Macro Views Jan2013

Page 1

Macro Views January 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : สหรัฐบรรลุขอตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะหนาผาการคลังแลว

Global :

■ สหรัฐ: ทําเนียบขาวและสมาชิกพรรครีพับลิกัน ไดบรรลุขอตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะหนาผาการคลังแลว โดยขอตกลงที่ผานความ เห็นชอบของวุฒิสภาไดแก การลดหยอนภาษีใหกับชนชั้นกลาง เพิ่มภาษีคนโสดที่รายไดเกิน 400,000 ดอลลารสหรัฐฯ ตอป และคูสมรสที่ มีรายได 450,000 ดอลลารสหรัฐฯ ตอป ชะลอการปรับลดรายจายดานกลาโหมและสังคมเปนเงิน 24,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ ออกไปอีก 2 ป และขยายสิทธิประกันการวางงานตออีก 1 ป ทั้งนี้รางกฎหมายดังกลาว ยังไมสามารถแกไขวิกฤตขาดดุลงบประมาณที่ระดับ 16.4 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ ทําใหกระทรวงการคลังตองออกมาตรการชะลอรายจายอีก 2 เดือน ■ ฝรั่งเศส : สํานักงานสถิติแหงชาติของฝรั่งเศส (INSEE) เผยการใชจายของผูบริโภคในเดือนพ.ย.เพิ่มขึ้น 0.2% จากเดือนต.ค. 0.1% และลดลง 0.2% y/y แรงหนุนยอดการซื้อพลังงานที่ดีดตัวขึ้น 2.3% จากเดือนต.ค. ■ กรีซ : ธนาคารกลางกรีซประกาศตองการเงินทุน 4.05 หมื่นลานยูโร (5.35 หมื่นลานดอลลาร) เพื่อการเพิ่มทุนเรือนหุนในธนาคารกรีซ โดยความตองการดังกลาวรับแรงหนุนจากเงินกูชวยเหลือราว 5 หมื่นลานยูโรที่ไดรับอนุมัติจากสหภาพยุโรปและกองทุนการเงินระหวาง ประเทศ ทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเสถียรภาพแกระบบการธนาคารโดยรวมเพื่อจัดการวิกฤตหนี้กรีซ ■ จีน : สหพันธพลาธิการและการจัดซื้อของจีน (CFLP) เผยดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิตเดือนธ.ค.ทรงตัวอยูที่ระดับ 50.6 บงชี้วาเศรษฐกิจจีนยังคงมีการขยายตัวในระดับปานกลาง และเปนแนวโนมที่ดีของป 2556 ■ เกาหลีใต : สํานักงานสถิติเกาหลีใตเผยดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) ขยายตัว 1.4% y/y หลังจากที่ขยายตัว 1.6% ในเดือนพ.ย. เคลื่อนไหวที่ระดับต่ํากวา 2% เปนครั้งแรกในรอบ 3 เดือน ต่ํากวาระดับเปาหมายที่คาดไว แมวาการฟนตัวของเศรษฐกิจสงสัญญาณการ ฟนตัวดีขึ้น

Thailand updates : ■ ธนาคารแหงประเทศไทย(ธปท.)คาดแนวโนมเศรษฐกิจไทยในป 2556 อยูท ี่ระดับ 4.6% ปจจัยหนุนเรื่องการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชน ขณะที่ปจจัยเสี่ยงอื่นๆ ตองติดตามการปรับขึ้นคาแรง 300 บาททั่วประเทศ ■ คาเงินบาทเปด(2 ธ.ค.) ที่ระดับ 30.51/53 บาท/ดอลลาร ปรับตัวแข็งคาจาก( 28 ธ.ค.)ที่ระดับ 30.60/62 บาท/ดอลลาร ติดตามการ เจรจาเพื่อหลีกเลี่ยงภาวะหนาผาการคลัง

US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (31 ธ.ค.) ดัชนีดาวโจนสพุงขึ้น 166.03 จุด หรือ 1.28% ปดที่ 13,104.14 จุด ดัชนี S&P 500 เพิ่มขึ้น 23.76 จุด หรือ 1.70% ปดที่ 1,426.19 จุด ดัชนี Nasdaq พุงขึ้น 59.20 จุด หรือ 2% ปดที่ 3,019.51 จุด จากนักลงทุนคาดหวังการหลีกเลี่ยงภาวะ หนาผาการคลังได ■ ตลาดหุนโตเกียว (28 ธ.ค.) ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึ้น 72.20 จุด หรือ 0.70% ปดที่ 10,395.18 จุด เงินเยนออนคาลงอยางตอเนื่อง ตลาด หุนจีน ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตพุง 35.88 จุด หรือ 1.61% ปดที่ 2,269.13 จุด จากดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนธ.ค.ขยายตัวขึ้น ตลาดหุน ฮองกง ดัชนีฮั่งเส็งขยับลง 9.64 จุด หรือ 0.04% ปดที่ 22,656.92 จุด ตลาดหุนไทย SET ปดที่ระดับ 1,391.93 จุด ลดลง 5.26 จุด (-0.38%) รอผลการเจรจาแกไขปญหา Fiscal Cliff

ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : คาเงินดอลลารสหรัฐแข็งคาขึ้นจากมติผานรางกฎหมายหลีกเลี่ยงภาวะหนาผาการคลัง

Global :

■ สหรัฐ : สหรัฐผานรางกฎหมายหลีกเลี่ยงภาวะหนาผาการคลัง สงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐแข็งคาขึ้น 0.63% เมื่อเทียบกับเงินเยนที่ 87.220 เยน จากระดับ 86.670 เยน และแข็งคาขึ้น 0.25% เมื่อเทียบกับฟรังคสวิสที่ 0.9179 ฟรังค จากระดับ 0.9156 ฟรังค : สถาบันจัดการดานอุปทานของสหรัฐ (ISM) รายงานดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ(PMI) ภาคการผลิต ขยายตัวสูระดับ 50.7 ในเดือนธ.ค. จาก 49.5 ในเดือนพ.ย. บงชี้วาภาคการผลิตของสหรัฐมีการขยายตัวขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกอนหนา ■ สหภาพยุโรป : ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนธ.ค.ลดลงแตะ 46.1 จากระดับ 46.2 ในเดือนพ.ย. สะทอนภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนธ.ค.หดตัวลงเล็กนอย ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิติของเยอรมนีรายงานดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) เบื้องตนเดือนธ.ค. ขยายตัว 0.9% m/m และขยายตัว 2.1% y/y ผลจากราคาเสื้อผาและรองเทาที่สูงขึ้น รวมถึงราคาโรงแรมและแพคเกจทองเที่ยวที่สูงขึ้นตามฤดูกาล ■ อินโดนิเซีย : สํานักงานสถิติแหงชาติอินโดนีเซียเผยการขาดดุลบัญชีการคาลดลงเหลือ 480 ลานดอลลารในเดือนพ.ย. หลังจากที่ยอด ขาดดุลเพิ่มขึ้นสูระดับ 1.5 พันลานดอลลารในเดือนต.ค. ทําใหคาเงินรูปหของอินโดนีเซียออนคาลงสูระดับกวา 6% เมื่อเทียบดอลลาร สหรัฐ นอกจากนี้อัตราเงินเฟอของอินโดนีเซียในเดือนธ.ค.ชะลอลงแตะ 4.3% ในเดือนธ.ค. y/y หลังจากพุงขึ้นที่ 4.32% ในเดือนพ.ย. ปจจัยกระตุนจากการปรับขึ้นราคาอาหาร

Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชยเผยดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไป (CPI) เดือน ธ.ค.55 อยูที่ 116.86 เพิ่มขึ้น 3.63% y/y และเพิ่มขึ้น 0.39% m/m สงผล ให CPI เฉลี่ยทั้งป 55 เพิ่มขึ้น 3.02% y/y จากการปรับตัวสูงขึ้นของดัชนีราคาที่ไมใชหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล 4% และการปรับตัวสูงขึ้นของดัชนีราคาที่ไมใชหมวดอาหารและเครื่องดื่มอีก 3.39% ■ คาเงินบาทเปด (3 ม.ค.) ที่ระดับ 30.36/38 บาท/ดอลลาร ทรงตัวในระดับเดียวกันกับชวงปดตลาด ( 2 ม.ค.)

US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (3 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนสพุงขึ้น 308.41 จุด หรือ 2.35% ปดที่ 13,412.55 จุด ดัชนี S&P 500 เพิ่มขึ้น 36.23 จุด หรือ 2.54% ปดที่ 1,462.42 จุด ดัชนี Nasdaq พุงขึ้น 92.75 จุด หรือ 3.07% ปดที่ 3,112.26 จุด จากสหรัฐผานรางกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยง ภาวะหนาผาการคลัง ■ ตลาดหุนฮองกง ดัชนีฮั่งเส็ง เพิ่มขึ้น 655.06 จุด หรือ 2.89% ปดที่ 23,311.98 จุด ตลาดหุนไทย SET ปดที่ระดับ 1,407.45 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.52 จุด (1.11%) เชนเดียวกับตลาดในภูมิภาคและทั่วโลก

ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : มูดสี้ ์ ปร ับลดแนวโน้มอ ันด ับความน่าเชอื่ ของสหร ัฐลงสู่ “เชงิ ลบ” จาก “มีเสถียรภาพ”

Global :

■ สหรัฐ: มูดส้ี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือระหว่างประเทศ ระบุวา่ สหรัฐฯ จําเป็ นต้องดําเนินการมากกว่าผ่าน มาตรการสกัดภาวะหน้าผาการคลัง หากต้องการคงอันดับความน่าเชื่อถือทีร่ ะดับ AAA ทัง้ นี้มดู ส้ี ป์ รับลดแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อของ สหรัฐลงสู่ “เชิงลบ” จาก “มีเสถียรภาพ” : สัญญาทองคําตลาดนิวยอร์กปิ ดร่วงลงเมื่อคืนนี้ (3 ม.ค.) จากการแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์ โดยดัชนีดอลลาร์ (dollar index) ซึง่ เป็ น ดัชนีวดั ความเคลื่อนไหวของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐเมื่อเทียบกับ 6 สกุลเงินที่เป็ นคู่ค้าหลักของสหรัฐ พุ่งขึน้ แตะระดับ 80.132 จุด จาก วันที่ 2 ม.ค. ทีร่ ะดับ 79.847 จุด : กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิ ดเผยว่า จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 22 ธ.ค. ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 10,000 ราย สูร่ ะดับ 372,000 ราย ส่วนจํานวนผูร้ บั สวัสดิการว่างงานติดต่อกันโดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ เนื่องจากสหรัฐมีวนั หยุดหลายวันในช่วงเดือน ธ.ค. ■ เยอรมัน : สํานักงานแรงงานของรัฐบาลกลางเยอรมนีเปิ ดเผยว่า จํานวนผูว้ า่ งงานในเดือนธ.ค.2555 เพิม่ ขึน้ 3,000 คนจากเดือนพ.ย. ทีพ่ งุ่ ขึน้ 5,000 คน โดยส่งผลให้เยอรมนีมจี าํ นวนผูว้ า่ งงานรวมทัง้ สิน้ 2.94 ล้านคนในเดือนธ.ค. ส่วนอัตราว่างงานในเดือนธ.ค.ยังคงทรง ตัวที่ 6.9% เมือ่ เทียบกับเดือนก่อนหน้า แต่เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจาก 6.8% ในเดือนธ.ค.ปี 2554 ■ สเปน : กระทรวงแรงงานสเปนรายงานว่า จํานวนผูว้ ่างงานในสเปนในเดือนธ.ค. ลดลง 59,094 คน จากเดือนพย. ส่งผลให้สเปนมี จํานวนผูว้ า่ งงานทัง้ สิน้ 4.8 ล้านคน นับเป็ นสัญญาณเศรษฐกิจทีเ่ ริม่ ฟื้นตัว ภายหลังเผชิญภาวะถดถอยครัง้ ที่ 2 ในรอบกว่า 3 ปี ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการคลังเกาหลีใต้เปิ ดเผยว่า เกาหลีใต้ตดั สินใจใช้งบประมาณสูงถึง 72% ของทัง้ หมดในช่วงครึง่ แรกของปีน้ีเพื่อ กระตุน้ เศรษฐกิจ โดยงบทีจ่ ะใช้ในช่วงครึง่ ปีแรกอยูท่ ่ี 213.6 ล้านล้านวอน ของงบทัง้ หมด 298.4 ล้านล้านวอนในปีงบประมาณ 2556 ซึง่ มากกว่าปีทแ่ี ล้วทีใ่ ช้ไป 70%

Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้รายงานสถานการณ์การนําเงินไปลงทุนในต่างประเทศในปี 2555 ว่า การลงทุนในหลักทรัพย์ตราสารหนี้ 11 เดือนของปี ทผ่ี า่ นประมาณ 5.5 แสนบาท เพิม่ จากปี 2554 ถึง 116 และปีน้ี ธปท. เห็นแนวโน้มการไหลออกของเงินอย่างต่อเนื่อง ■ ค่าเงินบาทเปิ ด (4 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.42/44 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงเล็กน้อยจากปิ ดตลาด (3 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.34/36 บาท/ดอลลาร์ คอยติดตามตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรในเดือนธ.ค.

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (3 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลง 21.19 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 13,391.36 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 3.05 จุด หรือ 0.21% ปิดที่ 1,459.37 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 11.70 จุด หรือ 0.38% ปิ ดที่ 3,100.57 จุด จากความวิตกเรือ่ งกฎหมายงบประมาณฉบับ ใหม่อาจไม่ชว่ ยให้ยอดขาดดุลลดลง และข้อมูลด้านแรงงานในสหรัฐผันผวน ■ ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 86.62 จุด หรือ 0.37% ปิ ดที่ 23,398.60 จุด จากดัชนี PMI ภาคบริการจีนขยายตัว ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,408.41 จุด ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.69 จุด (0.07%)

ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ต ัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรสหร ัฐปร ับต ัวอย่างแข็งแกร่ง

Global :

■ สหรัฐ: กระทรวงแรงงานสหรัฐรายงานว่า ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรปรับตัวเพิม่ ขึน้ 155,000 ตําแหน่ งในเดือนธ.ค.โดย อัตราว่างงานยังคงอยูท่ ร่ี ะดับ 7.8% สะท้อนให้เห็นว่าตลาดแรงงานสหรัฐยังสามารถฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง และมีตวั เลขการจ้างงาน 1.84 ล้านตําแหน่งเป็ นปีทส่ี องติดต่อกัน ทัง้ นี้การจ้างงานภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ 168,000 ตําแหน่ง ขณะทีภ่ าครัฐลดการจ้างงาน 13,000 ตําแหน่ง : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) เปิ ดเผยตัวเลขดัชนีภาคบริการ (Non-Manufacturing Index) ในเดือนธ.ค. อยูท่ ่ี 56.1 ขยับ ขึน้ เล็กน้อยจากระดับ 54.7 ในเดือนพ.ย. บ่งชีว้ า่ กิจกรรมในภาคบริการสหรัฐมีการปรับตัวดีขน้ึ อย่างมีนยั สําคัญ : ยอดสังซื ่ ้อภาคโรงงานเดือนพฤศจิกายนขยับขึน้ เพียง 211 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สู่ระดับ 4.77 แสนล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยยอดสังซื ่ ้อ ยานยนต์เพิม่ ขึน้ 2.8% ชีใ้ ห้เห็นว่าบริษทั ต่างๆ เต็มใจทีจ่ ะลงทุนขยายธุรกิจ และผูบ้ ริโภคชาวสหรัฐใช้จา่ ยอย่างต่อเนื่อง ■ เยอรมัน : กระทรวงแรงงานของเยอรมันรายงานจํานวนผูว้ า่ งงานเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 3,000 คน ส่งผลให้ล่าสุดมีจาํ นวนผูว้ า่ งงาน 2.94 ล้านคน ทัง้ นี้ปจั จุบนั อัตราการว่างงานของเยอรมันอยูท่ ่ี 6.9% ■ อังกฤษ : สํานักข้อมูล Markit และ The Chartered Institute of Purchasing and Supply รายงานดัชนี MPI เพิม่ ขึน้ 49.2 ในเดือน พ.ย. 2555 เป็ น 51.4 ในเดือน ธ.ค. 2555 สะท้อนภาคการผลิตอังกฤษเริม่ ฟื้นตัวเนื่องจากการใช้จา่ ยภาคครัวเรือนเพิม่ ขึน้ ■ อิ ตาลี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของอิตาลีในเดือนธ.ค.ขยับขึน้ แตะ 45.6 จาก 44.6 ในเดือนพ.ย. ซึง่ ตํ่ากว่า 50 บ่งชีว้ า่ ธุรกิจบริการยังคงเผชิญกับภาวะหดตัว ทัง้ นี้ดชั นี PMI ภาคบริการของอิตาลีได้หดตัวลงต่อเนื่องมากว่า 1 ปี ครึง่ แล้ว ซึง่ มีแนวโน้ม จะเป็ นปจั จัยทีฉ่ ุดเศรษฐกิจของประเทศต่อไปอีกหลายเดือน ■ สิ งคโปร์ : สถาบันการจัดซือ้ และการจัดการวัสดุของสิงคโปร์ (SIPMM) ระบุวา่ ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยซือ้ (PMI) ของสิงคโปร์ยงั คงหด ตัวอย่างต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 6 โดยแตะระดับ 48.6 ในเดือนธ.ค. ลดลงจาก 48.8 ในเดือนพ.ย. จากการลดลงของยอดสังซื ่ อ้ สินค้าล็อตใหม่

