รายงานการดำเนินกิจกรรมกึ่งการคลังของรัฐบาล

Page 1

รายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่ง การคลังของรัฐบาล ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป พุทธศักราช 2556


รายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังของรัฐบาล ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปพุทธศักราช 2556 สวนบริหารความเสี่ยงดานการคลัง สํานักนโยบายการคลัง กิจกรรมกึ่งการคลังเปนกิจกรรมหรือโครงการตามนโยบายรัฐที่ดําเนินการผานหนวยงานอื่นที่ไมใช รัฐบาล เชน ธนาคารกลาง รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (Specialized Financial Institutions : SFIs) เปนตน ซึ่งเมื่อพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมกึ่งการคลังดังกลาว พบวา ครอบคลุมการดําเนินงานของ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการสินเชื่อที่มีเงื่อนไขผอนปรนดานดอกเบี้ย หรื อโครงการที่ช วยให ประชาชนสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนไดงายขึ้น เมื่อเทีย บกับ การดําเนิน ธุร กรรมกับ สถาบันการเงินปรกติ อยางไรก็ตาม รายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังฉบับนี้ พิจารณาเฉพาะกิจกรรมกึ่ง การคลังที่ดําเนินการผาน SFIs และเปนโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (Public Service Account หรือ PSA) ทั้งนี้ โครงการที่จัดเปนโครงการ PSA ตองเปนโครงการที่มีวัตถุประสงคขอใดขอหนึ่ง ดังนี้ 1 0

1. โครงการที่มีวัตถุ ประสงคและรูปแบบการใหบริการเพื่อชวยเหลือฟนฟูผูไดรับผลกระทบจาก สาธารณภัยหรือการกอวินาศกรรม ตามคําจํากัดความของพระราชบัญญัติปองกันฝายพลเรือน พ.ศ. 2522 หรือฟนฟูกระตุนเศรษฐกิจ หรือเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพ หรือยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน วิสาหกิจ และหนวยธุรกิจ และตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี 2. โครงการของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่มีเงื่อนไขผอนปรน หรือธุรกรรมที่รัฐบาลสั่งการให สถาบันการเงินเฉพาะกิจดําเนินการเปนพิเศษ โดยตองมีมติคณะรัฐมนตรีระบุใหมีการชดเชยหรือสนับสนุน เงินทุนจากรัฐบาลแกสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ดําเนินการตามนโยบายรัฐอยางชัดเจน โดยนับเฉพาะโครงการนโยบายรัฐ ที่มีมติคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบหลังจากวันที่ 5 สิงหาคม 2552 เปนโครงการ PSA จากการรวบรวมขอมูลโครงการ PSA จาก SFIs ที่ดําเนินการในรูปแบบของธนาคาร จํานวน 7 แหง กลาวคือ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคาร เพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม และธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2556 สามารถสรุปได ดังนี้ 2 1

(รายละเอียดโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (Public Service Account) จําแนกตาม สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ตามเอกสารแนบ) 1

เกณฑการพิจารณาโครงการ PSA ที่สํานักงานเศรษฐกิจการคลังกําหนด โดยนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ หลังวันที่ 5 สิงหาคม 2552 เปนตนไป 2 บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมรี ายการธุรกรรมนโยบายรัฐ


