพ ขอนำ�เสนอ ข้อมูล การจัดทำ�โครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ที่ ยิ่งใหญ่ มีมูลค่าเกือบร้อยล้านบาท โครงการนี้ ท้ า ทายความสามารถ ของคณะกรรมการ โครงการเป็นอย่างยิ่ง โครงการนี้จะสำ�เร็จได้ ต้ อ งได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากหลายภาคส่ ว น โปรดติดตามเรามาได้เลยค่ะ โครงการโรตารีสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลำ � ปาง เฉลิ ม พระเกี ย รติ 84 พรรษา เป็นโครงการต่อเนื่อง 5 ปี เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฏาคม 2552 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 25557 เป็นโครงการของภาค 3360 โรตารีสากล ในวโรกาสเฉลิ ม ฉลอง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช จะ ทรงมีพระชนม์มายุครบ 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2554 ฯพณฯ องคมนตรี ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย เป็นประธานที่

มกราคม ๒๕๕๓

ปรึกษา ฯพณฯ พิชัย รัตตกุล อดีตประธาน โรตารีสากล เป็นที่ปรึกษาอาวุโส และที่ปรึกษา อีกหลายท่าน เช่น อดีตกรรมการบริหารโรตารี สากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดลำ�ปาง นายกเทศมนตรีนครลำ�ปาง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำ�ปาง นาย แพทย์สาธารณสุขจังหวัดลำ�ปาง ผู้อำ�นวยการ โรงพยาบาลลำ�ปาง ศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต คณบดี ค ณะแพทย์ ศ าสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ นพ.จรัส พิมพ์พิไล อดีตผู้อำ�นวย การฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำ�ปาง ไพโรจน์ โล่สุนทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดลำ�ปาง อดีตและปัจจุบันทุกท่านฯลฯ ผู้ ว่าการภาค แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ อดีตผู้ว่าการ ภาคทุ ก ท่ า น ส่ ว นประธานคณะกรรมการ ดำ�เนินการ ได้แก่ อน.พ.ญ.วรรณจันทร์ พิมพ์ พิไล สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม รอง ประธาน ได้แก่ อผภ.อนุวัตร ภูวเศรษฐ และ ผชภ.อนุรักษ์ นภาวรรณ เลขานุการ นยก. สุภาพร เสมอเชื้อ ผู้ช่วยเลขานุการ ได้แก่ นย.อธิษฐาน วงค์ใหญ่ รองผู้อำ�นวยการฝ่าย

20 21


โครงการโรตารี สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลํำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา

21 20

บริหารโรงพยาบาลลำ�ปาง ฯลฯ โรตารีภาค 3360 ได้พิจารณาว่า จังหวัดลำ�ปาง เป็นจังหวัดใหญ่อน ั ดับ 3 ของภาคเหนือ มีประชากร 770,100 คน มีโรงพยาบาล ศูนย์ขนาดใหญ่ 800 เตียง 1 แห่ง บริการ ผู้ป่วยโรคหัวใจปีละประมาณ 13,000 คน เป็นผู้ป่วยไป-กลับ ปีละ 11,000 คน และผู้ป่วยโรคหัวใจที่ต้องนอนพักรักษา ในโรงพยาบาลปีละ 21,000 คน คนไข้โรคหัวใจที่เกิดจาก เส้นเลือดหัวใจตีบ และอุดตัน จนเป็นเหตุให้เกิดกล้ามเนื้อ หัวใจตาย และคนไข้เสียชีวิตในทันที นับวันจะมีจำ�นวน เพิ่มมากขึ้น ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะถูกส่งต่อให้ไปรับการดูแล รั ก ษากั บ แพทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญที่ โ รงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ หรือส่งต่อไปถึงกรุงเทพมหานคร เพือ่ รอคิวผ่าตัด ใช้เวลานานถึง 1-1 ปีครึ่ง คนไข้เป็นจำ�นวนมากเสียชีวิต ก่อนจะได้รับการผ่าตัดแก้ไข ซึ่งน่าเสียดาย และสลดใจเป็น อย่างยิ่ง หากโรงพยาบาลลำ�ปาง ได้มีศูนย์ผ่าตัดหัวใจอีก แห่งหนึง่ ก็สามารถแบ่งเบาภาระ ของโรงพยาบาล มหาราช นครเชี ย งใหม่ และยั ง เป็ นโรงพยาบาลสั ง กั ด กระทรวง สาธารณสุข ที่ต้องรับผิดชอบ ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจในภาค เหนือทั้งหมด การสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ซึ่งเป็นการผ่าตัดที่ต้อง ใช้แพทย์ และทีมงาน บุคลากรผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดแล้ว อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่ใช้ ยังเป็นเครื่องมือเฉพาะทางทั้ง

สิ้น ศูนย์ผ่าตัดหัวใจ จึงต้องใช้งบประมาณสูงตามไปด้วย ซึ่งโครงการนี้ จะเป็นการจัดหาเครื่องมือ และอุปกรณ์การ แพทย์เท่านั้น จะไม่ก่อสร้างอาคารใด ๆ แต่โรงพยาบาล ลำ�ปาง จะปรับเปลี่ยนพื้นที่ อาคารหลังเดิมให้เหมาะสม สำ�หรับใช้ผ่าตัด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์และเครื่อง มือแพทย์ ที่ใช้ในศูนย์ผ่าตัดหัวใจ มีทั้งสิ้น 34 รายการ 25 รายการแรกใช้ในการผ่าตัดหัวใจระยะที่ 1 และระยะที่ 2 เป็นเงินงบประมาณ 42,000,000 บาท อีก 9 รายการ ใช้ใน การใช้ผ่าตัดหัวใจ ระยะที่ 3 ผ่าตัดหัวใจได้เต็มรูปแบบ เป็น อีกถึง 52,000,000 บาท รวมงบประมาณ จัดหาเครื่องมือ และอุปกรณ์ สำ�หรับศูนย์ผ่าตัดหัวใจทั้งสิ้น 94,000,000 บาท โครงการนี้จึงเป็นพันธกิจสำ�คัญ ของทุก ๆ ท่าน ที่จะได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทำ�บุญสร้างกุศล ครั้งยิ่งใหญ่ ในชีวิตกับโรตารี และโรงพยาบาลลำ�ปาง ร่วมแสดงออกถึง พระมหากรุณาธิคุณ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง มีต่อพสกนิกรของพระองค์ตลอดมา และเพื่อน้อมเกล้า ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล ในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว จะทรงมีพระชนม์มายุครบ 84 พรรษา ใน วันที่ 5 ธันวาคม 2554 โดยพร้อมเพรียงกัน จนถึงขณะนี้ โครงการได้รับการสนับสนุนจากผู้มีกุศลจิตแล้ว 258 ราย เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น มากกว่า 6 ล้านบาท (ไม่รวมงาน กาล่าดินเนอร์)

มกราคม ๒๕๕๓


ข้างหลังภาพ

โครงการโรตารี สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจโรงพยาบ และในวันที่ 6 มกราคม 2553 เวลา 18.00 น. ที่ ผ่านมา ได้จัดงาน กาล่าดินเนอร์ เพื่อหาทุนสมทบโครงการ ฯ ณ หอประชุมอาคารบุญชูตรีทอง โรงเรียนบุญวาทย์ วิทยาลัย บัตรร่วมงานราคาโต๊ะละ 20,000 บาท และ 10,000 บาท หรือบัตรละ 2,000 บาท และ 1,000 บาท สำ�หรับผู้ บริจาค 50,000 บาทขึ้นไป จะได้รับโล่เกียรติยศ สลักชื่อ จาก ฯพณฯ องคมนตรี ฯ ฯพณฯ องคมนตรี ศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ นพ.เกษม วัฒนชัย ให้เกียรติเป็นประธาน และปาฐกถา พิเศษ เรื่อง วิกฤตโลก-โอกาสไทย งานนี้มี พล.ต.ต.อรรถ กิจ กรณ์ทอง ผู้บังคับการตำ�รวจภูจังหวัดลำ�ปาง เป็น ประธานจัดงาน มีผู้ร่วมงานอย่างคับคั่ง นับตั้งแต่ ผู้ว่า ราชการจังหวัด นักการเมือง อดีตรัฐมนตรี ตลอดจนหน่วย งานภาครั ฐ -ภาคเอกชนพ่ อ ค้ า คหบดี และประชาชน ประมาณ 1000 คน งานนี้ได้มีการประมูล พระพุทธประธาน ยศบารมี ขนาดหน้าตัก 9 นิ้ว หมายเลข 327 บริจาคโดย ประธานคณะกรรมการจัดกิจกรรมพิเศษ เพื่อหารายได้ สมทบทุน พล.ต.ท.สมคิด บุญถนอม ผู้บัญชาการตำ�รวจ ภูธรภาค 5 ออกแบบโดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินเอกล้านนา ผู้บรรจงสร้างพระพุทธประทานยศบารมี ซึ่งเลิศล้ำ�ด้วยพุทธศิลป์ พุทธลักษณะ พุทธคุณ เป็นผลงาน ชิน ้ เอกอุในรัชสมัยแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพ ิ ล อดุลเดช มหาราช เป็นผู้ดำ�เนินการประมูลด้วยตนเอง ผู้ ชนะการประมูลได้แก่ พล.ต.ต.สมหมาย กองวิสัยสุข ผู้ บังคับการตำ�รวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่ โดยประมูลได้ ใน

มกราคม ๒๕๕๓

ราคาบูชาองค์ละ 1,200,000 บาท และ มีพิธีมอบโล่ ให้กับผู้ บริจาครายใหญ่ มีจำ�นวนกว่า 30 ราย งานนี้แม่งานใหญ่ คือสโมสรโรตารีในจังหวัดลำ �ปางยิ้มอย่างเบิกบาน งาน สำ�เร็จเกินคาดทีเดียว รายได้จากงานนี้รวมทั้งสิ้น 4,800,000 บาท และสุดท้าย ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบของที่ระลึก แด่ ท่ า น องคมนตรี ฯพณฯศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ นพ.เกษม วัฒนชัย ขอเชิญร่วมสนับสนุนและบริจาค โดย: โอนเข้า บัญชี ” โครงการโรตารีสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจถวายในหลวง 84 พรรษา” 1. ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาลำ�ปาง บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 254-4-87665-5 2. ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) สาขาประตู ชัย จ.ลำ�ปาง บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 536-0-41786-2 3. ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) สาขาท่าแพ เชียงใหม่ บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 501-0-27452-3 หรือ นำ�ส่งเงินสนับสนุนได้ที่: คุ ณ อธิ ษ ฐาน วงค์ ใ หญ่ รองผู้ อำ � นวยการโรง พยาบาลลำ�ปาง โรงพยาบาลลำ�ปาง อ.เมือง จ.ลำ�ปาง โทร. 0-5422-3623 โทรสาร 0-5422-2443 มือถือ 08-1562-3008 หรือ นำ�ส่งเงินสนับสนุนได้ที่: พญ.วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล คลินิกหมอวรรณ จันทร์-จรัส 82/1 ถ.ชัยภูมิ ต.ช้างม่อย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 โทร.0-5325-2500 โทรสาร 0-5322-5318 มือถือ 089263-2846 E-mail: vanacharas@yahoo.com

23 22


บาลลํำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา และภายในปลายเดือน มกราคม 2553 จะเริ่ม กิจกรรมหารายได้ เปิดสวิทซ์หัวใจ CONCERT การกุศล 8 จังหวัด ภาคเหนือ สมทบโครงการโรตารีสร้างศูนย์ผ่าตัด หัวใจ โรงพยาบาลลำ�ปางเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จัด โดย คณะกรรมการจัดกิจกรรมพิเศษ โดย มี ฯพณฯ องคมนตรี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒน ชัย เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และที่ปรึกษาอีกหลายท่าน ได้แก่ พลตรี นิธินันท์ ไชยวัฒนพันธุ์ ผู้บัญชาการมณฑล ทหารบกที่ 32 พลตรี ชานุกร ตัณฑโกศล ผูบ้ ญ ั ชาการมณฑล ทหารบกที่ 33 พลตรี ปราการ ชลยุทธ ผู้บัญชาการ กอง กำ�ลังผาเมือง นายอมรพันธ์ นิมานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัด เชียงใหม่ นาย ศุภกิจ บุญญฤทธิพงษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ลำ�ปาง นายไพโรจน์ แสงภู่วงษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัด เชียงใหม่ นายแพทย์ ทรงวุฒิ ทรัพทวีสิน ผู้อำ�นวยการโรง พยาบาล ประธานคณะกรรมการกิจกรรมพิเศษ พลตำ�รวจโทสมคิด บุญถนอม ผู้บัญชาการตำ�รวจภูธรภาค 5 รองประธาน พลตำ�รวจตรี อรรถกิจ กรทอง ผู้บังคับการ ตำ�รวจภูธรจังหวัดลำ�ปาง นาย ชนะ เอกอิสรกุล ประธานโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ สโมสรโรตารีล้านนาเชียงใหม่ เป็นผู้ดำ�เนินการขายบัตร CONCERT และยังมีกรรมการฝ่ายต่าง ๆ อีกมากมาย โดย CONCERT การกุศลจะจัดเป็น 8 รอบ 8 จังหวัดภาคเหนือ ดังนี้:

22 23

รอบที่ 1 จัด CONCERT ที่จังหวัดลำ�ปาง วันที่ 28 มกราคม 2553 ณ หอประชุมอาคารบุญชูตรีทอง รร.บุญ วาทย์วิทยาลัย รอบที่ 2 จัด CONCERT ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ วันที่ 29 มกราคม 2553 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รอบที่ 3 จัด CONCERT ที่ จังหวัดเชียงราย วันที่ มีนาคม 2553 รอบที่ 4 จัด CONCERT ที่ จังหวัดพะเยา พฤษภาคม 2553 รอบที่ 5 จัด CONCERT ที่ จังหวัดแพร่ กรกฎาคม 2553 รอบที่ 6 จัด CONCERT ที่ จังหวัดน่าน สิงหาคม 2553 รอบที่ 7 จัด CONCERT ที่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตุลาคม 2553 รอบที่ 8 จัด CONCERT ที่ จังหวัดตาก ธันวาคม 2553 บัตร CONCERT ราคาบัตรละ 500 บาท และ 1,000 บาท และปิดด้วยงาน กาล่าดินเนอร์ ครัง้ ใหญ่ ทีจ่ งั หวัด เชียงใหม่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2557 ขอขอบพระคุณ ทุกภาคส่วน ที่มีส่วนร่วม ในกิจกรรม บำ�เพ็ญประโยชน์ครั้งยิ่งใหญ่ ของโรตารีสากล ภาค 3360 ใน ครั้งนี้ โครงการโรตารี สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา อยู่ในมือของทุกท่าน และของ ประชาชนคนไทยทุกคน

มกราคม ๒๕๕๓


At a glance...

