rotary Thailand
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 129 กรกฎาคม-สิงหาคม 2553 July - August 2010
โ ร ต า รี ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย w w w . r o t a r y t h a i l a n d . o r g
โรตารี คืออะไร ?
วัตถุประสงค์ของโรตารี
โรตารี คือ องค์กรของนักธุรกิจและวิชาชีพจาก ทั่วโลก ซึ่งบำ�เพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริม มาตรฐานจรรยาบรรณในทุกวิชาชีพพร้อมทั้งช่วยสร้าง ไมตรีจิต และสันติสุขในโลก
The Object of Rotary The object of Rotary is to encourage and foster the ideal of service as a basis of worthy enterprise and, in particular, to encourage and foster :
“Rotary is an organization of business and professional persons united worldwide who provide humanitarian service, encourage high ethical standards in all vocations, and help build good will and peace in the world”
FIRST. The development of acquintance as an opportunity for service; SECOND. High ethical standards in business and professions, the recognition of the worthiness of all useful occupations, and the dignifying of each Rotarian’s occupation as an opportunity to serve society; THIRD. The application of the iedal of service in each Rotarian’s personal, business, and community life;
บททดสอบสี่แนวทาง The Four-Way Test Of the things we think, say or do 1) Is it the TRUTH?
FOURTH. The advancement of international understanding, goodwill, and peace through a world fellowship of business, and professional persons united in the ideal of service. วัตถุประสงค์ของโรตารี โรตารีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมอุดมการณ์ แห่งการบำ�เพ็ญประโยชน์ ในการดำ�เนินกิจกรรมที่มีคุณค่าเป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม
หนึ่ง การเสริมสร้างความคุ้นเคยระหว่างสมาชิก เพื่อการบำ�เพ็ญ ประโยชน์
สอง การยกระดับจรรยาบรรณในธุรกิจและวิชาชีพ การยอมรับ
2) Is it FAIR to all concerned? 3) Will it build GOODWILL and BETTER FRIENDSHIPS?
คุณค่าในการประกอบอาชีพทีย่ งั คุณประโยชน์ และการให้โรแทเรียน ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตน เพื่อการบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
4) Will it be BENEFICIAL to all concerned?
สาม การให้โรแทเรียนทุกคน นำ�เอาอุดมการณ์แห่งการบำ�เพ็ญ
“ไม่ว่าสิ่งใดที่เราคิด พูดหรือปฏิบัตินั้น 1. เป็นจริงหรือไม่ 2. เป็นธรรมไหมต่อทุกสิ่ง 3. จะสร้างเสริมไมตรีจิตและ มิตรภาพหรือไม่ 4. เป็นประโยชน์ไหมแก่ทุกฝ่าย”
สี่ การเพิ่มพูนความเข้าใจ ไมตรีจิตและสันติสุขระหว่างชาติ ด้วย
At a Glance Rotary Members: 1,224,384* Clubs: 33,855*
ประโยชน์ไปใช้ในชีวิตส่วนตัว ธุรกิจและชุมชน
มิตรสัมพันธ์ของบุคคลในธุรกิจและวิชาชีพทั่วโลก ที่มีอุดมการณ์ใน การบำ�เพ็ญประโยชน์อย่างเดียวกัน
As of 31 March *As of 30 April
Rotaract Members: Interact Members: 186,898 288,857 Clubs: 8,126 Clubs: 12,559
Rotary Community Corps Members: 159,666 Corps: 6,942
สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท กรกฏาคม ๒๕๕๓
กระแสการเปลี่ยนแปลง Winds of change โลกเรานี้ช่างน่าพิศวงนัก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกำ�ลังเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมาก จนเป็นเหตุให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านอาชีพและในธุรกิจต่างๆ อยู่เสมอ แต่กระนั้นก็ดี ประชากรโลก ประมาณหนึง่ ในสามยังคงมีชวี ติ อยูใ่ นระดับทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปเพียงเล็กน้อย ซึ่งเป็นข้อแตกต่างอย่างสิ้นเชิงและเป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง โรตารีนั้นมีทั้งมรดกที่น่ายกย่องและมีอนาคตที่แจ่มใส ดังนั้นงานชิ้นแรกของผมใน ตำ�แหน่งประธานก็คือ การเสริมสร้างชีวิตชีวาและความอยู่รอดของสโมสรโรตารี เพื่อจะได้ ประสบผลสำ�เร็จ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคม นี่คืองานที่มีความสำ�คัญมาก เนื่องจากสโมสรเท่านั้นที่จะเป็นผู้ให้การบรรเทาและตอบสนองโดยตรงที่รากเหง้าปัญหาของ สังคม ดังนั้น สโมสรจึงเป็นผู้ที่สามารถทำ�ให้โลกเรานั้นน่าอยู่ยิ่งขึ้น กระแสการเปลีย่ นแปลง นีย้ งั คงเป็นวลีใหม่มคี วามหมายมาก สมัยทีผ่ มไปเป็นนักศึกษา ของโรตารีในอัฟริกาใต้เมื่อต้นทศวรรษ 1960 จึงเป็นสิ่งที่ไม่น่าแปลกที่วลีที่กล่าว ซึ่งถูกนำ�มา ใช้เป็นครั้งแรกในเมืองเคปทาวน์ที่เป็นเมืองของเจ้าภาพผู้อุปการะผมในสมัยนั้น ถูกกลับนำ�มา ใช้ในโรตารีในปัจจุบัน ขณะที่เรากำ�ลังเผชิญหน้าการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในสังคม ที่มีผลทำ�ให้ องค์กรของเรามีการเปลี่ยนแปลงเช่นกันด้วย กระแสการเปลี่ยนแปลง นี้จึงเป็นวลีที่ทุกคนรู้จัก กันดีทั่วไป ขณะนี้ เรากำ�ลังเพลิดเพลินกับความเจริญของนวัตกรรมในโรตารีสากล เราสามารถ พิจารณาโปรแกรมต่างๆและการปฏิบตั กิ ารของเราทัง้ หมด เพือ่ หาทางปรับปรุงให้ดยี งิ่ ขึน้ ขณะ เดียวกันเราก็ยังยึดมั่นในคุณค่าหลักของโรตารีไว้อย่างยั่งยืน ผมหวังว่ามิตรโรแทเรียนหลายๆ ท่าน จะได้ใช้โอกาสนี้ให้เป็นประโยชน์ ด้วยการรู้จักค้นหาวิธีการปรับปรุงสโมสรและภาคของ ตน ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นเช่นเดียวกัน โรตารีนั้นมีชีวิตมีลมหายใจอยู่ในสโมสรของเรา 33,000 แห่งในโลก และด้วยสโมสร เหล่านี้ ที่สามารถปรับปรุงคุณภาพชีวิต ด้วยการช่วยให้ ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก หากว่าเราประสบผลสำ�เร็จในการช่วยให้สโมสรเติบโตขึ้น ดียิ่งขึ้น และกล้ากระทำ�การมากยิ่ง ขึ้นในปีข้างหน้า เราจะได้เห็นกันอย่างชัดเจนว่า วันเวลา ที่ดีที่สุดของโรตารี จะรอเราอยู่ข้าง หน้า พวกเราโชคดีที่ได้มาเป็นโรแทเรียน ดังนั้น ขอให้เรามาช่วยกันทำ�ให้โลกนี้น่าอยู่ยิ่งขึ้นเถิด เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)
สารประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท สิงหาคม ๒๕๕๓
ชุมชนสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก Building Communities – Bridging Continents โรแทเรียนหลายท่านถามผมว่า ผมเลือกคติพจน์ประจำ�ปีบริหารของผมอย่างไร ผม ขอเรียนให้ทราบว่า หลังจากที่ได้ทบทวนคติพจน์ในอดีตทั้งหมดดูแล้ว ผมตกลงใจว่า จะเลือก ใช้ค�ำ เพียงไม่กคี่ � ำ เพือ่ ตอบสนองวัตถุประสงค์สองประการ คือ ทำ�ให้คนภายนอก มองเห็นภาพ วัตถุประสงค์ของเราอย่างย่อๆ และในเวลาเดียวกัน ให้มิตรโรแทเรียนได้ภาคภูมิใจในการเป็น สมาชิกของตนด้วย ผมพยายามค้นหาคำ�ทีบ่ รรยายอารมณ์ความรูส้ กึ การสร้างสรรค์และการมีจติ ใจกว้าง ของโรแทเรียน เพื่อจะได้ค�ำ ที่เหมาะสม ผมคิดอยู่ตลอดเวลาว่า โรตารีคือ จิตวิญญาณของการ ให้บริการ เช่นเดียวกับการเป็นองค์กรของสโมสรโรตารี นีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราจะต้องแบ่งปันแก่นแท้ของ คุณค่าในการให้บริการ การมีไมตรีจิตมิตรภาพในความแตกต่าง การมีบูรณภาพเป็นหนึ่ง เดียวกันและใช้ความเป็นผู้นำ� ไปแบ่งปันให้กับผู้คนและองค์กรอื่นๆ ผมได้ทบทวนวลีและคำ� ต่างๆ มากมาย แต่สดุ ท้ายผมก็เลือกใช้ค�ำ เพียง 4 คำ�สำ�หรับถ่ายทอดภารกิจปัจจุบนั ของ โรตารี และจุดเด่นๆ ในผลงานของเราที่บรรยายสิ่งที่โรแทเรียนทำ�ได้ดีที่สุด นั่นก็คือการช่วยชุมชน สร้างสรรค์ - สานสัมพันธ์โลก ผมหวังว่าท่านคงเห็นด้วยกับการใช้คำ� 4 คำ�ทีก่ ล่าวมา ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าเราคือใคร และสิ่งที่เรากระทำ�ไปในฐานะโรแทเรียน เราคือองค์กรที่เป็นหนึ่งเดียวและแน่นอนว่า เราคือ องค์กรหนึง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกด้วย เราเป็นผูส้ ร้างจิตวิญญาณและทรัพยากรต่างๆ ในชุมชนท้องถิน่ ของเราทีม่ คี วามสำ�คัญ และเรายังเป็นผูแ้ สดงบทบาทสำ�คัญบนเวทีโลก ในโครงการโปลิโอพลัส และในโครงการบริการระหว่างประเทศต่างๆ โรตารีสามารถเปลีย่ นแปลงโลก และโรแทเรียนยังพยายามเปลีย่ นแปลงในทางทีด่ ตี อ่ ไป สูตรง่ายๆ ที่เราใช้ เพื่อความสำ�เร็จ คือ เราต้องพยายามมุ่งเน้นกระทำ� ในสิ่งที่โรแทเรียน ปรารถนาให้ดีที่สุด และสิ่งที่ชาวโรแทเรียนสามารถทำ�ได้ดีที่สุดในโลก นั่นคือการช่วยชุมชน สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก. เรย์ คลิงกินสมิท ประธานโรตารีสากล 2010-2011 Ray Klinginsmith, 2010-2011 RI President (Translation – pichet3330@gmail.com)
02
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
สารประธานทรัสตีฯ
คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ กรกฏาคม ๒๕๕๓
แผนวิสัยทัศน์ - หน้าต่างเปิดอนาคต Using Future Vision as a window to the future แผนวิสัยทัศน์สู่อนาคต เริ่มใช้ในวันที่ 1 กรกฎาคมนี้ มูลนิธิโรตารีได้ด�ำ เนินการด้วย ความรอบคอบอย่างยิ่งและทำ�งานอยู่เบื้องหลังแผนนี้มานานพอสมควร โดยการทำ�งานของ บริษทั ทีป่ รึกษาสองบริษทั และใช้ฐานข้อมูลใบตอบรับจากแบบสอบถามของโรแทเรียนจำ�นวน 10,000 ราย คณะกรรมการแผนวิสัยทัศน์อนาคตและทรัสตีมูลนิธิได้ร่วมกันทำ�งานอย่างหนัก เพื่อการขับเคลื่อนแผนวิสัยทัศน์สู่อนาคตให้เดินหน้าต่อไป มูลนิธิโรตารี ได้ประสบผลสำ�เร็จมากมายมานานหลายปี แต่กระนั้นก็ดี ในขณะที่โลก เปลี่ยนแปลงไป มูลนิธิก็มีความจำ�เป็นต้องปรับเปลี่ยนไปพร้อมกัน และมีความจำ�เป็นต้องร่วม มือกับองค์กรอื่นในอนาคตข้างหน้าอีกด้วย มูลนิธิโรตารีต้องไม่พลาดในการทำ�งานดังกล่าวนี้ เราจำ�เป็นจะต้องปรับแต่งวิสัยทัศน์ของเราและเพิ่มขีดความมุ่งมั่นของเราให้มากยิ่งขึ้น ทุกวัน นี้ ผู้คนมักไม่เข้าร่วมในองค์กร แต่จะเข้าร่วมด้วยสาเหตุต่างๆ เราจำ�เป็นต้องใช้ประโยชน์จาก สิ่งที่เรียนรู้จากโปรแกรมกวาดล้างโปลิโอของเรา เราจำ�เป็นต้องคิดถึงเรื่องใหญ่ๆ (ที่สำ�คัญต่อ ชุมชนโลก) เมื่อเราได้รับเงินบริจาคก้อนใหญ่จากมูลนิธิบิลและเมลินดา เกตส์นั้น เราสามารถ จัดการบริหารได้ไม่ยาก เพราะว่าเราได้สร้างระบบบริหารจัดการในโครงการโปลิโอพลัส มา นานกว่า 20 ปี แต่หากว่าเราจะต้องรับทุนสนับสนุนในขนาดเดียวกันอีกสำ�หรับโปรแกรมอื่นๆ เรายังไม่ค่อยแน่ใจนักว่า สโมสรและภาค จะมีการเตรียมการบริหารจัดการเงินทุนให้มี ประสิทธิภาพได้เพียงใด และในการบริหารของมูลนิธิเอง ทุกวันนี้ จะสามารถจัดการกับเงิน บริจาคขนาดใหญ่เช่นนั้นได้เพียงใด แผนวิสยั ทัศน์สอู่ นาคตของเรา จะเดินหน้าต่อไป ด้วยการให้สโมสรและภาค ได้รบั ผิด ชอบ ควบคุม และยืดหยุน่ ในการติดตามบริหารเงินกองทุนของตนได้มากยิง่ ขึน้ อย่าลืมว่ามูลนิธิ โรตารีเป็นของโรแทเรียนเมื่อสโมสรและภาคได้ใช้โอกาสนี้ให้เป็นประโยชน์แล้ว พนักงานเจ้า หน้าที่ ในสำ�นักงานต่างๆ ของเราในโลก ก็จะมีเวลาไปทำ�งานเรื่องอื่นๆ ที่จะช่วยเสริมสร้าง อนาคตของมูลนิธิยิ่งขึ้นต่อไป คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ - Carl-Wilhelm Stenhammar ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี - Foundation Trustee Chair (Translation – pichet3330@gmail.com)
สารประธานทรัสตีฯ
คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ สิงหาคม ๒๕๕๓
ความแข็งแกร่งของมูลนิธิโรตารีอยู่ที่ การบริจาค การขยายสโมสร และ สมาชิกภาพ The Rotary Foundation’s strength depends on membership, extension, and contributions
เป็นเรื่องที่น่าสังเกตว่า ประเทศอินเดีย ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา 3 ประเทศนี้ มี ประชากรที่เป็นโรแทเรียนสูงถึงร้อยละ 46 ของประชากรโรแทเรียนทั่วทั้งโลก และเมื่อรวม ประเทศเกาหลี และไต้หวัน ด้วยแล้ว ถือว่าประเทศทั้งหมดนี้เป็นกลุ่มผู้บริจาครายใหญ่ที่สุด สำ�หรับมูลนิธิโรตารี แน่นอนครับว่า นีค่ อื สิง่ สำ�คัญทีส่ ดุ สำ�หรับมูลนิธโิ รตารี เนือ่ งจากโอกาสทีจ่ ะสนับสนุน โปรแกรมต่างๆ นั้นขึ้นอยู่กับการบริจาคของโรแทเรียน ของสโมสรและภาคทั้งหมดด้วย ผมจึง ยินดีที่ได้เห็นว่า แม้จะมีอุปสรรคปัญหาการเงิน ในโลกก็ตาม แต่โรแทเรียนยังมีใจกว้างมากใน การสนับสนุนมูลนิธิโรตารีของตน และเป็นสิ่งที่เราต้องไม่ลืมด้วยว่า มูลนิธิโรตารีนั้น เป็นของ โรแทเรียนทุกคน โชคไม่ดีที่สมาชิกภาพของเราหยุดนิ่งมาหลายปีแล้ว แต่วิธีการรักษาสมาชิกไว้ คือวิธี เดียวที่จะทำ�ให้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นมาได้ หรืออย่างน้อยที่สุด ก็ไม่ลดน้อยลงไป อีกประการหนึ่งคือ การขยายสโมสร ตัวอย่างก็คือ ผมคิดว่าถึงเวลาแล้ว ที่เราต้อง ศึกษาความเป็นไปได้ในการขอ กลับเข้าประเทศคิวบาอีกอย่างจริงจัง ตลอดจนการศึกษาความ เป็นไปได้ในการขยายสโมสรในประเทศจีนในมาตราส่วนกว้างขวางยิ่งขึ้น ผมเชื่อว่าจะเป็นไป ได้ หากว่าเราลองทำ�กันอย่างจริงจัง แต่ถ้าเราไม่ทำ� มันก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ นี่เป็นเพียงแค่สอง ตัวอย่างเท่านั้น ซึ่งมีอีกมาก ดังนัน้ เราจึงมีขอ้ สังเกตได้วา่ การบริจาคเงิน การขยายสโมสร และสมาชิกภาพ ทัง้ หมด ที่กล่าวมานี้ ล้วนเกี่ยวข้องสัมพันธ์ด้วยกัน จึงควรถือเป็นเกียรติ และเป็นหน้าที่ของโรแทเรียน ทุกท่านที่จะทำ�งานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายเหล่านี้ ขณะที่เรากำ�ลังดำ�เนินการให้ ชุมชน สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์โลก ด้วยการให้บริการเหนือตนเอง คาร์ล วิลเฮล์ม สเตนแฮมเมอร์ - Carl-Wilhelm Stenhammar ประธานทรัสตีมูลนิธิโรตารี - Foundation Trustee Chair (Translation – pichet3330@gmail.com)