-21. สินเชื่อคงคางและหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ยอดสินเชื่อคงคางของโครงการตามนโยบายรัฐที่ มีการแยกบัญชี PSA จํ านวนทั้ งสิ้ น 1,103,348.65 ลานบาท ในขณะที่ยอด NPLs เทากับ 8,613.89 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิด รายไดตอยอดสินเชื่อคงคางรอยละ 0.78 ทั้งนี้ มูลคาหนี้ NPLs สะทอนใหเห็นถึงคุณภาพการปลอยสินเชื่อของ แตละ SFIs ซึ่งการปลอยสินเชื่อด อยคุณภาพในปริมาณที่สูง สงผลตอมูลคาหนี้ NPLs รวมถึงการกันสํารองเพื่อรองรับความเสียหายที่สูงขึ้นดวย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ธนาคารออมสิน ประกอบดวยโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA จํานวน 5 โครงการ โดยมี โครงการสําคัญ ไดแก โครงการ Soft Loan ใหการชวยเหลือทางการเงินผูประกอบกิจการใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต และโครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ํารวมกับธนาคารพาณิชยในสัดสวน 50:50 วงเงิน 40,000 ลานบาท โดยมียอดสินเชื่อคงคาง จํานวน 42,767.86 ลานบาท คิดเปนรอยละ 3.88 ของสินเชื่อคงคาง โครงการ PSA ทั้งหมด ในสวนของ NPLs พบวาโครงการ PSA ของธนาคารออมสินไมมีหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได เนื่องจากโครงการสําคัญทั้งสองขางตน เปนการปลอยสินเชื่อใหแกธนาคารพาณิชยในรูปเงินฝาก ในขณะที่ โครงการบางโครงการเชน โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบปองกันอุทกภัยโดยธนาคารออมสิน และโครงการ สินเชื่ อเพื่อกอสรางระบบปองกันอุทกภัยในนิคมอุตสาหกรรมมีการอนุมัติวงเงินโครงการแลว แตยังไมเริ่ม ดําเนินการปลอยกู เปนตน 1.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ประกอบดวยโครงการที่มี การแยกบัญชี PSA จํานวน 21 โครงการ โดยมีโครงการสําคัญ ไดแก โครงการพักชําระหนี้ และโครงการจํานํา ผลิตผลทางการเกษตร ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปน SFIs ที่มีการดําเนินโครงการ PSA คิดเปนมูลคามากที่สุด โดยมียอด สินเชื่อคงคาง 869,477.87 ลานบาท คิดเปนรอยละ 78.80 ของยอดสินเชื่อคงคางโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จํานวน 388.63 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง เทากับรอยละ 0.04 เมื่อพิจารณาถึงขนาดการดําเนินโครงการ PSA ของ ธ.ก.ส. ที่คอนขางใหญเมื่อเทียบกับ SFIs อื่น ๆ สะทอนใหเห็นถึงแนวนโยบายกึ่งการคลังที่ใหความสําคัญตอการชวยเหลือประชาชนที่อยูในภาค เกษตร โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงการจํานําผลิตผลทางการเกษตร และโครงการพักชําระหนี้ ที่มียอดสินเชื่อคง คางสูงถึง 509,783.34 และ 257,875.16 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ตาม เปนที่นาสังเกตวาโครงการ PSA ของ ธ.ก.ส. มีมูลคาและสัดสวน NPLs ที่คอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับยอดสินเชื่อคงคาง สาเหตุสวน หนึ่งเกิดจากการเขารวมโครงการพักหนี้เกษตรกรรายยอยและประชาชนผูมีรายไดนอยที่มีหนี้คงคางต่ํากวา 500,000 บาท ทําให NPLs ของกลุมลูกหนี้ที่มีปญหาการชําระหนี้ไดปรับสถานะเปนลูกหนี้เปนปรกติ รวมถึง โครงการที่มียอดสินเชื่อคงคางสูง เชนโครงการจํานําผลิตผลทางการเกษตรตาง ๆ ที่ไมมีมูลคาหนี้ที่ไมกอใหเกิด รายได (ยกเวนโครงการรับจํานําขาวนาป ป2554/55 ประเภทจํานํายุงฉางที่เกษตรกรผิดนัดการไถถอนขาว กอใหเกิดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดจํานวน 68.89 ลานบาท)


