Ministry of Finance, Fiscal Policy Office
การใหความรูทางการเงิน
02-273-9020 ต่อ 3651 capitalflows@gmail.com 12 กรกฎาคม 2556
Ministry of Finance, Fiscal Policy Office
การให้ความรู้ทางการเงิน 1. ปัญหา 2. วิสัยทัศน์สาหรับประเทศไทย (Where to go) 3. มาตรการและแผนงานสาคัญ (How to) 4. เอกสารประกอบ 1) การแบ่งกลุ่มเป้าหมายและผู้รับผิดชอบ 2) GAPs ราย 8 กลุ่ม 3) ข้อเสนอแนะโดยรวม 4) ประสบการณ์ในต่างประเทศ 5) APEC Finance Minister Meeting’s statement
1
1. ปัญหา
ครัวเรือนไทย 4.6 ล้ าน ครัวเรือน ใช้ จ่ายเกิน รายได้
2.3 ล้ าน ครัวเรือน
ภาระชาระหนี ้ 60 % ของรายได้ รายจ่ าย 146% ของรายได้
ต้ องเปลี่ยน ที่มา สำนักงำนสถิติแห่งชำติ 2554
พฤติกรรม?
1. ปัญหา
ครัวเรือนไทย 4.6 ล้ าน ครัวเรือน ใช้ จ่ายเกิน รายได้
ป้องกัน ? ให้ ความรู้ เชิง เปลี่ยนพฤติกรรม ทางการเงิน
1. ปัญหา
หน่ วยงานต่ างๆ
ต่ างคนต่ างทา ไม่ มีเป้าหมายร่ วม ไม่ มีแผนระดับชาติ
พฤติกรรมหลัก ?
2. วิสยั ทัศน์ สาหรับประเทศไทย 2.1) วิสยั ทัศน์
สค 55 ตังคณะกรรมกำรกำรให้ ้ ควำมรู้ทำงกำรเงิน และประชุมครัง้ แรก เห็นชอบ วิสยั ทัศน์
วิสยั ทัศน์ คนไทยทุกคนมีความรู้ความสามารถในการบริหารการเงิน ิน อย่างมีประสิทธิภาพและ มีวินัยทางการเงิน สร้างความมันคงทางการเง ่ แก่ตนเอง ครอบครัวและประเทศชาติ
5
2.2) การแบ่งระดับความรู้ความสามารถและพฤติกรรมทางการเงิน 6 ระดับ H2 สูงมาก
H1 สูง
M2 กลาง-สูง
คน ไทย
- จัดการเรื่องการเงิ นได้ดีมาก จัดการได้ในช่วงขาดรายได้หลักหรือช่วงวิ กฤตเศรษฐกิ จ - มีการวางแผนทางการเงิ น - มีเงิ นออมเพื่อการเกษียณ - มีการลงทุน โดยศึกษาข้อมูลและวิ เคราะห์ความเสี่ยงก่อนการลงทุนเสมอ - จัดการเรื่องการเงิ นได้ มีปัญหาหากขาดรายได้หลักหรือช่วงวิ กฤตเศรษฐกิ จ แต่จดั การได้ - มีการวางแผนทางการเงิ น - มีเงิ นออมเพื่อการเกษียณ - มีการลงทุน โดยศึกษาข้อมูลและวิ เคราะห์ความเสี่ยงก่อนการลงทุนเสมอ - มีปัญหาทางการเงิ นเป็ นครัง้ คราว - เริ่ มมีการวางแผนทางการเงิ น (ทาบ้าง) - เริ่ มมีเงิ นออมเพื่อการเกษียณ (ทาบ้าง) - เริ่ มมีการลงทุน โดยศึกษาและวิ เคราะห์ความเสี่ยงก่อนการลงทุน (ทาบ้าง)
M1 กลาง-ตา่
- มีปัญหาทางการเงิ นเป็ นครัง้ คราว -- เห็นความสาคัญ เริ่ มศึกษา
L2 ตา่
-มีปัญหาทางการเงิ นบ่อยครัง้ รายได้ไม่พอรายจ่าย -- เห็นความสาคัญ ไม่มีความรู้ไม่มีความสามารถในการจัดการเรื่องการเงิ น
L1 ตา่ มาก
-มีปัญหาทางการเงิ นบ่อยครัง้ รายได้ไม่พอรายจ่าย - ไม่เห็นความสาคัญ ไม่มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรื่องการเงิ น 6
2.3) ตัวอย่าง สถานะความรู้ความสามารถและพฤติกรรมทางการเงินของคนไทย
คน ไทย
NOW
Where to go?
2556
2560
H2 สูงมาก
1% (0.7 ล.)