04
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Club Builder Award อน.ดร.บุษบง จำ�เริญดารารัศมี สโมสรโตารีเชียงใหม่ถิ่นไทยงาม ผู้แปล ปีนี้โรตารีสากลมีนโยบายที่จะยกย่องโรแทเรี ย นที่ สนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งแก่สโมสร โดยให้ผู้ว่าการภาค เสนอชือ่ โรแทเรียนจากภาคจำ�นวน 1 คน ทีส่ ามารถกระตุน้ การ เพิ่มสมาชิกได้สูงสุด โดยตั้งรางวัล Club Builder Award ให้แก่ บุคคลที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ผู้มีสิทธิ์ได้รับการเสนอชื่อ 1. เป็นสมาชิกสามัญที่มีอายุการเป็นสมาชิกภาพไม่ น้อยกว่า 10 ปี 2. เคยเป็นนายกสโมสร 3. สโมสรต้องมีสมาชิกมากกว่า 30 คนต่อเนื่องเป็น เวลา 3 ปีจึงจะมีสิทธิ์เสนอชื่อ ผู้ไม่มีสิทธิ์ถูกเสนอชื่อ 1. นายกสโมสรคนปัจจุบัน 2. ผูว้ า่ การภาคปัจจุบนั ผูว้ า่ การภาครับเลือก และ อดีต ผู้ว่าการภาค 3. กรรมการบริหารโรตารีสากล กรรมการบริหาร โรตารี สากลรับเลือก และอดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล ผู้ถูกเสนอชื่อต้องมีผลงาน ดังนี้ 1. สามารถเพิ่มสมาชิกใหม่เข้าสู่สโมสรสะสมได้ 5 คน และทั้ง 5 คนนั้นต้องยังคงสภาพเป็นสมาชิกสามัญในวันที่ถูก เสนอชื่อ 2. มีสว่ นร่วมในการอบรมให้ความรูแ้ ก่สมาชิกในสโมสร 3. เข้าร่วมโครงการบริการวิชาชีพในระดับสโมสรหรือ ระดับภาคอย่างน้อย 1 โครงการ 4. เข้าประชุมระดับภาคมากกว่า 2 ครั้ง ในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา ผู้ถูกเสนอชื่อต้องได้รับการรับรองจากอดีตนายกของ สโมสรอย่างน้อย 3 ท่าน (หรือจากสโมสรก่อนหน้าหากมีสถานะ เป็นสมาชิกในสโมสรปัจจุบันน้อยกว่า 3 ปี) ผู้ ว่ า การภาคจะแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการคั ด เลื อ ก ประกอบด้วย อดีตผู้ว่าการภาค 3 ท่าน และ ผู้ว่าการภาคจะ ต้องเสนอชื่อบุคคลดังกล่าวภายในวันที่ 1 พฤศจิกายน
rotary Thailand นิตยสารโรตารี ประเทศไทย
06
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
นิตยสารรายสองเดือน ปีที่ 28 ฉบับที่ 129 กรกฎาคม-สิงหาคม 2553 July - August 2010
สารบัญ Content
สารประธานโรตารีสากล สารประธานทรัสตีฯ สารบัญ คณะทำ�งาน บทบรรณาธิการ จดหมายถึง บ.ก. คณะกรรมการบริหารโรตารีสากล
1-2. 3-4 6-7
8 9-11 12-13
สกู๊ปพิเศษ 14-25 “ก่อนจะมาเป็นประธานโรตารีสากล” สกู๊ปพิเศษ 2 26-35 “ทัศนคติที่เปลี่ยนไปจากเนปาล” เยาวชน สิ่งละอันพันละน้อย ศูนย์โรตารีในประเทศไทย Rotary Coordinators Rotary in action
36-38 39-40 41 42-43 44-45
กองบรรณาธิการ
สถานที่ติดต่อ 29/10 หมู่2 ต.ช้างเผือก อ.เมืองจ.เชียงใหม่ 50300 29/10 Mu2,Chang Puak, Muang,Chiang Mai,THAILAND 50300 Tel (66)81 595 7999 Fax (66)5335 7345 Email: chamnanxyz@hotmail.com chamnanxyz@gmail.com ชำ�นาญ จันทร์เรือง Chamnan Chanruang
สุรกิจ เกิดสงกรานต์ Surakit Kerdsongkran
วาณิช โยธาวุธ Vanit Yotharvut
อรอนงค์ ศิริพรมนัส Onanong Siripornmanut
พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ Pichet Ruchirat
ชฎาพร เจริญโชคธนพร Chadaporn Charoanchoktanaporn
บทบรรณาธิการ
ชำ�นาญ จันทร์เรือง
มวลมิตรโรแทเรียนทุกท่านครับ ท่านอาจจะแปลกใจเมือ่ ได้รบั นิตยสารโรตารีประเทศไทยฉบับนีซ้ งึ่ ป็นฉบับแรกใน ความรับผิดชอบของผมกับกองบรรณาธิการชุดใหม่ รูปแบบอาจจะดูแปลกตาไปบ้างเพราะ ใช้กระดาษที่บางลงแต่คุณภาพยังคงเดิม ส่วนเนื้อหาสาระนอกจากจะเป็นไปตามนโยบาย ของโรตารีสากลที่ก�ำ หนดให้ต้องนำ�บทความบางส่วนจาก The Rotarian มาแปลแล้ว ผม ได้เพิม่ เนือ้ หาตามทีม่ วลสมาชิกหลายท่านได้ให้คำ�แนะนำ�ไว้ ซึง่ ความเห็นบางส่วนผมได้นำ� ลงพิมพ์ไว้แล้วในส่วนของจดหมายถึงกองบรรณาธิการหรือ Letter to Editor ซึ่งเป็น คอลัมน์ที่เปิดใหม่เพื่อรับฟังข้อเสนอแนะและความคิดเห็นจากท่านทั้งหลาย ตลอดจน ปัญหาข้อข้องใจเกี่ยวกับความรู้เรื่องโรตารีซึ่งผมได้ขอความกรุณาผู้อาวุโสในโรตารีหลาย ท่านที่พร้อมจะไขข้อข้องใจของมวลสมาชิกทุกท่านไว้แล้ว แน่นอนว่ากองบรรณาธิการเองย่อมอยากจะทำ�นิตยสารให้ออกมาให้ดีที่สุด แต่ ในบางส่วนก็จำ�กัดในด้านงบประมาณหรือค่าใช้จ่ายซึ่งมีอยู่จำ�กัด ในกรณีนี้ผมได้รับคำ� แนะนำ�จากหลายๆท่านว่าเหตุใดจึงไม่เปิดรับการลงโฆษณาดังเช่นนิตยสารโรตารีอื่นๆ ซึ่ง ผมก็นอ้ มรับไว้พจิ ารณาแต่การ ลงโฆษณานัน้ ผมคิดว่าหากเป็นการโฆษณาสินค้าหรือกิจการ ขององค์กรต่างๆเป็นการทั่วไปน่าจะเหมาะสมกว่าการลงโฆษณาเป็นรายบุคคลใดบุคคล หนึ่งเป็นการเฉพาะ ซึ่งผมอยากได้ยินเสียงสะท้อนจากผู้อ่านในกรณีนี้เช่นกัน ในส่วนของกิจกรรมต่างๆนั้นทุกภาคและทุกสโมสรสามารถส่งรูปภาพพร้อมกับ คำ�บรรยายมาได้ทกี่ องบรรณาธิการได้ตลอดเวลา โดยกองบรรณาธิการจะเน้นการพิจารณา คัดเลือกไปที่รูปภาพกิจกรรมต่างๆที่เป็นไปในลักษณะที่เป็นธรรมชาติเป็นอันดับแรกก่อน รูปภาพที่เป็นการถ่ายรูปหมู่เป็นการเฉพาะ และไม่จำ�กัดว่าจะต้องแบ่งเนื้อที่ให้แต่ละภาค หรือแต่ละสโมสรให้เท่าๆกัน กองบรรณาธิการจะพิจารณาถึงความสำ�คัญของของภาพข่าว ว่าจะเป็นประโยชน์ต่อมวลสมาชิกเป็นหลัก ซึ่งในที่นี้หมายความรวมถึงข่าวสารทั่วไปหรือ ข่าวสังคมด้วยเช่นกัน
ผมหวังว่าคงได้รับคำ�ติชมและข้อเสนอแนะจากมวลโรแทเรียนทุกท่านนะครับ ชำ�นาญ จันทร์เรือง บรรณาธิการ
08
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
letters to editor Email: chamnanxyz@hotmail.com chamnanxyz@gmail.com
Dear DGN Chamnan, Congratulations. Yes, you are the right person to produce the magazine. You will also have a very good team right from your own district. I have one good suggestion for you as all Rotarians need it--good feature and articles on Leadership and Motivation. Secondly, I think you do it in Thai Language only. This will give more space to cover more stories. Perhaps you can give a summery of each topic. All the best, my friend. chow nararidh
and your friends there if possible. I’ve told him about Asian-Pacific Regional Editors meeting in Manila later this year by your advice and wish he would be attending there with you obviously. Sorry that I could not attend this convention but look forward to meeting you in Manila soon. Warmest regards, Pichet. Pichet Ruchirat Chair, International Coordinator Committee RI District 3330, Thailand www.rotary3330.org International Editor From: Pichet Ruchirat Rotary Thailand Magazine To: PDG Bob Aitken Rotary Centre in Thailand Cc: Chamnan Chanruang ; PDG Chow Nararidh www.rotarythailand.org Sent: Saturday, June 05, 2010 3:35 PM Subject: Good News from Thailand เรียน ผวล. ชำ�นาญ จันทร์เรือง Dear PDG Bob, I’ve got good news from our Rotary ก่อนอื่นต้องขอแสดงความยินดีด้วยใจจริงที่ Thailand’s new editor DGE Chamnan ท่านได้รับมอบหมายหน้าที่ที่ท่านจะทำ�ได้ดีที่สุดอีก Chanruang, D3360 North of Thailand, that he หน้าที่หนึ่ง นอกเหนือจากการเป็นผู้นำ�ในภาคของ will succeed PDG Som as our magazine’ โรตารี หวังว่าท่านจะสามารถประสบความสำ�เร็จและ Managing Editor starting from 1st July 2010 - พัฒนางานต่างๆ ในความรับผิดชอบให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป 30th June 2013 accordingly. I was also invited to continue my job as an assistant editor and ผมขออนุญาตเสนอความเห็นในการจัดทำ� International editor as I did previously. Thanks. นิตยสารโรตารีประเทศไทยโดยอาจมีมมุ มองทีแ่ ตกต่าง He will be D3360 next Governor จากท่ า นอื่ น ๆ โดยผมจะไม่ ใช้ มุ ม มองของการเป็ น starting 30th June 2011-2012 and will meet สมาชิกในคณะผู้จัดทำ� แต่จะมองจากมุมมองผู้อ่านที่ you again in 2012 Bangkok Convention บริโภคสาระในนิตยสารโรตารีประเทศ และคงเป็นใน hopefully. He told me that he will go to ๒ ประเด็นเท่านั้น Montreal Convention and wish to meet you สภาพปัจจุบัน - นิตยสารโรตารีประเทศได้
รับการจัดพิมพ์ราย ๒ เดือน แต่ละเดือนพิมพ์เป็น จำ�นวนประมาณ 7000 เล่ม ซึ่งหมายความว่าเพียงพอ สำ�หรับโรแทเรียนที่เป็นสมาชิกในประเทศไทยเท่านั้น เนื้อหาที่จัดพิมพ์นั้นไม่ต้องสงสัยว่าเป็นประโยชน์กับผู้ ทีเ่ ป็นโรแทเรียนอย่างแน่นอน บทความบางชิน้ สามารถ สร้างความสนใจและความเข้าใจแก่บุคคลภายนอกได้ แต่สว่ นใหญ่เข้าใจและเป็นทีส่ นใจของโรแทเรียนเท่านัน้ (ค่อนข้างเป็นประเภทแฟนพันธ์แท้เลยทีเดียว) แม้จะ เป็นการเผยแพร่เรื่องราวของโรตารี ให้ผู้อ่านที่เป็น โรแทเรียนก็จริง แต่เรายังคงเน้นการสื่อสารทางเดียว กับผู้อ่านอยู่ การพัฒนาปรับปรุงให้เป็นนิตยสารที่เป็น ที่นิยมหากเกิดขึ้น ก็คงเป็นเฉพาะในทีมงานผู้จัดทำ� อย่างเช่นท่านและผมและมวลมิตรทีร่ ว่ มกันทำ�งานนีอ้ กี อย่างมากไม่เกิน 60 ท่าน แต่ผมเองก็ยอมรับว่านิตยสาร ฉบั บ ที่ เรามี อ ยู่ ใ นขณะนี้ เ ป็ น สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ดี มี คุ ณ ภาพ เหมาะสมกับโรแทเรียนอย่างผม แต่แน่นอนเราคงพอใจ กับความดีทมี่ อี ยูเ่ ท่านีไ้ ม่ได้ นิตยสารโรตารีประเทศไทย ต้องดีและน่าสนใจสำ�หรับโรแทเรียน 7000 คน และดี สำ�หรับผู้ที่ยังไม่เป็นโรแทเรียนอีกหลายพันท่านหรือ อาจเป็นหมื่นเป็นแสนท่าน
10
From: Sawatde Phadungmatrwaragul (sawatde3340@hotmail.com) Sent: Saturday, June 05, 2010 5:27:33 PM ..ในฉบั บ ก่ อ นๆ ก็ มี ส าระที่ ดี ม ากอยู่ โดย เฉพาะบันทึกเหตุการณ์สำ�คัญๆของโลกโรตารี ในท้าย ของเรือ่ ง แต่ยงั ขาดการวิเคราะห์ตอ่ เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ผมจึงเห็นว่า หากมีการวิเคราะห์ หรือเพิ่มรายละเอียด ลงอีกบ้าง จะเป็นประโยชน์ และเกิดความรู้ ความเข้าใจ มากขึ้นครับ สวัสดิ์ From: pichet3330@hotmail.com To: chamnanxyz@hotmail.com Subject: RE: สอบถามความคิดเห็น เรียนท่าน ผวล. ชำ�นาญ จันทร์เรือง ที่นับถือ
ขอขอบคุณที่ท่านกรุณามอบหมายให้ผมรับ งานนิตยสารโรตารีประเทศไทยต่อไปอีกหนึ่งสมัย ผม หวังว่า ภายใต้การนำ�ของท่านและกรรมการชุดใหม่ ประเด็นที่ขอเสนอคือ นิตยสารโรตารีของเราคงจะได้มกี ารพัฒนายิง่ ขึน้ ๆ (เป็น ๑. เรายังขาดเวทีส�ำ หรับผู้อ่านในการแสดงความเห็น 4 สีทั้งเล่ม?) ตลอดจนพัฒนาเป็นนิตยสารอีเล็คโทรนิค ๒. เรายังขาดการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเข้าถึง e-magazine ในโอกาสต่อไป ตามที่ผมเคยฝันไว้ (แต่ นิตยสารโรตารีประเทศไทยจากผูท้ ยี่ งั ไม่เป็นโรแทเรียน ยังทำ�ให้เป็นจริงไม่ได้) โดยเฉพาะเยาวชน ซึ่งผมต้องการให้เน้นเป็นพิเศษ ๓. เรายังขาดเนือ้ หาทีจ่ ะเป็นประโยชน์และเป็นทีส่ นใจ ข้อคิดเห็นของผม สรุปสั้นๆ ตามที่ได้รับฟัง ของเยาวชนและผู้ใหญ่วัยต้น (Young Adult) จากมิตรโรแทเรียนทั่วๆ ไป คือ ๔. เรายังขาดส่วนประกอบของโครงสร้างในทีมงานของ 1. คนอ่านคนไทยส่วนใหญ่ อยากเห็นภาพข่าวของ เราที่เป็นเยาวชน ผู้ซึ่งมีความเข้าใจในโรตารีน้อย แต่มี สโมสรตนเอง (แต่สโมสรไม่ค่อยอยากจะส่งมาให้) และ ความฝันและจินตนาการอย่างไม่จำ�กัด ไม่อยากให้เป็นหนังสือวิชาการมากเกินไป แต่กค็ วรมีไว้ ๕. ถึ ง เวลาหรื อ ยั ง ที่ เ ราจะตอบสนองต่ อ โลกที่ ทุกฉบับเป็นประจำ� เช่นหน้าพิเศษของท่าน อผภ.เกษม เปลี่ยนแปลงไปในการเข้าถึงเนื้อหาของนิตยสารโดย ชัย และของท่านเอง ขอเป็นเรื่องสั้นๆ 1-2 หน้า เขียน ทาง อิเล็คทรอนิคที่มีค่าใช้จ่ายน้อยมากต่อผู้อ่านหนึ่ง หรือแปลสำ�นวนให้อ่านง่ายๆ ราย ผมคงไม่สามารถเข้าใจกลไกการทำ�งานหนังสือ 2. ขอลงภาพข่าวโรตารีในประเทศและข่าวสั้นของ แบบเดิ ม ที่ เ คยทำ � มาได้ ทั้ ง หมด แต่ ใ นโลกที่ มี ก าร โรตารี สากล เพิ่มหน้าให้มากขึ้น เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาและเกิดขึ้นถี่กว่าที่เราจะ 3. หน้าจดหมายถึง บก.