Historic Moments RI Themes

อน.ศุภรี ฉัตรกันยารัตน์ สโมสรโรตารี เชียงใหม่เหนือ

ช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ คติพจน์โรตารีสากล มกราคม ๒๕๕๓

24 25


ช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ – คติพจน์โรตารีสากล ในเดือนมกราคมของทุกปี ผู้ว่าการภาครับ เลือกจะต้องเดินทางไปประชุม International Assembly เพื่อรับการฝึกอบรมและเพื่อมิตรภาพ ซึ่งสิ่งที่ทุกคน จะได้รับแน่ๆ มี 2 อย่างคือ การบ้านที่จะต้องทำ�โดย การศึกษาเอกสารต่าง ๆ จำ�นวนมาก และรับทราบ การประกาศคติพจน์โรตารีสากลอันใหม่ ธรรมเนียมของการประดิษฐ์ถ้อยคำ�เพื่อเป็น คติพจน์เริ่มในปี 1949-50 ในปีของประธานโรตารีสากล เปอร์ซีย์ ซี ฮอดจ์สัน ผู้ซึ่งขึ้นป้ายวัตถุประสงค์ 4 ประการสำ�หรับวาระของท่านในที่ทำ�งาน ในสิ่งต่างๆ เหล่านั้น เช่น การริเริ่มทำ�สิ่งที่ดีกว่าสำ�หรับพื้นฐาน ของการบริการด้านอาชีพ การเสียสละเพื่อสร้างความ เข้าใจอันดีและสันติภาพในโลก ผ่านโปรแกรมบริการ ระหว่างประเทศ แม้ว่าคำ�ประกาศของฮัดสัน จะยาวถึง 83 ถ้อยคำ� และก็ยังอยู่มายาวนาน กว่าคติพจน์เด็ดๆ หลายอันที่สั้นกว่าในวันนี้ แต่ความมุ่งมั่นของ โรแท เรียน ในการส่งเสริมและสนับสนุนโปรแกรมการให้ บริการของประธานโรตารีสากลของพวกเขาในแต่ละปี ก็ยงั คงดำ�เนินไปเหมือนกันเช่นทุกปี ยังมีคติพจน์ของ

ท่านอื่น ๆ อีกในยุคเริ่มแรก รวมทั้ง Rotary Is Hope in Action (โดย:โจอาควิน เซอราโตซา ซิบิลส์, 195354), Kindle the Spark Within (โดย:นิทิช ซี ลาฮาร์, 1962-63), และ Good Will Begins with You หรือ “ความหวังดีตั้งต้นที่ตัวท่าน” (โดย:เอิร์นสท์ จี บรีท ทอลซ์, 1971-72). ในทศวรรษต่อมา ประธานโรตารีสากลจะ ประกาศแนะนำ�โลโก้คติพจน์ และนำ�ไปประกอบในรูป แบบของเข็มกลัด เน็คไท และผ้าพันคอ เนคไทคติพจน์ เริ่มมีขึ้นในช่วงประมาณปี 1990 และมีออกมาติดต่อ กันทุกปี มีหลายอย่างที่นำ�มาออกแบบร่วมกับคติพจน์ ของแต่ละปี ผ้าพันคอที่มีคติพจน์ Follow Your Rotary Dream ถู ก ออกแบบเป็น ครั้ง แรกปี 1998-99 โดย ประธานโรตารีสากล เจมส์ แอล เลซีและคลอดีนภริยา รายละเอียดของคติพจน์ของอดีตประธานโรตา รีสากลสามารถหาพบได้ในทำ�เนียบที่เป็นทางการของ โรตารี หมายเหตุ Rotary Is Hope in Action และ Kindle the Spark Within ไม่มีการแปลเป็นภาษาไทยอย่าง เป็นทางการ

Historic Moments -- RI themes

By Susan Hanf Rotary International News -- 23 December 2009 Each January, as Rotary district governors-elect convene at the International Assembly for training and fellowship, they can be certain of two things: a lot of take-home reading and the announcement of a new RI theme. The tradition of crafting a theme is credited to 1949-50 RI President Percy C. Hodgson, who outlined a list of four objectives for his term in office. Among them were the better application of the principles of vocational service and dedication to world understanding and peace through international service programs. Though Hodgson’s 83-word proclamation ran substantially longer than today’s shorter, punchier themes, Rotarians’ desire to celebrate and support their president’s annual program of service has remained the same. Other early themes include Rotary Is Hope in Action (Joaquin Serratosa Cibils, 1953-54), Kindle the Spark Within (Nitish C. Laharry, 1962-63), and Good Will Begins with You (Ernst G. Breitholtz, 1971-72). In the decades that followed, RI presidents introduced theme logos, lapel pins, ties, and scarves. Theme ties were introduced in the 1990s, and are now given out yearly. Many have incorporated the theme for the year. The first scarves showing the RI theme were designed by 1998-99 RI President James L. Lacy and his wife, Claudine, Follow Your Rotary Dream. A list of past presidents and RI themes can be found in the Official Directory

25 24

มกราคม ๒๕๕๓


DISTRICT CONFERENCE การประชุมใหญ่ประจำ�ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ ภาค 3360 โรตารีสากล วันเสาร์และอาทิตย์ ที่ 13-14 มีนาคม 2553 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่

“มากันให้ได้ ไปกันให้มาก โอกาสรวมกัน มันช่างน้อยนิด เจอะกันจากหลากทิศ ชีวิตมัน แสนจะชุ่มใจ” อน.นฤชล อาภรณ์รัตน์ ประธานจัดงาน สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม และสโมสรโรตารี ในจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมเป็นเจ้าภาพ “ขอเรียนเชิญท่านสุภาพบุรุษ และท่านสุภาพสตรี สวมใส่ชุดพื้นเมือง หรือชุดล้านนาไทย เพื่อแสดงถึง วัฒนธรรมท้องถิ่นแห่งล้านนาไทย” ดื่มด่ำ�กับมิตรภาพ ดนตรีไพเราะ การแสดงสุด อลังการ ของเยาวชนแลกเปลี่ยน และโรแทเรียน อิ่มอร่อยกับอาหารจีนเลิศรส ร่วมต้อนรับ ผู้แทนประธานโรตารีสากล จาก ประเทศไต้หวัน ในค่ำ�คืนงานเลี้ยงรับรอง

มกราคม ๒๕๕๓

26 27


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

ปัง ปัง ปัง.... เสียงดวลปืน ดังสนั่นหวั่นไหว ของเสือพงษ์ และ สิงห์ไพ เป็นการเปิดงาน ค่ำ�คืนของเหล่าคาราวานคาวบอย ที่เรียก เสียงกรี๊ดกร๊าด จากบรรดาแม่ยกคาวบอย ทั้งหลาย ทางด้านล่างเวทีกันดังระงม ณ สถานทีจ่ ดั งาน มูลนิธกิ วงเม้ง แม่สาย ห้องประชุมปกติในวันนีไ้ ด้แปลง สภาพกลายเป็น Saloon de Rotary (ซาลูน เดอ โรตารี) ขนาดใหญ่ของเหล่า คาวบอย คาวเกิร์ล คาวคิดส์ คาวหนุ่ม คาวสว. ทุกคนต่างพร้อมใจกันแต่งกาย ชุดที่คิดว่าคาวบอยที่สุด มาร่วมงาน “อุ่นใจ ไอหนาว คาวบอย” ในค่ำ�คืนแห่ง แสงจันทร์ และลมหนาว พรูพร่าง วันคริสต์มาส เพื่อร่วมฉลองความสุข เหมือน ผู้คนอื่นๆ ทั่วทุกมุมโลก หน้างานบริเวณทางเข้า ภาพแห่งที่ราบ ท้องทุ่งกว้างของเหล่าคาวบอย ทั้งหลาย ได้ถูกจำ�ลองเป็นฉากหลังขนาดใหญ่ยักษ์ สำ�หรับทุกคนได้บันทึกภาพ ไว้เป็นที่ระลึก น้องๆ อินเตอร์แรคท์ จาก โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ วัน นี้ยกสโมสรฯมาร่วมงานในชุดคาวบอย สุดแสนจะคึกคักอยู่บริเวณทางเข้า เสียง เพลงจากวงดนตรี แบนโจแมน แสดงสดสร้างบรรยากาศอยู่ด้านหน้างาน

27 26

มกราคม ๒๕๕๓


บ้านเลขที่ 3360 R.I.

ยิปปี้ ยิปปี้ ยาห์ ... ยิปปี้ ยิปปี้ เยห์ ... เป็นคำ�อุทาน ทีท่ กุ คนในซาลูน พร้อมใจกันร้อง ตะโกนออกมา เพื่อแสดงถึงความสุข สนุกสนาน ที่มีอยู่ ในค่ำ�คืนนั้น อาหารคาวหวานนานาชนิดได้รับการ สนั บ สนุ น จากหลากหลายองค์ ก รไม่ ว่ า จะเป็ น ชมรม ต่างๆ ธนาคารแทบจะทุกธนาคาร และมวลมิตรโรแท เรี่ยนตลอดจนโรตารีแอนน์ เรื่องความเอร็ดอร่อยนั้น ไม่ต้องพูดถึง ! เป็นค่ำ�คืนแห่งการสังสรรค์อย่างสุขสันต์ ที่แท้ จริง ผูค้ นจำ�นวนกว่า สีร่ อ้ ยถึงห้าร้อยคน คลาคล่ำ� แน่น เอี้ยด กันอยู่ในหอประชุมฯ หรือ ซาลูน มีทั้งนั่ง ทั้งยืน ต่างคนต่างหามุมที่ถูกใจ เสียงพูดคุย เฮฮา ดังกระหึ่ม เคล้าคลอกับการแสดง และเสียงเพลงที่คัดเลือกมาแล้ว ว่าจะเป็นรูปแบบของ คาวบอย...สุด ๆ ถ้าไม่พูดถึงเบื้องหลังของการจัดงาน คงจะไม่ สมบูรณ์เป็นแน่แท้ โดยเฉพาะพลังแห่งมิตรภาพ อันยิ่ง ใหญ่ในสโมสรฯ ที่ทำ�ให้เกิดความร่วมไม้ร่วมมือ จนงาน ค่ำ�คืนนั้นสำ�เร็จ และเป็นของขวัญปีใหม่ให้แก่ชุมชน อย่างแท้จริง นอกจากสะท้อนถึงความรัก ความสามัคคี ในสโมสรฯ แล้วยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงการยอมรับ ของคนในชุมชนที่มีต่อองค์กร โรตารี โดยเห็นได้จาก การให้ความร่วมมืออย่างดีเยี่ยมในทุกๆด้าน เมื่อทราบ ว่า โรตารี จะเป็นผู้ดำ�เนินการจัดงาน สโมสรโรตารีแม่สายฯ ก็เหมือนกับสโมสรฯ อืน ่ ๆ อีกทั่วโลก ที่ประกอบไปด้วยผู้คนหลากหลายอาชีพ ที่มี ที่มาหลากหลาย ต่างประสบการณ์ ทั้งความคิดและ แนวทางการดำ�เนินชีวิต หลายๆท่านทุ่มเทให้กับกิจกรรมเท่านั้น หลาย คนก็อาจจะเฮฮามากหน่อย กิจกรรมน้อยหน่อย หลาย คนก็... อย่างที่ทราบๆ กัน คงไม่ต้องให้กล่าวถึง แต่ทุก คนมีมิตรภาพระหว่างกันและกันเสมอ หลายครัง้ หลายครา เราทุม่ เทให้กบั ผูด้ อ้ ยโอกาส ที่อยู่ในที่ห่างไกล นับครั้งไม่ถ้วน ในขณะผู้คนในเมือง ในชุมชนที่อยู่รอบๆข้างยังไม่ทราบว่า โรตารี คืออะไร อย่างแท้จริง ซึ่งทำ�ให้เป็นปัญหาที่ตามติดมาเหมือนกัน ทั่วโลก คือ ความลำ�บากยากเย็นในการหา สมาชิกใหม่ ความหลากหลายของผู้ ค นในสั ง คม ที่ มี ทั้ ง พร้อมและกึ่งพร้อมที่จะเสียสละในการบำ�เพ็ญประโยชน์ เมื่อมาเจอะเจอ โรตารีในรูปแบบเข้มข้น ก็อาจจะเกิด การสร้างภาพว่า เป็นองค์กรที่จริงจังและดูเคร่งเครียด เคร่งครัด เกินกว่าที่จะเข้ามาเป็นสมาชิก ความบันเทิง สนุกสนาน สอดแทรก โรตารี แต่ พองามในโอกาสสังสรรค์ คงจะเป็นทางเลือกที่จะทำ�ให้

มกราคม ๒๕๕๓

28 29


ผู้คนที่ยังไม่ได้ร่วมเป็นสายเลือดเดียวกับโรตารี ได้รับ ความสบายใจในการที่จะเข้าสังเกตุการณ์ และติดตาม ในโอกาสต่อๆไป ส่วนแค่ไหนจะเรียกว่างาม เรียกว่า พอดี คงไม่มีสูตรสำ�เร็จ ขึ้นอยู่กับแต่ละสิ่งแวดล้อมและ ชุมชน รวมทั้งผู้ที่จะมาร่วมงานในแต่ละงาน ใน ซาลูน เดอ โรตารี ผู้คนเริ่มทยอยเดินทาง กลั บ แต่ ยั ง มี อี ก หลายคนที่ ยั ง จั บ กลุ่ ม คุ ย กั น อย่ า ง สนุกสนาน ด้านหน้าเวที เสียงเพลงจากนักร้องสมัคร เล่นแต่ร้องจริง ยังคงขับกล่อมกันอย่างไม่ยอมหยุด หย่อน สมาชิกสโมสรฯทุกคน ต่างยืนรวมกันอยู่ด้าน หน้างานเพื่อกล่าวอำ�ลาส่ง และขอบคุณผู้ที่มาร่วมงาน พร้อมรอยยิ้ม เมื่อได้รับคำ�ชมเชยจากแขกทุกท่าน “ไม่น่าเชื่อเลยว่า จะทำ�ให้บรรยากาศที่ออกจีนๆ ของ กวางเม้ง กลายเป็น โรงนาของคาวบอยได้...” แขกท่าน นี้ชื่นชมบรรยากาศ แสดงว่ามาใช้ห้องประชุมนี้บ่อย “อาหารอร่อยจริงๆ มีให้เลือกเยอะ จนไม่รู้จะเลือกอะไร ดี”.. ส่วนท่านนี้ คงจะเป็นนักชิมมืออาชีพ “การแสดงน้อยไปหน่อยนะนึกว่าจะมีมากกว่านี้” ... โรแทเรียนทั้งหลาย ธุรกิจกำ�ลังเฟื่องฟูช่วงปลายปี ไม่มี เวลาซ้อม ขอติดไว้งานหน้าก็แล้วกัน “พิธีการโรตารีเยอะไป พูดมากไปแต่บรรยากาศเป็น กันเองดีมาก” ... ท่านนี้มาแนวเน้นสนุกสนาน ส่วนให้ พูดน้อย.. สงสัยจะแก้ไขยาก (ฮา).. งานจบลงแล้วอย่างงดงามทั้งในความรู้สึกของ พวกเราทุกคน และแขกที่มาร่วมงาน เป็นอีกครั้งหนึ่ง ที่ โ รตารี ไ ด้ ป ระชาสั ม พั น ธ์ พร้ อ มมอบความสุ ข สนุ ก สนานให้ แ ก่ ผู้ ค น รวมถึ ง พวกเราด้ ว ยกั น เอง เป็นการบริการผู้อื่นเหนือตน ในอีกรูปแบบหนึ่ง

Yippi Yippi Yah!….. Yippi Yippi Yeh!.....