1%
H1 สูง
4% (2.7 ล.)
4%
M2 กลาง-สูง
15% (10.1 ล.)
30% (20.1 ล.)
M กลาง-ตา่
40% (26.8 ล.)
40% (26.8 ล.)
L2 ตา่
30% (20.1 ล.)
20% (13.4 ล.)
L1 ตา่ มาก
10% (6.7 ล.)
5% (3.4 ล.)
กลุ่มมีปัญหำ 54 ล้ ำนคน หรื อ 70% ของคนไทย ลดลงเหลือ 43.6 ล้ ำคน
7
2.4) การแบ่งความรูค้ วามสามารถและพฤติกรรมทางการเงิน 6 ด้าน
1) การจัดการบัญชีและข้อมูลทางการเงิน
1.1 การบันทึกบัญชี 1.2 การตรวจสอบรายการทางการเงิ น 1.3 การตรวจสอบสถานะทางการเงิ น (เงิ นสด ทรัพย์สินหนี้ สิน)
2) การจัดการเงินระยะสัน้
2.1 รายรับไม่พอรายจ่าย 2.2 ปัญหาการชาระหนี้ 2.3 การออม
3) การวางแผนทางการเงิน
3.1 การวางแผนล่วงหน้ า 3.2 การวางแผนสาหรับกรณี ฉุกเฉิ น 3.3 การวางแผนเพื่อการเกษียณอายุ
4) การใช้บริการและผลิตภัณฑ์ทางการเงิน รวมทัง้ การประกัน
4.1 การกู้ยืมและความรู้เรื่องดอกเบีย้ 4.2 การใช้บญ ั ชีธนาคาร บัตรเครดิ ตและบริ การอื่น 4.4 การใช้ประกันสุขภาพ/ประกันชีวิต
5) การลงทุน
5.1 การลงทุนในตลาดทุน 5.2 การบริ หารความเสี่ยงการลงทุน
6) การใช้ข้อมูลทางการเงินและแก้ปัญหา
6.1 ติ ดตามข่าวสารทางการเงิ นและเศรษฐกิ จ 6.2 การรับคาปรึกษาทางการเงิ น 6.3 ข้อมูลการเตือนภัยทางการเงิ นและสิ ทธิ ประโยชน์ จากภาครัฐ 8
2.5) กรณี ตวั อย่าง 10 ราย การแปลงข้อมูลจากแบบสอบถามเป็ นสถานะความรูค้ วามสามารถและพฤติกรรม ทางการเงิน รวมทัง้ แนวทางการแก้ปัญหา ความรู้ความสามารถและพฤติ กรรมทางการเงิ น 6 ด้าน
ภาพรวมกลุ่ม
10 ราย
1) จัดการ ข้อมูล/บัญชี
2) จัดการเงิ น ระยะสัน้
H2 สูงมาก
0%
10%
H1 สูง
0%
0%
M2 กลาง-สูง
30%
20%
M1 กลาง-ตา่
30%
30%
L2 ตา่
30%
20%
L1 ตา่ มาก
10%
20%
กลุ่มนี ้ร้ อยละ 70 มีปัญหำ กำรจัดกำรทำงกำรเงิน โดยร้ อยละ 40 มีปัญหำเสมอ
6) การใช้ข้อมูล/ การแก้ปัญหา
70% มีปัญหำ จัดกำรกำรเงินระยะสัน้
- ส่วนใหญ่มีรำยได้ น้ อย - ปำนกลำง - สนใจควำมรู้เรื่ อง กำรหำรำยได้ เสริม - ใช้ ข้อมูลผ่ำนทีวี 9
3. มาตรการและโครงการสาคัญ (แบ่งความรับผิดชอบ) 3.1) ตัวอย่าง ภาคเอกชนอาชีพอิสระ
ภาคเอกชน อาชีพอิสระ 1. รายได้สงู ผู้ขบั เคลื่อน 1. ตลท. 2. กลต. 3. FETCO 4. ธปท. 5. ส.ธนาคารไทย 6. คปภ.
2. รายได้น้อย ผู้ขบั เคลื่อน 1. ก.การคลัง 2. ธ.ออมสิน 3. สศค. 4. ธปท. 5. คปภ. 6. กทบ./กพช.