Thailand updates : ■ ท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย รายงานว่ามีจาํ นวนผูโ้ ดยสารผ่านท่าอากาศยานเพิม่ ขึน้ 12% ในปี 2555 สอดคล้องกับการเติบโต อย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วไทย ■ ค่าเงินบาทเปิ ด (7 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.44/46 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าขึน้ จากปิดตลาด (4 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.49/51 บาท/ดอลลาร์ โดยนักลงทุนให้ความสนใจเกีย่ วกับมาตรการทางการเงินของประเทศยุโรป ญี่ปนุ่ และสหรัฐฯ

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (4 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวสูงขึน้ 48.85 จุด หรือ 0.33% ปิดที่ 13,435.21 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 7.10 จุด หรือ 0.49% ปิดที่ 1,466.47 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 1.09 จุด หรือ 0.04% ปิดที่ 3,101.66 จุด เนื่องจากรายงานตัวเลขจ้างงาน นอกภาคการเกษตรของกระทรวงแรงงานสหรัฐปรับตัวดีขน้ึ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 292.93 จุด หรือ 2.82% ปิ ดที่ 10,688.11 จุด จากการผ่านร่างกฎหมายหลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคลัง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 7.86 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 2,276.99 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ปรับตัวลดลง 67.51 จุด หรือ 0.29% ปิดที่ 23,331.09 จุด หลังจากรายงานการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ระบุวา่ เจ้าหน้าทีก่ าํ หนดนโยบายบางคนของเฟดม องว่าควรชะลอหรือหยุดการซือ้ สินทรัพย์ก่อนสิน้ ปีน้ี ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,416.66 จุด ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 8.25 จุด (0.59%) จาก ปจั จัยภายในประเทศ ทัง้ การลงทุนภาครัฐ และการบริโภคภายในประเทศเพิม่ ขึน้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ภาวะตลาดสินคาโภคภัณฑ CBOT : แรงซื้อชดเชยหนุนสัญญาธัญพืชบวก

Global :

■ สหรัฐ: ภาวะตลาดสินคาโภคภัณฑ CBOT สัญญาสินคาโภคภัณฑเกษตรตางปรับสูงขึ้น โดยตลาดไดรับแรงหนุนจากคําสั่งซื้อชดเชย ทางเทคนิค และแนวโนมอุปสงคที่อาจสูงขึ้นสําหรับผลผลิตของสหรัฐ โดยตลาดสินคาโภคภัณฑ CME ระบุวาสัญญาขาวโพดสงมอบเดือน มี.ค. ปดปรับตัวขึ้นเล็กนอย จากมุมมองวาขาวโพดสหรัฐจะสามารถแขงขันในตลาดสงออกโลกไดมากขึ้น ดานสัญญาขาวสาลีปรับตัวขึ้น เชนเดียวกัน : สัญญาน้ํามันดิบเวสตเท็กซัส (WTI) เดือนก.พ. ปรับตัวลง 50 เซนต แตะที่ 92.59 ดอลลาร/บารเรล เนื่องจากความวิตก กังวลเกี่ยวกับทิศทางการดําเนินนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐและการทําขอตกลงขยายเพดานหนี้ของสหรัฐ ■ ยุโรป : สกุลเงินยูโรปรับตัวขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลารสหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอรกเมื่อวานนี้ (7 ม.ค.) เพราะได แรงหนุนจากการคาดการณวาธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) อาจจะชะลอการปรับลดอัตราดอกเบี้ยในการประชุมสัปดาหนี้ โดยคาเงินยูโรพุง ขึ้น 0.37% แตะที่ 1.3115 ดอลลารสหรัฐ จากระดับ 1.3067 ดอลลาร ขณะที่เงินปอนดพุงขึ้น 0.27% แตะที่ 1.6114 ดอลลารสหรัฐ จาก ระดับ 1.6071 ดอลลารสหรัฐ อังกฤษ : สมาคมคาปลีกอังกฤษ (BRC) เผยยอดคาปลีกในรานคาที่เปดดําเนินการตั้งแต 12 เดือนขึ้นไป เพิ่มขึ้น 0.3% ในเดือนธ.ค.เมื่อ เทียบรายป หลังจากปรับขึ้น 0.4% ในเดือนพ.ย. ขณะที่ยอดขายรวม ซึ่งรวมยอดขายในรานเปดใหม เพิ่มขึ้น 1.5% จากปกอน เทียบกับ เดือนพ.ย.ที่ยอดขายรวมเพิ่มขึ้น 1.8% เปนผลมาจากการลังเลในการใชจายในภาวะที่รายไดไมมีการขยายตัว อัตราเงินเฟอสูง กอรปกับ รัฐบาลดําเนินมาตรการรัดเข็มขัดอยางตอเนื่อง ■ ญี่ปุน : รัฐมนตรีคลังญี่ปุนเปดเผยวา ญี่ปุนจะซื้อพันธบัตรจากกองทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM) เพื่อชวยรักษาเสถียรภาพ ในตลาดปริวรรตเงินตรา โดยญี่ปุนจะนําเงินจากทุนสํารองเงินตราตางประเทศมาใชซื้อพันธบัตรดังกลาว

Thailand updates : ■ กระทรวงพลังงานเลื่อนปรับขึ้นแอลพีจีภาคครัวเรือน จากเดิมที่กําหนดไวจะทยอยขึ้นตั้งแตเดือนก.พ. ทั้งนี้ตองใหสํานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) ไปสํารวจขอมูลจากประชาชนผูมีรายไดนอย และรานคายอย ซึ่งไดรับการอุดหนุนราคาตามหลักเกณฑตองใช ไฟฟาไมเกิน 90 หนวยตอเดือน ใหแลวเสร็จกอน ■ คาเงินบาทเปด (8 ม.ค.) ที่ระดับ 30.43/45 บาท/ดอลลาร ปรับตัวแข็งคาขึ้นจากปดตลาด (7 ม.ค.) ที่ระดับ 30.46/48 บาท/ดอลลาร เนื่องจากยังมีเงินทุนไหลเขามาในตลาดหุนไทยอยางตอเนื่อง กอรปกับการแข็งคาตามทิศทางของคาเงินยูโร

US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (4 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนสปรับตัวลง 50.92 จุด หรือ 0.38% ปดที่ 13,384.29 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 4.58 จุด หรือ 0.31% ปดที่ 1,461.89 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 2.84 จุด หรือ 0.09% ปดที่ 3,098.81 จุด เนื่องจากนักลงทุนระมัดระวังการซื้อขาย พรอม กับจับตาดูการเจรจาเรื่องการเพิ่มเพดานหนี้ระหวางสภาคองเกรสและรัฐบาลสหรัฐ รวมทั้งผลประกอบการของบริษัทเอกชน ■ ตลาดหุนเอเชีย สวนใหญปรับตัวลดลงหลังนักลงทุนเทขายทํากําไรจากการปรับขึ้นอยางแข็งแกรงเมื่อสัปดาหที่แลว โดยดัชนีนิกเกอิ ปรับตัวลง 89.10 จุด หรือ 0.83% ปดที่ 10,599.01 จุด ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตเพิ่มขึ้น 8.37 จุด หรือ 0.37% ปดที่ 2,285.36 จุด ขณะที่ ตลาดใหความสนใจกับนโยบายของรัฐบาลจีนภายใตการนําของนายสี จิ้นผิง ดัชนีฮั่งเส็ง ปรับตัวลดลง 1.34 จุด หรือ 0.01% ปดที่ 23,329.75 จุด จากแรงหนุนจากหุนกลุมอสังหาริมทรัพยและทรัพยากรจีน ตลาดหุนไทย SET ปดที่ระดับ 1,415.32 จุด ปรับตัวลดลง 1.34 จุด (0.09%) ตามทิศทางของตลาดสวนใหญในภูมิภาค ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : อัตราการจางงานของยูโรโซนเดือนพ.ย. เพิ่มขึ้น 11.8%

Global :

■ สหรัฐ: Conference Board เปดเผยดัชนีแนวโนมการจางงาน (ETI) เพิ่มขึ้นในเดือนธ.ค. โดยดัชนีอยูที่ระดับ 109.02 เพิ่มขึ้นจาก 108.19 ในเดือนพ.ย. และสูงกวาปที่แลว 3.1% (y-o-y) ■ ยุโรป : ยูโรแสตทรายงานวาระดับการวางงานของยูโรโซนเพิ่มจาก 11.7% เดือนต.ค. 2555 เปน 11.8% ในเดือนพ.ย. สูงสุดเปน ประวัติการณ ทั้งนี้อัตราการวางงานของออสเตรีย เยอรมนี ฝรั่งเศส เสปน อยูที่ 4.5% 5.4% 10.5% และ 26.6% ตามลําดับ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิติเยอรมนีรายงานยอดสงออกในเดือนพ.ย. 2555 ปรับตัวลดลง 3.4% จากเดือนต.ค. ซึ่งเปนสถิติที่ออนที่สุดใน รอบกวา 1 ป จากวิกฤตหนี้ยุโรป และเยอรมนีรายงานคําสั่งซื้อภาคการผลิตเดือนพ.ย.2555 ลดลง 1.8% (m-o-m) หลังจากที่เพิ่มขึ้น 3.8% ในเดือนต.ค. โดยลดลง 1% (y-o-y) เนื่องจากคําสั่งซื้อจากตางประเทศลดลง ■ อิตาลี : ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (PMI) สําหรับภาคบริการของอิตาลีที่สํารวจโดย Markit/ADACI เพิ่มขึ้นสูระดับ 45.6 ในเดือนธ.ค. จากระดับ 44.6 ในเดือนพ.ย. สูงกวาที่นักวิเคราะหคาดที่ระดับ 45.0 ดัชนียังอยูในระดับต่ํากวา 50 เปนเดือนที่ 19 ติดตอกัน ■ อินเดีย : สมาคมผูผลิตยานยนตของอินเดียเปดเผยวา ในเดือนธ.ค. ป 2555 ยอดขายรถยนตนั่งของอินเดียรวงลง 12.51%(y-o-y) สวนยอดขายยานยนตโดยรวมปรับตัวลดลง 1.13% แตการผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้น 1.19% อันเนื่องมาจากการสงออกที่แข็งแกรงขึ้น ■ ญี่ปุน : สมาคมผูคายานยนตญี่ปุนเปดเผยวา ยอดขายยานยนตใหม ซึ่งไมนับรวมรถขนาดเล็กในป 2555 ขยายตัวถึง 26.1% จากป กอน อยูที่ 3,390,274 คัน เนื่องจากไดรับปจจัยสนับสนุนจากการที่รัฐบาลใหเงินอุดหนุนแกผูซื้อรถที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของรัฐบาล

Thailand updates : ■ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2556 คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไวที่ 2.75% ตามการคาดการณของตลาด ทั้งนี้เพื่อชวยสนับสนุนอุปสงคภายในประเทศกระตุนใหเศรษฐกิจเติบโตอยางตอเนื่อง ■ คาเงินบาทปด (9 ม.ค.) ที่ระดับ 30.37/39 บาท/ดอลลาร ปรับตัวแข็งคาขึ้นจากปดตลาดที่ระดับ 30.43/45 บาท/ดอลลาร จากเงินทุน ไหลเขาในตลาดหุนและพันธบัตร

US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (9 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนสปรับตัวเพิ่มขึ้น 61.66 จุด หรือ 0.46% ปดที่ 13,390.51 จุด ดัชนี S&P 500 เพิ่มขึ้น 3.87 จุด หรือ 0.27% ปดที่ 1,4561.02 จุด ดัชนี Nasdaq เพิ่มขึ้น 14 จุด หรือ 0.45% ปดที่ 3,105.81 จุด จากแรงหนุนจากผลประกอบการที่ดีเกิน คาดของบริษัท อัลโค อิงค ซึ่งเปนหนึ่งในผูผลิตอลูมิเนียมรายใหญระดับโลก ■ ตลาดหุนเอเชีย ดัชนีนิกเกอิปรับเพิ่มขึ้น 70.51 จุด หรือ 0.67% ปดที่ 10,578.57 จุด จากสกุลเยนออนคาลงเมื่อเทียบกับดอลลาร ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตปรับตัวลง 0.73 จุด หรือ 0.03% ปดที่ 2,275.34 จุด โดยตลาดจับตามองการเปดเผยขอมูลเศรษฐกิจจีนในวันพรุงนี้ ดัชนีฮั่งเส็ง ปรับตัวเพิ่มขึ้น 107.28 จุด หรือ 0.46% ปดที่ 23,218.47 จุด ตลาดหุนไทย SET ปดที่ระดับ 1,423.46 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้น 2.01 จุด (0.14%)

ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 1 ประจําว ันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1/1

มุมมองมหภาค Economic Research : ความไม่แน่นอนภายหล ังสหร ัฐผ่านร่างกม. หลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคล ัง

ในทีส่ ดุ สถานการณ์ในกรุงวอชิงตันเป็ นไปตามทีค่ าดไว้ เมือ่ สภาคองเกรสประนีประนอม ในข้อตกลงในนาทีสดุ ท้าย โดยข้อตกลงดังกล่าวมุง่ เน้นทางด้านรายได้ และไม่ได้จดั การ กับปญั หาด้านการใช้จา่ ย หรือให้ความสําคัญกับเพดานหนี้สาธารณะ จากสถานการณ์ Fiscal cliff หรือภาวะหน้าผาการคลัง สหรัฐมี 3 ช่องทางในการแก้ปญั หาต่อไป ได้แก่ (1)

E

ปรับลดงบประมาณภาครัฐ (2) ขยายเพดานหนี้สาธารณะ และ (3) เดินหน้าการปฏิรปู งบประมาณปี 2013