ปล. ไม่ต้องแปลกใจว่าเจ้าของคอลัมน์ ดร.บุษบง สำ�นวนและ เนือ้ หาเปลีย่ นไป๋ เพราะท่านต้องเดินทางไปร่วมประชุมกับ ผวล. นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี ในฐานะคู่ครอง และเมือท่านกลับ มา เราคงจะได้รับทราบอะไรดีๆ และอัพเดทเข้ากับยุคสมัย เหมือนเดิม โปรดรอติดตาม ได้ในฉบับต่อๆไป บอกอมวยแทน (ชมบรรยากาศอย่างครบถ้วนได้ที่ www.rotarymaesai.com)

29 28

มกราคม ๒๕๕๓


หนึ่ง ใน ๑๐๐

อน.จันทนี เทียนวิจิตร สโมสรโรตารี ล้านนา เชียงใหม่

งานกาลาดินเนอร์เพือ่ โครงการ “เปิดสวิทช์หัวใจ สร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ โรงพยาบาลลำ�ปาง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา” เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2553 ณ หอประชุมโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จ. ลำ�ปาง ได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ ศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี มาปาฐกถาเรื่อง “วิกฤติ โลก – โอกาสไทย” สารผู้ว่าการภาค คอลัมน์ “๑ ในร้อย” ก็ไม่พลาดที่จะขอ นัดสัมภาษณ์ท่านองคมนตรี ซึ่งเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ เมื่อท่านเดินทางมาจากกรุงเทพมหานคร ถึงท่าอากาศยานเชียงใหม่ เวลา 15.30 น. และกำ�หนดถึงลำ�ปางเกือบๆ ห้าโมง ซึ่งท่านได้นัด “๑ ในร้อย” ไว้เวลาห้าโมงเย็น แต่เราก็ไปก่อนหนึ่งชั่วโมง เมื่อท่านเดินทางมาถึงคณะ กรรมการจัดงานก็ได้คอยต้อนรับและทักทาย แต่เมื่อท่านทราบว่าคอลัมน์ “๑ ในร้อย” มาสัมภาษณ์ท่านก็ยินดีให้สัมภาษณ์ก่อนภารกิจอื่น แม้ว่าระหว่างนั้น จะมีผูใ้ หญ่หลายๆ ท่านเข้ามาทักทายท่านก็จะยกมือสวัสดี และบอกว่าขอให้สมั ภาษณ์ ลงสารฯ ก่อน ทำ�ให้เราเป็นปลื้ม เราไปพบกับท่านเลยค่ะ

บทสัมภาษณ์ มกราคม ๒๕๕๓

ฯพณฯ

30 31


๑ ในร้อย: ท่านเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ (แพทย์ทางเลือก วุฒบิ ตั ร) ด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด อยากเรียนถามเกีย่ ว กับสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคหัวใจว่าเป็นอย่างไรบ้าง ศ.น.พ.เกษม: มีโรคหัวใจและหลอดเลือด ถ้าพูดถึงเฉพาะ โรคหัวใจ แบ่งประเภทตามกลุ่มอายุดูจะเข้าใจง่าย กลุม่ แรกก็เป็นเด็กแรกเกิดและเด็กเล็ก ซึง่ เป็นโรค หัวใจพิการแต่กำ�เนิด โรคหัวใจพิการแต่กำ�เนิดก็มีหลาย ประเภท ตัง้ แต่ประเภทรุนแรงเกิดมาแล้วก็เสียชีวติ เลย กลุม่ ที่ ส องเกิ ด มาแล้ ว ต้ อ งรีบแก้ไข ต้อ งผ่าตัดแก้ไขมีความ รุนแรงหลายระดับ ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด แพทย์โรคหัวใจ เด็กต้องวินัยฉัยก่อน กลุ่มที่สามเป็นผู้ใหญ่ในภาคเหนือเรา มีที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่อื่นก็ยังไม่ ค่อยถนัดเท่าไหร่ โรคหัวใจแต่กำ�เนิดบางชนิดเกิดจากผนัง กั้นหัวใจมีรูรั่ว ตอนหลังแพทย์พยายามที่จะใช้สายสวนขึ้น ไปที่หัวใจแล้วก็เอาแผ่นไปแปะโดยไม่ต้องผ่าที่หน้าอก ซึ่ง ผมคิดว่าความเจริญก็ค่อยๆ เข้ามาทำ�ให้ไม่ต้องผ่าที่หัวใจ แล้วเย็บซ่อมอีกที ซึ่งตรงนี้ก็จะเป็นความเจริญต่อไป กลุม่ ทีส่ องทีเ่ ป็นโรคหัวใจแต่ก�ำ เนิด มีความรุนแรง แต่กำ�เนิด บางชนิดก็อยู่ไม่ได้หรือว่าเสียชีวิตเมื่อโตขึ้น บาง ชนิดก็อยูไ่ ด้จนถึงเป็นผู้ใหญ่ก็มเี หมือนกัน กลุม่ ทีส่ องนีเ้ ป็น โรคลิ้นหัวใจพิการรูมาติค (Rheumatic heart disease) รู มาติคนี่เราพิสูจน์ได้ว่าตอนเด็กๆ ผู้ป่วยได้รับเชื้อเจ็บคอ และมีไข้ เป็นเชือ้ โรคชนิดหนึง่ ทีเ่ ราเรียกว่าสเตร็บโตคอคคัส (Streptococcus) ซึ่งมักจะพบในบริเวณชุมชนที่ยากจน เวลาลูกหลานเป็นไข้เจ็บคอก็ไม่ได้ไปหาหมอ บางครัง้ ก็หาย เอง แต่ผลของมันจะทำ�ให้ลิ้นหัวใจอักเสบ ตอนหลังก็พิการ เช่น ตีบ หรือรั่ว ก็จะออกอาการมาเป็นโรคลิ้นหัวใจตีบและ รั่ว ส่วนมากจะมาออกอาการอายุ ๒๐ หรือ ๓๐ ปีตอน กำ�ลังจะแต่งงาน กำ�ลังจะเป็นผู้ใหญ่ ก็ต้องรักษาด้วยการ รักษาลิ้นหัวใจ แต่ถ้าตีบไม่ต้องผ่าก็ถ่างลิ้นหัวใจ ซึ่งอันนี้ ต้องมีหมอที่ชำ�นาญทางด้านนี้ กลุ่ ม ที่ ส ามเป็ น กลุ่ ม ที่ อ ายุ ม ากหน่ อ ย เป็ นโรค หลอดเลือดที่ลิ้นหัวใจที่มันตีบเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ที่เป็นกันเยอะๆ หลอดเลือดโคโรนารี (Coronary) ตีบ หัวใจ มนุษย์ทุกคนเป็นกล้ามเนื้อ ตัวมันเองต้องมีเลือดมาเลี้ยง ระบบหลอดเลือดที่มาเลี้ยงหัวใจเรียกว่าหลอดเลือดโคโรนา รี โคโรน่าแปลว่ามงกุฎ หลอดเลือดพวกนี้มันจะออกมาจาก หลอดเลือดใหญ่แล้วกระจายคร่อมหัวใจเหมือนกับมงกุฎ เขาเลยตั้งชื่อว่าโคโรนารี หลอดเลือดพวกนี้มักจะตีบตั้งแต่ อายุยี่สิบ, สามสิบปีขึ้นไป ๑ ในร้อย: ก่อนหน้านี้ไม่มีสัญญานหรือคะ ศ.น.พ.เกษม: บางทีตีบแล้วไม่มีสัญญาน เป็นครั้งแรกตาย เลยก็มี แต่ว่าส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บหน้าอกเวลาทำ�งาน ออกกำ�ลังต่างๆ อันนี้สมัยก่อนเวลารักษาต้องทำ�การผ่าตัด ที่เขาเรียกว่าบายพาส บายพาสคือการเอาเส้นเลือดใหม่ที่ อื่น เช่น ที่ขาหรือที่มือ แล้วเอามาแทนที่บริเวณที่ตีบเพื่อ จะได้เลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจจะได้ ทำ�งานต่อไปได้ ตอนหลังมีการทำ�บอลลูน บอลลูนก็คือเอา

สายสวนสอดเข้าไป พอพ้นรอยตีบแล้วก็ฉีดลมให้บอลลูน มันโผล่ขึ้นมาแล้วก็กระตุก พอกระตุกคืนมาบริเวณตีบก็จะ หลุดไม่ตีบต่อไป บางทีใส่สเต้นท์ สเต้นท์ (Stent) ก็คือขด ลวดเอาไปขวางไว้บริเวณตีบ เวลาเอาบอลลูนออกแล้วมัน ก็ตีบอีกเราก็เอาขดลวดไปถ่างไว้ เลือดก็จะไปเลี้ยงหัวใจได้ เราอาจจะได้ยินว่าสมัยก่อนต้องทำ�บายพาสคือผ่าตัดหัวใจ ต่อมามีทำ�บอลลูน ต่อมามีใส่สเต๊นท์นะ สเต๊นท์ก็อยู่กับคน นั้นตลอด เป็นขดโลหะพิเศษ พวกนี้การผ่าตัดต้องอาศัย ศูนย์การแพทย์ โรงพยาบาลจังหวัดทั่วไปมักจะทำ�ไม่ได้ อย่างในกลุ่มโรคหัวใจทั้งสามกลุ่ม ที่จริงมีโรคหัวใจอื่นอีก เยอะ แต่จะมีสามกลุ่มนี้จะมากหน่อย ขณะนี้เราลองนึก ภาพดูนะครับว่าเมื่อยี่สิบสามสิบปีก่อนใครที่เป็นโรคหัวใจ พวกนี้เราก็ผ่ากันด้วยวิธีที่สมัยก่อนผ่ากัน ซึ่งก็มีอันตราย เยอะมาก ส่วนโรคหลอดเลือดตีบ ส่วนมากเราเคยได้ยินว่า ผูใ้ หญ่ในบ้านเมืองจะไปผ่าตัดทีอ่ เมริกาครัง้ ละหนึง่ ล้านหรือ สองล้านบาทบ้าง แต่ผมเรียนว่าขณะนี้ในประเทศไทยเรา เรามีหมอไทย ที่ไปเรียนเรื่องพวกนี้มามาอยู่ในศูนย์การ แพทย์ที่สามารถทำ�ได้เยอะแยะ ส่วนใหญ่ศูนย์การแพทย์ที่ ผ่าตัดหัวใจได้จะอยู่ในกรุงเทพและปริมณฑล ผมสามารถ พูดได้ว่าอย่างในอีสานทั้ง ๑๗ จังหวัด คนตั้งหนึ่งในสาม ของประเทศ จะไปรักษาได้ทคี่ ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่นเท่านั้น ที่อื่นก็อาจจะยังไม่คุ้นชินนัก หมอยังไม่ พร้อมนัก อย่างในภาคใต้ก็ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในภาคเหนือก็ที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เขามีทีม เท่าที่ทราบในภาคเหนือ ๑๗ จังหวัดนี่เรามีคนไข้ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ คนแก่ที่รอจะผ่าตัดที่คณะแพทย์ มช. หรือโรงพยาบาลสวนดอกนีต่ อ้ งเข้าคิวปีกว่า ปีกว่านีถ่ า้ เป็น โรคหัวใจแต่กำ�เนิด บางคนก็อาจจะรอไม่ได้เสียชิวิตไปก่อน จากการติดเชื้อบ้าง หรือคนที่โรคลิ้นหัวใจตีบหรือรั่วก็เกิด โรคหัวใจวาย หรือคนที่เส้นเลือดหัวใจตีบอาจจะเสียชีวิต อาจเป็นลมตายไปเสียก่อน อย่างนี้เป็นต้น อีกแห่งหนึ่งที่ กำ � ลั ง พยายามจะตั้ ง ศู น ย์ ผ่ า ตั ด โรคหั ว ใจ คื อ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก อัน นั้นกำ�ลังเริ่มต้น แต่ว่าโดยภาพรวมแล้วถ้าในภาคเหนือสิบ เจ็ดจังหวัดเรามีคนหลายล้านคน ถ้าเรามีเพียงศูนย์เดียว ไม่ พ อแน่ น อน หรื อ จะมี ส องศู น ย์ ร วมทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวรด้วยผมก็เชื่อว่ายังไม่พอ เพราะฉะนั้นการที่โรตารี จะร่วมมือกันกับรัฐบาลแล้วมาทำ�ศูนยผ่าตัดโรคหัวใจที่ ลำ�ปางก็เป็นกิจกรรมที่น่าสรรเสริญเป็นการช่วยเหลือกัน ๑ ในร้อย: ในสัดส่วนของคนที่เป็นโรคหัวใจเยอะไหมคะถ้า เทียบกับโรคอื่นๆ ศ.น.พ.เกษม: แล้วแต่ประเภท อย่างเด็กที่เป็นโรคหัวใจก็ มีอยู่ตลอด ผมมีโอกาสได้ตามเสด็จสมเด็จพระเทพฯ ไปยัง โรงเรียนที่อยู่ชายแดน แล้วส่วนมากทุกครั้งที่ท่านเสด็จจะ มีหน่วยแพทย์พระราชทานเพือ่ ตามเสด็จให้การตรวจรักษา คนไข้ ก็ จ ะมี ค นไข้ โ รคหั ว ใจเฝ้ า รั บ เสด็ จ เพื่ อ จะขอ พระราชทาน พระราชานุเคราะห์เป็นคนไข้ในพระบรมราชา นุเคราะห์ของพระเจ้าอยูห่ วั เราก็เจอโรคหัวใจอยูต่ ลอด บาง