10
ตารางสรุปกลุ่มเป้าหมายของหน่วยงานต่างๆ ก.ศึกษา/ หน่วยงานการศึกษา
ตลท./ กลต./ FESCO
1 เด็ก เยาวชน และผู้กาลังศึกษา
สพฐ/กทม. พัทยา/อบต ป1.-ม6. ตลท. ป.1-ม.6/ นศ. ก่อนจบ สอศ/ส.ส่งเสริมการศึกษาเอกชน อาชีว / ครู สกอ. อุดมศึกษา สป.ศธ. ตามอัธยาศัย 2 ภาคเอกชนมีนายจ้าง 2.1 รายได้สูง 2.1 รายได้สูง ตลท./กลต. 2.2 รายได้นอ้ ย
3 ภาคเอกชนอาชีพอิสระ 3.1 รายได้สูง
3.2 รายได้นอ้ ย
2.2 รายได้นอ้ ย
3.1 รายได้สูง ตลท./กลต. 3.2 รายได้นอ้ ย
4 เกษตรกร
5 ภาครัฐ
ธปท./ คปภ. / ส.ธนาคาร/ ส.ประกัน
6 นอกแรงงานและอืน่ ๆ
กพช./ กทบ. / กท.สตรี ก.แรงงาน และอืน่ ๆ
ธปท. ครู/ มีศนู ย์ กทม. เชียงใหม่ ธ.ออมสิน ป.1-ม.6 ขอนแก่น สงขลา คปภ. 2.1 รายได้สูง ธปท. ผู้ใช้บริการสถาบันการเงิน คปภ. 2.2 รายได้นอ้ ย คปภ.
3.1 รายได้สูง ธปท. ผู้ใช้บริการสถาบันการเงิน คปภ. 3.2 รายได้นอ้ ย คปภ. คปภ.
ตลท./กลต. ผู้สนใจทั่วไป
ออมสิน/ธกส/ก.เกษตร สศค./สคร./กบข.
คปภ.
2.1 รายได้สูง
2.1 รายได้สูง
2.2 รายได้นอ้ ย - ก.แรงงานไม่ได้จัดอบรมโดยตรง - แรงงานจานวนมาก ไม่ได้รับการฝึกอบรม 3.1 รายได้สูง
3.2 รายได้นอ้ ย ธ.ออมสิน รายได้น้อย/องค์กรชุมชน สศค. ธ.ออมสิน รายได้น้อย/องค์กรชุมชน ธกส. ทั่วไป ก.ส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์ สศค. กบข. ข้าราชการ ธ.ออมสิน ครู/ข้าราชการ
3.2 รายได้นอ้ ย - มี ธ.ออมสินเป็นหลัก แต่ไม่ได้ เน้นให้ความรู้ทางการเงิน เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นลูกค้า ธกส. มีโครงการหมอหนี้
3.2 รายได้นอ้ ย กพช. กลุ่มออมทรัพย์/จนท.พช. กทบ. กองทุนหมู่บา้ ย/ชุมชน กพช. กลุ่มออมทรัพย์/จนท.พช. กทบ. กองทุนหมู่บา้ ย/ชุมชน
- ส่วนมากไม่ได้รับการฝึกอบรม - ครูภาคอีสานมีหนี้สงู กพช. กท.สตรี กลุ่มสตรี ส.กิจการสตรี ศูนย์พฒั นาชุมชน
ตลท./กลต.
ธปท. ผู้ใช้บริการสถาบันการเงิน
8 สื่อมวลชน
ตลท./กลต.
ธปท. ผู้ใช้บริการสถาบันการเงิน
- การฝึกอบรมส่วนใหญ่อยู่ใน กทม. ปริมณฑล - ระดับอุดมศึกษาเป็นวิชาเลือก - ครูจานวนมากต้องการอบรม 2.1 รายได้สูง
2.2 รายได้นอ้ ย 2.2 รายได้นอ้ ย ธ.ออมสิน รายได้น้อย/องค์กรชุมชน กพช. กลุ่มออมทรัพย์/จนท.พช. สศค. กทบ. กองทุนหมู่บา้ ย/ชุมชน สปส./ก.สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน 3.1 รายได้สูง 3.1 รายได้สูง
คปภ.
7 ครอบครัว
หมายเหตุ
กท.สตรี/ส.กิจการสตรี ยังไม่ได้ ดาเนินการด้าน FE 11
3.2) ตัวอย่าง กลุ่มเอกชนมีประกันสังคม มาตรการและโครงการสาคัญ ภาคเอกชน อาชีพอิสระ 1. รายได้สงู
2. รายได้น้อย 1. กลุ่มผู้ให้ความรู้/ผูม้ ีบทบาทสูง 2. กลุ่มเสี่ยง 3. กลุ่มเฉพาะ 4. มาตรฐานความรู้ 5. สื่อการเรียน/ช่องทาง 6. การสร้างเครือข่าย และอื่นๆ 12
3.3) ตัวอย่าง มาตรการและโครงการสาคัญ ของ สศค.