จากองค์ประกอบหลักของข้อตกลงดังกล่าว ได้แก่ การปรับขึน้ อัตราภาษีเงินได้สาํ หรับผูม้ รี ายได้สงู ผ่านเครือ่ งมือทีห่ ลากหลาย1 รวมถึงมาตรการลดหย่อนภาษีทเ่ี ก็บจากรายได้ของผูม้ เี งินเดือน (Payroll – tax cut) ก็จะสิน้ สุดลงด้วย จะส่งผลให้ผเู้ สียภาษีมภี าระเพิม่ ขึน้ ซึง่ ส่งผลต่อเงินเฟ้อในอนาคต อย่างไรก็ตามหลายมาตรการ เช่น มาตรการลดหย่อนภาษีจากการจดจํานอง ยังคงมีการต่ออายุต่อไป เมือ่ พิจารณาด้านการใช้จา่ ย ได้มกี ารเลื่อนการปรับลดงบประมาณรายจ่ายในโครงการต่างๆ ของภาครัฐออกไปอีก 2 เดือน ได้แก่ มาตรการลด สวัสดิการแก่ผวู้ า่ งงาน และค่าใช้จา่ ยด้านสาธารณสุข ซึง่ มาตรการด้านสวัสดิการแก่ผวู้ า่ งงาน หรือการประกันการว่างงาน ได้ขยายระยะเวลา ออกไปอีก 1 ปี รวมถึงโครงการประกันสุขภาพของรัฐ (The Medicare “doc fix”) อย่างไรก็ตามการเลื่อนปรับลดงบประมาณรายจ่าย จะถูก ชดเชยจากการรัดเข็มขัดทางการคลัง และการจัดเก็บรายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ ในอีก 2 -3 ปีขา้ งหน้า ผลของการดําเนินการทีก่ ล่าวมาข้างต้นจะกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจปี 2556 อย่างมีนยั สําคัญ โดยมีภาระการคลังประมาณ 285 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ประกอบด้วย (1) ภาษี Obamacare 20 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2) การลดภาษีผมู้ เี งินเดือน 120 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (3) ปรับขึน้ ภาษีผมู้ รี ายได้สงู 60 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (4) มาตรการหมดอายุอ่นื ๆ 80 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (5) การใช้จา่ ยเพื่อชดเชย โครงการประกันสุขภาพของรัฐ และการเลื่อนการปรับลดงบประมาณในอีก 2 เดือน 5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ท้ายทีส่ ดุ แล้วผลกระทบดังกล่าวนี้ จะส่งผลไปในอีกหลายปี อย่างไรก็ตามผลการแก้ปัญหาภาวะหน้ าผาการคลังยังไม่จบ แต่กลับเพิ่ งเป็ นการเริ่ มต้น ซึ่งในเวลานี้ คงไม่มีใครบอกได้ ชัดเจนว่าในอีก 2 เดือนข้างหน้ าผลการเจรจาของสองพรรคการมืองใหญ่ของสหรัฐจะออกมาเป็ นอย่างไร แต่กม็ ีแนวโน้ มสูงว่าอาจ สําเร็จได้ยาก เมื่อถึงเวลานัน้ ชนวนเศรษฐกิ จของสหรัฐอาจส่งผลกระทบมายังอาเซียนและประเทศไทยอย่างมากได้ โดยเฉพาะใน เรือ่ งของเงินไหลเข้าทีจ่ ะหลังไหลเข้ ่ ามาในธุรกิจของไทยโดยเฉพาะในตลาดหุน้ _________________________________ 1 นายบารัค โอบามา ได้ลงนามใน “American Taxpayer Relief Act of 2012” เพือ่ หลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคลัง และบังคับใช้เป็ นกฏหมาย เมือ่ วันที่ 2 มกราคม 2556 โดยสาระสําคัญได้แก่ การเพิม่ ภาษีครัวเรือนทีม่ รี ายได้เกิน 450,000 ดอลลาร์สหรัฐ/ปี หรือคนโสดทีม่ รี ายได้เกิน 400,000 ดอลลาร์สหรัฐ/ปี และเลื่อนการตัดลดงบประมาณรายจ่ายในโครงการต่างๆ ของรัฐออกไปอีก 2 เดือน Phatra Securities Public Company Limited \03 Jan 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : สหร ัฐเผยจํานวนผูข้ อร ับสว ัสดิการว่างงานเพิม่ ขึน้ 4,000 ราย ผลจากการผ่านร่างกม. Fiscal Cliff

Global : ■ สหรัฐ: กระทรวงแรงงานเผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการการว่างงานในรอบสัปดาห์ท่สี น้ิ สุดวันที่ 5 ม.ค. อยู่ท่ี 371,000 ราย ปรับตัว เพิม่ ขึน้ 4,000 ราย และจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการฯ ติดต่อกันเฉลีย่ 4 สัปดาห์ อยู่ท่ี 365,750 ราย เพิม่ ขึน้ 6,750 ราย ผลจากการว่างงาน ตามฤดูกาลและสภาผ่านร่างกฎหมาย Fiscal Cliff ขยายเวลาการให้สวัสดิการแก่ผวู้ า่ งงานในระยะยาว ่ ขึน้ 0.6% จากเดือนต.ค. (มากกว่าคาดที่ 0.3%) สูร่ ะดับ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยสต็อกสินค้าคงคลังภาคค้าส่งในเดือนพ.ย.2555 เพิม 4.989 แสนล้านดอลลาร์ และเพิม่ ขึน้ 7.0% (y‐o‐y) ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ไว้ทร่ี ะดับตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ทร่ี ะดับ 0.75% ต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 6 ซึง่ เป็ นไปตามการคาดของนักวิเคราะห์ และไม่มกี ารประกาศใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินเพิม่ เติม พร้อมกันนี้ได้ปรับลดการคาดการณ์ การการขยายตัวของเศรษฐกิจยูโรในปี น้ี 0.3% จากคาดการณ์ท่ี 0.5% ■ จีน : สํานักงานศุลกากรจีนเปิ ดเผย ยอดการส่งออกของจีนในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 7.9% (y‐o‐y) ขณะที่ยอดการนํ าเข้าเพิม่ ขึน้ 4.3% (y‐o‐y) ส่งผลให้ยอดเกินดุลการค้าระหว่างประเทศเพิม่ ขึน้ เป็ น 2.311 แสนล้านดอลลาร์ในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 48.1% (y‐o‐y) ■ ญี่ปนุ่ : นายกรัฐมนตรีญ่ปี ุ่น ได้ลงนามรับรองมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจมูลค่า 20 ล้านล้านเยน เมื่อวันที่ 10 ม.ค. โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะ หนุนเศรษฐกิจให้ฟ้ืนตัวขึน้ ด้วยการจัดการกับภาวะเงินฝืดทีเ่ รือ้ รังและการแข็งค่าของเงินเยน ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ประกาศคงอัตราดอกเบีย้ ที่ 2.75% เนื่องจากข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ อกมาเป็ นบวก รวมถึงข้อมูลด้าน การผลิตและอุปสงค์ภายในประเทศ ขณะทีเ่ งินเฟ้อยังคงอยูใ่ นระดับตํ่า และรัฐบาลได้ใช้มาตรการกระตุน้ การคลังในช่วงก่อนหน้านี้

Thailand updates : ■ กระทรวงอุตสาหกรรมเผย ยอดนักลงทุนขอยืน่ รับการส่งเสริมการลงทุนในปี 2555 ทัง้ สิน้ 2,582 โครงการ ปรับเพิม่ 29.7% (y-o-y) มูลค่าเงินลงทุนรวม 1,464,200 ล้านบาท และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ธ.ค.2555 อยูท่ ่ี 70.6 เพิม่ ขึน้ จาก 64.4 ในเดือนพ.ย. สูงสุดในรอบ 15 เดือน ■ ค่าเงินบาทปิ ด (10 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.31/33 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าขึน้ จากเปิ ดตลาดในช่วงเช้าทีร่ ะดับ 30.39/41 บาท/ดอลลาร์ โดยแข็งค่าสุดในรอบ 11 เดือน จากการเทขายดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (10 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 80.71 จุด หรือ 0.60% ปิดที่ 13,471.22 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 11.10 จุด หรือ 0.76% ปิดที่ 1,472.12 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 15.95 จุด หรือ 0.51% ปิดที่ 3,121.76 จุด จากการประกาศยอดส่งออกของจีน เพิม่ ขึน้ และมติคงอัตราดอกเบีย้ ของอีซบี ี ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปรับขึน้ โดยดัชนีนิกเกอิปรับเพิม่ ขึน้ 74.07 จุด หรือ 0.70% ปิดที่ 10,652.64 จุด จากการเปิดเผยข้อมูล เศรษฐกิจจีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตปรับเพิม่ ขึน้ 8.32 จุด หรือ 0.37% ปิ ดที่ 2,283.66 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 135.84 จุด หรือ 0.59% ปิดที่ 23,354.31 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,405.99 จุด ปรับตัวลดลง 17.47 จุด (1.23%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ยอดขาดดุลการค้าสหร ัฐเดือนพ.ย. เพิม่ ขึน้ 15.8% หล ังยอดนําเข้าเพิม่ สูง

Global :

■ สหรัฐ: กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดขาดดุลการค้าเดือนพ.ย. เพิม่ ขึน้ 15.8% สูร่ ะดับ 48.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากระดับ 42.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในเดือนก่อนหน้า สูงกว่าคาดไว้ท่ี 41.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 7 จากยอดนําเข้าสินค้านอก กลุม่ ปิ โตรเลียมเพิม่ ขึน้ แตะระดับสูงสุดในรอบกว่า 5 ปี ■ อังกฤษ : ธนาคารกลางอังกฤษ (บีโออี) คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายทีร่ อ้ ยละ 0.50 และคงเป้าหมายมาตรการ QE ที่ 3.75 แสนล้าน ปอนด์ เพือ่ สนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ■ ฝรังเศส ่ : ธนาคารกลางฝรังเศสเผยยอดขาดดุ ่ ลบัญชีเดินสะพัดในเดือนพ.ย.อยูท่ ่ี 2.9 พันล้านยูโร และยอดขาดดุลการค้าลดลงมาอยูท่ ่ี 5 พันล้านยูโร จาก 5.1 พันล้านยูโร ในเดือนต.ค. ขณะทีย่ อดเกินดุลภาคบริการลดลงแตะระดับ 2.8 พันล้านยูโร จากระดับ 2.9 พันล้านยูโร ในเดือนก่อนหน้า ซึง่ คาดการณ์วา่ จีดพี ฝี รังเศสมี ่ แนวโน้มหดตัวลง 0.1% ในไตรมาส 4 ปี 2555 ■ กรีซ : สํานักงานบริการสถิติ (ELSTAT) เผยอัตราการว่างงานเดือนต.ต. เพิม่ 26.8% สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ และสูงกว่าอัตราการ ว่างงานเฉลีย่ ในยูโรโซนทีร่ ะดับ 11.8% ในเดือนพ.ย. ผลจากการเผชิญวิกฤตหนี้สาธารณะ และมาตรการรัดเข็มขัดของรัฐ ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี (NBS) เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนธ.ค. 2555 ขยายตัว 2.5% (y-o-y) เพิม่ ขึน้ 0.8% จากเดือน พ.ย. สูงทีส่ ดุ ในรอบ 6 เดือน และยอดขายรถยนต์ในจีนปี 2555 เพิม่ ขึน้ 4.3% อยูท่ ่ี 19.31 ล้านคัน ตํ่ากว่าคาดไว้ท่ี 8% เนื่องจาก เศรษฐกิจจีนชลอตัว และข้อจํากัดปริมาณการออกรถยนต์ใหม่ ■ ญี่ปนุ่ : ดัชนีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจในกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพทีม่ คี วามอ่อนไหวต่อเศรษฐกิจในญีป่ ุน่ ในเดือนธ.ค. ปรับตัวดีขน้ึ ติดต่อกัน เป็ น เดือนที่ 2 สูร่ ะดับ 45.8 จากระดับ 40.0 ในเดือนพ.ย จากการอ่อนค่าของเงินเยน

Thailand updates : ■ สศช. เผยยอดคงค้างสินเชื่อเพือ่ การอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลมีมลู ค่า 2.74 ล้านล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีก่อน 20.4% ซึง่ เพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนื่องจากไตรมาส 2 และไตรมาสแรกของปี 2555 ส่วนหนึ่งเป็ นผลจากการใช้สทิ ธิตามโครงการรถยนต์คนั แรกและบ้านหลังแรก สินเชื่อ เพือ่ ซือ้ รถยนต์และรถจักรยานยนต์เพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ถึง 33.6% สินเชื่อเพือ่ การบริโภคอื่นๆ 30.3% และสินเชื่อเพือ่ การซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย 10.3% ■ ค่าเงินบาทปิ ด (11 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 30.25/27 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าขึน้ เล็กน้อยจากการเปิ ดตลาดในช่วงเช้าทีร่ ะดับ 30.26/28 บาท/ดอลลาร์ โดยเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกันกับสกุลเงินยูโร

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (11 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 17.21จุด หรือ 0.13% ปิดที่ 13,488.22 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 0.07 จุด หรือ 0.0% ปิดที่ 1,472.05 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 3.87 จุด หรือ 0.12% ปิดที่ 3,121.63 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปรับขึน้ โดยดัชนีนิกเกอิปรับเพิม่ ขึน้ 148.93 จุด หรือ 1.40% ปิดที่ 10,801.57 จุด แตะระดับสูงสุดในรอบ 23 เดือน จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจฉบับใหม่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตปรับลดลง 40.66 จุด หรือ 1.78% ปิ ดที่ 2,243 จุด จากการเปิดเผย เงินเฟ้อของจีนทีไ่ ด้มกี ารขยายตัวมากกว่าคาดการณ์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ปรับตัวลดลง 90.24 จุด หรือ 0.39% ปิดที่ 23,264.07 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,412.06 จุด ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 6.07 จุด (0.43%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรมยุโรปในเดือนพ.ย. ลดลง 0.3% เทียบเดือนกอนหนา

Global :

■ สหรัฐ: ประธานเฟดสาขาชิคาโกคาดการณเศรษฐกิจป 2556 ขยายตัว 2.5% และป 2557 ขยาย 3.5% ทั้งนี้คาดการณวาการวางงาน จะอยูที่ 7.4% ปนี้ และลดลงอยูที่ 7% ในปหนา ■ ยุโรป : สํานักงานสถิติแหงชาติยุโรป (ยูโรสแตท) รายงานการผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนพ.ย. 2555 ปรับลด 0.3% จากเดือนกอน ในขณะที่กลุมประเทศสหภาพยุโรป (อียู) ลด 0.3% เชนกัน โดยเปนการลดลงในการผลิตพลังงาน รองลงมาเปนการผลิตสินคาไมคงทน และการผลิตสินคาคงทน ตามลําดับ โดยสโลวีเนีย ลดมากที่สุด 4.0% และเอสโตเนียเพิ่มมากที่สุด ที่ระดับ 4.7% ■ กรีซ : รัฐสภากรีซอนุมัติรางกฎหมายภาษีฉบับใหม เพิ่มรายรับราว 2 พันลานยูโร (2.65 พันลานดอลลาร) ในชวง 2 ปขางหนา เพื่อให ระบบการจัดเก็บภาษีเปนไปไดงายขึ้น รวมถึงจัดการกับการเลี่ยงภาษีที่ขยายวงกวาง ทั้งนี้ภายใตแผนดังกลาว จะมีการปฏิรปู โครงการ สัสดิการสังคมตางๆ รวมถึงสวัสดิการครอบครัว และการเพิ่มการจัดเก็บภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก และขยายฐานจัดเก็บภาษีผูมีรายไดตอป มากกวา 4.2 หมื่นลานยูโร ที่ 42% จากเดิมจัดเก็บภาษีเฉพาะผูมีรายไดตอปมากกวา 1 แสนลานยูโร ที่ 45% จะสงตอชนชั้นแรงงาน และ เกษตรกรที่มีรายไดต่ําโดยตรง ซึ่งนับเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหเกิดวิกฤตหนี้สินเมื่อ 3 ปกอน ■ จีน : สํานักปริวรรตเงินตราของรัฐบาลจีนเปดเผยวาจีนจะจัดตั้งหนวยงานใหมเพื่อกระจายทุนสํารองระหวางประเทศที่มีอยูจํานวน 3.31 ลานลานดอลลารสหรัฐ เพื่อหาทางเลือกลงทุนใหมๆ ที่จะชวยรักษาและเพิ่มมูลคาของเงินทุนสํารองฯ ของจีนที่มีมากที่สุดในโลก อินเดีย : กระทรวงพาณิชยอินเดียเผย ดัชนีราคาคาสงเดือนธ.ค.ปรับตัวขึ้น 7.18% (y-o-y) ชลอต่ําสุดในรอบ 11 เดือน หลังจากที่ ขยายตัว 7.24% ในเดือนพ.ย. สงผลใหมีการคาดการณวา ธนาคารกลางอินเดียจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ

Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชยเผยการสงออกขาวของไทยปนี้ขยายตัวตอเนื่อง โดยในชวงสัปดาหแรกของปมียอดสงออกกวา 1.5 แสนตัน เพิ่มขึ้น 43% (y-o-y) จากการสต็อกขาวในชวงเทศกาลตรุษจีน โดยคาดวาตลอดเดือนม.ค. จะสงออกขาวเกิน 500,000 ตัน ■ คาเงินบาทปด (14 ม.ค.) ที่ระดับ 30.22/25 บาทตอดอลลารสหรัฐ แข็งคาขึ้นจากชวงเชาที่เปดตลาดที่ระดับ 30.26/30 บาทตอดอลลาร แข็งคาสุดในรอบ 15 เดือน ผลจากเงินทุนไหลเขาในตลาดหุนเอเชียและจากแรงเทขายเยนเพื่อซื้อดอลลารมากขึ้น

US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (14 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนสปรับตัวเพิ่มขึ้น 18.89 จุด หรือ 0.14% ปดที่ 13,507.32 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 1.37 จุด หรือ 0.09% ปดที่ 1,470.68 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 8.13 จุด หรือ 0.26% ปดที่ 3,117.50 จุด หลังจากความวิตกยอดขายผลิตภัณฑแอป เปล ■ ตลาดหุนเอเชีย สวนใหญอยูในแดนบวก โดยดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตเพิ่มขึ้น 68.74 จุด หรือ 3.06% ปดที่ 2,311.74 จุด จากการ คาดการณวาจีนจะเพิ่มโควตาโครงการนักลงทุนสถาบันตางชาติที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสําหรับการใชสกุลเงินหยวน (RQFII) ดัชนีฮั่งเส็ง ปรับเพิ่มขึ้น 149.19 จุด หรือ 0.64% ปดที่ 23,413.26 จุด ตลาดหุนไทย SET ปดที่ระดับ 1,425.07 จุด ปรับตัวเพิ่มขึ้น 13.01 จุด (0.92%) ตามตลาดในภูมิภาค

ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ 0.5% ในเดือนธ.ค. และด ัชนีราคาผูผ HighLight : สหร ัฐเผยยอดค้าปลีกเพิม ่ ขึน ้ ลิตลดลง 0.2%

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดค้าปลีกในเดือนธ.ค.เพิม่ ขึน้ 0.5% จากคาดการณ์ 0.2% แตะระดับ 4.1570 แสนล้านดอลลาร์ จากอัตราการขยายตัวในเดือนพ.ย. 0.4% โดยการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคคิดเป็ นสัดส่วนราว 70% ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ บ่งชีว้ า่ ผูบ้ ริโภค ยินดีจะใช้จา่ ยมากขึน้ ในช่วงสิน้ ปี แม้วา่ ยังมีความไม่แน่นอนเกีย่ วกับนโยบายการปรับเพิม่ ภาษีของประเทศ : ธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) และสํานักงานคลังสหรัฐ (OCC) มีคาํ สังให้ ่ เจพีมอร์แกน เชส เพิม่ ประสิทธิภาพในการควบคุมความเสีย่ งและ การตรวจสอบบัญชี หลังจากสาขากรุงลอนดอนขาดทุนกว่า 6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จากการซือ้ ขายตราสารอนุพนั ธ์ปีทแ่ี ล้ว : ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนธ.ค. ลดลง 0.2% หลังปรับลง 0.8% ในเดือนพ.ย. ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 3 มากกว่าคาดการณ์ไว้ท่ี 0.1% เนื่องจากราคาพลังงานและอาหารทีป่ รับลดลง ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษเผยอัตราเงินเฟ้อเดือนธ.ค. ทรงตัวที่ 2.7% สูงกว่าทีธ่ นาคารกลางอังกฤษกําหนดไว้ท่ี 2% เนื่องจากราคาพลังงานเพิม่ ขึน้ ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ในเดือนธ.ค. เพิม่ ขึน้ 0.3% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 1.3% (y-o-y) จากต้นทุนการขนส่งและราคาสินค้าในกลุม่ สือ่ สารทีเ่ พิม่ ขึน้ ■ ญี่ปนุ่ : นายกรัฐมนตรีญป่ี นุ่ หารือร่วมกับธนาคารกลางญีป่ ุ่น (บีโอเจ) เพือ่ ออกแถลงการณ์รว่ มกันในเดือนม.ค. ในประเด็นการกําหนด เป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ 2% ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากเป้าหมายปจั จุบนั 2 เท่า จากเดิมทีก่ าํ หนดไว้ท่ี 1% ในเดือนก.พ. ปี 2555 และกําหนดให้เป็ น เป้าหมายระยะกลาง ทัง้ นี้เพื่อแสดงให้ตลาดเห็นว่าบีโอเจมีความตัง้ ใจทีจ่ ะผ่อนคลายมาตรการทางการเงินในเชิงรุก เพื่อยุตภิ าวะเงินฝืด

Thailand updates : ■ กระทรวงอุตสาหกรรมและบีโอไอปรับยุทธศาสตร์ของการส่งเสริมการลงทุนใหม่ เน้น 10 อุตสาหกรรมสําคัญ อาทิ กลุม่ โครงสร้าง พืน้ ฐานและโลจิสติกส์ กลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและสิง่ แวดล้อม เป็ นต้น ครอบคลุมกิจการประมาณ 130 ประเภท แบ่งเป็ นกิจการ ทีม่ คี วามสําคัญสูงต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลประมาณ 100 กิจการ ส่วนอีก 30 กิจการจะได้สทิ ธิ ประโยชน์ยกเว้นอากรขาเข้าเครือ่ งจักร วัตถุดบิ และสิทธิประโยชน์ทม่ี ใิ ช่ภาษี ■ ค่าเงินบาทเปิด ทีร่ ะดับ 29.98/30.00 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึน้ จากการปิดตลาดทีร่ ะดับ 30.03/05 บาทต่อดอลลาร์ แข็งค่าสุดใน รอบ 16 เดือน จากเงินทุนไหลเข้าในตลาดหุน้ เอเชียและจากแรงเทขายเยนเพื่อซือ้ ดอลลาร์มากขึน้

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (15 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 27.57 จุด หรือ 0.20% ปิ ดที่ 13,534 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 1.66 จุด หรือ 0.11% ปิดที่ 1,472.34 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 6.72 จุด หรือ 0.22% ปิ ดที่ 3,110.78 จุด จากรายงานยอดค้าปลีกในเดือนธ.ค. เพิม่ ขึน้ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ปรับเพิม่ ขึน้ 77.51 จุด หรือ 0.72% ปิ ดที่ 10,879.08 จุด แตะระดับสูงสุดในรอบ 32 เดือน หลังจากผูว้ า่ การ ธนาคารกลางญี่ปนุ่ (บีโอเจ) บ่งชีว้ า่ บีโอเจจะยังคงเดินหน้าใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงทางการเงินขนานใหญ่ต่อไป ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 13.94 จุด หรือ 0.60% ปิดที่ 2,325.68 จุด จากตลาดมีความเชื่อมันมากขึ ่ น้ เกีย่ วกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศ ดัชนีฮงเส็ ั่ ง ลดลง 31.75 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 23,381.51 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,422.86 จุด ลดลง 2.21 จุด (0.16%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ิ ค้าคงคล ังภาคธุรกิจสหร ัฐเดือนพ.ย. เพิม HighLight : สต็อกสน ่ 0.3% บ่งชเี้ ศรษฐกิจฟื้ น

Global :

■ สหรัฐ : สต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจในเดือนพ.ย. 2555 เพิม่ ขึน้ 0.3% สูร่ ะดับ 1.62 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และคิดเป็ นอัตราการเพิม่ 5.5% (y-o-y) ส่วนยอดขายรวมของทัง้ ภาคการผลิต ภาคค้าส่งและค้าปลีกในเดือนพ.ย. ปรับขึน้ 1.0% จากเดือนต.ค. แตะ 1.2716 ล้านล้าน ดอลลาร์ นับเป็ นสัญญาณบ่งชีค้ รัง้ ใหม่เกีย่ วกับการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง : ดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวม (Empire State Index) จัดทําโดยธนาคารกลางสหรัฐ สาขานิวยอร์กในเดือนม.ค. ลดลงสูร่ ะดับ -7.78 จากระดับ -7.30 ในเดือนธ.ค. บ่งชีก้ จิ กรรมการผลิตในนิวยอร์กยังคงอยูใ่ นภาวะหดตัวในช่วงเริม่ ต้นปี 2556 ■ ยุโรป : สมาคมผูผ้ ลิตยานยนต์ยโุ รป เผยยอดขายรถยนต์ลดลงมากทีส่ ดุ ในรอบกว่า 2 ปี โดยยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ในเดือนธ.ค. ลดลง 16% (y-o-y) อยูท่ ่ี 838,428 คัน จาก 997,842 คัน และตลอดทัง้ ปี ลดลง 7.8% อยูท่ ่ี 12.5 ล้านคัน ผลจากเศรษฐกิจถดถอยในยุโรป ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปน เผยเงินกูข้ องธนาคารพาณิชย์ทก่ี ยู้ มื จากธนาคารกลายุโรป (อีซบี )ี ในช่วงเดือนธ.ค. 2555 ปรับลดลง 8.13% จากเดือนพ.ย. อยูท่ ่ี 3.13109 แสนล้านยูโร ลดลงติดต่อกันเป็ นเวลา 4 เดือน โดยหนี้สนิ ทีธ่ นาคารสเปนกูย้ มื จากอีซบี มี สี ดั ส่วน 35.6% ของ หนี้สนิ ทัง้ หมดในยูโรโซน ซึง่ ยังถือว่าสูงมากเมื่อเทียบสัดส่วนหนี้ต่อจีดพี ขี องสเปนในยูโรโซน (ราว 13%) ■ จีน : สํานักงานบริหารภาษีอากรแห่งรัฐของจีน เผยมีรายได้จากการจัดเก็บภาษีในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 11.2% (y-o-y) เป็ นเงิน 11.07 ล้าน ล้านหยวน จากรายได้ภาษีสง่ ออกทีเ่ พิม่ ขึน้ 13.3% (y-o-y) ผลจากนโยบายส่งเสริมการส่งออกของจีน ขณะทีร่ ายได้จากเงินได้บุคคล ธรรมดาลดลง 8% (y-o-y) เนื่องจากรัฐบาลดําเนินนโยบายปรับลดภาษีเพือ่ ช่วยพยุงเศรษฐกิจ ■ อิ นเดีย : กระทรวงพาณิชย์อนิ เดีย เผยอัตราเงินเฟ้ออินเดียเดือนธ.ค. ลดตํ่าสุดในรอบ 3 ปื โดยดัชนีราคาค้าส่งอินเดียเพิม่ ขึน้ 7.18% (y-o-y) นักวิเคราะห์คาดการณ์วา่ ธนาคารกลางอินเดียจะลดอัตราดอกเบีย้ อ้างอิงลง 0.25% มาอยูท่ ่ี 7.75% ในการประชุมวันที่ 29 ม.ค. นี้

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) รายงานดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (MPI) เดือนพ.ย. 2555 ปรับค่าที่ 189.11 ขยายตัว 83.3% (y-o-y) ผลจากการเพิม่ ขึน้ ของกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ เนื่องจากนโยบายรถยนต์คนั แรก และฐานทีต่ ่าํ ในปี 2554 จากผลกระทบ นํ้าท่วม ■ เงินบาทปิด (16 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.84/88 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ จากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.98/30 บาท/ดอลลาร์ เนื่องจากมีเงินทุนไหล เข้าและผูส้ ง่ ออกเทขายดอลลาร์ในช่วงบ่าย

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (16 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 23.66 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 13,511.23 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.29 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 1,472.63 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 6.77 จุด หรือ 0.22% ปิดที่ 3,117.54 จุด จากธนาคารโลกปรับลดคาดการณ์ การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก และได้รบั แรงหนุนจากผลประกอบการทีด่ เี กินคาดของเจพี มอร์แกน และ และโกลด์แมน แซคส์ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่อยูใ่ นแดนลบ โดยดัชนีนิเกอิ ปรับลดลง 278.64 จุด หรือ 2.56% ปิดที่ 10,600.44 จุด หลังจากนักลงทุนเท ขายหุน้ ทีเ่ กีย่ วกับบริษทั ส่งออก จากเงินเยนแข็งค่า ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 16.18 จุด หรือ 0.70% ปิ ดที่ 2,309.50 จุด หลังจากทีจ่ นี ได้เปิ ดเผยข้อมูลยอดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทีห่ ดตัวลง ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 24.52 จุด หรือ 0.1% ปิดที่ 23,356.99 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,416.14 จุด ลดลง 6.72 จุด (0.47%) ตามทิศทางตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ล่าสุดผูข ้ อร ับสว ัสดิการการว่างงานของสหร ัฐลดลง 37,000 ราย อยูท ่ ี่ 335,000 ราย

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐเผย จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 12 ม.ค. ลดลง 37,000 ราย มีจาํ นวน ทัง้ สิน้ 335,000 ราย ตํ่าสุดตัง้ แต่ม.ค. 2551 และมากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาด สะท้อนการเริม่ ฟื้นต้วของตลาดแรงงานสหรัฐ สอดคล้อง กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยตัวเลขการเริม่ สร้างบ้านเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 954,000 ยูนิต/ปี มากกว่าคาดการณ์ทร่ี ะดับ 890,000 ยูนิต/ปี นับเป็ นการขยายตัวทีร่ วดเร็วทีส่ ดุ ในรอบ 4 ปี : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เผยรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจ หรือ Beige Book ว่าเศรษฐกิจสหรัฐกําลังขยายตัวในอัตรา “เล็กน้อยหรือปาน กลาง” ในช่วงหลายเดือนทีผ่ า่ นมา จากแรงหนุ นการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคในช่วงเทศกาลวันหยุด ■ ยุโรป : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของสหภาพยุโรป (ยูโรสแตท) เผยยอดเกินดุลการค้าของยูโรโซนในเดือนพ.ย. แตะ 1.1 หมืน่ ล้านยูโร จาก 7.4 พันล้านยูโรในเดือนต.ค. จากการส่งออกทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.8% เทียบกับเดือนต.ค. และการนําเข้าทีล่ ดลง 1.5% โดยประเมินว่าเศรษฐกิจ ยูโรโซนจะทรงตัวในช่วงไตรมาสแรกของปี 2556 และขยายตัว 0.2% ในช่วงไตรมาสทีส่ อง จากแรงหนุนการขยายอุปสงค์สาํ หรับสินค้ายูโรโซน ■ สเปน : รัฐบาลสเปนสามารถระดมทุน 4.5 พันล้านยูโร จากการประมูลขายพันธบัตรรอบ 2 ปีน้ี ตรงตามเป้าทีร่ ฐั บาลกําหนดไว้ โดย อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรทุกประเภทปรับลดลงจากการประมูลครัง้ ก่อน ขณะทีย่ อดจองซือ้ พันธบัตรส่วนใหญ่เพิม่ ขึน้ จากเดือนทีแ่ ล้ว บ่งชีน้ กั ลงทุนเริม่ มีความเชื่อมันต่ ่ อเศรษฐกิจสเปน ภายหลังเผชิญวิกฤตหนี้สาธารณะ ■ ญี่ปนุ่ : สมาคมห้างสรรพสินค้าญีป่ นุ่ เผยยอดขายของในห้างสรรพสินค้าในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 0.3% สูร่ ะดับ 6.1453 ล้านล้านเยน ซึง่ เป็ น การเพิม่ ครัง้ แรกในรอบ 16 ปี จากภาวะซบเซาในปี 2554 ผลกระทบจากแผ่นดินไหวและสึนามิ ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติออสเตรเลีย (ABS) เผยอัตราการว่างงานเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 5.4% ในเดือนธ.ค. จาก 5.3% ในเดือน พ.ย. 2555 ขณะทีต่ วั เลขการว่างงานเพิม่ ขึน้ 16,600 คน โดยมีจาํ นวนผูว้ า่ งงานทัง้ สิน้ 656,400 คน และอัตราการมีสว่ นร่วมในกําลัง แรงงานอยูท่ ่ี 65.1% สอดคล้องกับตัวเลขทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้