ตามทีท่ า่ นเกริน่ มานัน้ ก็เป็นสิง่ คาดคิดได้ ผมคิดว่าเราคงต้องทิ้งบางอย่างเพื่อเปิด ที่ เป็นประโยชน์และควรมีเพิ่มไว้ดังเช่นนิตยสารของ โอกาสให้อีกหลายๆ อย่างเข้ามาเป็นส่วนผสมของ ต่างประเทศส่วนใหญ่เขาก็มีเช่นกัน องค์กรที่ยั่งยืนและเป็นหนึ่งเดียว 4. โรแทเรียนต่างชาติ ส่วนใหญ่จะรับ The Rotarian อีกครั้งหนึ่งขอแสดงความยินดีกับหน้าที่ที่ ฉบับภาษาอังกฤษอยู่แล้ว สำ�หรับของเราอาจมีภาษา ท่าน ผวล. ชำ�นาญได้รับ และผมไม่สงสัยในความ อังกฤษกำ�กับไว้บา้ งก็ดี (หากมีหน้ากระดาษพอ) เพราะ สามารถทีท่ า่ นจะนำ�พาองค์กรในส่วนงานทีท่ า่ นดูแลให้ จะได้ให้คนต่างชาติอา่ นได้บา้ ง ปัญหาก็คอื หน้ากระดาษ ประสบความสำ�เร็จ ไม่พอ อาจต้องขอเพิ่มหน้าอีก 1 ยกหรือครึ่งยก แต่จะ ด้วยไมตรีจิตแห่งโรตารี ไปกระทบงบประมาณจั ด ทำ � เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ขอท่ า น สุรกิจ. พิจารณาด้วย Surakit Kerdsongkran ผมได้อีเมลเรื่องท่าน แจ้งให้ท่าน PDG BOB Email: surakit@hotmail.com or k.suakit@gmail. Aitken บก.ใหญ่ The RotarianDownUnder ทราบ com แล้ว นิตยสารของท่านบ๊อบพิมพ์สำ �หรับสมาชิกใน นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และหมู่เกาะปาซิฟิค จำ�นวนพิมพ์ประมาณ 50,000 ฉบับทุกเดือน(ถ้า จำ�ไม่ผิด) ท่านเคยเดินทางมาเป็นผู้แทนพิเศษ ในการประชุมใหญ่ภาค 3330 เมื่อ3-4 ปีก่อน และผมเป็น Aide ของท่านตลอดสัปดาห์ และ ได้นำ�ท่านไปแวะเยี่ยมโรงพิมพ์เพชรเกษมที่ นครปฐมก่อนไปประชุมด้วย ท่านและภริยา เป็ น คนน่ า รั ก มาก และสนิ ท คุ้ น เคยกั บ ท่ า น อผภ.เชาว์ นราฤทธิ์ ภาค 3350 ในฐานะ อดีต บก. นิตยสารฯ ด้วย เมื่อตอนที่ท่านมาประชุม ท่านเชาว์ก็พาท่านไปทานอาหารค่ำ �และดื่ม เบียร์ด้วยกันกับผมด้วย ผมมีโอกาสพบกับท่านอีกในทีป่ ระชุม สัมมนา บก.นิตยสารทัว่ โลก ที่แอลเอ. เมือ่ ตค. 2007 ก่อนการประชุมใหญ่ที่ แอลเอ.ปี 2008 อีกครัง้ หนึง่ อยูก่ ลุม่ เดียวกันในทีป่ ระชุมและนัง่ ใกล้ๆ กัน ได้พบกับ บก.นิตยสารของไต้หวัน เกาหลี ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ อินเดีย และทวีปอื่นๆ ด้วยประมาณ 30 ประเทศแต่ในการประชุม บก.นิตยสารประจำ�ภาคพื้นเอเฃียปาซิฟิค ที่ มะนิลา ในปีถดั มา ไม่มโี อกาสได้ไปร่วมประชุม ในวงการ บก.นิตยสารทั่วโลก ท่าน บ๊อบเป็น บก.อาวุโสมานานกว่า 20 ปี ทาง โรตารี สากลจึงเกรงใจมาก ในการประชุม บก. ทุ ก ครั้ ง ท่ า นจะมี บ ทบาทสำ � คั ญ สำ � หรั บ การ ประชุม บก. นิตยสารทั่วโลก อนาคตท่านอาจ ก้าวขึ้นเป็นกรรมการโรตารีสากลเร็วๆ นี้ก็เป็น ไปได้ เพราะท่านสนิทกับอดีดประธาน บิล บอยด์ ซึ่ ง เป็ น ชาวนิ ว ซี แ ลนด์ ร่ ว มกั น ทำ � นิ ต ยสารโรตารี ม าด้ ว ยกั น (เสี ย นิ ด เดี ย วที่ สำ�เนียงออสซีข่ องท่านบ๊อบ ฟังยาก แต่ทา่ น บิล บอยด์ พูดสำ�นวนดีและฟังง่ายกว่ามาก)
website/blog etc. Questions & Answers from the web will be useful for all RTNS. Best, Saowalak 1. บทความที่เขียนโดยโรแทเรี่ยนคนไทยเกี่ยว กับความเจริญก้าวหน้า หรือบทบาทของโรตารี ในสังคมไทย 2. กิจกรรม หรือโครงการที่โรตารีทำ� ซึ่งนำ� ความเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย หรือสังคมโลก 3. ความรู้เกี่ยวกับโรตารี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องใหม่ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ประดิษฐ์ Rev. Dr. Pradit Takerng-rangsarit President, Payap University Chiang Mai 50000, Thailand Tel: +66 53 851478 Fax: +66 53 241983 Cell: +66 81 8823377
สวัสดีเจ้า มุย่ เพิง่ ได้มาเปิดจีเมล์วนั นีเ้ อง เพราะปกติมยุ่ ใช้ hotmail จีเมล์นี้เปิดให้อ้ายมนตรีส่งเมล์มาให้ มากกว่า 90 % สูมาเต๊อะเจ้าที่ตอบช้า นิ ต ยสารโรตารี ป ระเทศไทยปั จ จุ บั น ดูแห้งๆ แข็งๆ ไม่ค่อยมีชีวิตชีวาเพราะมักจะเป็นเรื่องแปล เรื่องเกี่ยวกับโรตารีสากลเป็นส่วนใหญ่ที่บาง ครั้งเราทราบแล้วเพราะนิตยสารออกช้าแต่เรา ดูข่าวนี้ทางอินเตอร์เน็ตไปแล้ว อยากให้ผอู้ า่ นมีสว่ นร่วมด้วย เช่น อาจมีคอลัมน์ ด้วยไมตรีจิต คุยกับบก. เหมือนที่มุ่ยอ่านในหนังสือนิตยสาร พิเชษฐ์ ผู้หญิง ถ้ามีคอลัมน์เยาวชนเหมือนสารผูว้ า่ การภาคเรา From: Saowalak Rattanavich (s_ ก็จะสมบูรณ์ขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง rattanavich@hotmail.com) หรือให้หน้าหนึ่งถ้าหากจำ�กัด Sent: Saturday, June 05, 2010 2:56:47 คิดว่าคงมีคนเสนอมามากแล้วมุ่ยก็อยากแจม PM ด้วยเพียงเท่านี้ก่อน ขอบคุณเจ้า มุ่ย To: c h a m n a n c h a n r u a n g นย.จันทนี เทียนวิจิตร (chamnanxyz@hotmail.com) Dear DGN Chamnan, “ขอบคุณสำ�หรับความเห็นของทุกๆ Congratulations! again for your ท่านครับ จะพยายามทำ�ให้ดีที่สุดครับ/บก.” new assignment. I’d like you to have one corner of the page on our Zone 6B Rotary Coordinator’ s Team report/ activities/News in every issue. You can make a link from our Rotary Coordinator’s
Rotary International อผภ.เกษมชัย นิธิวรรณากุล ผู้แปล
เรื่องของสโมสรและภาค
ว่าด้วยมติที่สภานิติบัญญัติโรตารีปี 2553 เสนอมายัง กบรส นั้น กบรส • สนับสนุนให้สโมสรแต่งตั้งคณะกรรมการฝึกอบรมและพัฒนาภาวะผู้นำ� • สนั บ สนุ น ให้ ส โมสรเปิ ด โอกาสให้ ผู้ พิ ก ารเข้ า ร่ ว ม ประชุมสโมสร และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ ของสโมสร • ขอร้องให้ภาคมีบทบาทมากขึน้ ในการประชาสัมพันธ์ สื่อเรื่องสโมสร • เห็นด้วยว่าโรตารีสากลจะไม่ออกแถลงการณ์เห็นพ้อง หรือคัดค้านประเด็นใดประเด็นหนึ่ง เพราะยึดนโยบาย ครองฐานะความเป็นกลาง • ไม่เห็นด้วยกับการพิจารณาดำ�เนินการโปรแกรมใหม่ ว่าด้วยชุมชนสันติภาพโรตารี • ไม่เห็นด้วยกับการจัดตั้งคณะกรรมการบรรเทาภัย พิบัติ แต่สนับสนุนให้โรแทเรียนร่วมทำ�งานกับองค์กร บรรเทาภัยพิบัติ • เห็นด้วยกับการศึกษากรอบความคิดโปรแกรมใหม่ ของโรตารีสำ�หรับเยาวชนอายุน้อยกว่า 12 • รั บ รู้ ผ ลงานอั น ทรงคุ ณ ค่ า ที่ อิ น เนอร์ วี ล ทำ � งาน เกี่ยวข้องกับสโมสรโรตารี • แก้ไขวัตถุประสงค์การประชุม Rotary Institutes เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล ล่ า สุ ด แก่ เจ้ า หน้ า ที่ โรตารี ส ากลปั จ จุ บั น อนาคตและอดีต ใช้เป็นเวทีส�ำ หรับผูน้ �ำ โรตารีมปี ฏิสมั พันธ์ กับ กบรส และเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ พร้อมกับ เก็บเกี่ยวมิตรภาพ • สำ�หรับการประชุมใหญ่ภาคนั้น ให้ยกย่องโปรแกรมและโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ ทั่วภาค ให้วิสัยทัศน์ว่าด้วยโรตารีสากลเหนือระดับสโมสร และให้โอกาสในการปฏิสัมพันธ์ฉัน ญาติมิตรกับผู้นำ�โรตารี • เห็นด้วยกับระบบการจำ�แนกประเภทอาชีพเป็นกิจกรรมสำ�คัญในระดับสโมสร โดย ให้ป้ายชื่อสมาชิกแสดงประเภทอาชีพล่าสุด • เห็นด้วยกับการเร่งกำ�หนดอาณาเขตของภาคที่มีจำ�นวนสมาชิกต่ำ�กว่าเกณฑ์ใน ปัจจุบนั และอนาคตตามข้อบังคับของโรตารีสากล และขอร้องให้เลขาธิการร่วมกับ กบรส และ ผู้ประสานงานโรตารีปรึกษาหารือกับผู้นำ�ภาคถึงเรื่องความเต็มใจในการแบ่งภาคที่ใหญ่ออก เป็นสองภาคหรือกำ�หนดให้บางสโมสรไปสังกัดกับภาคอื่น • ขอร้องให้สโมสรส่งเป้าหมายสมาชิกภาพให้ ผวล. ก่อนวันที่ 1 พฤษภาคม และให้ ผวล. ส่งเป้าหมายสมาชิกของภาคให้โรตารีสากลก่อนวันที่ 15 พฤษภาคม • แนะนำ�ให้ ผวล. กำ�หนดเป้าหมายสมาชิกภาพของภาคให้เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 หลังจากได้รับเป้าหมายของสโมสรแล้ว • เพิ่มจำ�นวนสมาชิกก่อตั้งขั้นต่ำ�สำ�หรับสโมสรใหม่จาก 20 เป็น 25 มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป • กำ�หนดให้เขตพื้นที่ประเทศสาธารณรัฐนาอูรูในแปซิฟิคสังกัดภาค 9600 เพื่อเปิด โอกาสสำ�หรับการก่อตั้งสโมสรโรตารี
12
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
ประเด็นสำ�คัญจากการประชุม คณะกรรมการบริหารโรตารีสากล (กบรส) ประจำ�เดือนมิถุนายน 2553 โปรแกรม การสื่อสาร และรางวัลโรตารี ประเด็ น สำ � คั ญ จากการประชุ ม คณะ กรรมการบริหารโรตารีสากล (กบรส) สากล • ณ กลางเดือนมิถนุ ายน 2553 โรตารีสากลได้ ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2553 รับทุนบริจาครวม 133.6 ล้านเหรียญสหรัฐเพื่อสมทบ ร่วมทุน 200 ล้านเหรียญสหรัฐในการขจัดโรคโปลิโอให้ หมดสิ้น • ยกย่องโรแทเรียนในงานเครือข่ายมิตรภาพ สังคม • ขยายเวลาพั ก การยกย่ อ งกลุ่ ม ปฏิ บั ติ ก าร โรตารีใหม่จนกว่า กบรส จะประชุมเรื่องนี้ในเดือน พฤศจิกายน 2553 • ยกเลิกรางวัลโครงการร่วมมือดีเด่น • นักเรียนแลกเปลี่ยนอาจได้รับอนุญาตเดิน ทางออกนอกชุ ม ชนท้อ งถิ่น ของตนพร้ อ มกั บ พ่ อ แม่ อุปถัมภ์หรือเพือ่ ร่วมงานของสโมสรโรตารีหรือกิจกรรม ภาค ต่อเมื่อได้รับคำ�ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจาก พ่อแม่หรือผู้ปกครอง สำ�หรับการเดินทางนอกเหนือ จากนี้ภาคอุปถัมภ์ต้องมั่นใจว่าพ่อแม่และผู้ปกครอง ตามกฎหมายได้ รั บ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ โปรแกรม สถานที่ แผนการเดินทาง ที่พักอาศัย และข้อมูลการ ติดต่อสื่อสาร • นิตยสารเดอะโรแทเรียนฉบับออนไลน์ (ทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์) จะเริ่มเผยแพร่ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 พร้อมกับการอนุญาตให้ผู้พักอาศัยร่วมชายคา เดียวกันสามารถบอกรับนิตยสารเพียงฉบับเดียว • ถวายรางวัลโรตารีเกียรติยศสูงสุดแด่สมเด็จ พระราชินี Noor แห่งราชอาณาจักรจอร์แดน
การประชุมระหว่างประเทศ
เรื่องของสโมสรและภาค
• กบรส อนุ ญ าตภาคที่ ไ ม่ เ คยเข้ า ร่ ว มการ สั ม ม น า อ บ ร ม น า ย ก รั บ เ ลื อ ก ห ล า ก ห ล า ย ภาค(multidistrict PETS) ในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา สามารถริเริ่มหรือเข้าร่วมเป็นเวลา 1 ปีโดยไม่ต้องขอ ความยินยอมจากเสียงสองในสามของสโมสรในภาค ก่อน หาก ผวล. ผู้รับผิดชอบวางแผน multidistrict PETS เห็นชอบเป็นเอกฉันท์ ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนให้เข้า ร่วมการอบรม multidistrict PETS • กบรส แก้ไขนโยบายกำ�หนดให้ ผวภ. แจ้งให้ สโมสรทราบถึงจำ�นวนคะแนนเสียงของสโมสรนัน้ อย่าง น้อย 15 วันก่อนการลงคะแนนเสียง • กบรส รับรู้ถึงความรับผิดชอบอย่างกว้าง ขวางในการจัดการและบริหารสโมสรภายในภาคด้วย การขยายประเภทค่าใช้จา่ ยที่ ผวภ. สามารถเบิกได้จาก โรตารีสากล
การบริหารและการเงินของโรตารีสากล
• กบรส ยืนยันงบประมาณค่าใช้จ่ายโรตารี สากลประจำ�ปี 2553-54 จำ�นวนเงิน 84.938 ล้าน เหรียญสหรัฐ และค่าใช้จ่าย 84.054 ล้านเหรียญสหรัฐ และอนุ มั ติ ง บประมาณสำ � หรั บ มู ล นิ ธิ โรตารี ด้ ว ยงบ สำ�หรับโปรแกรมมูลนิธจิ �ำ นวนเงิน 93.157 ล้านเหรียญ สหรัฐจากเงินบริจาคโปรแกรมประจำ�ปีที่ไม่มีข้อจำ�กัด
• กบรส เลือกเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย การประชุมระหว่างประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น เจ้ า ภาพจั ด ประชุ ม โรตารี ส ากล • โรแทเรียน ศิษย์เก่า และแขกสามารถซือ้ บัตร ประจำ�ปี 2560 ผ่านระยะเวลาหนึ่งวันสำ�หรับการประชุมใหญ่โรตารี สากลในวันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม
Special Scoop
ประธานโรตารีสากล เรย์ คลิง จากมุมมองของผู้คนที่รู้จักท่านด
“ก่อนจะเป็น ประธานโรตารีสากล” 14
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
งกินสมิท ดีที่สุด
The making of a president.
Ray Klinginsmith, from the people who know him best. Meet Rotary’s man from Missouri through stories from the friends who looked up to him in high school, his fellow Ambassadorial Scholar in South Africa, associates throughout his professional life, and the Rotarians he inspired on his rise to the RI presidency. Matthew Eichor, past governor of District 6040 and a member of the Rotary Club of Kirksville, Mo., USA, which Klinginsmith joined in 1974. Klinginsmith, a Rotarian for 50 years, joined the Kirksville club in 1974, after membership in the Rotary clubs of Unionville and Macon, Mo. Eichor, aAs director of the Justice Systems program at Truman State University, Eichor worked closely with Klinginsmith, who served as deanirector of administrationssions, business professor, and general counsel. I don’t know that Ray has a hobby other than Rotary, but then, of course, he’s very involved with his family. If I saw him on a golf course, I’d be shocked. He is tenacious in getting things done. He took the initiative to help our rural county get a full-time prosecutor, and we’re better for it. I could repeat that sort of story on any number of issues. He also is an incredibly good speaker. His great sense of humor causes audiences to perk up, and then he delivers the substance. Ray will bring to Rotary International the notion that we don’t have to be afraid to change. A lot of RI presidents are content to allow things to function as they always have; Ray is not going to be that way.