กลุ่ม 1. เด็ก เยาวชน ผู้กาลังศึกษา 1. กลุ่มผูใ้ ห้ ความรู้/ ผู้มี บทบาทสูง
กลุ่ม 2. ภาคเอกชนมี ประกันสังคม
กลุ่ม 3. ภาคเอกชน อาชีพอิสระ
กลุ่ม 4. เกษตรกร
สศค อบรม ผูใ้ ห้ความรู้
สศค อบรม ผูใ้ ห้ความรู้
กลุ่ม 5. ภาครัฐ
กลุ่ม 6. นอกแรงงาน
2. กลุ่มเสี่ยง 3. กลุ่มเฉพาะ 4. มาตรฐาน ความรู้ 5. สื่อการเรียน/ ช่องทาง 6. การสร้าง เครือข่าย/ ประเมิ นผล +อื่นๆ
สศค. ร่วมพัฒนามาตรฐานความรู้
สศค. ร่วมพัฒนาสื่อ เอกสาร เครือ่ งมือและเวบไซท์สาหรับผูใ้ ห้ความรู้ เช่น ครู กองทุนหมูบ่ า้ น และประกันสังคม สศค. จัดทาข้อมูลสถานะความรูค้ วามสามารถ/ เป้าหมาย ประเมินผลการดาเนินงาน เสนอแนะ/สร้างเครือข่าย 13
3. มาตรการและโครงการสาคัญ (ภาพรวม) มาตรการ 1 มาตรการสนับสนุนผู้ให้ความรูแ้ ละผู้สอนทางการเงิน eg 1.1 โครงการนาร่อง กทม. และปริมณฑล
กลุ่มเป้าหมายหลัก - ครู/ผูส้ อน - เจ้าหน้าทีพ่ ัฒนาชุมชน
หมายเหตุ - เพิ่มคูม่ ือ วิธีการสอน/ สือ่ การสอน
2 มาตรการให้ความรูท้ างการเงินกลุ่มผู้นา สื่อมวลชน นักแสดง eg 2.1 โครงการนาร่องภาคเหนือตอนบน
- กองทุนหมู่บา้ น - ผูน้ าชุมชน/องค์กร - องค์กร/บริษัทคนงานมาก - ศูนย์พัฒนาครอบครัว
- เพิ่มคูม่ ือ วิธีการสอน - เพิ่มความรู้ การจูงใจ/ การเปลีย่ นพฤติกรรม/ การบริหารเงินของกลุม่
3 มาตรการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมลูกหนีน้ อกระบบ และกลุ่มเสี่ยงทางการเงิน eg 3.1 โครงการหมอหนี้ 3.2 โครงการเตรียมตัวก่อนเข้าตลาดแรงงาน (ปัจฉิมนิเทศ)
- ลูกหนีน้ อกระบบ - มีหนีส้ ูง - รายได้น้อย - ก่อนเข้าตลาดแรงงาน
- เพิ่มความรู้การสร้างรายได้ - เพิ่มการช่วยด้านเงินทุน - เพิ่มความรู้ผปู้ ระกอบการ
4 มาตรการให้ความรูท้ างการเงินอาชีพเฉพาะ eg 4.1 โครงการนาร่องสาหรับครู 4.2 โครงการนาร่องสาหรับเจ้าหน้าทีป่ ระกันสังคม 5 มาตรการพัฒนาหลักสูตรและสื่อการให้ความรูท้ างการเงิน eg 5.1 พัฒนาสือ่ interactive สาหรับทุกรายอาชีพ ทุกวัย
- ข้าราชการครู - ทหาร/ตารวจ - สาธารณสุข/ประกันสังคม - ประชาชนทัว่ ไป
- ทาหลักสูตรตามความ ต้องการของกลุม่ อาชีพ
6 มาตรการพัฒนามาตรฐานและกฎระเบียบสนับสนุน รวมทัง้ การยกระดับความสาคัญเรือ่ งความรูท้ างการเงิน eg 6.1 จัดทาแผนระดับประเทศ / ให้ ครม. เห็นชอบ 6.2 รณรงค์/ ออกกฎระเบียบ/ทามาตรการจูงใจ
- ประชาชนทัว่ ไป
7 มาตรการสร้างเครือข่ายและขยายความร่วมมือ eg 7.1 การสร้างเครือข่ายผูใ้ ห้ความรู้ทางการเงิน /องค์กรทีส่ นใจ 7.2 ส่งเสริม best practice / ขยายผลโครงการดีๆ
- องค์กรรัฐ/เอกชน ทีใ่ ห้ความรู้ทางการเงิน - องค์กรระหว่างประเทศ
8 มาตรการพัฒนาศูนย์กลางข้อมูล เวบไซท์ และ หน่วยงานกลางด้านการให้ความรูท้ างการเงิน eg 8.1 พัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางในการให้ความรู้ทางการเงิน 8.2 จัดตัง้ หน่วยงานกลาง ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล
- หน่วยงานให้ความรู้ ทางการเงิน
KPI ตลท. 500 คน ทีก่ ทม. ธปท. 500 คน ทีเ่ ชียงใหม่
ผู้รับผิดชอบ
FETCO/ตลท นิคมฯภาคเหนือ 500 คน
กบข. ครูภาคอีสาน 500 คน ส.ธนาคาร พนักงานบริษัท..