Thailand updates :

■ นายกรัฐมนตรีญป่ี นุ่ นายชินโซ อาเบะ กล่าวในโอกาสเยือนไทยอย่างเป็ นทางการ วันที่ 17-18 ม.ค. ว่าญีป่ นุ่ ยืนยันพัฒนาความเป็ น หุน้ ส่วนกับไทยในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ และสนใจลงทุนในโครงการก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน ภายใต้แผนการบริหารจัดการ นํ้า โครงการรถไฟความเร็วสูง และการพัฒนาเศรษฐกิจทวาย เป็ นต้น ■ เงินบาทปิดตลาด (17 ม.ค.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.76/78 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงเล็กน้อยจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.72/74 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (17 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 84.79 จุด หรือ 0.63% ปิ ดที่ 13,596.02 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 08.31 จุด หรือ 0.56% ปิดที่ 1,480.94 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 18.46 จุด หรือ 0.59% ปิดที่ 3,136.00 จุด จากข้อมูลเศรษฐกิจสหรัฐทีด่ ขี น้ึ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ผันผวนไร้ทศิ ทาง โดยดัชนีนิเกอิ ปรับเพิม่ ขึน้ 9.20 จุด หรือ 0.09% ปิดที่ 10,609.64 จุด เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากความผัน ผวนของค่าเงินเยน และมีปจั จัยลบ จากการระงับการให้บริการเครือ่ งบินโบอิง้ 787 ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 24.59 จุด หรือ 1.06% ปิ ดที่ 2,284.91 จุด จากแรงขายหุน้ กลุม่ การเงิน และกลุม่ บริษทั อุตสาหกรรม ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 17.23 จุด หรือ 0.07% ปิดที่ 23,339.76 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,420.95 จุด เพิม่ ขึน้ 4.81 จุด (0.34%) ตามทิศทางตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 2 ประจําว ันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

มุมมองมหภาค แผนการทุ่มงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจของรั ฐบาลญี่ปุ่น..จะเป็ นไปตามคาดหวังหรื อไม่ ?

ญี่ ปุ่นประกาศว่าจะทุ่มเงินงบประมาณ 10.3 ล้ านล้ านเยน เพื่อกระตุ้นการใช้ จ่ายฉุกเฉิน พลิกฟื น้ เศรษฐกิจให้ เกิดการขยายตัว ในปี 2013 จากภาวะเศรษฐกิจซบเซาเนื่องจากปั ญหา เงินฝื ดที่ยืดเยื ้อมานาน โดยคณะรั ฐมนตรี คาดหวังว่ ามาตรการดังกล่ าวจะกระตุ้นการ เติบโตทางเศรษฐกิจ โดย GDP ในปี 2013 จะขยายตัวในอัตราร้ อยละ 2 แต่ เมื่อ พิจารณาจากหลายๆ ปั จจัยอาจไม่ ใช่ เรื่ องง่ ายนั ก ทังจากประสบการณ์ ้ ที่ผ่านมาจาก มาตรการกระตุ้นการใช้ จ่าย ซึง่ เป็ นการเพิ่มภาระหนี ้ให้ สงู ขึ ้น รวมถึงการบรรลุเป้าหมายที่ตงั ้

ไว้ อาจเป็ นไปได้ ยากในทางปฏิบตั ิ....

คณะรัฐมนตรี ญี่ปนประกาศแผนกระตุ ุ่ ้ นเศรษฐกิจภายใต้ การนําของนายชินโซ อาเบะ เมื่อวันศุกร์ ที่ 4 มกราคม โดยทุ่มงบประมาณราว 10.3 ล้ านล้ านเยน กระตุ้นเศรษฐกิจให้ หลุดพ้ นจากภาวะถดถอย รวมทัง้ เป็ นการแก้ ปัญหาเงินฝื ดที่เรื อ้ รั งมานาน ผ่านมาตรการต่างๆ ได้ แก่ ให้ งบประมาณแก่ภาครัฐและเอกชนเพื่อปรับปรุงโครงสร้ ่ สะเทือนของแผ่นดินไหว ประมาณ 3.8 ล้ านล้ านเยน างอาคารให้ แข็งแรงทนทานต่อแรงสัน วงเงินสนับสนุนภาคธุรกิจเพื่อกระตุ้นการลงทุน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการจ้ างงาน ประมาณ 3.1 ล้ านล้ านเยน รวมถึงมาตรการในการ ้ น นโยบาย พัฒนาคุณภาพชีวิต ประมาณ 3.1 ล้ านล้ านเยน โดยมาตรการดังกล่าวเน้ นการสร้ างความแข็งแกร่งจากฐานล่าง ทังจากนโยบายการเงิ การคลังแบบยื ดหยุน่ และกลยุทธ์ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและการขยายตัวของการลงทุน ทัง้ นี ค้ าดการณ์ ว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจดังกล่าวจะช่วยสร้ างงานใหม่ได้ อีกราว 600,000 ตําแหน่ง และกระตุ้นการเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ให้ ได้ อย่างน้ อยร้ อยละ 2 หลังจากเศรษฐกิจได้ รับความเสียหายอย่างหนักจากภาคการส่งออกที่ชะลอตัว ท่ามกลางอุปสงค์ทวั่ โลกที่ลดลง และการบริ โภคภายในประเทศที่ถดถอย ทําให้ การเติบโตทางเศรษฐกิจปรับตัวลดลง 2 ไตรมาสติดต่อกัน ความ คาดหวัง ดังกล่าวอาจมี ความเป็ นไปได้ ยาก จากเหตุปัจจัยต่างๆ ได้ แก่ ความล่ าช้ าของการเบิก จ่ ายเงิน งบประมาณและการขาดแคลน ทรั พยากรแรงงาน จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจล่าสุด ทุ่มงบประมาณ 5 ล้ านล้ านเยน เพื่อกระตุ้นการใช้ จ่าย โดยคาดหวังผลกระทบจะมีมาก และช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสัน้ แต่ในความเป็ นจริง ระยะเวลาเบิกจ่ายเงินงบประมาณล่าช้ ามาจนถึงปี งบประมาณปั จจุบนั ตัวอย่างเห็นได้ ชดั ในกรณี ความล่าช้ าของการเบิกจ่ายงบประมาณในการฟื น้ ฟูโทโฮขุ (Tohoku) ซึ่งได้ รับความเสียหายจากเหตุภยั พิบตั ิ โดยในปี 2011 รัฐบาลตัง้ งบประมาณฉุกเฉินสําหรับการฟื น้ ฟู ราว 15 ล้ านล้ านเยน จนกระทัง่ เดือนตุลาคม 2012 เกือบครึ่ งของวงเงินงบประมาณยังไม่ได้ ถกู เบิกจ่ายไป รวมถึง การขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคก่อสร้ างในพื ้นที่ประสบภัยพิบตั ิ ผลจากเหตุปัจจัยต่างๆ เหล่านี ้อาจจํากัดผลของมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจที่ผา่ นมา อย่างไรก็ตาม งบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจที่ออกมาในครัง้ นี ้นับเป็ นหนึ่งในความพยายามของรัฐบาลชุดใหม่ของญี่ปนุ่ ในการหลีกเลี่ยง จากภาวะเงินฝื ดและการหดตัวทางเศรษฐกิจ หลังจากที่จีดีพีญี่ปนหดตั ุ่ วต่อเนื่องในไตรมาส 2 และ 3 ของปี 2555 ที่ร้อยละ 0.1 และ 3.5 (Annualized, QoQ) ตามลําดับ ซึง่ ก็นบ ั เป็ นสัญญาณบวกต่อเศรษฐกิจญี่ปนในระยะสั ุ่ น้ (ภายใน 1 ปี ข้ างหน้ า) และเป็ นการตอกยํ ้าถึงแนวทาง การกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเข้ มข้ นที่ได้ ประกาศมาก่อนหน้ านี ้ อย่างไรก็ดี แนวทางการกระตุ้นเศรษฐกิจดังกล่ าวก็ก่อให้ เกิดความกังวลว่ าอาจ ไปเพิ่มปั ญหาหนีภ้ าครั ฐบาลที่สูงกว่ า 2 เท่ าของจีดีพีอยู่ก่อนแล้ วให้ เลวร้ ายยิ่งขึน้ ภายใต้ ภาวะที่รัฐบาลญี่ปุ่นยังคงไม่ มีทางออกที่ย่ ังยืน ในการแก้ ปัญ หาความไม่ สมดุ ลระหว่ า งแหล่ ง รายรั บที่ มี แนวโน้ มลดลงและรายจ่ าย ที่ มี แนวโน้ มเพิ่ม ขึน้ ทํ า ให้ ยัง คงต้ องจับ ตาถึง เสถียรภาพการฟื น้ ตัวในระยะกลางต่อไปว่าจะสามารถทําได้ อย่างต่อเนื่องหรื อไม่ HSBC Global Research Economics \14 Jan 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ื่ มน HighLight : ด ัชนีความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐเดือนม.ค. ลดลงอยูท ่ ี่ 71.3 แตะระด ับตํา ่ สุดในรอบกว่า 1 ปี

Global :

■ สหรัฐ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคช่วงต้นเดือนม.ค. จากรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กน ปรับลดลงอยูท่ ่ี 71.3 จากระดับ 72.9 ในเดือน ธ.ค2555 ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดตัง้ แต่เดือนธ.ค. 2554 เป็ นไปในทิศทางตรงข้ามกับคาดการณ์ของนักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ทค่ี าดว่าจะเพิม่ ทัง้ นี้ ดัชนีภาวะเศรษฐกิจปจั จุบนั ลดลงจาก 87.0 ในเดือนธ.ค. 2555 สูร่ ะดับ 84.8 ในช่วงเดือนม.ค. 2556 ตํ่าสุดในรอบ 6 เดือน สะท้อนความ เชื่อมันต่ ่ อการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจของผูบ้ ริโภคยังไม่ดนี กั : การปิโตรเลียมสหรัฐ (API) เผยความต้องการปิโตรเลียมในสหรัฐลดลง 2.1% ใน ปี 2555 สูร่ ะดับเฉลีย่ 18.6 ล้านบาร์เรล/วัน ตํ่าสุดในรอบ 16 ปี ส่วนความต้องการปิโตรเลียมในเดือนธ.ค.ลดลง 2.1% (y-o-y) ■ ยุโรป : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยเงินเฟ้อในกลุ่มยูโร 17 ประเทศ ทรงตัวอยูท่ ร่ี ะดับ 2.2% (y-o-y) ในเดือนธ.ค. 2555 ซึง่ เป็น ระดับตํ่าสุดในรอบ 2 ปี และเพิม่ ขึน้ 0.4% (m-o-m) แต่ยงั คงอยูส่ งู กว่าอัตราเงินเฟ้อเป้าหมายที่ 2% ของธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี ■ สเปน : กองทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM) เตรียมอนุมตั เิ งินช่วยเหลืองวดที่ 2 ให้กบั ภาคธนาคารของสเปนในวันที่ 28 ม.ค.นี้ โดยจะโอนเงินมูลค่า 1.865 พันล้านยูโร หรือ 2.480 พันล้านดอลลาร์สหรัฐให้กบั ธนาคารสเปนทีไ่ ม่ได้อยูภ่ ายใต้การดูแลของรัฐบาล ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของจีน (NBS) เผยตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ไตรมาส 4 ปี 2555 ขยายตัว 7.9% (y-o-y) เพิม่ ขึน้ จาก 7.4% (q-o-q) โดยทัง้ ปี 2555 จีดพี จี นี ขยายตัว 7.8% ซึง่ ชะลอลงจาก 9.3% ในปี 2554 จากมาตรการรัฐชลอความ ร้อนแรงของเศรษฐกิจ: ดัชนีผลผลิตมูลค่าเพิม่ ภาคอุตสาหกรรมปี 2555 ขยายตัว 10% (y-o-y) รวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรของจีนใน ปี 2555 เพิม่ ขึน้ 20.6% (y-o-y) แตะระดับ 36.48 ล้านล้านหยวน (5.81 ล้านล้านดอลลาร์) สะท้อนเศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณฟื้ นตัวในปี 2556 ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้เผยยอดบริษทั ล้มละลายของเกาหลีใต้เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 103 แห่งในเดือนธ.ค. เทียบกับเดือนก่อนทีร่ ะดับ 98 แห่ง อันเนื่องมาจากเศรษฐกิจภายในประเทศชะลอตัวลงท่ามกลางเศรษฐกิจโลกทีช่ ะลอตัวลงและยืดเยือ้ ทัง้ นี้ ตัวเลขดังกล่าวเป็ นระดับ สูงสุดนับตัง้ แต่เดือนตุลาคมซึง่ มียอดบริษทั ล้มละลายทัง้ สิน้ 116 แห่ง

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง เผยยอดการจัดเก็บรายได้เดือนธ.ค. สุทธิ 183,688 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 41,985 ล้านบาท หรือ 29.6% จากการจัดเก็บภาษีของ 3 กรม ได้แก่ กรมสรรพากร กรมศุลการ และกรมสรรพามิตสูงกว่าประมาณการ ส่วนหนึ่งผลจากโครงการ รถยนต์คนั แรก และกสทช. นําส่งรายได้จากการประมูลใบอนุ ญาตคลื่นความถี่ 3 จี ส่งผลให้รายได้รฐั บาลสุทธิไตรมาสแรกปีงบประมาณ 2556 จัดเก็บได้ 504,582 ล้านบาท สูงกว่าเป้า 66910 ล้านบาท หรือ 15.3% ■ เงินบาทปิดตลาด (18 ม.ค.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.76/78 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.75/77 บาท/ดอลลาร์ เนื่องจาก ไม่มปี จั จัยเข้ามาส่งผลกระทบ อย่างไรก็ตามค่าเงินบาทยังคงมีแนวโน้มแข็งค่าต่อเนื่อง

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (18 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 53.68 จุด หรือ 0.39% ปิดที่ 13,649.70 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 5.04 จุด หรือ 0.34% ปิดที่ 1,485.98 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 1.30 จุด หรือ 0.04% ปิดที่ 3,134.71 จุด จากผลประกอบการทีด่ เี กินคาดของธนาคาร มอร์แกน สแตนลีย์ แต่ยงั คงมีความผันผวนจากความวิตกหลังรายงานดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคลดลง ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปิดในแดนบวก โดยดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 303.66 จุด หรือ 2.86% ปิดที่ 10,913.30 จุด สูงสุดในรอบ 2 ปี 9 เดือน จากทิศทางเศรษฐกิจโลกเริม่ ฟื้นตัว และบีโอเจผ่อนคลายนโยบายการเงิน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 32.16 จุด หรือ 1.41% ปิ ดที่ 2,317.07 จุด จากจีนเผยตัวเลขเศรษฐกิจในไตรมาส 4 ปี 2555 เริม่ ดีขน้ึ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 262.02 จุด หรือ 1.12% ปิดที่ 23,601.78 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,434.4 จุด เพิม่ ขึน้ 13.49 จุด (0.95%) ตามทิศทางตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