16
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Elsie Gaber, president of the Rotary Club of Kirksville-Thousand Hills, which Klinginsmith helped charter. In 33 years, I don’t think I’ve ever seen Ray without a tie. You get a look at his informal side when he loosens the tie and unbuttons the top button of his shirt. He enjoys a good story (or even a bad one) over a beer or two. With him, a casual conversation can transform into a possible idea, and then into a full-blown strategic and tactical plan of action that can’t wait until the next day. He taps you on the shoulder, based on your skills and passions, and enlists you to join in a great adventure to make life better. RalpRalph Cupelli, president of the Rotary Club of Kirksville. When Ray couldn’t find adequate services for his developmentally disabled son, he worked to get laws established and started the Chariton Valley Association to help other people who were facing a similar challenge. That is his modus operandi: See a problem, figure out an action you can take to solve it, and work on it until it is solved. Instead of complaining, he makes things happen. He has an international perspective, going back to when he was [a Rotary Foundation] Ambassadorial Scholar. Ray is a very active leader; he doesn’t follow a routine. He doesn’t do things because they’ve been done that way before. He looks for fresh ideas. I think he will make people outside of Rotary more aware of the organization and how much we contribute to making the world a better place.. Pauline Philman, Ambassadorial Scholar who studied in South Africa with Klinginsmith at the University of Cape Town in 1961. She lives in Bell, Fla., and was a teacher for 36 years.
ก่อนจะเป็นประธานโรตารีสากล
ประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท จากมุมมองของผู้คนที่รู้จัก ท่านดีที่สุด ให้เรามาพบกับผูช้ ายคนหนึง่ ของวงการโรตารี ผ่านทางเพือ่ น ฝูงผูศ้ รัทธาเขาสมัยเรียนในชัน้ มัธยม เพือ่ นทูตการศึกษาประจำ�อาฟริกา ใต้ มิตรสหายที่พบพานในงานอาชีพ และ บรรดาโรแทเรียนที่เขาเคย ให้แรงบันดาลใจระหว่างบนเส้นทางไต่เต้าขึน้ สูต่ �ำ แหน่งประธาน โรตารี สากล แมทธิว ฟิชชอร์ อดีตผู้ว่าการภาค ภาค 6040 สมาชิกสโมสร โรตารี เคิร์คสวิลล์ รัฐมิสซูรี่ ที่เรย์ คลิงกินสมิท ร่วมเป็นสมาชิกในปี 1974 (ย้ายจากสโมสรยูเนี่ยนวิลล์ และ สโมสรมาค่อน และเป็นโรแท เรี่ยน อยู่ 50 ปี) ในฐานะผู้อำ�นวยการโครงการระบบยุติธรรม ที่มหา วิทยาลัยทรูแมน สเตท แมทธิว ฟิชชอร์ ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับ เรย์ คลิงกินสมิท ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการสำ�นักทะเบียนนักศึกษา ศาสตราจารย์วิชาธุรกิจ และผู้ให้คำ�ปรึกษาทั่วไป ผมไม่ทราบว่า เรย์ มีงานอดิเรกอื่นใดอีก นอกเหนือไปจาก โรตารี แต่กระนั้นเขาก็เกี่ยวพันกับครอบครัวของเขาอย่างมาก ถ้าผม เห็นเขาที่สนามกอล์ฟ ผมคงช็อคแน่ๆ เขาติดตามงานอย่างเหนียวแน่นเพื่อให้งานสำ�เร็จ เขาออก ความคิดเพื่อช่วยให้เมืองเล็กๆ ห่างไกลได้มีอัยการเต็มเวลา และ สถานการณ์ที่นั่นก็ดีขึ้นมาก ผมสามารถเล่าเรื่องทำ�นองนี้ในประเด็น ต่างๆ นานาได้อีกมาก เขายังเป็นนักพูดที่ดีอย่างไม่น่าเชื่อ อารมณ์ขัน ของเขาฉุดภวังค์ผู้ฟังได้ดี แล้วเขาก็จะต่อด้วยสาระที่เขาต้องการนำ� เสนอ เรย์ คลิงกินสมิธจะเสนอญัตติในสภาโรตารีที่พวกเราไม่ต้องกลัว ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง มีประธานโรตารีสากลหลายท่านพอใจทีจ่ ะปล่อยให้ หลายเรื่องหลายประเด็นให้เป็นไปตามที่เคยปฏิบัติกันมา แต่คุณ เรย์
จะไม่ทำ�แบบนั้น
เอลซี่ เกเบอร์ นายกสโมสรโรตารีเคิร์คสวิลล์ – ทาวซันด์ฮิลล์ ซึ่ง
เรย์ คลิงกินสมิธช่วยก่อตั้ง ในช่วงเวลา 33 ปี ผมไม่คดิ ว่าผมเคยเห็นคุณเรย์ไม่ผกู เน็คไท คุณได้เห็นแต่เวลาที่เขาตามสบายก็เมื่อเขาคลายปมเน็คไทลงมาและ ปลดกระดุมเสื้อเม็ดบน เขาชมชื่นเรื่องเล่าดีๆ (บางทีไม่ดีก็ฟังได้) ขณะ จิบเบียร์สักแก้วสองแก้ว สำ�หรับเขาแล้วการสนทนาแบบกันเองตาม สบายสามารถเปลี่ยนรูปแบบเกิดความคิดดีๆขึ้นได้ และจากนั้นก็จะ ปรับเปลีย่ นเป็นแผนยุทธการและกลอุบายการขับเคลือ่ นสมบูรณ์แบบ ที่รอไม่ได้แม้แต่วันเดียว เขาจะแตะบ่าของคุณ หากคุณเชี่ยวชาญและ ร้อนรน และกำ�หนดตัวคุณในการท้าชวนครั้งยิ่งใหญ่เพื่อให้ชีวิตดีขึ้น ราล์ฟ คัพเพลลี่ นายกสโมสรโรตารีเคิร์คสวิลล์ เมื่อเรย์ คลิงกินสมิท หาบริการที่เพียงพอให้แก่ลูกชายที่มี อาการพัฒนาต่ำ�ของเขาไม่ได้ เขาก็ดำ�เนินการให้ผ่านกฎหมายและจัด ตั้งสมาคมแชริตัน แวลลี่ย์ เพื่อช่วยเหลือคนอื่นๆที่กำ�ลังเผชิญปัญหา ความท้าทายทำ�นองเดียวกัน นั่นคือวิธีการทำ�งานของเขา มองปัญหา ให้ทะลุ คิดหาปฏิบตั กิ ารทีค่ ณ ุ ทำ�ได้เพือ่ แก้ปญ ั หานัน้ และมุง่ มัน่ ทำ�งาน นั้นจนกระทั่งสำ�เร็จ แทนที่จะพร่ำ�บ่นต่อว่า เขาทำ�ให้หลายสิ่งหลาย อย่างเกิดขึ้นได้ เขามีกระบวนทัศน์มองนานาชาติ ย้อนกลับไปสมัยเมื่อเขา เป็นทูตการศึกษา (ของมูลนิธโิ รตารี) คุณเรย์ เป็นหัวหน้าที่ ขยันขันแข็ง คล่องไวมาก เขาไม่ตามระเบียบแบบแผนประจำ� เขาไม่ทำ�อะไรเพียง เพราะมีคนทำ�มาแล้วก่อน เขามองหาความคิดริเริ่มใหม่ๆ ผมคิดว่าจะ ทำ�ให้ผู้คนนอกวงการโรตารีตระหนักมากขึ้นถึงความเป็นองค์กรและ พวกเราได้ทำ�งานไปมากมายเพียงใดในการทำ�ให้โลกนี้น่าอยู่ยิ่งขึ้น พอลลีน ฟีลแมน ทูตการศึกษาผู้ศึกษาในอาฟริกาใต้กับเรย์ คลิง
Ray and I first met in New Orleans because we were taking a ship to Cape Town. He met me at the bus station. He was a very nice young man. I did not have a visa when I got to New Orleans because the travel agency didn’t tell me I needed one. Ray helped me get one at the British Consulate. Right away, he told me he had just gotten engaged – he was so in love. On our trip to South Africa, he spent a lot of his time writing Judie letters. In Cape Town, we compared notes, and we got to know each other’s host families. We found one English-speaking Methodist church. We walked there every Sunday and sat by each other. I depended on him a lot. I knew that if I ever needed him, I could call him. He was very active in the Boy Scouts down there. Whenever he got a new badge, he brought it to me to sew on for him. I looked on him as a brother; that was the way I felt about him. With his intelligence, patience, and kindness, I thought he was the kind of politician we need. But I knew he was going to become a lawyer. I am not surprised at all that he is the president of Rotary – he had that type of leadership. I expected him to soar to the top. When he found out he was going to be the new Rotary president, he called me, and we had a long talk and caught up on news. Rotary is honored to have Ray Klinginsmith as its president. He’s one of my heroes. Bill Gaines, chair and president of Macon-Atlanta Bancorp. Klinginsmith, a practicing attorney who serves on the board of directors, lived in Macon, Mo., for several years before moving to Kirksville in 1974. I’ve known Ray a long time. He was an exceptional young man. He has the qualities of an outstanding businessperson, which have brought him a long way. He’s extremely honest and trustworthy, very prompt and organized. He’s able to get people to work with him and for him. He’s a really good leader. Kaaren Murr, executive secretary, Macon-Atlanta State Bank Even though he and Judie travel a lot, they still come back to Macon to go to a community play or a chili supper for the basketball team, and to see people they knew from the 1960s and 1970s. He’s very comical; he can really entertain. We love it whenever we can get him to emcee a retirement party. Rusty Neill, past president of the Rotary Club of Macon County; president and CEO, Macon-Atlanta State Bank. Klinginsmith was a director of the bank for 38 years, retiring in 2009. Even though he hasn’t lived in Macon for years, Ray is still very well respected and has a lot of ties to the community. That’s what is unique about Ray and Judie: Once they commit to something or establish a tie, they find time to maintain those relationships. Ray will stay involved even as he’s going out and taking on the next project. He’s not the first one to speak up. It’s not uncommon for him to start with, “This reminds me of a story,” and then tell an anecdote that brings everything into perspective, and we’re able to create a solution that everyone can get behind.
18
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
กินสมิท ที่มหาวิทยาลัยเคพทาวน์ ในปี 1961 เธออยู่ที่เมือง แบล รัฐ ฟลอริดา และเป็นครูอยู่ 36 ปี คุณเรย์และดิฉนั พบกันครัง้ แรกทีน่ วิ ออร์ลนี ส์ เพราะเราสอง คนต่างก็ขึ้นเรือเดินสมุทรไปเคพทาวน์ เขาพบดิฉันที่สถานีรถบัส เป็น ชายหนุ่มหน้าตาดี เมื่อไปถึงนิวออร์ลีนส์ดิฉันยังไม่มีวีซ่าเลย เพราะ บริษัทนำ�เที่ยวไม่ได้บอกว่าจะต้องมีวีซ่า คุณเรย์ช่วยให้ดิฉันได้วีซ่าที่ สถานกงสุลอังกฤษ ทันทีนั้นเขาก็บอกดิฉันว่าเขาเพิ่งหมั้นผู้หญิงมา เขากำ�ลังมี ความรักอย่างดื่มด่ำ� ระหว่างการเดินทางไปอาฟริกาใต้คราวนั้น เขาใช้ เวลาของเขาไปมากในการเขียนจดหมายหลายฉบับ ถึงคุณจูดี้ ที่เมือง เคพทาวน์เราเปรียบเทียบบันทึกของเรา เละเราก็มีโอกาสได้รู้จัก ครอบครัวเจ้าภาพของเราทั้งสองคน เราไปพบโบสถ์เม็ทธอดิสท์ที่พูด ภาษาอังกฤษ เราเดินไปโบสถ์นี้ทุกวันอาทิตย์และนั่งติดกัน ดิฉันต้อง พึ่งเขามาก และฉันก็รู้ว่าถ้าฉันต้องการให้เขาช่วย ดิฉันเรียกเขาได้ ทีน่ นั่ เขาขยันขันแข็งมากในเรือ่ งลูกเสือ เมือ่ ใดทีเ่ ขาได้รบั แผ่น ป้ายใหม่มาเขาก็จะเอามาให้ดฉิ นั ติดเสือ้ ให้ ดิฉนั เห็นเขาเป็นเหมือนน้อง ชายคนหนึง่ นีเ่ ป็นความรูส้ กึ ของดิฉนั ทีม่ ตี อ่ เขา ด้วยความปราดเปรือ่ ง ความอดทน และความเมตตากรุณาของเขา ดิฉันคิดว่าเขาน่าจะเป็น นักการเมืองทีเ่ ราต้องการ แต่ดฉิ นั รูว้ า่ เขากำ�ลังจะเป็นนักกฎหมาย ดิฉนั ไม่ประหลาดใจเลยที่เขาเป็นประธานโรตารีสากล เขามีลักษณะผู้นำ� ทำ�นองนั้นอยู่แล้ว ดิฉันคาดหวังว่าเขาจะทะยานขึ้นไปจนสุดยอด เมือ่ เขารูว้ า่ เขาจะได้เป็นประธานโรตารีสากลคนใหม่ เขาโทร มาหาดิฉัน และเราก็พูดคุยกันอยู่นาน และติดตามข่าวต่างๆ โรตารีได้ รับเกียรติทไี่ ด้เรย์ คลิงกินสมิธเป็นประธาน เขาเป็นพระเอกคนหนึง่ ของ ดิฉัน บิล เกนส์ ประธานกรรมการและประธานบริษัท มาคอน แอตแลน ต้า แบนคอร์พ เรย์ คลิงกินสมิท ทนายความฝึกหัดผู้ได้รับใช้บริษัทใน ฐานะกรรมการอำ�นวยการคนหนึง่ อยูท่ เี่ มืองมาคอน รัฐมิสซูรอี่ ยูห่ ลาย ปี ก่อนที่จะย้ายมาอยู่ เคิร์คสวิลล์ ในปี 1974 ผมรู้จัก คุณเรย์ นานแล้ว เขาเป็นชายหนุ่มนอกเหนือกฏ เกณฑ์ใดๆ เขามีคณ ุ สมบัตขิ องนักธุรกิจดีเด่น ซึง่ นำ�พาเขามาได้ยาวไกล เขาเป็นคนซื่อสัตย์และไว้วางใจได้อย่างสุดๆ ฉับไวและมีระเบียบ แบบแผน เขาถนัดในด้านโน้มน้าวใจคนให้ท�ำ งานกับเขา และเพื่อเขา เขาเป็นผู้นำ�ที่ดีอย่างแท้จริง แคเร็น เมอร์ เลขานุการกรรมการบริหาร ธนาคารเมคอน-แอต แลนต้า สเตท แม้ว่าตัวเขาและคุณจูดี้ ต้องเดินทางอย่างมาก เขาทั้งสองก็ กลับมาเมคอน เพือ่ ไปชม ละครและการแสดงของชุมชน หรืองานเลีย้ ง อาหารค่�ำ การกุศลเพือ่ ทีมบาสเก็ตบอล และเพือ่ พบปะผูค้ นทีเ่ ขาทัง้ สอง รู้จักมาตั้งแต่ปี 1960 กว่าๆ ถึง 1970 กว่าๆ เขาเป็นคนตลกมากๆและ สร้างความบันเทิงได้จริงๆ เราปลาบปลืม้ ทุกครัง้ ทีเ่ ราสามารถให้เขาเป็น พิธีกรในงานเลี้ยงเกษียณอายุ รัสตี้ นีล อดีตนายกสโมสรโรตารีเมคอน เคาน์ตี้ ประธานและหัวหน้า คณะกรรมการบริหารธนาคารเมคอน-แอตแลนต้าสเตท เรย์ คลิงกิน สมิธเป็นผู้อำ�นวยการธนาคารนี้อยู่ 38 ปี และเกษียณไปในปี 2009 แม้ว่าเขาไม่ได้อยู่ที่เมคอนหลายปีแล้ว แต่คุณเรย์ ก็ยังเป็นที่ เคารพ และผูกพันกับหลายสิ่งหลายอย่างในชุมชน และนี่ต้องถือเป็น เอกภาวะของเรย์และคุณจูดี้ ลงได้มพี นั ธะกับเรือ่ งใดเรือ่ งหนีง่ แล้ว หรือ
Rotary has been a huge positive influence in his life, and if you spend any time with him at all, he’s quick to point that out. As an ambassador for Rotary, he does a wonderful job of exemplifying the traits and qualities that itRotary attempts to instill. In particular, Ray exemplifies the principle of Service Above Self in everything he does. He hasn’t been one to speak about his accomplishments; it’s always about what Rotary has done for him. It’s about him giving back to Rotary, making it better than the day before. He would tell you that he would want his legacy to be re-energizing the clubs and making them realize the power we have. Together, we can do some pretty amazing things. Larry Wickless, president, American Osteopathic Association; gastroenterologist. He graduated from Unionville High School four years after Klinginsmith, who was class president and on the varsity football team. He was always looked up to. He was a top student – he did all the right things. If you wanted a role model, Ray was the person. Everything he’s done, he’s done well. If he hadn’t chosen to practice law in a small town, he could have practiced corporate law in any big town. Everybody’s so proud of him. Terry Combs, past president of the Rotary Club of KirksvilleThousand Hills. Combs also is executive director of the Chariton Valley Association, founded by Klinginsmith, who served as president from 1982 to 2008. Ray seeks out all interested parties and recruits like no one else I have ever known. He makes sure that every last person is given the opportunity to provide input. On a Saturday night, you’re likely to find him having a cold beer with his friends at the DuKum Inn in Kirksville – unless, of course, he is in India, working on polio eradication, or in California, leading the International Assembly, or off on some other Rotary commitment. My guess is that he will be the most approachable individual ever to serve at the helm of Rotary. Darrell Krueger, interim president, Truman State University, and member of the Rotary Club of Kirksville. Ray had a dream to someday become president of Rotary, and now it is coming true. He conveys a feeling of warmth. He’s respectful of others, and he really listens to what people have to say. It is just his nature to make people comfortable when they are around him. He has a great ability to listen and a capacity to care about other people. He’s a true family man. He’s greatly involved and gives all of himself to the community. Around Missouri, he is the face of Rotary. Traci Hill, executive assistant to the president at Truman State University. There is no one I respect more than Ray Klinginsmith. He has a tremendous work ethic and a quest for excellence in everything he undertakes. He is honest in all of his endeavors and has a kind and generous heart. Judie has always played a
20
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
The making of
Ray Klinginsmith, from t him best.