14
4. เอกสารประกอบ
1) การแบ่งกลุ่มเป้าหมายและผู้รับผิดชอบ 2) GAPs ราย 8 กลุ่ม 3) ข้อเสนอแนะโดยรวม 4) ประสบการณ์ในต่างประเทศ 5) APEC Finance Minister Meeting’s statement
15
(1) การแบ่งกลุ่มเป้าหมายและผู้รับผิดชอบ การแบ่งกลุ่ม 1. เด็ก เยาวชน ผู้กาลังศึกษา
กลุ่มย่อย 1.1 ประถม
1.2 มัธยมต้น 1.3 มัธยมปลาย 1.4 อาชีวศึกษา
2. ภาคเอกชนมี นายจ้าง
3. ภาคเอกชนอาชีพอิสระ 4. เกษตรกร 5. ภาครัฐ
6. อื่น ฯ นอกแรงงาน
7. กลุ่มครอบครัว 8. กลุ่มสื่อมวลชน
1.5 อุดมศึกษา 1.6 การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย 2.1 แรงงานรายได้น้อย 2.2 พนักงานเอกชนและอื่น ๆ 3.1 อาชีพอิสระรายได้สูง หมอ นักกฎมาย 3.2 อาชีพอิสระอื่น วินมอร์เตอร์ไซด์ หาบเร่ 5.1 ข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้าง 5.2 รัฐวิสาหกิจ 5.3 พนักงาน / องค์กรอิสระ / องค์กรมหาชน ๖.๑ ผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงานอายุ ๑๕ + - ผู้สูงอายุมีหลักประกันรายได้ - ผู้สูงอายุไม่มีหลักประกันรายได้ - กลุ่มแม่บ้าน นักบวช พระ 8.1 ดารา นักแสดง/นักร้อง/นักข่าว
ผู้รับผิดชอบ 1) กระทรวงศึกษาธิการ รร.รัฐบาล สพฐ. 2) กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น กทม. พัทยา อบต. อบจ. 3) รร.เอกชน สนง. คกก.ส่งเสริม การศึกษาเอกชน สานักปลัด ศธ เหมือนชั้นประถม เหมือนชั้นประถม 1. สอศ. / รร. / วิทยาลัย 2. สนง.ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ศธ. สกอ. / ม.รัฐ ม.เอกชน ราชภัฏ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ก. แรงงาน ก. แรงงาน ตลท. ธ.ออมสิน ธกส. กค. (สคร.)
กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น. อปท สทบ.
ก.ล.ต. ตลท. คปภ. ก.ล.ต. ตลท. คปภ. และสานักงานประกันสังคม
16
(2) กลุ่มเป้าหมาย และ GAP การแบ่งกลุ่ม
กลุ่มย่อย
1. เด็ก เยาวชน 1.1 ประถม ผู้กาลังศึกษา
1.2 มัธยมต้น 1.3 มัธยมปลาย
1.4 อาชีวศึกษา 1.5 อุดมศึกษา
GAP กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ให้ความรู้ มาตรฐาน/หลักสูตร และอื่นๆ
- ขาดความสนใจ/ไม่เห็นความสาคัญของ ความรู้ทางการเงิน - การนาไปใช้/การเปลี่ยนพฤติกรรมมีน้อย - เช่นเดียวกับกลุ่มประถม
- ครูผู้สอนส่วนหนึ่งขาดการฝึกอบรมหรือความกระตือรือร้น - ต้องการสื่อการสอนที่หลากหลายขึ้น
- เช่นเดียวกับกลุ่มประถม - กลุ่มที่เรียนด้านการเงินต้องการความรู้ดา้ น การลงทุนเพิ่ม -เช่นเดียวกับกลุ่มประถม โดยเฉพาะกลุ่มที่ ไม่ใช่สายบัญชี/การเงิน - ขาดความสนใจ/ ไม่เห็นควาสาคัญ - กลุ่มที่เรียนด้านการเงินต้องการความรู้ด้าน การลงทุนเพิ่ม
- เช่นเดียวกับกลุ่มประถม
1.6 การศึกษานอกระบบ - ส่วนใหญ่มีความสนใจ และตามอัธยาศัย - ต้องการความรู้เพื่อนาไปหารายได้ หรือต่อ ยอดความรู้วิชาชีพที่มี
- เช่นเดียวกับกลุ่มประถม
- เช่นเดียวกับกลุ่มประถม โดยเฉพาะกลุ่มที่ไม่ใช่สายบัญชีและการเงิน - เป็นวิชาเลือกในบางแห่ง แต่ไม่มีการบูรณาการ - ไม่มีมาตรฐาน/หลักสูตรกลาง - หลักสูตรที่มีขาดการพัฒนาต่อเนื่อง - ขาดการประเมินผล - ไม่มีมาตรฐาน/หลักสูตรกลาง - ขาดการประเมินผล