่ งทางชว ่ ยเหลือธนาคารในประเทศทีป HighLight : ยุโรปเตรียมถกเงือ ่ นไขชอ ่ ระสบวิกฤต

Global : ■ ยุโรป : รัฐมนตรีคลังยุโรปประชุมร่วมกันเป็ นครัง้ แรกในปี 2556 เพือ่ สรุปแนวทางดําเนินนโยบายบรรเทาวิกฤตหนี้ในภูมภิ าค ในประเด็น วิธกี ารและช่วงเวลาทีก่ องทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM) จะให้ความช่วยเหลือแก่ภาคธนาคารต่างๆ ภายหลังจากทีไ่ ด้มกี าร พิจารณาผลการประเมินสถานการณ์ในสเปน ไซปรัส และกรีซ ส่งผลให้ตลาดหุน้ ปิดบวกเมือ่ คืนนี้ (21 ม.ค.) ดัชนี Stoxx Europe 600 เพิม่ ขึน้ 0.3% ปิดที่ 287.78 จุด ■ สเปน : กระทรวงเศรษฐกิจของสเปน เผยยอดขาดดุลการค้าในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2555 ลดลง 29.5% (y-0-y) อยูท่ ่ี 2.946 หมืน่ ล้านยูโร จากยอดส่งออกทีส่ งู ขึน้ และยอดนําเข้าทีห่ ดตัวลง โดยยอดส่งออกในช่วงเวลาดังกล่าวเพิม่ ขึน้ 3.7% แตะที่ 2.048 แสนล้านยูโร ขณะทีย่ อดนําเข้าลดลง 2.1% แตะที่ 2.343 แสนล้านยูโร ■ อังกฤษ : ผลการสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนีฐานะการเงินภาคครัวเรือนอังกฤษเพิม่ ขึน้ แตะ 37.7 ในเดือนม.ค. จากระดับ 36.8 ในเดือน ธ.ค. 2555 บ่งชีภ้ าคครัวเรือนมีมมุ มองทีด่ ขี น้ึ เกีย่ วกับฐานะทางการเงินในช่วงต้นปี 2556 แม้วา่ ดัชนีดงั กล่าวยังอยูต่ ่าํ กว่าระดับ 50 ซึง่ สะท้อนว่าเศรษฐกิจอังกฤษยังคงเปราะบางอยู่ ■ จีน : แบงค์ออฟคอมมูนิเคชัน่ เผยคาดการณ์เศรษฐกิจจีนในปี 2556 ขยายตัว 8.5% จากการเพิม่ ขึน้ ของอุปสงค์ภายในประเทศ รวมทัง้ คาดการณ์สง่ ออกเพิม่ ขึน้ 8.5% (y-o-y) สอดคล้องทิศทางการเพิม่ ขึน้ ของดัชนีชว้ี ดั ทางเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญ : สํานักงานศุลกากรจีน เผยปริมาณนําเข้าข้าวเปลือกเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 257% (y-o-y) อยูท่ ่ี 2.15 แสนตัน รวมทัง้ ปียอดนําเข้าอยูท่ ่ี 2.34 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ 305% (y-o-y) จากนโยบายสํารองสินค้าและผลผลิตทางการเกษตรตกตํ่าเนื่องจากสภาพอากาศทีเ่ ลวร้าย ■ อิ นเดีย : รัฐมนตรีกระทรวงกิจการเศรษฐกิจอินเดีย ประกาศขึน้ ภาษีนําเข้าทองคําและพลาตินมั จาก 4% เป็ น 6% มีผลทันที เพือ่ ควบคุม ยอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดทีเ่ พิม่ สูงเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 5.4% จีดพี ี รวมถึงจํากัดความต้องการโลหะมีคา่ ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่องในช่วง 12 ปี ทผ่ี า่ นมา และจะมีการทบทวนอัตราภาษีดงั กล่าวอีกครัง้ เมือ่ การนําเข้าลดลง

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือนพ.ย. 2555 อยูท่ ร่ี ะดับ 189.11 เพิม่ ขึน้ 8.8% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 83.3% (y-o-y) สาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ ผลจากโครงการรถยนต์คนั แรก และฐาน เปรียบเทียบทีต่ ่าํ ในเดือนพ.ย.54 จากเหตุอุทกภัย ■ เงินบาทปิดตลาด (21 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29. 72/74 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวในระดับใกล้เคียงกับเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.71/73 บาท/ ดอลลาร์ เนื่องจากยังไม่มปี จั จัยเข้ามาส่งผลกระทบ แต่ยงั คงติดตามท่าทีธปท. จะมีมาตรการใดเพือ่ ดูแลปญั หาเงินบาทแข็งค่า

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ เอเชีย อยูใ่ นช่วง Earning season ความเคลื่อนไหวของตลาดฯ ขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยภายในของแต่ละประเทศ โดยดัชนีนิเกอิ ปรับ ลดลง 165.56 จุด หรือ 1.52% ปิดที่ 10,747.74 จุด จากแรงเทขายทํากําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 11.15 จุด หรือ 0.48% ปิดที่ 2,328.22 จุด จากผลประกอบการทีด่ ขี น้ึ ของภาคเอกชน และคาดการณ์การเศรษฐกิจจีนขยายตัว ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 10.87 จุด หรือ 0.05% ปิดที่ 23,590.91 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,440.48 จุด เพิม่ ขึน้ 6.04 จุด (0.42%) ตามแรงส่งของหุน้ ในกลุม่ สือ่ สาร ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ยอดขายบ้านมือสองสหร ัฐเดือนธ.ค. ลดลง 1.0% อยูท ่ ี่ 4.94 ล้านยูนต ิ สวนทางก ับคาดการณ์

Global : ■ สหรัฐ : สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติของสหรัฐ (NAR) เผยยอดขายบ้านมือสองในเดือนธ.ค.ลดลง 1.0% อยูท่ ่ี 4.94 ล้าน ยูนิต จาก 4.99 ล้านยูนิต ในเดือนพ.ย. สวนทางกับคาดการณ์ในระดับ 5.04 ล้านยูนิต : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขาชิคาโก เผยดัชนีกจิ กรรมภาคการผลิตทัวประเทศในเดื ่ อนธ.ค. 2555 ลดลงอยูท่ ่ี 0.02 จาก 0.27 ในเดือน พ.ย.สะท้อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2555 ยังอยูใ่ นระดับตํ่า ■ เยอรมนี : ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจยุโรป (ZEW) เผยความเชื่อมันทางเศรษฐกิ ่ จของเยอรมนีในเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 31.5 เพิม่ ขึน้ จาก 6.9 ใน เดือนธ.ค. อยูใ่ นระดับบวกติดต่อเป็ นเดือนที่ 2 และสูงกว่าคาดการณ์ทร่ี ะดับ 12 ในเดือนม.ค. จากมุมมองทีเ่ ป็ นบวกมากขึน้ ว่าเศรษฐกิจ เยอรมนีจะสามารถต้านทานวิกฤตหนี้ในภูมภิ าคและฟื้นตัวขึน้ ได้ ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยยอดขาดดุลงบประมาณเพิม่ ขึน้ ในเดือนธ.ค. ปี 2555 อยูท่ ่ี 1.54 หมืน่ ล้านปอนด์ เทียบกับ ระดับ 1.48 หมืน่ ล้านปอนด์ในปี 2554 จากการใช้จา่ ยของรัฐบาลเพิม่ ขึน้ 5.4% ขณะทีร่ ายได้เพิม่ ขึน้ 3.6% สะท้อนเศรษฐกิจยังคงชลอตัว ■ จีน : กระทรวงคลังจีน เผยรายได้ทางการคลังปี 2555 เพิม่ ขึน้ 12.8% (y-o-y) แตะ 11.7 ล้านล้านหยวน หรือ 1.9 ล้านล้านดอลลาร์ ในปี 2555 ซึง่ ถือเป็ นอัตราการขยายตัวทีช่ ะลอลงจากระดับ 24.8% ในปี 2554 ตามทิศทางการชลอตัวของเศรษฐกิจ ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายทีร่ ะดับ 0-0.1% และมีมติให้มกี ารซือ้ สินทรัพย์เพิม่ พร้อมกําหนดเป้าหมายเงินเฟ้อทีร่ ะดับ 2% และปรับลดคาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจประเทศในปีงบประมาณ 2555 เหลือเพียง 1% จากตัวเลขคาดการณ์ครัง้ ก่อนที่ 1.5% ปรับเพิม่ คาดการณ์ของปีงบประมาณ 2556 จีดพี ขี ยายตัว 2.3% เพิม่ จากคาดครัง้ ก่อนทีร่ ะดับ 1.6% และ 2557 คาดจีดพี ขี ยายตัว 0.8% จากคาดครัง้ ก่อนที่ 0.6%

Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เผยนโยบายปี 2556 เน้นรักษาสมดุลการเติบโตของเศรษฐกิจและเสถียรภาพของระบบการเงิน เฝ้าระวังเงินทุนทีม่ คี วามผันผวนกระทบค่าเงินบาทแข็งค่า โดยจะผ่อนคลายหลักเกณฑ์ดา้ นเงินทุนขาออก เพิม่ การไปลงทุนในต่างประเทศ จะช่วยสร้างสมดุลของค่าเงินบาท ส่วนการแข็งค่าของเงินบาทในช่วงต้นปี 2556 อยูท่ ่ี 5-6% เป็ นไปในทิศทางของค่าเงินในภูมภิ าคและ มีความเคลื่อนไหวสอดคล้องกันในช่วง 1-2 ปี อย่างไรก็ตาม ธปท. จะติดตามอย่างใกล้ชดิ ■ เงินบาทเปิ ดตลาด (22 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.83/85 บาทต่อดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าเล็กน้อยจากปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.72/74 บาทต่อดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (22 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 62.51 จุด หรือ 0.46% ปิ ดที่ 13,712.21 จุด ดัชนี S&P 500 ปิดที่ 1,492.56 จุด เพิม่ ขึน้ 6.58 จุด หรือ 0.44% ดัชนี NASDAQ ปิดที่ 3,143.18 จุด เพิม่ ขึน้ 8.47 จุด หรือ 0.27% จากผลประกอบการทีด่ เี กินคาดของ บริษทั เอกชน และคาดการณ์ทว่ี า่ สภาผูแ้ ทนราษฎรสหรัฐจะยอมเพิม่ เพดานหนี้สนิ ให้กบั รัฐบาล ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ปรับลดลง 37.81 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 10,709.93 จุด จากการทีธ่ นาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) มีมติคง ดอกเบีย้ และซือ้ สินทรัพย์เพิม่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 13.08 จุด หรือ 0.56% ปิดที่ 2,315.14 จุด จากหุน้ กลุม่ บริษทั พัฒนา อสังหาริมทรัพย์ปรับตัวลง ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 68.08 จุด หรือ 0.29% ปิดที่ 23,658.99 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,434.09 จุด ลดลง 6.39 จุด (0.44%) ตามตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : สภาผูแ ้ ทนฯสหร ัฐมีมติผา ่ นร่างกฎหมายขยายเพดานหนีร้ ัฐบาลไปจนถึง 19 พ.ค. 2556

Global : ■ สหรัฐ : สภาผูแ้ ทนราษฎรสหรัฐมีมติดว้ ยคะแนนเสียง 285 ต่อ 144 ผ่านร่างกฎหมายการขยายเพดานหนี้ออกไปจนถึงวันที่ 19 พ.ค. 2556 ซึง่ จะช่วยให้รฐั บาลกลางสามารถขยายเวลาการกูย้ มื และพ้นจากการผิดนัดชําระหนี้ได้ชวคราว ั่ ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในภาคการผลิตเดือนม.ค. ลดลงสูร่ ะดับ 86 จาก ระดับ 89 ในเดือนธ.ค. 2555 โดยตัวเลขตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ที่ 100 อย่างต่อเนื่อง ซึง่ บ่งชีก้ จิ กรรมในภาคการผลิตของฝรังเศสอยู ่ ใ่ นภาวะตกตํ่า ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยอัตราว่างงานลดลงสูร่ ะดับ 7.7% ในช่วงเดือนก.ย.-พ.ย.2555 จากระดับ 7.8% ในช่วง เดือนส.ค.-ต.ค. 2555 ตํ่าสุดในรอบ 3 ปี และอัตราจ้างงานเพิม่ ขึน้ 71.4% ในช่วงเดือนก.ย.-พ.ย. 2555 สูงสุดในรอบ 3 ปีเช่นกัน บ่งชี้ ตลาดแรงงานในอังกฤษเริม่ ฟื้นตัว ■ กรีซ : ทีป่ ระชุมรัฐมนตรีคลังยูโรโซนอนุมตั เิ งินกูง้ วดใหม่ให้กบั กรีซ จํานวน 9.2 พันล้านยูโร (12.3 พันล้านดอลลาร์) โดยจะได้รบั โอน ภายในเดือนนี้ สําหรับชําระหนี้พนั ธบัตรรัฐบาลจํานวน 7.2 พันล้านยูโร และใช้เป็ นงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล 2 พันล้านยูโร ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงเศรษฐกิจความรูข้ องเกาหลีใต้ เผยยอดค้าปลีกในเกาหลีใต้เดือนธ.ค. 2555 ลดลง 5% (y-o-y) และลดลง 1.7% (m-o-m) เนื่องจากผูบ้ ริโภคยังคงขาดความเชื่อมันจากภาวะเศรษฐกิ ่ จโลกชะลอตัว ■ ออสเตรเลีย: สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของออสเตรเลีย (ABS) เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ไตรมาส 4 ปี 2555 เพิม่ ขึน้ 0.2% เพิม่ ใน อัตราทีช่ า้ ลงเมื่อเทียบกับไตรมาส 3 ทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.4%

Thailand updates : ■ กรมการค้าระหว่างประเทศ เผยยอดการส่งออกไทยเดือนธ.ค. 2555 มีมลู ค่า 18,108 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ 13.45% และการนําเข้า เดือนธ.ค. มีมลู ค่า 20,466 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ 4.67% ขาดดุลการค้า 2,365 ล้านเหรียญสหรัฐ รวมทัง้ ปี 2555 ส่งออกมูลค่า 229,518 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ 3.12 นําเข้ามูลค่า 247,590 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม่ ขึน้ 8.22% ส่งผลให้ไทยขาดดุลการค้า 18,071 ล้านเหรียญสหรัฐ ทัง้ นี้การส่งออกทัง้ ปีน้อยกว่าคาดการณ์ท่ี 5% เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวและภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก ■ เงินบาทเปิด ( 24 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.83/85 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิดทีร่ ะดับ 29.74/78 บาทต่อดอลลาร์ ตามการเคลื่อนไหวของ ค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (23 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 67.12 จุด หรือ 0.49% ปิ ดที่ 13,779.33 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 2.25 จุด หรือ 0.15% ปิดที่ 1,494.81 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 10.49 จุด หรือ 0.33% ปิดที่ 3,153.67 จุด หลังสภาผูแ้ ทนราษฎรสหรัฐมี มติผา่ นร่างกฎหมายขยายเพดานหนี้ออกไปถึงกลางเดือนพ.ค. และผลประกอบการทีด่ ขี องบริษทั เอกชน ■ ตลาดหุน้ เอเชีย โดยดัชนีนิเกอิ ปรับลดลง 222.94 จุด หรือ 2.08% ปิดที่ 10,486.99 จุด จากการแข็งค่าของเงินเยน หลังจากธนาคาร กลางญีป่ นุ่ ประกาศใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณแต่กลับไม่มผี ลบังคับใช้ทนั ที ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 5.77 จุด หรือ 0.25% ปิดที่ 2,320.91 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 23.89 จุด หรือ 0.10% ปิ ดที่ 23,635.10 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,439.20 จุด เพิม่ ขึน้ 5.11 จุด (0.36%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : จํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานของสหร ัฐฯ ลดลงตํา ่ สุดในรอบ 5 อยูท ่ ี่ 333,000 ราย