-3-

1.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ประกอบด วยโครงการที่ มีการแยกบั ญชี PSA จํานวน 3 โครงการ คือ โครงการบาน ธอส. เพื่อที่อยูอาศัยแหงแรก (0% 2 ป) โครงการบาน ธอส. เพื่อที่อยู อาศัยแหงแรก (0% 3 ป) และโครงการพักชําระหนี้ใหแกลูกหนี้ที่มีหนี้ต่ํากวา 500,000 บาท ทั้งนี้ ธอส. มี ยอดสินเชื่อคงคางโครงการแยกบัญชี PSA จํานวน 19,998.29 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.81 ของยอด สินเชื่อคงคางโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จํานวน 208.30 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไม กอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคางเทากับรอยละ 1.04 1.4 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) มีโครงการที่มีการแยก บัญชี PSA 1 โครงการ คือโครงการสนับสนุนการประกอบธุรกิจพาณิชยนาวี ทั้งนี้ ธสน. เปน SFIs ที่มียอด สินเชื่อคงคางของโครงการ PSA ต่ําที่สุดเทากับ 3,230.12 ลานบาท คิดเปนรอยละ 0.29 ของยอดสินเชื่อคง คางโครงการ PSA ทั้งหมด 1.5 ธนาคารพั ฒนาวิส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อมแห ง ประเทศไทย (ธพว.) ประกอบดวยโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA จํานวน 18 โครงการ โดยมีโครงการสําคัญ เชน โครงการ SME POWER โครงการชวยเหลือดานการเงินแกผูประกอบธุรกิจโลจิสติกสไทย และโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิต ภาพการผลิต เปนตน ทั้งนี้ ธพว. มียอดสินเชื่อคงคางโครงการแยกบัญชี PSA จํานวน 28,889.50 ลานบาท คิดเปนรอยละ 2.62 ของยอดสินเชื่อคงคางโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จํานวน 2,622.90 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคางเทากับรอยละ 9.08 ทั้งนี้ โครงการ SME POWER3 เปนโครงการที่มียอดสินเชื่อคงคางและมูลคาหนี้ NPLs สู งที่สุด ซึ่งโดยสวนใหญจะเปนการ ดําเนินการเพื่อชวยเหลือผูประกอบการ SMEs ที่ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย ป 2553 และอุทกภัยและวาต ภัยป 2554 รวมถึงผูประกอบการที่ไดรับผลกระทบจากความไมสงบทางการเมือง เพื่อชวยใหกิจการฟนตัวได เร็วขึ้น จนทําใหหลักเกณฑในการปลอยสินเชื่อไมเขมงวดเทาที่ควร และนําไปสูการเพิ่มขึ้นของ NPLs ในที่สุด 1.6 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ประกอบดวยโครงการที่มี การแยกบัญชี PSA จํานวน 9 โครงการ ซึ่งมีโครงการที่สําคัญคือ โครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 1 - 5 ทั้งนี้ บสย. มียอดสินเชื่อคงคางโครงการแยกบัญชี PSA จํานวน 135,786.64 ลานบาท คิด เปนรอยละ 12.31 ของยอดสินเชื่อคงคางโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPGs4 จํานวน 4,627.45 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ NPGs ตอยอดภาระค้ําประกันคงเหลือเทากับรอยละ 3.41 นอกจากนี้พบวา โครงการดังกลาวมีมูลคาหนี้ NPGs สูงที่สุดจํานวน 4,456.84 ลานบาท (เปรียบเทียบกับ SFIs อื่น ๆ) อยางไรก็ตาม บสย. ไดมีการจํากัดปริมาณหนี้ NPGs เพื่อไมใหกระทบตอการดําเนินงานตามปรกติของสถาบัน สอดคลองกับสัดสวนหนี้ NPGs ตอยอดภาระค้ําประกันคงเหลือของโครงการดังกลาวที่พบวา มีสัดสวนคอนขาง ต่ําอยูที่รอยละ 4.50 3

โครงการ SME POWER หมายถึง 1.โครงการ SME POWER เพื่อผูประสบอุทกภัย ป 2553 2.โครงการ SME POWER เพื่อชวยเหลือ SMEs ที่ ไดรับผลประทบจากอุทกภัยและวาตภัย ป 2554 3.โครงการ SME POWER เพื่อชวยเหลือ SMEs ที่ไดรับผลประทบจากอุทกภัยและวาตภัยและ ดินโคลนถลม ป 2554 4.โครงการ SME POWER เพื่อวันใหม ผูประกอบการ กทม. ที่ไดรับผลกระทบจากความไมสงบทางการเมือง ระยะที่ 1-3 4 NPGs หมายถึง ภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นดอยคุณภาพ ในขณะที่สัดสวน NPGs เปนภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นดอยคุณภาพตอยอดภาระค้ําประกัน คงเหลือ


-4-

1.7 ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ประกอบดวยโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA จํานวน 10 โครงการ ซึ่งมีโครงการที่สําคัญคือ โครงการสินเชื่อสงเสริมผูประกอบอาชีพรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต และโครงการสินเชื่อเพื่อชวยเหลือผูประกอบอาชีพอิสระรายยอยที่ไดรับผลกระทบจาก อุทกภัยและวาตภัย ป 2553 โดยมียอดสินเชื่อคงคางรวมทุกโครงการ จํานวน 3,198.37 ลานบาท คิดเปน รอยละ 0.29 ของยอดสินเชื่อคงคางโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จํานวน 766.61 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคางเทากับรอยละ 23.97 คิดเปนสัดสวนสูงสุดเมื่อ เปรียบเทียบกับ SFIs อื่น ๆ (โครงการสินเชื่อเพื่อชวยเหลือผูประกอบอาชีพอิสระรายยอยที่ไดรับผลกระทบจาก อุทกภัยและวาตภัย ป 2553 เปนโครงการที่มีสัดสวน NPLs มากที่สุด จํานวน 521.37 ลานบาท คิดเปน รอยละ 57.80 ของยอดสินเชื่อคงคาง) สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากการพิจารณาปลอยสินเชื่อที่ไมรอบคอบ การ ประเมินหลักประกันไมถูกตองจนสงผลใหยอดสินเชื่อสูงกวาหลักประกัน และการติดตามดูแลลูกหนี้ไมดีพอ กลาวโดยสรุป ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางตามโครงการ PSA มากที่สุด คิดเปนรอยละ 78.80 ของยอดสินเชื่อคงคางโดยรวม สะทอนใหเห็นถึงแนวนโยบายกึ่งการคลังของรัฐบาลที่เนนชวยเหลือ เกษตรกรเปนสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการจํานําผลิตผลทางการเกษตร ตาง ๆ 5 ที่มียอดสินเชื่อคงคาง รวม 509,783.34 ลานบาท ในขณะที่ ธสน. และ ธอท. มียอดสินเชื่อคงคางตามโครงการ PSA นอยที่สุด คิด เปนรอยละ 0.29 ของยอดสินเชื่อคงคางโดยรวม และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได พบวา โครงการ PSA ของ ธอท. และ ธพว. มีสัดสวน NPLs ที่คอนขางสูง เทากับรอยละ 23.97 และ 9.08 ของ ยอดสินเชื่อคงคางโดยรวม ตามลําดับ ในขณะที่ ธนาคารออมสินและ ธสน. ไมมี NPLs 4