17
(2) กลุ่มเป้าหมาย และ GAP การแบ่งกลุ่ม
กลุ่มย่อย
2. ภาคเอกชน 2.1 แรงงานรายได้น้อย มีนายจ้าง
กลุ่มเป้าหมาย
- ส่วนใหญ่ขาดความรู้ด้านการบริหารการเงิน การออม การจัดการหนี้ ไม่รู้จักผลิตภัณฑ์ทางการเงิน - แรงงานในภูมิภาคมีปัญหามากกว่า - มีปัญหาการเข้าถึงบริการทางการเงิน - มีหนี้นอกระบบ 2.2 พนักงานเอกชนและอื่น ๆ - ไม่เห็นความสาคัญในการบริหารการเงิน - บางส่วนขาดการวางแผนเพื่อวัยเกษียน - ขาดความรู้เรื่องการลงทุน - ขาดการออม 3. ภาคเอกชน 3.1 อาชีพอิสระรายได้สูง หมอ - บางส่วนไม่เห็นความสาคัญในการบริหารการเงิน อาชีพอิสระ นักกฎมาย เจ้าของกิจการ - บางส่วนขาดการวางแผนเพื่อวัยเกษียน - บางส่วนขาดความรู้ด้านการลงทุน 3.2 อาชีพอิสระอื่น -ส่วนใหญ่ขาดความรู้ด้านการบริหารการเงิน การออม วินมอร์เตอร์ไซด์ หาบเร่ การจัดการหนี้ ไม่รู้จักผลิตภัณฑ์ทางการเงิน โดยเฉพาะ แผงลอย ในภูมิภาค - มีปัญหาการเข้าถึงบริการทางการเงิน - มีหนี้นอกระบบ
ผู้ให้ความรู้ มาตรฐาน/หลักสูตร และอื่นๆ - ขาดหลักสูตรที่ตรงกับความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย - หลักสูตรขาดการพัฒนาต่อเนื่อง - ขาดการประเมินผล
- ไม่มีศูนย์รวม หลักสูตร material ต่างๆ - ขาดหลักสูตรที่ตรงตามอาชีพ ความต้องการ - ขาดการประเมินผล - ขาดหลักสูตรที่ตรงตามอาชีพ ความต้องการ - ขาดการประเมินผล - เกิดจากผู้ถ่ายทอด (เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน) ขาดทักษะในเรื่องการเงินส่วนบุคคล - ขาดหลักสูตรที่ตรงตามอาชีพ ความต้องการ - ขาดการประเมินผล
18
(2) กลุ่มเป้าหมาย และ GAP การแบ่งกลุ่ม
กลุ่มย่อย
4. เกษตรกร
- ไม่เห็นความสาคัญในการบริหารทางการเงิน - ส่วนใหญ่ขาดความรู้การบริหารการเงิน การออม การ จัดการหนี้ ไม่รจู้ ักผลิตภัณฑ์ทางการเงิน โดยเฉพาะใน ภูมิภาค
5. ภาครัฐ
5.1 ข้าราชการ/พนักงานราชการ/ ลูกจ้าง 5.2 รัฐวิสาหกิจ 5.3 พนักงาน / องค์กรอิสระ / องค์กรมหาชน
6. อืน่ ฯ นอกแรงงาน
6.1 ผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงานอายุ 15 + - ผู้สูงอายุมีหลักประกันรายได้ - ผู้สูงอายุไม่มีหลักประกัน รายได้ - กลุ่มแม่บ้าน นักบวช พระ
ผู้ให้ความรู้ หลักสูตร และอื่นๆ - เกิดจากผู้ถ่ายทอด (เจ้าหน้าที่พฒ ั นาชุมชน) ขาด ทักษะในเรื่องการเงินส่วนบุคคล
- ไม่รู้จักผลิตภัณฑ์ทางการเงินการเข้าถึงบริการทาง การเงิน - ขาดความรู้บริหารการเงิน การบริหารความเสี่ยง - กลุ่มครูโดยเฉพาะภาคอีสานมีภาระหนีม้ าก ต้องการ ความรู้ แต่ขาดการให้ความรู้ที่ทั่วถึง
- เป็นภาพรวมของกลุ่ม 1 – 6
7. ครอบครัว
8. สื่อสารมวลชน
กลุ่มเป้าหมาย
8.1 นักแสดง นักร้อง 8.2 นักข่าว
- ไม่เคยมีการประเมิน
- สศค. มีโครงการให้ความรู้ผู้สอื่ ข่าวเศรษฐกิจ
19