a President.
the people who know
ได้สร้างความผูกพันไว้แล้ว ทัง้ สองคนจะหาเวลาธำ�รงสัมพันธภาพเหล่า นั้นไว้อย่างดี เรย์ คลิงกินสมิธจะจะยังคงเกี่ยวพันอยู่แม้ว่าเขาล่วงพ้น ไปแล้วและทำ�โครงการอันดับต่อไป เขาไม่ใช่คนแรกที่มีอะไรก็พูดออกมา ไม่ใช่เรื่องผิดปกติ สำ�หรับเขา ที่จะเริ่มต้นด้วยการพูดออกมา “ประเด็นนี้ทำ�ให้ผมคิดถึง เรือ่ งหนึง่ ” แล้วเล่าเกร็ดทีน่ �ำ พาทุกคนเข้าสูภ่ าพมุมสูง และเราสามารถ เนรมิต ทางแก้ปัญหาที่สามารถทำ�เอาทุกคนล้าหลังได้ โรตารี คืออิทธิพลด้านบวกอย่างใหญ่หลวงในชีวิตของเขา และถ้าหากคุณได้ใช้เวลากับเขาบ้างแล้วละก็ เขาจะชีป้ ระเด็นนีใ้ ห้คณ ุ ได้อย่างรวดเร็ว ในฐานะเป็นทูตของโรตารี เขาได้ทำ�งานที่วิเศษสุดใน การอธิบายลักษณะสันดานและคุณภาพโดยยกตัวอย่างประกอบที่ โรตารีเพียรพยายามเพาะไว้ เรย์ คลิงกินสมิธอธิบายพร้อมทั้งยก ตัวอย่างประกอบคติพจน์ของโรตารีที่ว่า บริการเหนือตนเอง โดย อ้างอิงถึงทุกอย่างที่เขาได้กระทำ� เขาไม่ใช่คนที่จะพูดถึงความสำ�เร็จ ของตัวเขาเอง แต่เป็นเรือ่ งทีโ่ รตารีได้ท�ำ ให้เขา เป็นเรือ่ งทีเ่ ขาคืนให้แก่ โรตารี ทำ�ให้ดขี นึ้ กว่าวันก่อนๆ เขาจะบอกคุณว่า เขาจะอยากให้มรดก ของเขาถูกใช้ในการเพิ่มพลังให้แก่สโมสรโรตารีทั้งหลายและทำ�ให้ สโมสรเหล่านั้นประจักษ์ถึงพลังที่พวกเรามี ร่วมด้วยช่วยกัน พวกเรา สามารถทำ�สิ่งที่น่าทึ่งได้ ลาร์รี่ วิคเลส ประธานสมาคมโรคกระดูกอเมริกนั นักวิชาการเยือ่ กระเพาะและลำ�ไส้อกั เสบ เขาจบมัธยมปลายจากโรงเรียนมัธยมยูเนีย่ นวิลล์ 4 ปีหลังเรย์ คลิงกินสมิธผูเ้ ป็นประธานรุน่ และอยูใ่ นทีมฟุตบอล ของโรงเรียน เขาเป็นคนทีม่ ผี นู้ บั ถือศรัทธาอยูเ่ สมอ เขาเป็นนักเรียนดีเด่น เขาทำ�สิ่งที่ถูกต้องทุกอย่าง ถ้าคุณต้องการแบบอย่างที่ดี ก็เขาละ เรย์ คลิงกินสมิท ทุกสิง่ ทีเ่ ขาทำ� เขาทำ�อย่างดี ถ้าหากเขาไม่ได้เลือกฝึกเป็น นักกฎหมายในเมืองเล็กๆ เขาจะสามารถเป็นมือกฏหมายให้บรรษัท ในเมืองใหญ่ๆที่ไหนก็ได้ ทุกคนล้วนภูมิใจในตัวเขา แทรี่ โคมส์ อดีตนายกสโมสรโรตารีเคิร์คสวิลล์-ทาวซันด์ฮิลล์ แท รี่ โคมส์ยังเป็นผู้อำ�นวยการกรรมการบริหารของสมาคมแชริตัน แวล ลีย์ ซึง่ ก่อตัง้ โดยเรย์ คลิงกินสมิธผูท้ �ำ หน้าทีป่ ระธานในระหว่างปี 1982 - 2008. คุณเรย์ เสาะแสวงหาพรรคพวกที่น่าสนใจ และเขาก็หาได้ อย่างที่ไม่เหมือนใครที่ผมเคยรู้จักมาก่อนทำ�ได้ เขาจะต้องให้แน่ใจว่า บุคคลสุดท้ายมีโอกาสได้จดั เตรียม รับทางได้ ในคืนวันเสาร์ คุณมักจะ เห็นเขานั่งดื่มเบียร์เย็นๆอยู่กับเพื่อนๆที่ร้านดูคุมอินน์ในเมืองเคิร์คส วิลล์ เว้นแต่ว่า แน่ละเขายู่ทีอินเดียโน่นทำ�งานเกี่ยวกับการขจัดโรค โปลิโอ หรือไม่ก็อยู่ที่แคลิฟอร์เนีย เป็นผู้นำ�การประชุมใหญ่ระดับ นานาชาติ หรือไม่ก็ ไปปฏิบัติหน้าที่ในพันธกิจอย่างอื่นของโรตารี ที่ไหนสักที่ ผมเดาได้ว่า เขาจะเป็นบุคคลที่เข้าถึงติดต่อได้ง่ายที่สุดใน บรรดาผู้ที่ได้เคยบริการถือหางเสือนาวาโรตารี ดาเรล ครูเกอร์ ประธานรักษาการณ์ มหาวิทยาลัยทรูแมนสเตท สมาชิกสโมสรโรตารีเคิร์คสวิลล์ เรย์ คลิงกินสมิท ใฝ่ฝันว่าสักวันหนี่งจะเป็นประธานโรตารี สากล บัดนี้ฝันนั้นก็เป็นจริงแล้ว เขานำ�ความรู้สึกอันอบอุ่นมาถึงเรา เขาเป็นที่เคารพของผู้อื่น เขารับฟังอย่างแท้จริงเมื่อมีใครอยากจะพูด เป็นธรรมชาติของเขาที่จะทำ�ให้ผู้คนรู้สึกสบายๆเมื่อพวกเขาอยู่ล้อม รอบเขา เขามีความสามารถอันยิ่งใหญ่ที่จะรับฟัง และเป็นความ สามารถของเขาเช่นกันที่จะอาทรต่อคนอื่นๆ เขาเป็นคนผูกพันกับ
huge part in his success. They make a wonderful team. He values organization, and he likes to have things planned in advance. He’s a perfectionist. But he has terrible handwriting. He makes multiple drafts of each document. And he keeps every one, which is something we have teased him about for years. RoRonn Gaber, past president of the Rotary Club of Kirksville and longtime friend of the Klinginsmith family, (which includes Judie, one son and one daughter, and three grandchildren). Ray has an incredible memory and the skill to associate names and people with topics, memories, relationships, and experiences they share. This results in quick bonding and lifelong friendships. He solicits ideas by finding different ways to ask the same question. Plus, he spends an inordinate amount of time one-on-one and in small social groups. A cold beer and popcorn has created opportunities for hundreds of service projects. I think Ray’s legacy will be as a leader who was a catalyst for a culture of change, which resulted in the growth of Rotary clubs around cross the world. Eileen Eckhouse, assistant to RI President Ray Klinginsmith. Ray is very much a do-it-yourselfer. He accomplishes a great deal. Personally, I don’t know when he sleeps. He arrives at the office between 5 or 6 in the morning and, depending on what’s going on, is here until 6 at night. But there is often laughter coming out of his office. And as driven as he is, I’ve never seen him be short with anyone. He has the patience of a saint. People find him inspiring – I see the notes that come in after he’s made a speech or met with a group of people. He has attracted such a following of younger folks in Rotary who are inspired to make changes. Ed Futa, general secretary, Rotary International. When I started here 11 years ago, I learned to appreciate his leadership style and great talent. What impressed me was his ability to grasp the minutiae of any situation, yet fit it into the broader picture. His most important trait is to make people feel at ease. I see this almost as a necessary trait. Maybe because of his casual, down-home nature, he has the ability to be disarmingly approachable. Rotarians will take to that.
22
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
ครอบครัวอย่างแท้จริง เขามีส่วนร่วมและอุทิศตัวอย่างดีเยี่ยมต่อชุมชน ในแถบรัฐมิสซูรี่ เขาคือหน้าตาของโรตารี เทรซี่ ฮิลล์ ผู้ช่วยผู้บริหารของประธานมหาวิทยาลัยทรูแมนสเตท ไม่มีใครที่ดิฉันเคารพนับถือมากไปกว่า เรย์ คลิงกินสมิท เขามี ภารจริยธรรมทีโ่ ดดเด่น และปณิธานทีจ่ ะทำ�ทุกสิง่ ทีเ่ ขาจับให้ดยี อดเยีย่ ม เขาสัตย์ซื่อต่อความอุตสาหะพยายายามของเขา เป็นคนมีน้ำ�ใจ เมตตา กรุณา คุณจูดี้นั้นมีบทบาทมากมายมโหฬารในความสำ�เร็จของเขาอยู่ เสมอ ทั้งสองทำ�งานเป็นทีมอย่างน่าอัศจรรย์ เขาให้คุณค่าแก่องค์กร เขา ชอบวางแผนงานต่างๆ ล่วงหน้า เขานิยมความยอดเยี่ยมสมบูรณ์แบบ แต่ลายมือของเขากลับแย่เอามากๆ กว่าจะได้ เอกสารแต่ละฉบับ เขาจะ ยกร่างหลายฉบับ และก็เก็บไว้หมดทุกฉบับซี่งเป็นเรื่องที่พวกเราล้อเขา อยู่หลายปี รอน เกบเบอร์ อดีตนายกสโมสรโรตารีเคิร์คสวิลล์ และเพื่อนของ ครอบครัวคลิงกินสมิธเป็นเวลายาวนาน (ซี่งรวมถึงคุณจูดี้ ลูกชายหนึ่ง คน ลูกสาวหนึ่งคน และหลานอีก 3 คน) เรย์ คลิงกินสมิท มีความจำ�ดีอย่างไม่นา่ เชือ่ และชำ�นาญในเรือ่ ง ผสมผสานชือ่ และผูค้ นเข้ากับหัวข้อเรือ่ งต่างๆ ความทรงจำ� ความสัมพันธ์ และประสบการณ์ทพี่ วกเขาแบ่งปันกันมา เรือ่ งนีม้ ผี ลในความผูกพันและ มิตรภาพไปตลอดชีวิต เขาประมวลความคิดเห็น และหาหนทางต่างๆ นานาเพื่อถามคำ�ถามเดียวกัน ยิ่งกว่านั้น เขาใช้เวลาจนเลยเถิดไปกับ บุคคลเป็นรายตัว และเป็นกลุม่ ย่อย ข้าวโพดคัว่ และเบียร์เย็นๆได้เนรมิต โอกาสต่างๆ สำ�หรับโครงการบริการนับเป็นร้อยๆ โครงการมาแล้ว ผม คิดว่ามรดกตกทอดจากเรย์ คลิงกินสมิธน่าจะเป็นผู้นำ�ผู้เป็นเครื่องช่วย ในเรื่องวัฒนธรรมของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งได้แสดงผลแล้วในความเจริญ วัฒนาของสโมสรโรตารีทั่วโลก อีลีน เอ็คเฮาส์ ผู้ช่วยประธานโรตารีสากล เรย์ คลิงกินสมิท เรย์ คลิงกินสมิท เป็นคนแบบทำ�อะไรด้วยตัวเองอยู่มาก เขา ประสบความสำ�เร็จมากมาย โดยส่วนตัวแล้ว ดิฉันไม่ทราบว่าเขาหลับ ตอนไหน เขามาถึงที่ท�ำ งาน ระหว่าง ตี 5 ถึง 6 โมงเช้า และขึ้นอยู่กับว่า มีงานอะไร ที่บางทีก็อยู่ที่ที่ทำ�งานนี่จนถึง 6 โมงเย็น แต่ก็มีเสียงหัวเราะ ออกมาจากห้องทำ�งานของเขาบ่อยๆ และขณะที่งานรุมเร้าอย่างที่เป็น อยู่ ดิฉันไม่เคยเห็นเขาหัวเสียกับใครเลย เขามีความอดทนอย่างนักบุญ เลยทีเดียว ผู้คนเห็นเขาเป็นแรงบันดาลใจ ดิฉันเห็นโน้ตที่ส่งมาถึงเขาหลัง จากที่เขาได้แสดงปาฐกถาหรือพบปะกับกลุ่มคนมา เขาเป็นที่ดึงดูดของ กลุ่ ม คนวั ย หนุ่ ม สาวในโรตารีที่เขาได้ให้แรงบันดาลใจให้ ส ร้ า งความ เปลี่ยนแปลง เอ๊ด ฟูท่า เลขาธิการ โรตารีสากล เมื่อผมเริ่มมาทำ�งานที่นี่เมื่อ 11 ปีก่อน ผมเรียนรู้ที่จะชื่นชม แบบความเป็นผู้นำ�ของเขาและความช่ำ�ชองที่ยิ่งใหญ่ของเขา ที่ประทับ ใจของผมก็คือความสามารถในการฉวยเอารายละเอียดของสถานการณ์ ไว้ได้ แล้วนำ�ไปเข้าเป็นส่วนของภาพมุมกว้างได้อย่างพอเหมาะพอดี ลักษณะทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ของเขา คือการทีเ่ ขาทำ�ให้ผคู้ นรูส้ กึ ตามสบายได้ ผม เห็นสิ่งนี้เป็นลักษณะที่จำ�เป็น บางทีอาจเป็นเพราะความเป็นคนตาม สบาย มีธรรมชาติเหมือนอยู่กับบ้าน เขามีความสามารถให้คนเข้าถึงได้ อย่างยิ้มแย้ม โรแทเรี่ยนจะต้องทำ�ให้เป็นนิสัยอย่างนั้น อน.ประดิษฐ์ นามชัย สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก ผู้แปล
24
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Teaching Tolerance
บทเรียนแห่งความอดทน โรแทเรียน Ruth Moen ร่วมในโครงงานศิลปะ ที่ รร. เพื่อผู้พิการทางหู Kavre Banepa ประเทศ เนปาล
26
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
เด็กหญิงชาวเนปาลสอนภาษามือ แก่ โรแทเรียน จาก ซีแอตเติล
28
Teaching tolerance by Diana Schoberg
When she was seven years old, Jamuna Subedi lost her legs, the right one below the knee and the left one above it. She was the victim of a truck accident, though people in her village in Nepal didn’t view her injuries as a chance misfortune. They saw them as a punishment. “My neighbor used to tease my father, saying he must have committed lots of sins in his previous life and so he got me as a curse,” she says. Family and friends told him that sending her to school was a waste of money, that nobody would marry her, that she’d be a burden for life. But here’s where Subedi’s fortunes turn: Her father didn’t listen. He fought for her education, and a decade later, she scored the highest marks of any female student on her high school’s exit exam. She went on to earn a bachelor’s degree and complete an internship with the National Human Rights Commission of Nepal, then moved to Japan, where she attends a prestigious leadership training program. “I gave them a lesson,” she says. “According to one of my aunts, nowadays whenever a villager wants to see their children have a bright future, they tell my story of struggle. I think my achievement led them to change their attitude toward disability.” Subedi grew up about 140 miles west of Kathmandu Valley. While Nepal may be synonymous with the precipitous peaks of the Himalayas, her village of 15,000 people lies in the swampy tropical lowlands – called the Terai – on the border with India. The region is prone to flooding, as rivers plunge down from the mountaintops. It’s also in the part of the country where Buddha was born. Today, Buddhist and Hindu beliefs intermingle in Nepal. Both religions hold that the deeds of past lives – good and bad – shape future ones. But in rural areas, where shamans perform rituals dating back to the Stone Age and access to modern health care is limited, villagers believe that disabilities are a fixed destiny. Because of that fatalistic view, parents hide disabled children at home or force them to beg on the streets. Changing that perception is the goal of an initiative funded by Rotary districts 3292 (Nepal) and 5030 (Washington, USA), and a US$300,000 Health, Hunger and Humanity (3-H) Grant from The Rotary Foundation. The Rotarians launched an ambitious marketing campaign to spread the message that no one should condemn people with disabilities to a subhuman existence. “So many things have changed. In today’s world, there is help available, there are opportunities available,” says Rabendra Raj “R.R.” Pandey, past
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Jamuna Sebedi ผู้เปลี่ยน ทัศนคติของชุมชน ต่อผู้พิการ
How to help Rotarians in Nepal assess and identify needs, and Rose and his team seek out Rotary clubs to become international partners. As of October, the Rotarians had launched 13 club projects worth $120,000, and several more were in the works. They provide hearing aids, eye clinic equipment, spinal braces, cleft palate surgeries, and other types of aid. Write to Rose at rob@ trifc.org for information.