องคมนตรี ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย 31 30

มกราคม ๒๕๕๓


หนึ่ง ใน ๑๐๐

แห่งอย่างปลายเดือนที่แล้วเสด็จไปที่จังหวัดตากมีนั่งรออยู่ หลายคน ๑ ในร้อย: คนไข้ในพระบรมราชานุเคราะห์ ต้องรอคิวตาม ปกติไหมคะ ศ.น.พ.เกษม: ก็ต้องรอตามปกติ บางคนก็ยังไม่เคยได้รับ การรักษามาก่อนเลย ผมคิดว่าเป็นเรื่องใหญ่ ถ้ามีที่ลำ�ปาง อีกศูนย์หนึ่งน่าจะดี ๑ ในร้อย: เห็นโรงพยาบาลเอกชนโฆษณาว่ามีบริการผ่าตัด โรคหัวใจ ค่าใช้จ่ายคงจะสูงมาก ศ.น.พ.เกษม: ราคาผมนี่ไม่ทราบ แต่เท่าที่ฟังๆ ดูโรง พยาบาลเอกชนในกรุงเทพก็หลายแสน ถ้ามีที่ศูนย์ลำ�ปางใน ฐานะโรงพยาบาลของรัฐ ค่าใช้จ่ายคงไม่สูง ถ้าเป็นโรง พยาบาลเอกชนเขาต้องลงทุนเอง อันนี้เราไม่ว่ากัน ถ้าเป็น ของรัฐๆ ก็ลงทุนทั้งบุคลากรและเครื่องมือ ก็อาจจะเสียน้อย หน่อย ถ้าเป็นคนไข้ทีจ่ นจริงๆ อาจจะมีงบประมาณการกุศล ช่วยเหลือก็ว่ากันไป ๑ ในร้อย: แพทย์ทางเลือกด้านโรคหัวใจเรามีพอไหมคะ ศ.น.พ.เกษม: ต้องฝึกอบรม ถ้าโรงพยาบาลลำ�ปางตกลงจะ มีศูนย์ผมก็แน่ใจว่าทางผู้อำ�นวยการศูนย์ต้องทำ�แผนงาน ด้านการเตรียมบุคลากรแผนห้าปีสิบปี เพราะว่าหมอคน เดียวจะผ่าตัดไม่ได้ การทำ�งานต้องเป็นทีมต้องมีหมอที่ ชำ�นาญโรคหัวใจของผู้ใหญ่ เรียกว่าอายุรแพทย์โรคหัวใจ อันที่สองต้องเป็นหมอโรคหัวใจในเด็ก อันที่สามเป็นหมอ เอ็กซเรย์ ก็ต้องตรวจโน่นนี่เก่ง อันที่สี่ต้องเป็นหมอผ่าตัด พร้อมหมอดมยาและทีมพยาบาลของท่านด้วย อย่างน้อย ต้องมีชุดนี้ อันที่ห้าคือหมอกายภาพบำ�บัดหลังผ่าตัดโรค หัวใจเพราะหลังผ่าตัดแล้วทำ�อย่างไรคนไข้ถึงจะฟื้นเข้ามา ใกล้ ป กติ ที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะทำ � ได้ เ พราะฉะนั้ น ต้ อ งมี ห มอ กายภาพบำ�บัดด้วยเหมือนกัน ๑ ในร้อย: อย่างผ่าตัดแล้วต้องอยู่ในความดูแลของหมอ ตลอดไปไหมคะ ศ.น.พ.เกษม: ต้องอยู่ในความดูแลของหมอ ส่วนมากที่เป็น โรคหัวใจพิการแต่ก�ำ เนิดมันหายขาด ถ้าให้หมอดูกเ็ ป็นระยะ สั้น ไม่ใช่ระยะยาว หรือถ้าเป็นลิ้นหัวใจเทียมต้องกินยา ซึ่ง

มกราคม ๒๕๕๓

ต้องเป็นระยะยาวแต่ว่าคนไข้ก็สามารถใช้ชีวิตได้ ปกติไม่เหนื่อยไม่หอบ ส่วนเรื่องหลอดเลือดลิ้น หัวใจตีบถ้าทำ�แล้ว เดือนหรือสองเดือนก็ไปหา หมอครั้งหนึ่ง ใช้ชีวิตปกติแล้วก็อายุยืนก็เท่าๆ ใกล้ๆ คนปกติ ไม่เสียชีวิตเหมือนคนที่ไม่ได้รับ การรักษา ๑ ในร้อย: อย่างเวลาหัวใจวายก็คือการที่ไม่รู้มา ก่อนอยู่ๆ ก็เสียชีวิต ศ.น.พ.เกษม: หัวใจวายในความหมาย ของหมอ คือหัวใจทำ�งานไม่เต็มที่ คือหัวใจเคยทำ�งานร้อย เปอร์เซ็นต์ก็เหลือ ๗๐ เปอร์เซ็นต์หรือ ๖๐ เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่านั้น เวลาทำ�อะไรก็หอบ เดินขึ้นบันไดก็หอบ กินข้าวก็หอบ หัวใจวายคือ หัวใจทำ�งานไม่ได้เต็มที่ต้องกินยา จะอายุสั้น ส่วนภาวะหัวใจวายอีกอันหนึง่ ของชาวบ้านมักจะ พูดว่าหัวใจวายคือหัวใจหยุดเต้น ความหมายก็ คือว่าหัวใจหยุดเต้นไป ๑ ในร้อย: ถ้าเกิดคนที่ไม่รู้ตัวมาก่อน มีสัญญา นอะไรไหมคะว่ามีอาการโรคหัวใจ ศ.น.พ.เกษม: สัญญานที่จะไปหาหมอ ส่วนมากมีไม่กี่กลุ่ม อาการ กรณีเป็นเด็กแรกคลอดถ้าเป็นโรคหัวใจ ตอนทีค่ ลอด ออกมาหมออาจจะตรวจรู้ตั้งแต่ต้น หรือถ้าไม่ตรวจรู้เมื่อโต ซักพักเมือ่ อายุไม่ถงึ ขวบ เช่น กินนมไม่ได้ หายใจหอบ หมอ เขาจะรู้และส่งให้หมอโรคหัวใจเด็กตรวจ อันที่สองคือผู้ใหญ่ เคยทำ�งานได้ ทานข้าวได้ อยู่ๆ เหนื่อยขึ้นมา เดินไม่กี่ก้าว ต้องหยุดมันเหนื่อย อย่างนี้ต้องรีบไปหาหมอ หรืออย่างเจ็บ หน้าอก คือทำ�งานได้ดีเดินขึ้นบันไดได้หลายขั้น เมื่อเริ่ม อึดอัดเจ็บหน้าอก อย่างนี้ต้องรีบไปหาหมอ ใช้เครื่องไม้ เครื่องมือพิเศษเพื่อจะได้รู้ว่าเป็นโรคหัวใจอย่างไหนที่ไหน จะได้วางแผนรักษาได้ถูกต้อง เพราะฉะนั้นกลุ่มอาการก็จะ มีอย่างนี้อย่างที่บอก ๑ ในร้อย: ถ้าอย่างนี้เราก็ต้องดูแลเรื่องการรักษาสุขภาพ มากขึ้น ศ.น.พ.เกษม: เราลองเอาสามกลุ่มมาดู กลุ่มหัวใจพิการแต่ กำ�เนิดเราคงทำ�อะไรได้ยาก คงต้องความรู้ซักพักหนึ่งว่า หัวใจพิการแต่กำ�เนิดว่าเกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ไหม ต้องรอ ความรูว้ า่ ใครแต่งงานกับใครแล้วลูกจะเกิดมาเป็นหัวใจพิการ เรายังบอกไม่ได้ เรื่องที่สองโรคหัวใจตีบหรือโรครูมาติค ผม บอกแล้วว่าเป็นโรคเจ็บคอตอนเป็นเด็ก เราต้องให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองว่าอย่างนี้ไม่ใช่หวัดนะ มันอาจจะเป็นอย่างอื่น ได้นะ และถ้ารักษาไม่ดี ไม่ได้กินยาเพนนิซิลินมันอาจจะ ทำ�ให้ลิ้นหัวใจพิการได้ อย่างนี้ก็ต้องให้ความรู้ ที่จริงหมอที่ ชำ�นาญเขาก็จะบอกได้ถ้าเห็นว่ามีหนองอยู่ที่ลำ�คอเขาก็จะ ให้ยา ถ้าให้ยาครบก็จะไม่เกิดโรคนั้น เพราะฉะนั้นก็จะรักษา ง่าย ส่วนอันที่สามโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารี่ อันนี้ก็อยาง ทีร่ ูส้ ว่ นใหญ่แล้วเกิดขึน ้ ตัง้ แต่อายุ ๓๐-๔๐ ปีขึน ้ ไป ส่วนใหญ่ แล้วที่หลอดเลือดแข็งเพราะเป็นไขมันในเลือดสูง เป็นเบา หวาน และไม่ออกกำ�ลังกาย เพราะความดันสูงก็มีโอกาส เป็นมาก ถ้าเรารู้เราก็ปรับชีวิตของเราเสีย ที่เขาเรียกว่า ๓ อ. คือหนึ่งอาหาร สองอารมณ์ สามออกกำ�ลังกาย ตรงนี้ ถ้าทุกคนเดินตามนี้โอกาสเกิดจะน้อยลง คือโอกาสยังมีอยู่ แต่น้อยลง อย่างที่เรียนถ้าเรามีศูนย์รักษาโรคหัวใจแบบนี้

33 32


โอกาสที่คนจะเสียชีวิตจากยากกว่าสมัยก่อน จะมีชีวิตที่ ยืนยาวได้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ไี ด้ เพราะฉะนัน ้ ถ้ายังไม่เป็นเลย ก็แนะนำ�สาม อ. คืออาหารเราก็ทานผลไม้ ทานปลา ปลา นี่ก็ดีมาก พยายามหลีกเลี่ยงอาหารสัตว์บกสัตว์ใหญ่ที่ให้ไข มันเยอะ ส่วนเรื่องอารมณ์นี่ชัดเจน ถ้าใครที่มีภาวะเครียด บ่อย โกรธง่าย เส้นเลือดก็จะไม่ดีเราก็ต้องเรียนรู้ที่ทำ�ให้ อารมณ์ไม่เดือดร้อน เรื่องที่สามคือเรื่องการออกกำ�ลัง คน ที่ออกกำ�ลังสม่ำ�เสมอ มีอันหนึ่งที่หมอเขาเรียกว่า เมตทา บอลิกซินโดรม(Metabolic Syndrome) หรือว่าอ้วนลงพุง ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย อ้วนลงพุง คือว่ามนุษย์เราถ้าเรากิน แล้วใช้พลังงานถ้าพอดีๆ กันมันจะไม่อว้ น แต่ถา้ เรากินมาก เกินแต่ทำ�งานปกติมันมีส่วนเหลือก็จะเป็นไขมันที่วางอยู่ ตามรอบเอวเรา หรือเรากินปกติแต่ทำ�งานน้อยกว่าปกติก็ จะกลายเป็นส่วนเหลือ เพราะฉะนัน ้ เขาจึงวัดรอบเอวว่า ใน ผู้ใหญ่ ผู้หญิงรอบเอวจะต้องไม่เกินซัก ๓๒ นิ้วผู้ชายก็ไม่ เกิน ๓๔ นิ้วหรือ ๓๖ นิ้วก็ว่ากันไป อันนี้เป็นตัวเลขหยาบๆ ที่บอกเราว่าชักจะไม่ดีละ คือหนึ่งเรากินอาหารมากเกินไป หรือเปล่า สองออกกำ�ลังกายน้อยเกินไปหรือเปล่า ซึง่ ก็ต้อง รีบปรับวิถีชีวิต ถ้าปรับวิถีชีวิตได้ก็จะทำ�ให้การเป็นเบา หวานเป็นได้ยากขึ้น หรือว่าหลอดเลือดเสียก็เป็นได้น้อยลง โรคอ้วนลงพุงหรือเมตทาบอริคสิคซินโดรมก็มีได้น้อยลง ตอนนี้ทางกระทรวงสาธารณสุขและสสส. ก็มีโครงการ รณรงค์อยู่ ๑ ในร้อย: โครงการคนไทยไร้พุง ศ.น.พ.เกษม: ใช่โครงการคนไทยไร้พุง ๑ ในร้อย: คนไทยเราถ้าไม่เกิดโรคหรือเหตุการณ์ใกล้ตัวก็ ไม่ใส่ใจดูแลสุขภาพเท่าที่ควร ไม่ได้ป้องกัน พอมารู้ว่าเป็น โรคหัวใจก็จะมาระมัดระวังทีหลัง ศ.น.พ.เกษม: ผมก็ไม่ได้โทษคนไทย ต่างประเทศก็เป็น เหมือนกันเพราะคิดว่าเขาไม่รู้ เพราะฉะนัน ้ คิดว่าเป็นหน้าที่ ของสื่ อ มวลชนที่ จ ะต้ อ งช่ ว ยกั น เผยแพร่ ค วามรู้ นี้ ใ ห้ ประชาชนดูแลสุขภาพเรื่องโรคหัวใบ่อยๆ อันที่สองให้ตั้ง ชมรมกัน ยกตัวอย่าง เช่น การตั้งชมรมเดินและวิ่งเพื่อ สุขภาพจังหวัดลำ�ปาง จังหวัดเชียงใหม่ หรือจังหวัดลำ�พูน แม่ฮ่องสอน ตั้งทุกจังหวัด ทุกอำ�เภอ หรือทุกชุมชนเลย แล้วก็นัดหมายกันตอนเช้าหรือตอนเย็น ตื่นเช้านิดหนึ่ง หรือหาเวลาว่างตอนเย็น จัดกิจกรรม เดินหรือวิ่งไปด้วย กัน อันนี้ผมอยากจะฝากเทศบาลหรือองค์กรส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ. ผมอยากให้ท่านมาลงทุนพัฒนาด้าน สาธารณูปโภคพื้นฐานที่เอื้อในการส่งเสริมสุขภาพ เช่น ทำ� สวนสุขภาพ ทำ�เครื่องมือสุขภาพ แล้วก็มารวมตัวกัน ท่าน นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล ฯลฯ มารวมตัวกันเชิญชวน เป็นกลุ่มเป็นก้อนแล้วก็ออกกำ�ลังกายด้วยการเล่นกีฬา ทำ� สนามกีฬา จริงๆ ก็ดีสำ�หรับท่านด้วย ทุกคนก็สุขภาพดี เป็นโรคน้อยลง โรงพยาบาลก็ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ผมคิด ว่าต้องทำ�กันอย่างกว้างขวาง ๑ ในร้อย: ต้องทำ�อย่างจริงจังและต่อเนื่อง ศ.น.พ.เกษม: ใช่ต้องทำ�อย่างต่อเนื่อง เป็นการทำ�ที่ง่าย ที่สุด ผมอยากให้ทุกแห่งทำ� ทีนี้โรตารีท่านมาช่วยทำ�ศูนย์ แพทย์แล้ว โรตารีท่านมีสาขาคือสโมสรต่างๆ ในพื้นที่ เมื่อ กี้ขอองค์กรส่วนท้องถิ่นแล้ว อยากจะขอว่าโรตารีว่ามาช่วย ตั้งศูนย์ผ่าตัดโรคหัวใจและหลอดเลือดที่โรงพยาบาลลำ�ปาง