(3) ข้อเสนอแนะโดยรวม 1. ด้านกลุ่มเป้าหมาย 1.1 ให้ความสาคัญกลุ่มเสี่ยง เช่น กลุ่มที่มีหนี้สูง กลุ่มรายได้น้อยทั้งที่มีนายจ้างและอาชีพอิสระ และกลุ่มเกษตรกร 1.2 ให้ความสาคัญกลุ่มผู้นาชุมชน กลุ่มสื่อสารมวลชน กลุ่มนักแสดงนักร้อง กลุ่มครอบครัว กลุ่มครู/เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน 1.3 เพิ่มการดาเนินงานสาหรับกลุ่มคนในต่างจังหวัดและชนบท 1.4 ให้ความสาคัญกับกลุ่มผู้กาลังศึกษา ทั้ง อาชีวและอุดมศึกษา รวมทั้ง กศน. ให้มีความพร้อมก่อนเข้าตลาดแรงงาน 1.5 มีเป้าหมายทางความรู้ความสามารถและพฤติกรรมทางการเงินที่ชัดเจนสาหรับคนไทยโดยรวมและกลุ่มเป้าหมายต่างๆ 2. ด้านผู้ให้ความรู้ 2.1 ควรเพิ่มความร่วมมือของฝ่ายต่างๆ 2.2 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนต่อเนื่อง และมีการจัดทาให้ตรงความต้องการของกลุ่ม/อาชีพต่างๆ 2.3 ให้ความรู้ด้านอื่นที่กลุ่มเป้าหมายต้องการประกอบ เช่น การตลาด การหารายได้ และสนับสนุนเงินทุนสาหรับการตั้งตัว 2.4 รณรงค์ให้เห็นความสาคัญ ความรู้ทางการเงิน การมีวินัยทางการเงิน 2.5 ทา pilot project สาหรับภาคเหนือตอนบน 3. มาตรฐาน กฏเกณฑ์ และอื่นๆ 3.1 กาหนดมาตรฐาน และเป้าหมายความรูค้ วามสามารถทางการเงินที่วัดผลได้ และมีการประเมินผล 3.2 การมีหลักสูตรภาคบังคับสาหรับกลุ่มอาชีวและอุดมศึกษา 3.3 มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษาต่างๆ บูรณาการวิชาการเงินในวิชาเลือกพื้นฐาน 3.4 จัดตั้งหน่วยงานโดยตรงเพื่อรับผิดชอบในการดาเนินนโยบาย 3.5 มีศูนย์รวบรวมตารา เอกสาร สื่อการเรียนการสอน การทดสอบต่างๆ 3.6 ทา call center (ศูนย์กลาง) 20
(4) ประสบการณ์ในต่างประเทศ
4.1 UK (The Money Advice Service) 8 โครงการสาคัญ (Delivering change) 1. วัยเรียน (School): “Learning money matter” 2. วัยหนุ่มสาว (Young Adults): (อายุ 16-25 ปี) “Helping young adults make sense of money” 3. แรงงาน (Workplace): “Make the most of your money” 4. ครอบครัว (New parents): “Money Box” 5. การให้คาแนะนา (Money Advice): “The role of ‘generic’ advice” 6. การให้ข้อมูลและสื่อสารกับผู้บริโภค (Consumer Communications) 7. เครื่องมือสาหรับทุกคน (Online tools):
21
(4) ประสบการณ์ในต่างประเทศ 4.2 Australia (Australian Securities and Investment Commission) Strategies 1. Using Educational pathways to build financial literacy 1) School curriculum 2) Universities and Vocational education 3) adult and community education and 4) education in workplace 2. Providing Australian with trusted and independent information, tools and ongoing support: 3. Achieving positive behavioral changes 4. Working in partnership and promoting best practice
22
(4) การศึกษาของ ADB สาหรับประเทศไทย (workers) Strategies 1. Development of knowledge and tools 2. Focused Pilot Projects: 1) First Jobbers 2) Teachers and 3) Long-term Investors, 3. Public Communication Campaign 4. Advocacy for Public Financial Capability Policies 5. Development of an Operating Agency 6. Regulatory Change : 1) required subjects in secondary schools’ curriculum, 2) manager of investment pools to publish risk levels and 3) Boards of investment pools to join financial training program.