president of the Rotary Club of Patan, Nepal. “We are giving the opportunity to turn bad karma into good karma.” Ads feature the phone number of a help line that Rotarians launched as part of the 3-H project, staffed by people with disabilities such as Subedi, who worked there before heading to Japan. Thirteen club projects worth $120,000 are also addressing the needs of the disabled, with plans for more. “You can imagine how society treats you when your very existence is tied to a curse or past-life sin,” says Rob Rose, a member of the Rotary Club of Bellevue, Wash., who came up with the idea for the project. “It’s the lowest of the low, below the lowest caste. You don’t deserve an opportunity; you don’t deserve an education.” For many, the biggest coup of the marketing campaign was landing superstar Rajesh Hamal as spokesman. Hamal – the equivalent of Brad Pitt for Kathmandu’s “Kollywood” – appears in television and radio ads that have been broadcast across the country since June. (Find the ads, including one featuring Hamal and Subedi, at www.rotary.org/ rotarian.) He has a close friend who is a paraplegic and a brother who started a center that provides free computer training for people with disabilities. When Rotarians pitched the idea, Hamal was sold on donating his time. “He was such a great find,” Rose says. JWT, an international ad agency powerhouse, is orchestrating the campaign and has donated $50,000 in services. As part of the effort, Rotaractors will perform street theater, and a comic strip – starring disabled characters who defy stereotypes – will appear in notebooks distributed to all public schoolchildren in Nepal. Four print ads, which highlight a doctor, a grandfather, a student, and a professional woman with disabilities, are running in newspapers and are planned for billboards. Nirmala Gyawali, a cultural orientation trainer, radio journalist, and disability advocate, is the career woman featured in the campaign. She and two of her siblings were born blind; her sister was the first blind woman in Nepal to earn a master’s degree. “My mother had a tough time raising us, but she never lost hope,” Gyawali says. The Nepalese Youth Opportunity Foundation, a nonprofit based in Sausalito, Calif., paid her public school fees, and she earned bachelor’s degrees in sociology at Campion College in Nepal and at Colorado State University, on a Fulbright scholarship. In 2004, she was the first athlete from Nepal in the Paralympic Games, held in Athens, competing in the shot put and the 100- and 200-meter races. Like Subedi, she says her achievements have changed perceptions in her village toward people with disabilities. “Now we have proved we are not damaged goods,” Gyawali explains. Rose, a second-generation owner of a family photography business, met Gyawali in 1997, when he volunteered as a photographer for the Nepalese youth foundation. As a Rotary Youth Exchange student in the 1970s, he’d lived in Kolkata, India, and had returned with a fascination for the region. He’d lived with a middle-class family in a three-bedroom flat and had taken the bus to school every day, hanging onto the outside rail instead of crowding inside. “The desperately poor were almost everywhere you looked,” he says. “I think that experience made me realize that I had an obligation as
(หน้านี้) โครงการทุนสมทบ คลีนิค กายภาพบำ�บัด สำ�หรับผู้พิการ ระหว่างสโมสร โรตารี ในเยอรมันนี และ เนปาล (หน้าถัดไป) Rasjesh Harmal ซุปเปอร์ สตาร์ ร่วมรณรงค์ในที่ประชุม District Conference เป็นครั้งแรกในเนปาล เพื่อ เปลี่ยนทัศนคติของสังคมต่อผู้ที่พิการ
a human being to give back to those less fortunate.” Later, on one of his trips back to Nepal to work on Rotary club-sponsored projects, Rose met R.R. Pandey. The founder of one of the country’s largest travel agencies, Pandey quickly became a key partner and now serves on the board of the Rose International Fund for Children, established in 2006 to help young people with disabilities in Nepal. Years of hearing stories from Gyawali persuaded Rose, a Rotarian since 1986, to launch the grassroots awareness campaign. Pandey had his own reasons for signing on: His father had a bone disease in one of his legs and had to walk several miles each day on crutches, and his mother was hard of hearing. “I can still recall the smile on her face when she got her first hearing aid – ‘I can hear!’” Pandey says. The marketing initiative now reaches 15 percent of the country. James Hebert, a Bellevue club member and president of a market research company, trained Rotaractors in Nepal to conduct surveys in the target area, measuring changes in attitude toward people with disabilities. When they are armed with enough credible research, the Rotarians plan to extend the project across the country. To Pandey, this effort is different from many other 3-H projects because it isn’t about bringing equipment or materials. “We are trying to change the mindset of a society,” he says. Diana Schoberg is an associate editor of The Rotarian.
30
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
“บทเรียนแห่งความอดทน”
โดย ไดแอน โชเบิร์ก เมือ่ ตอนจามูนา ซูเบดี อายุเจ็ดขวบ เธอสูญเสียขาทัง้ สองข้าง ข้างขวาต่ำ�กว่าเข่า ส่วนข้างซ้ายเหนือเข่า เธอเป็น เหยื่ออุบัติเหตุจากรถบรรทุก แม้กระนั้นก็ตามชาวบ้านใน ประเทศเนปาลไม่ได้มองว่านั่นเป็นเรื่องของความโชคร้าย เขามองว่าเป็นการลงโทษ “เพือ่ นบ้านของฉันกล่าวโทษคุณ พ่อของฉันว่าเขาทำ�บาปไว้มาก จึงถูกลงโทษด้วยวิธีนี้” จา มูนากล่าว คนในครอบครัวและเพือ่ นๆ ต่างบอกพ่อของเธอ ว่า เขาจะเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ถา้ ส่งเธอไปเรียนหนังสือ ไม่มีใครจะยอมแต่งงานกับเธอ และเธอจะเป็นภาระของ ครอบครัวตลอดชีวิต แต่ ช ะตาชี วิ ต ของซู เ บดี ก็ พ บกั บ ความผกผั น เปลีย่ นแปลง พ่อของเธอไม่ฟงั เสียงชาวบ้าน เขาต่อสูเ้ พือ่ ให้ ลูกสาวได้เรียนหนังสือ และหลังจากนัน้ สิบปีเธอสามารถทำ� คะแนนสอบก่อนจบมัธยมปลายได้สงู สุดในจำ�นวนนักเรียน หญิงทั้งหมด เธอศึกษาต่อจนสำ�เร็จระดับปริญญาตรีและ เข้าฝึกงานกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนประเทศเนปาล แล้วจึงย้ายไปฝึกงานต่อทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ทีๆ่ เธอได้เข้ารับการ ฝึกอบรมความเป็นผู้นำ� ที่มีคุณค่ากับตัวเธอเป็นอย่างมาก “ดิฉันได้ให้บทเรียนที่ดีกับสมาชิกในชุมชนที่ดิฉันอยู่” เธอ กล่าว “คุณป้าท่านหนึ่งกล่าวให้ฟังว่า เดี๋ยวนี้ชาวบ้านสอน ลูกหลานให้ดูฉันเป็นตัวอย่าง สำ�หรับการก้าวสู่อนาคตที่ สดใส พวกเขาเล่าเรื่องการต่อสู้ชีวิตของฉัน ฉันคิดว่าความ สำ � เร็ จ ของฉั น ก็ คื อ การที่ ส ามารถนำ � พวกเขาให้ เ ปลี่ ย น ทัศนคติต่อคนพิการ” ซูเบดี เติบโตมาในหมู่บ้านที่อยู่ห่างจากกาฐมาณฑุ 140 ไมล์ ในขณะที่เนปาลมีชื่อเสียงจากการมียอดเขาที่สูง เสี ย ดฟ้ า ที่ ชื่ อ หิ ม าลั ย หมู่ บ้ า นของจามู น ามี ป ระชากร 15,000 คนรวมตัวกันอยู่ในแอ่งพื้นที่ราบที่เรียกว่า “เทอ ราย” มีเขตแดนติดกับประเทศอินเดีย ท้องที่แถบนี้มัก ประสบอุทกภัยเพราะมีการทะลักของน้ำ�บนภูเขาทีไ่ หลมาตามแม่น�้ำ สายต่างๆ ทีน่ ยี่ งั เป็นสถาน ที่สำ�คัญทางพุทธศาสนาเพราะเป็นที่ประสูติของพระเจ้าสิทธัตถะ ปัจจุบันพุทธและฮินดูเป็นสองศาสนาที่ผสมผสานกันอย่างดีในประเทศเนปาลและ เชือ่ ว่ากรรมทีก่ ระทำ�ในอดีตไม่วา่ ดีหรือไม่จะส่งผลต่อผูก้ ระทำ�ในอนาคต แต่ในชนบททีอ่ ยูห่ า่ ง ไกลพวกชามานที่ยังมีการเต้นสังเวยเทพยดา ยังมีชาวบ้านที่เชื่อว่าความพิการเป็นชะตาชีวิต ที่ถูกลิขิตไว้ ด้วยคตินิยมที่ผิดพลาดเช่นนี้ พ่อแม่ของเด็กพิการมักซ่อนลูกของตนไว้ทีบ้านหรือ ไม่ก็บังคับให้เด็กไปเป็นขอทานตามท้องถนน การเปลี่ยนทัศนคติคือเป้าหมาย อันนำ�มาซึ่งการจัดหาทุนจากภาค 3292 (เนปาล) ภาค 5030 (วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา) และกองทุนเพือ่ สุขภาพ ขจัดความหิวโหยและมนุษยธรรม ของมูลนิธิโรตารี กลุ่มโรแทเรียนเหล่านี้สนับสนุนการกระจายข่าวสารข้อมูลเพื่อหยุดการจัด ประเภทผูพ้ กิ ารเป็นมนุษย์ชนั้ สอง “หลายสิง่ หลายอย่างได้ถกู เปลีย่ นไป เดีย๋ วนีค้ วามช่วยเหลือ ต่างๆ ถูกจัดไว้ให้ โอกาสต่างๆ ก็ถกู เปิดขึน้ ” รบินทรา ราช หรือ “อาร์อาร์” แพนเด อดีตนายก สโมสรโรตารี แพททัน เนปาลกล่าว “เราให้โอกาสในการแปรเปลี่ยนกรรมชั่วให้เป็นกรรมดี” โรแทเรียนช่วยจัดทำ�และเผยแพร่แผ่นโฆษณาที่มี หมายเลขโทรศัพท์ให้ความช่วย เหลือ โดยโรแทเรียน ได้รบั ทุนจากกองทุนสามเอช มีบคุ คลากรให้บริการที่ เป็นคนพิการอย่าง เช่นซูเบดี ทีไ่ ด้ท�ำ งานทีน่ ตี่ งั้ แต่ ก่อนเดินทางไปญีป่ นุ่ โครงการทีม่ มี ลู ค่า 120,000 เหรียญสหรัฐ
“ชีวิตของพวกเขาอยู่ต่ำ�ที่สุดของ ชี วิ ต คนชั้ น ต่ำ � ต่ำ � กว่ า วรรณะที่ ถือว่าต่ำ�ที่สุด ไม่มีโอกาสลืมตาอ้า ปากได้ แม้การศึกษาก็ยังไม่ได้รับ”
(หน้านี้) Suzy Kellett และเพื่อนผู้พิการร่วม กัน แสดงผลงานภาพวาด (หน้าถัดไป) Rob Rose สนับสนุนทุนการศึกษา สำ�หรับหญิงผู้พิการทางสายตาคนนี้ ปัจจุบันเธอ มีอาชีพเป็นครู
32
ทีม่ จี �ำ นวนสโมสรโรตารีเกีย่ วข้องอยูถ่ งึ 13 สโมสรนีย้ งั มีความมุง่ หมายทีจ่ ะให้ความ ช่วยเหลือรูปแบบต่างๆ แก่คนพิการโดยจะมีการวางแผนบริการใน ขั้นต่อๆ ไป “เมือ่ พวกเขาเกิดมามีสภาพร่างกายเหมือนถูกสาปเช่นนี้ คุณคงพอนึกออก ว่าสังคมจะปฏิบัติต่อเขาอย่างไร” ร๊อบโรส สมาชิกแห่งสโมสรโรตารีเบลบีวิล วอชิงตัน กล่าว เขาคือผู้ที่ให้ความคิดริเริ่ม ในการจัดทำ�โครงการนี้ “ชีวิตของพวก เขาอยู่ต�่ำ ที่สุดของชีวิตคนชั้นต่ำ� ต่�ำ กว่าวรรณะที่ถือว่าต่ำ�ที่สุด ไม่มีโอกาสลืมตาอ้า ปากได้ แม้การศึกษาก็ยังไม่ได้รับ” หลายท่านเห็นว่าความสำ�เร็จยิง่ ใหญ่ของโครงการนีค้ อื การทีส่ ามารถได้ตวั ราเจช ฮามาลมาเป็นโฆษก ฮามาล นัน้ เปรียบเสมือนแบร็ดพิทแห่ง “โกลลิวดู ” กาฐ มาณฑุ เขาได้ปรากฎตัวในทีวีและกระจายเสียง ทางวิทยุไปทั่วประเทศตั้งแต่เดือน มิถนุ ายน (ดูรปู โฆษณาทีม่ ฮี ามาลและซูเบดีในนิตยสารเดอะโรแทเรียน และที่ www. rotary.org/rotarian) ฮามาลมีเพื่อนสนิทที่เป็นโรคอัมพาตครึ่งท่อน และมีพี่ชายที่ จัดตัง้ ศูนย์ให้การอบรมด้านคอมพิวเตอร์แก่คนพิการ ตอนทีโ่ รแทเรียนโยนความคิด นี้ออกมา เราก็ได้ฮามาล เสนอตัวทำ�งานให้เลย “เขาช่างเป็นการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ จริงๆ” โรสกล่าว เจดับเบิลยูทีผู้ยิ่งใหญ่แห่งวงการโฆษณาได้ให้ความช่วยเหลือ ในการ รวบรวมสรรพกำ�ลังเพื่อสร้างงานโฆษณานี้ และยังบริจาคเงินให้กับ โครงการอีก 50,000 เหรียญ นอกจากนี้โรตาแรคเตอร์ก็เข้ามาช่วยหาทุน โดยการเล่นละคร ข้าง ถนนและเขียน การ์ตูนเป็นตอนๆ เป็นเนื้อเรื่องเกี่ยวกับคนพิการที่เป็นขบฏสังคม ฝืนคำ�ตัดสินของคนทัว่ ไป แล้วจัดทำ�ประกอบในสมุดโน้ตทีแ่ จกจ่ายให้แก่ประชาชน และนักเรียนทั่วประเทศ หน้าโฆษณาสี่แบบที่มีนาย และนางแบบกิตติมศักดิ์ที่เป็น คนพิการประกอบด้วยแพทย์ คุณปู่ นักเรียน และ สตรีนกั ธุรกิจ ทัง้ หมดเป็นคนพิการ ได้รับการตีพิมพ์ใน หนังสือ พิมพ์และกำ�หนด ให้มีการจัดทำ�เป็นป้าย โฆษณาขนาด ใหญ่ด้วย เนียมารา กยาวาลีผู้ฝึกการแสดงทางวัฒนธรรม นักข่าว วิทยุและนักต่อสู้เพื่อคน พิการคือหนึ่งในนางแบบที่รับเชิญให้ร่วมการรณรงค์ เธอกับพี่น้องอีกสองคนตาบอดมาแต่ กำ�เนิด พี่สาวของเธอเป็นหญิงตาบอดคนแรกในเนปาลที่ได้เป็นมหาบัณฑิต “คุณแม่ของเรา ลำ�บากมากในการเลี้ยงดูพวกเรา แต่ท่านก็ไม่เคยหยุดความหวังของตัวเอง” กยาวาลีกล่าว มูลนิธเิ พือ่ โอกาสเยาวชนเนปาลซึง่ เป็นองค์กรไม่แสวงหากำ�ไรในซอซาลโต แคลิฟอร์เนียให้ทนุ การศึกษาแก่เธอในระดับปริญญาตรีสาขาสังคมศาสตร์ ณ วิทยาลัยแคมเปียนในเนปาล และ มูลนิธิฟูลไบรท์ให้ทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโคโลราโด. ในปี พ.ศ. 2547 เธอเป็นตัวแทนประเทศเนปาลเข้าร่วมแข่งขันกีฬาคนพิการ (พารา ลิมปิคเกมส์) ณ กรุงเอเธนส์ ในกีฬาประเภททุ่มน้ำ�หนัก 100 และ 200 เมตร เช่นเดียวกับซูเบ ดี กยาวาลีเห็นว่า ความสำ�เร็จ ของเธอได้เปลี่ยนความคิดชาวบ้านเกี่ยวกับคนพิการ “ตอนนี้ เราได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า พวกเราไม่ใช่สินค้าชำ�รุด” กยาวาลีอธิบาย โรส ผู้ซึ่งเป็นเจ้าของธุรกิจถ่ายภาพของครอบครัวรุ่นที่ สองได้พบกับกยาวาลีในปี พ.ศ. 2540 ตอนที่เขาสมัคร เป็นอาสาสมัครถ่ายภาพให้กับมูลนิธิเยาวชนเนปาล ก่อนหน้านั้น เขาเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนโรตารี ในปี พ.ศ. 2533 เขาถูกจัดให้อยู่อาศัยกับครอบครัวที่เมือง โกลกาตาประเทศอินเดีย และเขากลับบ้านด้วยความรู้สึกที่วิเศษสุดต่อภูมิภาคนั้น เขาอาศัย อยูก่ บั ครอบครัวชนชัน้ กลางในแฟลตขนาดสามห้อง และต้องเดินทางไปโรงเรียนทุกวันด้วยรถ ประจำ�ทาง เขาชอบตระเวนอยู่นอกบ้านแทนที่จะแออัดอยู่ในบ้าน “คนยากจนที่สิ้นหวังมีอยู่ ทัว่ ทุกหนแห่งทีค่ ณ ุ จะเห็นได้” เขากล่าว “ผมคิดว่าประสบการณ์นที้ ำ�ให้ผมตระหนักว่าตนเอง มีภาระในฐานะมนุษย์โลกที่จะต้องให้คืนแก่สังคม ที่ยังด้อยโอกาสอยู่” หลังจากนั้น เขาเดินทางกลับไปเนปาลครั้งหนึ่ง เพื่อร่วมงานตามโครงการที่ได้รับ การสนับสนุนจาก สโมสรโรตารี โรสได้พบกับ รบินทรา ราช แพนเด เขาเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ตัวแทนการท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เขาตอบรับในทันทีเมื่อได้รับการ เสนอให้เป็น หุ้นส่วนหลักในกองทุนเพื่อเด็กโรสอินเตอร์เนชั่นแนลในปี พ.ศ. 2549 และยังเป็นกรรมการใน คณะกรรมการบริหารในปัจจุบัน องค์กรนี้มี ภารกิจใน การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้พิการใน