32 33

เป็นกุศลอย่างมหาศาล ผมขอชื่นชม แต่ ทีนี้ถ้าพูดถึงเรื่องการป้องกันโรคหัวใจก็อยากจะขอร้อง ขอ เป็นกิจกรรมให้โรตารีจัดกิจกรรมป้องกันโรคหัวใจ ซึ่งตรง นี้ผมคิดว่าจะมีโประโยชน์พอสมควร โดยให้ความรู้อย่างต่อ เนื่อง และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มาออกกำ�ลังกายร่วม กัน มีงานวิจัยว่าทำ�อย่างไรคนถึงจะออกกำ�ลังกายได้อย่าง ต่อเนื่อง สม่ำ�เสมอไม่หยุดเสียก่อน มีงานวิจัยอยู่สองอย่าง หนึ่งคือสถานที่ออกกำ�ลังกายอยู่ไม่ไกลจากบ้านของตัวเอง นัก อันที่สองคือมีเพื่อนอยู่เป็นกลุ่ม เพราะฉะนั้นท่านต้อง รวมตัวกัน ในเขตเทศบาลของท่านมีที่ไหนที่จะออกกำ�ลัง กายได้บ้าง อย่างนี้เป็นต้น ซึ่งต้องมีทั้งที่ราคาถูก ราคา แพง ถ้ารวมกันเป็นกลุ่มถ้าวิ่งหรือทำ�คนเดียวเขาอาจจะ เบื่อ ในต่างประเทศที่ญี่ปุ่น จีน อเมริกา เขาก็จะใช้นโยบาย ส่งเสริมให้ประชาชนออกกำ�ลังกาย เป็นตัวที่จะลดโรคหัวใจ และโรคอื่นได้ เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน ๑ ในร้อย: การให้ความรู้และสร้างแรงบันดาลใจจะช่วยได้ มาก ศ.น.พ.เกษม: การออกกำ�ลังกายไม่ได้มีผลดีเฉพาะโรค หัวใจ เป็นหวัดก็ยาก ไม่เป็นโรคไขข้อ คนที่ทำ�ต้องใจแข็ง ๑ ในร้อย: ท่านองคมนตรีเป็นทีเ่ คารพนับถือของประชาชน ทั่วไปไม่เพียงในฐานะที่เป็นองคมนตรี แต่ด้วยการทำ�งาน เพื่อสังคมอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย โดยเฉพาะในเรื่องของ การเผยแพร่แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ขอท่านกรุณาเล่าถึงเคล็ดลับในการดำ�เนิน ชีวิตเพื่อความสุขและความสำ�เร็จเพื่อผู้อ่านจะได้ยึดเป็น แนวทางปฏิบัติ ศ.น.พ.เกษม: เรื่องการดูแลสุขภาพเรามาวิเคราะห์สอง กลุ่ม คือปัจจัยที่ทำ�ให้สุขภาพเสื่อมเราก็หลีกเลี่ยง เช่น การ สูบบุหรี่ เรื่องดื่มสุรามากเกินก็ไม่ควร นานๆ จะเข้าสังคม แก้วนิดหนึง่ ก็ไม่ว่ากัน หรือว่าการนอนดึกเราก็ไม่ท�ำ ส่วน ที่เป็นเชิงบวก เช่น การกินอาหาร การออกกำ�ลังกาย การ รักษาอารมณ์ เมื่อสองอันรวมกันโดยพยายามลดปัจจัยลบ และเพิม่ ปัจจัยบวกก็เชือ่ ว่าจะทำ�ให้สขุ ภาพดีขึน ้ มาได้ จริงๆ เป้าหมายในชีวติ ผมยึดถือว่าความสุขในครอบครัวเป็นเรือ่ ง สำ�คัญ เพราะฉะนั้นถ้าเราทำ�ปรับตัวเองและก็มีสุขภาพดี ทุกคนในครอบครัวสุขภาพดี ก็หวังว่าจะอายุยืนอยู่กับลูก กับหลานนานๆ หน่อย อันนั้นก็เป็นแรงดลใจที่สำ �คัญ เหมือนกัน ก็มานั่งคิดว่าทำ�ไมเราต้องมาทำ�ลายตัวเอง มา ดื่ม นอนดึก เดี๋ยวก็เป็นโรคภัยไข้เจ็บ ทำ�ให้ครอบครัวไม่มี ความสุข กับการที่เราดูแลสุขภาพ ทุกคนก็ใช้ชีวิตร่วมกัน อย่างมีความสุข การสัมภาษณ์ได้เสร็จสิ้นลงอย่างสมบูรณ์ในระยะ เวลาที่รวดเร็วที่สุดตั้งแต่เริ่มคอลัมน์สัมภาษณ์มาคือ ๓๕ นาที แต่ ว่ าได้ รั บ เนื้ อ หาสาระมากมาย ฯพณฯ ท่ า น องคมนตรีได้อธิบายเรื่องราวของโรคหัวใจและการรักษา แบบเข้าใจง่ายสำ�หรับชาวบ้านอย่างเรา เมื่อเสร็จสิ้นการ สัมภาษณ์คณะกรรมการจัดงานได้มาเรียนเชิญท่านไปทีง่ าน กาลาดินเนอร์ทันที คอลัมน์ “๑ ในร้อย” รู้สึกปลื้มใจที่ได้ มี โ อกาสสั ม ภาษณ์ ผู้ ใ หญ่ ร ะดั บ องคมนตรี ขอขอบคุ ณ อน.พญ. วรรณจันทร์ พิมพ์พิไล ประธานโครงการโรตารี จัดสร้างศูนย์ผ่าตัดหัวใจ ที่ได้ประสานงานในการนัดหมาย ฯพณฯ องคมนตรีในการสัมภาษณ์ครั้งนี้.

มกราคม ๒๕๕๓


Youth Corner สโมสรโรตาแรคท์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

นย.อนุพงศ์ พลีสมุทร นายกสโมสรโรตาแรคท์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

นี้คงเป็นบทความเรื่องแรกที่ผม นายอนุพงศ์ พลีสมุทร ได้เขียนขึ้นจาก ความอนุเคราะห์ของพี่ๆ โรตารี แต่เดิมที ผมไม่ได้มาจากอินเตอร์แรคท์หรือสโมสร บำ�เพ็ญประโยชน์อะไรเลย ผมยังแปลกใจ อยู่เลยที่ตัวผมได้มาเป็นนายกสโมสร โรตา แรคท์ แม่โจ้ ดั่งเช่นปัจจุบัน แต่ เ ดิ ม ที ที่ แ ม่ โ จ้ มี สโมสร โรตา แรคท์ อยู่ก่อนแล้วแต่เพราะขาดผู้สืบสาน และเสียสละในการบำ�เพ็ญประโยชน์ จึง ต้องยุบสโมสร ต่อมานายสรายุทธ ฝั้น พรหม ได้รวบรวมเพือ่ นพ้องทีม่ อี ดุ มการณ์ เดียวกันขึ้นและ ได้ก่อตั้งสโมสรโรตาแรคท์ อย่างเป็นทางการขึ้นอีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2551 โดยมีสโมสรโรตารีช้างเผือก ให้การ สนับสนุน หรือเปรียบเหมือนพีเ่ ลีย้ งก็วา่ ได้ แต่เนือ่ งจากการก่อตัง้ สโมสรไม่ใช่ เรื่องง่าย ๆ ที่ใครก็สามารถจะทำ�ได้ ต้อง ใช้น้ำ�ตาและหยาดเหงื่อ มากมายกว่าจะ สร้างสโมสรขึน ้ มาได้สำ�เร็จ การทำ�งานของ พวกเราในสโมสร เป็นแบบพี่น้อง ช่วยกัน คนละไม้คนละมือ งานทุกอย่างก็จะสำ�เร็จ พวกเราทำ�งานทุกอย่างไม่มเี กีย่ ง ว่าจะเป็น

มกราคม ๒๕๕๓

หญิงหรือชาย นี้คือสโมสรโรตาแรคท์ แม่ โจ้ เพราะพวกเราเห็นถึงประโยชน์สว่ นรวม มากกว่ า ประโยชน์ ส่ ว นตั ว จึ ง สามารถ ทำ�งานได้ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเล็กหรือเบา เพราะทุกคนที่เข้ามาในสโมสรมีอุดมการณ์ และ ความฝั น พวกเราจึ ง มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะ บำ�เพ็ญประโยชน์อย่างไม่ย่อท้อต่อสังคม กิจกรรมทีผ่ มประทับใจมากทีส่ ดุ คงเป็นการ ก่อสร้างห้องสมุด บ้านห้วยทรายขาว ซึ่ง เป็นงานที่หินมากสำ�หรับพวกเรา ที่เป็น นักศึกษาเพียงกลุ่มเล็ก ๆ เพียงไม่ถึง 20 คน ซึ่งมีงานตั้งแต่ ผสมปูน ฉาบปูน และ อื่นๆอีกมากมาย ซึ่งใครที่ไม่เคยทำ�อาจจะ ยังไม่รู้ว่ามันยากและลำ�บากแค่ไหน กว่า จะเสร็จ ส่วนอาหารทีไ่ ด้กน ิ ก็เป็นพวก เนือ้ สองสามมื้อนอกนั้นก็เป็น ไข่กับผักทุกวัน เพราะสโมสรยังไม่มีงบมาก จำ�เป็นต้อง ประหยัดเพือ่ ใช้ส�ำ หรับช่วยเหลือทีอ่ ืน ่ ต่อไป แต่ถงึ งัน ้ พวกเราก็ยงั ตัง้ หน้าตัง้ หน้าทำ�งาน ในส่วนของเราไป แม้บางครั้งจะท้อแท้และ เหนื่อยแรงแต่พอได้เห็นเด็กๆ ที่มานั่งดู การทำ�งานอย่างใจจดใจจ่อ ที่รอห้องสมุด ของตัวเองจะเสร็จ สิ่งตอบแทนบ้างครั้งก็

34 35


ไม่ได้มาในรูปของตัวเงิน หรือสิ่งของ แต่เป็นความสุข ของพวกเด็กๆ ที่มีรอยยิ้มและมีความสุขจากการ ทำ�งานของพวกเรา เพราะได้ทำ�งานในครั้งนั้นจึงได้ เห็นถึงอุดมการณ์อันยิ่งใหญ่ของโรตารี ที่ไม่ใช่สโมสร สำ�หรับเอาไว้เที่ยวหรือเล่นกันแต่เป็นสโมสรที่บ�ำ เพ็ญ ประโยชน์แก่สังคม การที่ได้เห็นความสุขของผู้อื่น เหนือตัวเอง และยิ่งเห็นห้องสมุดที่ตัวเองได้สร้างขึ้น มากับมือ ก็ทำ�ให้เกิดความภาคภูมิใจเล็กๆ น้อย ๆ ส่ ว นอี ก งานก็ ห นั ก ไม่ แ พ้ กั น นั้ น ก็ คื อ งาน อบรมผู้นำ�เยาวชนโรตารี ( RYLA ) นั้นเอง บางคน อาจจะเห็นเป็นเรื่องเล็กๆ เรื่องหมู ๆ ที่มาเป็นพี่เลี้ยง ให้กับเด็กๆ ใช่ ตัวผมเองก็คิดอย่างงั้น ก่อนวันงาน จะเริ่ม แต่เพียงก้าวแรกที่น้อง ๆ เยาวชน RYLA เข้า มาความวุ่นวายและความอลหม่านก็เริ่มขึ้น ช่วยให้ พี่ๆ ปวดเศียรเวียนเกล้าไปตามๆ กัน ซึ่งมีมากมาย หลายบุคลิก มีตั้งแต่ลูกคุณหนูจนถึงคนติดดิน จึงเป็น งานยากทีจ่ ะทำ�ให้เด็ก ๆ เหล่านีป้ รับตัวเข้าหากัน และ สามารถอยู่ ด้ ว ยกั นโดยให้ เ กิ ด ความรั ก และสามั ค คี ตลอดการจัดงานมีเรื่องที่ไม่คาดฝัน เกิดขึ้นตั้งหลาย อย่าง เช่นตั้งแต่วันแรก ก็มีกระเป๋าหาย ต้องตามหา กันจ้าละหวั่น สุดท้ายเพื่อนก็หยิบติดไป หรือแม้จะ เป็นน้องๆ ที่เดินหลงหายไป ซึ่งทุกอย่างก็เป็นเรื่อง ที่ทำ�ให้พี่ๆ สต๊าฟเหนื่อยกันเป็นแถว ผมพูดได้เลยว่า

35 34

พี่ ๆ ทุกคนทุ่มเทให้กับพวกน้องๆ อย่างหมดใจ อะไร ที่ไม่เคยทำ�บางคนก็ยังต้องทำ�ก่อน เพื่อเป็นตัวอย่าง ให้น้องๆ ดู พี่ๆทุกคนให้ใจกับน้องๆ เยาวชน RYLA เต็มร้อย แต่ถ้ามีน้องๆ เยาวชน RYLA ที่ได้อ่านก็ อยากจะถามเหมือนกันว่า จะมีสักกี่คนที่ให้ใจเท่ากับ พวกพี่ๆ แม้เหนื่อยแค่ไหนก็ยังต้องทำ�แข็งใจไหว เพื่อ ให้น้องได้เห็นตัวอย่าง เพื่อให้น้องรู้จักอดทนและอด กลั้นต่อความเหน็ดเหนื่อย ผมคิดว่าการเป็นพี่เลี้ยง ใครๆ ก็สามารถเป็นได้ทัง้ นัน ้ แต่การเป็นพีเ่ ลีย้ งทีน ่ อ้ ง เคารพรักและนับถือนั้นคงหาได้ยาก หากใครที่ได้มา ในงาน อบรมผู้นำ�เยาวชนโรตารี (RYLA) ผมคิดว่าคง ไม่มีใครไม่ได้เห็นหยาดเหงื่อของพี่ๆ ทุกคน เพราะ พวกเราคิดว่าน้องๆ ทุกคน เป็นน้องๆ ของเรานั้น เอง ก็นับว่าเป็นประสบการณ์เรียนรู้ที่ดีที่จะพัฒนาทั้ง ตัวน้อง ๆ และพี่ ๆไปพร้อมกัน สุ ด ท้ า ยนี้ ก็ อ ยากจะฝากอะไรเล็ ก ๆ น้ อ ย สำ�หรับคนทีไ่ ด้อา่ น บางครัง้ ชีวติ ก็ไม่ได้เป็นอย่างทีเ่ รา คาดหวัง แต่ความหวังจะเป็นแรงผลักดันให้เราก้าว เดินต่อไป ฉะนั้นจงอย่ากลัวที่จะหวังเพราะอย่างน้อย การผิดหวังก็เป็นบทเรียนให้ก้าวเดินต่อไปอย่างมั่นคง ขอบคุณครับ