23
(5) เรื่องการให้ความรู้ทางการเงิ นในเวที APEC Finance Minister’s Meeting APEC FMM เมื่อ 29 -30 สิงหาคม 2555 ประเทศรัสเซีย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังไทยได้เข้าร่วมการประชุมพร้อมทัง้ ได้รว่ มแสดงการสนับสนุนเรื่องการให้ความรูท้ างการเงินตามคาแถลง APEC FMM’s Statement สรุปได้ดงั นี้ 1) การให้ความรูท้ างการเงินเป็ นเรื่องสาคัญในการสนับสนุนเสถียรภาพของเศรษฐกิจ (economic stability) การพัฒนาทีท่ วถึ ั ่ ง (inclusive development) และช่วยเพิม่ ความเป็ นอยูท่ ด่ี ขี องตนเองและครอบครัว (individual and families’ well being) 2) ความรูท้ างการเงินมีความจาเป็นมากขึน้ จาก (1) ความสลับซับซ้อนและหลากหลายมากขึน้ ของเครื่องมือทางการเงิน ตลอดจน เทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้อง (2) การใช้สนิ เชื่อ การลงทุน การประกันทีม่ ากขึน้ และ (3) การก้าวเข้าสูส่ งั คมวัยชราทีต่ อ้ งมีการเตรียมการออม ให้พอ 3) จากการสารวจด้านความรูท้ างการเงินพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ขาดความรูท้ างการเงินทีพ่ อเพียง ไม่เข้าใจแม้กระทังผลิ ่ ตภัณฑ์ทาง การเงินอย่างง่าย ไม่สามารถประเมินความเสีย่ งได้ดพี อ 4) ในสภาพแวดล้อมปจั จุบนั ความรูท้ างการเงินได้กลายเป็ นทักษะของชีวติ (life skill) ทีช่ ว่ ยให้ประชาชนเข้าร่วมใช้ประโยชน์จากระบบ เศรษฐกิจและการเงิน สนับสนุ นการเป็นอยูข่ องตนให้ดขี น้ึ ซึ่งมีสว่ นช่วยลดปญั หาเศรษฐกิจในภาพรวม 5) การดาเนินการด้านการให้ควมรูท้ างการเงินทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ควรมียทุ ธศาสตร์หรือแผนระดับประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ แผนฯ ทีม่ กี าร พัฒนาจากข้อมูลและการวิเคราะห์อย่างเป็ นระบบ ทีป่ ระกอบด้วย 1) การวิเคราะห์ needs and gaps ของประชาชนในเรื่องความรูท้ าง การเงิน เพือ่ ใช้จดั ลาดับความสาคัญ 2) การวิเคราะห์ mapping โครงการให้ความรูฯ้ ของหน่วยงานต่างๆ 3) การสนับสนุนของผูท้ ่ี เกีย่ วข้อง โดยเฉพาะผูท้ ม่ี อี านาจในภาครัฐ ตลอดจนมีกลไกกากับดูแลและการประสานงานทีด่ ี 4) มีแผนดาเนินงาน (Roadmap) ที่ ชัดเจน ปฏิบตั ไิ ด้ มีการจัดลาดับความสาคัญ มีกลุม่ เป้าหมายทีช่ ดั เจน ผลกระทบทีค่ าดจากการดาเนินงาน ตลอดจนทรัพยากรทีต่ อ้ งใช้ และ 5) การออกแบบกลไกดาเนินงาน ควรมีการระบุแบบอย่างทีด่ ี (good practices) และทาการติดตาม ประเมินผลดาเนินการอย่าง เหมาะสม 6) โครงการสาคัญอันดับแรกคือการให้ความรูท้ างการเงินในโรงเรียนและควรเริม่ อายุน้อยทีส่ ุด ตลอดจนควรร่วมโครงการประเมินความรู้ ทางการเงินนักเรียน (Programme for International Student Assessment PISA) ภายในปี 2558 7) การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ชว่ ยให้การดาเนินการให้ความรูฯ้ สะดวกและต้นทุนต่าลง เรา (รมว.กค. APEC) ขอแสดงความ 24 ยินดีต่อการสนับสนุนเรื่องการให้ความรูท้ างการเงินโดยผูน้ าในเวที G20