ตารางที่ 1 ยอดสินเชื่อคงคางและมูลคาหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 1 ป 2556

5

SFIs

สินเชื่อคงคาง

NPLs

ธ.ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. บสย. ธอท. รวม

42,767.86 869,477.87 19,998.29 3,230.12 28,889.50 135,786.64 3,198.37 1,103,348.65

0.00 388.63 208.30 0.00 2,622.90 4,627.45 766.61 8,613.89

NPL ratio (%) 0.00 0.04 1.04 0.00 9.08 3.41 23.97 0.78

สัดสวนสินเชื่อ คงคาง (%) 3.88 78.80 1.81 0.29 2.62 12.31 0.29 100

หนวย : ลานบาท

สัดสวน NPLs (%) 0.00 4.51 2.42 0.00 30.45 53.72 8.90 100

โครงการจํานําผลิตผลทางการเกษตรตาง ๆ เชน 1.โครงการจํานําขาวนาป ป 2554/55 2.โครงการจํานํามันสําปะหลัง ป 2554/55 3. โครงการจํานํายางพารา ป 2554/55 4.โครงการจํานําขาวเปลือกนาปรัง ป 2555 เปนตน


-5ที่มา : สถาบันการเงินเฉพาะกิจ รวบรวมโดย สํานักนโยบาย

การคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2. ประมาณการความเสียหายจากโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (PSA) โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA เปนโครงการที่ดําเนินการโดยผานมติคณะรัฐมนาตรี อัน นํามาซึ่งภาระทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากโครงการตางๆ ทั้งนี้ ความเสียหายที่รอ การชดเชยเหลานี้เปนแรงกดดันตอสภาพคลองของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ หากรัฐบาลไมจัดสรรเงินอุดหนุน ชดเชยความเสียหายในลักษณะปตอป นอกจากนี้ ยังอาจกระทบตอความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีตอสถาบัน การเงินเฉพาะกิจในที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่ง สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ระดมเงินฝากจากประชาชน สําหรับภาระการชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA นั้น สามารถ ประมาณการความเสียหายที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม จนถึงสิ้นสุด โครงการ จํานวนทั้งสิ้น 83,802.87 ลานบาท โดยรัฐบาลชดเชยไปแลว 27,487.53 ลานบาท คงเหลือ ภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 56,315.34 ลานบาท ทั้งนี้ การชดเชยความเสียหาย เปนไปตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง โดยมีรายละเอียดสามารถสรุปได ดังนี้ (รายละเอียด ประมาณการภาระความเสียหายจากโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ตามเอกสารแนบ) 2.1 ธนาคารออมสิน รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ของธนาคารออมสินในรูปแบบการชดเชยอัตราดอกเบี้ยเงินกู ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายตั้งแต เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 8,756.20 ลานบาท โดยรัฐบาลมีการชดเชยแลว 1,780.33 ลาน บาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 6,975.87 ลานบาท คิดเปนรอยละ 12.40 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รัฐบาลมีภาระชดเชย ความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ในรูปของการชดเชยดอกเบี้ยเงินกู ตนทุนเงินโครงการ (อัตรา ดอกเบี้ย FDR+1) ซึ่งเปนตนทุนที่ ธ.ก.ส. จายจากเงินทุนของ ธ.ก.ส. คาบริหารโครงการที่ ธ.ก.ส. ดําเนินการ แทนรัฐบาล และดอกเบี้ยจายในกรณี ธ.ก.ส. กูจากสถาบันการเงินอื่น ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่มจนถึง 31 มีนาคม 2556 จํานวนทั้งสิ้น 30,944.61 ลานบาท โดย รัฐบาลชดเชยไปแลว 21,862.83 ลานบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 9,081.78 ลานบาท คิดเปนรอยละ 16.10 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ 2.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ในลักษณะของการชดเชยตนทุนเงินโครงการ คาธรรมเนียม และการลดเงินนําสงคลัง ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จํานวน ทั้งสิ้น 4,306.72 ลานบาท โดยรัฐบาลชดเชยแลว 928.73 ลานบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการ ชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 3,377.99 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.00 ของประมาณการภาระความเสียหาย คงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ


-6-

2.4 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) รัฐบาลมีภาระชดเชย ความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ในลักษณะของคาบริหารโครงการ ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 1,050.00 ลาน บาท โดยรั ฐบาลชดเชยแล ว 16.36 ลานบาท คงเหลือความเสียหายที่ร อการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 1,033.64 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.80 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ 2.5 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) รัฐบาล มีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ในลักษณะของการชดเชยดอกเบี้ยเงินกู NPLs และผลกําไร (ขาดทุน) สุทธิของแตละโครงการ ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชย จากรั ฐ บาลตั้ ง แต เ ริ่ ม จนถึง สิ้ น สุ ด โครงการ จํ า นวนทั้ งสิ้ น 16,482.20 ล า นบาท โดยรัฐ บาลชดเชยแล ว 794.95 ลานบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 15,687.25 ลานบาท คิดเปน รอยละ 27.90 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2.6 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความ เสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ในลักษณะของคาธรรมเนียมค้ําประกัน ฯ และสวนสูญเสียจากการ ค้ําประกัน ฯ ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุด โครงการ จํานวนทั้งสิ้น 20,951.99 ลานบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแลว 1,957.29 ลานบาท คงเหลือ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 18,994.70 ลานบาท คิดเปนรอยละ 33.70 ของประมาณ การภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ทั้งนี้ บสย. มีความเสียหายคงเหลือรอการ ชดเชยจากรัฐบาลมากที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 1 – 5 6 ที่ มีความเสียหายคงเหลื อรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 13,231.84 ลานบาท (จากประมาณการความ เสียหายทั้งสิ้น 15,165.94 ลานบาท) 5

2.7 ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิด จากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม จนถึงสิ้นสุดโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 1,311.15 ลานบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแลว 147.04 ลานบาท คงเหลือความเสียหายที่ รอการชดเชยจากรัฐบาล จํานวน 1,164.11 ลานบาท คิดเปนรอยละ 2.10 ของ ประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

6

โครงการ Portfolio Guarantee Scheme เปนโครงการเพื่อชวยเหลือ SMEs ในทุกกลุมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และตองการสินเชื่อแตขาด หลักประกัน ใหมีโอกาสเขาถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งสินเชื่อที่ไดรับการค้ําประกันจาก บสย. ตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme นั้น สถาบันการเงินตาง ๆ สามารถถือเสมือนวาไดรับการค้ําประกันโดยทางออมจากรัฐบาล


-7-

ตารางที่ 2 ประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA SFIs ธ.ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. บสย. ธอท. รวม

ประมาณการความเสียหายที่ตอง ไดรับการชดเชยจากรัฐบาล ตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ 8,756.20 30,944.61 4,306.72 1,050.00 16,482.20 20,951.99 1,311.15 83,802.87

ที่มา : สถาบันการเงินเฉพาะกิจ

หนวย : ลานบาท

ความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาล

สัดสวนความ เสียหายคงเหลือ (%)

6,975.87 9,081.78 3,377.99 1,033.64 15,687.25 18,994.70 1,164.15 56,315.34

12.40 16.10 6.00 1.80 27.90 33.70 2.10 100

กลาวโดยสรุป การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผาน SFIs แมวาจะชวยเพิ่มความสามารถใน การเขาถึงแหลงเงินทุนของประชาชนฐานราก อันจะสงผลดีตอการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ แตก็นํามา ซึ่งภาระและความเสี่ ยงทางการคลั งในการชดเชยความเสีย หายใหแก SFIs ที่ดําเนิน โครงการเหลานั้น นอกจากนี้ ภาระความเสียหายคงเหลือที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจะเปนแรงกดดันตอสภาพคลองของ SFIs หาก รัฐบาลไมจัดสรรเงินอุดหนุนชดเชยความเสียหายในลักษณะปตอป ซึ่งอาจสงผลกระทบตอฐานะเงินกองทุนและ ความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีตอ SFIs ในที่สุด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.