มกราคม ๒๕๕๓


เอกพาแอ่ว

พระธาตุประจำ�ราศีเกิด

ผชภ.เอกวุฒิ กาวิละ สโมสรโรตารีหางดง

เพือ่ ให้เป็นสิรมิ งคลแก่เพือ่ นๆ ชาว โรแทเรียนทุกท่าน ที่กำ�ลังก้าวข้ามเข้าสู่ ช่วงของศักราชใหม่ ปีขาล (เสือ) พุทธศักราช 2553 (ค.ศ.2010) “เอกพาแอ่ว” จึงมานึกคิด นอนคิด โดยไม่ได้ยันอะไรคิดใดๆ ทั้งสิ้น แฮะแฮะ ก็มานึกว่า ไหนไหน เราก็เฉลิม ฉลองปีใหม่ ร่ำ�ลาปีเก่าไปแล้ว อวยพรญาติ สนิทมิตรสหาย เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทีนี้ เพื่อตนเองบ้างเราจะหาหนทางไหนอวยพร ให้ตนเองบ้างล่ะ ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนนะ ว่า ภาค 3360 ของเราอยู่ทางเหนือ โดยคติ ความเชือ่ ของชาวล้านนาหรือชาวเหนือนัน ้ มีความเชื่อสืบต่อกันมาว่า ก่อนที่คนเราจะ ปฏิสนธินั้น ดวงจิตของเรานั้นจะต้องมา “ชุ”(คนเหนืออ่านว่า“จุ๊” แปลว่า พักหรือ บรรจุ) อยู่ที่พระธาตุประจำ�ตัวก่อน โดยมี “ตัวเปิ้ง” นำ�พามา เมื่อได้เวลา ดวงจิตก็จะ ไปสถิตอยู่ที่กระหม่อมของพ่อ 7 วัน แล้ว จึงเคลื่อนสู่ท้องของแม่ แล้วก็คลอด อุ๊แว้ อุ๊ แ ว้ ออกมา จนเมื่ อ สิ้ น อายุ ขั ย ดวง วิญญาณก็จะกลับไป “ชุ” อยู่ที่พระธาตุ ประจำ�ตัวของตนตามเดิม ก่อนที่จะกลับไป เกิดในภพภูมิตามภูมิ ตามบุญกรรมที่ต่าง ทำ�มา ดังนัน ้ จึงถือกันว่า ในชีวติ หนึง่ ควร มีโอกาส ไปสักการะบูชา พระธาตุประจำ� ราศีของตนเองสักครั้งหนี่งของชีวิต เพื่อให้ เกิดความเป็นสิริมงคล มีอายุมั่นขวัญยืน ได้บญ ุ อานิสงส์มากด้วยตามกำ�ลังจิตทีต่ ัง้ อธิ ฐานต่ อ พระธาตุ ที่ สั ก การะของราศี เ กิ ด ตนเอง ทีนี้เรามาดูกันว่า คนเกิดราศีใด ควรไปไหว้พระธาตุที่ใด หากสนใจเชิญตาม มาอ่านต่อกันเลยครับ ปีชวด (หนู) พระ ธาตุศรีจอมทอง ศิลปะล้านนาสกุลช่าง เชี ย งใหม่ ตั้ ง อยู่ บ นยอดดอยจอมทอง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เป็นพระธาตุที่มิได้ ฝังใต้ดิน แต่ประดิษฐานอยู่ในกู่ ภายในพระ วิหารหลวง มีการอำ�เชิญมาสรงน้ำ�ทุกปี ไป แล้วจะสบายอกสบายใจครับ ปีฉลู (วัว) พระธาตุ ลำ � ปางหลวง แห่ ง วั ด พระธาตุ ลำ�ปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำ�ปาง ศิลปะล้าน นา สกุลช่างลำ�ปาง อิทธิพลไทลื้อ สัมผัส

มกราคม ๒๕๕๓

ประสบการณ์ของภาพเงาพระธาตุ ที่ลอด ผ่านรูผนัง ปรากฏบนผืนผ้า ถือเป็นอีกหนึง่ วัดที่ Unseen ของการท่องเทีย่ วไทยทางขึน ้ จะขันหน่อย ค่อยๆ ขึ้นนะครับตกเอาง่ายๆ ปีขาล (เสือ) พระธาตุช่อแฮ ตั้งอยู่ใน ต.ป่าแดง อ.เมือง จ.แพร่ มีอายุราว พ.ศ.1900 ศิลปะล้านนา สกุลช่างเมืองแพร่ มีอิทธิพลกลิ่นอายของ สุโขทัยอยู่บ้างแฝงอยู่ เป็นพระธาตุสำ�คัญ ประจำ�เมืองแพร่และราศี ปีขาล 2553 นีด้ ว้ ย ให้ถอดวางรองเท้าก่อนเข้าไปด้วยนะอย่า ลืม ปีเถาะ (กระต่าย) พระธาตุแช่แห้ง ต.ม่วงตึ๊ดกิ่ง อ.ภูเพียง จ.น่าน ศิลปะล้านนา สกุลช่างเมืองน่าน และกลิ่นอายของสกุลช่างเชียงรายและไท ลื้อที่ผสมกันอย่างลงตัว ทุกวันขึ้น 14-15 ค่ำ� และแรม 1 ค่ำ� เดือน 4 ทางวัดมีการ จัดงานนมัสการพระธาตุ มีมหรสพ แห่ตุง ถวายพระบรมธาตุ และจุดไฟถวายเป็นพุทธ บูชา ที่นี่ตั้งใจว่าจะหาโอกาสไปเที่ยวให้ได้ คงรอพี่ๆ จากสโมสรน่านพาไปแอ่วก่อน นะ...แฮะแฮะ ปีมะโรง (งูใหญ่-พญานาค-มังกร) พระธาตุเจดีย์วัดพระสิงห์ ศิลปะสกุลช่าง หลวงของเมืองเชียงใหม่ มีเอกลักษณะที่ สง่ า และสวยงามเรี ย บง่ า ยและวั ด นี้ ยั ง ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูป สำ�คัญคู่เมืองเชียงใหม่ ช่วงสงกรานต์จะมี การอัญเชิญ ประดิษฐานบนบุษบก แห่รอบ เมืองให้ประชาชนได้สรงน้ำ�สักการะทุกปี ใครมาเที่ยวเชียงใหม่ช่วงนี้ก็ต้องยอมเปียก ปอนกันบ้างล่ะ ปีมะเส็ง (งูเล็ก) สามารถไปนมัสการพระธาตุถึง 4 แห่ง ด้วย กั น คื อ ที่ วั ด เจดี ย์ เ จ็ ด ยอด อ.เมื อ ง จ.เชียงใหม่ พระธาตุเจดีย์วัดมหาโพธิ์ แห่ง วัดหนองบัว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี พระ เจดีย์มหาพุทธยา ที่วัดอนาลาโย จ.พะเยา หรื อ ที่ พ ระเจดี ย์ ม หาพุ ท ธคยา ประเทศ อิ น เ ดี ย ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น ที่ ต รั ส รู้ ข อ ง พระพุ ท ธเจ้ า ใครไปก็ ส วมเสื้ อ ผ้ า หนาๆ หน่อยละกันข้างบนดอยนี้จะหนาวพอควร

36 37


ปีมะเมีย (ม้า) สามารถไปนมัสการพระธาตุถึง 3 แห่งด้วยกัน คือ วัด พระบรมธาตุเมืองตาก จ.ตาก ทีจ่ ำ�ลองแบบมาจากพระ ธาตุชเวดากอง ของเมียนม่าร์ ทุกวันขึ้น 14-15 ค่ำ� เดือน 7 จะมีงานพิธีสมโภชและสักการะพระบรมธาตุ เรียกว่า งานประเพณีขึ้นพระธาตุเดือนเก้า และสถาน ที่จำ�ลองอีกแห่งก็ที่วัดพระบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำ�พูน ที่นี่เขาก็ว่าสวยงามไม่แพ้ที่อื่นๆ ลองไปแอ่วกันสิครับ ปีมะแม (แพะ) พระธาตุดอยสุเทพ ตัง้ อยูบ่ นยอดดอยสุเทพ จ.เชียงใหม่ โดยเชือ่ กันว่า หากบูชาพระธาตุในทิศทัง้ สีแ่ ล้ว จะทำ�ให้ มีสติปัญญาดี พระเจดีย์เป็นศิลปะล้านนาแท้ ตั้งอยู่บน เขาเหนือตัวเมืองเชียงใหม่ทางทิศตะวันตก ดูโดดเด่น และสวยงามยิ่งนัก เอ้าๆ ใกล้ประชุมใหญ่ ภาค 3360 มาเชียงใหม่ก็พากันไปนมัสการกันด้วยก็จะดีมากๆ ปีวอก (ลิง) ต้องไปบูชา พระธาตุพนม จ.นครพนม พระบรมธาตุ เจดีย์องค์สำ�คัญ ภายในบรรจุพระอุรังคธาตุ (กระดูก ส่วนหน้าอก) ของพระพุทธเจ้า และเป็นที่สักการบูชา ของชาวไทย-ลาว สองฝั่งโขงมาแต่อดีตกาล งาน นมัสการพระธาตุพนมจัดขึ้นทุกปี ในวันขึ้น 10 ค่ำ� ถึง วันแรม 1 ค่ำ� เดือน 3 ถือโอกาสไปเที่ยวได้ทั้งลาวและ ตัวจังหวัดนครพนมได้ แวะพักที่โรงแรมนครพนมริ เวอร์วิว ของท่าน อผภ.สุรัตน์ บัววัน ก็ไม่เลว นะครับ ท่านรออยู่ ไปมาแล้วสวยงาม นครพนมก็เป็นเมือง สงบเงียบดีและมีเสน่ห์ครับ ปีระกา (ไก่) พระ บรมธาตุหริภุญชัย ศิลปะล้านนา จ.ลำ�พูน และ ในวันขึ้น 13 ค่ำ� เดือน 6 จะมีงานประเพณีสรง น้ำ�พระธาตุหริภุญชัย โดยน้ำ�ที่นำ�มาสรงองค์ พระธาตุนี้ จะต้องนำ�มาจากบ่อน้ำ�ทิพย์บนยอด ดอยขะม้อ ทีอ่ ยูน ่ อกเมืองลำ�พูน ตามธรรมเนียม ปฏิบัติแต่โบราณกาล ใครไปไม่ถูกก็โทรหา ท่าน ผชภ.สมพล เจียรนัย คนกว้างขวางของเมืองละ ปูน ละกัน อาจมีแถมเลี้ยงข้าวอีกมื้อ แนะนำ� ให้โทรหาให้ได้ แฮะแฮะ ปีจอ (หมา) บูชาพระเจดีย์ที่วัดเกตการาม จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีชื่อ พ้องกับพระเกศแก้วจุฬามณีเจดีย์ วัดนี้ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่ น้ำ�ปิง ในเขตย่านการค้าเก่าแก่ของเชียงใหม่แต่เดิม และอยู่ใกล้กาดหลวงแหล่งซื้อของฝากเชียงใหม่ โดย สามารถข้ามแม่น้ำ�ปิงโดยทาง “ขัวแขก” ก็ถึงเลย วัด นี้อยู่เชียงใหม่ ยินดีพาไปแอ่วครับ แต่ต้องเลี้ยงข้าวผม ละกัน ฮิฮิ ปีกุน (หมู) พระ บรมธาตุดอยตุง ศิลปะล้านนาร่วมสมัย ตั้งอยู่ ต.ห้วยไคร้ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เป็นที่เคารพสัก การะของชาวล้านนา ไทใหญ่ หลวงพระบาง และ

37 36

เวี ย งจั น ทน์ รวมทั้ ง ชาวไทยภู เ ขา ทุ ก ปี จ ะมี ง าน นมัสการพระบรมธาตุในวันเพ็ญเดือน 3 ของทุกปี วัด นี้ไปแล้วเที่ยวหา บอกอ สารฯ วานิช โยธาวุธ แล้ว จะได้กินส้มตำ�ปลาร้า และข้าวเหนียวไก่ย่าง ฟรี ครับ ขอบอก และทั้งหมดนี้ ก็หวังใจว่ามิตรโรแทเรียนทุก ท่าน คงจะได้มีโอกาสที่จะไปสักการบูชาพระธาตุตาม ปีเกิดของตนเองเพื่อสร้างความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง ภายในปีใหม่ 2553 (2010) ศกนี้ ทุกท่าน ขอกล่าวสวัสดีปีใหม่ สุขสมและสำ�ราญ สิ่งไหนต้องแก้ไข ขอสิ่งที่ว่านั้น ขอท่านงานสำ�เร็จ อย่าลืมจงเพิ่มคน ปีใหม่ในปีนี้ ขอให้เก็บรักษา

และอวยชัยถึงทุกท่าน ในปีขาลนานเนิ่นวัน หรืออภัยให้แก่กัน จงบันดาลถึงทุกคน และเสร็จสมในบัดดล ในสโมสรก่อนจรลา ขอสิ่งดีจงวิ่งมา ทั้งสิ่งดีมีในตน.

ด้วยความปรารถนาดีจาก “เอกพาแอ่ว” ครับ

มกราคม ๒๕๕๓


เล่าขานตำ�นาน

นรินทร์ ลิ้มเล็งเลิศ

นักศึกษาปี 4 สาขาการบัญชี และการเงิน University of Virginia, Charlottesville ,Va., USA.