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 19 ม.ค. ลดลง 5,000 ราย อยูท่ ่ี 330,000 ราย ตํ่าสุดตัง้ แต่เดือนม.ค. 2551 ตรงข้ามกับทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ แตะระดับ 355,000 ราย สะท้อนกลุม่ นายจ้างยังคงมีความเชื่อมันต่ ่ อแนวโน้ม เศรษฐกิจสหรัฐ เป็ นสัญญาณการขยายตัวในตลาดแรงงานสหรัฐ : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นภาคการผลิตสหรัฐเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 56.1 จากเดือนธ.ค. 2555 ทีร่ ะดับ 54.0 มากกว่าคาดที่ ระดับ 53.0 บ่งชีก้ จิ กรรมภาคการผลิตมีการขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า ■ เยอรมนี : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของเยอรมนีในเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 53.6 จาก 50.3 ในเดือนธ.ค. 2555 จากแรงหนุนการเพิม่ ขึน้ ของดัชนีภาคบริการ ■ ฝรังเศส ่ : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของฝรังเศสในเดื ่ อนม.ค. ลดลงสูร่ ะดับ 42.7 เทียบกับเดือนธ.ค. 2555 ทีร่ ะดับ 44.6 ตํ่าสุดในรอบ 4 ปี ■ จีน : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI เบือ้ งต้นภาคการผลิตของจีนในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 51.9 สูงสุดในรอบ 24 เดือน จากระดับ 51.5 ในเดือนธ.ค. 2555 บ่งชีก้ จิ กรรมภาคการผลิตมีการขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า : ธนาคารแบงก์ ออฟ ไชน่า (BOC) คาดยอดขาดดุลงบประมาณของจีนเพิม่ สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 1.2 ล้านล้านหยวน ในปีงบประมาณ ใหม่ จากขาดดุล 8 แสนล้านหยวนในปี 2555 ผลจากการช่วยพยุงเศรษฐกิจทีก่ าํ ลังชะลอตัว ■ ญี่ปน: ุ่ กระทรวงการคลังญีป่ นุ่ เผยยอดขาดดุลการค้าในเดือนธ.ค. 2555 อยูท่ ่ี 6.41 แสนล้านเยน จากยอดส่งออกลดลง โดยเดือนธ.ค. ส่งออกลดลง ลดลง 5.8% (y-o-y) อยูท่ ่ี 5.30 ล้านล้านเยน และนําเข้าเพิม่ ขึน้ 1.9% (y-o-y) อยูท่ ่ี 5.94 ล้านล้านเยน ผลจากความขัดแย้งเรือ่ ง เขตแดนกับจีน วิกฤตหนี้ยโุ รป และการนําเข้าพลังงานเพิม่ ขึน้ จากการปิ ดโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์หลายแห่ง

Thailand updates : ■ สํานักบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผยสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 พ.ย. 2555 จํานวน 4,875,532.17 ล้านบาท หรือ 43.47% (m-o-m) ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี เพิม่ ขึน้ สุทธิ 48,206.36 ล้านบาท ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 มีจาํ นวน 4,875,532.17 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 43.47 ของ GDP โดยเป็ นหนี้ของรัฐบาล 3,459,510.78 ล้านบาท หนี้รฐั วิสาหกิจ ทีไ่ ม่เป็ นสถาบันการเงิน 1,043,961.08 ล้านบาท หนี้รฐั วิสาหกิจทีเ่ ป็ นสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 364,796.36 ล้านบาท และหนี้ หน่วยงานอื่นของรัฐ 7,263.95 ล้านบาท ■ เงินบาทเปิด (25 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.84/86 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิดทีร่ ะดับ 29.77/79 บาทต่อดอลลาร์ จากตลาดรอดูทา่ ทีของธปท. ในการเข้าแทรกแซงค่าเงิน

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (23 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 46.0 จุด หรือ 0.33% ปิดที่ 13,825.33 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.01 จุด หรือ 0.01% ปิดที่ 1,494.82 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 23.29 จุด หรือ 0.74% ปิ ดที่ 3,130.38 จุด จากจํานวนคนว่างงานรายสัปดาห์ของ สหรัฐทีล่ ดลงตํ่าสุดในรอบ 5 ปี และรายงานดัชนี PMI ภาคการผลิตของหลายประเทศขยายตัวในเดือนม.ค. ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 133.88 จุด หรือ 1.28% ปิ ดที่ 10,620.87 จุด จากเงินเยนอ่อนค่าลง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 18.31 จุด หรือ 0.79% ปิ ดที่ 2,302.60 จุด จากความกังวลว่าเกาหลีเหนือจะทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 36.2 จุด หรือ 0.15% ปิดที่ 23,598.9 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,449.09 จุด เพิม่ ขึน้ 9.89 จุด (0.69%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


ประจําว ันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2556

Macroeconomic Policy Bureau

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

่ ะด ับ 369,000 หล ัง HighLight : ยอดขายบ้านใหม่ของสหร ัฐในเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 7.3% สูร

Global :

■ สหรัฐ : ยอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐในเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 7.3% (m-o-m) สูร่ ะดับ 369,000 หลังจากเดือนพ.ย. ที่ 377,000 หลังสวน ทางกับคาดการณ์ท่ี 340,000 - 406,000 หลังบ่งชีก้ ารฟื้นตัวของตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยของสหรัฐจะต้องใช้เวลา ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี เผยธนาคารในยุโรปทีก่ เู้ งินผ่านโครงการจัดสรรสภาพคล่องระยะยะยาว (LTRO) จะจ่ายชําระเงินกู้ งวดแรกเงินจํานวน 1.37 แสนล้านยูโร สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้ท่ี 8.4 หมืน่ ล้านยูโร ส่งผลให้คา่ เงินยูโรแข็งค่าทีส่ ดุ ในรอบ 1 ปี เมือ่ เทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ชีใ้ ห้เห็นถึงสภาพคล่องทีด่ ใี นระบบธนาคาร ■ เยอรมนี : สถาบันวิจยั เศรษฐกิจเยอรมนี เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ แตะ 104.2 จาก 102.4 ในเดือน ธ.ค. 2555 และดัชนีความเชื่อมันต่ ่ อภาวะทางธุรกิจในปจั จุบนั ปรับขึน้ แตะ 108.0 ในเดือนม.ค. จาก 107.1 ในเดือนธ.ค. 2555 จากมุมมอง ทีเ่ ป็ นบวกมากขึน้ ว่าเศรษฐกิจเยอรมนีซง่ึ มีขนาดใหญ่สดุ ในยุโรปจะสามารถต้านทานวิกฤตหนี้ในภูมภิ าคและฟื้นตัวขึน้ ได้ ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.3% (q-o-q) จาก ปจั จัยหนุนมหกรรมกีฬาโอลิมปิก 2012 ได้สน้ิ สุดลง และผลผลิตจากเหมืองแร่ลดลง จากการปิดปรับปรุงแท่นนํ้ามันและแก็สในทะเลเหนือ ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงสือ่ สารและกิจการภายในญีป่ นุ่ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ปี 2555 ปรับตัวลง 0.1% เป็ นการลดลงติดต่อกัน 4 ปี สะท้อนให้เห็นว่าญีป่ นุ่ ยังคงเผชิญกับภาวะเงินฝื ด ท่ามกลางราคาสินค้าคงทนทีป่ รับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยบริษทั อุตสาหกรรมรายใหญ่ในประเทศมีอตั ราการขยายตัวของกําไรชะลอตัวลงอย่างมากในปี 2555 โดยบริษทั ทีม่ รี ายได้ต่อปี เกิน 20 ล้านหยวน (3.17 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) มีกาํ ไรรวมกัน 5.56 ล้านล้านหยวนในปี 2555 หรือเพิม่ ขึน้ เพียง 5.3% (y-o-y) ขณะทีป่ ี 2554 มีกาํ ไรเพิม่ ขึน้ ถึง 25.4% จากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวในปี 2555

Thailand updates : ■ ผูอ้ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เผยแผนการปรับบทบาทและเพิม่ ประสิทธิภาพสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ มี สาระคัญ 3 ส่วน คือ การวางบทบาทของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐแต่ละแห่งให้มคี วามชัดเจน การปรับการกํากับดูแลให้การทํางาน ของแต่ละแห่งมีความสอดคล้องกับการดําเนินการของสถาบันการเงินเฉพาะกิจนัน้ ๆ และการเพิม่ ช่องทางให้มกี ารใช้ทรัพยากรร่วมกัน อย่างมีประ สิทธิภาพ และเน้นเรือ่ งการปล่อยสินเชื่อให้กบั ฐานราก ทัง้ บุคคลธรรมดาและผูป้ ระ กอบการรายเล็กรายย่อยมากขึน้ ■ เงินบาทปิด (25 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.89/91 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.84/86 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (25 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 70.65 จุด หรือ 0.51% ปิดที่ 13,895.98 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 8.14 จุด หรือ 0.54% ปิดที่ 1,502.96 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 19.33 จุด หรือ 0.62% ปิดที่ 3,149.71 จุด จากรายงานผลประกอบการ ภาคเอกชนทีอ่ อกมาดี และแรงหนุนจากดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีทป่ี รับตัวขึน้ เป็ นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 305.78 จุด หรือ 2.88% ปิ ดที่ 10,926.65 จุด จากเงินเยนอ่อนค่าลง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 11.29 จุด หรือ 0.49% ปิดที่ 2,291.30 จุด จากหุน้ กลุม่ การเงินปรับตัวลง ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 18.47 จุด หรือ 0.08% ปิดที่ 23,580.43 จุด ตามตลาดหุน้ จีน ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,461.41 จุด เพิม่ ขึน้ 12.32 จุด (0.85%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 3 ประจําว ันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

มุมมองมหภาค

การฟื้ นตัวของเศรษฐกิจในกลุ่มยูโรโซน...ปั จจัยเสี่ยงที่น่าจับตา นักวิเคราะห์และนักลงทุนจํานวนมากคาดการณ์เศรษฐกิจยูโรโซนจะสามารถฟื้นตัวได้ ในช่วงครึง่ หลังของปี 2013 ซึง่ ยังคงมีประเด็นทีน่ ่าสนใจว่าภาคเศรษฐกิ จทีแ่ ท้จริ ง ของยูโรโซนจะสามารถฟื้ นตัวได้ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือไม่ เนือ่ งจากยังคงมี ปจั จัยเสีย่ งทีค่ วรต้องพิจารณา ได้แก่ ปญั หาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจในกลุ่มยูโรที ่ ไม่สามารถแก้ไขได้ทนั ในช่วงครึง่ หลังของปี 2013 รวมถึงภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงส่ง สัญญาณความอ่อนแอในเชิงโครงสร้าง สถาบันวิจยั ชัน้ นําของ 3 ชาติในยุโรป ทัง้ เยอรมนี ฝรังเศส ่ และอิตาลี ประเมินเศรษฐกิจยูโรโซนไปในทิศทางเดียวกันว่า ช่วงไตรมาสแรกของ ปี 2013 เศรษฐกิจยูโรโซนจะทรงตัวจากนัน้ จะปรับตัวดีขน้ึ ในไตรมาส 2 สอดคล้องกับกระแสการคาดการณ์จากหลายสถาบัน ทัง้ IMF OECD และ Consensus Forecast ได้สะท้อนสัญญาณการฟื้นตัวของดัชนีชว้ี ดั สําคัญ ในช่วงต้นปี ยกเว้นการคาดการณ์ของ Natixis ทีม่ องว่าการคาดการณ์ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนในช่วงเวลาดังกล่าวยังคงเร็วเกินไป

Euro zone: Growth forecasts 2010 2011 2012 2013 2014 2.0 1.4 -0.4 -0.2 1.2 IMF 2.0 1.5 -0.4 -0.1 1.3 OECD 2.0 1.5 -0.5 -0.1 Consensus Forecast 1.9 1.5 -0.4 -0.5 0.5 Natixis 1.9 1.5 -0.5 -0.3 ECB Sources: Natixis (2013)

อย่างไรก็ตามดัชนีชว้ี ดั สําคัญของยูโรโซนในช่วงเดือนมกราคม ได้ตอกยํา้ ถึงภาวะเศรษฐกิจทีย่ งั คงยํ่าแย่จากวิกฤตหนี้ทเ่ี รือ้ รัง หลังจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) คาดว่า “กิ จกรรมทางเศรษฐกิ จในยูโรโซน ซึ่งยังคงเป็ นต้นตอสําคัญที่จะทําให้แนว โน้ มเศรษฐกิ จโลกเผชิ ญความเสี่ยงช่วงขาลงนัน้ จะหดตัวลง 0.2% ในปี นี้ ” โดยระบุวา่ แม้การดําเนินการด้านนโยบายได้ลดความเสีย่ งทีจ่ ะ เกิดวิกฤตรุนแรงในภูมภิ าค แต่การกลับมาฟื้นตัวอีกครัง้ ของยูโรโซนจะเป็ นไปอย่างล่าช้า หลังจากทีเ่ ศรษฐกิจหดตัวต่อเนื่องมานาน โดย บทความฉบับนี้ได้วเิ คราะห์ถงึ ปจั จัยเสีย่ งสําคัญต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทีค่ วรต้องจับตามมอง ประการแรก ปัญหาเชิ งโครงสร้างของประเทศในกลุ่มยูโรโซนที่ไม่สามารถฟื้ นตัวได้ทนั ในช่วงครึ่งหลังของปี 2013 ได้แก่ (1) ความต้องการการลงทุนของธุรกิจเอกชนยังคงไม่เพิม่ ขึน้ แม้วา่ ความสามารถในการทํากําไรของบริษทั ในยูโรโซนจะเพิม่ ขึน้ แต่ความ ต้องการการลงทุนเพิม่ กลับมีแนวโน้มหดตัวลง สะท้อนจากการลดลงของอัตราการใช้กาํ ลังผลิตภาคอุตสาหกรรม (2) มาตรการ Household deleveraging ทีย่ งั คงดําเนินต่อไป ในขณะทีค่ าดการณ์ในระยะยาวว่าอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลมีแนวโน้มสูงขึน้ (จากพันธบัตรทีม่ คี วาม เสีย่ งสูง) กว่าการขยายตัวของจีดพี ี สะท้อนภาระของสถาบันการเงินในอนาคต (3) อัตราการว่างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ จะทําให้คา่ จ้างทีแ่ ท้จริงต่อหัว (Real per capita wage) ลดลง นําไปสูอ่ ุปสงค์และการจ้างงานทีล่ ดลง (4) การใช้นโยบายการคลังทีจ่ าํ เป็นในการแก้ปญั หายังคงมีขอ้ จํากัดเรือ่ ง การรักษาเสถียรภาพอัตราส่วนหนี้สาธารณะ จากภาวการณ์ขาดดุลการคลังต่อเนื่อง และ (5) สถานการณ์ของภาคการธนาคารทีย่ งั คงยํ่าแย่ใน บางประเทศสมาชิก จากภาระในการชําระหนี้เงินกูเ้ พือ่ แก้วกิ ฤติเศรษฐกิจภายในประเทศ ประการที่สอง เศรษฐกิ จโลกยังคงสัญญาณอ่อนแอในเชิ งโครงสร้าง ข้อจํากัดของนโยบายการคลังในประเทศมหาอํานาจทัง้ สหรัฐ และสหราชอาณาจักร การขยายตัวของเศรษฐกิจทีช่ ะลอลงของญีป่ นุ่ และประเทศเกิดใหม่ ปญั หาต้นทุนการผลิตเพิม่ สูงขึน้ ในจีน เป็ นต้น สะท้อนให้เห็นถึงระดับการค้าโลกมีแนวโน้มชะลอลง นันก็ ่ หมายความว่าประเทศในกลุม่ ยูโรจะไม่สามรถฟื้นตัวได้จากการพึง่ พิงการส่งออก อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงต่างๆ จากปัจจัยบ่งชี้ข้างต้น รวมถึงแนวโน้ มการขยายตัวของเศรษฐกิ จโลกที่ยงั คงฟื้ นตัวไม่เต็มที่ อาจส่งผลให้การฟื้ นตัวของเศรษฐกิ จในยูโรโซนล่าช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้ และยังคงเป็ นประเด็นที่น่าจับตามองต่อไป...