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
ประเทศเนปาล หลายปีที่ได้ยินเรื่องราวของกยาวาลีเป็นแรง บันดาลใจให้โรสซึ่งเป็นโรแทเรียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เข้า ร่วม กิจกรรมการรณรงค์เพือ่ เปลีย่ นความคิดของชาวบ้าน ในระดับรากหญ้า แพนเดมีเหตุผลในการเข้าผูกพันตัวเอง กับโครงการนี้ บิดาของเขามีขาข้างหนึ่งที่เป็นโรคกระดูก และต้องเดินเป็นระยะทางหลายไมล์ทุกวันโดยใช้ไม้เท้า พยุง มารดาของเขามีความลำ�บากในการได้ยนิ “ผมยังจำ� ได้ถึงรอยยิ้มบนใบหน้าของแม่ตอนที่เธอได้เครื่องช่วยฟัง เครื่องแรก – “แม่ได้ยิน แล้ว” แพนเดกล่าว ความริเริ่มในแผนการตลาดของโครงการนี้ได้ ทำ�ให้ขา่ ว สารของโครงการเข้าถึงประชาชน 15 เปอร์เซ็นต์ ของ ประเทศ เจมส์ ฮีเบิร์ตสมาชิกสโมสรเบลลีวิว และ เป็น ประธานบริษทั เพือ่ การสำ�รวจทางการตลาด ได้อบรม โรตาแรคเตอร์ในประเทศเนปาลเพือ่ ให้มวลมิตร โรตาแรค เตอร์ เหล่านัน้ สามารถดำ�เนินการสำ�รวจทางการตลาดใน พื้นที่เป้าหมาย วัดความเปลี่ยนแปลงในทัศนคติต่อคน พิการ เมื่อพวกเขาได้ติดอาวุธซึ่งก็คือหลักการในการ สำ�รวจทีเ่ ชือ่ ถือได้แล้ว โรแทเรียนก็มแี ผนต่อไปทีจ่ ะทำ�การ สำ�รวจในระดับทั่วประเทศ แพนเดเชื่อว่าโครงการนี้แตก ต่างจากโครงการสามเอชทั่วไปที่ว่า นี่ไม่ใช่การมอบวัสดุ หรืออุปกรณ์ให้ชมุ ชน “เราพยายามเปลีย่ นกรอบความคิด ของสังคม” เขากล่าว ไดแอนนา โชเบิร์กมีตำ�แหน่งเป็นผู้ช่วยบรรณาธิก าร นิตยสารเดอะโรแทเรียน อน.สุรกิจ เกิดสงกรานต์ สโมสรโรตารีบางเขน ผู้แปล
Rabendra Raj “R.R” Pendey กับเด็กผู้พิการทางหู ในกรุงกาฏมาณฑุ
แบ่งปันความช่วยเหลือ
โรแทเรียนในประเทศเนปาลร่วมกันประเมิน และบ่งชี้ความต้องการ ส่วนโรสและทีมงานของเขาช่วย ประสานให้สโมสรโรตารีเข้ามามี ส่วนร่วมในโครงการ จนถึงเดือนตุลาคมที่ผ่านมี 13 สโมสรเข้าร่วม โครงการ มูลค่า 120,000 เหรียญสหรัฐ และยังมีอีกหลายสโมสร อยู่ระหว่างการยืนยัน พวกเขาช่วยกันจัดหาเครื่องช่วย ฟัง เครื่องใช้ในคลินิคสายตา เสื้อเกราะยึดกระดูกสัน หลัง บริการผ่าตัดเด็กเป็นโรคปากแหว่งเพดานโหว่ และ ยังมีบริการความช่วยเหลืออื่นๆ อีก ติดต่อคุณโรสได้ที่ rob@trifc.org
34
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Eco-clubs attract young members Eco-clubs attract young members
A growing numbers of Rotary clubs have found that focusing on the environment helps them attract new members and gain visibility in their communities. For the Rotary Club of Duluth Superior Eco, Minn., USA, putting an ecological spin on its name and service projects has helped it grow to 54 members – most under the age of 40, and mostly women – since it was chartered in November 2008. “The eco brings them in, and then they learn more about Rotary,” says 2009-10 club president Marti Buscaglia. “It’s a good introduction to Rotary for younger people. They know they are going to be involved in something they care about. Club members have planted trees and pulled buckthorn, and they hosted a beach-cleaning project to celebrate Earth Day in April. The club meets late Tuesday afternoons at a popular restaurant, where members enjoy snacks and a nonalcoholic drink for $5. The location, time, and price are designed to appeal to younger professionals. Buscaglia says the club founders reasoned that young people would be more likely to have extra time than disposable income, and would be more engaged if they could take part in hands-on projects for a cause they felt strongly about. Kay Biga, secretary and cofounder, says she has heard from several Rotary clubs interested in following the same model. “It seems people gravitate to something if there is a theme involved to direct your activities,” Biga says. Clubs might try adopting a theme during August, Membership and Extension Month, as a way to strengthen their appeal to potential new members in their own communities. Robert Hunt, who now lives in Florida but often attended club meetings in Duluth, took the concept with him to the Rotary Club of East Manatee, where he served as club president in 2009-10. Hunt says that being green has helped attract members, make a lasting impact on the local area, and gain exposure for Rotary. “Prospective members who have the same mindset will naturally be drawn to the prestige of what an eco-club can offer them,” he explains. “As we build more awareness, education, and identity, the membership will naturally increase.” The East Manatee club conducts a road cleanup every three months, sorting out anything that can be recycled. It also held a successful shred-a-thon in March, encouraging community members to bring in old documents to be shredded and recycled. During a fall festival, club members collected hundreds of disposable plastic bottles. Biga sees more and more groups adopting an environmental slant. “Green products are everywhere,” she says. “Everyone is becoming environmentally conscious. Service organizations have to be on board with the trends.” – Arnold R. Grahl
36
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
สโมสรเชิงนิเวศน์ ดึงดูดสมาชิกรุ่นหนุ่มสาว
จาก”จำ�นวนสโมสรโรตารีที่เพิ่มขึ้น เราพบว่าการมีจุดร่วมพุ่งประเด็นไป ที่นิเวศวิทยาได้ช่วยสโมสรเหล่านี้ดึงดูดสมาชืกใหม่ และมีผลงานประจักษ์ชัดใน ชุมชนของสโมสรเหล่านั้น สำ�หรับสโมสรโรตารี ดิวลูธ สุพพีเรีย อีโค่ ที่ รัฐมินเนอ โซต้า สหรัฐอเมริกาได้เสี่ยงใส่คำ�ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม คือ อีโค่ เป็นส่วนหนึ่งของ ชื่อสโมสรและโครงการบริการต่างๆ ทำ�ให้จำ�นวนสมาชิกพุ่งขึ้นไปถีง 54 คน ส่วน ใหญ่อายุต่ำ�กว่า 40 และส่วนมากเป็นผู้หญิง นี่นับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรมาเมื่อ เดือน พฤศจิกายน 2551 “คำ�ว่า อีโค่ (คำ�เต็มคือ อีโคโลจี้ นิเวศวิทยา) เป็นตัวชักนำ�สมาชิก ใหม่เหล่านีเ้ ข้ามา แล้วพวกเขาจึงเรียนรูเ้ กีย่ วกับโรตารีเพิม่ ขึน้ ” นายกสโมสรปี 2009 – 2010 มาร์ตี้ บุสคาเกลีย กล่าว “มันเป็นการแนะนำ�ให้เข้าถึงโรตารีที่ดี สำ�หรับ ผู้คนวัยหนุ่มสาว พวกเขารู้ว่าพวกเขากำ�ลังจะมีส่วนเกี่ยวพันในบางสิ่งบางอย่างที่ เขาเป็นห่วงเป็นใย” สมาชิกสโมสรช่วยกันปลูกต้นไม้ ถอนพงหนาม เป็นเจ้าภาพโครงการ ทำ�ความสะอาดชายหาดเพือ่ เฉลิมฉลองวันพิภพโลกในเดือนเมษายน สโมสรประชุม ตอนบ่ายของทุกวันอังคารที่ร้านอาหารยอดนิยมแห่งหนึ่ง ที่สมาชิกชื่นชอบกับ อาหารว่างและเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ในราคา 5 ดอลลาร์ สถานที่ เวลา และราคา ออกแบบมาเพื่อดึงดูดบุคคลในอาชีพต่างๆ ในวัยหนุ่มสาว นายกบุสคาเกลียกล่าว ว่า ผู้ร่วมก่อตั้งสโมสรให้เหตุผลว่า คนรุ่นหนุ่มสาวมักจะมีเวลาพิเศษมากกว่าราย ได้ที่จะสิ้นเปลืองไป และจะรับภาระได้มากกว่าถ้าหากพวกเขาสามารถมีส่วนใน โครงการต่างๆที่สืบทอดต่อกันไปได้ด้วยเหตุผลที่เขารู้สึกเห็นชอบด้วยอย่างแรง เคย์ บิก้า เลขานุการและผู้ร่วมก่อตั้งสโมสรกล่าวว่า เธอได้ยินจากหลาย สโมสร ที่สนใจในการทำ�ตามแบบเดียวกัน เธอว่า ดูเหมือนว่าคนเราจะให้น้ำ�หนัก ลงไปที่สิ่งใดสิ่งหนี่งถ้ามีหลักใหญ่ใจความประกอบอยู่เพื่อวางทิศทางกิจกรรมของ สโมสร คุณเคย์ บีก้า ยังกล่าวอีกว่า สโมสรอาจจะคิดตั้งประเด็นหลักได้ระหว่าง เดือนสิงหาคม ซึง่ เป็นเดือนเน้นสมาชิกภาพและการขยายสโมสร เพือ่ ให้เป็นหนทาง เพิ่มพลังการดึงดูดสมาชิกใหม่ที่ทรงศักยภาพในชุมชนของเขา โรเบิรต์ ฮันท์ ผูซ้ งึ่ ขณะนีต้ งั้ รกรากอยูท่ รี่ ฐั ฟลอริดา้ แต่กม็ าเข้าร่วมประชุม ที ดิวลูทธ์ อยู่บ่อยๆ และนำ�กระบวนทัศน์ติดตัวกลับไปยัง สโมสรโรตารีมานาที ตะวันออกด้วย ที่สโมสรนี้เขาเป็นนายกระหว่างปี 2009 – 2010 นายกโรเบิร์ต ฮันท์กล่าวว่า การเป็นสโมสรสีเขียวได้ช่วยดึงดูดสมาชิก สร้างผลกระทบที่ยั่งยืนต่อ พื้นที่ใกล้เคียง และได้ผลทางประชาสัมพันธ์สำ�หรับโรตารี ”บุคคลเป้าหมายทีไ่ ด้เป็นสมาชิกทีม่ คี วามคิดเห็นแบบเดียวกันย่อมจะถูก ดึงดูดให้เข้าถึงสิทธิพิเศษที่สโมสรแนวนิเวศน์จะเสนอสนองเขาได้” เขาอธิบายต่อ “ขณะทีเ่ ราสร้างความตระหนัก การศึกษาและ เอกลักษณ์ ให้มากขึน้ จำ�นวนสมาชิก ย่อมเพิ่มขึ้นเป็นธรรมดา” สโมสรโรตารีมานาทีตะวันออก ดำ�เนินการทำ�ความสะอาดถนนทุก 3 เดือน เก็บกวาดทุกสิ่งที่นำ�ไปรีไซเคิ่ลได้ ในเดือนมีนาคมสโมสรได้จัดงาน เชร็ด อะ ธอน (เล่นคำ�จากคำ�เดิม มาราธอน) ได้อย่างเป็นผลสำ�เร็จ งานนี้ปลุกเร้าสมาชิก ชุมชนให้เอาเอกสารเก่าๆ ออกมาหั่นฝอยและทำ�รีไซเคิ่ล ในงานเทศกาลฤดูใบไม้ ร่วง สมาชิกสโมสรรวบรวมขวดพลาสติคที่ทิ้งได้ ได้หลายร้อยขวด เคย์ บิก้า พบว่ามีสโมสรมากขี้น มากขึ้นที่ปรับแต่งโครงการที่เกี่ยวกับสิ่ง แวดล้อมขึ้นมา “ผลิตภัณฑ์สีเขียวมีอยู่ทุกหนทุกแห่ง” เธอกล่าว “ทุกคนกลายเป็น คนที่มีอนุสติในเรื่องสิ่งแวดล้อม องค์กรที่ให้บริการทั้งหลายต่างก็ตามกระแส” อาร์โนล์ด อาร์. กราล อน.ประดิษฐ์ นามไชย สโมสรโรตารีเชียงใหม่ตะวันตก ผู้แปล
38
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
สิ่งละอันพันละน้อย อผภ.เกษมชัย นิธิวรรณากุล เรียบเรียง แปล
ประชุมชดเชยนั้นง่ายดาย เหมือนปอกกล้วยเข้าปาก
การประชุมทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของสโมสรโรตารีอิคลับเวิร์คโค ประเทศฟินแลนด์ Finland’s Rotary E-Club of Verkkorotary meets via Web-conferencing software. Photo illustration by Stan Watts
ท่านควรทำ�อย่างไรดีหากขาดประชุมปกติของสโมสร ติดขัดด้วย ฝนตกน้ำ�ท่วมปัญหาจราจรในกรุงเทพฯ จนไม่สามารถทำ�คะแนนประชุม ครบร้อยละร้อยได้ บัดนีม้ วี ธิ ที เี่ รียบง่าย นัน่ คือการประชุมชดเชย ณ ทีท่ �ำ งาน หรือบ้านพัก แสนสะดวกและยืดหยุน่ ตลอดเวลา 24 ชัว่ โมง 7 วันต่อสัปดาห์ เพียงคลิกเข้าเครือข่ายคอมพิวเตอร์เท่านั้นเอง โรตารีสากลริเริม่ บุกเบิกโครงการสโมสรรูปแบบใหม่นำ�ร่องตัง้ แต่ ปี 2544 และสโมสรโรตารีไซเบอร์คลับนำ�ร่องแห่งแรกของภาค 5450 รัฐ โคโลราโดได้รับการก่อตั้งในเดือนมกราคม ปี 2545 สโมสรโรตารีไซเบอร์ คลับนำ�ร่องเปลี่ยนชื่อเป็นอีคลับนำ�ร่องอย่างเป็นทางการในปี 2547 และ โอนย้ายสโมสรโรตารีที่ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่โครงการอีคลับ นำ�ร่องตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา ในปัจจุบันนี้มีสโมสรโรตารีอีคลับ 12 แห่ง จากเดิม 14 แห่งที่ได้รับอนุญาต ในการประชุมปีปจั จุบนั สภานิตบิ ญ ั ญัตโิ รตารีอนุญาตให้มสี โมสร โรตารีอีคลับไม่เกินภาคละ 2 สโมสรซึ่งสื่อสารการประชุมรายสัปดาห์ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้หูฟัง กล้องเว็บแคม หรือการประชุมทาง วีดิ ทัศน์ ท่านสามารถเข้าร่วมประชุมชดเชยในสโมสรโรตารีอีคลับผ่านเว็บไซต์ ตลอด 24 ชัว่ โมงและ 7 วันต่อสัปดาห์เพียงคลิกเข้าเว็บไซต์ของสโมสรโรตารี อีคลับใดอีคลับหนึ่ง (ดูผังประกอบ) เลือกอ่านบทความ บทสนเทศโรตารี กรณีศึกษาของโครงการบำ�เพ็ญประโยชน์ ข่าวกิจกรรมสโมสร คำ�ชี้แนะ สำ�หรับสโมสรโรตารี และบทความสำ�หรับการพัฒนาโรแทเรียน ข้อบังคับในการขอเครดิตคะแนนการประชุมกำ�หนดให้โรแทเรียน ใช้เวลาในการเยี่ยมสโมสรโรตารีอีคลับอย่างน้อย 36 นาทีต่อครั้งโดยจะ เลือกชมวิดีโอ ร่วมถกผ่านคอมพิวเตอร์ หรืออ่านบทความเกี่ยวกับโรตารี ข้อมูลโรตารีกไ็ ด้ โปรดใช้บททดสอบสีแ่ นวทางของโรตารีส�ำ หรับเวลาทีท่ า่ น จะใช้ในการเข้าเว็บไซต์แต่ละครั้งเพื่อขอเครดิตคะแนนการประชุม สำ�หรับวิธีประชุมชดเชยผ่านเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์นั้น ให้คลิก เข้าสูร่ ะบบโปรแกรมประชุมชดเชยในเว็บไซต์ของสโมสรโรตารีอคี ลับ เลือก อ่านบทความ ชมวิดีโอและ/หรือถกหารือผ่านเว็บไซต์อย่างน้อย 36 นาที คลิกเข้าแบบฟอร์มประชุมชดเชย ตอบคำ�ถามโดยให้ความเห็นส่วนตนเกีย่ ว กับบทความที่ได้อ่าน แนะนำ�ตน สโมสรและภาคของท่าน แจ้งที่อยู่อีเมล์ ของท่านและเลขานุการสโมสรเพื่อส่งคะแนนประชุมชดเชย การประชุม ชดเชยเช่นนี้ท่านไม่ต้องใช้หูฟังหรือกล้องเว็บแคม ท่านอาจได้รับคำ�ขอร้อง ให้บริจาคเงินด้วยความสมัครใจซึง่ เทียบเท่าค่าอาหารหรือมากน้อยแล้วแต่ ความพึงพอใจเพื่อแบ่งเบาภาระค่ารักษาเว็บไซต์ของสโมสรโรตารีอีคลับ
สถิติและจุดเด่นของสโมสรโรตารีอีคลับแห่งแรกของโลก
นายกก่อตั้งจอน มินเตอร์ สโมสรโรตารีอิคลับแห่ง แรกของโลก (Rotary eClub One) เป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการอำ�นวยการสโมสรผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้วยโน๊ตบุคและชุดหูฟัง Charter President of the world’s first Rotary eClub (Rotary eClub One), John Minter, chairs a Board meeting online.