“ล้านนารำ�ลึก 700 ปี ที่สูญหาย”(๕)

ปลายคริศตศักราชที่ ๑๕ การค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตก เติบโตอย่างต่อเนื่องอันเป็นผลสืบ เนื่องจากการสำ�รวจทางเดินเรือของชาวสเปน หรือแม้แต่ชาวจีนเอง (เจิ้งเหอ) ในระยะนั้นซัพพลายของเงิน (Silver) จากอณานิคมของสเปนในโลกใหม่หรือทวีปอเมริกา ได้ขนส่งมาตอบรับกับดีมานด์ของ ราชวงศ์หมิงของจีนได้เป็น อย่างดี และจีนก็ได้ขายของมีค่าออกไปด้วยเช่นกันเพื่อตอบรับดีมานด์ของชาวตะวันตก อาทิ ผ้าไหมและเครื่องลาย คราม การค้าที่ผูกขาดในระยะแรกและเต็มไปด้วยผลกำ�ไร ของชาวสเปนได้ดึงดูดให้ชาวตะวันตกชาติอื่นๆ เข้ามา สู่เอเชียเพื่อมาทำ�การค้า นักประวัติศาสตร์ให้ทฤษฎีว่าอาณาจักรล้านนามาถึงยุคเสื่อมโทรม เพราะว่าไม่สามารถตั้งระบบ ราชการ รวมอำ�นาจเข้าสู่ศูนย์กลางดังเช่น อาณาจักรอยุธยาทางใต้ได้ หากท่านผู้อ่านมีโอกาสโดยสารเครื่องบินที่จะลงสู่ท่า อากาศยานเชียงใหม่ ในวันที่ภูมิอากาศปรอดโปร่ง ท่านจะเห็นถึงเทือกเขาสูงชันอันสลับซับซ้อนในสมัยโบราณ ภูมิประเทศเช่นนี้มีผลต่อทำ�ให้ผู้นำ�จากเชียงใหม่มีอุปสรรคในการปกครองหัวเมือง รอบข้างได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้น แล้วอำ�นาจในการตัดสินใจต่างๆ ย่อมเป็นสิทธิชอบธรรมของผู้นำ� แต่ละหัวเมือง ผิดกับผู้นำ�ทางอยุธยาที่มีสิทธิ สมบูรณ์ในอำ�นาจต่อหัวเมืองต่างๆ หากวัดเจดีย์หลวงและ วัดเจ็ดยอดเป็นตัวแทนของความรุ่งเรืองของอาณาจักรล้านนา ใครจะรู้บ้างว่า วัดโลกโมฬีเป็นสัญลักษณ์แห่งความเสื่อมของล้านนา ตำ�นานยุคปลาย วัดโลกโมฬีเป็นวัดประจำ�รัชกาลของพญา เกศ ราชวงศ์เม็งราย (พศ ๒๐๖๙) ด้วยความอ่อนแอของเชียงใหม่และราชบัลลังก์เม็งราย พญาเกศถูกล้มราชบัลลังก์ ถึงสองครั้ง จนในที่สุดมหาเทวีจิรประภาก็ขึ้นเป็นผู้สำ�เร็จราชการชั่วคราว (๒๐๘๘–๒๐๘๙) โดยท่านตั้งใจให้พระ ไชยเชษฐา แห่งล้านช้าง(ลาว) มาปกครองเชียงใหม่ในหนังเรื่องพระสุริโยทัยนั้น ได้กล่าวถึงตอนที่พระไชยราชาจาก อยุธยาจะยกทัพมาตีเอาเมืองเชียงใหม่ ในเรื่องมหาเทวีจิรประภา แสดงนำ�โดย เพ็ญพักตร์ ศิริกุล ได้จัดอุบาย สัมพันธไมตรีกับ พระไชยราชา ที่วัดโลกโมฬี เพื่อให้เชียงใหม่เป็นเมืองประเทศราชอย่างไรก็ตาม หลังการสำ�เร็จ ราชการของพระมหาเทวี ท่านก็ยกราชบัลลังก์ให้พระไชยเชษฐาแห่งล้านช้าง (๒๐๘๙–๒๐๙๐) วัดโลกโมฬี เมื่อครั้งผมจำ�ความได้นั้นเคยเป็นวัดร้างมาก่อนนานมาแล้ว ก่อนที่จะมีคอนโดสร้างอยู่ที่ ข้างๆ บ้านที่ถนนหัสดิเสวี ผมสามารถมองเห็นยอดเจดีย์แห่งนี้ ชูยอดสูงได้ชัดเจนจากสนามหญ้าหน้าบ้าน หลัง กระแสหนังไม่นานนัก วัดโลกโมฬีจากเดิมที่เป็นวัดร้าง ได้มีผู้เล็งเห็นความสำ�คัญก็ได้มีการทำ�นุบำ�รุงองค์เจดีย์ มี การสร้างอุโบสถ กลายเป็นสถานที่สำ�คัญทางประวัติศาสตร์ ทางทิศเหนือของกำ�แพงเมืองเชียงใหม่ไปในที่สุด เมื่อพระไชยเชษฐาแห่งล้านช้างต้องเสด็จกลับอณาจักรล้านช้าง เพื่อไปในเป็นผู้สืบทอดราชบัลลังก์ มหา เทวีจิรประภาได้ติดตามท่านไปด้วย พร้อมพระแก้วมรกตจากวัดเจดีย์หลวง (ปัจจุบันอยู่ที่วัดพระแก้ว ที่พระบรม มหาราชวัง) ดั่งเป็นเหตุร้าย ยอดเจดีย์หลวงและยอดเจดีย์แห่งวัดพระสิงห์หักทลายลง เชียงใหม่จะตกในอิทธิพล ของพม่ากว่า ๒๐๐ ปี (๒๑๐๑–๒๓๑๗) ช่วงที่ล้านนาถูกครอบงำ�โดยพม่าจะเป็นช่วงที่ อยุธยาและแว่นแคว้นอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกฉียงใต้และ เอเชียตะวันออก เจริญสูงสุดทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ เมื่อมีการติดต่อการค้ากับ ชาวตะวันตก อาทิโปรตุเกส อย่างกว้างขวาง น่าเสียดายเหลือเกินที่ ล้านนาพลาดโอกาสที่จะเติบโตในช่วงนี้ และ เป็นค่าเสียโอกาสที่ยิ่งใหญ่ที่จะเติบโตในคลื่นลูกที่สองนั่นคือ ยุคอุตสาหกรรม

At the ending of the fifteenth century, the trade between the East and the West flourished, which is a product of the technological advance in sailing of the Spanish (some say the Chinese, for instance the legend of Zheng He). During that time, the supply of silver from the Spanish colony in the Americas fulfilled the demand for it of the Ming Dynasty in China. In exchange, the Chinese merchants sold the precious silk and porcelain to satisfy the hunger for valuable and exotic goods of the Westerners. The monopolistic trade with Asia, pioneered and conducted by the Spanish, attracted other European nations to get this share of profit. The decline of Lanna kingdom, explained by historians, is due to the assumption that Lanna leader failed to centralize the power to his center in Chiang mai. If you have a chance to fly from somewhere to Chiang mai, and you are lucky enough to sit beside the window, you can see the complicated system of gigantic mountains. Small villages are between them. This kind of geography no wonder brought obstacle for the Mengrai king to have an absolute power over surrounding towns in Lanna. Leaders in those little towns or cities were technically empowered with decision making in their own jurisdiction. If Wat Chedi Luang and Wat Ched Yot represent the greatness of Lanna, Wat Lok Moli can be thought as representing the opposite. Wat Lok Moli was built during the reign of Playa Ked, the king of Mengrai dynasty (1526 Ce). With the inherent weakness of Mengrai dynasty, Playa Ked had been overthrown twice when he was in power. During 1545 – 1546 Ce, Dhevi Chiraphrapa was praised as the Queen of Lanna awaiting the arrival of Chaiyachetha to be a new Lanna king from Lan Chang (present day Lao). In the movie Suriyothai, Chairacha, Ayutthaya king, brought his army to attack Chiang mai. To save her kingdom, Dhevi Chiraphrapa made a scheme to create a lasting relationship between Chiang mai and Ayutthaya by creating a welcoming cocktail at Wat Lok Moli. Nevertheless, Dhevi Chiraphrapa broke such relationship by giving her throne to Chaiyachetha one year later. Wat Lok Moli in the memory of my youth used to be unoccupied. Nobody seemed to care despite its pagoda which had always been in a perfect remnant. The top of the pagoda could even be seen from the yard of my home on Hatsadisewi road. Fortunately, because of the trend of the movie Suriyothai, the pagoda was repaired, and the temple was erected. Wat Lok Moli has become one of the most important historical places of Lanna Chiangmai in the Northern direction of the Ku Muang canal. When Chaiyachetha inherited the throne from the deceased Lan Chang king, he went back to Lan Chang, and Dhevi Chiraphrapa was on the same trip along with an Emerald Buddha from Wat Chedi Luang. It was thought as a bad sign when the top parts of Chedi Luang and Pla Singh pagoda fell down. Lanna was ruled by Burma for 200 years (1558 – 1774 Ce). During these 200 years, Ayutthaya as well as other kingdoms in South East Asia and East Asia technologically and economically flourished from the trade with the Westerners. It was the biggest opportunity cost to Lanna to later consolidate and survive in the second wave of industrial world.

มกราคม ๒๕๕๓

39 38


Zoom Inside 3360

38 39

Zoom Inside 3360 ประชุมระหว่างเมืองซึ่ง อน.สุนทร เหมทานนท์ สโมสรเวียงโกศัย ประธานจัดการประชุม เตรียมงานด้วยความเข้มแข็ง มิตรโรแทเรียนเดินทางไปร่วม ประชุมถึง 175 ท่าน...***โนเกีย 20 เครื่อง ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ มอบให้ผู้โชค ดีอยู่ร่วมประชุมจนครบวาระ ไม่ได้อยู่ร่วมลุ้นรางวัล ด้วยติดงานมงคลต้องเดินทาง กลับก่อน อน.พัลลภ ลาศุขะ อน.วีระพงศ์ โตแสงไชยและสมาชิกสโมสรเชียงใหม่ หลายๆ ท่าน ...***โชคดีอีกตามเคย อผภ.ไพโรจน์ เอื้อประเสริฐ รับโนเกีย 1 เครื่อง ...*** สุดยอดของการจัดโปรแกรมการประชุม อน.วาณิช โยธาวุธ วิทยากรเกือบ บ๊วย ทำ�เอาสมาชิกแม่สายบ่นอู้...ต้องอยู่จนจบวาระการประชุม ไม่งั้นหายหมดแล้ว ตั้งแต่บ่าย ไม่เชื่อถาม อน.วิชัย ศรีพธูราษฎร์ ...***อผภ.ดร.พรศักดิ์ เอื้อประเสริฐ แถลงงบรายรับ-รายจ่าย อย่างชัดแจ้ง งบส่วนตัวหมดไปเท่าไรไม่แจ้งค่ะ ...***นย. สุภัคกานต์ คงธนศุภธร ให้สมาชิกทุกคนร่วมเล่นแชร์ ทุกวันอังคารทุกคนก็มาร่วม ลุ้นร่วมประชุม ร่วมทานอาหาร คะแนนการประชุม 100% รอรับรางวัลจาก ผวภ. แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ...*** 1 ปี ก่อนเป็นนายก ตะเวนไปทุกหนทุกแห่งที่ อผภ. ดร.พรศักดิ์ เอื้อประเสริฐ เยี่ยมสโมสร ไม่มีสโมสรไหนไม่รู้จัก นย.สุภัคกานต์ คง ธนศุภธร สุดยอด...สุดยอด ...*** นย.ธนิตย น้ำ�เงิน สโมสรโรตารีสอง ก็ 100% เหมือนกัน รอลุ้นรางวัลนะคะ ...*** ประธานอนุกรรมการโปลิโอพลัส อน.ดร.สุร พล นธการกิจกุล รณรงค์ร่วมหยอดวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 ธค.52 ครั้ง ที่ 2 วันที่ 27 มค.53 โปรดร่วมกันหยุดโปลิโอด้วยมือเรา เป้าหมายคือพื้นที่ที่เข้าถึง ยาก แรงงานต่างด้าว สำ�หรับเด็กไทยอายุต่ำ�กว่า 5 ปี เด็กต่างด้าวอายุต่ำ�กว่า 15 ปี เป้าหมาย ปี 2555 รณรงค์ให้โปลิโอหมดไปจากโลก ...*** ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็ง อน.จินดา จรรญาศักดิ์ เลิศ แจ้งในที่ประชุมเด็กสมัคร YE จำ�นวน 47 คน จะได้เดินทางทั้งหมด และมีต่าง สโมสรโรตารี เชียงใหม่ ประเทศแจ้งความประสงค์จะรับเด็กไทยอีก คาดว่าจะมีการประกาศรับสมัครรอบ 2 ถิ่นไทยงาม ไม่น้อยกว่า 13 คน ...*** สำ�หรับการบริจาคนั้น ส่งเงินแล้ว 28,100 เหรียญ แจ้ง ความจำ�นง 47,200 เหรียญ รวม 75,300 เหรียญ 100,000 เหรียญ (100 PHF) คงไม่ ไกลเกินความสามารถของ ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ...*** เลยเวลาอาหารเที่ยง อผภ.อนุวัตร ภูวเศรษฐ เร่งดำ�เนินการอภิปราย ทุกองค์กรจะมีสมาชิกสูญเสียไม่ต่ำ� กว่า 10 % สำ�หรับภาค 3360 เพิ่มได้ 18 คน อีก 6 เดือนยังมีเวลามากพอที่จะเพิ่ม สมาชิก โรแทเรียนเป็นเส้นเลือดใหญ่ขององค์กร ขอเพียงทุกท่านช่วยๆ กัน ...*** ผชภ.สุพจน์ จินันทุยา สโมสรพิษณุโลก 4 ปีแรก 43-46 คัดกรองสมาชิกใหม่อย่าง ดี ปี47-48 มีนายกเก่งเพิ่มสมาชิกได้ถึง 85% มีสมาชิกรวม 45 คน สามารถรักษา สมาชิกได้เท่าเดิมอีก 2 ปี แต่..ปีนี้ 6 เดือน เพิ่มสมาชิก 15 คน นึกว่าใครที่แท้ก็ ป้ากานต์ ซึ่งเป็นที่รักของเด็กๆ YE นั่นเอง นย.ชญากานต์ พิทตระพันธ์ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว ทำ�ดีย่อมได้ดีนะคะ ...*** บินไปแล้วตั้งแต่วันที่ 7 มค.53 ผวล.นพ.วีระ ชัย อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี ด้วย 3 งาน 3 รายการ แต่งงานลูกชายคนเล็ก ที่อเมริกา เรียนจบแล้วตั้งหลักปักฐานอยู่ที่โน่น 17-18 มค.53 ไปประชุม FVP –pilot district ที่ San Diego อน.สุรศักดิ์ พฤกษิกานนท์ ร่วมประชุมเพื่อกลับมาเตรียม งานมูลนิธิโรตารีภาค 18-24 มค.53 ประชุม International Assembly ที่ San Diego เพื่อรับนโยบายสำ�หรับการบริหารภาค 3360 ในสมัยหน้าค่ะ ...***ขอบคุณ อน. นพ.วัชระ สนธิชัย สโมสรลำ�พูน บริจาค 1,000 เหรียญ รทร.ชาญวิช ปั้นทอง สโมสร เชียงใหม่ใต้ บริจาค 1,000 เหรียญ ผวล.นพ.วีระชัย จำ�เริญดารารัศมี บริจาค 1,000 เหรียญ รทร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล บริจาค 500 เหรียญ ร่วมทำ�โครงการ Matching Grant หมายเลข 71599 เพื่อจัดซื้อเครื่องมือทำ�ฟัน 50 ชุดให้หน่วยทันต กรรมเคลื่อนที่ ร่วมกับภาค 5240 และ 5010 อลาสกา สหรัฐอเมริกา ...*** พบกันใหม่ฉบับหน้า .....เอื้องผึ้ง...........