Natisix \22 Jan 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ประธานคณะกรรมมาธิการสหร ัฐเผย การปร ับลดรายจ่ายงบประมาณ มีแนวโน้มจะมีผล บ ังค ับใชใ้ นเดือนมี.ค.

Global : ■ สหรัฐ : ประธานคณะกรรมาธิการด้านงบประมาณแห่งสภาผูแ้ ทนราษฎรสหรัฐ เผยการปรับลดรายจ่ายอัตโนมัตทิ ม่ี กี ารเลื่อนออกไปจาก ช่วงต้นปีน้ี มีแนวโน้มจะมีผลบังคับใช้ตามกําหนดในเดือนมี.ค. เนื่องจากพรรคเดโมแครตไม่เต็มใจทีจ่ ะยอมรับข้อเสนอของพรรครีพบั ลิกนั เพือ่ เลีย่ งการลดรายจ่ายดังกล่าว ทัง้ นี้การลดรายจ่ายดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อโครงการด้านกลาโหมและโครงการอื่นๆ อีกมากของสหรัฐ นัน้ และหากสถานการณ์ดงั กล่าวเกิดขึน้ จะทําให้รฐั บาลลดการใช้จา่ ยลง 1.2 ล้านล้านดอลลาร์ในช่วง 10 ปีขา้ งหน้า ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลี (ISTAT) เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนม.ค.ลดลงอยูท่ ่ี 84.6 ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดในรอบ 17 ปี จากระดับ 85.7 ในเดือนธ.ค. 2555 จากความกังวลของประชาชนเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจ ก่อนจะมีการเลือกตัง้ ทัวไปในช่ ่ วงปลาย เดือนหน้า ■ จีน : กระทรวงเกษตรจีน เผยปริมาณผลิตข้าวทัง้ หมดในปี 2555 อยูท่ ่ี 589.55 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ 1.6% (y‐o‐y) คิดเป็ นมูลค่า 204.3 ล้าน ตัน ซึง่ สร้างความมันใจถึ ่ งอุปทานจํานวนมากในตลาดข้าวจีน แม้วา่ จีนจะนําเข้าข้าวเพิม่ ขึน้ อย่างมากในปีทแ่ี ล้ว แต่ปริมาณการนําเข้ายังอยู่ ในระดับทีจ่ าํ กัด และจะไม่สง่ ผลกระทบต่อความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทานของตลาดในประเทศ ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ ปรับเพิม่ ตัวเลขคาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจของญีป่ นุ่ ในปีงบประมาณ 2556 โดย Real GDP อยูท่ ่ี 2.5% และ Nominal GDP อยูท่ ่ี 2.7% จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจครัง้ ล่าสุดจะหนุนอุปสงค์ภายในประเทศ และเศรษฐกิจโลกส่งสัญญาณฟื้นตัว ■ สิ งคโปร์ : คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ (EDB) สิงคโปร์ เผยการลงทุนในสินทรัพย์คงทีใ่ นสิงคโปร์เพิม่ ขึน้ 17% อยูท่ ่ี 1.6 หมืน่ ล้าน ดอลลาร์สงิ คโปร์ (1.29 ดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2555 จากระดับ 1.37 หมืน่ ล้านดอลลาร์สงิ คโปร์ในปี 2554 เนื่องจากเอเชียยังคงเป็ นแหล่งการ ลงทุนทีน่ ่าดึงดูดใจ แม้วา่ เศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวลง

Thailand updates : ■ สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) คาดการณ์เศรษฐกิจไทยปี 56 ขยายตัวร้อยละ 5.0 จากการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศ รวมทัง้ มีการลงทุนต่อเนื่องจากการซ่อมแซมสถานประกอบการทีป่ ระสบปญั หาอุทกภัยทีย่ งั ไม่แล้วเสร็จ แต่ยงั มีปจั จัยเสีย่ งทีต่ อ้ งติดตาม เช่น ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต รวมทัง้ การเพิม่ ขึน้ ของหนี้สาธารณะ จากรัฐบาลเพิม่ การปรับค่าแรงขัน้ ตํ่าวันละ 300 บาททัวประเทศ งบประมาณรายจ่ายประจําและงบพิเศษเพิม่ และดําเนินนโยบายลดการจัดเก็บภาษีหลายประเภท ■ เงินบาทปิด (28 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.98/30 บาทต่อดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.95/97 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลง 14.05 จุด หรือ 0.10% ปิดที่ 13,881.93 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.78 จุด หรือ 0.18% ปิดที่ 1,500.18 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 4.59 จุด หรือ 0.15% ปิดที่ 3,154.30 จุด จากสหรัฐเผยยอดการทําสัญญาขายบ้าน เดือนธ.ค.ลดลงสวนทางกับการคาดการณ์ ซึง่ ทําให้นกั ลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับแนวโน้มตลาดทีอ่ าศัยของสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ลดลง 102.34 จุด หรือ 0.94% ปิดที่ 10,824.31 จุด จากแรงเทขายทํากําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 55.2 จุด หรือ 2.41% ปิ ดที่ 2,346.51 จุด จากตัวเลขกําไรของบริษทั ภาคอุตสาหกรรมของจีนขยายตัวขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 91.45 จุด หรือ 0.39% ปิดที่ 23,671.88 จุด จากแรงหนุนจากหุน้ กลุม่ ธนาคารจีนทีท่ ะยานขึน้ อย่างแข็งแกร่ง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,472.05 จุด เพิม่ ขึน้ 10.64 จุด (0.73%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ื่ มน HighLight : สหร ัฐเผยความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคเดือนม.ค. ลดลงต่อเนือ ่ งตํา ่ สุดน ับแต่ปี 2554

Global :

■ สหรัฐ : Conference Board เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐในเดือนม.ค.ลดลงอยูท่ ่ี 58.6 จากเดือนธ.ค. 2555 ทีร่ ะดับ 66.7 เป็ นการ ลดตํ่าสุดนับแต่เดือนพ.ย. 2554 และลดลงต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน จากผลการปรับขึน้ ภาษีเงินได้ ส่งผลต่อความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภค : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนอยูท่ ร่ี ะดับ 2.30 แสนล้านดอลลาร์ เพิม่ 4.6% ในเดือนธ.ค. 2555 มากกว่าคาดจะเพิม่ 2% ■ ยุโรป : กองทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM) อนุมตั เิ งินช่วยเหลืองวดที่ 2 สําหรับธนาคารสเปนในกลุม่ ที่ 2 จํานวน 1.86 พันล้าน ยูโร (2.701 พันล้านดอลลาร์) โดยไม่ตอ้ งแปรรูปกิจการ หลังจากธนาคารกลุม่ ที่ 1 ได้รบั ความช่วยเหลือ 3.69 หมืน่ ล้านยูโรในเดือนธ.ค. 2555 ■ สเปน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของสเปน (INE) เผยอัตราเงินเฟ้อในปี 2555 อยูท่ ่ี 2.4% อ้างอิงจากค่าเฉลีย่ ของดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ชะลอลง 0.5% เมือ่ เทียบกับเดือนธ.ค. ที่ 2.9% จากต้นทุนค่าขนส่งและราคาทีอ่ ยูอ่ าศัยทีส่ งู ขึน้ ■ จีน : สถาบันวิจยั แห่งชาติจนี คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศจีน (จีดพี )ี ขยายตัวในอัตรา 8.4% ในปี 2556 เพิม่ ขึน้ 0.6% (y-o-y) โดยอุตสาหกรรมขัน้ ทุตยิ ภูมแิ ละขัน้ ตติยภูมจิ ะขยายตัว 8.9% และ 8.8% ตามลําดับ : สมาคมธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของจีน (CASME) เผยดัชนีวดั การขยายตัวของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของจีน (SME) ใน ไตรมาส 4 ปี 2555 เพิม่ ขึน้ 3.3 จุด สูร่ ะดับ 90.8 เป็ นการเพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกในรอบ 8 ไตรมาส คาดว่าจะเพิม่ อย่างมีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง ■ ญี่ปนุ่ : คณะรัฐมนตรีญป่ี นุ่ อนุมตั งิ บประมาณเบือ้ งต้นสําหรับปีงบประมาณ 2556 จํานวน 92.61 ล้านล้านเยน (1.02 ล้านล้านดอลลาร์) สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ เพือ่ พยุงเศรษฐกิจผ่านโครงการสาธารณะขนาดใหญ่ และ 46.3% ของงบประมาณมาจากการออกพันธบัตรใหม่ ■ อิ นเดีย : ธนาคารกลางอินเดียประกาศลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย 0.25% สูร่ ะดับ 7.75% หลังจากอัตราเงินเฟ้อลดลง เป็ นการปรับลด อัตราดอกเบีย้ ครัง้ แรกในรอบ 9 เดือน โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะกระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศซึง่ ขยายตัวในอัตราทีช่ า้ ทีส่ ดุ ในรอบ 10 ปี

Thailand updates : ■ คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบ เมือ่ วันที่ 29 ม.ค. ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการปรับขึน้ ค่าแรง 300 บาท/วัน โดยการแต่งตัง้ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs มีนายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง เป็ นที่ ปรึกษา มีหน้าทีด่ แู ลปญั หาผูป้ ระกอบการ SMEs โดยเฉพาะปญั หาสินเชื่อ ทีผ่ ปู้ ระกอบการขาดหลักประกัน ปญั หาต้นทุนสูง และปญั หา ประสิทธิภาพการผลิตตํ่า ■ เงินบาทปิ ด (29 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าต่อเนื่องจากเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.85/87 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับค่าเงินในภูมภิ าค และแรงเทขายของผูส้ ง่ ออก

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (29 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 72.49 จุด หรือ 0.52% ปิ ดที่ 13,954.42 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 7.66 จุด หรือ 0.51% ปิดที่ 1,507.84 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 0.64 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 3,153.66 จุด หลังจากราคาบ้านในสหรัฐปรับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง แต่ยงั คงกังวลกับแนวโน้มอุปสงค์ภายในประเทศ หลังจากรายงานดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของสหรัฐลดลงอย่างมาก ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 42.41 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 10,866.72 จุด จากนักลงทุนเข้าซือ้ หุน้ กลุม่ ธนาคารทีม่ แี นวโน้มผล ประกอบการดีขน้ึ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 12.47จุด หรือ 0.53% ปิดที่ 2,358.98 จุด จากสัญญาณของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีน ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 16.71 จุด หรือ 0.07% ปิดที่ 23,655.17 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,478.77 จุด เพิม่ ขึน้ 6.72 จุด (0. 0.46%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ั้ ่ ้ ระยะสนที HighLight : ประมาณการจีดพ ี ี ไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.1% และเฟดคงอ ัตราดอกเบีย ระด ับ 0-25%

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยประมาณการผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ทีแ่ ท้จริงประจําไตรมาส 4/2555 ลดตัวลง 0.1% จากการขยายตัว 3.1% ในไตรมาส 3 ผลจากการใช้จา่ ยภาครัฐลดลงถึง 15% ขณะทีภ่ าคเอกชนก็ปรับลดสต็อกสินค้าคงคลัง สวนทาง กับนักวิเคราะห์คาดว่าจะขยายตัว สรุปจีดพี ที งั ้ ปี 2555 ยังคงขยายตัว 2.2% จากทัง้ ปี 2554 ทีข่ ยายตัว 1.8% : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ระยะสัน้ (fed funds rate) ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% จนกว่าอัตราว่างงานจะลดลงตํ่ากว่าระดับ 6.5% และประกาศว่าจะยังคงซือ้ พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐในวงเงิน 4.5 หมืน่ ล้านดอลลาร์/เดือน ตามมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณรอบที่ 4 ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลี (ISTAT) เผยดัชนีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจการผลิตของอิตาลีในเดือนม.ค.ลดลง อยูท่ ่ี 88.2 จาก 88.9 ในเดือนธ.ค. 2555 ขณะทีด่ ชั นีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจโดยรวมเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 79.9 ในม.ค. จาก 75.6 ในเดือนธ.ค. 2555 สะท้อน เศรษฐกิจอิตาลียงั คงไม่ฟ้ืนตัวจากภาวะถดถอย : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคอิตาลีเดือนม.ค.ลดลงอยูท่ ่ี 84.6 ตํ่าสุดนับแต่ปี 2539 จากระดับ 85.7 ในเดือนธ.ค. 2555 บ่งชีค้ วามเชื่อมัน่ ประชาชนลดลงก่อนการเลือกตัง้ ทัวไปปลายเดื ่ อนหน้าท่ามกลางเศรษฐกิจถดถอย ■ สเปน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของสเปน (INE) เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.7% จากไตรมาส 3 ทีล่ งตัว 0.3% เมือ่ เทียบเป็ นรายปี จีดพี เี ดือนต.ค.-ธ.ค. 2555 ลดลง 1.8% เทียบกับ 1.6% (y-o-y) จากมาตรการรัดเข็มขัดของ รัฐบาลส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ในประเทศ ■ เกาหลีใต้ : การผลิตภาคอุตสาหกรรมของเกาหลีใต้ในเดือนธ.ค. 2555 ปรับตัวขึน้ 1% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 0.8% (y-o-y) สวนทางกับ การคาดการณ์ จากความต้องการภายในประเทศทีแ่ ข็งแกร่งช่วยชดเชยการส่งออกทีอ่ ่อนตัวลง และรัฐบาลเกาหลีใต้กาํ ลังทุม่ งบประมาณ รายจ่ายเพือ่ กระตุน้ การขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วงครึง่ ปี แรกนี้ สะท้อนทิศทางการฟื้นขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เผยภาวะเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 4 ของปี 2555 เร่งตัวขึน้ จากฐานทีต่ ่าํ ในปี ก่อน โดยได้รบั แรง สนับสนุนหลักจากภาคอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศทีข่ ยายตัวสูงขึน้ ตามการใช้จา่ ยภายในประเทศทีเ่ ติบโตอย่างแข็งแกร่งและการส่งออก ทีเ่ ริม่ ปรับตัวดีขน้ึ เป็ นเดือนที่ 4 ติดต่อกัน การผลิตภาคบริการจากการท่องเทีย่ วต่างประเทศขยายตัวสูงมาก ทําให้คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2555 สามารถขยายตัวได้ในอัตราร้อยละ 5.7 ตามทีค่ าดการณ์ไว้เดิม ■ เงินบาทปิด (30 ม.ค.) ทีร่ ะดับ 29.76/78 บาท/ดอลลาร์ ใกล้เคียงจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.77/79 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (30 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 44.0 จุด หรือ 0.32% ปิ ดที่ 13,910.42 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 5.88 จุด หรือ 0.39% ปิดที่ 1,501.96 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 11.35 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 3,142.31 จุด จากรายงานผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศประเทศ (จีดพี )ี หดตัวลงในไตรมาส 4/2555 ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่อยูใ่ นแดนบวก โดยดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 247.23 จุด หรือ 2.23% ปิดที่ 11,113.95 จุด แตะระดับสูงสุดในรอบ 33 เดือนจากการอนุมตั งิ บประมาณประจําปี 2556 ในวงเงินสูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 23.5 จุด หรือ 1% ปิดที่ 2,382.47 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 166.89 จุด หรือ 0.71% ปิ ดที่ 23,822.06 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,490.82 จุด เพิม่ ขึน้ 12.05 จุด (0.81%) แรงหนุ นจากการปรับตัวขึน้ ของหุน้ กลุม่ พลังงาน ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.