E-Club Name List
• ไร้พรมแดนภูมิประเทศ • สมาชิกแต่ละคนต้องรว่มประชุมทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 20 ครั้งต่อปี • สมาชิกต้องทำ�งานเพื่อบริการชุมชนอย่างน้อย...ชั่วโมงแทนการนั่งประชุมใน สโมสร • สมาชิกแต่ละคนกำ�หนดเวลาเข้าร่วมประชุมและบริเวณให้บริการชุมชน • สมาชิกร่วมประชุมผ่านเว็บบินา (ทางเว็บไซต์ของสโมสรโรตารีอคี ลับ) หรือทาง วีดิทัศน์เช่นเดียวกับการประชุมคระกรรมการอำ�นวยการสโมสร • เว็บไซต์มีโปรแกรมให้สมาชิกถกหารือและสานมิตรภาพตลอดเวลา 24 ชั่วโมง • การประชุมพบหน้ากันมีขึ้น ณ การประชุมใหญ่โรตารีประจำ�ปี • ในแต่ละเดือนมีผู้เข้าเยี่ยมมากกว่า 12,000 คนจากกว่า 1,500 เมืองใน 158 ประเทศ • มีผู้ขอเครดิตคะแนนประชุมชดเชยเดือนละมากกว่า 7,500 ราย • จากการตรวจสอบมีผู้ร่วมประชุมชดเชยบ่อยกว่าปกติสองราย รายแรกเป็น โรแทเรียนชาวสหรัฐทีต่ อ้ งนอนอยูบ่ นเตียงพยาบาลใช้โน๊ตบุค๊ ของบุตรชาย ส่วน อีกรายเป็นอดีตผูว้ า่ การภาคในประเทศอินเดียซึง่ ไม่สามารถออกจากบ้านเพราะ ป่วยเป็นโรคไตขั้นสุดท้าย • มีสมาชิก 56 คน จากประเทศออสเตรเลีย แคนาดา เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น ไนจีเรีย ฟิลปิ ปินส์ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และเครือข่ายสมาชิกหนุม่ สาว ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2553 • ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 สมาชิก PHF 60 คน กองทุนถาวร 6 คน บริจาค เกิน 10,000 เหรียญ 6 ราย และให้กองทุนรายปีรวม 94,000 เหรียญตั้งแต่ปี 2545 • สมาชิกรายงานเวลาการเป็นอาสาสมัครและบริการสโมสรรวม 5,300 ชั่วโมง เฉลี่ยได้ 140 ชั่วโมงต่อปี หรือ 2.7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ต่อสมาชิกในปีที่ผ่านมา Country England Finland Singapore Hong Kong Taiwan Latin America Brazil USA USA USA USA USA
40
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Rotary eClub Names Rotary E-Club of London Centenary Rotary E-Club Verkkorotary.fi Rotary E-Club 3310 Rotary E-Club of District 3450 Rotary E-Club of Taiwan Rotary E-Club of Latinoamerica Rotary E-Club of District 4500 Rotary E-Club of District 5450 Rotary E-Club of the Southwest USA Rotary E-Club of Southeast USA and Caribbean Rotary E-Club of District 7150 NY 1 Rotary E-Club of District 7890
Language English Finnish/English English English Chinese Spanish Portuguese English English English English English
ศูนย์โรตารีในประเทศไทย -
2553 6#1" !0 #8#7 6#1" 1=#. 4 / 9 / - #- / - ##! /# #0)/#&5 " 8# /#19 #-6 & : " ! +7( %/!"0 1 . / /" 7$- - ##! /# #0)/# + (8!(#8# /#1 4 (8!(# 1=: 6 /!/#. ) / 1=9 %. 1= 1 # / ! 2553 !7$- - ##! /# #0)/#&5 " 8# /#1, 4
4 . <6 /!/#. ) / 1= # +!; . / 6 . !0 #8#7 6#1 " #. :! % / / -6 /" (8!(# 6$ / 4 /# #- / - ##! /# /" / ; )#3+6 8#7 6#1"
) 2= 9 (8!(#9 < /! )/ / !1 )/ !1 +( (." + /# +!5$6 1="% . 8# /#1 :! % / -6 6#3=+ + / @/#4 8# /#1(/ $ (!/ 0 / 8 #7 #! + 8# /#1(/ $)#3+!5$ 0 08# /#1 #%! .> /# #-(/ / . (8!(#)#3+ / 9 / #-6 & ! +6#1" % / / (/!/# 0 + . ##! /# #0 ) /#&5 " 8 # /#1 , 2= #- + % " ##! /# / .> 4 / #%! .> (0> 27 /!
#/" 3=+ / $ / 1>)#3+ 0 + . 6 /) / 1= 6#/ # +! 1= -9) #0 /# / +!5$ /%(/# / ; 7 4 / - 1> &5 " 8# /#1, @/$. #. #4 6%< : 6 3= + 9) !1 + !5 $ 1= ) $/ )$/" 6 3= + 9) #0 /#
#+ $4! +!5$ / ; : !/ 1=(4 )/ / !1 + 7 - @/9 ; +: 8 # 7 9) ! #/ %" . + 4 "0= ! #%! .> ##! /#7$-6 / ) / 1= 4 # + ! ( . ( 4 /# @/6 < #-8" + 8#7 6#1" 7$-(8!(# 4 (8!(#
#. %":! #1 0 7) 8# /#1 + . / ." %0&0' 4$ #- / - ##! /# #0)/#&5 " 8# /#19 #-6 &: "
! 2553-54 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
+ . / ." %0&'0 4$ #- / + .(! 5# / 8 */# #+ #- / + .6 #! #1 / 0 "%/ #+ #- / + .: 8# 6+3+> #-6(#0 #+ #- / + .#. ! 1 . "0= " ##! /# /#6 0 + .(%.( 0? 4 !/ #%# 4$ ##! /# #- /(.! . + .%0 ." ! 1%. #6 1"# 0 ##! /#7 $ %$. @/ / . # 6#3+ ## / 0 /# 0 "(/#8# /#1 + .+/ / +## 5# % & . 8( ##! /#) + (!4 + .(!&. 0? 4# . 4 6$ / 4 /# % . . # ." 4 7( ##! /# + .6(#0!&. 0? " ##! ##! /# %$.+# # (/"(1 + ##! /# % . ." $ + #- / ##! /#
15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
+ .#. #- 1 1# 0+4:# + .(4#. .%%. + .&0#0 6+1"= ! @/#5 $/ %$. 1#"4 %. 1#%4 0 % .(4 / / +0 0 /#4 4$ + .(! (4 (0 ) + . #.6(/%$. ' #. %0 + . #.: # .> ( / %$.(4 & "4 (/) 0
% . .%1#- ." @/6#0 /#/#.&!1 + .%0%. &0#0 / . / + . +0= @/ + .+ 4%. # 5%6&#'
+ (0 # &0 30 $ &0 $ $ / & $ " ) " $ % $ * - $ &! 2553-54 #1 &0 1 '1 * - $ &! - + $ $ ( '
, $ $ % $ $ 2$ # 2553-54 - / ) &0 2$ # $ % + $ 2$ " # - $ &. + ) # +
! 3330 2,116 3340 1,240 3350 2,413 3360 1,268 #%! 7,037
##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# ##! /# 77 58 90 61 286
+. #/7$ 6 $1=" 8# /#1(/ $ ((. . 53) 33 1US$ +!5$: 5 7 57$ /#6 0 , (2 (. . 53)
Rotary Coordinators New Advisor
เราเป็นใคร
เราเป็นเครือข่ายของโรแทเรียน 41 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก ประธานโรตารีสากลให้ทำ�หน้าที่เป็นทรัพยากรบุคคลของโรตารีสากล โดย ทำ�งานร่วมกับกรรมการบริหารโรตารีสากล ผู้ประสานงานมูลนิธิโรตารีใน ภูมิภาค และผู้ว่าการภาค เพื่อการส่งเสริมและการดำ�เนินแผนกลยุทธ์ในภาค และสโมสรของเราให้ประสบความสำ�เร็จ พร้อมทัง้ ทำ�งานอย่างใกล้ชดิ กับกลุม่ ทรัพยากรบุคคลด้านภาพลักษณ์สาธารณะอีกด้วย
เราทำ�อะไรบ้าง
ผู้ประสานงานโรตารีจะช่วยเหลือสโมสรและภาคต่างๆ ในการบ่งชี้และดำ�เนิน กลยุทธ์ที่สนับสนุนเรื่องต่างๆ 3 เรื่องในแผนกลยุทธ์ของโรตารีสากล (www. rotary.org/strategicplan) โดย สนับสนุนและส่งเสริมให้สโมสรเข้มแข็ง เน้นความสนใจและเพิ่มพูนการบำ�เพ็ญประโยชน์เพื่อเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริมภาพลักษณ์สาธารณะและการตระหนักของสาธารณชน
เราทำ�ได้อย่างไร
ทำ�หน้าที่เป็นทรัพยากรบุคคลของโรตารีสากล ที่ปรึกษาและผู้ให้คำ� แนะนำ�แก่สโมสรและภาค ให้ความคิดเห็นและข้อปฏิบัติที่ดีที่สุดร่วมกัน บ่งชีภ้ าคทีม่ คี วามเป็นเลิศในเรือ่ งของสมาชิกภาพ โปรแกรมของโรตารี สากลและการประชาสัมพันธ์ และเชื่อมความสัมพันธ์ของภาคเหล่านี้กับภาคที่ ต้องการความช่วยเหลือ ช่วยทำ�ให้ความพยายามในการร่วมมือกันระหว่างภาคเป็นไปได้ดว้ ยดี สนับสนุนแนวทางใหม่ๆ อันสร้างสรรค์ที่จะส่งเสริมและทำ�ให้สโมสร ภาพลักษณ์สาธารณะ รวมทั้งโปรแกรมของโรตารีสากลเข้มแข็งยิ่งขึ้น
42
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
Who we are
We are a network of 41 Rotarians, appointed by the RI president, who serve as an RI resource – in partnership with the RI director, regional Rotary Foundation coordinator, and district governor – for promoting and successfully implementing the RI Strategic Plan in our districts and clubs. We also work closely with the Public Image Resource Group.
How we do it
• Serving as an RI resource, consultant, and adviser to clubs and districts • Sharing ideas and best practices • Identifying districts that excel in membership, RI programs and public relations, and connecting them with districts seeking assistance • Facilitating collaborative efforts between What we do districts Rotary coordinators help clubs and districts identify • Advocating for innovative and creative and implement strategies that support all three areas approaches that support and strengthen clubs, public of the RI Strategic Plan (www.rotary.org/strategicplan): image, and RI programs • Support and Strengthen Clubs • Focus and Increase Humanitarian Service • Enhance Public Image and Awareness
ที่ปรึกษาใหม่ อผภ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ผู้ประสานงานโรตารี โซน 6 บี PDG.Saowalak Rattanavich Rotary Coordinator,Zone 6B
ติดต่อกับเราได้โดย:
ผู้ประสานงานโรตารี
ดาวน์โหลดรายชื่อเพื่อการติดต่อได้ที่ www.rotary.org/rotarycoordinators ผู้ประสานงานโรตารีทุกคนพร้อมที่จะ · จัดการประชุมเพื่อฝึกอบรม หรือ จัดสัมมนาในระดับ ภูมิภาค · เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสโมสรและภาค · ช่วยกำ�หนดและดำ�เนินการตามแนวปฎิบัติรวมทั้ง กลยุทธ์ต่างๆ ที่ดีที่สุด เพื่อสนับสนุนโปรแกรมสมาชิกภาพและ โปรแกรมต่างๆ ของโรตารีสากล · ช่วยเหลือในเรือ่ งการวางแผนงานระยะยาวในระดับสโมสร และภาค · ให้ความช่วยเหลือและติดต่อทรัพยากรต่างๆ แก่ผู้ว่าการ ภาค ท่านมีคำ�ถามเกี่ยวกับโปรแกรมผู้ประสานงานโรตารีใหม่ หรือไม่? โปรดแจ้งให้เราทราบได้โดยติดต่อกับผู้ประสานงาน โรตารี โซน 6 บี อผภ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ได้ที่อีเมล s_rattanavich@hotmail.com หรือดูขอ้ มูลในรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่ www.z6brc.org
CONTACT US: Download our contact list: www.rotary. org/rotarycoordinators
Rotary Coordinators are available to: • Conduct training sessions or regional seminars • Participate in club or district events • Help identify and implement best practices and strategies to support both membership and RI programs • Assist with long-range planning at the club and district levels • Offer assistance to district governors and connect them with resources Do you have questions about the new Rotary Coordinators program? Let us know by contacting Rotary Coordinator, Zone 6B, PDG.Dr.Saowalak Rattanavich at email: s_rattanavich@hotmail.com, or visit our website for other details at www.z6brc.org
Rotary in Action
กิจกรรมเจาะรักษานิ้วล็อกสัญจร Trigger fingers treatment
3 ส.ค. เจาะนิ้วล็อกให้แก่ผู้ป่วยร่วมกับ มูลนิธิแสงไช้กี-เหตระกูล และการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคมหาสารคาม
4 ธ.ค. 52 เจาะนิ้วล็อกผู้ป่วย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว วัดสุทธาราม ณ มูลนิธิศรี รัตนโกสินทร์
7 ส.ค. 52 เจาะนิ้วล็อกให้แก่ผู้ป่วยใน จ.เพชรบูรณ์ ร่วมกับ สร.หล่มสัก ณ รพ.หล่มสัก
44
6 ส.ค. เจาะนิ้วล็อกให้แก่ผู้ป่วยใน จ.เพชรบูรณ์ ร่วมกับ สร.เพ็ชรบูรณ์ ณ รพ.เพ็ชรบูรณ์
2 ธ.ค. เจาะนิ้วล็อกแก่ผู้ป่วยร่วมกับ สร.กรุงเทพงามวงศ์วาน และ นายก เทศมนตรี ณ ศาลาว่าการ จ.นนทบุรี
8 มี.ค. 53 เจาะนิ้วล็อกร่วมกับ สร.กระบี่ เจาะรักษานิ้วล็อกแก่ผู้ป่วยฝน จ.กระบี่
11 ธ.ค. 52 เจาะนิ้วล็อกให้แก่ผู้ป่วย งาน “เพื่อไทย พ้นภัย พึ่งใจ เพื่อนพึ่ง(ภาฯ) ณ วังสวนกุหลาบพระราชวังดุสิต
24 พ.ย. 52 เจาะนิ้วล็อกผู้ป่วยในเขต คลองสาน และในเขต กทม. ณ มูลนิธิศรี รัตนโกสินทร์ วัดสุทธาราม
นิตยสารโรตารีประเทศไทย กรกฎาคม-สิงหาคม 2553
16 พ.ย. 53 ร่วมกับมูลนิธิแสง-ไช้กีเห ตระกูล และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเจาะ รักษา นิ้วล็อกให้แก่ผู้ป่วย จ.กำ�แพงเพชร
โครงการระบบน้ำ�ประปาภูเขา สำ�หรับพื้นที่แม่ยางมิ้น และแม่ต๋ำ� อำ�เภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย MG#70601 สนับสนุนโดย : Rotary Club of Crows Nest D. 9680, Rotary Club of Chiangmai D. 3360, ADRA Thailand
โรตารีภาค 3360 ได้จัดการรณรงค์บริจาค สมทบกองทุน 200 ล้านเหรียญของโรตารีโดยโรทาเรียน และผู้ศรัทธา ที่ตั้งใจบริจาคเข้ากองทุนประจำ �ปีทั้ง EREY($100) และ PHF ($ 1000) สามารถบริจาคเข้า กองทุน Polio Plus คณะกรรมการยังได้จัดทำ�ของที่ ระลึ ก กิ จ กรรมการจารึ ก ชื่ อ เพื่ อ ร่ ว มเป็ น หนึ่ ง ใน ประวัติศาสตร์ขจัดโปลิโอให้หมดไปจากโลก และการ หาซื้อสินค้าและบริการจาก End Polio Partner ตาม รายชื่อผู้ร่วมโครงการ ซึ่งจะแบ่งผลกำ�ไรสมทบกองทุน 200 ล้านเหรียญของโรตารี
ขอบคุณจากเด็กๆ สำ�หรับ โครงการอาหารกลางวัน แบ่งปันเรื่องราวดีๆ ที่แสนประทับ ใจของโครงการต่างๆ จากการร่วม บริจาค EREY ไปยัง my.erey.story@rotary.org