มกราคม ๒๕๕๓


Activities

Rotary Institue Manila 2009

โครงการมอบผ้าห่มต้านภัยหนาวแก่ชาวบ้าน ชาวเขา บนดอยอิทนนท์ โครงการนี้ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตกได้จัดทำ�ขึ้นร่วมกับอดีตผู้ว่การภาคฯและอดีตนายก รุ่น 104 ภาค 3330 จำ�นวน 650 ผืน โดยประสานงานร่วมกับเจ้าหน้าที่อุทยานแห่ง ชาติดอยอินทนนท์ในการมอบให้กับชาวบ้านที่ร่วมกันอนุรักษ์รักษาป่าและแหล่ง ต้นน้ำ� อีกทั้งยังร่วมจัดงานวันเด็ก ณ ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ มี ของขวัญมอบให้เด็กๆ เช่น ตุ๊กตา ขนม กว่าพันชิ้น ในวันที่ 9 มกราคมที่ผ่านมา ครับ บรรยากาศชื่นมื่นเย็นสบาย ม่วนขนาดโดยทางคณะฯจากภาค 3330 ได้เดิน ทางมาถึงตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม ซึ่งทางผู้ว่าการภาคฯแววดาว ได้เป็นเจ้าภาพเลี้ยง อาหารกลางวันต้อนรับคณะฯ ที่ คุ้มเวียงยองด้วย

Rotary Cowboy’s night แม่สาย

สโมสรโรตารีแม่สายจัดงาน คาวบอย ไนท์ เป็นการส่งท้าย ปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ มีผู้ร่วม งานมากกว่า 400 คน เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2552 ณ มูลนิธิกวงเม้ง

มกราคม ๒๕๕๓

40 41


End Polio Now

สโมสรเชียงใหม่ถิ่นไทย งาม และสโมสรโรตารีใน จังหวัดเชียงใหม่ ร่วม หยอดวัคซีนโปลิโอ ที่ โรงเรียนพระหฤทัย และ โรงเรียนวัดป่าแพ่ง ในวัน ที่ 22 และ 23 ธันวาคม 2552 มีนักเรียนหลาย ร้อยคน สโมสรโรตารีเชียงใหม่ และสโมสรโรตารีใน จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมทำ� กิจกรรม หยอดวัคซีน โปลิโอให้แก่นักเรียน โรงเรียนวัดดอนจั่น เมื่อ วันที่ 23 ธันวาคม 2552 มีนักเรียนไม่น้อยกว่า 400 คน

นย.ตระสัก ศรีธิพรรณ์ นำ�มวลมิตร โรตารีแม่สายร่วมหยอดโปลิโอ ให้ เด็กชาวไทย และชาวต่างชาติ ณ.บริเวณด่านพรมแดนแม่สายพม่า การหยอดโปลิโอครั้งแรกของ ปี 52 วันที่ 23 ธคที่ผ่านมา ถือ เป็นโครงการข้ามประเทศนะเนี้ย สโมสรโรตารี ดอย พระบาท ลำ�ปาง ร่วม หยอดโปลีโอ ที่ รร.อนุบาล ไตรภพวิทยา และ รณรงค์ให้มีการ หยอดวัคซีน ให้แก่บุตร หลานอย่างสม่ำ�เสมอ

41 40

มกราคม ๒๕๕๓


Activities

Intercity Meeting จ.แพร่ อน.สุ น ทร เหมทานนท์ ประธานจัดงานประชุมระหว่างเมือง และสโมสรโรตารีในจังหวัดแพร่ ร่วม เป็นเจ้าภาพจัดงาน ประชุมระหว่าง เมือง เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมแม่ยมพาเลส จ.แพร่ มีมิตร โรแทเรียนร่วมงานไม่น้อยกว่า 170 ท่าน

สโมสรโรตารีเชียงใหม่ ถิ่นไทยงาม และ สโมสรโรตารีแพร่ ได้ ตกลงปลงใจลงนาม เซ็นสัญญาคู่มิตร เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2552 ที่จังหวัดแพร่ สโมสรโรตารีล้านนาจัดสาธิต และฝึกทำ�สบู่สมุนไพรให้แก่ สมาชิกในสโมสร โดยมีเด็ก ชายณัฐพงศ์ ธนกุลกานต์ และเด็กชายคฒุน ลายประวัติ นักเรียนและคุณครูจาก โรงเรียนวารีเชียงใหม่มาเป็น วิทยากรให้ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2552

อารียา สิริโสดา “ป๊อบ” อดีต นางสาวไทยเป็นวิทยากรบรรยาย พิเศษเรื่อง “จดหมายรักจาก ภูเขา” ให้แก่สมาชิกสโมสรโรตาร ล้านนาเชียงใหม่และสโมสรโรตาร เชียงใหม่ใต้ ในการประชุมประจำ� สัปดาห์เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมรอยัล เพนนินซูล่า เชียงใหม่

มกราคม ๒๕๕๓

42 43


ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ร่วมงาน ฉลองวันเฉลิมพระชนม์พรรษา ของจักรพรรดิญี่ปุ่น เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2552

คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ภาค 3330, 3340, 3350, และ 3360 ได้ประชาสัมพันธ์การ รณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอของสโมสรโรตารีใน ประเทศไทย โดยบันทึกเทปการออกอากาศ ของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม “Super Cheng” เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 ณ ห้อง ส่งสถานีโทรทัศน์ Super Cheng กรุงเทพฯ สโมสรเชียงใหม่ และสโมสรโรตารีใน จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมเป็นเจ้าภาพ งาน สวดพระอภิธรรม คุณทาคาโกะ คาโนมิ สตรีชาวญี่ปุ่น คู่มิตรของสโมสรเชียงใหม่ ซึ่งได้มาถึงแก่กรรมในจังหวัดเชียงใหม่ และพระราชทานเพลิงศพ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านมา ณ สุสานสันกู่เหล็ก งานส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปี ใหม่ ที่บ้านเรือนไทยย่าน แม่ริม ของ ผวภ.แววดาว ลิ้ม เล็งเลิศ เมื่อวันที่ 30-12-52

รี รี �

43 42

มวลมิตรโรแทเรียนหลาย สโมสรในจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมแสดงความยินดี กับ คฤหาสน์หลังใหม่ ของ อน.จินดา จรรญาศักดิ์ ได้ ทำ�บุญขึ้นบ้านใหม่เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2552 ย่าน ป่าแดด

มกราคม ๒๕๕๓


มุม...สบาย...สบาย

มวลมิตรโรแทเรียน โรตารีแอนน์และสุภาพบุรุษโรตารีที่เคารพ สวัสดีปีใหม่ 2553 ขอให้มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านจงประสพแด่ความสุข ความเจริญ คิดสิง่ ใดขอให้ได้สมปรารถนา หวังสิง่ ใดขอให้ได้ในสิง่ ทีห่ วัง มีสขุ ภาพพลานามัยทีแ่ ข็งแรงสมบูรณ์ ทุก ๆ ท่านด้วยเทอญ ของรางวัลฉบับนี้เป็นกระเป๋าเงินแบรนด์เนม 3 รางวัล เป็นคำ�ถามมีคำ�ตอบอยู่ในสาร ผู้ว่าการภาคฉบับที่ 5 เชิญมวลมิตรร่วมทายปัญหามาได้ ส่งคำ�ตอบมาที่ akeelawat @yahoo. com หรือจดหมายมาที่ 23 ถนนพหลโยธิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130 เงินหาย เหงื่อหายไปไหน มีคนเก็บกระเป๋าที่เศรษฐีทำ�หายเมื่อเดือนที่ เมื่อวันที่ไฟดับ เสี่ยรู้สึกร้อนอบอ้าวจนเหงื่อ แล้วมาคืนเศรษฐีนับเงินในกระเป๋าแล้วกลับ ไหลไคลย้อย จึงเรียกลูกน้องมาช่วยพัดให้ หลัง ขมวดคิ้วด้วยความเศร้าใจ จากที่ลูกน้องพัดอยู่พักหนึ่ง เสี่ยก็รู้สึกสบาย คนที่เก็บกระเป๋าได้ถามด้วยความเป็นห่วงว่า เมื่อคลำ�ดูตัวเองก็พบว่าเหงื่อไม่ไหลแล้ว ก็เริ่ม “เงินไม่ครบหรือครับ” สงสัย “เอ๊ะ แล้วเหงื่อหายไปไหนนะ” เศรษฐี ต อบว่ า “เงิ น ยั ง อยู่ค รบทุ ก บาท แต่ “เหงื่อของเสี่ยมันย้ายมาที่ตัวผมแล้วครับ” ลูก ดอกเบี้ยที่ควรได้จากปล่อยกู้มันหายไป” น้องพูดพลางปาดเหงื่อไหลย้อยบนหน้าผาก

อน.อภิชัย คีลาวัฒน์ สโมสรโรตารีแม่สาย ส่งคำ�ตอบมาที่ akeelawat@yahoo.com หรือจดหมายมาที่ 23 ถนนพหลโยธิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 57130

ผมขาวในแก้วเหล้า ไม่อยากถ่ายรูป “บ๋อย ทำ�ไมแก้วเหล้ามีผมขาวลอยอยู่” ผู้กำ�กับหนังเตรียมถ่ายภาพคนกับเสือเล่นกัน “คุณควรภูมิใจนะครับ แสดงว่าเหล้าของเรา แต่กลับถูกนางแบบปฎิเสธเสียงแข็ง เก็บไว้นานจริง ๆ” “ไม่ต้องกลัวหรอก เสือตัวนี้เกิดในสวนสัตว์ และก็กินนมวัวจากขวดนม ” ผู้กำ�กับพูด เพราะโทรศัพท์เครื่องเดียว “แล้ ว มั น พิ สู จ น์ อ ะไรได้ ค ะ ฉั น เกิ ด ในโรง ใบหูสองข้างของคนขี้เมาบวมแดงคล้ายถูกของ พยาบาล แล้วก็ดืม่ นมวัวจากขวดนมเหมือนกัน ร้อนลวก มีเพื่อนถามเขาว่าเกิดอะไรขึ้น แต่ฉันก็ยังกินเนื้อสัตว์อยู่เลย” นางแบบตอบ “ก็ เ มี ย ผมนะสิ ดั น เอาเตารี ด มาวางไว้ ข้ า ง โทรศัพท์ พอโทรศัพท์ดังขึ้นมา ผมก็ยกเตารีด ตรวจก่อนแต่ง ขึ้นแนบหูนึกว่าเป็นโทรศัพท์” คนขี้เมาพูด มีคู่รักคู่หนึ่งไปจดทะเบียนสมรสกัน “ถ้าอย่างนั้น หูอีกข้ามบวมเพราะอะไร” นายอำ�เภอ: คุณไปตรวจก่อนแต่งแล้วหรือยัง “ก็เพราะไอ้บ้าคนนั้นโทรเข้ามาอีกนะสิ” ว่าทีภ่ รรยา : ตรวจแล้วค่ะ ทัง้ บ้าน ทัง้ รถ ตรวจ จนหมดแล้วค่ะ มากกว่าหลายเท่า นายอำ�เภอ : ผมหมายถึงไปโรงพยาบาลน่ะ นาย.ก อาทิตย์ก่อนเม็ดทรายเม็ดหนึ่งเข้าตา ผู้หญิงคนนั้นเลยหน้าแดงแล้วตอบเสียงเบาๆ ภรรยาผม หล่อนจึงไปหาหมอในที่สุดเสียเงิน ว่า 300 บาท ว่าที่ภรรยา : ตรวจแล้วค่ะ เป็นเด็กผู้ชาย นาย.ข ยังไม่เท่าไรหรอก อาทิตย์ก่อนเสื้อหนัง ตัวหนึ่งต้องตาภรรยาผม ผมต้องเสียเงิน 3,000 บาท

คำ�ถาม Puzzle มกราคม ๒๕๕๓

1. การบำ�เพ็ญประโยชน์ร่วมกันของสโมสรโรตารีชิคาโก ครั้งแรก ได้สร้างอะไร ? 2. ท่านบิลล์ เกตส์ ได้อุทิศเงินให้กับโรตารี เพื่อกวาดล้าง โปลิโอ รวมแล้วเป็นเงินเท่าไร? 3. ผู้อำ�นวยการค่ายอบรมไลล่า 2009–10 ภาค 3360 คือ ใคร ? 4. ศิษย์เก่ามูลนิธิโรตารี หมายถึงใคร ? 5. ยาอายุวัฒนะของฯพณฯ พิชัย รัตตกุล คืออะไร ?

45 44


DG’s Activities

(บนสุด) ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีลงนามสัญญา คู่มิตรระหว่าง สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม และสโมสรโรตารีแพร่ วัน ศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ สวนอาหารระเบียงบึง อ.เมือง จังหวัด แพร่ (กลางขวา) ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศ รับเชิญเป็นประธานในพิธีปล่อย ปลามหากุศล เนื่องในวันพ่อวันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ลาน เอนกประสงค์ริมน้ำ�น่าน อ.เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์

44 45

(กลาง) รณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอ ให้กับเด็กๆ ที่ชุมชนบ้านป่าแพ่งและ ดอนจั่น (กลางซ้าย) ผวภ.แววดาว ลิ้มเล็งเลิศเคาะฆ้องปิดการประชุม ระหว่างเมืองประจำ�ปี 2552-2553 วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ โรงแรมแม่ยมพาเลซ อ.เมือง จังหวัดแพร่(ล่างสุด) ร่วมงานสังสรรค์ตอ้ นรับ ปีใหม่ของ สโมสรโรตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม วันพุธที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. มกราคม 2552 ณ บ้านพักรับรอง อ.สันทราย จั๒๕๕๓ งหวัดเชียงใหม่


แทนคำ�นับพัน

1915 The Saigon Opera House

(An opera house in Ho Chi Minh City)

โรงละครโอเปรา กรุงไซง่อน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

2009

XinJao Vietnam!

โรงละครโอเปรา แห่ ง กรุ งไซง่ อ น (ปั จ จุ บั น โฮจิ มิ น ห์ ซิ ตี้ ) เป็ น ตั ว อย่ า ง สถาปัตยกรรม ของฝรั่งเศสในเวียดนามยุคที่ ตกเป็นอาณานิคม สร้างขึ้นในปี 1897 โดย สถาปนิก Ferret Eugene โดยมีรูปลักษณ์ คล้ายกับ Opera Garnier ณ กรุงปารีส

มกราคม ๒๕๕๓

โรงละครโอเปราแห่งนี้ เป็นโรงละคร ที่คู่กันกับอี กแห่ง หนึ่งในกรุง ฮานอย แต่มี ขนาดเล็กกว่า สามารถจุผู้ชมได้ จำ�นวน 800 ที่นั่ง สถานที่แห่งนี้เคยใช้เป็นที่ประชุมสภา นิตบิ ญ ั ญัตขิ องเวียดนามใต้ จนถึงปี 1956 ก่อน จะทำ�การปรับปรุงและ มาเป็นโรงละครจวบ กระทั่งทุกวันนี้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.